Creative Thailand Magazine

Page 1

มีนาคม 2562 ปีที่ 10 I ฉบับที่ 6 แจกฟรี

Creative Startup QQ Dessert The Creative Design PLANT Creative City Singapore



THOSE WHO DO NOT WANT TO IMITATE ANYTHING, PRODUCE NOTHING. ถ้าไม่เลียนแบบ ก็เท่ากับไม่สร้างอะไร Salvador Dalí

ศิลปินเซอร์เรียลลิสต์ชาวสเปน


Contents : สารบัญ

The Subject

ก้าวใหม่สู่โลกกว้างของเกาหลีเหนือ / วัฒนธรรมเรา ใครได้ประโยชน์ / ‘Belong’ เก้าอี้ตัวนี้ ‘ของ’ ฉัน

6

Insight 20 Fusion for the World

Creative Startup 22

Creative Resource 8 Report / Books

QQ Dessert ขนมหวานไต้หวัน x แบรนด์ไทย ที่เป็นมิตรกับผู้บริโภคสายสุขภาพ

MDIC 10

Creative City

24

Local Wisdom

12

The Creative

28

Cover Story

14

Creative Will

34

คลังความรู้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่เรียกว่า ‘ธรรมชาติ’ Thailand Top Mirror ใครว่าไทยไม่โดนก๊อป

Art of Copycat ลอก เรียน สร้างขึ้นใหม่ แล้วไปให้สุด

Singapore Marrying Culture

Design PLANT ตามหาสัญชาตญาณงานออกแบบไทย ที่อยู่ในดีเอ็นเอของเราทุกคน Stories for All จงเป็นตัวเอกและเป็นตัวเอง

บรรณาธิการที่ปรึกษา l อภิสทิ ธิ์ ไล่สตั รูไกล ที่ปรึกษา l พิชติ วีรงั คบุตร, มนฑิณี ยงวิกลุ , ศิรอิ ร หริม่ ปราณี, เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร, พจน์ องค์ทวีเกียรติ, บรรณาธิการบริหาร l พัชรินทร์ พัฒนาบุญไพบูลย์ กองบรรณาธิการ l ปิยวรรณ กลิ่นศรีสุข, ฐานันดร วงศ์กิตติธร, ณัฐณิชาต์ ศิริวัลลภ เลขากองบรรณาธิการ l ณัฐชา ตะวันนาโชติ ศิลปกรรม l ชิดชน นินนาทนนท์ ประสานงานกองบรรณาธิการ l วนบุษป์ ยุพเกษตร ช่างภาพและมัลติมีเดีย l ภีร์รา ดิษฐากรณ์ เว็บไซต์ l นพกร คนไว จัดทำ�โดย l สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) (CEA) 1160 อาคารไปรษณีย์กลาง ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10501 โทร. 02 105 7400 แฟกซ์. 02 105 7450 พิมพ์ที่ l บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จำ�กัด จำ�กัด โทร. 02 903 8257-9 จำ�นวน 15,000 เล่ม ติดต่อลงโฆษณา: Commu.Dept@tcdc.or.th นิตยสารฉบับนีใ้ ช้หมึกพิมพ์จากนา้ํ มันถัว่ เหลืองทีไ่ ม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทัง้ ยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และใช้กระดาษ รีไซเคิล ซึ่งเป็นผลผลิตของผู้ประกอบการไทย จัดทำ�ภายใต้โครงการ “Creative Thailand สร้างเศรษฐกิจไทยด้วยความคิดสร้างสรรค์” โดยสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) (CEA) ซึ่งมีเป้าหมายในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) และผลักดันการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

อนุญาตใหใชไดตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส อนุญาตใหใชไดตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย แสดงที ่มา-ไมใTHAILAND ชเพื่อการคา-อนุI ญ4าตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย CREATIVE


in.c.mi.com

Editor’s Note : บทบรรณาธิการ

CULTURE-TO-GO ทฤษฎีด้านการเรียนรู้ของบันดูราอธิบายว่า มนุษย์ ‘เรียนรู้’ โดยการ ‘สังเกต’ และ ‘เลียนแบบ’ เพราะมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อมรอบตัวอยู่เสมอ เช่นเดียวกับคำ�กล่าวของบาทหลวงชาวอังกฤษ ชาร์ล คาเล็บ โคลตัน ทีก่ ล่าวว่า การลอกเลียนเป็นการแสดงออกถึงความนิยมชมชอบทีจ่ ริงใจทีส่ ดุ เพราะเมือ่ เรา ชืน่ ชมสิง่ ใด เราย่อมต้องการเป็นให้เหมือนกับสิง่ นัน้ ๆ เราจึงมองเห็นวัฒนธรรม ต่างถิ่น ค่านิยมต่างความเชื่อ และงานศิลปะหลากหลายแขนงจากในอดีต ย้อนกลับมาอยูใ่ นกระแสความนิยม หรือกลายมาเป็นทีช่ น่ื ชอบของคนต่างยุคสมัย หรือต่างดินแดนอยู่อาศัยเสมอๆ และยังทำ�ให้เกิดคำ�ถามขึ้นว่า แท้จริงความ ดั้งเดิมนั้นมีอยู่จริงในสังคมของเราหรือไม่ เสินเจิ้น เมืองที่ถูกมองว่าเป็นเมืองแห่งการก๊อปปี้เมื่อไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา ได้กลายมาเป็นเมืองแห่งนวัตกรรมของจีนที่ผงาดขึ้นครองอันดับเป็นซิลิคอน แวลลีย์แห่งใหม่ของโลกไปเป็นที่เรียบร้อย จากหมู่บ้านชาวประมงนอกสายตา ทีม่ ปี ระชากรเพียง 3 แสนคน พ่วงด้วยปัญหาความยากจนไม่แพ้เมืองอืน่ ๆ ของ จีนในสมัยนัน้ แต่เมือ่ รัฐบาลประกาศให้เสินเจิน้ เป็นเมืองเศรษฐกิจพิเศษแห่งแรก ของจีนในปีค.ศ. 1980 เพือ่ เปลีย่ นเสินเจิน้ ให้กลายเป็นมหานครแห่งใหม่ ช่วงเวลา ไม่ถึง 30 ปี เสินเจิ้นก็เติบโตอย่างรวดเร็วที่สุดในประวัติศาสตร์ มีประชากร เพิ่มเป็น 12 ล้านคน พื้นที่เขตเมืองขยายจากเพียง 1.2 ตารางไมล์เป็น 780 ตารางไมล์ โดยท่ามกลางการปฏิรูปเศรษฐกิจของบ้านเมือง เสินเจิ้นได้สร้าง วัฒนธรรมใหม่ที่เรียกว่า ซานจ้าย (shanzhai - 山寨) ขึ้นคำ�ว่า ซานจ้าย นัน้ หมายถึงการเลียนเพือ่ ทีจ่ ะรูแ้ ละอยูร่ อด ดังนัน้ มันจึงหมายถึงอีกหนึง่ ‘ทักษะ’ ทีจ่ ะสามารถสร้างสิง่ ที่เหมือนกับงานออริจนิ ลั ได้อย่างไม่มที ต่ี จิ นก้าวไปสูก่ ารเป็น งานฝีมือ

ในปีค.ศ. 1983 ทีค่ อมพิวเตอร์สว่ นบุคคลเริม่ เป็นทีน่ ยิ มมากขึน้ และบริษทั ผู้ผลิตเทคโนโลยีต่างๆ เริ่มขยับขยายมาหาแรงงานราคาถูกที่เสินเจิ้นมากขึ้น แรงงานเหล่านี้จึงมีทักษะในการผลิตสินค้าเลียนแบบที่เรียกว่า Shanzhai Product มากขึ้นและยังขายมันได้ในราคาที่ตํ่ากว่า ยิ่งไปกว่านั้นพวกเขายังได้ เพิ่มเติมนวัตกรรมใหม่ๆ ลงไปจนสามารถขายแข่งกับสินค้าของแบรนด์ใหญ่ ได้อย่างทัดเทียม แม้จะประสบความสำ�เร็จอย่างยิ่งใหญ่กับแนวทางการเลียนเพื่อรู้ แต่จีน กลับหันหลังให้กับการเป็น “โรงงานผลิตของโลก” พร้อมปิดตัวโรงงานกว่า 17,000 แห่งในช่วง 5 ปีให้หลังมานี้ เพื่อเคลื่อนการลงทุนจากการรับจ้างผลิต แบบเดิมไปสูก่ ารวิจยั และพัฒนาอย่างจริงจัง พร้อมก้าวสูก่ ารเป็นผูน้ �ำ ในแวดวง นวัตกรรมตัวจริง ตัวอย่างหนึ่งก็คือบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ BYD (ตัวย่อจากคำ�ว่า Build Your Dreams) ทีเ่ ริม่ ต้นจากการเลียนแบบโตโยต้า ก่อนจะกลายเป็นหนึง่ ในแบรนด์รถยนต์ของจีนที่ประสบความสำ�เร็จที่สุดในประเทศในเวลาต่อมา หรือ Xiaomi ทีพ่ ฒั นาเทคโนโลยีขน้ั สูงบวกกับคุณภาพทีไ่ ม่แพ้แบรนด์ดงั เจ้าตลาด จนกลายเป็นแบรนด์ที่ทั่วโลกให้การยอมรับในปัจจุบัน การจะก้าวไปเป็นประเทศผูน้ �ำ เบอร์หนึง่ ทางนวัตกรรมในปีค.ศ. 2050 ของ จีนนัน้ จึงไม่นา่ ใช่เรือ่ งยาก เพราะจีนได้กา้ วข้ามการลอกเลียน มาสูก่ ารเรียนรู้ และมุ่งสู่การพัฒนาที่รวดเร็วจนเรียกได้ว่าทิ้งต้นแบบไปอย่างไม่เห็นฝุ่น ซึ่งก็ ไม่แน่วา่ ในอนาคตวัฒนธรรมการเลียนเพือ่ รูแ้ บบจีน จะได้รบั การเคลือ่ นย้ายไป ใช้ตอ่ ณ มุมใดของโลก ในเมือ่ วัฒนธรรมคือต้นทุนทางความคิดทีเ่ คลือ่ นย้ายได้ อยู่ที่ว่าใครจะปรับใช้ประโยชน์มันอย่างไร เหมือนอย่างที่แจ๊ก หม่า บอกไว้ว่า “คุณต้องเรียนรูจ้ ากคูแ่ ข่ง ไม่ใช่แค่กอ๊ ปปี้ เพราะถ้าแค่กอ๊ ป คุณก็ถงึ ทางตัน” อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล บรรณาธิการที่ปรึกษา

ที่มา: บทความ “How Copycat Culture Created China’s Silicon Valley” จาก theculturetrip.com CREATIVE THAILAND I 5


The Subject : ลงมือคิด

ก้าวใหม่สู่โลกกว้างของเกาหลีเหนือ เรื่อง : นพกร คนไว

Youtube/Rumoaohepta7

เกาหลีเหนืออาจไม่ใช่ประเทศทีป่ ดิ ตัวเองอย่างในอดีตอีกต่อไป เมือ่ การเข้ามา ของสื่อบันเทิงจากต่างประเทศ เช่น ภาพยนตร์อินเดียเรื่อง 3 Idiots ที่เข้า ฉายในโรงภาพยนตร์ไม่ไกลจากแลนด์มาร์กสำ�คัญอย่างจัตรุ สั คิมอิลซ็อง หรือ วรรณกรรมยอดนิยมอย่าง Harry Potter ซึ่งเก็บอยู่ในห้องสมุดประชาชน (Grand People’s Study House) กลายเป็นที่นิยมในหมู่ชาวเกาหลีเหนือ เช่นกัน นี่เป็นเพียงตัวอย่างเล็กน้อยที่สามารถบอกได้ว่า เกาหลีเหนือเริ่ม สลัดภาพจำ�ที่เคร่งขรึมในมาดเผด็จการ สู่การเติมสีสันด้วยวัฒนธรรมจาก โลกภายนอก หากย้อนกลับไปในปี 2012 ผู้นำ�คิมจองอึนเริ่มมีความคิดในการสร้าง วัฒนธรรมป๊อปของเกาหลีเหนือขึ้นใหม่ โดยการสร้างวงเกิร์ลกรุ๊ปชื่อว่า Moranbong Band ซึง่ ประกอบด้วยสมาชิกทีผ่ นู้ �ำ คิมจองอึนเลือกมาด้วยตัว เองจากข้าราชการประจำ�กองทัพ กับภาพลักษณ์ที่เหล่าสมาชิกหันมาใส่ กระโปรงสั้น และสามารถเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลายชนิด ยิ่งไปกว่านั้น การให้ความสำ�คัญของ Moranbong Band ยังทำ�ให้คิมจองอึนลอยแพ วงดนตรีเก่าแก่อย่าง Unhasu Orchestra และคณะอุปรากร Sea of Blood ที่ก่อตั้งโดยผู้นำ�คนก่อนหน้าซึ่งเป็นพ่อและปู่ของเขา นี่นับเป็นการประกาศ ให้รู้ว่าเกาหลีเหนือนับจากนี้จะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป เมือ่ ปีทผี่ า่ นมาเกาหลีเหนือได้เปิดให้สอื่ จากต่างประเทศเยีย่ มชมโรงงาน รองเท้า Ryuwon ณ เมืองเปียงยาง ทีน่ �ำ เสนอรองเท้าสนีกเกอร์สสี นั สวยงาม และทันสมัยซึ่งอาจขัดกับภาพลักษณ์ของประเทศ ด้วยความต้องการของ ผู้นำ�คิมจองอึนที่เปิดโอกาสให้ช่างทำ�รองเท้าศึกษาการดีไซน์รองเท้าอย่าง ละเอียดจากหลายแบรนด์ทั่วโลก จนเกิดเป็นสินค้าของตนเอง แม้รูปลักษณ์ ของรองเท้ายังหนีไม่พ้นแบรนด์ต้นแบบจากตะวันตก เช่น อาดิดาส หรือ ไนกี้ แต่ก็ทำ�ให้โลกภายนอกได้รู้ว่าพวกเขากำ�ลังเปิดโอกาสให้วัฒนธรรม ที่แตกต่างเข้ามาอยู่ในชีวิตประจำ�วันมากขึ้น การเดินหน้าพัฒนาอุตสาหกรรมด้านโทรทัศน์ก็ได้รับการเปลี่ยนแปลง ไปมาก ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเช่น North Korean TV ช่องโทรทัศน์ของรัฐบาล ที่ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการนำ�เสนอข่าวให้ทันสมัย จากภาพลักษณ์

ของผู้ประกาศข่าวรุ่นเก่าอย่างรีชุนฮี (Ri Chun-Hee) ที่มีภาพจำ�ในชุด ฮันบก พร้อมท่าทางดุดนั และบางครัง้ ก็รอ้ งไห้ขณะรายงานข่าวเกีย่ วกับผูน้ �ำ ถูกเปลีย่ นเป็นผูป้ ระกาศข่าวอายุเฉลีย่ สามสิบปีกบั สไตล์การรายงานข่าวแบบ ตะวันตก ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดรับกับผู้ชมในปัจจุบันที่มีการ รับข่าวสารจากต่างประเทศมากขึ้น แม้เกาหลีเหนือจะเปิดรับวัฒนธรรมจากโลกภายนอก แต่กป็ ฏิเสธไม่ได้ ว่ า มั น ถู ก รั บ มาเพื่ อ พั ฒ นาเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการโฆษณาชวนเชื่ อ ให้ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น จากเดิมที่เน้นนำ�เสนอการสรรเสริญภารกิจของ ‘ท่ า นผู้ นำ � ’ โดยตรง ก็ เ ปลี่ ย นเป็ น การเล่ า เรื่ อ งของคนทั่ ว ไปที่ยัง แฝง การแสดงออกถึงความซาบซึ้งในตัวผู้นำ�เช่นเดิม อีกทั้งข่าวการลอบสังหาร คิมจองนัม พี่ชายต่างมารดาของคิมจองอึนหรือการทดสอบขีปนาวุธ หลายครั้ ง ก็ ทำ � ให้ เ ราไม่ อ าจคาดเดาได้ ว่ า ในอนาคตเกาหลี เ หนื อ จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นประเทศเสรีหรือยังเป็นประเทศเผด็จการอย่างที่ เคยเป็นมา ที่มา: บทความ “K-Pop and Fancy Sneakers: Kim Jong Un’s Cultural Revolution” โดย Eric Talmadge จาก apnews.com / บทความ “Moranbong Band” จาก wikipedia.org / บทความ “North Korea’s State TV Gets a Quiet Makeover, Adding Neon Suits and Smiles to Newscasts Best Known for Delivering the Party Line” โดย Joohee Cho จาก abcnews.go.com

วัฒนธรรมเรา ใครได้ประโยชน์ เรื่อง : นพกร คนไว

การหยิบยืมวัฒนธรรมจากแหล่งต้นกำ�เนิดเพื่อต่อยอดและสร้างรายได้ใน ธุรกิจเป็นสิ่งที่เห็นได้อย่างต่อเนื่อง บางกรณีเจ้าของวัฒนธรรมที่ถูกนำ�ไปใช้ ก็ได้ประโยชน์ และทำ�ให้ผู้คนรับรู้ถึงการมีอยู่ของพวกเขา แต่ในบางกรณี ธุรกิจและการหาผลกำ�ไรก็เป็นเหตุผลสำ�คัญที่ขุดหลุมฝังวัฒนธรรมดั้งเดิม เหล่านั้นให้สูญหายไป เหลือเพียง ‘การลอกเลียน’ ที่กลายเป็นหนึ่งเดียวซึ่ง ตักตวงรายได้อย่างมหาศาลไปอย่างหน้าตาเฉย เมือ่ ปีทผี่ า่ นมาได้เกิดแคมเปญรณรงค์โดยประชาชนจากหลายประเทศ ในแอฟริกาตะวันออกทีเ่ ป็นเจ้าของภาษาสวาฮีลี (Swahili) ซึง่ รวมตัวกันเพือ่ ร้องเรียนให้บริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ (The Walt Disney Company) ยกเลิก เครือ่ งหมายการค้า ‘Hakuna matata’ วลีดังจากภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง The Lion King ทีอ่ อกฉายในปี 1994 เนือ่ งจากความสำ�เร็จของภาพยนตร์ที่ มาพร้อมรายได้ถล่มทลาย และเพลงฮิต ‘Hakuna matata’ ผลงานสร้างสรรค์ ของศิลปินระดับโลกเอลตัน จอห์น (Elton John) และทิม ไรซ์ (Tim Rice) ทำ�ให้ดิสนีย์มองเห็นช่องทางธุรกิจต่อไปในอนาคตจากวลีที่ติดหูนี้ ความหมายของภาษาสวาฮีลี ‘Hakuna matata’ ซึง่ แปลได้วา่ ‘no worries’ นีไ้ ด้ถูกจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าโดยดิสนีย์ไปตั้งแต่ปี 2003 เพื่อใช้กับ สินค้าประเภทเสื้อและรองเท้า ซึ่งในอนาคตอาจมีสินค้าชนิดอื่นเดินขบวน ตามกันมาอีกนับไม่ถว้ น ยิง่ เมือ่ The Lion King ฉบับคนแสดงกำ�ลังจะเข้าโรง ฉายในเดือนกรกฎาคมปีน้ี ก็ท�ำ ให้ เชลตัน มพาลา (Shelton Mpala) ผูเ้ รียกร้อง ชาวซิมบัคเวต้องเริม่ ต้นการรณรงค์เพือ่ หยุดยัง้ ไม่ให้ดสิ นียใ์ ช้วลีจากภาษาแม่

