ธันวาคม 2561 ปีที่ 10 I ฉบับที่ 3 แจกฟรี
Creative Startup Rap is Now The Creative โจอี้บอย Local Wisdom แร็ปแบบบ้านบ้าน
แร็ป-ฮิปฮอป
ลำ�นำ�สะท้อนชีวิตแอฟริกัน-อเมริกัน สู่บทเพลงแห่งเสรีภาพในสังคมไทย
Photo by Renee Fisher on Unsplash
Contents: สารบัญ Insight 20 ฮิปฮอป...ดนตรีมหาชน สื่อกลางของความรักและการต่อต้าน
Creative Startup 22 IN RAP WE TRUST ก้าวต่อไปของแร็ปและการต่อยอดธุรกิจ ในแบบฉบับของ Rap is Now
Creative City
24
The Creative
28
Creative Will
34
นิวยอร์กซิตี้: แร็ปสร้างเมือง
The Subject
6
แร็ ป เปอร์ ส าวเอเชี ย สุ ด เจ๋ ง ที่ คุ ณ ไม่ ค วร พลาด! / Represent ตัวเอง...Represent บ้ า นเกิ ด / Queer กั บ ความหลากหลาย ในวงการ Rap
โจอี้บอย แร็ปคือภาษา แร็ปเปอร์คือโคตรฉลาด แร็ป+สามช่าคือโคตรสนุก ราชาแร็ปที่ถูกกดปุ่ม Restart
Creative Resource 8 Documentary / Books
MDIC 10 The Streaming Economy
Local Wisdom
12
Cover Story
14
แร็ปแบบบ้านบ้าน
แร็ป-ฮิปฮอป ลำ�นำ�สะท้อนชีวิตแอฟริกัน-อเมริกัน สู่บทเพลงแห่งเสรีภาพในสังคมไทย
บรรณาธิการที่ปรึกษา l อภิสทิ ธิ์ ไล่สตั รูไกล บรรณาธิการอำ�นวยการ l กิตติรตั น์ ปิตพิ านิช ที่ปรึกษา l ศิรอิ ร หริม่ ปราณี, ชมพูนทุ วีรกิตติ, พิชติ วีรงั คบุตร, พจน์ องค์ทวีเกียรติ, เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร บรรณาธิการบริหาร l พัชรินทร์ พัฒนาบุญไพบูลย์ กองบรรณาธิการ l มนฑิณี ยงวิกลุ , ปิยวรรณ กลิน่ ศรีสขุ เลขากองบรรณาธิการ l วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ ศิลปกรรม l ชิดชน นินนาทนนท์ ประสานงานกองบรรณาธิการ l วนบุษป์ ยุพเกษตร ช่างภาพและมัลติมีเดีย l ภีร์รา ดิษฐากรณ์ นักศึกษาฝึกงาน l กิตติภูมิ ใบปก จัดทำ�โดย l สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) (CEA) 1160 อาคารไปรษณีย์กลาง ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10501 โทร. 02 105 7400 แฟกซ์. 02 105 7450 พิมพ์ที่ l โรงพิมพ์ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จำ�กัด โทร. 02 313 4405 แฟกซ์. 02 313 4445 จำ�นวน 15,000 เล่ม ติดต่อลงโฆษณา: Commu.Dept@tcdc.or.th นิตยสารฉบับนีใ้ ช้หมึกพิมพ์จากนา้ํ มันถัว่ เหลืองทีไ่ ม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทัง้ ยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และใช้กระดาษ รีไซเคิล ซึ่งเป็นผลผลิตของผู้ประกอบการไทย จัดทำ�ภายใต้โครงการ “Creative Thailand สร้างเศรษฐกิจไทยด้วยความคิดสร้างสรรค์” โดยสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) (CEA) ซึ่งมีเป้าหมายในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) และผลักดันการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
อนุญาตใหใชไดตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส อนุญาตใหใชไดตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย แสดงที ่มา-ไมใTHAILAND ชเพื่อการคา-อนุI ญ4าตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย CREATIVE
Editor’s Note: บทบรรณาธิการ
เรื่องของจังหวะ จังหวะชีวิต โอกาส ความผิดพลาด เป็นหลายๆ เรื่องที่เราแทบจะไม่มีส่วน เข้าไปควบคุม แต่หากเกิดขึ้นแล้ว ย่อมส่งผลกระทบต่อช่วงชีวิตหนึ่งๆ ของ คนเรา...ดนตรีแร็ปก็เช่นกัน ส่วนหนึ่งในองค์ประกอบสำ�คัญของแนวดนตรีฮิปฮอป นอกจากการ สแครชแผ่นของเหล่าดีเจ การเต้นเบรกดานซ์ และศิลปะบนกำ�แพงอย่าง กราฟฟิตี้ ก็คือดนตรีแร็ป ดนตรีที่มีประวัติศาสตร์และเรื่องราวความเป็นมา ทีเ่ ชือ่ มโยงการเปลีย่ นแปลงของสังคมหลากหลายสมัย ดนตรีทถี่ กู ยกฐานะจาก ความบันเทิงของชนชั้นแรงงาน สู่การเป็นดนตรีกระแสหลักที่ได้รับการยอมรับ ทัว่ โลก ทัง้ ยังวิวฒั นาการไปเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมทีต่ อ่ ยอดและสร้างรายได้ มหาศาลสู่ระบบเศรษฐกิจแบบไม่มีวันจบสิ้น สังคมแห่งการให้คณุ ค่าและมูลค่าทีผ่ นั แปรไปเรือ่ ยๆ เช่นสังคมมนุษย์นนั้ เราอาจเคยให้ค่าอย่างสูงกับดนตรีคลาสสิกที่มีองค์ประกอบทางดนตรีชั้นสูง เครือ่ งดนตรีหลากชิน้ และการกำ�หนดค่าของโน้ตทีซ่ บั ซ้อน บรรจุอยูใ่ นบรรทัด 5 เส้นอย่างแน่ชัด ซึ่งนักดนตรีจำ�เป็นต้องฝึกฝนซ้ำ�แล้วซ้ำ�เล่า เพื่อให้มีฝีมือถึง ระดับมาสเตอร์พีช แต่อยู่มาวันหนึ่ง การให้คุณค่าและมูลค่าของดนตรีก็เริ่ม เคลื่อนย้ายมาสู่การเล่นดนตรีฆ่าเวลาเพื่อความบันเทิงของคนผิวสี ดนตรีที่มี เนื้อหาตรงไปตรงมา พูดถึงประเด็นใกล้ตัว ไร้จริตในการแถลงการณ์เกี่ยวกับ เรื่องราวความเป็นจริง แต่บอกเล่าถึงวัฒนธรรมที่เข้าใจกันเฉพาะกลุ่ม ภาวะ บีบคัน้ ของสังคมทีเ่ พิกเฉยต่อความเป็นอยูข่ องพวกเขา การทุจริตและเอาเปรียบ ของกลไกรัฐ การบิดเบือนของสื่อ ความรุนแรง ยาเสพติด เพศ การเหยียดผิว ปัญหาการเมือง เหล่านี้ถูกสื่อสารออกมาเป็นจังหวะ และลีลาทางภาษาที่ ทรงพลังน่าสนใจ
เมือ่ การด้นเนือ้ เพลงด้วยอักขระทีค่ ล้องจอง การใช้ภาษาทีร่ กู้ นั เฉพาะกลุม่ กับดนตรีทมี่ เี พียงไม่กจี่ งั หวะ การรวมตัวกันสร้างความบันเทิงในหมูเ่ พือ่ นฝูงที่ ไม่มเี งินมากพอจะเข้าไปสังสรรค์ในผับหรือบาร์ทเี่ ปิดเพลงกระแสหลักตามสมัย นิยมได้ กลายมาเป็น “คุณค่าใหม่” ของสังคม ดนตรีแร็ปจึงกลายเป็นแนว ดนตรีเนื้อหอม ที่มีคนเข้าห้อมล้อมหยิบฉวยประโยชน์ที่เป็นไปได้มากมาย บทเพลงจากสลัมได้กลายเป็นตำ�นาน ความแร้นแค้นก็เปลีย่ นผ่านสูค่ วามมัง่ คัง่ เหลือเฟือ ศิลปินแร็ปหลายคนทีเ่ ติบโตจากพืน้ ทีเ่ สือ่ มโทรม กลายมาเป็นบิลเลียนแนร์ ในช่วงเวลาไม่นาน บางคนยืนระยะได้ยาวนานในวงการ ผันตัวจากการเป็น แร็ปเปอร์ไปเป็นนักธุรกิจ โปรดิวเซอร์มือทอง และแม้แต่ไอคอนของวงการที่มี ค่าตัวแพงระยับระดับซูเปอร์สตาร์ พวกเขาคือผูท้ มี่ องเห็นโอกาสในการขยับขยาย ธุรกิจเพือ่ ทำ�เงินให้มากขึน้ และสร้างรายได้อย่างไม่รจู้ บ ขณะทีศ่ ลิ ปินแร็ปชือ่ ดัง อีกหลายคนกลับต้องจบชีวติ การงานทีร่ งุ่ โรจน์ลงอย่างน่าเศร้า จากการไม่พน้ จาก บ่วงปัญหาเดิมๆ ในชีวติ ความขัดแย้งทัง้ เรือ่ งส่วนตัวและเรือ่ งธุรกิจ ความเป็น แกงค์สเตอร์ ยาเสพติด และอีกหลากหลายปัญหาที่ก้าวข้ามมาไม่พ้น ไม่ว่า “แร็ป” จะหมายถึงอะไร จะเป็นความกดดันบีบคั้นที่สร้างให้เกิด โอกาสใหม่ๆ หรือเครื่องมือในการแสดงออกถึงตัวตน จิตวิญญาณ ถิ่นที่อยู่ และความปรารถนาอันแรงกล้าทีต่ อ้ งการประกาศให้สงั คมได้รบั รูใ้ นแง่มมุ ต่างๆ ของชีวติ แต่ทสี่ ดุ แล้ว แร็ปก็อาจเป็นเพียงเรือ่ งของจังหวะ ทีท่ �ำ หน้าทีส่ ร้างสีสนั ให้กับโลกได้ขับเคลื่อนต่อไปในจังหวะของมันเอง กิตติรัตน์ ปิติพานิช บรรณาธิการอํานวยการ
CREATIVE THAILAND I 5
The Subject: ลงมือคิด
แร็ปเปอร์สาวชาวเอเชียสุดเจ๋ง ที่คุณไม่ควรพลาด! เรื่อง: วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ
แม้แนวเพลงแบบฮิปฮอปสไตล์จะเริ่มต้นจากกลุ่มชายผิวสีในนิวยอร์กซิตี้ ที่ ร วมกลุ่ มกั น ร้ อ งเล่ น และปลดปล่ อ ยความในใจที่ มี ต่ อ สั ง คมและชี วิ ต ทีพ่ วกเขาต้องประสบถึงความไม่เท่าเทียม ซึง่ ภายหลังค่อยๆ ได้รบั ความนิยม จนกลายเป็นแนวเพลงหลักอย่างเช่นทุกวันนี้ แต่ใจความสำ�คัญที่เนื้อเพลง แร็ปมักสอดแทรกความคิดเห็น การวิพากย์ และบ่อยครั้งที่มีนัยถึงการ เรียกร้องบางสิ่งให้เท่าเทียมกันมากขึ้น ก็ถือเป็นเสน่ห์ที่เพลงสไตล์ไหนก็ ให้ได้ไม่เท่า และนัน่ น่าจะรวมถึงการทีท่ กุ วันนีผ้ ฟู้ งั เริม่ เห็นผูห้ ญิงออกมาร้อง เพลงแร็ปและได้รับการยอมรับมากขึ้น ทั้งในฝั่งตะวันตกอย่าง Nicki Minaj, Cardi B หรือ Iggy Azalea และแร็ปเปอร์หญิงฝั่งเอเชียบ้านเราที่กำ�ลังใช้ พลังแร็ปทลายมายาคติทวี่ า่ ผูห้ ญิงควรเป็นฝ่ายเดินตามด้วยกิรยิ าทีเ่ รียบร้อย เหมือนผ้าพับไว้ เพราะแน่นอนว่าพวกเธอก็สิทธิ์มีเสียงในสังคมไม่ต่างจาก เพศชายแม้แต่น้อย เริ่มต้นด้วย “Suboi” แร็ปเปอร์สาวชาวเวียดนามวัยยี่สิบต้นๆ ที่เริ่ม เป็นที่รู้จักเมื่อครั้งที่เธอได้มีโอกาสแร็ปสดสั้นๆ ในเวทีถามตอบต่อหน้าอดีต ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาอย่างบารัก โอบามา ในคราวที่โอบามามาเยือน เวียดนามในปี 2016 เธอได้มีโอกาสแสดงจุดยืนที่ชัดเจนในเวทีนั้นว่า ผู้หญิง เอเชียไม่จำ�เป็นต้องมีภาพลักษณ์น่ารักและอ่อนหวานเท่านั้น ต่อมาเธอได้ แต่งเพลงแร็ป Đời ทีเ่ ล่าถึงเรือ่ งราวชีวติ คนทีย่ ากจะคาดเดา แต่เธอก็เชือ่ ว่า ทุกคนสมควรได้ใช้ชีวิตอย่างที่ใจต้องการ ข้ามมาที่ประเทศเกาะเพื่อนบ้าน ไม่ไกลกันอย่างฟิลิปปินส์ ที่ก็มีแร็ปเปอร์สาวรุ่นใหญ่อย่าง “HanHan” อดีต พยาบาลในแคนาดาที่หลงเสน่ห์การแต่งกลอนและนำ�เธอมาสู่วงการแร็ป เธอได้ฝากผลงานเพลงชือ่ World Gone Crazy และแร็ปเป็นภาษาตากาล็อก บอกเล่าถึงความยากลำ�บากของการเป็นผูอ้ พยพทีเ่ ธอเคยเผชิญ เพือ่ ถ่ายทอด ความรู้สึกไปถึงเพื่อนชาวฟิลิปปินส์ที่มีชะตาไม่ตา่ งจากเธอให้ได้รับรู้ว่าไม่มี
ใครโดดเดี่ยวอยู่เพียงลำ�พัง หรือในแดนกิมจิก็มีแร็ปเปอร์สาวผิวสองสีชื่อดัง อย่าง “Yoon Mi Rae” ที่ได้ฝากผลงานเพลงสะท้อนชีวิตของเธอเองอย่าง Black Happiness ด้วยความที่มีพ่อเป็นชาวแอฟริกัน-อเมริกันและมีแม่เป็น ชาวเกาหลีใต้ เธอจึงต้องเผชิญกับสภาวะการเป็นลูกครึ่งในสังคมเกาหลีใต้ ที่ไม่ได้รับการยอมรับมากนักในช่วงแรก แต่เธอก็มีบทเพลงเป็นที่พึ่งทางใจ เหมือนอย่างเนื้อร้องท่องหนึ่งที่ร้องเอาไว้ว่า “music knows no color” ส่วน ประเทศพี่ใหญ่อย่างจีนก็มีแร็ปเปอร์สาวสวยหมวยอินเตอร์เจ้าของฉายา Rihanna of China อย่าง “VaVa” กับสไตล์การทำ�เพลงฮิปฮอปที่เธอตั้งใจ ผสมผสานดนตรีจีนแบบจัดเต็มอย่างในเพลง My New Swag ที่ได้เป็นหนึ่ง ในซาวน์แทร็กประกอบภาพยนตร์เรือ่ ง Crazy Rich Asians (2018) นับเป็นการ สร้างเอกลักษณ์ให้ฮิปฮอปสไตล์จีนจากผู้หญิงตัวเล็กๆ ให้เกิดขึ้นในยุคนี้ได้ อย่างงดงาม ตัวอย่างเหล่านี้คือแร็ปเปอร์หญิงชาวเอเชียใกล้บ้านเราที่บางคนเริ่มมี ที่ทางของตัวเองอย่างชัดเจนและบางคนก็ประสบความสำ�เร็จในระดับ นานาชาติเป็นทีเ่ รียบร้อย แต่เมือ่ หันกลับมาทีป่ ระเทศไทยเอง แม้กระแสแร็ป ช่วงนี้จะพุ่งแรงแค่ไหน แต่ก็คงปฏิเสธได้ยากว่ายังมีอยู่น้อยนักที่ผู้ฟังจะมี โอกาสสัมผัสกับความสามารถของแร็ปเปอร์สาวชาวไทยทีม่ ผี ลงานเพลงเป็น ของตัวเองอย่างแท้จริง และเราก็อดหวังไม่ได้วา่ จะได้เจอกับ Queen of Rap ของไทยในเร็ววันนี้บ้าง ที่มา: บทความ “5 Asian Female Rappers You Should Listen to, Like, Right Now” (เมษายน 2018) จาก culture.affinitymagazine.us / บทความ “6 East Asian Female Rappers Changing the Game” (กุมภาพันธ์ 2018) จาก hercampus.com / บทความ “Crazy Rich Asians gives China’s hip-hop queen Vava international exposure” (สิงหาคม 2018) จาก scmp.com / บทความ “Meet Suboi, the Vietnamese Rapper Who Freestyled for Obama” (ธันวาคม 2017) จาก highsnobiety.com
Represent ตัวเอง...Represent บ้านเกิด เรื่อง: ภีร์รา ดิษฐากรณ์
แนวเพลงฮิ ป ฮอปแต่ ก่ อ นนี้ อ าจเป็ น อะไรที่ เ ข้ า ถึ ง ได้ ย ากสำ � หรั บ กลุ่ ม คนฟังเพลงโดยทั่วไป แต่ในปัจจุบัน เพลงฮิปฮอปได้เริ่มสร้างความเข้าใจใน แนวดนตรีให้คนในสังคมไทยได้รู้จัก ว่าจริงๆ แล้วเพลงฮิปฮอปไม่ได้มีแต่ เพลงที่ระบายความกดดันต่อสังคม มีแต่คำ�หยาบ หรือถ้อยคำ�ที่ฟังไม่รู้เรื่อง แต่ฮิปฮอปนั้นมีแนวทางและเนื้อหาที่น่าสนใจอีกมากมายอยู่ในตัวเพลง แร็ปเปอร์จ�ำ นวนไม่นอ้ ยหยิบเอาเรือ่ งราวบ้านเกิดของตัวเองมาบอกเล่า ให้ผคู้ นได้ฟงั ผ่านบทกลอนหรือลีลาทางภาษาทีล่ นื่ ไหลไปตามจังหวะได้อย่าง น่าสนใจ หรือในนัน้ คือ VKL หรือเพทาย วงษ์ค�ำ เหลา เจ้าของรางวัล Hometown Hero จาก Rap is Now Awards ปี 2017 โดยเป็นแร็ปเปอร์ที่นำ�แนวดนตรี และภาษาถิ่นภาคอีสาน มาผสมผสานกับดนตรีฮิปฮอปได้อย่างสร้างสรรค์ เป็นการต่อยอดแนวดนตรีบ้านเกิดให้เป็นศิลปะทางดนตรีร่วมสมัยได้อย่าง ลงตัว อย่างเช่นเพลง “ยโส” หรือเพลง “แมนแล้วบ่” ที่ติดหูคนฟังแม้จะ ไม่ใช่คนอีสานก็ตาม ขณะทีแ่ ร็ปเปอร์รนุ่ พีอ่ ย่าง SouthSide ทีม่ เี พลงฮิตอย่าง “Welcome to tha south” ก็นำ�เสนอความเป็นคนใต้ของพวกเขาด้วยการ ได้หยิบเพลงท่อนดังอย่าง “โอ่โอ ปักษ์ใต้บ้านเรา” นำ�มาใช้ในเพลงอีกด้วย CREATIVE THAILAND I 6
หรือแม้กระทัง่ ชือ่ วงเองก็ยงั บ่งบอกความเป็นตัวของตัวเองได้ดที เี ดียว ล่าสุด รายการ The Rapper ก็มหี นึง่ โชว์ทสี่ ร้างความฮือฮาไม่นอ้ ย โดยการนำ�เสนอ เพลงฮิปฮอปผ่านการใส่ชดุ ผีตาโขน ซึง่ เป็นการแสดงโชว์จาก $ir Poppa Lot หนึ่งในสมาชิก J$R ที่ได้นำ�เสนอเกี่ยวกับความเป็นพื้นบ้านของจังหวัดเลย ผ่านเพลง “เลยตามเลย” บทเพลงของศิลปินรุ่นพี่ อัสนี-วสันต์ ซึ่งเป็นชาว จังหวัดเลยเช่นกัน ผ่านแนวดนตรีอสี าน และชุดผีตาโขน ที่มีอาร์ตไดเร็กชัน่ ที่สวยงาม ยังมีศิลปินอีกมากมายที่นำ�เสนอความภูมิใจในบ้านเกิดของตัวเองให้ ผูค้ นทัว่ ไปได้รบั รูค้ วามงดงามของวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของแต่ละพืน้ ถิน่ โดยหวังว่าสิง่ เหล่านีจ้ ะเป็นแรงบันดาลใจให้ศลิ ปินรุน่ ใหม่ๆ ได้กล้าบอกเล่า และกล้านำ�เสนอความเป็นตัวเองออกมาสู่สายตาชาวโลกให้ได้รับรู้ถึงความ เป็นถิ่นที่ของตัวเองได้อย่างภาคภูมิใจในสไตล์ที่แตกต่างกัน
Queer กับความหลากหลายในวงการ Rap เรื่อง: กิตติภูมิ ใบปก
จากวัฒนธรรมดนตรีเพือ่ เล่าเรือ่ งสังคมในยุค 90 จากฝัง่ อเมริกา จนปัจจุบนั กลายเป็นอุตสากรรมดนตรีขนาดใหญ่ทแี่ พร่หลายไปทัว่ โลก ดนตรีแร็ปกลาย เป็นส่วนผสมที่สำ�คัญในวงการดนตรีเกือบทุกประเภท ในอีกแง่หนึ่ง ‘แร็ป’ ยังถูกใช้เป็นเครือ่ งมือตีแผ่สงั คมและการเมือง สะท้อนเหตุการณ์ความวุน่ วาย เรียกร้องความเท่าเทียม สิทธิเสรีภาพ ซึง่ หากโลกนีเ้ ต็มไปด้วยประเภทดนตรี ทีห่ ลากหลาย คงไม่แปลกอะไร หากแร็ปจะถูกใช้เป็นสือ่ กลางในการเล่าเรือ่ ง ความหลากหลายทางเพศของเหล่า Queer Rapper หรือกลุ่มแร็ปเปอร์ ที่ไม่ยึดติดกับกรอบเรื่องเพศ ดนตรีแร็ปเริ่มเป็นกระแสนิยมมากขึ้นในต้นศตวรรษที่ 20 และเป็น ช่วงนี้เองที่เป็นการบุกเบิกของแร็ปเปอร์ที่มีความหลากหลายทางเพศผู้ใช้ บทเพลงเพือ่ เปิดเผยตัวตนในสือ่ กระแสหลัก เช่น Jason Herndon ทีป่ ระกาศ ว่าตัวเองรักเพื่อนร่วมวง Caushun อัลบั้มชื่อเดียวกันเองถูกพูดถึงเป็น อย่างมากในอเมริกาเกีย่ วกับสไตล์เพลงทีจ่ ดั จ้านและตรงไปตรงมาเรือ่ งเพศ