CREATIVE THAILAND I 6


pixabay.com

‘Belong’ เก้าอี้ตัวนี้ ‘ของ’ ฉัน

ของตนในการสร้างรายได้เป็นของตัวเอง แถลงการของแคมเปญรณรงค์ใน เว็บไซต์ change.org ได้กล่าวไว้ส่วนหนึ่งว่า “การตัดสินใจจดทะเบียน เครือ่ งหมายการค้ากับวลี ‘Hakuna matata’ แสดงให้เห็นถึงความโลภอย่าง แท้จริง สิ่งนี้ไม่เพียงแค่เป็นการดูถูกชาวสวาฮีลีเท่านั้น แต่มันหมายถึงชาว แอฟริกันทุกคน” แคมเปญนี้ต้องการผู้สนับสนุน 200,000 รายชื่อ เพื่อใช้ใน การเรียกร้องกับบริษัทดิสนีย์ ซึ่งล่าสุด (กุมภาพันธ์ 2019) ได้มีผู้ลงชื่อ สนับสนุนไปแล้ว 186,000 ราย กรณีนไี้ ม่ได้เป็นเพียงครัง้ เดียวทีด่ สิ นียห์ ยิบเอาทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม มาใช้เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ ย้อนกลับไปปี 2013 ดิสนีย์พยายามที่จะใช้ชื่อ ของภาพยนตร์เรือ่ งใหม่และจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้าของคำ�ว่า ‘Dia de los Muertos’ ซึ่งหมายถึงเทศกาล ‘Day of the Dead’ เทศกาลสำ�คัญของ ประเทศเม็กซิโก ก่อนทีจ่ ะล้มเลิกไป เนือ่ งด้วยความไม่พอใจในหมูช่ าวอเมริกนั เชื้อสายเม็กซิกัน ที่วันสำ�คัญของพวกเขาถูกฉวยโอกาสเพื่อประโยชน์ทาง ธุรกิจ ท้ายทีส่ ดุ แล้ว ดิสนียจ์ งึ ยกเลิกการจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้าและ เปลีย่ นชือ่ ภาพยนตร์เป็น ‘Coco’ ซึง่ ต่อมาประสบความสำ�เร็จไปทัว่ โลก และ สร้างรายได้ไปกว่าแปดร้อยล้านเหรียญสหรัฐฯ อย่างไรก็ตาม การใช้ค�ำ หรือภาษาในการจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้า เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างทั่วไป และยังคงเป็นกรณีที่มักก่อให้เกิดข้อขัดแย้งต่อสู้ กับความไม่เห็นด้วยจากเจ้าของวัฒนธรรมหรือบุคคลทีไ่ ด้รบั ผลกระทบอยูเ่ สมอ ทางออกของปัญหาที่อ่อนไหวอย่างเช่นกรณีของดิสนีย์นั้น มีหลายเสียงที่ เห็นตรงกันว่า หากเป็นการจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้าโดยเจ้าของภาษา หรือวัฒนธรรมนั้นๆ อาจเป็นทางออกที่ดีสำ�หรับการรักษาสิทธิ์ความเป็น ต้นกำ�เนิด อีกทัง้ น่าจะขึน้ อยูก่ บั การตีความในการนำ�เอาวัฒนธรรมไปใช้งาน เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด มากกว่าเพือ่ เอือ้ ประโยชน์ทางธุรกิจเพียงอย่างเดียว ที่มา: บทความ “Disney accused of colonialism over ‘hakuna matata’ trademark” โดย Rebecca Ratcliffe จาก theguardian.com / บทความ “Hakuna Matata™? Can Disney Actually Trademark That?” โดย Kimiko de Freytas-Tamura จาก nytimes.com / บทความ “Disney can be a leader: cultural rights over profits!” โดย Shelton Mpala จาก change.org / บทความ “Disney drops bid to trademark Day of the Dead” โดย Ben Child จาก theguardian.com / List of highest-grossing animated films จาก wikipedia.org

เรื่อง : วนบุษป์ ยุพเกษตร

ตุก๊ ตาตัวโปรดบนเตียง ของเล่นวัยเด็กทีเ่ ก็บอยูใ่ นลัง หรือเสือ้ ผ้าตัวเก่งทีถ่ กู จัดเรียงไว้ในตู้ เป็นสิง่ ซึง่ แสดงว่าเราทุกคนต่าง ‘เป็นเจ้าของ’ สิง่ ใดสิง่ หนึง่ ทัง้ นัน้ เช่นเดียวกับ ‘ทีน่ งั่ ’ ทีถ่ กู นำ�มาจัดแสดงคูก่ บั ภาพของเจ้าของ ในนิทรรศการ ‘ของ’ (‘belong’ exhibition) โดย อิสรภาพ x พิชาญ สุจริตสาธิต ในเทศกาล งานออกแบบกรุงเทพฯ หรือ Bangkok Design Week 2019 เมือ่ เดือนมกราคม ที่ผ่านมา เก้าอีเ้ หล่านีถ้ กู เจ้าของดัดแปลง ซ่อมแซม และทำ�ใหม่ ให้เหมาะกับการ ใช้งานของตนเอง โดยการนำ�วัสดุใกล้ตวั หรือสิง่ ทีม่ อี ยูม่ าทำ�ให้เกิดประโยชน์ บ่งบอกถึงวิธกี ารแก้ปญั หาของคนไทยแบบง่าย ๆ ทว่าก็ชาญฉลาดขนาดทีไ่ ม่มี ชาติใดเหมือนหรือลอกเลียนแบบได้ กลายเป็นเอกลักษณ์ที่สร้างความประทับใจ ให้แก่ผมู้ าเดินชมงาน บ้านเหลียวแล ย่านตลาดน้อย บนถนนเจริญกรุง บ้านจีนโบราณนับร้อยปี ได้รบั การเลือกสรรให้เป็นพืน้ ที่จดั แสดงนิทรรศการดังกล่าว โดยกลุม่ นักออกแบบ ‘อิสรภาพ’ พยายามรักษาและสะท้อนให้เห็นถึงสภาพของตัวบ้านทีผ่ า่ นร้อน ผ่านหนาวมาเนิน่ นาน ผนังปูนที่รอ่ นออกเป็นแผ่นๆ จากความชืน้ และการจัดผัง การใช้งานภายในอาคารที่ยังคงเหลือร่องรอยของผนังปูนกั้นพื้นที่แต่ละส่วน ออกจากกันอย่างคร่าวๆ รวมถึงเสียงเพลงลูกทุง่ จากวิทยุ ยิง่ ทำ�ให้บรรยากาศ ของนิทรรศการเต็มไปด้วยความสมจริงเสมือนหลุดเข้าไปอยูภ่ ายใต้บรรยากาศ การทำ�งานของบุคคลต้นเรือ่ งทีเ่ ป็นเจ้าของทีน่ ง่ั ทัง้ หลายภายในบ้านหลังนีไ้ ด้ อย่างถึงใจ เป็นทำ�นองทีไ่ ด้ยนิ แล้วรูไ้ ด้ทนั ทีวา่ ‘นีแ่ หละเพลงของช่างฝีมอื ไทย’ ทีน่ ง่ั แต่ละตัวทีว่ างอยูใ่ นพืน้ ทีบ่ า้ นทัง้ ตามซอกมุม ขนานไปกับผนัง แม้แต่ กลางบ้าน สะท้อนตัวตนและลักษณะเฉพาะของเจ้าของผูเ้ ป็นช่างฝีมอื ประจำ� โรงงานเฟอร์นเิ จอร์บา้ ง โรงงานเย็บผ้าบ้าง อูซ่ อ่ มรถ หรือโรงบุหนังบ้างทุกตัว ต่างมีเรื่องราวซ่อนอยู่ และกลิ่นอายของนักออกแบบที่เข้าใจเรื่องฟังก์ชัน การใช้งานมากทีส่ ดุ โดยปราศจากข้อกังขาใดๆ หลังจากชมนิทรรศการ ‘ของ’ หรือ ‘Belong’ อาจทำ�ให้หลายคนย้อนกลับมา คิดถึงบทบาทของนักออกแบบ ที่อาจไม่จ�ำ เป็นต้องสร้างสรรค์เฉพาะความสวยงาม แต่คอื การมุง่ ตรงไปทีก่ ารตอบโจทย์ใช้งานและเข้าใจในบริบทความต้องการของ ผูใ้ ช้อย่างแท้จริง เช่นเดียวกับทีน่ ง่ั ของช่างฝีมอื ในบ้านหลังนีท้ ไ่ี ด้สร้างสรรค์และ แปลงโฉมทีน่ ง่ั ของตัวเองจากการใช้งานจริงจนกลายเป็นผลงานทีจ่ บั ใจ แม้วา่ จะเดินออกจากบ้านเหลียวแลไปแล้ว ก็ยงั ต้องเหลียวหลังกลับมามอง ที่มา: bangkokdesignweek.com

CREATIVE THAILAND I 7


Creative Resource : วัตถุดิบทางความคิด เรื่อง : ณัฐมน สุทธิช่วย, ขนิษฐา หันสุรินทร์ และ ชนเดช วรรณสุทธิ์

F EAT U RED REPORT Skate and Streetwear: Retail Influence โดย Jackie Chiquoine ‘แฟชั่นสตรีทแวร์’ จากวัฒนธรรมย่อย (subculture) สู่แฟชั่นทรงอิทธิพลที่ ธุรกิจค้าปลีกและกลุ่มไฮแฟชั่นต้องปรับตัวตาม สตรีทแวร์เคยเป็นแฟชั่น ที่นิยมเฉพาะในกลุ่มผู้ชื่นชอบกีฬาสเก็ตบอร์ดและผู้หลงใหลในรองเท้า สนีกเกอร์ (sneakerheads) เท่านั้น แต่ตอนนี้ความนิยมสตรีทแวร์เป็น กระแสที่วงการแฟชั่นไม่อาจปฏิเสธได้ กลุ่มธุรกิจค้าปลีกและแบรนด์ดัง ทั่วโลกต่างกระตือรือร้นที่จะดึงเอาเอกลักษณ์อันมีสีสันของสตรีทแวร์มา รังสรรค์เป็นสินค้าใหม่ๆ ความสำ�เร็จของซูพรีม (Supreme) แบรนด์ผู้ริเริ่ม นำ�สตรีทแวร์เข้าสูต่ ลาดกระแสหลัก สามารถสร้างมูลค่าของบริษทั ให้เติบโต ทะลุหลักพันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2017 จนทำ�ให้มีแบรนด์น้องใหม่ต่าง ทยอยเปิดตัวตามมาอย่างต่อเนื่อง เมื่อวัฒนธรรมการแต่งกายของคนเฉพาะกลุ่มจุดประกายความสนใจ ของธุรกิจค้าปลีก ความสนุกและความเท่ของสตรีทแวร์จึงถูกหยิบนำ�มาใช้ ที่มา: ฐานข้อมูลออนไลน์ WGSN

ออกแบบสินค้าแบรนด์ดังมากมาย ขณะที่กระแสต่อต้านจากผู้ที่หวงแหน เอกลักษณ์ดั้งเดิมของสตรีทแวร์ก็เกิดขึ้นควบคู่กัน ร้านค้ารายย่อยต่าง ตกที่นั่งลำ�บาก เพราะถึงแม้จะสามารถสร้างรายได้ แต่ก็เสี่ยงที่จะทำ�ให้ ลูกค้ากลุ่มเดิมไม่พอใจ ความเปลี่ยนแปลงเห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เมื่อซูพรีม และหลุยส์ วิตตงร่วมกันออกแบบสินค้าราคาสูงและจำ�กัดจำ�นวนการ จำ�หน่าย สตรีทแวร์ในความหมายเดิมจึงกลายเป็นสินค้าไฮแฟชัน่ ขัน้ สมบูรณ์ ที่นักเล่นสเก็ตไม่มีกำ�ลังซื้อหาได้อีกต่อไป รายงานฉบับนี้กล่าวถึงความพยายามของแบรนด์สตรีทแวร์ที่จะลด ความไม่พอใจและช่องว่างดังกล่าว ด้วยการออกแบบหน้าร้านใหม่ให้ เหมาะกับลูกค้าทุกกลุ่ม ทั้งยังทุ่มทุนสร้างลานสเก็ตให้กับกลุ่มผู้รักกีฬา ประเภทนี้โดยไม่หวังผลกำ�ไร เพื่อเป็นการยืนยันกับลูกค้ากลุ่มเดิมว่า พวกเขาไม่ได้ถูกมองข้ามและยังคงเป็นกลุ่มลูกค้าสำ�คัญของอุตสาหกรรมนี้

CREATIVE THAILAND I 8


BOOK China’s Next Strategic Advantage: From Imitation to Innovation โดย George S. Yip และ Bruce McKern ‘ของก๊อปเซินเจิ้น’ เป็นคำ�คุ้นหูเมื่อนึกถึงสินค้าเลียนแบบ เป็นที่รู้กันดีว่าสินค้าเลียนแบบราคาตํ่า มักมาจากประเทศจีน และเมืองเซินเจิ้นเองก็เป็นแหล่งผลิตสินค้าเลียนแบบที่ใหญ่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง แต่ไม่กี่ปีมานี้ภาพจำ�ดังกล่าวเริ่มเปลี่ยนแปลงไป เมื่อยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีอย่างหัวเว่ย (Huawei) และเสี่ยวหมี่ (Xiaomi) ต่างตบเท้าขึ้นสู่บริษัทท็อป 5 ตามรอยซัมซุง (Samsung) ที่ครั้งหนึ่งก็เคยผลิต สินค้าเลียนแบบคุณภาพตํา่ เช่นกัน หนังสือเล่มนีจ้ ะพาเราไปสำ�รวจว่าประเทศจีนปฏิรปู กลยุทธ์ทางธุรกิจ จากการเลียนแบบสู่การสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร ผู้เขียนได้อธิบายถึงการพลิกโฉมครั้งใหญ่ ทั้งยัง นำ�เสนอกลยุทธ์และยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่ประสบความสำ�เร็จสำ�หรับผู้บริหารทั้งในและนอก ประเทศจีน เพราะถึงเวลาแล้วที่บริษัทจากทั่วโลกต้องเรียนรู้และเตรียมรับมือกับคลื่นนวัตกรรม เทคโนโลยีจากประเทศจีน ที่มา: mitpress.mit.edu/books

Manga and Anime Go to Hollywood โดย Northrop Davis สเปเชียลเอฟเฟกต์สุดตระการตาตามแบบฉบับหนังบล็อกบัสเตอร์อเมริกัน ลีลาการต่อสู้กังฟูเหนือจริง ในภาพยนตร์จีน และลายเส้นการ์ตูนมังงะของญี่ปุ่น ล้วนแล้วแต่เป็นองค์ประกอบที่ในอดีตจะพบเห็น ได้เฉพาะในสื่อของแต่ละประเทศเท่านั้น แต่ในปัจจุบัน ผู้ชมจะได้เสพเอกลักษณ์เฉพาะตัวนี้ในสื่อ จากประเทศที่ไม่ได้เป็นแหล่งกำ�เนิดดั้งเดิมมากยิ่งขึ้น เพราะวงการบันเทิงทั่วโลกต่างได้รับและ ส่งอิทธิพลซึง่ กันและกัน หนังสือเล่มนีห้ ยิบยกประเด็นด้านพัฒนาการและการผสมผสานของแอนิเมชัน ญีป่ นุ่ และอเมริกนั ทีถ่ งึ แม้จะเติบโตมาจากคนละเส้นทาง แต่กแ็ บ่งปันและเรียนรูจ้ ากกันและกันเสมอมา ทั้งยังนำ�เสนอแนวทางการประยุกต์ใช้ความรู้จากปรากฏการณ์การผสมผสานนี้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาวิธีการบอกเล่าเรื่องราวที่เป็นสากลยิ่งขึ้นในอนาคต ที่มา: bloomsbury.com/us

R EPORT The K-Pop Effect โดย Jemma Shin จากการแต่งตัวของศิลปินเค-ป๊อปที่ถกู จับตามองเมื่อเดินทางไปสนามบินสูร่ นั เวย์ในงานแฟชัน่ วีก เค-ป๊อปได้ พิสจู น์ให้เห็นแล้วว่า ไม่ได้เป็นเพียงเทรนด์ที่ฉาบฉวย หากแต่ได้กลายเป็นไลฟ์สไตล์ของวัยรุน่ ทัว่ เอเชียและ นานาชาติไปแล้ว เค-ป๊อปเริม่ พัฒนาเป็นวัฒนธรรมกระแสหลักด้วยทำ�นองดนตรีทต่ี ดิ หู ฐานแฟนคลับจาก ทัว่ โลก และการสนับสนุนจากรัฐบาล แต่ดนตรีไม่ได้เป็นเพียงสิง่ เดียวทีโ่ ดดเด่นของวัฒนธรรมเค-ป๊อป แฟชั่น การแต่งกายที่สะดุดตา เน้นความเป็นตัวของตัวเอง และการแต่งการแบบยูนเิ ซ็กส์ (unisex) ยังทำ�ให้แบรนด์ดงั ต่างๆ ในเอเชียหันมาจับกระแสและผลิตสินค้าป้อนตลาด สร้างยอดขายได้มหาศาล และกำ�ลังซือ้ ของกลุม่ ผูค้ ลัง่ ไคล้วฒั นธรรมเค-ป๊อปนีเ้ องทีท่ �ำ ให้แบรนด์ดงั ในยุโรปต้องหันมาออกแบบสินค้าเพื่อตอบสนองความต้องการ ผลพลอยได้คอื แบรนด์ในยุโรปช่วยผลักดันและต่อยอดเอกลักษณ์ให้สนิ ค้าเค-ป๊อปไปได้ไกลยิง่ ขึน้ ในตลาดสากล ที่มา: ฐานข้อมูลออนไลน์ WGSN

พบกับวัตถุดิบทางความคิดเหล่านี้ได้ที่ TCDC Resource Center CREATIVE THAILAND I 9


MDIC : นวัตกรรมและวัสดุ

คลังความรู้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่เรียกว่า ‘ธรรมชาติ’ เรื่อง : ณัฐณิชาต์ ศิริวัลลภ

จากหยดนํ้าเล็กๆ บนใบบัว ทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า นํ้ากลิ้งบน ใบบัว (Lotus Effect) ที่นำ�มาซึ่งนวัตกรรมต่างๆ มากมาย โดยผู้ค้นพบคือ นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อวิลเฮล์ม บาร์ธลอตต์ (Wilhelm Barthlott) ได้สังเกตเห็นว่าใบบัวไม่เคยเปียกนํ้าและไม่เคยสกปรก อีกทั้งยังสะอาด อยูเ่ สมอ จากข้อสงสัยนี้ เขาได้ศกึ ษาผ่านการส่องกล้องจุลทรรศน์ก�ำ ลังขยาย สูงไปยังใบบัว และพบคำ�ตอบว่าผิวหน้าของใบบัวมีลักษณะคล้ายขนเล็กๆ ขนาดนาโนเมตรเรียงตัวกันเป็นระเบียบและที่ขนยังเคลือบด้วยสารคล้าย ขี้ผึ้ง ทำ�ให้หยดนํ้าที่ตกลงบนใบบัวจะติดอยู่แค่ส่วนขนบนผิวใบบัวเท่านั้น เช่นเดียวกับฝุ่นหรือสิ่งสกปรกที่ก็จะติดอยู่แค่ปลายขนบนผิวใบบัว ดังนั้น ใบบัวจึงแห้งและสะอาดอยู่เสมอ เนื่องจากหยดนํ้าจะกลิ้งพาเอาสิ่งสกปรก ออกไปด้วยนั่นเอง จากการค้นพบปรากฏการณ์ดังกล่าว จึงเกิดศาสตร์ที่เรียกกันว่า ‘Biomimicry’ หรือการเลียนแบบธรรมชาติ โดยการนำ�เอาคุณสมบัติ ที่ค้นพบตามธรรมชาติมาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนระดับ เซลล์หรือโมเลกุลในหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาเทคโนโลยี การออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือแม้แต่การนำ�มาแก้ไขปัญหาด้านความปลอดภัย บนท้องถนน สำ�นักงานทางหลวงของประเทศอังกฤษได้จัดทำ�แนวทาง การรณรงค์เกี่ยวกับการขับขี่อย่างปลอดภัยด้วยการสื่อสารแบบใหม่ โดย ตั้งชื่อแคมเปญนี้ว่า ‘When it rains, it kills’ โดยหนึ่งในวิธีการรณรงค์ก็คือ การนำ�เอาเทคโนโลยีสารเคลือบกันนํา้ ทีม่ คี ณุ สมบัตเิ ช่นเดียวกับปรากฏการณ์ นํา้ กลิง้ บนใบบัวมาใช้ในการแสดงข้อความบนถนน เพือ่ เตือนผูใ้ ช้รถใช้ถนน ให้ลดความเร็วในขณะฝนตกหรือถนนเปียก โดยนํา้ ฝนจะไม่เกาะบนตัวอักษร ทีเ่ คลือบสารกันนํา้ ไว้ จึงเกิดส่วนทีแ่ ห้งและเปียกแยกกัน ทำ�ให้เห็นข้อความ

ได้ชัดเจน โดยสำ�นักทางหลวงประเทศอังกฤษมีเป้าหมายว่าจะลดอัตราการ เกิดอุบัติเหตุลง 40% ภายในปี 2020 สายการบินเซบู แปซิฟกิ (Cebu Pacific Airlines) ของประเทศฟิลปิ ปินส์ ยังได้น�ำ เอาเทคโนโลยีนมี้ าใช้เพือ่ การโฆษณาและต่อยอดเพิม่ มูลค่าได้อย่าง สร้างสรรค์ โดยโฆษณาชิ้นนี้เกิดขึ้นบนฟุตบาทที่เขตบริหารพิเศษฮ่องกงที่มี สภาพอากาศส่วนใหญ่ฝนตกชุกและมีลมแรง หรือแม้กระทัง่ ฤดูรอ้ นก็มกั เกิด ลมมรสุม ทำ�ให้มีแสงแดดประมาณ 100 ชม.ต่อเดือนเท่านั้น ความฉลาด ของโฆษณาชิน้ นีก้ ค็ อื มันจะปรากฎให้เห็นได้ชดั ในขณะทีฝ่ นตกหรือพืน้ เปียก เท่านัน้ โดยเทคนิคเบือ้ งหลังก็คอื การนำ�สเปรย์กนั นํา้ พ่นลงบนแบบฉลุอกั ษร บนพื้นที่มีข้อความว่า “It’s sunny in the Philippines” เพื่อเชิญชวนให้คน มาท่องเที่ยวในฟิลิปปินส์ที่มีสภาพอากาศส่วนใหญ่ร้อนชื้นและมีแสงแดด มากกว่า พร้อมแสดงคิวอาร์โค้ดทีส่ ามารถสแกนผ่านโทรศัพท์มอื ถือเพือ่ เช็ก เทีย่ วบินเดินทางไปฟิลปิ ปินส์ได้ทนั ที ซึง่ จากโฆษณาดังกล่าว ทำ�ให้สายการบิน เซบู แปซิฟิกมียอดการจองเที่ยวบินเพิ่มขึ้นถึง 37% เลยทีเดียว แรงบั น ดาลใจมากมายจากการเฝ้ า มองธรรมชาติ ที่ แ สดงถึ ง การ แก้ปญั หาต่างๆ ได้อย่างแยบยลของปรากฏการณ์ธรรมชาติและวิวฒั นาการ ที่สั่งสมมาอย่างยาวนาน ถูกมนุษย์นำ�เอามาสร้างสรรค์เป็นสิ่งต่างๆ ด้วย การศึกษาและเลียนแบบคุณสมบัติเฉพาะที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของ ธรรมชาติหรือสิ่งมีชีวิต ผนวกเข้ากับเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำ�ให้เกิด นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ดังนั้นหากความ มหัศจรรย์ของธรรมชาติเปรียบเสมือนคลังความรู้ที่เรียน (เลียน) ได้ไม่สนิ้ สุด นวัตกรรมและเทคโนโลยีบนโลกก็จะยังคงถูกพัฒนาต่อไปได้ไม่สิ้นสุด เช่นกัน

ที่มา: บทความ “สังเกตธรรมชาติสร้างนวัตกรรม” จาก nstda.or.th / บทความ “Using Weather Reactive Paint to Communicate Safety Reminders” จาก core77.com / บทความ “When it rains it kills: warning to drivers” โดย Highways England จาก gov.uk / บทความ “Cebu Pacific Airlines’ new holiday advertisement is only visible when it rains” โดย Soo Kim จาก traveller.com พบกับนวัตกรรมและวัสดุสร้างสรรค์ ได้ที่ชั้น 2 ห้อง Material & Design Innovation Center, CEA CREATIVE THAILAND I 10


พบกับนิตยสาร “คิด” Creative Thailand ได้ที่ ร้านหนังสือ ห้องสมุด สมาคม อาคารสำ�นักงาน และร้านกาแฟใกล้บ้าน ในกรุงเทพฯ เชียงใหม่ หัวหิน และจังหวัดอื่นๆ รวมถึง miniTCDC

ดูสถานที่จัดวางทั้งหมดได้ที่: www.tcdc.or.th/creativethailand/magazine/place กรุงเทพฯ ร้านหนังสือ • Asia Books • Kinokuniya • B2S • แพร่พิทยา

• MAIIAM Contemporary Art Museum • ชีวิต ชีวา • Minimeal Cafe • Impresso • Restr8to • Penguin Villa (Penguin Getto) ร้านกาแฟ/ร้านอาหาร • กาแฟอาข่า อ่ามา • Au Bon Pain La Fattoria สาขา2 • Starbucks • TOM N TOM’S COFFEE • Happy Hut ถ.นิมมานฯ • True Coffee • ราชดำ�เนิน • Auntie Anne’s • Mai Bakery In Garden • Baskin Robbins • Starbucks The Plaza • Coffee World • Yesterday Hotel • Mister Donut • October • Black Canyon • สุรยิ นั จันทรา นิมมานฯ ซอย 1 • McCafe’ • ร้านมีชามีชัย (กู) • ดอยตุง • Cafe’de nimman • Ninety four coffee • The Booksmith • Puff & Pie • ร้านชา (Drink Club) • Red Mango • Cotto Studio • Iberry • Starbucks Nimmanhemin • Greyhound Cafe’ • Fern Forest Cafe’ • Amazon Cafe’ • 9th Street Cafe • Chester’s Grill นิมมานฯ ซอย 9 • Luv minibar • ดวงกมล (Duang Kamol) • Rustic & Blue - Handgrown พิพิธภัณฑ์/หอศิลป์ • Produce & Artisan Food • หอศิลปวัฒนธรรม นิมมานฯ ซอย 9 แห่งกรุงเทพมหานคร • หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม • มิวเซียม สยาม • อุทยานการเรียนรู้ (TK park) มช. • นำ�ทอง แกลเลอรี่ หัวหิน • ร้านกาแฟ ชุบชีวา หัวหิน สมาคม/ห้องสมุด • อยู่เย็น หัวหิน บัลโคนี่ • ศูนย์ศิลปะนานาชาติ • บ้านใกล้วัง สมาคมฝรั่งเศส • ภัตตาคารมีกรุณา • ห้องสมุดเนลสัน เฮลส์ The Neilson Hays Library • บ้านถั่วเย็น @ แนบเคหาสน์ • ร้านอาหารหัวหิน (โกทิ) • ห้องสมุด - นิด้า • กาแฟข้างบ้าน • สมาคมโฆษณา • IL GELATO ITALIANO แห่งประเทศไทย • Together Bakery & Cafe’ • สมาคมธนาคารไทย • โรงแรม วรบุระหัวหิน • สมาคมสโมสรนักลงทุน • Let’s Sea • ห้องสมุด สสวท. • โรมแรม ดูน หัวหิน • สมาคมหอการค้าไทย • เดอะร็อค หัวหิน • สถาบัน • บ้านจันทร์ฉาย • Wall Street Institute • หัวหิน มันตรา รีสอร์ท • Raffle Design Institute • ลูน่าฮัท รีสอร์ท • Vision Swimming Academy กระบี่ • Nakamanda Resort & Spa เชียงใหม่ • Rawee Warin Resort & Spa • woo cefe • A little Handmade Shop • Kagee • Ristresto lab • ท่าแพอีสต์+ dibdee.binder ขอนแก่น • Hug School • C.A.M.P ,MAYA • True Coffee ,หอสมุด มช. of Creative Arts • ร้านสืบสาน • Punspace, นิมมานฯ • ร้านกาแฟ คอฟฟี่ เด้อ หล่า • asama cafe • มาหาสมุด (บ้านข้างวัด) (Coffee Der La) • see scape gallery เชียงราย • nimmanian club • ร้านหนังสือ herebookafe • 8 days a week • ร้าน Coffee Dad • Bulbul book cafe’ • Graph cafe’ นครราชสีมา • Cefe de museum • Hug station resort • local cafe Think park • Librarista นครปฐม • Artisan วัวลาย • ร้าน Dipchoc Cafe • paper spoon • กาแฟรสนิยม, นครสวรรค์ หลัง มช ทางขึ้นกาแล • The barn : Eatery Design • ร้าน Bitter Sweet • Book Republic น่าน • wake up หน้ามอ • ร้าน Runway Coffee • Fab cafe’ • kum cafe คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ • ร้านคลาสสิค โมเดล น่าน

• ร้านกาแฟปากซอย • ร้าน Nan Coffee Bean ปาย/แม่ฮ่องสอน • ร้านคอฟฟี่อินเลิฟ • ร้าน all about coffee • ร้านปายหวานบ้านนมสด • ร้านเล็กเล็ก • ปายวิมานรีสอร์ท พังงา • Niramaya Villa and Willness Resort • Ranyatavi Resort Phang Nga • The Sarojin เพชรบุรี • Grand Pacific Sovereign • Resort & Spa • DevaSom Hua Hin Resort ภูเก็ต • ร้านหนัง(สือ) ๒๕๒๑ ภูเก็ต • The oddy Apartment & Hotel • At Panta Phuket • Banyan Tree Phuket • Le Meridien Phuket • Millienium Ressort Patong Phuket • Novotel Phuket Resort • Patong Paragon Resort & Spa Phuket • Sheraton grand Lagana Phuket • Sri wanwa Phuket Villa • Thanyapura ระยอง • Le Vimarn Cottage ลำ�ปาง • อาลัมภางค์ เกสท์เฮ้าส์ แอนด์ มอร์ ลำ�ปาง • ร้านเอกาลิเต้ Egalite Bookshop • Lampang Art Center เลย • บ้านชานเคียง • มาเลยเด้ เกสต์เฮาท์ ลพบุรี • ซนดิคอฟฟี่ สมุทรสงคราม/อัมพวา • Baan Amphawa Resort and Spa สุโขทัย • Ananda Co.,Ltd. สุราษฎร์ธานี • Muang Samui Spa Resort • Pavilion Samui Boutique Resort • The Sunset Beach Resort and Spa Taling ngam • Nora Beach Resort Samui อุทัยธานี • ร้านบุ๊คโทเปีย Booktopia • Avatar Miracles


Local Wisdom : ภูมิความคิด

THAILAND TOP MIRROR ใครว่าไทยไม่โดนก๊อป เรื่อง : วนบุษป์ ยุพเกษตร

ร้านรวงบางร้าน อาคาร สถานที่บางแห่งที่ดูเหมือนอยู่ต่างประเทศตามหัวเมืองใหญ่ในบ้านเราได้รับการแปลงโฉมให้ ‘เหมือน’ กับที่ที่มันจากมา เราหอบซานโตรินีมาไว้ที่ชะอำ� ย้ายปาลิโอมาไว้เขาใหญ่ ล่าสุดยกฮิโนกิมาอยู่เชียงใหม่อีกด้วย เรามีชานมไข่มุกไต้หวันที่เจ้าของร้านเป็นคนไทยแท้ และสรรพสิ่งอีกมากมายที่เราล้วนแต่พาวัฒนธรรมภายนอกเข้ามาสู่ บ้านเมืองของไทย จริงอยู่ที่เรามักนำ�ของจากต่างแดนเข้ามาเป็นทั้งต้นทุนและแรงบันดาลใจใหม่ๆ ให้กับคนในท้องถิ่น แต่ก็ใช่ว่าเราจะทำ�แบบนั้นอยู่ฝ่ายเดียว เพราะแน่นอน ว่ามีหลายชาติที่ก็สนใจนำ�วิถีและความเป็นอยู่แบบไทยเข้าไปสู่มาตุภูมิของเขาเช่นกัน ลองมาดูกันว่ามีวัฒนธรรมอะไรบ้างที่ชาวต่างชาติต่างภาษา ติดอกติดใจจน (ยก) อะไรไทยๆ กลับไปไว้ยังบ้านเกิดของตน

เลื่องชื่อ ลือชา ‘อาหารไทย’

ปากท้ อ งเป็ น เรื่ อ งสำ � คั ญ และเมื อ งไทยก็ ไม่ เ คยขาดรสชาติ ประเทศไทยได้ ชื่ อ ว่ า เป็น ‘ครัวของโลก’ มายาวนาน นักท่องเที่ยว หลายเสียงต่างยอมรับว่า อาหารไทยนับเป็น อาหารที่ มี เ มนู แ ละรสชาติ ห ลากหลาย มากที่ สุ ด ชาติ ห นึ่ ง ในโลก หนำ � ซํ้ า ยั ง เป็ น ดินแดนที่อาหารร้านรวงเปิดทำ�การเพื่อผู้คน ทัง้ ในท้องถิน่ และผูม้ าเยือนอย่างไม่หยุดหย่อน ไม่ว่าจะเป็นช่วงใดของวันก็ตาม อาหารไทย จึงโด่งดังติดอันดับอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก1 แถมกูเกิลยังมีวันเฉลิมฉลองให้ ‘ผัดไทย’ อีกด้วย2

blog.livedoor.jp 1 บทความ “The world’s 50 best foods” จาก edition.cnn.com 2 บทความ ทำ�ไมวันนีก้ เู กิลฉลองให้ ‘ผัดไทย’ จาก voicetv.co.th

เมื่อไม่นานมานี้ ‘ร้านข้าวแกง’ ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ ปุ่ น สร้ า งเสี ย งฮื อ ฮาและความ ประทับใจให้กับลูกค้าทั้งไทยและเทศที่พากัน แวะเวียนไปกินไม่ขาดสาย เพราะร้านข้าวแกง แห่งนีม้ คี วามพิเศษตรงทีก่ ารตกแต่งภายในร้าน ทัง้ หมด ‘ถอดแบบ’ มาจากเมืองไทยแบบไม่มี พร่อง ทั้งหม้อใส่แกง ถาดกับข้าว ทัพพี เฟอร์นิเจอร์ทุกชิ้น แม้แต่รายละเอียดเล็กๆ ก็เก็บได้หมดจดจนไม่เหลือคราบความเป็น ญีป่ นุ่ ไว้ให้เห็น ยิง่ ไปกว่านัน้ คือ รสชาติอาหาร จากคนที่ไปลิ้มลองแล้วต่างยอมรับเป็นเสียง เดียวกันว่า อร่อยเหมือนกินอยูท่ เ่ี มืองไทยจริงๆ

เจ้าของร้านข้าวแกง ไทโกฮัง เซนซู ยะไต (タイごはん 泉州屋台) เป็นเพียงคู่สามีภรรยา ชาวอาทิตย์อทุ ยั แท้ๆ ทีห่ ลงใหลในอาหารและ วิ ถี ช าวบ้ า นแบบไทย สองสามี ภ รรยาจึ ง หอบหิ้วความชอบและลอกเลียนความเหมือน ไปเปิดร้านข้าวแกงขายในห้องแถวย่านธุรกิจ ใจกลางกรุงโตเกียว ทุกเที่ยงจะเห็นคนมา ต่อคิวยาวเหยียดเกือบจรดถนนใหญ่ ยังไม่พอ เจ้าของร้านยังมีรถตุก๊ ตุก๊ ทีข่ นมาจากเมืองไทย ซึ่งมักจะถูกนำ�มาจอดไว้หน้าร้านเพื่อสร้าง บรรยากาศและอารมณ์ไทยๆ เพิม่ เติม จนสร้าง ความประทับใจไม่รจู้ บให้ลกู ค้าต้องกลับมารอ ต่อคิวในทุกมื้อเที่ยง CREATIVE THAILAND I 12

‘มวยไทย’ ศิลปะการต่อสู้ไทยสู่เวทีโลก

“จาพนมสร้ า งชื่ อ ให้ ม วยไทย ดั ง เช่ น ที่ บรูซลีทำ�ให้กังฟู3” นานมากแล้ว ที่ศิลปะ การป้องตัวอย่างมวยไทย ก้าวขึ้นไปสู่เวที และสายตาชาวโลก อาจเป็นเพราะภาพยนตร์ ที่มีจา พนม เคยวาดลวดลายมวยไทยเอาไว้ จนทำ�ให้แม่ไม้มวยไทยกลายเป็นกีฬายอดนิยม ที่ผสมผสานทั้งรากฐานทางวัฒนธรรมและ ความแข็งแกร่งแบบลูกผู้ชาย

มวยไทย ไม่ได้หมายถึงกีฬาและศิลปะการต่อสู้ เพียงอย่างเดียว แต่ยังหมายรวมถึงภูมปิ ัญญา และวิถแี บบไทยทีส่ ะท้อนออกมา ไม่วา่ จะเป็น การไหว้ครูก่อนขึ้นชก เพลงบรรเลงการชก ที่ ใ ช้ ด นตรี แ บบไทยดั้ ง เดิ ม และอี ก หลาย องค์ประกอบทีท่ �ำ ให้มวยไทยเป็นมากกว่ากีฬา แต่ยังแสดงออกว่านั่นคือวัฒนธรรม สิ่งที่ประทับใจชาวต่างชาติจนต้องขอรํ่าเรียน ได้รู้ก่อนนำ�กลับไปประกอบอาชีพและสร้าง ธุรกิจกอบโกยเม็ดเงินได้อยู่อย่างต่อเนื่องก็คือ มวยไทย บ้างก็วา่ เคยดูการต่อสูช้ นิดนีผ้ า่ นทาง สื่อโทรทัศน์ เลยสนใจอยากจะมาเรียนรู้ด้วย ตัวเอง


‘ดีไซน์ไทย’ บนรันเวย์แฟชั่นระดับโลก

Photo by Xuan Nguyen on Unsplash

ค่ายมวยถูกเปิดในหลากหลายภูมิภาคนานา ประเทศ แต่อาจหายากที่จะสอนชั้นเชิงมวย อย่างถูกต้อง และปฏิบัติตามธรรมเนียมอย่าง ครบถ้วน ค่ายมวยไทยแห่งหนึง่ ในกรุงเบอร์ลนิ ของเยอรมัน ที่มีชื่อว่า ค่ายมวยทรัพย์เย็น มีเจ้าของเป็นชาวเยอรมันแท้ๆ ที่เคยมาฝึก และแข่งขันมวยไทยที่ประเทศไทย ค่ายมวย แห่งนี้โด่งดังและรู้จักกันดีในหมู่คนไทยและ ชาวเมืองเบอร์ลิน เพราะไม่ได้สอนเพียงการ ต่อสู้อย่างการชกมวยอย่างถูกต้อง แต่ยังเป็น ค่ายมวยแห่งเดียวทีม่ กี ารสอนฟันดาบ โดยยึด การสอนตามตำ�ราของสำ�นักดาบพุทไธสวรรย์4 นอกจากนีย้ งั มีทปี่ รึกษาเป็นอดีตนักมวยไทยที่ จะคอยพานั ก มวยไปขึ้ น สั ง เวี ย นและหา สปอนเซอร์มาสนับสนุนอยู่ตลอดเวลา

‘เชียงใหม่’ กับสถาปัตย์ชาวไทยเหนือ บนจีนแผ่นดินใหญ่

ในเมือ่ ก่อนหน้านีย้ งั มีเมืองหรือสัญลักษณ์ของ เมืองยุโรปมาตั้งตระหง่านอยู่บนผืนดินจีน แล้วไยของดีจากไทยแลนด์จะไปอวดโฉมอยูใ่ น แดนมังกรบ้างไม่ได้ สิบสองปันนา ดินแดนน้อยในหุบเขา เขต ปกครองตนเองของชนชาติไทบนแผ่นดินจีน แห่งนี้ ไม่มีอะไรที่เหมือนคนจีน เพราะเป็น ชนชาติทมี่ เี ชือ้ สายเดียวกันกับคนไทย ในหน้า ประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่าสิบสองปันนานั้น มีเมืองเอกเป็นเมืองตระกูลเชียง เช่นเดียวกับ เชียงใหม่ ชื่อว่า เชียงรุ่ง แต่ปัจจุบันถูกผนวก เข้ากับจีนแผ่นดินใหญ่ในแคว้นยูนนานและ ปักหลักอยู่เป็นเมืองใต้สุดของแคว้น

imdb.com

เชียงใหม่ (สาขา 2) ถูกสร้างขึน้ ทีส่ บิ สองปันนา แห่งนี้ มีการสร้างสถาปัตยกรรมและอาณา บริเวณที่เหมือนกับเมืองเชียงใหม่เป๊ะๆ ทั้ง รูปร่างหน้าตา และอารมณ์บรรยากาศ เรียก ได้ว่าที่เชียงใหม่มีอะไร เราก็จะเห็นสิ่งนั้นที่ สิ บ สองปั น นา ไม่ ว่ า จะเป็ น วั ด วาอาราม เชียงใหม่ไนท์บาซาร์ และสิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ ของเมืองเชียงใหม่อีกมากมาย โดยมีเหตุผล แฝงจากการที่กระแสภาพยนตร์ชื่อดัง Lost in Thailand หรือ แก๊งม่วนป่วนไทยแลนด์ (2012) แรงจนรัฐบาลฉุดไม่อยู่ และกลัวว่าเม็ดเงินจะ รั่วไหลออกนอกประเทศ จึงผลักดันในคนหัน กลับมาเที่ยวในประเทศแทน

แต่เหตุผลลึกลงไปกว่านั้น การสร้างเมืองไทย ในจีนนี้ เป็นความร่วมมือของไทยและจีน ที่ ต้องการจะสร้าง “โครงการ 9 จอม 12 เชียง” ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือทางการค้าและ วัฒนธรรมไทยภาคเหนือกับเมืองสิบสองปันนา มณฑลยูนนานนั่นเอง