เพราะ Herndon เชื่อว่านี่คือยุครุ่งเรื่องของความจริง เขาแร็ปบอกกับทุกคน ว่าอย่าพยายามปกปิดตัวตนทีแ่ ท้ของตัวเอง ต่อมาอัลบัม้ ทีถ่ อื ว่าประสบความ สำ�เร็จด้านยอดขายอย่าง ‘Get into it’ ของ Cazwell แร็ปเปอร์หนุ่มจาก สถานบันเทิงกลุม่ LGBTQ ชือ่ ดังในบอสตัน สามารถนำ�เพลงตัวเองขึน้ ชาร์ตอัน ดับ 6 บน Billboard’s Hot Dance Club Songs และ John Patrick Masterson (Jipsta) เจ้าของผลงาน ‘Middle of the Dancefloor’ ก็ ประสบความสำ�เร็จด้านยอดขายและความฮิตเช่นกัน ความสำ�เร็จนีเ้ องทำ�ให้ เขาเลือกเปิดเผยตัวตนว่าเป็นเพศทางเลือก เพลงของเขาติดชาร์ต Billboard และติดอันดับ 4 จากการนำ�เพลงเก่ามารีมกิ ซ์ใหม่ ในเพลง ‘I want your sex’ ของ George Michael ถือเป็นการสร้างประวัติศาสตร์ใหม่ให้กับกลุ่ม แร็ปเปอร์ LGBTQ ทีส่ ามารถสร้างสรรค์เพลงแร็ปให้มจี งั หวะโยกตามได้เพลินๆ แต่ก็ยังคงรักษาเนื้อหาในเพลงที่อัดแน่นไปด้วยประเด็นเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความรัก เซ็กส์ ยาเสพติด หรือชีวติ ทีเ่ ลือกไม่ได้ของกลุม่ หลากหลายทางเพศ ปัจจุบันวงการเพลงแร็ปมีคลื่นลูกใหม่เกิดขึ้นมากมาย หลายคนมี ชื่อเสียงได้เพราะปล่อยเพลงให้กลายเป็นกระแสในสื่อออนไลน์และเริ่มดัง เช่น Azealia Banks ทีบ่ อกว่าตัวเองเป็นไบเซ็กชวล หรือแร็ปเปอร์หนุม่ ผูเ้ ป็น แรงบันดาลให้กบั ใครหลายคนอย่าง Deadlee บอกว่าเป็นคนรักเพศเดียวกัน Makonnen Sheran (iLoveMakonnen) ก็เปิดตัวว่าเป็นโฮโมเซ็กชวลผ่าน ทวิตเตอร์ ขณะที่ Mykki Blanco ผู้เป็นทั้งแร็ปเปอร์และ Drag Queen ก็ ออกมาบอกว่าตัวเองเป็นเพียงมนุษย์ที่ไม่มีเพศและที่สำ�คัญคือเขาได้รับเชื้อ เอชไอวี แต่ก็ยังเดินหน้าสร้างผลงานต่อไป เพลงแร็ปสำ�หรับกลุ่ม LGBTQ จึงล้วนถูกใช้เพื่อบอกเล่าชีวิตอันยุ่งยาก ความเป็นตัวตน ความจริงอันแสน ลำ�บากของกลุม่ หลากหลายทางเพศ การไม่ยอมรับ สังคมกีดกัน ผ่านจังหวะ อันอ่อนนุม่ บางทีกท็ มุ้ ลึกเพือ่ สะท้อนถึงตัวตนและอุดมการณ์แรงกล้าให้สงั คม มองข้ามเรื่องความไม่เท่าเทียม และเปิดกว้างมากพอที่จะมองพวกเขาเป็น มนุษย์ปกติเหมือนกัน แม้คนที่ไม่ใช่ Queer อย่าง Murs, Macklemore และ Ryan Lewis ก็ ออกมาทำ�เพลงเพื่อสนับสนุนกลุ่ม LGBTQ ด้วยเช่นกัน อุตสาหกรรมของ เพลงแร็ปจึงเติบโตขึ้นพร้อมๆ กับโลกที่เปลี่ยนไป การแร็ปไม่ได้เป็นแค่ เครือ่ งมือประกาศความเท่าเทียมอย่างหนึง่ ของกลุม่ LGBTQ และพวกเขาคง ไม่ได้อยากถูกจำ�จดเพราะเป็น Queer Rapper แต่เพลงแร็ปจะช่วยให้ พวกเขาได้รับการยอมรับและจดจำ�ในฐานะแร็ปเปอร์คนหนึ่ง ที่มา: บทความ “Gay rap, the unthinkable becomes reality” โดย Hattie Collins จาก theguardian.com บทความ “10 Phenomenal Queer Artists You Need to Hear Who Aren’t in Brockhampton “Queer” is not a genre, but representation matters.” โดย Donna-Claire Chesman จาก djbooth.net / บทความ “Queer Rap is Not Queer Rap” โดย Eric Shorey จาก pitchfork.com / บทความ “Too Gay for Hip-Hop? Le1f Takes on Traditionally Homophobic Genre” โดย Melissa Leon จาก thedailybeast.com รายงาน “Homo-Hop Has a Say” โดย Thomas Devon (2004-07-12)
CREATIVE THAILAND I 7
Creative Resource: วัตถุดิบทางความคิด เรื่อง: อำ�ภา น้อยศรี และ อินทนนท์ สุกกรี
FEAT U RED DOCU M E N TARY HIP – HOP Evolution (Documentary Series) กำ�กับโดย Darby Wheeler ซีรีส์เรื่องนี้จะพาคุณไปยังจุดกำ�เนิดวัฒนธรรมดนตรีฮิปฮอปของเยาวชน อเมริกันเชื้อสายแอฟริกันชั้นแรงงานในนิวยอร์กที่รวมตัวกันแสดงบทบาท ของตนในฐานะกระบอกเสียงเพื่อสร้างวัฒนธรรมทางดนตรีในแบบฉบับ เฉพาะกลุ่มของตน ฮิปฮอปและแร็ปถูกใช้เป็นช่องทางในการแสดงออก ทางความคิด โดยสร้างสรรค์เพลงเป็นตัวละครที่สามารถสื่อสารกับคนฟัง บทเพลงที่เขียนจากหัวใจคนผิวดำ�ชนชั้นล่างสามารถสื่อสารกับคนระดับสูง ผูม้ อี �ำ นาจและโอกาสทางสังคมทีม่ ากกว่า ว่าพวกเขาคือใคร มีชวี ติ แบบไหน มีทัศนคติทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และได้รับการปฏิบัติ ในฐานะพลเมืองอย่างไร ดนตรี ฮิ ป ฮอปยั ง ทำ � ให้ เ กิ ด ประเด็ น โต้ เ ถี ย งเกี่ ย วกั บ เนื้ อ เพลงของ แร็ปเปอร์ (บางเพลง) ตกเป็นจำ�เลยทางสังคมว่าเป็นส่วนเสริมสร้างทัศนคติ เลวร้าย ซ้ำ�ยังกระตุ้นให้เกิดความรุนแรงทางเพศ ส่งเสริมการกระทำ�รุนแรง
ต่อสตรี กลุ่มผู้บริโภคโดยเฉพาะผู้ปกครองต่างออกมาเรียกร้องสิทธิแทน เยาวชน ด้วยความเป็นห่วงบุตรหลานทีอ่ าจเลียนแบบพฤติกรรมตามเนือ้ หา ทีป่ รากฎในเพลง โดยครอบครัวชาวอเมริกนั ผิวขาวมักโจมตีเนือ้ หาของเพลง ฮิปฮอปว่าขัดต่อศีลธรรมอันดีของอมเริกันชนอย่างเลวร้าย เหตุการณ์เหล่านี้สั่นสะเทือนทั้งกฎหมายและอุตสาหกรรมดนตรี แต่สุดท้ายแล้วดนตรีฮิปฮอปก็ได้แสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ของรัฐธรรมนูญ อเมริกันเรื่องเสรีภาพในการพูด (Freedom of Speech) ที่ไม่ว่าคุณจะ เป็นใคร ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับเดียวกัน คุณมีสิทธิและเสรีภาพในการพูด ทีเ่ ท่าเทียมกัน และยังสะท้อนพร้อมเปิดมุมมองเรือ่ งการทำ�ความเข้าใจความ แตกต่างของบริบททางวัฒนธรรมและสังคมของคนแต่ละกลุ่มที่มีความ หลากหลาย ว่าเราควรทำ�ความเข้าใจและศึกษาพวกเขา ก่อนที่จะพิพากษา ว่าสิ่งใดดีหรือไม่ดี
CREATIVE THAILAND I 8
BOOK The World Atlas of Street Art and Graffiti โดย Rafael Schacter และ John Fekner วัฒนธรรมฮิปฮอปจะเกิดขึ้นได้นั้น ต้องมีองค์ประกอบอยู่ 4 อย่างด้วยกัน คือ กราฟฟิตี้ (Graffiti) ดีเจ (DJ) บี-บอย (B-Boy) และ เอ็มซี (MC) ตั้งแต่ช่วงปลายทศวรรษ 60s งานกราฟฟิตี้ได้แผ่ขยายไป ทั่วท้องถนนของมหานครนิวยอร์ก และเมืองใหญ่ทั่วอเมริกา อย่างซานฟรานซิสโก ลอสแอนเจลิส ทัง้ ยังข้ามนํา้ ข้ามทะเลมาไกลถึงฝัง่ ยุโรปและเอเชียในเวลาต่อมา หนังสือ The World Atlas of Street Art and Graffiti เล่มนี้ คัดเลือกผลงานศิลปะบนกำ�แพงจากศิลปินทีม่ ผี ลงานอันโดดเด่นและเป็นทีป่ ระจักษ์ ต่อสาธารณะ ซึ่งไม่ได้เพียงหมุดหมายแหล่งงานกราฟฟิตี้จากทั่วโลกเท่านั้น แต่ยังเป็นบันทึกสำ�คัญ ชิ้นหนึ่งในประวัติศาสตร์ศิลปะร่วมสมัยที่ทรงอิทธิพลต่อโลกในเวลาต่อมา
Cult Streetwear โดย Josh Sims เราจะรู้ได้ว่าใครเป็นคนแบบไหนหรือมีไลฟ์สไตล์อย่างไร ให้ดูจากเสื้อผ้าที่เขาสวมใส่ ทัศนคติเช่นนี้ อาจจะดูเหมือนการตัดสินคนจากภายนอก แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเสื้อผ้าและเครื่องประดับเป็นสิ่งหนึ่ง ที่บ่งบอกอัตลักษณ์ของผู้คนในแต่ละถิ่นที่มาช้านาน ในยุคอุตสาหกรรมที่ทุกอย่างสามารถผลิตได้เป็น พันเป็นหมื่นชิ้นในเวลาอันสั้น แฟชั่นจึงกลายเป็นเรื่องน่าสนใจที่การผลิตต้องเท่าทันกับความคิด สร้างสรรค์ที่บรรเจิดตลอดเวลา หนังสือ Cult Street Wear เล่มนี้นำ�เสนอเรื่องราวการพัฒนาของ แบรนด์ดังต่างๆ ทั้งเสื้อผ้าไปจนถึงแอกเซสเซอรีที่คนคูลๆ เขาใส่กัน เพื่อคลี่คลายให้หายสงสัยว่าของ เหล่านี้มีที่มาที่ไปอย่างไร
Supreme โดย West Rubinstein ถ้าจะต้องบอกเล่าถึงแบรนด์สตรีทแวร์ที่ทรงอิทธิพลอย่างสูงอีกแบรนด์หนึ่งในขณะนี้ คงจะอดพูดถึง แบรนด์ Supreme ไม่ได้ แล้วอะไรคือความสำ�เร็จเหล่านั้น ตลอดเวลากว่า 20 ปีที่แบรนด์ได้รับการ ก่อตั้งขึ้นด้วยการเปิดตัวสินค้าเพียงไม่กี่ชิ้น จนถึงวันที่ทุกอย่างขายหมดเกลี้ยงในพริบตา หนังสือ Supreme รวบรวมบทสัมภาษณ์ผู้คนน่าสนใจ และอัดแน่นไปด้วยภาพเครื่องแต่งกาย ตั้งหมวกยัน รองเท้า เครื่องประดับไปถึงสเก็ตบอร์ดคู่ใจที่เหล่าสาวก Supreme ไม่ควรพลาด
พบกับวัตถุดิบทางความคิดเหล่านี้ได้ที่ TCDC Resource Center CREATIVE THAILAND I 9
MDIC: นวัตกรรมและวัสดุ
THE STREAMING ECONOMY
Photo by Mohammad Metri on Unsplash
เรื่อง: ปิยวรรณ กลิ่นศรีสุข และ ศิครินทร์ มิลินทสูต
ปัจจุบนั ธุรกิจแพลตฟอร์มสตรีมมิงเติบโตขึน้ อย่างมาก ในปี 2018 มีผบู้ ริโภค กว่า 86 เปอร์เซ็นต์* ใช้บริการมิวสิกสตรีมมิง และคาดว่าจะมีการเติบโตอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะกลุม่ ธุรกิจดนตรี ไม่วา่ จะเป็น Spotify, JOOX, Tidal และ SoundCloud เมื่อแพลตฟอร์มสตรีมมิงเข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการฟังเพลง และวิธกี ารจับจ่ายสินค้าบันเทิง ทำ�ให้เกิดอิทธิพลการเปลีย่ นแปลงต่อวงการ เพลง ความนิยมจากช่องทางนี้ทำ�ให้ธุรกิจอื่นๆ สามารถใช้ประโยชน์บน แพลตฟอร์มดังกล่าว และยังช่วยให้ธรุ กิจมีปฏิสมั พันธ์กบั แบรนด์ ใกล้ชดิ กับ ลูกค้า และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะกลุ่มได้มากขึ้น ในยุคทีผ่ บู้ ริโภคชอบการฟังเพลงซึง่ ตอบโจทย์ความต้องการแบบเบ็ดเสร็จ แพลตฟอร์มมิวสิกสตรีมมิงในปัจจุบนั จึงถูกสร้างขึน้ มาเพือ่ ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ ผูใ้ ช้ให้ครอบคลุมทีส่ ดุ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการออกแบบหน้าอินเทอร์เฟซ ความ สะดวกในการใช้งานในทุกพื้นที่ การจัดการเพลย์ลิสต์ในรูปแบบที่เชื่อมต่อ กับโซเชียลมีเดีย หรือแม้แต่ความเป็นส่วนตัวของข้อมูล ด้วยเหตุที่เทรนด์ของ มิวสิกสตรีมมิงกำ�ลังเติบโตอย่างแข็งแกร่ง พร้อมกับโอกาสในด้านธุรกิจ ที่บรรดาแบรนด์ ค่ายเพลง และศิลปินต่างปรับกลยุทธ์เข้าหากัน ไม่ว่าจะ เป็นการจัดทำ�เพลย์ลิสต์เพลงของแบรนด์ที่เชื่อมผู้ฟัง สร้างความเชื่อมโยง (engagement) กับแบรนด์ด้วยเสียงดนตรีมากยิ่งขึ้น ฟังก์ชันการฟังเพลง ทีค่ รบและสมบูรณ์แบบอย่างต่อเนือ่ ง การเพิม่ มิตกิ ารฟังดนตรีทมี่ อบครบทุก อรรถรสทางดนตรีมาสูผ่ ใู้ ช้งาน พร้อมๆ กับเนือ้ หาทีเ่ ข้าถึงซึง่ มีความเฉพาะ มากยิ่งขึ้น กลยุทธ์การสร้าง Music Rcosystem หรือนิเวศทางดนตรีแบบ Customer to customer (C2C) ที่เปิดให้ผู้ใช้เป็นศูนย์กลางแห่งการใช้งาน
ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นแล้วบนแพลตฟอร์มการฟังเพลงในยุคสตรีมมิงอีโคโนมี ที่กำ�ลังเฟื่องฟู กล่าวอีกนัยหนึ่ง บริการสตรีมมิงก็คือ การที่ผู้บริโภคมีความสัมพันธ์ กับบริการในลักษณะที่คล้ายกับการเป็น ‘ผู้เช่า’ โดยยอมเสียเงินหรือเวลา เพือ่ รับสารโฆษณาต่างๆ แลกกับการเข้าถึงคลังเพลงของผูใ้ ห้บริการมากกว่า จะเป็น ‘เจ้าของ’ หรือกระทั่งใช้เป็นช่องทางไปสู่การเข้าร่วมกิจกรรมทาง ดนตรีทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ ซึ่งกำ�ลังก้าวข้ามแพลตฟอร์มกันไป มาอย่างอิสระ สำ�หรับธุรกิจมิวสิกสตรีมมิง่ ในประเทศไทย ก็มผี ใู้ ห้บริการไทยแท้อย่าง “ฟังใจ” ทำ�หน้าที่เป็นชุมชนดนตรีและสตรีมมิงอิสระซึ่งเป็นพื้นที่เปิดใหม่ และกำ�ลังเติบโต โดยกลุ่มธุรกิจของ “ฟังใจ” สตาร์ทอัพด้านมิวสิกสตรีมมิง มีบริการหลักเป็นแพลตฟอร์มสตรีมมิงผ่านช่องทางต่างๆ ทั้งแอพพลิเคชัน และเว็บไซต์ ผลิตสือ่ ข่าวสารในนาม “ฟังใจซีน” ทำ�เนือ้ หาความเคลือ่ นไหวต่างๆ ของศิลปินและชุมชนดนตรีเพือ่ สนับสนุนการสตรีมมิง การจัดงานคอนเสิรต์ เพื่อให้ศิลปินและแฟนเพลงได้พบปะกัน รวมไปถึงกลุ่มงานใหม่อย่าง “Malama” ที่มีเครื่องมือและเงินทุนสำ�หรับช่วยบริหารจัดการให้ศิลปิน เติบโต และจับตลาดด้วยจุดยืนของการมีฐานเป็นกลุ่มชุมชนคนฟังเพลง ไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตหรือผู้ฟัง ที่มา: บทความ “ธุรกิจสตรีมมิ่งไทยมี 8 พันเพลงจะสู้กับบ.ระดับโลกที่มี 30 ล้านเพลง อย่างไร” จาก gmlive.com และรายงาน Music Consumer Insight Report 2018 โดย IFPI จาก ifpi.org
*Music Consumer Insight Report 2018, IFPI
พบกับนวัตกรรมและวัสดุสร้างสรรค์ ได้ที่ชั้น 2 ห้อง Material & Design Innovation Center, CEA CREATIVE THAILAND I 10
พบกับนิตยสาร “คิด” Creative Thailand ได้ที่ ร้านหนังสือ ห้องสมุด สมาคม อาคารสำ�นักงาน และร้านกาแฟใกล้บ้าน ในกรุงเทพฯ เชียงใหม่ หัวหิน และจังหวัดอื่นๆ รวมถึง miniTCDC
ดูสถานที่จัดวางทั้งหมดได้ที่: www.tcdc.or.th/creativethailand/magazine/place กรุงเทพฯ ร้านหนังสือ • Asia Books • Kinokuniya • B2S • แพร่พิทยา
• MAIIAM Contemporary Art Museum • ชีวิต ชีวา • Minimeal Cafe • Impresso • Restr8to • Penguin Villa (Penguin Getto) ร้านกาแฟ/ร้านอาหาร • กาแฟอาข่า อ่ามา • Au Bon Pain La Fattoria สาขา2 • Starbucks • TOM N TOM’S COFFEE • Happy Hut ถ.นิมมานฯ • True Coffee • ราชดำ�เนิน • Auntie Anne’s • Mai Bakery In Garden • Baskin Robbins • Starbucks The Plaza • Coffee World • Yesterday Hotel • Mister Donut • October • Black Canyon • สุรยิ นั จันทรา นิมมานฯ ซอย 1 • McCafe’ • ร้านมีชามีชัย (กู) • ดอยตุง • Cafe’de nimman • Ninety four coffee • The Booksmith • Puff & Pie • ร้านชา (Drink Club) • Red Mango • Cotto Studio • Iberry • Starbucks Nimmanhemin • Greyhound Cafe’ • Fern Forest Cafe’ • Amazon Cafe’ • 9th Street Cafe • Chester’s Grill นิมมานฯ ซอย 9 • Luv minibar • ดวงกมล (Duang Kamol) • Rustic & Blue - Handgrown พิพิธภัณฑ์/หอศิลป์ • Produce & Artisan Food • หอศิลปวัฒนธรรม นิมมานฯ ซอย 9 แห่งกรุงเทพมหานคร • หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม • มิวเซียม สยาม • อุทยานการเรียนรู้ (TK park) มช. • นำ�ทอง แกลเลอรี่ หัวหิน • ร้านกาแฟ ชุบชีวา หัวหิน สมาคม/ห้องสมุด • อยู่เย็น หัวหิน บัลโคนี่ • ศูนย์ศิลปะนานาชาติ • บ้านใกล้วัง สมาคมฝรั่งเศส • ภัตตาคารมีกรุณา • ห้องสมุดเนลสัน เฮลส์ The Neilson Hays Library • บ้านถั่วเย็น @ แนบเคหาสน์ • ร้านอาหารหัวหิน (โกทิ) • ห้องสมุด - นิด้า • กาแฟข้างบ้าน • สมาคมโฆษณา • IL GELATO ITALIANO แห่งประเทศไทย • Together Bakery & Cafe’ • สมาคมธนาคารไทย • โรงแรม วรบุระหัวหิน • สมาคมสโมสรนักลงทุน • Let’s Sea • ห้องสมุด สสวท. • โรมแรม ดูน หัวหิน • สมาคมหอการค้าไทย • เดอะร็อค หัวหิน • สถาบัน • บ้านจันทร์ฉาย • Wall Street Institute • หัวหิน มันตรา รีสอร์ท • Raffle Design Institute • ลูน่าฮัท รีสอร์ท • Vision Swimming Academy กระบี่ • Nakamanda Resort & Spa เชียงใหม่ • Rawee Warin Resort & Spa • woo cefe • A little Handmade Shop • Kagee • Ristresto lab • ท่าแพอีสต์+ dibdee.binder ขอนแก่น • Hug School • C.A.M.P ,MAYA • True Coffee ,หอสมุด มช. of Creative Arts • ร้านสืบสาน • Punspace, นิมมานฯ • ร้านกาแฟ คอฟฟี่ เด้อ หล่า • asama cafe • มาหาสมุด (บ้านข้างวัด) (Coffee Der La) • see scape gallery เชียงราย • nimmanian club • ร้านหนังสือ herebookafe • 8 days a week • ร้าน Coffee Dad • Bulbul book cafe’ • Graph cafe’ นครราชสีมา • Cefe de museum • Hug station resort • local cafe Think park • Librarista นครปฐม • Artisan วัวลาย • ร้าน Dipchoc Cafe • paper spoon • กาแฟรสนิยม, นครสวรรค์ หลัง มช ทางขึ้นกาแล • The barn : Eatery Design • ร้าน Bitter Sweet • Book Republic น่าน • wake up หน้ามอ • ร้าน Runway Coffee • Fab cafe’ • kum cafe คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ • ร้านคลาสสิค โมเดล น่าน
• ร้านกาแฟปากซอย • ร้าน Nan Coffee Bean ปาย/แม่ฮ่องสอน • ร้านคอฟฟี่อินเลิฟ • ร้าน all about coffee • ร้านปายหวานบ้านนมสด • ร้านเล็กเล็ก • ปายวิมานรีสอร์ท พังงา • Niramaya Villa and Willness Resort • Ranyatavi Resort Phang Nga • The Sarojin เพชรบุรี • Grand Pacific Sovereign • Resort & Spa • DevaSom Hua Hin Resort ภูเก็ต • ร้านหนัง(สือ) ๒๕๒๑ ภูเก็ต • The oddy Apartment & Hotel • At Panta Phuket • Banyan Tree Phuket • Le Meridien Phuket • Millienium Ressort Patong Phuket • Novotel Phuket Resort • Patong Paragon Resort & Spa Phuket • Sheraton grand Lagana Phuket • Sri wanwa Phuket Villa • Thanyapura ระยอง • Le Vimarn Cottage ลำ�ปาง • อาลัมภางค์ เกสท์เฮ้าส์ แอนด์ มอร์ ลำ�ปาง • ร้านเอกาลิเต้ Egalite Bookshop • Lampang Art Center เลย • บ้านชานเคียง • มาเลยเด้ เกสต์เฮาท์ ลพบุรี • ซนดิคอฟฟี่ สมุทรสงคราม/อัมพวา • Baan Amphawa Resort and Spa สุโขทัย • Ananda Co.,Ltd. สุราษฎร์ธานี • Muang Samui Spa Resort • Pavilion Samui Boutique Resort • The Sunset Beach Resort and Spa Taling ngam • Nora Beach Resort Samui อุทัยธานี • ร้านบุ๊คโทเปีย Booktopia • Avatar Miracles
Local Wisdom: ภูมิความคิด
เรื่อง: วนบุษป์ ยุพเกษตร
หากลองถามคนยุคนี้ถึงเพลงแร็ป คงตอบเป็นเสียงเดียวกันว่ารู้จักเป็นแน่ เพราะเพลงแร็ปกลายเป็นเพลงสมัยนิยมไปแล้ว ในเวลานี้ เทียบกับเพลงพื้นบ้านอย่างเพลงฉ่อย ลำ�ตัด แหล่ หรืออีแซวแล้ว คงต่างกันลิบลับ ทั้งๆ ที่เป็นเพลงบ้านเกิด เมืองนอนของไทย ลองมาสำ�รวจเพลงพืน้ บ้านพืน้ เมืองของเราทีเ่ ต็มไปด้วยความสนุกสนานและกลิน่ อายแบบไทยๆ ซึง่ ไม่แพ้ เพลงแร็ปสไตล์ไหนแน่นอน
ความเรียบง่าย และความสนุกสนาน คื อ คำ � นิ ย ามที่ บ่ งบอกตั ว ตนอย่ า งตรงไป ตรงมาที่สุดของเพลงพื้นบ้านพื้นเมืองไทย 1
เรียบง่ายในที่นี้คือ ใช้คำ�ในเนื้อหาเพลง ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ปราศจากการปรุงแต่ง แต่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยความคมคายในภาษา ที่สำ�คัญคือส่วนมากจะใช้คำ�ไทยทั้งสิ้นเพื่อ ให้ ไ ด้ บ รรยากาศและรสชาติ อ ย่ า งไทย ทั้งยังร้องเล่นกันง่ายๆ ไม่มีดนตรีประกอบ หรื อ มี ก็ เ พี ย งน้ อ ยชิ้ น แม้ แ ต่ ฉ ากที่ ใ ช้ ประกอบการแสดงก็เป็นแค่ฉากที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ เรียกว่าเรียบง่ายทั้งการร้องและ การเล่น
สนุกสนานก็โดยการใช้คำ�ที่มีความหมาย สองแง่สองง่ามเข้ามาร้องประกอบในบทเพลง ด้วยเป็นเพียงไม่กเี่ รือ่ งทีท่ �ำ ให้เราขำ�ขันได้เสมอ และมักจะร้องเล่นเรื่องเกี่ยวกับความสุข เป็นหลัก น้อยครัง้ นักทีจ่ ะมีเรือ่ งทุกข์เข้ามาปน เพลงพืน้ บ้านจึงหมายถึง เพลงของชาวบ้าน ที่ร้องเล่นกันมานานตามอัธยาศัย สืบทอด กันจากปากสู่ปากหรือที่เรียกว่า มุขปาฐะ ไม่ได้มตี น้ กำ�เนิดทีแ่ น่ชดั หรือมีการจดบันทึก เอาไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
แร็ปอย่างไทย ตํานานที่เลือนลาง “เอ่ชา เอชา ชา ชาฉ่าชา หน่อยแม่1” ลักษณะ การร้องอย่างนี้จะเป็นเพลงไหนไปไม่ได้
การร้องรับเพลงฉ่อยว่า เอ่ชา มีทั้ง 3 แบบด้วยกัน ส่วนที่ยกมาเป็นการร้องรับแบบทางกรุงเทพฯ และราชบุรี CREATIVE THAILAND I 12
นอกเสียจาก เพลงฉ่อย กับการร้องรับทีเ่ ป็น เอกลั ก ษณ์ ฉ่ อ ยเป็ น เพลงพื้ น เมื อ งอายุ เก่ า แก่ นั บ ร้ อ ยปี ที่ แ พร่ ห ลายมากที่ สุ ด ชนิดหนึ่ง คนร้องเล่นกันอย่างกว้างขวาง โดยมี พ่ อ เพลงคนแรกคนดั ง ก็ คื อ ตาเป๋ เพลงฉ่อยจึงมีอกี ชือ่ หนึง่ ว่า เพลงเป๋ การร้อง เล่นเพลงฉ่อยก็ง่ายแสนง่าย แค่มีพ่อเพลง แม่เพลง และเสียงตบมือให้จงั หวะก็เป็นอัน สนุกสนานได้แล้ว
เพลงอีแซว เพลงคูบ่ า้ นคูเ่ มืองชาวสุพรรณฯ ทีย่ มื เนือ้ ร้องและลีลาการเล่นมาจากเพลงฉ่อย เอามาดัดทำ�นองให้เร็วขึ้น แปลงกลอน นิ ด หน่ อ ยก็ เ กิ ด เป็ น เพลงอี แ ซว แต่ ก่ อ น มักใช้รอ้ งเล่นเกีย้ วพาราสีกนั ไปมา ในปัจจุบนั ส่ ว นมากจะร้ อ งเล่ น กั น อยู่ ใ นวงพ่อ เพลง แม่เพลงมืออาชีพ
หากใครรูจ้ กั ลำ�ตัด ไม่รจู้ กั หวังเต๊ะ (หวังดี นิมา ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน) ประจำ�ปี 2531) คงเป็นไป ไม่ได้ เครื่องดนตรีคู่หูเพลงลำ�ตัดคือกลอง รำ�มะนา จริงๆ แล้วลำ�ตัดมีถน่ิ กำ�เนิดมาจาก ชาวไทยมาลายูทางใต้ที่อพยพเข้ามาอยู่ใน กรุงเทพฯ ตัวเนื้อลำ�ตัดจะเป็นแนวเดียว กันกับฉ่อยและอีแซว เว้นแต่เพียงท่อนนำ� เท่านั้นที่มักจะขึ้นต้นด้วยท่อนสร้อยก่อน
อีกหนึ่งตำ�นานเพลงก็คือ แหล่ ซึ่งเป็นของ คู่กันกับการด้นสด คนสมัยก่อนพอพูดถึง แหล่ก็มักจะนึกถึงงานบวช โดยคำ�ว่าแหล่ กร่อนมาจากคำ�ว่า นัน่ แล ซึง่ เป็นคำ�ลงท้าย เทศน์มหาชาติต่างๆ แล้วค่อยๆ เพี้ยนมา ใช้คำ�ว่าแหล่ ความน่าสนใจของแหล่ คือ แต่ละครัง้ จะหยิบยกเรือ่ งราวหรือสถานการณ์ ตอนนัน้ ๆ มาแหล่ ทำ�ให้แต่ละครัง้ มีเนือ้ หา ต่างกัน เฉพาะตัว เพราะเป็นการแหล่แบบสดๆ
“แร็ป” และ “พื้นบ้าน” ความเหมือนที่แตกต่าง สิง่ ทีท่ �ำ ให้เพลงพืน้ บ้านถูกเปรียบเป็น “แร็ป สไตล์ไทย” นัน่ เป็นเพราะมีอะไรทีค่ ล้ายคลึง กับเพลงแร็ป ที่เห็นชัดคงเป็นการ “ด้นสด” ที่จัดเป็น ศิลปะทางดนตรีชั้นสูง เรียกว่าเป็นการ ประชันไหวพริบ ทักษะการใช้ภาษา และ ความคิดสร้างสรรค์กันล้วนๆ ทั้งการใช้คำ� ที่แพรวพราว สั้นแต่มีความหมายลึกซึ้ง ซับซ้อน เพื่อสื่อความอย่างมีศิลปะ และ
เสน่ห์ของการด้นสด คือการทำ�ให้ผู้ฟังรู้สึก ประทับใจ ตกใจ แปลกใจ สะดุดใจ เกิดความ ไม่คาดฝันหรือคาดไม่ถึงว่าผู้ร้องจะสรรหา คำ�เหล่านี้มาได้
ความเหมือนอีกอย่างคือเทคนิคการร้อง ทั้ ง เพลงแร็ ป และเพลงพื้ น บ้ า นล้ ว นใช้ “กลอนหัวเดียว” เป็นแนวทางหลัก คือการ ร้องที่ลงท้ายด้วยคำ�ที่มีสระเสียงเดียวกัน เช่น ลงท้ายสระไอ สระอา ศัพท์ทางเพลง เรียกว่า กลอนลา กลอนไล กลอนลี และ อีกมากมายทีไ่ ม่ได้กล่าวถึง เป็นฉันทลักษณ์ ที่เหล่าพ่อเพลงแม่เพลงพื้นบ้าน หรือเหล่า แร็ปเปอร์ต่างเลือกใช้กันทั้งนั้น
การนำ�คำ�ทีม่ คี วามหมาย “สองแง่สองง่าม” มาใช้ในเพลง ไม่ได้เป็นเรื่องที่ต้องถกกัน เฉพาะในเพลงแร็ ป ปั จ จุ บั น แต่ เ พลง พืน้ บ้านไทยก็มกั สอดแทรกคำ�เหล่านีเ้ พือ่ ให้ เกิดความสนุกสนานหรือให้ขำ�ขันอยู่บ้าง ทำ�ให้หลายครัง้ ผูค้ นบางกลุม่ ตัดสินว่าเพลง พื้นบ้านบางเพลงเป็นเพลงที่ไม่เหมาะสม เช่ น เดี ย วกั บ เพลงแร็ ป ที่ ถู ก ตั ด สิ น ว่ า ใช้ คำ�หยาบคายเพื่อบอกเล่าความจริงหรือ สะท้อนสังคมอย่างตรงไปตรงมา
“แร็ปประยุกต์” แตกต่างอย่างลงตัว เพลงไทยพื้นบ้านมากมายหลายเพลงที่ถูก นำ�ไปประยุกต์ ปรับปรุง ดัดแปลง เพื่อให้ เข้าและทันกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไปทั้งยังให้ เข้าถึงกลุ่มผู้ฟังรุ่นใหม่มากขึ้น
สองป้าเมืองกาญจน์ฯ พลิกวิกฤติเพลงพืน้ บ้าน ของตนอย่าง เพลงเหย่ยหรือรำ�เหย่ย2 ซึง่ มัก ร้องลงท้ายด้วยคำ�ว่าเอย และแทบจะถูกลืม ไปแล้ว นำ�มาผสมผสานกับเพลงแร็ปทีก่ �ำ ลัง เป็นกระแสอยู่ตอนนี้ เพื่อกู้เพลงพื้นบ้านให้ กลับมาชีวิตชีวาอีกครั้งหนึ่ง และเข้าถึงคน ยุคใหม่มากขึน้ เป็นเสมือนก้าวแรกของผูส้ งู วัย ที่หันมาเปิดใจกับเพลงรุ่นใหม่เพื่อรักษา เพลงของรุ่นตนเองไว้ให้คงอยู่
ไม่เพียงคนรุ่นเก่าหยิบยืมกระแสของคน รุน่ ใหม่ไปใช้ แต่คนรุน่ ใหม่กข็ อนำ�สินทรัพย์ เก่าอย่างเพลงพื้นบ้านมาเป็นต้นขั้วไอเดีย ในการแร็ปเช่นกัน แร็ปเปอร์จากรายการ Show Me The Money Thailand รายการ ค้นหาแร็ปเปอร์ชื่อดังของไทย ได้มีการนำ� เพลงฉ่อยมาประยุกต์กบั เพลงแร็ปจนเข้ากัน ได้เป็นอย่างดี และเรียกเสียงฮือฮาให้กบั ผูฟ้ งั ได้มากมาย
ด้วยอิทธิพลจากโลกตะวันตกและกระแส เพลงต่างประเทศ โดยเฉพาะเพลงแร็ปที่กำ�ลัง เป็นกระแสหลักอยู่ตอนนี้ อาจจะทำ�ให้บางคน หลงลืมเสน่หไ์ ทยๆ ทีบ่ า้ นเรามีไป จนกลายเป็นว่า หาคนรุน่ ใหม่ทจี่ ะมาสืบทอดได้ยากเต็มที การจะ อนุ รั ก ษ์ เ พลงพื้ น บ้ า นในวั น นี้ จึ ง ไม่ ไ ด้ จำ � กั ด อยูเ่ พียงการรักษาของเดิมเอาไว้อย่างเหนียวแน่น แต่ ยั ง รวมถึ ง การประยุ ก ต์ ข องเดิ ม ให้ เ ข้ า กั บ สมัยใหม่ เพื่อนำ�เสนออย่างไรให้น่าสนใจ โดย ไม่ ลื ม ว่ า บ้ า นเมื อ งเราก็ มี ข องดี เ หมื อ นกั น เช่นเดียวกับเพลงพื้นบ้านที่ถือเป็น “เสน่ห์ไทย สไตล์แร็ป” ซึ่งสร้างสรรค์ได้อย่างกลมกล่อม ลงตัว
ที่มา: บทความ “น้าโย่ง เชิญยิม้ จำ�อวดหน้าม่าน ศิลปินพืน้ บ้านหน้าแถว” (มิถนุ ายน 2555) จาก trueplookpanya.com / หนังสือ เพลงนอกศตวรรษ (พิมพ์ครัง้ ที่ 4) ของ เอนก นาวิกมูล / บทความ “‘เพลงแหล่’ อีกตำ�นานเพลง กลิ่นอายวัฒนธรรม...และศรัทธา…” (พฤษภาคม 2560) จาก dailynews.co.th / บทความ “รำ�เหย่ยประยุกต์แรป ช่วยผู้สูงวัยไม่ติดเตียง” (พฤษภาคม 2560) จาก thaihealth.or.th / บทความ “สุจิตต์ วงษ์เทศ: สองง่ามสองแง่ในเพลงรุ่นใหม่ ความเป็นไทยในเพศวิถีศึกษาสนุกๆ” (มิถุนายน 2560) จาก matichon.co.th 2
เขียนอีกแบบว่า รำ�เหย่อย จากหนังสือประทีบ ฉบับคิมหันต์กราย พ.ศ. 2507 ที่มา: หนังสือ เพลงนอกศตวรรษ CREATIVE THAILAND I 13
Cover Story: เรื่องจากปก
เรื่อง: ดร. กฤษฏิ์ เลกะกุล* * นักวิชาการดนตรีและนักดนตรี จบปริญญาเอกสาขามานุษยดนตรีวิทยา (Ethnomusicology) จาก SOAS, University of London มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์ดนตรี อิทธิพล และ อำ�นาจของดนตรีที่มีผลต่อสังคม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของมนุษย์ ได้รับรางวัลดุษฎีนิพนธ์ดีเด่นเรื่อง Prachan: Music, Competition and Conceptual Fighting in Thai Culture เคยมีผลงานเขียนในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ BBC Thai และงานเขียนร่วมกับ Professor Keith Howard ในงานประชุมวิชาการดนตรีนานาชาติฮอล์ยูครั้งที่ 3 ปัจจุบันเป็นอาจารย์ ประจำ�ภาควิชาศิลปะไทย สาขาวิชาศิลปะการดนตรีและการแสดง คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ CREATIVE THAILAND I 14
กระแสความแรงของแนวเพลงแร็ป-ฮิปฮอปในประเทศไทยกำ�ลังถูกพูดถึงเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นศิลปินบนดินและใต้ดิน ตั้งแต่ดาจิม โจอี้บอย อิลสลิก ฟักกลิ้งฮีโร่ CP สมิง RAD ฯลฯ ที่ต่างถ่ายทอดเรื่องราวของสังคมไทยสู่บทเพลงแร็ปได้อย่าง น่าสนใจจนสร้างกระแสความนิยมให้กับเพลงแร็ปในประเทศไทยมากขึ้นจนโด่งดังไปทั่วโลก เมื่อมองย้อนกลับไปถึงความเป็นมาของดนตรี แร็ป แร็ปเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมฮิปฮอป ที่ ประกอบด้วย การร้องแร็ป การสแครชแผ่นเสียง (Scratch) เต้นเบรกดานซ์ (Breakdance) และ การเขียนภาพศิลปะบนฝาผนัง (Graffiti) การ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของดนตรีแร็ปยังเชื่อมโยง การเปลีย่ นแปลงของสังคม รวมถึงพัฒนาการของ ดนตรีและคนในแต่ละยุคได้ ทำ�ให้เข้าใจพัฒนาการ ของดนตรีแร็ป ที่เปลี่ยนฐานะจากดนตรีของ ชนชัน้ แรงงาน กลายเป็นดนตรีกระแสหลักทีไ่ ด้รบั การยอมรับทัว่ โลก สิง่ นีน้ �ำ มาสูค่ วามเข้าใจบทบาท และอิทธิพลของเพลงแร็ปที่สะท้อนภาพสังคมไทย ในปัจจุบัน
ย้อนรอยประวัติดนตรีแร็ป-ฮิปฮอป บทเพลงฮิปฮอปหรือทีร่ จู้ กั กันดีในชือ่ เพลงแร็ปนัน้ เป็นดนตรีของกลุม่ ชาวแอฟริกนั -อเมริกนั ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงปี 1970 ณ เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา จุดกำ�เนิดของดนตรีแร็ป-ฮิปฮอปนั้นเกิดจาก ความนิยมในการจัดปาร์ตขี้ องวัยรุน่ กลุม่ แอฟริกนั อเมริกันในย่านบร็องซ์ (Bronx) ซึ่งเป็นย่านของ ชนชั้นแรงงาน คนยากไร้ที่ต้องการหาที่นัดพบ เพื่อนฝูงและฟังดนตรีสนุกสนาน แต่ไม่มีเงิน เข้าไปสังสรรค์ในผับหรือบาร์ที่เปิดเพลงดิสโก้ (Disco) ตามสมัยนิยม จึงได้จัดปาร์ตี้ในรูปแบบ ของตัวเอง การจัดปาร์ตข้ี องวัยรุน่ กลุม่ นีม้ เี อกลักษณ์ เฉพาะโดยมีดีเจ (DJ) ทำ�หน้าที่เปิดเพลง และให้ นักร้อง (MC) เป็นผู้ประกาศผ่านไมโครโฟนเพื่อ เชิญชวนผูค้ นเข้าไปในงาน และนีน่ บั เป็นจุดกำ�เนิด ของดนตรีแร็ป-ฮิปฮอป ดีเจ คูล เฮิร์ก (DJ Kool Herc) หรือชื่อจริง ว่า ไคลฟ์ แคมป์เบลล์ (Clive Campbell) เป็น ผู้ให้กำ�เนิดดนตรีแนวฮิปฮอป โดยเริ่มจากการ เป็นดีเจ เขาจัดปาร์ตี้ Back to School ที่บ้าน โดยมีโค้ก ลา ร็อก (Coke La Rock) เพื่อนสนิท ของเขาทำ�หน้าที่เป็นพิธีกรหรือเอ็มซี กล่าวเชิญ ชวนแขกเข้ามาในงานและแนะนำ�ตัวดีเจ คูล เฮิรก์ ก่อนเริ่มปาร์ตี้ โค้ก ลา ร็อก เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน ชอบใช้ วิธกี ารพูดทีม่ สี มั ผัสในจังหวะแบบต่างๆ และผสาน
เข้ากับลีลาการเปิดเพลงแบบมิกซ์แผ่นเสียงจาก เครือ่ งเล่นสองเครือ่ งของคูล เฮิรก์ ทำ�ให้คนสนใจ แนวเพลงของคูล เฮิร์ก มากขึ้น ในขณะเดียวกัน โค้ก ลา ร็อก ได้รับความนิยมจากผู้ฟังมาก ในฐานะนักพูดสด สิ่งที่น่าสนใจคือลีลาการพูดที่ มีเอกลักษณ์ เล่าเรื่องราวสื่อความหมายสะท้อน สังคมได้อย่างสนุกสนาน จนทำ�ให้เกิดสไตล์ของ แนวดนตรี “แร็ป” ที่เป็นที่นิยม โค้ก ลา ร็อก จึงได้รบั การยอมรับว่าเป็นแร็ปเปอร์คนแรกของโลก หลังจากแนวดนตรีแร็ป-ฮิปฮอปเริ่มเป็นที่ รู้จัก ก็กลายเป็นจุดกำ�เนิดของดีเจและแร็ปเปอร์ ที่มีชื่อเสียงในวงการเพลง อย่างเช่น เคอร์ติส วอล์กเกอร์ (Kurtis Walker) อเมริกันแร็ปเปอร์ คนแรกที่ได้เซ็นสัญญากับค่ายเพลงเมอร์คิวรี เร็กคอร์ดส์ (Mercury Records) และโด่งดังจาก เพลงแร็ป The Breaks (ค.ศ.1980) วงแร็ป Sugar Hill Gang ได้ออกซิงเกิล Rapper’s Delight (ค.ศ.1979) เป็นเพลงแร็ปเพลงแรกทีต่ ดิ 40 อันดับ เพลงยอดนิยมบิลบอร์ดในสหรัฐอเมริกา และจัดว่า เป็ น เพลงแร็ ป เพลงแรกที่ ทำ � ให้ ด นตรี ฮิ ป ฮอป เป็นที่รู้จักอย่างอย่างแพร่หลายในสไตล์การพูด โอ้อวดอย่างตรงไปตรงมา และเรื่องทางเพศ จนกลายเป็นต้นแบบของเพลงแร็ปในเวลาต่อมา ยุ ค ทองของดนตรี แ ร็ ป -ฮิ ป ฮอปในช่ ว ง ทศวรรษ 1980 -1990 เป็นยุคที่ดนตรีฮิปฮอปมี การพัฒนาและมีความหลากหลายซับซ้อนมากขึน้ พร้อมๆ กับการพัฒนาเทคโนโลยีดนตรีของดีเจกับ การสแครชแผ่นบนเครื่องเล่นแผ่นเสียง เกิดวง ดนตรีและศิลปินแร็ป-ฮิปฮอปในสไตล์ที่หลากหลาย ทัง้ แนวเร็กเก้ ป็อป ร็อก แจ๊ส อาร์แอนด์บี อย่างเช่น Juice Crew, Eric B. & Rakim, Boogie Down Productions, De La Soul, Big Daddy Kane, Kool G Rap, Ultramagetic MCs, Beastie Boys เป็นต้น ช่วงยุคทองของดนตรีแร็ป-ฮิปฮอป นีเ้ องทีเ่ กิด วงแร็ปเปอร์หญิงทรีโอวงแรกของโลก Salt-N-Papa ในปี 1985 ซึ่งโด่งดังในเพลง Push it และเพลง The Brick Track Versus Gitty Up โดยได้รบั รางวัล แกรมมีใ่ นฐานะวงดนตรีแร็ปยอดเยีย่ ม ในขณะที่ ลานา มิเชล (Lana Michele) หรือที่รู้จักกันดี CREATIVE THAILAND I 15
ในนาม เอ็มซี ไลต์ (MC Lyte) เป็นแร็ปเปอร์ หญิงเดีย่ วคนแรกของโลก ลานาออกอัลบัม้ “Lyte As A Rock” ในปี 1988 ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็น หนึง่ ใน 100 อัลบัม้ เพลงแร็ปทีด่ ที สี่ ดุ จากนิตยสาร ดนตรี The Source การเกิดแร็ปเปอร์หญิงผิวสี จากที่เคยมีแต่แร็ปเปอร์ชาย เป็นการสะท้อนถึง การยอมรับสิทธิเสรีภาพและความสามารถของ สตรีผิวดำ�ในสังคมดนตรีอเมริกามากขึ้น นอกจากนีย้ งั ได้เกิดศิลปินและวงดนตรีแร็ป ทีบ่ รรยายเนือ้ หาสะท้อนปัญหาสังคมต่างๆ อย่าง เด่นชัด ทัง้ ด้านการทุจริตและเอาเปรียบของกลไกรัฐ การบิดเบือนของสือ่ อเมริกนั ความรุนแรง ยาเสพติด ปัญหาการเมืองและการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ของชาวอเมริกนั วงดนตรีเหล่านีไ้ ด้รบั ความนิยม จากประชาชนมากจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของ ดนตรีแร็ปแนว Gangsta Rap ศิลปินและวงดนตรี แร็ปแนวดังกล่าวที่มีชื่อเสียง ได้แก่ Public Enemy, KRS-One, N.W.A. Ice-T, Ice Cube ฯลฯ ซึง่ ได้รบั ความนิยมและแพร่กระจายไปยังประเทศต่างๆ ทัว่ โลก เป็นเหตุให้ดนตรีฮปิ ฮอปมีการผสมผสาน เข้ากับวัฒนธรรมพื้นถิ่นของชาติต่างๆ จนเกิด เพลงแร็ปหลากสไตล์เช่นในปัจจุบัน
N.W.A วงฮิปฮอปแนว Gangsta Rap ตำ�นานแห่งฝั่งตะวันตก หลังจากที่ดนตรีแนวแร็ป-ฮิปฮอปเริ่มเป็นที่รู้จัก ของชาวอเมริกนั ในนิวยอร์ก ความนิยมของดนตรี แนวนี้ได้ขยายตัวออกไปทั่วอเมริกา โดยเฉพาะ ทางฝั่งตะวันตก เมืองใหญ่อย่างลอสแอนเจลิส ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ดนตรีแร็ปเป็นที่นิยมกันมาก โดยเฉพาะในสไตล์ Gangsta Rap หรื อ Underground Rap ทีบ่ รรยายชีวติ ของชาวแก็งค์ เนือ้ หากล่าวถึงความยากจน ความรุนแรงและเรือ่ ง ต้องห้ามของสังคม เช่น ยาเสพติด อาชญากรรม การข่มขืน โสเภณี วัตถุนยิ ม ศิลปินที่มีชื่อเสียง ของฝั่งตะวันตก ได้แก่ วง N.W.A., Ice-T, Ice Cube, Snoop Dogg, Eminem ฯลฯ วง N.W.A (Niggaz With Attitudes) นับเป็นวงแร็ปเปอร์ ในตำ � นานที่ไ ด้ รับ ความนิ ย มมากที่ สุ ด วงหนึ่ง มีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการดนตรีแร็ปทั่วโลก