ถุงสำ�เพ็งที่เราเรียกกันจนติดปากที่มีลักษณะ เป็นถุงกระสอบขนาดใหญ่สำ�หรับใส่ของของ ได้ไม่อั้น กลายมาเป็นถุงมีราคาที่แทบเอื้อม ไม่ถึง เมื่อแบรนด์หรูชื่อดังอย่าง Balenciaga นำ�เอาลายถุงที่วา่ ไปเป็น ‘แรงบันดาลใจ’ สำ�หรับ ทำ�คอลเล็กชันกระเป๋าที่ชื่อ Bazar Shopper จนฮอตฮิตระดับโลก ไม่ใช่เพียงแบรนด์เดียวที่รังสรรค์โปรดักส์ที่มี รู ป ร่ า งหน้ า ตาคุ้ น เคยกั บ คนไทย หากเรา นึ ก ภาพกระเป๋ า สานพื้ น บ้ า นของคุ ณ ป้ า คุณยายได้ ก็ยังถูกนำ�ไปสร้างมูลค่าเพิ่มด้วย สี สั น ที่ ส ดใสกว่ า เดิ ม และแปะชื่ อ แบรนด์ Kate Spade เข้าไป เพียงเท่านีร้ าคาก็เปลี่ยนไป มหาศาล จริงๆ แล้วยังมีสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ ไทยขนานแท้อกี มากทีถ่ กู นำ�ไปสร้างมูลค่าเพิม่ จากการไปเฉิดฉายอยู่บนรันเวย์ ที่ทุกครั้งเมื่อ ชาวไทยได้เห็นเป็นต้องขยี้ตาไปตามๆ กัน จะภูมิใจตอนนี้ หรือหวงแหนตอนไหน นั่นคง ไม่สำ�คัญเท่ากับการที่คนไทยรู้จักพลิกแพลงสิ่งที่ เรามีอยู่ให้เข้ากับบริบทใหม่และบริบทโลกได้ อย่างเหมาะสม เพราะบางทีเราอาจไม่ต้องรอให้ ต่างชาติเอาไปทำ� หากเราสามารถสร้างมูลค่า จากวัฒนธรรมใกล้ตวั ขึน้ มาได้ และวันนัน้ อาจจะ เป็นตัวเราเองที่พาวัฒนธรรมแบบไทยๆ ออกไป อวดสู่สายตาประชากรโลก โดยที่ไม่ต้องบ่น เสียดายกันอีกต่อไป

3 “Tony Jaa has done for muay thai what Bruce Lee did for kang fu” จากหนังสือ Very Thai Everyday Popular Culture ของ Philip Cornwel-Smith 4 ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยเริ่มจากการใช้พื้นที่ บริเวณวัดพุทไธสวรรย์เป็นที่ฝึกซ้อมเพลงอาวุธ

balenciaga.com CREATIVE THAILAND I 13

ทีม่ า: คลิป “ดูให้รู้ : ร้านข้าวแกงไทย สัญชาติญี่ปน่ ุ (9 ก.ย. 61)” จาก youtube.com / บทความ “ ‘ทรัพย์เย็น’ ค่ายมวยไทย พันธุแ์ ท้ในกรุงเบอร์ลนิ ต่างชาติตง้ั มัน่ สืบสานศิลปะไทย” จาก news.thaipbs.or.th / บทความ “ตะลึง! เชียงใหม่ แห่งที่ 2 ในสิบสองปันนา ประเทศจีน” จาก travel.mthai.com / บทความ “จีนเปิด ‘เก้าจอมสิบสองเชียง’ หวังเป็นศูนย์กลาง ท่องเทีย่ วลุม่ นา้ํ โขง” จาก icons.co.th / บทความ “10 แฟชัน่ ไทยดังไกลทัว่ โลก บอกเลยว่าปังสุดๆ” จาก painaidii.com


Cover Story : เรื่องจากปก

ART OF COPYCAT

ลอก เรียน สร้างขึ้นใหม่ แล้วไปให้สุด เรื่อง : Little Thoughts

แม้กระแสข่าวกระเป๋าบาเลนเซียกา บาซาร์ (Balenciaga Bazaar) ราคาหลาย หมืน่ บาททีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจากกระเป๋าโบ๊เบ๊ของไทยซึง่ ขายกันในราคาไม่กบี่ าท จะสร่างซาไปเนิน่ นาน แต่แท้จริงแล้ว มันยังคงทำ�รายได้ให้กบั แบรนด์บาเลนเซียกา ผูน้ �ำ ความแปลกตาข้ามวัฒนธรรมมาขายของแบบได้ราคาในอีกหลายคอลเล็กชัน ที่ชื่อว่าบาซาร์นี้ ประวัติศาสตร์บอกเราว่าความแปลกตาที่เรียกว่า Exotic นี้ขายได้เสมอ ซี่งก็ไม่แปลกแต่อย่างใด ในยุค แห่งการสำ�รวจ (ศตวรรษที่ 15-18) ชายชาวยุโรปผู้มีอันจะกินถึงกับมี ‘ตู้ของแปลก’ เพื่อสะสมของ จากทั่วโลกเอาไว้อวดกัน ศิลปินระดับตำ�นานชาวดัตช์อย่างแร็มบรันต์ไม่เพียงมีตขู้ องแปลก แต่เขาถึงกับมี ‘ห้องของแปลก’ เป็นของตนเอง อันหมายถึงห้องเก็บรวบรวมของหายากจากแดนไกล ไม่วา่ จะเป็นกระดูกปลา ซากสัตว์ ปะการัง ไปจนถึงอาวุธหน้าตาแปลกประหลาด ซึ่งใช้ฝึกฝีมือการวาดภาพทั้งสำ�หรับตัวเขาและลูกศิษย์ เมื่อของที่เราเห็นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวันกลายเป็นของแปลกตาสำ�หรับคนอื่น นั่นอาจหมายถึงโอกาสในการ สร้างสรรค์ผลงานแปลกใหม่ ซึ่งอาจโดนใจคนจำ�นวนไม่น้อยได้เลย

CREATIVE THAILAND I 14


wikipedia.org

ลอก ในวันทีห่ ลานชายของเขาถือกำ�เนิด แวนโก๊ะห์ ศิลปินชาวดัตช์รนุ่ หลังแร็มบรันต์ ได้มอบของขวัญ ชิ้ น หนึ่ ง ให้ กั บ หลานชายผู้ มี ชื่ อ ต้ น ว่ า วิ น เซนต์ เช่นเดียวกับเขา มันคือภาพ Almond Blossom (1888) ที่ แวนโก๊ะห์วาดขึ้นเอง โดยเป็นภาพกิ่งอัลมอนด์ ประดับดอกสีขาวบนพื้นหลังสีฟ้า นอกเหนือจาก การจดจำ�ว่าเขาวาดภาพนี้รับขวัญหลานชายเพื่อ สือ่ ถึงการเกิดใหม่และเบ่งบาน เรายังจดจำ�ภาพนี้ ในฐานะผลงานของแวนโก๊ะห์ทไี่ ด้รบั อิทธิพลจาก งานภาพพิมพ์แกะไม้ของญี่ปุ่นด้วย โดยเฉพาะ จากการวางตำ�แหน่งภาพกิ่งอัลมอนด์ในแบบ โคลสอัพ และจากเส้นหนักๆ ที่วาดเป็นกิ่งไม้ มันเป็นองค์ประกอบภาพที่ต่างออกไปจาก งานยุคก่อนหน้าของเขา เป็นทีร่ กู้ นั ดีวา่ แวนโก๊ะห์นนั้ หลงใหลได้ปลืม้ ญี่ปุ่น โดยเฉพาะงานภาพพิมพ์แกะไม้ของญี่ปุ่น เป็นอย่างมาก เขาเองคือนักสะสมตัวยงของงาน ศิลปะราคาถูกที่ขายในญี่ปุ่นด้วยราคาโซบะหนึ่ง ถึงสองชาม และขายในปารีสด้วยราคาเท่ากับ เครื่องดื่มก่อนอาหารเพียงหนึ่งแก้วชนิดนี้ แน่นอนว่ามันส่งอิทธิพลต่องานในยุคหลัง ของเขา ความหลงใหลต่องานศิลปะชนิดนี้ของ ญีป่ นุ่ ทำ�ให้เขาหัดลอกเลียนภาพพิมพ์แกะไม้ของ ญี่ปุ่น โดยเฉพาะงานของศิลปินเบอร์ต้นๆ อย่าง อุตะงะวะ ฮิโระฌิเงะ ต้นอัลมอนด์ของเขาอาจได้รบั อิทธิพลจากการลอกภาพต้นบ๊วยของฮิโระฌิเงะ นั่นเอง ในความเป็นจริง ความหลงใหลได้ปลื้มต่อ งานศิลปะญีป่ นุ่ ของแวนโก๊ะห์ออกจะช้าไปด้วยซํา้ เมือ่ คิดว่ากระแส ‘นิยมญีป่ นุ่ ’ ในยุโรปโดยเฉพาะ ในฝรั่งเศสนั้นเริ่มขึ้นมาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 19 อันเป็นผลพวงจากการเปิดประเทศของญี่ปุ่น

หลังจากโดดเดี่ยวตัวเองมากว่าสองร้อยปี และ สินค้าส่งออกซึ่งเป็นที่โปรดปรานของตลาดยุโรป ก็คืองานกระเบื้องเคลือบ เครื่องเขิน พัด ร่ม ของประดับตกแต่งต่างๆ ขณะเดียวกัน ศิลปินก็ชนื่ ชอบทีจ่ ะเก็บสะสม งานภาพพิมพ์แกะไม้ ซึ่งเป็นศิลปะราคาถูกที่ ตอบสนองตลาดมวลชนและเป็นสัญลักษณ์ของ ยุคเอโดะในญี่ปุ่น ศิลปินอิมเพรสชันนิสต์รุ่นพี่ อย่างโมเนต์กเ็ ป็นนักสะสมภาพพิมพ์แกะไม้ญปี่ นุ่ เช่นกัน คำ�ว่า Japonisme ในภาษาฝรั่งเศสที่ หมายถึงความนิยมญีป่ นุ่ นัน้ ใช้กนั อย่างแพร่หลาย มาก่อนหน้าแวนโก๊ะห์จะกลายมาเป็นศิลปินที่มี คนรู้จัก ไม่ต้องสงสัยว่ามันจะมีอิทธิพลต่องาน ศิลปะของยุโรปในยุคนั้นอย่างไร แต่สำ�หรับแวนโก๊ะห์ เขาไม่ได้ใส่ใจงาน จากญี่ ปุ่ น เท่ า ไรนั ก ในตอนแรก มี ศิ ล ปิ น ใน เนเธอร์แลนด์ไม่กี่คนที่สนใจมัน ต่างจากปารีส ที่ตื่นเต้นกับงานจากแดนไกลนี้ จนเมื่อตั้งใจจะ ทำ�ให้งานทันสมัยขึน้ นัน่ เองทีแ่ วนโก๊ะห์เริม่ หันมา ให้ความสนใจกับงานภาพพิมพ์แกะไม้ของญี่ปุ่น ก่อนจะหลงใหลทัง้ งานศิลปะญีป่ นุ่ และความเป็น ญี่ปุ่นอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการใช้เส้นขอบ หนาๆ กับการลงสีแบบง่ายๆ นักประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะทีเ่ ชีย่ วชาญด้านงาน ของแวนโก๊ะห์ยังเพิ่งตั้งสมมติฐานเมื่อเร็วๆ นี้ ด้วยว่า ผลงาน ราตรีประดับดาว (1889) ของ แวนโก๊ะห์ อาจได้รับอิทธิพลโดยตรงมาจากภาพ คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ (ระหว่าง 1829-33) ของคัทสึฌิคะ โฮะคุไซ ไม่แน่ว่าเส้นหนาแบบที่แวนโก๊ะห์ใช้อาจ ส่งอิทธิพลต่องานของศิลปินรุ่นหลังอย่างปาโบล ปิกัสโซ เช่นกัน

CREATIVE THAILAND I 15


data.ukiyo-e.org

เรียน หากแวนโก๊ะห์ได้รับแรงบันดาลใจจากงานภาพ พิ ม พ์ แกะไม้ ข องญี่ ปุ่น ในทางกลั บ กั น ศิ ล ปิ น ผู้ ส ร้ า งสรรค์ ภ าพพิ ม พ์ แ กะไม้ ที่ ทิ้ ง ผลงาน คลื่นยักษ์ฯ เอาไว้อย่างโฮะคุไซ ก็รับอิทธิพลจาก ยุโรปมาใช้สร้างงานของตนเอง แม้งานส่วนใหญ่ของโฮะคุไซซึ่งรวมถึงภาพ คลื่นยักษ์ฯ จะได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นในวันที่ ญีป่ นุ่ ยังปิดประเทศ แต่ศลิ ปะของยุโรปโดยเฉพาะ ของดัตช์ซึ่งเป็นชาติเดียวที่ญี่ปุ่นยอมค้าขายด้วย ในเวลานั้ น ก็ มาถึ งโฮะคุ ไ ซอย่ า งไม่ ต้ อ งสงสั ย อิทธิพลของศิลปะดัตช์สามารถพบเห็นได้ในงาน ของโฮะคุไซ ผ่านการใช้เส้นระดับสายตาที่ค่อน ข้างตํ่า และที่สำ�คัญคือการใช้สีนํ้าเงินเข้มจัด ทีญ่ ปี่ นุ่ ไม่มี นัน่ คือ สีนาํ้ เงินปรัสเซีย ซึง่ ญีป่ นุ่ อาจ นำ�เข้าจากชาวดัตช์ หรือไม่ก็ผ่านทางชาวจีนอีกที นั่นทำ�ให้เราสืบสาวไปได้ว่า โฮะคุไซเคยใช้ เวลาช่วงหนึ่งของชีวิตศึกษางานภาพเขียนแบบ ยุโรป และงานคลื่นยักษ์ฯ ของเขาก็อาจกล่าวได้ ว่าเป็นการผสมของเทคโนโลยียโุ รปเข้ากับอารมณ์ ความรู้สึกแบบญี่ปุ่น

ดังนั้น คงไม่ผิดหากจะบอกว่าก่อนที่งาน ภาพพิ ม พ์ แ กะไม้ ญี่ ปุ่ น จะส่ ง อิ ท ธิ พ ลต่ อ งาน อิมเพรสชันนิสม์ของยุโรป อาจเป็นงานศิลปะ ยุโรปที่เปิดมุมมองใหม่ให้ศิลปินญี่ปุ่นสร้างสรรค์ ผลงานที่ญี่ปุ่นก็ไม่เคยมีมาก่อนอีกที ญี่ปุ่นไม่เพียงรับศิลปะจากยุโรป เมื่อเข้าสู่ ยุคเมจิ (1868-1912) ญี่ปุ่นก็เปิดประตูรับความ ทันสมัยจากโลกตะวันตกในแทบทุกด้าน เพื่อ ชดเชยเวลาที่สูญหายไปในระหว่างปิดประเทศ โดยมี ยุ ท ธศาสตร์ ก ารเข้ า สู่ ค วามเป็ น อารยะ ทัดเทียมตะวันตกทีเ่ รียกว่า บุงเม ไคคะ (Bunmei Kaika) เป็นกลไกขับเคลื่อนสำ�คัญ โดยเฉพาะการศึกษาที่เป็นหัวใจสำ�คัญใน การรับเอาความคิด ความรู้ และวิทยาการจาก ตะวันตกอย่างเป็นรูปแบบและรวดเร็วทีส่ ดุ เดิมที ญีป่ นุ่ ซึง่ ได้รบั อิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากจีนนัน้ เป็นสังคมใฝ่รู้อยู่แล้ว เมื่อมีต้นแบบการศึกษาที่ เป็นระบบจากตะวันตก ญี่ปุ่นจึงพัฒนาระบบ การเรียนการสอนที่เข้าถึงได้สำ�หรับเด็กญี่ปุ่น ทัง้ หมด ในปี 1875 มีการเปิดโรงเรียนประถมขึน้ ถึง

CREATIVE THAILAND I 16

25,000 แห่งทั่วประเทศ เมื่อถึงปี 1895 ญี่ปุ่นก็มี อัตราการเข้าเรียนชั้นประถมสูงถึงร้อยละ 98 พร้ อ มการแปลหนั ง สื อ จำ � นวนมากเพื่ อ ส่งต่อความรู้ในวงกว้าง ซึ่งนำ�มาสู่การพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกๆ ด้าน ไม่ แ ปลกที่ โ ลกได้ เ ห็ น ญี่ ปุ่น เปลี่ย นแปลง อย่ า งใหญ่ ห ลวงในช่ ว งสี่ ศ ตวรรษหลั ง การ ปฏิรูปเมจิ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรม สาธารณสุข ระบบการเงิน การคมนาคม และ แน่นอนว่ารวมถึงระบบการเมืองทีเ่ ริม่ จัดให้มกี าร เลือกตั้ง แม้อำ�นาจส่วนใหญ่จะยังอยู่ในมือของ เหล่าขุนนางก็ตาม เบซิล ฮอลล์ แชมเบอร์เลน ผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นญี่ ปุ่ น ชาวอั ง กฤษที่ ป ระกอบอาชี พ สอน หนังสืออยู่ ณ มหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพีเรียล ในยุคนั้น ถึงกับกล่าวว่าคนที่ได้เห็นช่วงเวลา เปลีย่ นผ่านสูญ่ ปี่ นุ่ สมัยใหม่ จะทำ�ให้คนผูน้ นั้ รูส้ กึ แก่ขึ้นอย่างน่าตกใจ เพราะแม้เมื่อเขาผู้นั้นก้าวสู่ ยุคใหม่แล้ว ก็อาจยังระลึกถึงยุคกลาง (Middle Ages) ที่เพิ่งผ่านมาไม่นานได้อย่างแจ่มชัด


สร้างขึ้นใหม่ อาหารเป็นอีกเรื่องที่สำ�คัญไม่แพ้เรื่องใด ทั้งยัง เต็มไปด้วยประวัติศาสตร์น่าสนใจในการนำ�พา ญี่ปุ่นเข้าสู่ความเป็นอารยะ โดยเฉพาะโปรตีน จากเนื้อสัตว์ที่ทำ�ให้ร่างกายแข็งแรง และทำ�ให้ สังคมญี่ปุ่นแข็งแกร่งขึ้น ตามความเชื่อทางศาสนา เดิมทีคนญี่ปุ่น บริโภคเนือ้ สัตว์ในปริมาณน้อยมาก แต่การพัฒนา อุตสาหกรรมการเกษตรและปศุสตั ว์ บวกกับการ ประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล ก็ท�ำ ให้เนือ้ สัตว์รวมถึง นมกลายเป็นอาหารของคนญี่ปุ่นไปในที่สุด ไม่เพียงรับเอาความคิดด้านโภชนาการจาก ตะวันตก รวมถึงเปลี่ยนนิสัยให้รับของตะวันตก แต่ญปี่ นุ่ ยังพัฒนาของทีร่ บั มาจนดีกว่า อย่างการ พัฒนาสายพันธุม์ นั ฝรัง่ จนได้มนั ฝรัง่ รสชาติอร่อยกว่า ทีฝ่ รัง่ ปลูก หรือไม่อย่างนัน้ ก็พฒั นาจนดีทส่ี ดุ อย่าง เนือ้ วากิวทีถ่ อื ว่าเป็นเนือ้ ทีม่ รี าคาแพงทีส่ ดุ ในโลก แม้ญปี่ นุ่ จะเป็นชาติแรกในเอเชียทีพ่ ฒั นาจน ทัดเทียมประเทศตะวันตก แต่ด้วยนิสัยการรับ ของชาวบ้านแล้วสร้างใหม่ให้เป็นของตน บวกกับ ภาพลักษณ์สงั คมทีม่ อี ตั ลักษณ์ทางวัฒนธรรมสูงมาก

บางครัง้ เราจึงลืมมองไปเหมือนกันว่าญีป่ นุ่ คือสังคม ที่มีความเป็นตะวันตกซ่อนอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว อาหารฝรั่งเศสในแบบที่แม้แต่คนฝรั่งเศส เองยังไม่เข้าใจ อาจเป็นเรื่องที่ทำ�ให้เราเข้าใจวิถี การรับของคนอืน่ มาสร้างใหม่เป็นของคนญีป่ นุ่ ได้ ดีที่สุดเรื่องหนึ่ง เพราะเหตุใดคนญีป่ นุ่ จึงใส่มายองเนสในอาหาร ตะวันตกแทบทุกอย่างที่พวกเขาทำ� ไปจนถึงใช้ มันกับอาหารญี่ปนุ่ ไม่วา่ จะเป็นอาหารคาวหรือหวาน รู้ ตั ว อี ก ที ม ายองเนสก็ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ปรุ ง อาหาร ประจำ�ครัวญี่ปุ่นไปเรียบร้อย ไม่วา่ จะเป็นเฟรนช์โทสต์ โอะโคะโนะมิยะกิ (พิซซ่าญีป่ นุ่ ) หรือแม้กระทัง่ อาหารหวานอย่างเค้ก เรือ่ งน่ารักก็คอื ในวันทีโ่ ทะอิชโิ ระ นะคะฌิมะ เริ่มธุรกิจมายองเนส “คิวพี” ในปี 1925 นั้น คือ ช่วงที่คนญีป่ นุ่ ให้ความสำ�คัญกับโภชนาการในฐานะ ปัจจัยสำ�คัญในการพัฒนาประเทศ นะคะฌิมะ เล็งเห็นว่ามายองเนสซึง่ เต็มไปด้วยสารอาหารนัน้ จะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างแข็งแรงและ ‘สูง’ แบบ ชาวตะวันตก เขาจึงพัฒนาสูตรมายองเนสโดย