เพลงทีไ่ ด้รบั ความนิยม ได้แก่ Boyz-N-The-Hood (ค.ศ.1987), Fuck Tha Police (ค.ศ.1988), Straight Outta Compton (ค.ศ.1988) ฯลฯ มี สมาชิกแร็ปเปอร์ทม่ี ชี อ่ื เสียงหลายคน อย่าง อีซอ่ี ี (Eazy-E), ไอซ์คูบ (Ice Cube), ด็อกเตอร์เดร (Dr. Dre), อาราเบียน พรินซ์ (Arabian Prince) ดีเจเยลล่า (DJ Yella), และเอ็มซี เร็น (MC Ren) วง N.W.A ก่อตั้งในปี 1986 เป็นวงแร็ปที่ได้รับ ความนิยมมากจนในปัจจุบัน ทั้งยังมีการทำ�เป็น ภาพยนตร์เรื่อง “Straight Outta Compton” (ค.ศ. 2015) ที่กล่าวถึงจุดกำ�เนิดและจุดจบของ วง N.W.A ยังผลิตแนวเพลงหนักหน่วงที่บรรยาย ถึงความขัดแย้งและความรุนแรงของสังคมอย่าง ตรงไปตรงมา อีกทั้งเสียดสีสังคมผ่านเนื้อเพลง เช่นเพลง “Fuck tha Police” (ค.ศ.1988) ที่ กลายเป็นเพลงแร็ปประวัตศิ าสตร์ซงึ่ กล้าประท้วง การกระทำ�ของตำ�รวจและรัฐที่ใช้ความรุนแรง และเหยียดสีผิวกับประชาชน ทำ�ให้ตำ�รวจลอส แอนเจลิสไม่พอใจ และเข้าจับกุมวง N.W.A. ขณะ เล่นเพลงนีใ้ นคอนเสิรต์ นอกจากนีต้ �ำ รวจเอฟ บี ไอ ถึงกับส่งจดหมายเตือนมาที่ค่าย Ruthless Records ของวงและมีการฟ้องร้อง ขึ้นศาล จนทำ�ให้วงถูก แบนจากงานคอนเสิร์ตอีกหลายงาน แต่กระนั้น แทนที่จะทำ�ให้ N.W.A ถูกยุบหรือคนฟังน้อยลง กลับทำ�ให้พวกเขาได้รบั ความนิยมจากประชาชน มากขึ้นไปอีก ด้วยกลายเป็นสัญลักษณ์ของการ ประท้วงอำ�นาจรัฐทีใ่ ช้ในทางมิชอบ และสามารถ ทำ�ยอดขายให้กับวงได้ถึงสิบล้านแผ่นในอเมริกา ขณะที่วง N.W.A. ก็ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของ Gangsta Rap ฝั่งตะวันตกที่ประสบความสำ�เร็จ มากที่สุดเท่าที่เคยมีมา อย่างไรก็ตาม ภายหลังวง N.W.A. ต้องปิด ตำ�นานลงเนือ่ งด้วยปัญหาความขัดแย้งทางธุรกิจ ภายใน สมาชิกของวงได้แยกตัวออกไปสร้างชือ่ เสียง ในฐานะศิ ล ปิ น เดี่ ย วมากมาย หนี่ ง ในนั้ น คื อ ด็อกเตอร์ เดร ผูส้ ร้างศิลปินแร็ปเปอร์ทมี่ ชี อื่ เสียง ต่อมามากมาย เช่น Snoop Dogg, Tupac, Eminem, The Game, 50 Cent ฯลฯ
สงครามดนตรีแร็ป ฝั่งตะวันตกและตะวันออก ในวงการดนตรีฮปิ ฮอป สงครามเพลงแร็ประหว่าง ฝั่ ง ตะวั น ตกและตะวั น ออกของอเมริ ก ายั ง คง เป็นที่โจษจันถึงปัจจุบัน สงครามนี้เกิดระหว่างปี
1994-1997 จากการความแตกหักระหว่างสอง เพือ่ นรักเพือ่ นแค้นแร็ปเปอร์ชอื่ ดัง ทูพคั อาร์มอร์ ชาเคอร์ (Tupac Amaru Shakur) หรือทีร่ จู้ กั กันดี ในนาม ทูพัค (Tupac) และคริสโตเฟอร์ วอลเลซ (Christopher Wallace) หรือที่รู้จักกันในนาม เดอะโนโทเรียส บี.ไอ.จี. (The Notorious B.I.G.) หรือ บิก๊ กี้ (Biggie) ซึง่ มีความเกีย่ วพันกับค่ายเพลง ยั ก ษ์ ใ หญ่ ส องค่ า ยของทั้ ง สองฝั่ ง ระหว่ า งค่ า ย Bad Boy Records และ Death Row Records โดยมีเจ้าของค่ายคือ ฌอน จอห์น คอมบ์ส (Sean John Combs) หรือพัฟ แดดดี้ และซูจ ไนท์ (Suge Night) เรื่องราวของสงครามแร็ป-ฮิปฮอปทั้งสอง ฝั่งนี้ เกิดขึ้นจากการไม่ลงรอยกันของทูพัคและ บิ๊กกี้ ที่สะสมมาตั้งแต่ช่วงที่ทั้งสองเป็นเพื่อนกัน และต่ า งมี ค วามฝั น ต้ อ งการเป็ น แร็ ป เปอร์ ที่ มี ชือ่ เสียง ความแตกแยกระหว่างทัง้ สองเกิดขึน้ เมือ่ ทูพัคกลายเป็นแร็ปเปอร์ชื่อดัง มีงานแสดงหนัง ฮอลลีวูด ในขณะที่บิ๊กกี้ยังไม่ได้เดินบนถนนอัน เฉิดฉายและต้องการให้ทพู คั ช่วยสนับสนุนเขาให้ มีชื่อเสียง แต่บิ๊กกี้กลับถูกทูพัคปฏิเสธ ทำ�ให้เขา ผิดหวังมากและตัดสินใจไปเซ็นสัญญาเข้าค่าย Bad Boy Records ของพัฟ แดดดี้ และออกอัลบัม้ แรก “Ready to Die” ในปี 1994 พร้อมฉายา เดอะโนโทเรียส บี.ไอ.จี. (The Notorious B.I.G.) สร้างชือ่ เสียงให้กบั ค่าย Bad Boy Records จนเป็น ที่โด่งดัง ความสัมพันธ์ของทั้งสองเริ่มแตกหักเมื่อปี 1993 ทูพคั และเพือ่ นถูกจับข้อหาร่วมข่มขืนเด็กสาว อายาน่า แจ็กสัน (Ayanna Jackson) วัย 19 ปี ซึง่ เป็นแฟนคลับของทูพคั ทีม่ าหาทีโ่ รงแรม ทำ�ให้ ต้ อ งขึ้ น ศาลต่ อ สู้ ค ดี ช่ ว งที่ ทู พั ค รอต่ อ สู้ ค ดี ทูพคั และเพือ่ นของเขาได้ไปบันทึกเสียงที่ Quad Recording Studio ไทม์สแควร์ เมืองนิวยอร์ก และ ได้เจอกับกลุม่ ของบิก๊ กีแ้ ละพัฟ แดดดี้ ทีม่ าบันทึก เสียงบนตึกเดียวกันอีกชัน้ เมือ่ ทูพคั และเพือ่ นออก ไปพักข้างนอกและเข้ามาเพือ่ บันทึกเสียงในสตูดโิ อ ก็ปรากฏชายผิวดำ�กำ�ยำ�สามคนวิง่ เข้ามารุมทำ�ร้ายเขา พร้อมยิงปืนใส่ทพู คั 5 นัด พร้อมกับถอดทรัพย์สนิ ของเขาไป ทูพัคต้องแกล้งตายจึงรอดมาได้ ทูพัคกระเสือกกระสนเข้าไปในลิฟท์เพื่อขึ้น ไปชัน้ แปดของตึกเพือ่ ขอความช่วยเหลือ เขาเจอ บิ๊กกี้และพัฟ แดดดี้ พร้อมกับพวก แต่กลับไม่มี ใครเข้ า มาช่ ว ยเขาทั น ที กลั บ จ้ อ งมองอย่ า ง CREATIVE THAILAND I 16
ประหลาดใจว่าเขารอดมาได้อย่างไร หลังจากที่ ทูพัคได้รับการผ่าตัดรักษาและรอดชีวิตมาได้ ทูพคั ก็สงสัยว่าทำ�ไมทัง้ บิก๊ กีแ้ ละพัฟ แดดดี้ ทีเ่ ป็น ผูม้ อี ทิ ธิพลฝัง่ นิวยอร์ก แต่กลับทำ�เฉย ไม่ชว่ ยเขา ค้นหาคนร้าย และนีเ่ ป็นสาเหตุทท่ี พู คั เชือ่ อย่างมาก ว่าบิก๊ กี้ มีสว่ นรูเ้ ห็นกับการทีเ่ ขาถูกยิงไม่ทางตรง ก็ทางอ้อม หลังจากเหตุการณ์ครั้งนี้ ทูพัคเก็บความ เคียดแค้นบิ๊กกี้และพัฟ แดดดี้ไว้ แต่ทูพัคโดน มรสุมกระหน่ำ�อีกรอบเมื่อถูกศาลตัดสินจำ�คุกใน คดีขม่ ขืนอายาน่า แจ็กสัน แต่ได้รบั การช่วยเหลือ จาก ซูจ ไนท์ ผู้ก่อตั้งค่ายเพลง Death Row Records ทำ�ให้ได้ออกจากเรือนจำ� โดยทูพัคได้ ทำ�ข้อตกลงกับซูจ ไนท์ว่าเขาจะมาทำ�งานให้กับ ค่ายของซูจ ไนท์ ถ้าเขาได้รบั การช่วยเหลือครัง้ นี้ ปัญหาเริม่ วุน่ วายขึน้ เมือ่ ซูจ ไนท์ไปงานรับรางวัล ภาพยนตร์เรื่อง Above the Rim (ค.ศ. 1994) ที่ทูพัคแสดงนำ�และเขาเป็นโปรดิวเซอร์ ซูจ ไนท์ ได้ ก ล่ า วตอนรั บ รางวั ล ว่ า ถ้ า ใครอยากเป็ น ซูเปอร์สตาร์แร็ปเปอร์ตวั จริง เบือ่ พวกโปรดิวเซอร์ (ในที่นี่หมายถึงพัฟ แดดดี้) ของค่ายโน้นที่มัว เต้นแร้งเต้นกาไปมาในมิวสิกวิดโี อ และได้ท�ำ งาน เป็นเรือ่ งราวจริงๆ ให้มาอยู่ที่ Death Row Records ดีกว่า คำ�พูดนีท้ �ำ ให้เกิดการแตกหักระหว่างสอง ค่ายเพลง นอกจากนี้ในหลายคอนเสิร์ตทูพัคยัง โจมตีค่ายเพลงฝั่งตะวันออกตลอดว่า ทำ�เพลง แร็ปขายไม่ค่อยออก ในขณะที่ฝั่งของเขาขายได้ มากมาย ทีน่ า่ สนใจคือเมือ่ เกิดสงครามระหว่างค่ายเพลง ของฝั่งตะวันตกและตะวันออก ตั้งแต่ทูพัคมาอยู่ กับค่ายเพลง Death Row Records เพลงแร็ป ของเขาทำ�รายได้มากถึงสิบล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายในปีเดียว ซึง่ มีเสียงวิพากษ์วจิ ารณ์วา่ สงคราม สองฝั่งครั้งนี้อาจเป็นเรื่องของการจัดฉากเพื่อ ผลประโยชน์ทางธุรกิจ อย่างไรก็ตาม ในช่วงนัน้ ค่ายเพลงทัง้ สองฝัง่ ได้ปล่อยเพลงซิงเกิลใหม่ออกมาโจมตีกันตลอด เริม่ จากฝัง่ ตะวันออก Bad Boy Records ปล่อยเพลง “Who Shot Ya” (ค.ศ.1995) ซึง่ แปลว่า ใครยิงคุณ พร้อมเนือ้ เพลงเปรียบเปรยเสียดสีทพู คั ทำ�ให้ทาง ฝั่งตะวันตก Death Row Records ของทูพคั ตอบโต้ดว้ ยเพลงหลายเพลง เช่น “Against All Odds”, “Bomb First (My Second Reply)” และ “Hit ‘Em Up” (ค.ศ.1996) เป็นต้น
จากการโต้ตอบอย่างดุเดือดทีม่ ที งั้ คำ�รุนแรง คำ�หยาบ ผ่านทางเนื้อเพลงและแนวเพลงแร็ปที่ หลากหลาย ทำ�ให้บิ๊กกี้ฝั่งตะวันออกกลายเป็น เจ้าของสโลแกน “Keep it real“ ที่บอกว่าควรจะ ยึดแนวเพลงแร็ปแบบดัง้ เดิม ในขณะทีฝ่ ง่ั ตะวันตก ทูพัค มีสโลแกนตอบโต้ว่า “It’s all good” ซึ่ง หมายถึงควรเปิดใจรับสิง่ ใหม่ๆ เสมอ โดยหลังจาก ต่อสู้มานาน สงครามสองฝั่งก็จบลงที่การตาย ของทูพัคและบิ๊กกี้ สองแร็ปเปอร์ผู้เป็นตำ�นาน ทูพคั ถูกจ่อยิงขณะรถจอดอยูก่ ลางสีแ่ ยกหลังจาก ไปชมการชกมวยคูข่ องไมค์ ไทสัน ในลอสแอนเจลิส ในปี 1996 ปีถัดมา บิ๊กกี้มาโปรโมทผลงานเพลง ของตัวเองที่ลอสแอนเจลิสและถูกจ่อยิงตอนรถ จอดติดไฟแดง การตายของศิลปินแร็ปเปอร์ทง้ั สอง สร้างความเสียใจให้กับแร็ปเปอร์ทั้งฝั่งตะวันตก และตะวันออก แต่จนถึงปัจจุบันตำ�รวจก็ยังไม่ สามารถปิดคดีได้
แร็ปทางตอนใต้ และ Old School vs New School เมื่ อ กระแสเพลงแร็ ป ของฝั่ ง ตะวั น ตกและฝั่ ง ตะวันออกโด่งดังไปทั่วสหรัฐอเมริกา ดนตรีแร็ป ทางตอนใต้กเ็ ริม่ ก่อตัวขึน้ ตัง้ แต่ปี 1990 และจัดเป็น ดนตรีแร็ปหลักทีส่ �ำ คัญอีกสายหนึง่ ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีเครือข่ายจากเมืองแอตแลนตา นิวออร์ลีนส์ ฮุสตัน เมมฟิส และไมอามี่ ทั้งได้สร้างศิลปิน แร็ปเปอร์รุ่นใหม่ที่โด่งดังในปัจจุบัน ดนตรีฮปิ ฮอปทางตอนใต้ประสบความสำ�เร็จ มากหลังปี 2000 เมื่อแนวดนตรีฮิปฮอปได้เริ่ม เข้าไปสู่ดนตรีป็อปกระแสหลักและมีสไตล์ดนตรี ที่แปลกออกไปอย่างแนว Crunk, Neo soul, Nu metal ที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของเพลงแร็ป ทางตอนใต้ เน้นจังหวะและเสียงดนตรีทโี่ ดดเด่น มากกว่าเนื้อหา เช่น เพลง Cowboy (ค.ศ.1999) โดย Kid Rock, So What (ค.ศ.2006) โดย Field Mop,
Throw Some D’s (ค.ศ.2007) โดย Rich Boy ฯลฯ ตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นมา ดนตรีแร็ปแนวแทร็ป ที่ มี ก ารใช้ เ สี ย งสั ง เคราะห์ จ ากซิ น ธิ ไ ซเซอร์ (Synthesizer) ใช้เสียงไฮแฮท (Hi-hat) ที่รัว กระชับรวมถึงเสียงเบสและร้องผ่านออโต้จูน (Auto Tune) ที่ทำ�ให้เสียงก้องกังวาน มีอิทธิพล อย่างมากต่อแนวเพลงแร็ปและได้กลายเป็นดนตรี กระแสหลัก แร็ปเปอร์ที่มีชื่อเสียงของเพลงแร็ป ทางตอนใต้ท่เี กิดขึ้นหลังปี 2010 ได้แก่ Young Thug, Future, Travis Scot, Gucci Mane, Rich Homie Quan, Post Molone, Migos, and Lil Yachty ฯลฯ ดนตรีแร็ป-ฮิปฮอป Old School และ New School (เป็นที่เข้าใจกันว่าหมายถึงแร็ปแบบเก่า และแบบใหม่) เริ่มมีการให้คำ�นิยาม เมื่อดนตรี แร็ปได้แตกออกเป็นหลากหลายสไตล์ ซึง่ มีความ เกี่ยวพันถึงแนวดนตรี ยุคดนตรีและพัฒนาการ ของเทคโนโลยีดนตรี อย่างเช่น การนำ�เครื่อง สังเคราะห์เสียงซินธิไซเซอร์ และออโต้จนู เข้ามา เป็นส่วนหนึ่งของดนตรีฮิปฮอป อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างที่สำ�คัญของ ดนตรีแร็ป-ฮิปฮอป Old School และ New School ก็คือเนื้อหาของเพลง โดยเนื้อเพลงแร็ปของ Old School อย่างเช่นศิลปินและวง N.W.A, Tupac, Notorious B.I.G, Snoop Dogg หรือแม้แต่ Eminem ราชาเพลงฮิปฮอป ส่วนมากจะเน้นถึง การพูดถึงชีวิตความยากลำ�บาก ความรุนแรง ความยากจนของคนผิวสี อำ�นาจรัฐที่ใช้ในทาง มิชอบ บรรยายเสียดสีสังคมที่เสื่อมโทรม ซึ่ง แตกต่างกับทาง New School อย่างเช่น ศิลปิน Lil Pump, Drake, Lil Jon, Young Thug ที่นิยม พูดถึงความร่ำ�รวย อู้ฟู่หรูหรา การใช้เงินอย่าง สิ้นเปลือง นิยมสินค้าแบรนด์เนม เครื่องประดับ ของมีค่า เพชร ทอง การมีอาวุธ เพศสัมพันธ์ และยาเสพติด ปัจจุบันเพลงแร็ปแนว “แทร็ป”
CREATIVE THAILAND I 17
หรือสายของ New School นัน้ เป็นทีน่ ยิ มของวัยรุน่ และได้กลายเป็นดนตรีกระแสหลักในปัจจุบัน
ดนตรีแร็ป-ฮิปฮอปในประเทศไทย ดนตรีแร็ปได้เข้าสู่วงการเพลงของไทยจากกลุ่ม คนไทยกลุม่ เล็กๆ ทีช่ นื่ ชอบเพลงแร็ป โดยเฉพาะ ในช่วงยุค 90s ซึ่งถือว่าเป็นยุคทองของดนตรี ฮิปฮอปในโลกยุคโลกาภิวตั น์ และพัฒนาขยายกลุม่ ต่อมาตามยุคสมัย ในช่วงแรกนัน้ เป็นการเข้ามา ในค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ เช่น คีตา เอ็นเทอร์เทนเม้นท์ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และอาร์เอส วง TKO ค่ายคีตา นั บ เป็ น วงดนตรี แ ร็ ป วงแรกที่ บุ ก เบิ ก ดนตรี แร็ป-ฮิปฮอปในบ้านเรา โดยออกอัลบั้ม Original Thai Rap เพื่อเป็นทางเลือกและท้าทายวงการ เพลงไทยกระแสหลัก ขณะที่ศิลปินในค่ายใหญ่ อย่างแกรมมี่และอาร์เอส ก็ได้นำ�เสนอเพลงแร็ป แฝงผ่านแนวเพลงป็อปและดานซ์ เนื่องจากมี ความเชื่อว่าคนไทยยังนิยมดนตรีกระแสหลัก อยู่มาก เจ เจตริน วรรธนะสิน ศิลปินสังกัดแกรมมี่ และทัช ณ ตะกั่วทุ่ง ในสังกัดอาร์เอส นับเป็น ศิลปินยุคแรกๆ ทีน่ �ำ เอาเพลงแร็ปเข้ามาสูว่ งการ เพลงไทยโดยแฝงเข้ามาในรูปแบบของป็อปดานซ์ ปี พ.ศ. 2536 เพลง “ยุง่ น่า” และเพลง “สมนํา้ หน้า” ในอัลบั้มของเจ เจตริน เป็นเพลงแร็ปเต็มตัว ที่ติดหูคนไทยและได้รับความนิยมยาวนาน ส่วน แร็ปเตอร์ ศิลปินคู่แนวฮิปฮอปของค่ายอาร์เอส คือศิลปินรุน่ ต่อมาทีไ่ ด้รบั ความนิยมในหมูว่ ยั รุน่ ไทย ด้วยการนำ�ดนตรีปอ็ ปมาผสมกับแร็ป เช่น เพลง “ซูเปอร์ ฮีโร่” และเพลง “อย่าพูดเลย” ในอัลบั้ม Raptor และ Waab Boys ดนตรีแร็ป-ฮิปฮอปเริ่มประสบความสำ�เร็จ มากขึ้นในปี 2538 เมื่อโจอี้บอย หรือ อภิสิทธิ์ โอภาสเอี่ยมลิขิต ได้ออกอัลบั้ม โจอี้บอย ซึ่งเป็น เพลงแร็ปทั้งอัลบั้มเป็นชุดแรกให้กับค่ายเบเกอรี่
มิ ว สิ ก ประจวบเหมาะกั บ ที่ ก ระแสดนตรี ใ น เมืองไทยได้เริม่ ออกจากกระแสหลักไปสูแ่ นวอิสระ ทำ�ให้เพลงแร็ปได้รบั ความนิยมเพิม่ มากขึน้ ต่อมา โจอี้บอย ยังได้ก่อตั้งค่ายเพลงก้านคอคลับ ที่มี ศิลปินฮิปฮอปชือ่ ดังอย่าง บุดด้า เบลส สิงห์เหนือ เสือใต้ ฯลฯ ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 ได้เกิดวงแร็ปเปอร์ หน้าใหม่ ชื่อ ไทเทเนี่ยม (ประกอบด้วยสมาชิก ขันเงิน เนื้อนวล จำ�รัส ทัศนละวาด และปริญญา อินทชัย) เป็นกลุ่มเพื่อนที่รวมตัวกันที่นิวยอร์ก และมีเอกลักษณ์จากทรงผมและการแต่งตัวทีเ่ ต็ม ไปด้วยเครือ่ งประดับ ต่อมาวงไทเทเนีย่ มได้เข้าไป อยู่ในค่ายสนามหลวงในเครือของจี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ ทีม่ เี พลงฮิตอย่างเพลง “ทะลึง่ ” (พ.ศ.2548) “Love for my city” (พ.ศ.2557) “บ่องตง” (พ.ศ. 2559) ฯลฯ จนกลายเป็นขวัญใจแฟนเพลงวัยรุน่ ไทย ที่ชื่นชอบเพลงแร็ปจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีศิลปินแร็ปสไตล์ไทยอย่าง ปู่จ๋าน ลองไมค์ หรือพิษณุ บุญยืน ศิลปินแร็ป เปอร์ชื่อดังที่ได้รับความนิยมตั้งแต่ พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน ก็ได้ออกเพลงแร็ปที่โด่งดังอย่าง “นางฟ้าจำ�แลง” “ตราบธุลดี นิ ” “แลรักนิรนั ดร์กาล” “สะพานไม้ไผ่” “มณีในกล่องแก้ว” รวมถึงวงดนตรี และศิ ล ปิ น แร็ ป ที่ เ กิ ด ขึ้ น อี ก มากมาย เช่ น Southside, Snoopking, Illslick, J$R, Chitswift ฯลฯ สิ่งที่น่าสนใจคือ ศิลปินหรือวงแร็ปเหล่านี้ หลายคนทำ�งานเพลงทั้งใต้ดินและบนดิน ศิลปินแร็ปไทยกลุม่ ใต้ดนิ จัดว่ามีความสำ�คัญ ต่อการพัฒนาดนตรีแร็ปในประเทศไทย เนือ่ งจาก เป็นการรวมตัวกันของศิลปินแร็ปทีม่ คี วามสามารถ มีแนวคิดทางดนตรีที่ต้องการบรรยายความรู้สึก ถึงปัญหาต่างๆ ของสังคมไทย ทั้งเศรษฐกิจ การเมือง การทุจริต ความเหลือ่ มล้�ำ ความรุนแรง เรื่องชู้สาวและประเด็นทางเพศ ความอยุติธรรม ในสังคม ทีไ่ ม่สามารถบอกด้วยเสียงเพลงบนดินได้ ด้วยเนือ้ หาคำ�พูดทีร่ นุ แรง ใช้ค�ำ หยาบและเกีย่ วข้อง กับสังคม การเมืองการปกครองของไทย ดังนั้น กลอนเพลงแร็ปและแนวดนตรีจงึ ค่อนข้างมีความ แปลกใหม่และสร้างสรรค์ทั้งด้านเนื้อเพลงและ จังหวะดนตรีที่หลากหลาย เพื่อสะท้อนปัญหา หรือความจริงของสังคมไทยขณะนั้น วงการแร็ ป ใต้ ดิ น ยั ง เป็ น วงการที่ มี ก าร แข่งขันสูง เพราะรวมเหล่านักแร็ปไทยระดับ แนวหน้าไว้จ�ำ นวนมากหนึง่ ในนัน้ คือ ดาจิม หรือ
เสน่หข์ องดนตรีแร็ปทีส่ �ำคั ำ� คัญคือการมีรากฐาน มาจากการเล่ า เรื่ อ งชี วิ ต ปั ญ หาของสั ง คม ความรุนแรง ยาเสพติด และความไม่ยุติธรรม การเสพดนตรีแร็ปจึงเปรียบเสมือนการทีไ่ ด้พดู ได้ฟงั สิง่ ทีเ่ ป็นจริง โดยใช้เสียงเพลงปลดปล่อย ตัวเองออกจากสังคมที่เราถูกปิดกั้น และนี่ จึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ท��ำให้ ำให้เพลงแร็ปได้รับ ความนิยมมากขึ้นในประเทศไทย
สุวิชชา สุภาวีระ ศิลปินแร็ปใต้ดินยุคแรกที่เป็นที่ รูจ้ กั ของคนไทย ดาจิมสร้างชือ่ จากอัลบัม้ สองชุด คือ Hip Hop Underworld ปีพ.ศ. 2543 ในค่าย N.Y.U. ทีเ่ ขาดูแลเอง และอัลบัม้ Hip Hop Above the Law ทีม่ ยี อดขายในวงการใต้ดนิ ถึง 8,000 ชุด แต่สดุ ท้ายดาจิมถูกตำ�รวจจับเนือ่ งจากเนือ้ หาของ เพลงอัลบัม้ ชุดทีส่ องมีเนือ้ หาหยาบคายและไปใน ทางลากมกอนาจาร ก่อนที่เขาจะย้ายไปอยู่ใน ค่ายจีนี่ เรคคอร์ด และออกอัลบั้มชุดแร็ปไทย พ.ศ. 2545 และ Twilight Zone และย้ายไปอยู่ ค่าย Masscotte Entertainment ตามลำ�ดับ นอกจากดาจิมแล้ว ยังมีศิลปินแร็ปใต้ดินที่ มีชื่อเสียงอีกมากมายเช่น ณัฐวุฒิ ศรีหมอก หรือ ฟักกลิ้งฮีโร่ ศิลปินเครายาวร่างยักษ์ผู้มีฝีมือใน การแต่งเพลงและร้องแร็ปอย่างช่ำ�ชอง ผลงาน ของฟักกลิ้งฮีโร่ปรากฏทั้งบนดินและใต้ดิน เพลง แร็ปใต้ดินหรือ Lost Tapes ของเขาที่มีชื่อเสียง ได้แก่ Rapway สยามประเทศ ชู้รัก แร็ปตุ๊ด (รักนวลสงวนตัว) ฯลฯ ฑิฆมั พร เวชไทยสงค์ หรือ อิลสลิก (Illislick) แร็ปเปอร์ใต้ดินชื่อดังอีกคนที่ สร้างเอกลักษณ์ของตัวเองในสไตล์ Slow Jam และได้ออกอัลบั้มชื่อ No Apologies (พ.ศ. 2557) ศิลปินวง CP สมิง แร็ปเปอร์ใต้ดินจากยะลาที่ได้ รั บ ความนิ ย มมากในขณะนี้ ด้ ว ยเอกลั ก ษณ์ การแร็ปที่เป็นมืออาชีพ รวดเร็วกระฉับ เพลง “เพื่อนตาย” (พ.ศ. 2547) ของ CP สมิงมียอดวิว ในยู ทู บ ถึ ง สิ บ ล้ า นวิ ว ส่ ว นศิ ล ปิ น แร็ ป ใต้ ดิ น CREATIVE THAILAND I 18
กลุ่ม RAD หรือ Rap Against Dictatorship กับผลงาน เพลง“ประเทศกูมี” (พ.ศ.2561) ก็นับ เป็นกลุ่มศิลปินที่ได้รับความนิยมสูงสุดตอนนี้ โดยมียอดวิวในยูทูบมากถึงเกือบสี่สิบล้านวิว
อิทธิพลของดนตรีแร็ป-ฮิปฮอป ต่อสังคมไทย สิ่งที่ทำ�ให้ดนตรีแร็ปในประเทศไทยเป็นเริ่มที่ นิยมนัน้ ส่วนหนึง่ เป็นเรือ่ งของกระแสหรือค่านิยม จากการรั บ วั ฒ นธรรมดนตรี แ ร็ ป -ฮิ ป ฮอป จากสหรัฐอเมริกามาในยุค 90s แต่ถ้ามองอีก มุมหนึ่งจะเห็นได้ว่า ความเป็นดนตรีแร็ปและ เอกลักษณ์ในตัวดนตรีมีเสน่ห์ดึงดูดใจผู้คนเป็น อย่างมาก ด้วยรูปแบบเพลง จังหวะสไตล์ต่างๆ เนือ้ หาและภาษาทีใ่ ห้อสิ ระศิลปินในการจินตนาการ และใช้ความคิดสร้างสรรค์สร้างกลอนด้นเป็น บทกวีและบทเพลง ปัจจัยเหล่านีม้ สี ว่ นอย่างมาก ที่ทำ�ให้คนไทยให้ความสนใจแนวดนตรีชนิดนี้ มากขึ้น เสน่ ห์ ข องดนตรี แ ร็ ป ที่ สำ � คั ญ คื อ การมี รากฐานมาจากการเล่าเรือ่ งชีวติ ปัญหาของสังคม ความรุนแรง ยาเสพติด และความไม่ยุติธรรม การเสพดนตรีแร็ปจึงเปรียบเสมือนการที่ได้พูด ได้ฟังสิ่งที่เป็นจริง โดยใช้เสียงเพลงปลดปล่อย ตัวเองออกจากสังคมทีเ่ ราถูกปิดกัน้ และนีจ่ งึ เป็น อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำ�ให้เพลงแร็ปได้รับความนิยม มากขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้ส่วนหนึ่งอาจเป็น
เหตุผลทางธุรกิจที่ตอบรับต่อกระแสดนตรีแร็ป ที่มาแรง แต่อีกส่วนหนึ่งเป็นเรื่องของแนวดนตรี แร็ปทีส่ �ำ คัญ ทีใ่ ห้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น โดยไม่ต้องกลัวเรื่องกรอบของสังคม แต่เป็นการ โชว์ความดิบและความฉลาดของผู้สร้างกลอน แร็ป ทำ�ให้คนรุ่นใหม่ได้กล้าคิด กล้าแสดงออก ในการเรี ย บเรี ย งคำ � พู ด สดเพื่ อ โต้ ต อบกั น ให้ ตรงกับจังหวะดนตรี การจัดการแข่งขันดนตรี แร็ ป รายการต่ า งๆ ดั ง ที่ เ ห็ น ในปั จ จุ บั น คื อ การให้คนรุ่นใหม่ได้มีเวทีแสดงออก มีความคิด สร้างสรรค์พัฒนากลอนและภาษาแร็ป ที่ต้อง เรียบเรียงคำ�พูดสดในขณะนั้นเพื่อโต้ตอบกัน การประชันแร็ปนั้นยาก เพราะเป็นการปะทะ คารมที่ต้องใช้สมาธิอย่างมากในการคิดกลอน เพลงและภาษาออกมาเป็นท่อนแร็ป และต้องคิด เนื้อร้องให้ตรงกับจังหวะดนตรี
facebook.com/rapisnow
เพราะคนไทยส่วนมากถูกกดดันด้วยกรอบทาง วัฒนธรรมและประเพณีดง้ั เดิม ทีถ่ กู สอนให้เชือ่ ฟัง คำ�สั่งของผู้ใหญ่ ผู้มีอำ�นาจ การที่ประชาชนและ สื่อถูกควบคุมการแสดงความเห็น ความเชื่อ ด้วยตัวบทกฎหมายที่ห้ามการวิพากษ์วิจารณ์รัฐ และบุ ค คลบางกลุ่ ม เพื่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ย ประชาชนจึงไม่มีอิสระในการแสดงความคิดเห็น ต่อสังคม หรือแม้แต่แลกเปลี่ยนความเห็นในที่ สาธารณะได้อย่างอิสระ ดนตรีแร็ปจึงเข้ามา ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น ช่ อ งทางให้ ผู้ ค นได้ ป ลดปล่ อ ย สะท้ อ นปั ญ หาในใจของคนด้ ว ยกลอนเพลง เสียงเพลง และจังหวะดนตรี การจัดการประชันแร็ป หรือ Rap Battle ใน ประเทศไทย เช่น รายการ SEA Hiphop Audio Battle, Rap is Now, Rythm Fight, The Rapper ฯลฯ แสดงให้เห็นชัดถึงการเปิดกว้างของสังคม ต่อแนวเพลงแร็ป ในปัจจุบัน ส่วนหนึ่งอาจเป็น
เป็นที่ทราบกันดีว่า อิทธิพลของดนตรีแร็ป ต่ อ สั ง คมไทยในปั จ จุ บั น ที่ เ ด่ น ชั ด คงไม่ พ้ น ปรากฏการณ์เพลงแร็ป “ประเทศกูม”ี ทีม่ ยี อดวิว ในยูทูบถึงเกือบสี่สิบล้านวิว และเป็นข่าวใหญ่ ในตอนนี้ เพลงนี้มีจุดเด่นเรื่องเนื้อหาและภาษา ซึ่งสะท้อนความคิดเห็นที่มตี อ่ สังคมไทย เนือ้ หา ของเพลงกล่าวถึงเหตุการณ์ดา้ นลบทั้งในอดีตและ ปัจจุบัน รวมถึงมีการใช้คำ�หยาบคายซึ่งมีผู้ที่ เห็ น ด้ ว ยและไม่ เ ห็ น ด้ ว ย ความจริ ง แล้ ว ถ้ า พิจารณาข้อเท็จจริงจากประวัติศาสตร์จะเห็นว่า การใช้กลอนเพลงและคำ�หรือวลี (ที่ปัจจุบันอาจ มองว่าไม่สุภาพ) ในการเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ สังคม การเมือง และเพศ เป็นเรือ่ งทีม่ มี านานแล้ว ทั้งในสังคมต้นกำ�เนิดแร็ปอย่างสหรัฐอเมริกา และ ในสังคมไทย ดังปรากฏให้ เ ห็ น ในการละเล่ น พืน้ บ้านอย่างลำ�ตัด อีแซว ลิเก การขับซอพืน้ เมือง ล้านนา ฯลฯ ในฐานะนักมานุษยดนตรีวิทยา มองว่า ปรากฏการณ์นไ้ี ม่ใช่เรือ่ งน่าตกใจ เพราะเหตุการณ์ ต่างๆ ที่ปรากฏในเนื้อเพลงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ในสังคม และสือ่ ต่างๆ ได้น�ำ เสนอมาตลอดตัง้ แต่ ครั้งอดีต เพียงแต่นี่เป็นครั้งแรกที่มีผู้หยิบมาทำ� เป็นเพลงแร็ปและเผยแพร่ในวงกว้าง อันเป็น ธรรมชาติของแร็ปทีผ่ แู้ ต่งมักจะบรรยายความรูส้ กึ ต่ อ สิ่ ง ต่ า งๆ ในสั ง คม ดั ง นั้ น หากมองอย่ า ง เป็นกลาง เป็นเรือ่ งทีน่ า่ สนใจทีเ่ พลงแร็ปยุคใหม่ อย่างประเทศกูมี มีผู้คนให้ความสนใจมากเป็น พิเศษ เพราะ “วิพากษ์วจิ ารณ์” ปัญหาของสังคม อย่างตรงไปตรงมา ทั้งยังมีการออกเพลงแร็ป “ไทยแลนด์ 4.0” ที่เสมือนการตั้งใจตอบโต้กัน สิ่งนี้ไม่เพียงแสดงถึงเสรีภาพของประเทศที่มี ลักษณะของการ “ประชัน” ซึง่ มีมาอย่างยาวนาน ในวัฒนธรรมดนตรีของไทย ยังเป็นการแสดงถึง การใช้สติปญั ญาและฝีมอื ในการประชันโดยไม่ใช้ ความรุนแรง อันเป็นเรื่องปกติของประเทศเสรี ในการแสดงความคิดเห็น และตอกย้�ำ ถึงบทบาท สำ�คัญของดนตรีแร็ปที่มีต่อสังคมไทยในปัจจุบัน อีกด้วย ที่มา: บทความ “How Rap Became the Sound of the Mainstream” จาก time.com / บทความ “เพลงประเทศกูม:ี ผกก.เอ็มวี ชี้ ผลงานสะท้อนความจริง” จาก bbc.com / วิดีโอ “ประวัติสงครามชาวแร็ป East Coast West Coast และการตาย 2 สุดยอดตำ�นาน Rapper” จาก youtube.com
CREATIVE THAILAND I 19
ฮิปฮอป...ดนตรีมหาชน สือ่ กลางของความรักและการต่อต้าน เรื่อง: นพกร คนไว
อย่างที่ทราบกันดีว่าวัฒนธรรมฮิปฮอปกลายเป็นส่วนประกอบสำ�คัญของอุตสาหกรรมสื่อบันเทิง ไม่ว่าจะเป็นเพลง โฆษณา แฟชั่น หรือ เวทีประกวดต่างๆ ที่กำ�ลังได้รับความนิยมอย่างมากจากมหาชน เช่นเวที Rap is Now, The Rapper และ Show Me the Money Thailand จนกลายเป็นกระแสฮิตถล่มทลาย และทำ�ให้ใครหลายคนคลั่งไคล้ดนตรีฮิปฮอป ไปตามๆ กัน CREATIVE THAILAND I 20
Photo by Stanley Shashi on Unsplash
Insight: อินไซต์
หากลองนึกชือ่ ศิลปินฮิปฮอปหรือแร็ปเปอร์ชาวไทย มาสักชือ่ พวกเขาเหล่านี้ เช่น โจอีบ้ อย ไทเทเนียม ดาจิม F.HERO (กอล์ฟ ฟักกลิง้ ฮีโร่) คงเป็นชือ่ ที่คน้ ุ เคย และขึน้ มาเป็นอันดับต้นๆ ของคนฟังเพลงชาวไทย เพราะไม่วา่ คุณจะเป็นนักฟังเพลงกระแสหลัก คลัง่ ไคล้ ดนตรีอินดี้ หรือเป็นคนธรรมดาที่ฟังเพลงทั่วไป เป็นต้องเคยฟัง “เพลงแร็ป” ทีพ่ วกเขาสร้างสรรค์ ขึน้ มา และคงปฎิเสธไม่ได้วา่ เพลงฮิปฮอปนัน้ เป็น ส่วนหนึง่ ในชีวติ เราและท่อนแร็ปบางท่อนก็ฝงั ลึก อยู่ในความทรงจำ�
แร็ปอย่างไรให้ป็อป
กระแสเพลงฮิปฮอปในประเทศไทยได้รบั ความนิยม เป็นระลอกในแต่ละยุคสมัย ตั้งแต่การมาถึงของ ศิลปินจากค่ายใหญ่จากแกรมมี่อย่าง เจ เจตริน ถึงวง TKO จากคีตา เรคคอร์ดส จนเริม่ พุง่ ทะยาน ไปกับอัลบั้มล้านตลับ Fun Fun Fun ปี พ.ศ. 2540 ของโจอี้ บอย ก่อนจะดำ�ดิง่ ไปสูว่ งการเพลงใต้ดนิ อย่าง ดาจิม ปรากฏการณ์เหล่านีพ้ อจะทำ�ให้เห็น ภาพของกระแสฮิปฮอปที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ได้ค่อนข้างดี อย่างไรก็ตาม การเปิดตัวอัลบัม้ Brainstorm ของวง แคลช กับเพลง “โรคประจำ�ตัว” แสดง ให้เห็นว่าการแร็ปกับเพลงป็อปก็สามารถไปด้วย กันได้ และอาจกลายเป็นสัญญาณหนึ่งที่สร้าง ความนิยมให้กับเพลงแนวป็อป-แร็ปในบ้านเรา ซึง่ หากย้อนดูผลงานของ “เจ้าพ่อฟีเจอริง่ ” อย่าง กอล์ฟ ฟักกลิ้งฮีโร่ จะเห็นได้ว่าตลอด 10 ปีที่ ผ่านมา ผลงานการร่วมแจมกับศิลปินมากมายได้ พาให้เพลงหล่านั้นฮิตติดลมบนกันมานักต่อนัก ทั้งเพลง “พูดไม่คิด” ของวง Season Five และ เพลง ”ราตรีสวัสดิ์” ที่ร่วมร้องกับ ธีร์ ไชยเดช พาเหรดเพลงป็อป-แร็ปที่ออกกันมาอย่าง มหาศาลกลายเป็นสูตรสำ�เร็จของเพลงป็อปแห่ง ยุคสมัย จากเดิมเพลงฮิปฮอปที่เต็มไปด้วยการ แร็ปตลอดเพลง กลับถูกหยิบยืมนำ�มาประกอบ เป็นส่วนหนึ่งของเพลงเพื่อสร้างสีสันและความ แตกต่าง ศิลปินอย่าง แสตมป์ Tattoo Colour และ Lipta ต่างเข็นเพลงทีม่ ศี ลิ ปินฮิปฮอปมาแร็ป แจมในเพลงของตน ซึ่งช่วยเพิ่มอรรถรสใหม่ให้ กับเพลงป็อปหวานซึง้ ให้มกี ลิน่ อายของความห้าว ขี้เล่น และขบขันด้วยลายเซ็นของแร็ปเปอร์ที่มา ร่วมฟีเจอริง่ อีกทัง้ การผันตัวเองของนักร้องเพลง ร็อกอย่าง แบงค์ วงแคลช มาเป็น BANKK CA$H
ในฐานะศิลปินเดีย่ ว รวมถึงลีลาการแร็ปของกลุม่ นั ก ร้ อ งวั ย รุ่ น อย่ า ง กามิ ก าเซ่ ก็ เ ป็ น อี ก หนึ่ ง ปรากฏการณ์ที่เพลงแร็ปก้าวเข้าไปอยู่ในคลื่น ความนิยมของเพลงป็อปซึ่งเข้าถึงคนหมู่มากได้ มากกว่าอย่างไม่อาจปฏิเสธ ในปัจจุบนั เราคงพูดได้แล้วว่าเพลงฮิปฮอป กำ�ลังก้าวขึ้นมาอยู่ “บนดิน” อย่างสมบูรณ์ จาก ความฮิตของรายการแบทเทิลต่างๆ ทีค่ รองเวลา ออกอากาศมากขึ้น ทั้ง Rap is Now ตามมาด้วย เวทีประกวด The Rapper และ Show Me The Money Thailand ซึ่งช่วยเพิ่มมูลค่าให้เพลง ฮิปฮอปสามารถดำ�รงอยู่ในอุตสาหกรรมเพลง ได้ด้วยตัวเอง ขณะที่ความง่ายและสะดวกสบาย ของโซเซียลเน็ตเวิรก์ ก็ยงั ได้ชว่ ยลบเส้นแบ่งระหว่าง “เพลงบนดิน” และ “เพลงใต้ดิน” ไปโดยปริยาย ศิลปินหน้าใหม่อย่างเช่น URBOYTJ, YOUNGOHM และ OG-ANIC มาพร้อมความฮิปฮอปที่เป็น สากลและสดใหม่มากขึน้ ประกอบกับสไตล์เพลง รสชาติใหม่ๆ ของเพลงฮิปฮอปในแบบที่ ปู่จ๋าน ลองไมค์ ได้น�ำ เสนอต่อคนฟัง แม้กระทัง่ แร็ปเอก กับสไตล์ที่แหวกแนว ก็ได้พาให้เพลง “แกล้งรัก” มียอดวิวถึง 2 ล้าน จนนี่อาจจะกลายเป็นยุคทอง ของฮิปฮอปไทยที่ใครๆ ก็ลุกขึ้นมาแร็ปได้
อยากแร็ปให้ดงั ต้องรูว้ า่ แร็ปให้ใครฟัง
เมื่อเพลงฮิปฮอปได้รับการยอมรับในวงกว้าง ความอิสระของโลกออนไลน์ที่ใครๆ ก็สามารถ ทำ�เพลงได้โดยไม่ต้องกังวลต่อการเซ็นเซอร์จาก ค่ายหรือนายทุน ความฮิตของเพลงแร็ปจากบรรดา ศิลปินน้อยใหญ่ทั้งคลื่นลูกเก่าและคลื่นลูกใหม่ก็ กลายเป็นเรือ่ งธรรมดาเสียแล้วทีจ่ ะมียอดวิวขัน้ ตํา่ กันเป็นหลักล้านวิว อย่างไรก็ตาม ศิลปินเพลงแร็ป รุ่ น พี่ ห รื อ นั ก ฟั ง เพลงหลายรายต่ า งก็ แ สดงถึ ง ความวิตกกังวลด้านการสร้างสรรค์เนื้อหาเพลง ของแร็ปเปอร์รุ่นใหม่ ที่มักยังพูดวนเวียนอยู่ใน กรอบเดิมๆ เช่น ความรัก เซ็กซ์ และแอลกอฮอล์ ที่เป็นประเด็นซึ่งเข้าถึงกลุ่มผู้ฟังได้มาก และถูก ถ่ายทอดออกมาในแง่มุมต่างๆ ได้หลากหลาย ทว่าขาดความสดใหม่ด้านเนื้อหา อีกด้านหนึ่ง ความอิสระก็เปิดทางให้ศิลปิน แร็ปได้ถา่ ยทอดเรือ่ งราวในมุมใหม่ๆ เช่นกัน อย่าง เพลง “อย่าอาย” จาก BlackSheep ที่ให้กำ�ลัง ใจกับคนที่ท้อแท้และกำ�ลังสิ้นหวังในชีวิตเพื่อ เยียวยาจิตใจของผู้ฟัง หรือเพลง “Hope” ของ CREATIVE THAILAND I 21
สองแร็ปเปอร์ Blacksheep และ Jom Jahrom จากเวที The Rapper ซึ่งได้ร่วมกันแต่งเพลงให้ กำ�ลังใจเจ้าหน้าที่ทีมปฏิบัติการค้นหาทีมหมูป่า อะคาเดมี แ ละโค้ ช ที่ ห ายตั ว ไปในถํ้ า หลวงขุนนํ้านางนอน จนกลายเป็นข่าวดังระดับโลก หรือเพลงทีก่ ลายเป็นกระแสดังอย่าง “ประเทศกูม”ี จากกลุ่ม Rap Against Dictatorship ที่พูดถึง การเมืองอย่างร้อนแรงจนผลักให้ยอดวิวบนยูทูบ พุง่ ถึง 38 ล้านวิวในเวลาเพียงไม่นาน ปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้จึงเป็นอีกหนึ่งกระแสที่ออกมา ตอบความวิตกกังวลถึงทิศทางของเพลงแร็ปใน วันนีแ้ ละอนาคต ว่าแร็ปเปอร์นน้ั สามารถทีจ่ ะเลือก สือ่ สารเรือ่ งราวทีต่ อ้ งการบอกเล่ากับสังคมได้อย่าง อิสระ ไม่วา่ จะแร็ปบนขนบเดิม หรือการทำ�ให้เพลง ฮิปฮอปไม่ตา่ งกับ “เพลงเพือ่ ชีวติ ” แนวเพลงทีอ่ ยู่ คู่กับสังคมไทยมานานแสนนาน ตลอดจนการ เป็นกระบอกเสียงของประชาชน และสะท้อน สภาพชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมปัจจุบัน เพลง ฮิปฮอปจึงเป็นเพลงแห่งยุคสมัยใหม่ที่สามารถ แปรเปลี่ยนไปได้อย่างลื่นไหลและเป็นเครื่องมือ การสื่อสารสิ่งที่อยู่ในใจของผู้ฟังได้แทบทุกมิติ อนาคตของแร็ปและฮิปฮอปในประเทศไทย ได้เดินทางมาไกลและเติบโตขึน้ อย่างมากจากอดีต เมื่อความอิสระของเทคโนโลยีและทักษะในการ สื่อสารของศิลปินสามารถขยายฐานคนฟังและ ความเข้าใจเกีย่ วกับเพลงฮิปฮอปได้มากขึน้ อย่าง ไม่มีวันสิ้นสุด ทั้งเปลี่ยนไปเป็นต้นทุนที่สร้าง มูลค่าทางธุรกิจในอุตสาหกรรมเพลงและอีกหลายๆ อุตสาหกรรม แร็ปเปอร์ทั้งหน้าเก่าและใหม่ได้ กลายเป็นพรีเซนเตอร์และผู้ผลิตเนื้อหาให้กับ แบรนด์ตา่ งๆ ยังรวมไปถึงแฟชัน่ ทีเ่ ราอาจพบเห็น การเติบโตของแบรนด์สตรีทแวร์ และศิลปะ สตรีทอาร์ตที่เริ่มปรากฏอยู่ตามแลนด์มาร์กและ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วหลายแห่งของไทย นีจ่ งึ เป็นช่วง เวลาสำ�คัญสำ�หรับคนทีร่ กั วัฒนธรรมฮิปฮอปทีจ่ ะ สามารถแสดงตัวตนและความสามารถ พร้อมทัง้ สร้างรายได้ให้กบั ตัวเองได้อย่างยัง่ ยืน เพราะโอกาส ได้มาถึงตรงหน้าแล้ว ที่มา: “Niche สู่ Mass เมื่อวัฒนธรรมฮิปฮอป อยู่ในหลาย แคมเปญการตลาดของสารพัดแบรนด์ดัง” จาก marketing oops.com / “2นักร้อง THE RAPPER ออกซิงเกิล ‘HOPE’ ให้ก�ำ ลังใจทีมค้นหา-13ชีวติ หมูปา่ ฯ” จาก thairath.co.th / “จับตาแบรนด์ไทย Rap ยังไงให้ถูก Rhyme (และถูกใจ ผู้บริโภค)” จาก marketeeronline.co
Creative Startup: เริ่มต้นคิด
จากซ้ายไปขวา: โจ้-ศวิชญ์ สุวรรณกุล, ฟลุ๊ค-พลกฤต ศรีสมุทร
ก้าวต่อไปของแร็ป และการต่อยอดธุรกิจ ในแบบฉบับของ Rap is Now เรื่อง: ดาหลา เจนณรงค์ ภาพ: ภีร์รา ดิษฐากรณ์
ถ้าจะให้พดู ถึงกระแสทีม่ าแรงทีส่ ดุ ในพ.ศ. นี้ เรือ่ งหนึง่ ทีก่ �ำ ลังได้รบั ความสนใจจากผูค้ น คงหนีไม่พน้ กระแส “แร็ป” หรือ “ฮิปฮอป” และหากพูดถึงวงการฮิปฮอปในบ้านเรา แล้วไม่พดู ถึงคนกลุม่ นี้ ก็เหมือนยังเข้าไม่ถงึ วงการฮิปฮอปไทยในปัจจุบนั “Rap is Now” คือกลุ่มคนที่เรากำ�ลังพูดถึง โจ้-ศวิชญ์ สุวรรณกุล aka PHENOMENYX ผู้ก่อตั้งและผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์ และ ฟลุ๊ค-พลกฤต ศรีสมุทร aka FLUKERALWAYSON ผู้จัดการของ Rap is Now พร้อมบอกเล่าถึงจุดเริ่มต้นของพวกเขา ที่ทำ�ให้กระแสฮิปฮอปในบ้านเราขับเคลื่อนสู่ธุรกิจด้านวัฒนธรรมฮิปฮอปที่เรียกได้ว่า “ครบวงจร” ที่สุดในปัจจุบัน จากความชอบส่วนตัวสู่การสร้างชุมชนคนรักฮิปฮอป คุณโจ้ ผูก้ อ่ ตัง้ Rap is Now เล่าว่าจุดเริม่ ต้นของ Rap is Now มาจากความ ชืน่ ชอบส่วนตัว ทำ�เพือ่ สนองความต้องการของตัวเอง และเบื่ออาชีพการงานที่ ทำ�อยู่ โดยงานแรกเริ่มของ Rap is Now คือการจัดปาร์ตี้แนวฮิปฮอปกับ เพื่อนฝูงที่รักดนตรีฮิปฮอปเหมือนกัน มีการแร็ปแบทเทิล เป็นอีเวนต์เล็กๆ ก่อนได้มาเจอฟลุ๊ค ซึ่งเป็นเจ้าของร้านที่ใช้ในการจัดปาร์ตี้ การจัดงานใน ครั้งนั้นจึงเป็นการจุดไฟในตัวขึ้นมา ขณะที่คุณฟลุ๊คเผยว่า ตอนแรกไม่อินกับแร็ปแบทเทิล เพราะรู้สึกว่ามี แต่คำ�หยาบ แต่พอมาถึงรายการ Rap is Now ซีซั่น 2 เขาเห็นว่านี่เป็นเวที ที่ให้โอกาสแก่แร็ปเปอร์ที่ไม่มีใครรู้จัก จึงขอมาร่วมทำ�ด้วย รู้สึกว่ามันสนุก และมองเห็นโอกาสว่าน่าจะไปต่อได้ เกิดเป็นความคิดที่จะนำ� Rap is Now เข้าสู่ความเป็นธุรกิจในช่วงนั้น “ตอนทำ�เวทีไฟนอล Rap is Now ซีซั่น 2 มี คนมาดูถงึ 4,500 คน เรารูส้ กึ ว่ามันมีอะไรสักอย่างทีน่ า่ จะไปได้อกี ระหว่างนัน้