CREATIVE THAILAND I 17

ใช้เฉพาะไข่แดง และใช้เป็นสองเท่าของสูตร ตะวันตก ใช้นา้ํ ส้มสายชูหมักแทนนํา้ ส้มสายชูกลัน่ และใส่สว่ นผสมพิเศษซึง่ เป็นของญีป่ นุ่ แท้ๆ อย่าง ผงชูรสเข้าไปด้วย นั่นหมายความว่ามายองเนส คิวพีนั้นทั้งเข้มข้นกว่าและอุมะมิกว่าด้วย เช่นเดียวกับกรณีเนื้อสัตว์ แต่เดิมคนญี่ปุ่น ไม่ค่อยกินผักสด ดังนั้นการกินมายองเนสเป็น นํ้าสลัดจึงยังเป็นเรื่องไกลตัว สิ่งที่คิวพีทำ�ก็คือ แนะนำ�สินค้าใหม่น้ีในฐานะซอสสำ�หรับอาหาร ดั้งเดิมที่รับประทานกันอยู่ เมื่อไม่มีกฏเกณฑ์ ตายตัว มันจึงอยู่ในอะไรก็ได้ และอยู่ในอาหาร มื้อไหนก็ได้เช่นกัน นี่อธิบายได้ว่าเพราะเหตุใด ในปัจจุบันเราจึงเจอมายองเนสในพิซซ่า หรือ อาหารใดก็ตามในญี่ปุ่น โดยเฉพาะโอะโคะโนะมิ ยะกิทเี่ ต็มไปด้วยมายองเนสและได้รบั ความนิยม อย่างมากนั่นเอง ในปัจจุบนั ทีอ่ าหารญีป่ นุ่ ได้รบั ความนิยมไป ทั่วโลก ไม่ต้องสงสัยเลยว่ามายองเนสโดยเฉพาะ แบรนด์คิวพีของญี่ปุ่น ซึ่งเป็นที่จดจำ�ด้วยโลโก้ เบบี้ดอลล์นั้นจะทำ�ยอดขายถล่มทลายเพียงใด


ไปให้สุด ก่ อ นโลกจะมี วั ฒ นธรรมกาแฟที่ ก ลายเป็ น อุ ต สาหกรรมทำ � เงิ น มหาศาลอย่ า งทุ ก วั น นี้ มันเริ่มมาจากเรื่องไม่ค่อยดีงามตามศีลธรรม สั ก เท่ า ไรอย่ า งการลั ก ลอบนำ � เมล็ ด กาแฟซึ่ ง ชาวอาหรับหวงแหนออกจากตะวันออกกลาง ก่อนที่ชาวดัตช์จะนำ�มันมาเพาะพันธุ์จนสำ�เร็จ ในอี ก หลายสิ บ ปี ใ ห้ ห ลั ง จนสามารถนำ � ไป เพาะปลูกเป็นลํ่าเป็นสันในพื้นที่อาณานิคมทาง ตะวันออกไกลและทวีปอเมริกา ซึง่ กลายเป็นแหล่ง ป้อนกาแฟรายใหญ่ให้กบั ตลาดยุโรปในเวลาต่อมา เราต่างรู้กันดีว่าก่อนที่ญี่ปุ่นจะเป็นเจ้าแห่ง นวัตกรรม พวกเขาก้มหน้าแกะเทคโนโลยีตะวัน ตกมาก่ อ น เรื่ อ งดี ก็ คื อ ญี่ ปุ่ น ไม่ เ พี ย งแกะ เทคโนโลยีเพื่อให้ทำ�ได้อย่างต้นแบบ แต่ด้วย วัฒนธรรมที่ปรารถนาความเป็นเลิศ จึงต่อยอด ด้วยคำ�ถามว่าจะทำ�ให้ดีกว่าได้อย่างไรด้วย เกาหลีใต้ก็เคยผ่านช่วงเวลานี้มาเช่นกัน และล่าสุดก็คอื จีน ไม่วา่ จะเป็นการแกะเทคโนโลยี หรือแกะรสนิยม ซึ่งนั่นอาจเริ่มจากการก๊อปปี้มา เสียดื้อๆ นอกจากแบรนด์ ก๊ อ ปปี้ ที่ เ ราล้ ว นแล้ ว แต่ เคยผ่านตากันมาไม่มากก็น้อยอย่าง Adidos, Adadas, Adadis, Odidas, Nake, Owega, King Burger, Anmani, Paradi ไปจนถึง Pearlboy

หลายคนอาจมองเป็นเรื่องขำ�ขันเมื่อได้เห็นภาพ หอไอเฟลในเมืองของจีนที่แชร์กันให้ว่อน แต่จะ ว่าไปเราไม่อาจสบประมาทความตั้งอกตั้งใจ คัดลอกอย่างจริงจัง พวกเขาไม่ได้สร้างเฉพาะ หอไอเฟล แต่ในพืน้ ที่ 12 ตารางไมล์ของโครงการ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ‘เทียนตูเฉิง’ ในแถบชานเมืองหางโจวนี้ ยังมีถนนฌ็องเซลิเซ่ และบ้านเรือนทีส่ ร้างในแบบ อพาร์ตเมนต์บนถนนฌ็องเซลีเซ่ของปารีส ซึ่ง สร้างขึ้นเพื่อรองรับผู้อยู่อาศัยหลักหมื่นคน และเป็นฉากหลังให้กบั การถ่ายรูปพรีเวดดิง้ ไม่ต่างจากหอไอเฟลต้นตำ�รับ นอกจากปารีสในหางโจว ยังมี ‘เธมส์ทาวน์’ ชานเมืองเซีย่ งไฮ้ ทีส่ ร้างขึน้ ในสไตล์เมืองเก่าของ อังกฤษ ประกอบด้วยอาคารบ้านเรือนในแบบ ทิวดอร์ โบสถ์อังกฤษ ผับ กับถนนปูด้วยหิน ก้อนใหญ่ในแบบเมืองเก่า แถมด้วยตู้โทรศัพท์ สีแดงและรูปปั้นสำ�ริดของเจมส์ บอนด์ โดย โครงการดั ง กล่ า วเป็ น เพี ย งหนึ่ ง ในโครงการ อสังหาริมทรัพย์สไตล์ยโุ รปของเซีย่ งไฮ้ ทีส่ ร้างขึน้ เพื่อกระจายความหนาแน่นประชากร นอกจาก เธมส์ทาวน์แล้วก็มีเมืองอย่าง ‘ฮอลแลนด์ทาวน์’ เป็นต้น ยังไม่หมด…ไม่มที างเลยทีจ่ นี จะลืมเมืองยุโรป เปีย่ มเอกลักษณ์อย่างเวนิสไปได้ ออกจากเซีย่ งไฮ้

CREATIVE THAILAND I 18

ขึ้นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีนยังเมือง ต้าเหลียน ก็จะพบ ‘เวนิสทาวน์’ ที่ประกอบด้วย คลองขุดความยาวสี่กิโลเมตร เรียงรายด้วย สถาปัตยกรรมสไตล์เวนิสตลอดความยาว และ แน่นอนต้องมีจุดขายอย่างเรือกอนโดลาด้วย จะไล่เรียงไปเรื่อยๆ ก็ได้แต่คงไม่จบสิ้น เอาเป็นว่านอกจากรายการที่กล่าวมาก็ยังมีอีก หลายเมื อ งของยุ โ รปที่ เ ราจะนึ ก ออก (หรื อ ที่ นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชาวจีนจะนึกออก… ไม่ เ ว้ น แม้ แ ต่ เ มื อ งมรดกโลกริ ม ทะเลสาบที่ หลายคนหลงรักอย่างฮัลล์สตัทท์ในออสเตรีย หรือสถาปัตยกรรมสไตล์เบาเฮาส์จากเยอรมนี) รวมๆ แล้วมันก็สนุกดีเหมือนกัน ประเด็นอยูท่ วี่ า่ เราไม่อาจมองเป็นเพียงการ ก๊อปปีท้ ลี ะโครงการ แต่เบียงกา บอสเกอร์ ผูส้ อ่ื ข่าว ชาวอเมริกัน ผู้เขียนหนังสือ Original Copies: Architectural Mimicry in contemporary China ให้ เ หตุ ผ ลไว้ ว่ า สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง หมดนี้ อาจเป็นรูปแบบการพัฒนา ‘ความเชีย่ วชาญ’ ใน วัฒนธรรมจีนต่างหาก และนัน่ ทำ�ให้เราต้องย้อนกลับไปศึกษาเรือ่ งราว ของเมืองที่เคยมีภาพลักษณ์ก๊อปปี้ตัวพ่อที่ตั้งขึ้น พร้อมเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งแรกของจีนอย่าง เมืองเซินเจิ้น


แห่งใหญ่ของโลก รู้ตัวอีกที เซินเจิ้นก็กลายเป็น ทีต่ ง้ั ศูนย์วจิ ยั พัฒนา และบ้านของบริษเั ทคโนโลยี ยักษ์ใหญ่รวมถึงหัวเว่ยและเทนเซ็นต์ และที่สำ�คัญคือจีดีพีของเมืองเซินเจิ้นกำ�ลัง จะแซงหน้าฮ่องกง ที่เคยมองเมืองแห่งนี้เป็น หมูบ่ า้ นชายแดน-แหล่งผลิตต้นทุนตํา่ ของพวกเขา หากย้อนหลังไป 40 ปี เซินเจิ้นยังเพิ่งจะยกระดับ จากหมูบ่ า้ นเป็นเมือง หรือหากย้อนหลังไปเพียง 10 ปี ผลิตผลของเซินเจิ้นราวร้อยละ 90 ก็ยังเป็น ของลอกเลียนแบบอยู่เลย แต่ในปัจจุบนั เซินเจิน้ กลายเป็นเมืองที่มพี ลวัต ทางเศรษฐกิจและนวัตกรรมสูงทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของโลก ไม่ แ ปลกที่ เ มื อ งแห่ ง นี้ จ ะเป็ น แม่ เ หล็ ก ดึ ง ดู ด ผูป้ ระกอบการรุน่ ใหม่ทใ่ี ฝ่ฝนั และต้องการใช้ความ ได้เปรียบของการเป็นซัพพลายเชนทางเทคโนโลยี เพื่อเปลี่ยนความฝันของพวกเขาให้เป็นจริง มากไปกว่านั้น ศักยภาพทางเศรษฐกิจและ สาธารณูปโภคที่เอื้อต่อการสร้างนวัตกรรมจะ

ดึงดูดผูค้ นทีเ่ ต็มไปด้วยศักยภาพในการสร้างสรรค์ ให้เข้ามาอยู่ และผูค้ นเหล่านัน้ จะบริโภควัฒนธรรม ไม่แปลกทีโ่ รงแรมมูจแิ ห่งแรกจะเปิดตัวในเซินเจิน้ แทนทีจ่ ะเป็นปักกิง่ เซีย่ งไฮ้ หรือแม้แต่โตเกียว และ ไม่แปลกทีพ่ พิ ธิ ภัณฑ์วกิ ตอเรียและอัลเบิรต์ (V&A) จะเลือกเปิดสาขานอกอังกฤษในเซินเจิน้ เป็นทีแ่ รก จากทีต่ อ้ งก้มหน้ารับเสียงแขวะของชาวบ้าน ว่ า เป็ น เจ้ า พ่ อ ของก๊ อ ป นาที นี้ จึ ง ไม่ มี ใ ครจะ เชิดหน้าได้มากกว่าเซินเจิ้นอีกแล้ว “ศิลปินที่ดีคัดลอก ศิลปินที่ยิ่งใหญ่ขโมย” ปาโบล ปิกัสโซ เคยกล่าวไว้อย่างนั้น บางที ศิลปินที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอาจเป็นคนรู้ว่า จะหว่านเมล็ดพันธุข์ องคนอืน่ บนแปลงของตนเอง อย่างไร ไม่ตา่ งจากชาวดัตช์ทเี่ รียนรูจ้ ะปลูกกาแฟ ที่พวกเขาได้มา และเก็บกินดอกผลไม่รู้จบจาก การพาโลกทั้งใบเข้าสู่วัฒนธรรมกาแฟ และไม่ ต่ า งจากเซิ น เจิ้ น ที่ หั ว เราะที ห ลั ง ดังกว่าใคร

ที่มา: บทความ Van Gogh and Japan: the prints that shaped the artist โดย Alastair Sooke, BBC, 11 มิถุนายน 2018 / บทความ How Hokusai’s Great Wave crashed into Van Gogh’s Starry Night โดย Mark Brown, The Guardian, 28 กันยายน 2018 / บทความ Hokusai, Under the Wave off Kanagawa (The Great Wave) โดย Leila Anne Harris, Khan Academy, ไม่ระบุวันที่ / บทความ Early Westernization & Modernization in Japan 1868-1900, Japan Visitor, ไม่ระบุวันที่ / บทความ Why not just add a dollop of mayonnaise? โดย Makiko Itoh, The Japan Times, 22 มีนาคม 2013 / บทความ Welcome to Venice, China: Dalian copies canals, palaces…and gondoliers โดย Nick Van Mead, The Guardian, 22 ตุลาคม 2014 / บทความ Duplitecture: China’s Best Copycat Towns โดย Matthew Keegan, Culture Trip, 12 ตุลาคม 2018 / บทความ Inside China’s Silicon Valley: From copycats to innovation โดย Matt Rivers, CNN, 23 พฤศจิกายน 2018 / เว็บไซต์ Facts and Details, History of Education in Japan / เว็บไซต์ Van Gogh Museum Amsterdam (www.vangoghmuseum.nl) / เว็บไซต์ Pablo Picasso (www.pablopicasso.org) / หนังสือ Cool Japan Vol.2 ความงาม ความฝัน การแบ่งกั้น โลกแห่งความล่องลอย โดย Little Thoughts, กันยายน 2558

CREATIVE THAILAND I 19

Photo by Brenda Tong on Unsplash

ด้วยความที่อยู่ติดกับฮ่องกง เซินเจิ้นจึงถูก วางให้เป็นจุดยุทธศาสตร์ในการดึงดูดเงินลงทุน จากภายนอก เริ่มจากเป็นฐานการผลิตสำ�หรับ ธุรกิจในฮ่องกง และฐานการผลิตเพื่อส่งออก ไปยังประเทศอื่นๆ จนได้รับการเปรียบให้เป็น โรงงานของโลก การผลิตที่ว่านี้ไม่เฉพาะผลิตภัณฑ์ แต่ทสี่ �ำ คัญคือบรรจุภณั ฑ์ นำ�มาสูก่ ารเติบโตของ อุตสาหกรรมการออกแบบกราฟิกในที่สุด ไม่มอี ะไรอยูอ่ ย่างเดิมได้ตลอดไป เช่นเดียว กับไม่มีใครนั่งลอกของชาวบ้านเพียงอย่างเดียว รู้ ตั ว อี ก ที เซิ น เจิ้ น ก็ ไ ด้ รั บ เลื อ กจากยู เ นสโก ให้ เ ป็ น เมื อ งแห่ ง การออกแบบ โดยเฉพาะ งานออกแบบกราฟิ ก ที่ ไ ม่ เ ป็ น สองรองใคร การมีงานเข้ามาเป็นจำ�นวนมาก หมายถึงโอกาส ในการฝึกฝนทักษะและต่อยอดงานใหม่อย่าง ไม่ต้องสงสัย เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี จากการเป็นฐานการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์


เรื่อง : ณัฐชา ตะวันนาโชติ

เมื่อพูดถึงการฟิวชัน (fusion) บางคนอาจจะคิดถึงอาหาร บางคนอาจจะนึกถึงแนวดนตรี หรือบางคนอาจจะเห็นภาพ การรวมร่างของตัวละครจากการ์ตูนชื่อดังอย่างดราก้อนบอล แต่การฟิวชันเป็นมากกว่ากระบวนการผสมผสานเพียง อย่างเดียว เพราะการฟิวชั่นมีคุณสมบัติในการหลอมรวมสิ่งต่างๆ เพื่อสร้างสรรค์ ‘สิ่งใหม่’ ได้อย่างไมรู้จบ CREATIVE THAILAND I 20

Photo by Daniel Olah on Unsplash

Insight : อินไซต์


ที่มาที่ไปของการฟิวชัน ‘ฟิวชัน’ คำ�นีม้ รี ากมาจากภาษาละติน โดยแรกเริม่ เดิมทีมคี วามหมายว่า การไหลออก หรือ การละลาย ต่อมาในศตวรรษที่ 18 มีการนำ�คำ�นี้มาใช้ใน ความหมายที่ ก ว้ า งมากขึ้ น โดยแสดงถึ ง การ หลอมรวมกันของสิ่งของสองสิ่ง (หรือมากกว่า) ซึง่ จะเป็นการรวมอะไรก็ได้ ไม่วา่ จะเป็นสิง่ ของที่ เราจับต้องได้ วัฒนธรรมของชาติต่างๆ หรือ แม้กระทั่งแนวคิดที่แตกต่างกัน เพื่อทำ�ให้เกิด สิง่ ใหม่ และกลายเป็นคำ�ว่า ‘ฟิวชัน’ ในความหมาย ที่คนไทยใช้กันอย่างติดปากในปัจจุบัน ในสังคมโลกยุคไร้พรมแดนนี้ การแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารทำ�ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย ผูค้ น สามารถสือ่ สารและเข้าถึงกันได้งา่ ยขึน้ เทคโนโลยี เข้ามาช่วยทำ�ให้การเชื่อมต่อระหว่างผู้คนที่อยู่ ห่างกันคนละซีกโลกเกิดขึ้นได้แค่เพียงปลายนิว้ สัมผัส ผลทีต่ ามมาคือการแพร่กระจายของวัฒธรรม (Cultural Diffusion) เช่น การแพร่กระจายของ ภาษา การแต่งกาย เทคโนโลยี สิ่งของเครื่องใช้ และความเชือ่ จากทีห่ นึง่ ไปสูอ่ กี ทีห่ นึง่ ได้งา่ ยและ เร็วยิ่งขึ้น ทำ�ให้เกิดการผสมผสาน แลกเปลี่ยน และหลอมรวมวัฒนธรรมจากหลายๆ ทีเ่ ข้าด้วยกัน จนกลายเป็ น เทรนด์ ข องการฟิ ว ชั น ทางด้ า น วั ฒ นธรรมที่ ทำ � ให้ ก ารดำ � เนิ น ชี วิ ต ของผู้ ค นมี ความหลากหลายไม่จำ�เจ และเป็นการต่อยอด สิ่งที่มีอยู่แล้วไปสู่ความเป็นไปได้ใหม่ๆ อย่างไร้ ขีดจำ�กัด อาหารลูกครึ่ง สิ่งที่เห็นชัดและจับต้องได้มากที่สุดจากเทรนด์ การฟิวชันคงหนีไม่พ้นเรื่องของ ‘อาหารฟิวชัน’ ซึง่ ก็คอื อาหารรูปแบบหนึง่ ทีเ่ ป็นการผสมผสานกัน ระหว่างวัตถุดบิ หรือวิธกี ารปรุงอาหารของอาหาร สัญชาติหนึง่ (หรือมากกว่า) มาประยุกต์ให้เข้ากับ อาหารของอีกชาติหนึ่งจนได้เป็นเมนูใหม่ขึ้นมา และอาจจะกล่าวได้ว่าอาหารฟิวชันเป็น ‘อาหาร ลูกครึ่ง’ ที่เกิดมาจากการหลอมรวมวัฒนธรรม จากหลายๆ แห่งเข้าด้วยกันนั่นเอง เวลานึกถึงอาหารฟิวชัน หลายคนอาจนึกถึง อาหารทีถ่ กู เสิรฟ์ อยูใ่ นร้านอาหารสุดหรูราคาแพง เท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้วอาหารประเภทนี้ สามารถพบได้ ทั่ ว ไปตั้ ง แต่ร้ านอาหารตามสั่ง

หน้า ปากซอยไปจนถึงภั ตตาคารระดั บมิชลิน 3 ดาว ยกตัวอย่าง เช่น สปาเกตตีผัดขี้เมา ที่ นำ � เอาเส้ น สปาเกตตี อั น เป็ น เมนู ขึ้ น ชื่ อ ของ ประเทศอิตาลี มาปรุงด้วยกรรมวิธกี ารผัดแบบจีน (แรกเริ่มเดิมทีใช้เส้นก๋วยเตี๋ยว) โดยทำ�ให้มี รสชาติแบบไทยๆ เป็นการหลอมรวมวัฒนธรรม ไทย จีน ฝรั่งเข้าด้วยกันได้อย่างลงตัว แต่พอ ได้ยินว่าเป็น ‘สปาเกตตี’ หลายคนอาจมีภาพจำ� ของการเป็นอาหารฝรั่งราคาแพง ร้านอาหาร หลายๆ ร้านจึงดัดแปลงใช้เส้นบะหมีก่ งึ่ สำ�เร็จรูป (มีต้นกำ�เนิดจากประเทศญี่ปุ่น) ที่คนไทยคุ้นเคย มาใช้แทนเส้นสปาเกตตี จนได้ผลลัพธ์เป็นมาม่า ผัดขี้เมาเมนูโปรดของใครหลายๆ คน สิ่งเหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงความสามารถในสร้างสรรค์ และ ใช้จินตนาการให้เกิดประโยชน์ ทำ�ให้เกิดเมนู ใหม่ๆ ขึน้ มากมายไม่วา่ จะเป็นเมนูอย่างเบอร์เกอร์ ข้าวเหนียวลาบ ซูชินํ้าพริกหนุ่ม พิซซ่าต้มยำ�กุ้ง หรือ สเต๊กทีโบนย่างจิ้มแจ่ว ซึ่งล้วนมาจากการ นำ�เมนูธรรมดาๆ มากลายร่างให้เป็นอาหารที่มี หน้าตาและรสชาติแปลกใหม่ซึ่งสามารถต่อยอด ไปได้อย่างไม่รู้จบ ยกตัวอย่างร้านอาหารชือ่ ดัง สัญชาติอเมริกันอย่างแม็คโดนัลด์และเคเอฟซี ทีย่ งั ต้องมีเมนูฟวิ ชันสำ�หรับประเทศไทยโดยเฉพาะ อย่างข้าวกะเพรา ข้าวพะแนง และ ข้าวยำ� ไก่แซ่บ เอาไว้เอาใจผู้บริโภคชาวไทยที่ชื่นชอบ ความเผ็ดจี๊ดจ๊าด ทำ�ไมต้องฟิวชัน รูปแบบการใช้ชวี ติ ของผูค้ นมีการเปลีย่ นแปลงอยู่ ตลอดเวลา เพราะฉะนั้นในยุคที่ความแปลกใหม่ และความสร้างสรรค์ถกู ให้ความสำ�คัญ การฟิวชัน จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ต อบโจทย์ วิ ถี ชี วิ ต ของผู้ ค นในยุ ค ปัจจุบันได้อย่างลงตัว เพราะนอกจากจะทำ�ให้ หลุดพ้นจากกรอบความจำ�เจของการใช้ชวี ติ แบบ ในอดีตแล้ว ยังสะท้อนถึงไลฟ์สไตล์ที่มีความ โมเดิร์นแบบไม่ซํ้าใครอีกด้วย ในเชิงการตลาด การฟิวชันนับเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถเพิ่มมูลค่า ให้กับสิ่งที่มีอยู่ได้อย่างแนบเนียนและสร้างสรรค์ ยกตัวอย่างเช่นเทรนด์การออกกำ�ลังกายแบบ ฟิวชันประเภท Fighting Aerobic ทีน่ �ำ เอาท่าทาง ของศิ ล ปะการต่ อ สู้ ป้ อ งกั น ตั ว อย่ า งมวยไทย มาผสมผสานกับการเต้นแอโรบิกแบบตะวันตก

ได้อย่างลงตัว ทำ�ให้เกิดความสนุกสานในรูปแบบ ที่ดูแปลกใหม่ทันสมัยและเข้าถึงผู้คนได้มากขึ้น นับเป็นอีกกลยุทธ์ที่สามารถช่วยขยายฐานลูกค้า พร้อมทัง้ เพิม่ มูลค่าของสินค้าและบริการได้อย่าง สร้างสรรค์ ฟิวชันหรือลอกเลียนแบบ เมื่อความหมายของการฟิวชันคือการผสมผสาน และหลอมรวม นัน่ แปลว่าต้องมีการ ‘หยิบยืม’ เอา วัฒนธรรมจากหลายๆ แห่งมาใช้ ซึง่ กระบวนการ หยิบยืมนีอ้ าจดูใกล้เคียงกับการ ‘ลอกเลียนแบบ’ แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ทำ � ให้ ฟิ ว ชั น เป็ น มากกว่ า การ ลอกเลียนแบบธรรมดาๆ คือความสามารถใน การต่ อ ยอดและสร้ า งสรรค์ ใ ห้ เ กิ ด สิ่ ง ใหม่ ขึ้ น ไม่ใช่เพียงแค่นำ�เอาวัฒนธรรมของคนอื่นมาใช้ แล้วจบกระบวนการเพียงแค่นนั้ แต่การฟิวชันนับ เป็นนวัตกรรมทางความคิดรูปแบบหนึง่ ทีส่ ามารถ สานต่อลมหายใจของวัฒนธรรมและสิง่ ทีม่ อี ยูเ่ ดิม ผ่านกระบวนการดัดแปลงและผสมผสานด้วย ความคิดสร้างสรรค์ ทำ�ให้ผลลัพธ์ที่ได้แตกต่าง ไปจากเดิม อีกทั้งยังเข้ากับยุคสมัยและวิถีชีวิต ของผู้คนได้ดียิ่งขึ้น สร้างสรรค์หรือสูญเสีย หลายคนอาจมองว่าการฟิวชันทำ�ให้วัฒนธรรม ดั้งเดิมหายไป เนื่องจากผู้คนหันมาสนใจสิ่งใหม่ มากขึน้ และอาจทำ�ให้วฒั นธรรมทีถ่ กู มองว่าเป็น ‘ของแท้’ ถูกดัดแปลงและอาจสูญหายไปในที่สุด จริงอยูท่ ว่ี า่ เทรนด์การฟิวชันอาจสร้างความไม่พอใจ ให้กับกลุ่มคนที่ให้สำ�คัญกับความเป็นออริจินัล หรือความเป็น ‘ของแท้’ แต่การจะทำ�ให้การฟิวชัน อะไรก็ตามประสบความสำ�เร็จนั้น ต้องมาจาก พื้ น ฐานความเข้ า ใจถึ ง แก่ น ของสิ่ ง ที่ จ ะนำ � มา ดั ด แปลงและผสมผสาน โดยคำ � นึ ง ถึ ง ความ เข้ากันได้เป็นสำ�คัญ มิเช่นนั้นการฟิวชันก็จะ ไม่เกิดประโยชน์ เพราะสิ่งที่นำ�มาใช้มันเข้ากัน ไม่ได้และใช้ไม่ได้จริง ดังนั้นการฟิวชันที่ดีคือ การผสมผสานและใช้จินตนาการเพื่อสร้างสรรค์ ความดั้งเดิมให้ออกมาในรูปแบบใหม่ ต่อยอด รากเหง้ า ของวั ฒ นธรรมที่ มี เพื่ อ ปรั บ และ ผสมผสานให้เข้ากับวิถีชีวิตของผู้คนในยุคสมัย ที่เปลี่ยนแปลงไป

ที่มา: บทความ “เทรนด์ฟิวชั่น ผสานสิ่งดีๆ เข้ากับไลฟ์สไตล์” จาก 40plus.posttoday.com / บทความ “อาหารไทย…ฟีลนี้ต้อง ‘ฟิวชั่น’” จาก matichon.co.th / บทความ “Fusion” จาก etymonline.com / บทความ “Fusion Cuisine and the Ascension of Cultural Cuisine” จาก thegreatgastro.com CREATIVE THAILAND I 21


Creative Startup : เริ่มต้นคิด

ขนมหวานไต้หวัน x แบรนด์ไทย

ที่เป็นมิตรกับผู้บริโภคสายสุขภาพ

เรื่อง : รติพร ยงทัศนะกุล ภาพ : ภีร์รา ดิษฐากรณ์

การเคลื่อนย้ายของวัฒนธรรมการกินนั้นมีให้เห็นมาตั้งแต่สมัยโบราณ การรับเอาวัฒนธรรมการกินขนมหวานของ ชาวโปรตุเกสเข้ามาในสยามประเทศ ทำ�ให้เกิดขนมหวานจำ�พวกทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ฯลฯ เช่นเดียวกับที่ ประเทศเราก็ได้เผยแพร่วัฒนธรรมขนมหวานไปสู่ต่างชาติ โดยมีเมนูข้าวเหนียวมะม่วงเป็นดาวเด่นขึ้นชื่อในมื้ออาหารหวาน แบบไทยๆ ที่ชาวต่างชาติต่างหลงรัก ทุกวันนีเ้ จเนอเรชันใหม่ๆ ในสังคมสามารถพบเจอหรือแลกเปลีย่ นความชืน่ ชอบ ทัศนคติ และรสนิยมทีแ่ ตกต่างกันได้อย่างเปิดกว้างและหลากหลาย ยิง่ ทำ�ให้ ผู้บริโภคในแต่ละประเทศมีตัวเลือกในการสรรหาอาหารการกินมากยิ่งขึ้น และนักธุรกิจเองก็มโี อกาสทีจ่ ะนำ�เข้าวัฒนธรรมต่างๆ ทีน่ า่ สนใจ มาประยุกต์ และปรับใช้ให้โดนใจผู้บริโภคในประเทศของตนเช่นกัน จึงไม่แปลกใจที่ว่า ไม่วา่ จะเดินไปห้างไหนทุกวันนี้ เราก็มกั เจอแต่รา้ นนา้ํ แข็งไสแบบบิงซู คากิโกริ ชีสทาร์ต โดนัท หรือป๊อปคอร์น ที่แม้ไม่ได้เป็นขนมหวานของบ้านเราแต่ ดั้งเดิมแต่กลับได้รับความนิยมที่เรียกได้ว่าล้นหลาม โดยมีหนึ่งในร้านขนม หวานที่สามารถแจ้งเกิดขึ้นมาได้ท่ามกลางศึกช่วงชิงพื้นที่ของหวานของ ผูบ้ ริโภคชาวไทย นั่นก็คือ QQ Dessert: Traditional Taiwanese Dessert ธุรกิจขนมหวานไต้หวันของผู้บริหารเจเนอเรชันใหม่อย่าง “คุณแป้ง-อัชฌา เจริญรัศมีเกียรติ” สาวเก่งที่มีใบหน้าหวานสวยไม่แพ้ขนมหวานของเธอ

จุดเริ่มต้นของ QQ Dessert ธุรกิจนี้เริ่มต้นมาจากความชอบส่วนตัว จริงๆ ครอบครัวของแป้งชอบทาน ขนมอยูแ่ ล้ว โดยเฉพาะน้องชายทีเ่ ข้ามาช่วย ตอนนัน้ เราคิดอยากจะมีธรุ กิจ ร้านขนมเป็นของตัวเองกัน ก็เลยดูตลาดในไทยมาอยู่เกือบปี ช่วงนั้นขนม หวานพวกนํา้ แข็งไสอย่างบิงซู คากิโกริ กำ�ลังมา ธุรกิจขนมหวานในบ้านเรา ก็เติบโตขึน้ อย่างเร็ว เราเริม่ เห็นช่องทางว่าพอมีทางไปได้ น้องชายทีเ่ รียนอยู่ ไต้หวันก็ชว่ ยทำ�รีเสิรช์ เมนูขนมต่างๆ รวมไปถึงวัฒนธรรมการกินของไต้หวัน ซึง่ ก็มขี นมแบบนีท้ ฮี่ ติ มากทีน่ นั่ อยู่ แล้วเราบินไปชิมมาด้วยตัวเองซึง่ ก็พบว่า มันอร่อยและมีความแตกต่าง จนสามารถติดต่อแบรนด์ขนมหวานไต้หวัน เจ้าใหญ่ที่ประเทศไต้หวันได้ แต่เนื่องด้วยราคาค่าลิขสิทธิ์ที่มูลค่าสูงมากถึง แปดหลัก เราเลยกลับมาประเมินว่าคนไทยน่าจะมองขนมตัวนี้คล้ายๆ กับ นํ้าแข็งไสไทยอย่างเช็งซิมอี๊เพราะมีส่วนผสมบางตัวที่คล้ายกัน เราจะไม่

CREATIVE THAILAND I 22


สามารถตัง้ ราคาขายสูงๆ ได้ การซือ้ ลิขสิทธิแ์ บรนด์ตา่ งชาติมาเลย อาจทำ�ให้ ธุรกิจของเรามีต้นทุนที่สูงเกินไป ก็เลยตัดสินใจสร้างแบรนด์ขนมขึ้นมาใหม่ ภายใต้ชื่อ QQ Dessert แบรนด์ไทย หัวใจไต้หวัน QQ เป็นคำ�พ้องเสียงภาษาพูดของไต้หวันแปลว่า หนึบหนับ มาจากเวลา เคี้ยวทาโร่บอลซึ่งเป็นเมนูพระเอกของร้าน คนที่กินเข้าไปก็จะรู้สึกถึงความ หนึบหนับ เราก็เลยนำ�มาตั้งเป็นชื่อแบรนด์ที่สื่อคาแรกเตอร์เด่นของตัวขนม นอกจากคุณภาพของเมนูทหี่ ลากหลายของทางร้านแล้ว ยอมรับว่าการสร้าง แบรนด์ให้คนรู้จักและยอมรับเราในตอนเริ่มต้นก็มีความเสี่ยงสูงมากเพราะ คนไทยยังไม่รจู้ กั ขนมชนิดนี้ แต่เราก็เชือ่ มัน่ ว่าขนมไต้หวันแบบนีเ้ ขาออกไป ตีตลาดทั่วโลกมาแล้ว ยิ่งเราเลือกอาหารฝั่งเอเชียเข้ามา เราก็คิดว่าคนไทย น่าจะมีความคุ้นเคยกับอะไรที่เป็นจีนๆ เพราะเรามีวัฒนธรรมร่วมกันอยู่ ยาวนาน เฉาก๊วยของไทยกับไต้หวันมีเหมือนๆ กัน แต่ก็จะมีรายละเอียดที่ ต่างกัน หรือชานมไข่มกุ เองก็คอื สิง่ ทีค่ นไทยรูจ้ กั กันดีอยูแ่ ล้ว การเข้ามาของ QQ Dessert ก็เหมือนเรามาให้ความรู้เพิ่ม มาแนะนำ�เพิ่มว่า ขนมไต้หวัน มีอะไรมากกว่านั้นอีกนะ พอดีกับว่าเราได้มาเปิดสาขาแรกที่เซ็นทรัลเวิลด์ ซึง่ ตอนนัน้ ทางห้างเขากำ�ลังอยูใ่ นช่วงรีโนเวท เขาเลยมีพน้ื ทีใ่ ห้เราลองเปิดร้าน ชั่วคราวเพียงแค่ 6 เดือน แต่เราก็คิดว่าเป็นเวลาที่พอดีที่เราจะได้ทดลองใน ช่วงแรกด้วย ตอนนั้นถ้าถามเรื่องการพีอาร์ เราทำ�ประชาสัมพันธ์แบบ ออร์แกนิกมาก คือไม่ซื้อสื่อเลย แต่เราจะเน้นเชิญชวนคนรอบตัวมาชิมขนม ของเราในช่วงแรกๆ ก่อน เพื่อนๆ เราหลายคนเป็นคนมีชื่อเสียง พอเขา ได้กิน ได้เริ่มโพสต์ลงโซเชียล เลยทำ�ให้ขนมของเรากลายเป็นกระแส ปากต่อปากไป มีคนมายืนต่อคิวหน้าร้านเพื่อรอทานขนมเราในช่วงที่เปิด ได้เพียงเดือนเดียว และที่ดีใจที่สุดก็คือเราพบว่า คนกลุ่มเดิมๆ เขาก็กลับ มากินซํ้าอีก โดยจะพาพ่อแม่ หรือพาเพื่อนมากินด้วย จึงทำ�ให้เรามั่นใจว่า แบรนด์ของเราเริ่มติดตลาดแล้ว

จุดแข็ง คือ สินค้า จุดแข็งของ QQ Dessert คือขนมที่ไม่โมเดิร์นหรือแฟชั่นมากๆ เราเห็นว่า เทรนด์อาหารมาเร็วไปเร็ว เราไม่อยากให้ QQ เป็นแบบนั้น เรามอง QQ ว่า เป็นแบรนด์ที่เป็นมิตรกับกลุ่มคนที่ดูแลสุขภาพ เราพัฒนาเมนู ภาพโฆษณา ต่างๆ ที่ดูแล้วสื่อถึงความเป็นต้นตำ�รับ มีความเข้าถึงง่าย เหมาะสำ�หรับ ทุกคนในครอบครัว และสำ�คัญที่สุดคือดีต่อสุขภาพ นี่คือทิศทางของเรา ซึ่งจะอยู่คนละตลาดกับขนมหวานประเภทอื่นๆ รวมไปถึงราคาที่จับต้องได้ ร้อยกว่าบาทแต่ให้ปริมาณเยอะ ทานร่วมกันเป็นครอบครัวได้ แชร์เพื่อนได้ เมนูของเราจะมีทงั้ เมนูรอ้ นและเมนูเย็น เพราะบางทีผใู้ หญ่ชอบทานของร้อน เด็กๆ ชอบทานของเย็น หรือชาวต่างชาติอย่างชาวจีนที่เขาเป็นต้นตำ�รับ จะทานขนมหวานแบบนีแ้ บบไม่ใส่นาํ้ แข็งเยอะ เหมือนทานเป็นอุณหภูมหิ อ้ ง ปกติ และเราเลือกคัดสรรวัตถุดิบที่ดีที่สุดมาใช้ เช่น ทาโร่บอล 2 สี เรานำ� เข้ามาจากไต้หวันโดยตรงเพือ่ ให้ได้รสชาติทแ่ี ท้จริงจากต้นตำ�รับ ส่วนวัตถุดบิ อื่นๆ อย่าง มัน เผือก ลำ�ไยสีทอง เราเลือกที่จะใช้วัตถุดิบในประเทศ เพราะคุณภาพดีและอร่อยไม่แพ้ของไต้หวันเหมือนกัน ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ช่วงแรกกลุ่มเป้าหมายหลักของเราคือครอบครัว แม้ว่าในกระแสตอนนั้น ผู้บริโภคขนมหวานส่วนใหญ่จะเป็นเจเนเรชันวายที่ชอบนั่งในคาเฟ่ถ่ายรูป กับขนมสวยๆ เรายอมรับว่าในช่วงแรกขนมเราไม่ได้มีความ photogenic (ถ่ายรูปสวย) แต่ตอนนี้เราก็พัฒนาเมนูใหม่เป็นนํ้าแข็งไสปุยหิมะ ‘QQ Ice Mountain’ ที่ถ่ายรูปออกมาแล้วสวยเหมือนกัน นอกจากนี้เรายังได้รับ การตอบรับที่ดีมากจากกลุ่มลูกค้าโดยเฉพาะชาวจีน เราเลยออกแบบเมนู พิเศษคือ ‘Mango Grass Jelly’ (นํ้าแข็งไสใส่เฉาก๊วย มะม่วง และราดด้วย ซอสมะม่วง) เพื่อเอาใจนักท่องเที่ยวชาวจีนที่ชอบกินมะม่วง โดยเมนูนี้ จะขายเฉพาะที่สาขาคิงพาวเวอร์ รางนํ้าเท่านั้น อนาคตของ QQ Dessert QQ Dessert ตอนนี้มีทั้งหมด 5 สาขา คือ สยามพารากอน เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลแจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลลาดพร้าว และคิงพาวเวอร์ รางนํา้ ต่อไปเรากำ�ลัง พัฒนาแบรนด์นอ้ งทีช่ อื่ QQ to Go จะเลือกขายเฉพาะเมนูขนาดเล็ก สามารถ ถือไปทานได้เลย ไม่ตอ้ งนัง่ กินในร้าน เหมาะสำ�หรับวัยเรียน วัยทำ�งาน และ เราก็ยงั คิดถึงโอกาสทีจ่ ะออกไปเปิดสาขาในประเทศเพือ่ นบ้านในวันทีแ่ บรนด์ เราพร้อมด้วย การเติบโตของ QQ Dessert ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเวลาเพียง 2 ปีกว่า สามารถ เรียกได้ว่าประสบความสำ�เร็จไม่แพ้ขนมสัญชาติอื่นๆ ที่ตบเท้าก้าวเข้ามา เชือ้ เชิญให้ผบู้ ริโภคชาวไทยลิม้ ลอง ทัง้ ยังมีแนวโน้มทีจ่ ะยัง่ ยืนด้วยการรักษา คุณภาพ และไม่หยุดพัฒนาให้ธุรกิจก้าวต่อไปได้ แม้ว่าจะอยู่ท่ามกลาง คู่แข่งขันทางธุรกิจจำ�นวนมากมายในวันนี้ก็ตาม “การอยู่ในธุรกิจ Food & Beverage (อาหารและเครือ่ งดืม่ ) นัน้ ไม่งา่ ย การทีเ่ รามีคแู่ ข่งเข้ามาในตลาด จริงๆ มองเป็นแรงผลักดันมากกว่า ที่จะทำ�ให้เราต้องทำ�ให้ดีกว่าเดิม ซึ่งแป้งคิดว่าเป็นเรื่องปกติในการทำ�ธุรกิจ ถ้าเรามั่นคงในจุดยืนของแบรนด์ เราก็เชื่อว่าลูกค้าจะสนับสนุนเราต่อไปค่ะ”