ก็มสี ว่ นประกอบอืน่ ๆ ทีม่ าจุนเจือให้ธรุ กิจหมุนไปได้ อย่างค่าตัว๋ รายได้จาก การจำ�หน่ายเสือ้ ผ้า เราคิดว่ามันต่อยอดเป็นบริษทั ได้ เพราะอยากให้มนั ใหญ่ขน้ึ จึงต้องมีเรือ่ งสปอนเซอร์เข้ามาเกีย่ วข้อง เพือ่ จะนำ�เงินมาเติม และทำ�ให้มนั ใหญ่ให้ได้ สุดท้ายจึงกลายเป็นบริษัทเต็มตัวหลังจบรายการ Rap is Now ซีซั่น 2” เมื่อกระแสช่วยผลักดันสิ่งที่รักให้เป็นธุรกิจ แม้จดุ เริม่ ต้นของ Rap is Now จะมาจากความรักในฮิปฮอปก็จริง แต่ปฏิเสธ ไม่ได้ว่าเพราะกระแสของรายการ Rap is Now ซีซั่น 2 ด้วย ที่ทำ�ให้พวกเขา ฝันได้ไกลและต่อยอดเป็นธุรกิจได้จริง คุณโจ้เล่าว่า “มันมีความโชคดีอย่างหนึง่ ช่วงซีซั่น 2 ที่ต้องขอบคุณมาร์ก ซัคเคอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้งเฟซบุ๊กครับ คือเขามี ฟังก์ชั่นเล่นวิดีโออัตโนมัติเวลาเลื่อนมาเจอ แล้วมีแฟนรายการคนหนึ่งเอา วิดีโอไปตัดเหลือแค่ฉากแบทเทิล เพราะรายการเต็มมีทั้งไตเติ้ล คอนเทนต์
CREATIVE THAILAND I 22
ต่างๆ พอคนเลื่อนไปเจอ จากคนไม่เคยเห็นเลย ก็มีคนแชร์คลิปมหาศาล หลายหมื่นเลย เพียงคืนเดียวเพจของ Rap is Now จากที่มียอดผู้ติดตาม เพียงหลักหมื่น ก็ขึ้นมาเป็นหลักแสน” คุณฟลุค๊ เสริมว่า “หลังจากวันนัน้ เราเลย แก้เกมด้วยการเอาคลิปรายการเต็มมาตัดทุกอย่างออกให้เหลือแค่ชว่ งแบตเทิล แล้วโพสต์ลงเฟซบุ๊กบ้าง” “Respect และ Run วงการ” คติประจำ�ใจของสาวกฮิปฮอป เมื่อมีคนติดตามมากขึ้น ปัญหาที่ไม่คาดคิดก็มากขึ้น Rap is Now ในฐานะ ทีเ่ ป็นสือ่ กลางระหว่างแร็ปเปอร์กบั คนดู จึงต้องมีวธิ รี บั มือ “พอคนเยอะก็จะ เริม่ มีปญั หา เด็กเก่าเด็กใหม่หวงพืน้ ทีก่ นั บางคนดูมาก่อนตัง้ แต่ซซี นั่ 1 บาง คนเพิง่ มาติดตาม ตอนนัน้ เลยเกิดคำ�ว่า “Respect” (เคารพ ให้เกียรติ) และ คำ�ว่า “Run วงการ” (ขับเคลื่อนวงการ) ที่มาพร้อมกัน เราสร้างคตินี้ขึ้นมา เพื่อตอบโจทย์ปัญหานี้ คือเราควรจะเคารพกันทั้งคนใหม่คนเก่า ทุกคน เหมือนมาช่วยกันรันวงการ นีจ่ งึ กลายเป็นคติทเี่ รายึดมัน่ และใช้มาจนปัจจุบนั แล้วก็ลามไปถึงวงการอื่นๆ” แร็ปแบทเทิลในสไตล์ของ Rap is Now แร็ปแบทเทิลไม่ใช่เรื่องใหม่ในวงการฮิปฮอปบ้านเรา แล้วทำ�ให้รายการ Rap is Now ประสบความสำ�เร็จ คุณโจ้พดู ถึงความแตกต่างของแร็ปแบทเทิล ในแบบ Rap is Now ว่า “เมื่อก่อนแร็ปแบทเทิลเป็นเหมือนการสู้กันใน อินเทอร์เน็ตหรืออีเวนต์ตามผับ แต่โอกาสทีแ่ ร็ปเปอร์จะเป็นทีร่ จู้ กั ยังน้อยอยู่ สิ่งที่ Rap is Now คิดคือการทำ�ให้มันเป็นที่รู้จักมากขึ้น แต่กลุ่มแร็ปสาย ดั้งเดิมจะบอกว่าวิธีการที่เราทำ� เช่น การให้ผู้แข่งขันรู้คู่ต่อสู้ของตัวเองก่อน แข่งขัน ทำ�ให้การแร็ปแบทเทิลไม่ขลังเหมือนเดิม แต่เรามองว่าอยากให้คน เตรียมตัวก่อนแข่ง คุณสามารถรู้ได้ก่อนว่าจะเจอใคร เมื่อก่อนจะเป็นการ จับฉลากก่อนแข่งขัน เลยทำ�ให้การแร็ปแบทเทิลมักเป็นการด่าเรือ่ งรูปลักษณ์ เช่น ไอ้เสื้อแดง ไอ้หัวฟู ซึ่งเราอยากให้แร็ปไปไกลกว่านั้น อยากให้เป็นแร็ป และเอนเตอร์เทนเมนต์ไปด้วย เพราะอยากให้มันดูสนุก” จากยุคทำ�เพลงเอง ฟังกันเอง สู่ยุคกระแสนิยมของฮิปฮอป ถ้าเป็นเมื่อก่อนดนตรีแร็ป ฮิปฮอป อาจถูกมองว่าเป็นดนตรีกระแสรอง แต่ มาวันนี้ ดนตรีแร็ปและฮิปฮอปได้สร้างปรากฏการณ์กา้ วกระโดด จนเลือ่ นขัน้ จากดนตรีกระแสรองสูด่ นตรีกระแสนิยมมากขึน้ “จริงๆ เราพยายามกันมานาน อยากให้คนได้ยนิ ได้เห็นเพลงมากทีส่ ดุ สมัยก่อนจะมีเว็บไซต์หนึง่ ทีร่ วมเรือ่ ง ดนตรีแร็ปและฮิปฮอป แต่แล้วมันก็หายไป ส่วนพวกเรา Rap is Now ก็เหมือน กลับมาทำ�เรือ่ งนีใ้ หม่ นอกจากการทำ�แร็ปแบทเทิล เรายังรวบรวมข้อมูลและ เปิดเพจขึน้ มา เพือ่ จะนำ�เสนอเพลงให้ผคู้ นได้ฟงั มากทีส่ ดุ เราทำ�แบบนีต้ อ่ เนือ่ ง มาเรื่อยๆ จนมีรายการฮิปฮอปในสื่อหลักอย่าง The Rapper, Show Me the Money Thailand ซึง่ เป็นตัวขับเคลือ่ นทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของเรา เพราะทัง้ 2 รายการ เข้าถึงผู้คนได้มากกว่าเดิม แต่ก่อนจะมีเฉพาะกลุ่มคนที่ชอบแร็ป ฮิปฮอป แต่ตอนนีด้ นตรีแร็ป ฮิปฮอป สามารถเข้าถึงผูค้ นทัว่ ไปทีช่ อบฟังเพลง มันขยาย ไปอีก ถือว่าตอนนีด้ ขี น้ึ มากสำ�หรับเรา” คุณฟลุค๊ ผูจ้ ดั การ Rap is Now กล่าว ส่วนคุณโจ้ได้พดู ถึงมุมมองการนำ�เสนอดนตรีแร็ปในยุคก่อนกับปัจจุบนั ว่า มีความแตกต่างกัน “ยุคก่อนทุกคนอยากเป็นแร็ปเปอร์ ทำ�เพลงเพือ่ ฟังกันเอง มีแต่คนอยากทำ� เหมือนมีแต่ของขาย แต่ไม่มีคนซื้อ อย่างเราไปร้องเพลง ได้ตงั ค์ไม่ได้ตงั ค์ไม่รนู้ ะ แต่ไปร้องให้เพือ่ นอีกวงฟัง เหมือนผลัดกันพรีเซนต์งาน
แต่ยงั ไม่มกี ลุม่ ผูฟ้ งั ขึน้ มา สิง่ ทีเ่ ราพยายามจะสร้างคือกลุม่ ผูฟ้ งั ทีช่ ดั เจน ไม่ใช่ ทำ�ไปแล้วไม่รจู้ ะขายใคร ต้องทำ�ให้ศลิ ปินโดดเด่นและดูเป็นมืออาชีพมากทีส่ ดุ ในการแข่งขัน ทัง้ หน้าและหลังกล้อง เราปฏิบตั ติ อ่ เขาเหมือนมืออาชีพ เมื่อศิลปิน ซึมซับวิธกี ารนี้ ก็จะส่งผลถึงแฟนๆ ซึง่ จะมองเห็นว่าเขาเป็นมืออาชีพจริงๆ” นอกจากนี้ฮิปฮอปอาจเป็นวัฒนธรรมป็อปอีกรูปแบบหนึ่งที่มีแนวเพลง แบ่งย่อยไปอีก พร้อมจะเสิร์ฟความบันเทิงให้แก่ผู้ฟังที่มีรสนิยมการฟังเพลง อันหลากหลาย “ถ้าคนชอบปาร์ต้ี ก็มใี ห้ คนชอบชิลล์ ก็เปิดฮิปฮอปบางประเภท ฟังได้ หรือคนที่ต้องการผลักดันอะไรสักอย่างด้วยเพลง ก็มีเพลงแร็ปที่เคย ช่วยคนที่กำ�ลังจะฆ่าตัวตายให้อยากมีชีวิตอยู่ต่อ เมื่อก่อนคนอาจมีภาพจำ� กันว่าแร็ปจะเป็นแกงค์ๆ ดุๆ แบบยิงปืน อย่างรายการ The Rapper ก็ช่วย ให้ความเป็นฮิปฮอปกระจายเป็นหลายแบบมากขึ้น” Work Like Rap is Now เมื่อเป็นธุรกิจย่อมมีผลกำ�ไรและความก้าวหน้าเข้ามาเกี่ยวข้อง ธุรกิจดนตรี ทีเ่ ป็นงานสร้างสรรค์อย่างหนึง่ มีวธิ กี ารทำ�งานอย่างไร คุณฟลุค๊ ผูด้ แู ลด้านธุรกิจ เผยว่า “เวลารับงาน เราจะขอเลือกเนือ้ หา ถ้าทำ�คอนเทนต์นน้ั ไม่ได้ คนทีเ่ สีย ไม่ใช่แค่ลูกค้า แต่คือภาพลักษณ์ของเราด้วย ดังนั้นต้องให้ทั้งคู่ Win-Win เราประนีประนอมมากที่สุด ทำ�ให้ตรงกับความเป็นแร็ปเปอร์มากที่สุด ถ้า คอนเทนต์ไม่ได้ เราก็จะไม่ทำ� ฟังดูเหมือนเงื่อนไขเยอะ หลายคนบอกว่า ทำ�งานด้วยยาก แต่สุดท้ายก็เพื่อผลงานและแร็ปเปอร์ด้วย” การกระโดดเข้าสู่สื่อกระแสหลัก จากที่เคยทำ�รายการและออกอากาศ ผ่านทางยูทูบและเฟซบุ๊กอย่างเดียว เมื่อ Rap is Now เข้าสู่วงการธุรกิจด้าน บันเทิงเต็มตัว ล่าสุดพวกเขาจึงตัดสินใจร่วมโปรเจ็กต์กับบริษัทยักษ์ใหญ่ อย่างเวิรค์ พอยท์ ผลิตรายการ The Rapper ขึน้ มา เพือ่ ต่อยอดกระแสฮิปฮอป ให้เข้าถึงกลุ่มผู้ชมทั่วไป และเป็นฐานข้อมูลของฮิปฮอปให้ได้ “ในระยะยาว เราคิดกันว่าทำ�อย่างไรดนตรีฮปิ ฮอปถึงจะเป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ ได้ ลำ�พังตัวเราเอง ทำ�ไม่ได้หรอก เพราะดนตรีสไตล์นี้มีคนฟังเฉพาะกลุ่ม พอทางเวิร์คพอยท์ มาชวนไปทำ� ก็คิดว่ามีคนมองเห็นแล้ว เราคิดว่าโทรทัศน์นี่ล่ะเป็นช่องทาง ที่แมสส์ที่สุด การร่วมงานกับเวิร์คพอยท์ เป็นการเริ่มต้นใหม่ เริ่มสร้างจาก ศูนย์ไปด้วยกัน แบ่งหน้าที่กัน โดยทีม Rap is Now มีหน้าที่ดูแลจิตใจของ แร็ปเปอร์และสร้างแพลตฟอร์มร่วมกับเขา เพราะว่าการเปลี่ยนพื้นที่ บางที ก็มีผลต่อจิตใจของแร็ปเปอร์อยู่เหมือนกัน” Rap is Now and Its Future ปัจจุบนั Rap is Now ไม่ได้แค่ผลิตรายการแร็ปแบทเทิล แต่พวกเขายังต่อยอด ไปสู่การทำ�ธุรกิจด้านวัฒนธรรมฮิปฮอปแบบครบวงจร มีเสื้อผ้าแบรนด์ Rap is Now ซึง่ ทำ�เป็นคอลเล็กชัน่ สตรีทแวร์จริงจัง จำ�หน่ายทางออนไลน์ เป็นหลัก มีการจัดคอนเสิรต์ ทัง้ ของตัวเองและงานภายนอก ผลิตงานโฆษณา เช่น ทำ�เพลง ทำ�หนัง ทำ�เอ็มวี ส่วนโปรเจ็กต์ใหญ่ทท่ี �ำ อยูใ่ นตอนนีก้ บั เครือ จีเอ็มเอ็ม คือ The Rapisode ซึง่ เป็นการทำ�เพลงแร็ป 50 เพลง โดยนำ�เพลงฮิต ของค่ายแกรมมี่มาคัฟเวอร์ในแบบแร็ป และล่าสุดยังมีการก่อตัง้ ค่ายเพลงที่ชื่อว่า Yupp โดยมุง่ เน้นการสร้างศิลปิน ผูกมิตร สร้างอิมเมจ สร้างฐานแฟนเพลง จัดทัวร์คอนเสิรต์ เพือ่ ทำ�ให้การทำ�งานเป็นระบบมากขึน้ นัน่ ยังรวมไปถึงการ สร้างสรรค์โปรเจ็กต์เพือ่ สังคมทีช่ อ่ื Rapiness ทีช่ าวแร็ปเปอร์จะได้ไปช่วยสอน แร็ปให้กบั เด็กๆ ในชุมชนหรือโรงเรียนต่างๆ จนเรียกได้วา่ Rap is Now กำ�ลัง ขยับขยายธุรกิจไปในทุกๆ ด้าน และก้าวย่างได้อย่างมัน่ คง
CREATIVE THAILAND I 23
Photo by Nik Shuliahin on Unsplash
Creative City: จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
นิวยอร์กซิตี้: แร็ปสร้างเมือง เรื่อง: ชาลินี วงศ์อ่อนดี
สภาพแวดล้อมความเป็นอยูท่ เ่ี สือ่ มโทรม ความยากจน และการถูกละเลยเพิกเฉยจากสังคม คือแรงผลักดันให้ชาวแอฟริกนั อเมริกันและชาวเปอร์เตอร์ริกันที่อาศัยอยู่ในนิวยอร์กซิตี้สร้างตัวตนและพื้นที่ทางสังคมผ่านการแร็ปและวัฒนธรรมฮิปฮอป ที่เปรียบเสมือนกระบอกเสียงของหนุ่มสาวผู้ที่รู้สึกว่าไม่มีใครในสังคมรับฟัง จากเทคนิคการพูดตามจังหวะเสียงเพลงของ เอ็มซีเพื่อแนะนำ�ดีเจเปิดแผ่นในงานบล็อกปาร์ตี้ในอพาร์ทเมนท์ที่จัดขึ้นเพื่อสร้างความสนุกสนานและลบเลือนความเครียด ให้กบั ผูค้ นในเขตบร็องซ์ตอนใต้ การแร็ปกลายเป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมฮิปฮอปทีข่ ยายตัวข้ามไปยังเขตต่างๆ ในเมืองแห่งนี้ กลายเป็นที่รู้จักของผู้คนทั่วโลกไม่ว่าชาติไหนและผิวสีอะไรภายในเวลาไม่กี่ทศวรรษ สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำ�ให้กับ แร็ปเปอร์ เปลี่ยนพวกเขาจากคนธรรมดาให้กลายเป็นศิลปินแถวหน้าของวงการดนตรีระดับโลก และเป็นมหาเศรษฐีที่ใครๆ ต่างจับตามอง อีกทั้งกลายเป็นสำ�เนียงเฉพาะให้กับมหานครที่ไม่เคยหลับใหลแห่งนี้ CREATIVE THAILAND I 24
DJ Kool Herc
wikipedia.org
ชาวบร็ อ งซ์ เ ปลี่ ย นความอั ด อั้ น จากการ ถู ก เพิ ก เฉยเป็ น พลั ง ในการสร้ า งสรรค์ สิ่ ง ใหม่ พวกเขานำ�ความสนุกสนานมาแทนที่ความว่างเปล่า รกร้างของพื้นที่ ด้วยการจัดงานบล็อกปาร์ตี้ สร้างสีสนั เสียงเพลง และความสนุกสนานให้กับ ผู้คนที่อยู่อาศัยในเขตนี้ คํ่าคืนหนึ่งในหน้าร้อน เดือนสิงหาคม ปี 1973 Clive Campbell ผูอ้ พยพ ชาวจาไมกัน จัดงานบล็อกปาร์ตี้ “Back to School Jam” ขึ้นในอพาตเมนต์หมายเลข 1520 Sedgwick Ave ในเขตบร็องซ์ตอนใต้ Campbell เปิดประตูบา้ นต้อนรับทุกคนโดยคิดค่าความสนุกเป็น เงินเล็กๆ น้อยๆ เพียง 25 เซนต์ส�ำ หรับสุภาพสตรี (Ladies) และ 50 เซนต์ส�ำ หรับพวกผูช้ าย (Fellas) ในคํ่าคืนนั้น Campbell ขึ้นแสดงในนาม DJ Kool Herc โดยใช้เทิรน์ เทเบิลสองตัวและมิกซ์เซอร์ เปิดแผ่นสลับกัน ความสนุกสนานจากแนวเพลง
ของเขาที่ได้อิทธิพลมาจากวัฒนธรรมจาไมกัน ทำ�ให้งานบล็อกปาร์ตข้ี องเขาได้รบั การกล่าวขาน และชื่อของ DJ Kool Herc กลายเป็นที่รู้จักทั่วทั้ง เขตบร็องซ์ตอนใต้ในชั่วข้ามคืน อีกทั้งได้รับการ ยกย่องให้เป็นผูบ้ กุ เบิกดนตรีประเภทใหม่และเป็น บิดาแห่งฮิปฮอป นอกจาก DJ Kool Herc แล้ว ยังมี Afrika Bambaataa และ Grandmaster Flash ศิลปินในช่วงเวลานัน้ ทีก่ ลายเป็นสามผูบ้ กุ เบิก และผูเ้ ผยแพร่การแร็ปและวัฒนธรรมฮิปฮอปให้ กลายเป็นเอกลักษณ์ของเขตบร็องซ์ “ฮิปฮอป เปลี่ยนสลัมให้กลายเป็นตำ�นานและอนาคต” Marcyliena Morgan อาจารย์ภาควิชา African American Studies และ ผู้อำ�นวยการ HipHop Archive and Research Institute ประจำ� มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด กล่าว
flickr.com/photos/Krists Luhaers
Photo by Jan Strecha on Unsplash
ปาร์ตี้เปลี่ยนสลัมเป็นตำ�นาน ในปี 1960 เขตบร็องซ์ตอนใต้ตกอยู่ในความ เสือ่ มโทรมและกลายเป็นหนึง่ ในเขตทีย่ ากจนมาก ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ชาวผิวขาวอพยพหนีความ ยากจนไปสร้ า งชี วิ ต ใหม่ ใ นเขตแมนแฮตตั น เขตบร็ อ งซ์ ต อนใต้ จึ ง เหลื อ แต่ ช าวแอฟริ กั น อเมริ กั น และชาวเปอร์ เ ตอร์ ริ กั น อาศั ย อยู่ เ ป็ น ส่ ว นใหญ่ ผลกระทบจากการสร้ า งทางด่ ว น Cross Bronx Express ตัดผ่านย่านต่างๆ ในเขต บร็องซ์ เช่น การทำ�ลายชุมชนในบริเวณนั้น หรือ การทำ�ให้บ้านเรือนเสียหาย ทำ�ให้ชาวแอฟริกัน อเมริกันและชาวเปอร์เตอร์ริกันเริ่มพากันละทิ้ง ถิ่นฐานเพื่อไปตั้งรกรากในเขตบรู๊กลินและควีนส์ ส่งผลให้อตั ราพืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยทีร่ กร้างในเขตบร็องซ์ ตอนใต้มีจำ�นวนเพิ่มขึ้นสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ในช่วงเวลานั้น ในขณะที่พื้นที่ที่รกร้างว่างเปล่าถูกแทนที่ ด้วยแกงค์อันธพาล เหตุลักลอบวางเพลิง และ ยาเสพติดมากขึน้ ความสนใจใยดีของรัฐบาลและ ตำ�รวจ NYPD ต่อเขตนีก้ ลับมีนอ้ ยลง การเพิกเฉย ต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทำ�ให้ชาวบร็องซ์ตอนใต้ เติบโตและใช้ชวี ติ อยูใ่ นสภาพแวดล้อมและสังคม ที่ทำ�ให้พวกเขารู้สึกว่าพวกเขาไม่เป็นที่ต้องการ และไม่มใี ครสนใจ “เราเดินไปตามถนน เห็นตึกร้าง มากมาย และสงสัยว่าทำ�ไมรัฐบาลถึงไม่ลงเงิน ช่วยเหลือเพื่อมาพลิกฟื้นชุมชนแห่งนี้ นอกจากนี้ คุณจะเห็นนักการเมืองแวะเวียนกันมาที่บร็องซ์ แต่ พ วกเขาไม่ ทำ � อะไร พวกเราอยู่ กั น มาใน สถานการณ์แบบนี้ และนี่แหละสถานที่ที่ฮิปฮอป เกิดขึน้ ” Grandwizard Theodore ดีเจและผูค้ ดิ ค้น เทคนิคการสแครชกล่าว
Rap VS Hip-Hop แม้จะต้องอดทนต่อสภาพความเป็นอยูท่ เี่ สือ่ มโทรมและการถูกเพิกเฉยจากสังคม คนรุน่ ใหม่ เลือกที่จะมองข้ามการก่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองและเลือกที่จะแสดงตัวตนของ พวกเขาผ่านกิจกรรมต่างๆ แทน ไม่ว่าจะเป็น ดีเจ เอ็มซี บีบอยหรือจีเกิร์ล (เบรกดานซ์) และกราฟิตี้ ที่กลายมาเป็นองค์ประกอบสี่อย่างที่สำ�คัญของวัฒนธรรมฮิปฮอปในเวลาต่อมา จริงอยู่ที่ว่าดีเจคือพระเอกคนสำ�คัญที่คอยสร้างความสนุกสนานด้วยเสียงเพลงให้กับผู้คน ในคํ่าคืนนัน้ แต่ปาร์ตี้นั้นๆ เองจะขาดเอ็มซีไม่ได้เช่นกัน เอ็มซีมีหน้าที่กล่าวแนะนำ�ดีเจด้วย การพูดแนะนำ�ให้ทนั จังหวะเพลงอย่างคล้องจอง เทคนิคการพูดนีเ้ องทีก่ ลายมาเป็นการแร็ป ในเวลาต่อมาส่งผลให้แร็ปกลายเป็นอีกชื่อหนึ่งของเอ็มซี ในยุค 1980 ความนิยมในการแร็ป และจำ�นวนแร็ปเปอร์ที่มีมากขึ้นทำ�ให้แร็ปเปอร์กลายเป็นองค์ประกอบสำ�คัญของวัฒนธรรม ฮิปฮอป ด้วยเหตุผลนี้เองทำ�ให้แร็ปเปอร์กลายเป็นตัวแทนของฮิปฮอปในสายตาของใคร หลายๆ คน และเข้าใจว่าแร็ปคือองค์ประกอบที่สำ�คัญที่สุดของฮิปฮอป แต่อันที่จริงแล้วดีเจ บีบอยหรือจีเกิร์ล (เบรกดานซ์) และกราฟฟิตี้ ต่างเป็นองค์ประกอบที่สำ�คัญไม่น้อยหน้า ไปกว่ากัน
CREATIVE THAILAND I 25
สำ�เนียงเฉพาะย่าน งานบล็อกปาร์ตี้ “Back to School Jam” โดย DJ Kool Herc กลายเป็นจุดเริ่มต้นที่เปลี่ยนเขต บร็องซ์ตอนใต้ให้กลายเป็นแหล่งรวมผู้บุกเบิก ด้านการแร็ปและวัฒนธรรมฮิปฮอปทีท่ รงอิทธิพล แร็ ปและฮิ ป ฮอปเฟื่ อ งฟู ขึ้ น ในเวลาต่ อ มาและ ขยายตัวออกไปยังเขตอืน่ ๆ ในนิวยอร์กซิต้ี แร็ปเปอร์ หน้าใหม่มากความสามารถในเขตบรูก๊ ลิน ควีนส์ สเตตันไอส์แลนด์มจี �ำ นวนเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ พวกเขา ใช้ความรู้สึกและความเคารพต่อย่านอยู่อาศัยที่ แสนอันตรายและเต็มไปด้วยความหลากหลายมา เป็นแรงบันดาลใจในการแต่งเพลง “ผมโตขึ้นมา ในการเคหะ Marcy Projects เขตบรู๊กลิน และ มันไม่ง่ายเลย ที่ต้องคอยรับมือกับสถานการณ์ ชี้เป็นชี้ตายกับชีวิตเรื่อยๆ โคเคนและยาเสพติด ระบาดเต็มพื้นที่ไปหมด นั่นคือเหตุผลว่าทำ�ไม อิทธิพลของฮิปฮอปในนิวยอร์กยุค 1980 จะถูก มองข้ามไปไม่ได้ ฮิปฮอปสร้างความหวัง สร้างงาน สร้างโฟกัสให้กบั เด็กๆ ในเขตนี้ และนีค่ อื สิง่ ทีเ่ ปลีย่ น ทุกอย่าง” Jay-Z กล่าวให้สัมภาษณ์กับนิตยสาร Condé Nast Traveller เมื่อแร็ปเปอร์จากแต่ละ เขตต่างงัดฝีมอื ออกมาเพือ่ แสดงความเป็นเอกลักษณ์ ของตน ทำ�ให้บุคลิกและสำ�เนียงการแร็ปของ แต่ละเขตเกิดขึ้น เขตบร็องซ์คือบ้านของดีเจรุ่น บุกเบิกอย่าง DJ Kool Herc, Afrika Bambaataa และ Grandmaster Flash เขตควีนส์จะเป็นพื้นที่ ของแร็ปเปอร์อย่าง A Tribe Called Quest, Nas หรือ 50 Cent ที่ต่างเป็นที่รู้จักกันในสไตล์และ รสนิยมในการแร็ปที่ไม่เหมือนใคร ในขณะที่เขต