CREATIVE THAILAND I 23


Creative City : จับกระแสเมืองสร้างสรรค์

SINGAPORE Marrying Culture เรื่อง : พัชรินทร์ พัฒนาบุญไพบูลย์

ปี 2019 คือปีที่สิงคโปร์กำ�ลังก้าวเดินสู่ขวบปีที่ 54 ในการก่อตั้งประเทศ หลังจากตกเป็นเมืองอาณานิคมของอังกฤษ มายาวนานกว่า 150 ปี เกาะเล็กๆ ที่ตั้งอยู่บนทำ�เลยุทธศาสตร์ และเต็มไปด้วยความหลากหลายทางเชื้อชาติ ความเชื่อ และ วัฒนธรรมแห่งนี้ กำ�ลังกอบเก็บทุกคุณค่าสูก่ ารสร้างตัวตนที่เป็นหนึง่ ในทุกๆ ด้าน เพือ่ ให้สมกับชือ่ เรียก ‘สิงคโปร์’ ที่มาจาก คำ�ว่า ‘สิงหะ–ปุระ’ อันหมายถึงเมืองแห่งสิงโต (City of the Lion) ราชันย์แห่งผืนป่าที่พร้อมรับมือบทพิสูจน์สุดท้าทายใหม่ นั่นคือการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งการออกแบบและศิลปวัฒนธรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ CREATIVE THAILAND I 24


ในวันเวลาทีส่ งิ คโปร์มฐี านะเป็นเพียงสถานีการค้า ของอังกฤษในช่วงศตวรรษที่ 19 ด้วยมีทำ�เลทอง ตั้ ง อยู่ บ นเส้ น ทางเดิ น เรื อ สายสำ � คั ญ ระหว่ า ง อินเดียและจีน สิงคโปร์จึงประกอบไปด้วยผู้คน หลากหลายเชื้อชาติ หลากวัฒนธรรม ทั้งคน เชือ้ สายมาเลย์จากพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ผูอ้ พยพจากจีน แผ่นดินใหญ่ ชาวบูกิสซึ่งเป็นชาวเรือที่มาจาก เกาะสุลาเวสีของอินโดนีเซีย และชาวอินเดียทีเ่ ป็น แรงงานทยอยย้ายเข้ามาตั้งรกรากและทำ�งาน บนเกาะแห่งนี้ ในช่วงเวลาแห่งการเป็นเมือง อาณานิ ค ม อั ง กฤษไม่ ไ ด้ ส นใจเรื่ อ งของการ ผสมผสานวัฒนธรรมที่แตกต่างเหล่านี้มากนัก ทำ � ให้ แ ต่ ล ะเชื้ อ ชาติ ต่ า งดำ � รงชี วิ ต อยู่ ภ ายใน กลุ่ ม ก้ อ นของตนเอง กระทั่ ง สิ ง คโปร์ ไ ด้ รั บ อิ ส รภาพและถู ก ปลดปล่ อ ยให้ มี เ อกราชโดย สมบูรณ์ในปี 1965 รัฐบาลสิงคโปร์จึงได้ดำ�เนิน นโยบายในการสร้างสิงคโปร์ที่เป็นหนึ่งเดียวขึ้น หลังจากได้รับเอกราช 5 ปี รัฐบาลเลือก ขับเคลือ่ นประเทศด้วยนโยบายสร้างชาติทเ่ี รียกว่า Policy of Survival เพราะนับแต่ปี 1945 จนถึง ยุคต้นทศวรรษ 1970 สิงคโปร์ต้องเผชิญกับ ปัญหาการขาดแคลนทีอ่ ยูอ่ าศัยอย่างรุนแรง และ ยั ง มี ปั ญ หาด้ า นสาธารณู ป โภคพื้ น ฐานที่ ไ ม่ มี ประสิทธิภาพ จำ�นวนอาชญากรรมและอัตราการ ว่างงานสูง นอกจากนี้ยังต้องเร่งแก้ปัญหาด้าน เชื้อชาติที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมรุนแรงระหว่าง คนต่างเชื้อชาติที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน ซึ่งการ ดำ�เนินนโยบายที่เน้นการดึงดูดการลงทุนจาก

ต่ า งชาติ ด้ ว ยการเก็ บ ภาษี ใ นอั ต ราที่ ดึ ง ดู ด ใจ พร้อมกับการเร่งพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐาน ให้สมบูรณ์ การสร้างแรงงานที่มีคุณภาพและ มี วิ นั ย สู ง รวมถึ ง การเข้ า ควบคุ ม ของภาครั ฐ ทีเ่ ข้มงวด ก็สง่ ผลให้สงิ คโปร์ทเ่ี คยเป็นเพียงเมืองท่า ริ ม ฝั่ ง กลั บ กลายมาเป็ น ประเทศพั ฒ นาแล้ ว ที่รํ่ารวย เป็นระเบียบ และก้าวเข้าสู่การเป็น ประเทศอุตสาหกรรมเต็มรูปแบบในช่วงเวลา เพียง 30 กว่าปีให้หลัง ภูมิหลังที่แร้นแค้นยิ่งขับดันให้วัฒนธรรม ของสิงคโปร์ตงั้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความมัง่ คัง่ และ มัน่ คง ท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทีไ่ ม่มวี ฒั นธรรมใดวัฒนธรรมหนึง่ มีอทิ ธิพลเหนือ วัฒนธรรมอื่นๆ แต่พลเมืองชาวสิงคโปร์ต่าง เห็นพ้องต้องกันว่าชาติจะอยู่รอดได้ ก็เมื่อต้อง รวมความแตกต่างและหลากหลายทางวัฒนธรรม ให้เป็นหนึ่งเดียวกัน และประชากรทุกเชื้อชาติ ต้องเรียกขานตนเองว่าเป็น ‘ชาวสิงคโปร์’ ในช่วง 5 ทศวรรษที่ผ่านมา สิงคโปร์ได้ก้าว ไปไกลจากเมืองท่าที่มาเลเซียเคยขับไล่ออกจาก สหพันธรัฐ มาสูก่ ารพัฒนาทางเศรษฐกิจทีล่ าํ้ หน้า ประชากรมีรายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยที่ 9% ต่อปี เทียบเท่ากับประชากรในสหรัฐอเมริกา อีกทั้งยังมีเสถียรภาพทางการเมืองและความ มั่งคั่งทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง เมื่อเทียบกับ ประเทศเพือ่ นบ้านหลายชาติทม่ี ดี นิ แดนกว้างขวาง กว่าและทรัพยากรมากกว่า...แล้วอะไรคือก้าวต่อไป ของสิงคโปร์

CREATIVE THAILAND I 25

ไร้ราก...ไม่ไร้วัฒนธรรม หากก้ า วต่ อ ไปของสิ ง คโปร์ ไ ม่ ใ ช่ ก ารขึ้ น เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ในการพั ฒ นาด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี หรือการรักษา ความสำ�เร็จที่ประเทศเล็กๆ ก้าวขึ้นมาโดดเด่น เที ย บเท่ า มหาอำ � นาจทางเศรษฐกิ จ ได้ ด้ ว ย การทำ � งานหนั ก และทั ศ นคติ แ บบ ‘เกี ย ซู ’ (kiasu-ภาษาจีนฮกเกี้ยน) ที่หมายถึงความรู้สึก ชอบแข่งขันตลอดเวลา ไม่อยากสูญเสียหรือ พลาดอะไร สิงคโปร์จะต้องการอะไรเพื่อทำ�ให้ ประเทศของตนนัน้ ไปได้ไกลกว่าทีเ่ ป็นอยู่ เท่ากับ ความพยายามในการลบคำ�ครหาทีน่ านาประเทศ กล่าวไว้วา่ สิงคโปร์คอื ประเทศทีไ่ ร้รากวัฒนธรรรม อันเป็นอัตลักษณ์ที่สำ�คัญของประเทศ ความจริงทีว่ า่ สิงคโปร์คอื ประเทศทีห่ ลอมรวม ความหลากหลายของต่ า งชนชาติ แ ละภาษา มาเป็นเวลานาน ทำ�ให้สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม ของสิงคโปร์นั้นแทบไม่มีอะไรทีเ่ ป็น ‘ออริจินัล’ หรือเกิดขึ้นดั้งเดิมบนเกาะแห่งนี้เลย ทุกอย่าง ล้วนได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมต่างๆ ที่มีอยู่ใน พืน้ ที่ ไม่วา่ จะเป็นจีน มาเลย์ หรืออินเดีย ส่งผลให้ สิงคโปร์เป็นประเทศหนึ่งที่เคยขาดแคลนงาน ด้านศิลปวัฒนธรรม วรรณกรรม งานออกแบบ หรือแม้แต่ศิลปะการแสดงประจำ�ชาติ อย่างไร ก็ตาม รัฐบาลสิงคโปร์ไม่ได้นิ่งนอนใจในปัญหา ดังกล่าว และได้ลงมือให้การสนับสนุนอย่าง จริ ง จั ง เกี่ ย วกั บ การสร้ า งสรรค์ แ ละเผยแพร่ งานศิลปะสู่สาธารณชนทั้งภายในประเทศและ ชาวต่างชาติ โดยคนรุ่นใหม่ของสิงคโปร์เองต่าง ก็ ใ ห้ ค วามสนใจเกี่ ย วกั บ ประเด็ น ด้ า นศิ ล ป วัฒนธรรมอย่างเห็นได้ชัด คณะกรรมการการท่ อ งเที่ ย วสิ ง คโปร์ (Singapore Tourism Board) รายงานเมือ่ ไม่นาน มานี้ว่า สิงคโปร์มีโอกาสต้อนรับนักท่องเที่ยว สูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ที่ 18.5 ล้านคนในปีทแี่ ล้ว เพิ่มขึ้น 6.2% จากปีก่อนหน้า โดยนักเดินทาง จำ�นวนมากมาจากตลาดใหญ่อย่างจีนและอินเดีย ในปีล่าสุดนักท่องเที่ยวจากจีนเดินทางมาที่นี่ เพิ่มขึ้น 6% อยู่ที่ 3.4 ล้านคน ขณะที่นักเดินทาง จากอินเดีย ก็เดินทางเข้ามาเพิ่มขึ้น 13% อยู่ที่ 1.4 ล้านคน เมื่ อ อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วเฟื่ อ งฟู รัฐบาลจึงต้องเร่งเสนอแพ็กเกจการท่องเที่ยว ทางศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นอีกหนึ่งแง่มุม ที่นักท่องเที่ยวทั่วโลกในวันนี้ใฝ่หา


(Singapore Economic Development Board) เพือ่ ตอกยํา้ ภาพลักษณ์ของประเทศในฐานะดินแดน แห่งศิลปะทีโ่ ดดเด่น ภายใต้ธมี ‘Art Takes Over’ โดยมีการจัดกิจกรรมและอีเวนต์มากมายตาม สถานที่ต่างๆ ทั่วเกาะ เช่น หอศิลป์ พิพิธภัณฑ์ สถานทีส่ าธารณะ รวมไปถึงในตรอกซอกซอยเล็กๆ ย่านซีวิค ดิสทริคท์และอ่าวมารีน่า, บราส บาซาห์ และบูกิส, จาลัน เบซาร์ และลิตเติล อินเดีย, กิลแมน บาร์แรคส์ และบริเวณใกล้เคียง ล้วนเป็นหนึง่ ในสถานทีจ่ ดั งานทีส่ ะท้อนภาพของ เมืองแห่งศิลปะที่อยู่เบื้องหลังภาพจำ�ของตึกสูง และความเป็นเมืองของสิงคโปร์ทนี่ กั ท่องเทีย่ วคุน้ เคย กิจกรรมอย่าง S.E.A Focus: A Spotlight on Southeast Asia ที่กิลแมน บาร์แรคส์ สถานที่ ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของค่ายทหารอังกฤษในช่วงก่อน สงครามโลกครัง้ ที่ 2 และเป็นสนามรบแห่งสุดท้าย ของสิงคโปร์ก่อนที่จะพ่ายแพ้สงคราม สามารถ ดึงดูดคนรักงานศิลปะให้เข้าร่วมเวิร์กช็อปและ งานแสดงบูตกิ อาร์ตที่สง่ เสริมผลงานศิลปะสมัยใหม่ ของเอเชียอาคเนย์ให้ผู้คนได้รู้จักและชื่นชมกัน อย่างคึกคักตลอดการจัดงาน โดยที่นี่ยังคงเป็น สถานที่ถาวรของบรรดาแกลเลอรี หอศิลป์ และ ร้านรวงต่างๆ ที่เกี่ยวกับศิลปะมาตั้งแต่ปี 2012 จนกลายมาเป็นแหล่งรวมงานศิลปะร่วมสมัยของ สิงคโปร์ที่สำ�คัญในปัจจุบัน สำ�หรับใครก็ตามที่เคยไปเดินเล่นอยู่บน เกาะสิงคโปร์ คงพบว่าสิงคโปร์เป็นประเทศที่ สามารถใช้การเดินเท้าเพื่อสำ�รวจเมืองได้อย่าง เป็นมิตรมากที่สุดเมืองหนึ่งของโลก และหาก สังเกตให้ดจี ะพบว่าในระหว่างการเดินนัน้ เรายัง สามารถแวะพักเพื่อดื่มดํ่ากับงานศิลปะได้อย่าง ไม่ยากเย็น ด้วยมีสถานที่ที่รวบรวมงานศิลปะไว้

CREATIVE THAILAND I 26

artwalklittleindia.sg

Art Takes Over นอกจากที่สิงคโปร์จะได้รับเลือกให้เป็นสถานที่ จัดงานซัมมิตครัง้ ประวัตศิ าสตร์ระหว่างประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ผูน้ �ำ สหรัฐอเมริกา กับนายคิม จองอึน ผูน้ �ำ สูงสุดของเกาหลีเหนือ เมือ่ วันที่ 12 มิถนุ ายน ปี 2018 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นประเทศ ที่มีความมั่นคงปลอดภัยจนติดอันดับโลกแล้ว เพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วและภาพลักษณ์ประเทศ ในฐานะอีกหนึง่ เดสติเนชัน่ ทางด้านศิลปวัฒนธรรม สิงคโปร์ยังได้จัดงานทีช่ อื่ ว่า ‘งานสัปดาห์ศิลปะ สิงคโปร์’ (Singapore Art Week) ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ทุกปีอีกด้วย ในปีนี้ งานสัปดาห์ศิลปะสิงคโปร์ถูกจัดขึ้น เป็นครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 19-27 มกราคม เพื่อเฉลิม ฉลองให้กับความคิดสร้างสรรค์ด้านศิลปะของ สิงคโปร์ และเป็นอีกงานใหญ่ภายใต้ความร่วมมือ ของ 3 หน่วยงาน คือ สภาศิลปกรรมแห่งชาติ (National Arts Council - NAC) การท่องเที่ยว สิงคโปร์ (Singapore Tourism Board - STB) และคณะกรรมการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สิ ง คโปร์

บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวจำ�นวนมาก เช่น หอศิลป์แห่งชาติสงิ คโปร์ (National Gallery Singapore) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสิงคโปร์ (National Museum of Singapore) พิพิธภัณฑ์ ศิลป์และศาสตร์ (ArtScience Museum) ตลอดจน พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะสิงคโปร์ (Singapore Art Museum) ซึ่งต่างจัดแสดงผลงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม อยู่ตลอดทั้งปี แม้แต่ย่านที่อยู่อาศัยของคนกลุ่มต่างๆ ใน ประเทศอย่างลิตเติลอินเดีย ก็ยังร่วมจัดงานที่ ชือ่ ว่า ARTWALK Little India ขึน้ เป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ แสดงผลงานศิลปะในย่านพืน้ ทีท่ างวัฒนธรรม และทำ�ให้มรดกลํา้ ค่าทางวัฒนธรรมกลับมามีชวี ติ อีกครัง้ ผ่านการวาดภาพบนผืนกำ�แพง นิทรรศการ ศิลปะ กิจกรรมฉายภาพยนตร์และการแสดง มากมาย พร้อมบอกเล่าเรื่องราวของบรรดาผู้ที่ อาศัยอยู่ในย่านลิตเติลอินเดียมาช้านาน เมื่อรวมกับการทำ�งานอย่างเป็นองคาพยพ ของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ สภาศิลปกรรมแห่งชาติ การท่องเที่ยวสิงคโปร์ คณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจสิงคโปร์ ไปจนถึงบรรดามูลนิธิศิลปะ


teamlab.art

ไม่แสวงหาผลกำ�ไรต่างๆ ที่มีเป้าหมายในการ สร้างการตระหนักรูเ้ กีย่ วกับประเด็นทางศิลปะใน สังคม ตลอดจนภาคธุรกิจเอกชนอีกจำ�นวนไม่น้อย นีจ่ งึ เป็นเหตุผลสำ�คัญว่าทำ�ไมเราจึงมีโอกาสได้ชม นิทรรศการจากศิลปินระดับโลกซึง่ จัดขึน้ ทีส่ งิ คโปร์ อยู่บ่อยครั้ง และคนรักงานอาร์ตต้องไม่พลาด ปฏิทินกิจกรรมทางศิลปะที่มีอยู่แน่นขนัดตลอด ทัง้ ปีของที่นี่ ไม่วา่ จะเป็นนิทรรศการ Andy Warhol: Social Circus ที่รวบรวมคอลเล็กชั่นภาพถ่าย โพลารอยด์โดยแอนดี้ วอร์ฮอล ศิลปินชือ่ ก้องโลก มาจัดแสดงรวมกันไว้มากทีส่ ดุ ในเอเชียเมือ่ กันยายน ปี 2016 โปรเจ็กต์ดจิ ทิ ลั อาร์ตจาก teamLab กลุม่ ศิ ล ปิ น ที่ เ ชื่ อ ในพลั ง ของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล และ ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์จากกรุงโตเกียว ทีข่ ยันมาสร้างสีสนั ให้กบั แวดวงศิลปะและเทคโนโลยี ในสิงคโปร์มาตั้งแต่ปี 2013 จนถึงปัจจุบัน โดยมี ผลงานถาวรของ teamLab บนเกาะสิงคโปร์มากถึง 4 งาน ได้แก่ Future World: Where Art Meets Science ที่พิพิธภัณฑ์ศิลป์และศาสตร์ Story of The Forest ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสิงคโปร์ Digital Light Canvas ที่มารีน่า เบย์ แซนด์ส และ Flowers and People - Dark ที่หอศิลป์ แห่งชาติสิงคโปร์ หรือแม้แต่นิทรรศการ Yayoi Kusama: Life is the Heart of a Rainbow ซึ่ง จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม-3 กันยายน ปี 2017 ที่หอศิลป์แห่งชาติสิงคโปร์ และดึงดูดผู้เข้าชม จากทั่วโลกได้เป็นประวัติการณ์กว่า 235,000 คน มากที่สุดนับตัง้ แต่เปิดทำ�การหอศิลป์ฯ มา ดร. ยูจนี ทัน (Dr. Eugene Tan) ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ แห่งชาติสิงคโปร์กล่าวว่า “ภารกิจสำ�คัญของ

ภารกิจส�ำคัญของแกลเลอรี คือการท�ำให้ผู้ชมทั้งที่เป็น ชาวสิงคโปร์และผู้ชมในประเทศ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้เข้าถึงโลกของศิลปะได้งา่ ยขึน้ ในประเทศของเราเอง