ลองไอส์แลนด์คือที่ของแร็ปเปอร์หัวสมัยใหม่ อย่าง Public Enemy, Eric B & Rakim และ De La Soul “ฮิปฮอปเป็นเรือ่ งของพืน้ ที่ คุณมาจาก ย่านไหน คุณเรียนความเป็นฮิปฮอปจากย่านนัน้ ๆ นี่ แ หละคื อ ฮิ ป ฮอปที่ คุ ณ ได้ ติ ด ตั ว มา ถ้ า คุ ณ มาจากแถวแม่นํ้าบร็องซ์ คุณได้ฮิปฮอปมาจาก Bambaataa ถ้าคุณมาจากฝัง่ ตะวันตก คุณได้มนั มาจาก Kool Herc ถ้าคุณมาจากบร็องซ์ทางตอนใต้ คุณได้มนั มาจาก Flash” Grandmaster Caz เอ็มซี และไกด์นำ�เที่ยวจาก HushTours.com กล่าว เปลี่ยนความแร้นแค้นเป็นเพลงแร็ป เมื่อความนิยมในการแร็ปและวัฒนธรรมฮิปฮอป มีมากขึ้น จำ�นวนดีเจและเอ็มซีจึงเพิ่มขึ้นเป็น เงาตามตัว ในขณะทีเ่ หล่าดีเจต่างพากันปรับปรุง จังหวะโดยการใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การสแครชแผ่น เหล่าเอ็มซีปรับการแร็ปของพวกเขาให้มีความ คล้องจองกันมากขึน้ เพือ่ ให้สามารถแร็ปได้อย่าง ไหลลื่น สไตล์ของเพลงแร็ปก็ถูกปรับเปลี่ยนไป ด้วยเช่นกัน จากเดิมที่สไตล์ของเพลงจะเน้น ความสนุกสนานอันจะเห็นได้จากเพลง Rapper’s Delight (1979) โดย The Sugarhill Gang และ กลายเป็นเพลงฮิปฮอปเพลงแรกๆ ที่ได้รับความ นิยมจากผู้คนในวงกว้างจนกลายเป็นเพลงฮิต อันดับสองของการจัดอันดับ 100 เพลงฮิปฮอป ยอดเยี่ยมตลอดกาลโดย VH1 หลังจากความ สำ�เร็จของ Rapper’s Delight เพลงฮิปฮอปสไตล์ คล้ายกันก็ถกู ปล่อยออกมา ไม่วา่ จะเป็น The Breaks (1980) โดย Kurtis Blow หรือ Planet Rock (1986)
CREATIVE THAILAND I 26
โดย Afrika Bambaataa ที่เน้นความสนุกสนาน เป็นหลัก จนกระทั่ง Grandmaster Flash and the Furious Five ปล่อยเพลง The Message (1982) ซึ่งเป็นเพลงที่พูดถึงเรื่องสังคม เช่น ความยากจน อาชญากรรม และความเครียดจาก การอยู่อาศัยในเมืองใหญ่อย่างนิวยอร์กที่เต็มไป ด้วยอันตราย เมื่อเข้าสู่กลางยุค 80 และ 90 ผู้คน ต่ า งหั น มาให้ ค วามสนใจในเนื้ อ หาของเพลง และจังหวะการแร็ปของศิลปินที่มีความก้าวร้าว เกรีย้ วกราด และหยาบคาย แร็ปเปอร์ใช้เพลงของ พวกเขาเล่ า ถึ ง ความแร้ น แค้ น ที่ ต้ อ งพบเจอ รวมทั้งเป็นสื่อในการเรียกร้องการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม เยาวชนผิวสีและชาวฮิสแปนนิคใช้การ แร็ปเป็นเครื่องมือในการแสดงตัวตน แร็ปเปอร์ อย่าง Public Enemy, N*ggas with Attitude (NWA) และ Snoop Dogg ก้าวขึ้นมาเป็นศิลปิน ที่มีชื่อเสียงในช่วงเวลานี้ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ได้รับ การกล่าวขานว่าเป็นยุคทองของฮิปฮอป ในช่วง เวลานัน้ เอง เขตบรูก๊ ลินกลายเป็นบ้านของแร็ปเปอร์ มากฝีมอื ไม่วา่ จะเป็น Big Daddy Kane, Special Ed และ Fat Boys หนึง่ ในศิลปินคนสำ�คัญจากเขต บรูก๊ ลิน คือ Notorious B.I.G หรือบิก๊ กี้ เขาเริม่ ต้น เส้นทางนีใ้ นช่วงต้นยุค 1990 ด้วยการค้ายาเสพติด และพยายามที่จะเป็นแร็ปเปอร์ เพลงของบิ๊กกี้ ดึงความสนใจจากผู้ฟังและสร้างกระแสความ แปลกใหม่และความซับซ้อนของเนือ้ ร้องให้กลับมา เป็นทีส่ นใจอีกครัง้ “เป็นการคิดต้นอีสต์โคสต์แร็ป ขึ้นใหม่สำ�หรับยุคแกงค์สเตอร์” Steve Huey บรรณาธิการของ AllMusic กล่าวถึงความสำ�เร็จ ของอัลบั้ม Ready to Die (1994) ไว้ว่า “ทำ�ให้ Notorious B.I.G. ดังเป็นพลุแตกในวงการฮิปฮอป และเป็นดาวรุง่ ดวงเด่นจากฝัง่ อีสต์โคสต์” ด้วยความ สามารถในการแต่งเนื้อร้องที่ดิบเถื่อนของเขา ทำ�ให้เขาประสบความสำ�เร็จได้อย่างรวดเร็วใน เวลาเพียงไม่กี่ปี “เมื่อคุณนึกถึงแร็ปเปอร์ประจำ� นิวยอร์ก คุณนึกถึงบิก๊ กี้ เขาคือตัวแทนของบรูก๊ ลิน เพลง “Juicy” เปรียบเหมือนการกล่าวต้อนรับ คุณเข้าสู่ชีวิตในนิวยอร์ก นำ�เสนอถึงจิตวิญญาณ และความเร่ ง รี บ ของเมื อ งแห่ ง นี้ เมื อ งที่ คุ ณ สามารถเริ่มต้นชีวิตใหม่ สร้างชื่อเสียง และลืม อดีตที่ขมขื่นไปซะ” Michael Depland นักเขียน และบรรณาธิการประจำ� Billboard และ The Hollywood Reporter กล่าว
จากบร็องซ์สู่บิลเลียนแนร์ จากแนวเพลงใหม่ที่เกิดขึ้นในเขตบร็องซ์ตอนใต้ ในปี 1973 แร็ปและฮิปฮอปกลายเป็นสไตล์เพลง ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในศตวรรษที่ 21 และกลายเป็นประเภทเพลงทีม่ คี นฟังมากทีส่ ดุ ใน สหรัฐอเมริกาในปี 2018 สหรัฐอเมริกา ความนิยม ที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ นี้ คือโอกาสทางธุรกิจที่ พร้อมจะมอบรายได้ก�ำ ไรงามให้กบั ผูท้ เี่ ล็งเห็นถึง โอกาสและพร้อมที่ไขว่คว้าโอกาสนั้นไว้ ไม่ว่าจะ เป็นทั้งศิลปินและผู้ร่วมลงทุน สำ�นักข่าว ABC News รายงานว่าในปี 2018 ฮิปฮอปสร้างรายได้ มากกว่า 10 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และไปไกล มากกว่าแค่เรื่องของดนตรีแต่กลายเป็นเรื่องของ ไลฟ์สไตล์ บริษัทต่างๆ จึงเริ่มหาโอกาสในการ ทำ�เงินจากแร็ปเปอร์มากฝีมอื เหล่านี้ “หนึง่ ในคน ที่เริ่มต้นเรื่องสปอนเซอร์จากบริษัทยักษ์ใหญ่ให้ กับวงการฮิปฮอป คือ Chalie Stetteler ในยุคต้น 80 เขาจัดงานดนตรีให้วยั รุน่ กว่าหกพันคนเข้ามา ดูวา่ ใครคือคนทีก่ �ำ ลังมาแรงของวงการฮิปฮอปใน ช่วงเวลานั้น และยังเปิดเวทีแสวงหาดาวรุ่งดวง ใหม่ของวงการด้วย” Zack O’malley Greenburg บรรณาธิการอาวุโสของนิตยสาร Forbes กล่าว “Chalie เล่าว่าวง The Fat Boys เปิดประตู บานใหม่ในเรื่องการทำ�พาร์ตเนอร์ชิประหว่าง วงฮิปฮอปและแบรนด์ต่างๆ” ในขณะเดียวกัน แร็ปเปอร์ต่างๆ เริ่มมองหาโอกาสในการขยับ ขยายธุรกิจเพื่อทำ�เงินมากขึ้นและสร้างรายได้ อย่างไม่รจู้ บ จากการจัดอันดับ 20 ศิลปินฮิปฮอป
ที่ทำ�รายได้สูงที่สุดประจำ�ปีของนิตยสาร Forbes ประจำ�ปี 2018 รายได้จากการทัวร์คอนเสิร์ตและ ค่าโฆษณาที่แร็ปเปอร์แต่ละคนสามารถทำ�ได้ ส่งผลให้ค่าเฉลี่ยของรายได้แร็ปเปอร์แต่ละคน สูงถึง 44 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี Jay-Z และ Diddy คือ แร็ปเปอร์จากนิวยอร์กซิตี้ที่ทำ�รายได้ สูงที่สุดสองอันดับแรกในปี 2018 Jay-Z หรือ Shawn Corey Carter แร็ปเปอร์ จากบรู๊ ก ลิ น ผู้ เ ริ่ ม ต้ น ชี วิ ต ในวงการดนตรี ใ น กลางยุค 90 ทำ�รายได้ไปทัง้ หมด 76.5 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ ซึง่ รายได้สว่ นมากมาจากธุรกิจมีเดียและ ความสำ�เร็จของคอนเสิร์ต “On the Run II” กับ บียอนเซ่ ในปี 2018 จริงอยู่ที่ว่าผลงานเพลงคือ สิ่งที่สร้างชื่อเสียงและตัวตนให้กับเขา แต่ Jay-Z มองไปไกลกว่านั้น เขาไม่ใช่แค่แร็ปเปอร์ แต่ยัง เป็นนักธุรกิจทีม่ องเห็นโอกาสในการสร้างรายได้ที่ มากกว่าแค่การออกอัลบัม้ ในปี 1994 Jay-Z ร่วม ก่อตั้งค่ายเพลง Roc-A-Fella Records กับ แร็ปเปอร์คนอื่นๆ ในปี 2013 เขาเริ่มต้นธุรกิจ ด้านกีฬาด้วยการก่อตั้ง Roc Nation Sports ร่วมกับ Creative Artists Agency ในปี 2015 เขา ตัดสินใจซือ้ Tidal เพือ่ ลงทุนในธุรกิจการฟังเพลง ออนไลน์ ในขณะที่ Diddy ทำ�รายได้ไปทั้งหมด 64 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึง่ รายได้สว่ นใหญ่มาจากการ ลงทุนในเครือ่ งดืม่ ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นวอดก้า Ciroc เตกิลา่ DeLeon และ นา้ํ อัลคาไลน์ Aquahydrate Diddy ให้สมั ภาษณ์กบั นิตยสาร Forbes ถึงความ
รํ่ารวยของเขาไว้ว่า “ผมเริ่มอาชีพนักธุรกิจของ ผมตั้งแต่อายุ 12 สมัยผมเป็นเด็กส่งหนังสือพิมพ์ มันทำ�ให้ผมเข้าใจเสมอมาว่า ถ้าผมดูแลลูกค้าให้ ดีที่สุด บริการพวกเขาอย่างที่พวกเขาควรได้รับ ไม่วา่ จะเป็นในเรือ่ งของดนตรี เสือ้ ผ้า หรือวอดก้า ผมจะได้กำ�ไรกลับมาจากการทำ�งานอย่างหนัก แน่นอน” คงจะไม่เป็นการกล่าวเกินจริงไปนัก ที่จะ บอกว่าความเป็นอยู่ที่เสื่อมโทรม ความยากจน และการถูกละเลยเพิกเฉย คือ ปัญหาของการอยู่ อาศัยในเมืองใหญ่ ในขณะที่เมืองไม่พร้อมที่จะ ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ การมองหาโอกาสใหม่ๆ เพื่อสร้างชีวิตที่ดีกว่าด้วยตนเองอาจจะเป็นทาง เลือกที่น่าสนใจไม่น้อย ถ้าในคํ่าคืนนั้น Clive Campbell เลือกที่จะจมอยู่กับความชิงชังใน สภาพความเป็ น อยู่ ข องเขตบร็ อ งซ์ ต อนใต้ นิวยอร์กซิตี้อาจจะไม่ใช่เมืองแห่งแร็ปเปอร์มาก ฝี มื อ และคงไม่ ไ ด้ ส มญานามว่ า เป็ น มหานคร แห่งเพลงแร็ปและฮิปฮอป ดังเช่นที่ Jeff Chang นักเขียนหนังสือ Can’t Stop Won’t Stop: A History of the Hip-Hop Generation กล่าวว่าไว้ “ฮิปฮอปไม่ได้เริ่มต้นขึ้นเพื่อเป็นการ เคลือ่ นไหวทางการเมือง มันไม่ได้มกี ารแถลงการณ์ อะไร เด็กๆ เริม่ ต้นสิง่ นีข้ นึ้ เพือ่ หาอะไรทำ�ฆ่าเวลา พวกเขาแค่อยากจะสนุกกันเท่านั้น แต่พวกเขา เติบโตขึ้นมาในสภาพแวดล้อมที่ถูกเพิกเฉย สิ่งที่ พวกเขาทำ�ฆ่าเวลาจึงกลายเป็นเมล็ดพันธุส์ �ำ หรับ การเริ่มต้นวัฒนธรรมใหม่ๆ” เพลย์ลิสต์ประกอบบทความ
Rapper’s Delight โดย The Sugarhill Gang The Breaks โดย Kurtis Blow Juicy โดย Notorious B.I.G. The Message โดย Grandmaster Flash and the Furious Five Hard Knock Life (Ghetto Anthem) โดย Jay-Z
ที่มา: บทความ “Brooklyn’s Finest: Has the New York Borough’s Hip-Hop Crown Slipped?” โดย Ben Westhoff จาก theguardian.com / บทความ “DJ Kool Herc DJs His First Block Party (His Sister’s Birthday) at 1520 Sedgwick Avenue, Bronx, New York” โดย Angus Batey จาก theguardian.com / บทความ “40 Years On from the Party Where Hip Hop Was Born” โดย Rebecca Laurence จาก bbc.com / บทความ “Here’s How Much Jay-Z Is Worth-and How He Makes Money” โดย Allana Akhtar จาก time.com / บทความ “Hip-Hop: Billion-Dollar Biz” โดย Julie Watson จาก abcnews.go.com / บทความ “History of Hip Hop Music” จาก englishclub.com / บทความ “Jay-Z’s Favorite Places in New York” โดย Emma Coiler จาก cntraveller.com / บทความ “Sounds and Scenes of New York City: Hip-Hop” จาก macaulay.cuny.edu / บทความ “The Forbes Five: Hip-Hop’s Wealthiest Artists 2018” โดย Zack O’Malley Greenburg จาก forbes.com / บทความ “The Social Significance of Rap & Hip-Hop Culture” โดย Becky Blanchard จาก web.stanford.edu / บทความ “20 Essential Tracks From The Golden Age Of ’90s Hip Hop” โดย Leonie Cooper จาก nme.com CREATIVE THAILAND I 27
The Creative: มุมมองของนักคิด
JOEYBOY แร็ปคือภาษา แร็ปเปอร์คือโคตรฉลาด แร็ป+สามช่าคือโคตรสนุก เรื่อง: กิรญา เล็กสมบูรณ์
“วันเกิดทีไม่ต้องมีเซอร์ไพรส์ กูขี้เกียจจะตกกะใจ เค้กที่ซื้อมาไม่ต้องปักเทียนไว้ ปักตามอายุเดี๋ยวมันจะแดกไม่ได้” คือเพลงใหม่ที่เราเพิ่งได้ยินจากโจ้ อภิสิทธิ์ โอภาสเอี่ยมลิขิต aka โจอี้บอย ในวันที่เขาจะมีอายุครบ 43 ปี ใช่แล้ว เขาเกิดในเดือนธันวาคม และกำ�ลังเตรียมการจัดงานฉลองวันเกิด ในบรรยากาศสนุกสนานอันเป็นที่ทางของเขา โดยเขาตั้งชื่อมันว่า Joeyboy Expo HBD to กู CREATIVE THAILAND I 28
คุณอาจจะเคยได้ยินมาบ้างว่า จุดเริ่มต้นของโจอี้บอยก็คือความฝันที่ บันทึกไว้ในเรียงความส่งครูว่าอยากเป็นนักร้อง โชคดีที่เขาไม่ได้หันหนี ความฝันนั้นเพียงเพราะเกิดมาเสียงไม่ดี แต่กลับหามุมที่ได้และใช่จนเจอ นั่นก็คือแร็ป เราอาจสงสัยว่าเขาทำ�ได้อย่างไร มีอัลบั้มแรกก็ดัง ทำ�เพลงให้คนอื่น ก็โดน (อย่างเพลงแฟนจ๋านัน่ ไง) ทำ�โชว์ออกมากีท่ กี ไ็ ม่เคซํา้ เล่นกีฬาก็ยงั ติด ทีมชาติ ราวกับคนทีเ่ กิดมาเพือ่ ชนะอย่างแท้จริง แต่เชือ่ ไหมว่าความคิดของ เขากลับเรียบง่าย เพราะแร็ปไม่ได้เป็นอะไรมากกว่าภาษาทีใ่ ช้สอื่ สาร เราจึง ได้สัมผัสทั้งมุมรัก เหงา เมา และสนุกสนานจากงานของเขาที่ไม่เคยติดอยู่ ในกรอบใดเลย เล่าที่มาของงานฉลองวันเกิดที่กำ�ลังจะจัดหน่อยได้ไหม คือทุกปีผมจะสนุกสนานกับการจัดงานวันเกิดอยู่ในกลุ่มเพื่อน เลยรู้สึกว่า ทำ�ไมเราไม่จัดงานวันเกิดที่คนเข้ามาร่วมกับเราได้ อยากจะจัดที่ไหนที่มัน จุคนได้เยอะ ให้เขาได้สนุกไปกับเรา แล้วที่เลือกสวนน้ำ� (การ์ตูนเน็ตเวิร์ก พัทยา) ก็เพื่อให้ทุกคนได้กลับไปเป็นเด็กอีกหนึ่งวัน แต่ก่อนงานดังกล่าวคุณก็จะขึ้นเวที Big Mountain ด้วย ใช่ไหม ผมร่วมงานกับป๋าเต็ด (ยุทธนา บุญอ้อม) มาตลอด งาน Big Mountain จะ มีเวทีหนึง่ เป็นของผม ซึง่ เป็นเวทีร�ำ วงทีเ่ น้นจังหวะไทย ใครมาเล่นเวทีนตี้ อ้ ง ทำ�เพลงของตัวเองเป็นลูกทุ่ง-สามช่า นักร้องที่มาเวทีน้ีต้องร้องเพลงบรูโน่ มาร์ส เป็นจังหวะรำ�วง อย่างปีนี้ก็จะมียุ้ย ญาติเยอะ จินตหรา พูนลาภ คณะรำ�วงโฟร์เอส คณะรำ�วงเชิญยิ้ม เป็นเวทีที่มันมาก เรียกคุณว่าแร็ปเปอร์สายสนุกได้ไหม คือผมรู้สึกว่าผมไม่ต้องทำ�อะไรให้มันแร็ปไปกว่านี้แล้วล่ะ ในยุคหลังผมเลย ทำ�สามช่าแล้วแร็ปลงไป ผมสนุกกับมันและรู้สึกว่าถนัดดีด้วย คือสิ่งที่เรา ทำ�มันไม่จำ�เป็นต้องทันสมัยแล้ว มันเป็นสิ่งที่เราทำ�เพื่อตัวเราเอง เจอความพิเศษอะไรในสามช่า มันคือเรื่องของจังหวะ จาเมกามีเร็กเก ละตินมีซัลซา ทุกประเทศเป็นที่รู้จัก ด้วยจังหวะ ส่วนจังหวะไทยมีสามช่า หมอลำ� รำ�วง นั่นคือสิ่งที่ผมทำ�แบบ ขว้างหินออกไปเลย ความรูส้ กึ แรกบอกว่าวันหนึง่ มันจะต้องมา เราชอบ และ ทุกคนชอบ ดังนั้นมันไม่มีเหตุผลเลยที่ผมจะไม่ทำ� โจอี้บอยที่เรารู้จักในวันนี้เริ่มต้นอย่างไร ถ้าเอาก่อนเข้าวงการเลย ในเรียงความตอนเด็กผมเขียนว่าอยากเป็นนักร้อง แต่เสียงไม่ดี ความรู้ด้านดนตรีก็ไม่มี พอโตมาก็เริ่มฟังเพลง แล้วก็แข่ง ประกวดเต้น คือเป็นเด็กแร็ปยุคแรกของเมืองไทย จนวันหนึ่งโอกาสเข้ามา คนทีย่ น่ื โอกาสให้คอื บอยด์ โกสิยพงษ์ ซึง่ เป็นรุน่ พีโ่ รงเรียน จะให้ผมออกเทป ตั้งแต่ตอนอยู่ ม.5 แต่ผมไม่พร้อม เรายังไม่มีความรู้
ก่อนที่โจอี้บอยจะเจอเพลงแร็ป ก่อนหน้านั้นฟังเพลงอะไร ฟังหมดเลย เป็นคนที่ฟังเพลงเยอะมาก ทุกแนว คาราบาว ชาตรี ดนุพล แก้วกาญจน์ ธงไชย แมคอินไตย์ ฟังหมดเลยทุกแนว แล้วที่เริ่มต้นจริงๆ คือช่วงไหน หลังจากนั้นก็ผ่านการตระเวนดูคอนเสิร์ต ไปดูว่าเขาร้องยังไง สมัยก่อนจะ มีวงต่างชาติที่แร็ป ก็ไปดูแล้วกลับบ้านมาหัดร้อง แล้วก็ไปขอเขาขึ้นไปร้อง ทีผ่ บั ลีโอกร็อตโต้ซอยทองหล่อ จนพีบ่ อยด์เรียกไปร้องเพลงอีกรอบ (ช่วงแร็ป เพลงตาอินกับตานา ของสมเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์ อัลบั้ม Z-MYX) จากนั้นผมก็ไปอยู่ฮ่องกง พอกลับมาเพลงนี้ขึ้นชาร์ตแล้ว ผมเลยเดินไปถาม พี่บอยด์ว่าอยากทำ�อัลบั้มอีกไหม แล้วก็ไปบอกแม่ว่าขอไม่เรียนหนังสือแล้ว เพราะจะออกเทปเพลงแร็ป ก็โดนด่าดิครับ เสียงแบบมึงจะร้องเพลงยังไง แล้วหน้าตาคนออกเทปสมัยนั้นคือมอส ปฏิภาณ เต๋า สมชาย แต่ในที่สุด แม่ก็เปิดโอกาสให้ลองสักตั้งหนึ่ง ก่อนยุค 90 บ้านเราไม่มีแร็ปไทยเลยใช่ไหม มีหลุดมาบ้างพอให้สงสัยว่าเพลงอะไรนะ ตัง้ แต่เพลงมันแปลกดีนะของพีเ่ ต๋อ (เรวัต พุทธินนั ทน์) แล้วก็เพลงเบือ่ คนบ่น ของธเนศ วรากุลนุเคราะห์ แต่วง ที่ชัดคือสุดของเมืองไทยวงแรกชื่อ TKO เขาไปที่ไหนก็ตามไปดู ทำ�ให้ชอบ ในวัฒนธรรมแร็ป แต่สว่ นทีผ่ มชอบจะเป็นวัฒนธรรมทีว่ า่ ด้วยภาษาเป็นหลัก เรือ่ งแฟชัน่ หรือไลฟ์สไตล์เป็นเรือ่ งรองลงมา ก็เลยพยายามเริม่ เขียนแร็ปเป็น ภาษาไทย แล้วก็รู้สึกว่ามันถูกทาง เพราะตอนเรียนชอบเรียนภาษาไทย ชอบเขียนกลอนอะไรแบบนี้
CREATIVE THAILAND I 29
...นี่คือสิ่งที่ผมบอกเขาตั้งแต่แรก ว่ า แร็ ป เปอร์ ทุ ก คนโคตรฉลาด ให้มันพูดเรื่องแม่มันก็พูดได้สุดซึ้ง ให้มนั พูดเรือ่ งอาหารมันก็บรรยาย ได้ดีเลิศ แค่ย้อนกลับมาตั้งโจทย์ เป็นอะไรก็ได้ที่คนรู้จัก แล้วให้เขา แร็ปตามโจทย์นั้น คนได้ฟังแร็ป แบบเต็มๆ จะรู้สึกว่าโดน
ตอนเด็กภาษาไทยเกรดดีไหม ถ้าเป็นเรื่องการเรียนผมไม่รู้เรื่อง แต่ชอบภาษาไทย ไปเล่นเกมออกทีวีอะไรที่เป็น ภาษาไทยเรามักจะชนะ ชอบอ่านกลอน คืออ่านแล้วทำ�ไมเราเข้าใจวะว่าคำ�ยากๆ มันแปลว่าอะไร แล้วก็สนใจว่าชื่อตัวเองแปลว่าอะไร มีรากฐานมาจากคำ�ว่าอะไร แล้วก็เริ่มรู้สึกว่าการใช้ภาษากับแร็ปมันเหมาะกับเรามากเลย ร้องเพลงนีอ่ ย่าไปคิด เสียงห่วยแตกมาก เพราะฉะนัน้ การแร็ปน่าจะเป็นทางออกทีด่ ใี นการเขียนและทำ�เพลง ก็ซอกแซกหาเป้าหมายไปเรื่อยๆ แร็ปในสไตล์โจอี้บอยเป็นอย่างไร คือการทำ�ให้รสหวานรับประทานง่าย เข้าถึงง่าย การเขียนเพลงในแบบของเราคือการ คลี่คลาย อย่างเพลงกากี่นั้ง ที่คนฟังแล้วรู้สึกสนุกเพราะมันง่าย กากีน่ ง้ั ในภาษาจีน แปลว่าคนกันเอง มันเกิดมาจากข่าวทีน่ กั การเมืองทะเลาะกันว่ามึงคือคนเชื้อชาติจีนจะ มาปกครองเมืองไทยได้ยังไง ผมก็เขียนออกมาแบบนั้น ผมจะไม่เขียนเพลงโต้งๆ เพราะรู้สึกว่ามันไม่มีลีลา การเขียนเพลงด่าตรงๆ คือมันเขียนได้ แต่ถ้าทำ�อย่างนั้น กูดา่ มึงไปเลยดีกว่าไหม เขียนจดหมายด่าก็ได้ ยืนด่าก็ได้ไง
CREATIVE THAILAND I 30
แปลว่าแร็ปไม่จำ�เป็นต้องด่า สำ�หรับผมศิลปะในการสื่อสารมันมีได้หลายแบบ แต่โจอี้บอยก็จะสื่อสาร แบบนี้ ผมมีอีกเพลงชื่อว่าเ_ี้ย ผมคิดอยู่นานว่าจะเขียนเพลงด่าคนคนหนึ่ง ว่าเ_ี้ยได้ยงั ไงให้มนั เป็นเรามากที่สุด ก็ไปคลี่คลายตรงท่อนทีว่ า่ “กูรวู้ า่ มึงเ_ี้ย เพราะกูก็เ_ี้ยเหมือนมึง” ไม่งั้นให้ไปด่าเฉยๆ มันก็ไม่ใช่ลีลาของผม
ไปเถอะ มันอาจฟังดูตลกแต่มันคือดีลแบบนี้จริงๆ คือผมมีหน้าที่สองส่วน ในการทำ�งานที่แกรมมี่ หนึ่งคือครีเอทีฟ ทำ�งานกับพี่เบิร์ด ธงไชย พี่เล็ก บุษบา แล้วก็ชว่ ยงานครีเอทีฟด้านอืน่ ๆ ส่วนอีกพาร์ทหนึง่ ผมก็ท�ำ ก้านคอคลับ ซึง่ มันไม่ได้ใช้เงินเยอะ ถ้าเห็นเอ็มวีดเู ยอะนัน่ ผมไปวิง่ หามาเองด้วย ซึง่ ตรงนี้ กำ�ไรขาดทุนมันน้อยมาก
ทำ�ไมเวลามองจากมุมคนนอกแล้วฮิปฮอปดูมีขนบเยอะมาก เช่นต้องแต่งตัวแบบนี้ ต้องใช้คำ�นี้ ต้องด่า ไม่หรอก นี่คือสิ่งที่โจอี้บอยเป็นมาตลอด คือบนโลกไม่มีแร็ปเปอร์คนไหนที่ ไว้ผมยาวขนาดนัน้ (ตอนออกอัลบัม้ แรกๆ) ซึง่ ผมไม่เคยมีทรงผมแบบแร็ปเปอร์ ในจินตนาการ ผมไม่มีคำ�ว่า Yo! What’s up? ผมอาจพูดแบบนี้กับ เพือ่ นฝรัง่ แต่ผมก็สวัสดีครับกับเพือ่ นคนไทยด้วยกัน เราแค่พยายามหยิบจับ สิ่งที่เราเป็นที่สุด และไม่ต้องพยายามเป็นอะไร
ก้านคอคลับมีบทบาทแค่ไหนในการพัฒนาวงการฮิปฮอปไทย มีบทบาทหรือเปล่าผมก็ไม่รเู้ หมือนกัน จริงๆ แล้วเราก็ไม่ใช่ฮปิ ฮอปจ๋า เพราะ ผมสอนให้น้องทุกคนทำ�ในสิ่งที่มันเป็น มึงอย่าเป็นอะไรที่มึงไม่ใช่ อย่าง สิงห์เหนือเสือใต้เขาก็ฮิปฮอปไปในทางของเขา กอล์ฟอ่านหนังสือเยอะไป ทางนี้เลยกอล์ฟ บุดดาเบลสมาตอนแรกเป็นวงอันเดอร์กราวด์เลย หยาบจน แบบว่า…อุย๋ กูให้มงึ ออกไม่ได้ อากูด๋ า่ กูตายห่า จนเขาไปบวชกลับมาบอกว่า พี่ครับผมจะไม่หยาบแล้ว ผมจะมีวงชื่อบุดดาเบลส ผมจะพูดแต่เรื่องดีๆ “อยู่ในปาร์ตี้ร้อนดังกับไฟเออร์” นี่คือบรรยายถึงภาพนรกนะ
จากเบเกอรีม่ วิ สิคจนถึงวันทีม่ าทำ�ค่ายเพลงเอง (ก้านคอคลับ) มีอะไรเปลี่ยนไปแค่ไหน มันคือกฎแห่งกรรมเลย ตอนผมเป็นศิลปินคือแสบสุดๆ เราเป็นเด็กวัยรุน่ ที่ ออกจากมหาวิทยาลัย มาใช้ชีวิตมหาวิทยาลัยอยู่ในค่ายเพลง เป็นน้องเล็ก ที่สุดในเบเกอรี่มิวสิค มันก็มีชื่อเสียงเงินทอง สนุกสนาน เกเร จนวันที่มาทำ� ค่ายเพลง ผมต้องรับลูกระเบิดเข้ามาหลายวง ตัวแสบหลายๆ คน เรามีอำ�นาจในการคัดเลือกศิลปินไหม ใช่ครับ ผมเป็นคนตัดสินใจคนเดียว โดยยืมตังค์ชาวบ้านเขามาทำ� แล้วก็ท�ำ แบบไม่สนใจด้วย ไม่สนใจในที่นี้คือเราเป็นศิลปินมาก่อน เราต้องการสิ่ง ที่ดีที่สุดสำ�หรับค่ายของเรา ลูกน้องเรา ศิลปินของเรา ฉะนั้นก็ธุรกิจแทบจะ ไม่อยู่ในหัวผมเลย มีเงินเท่าไหร่ก็ถมให้หมด มีเงินเท่านี้ก็ถมเอ็มวีให้หมด ทำ�งานแบบนี้ไปเรื่อยๆ เราสนุก แต่ทางค่ายใหญ่คงจะไม่สนุกเท่าไหร่ แต่ก็ อยู่มาได้เรื่อยๆ ทำ�เพลงให้ศิลปินคนไหนสนุกที่สุด สิงห์เหนือเสือใต้ สนุกมาก ศิลปินเบอร์แรก ตั้งใจไว้เลยถ้ากูมีค่ายต้องเป็น ฝีมือมึง คือผมเห็นเขามาตั้งแต่เป็นเด็กจนเขาโต กูรู้สึกว่ามึงจะต้องดี แล้วผมอินกับเขามากเหมือนกับน้อง คิดว่าทำ�ค่ายเพลงได้ดีไหม ทำ�มาสิบห้าปีมันไม่มีขึ้นเลย (หัวเราะ) ถ้าวัดจากธุรกิจ ไม่ได้เรื่องหรอก มันไม่ใช่เพลงฮิตติดตลาดระดับซูเปอร์สตาร์ แต่มนั ได้สร้างสิง่ หนึง่ ทีเ่ ราอยาก สร้างมันมาตลอดเลยคือศิลปินที่มีคุณภาพ ศิลปินที่โตขึ้นไปแล้วสร้างสรรค์ ผลงานได้ อันนี้คือความตั้งใจในการทำ�ค่ายนี้ขึ้นมา ถ้าไม่ได้เงินมากมายทำ�ไมเขาถึงให้เราทำ�มานานขนาดนี้ คือเราก็แต่งเพลงพีเ่ บิรด์ คืนเขาไป แลกกัน ธุรกิจมันมีหลายแพลตฟอร์ม เรา เป็นหน่วยเงินที่เล็กมาก เมื่อเทียบกับการทำ�กำ�ไรของเพลงที่เบิร์ด มึงเจ๊ง
เดีย๋ วนีย้ งั ใส่สร้อยทองเส้นโตๆ อยูไ่ หม มันมีความหมายว่าอะไร ไม่ค่อยใส่ครับ ใส่แต่ออกโทรทัศน์ เขาให้ใส่ก็ใส่ มีความหมายคือแฟชั่น เป็นแฟชั่นของฮิปฮอป จุดเริ่มต้นของแฟชั่นนี้มาจากไหน คนผิวสีผมว่าก็สามล้อถูกหวย มีก็ต้องโชว์ กำ�นันสไตล์น่ะ ผมว่าคนเริ่มต้น ใส่อาจจะใส่ทองจริง คนต่อมาก็อาจจะ..กูอยากจะใส่เฉยๆ จนวนกลับมา รอบนี้คือใส่เล่นกันแล้ว พลาสติกก็เป็นทอง มันกลายเป็นแฟชั่นแล้ว คือ ฮิปฮอปมาจากการพูดอะไรที่มันลึกมากๆ ถูกกดขี่มากก็เลยระบายออกมา จนมาถึงปัจจุบนั คนมันอยูใ่ นโลกทีเ่ ราโตมากับยุคทีส่ บายๆ ฉะนัน้ ความเป็น แฟชั่น ความเมา ความปลิ้นคือการกวนตีน ไม่มีเนื้อหา ไม่มีอะไรเลย กูจะ ใส่กุชชีมึงจะทำ�ไมล่ะ ไม่ได้ใส่เพื่อต่อต้านความรวยด้วยใช่ไหม มันไม่ได้คดิ อะไรเลย มันเมา มันถึงเป็นกรณีกนั ระหว่างแร็ปเปอร์โลกเก่ากับ แร็ปเปอร์โลกใหม่ โลกเก่าก็จะด่า…มึงไม่รวู้ า่ กว่าพวกกูจะต่อสูม้ าถึงจุดทีค่ น ยอมรับได้ แล้วมึงทำ�เ_ี้ยอะไรของมึง มันทะเลาะกันทุกวันเลย ทะเลาะกัน ในระดับชาติ พวกสนูปด็อกก์ก็จะไม่ชอบพวกกุชชีแกงค์ เพราะทะเลาะกัน ในแง่ของแร็ป คือมึงแร็ปเ_ี้ยอะไรกันฟังไม่รู้เรื่อง พวกกุชชีแกงค์ (เพลง Gucci Gang โดยศิลปิน Lil Pump) ก็จะบอกว่านี่มันยุคกู มึงไม่ฟังก็ไป ที่อื่นเด็กๆ เขาจะฟังกัน มันก็เป็นเรื่องธรรมชาติ ผมว่าคนที่ฟังเมทัลลิกา ก็คงตกใจตอนเนอร์วานาโผล่มาครั้งแรกเหมือนกัน มองการเติบโตของฮิปฮอปไทยในวันนี้อย่างไร มันเกิดจาก The Rapper, Rap is Now, Show Me The Money มันเกิดจาก ทุกคนที่ทำ�ให้มันเกิดขึ้นมา แต่เสน่ห์สุดท้ายที่ทำ�ให้คนได้ยินจริงๆ คือเรื่อง ของภาษา ภาษาทำ�ได้ขนาดนี้เลยเหรอ เพลงแร็ปทำ�ได้ขนาดนี้เลยเหรอ มันถึงเวลาที่คนจะตั้งใจฟัง
CREATIVE THAILAND I 31
อะไรที่ทำ�ให้รายการ The Rapper Thailand ประสบความ สำ�เร็จ The Rapper Thailand คือการเอาแร็ปมาคลี่คลาย เอาคนที่ด่ากันใน Rap is Now มาแร็ปในมุมที่คนอื่นไม่ได้เห็น คนเราไม่ได้ด่าอยู่ในมุมเดียว ในสมองมันมีอะไรอีกเยอะ นีค่ อื สิง่ ทีผ่ มบอกเขาตัง้ แต่แรกว่าแร็ปเปอร์ทกุ คน โคตรฉลาด ให้มันพูดเรื่องแม่มันก็พูดได้สุดซึ้ง ให้มันพูดเรื่องอาหารมันก็ บรรยายได้ดีเลิศ แค่ย้อนกลับมาตั้งโจทย์เป็นอะไรก็ได้ที่คนรู้จัก แล้วให้เขา แร็ปตามโจทย์นั้น คนได้ฟังแร็ปแบบเต็มๆ จะรู้สึกว่าโดน ขยายความคำ�ว่าแร็ปเปอร์ทุกคนโคตรฉลาดให้ฟังหน่อย ฉลาดใช้ภาษา ฉลาดในเรื่องของการที่เขาศึกษา เขาคือคนที่สื่อสารออกมา เป็นกลอนไทยได้เก่ง ใช้สำ�นวนได้เก่ง มีคำ�ศัพท์ มีความเชี่ยวชาญใน ภาษาไทยที่มากกว่าคนทั่วไป คือคอนเทนต์ไม่ต้องมาบอกหรอกว่าอะไรดี ไม่ดี ถ้าเป็นแร็ปเปอร์ด้วยกันจะอยากได้ยินภาษา อยากเห็นลีลาการใช้คำ� เหมือนเวลาผมกับขัน ไทเทเนียม ทำ�งานด้วยกันแล้วตัดสิน (ในรายการ The Rapper Thailand) เราจะมองที่ตรงนั้น ไม่ใช่ว่าใครหยิบคอนเทนต์ ที่รุนแรงกว่ามาพูดก็จะได้คะแนนไป คือทำ�ได้นะถ้ามันสละสลวย แล้วมัน เจ๋งจริงๆ ทำ�ไมแร็ปเปอร์ยุคนี้พูดเรื่องบ้านเมืองกันเยอะ จริงๆ มันมีคละกันไป ไม่ใช่ทุกคน แต่ผมรู้สึกว่าเขาพูดกันมาเยอะทุกยุค ทุกสมัย แต่ยุคนี้อาจได้ยินง่ายกว่า แม้จะใต้ดินก็เข้าถึงได้ เดี๋ยวนี้มันไม่มีแล้วครับใต้ดิน บนดิน มันมีแต่ออนไลน์ เทียบจากเมื่อก่อน แร็ปตอนนี้มีฐานกว้างขึ้นแค่ไหน มันเยอะมาก ป้าขายของ…ทุกคนฟังแร็ปได้หมด สนุกแบบนึกไม่ถึงเลย ย้อนกลับไปในสมัยเรา จะฟังเพลงแร็ปต้องรอดีเจเปิดวันละเพลงสองเพลง ตามคลับต่างๆ เปิดเสร็จสบายใจละกลับบ้านได้ ไม่มีเปิดตามวิทยุด้วย แล้วอีกมุมหนึ่งก็ดีใจว่ามันเป็นแรงบันดาลใจให้กับเด็กใหม่ๆ ที่ได้เห็นมุม มองของแร็ปว่ามันไม่ได้มีแค่เรื่องเดียว มันทำ�เป็นแบบนี้แบบนั้นได้นะ มันทำ�ได้หลายรูปแบบ และมันคือภาษาไทยด้วย คราวนีส้ นุกเลย ความสนใจ ในภาษามันก็จะมากขึ้นไปอีก ซึ่งได้เห็นผลลัพธ์แล้ว เห็นได้ชัดเจนเลย เดี๋ยวนี้แร็ปกันไฟแล่บแล้ว
นอกจากความฝันในการเป็นนักน้อง โจอี้บอยในวัยเด็กยังฝัน ถึงการเป็นนักกีฬาทีมชาติดว้ ย เขาเล่นกีฬาหลากหลาย ไล่ตั้งแต่ฮ็อกกี้น้ำ�แข็ง (อยู่ในทีม แชมป์ประเทศไทยตอนเขาอายุ 13 ปี) สเก็ตบอร์ด เวคบอร์ด พารามอเตอร์ (แชมป์ประเทศไทยและตัวแทนทีมชาติ) ยิงธนู (ปรินเซสคัพรางวัลที่ 3) ไปจนถึงกอล์ฟ และมอเตอร์ไซด์วบิ าก ส่วนกีฬาที่เล่นอยู่ในตอนนี้คือเจ็ตเซิร์ฟ ซึ่งเขากำ�ลังจะลงแข่ง รายการชิงแชมป์โลกที่พัทยา เหตุผลทีเ่ ล่นกีฬาแล้วต้องไปแข่ง เขาบอกว่ามันเป็นการตัง้ เป้าหมาย ไม่อย่างนัน้ มันจะกลายเป็นกิจกรรมสันทนาการหรืองานอดิเรก ซึง่ เขาไม่ชอบอะไรแบบนัน้ สำ�หรับเขาคือต้องไปให้สดุ รูใ้ ห้จริง “ปลูกแอปเปิลก็ตอ้ งรูท้ งั้ หมด ชงกาแฟก็ตอ้ งรูท้ งั้ หมด” แน่นอน เขายอมรับว่าตัวเองเป็นคนชอบแข่งขันด้วย วินยั ในการฝึกซ้อมสำ�คัญมาก (เขาบอกว่าอย่าดูแต่รปู ภายนอก) แต่ตัวช่วยสำ�คัญก็คือการควบคุมสมองให้ได้ เช่น สั่งสมอง ให้ตัวเองเป็นนักยิงธนูท่ีโคตรเก่ง แล้วซ้อมไปตามขั้นตอนที่ วางแผนไว้ ซึ่งเทคนิคนี้เขาได้มาจากนักจิตวิทยาที่มาคุยกับ นักกีฬาทีมชาตินั่นเอง
CREATIVE THAILAND I 32
Creative Will: คิด ทํา ดี
ราชาแร็ปที่ชีวิตถูกกดปุ่ม Restart เรื่อง: กรณิศ รัตนามหัทธนะ
ปี 1994 หนุม่ นักดนตรีนสิ ยั รักสงบคนหนึง่ เข้าช่วยเพือ่ นในเหตุววิ าท แต่ตวั เอง กลับรับเคราะห์ เขาถูกฟาดทีศ่ รี ษะอย่างแรง อาการหนักปางตาย เขารอดชีวติ แต่สูญเสียความทรงจำ� หญิงคนหนึ่งยืนข้างเตียง จับมือเขาไว้แล้วพูดว่า “นี่แม่เองนะลูก” ชายหนุ่มบนเตียงคือ ที ลา ร็อก (T La Rock) แร็ปเปอร์ ชื่อดังที่กำ�ลังอยู่ในจุดสูงสุดของอาชีพ เขาอายุเพียง 33 ปี ทีเกิดในย่านบร็องซ์ ถิน่ กำ�เนิดวัฒนธรรมฮิปฮอป เขาโตมากับเครือ่ งเสียง ดังสนั่น พกสมุดบันทึกติดตัวตลอดเพื่อเขียนเพลง เก็บเงินซื้ออุปกรณ์ดีเจ กับเพือ่ นๆ และเปิดการแสดงในสวนสาธารณะแถวบ้าน แม่ของเขาซึง่ เป็นครู ขนหนังสือวรรณกรรมและประวัติศาสตร์มาให้อ่านเพื่อเพิ่มคลังคำ�ศัพท์ เนือ้ เพลงของเขาโดดเด่นด้วยการใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมือนใคร ทีเป็นคนแรกที่เขียน คำ�ยาวถึง 40 ตัวอักษรในเนื้อเพลง และมีวิธีเฉพาะตัวในการเชื่อมคำ�และ ข้อความให้คล้องจองกัน ซิงเกิล It’s Yours ที่เปิดตัวในปี 1984 เป็นเพลงฮิตที่ส่งเขาสู่สถานะ ซูเปอร์สตาร์ ทีได้ชอ่ื ว่าเป็น “พีใ่ หญ่” ผูบ้ กุ เบิกวงการแร็ปและฮิปฮอป และยัง เป็นศิลปินคนแรกของค่ายเพลง Def Jam (ที่ต่อมามีศิลปินชื่อดังในสังกัด อย่าง LL Cool J, Rihanna, Jay-Z, Nas, Mariah Carey, Justin Bieber ฯลฯ) แต่ความสำ�เร็จทัง้ หมดพลันสะดุดหยุดลง ในวินาทีทเ่ี ขาตัดสินใจช่วย เพือ่ นในเหตุวิวาทที่ตนเองไม่เกี่ยวข้อง ทีเข้ารับการรักษาที่สถานพักฟื้น Haym Salomon Home for Nursing and Rehabilitation ในบรูกลิน แม่ของเขานั่งรถไฟวันละสองชั่วโมงเพื่อ ไปเยี่ยม พร้อมกับนำ� “อดีต” ไปให้ ได้แก่ ซีดเี พลงของที สมุดบันทึกที่ที ใช้เขียนเพลง ภาพถ่ายครอบครัว ภาพถ่ายตอนเขาขึ้นเวที ภาพถ่าย แร็ปเปอร์และดีเจทีเ่ คยร่วมงานกัน หรือพูดอีกอย่างคือ ภาพชีวติ ทัง้ หมดของ
เขาก่อนสูญเสียความทรงจำ� ปกแผ่นเสียงแรกของเขาที่ชื่อว่า Lyrical King แขวนอยู่บนราวตากผ้าเช็ดตัว มีรูปทียืนเท้าเอว สวมชุดแบบแร็ปเปอร์ และ สร้อยทองเส้นโตสลักชื่อ T La Rock “ผมนั่งจ้องภาพเหล่านี้ทุกวัน จ้องเป็นเดือน ถึงค่อยๆ จำ�ทุกคนและ ชีวิตตัวเองได้ทีละน้อย” ทีกล่าว ครัง้ หนึง่ คนไข้ในสถานพักฟืน้ ชือ่ ลีออน (Leon) ทีม่ ภี าวะเส้นเลือดแตก ในสมองและสื่อสารเป็นคำ�พูดไม่ได้ แสดงออกให้ร้วู ่าเขาอยากฆ่าตัวตาย เพราะขยับตัวไม่ได้ พูดไม่ได้ และทำ�อะไรด้วยตัวเองไม่ได้เลย ทีกล่าว ปลอบใจเขาว่า เขาเข้าใจความเจ็บปวดทีท่ �ำ อะไรไม่ได้ แต่ชวี ติ มีคา่ แม้วา่ จะ ต้องอยู่แบบนี้ การมีชีวิตอยู่ดีกว่าตายแน่นอน จนลีออนเปลี่ยนใจ “ชีวติ มีจดุ มุง่ หมายเสมอ” ทีกล่าวกับเขาและร้องไห้ไปด้วย “แม้บางครัง้ เราไม่รู้ว่าจุดหมายนั้นคืออะไร” ทียังพยายามหัดร้องแร็ปใหม่ ถึงจะเป็นงานที่ยากลำ�บาก เพราะ ความทรงจำ�ที่สั่งสมไว้ถูกลบหมดเหมือนกดปุ่ม Delete เมื่อครั้งเป็น แร็ปเปอร์ เพลงของทีมีเนื้อหาเกี่ยวกับตัวตน ความภาคภูมิใจ รากเหง้าของ ตัวเขา แต่บัดนี้เขาต้องพยายามรวบรวมเศษแห่งอดีตที่กระจัดกระจาย เข้าด้วยกัน เพื่อจำ�ให้ได้ว่าเขาเคยเป็นใคร เมื่อพยายามระลึกอย่างหนัก ทีพบว่า เขาเริ่มจำ�ได้ทั้งความทรงจำ�ที่ดี และไม่ดี เขาเริม่ จำ�ได้วา่ ในช่วงทีอ่ าชีพรุง่ โรจน์สดุ ๆ เขาคบผูห้ ญิงทีละหลาย คนและทำ�ให้พวกเธอต้องเสียนํ้าตา รวมทั้งเรื่องผิดพลาดอื่นๆ ในชีวิตที่เขา บอกว่า “ไม่อยากจำ�ได้เลย” จนต้องถามแม่ว่า เขาทำ�สิ่งเหล่านั้นจริงหรือ มาร์แชล (Marshall) เจ้าหน้าที่สถานพักฟื้นที่กลายมาเป็นเพื่อนสนิท ของที กล่าวกับเขาว่า “นายนี่โชคดีนะ ทุกคนเคยทำ�ผิดพลาด แต่นายมี โอกาสลบกระดานทิ้งแล้วเริ่มชีวิตใหม่” ทีไม่เคยลืมคำ�พูดนี้ เขาคิดว่า หลายคนบนโลกคงอยากเปลี่ยน ปรับ หรือลบอะไรบางอย่างในอดีตแต่ท�ำ ไม่ได้ แต่เขายังมีโอกาสครัง้ ทีส่ อง การที่ เขาไม่ตาย แค่จำ�อะไรไม่ได้ เท่ากับพระเจ้ากดปุ่ม Restart ให้เขา ทีกล่าว ว่า คราวนีเ้ ขาเลือกได้วา่ อยากเอาสิง่ ใดในอดีตมาใส่ในชีวติ ทีเ่ หลือ และทำ�ให้ เขาได้ตระหนักว่า การยังมีชีวิตอยู่มีค่าเพียงใด ทุกวันนี้ ที ลา ร็อก กลับเป็นปกติ เขาได้รับเชิญให้ขึ้นเวทีร่วมกับแร็ป เปอร์รนุ่ น้อง หลังจากการฝึกฝนอย่างหนัก ทียงั คงแร็ปได้ดเี ยีย่ มไม่ตา่ งจากเดิม แม้ไม่โด่งดังเหมือนก่อนเกิดอุบตั เิ หตุ แต่ทเี ข้าใจดีวา่ ไม่มซี เู ปอร์สตาร์คนไหน อยูค่ าํ้ ฟ้าไปตลอด เขายังคงใช้ชวี ติ เรียบง่ายในอพาร์ตเมนต์เล็กๆ ทีน่ วิ ยอร์ก เดินไปซื้อข้าวกับสตูว์เนื้อแบบห่อกลับบ้านราคา 15 เหรียญที่ร้านเจ้าประจำ� และต้องหยุดเป็นระยะเพื่อทักทายบรรดาเพื่อน คนรู้จัก และแฟนๆ ที่ยังคง จดจำ�เขาได้เสมอ ปี 2017 ค่าย Twentieth Century Fox ประกาศจะทำ�หนัง เกี่ยวกับชีวิตของเขา เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ราชาแร็ป ผู้แผ้วถางเส้นทางแห่ง ฮิปฮอปให้เป็นวัฒนธรรมดนตรีกระแสหลักตั้งแต่ยุค 1970
ที่มา: บทความ “The Man Who Forgot He Was a Rap Legend” โดย Joshuah Bearman จาก gq.com / บทความ “T La Rock and His New Posse” โดย ROSALIE R. RADOMSKY จาก nytimes.com / บทความ “T La Rock: Fox to Develop Film About Life of the First Def Jam Artist” โดย Jenna Busch จาก comingsoon.net / T La Rock at home in New York (Part 1 และ Part 2) จาก youtube.com CREATIVE THAILAND I 34