แกลเลอรีคือการทำ�ให้ผู้ชมทั้งที่เป็นชาวสิงคโปร์ และผู้ ช มในประเทศเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ได้เข้าถึงโลกของศิลปะได้ง่ายขึ้นในประเทศของ เราเอง” จากประเทศที่ไร้ราก เต็มไปด้วยการผสมผสาน ของต่างวัฒนธรรมของพลเมืองราว 6 ล้านคน ทีม่ ี เชื้อชาติแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ทั้งจีน มาเลย์ อินเดีย และยังดึงดูดคนเก่งที่มีพรสวรรค์จาก ต่างประเทศเข้าไปมากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของ โลกรองจากสวิตเซอร์แลนด์ มีภาษาที่ใช้สื่อสาร กันมากถึง 4 ภาษา ได้แก่ มาเลย์ อังกฤษ ทมิฬ และจีนแมนดาริน ประเทศเจ้าของมือ้ อาหารทีถ่ กู ฟิวชั่นจนแทบนึกไม่ออกว่ามีพื้นเพมาจากเมนู ของชนชาติไหน ในวันนี้สิงคโปร์ได้เลือกสร้างตัว ตนขึ้นใหม่ผ่านมุมมองทางด้านศิลปวัฒนธรรม ที่แม้หลายคนจะยังมองว่าเป็นเพียงอีกหนึ่งการ ผสมผสาน แต่จะสำ�คัญอะไรในเมื่องานศิลปะ ทุกชิ้นต่างก็รับและส่งแรงบันดาลใจถึงกันเป็น เรื่ อ งปกติ รวมถึ ง พลวั ต รของเมื อ งที่ ย่ อ มส่ ง อิ ท ธิ พ ลต่ อ ผู้ ม าเยื อ นที่ สิ ง คโปร์ แ ห่ ง นี้ ไ ม่ ม าก ก็น้อย ที่มา: บทความ “ดัชนีดงึ ดูดคนเก่งโลก: สิงคโปร์ครองอันดับ 2 ส่วนไทยอยูอ่ นั ดับ 70” จาก bbc.com / บทความ “ทำ�ไม ‘ทรัมป์-คิม’ ต้องไปคุยนัดประวัตศิ าสตร์กนั ที่ ‘สิงคโปร์’” จาก khaosod.co.th / บทความ “5 Minutes With…teamLab!” จาก indesignlive.sg / บทความ “People’s Action Party: Post-independence years” จาก eresources.nlb.gov.sg / บทความ “Singapore” จาก everyculture.com / บทความ “Yayoi Kusama’s Exhibition Draws Record Attendance Since National Gallery Singapore’s Opening” จาก channelnewsasia.com CREATIVE THAILAND I 27

รักข้ามวัฒนธรรม

เพราะความรักคืออีกหนึ่งเรื่องของชีวิตที่ก้าวข้าม ความแตกต่างได้เสมอ สิ่งนี้กำ�ลังพิสูจน์ความจริง บนดินแดนแห่งความแตกต่างทางวัฒนธรรมอย่าง สิงคโปร์ เพราะสถิติในปี 2017 พบว่า 22.1% ของ คู่ แ ต่ ง งานในสิ ง คโปร์ คื อ การแต่ ง งานแบบข้ า ม เชื้ อ ชาติ ซึ่ ง สถิ ติ ที่ ว่ า นี้ เ พิ่ ม มากขึ้ น เป็ น สองเท่ า นับจากในปี 1997 ที่มีเพียง 8.9% ประเทศที่แม้จะดูเหมือนเปิดรับวัฒนธรรมที่ หลากหลายมากที่สุดแห่งหนึ่ง แต่เมื่อสำ�รวจให้ ลึกลงไปกลับพบว่าสังคมส่วนใหญ่ของสิงคโปร์ยงั คง ต้องการรักษาเอกสิทธิ์ในการแต่งงานไว้ภายในกลุ่ม เชื้อชาติของตนเท่านั้น (Pure Race) แต่เหตุผล เบื้องหลังที่ทำ�ให้สถิติคู่รักต่างเชื้อชาติเพิ่มขึ้นนั้น ขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยหลัก นั่นคือการหลั่งไหลเข้ามา เรียนและทำ�งานของชาวต่างชาติในสิงคโปร์ และ ในทางกลั บ กั น ชาวสิ ง คโปร์ ก็ เ ดิ น ทางออกนอก ประเทศเพือ่ ไปแสวงหาโอกาสใหม่ๆ เช่นกัน อีกเหตุผล ก็คือความเจือจางของค่านิยมการแต่งงานภายใน เชื้อชาติเดียวกันของชาวสิงคโปร์รุ่นใหม่นั่นเอง พอลลิน สตรอจกัน (Paulin Straughan) นักสังคมวิทยาจากมหาวิทยาลัยการจัดการแห่ง สิงคโปร์ (Singapore Management University) กล่าวว่า “จำ�นวนคู่แต่งงานต่างเชื้อชาติที่เพิ่มขึ้นนี้ เป็นอีกหนึง่ ความหวังของการผสมผสานด้านเชือ้ ชาติ ซึ่งย่อมส่งผลให้สิงคโปร์กลายเป็นเบ้าหลอมทาง วั ฒ นธรรมที่ แ ท้ จ ริ ง เพราะการแต่ ง งานคื อ การ แสดงออกทีช่ ดั เจนถึงการยอมรับคูช่ วี ติ ทีม่ คี วามต่าง และยั ง สะท้ อ นว่ า การแต่ ง งานในลั ก ษณะนี้ ไ ม่ ใ ช่ เรื่องแปลกสำ�หรับสังคมสิงคโปร์อีกต่อไป” จากจำ�นวนคูแ่ ต่งงานต่างเชือ้ ชาติทเ่ี พิม่ ขึน้ พบว่า คนรุ่นใหม่ท่มี ีการศึกษามากขึ้นมักมีแนวโน้มที่จะให้ เสรีภาพกับการเลือกคูค่ รองทีไ่ ม่จ�ำ กัดเฉพาะเชือ้ ชาติ เดียวกัน นีจ่ งึ อาจเป็นข่าวดีของรัฐบาล เพราะปัจจุบนั สิงคโปร์ขน้ึ ชือ่ ว่าเป็นประเทศทีม่ อี ตั ราการแต่งงานน้อย และมีแนวโน้มประชากรเด็กเกิดใหม่ขาดแคลน ในปี 2017 มีคแู่ ต่งงานจำ�นวน 28,212 คู่ เพิม่ ขึน้ เพียง 0.9% จากที่ปี 2016 ที่มคี แู่ ต่งงาน 27,971 คู่ เมื่อบวกกับการที่ ประชากรส่วนใหญ่จะแก่ชราลง ซึง่ หากไม่สามารถเพิม่ ประชากรได้ สิงคโปร์กจ็ ะต้องพบกับภาวะวิกฤตคนวัยทำ� งานลดตํา่ ภายในปี 2020 นีอ่ าจเป็นอีกหนึง่ เหตุผลที่ ทำ�ให้โอกาสในการเกิดพรหมลิขติ ข้ามเชือ้ ชาติเป็นไป ได้ง่ายขึ้นและถูกขัดขวางน้อยลงในอนาคต


The Creative : มุมมองของนักคิด

มั่วหรือฉลาดแก้ปัญหา เน้นความง่าย หรือเป็นความถนัดเฉพาะตัว

จากซ้ายไปขวา : หมี-พิบูลย์ อมรจิรพร, ต้น-วรพงศ์ มนูพิพัฒน์พงศ์, พลอย-พลอยพรรณ ธีรชัย, เด-เดชา อรรจนานันท์ และดิว-ดุลยพล ศรีจันทร์

Design PLANT ตามหาสัญชาตญาณงานออกแบบไทย ที่อยู่ในดีเอ็นเอของเราทุกคน เรื่อง : ปิยพร อรุณเกรียงไกร และ พัชรินทร์ พัฒนาบุญไพบูลย์ ภาพ : ภีร์รา ดิษฐากรณ์ CREATIVE THAILAND I 28


เราชวนสมาชิกบางส่วนของ Design PLANT มานั่งพูดคุยกันตั้งแต่เบื้องหลังของนิทรรศการ ประเด็ น ความเป็ น ไทยกั บ การลอกเลี ย นแบบ ไปจนถึ ง ความเป็ น ไปได้ ข องการส่ ง ออกงาน ออกแบบไทยแบบยกแพ็กสำ�เร็จ บทสัมภาษณ์นไี้ ม่ได้บอกว่า “ความเป็นไทย คืออะไร” แต่จะพาผู้อ่านไปตั้งคำ�ถาม ขบคิด และหาคำ�ตอบไปพร้อมกัน ทำ�ไม Design PLANT จึงสนใจค้นหา สั ญ ชาตญาณของงานออกแบบไทย ผ่านนิทรรศการนี้ เด: นิทรรศการ ‘Design Instinct’ เป็นภาคต่อ ของนิทรรศการ ‘Bangkok Object’ ที่ทำ�ในปีที่ แล้วเกีย่ วกับการค้นหาตัวตนของนักออกแบบและ สิง่ ของในกรุงเทพฯ ครัง้ นีเ้ ราขยายภาพให้กว้างขึน้ เพือ่ ให้เห็นว่า จริงๆ แล้วนักออกแบบไทยมีวธิ กี าร ที่ใช้ในการออกแบบบ่อยๆ แต่ยังไม่เคยมีใคร เรียบเรียงหรือจัดกลุ่มให้ชัดเจน เราสนใจชีวิต ประจำ�วันของคนทั่วไปว่า เขามีวิธีสร้างสรรค์ สิ่ ง ของหรื อ แก้ ปั ญ หาด้ ว ยวิ ธี ก ารแบบไหน แล้วจำ�ลองวิธีการเหล่านั้นด้วยกระบวนการของ นั ก ออกแบบที่ ผ่ า นการฝึ ก ฝนเชิ ง ความคิ ด สร้างสรรค์ เข้าใจและจัดการวัสดุแบบมืออาชีพได้ มั น เป็ น งานกึ่ ง ทดลองและค้ น หาคำ � ตอบไป พร้อมกัน

“ความเป็นไทยคืออะไร” ไม่ใช่คำ�ถามแปลกใหม่ในปี 2562 แทบทุกอุตสาหกรรม วงการออกแบบ โฆษณา แฟชั่น ศิลปะ และธุรกิจเอสเอ็มอี ต่างคุ้นเคยกับการใช้ ต้นทุนความเป็นไทยมาต่อยอดสร้างมูลค่า แต่จนถึงวันนีเ้ ราก็ยงั ได้ยนิ เสียงวิพากษ์ วิจารณ์ทำ�นองว่า “แบบนี้ไม่เห็นจะไทย” ในงาน Bangkok Design Week 2019 เราได้ชมนิทรรศการ Design Instinct บนบ้านพักตำ�รวจนํ้า ในซอยเจริญกรุง 36 ซึง่ เป็นผลงานของ Design PLANT กลุม่ นักออกแบบรุน่ ใหม่กว่า 33 ทีม ที่รวมตัวกัน นำ�เสนอสัญชาตญาณการออกแบบของคนไทย Design PLANT ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นแพลตฟอร์มของ นักออกแบบรุน่ ใหม่ โดย พลอย-พลอยพรรณ ธีรชัย และ เด-เดชา อรรจนานันท์ THINKK Studio, ต้น-วรพงศ์ มนูพพิ ฒั น์พงศ์ และ ฟาง-อดา จิระกรานนท์ แห่ง Atelier2+, หมี-พิบลู ย์ อมรจิรพร จาก Plural Designs, ดิว-ดุลยพล ศรีจนั ทร์ จาก PDM และ ตัม้ -กฤษณ์ พุฒพิมพ์ จาก dots designs studio CREATIVE THAILAND I 29

หมี: เราพยายามหาคำ�นิยามของงานออกแบบไทย ที่ชัดขึ้น หากพูดถึงงานออกแบบของประเทศ อื่นๆ เช่น งานออกแบบของญี่ปุ่น หรืออิตาลี เราพอมองเห็นว่ามีแนวทางบางอย่างและอยาก ค้ น หาว่ า งานออกแบบของไทยมี เ อกลั ก ษณ์ วิธีการ หรือจุดร่วมกันอย่างไร ต้น: แต่ละสตูดิโอทำ�งานแนวคอมเมอร์เชียล อยู่แล้ว แต่งานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ Bangkok Design Week เราเลยอยากทำ�นิทรรศการที่ สะท้อนถึงเมืองที่เราอยู่ ฉะนั้นภาพรวมของงาน จะไปในโทนเดียวกัน เพือ่ ให้เข้าใจง่ายและชัดเจน ‘สัญชาตญาณ’ ในที่นี้หมายถึงอะไร เด: เรารู้สึกว่าคนทั่วไปในเมืองไทยมีวิธีจัดการ กับสิ่งที่เขาอยากได้ อยากแก้ปัญหาด้วยวิธีการ บางอย่าง เขาอาจจะไม่รู้ว่ามันคือการออกแบบ


อย่างหนึง่ เช่น การหยิบจับของใกล้ตวั มาประดิษฐ์และแก้ปญั หาเฉพาะหน้า จนได้ฟงั ก์ชนั ทีเ่ ขาต้องการ เรารูส้ กึ ว่ามันเป็นวิธกี ารทีค่ นไทย ชาวบ้าน หรือ แม่ค้าใช้กันบ่อยๆ ความเป็นนักออกแบบมันอยู่ในทุกคนด้วยครับ ไม่ใช่แค่ ดีไซเนอร์ เราเห็นว่าแต่ละคนมีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบอะไร ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในชีวิตประจำ�วัน พลอย: เรานึกถึงถุงนํ้าที่มีหูหิ้ว ซึ่งมาจากถุงพลาสติกที่ร้อยหนังยาง เราไม่รวู้ า่ ใครออกแบบ แต่เรามองเป็นการออกแบบอย่างหนึง่ และอยากลอง ใช้วิธีนี้มาทำ�นิทรรศการ หมี: ‘สัญชาตญาณ’ เป็นคำ�ทีฟ่ ังแล้วเข้าใจง่าย พอเราบอกว่าเป็นงาน ออกแบบ คนทั่วไปอาจรู้สึกว่ามันไกลตัว แต่สัญชาตญาณมันอยู่ในดีเอ็นเอ ของเรา ดิว: เราแค่ตั้งคำ�ถามขึ้นมาในรูปแบบใหม่ว่า ทำ�ไมเป็นแบบนี้ ทำ�ไมบ้านเรา ใช้ของชิ้นนี้ เช่น งาน ‘ซู ฉี (Shu Xi: Street Shabu Table)’ ก็เป็นวิธีการ คิดแบบเดียวกัน การออกแบบมีหลายส่วน ไม่ได้หมายความว่าคุณต้อง ออกแบบสเก็ตช์เยอะๆ ทำ�โมเดลเยอะๆ แล้วหาโซลูชนั เราแค่ตอ้ งการทำ�ให้ วิธคี ดิ ง่ายขึน้ แต่ดว้ ยความเป็นนักออกแบบ เราจะดูวา่ สิง่ ทีเ่ ราคิดไปเปิดรูรวั่ ตรงอื่นหรือเปล่า เช่น ทำ�ให้คนอื่นทำ�งานง่ายขึ้นหรือยากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น สัญชาตญาณ หรือกระบวนการที่ซับซ้อน สุดท้ายแล้วสิ่งที่คุณทำ�มันต้อง ดีขึ้น ไม่ทางใดทางหนึ่ง ถ้าทุกทางเลยก็จะดีมาก ทำ�ไมคนทัว่ ไปต้องลุกขึน้ มาแก้ปญ ั หาเอง จนเกิดงานออกแบบ ลักษณะนี้ขึ้นมา เด: เพราะว่าบ้านเรามีปญั หาเยอะ (หัวเราะ) นีค่ อื เรือ่ งจริง เราต้องแก้ปญั หา ตลอดเวลา นํ้าท่วมบ้าง ของใช้งานไม่สะดวก เดินไม่สะดวก เราก็เลยถูก ท้าทายความคิดตลอดเวลาว่าจะเอาอะไรมาแก้ปัญหา วิธีการที่ใช้ก็คือ หยิบจับของใกล้ตัวมาพลิกแพลง พัน ต่อประกอบ ด้วยวิธีการง่ายๆ แต่มัน เป็นเสน่ห์บางอย่าง ซึ่งที่อื่นอาจจะมีไม่มากเท่านี้ เพราะเขาไม่ได้เจอปัญหา บ่อยเท่าเรา

เพราะคนทัว่ ไปยังรูส้ กึ ว่างานออกแบบไทยยังไม่ใกล้ตวั สำ�หรับ พวกเขาด้วยหรือเปล่า พลอย: ใช่ คนมักจะคิดว่างานออกแบบเป็นของแพง ฟุ่มเฟือย ไม่จำ�เป็น แต่เราอยากพูดว่าการออกแบบมันใกล้ตวั มาก มันคือการแก้ปญั หาชนิดหนึง่ ซึ่งอาจทำ�ให้ดีขึ้นหรือสวยขึ้นได้ แต่ไม่ใช่เรื่องไกลตัว จริงๆ แล้วทุกคน ออกแบบได้เหมือนกัน หมี: ผมรู้สึกว่าเราต้องทำ�ไปด้วยกันในหลายๆ ทิศทาง เรามีทั้งวัฒนธรรม แบบไทยมากๆ ที่ส่งต่อมาจากในอดีต ซึ่งก็ต้องอนุรักษ์ไว้ แต่เราอยากลอง ทำ�อีกขาหนึ่งที่ยังเป็นวัฒนธรรมที่อยู่ในชีวิตประจำ�วัน คือค่านิยมที่เรา ทำ�ซํ้าๆ กัน จนเป็นที่ยอมรับและเกิดการสืบทอด ถ้าเราอยากให้วัฒนธรรม เหล่านี้ยังมีชีวิต เราก็ต้องเอามาปรับใช้ ต้น: วัฒนธรรมต้องปรับตัวตามสมัย ไม่งั้นมันจะตาย ดิว: เราไม่คอ่ ยตัดสินว่าแบบนีไ้ ม่ควรทำ� แต่เราจะบอกว่าคุณทำ�เลย เป้าหมาย ของเราคือทำ�ให้งานออกแบบเป็นเรือ่ งปกติ เป็นเรือ่ งใกล้ตวั เกิดเสียงวิพากษ์ วิจารณ์ระหว่างนักออกแบบด้วยกันได้ เพื่อทำ�ให้การออกแบบพัฒนาไป ข้างหน้า และทำ�อย่างไรให้ไอเดียกลายเป็นของสาธารณะ ทำ�ไมการทำ�ไอเดียให้เป็นสาธารณะจึงสำ�คัญ แทนที่จะหวง ไอเดียของตัวเอง ทั้งที่มันสร้างมูลค่าได้ ดิว: เป้าหมายของนิทรรศการนี้คือ ทำ�ให้คนเข้าใกล้งานออกแบบมากขึ้น รู้ สึ ก ว่ า การออกแบบเป็ น เรื่ อ งปกติ แต่ เ รื่ อ งการทำ � งานเป็ น วิ ช าชี พ มี รายละเอียดมากกว่าแค่โชว์ไอเดียแล้วจบไป กว่าไอเดียจะเป็นจริงได้ ใช้ได้ จริง มันผ่านกระบวนการมาก่อน เสน่ห์อีกอย่างของ Design PLANT คือ ทำ�ให้นักออกแบบรุ่นใหม่ที่ยังเรียนอยู่และเรียนจบแล้ว ได้มาแสดงงานกับ รุ่นพี่ที่มีประสบการณ์ ทำ�ให้เขาเรียนรู้ได้เร็วมากว่าต้องพัฒนาอะไรอีกบ้าง ในขณะเดียวกันรุ่นพี่ก็ต้องเปิดรับและให้โอกาสกับคนรุ่นใหม่

พลอย: บางทีเราไม่ได้คิดเรื่องความงามหรอกค่ะ แต่มันกลายเป็นเรื่อง เอกลักษณ์ของคนไทยทีห่ ยิบจับของใกล้ตวั มาปรับใช้มว่ั ๆ แล้วเกิดฟังก์ชนั ใหม่ ขึ้นมา เราก็มองว่าเป็นความน่ารักอีกแบบหนึ่ง

พลอย: เรามองว่าเดี๋ยวนี้โลกมันแคบลง เราสามารถเข้าถึงข้อมูลได้เร็วมาก ถ่ายรูปลงอินเทอร์เน็ตแป๊บเดียว คนก็เห็นแล้ว เราไม่คิดว่าไอเดียเป็นสิ่งที่ ต้องหวงไว้ แต่ควรจะแบ่งปันความรู้แล้วให้เขาไปปรับใช้เอง แต่ในมุมของ อาชีพ นักออกแบบมีลายเซ็นไม่เหมือนกันอยู่แล้ว นั่นเป็นเรื่องความภาค ภูมิใจของเราเอง

คาดหวังอะไรจากผูช้ ม หรืออยากให้เขาเอาความรูส้ กึ แบบไหน กลับไปด้วย ต้น: มีช่วงหนึ่งเราพยายามจะสร้างภาษาของงานออกแบบไทยร่วมสมัย โดยหยิบเอาประวัติศาสตร์หรือองค์ประกอบในอดีต มาหาคำ�นิยามใหม่ นั่นเป็นแนวทางหนึ่ง แต่นิทรรศการนี้ก็เป็นการนำ�เสนออีกแนวทางหนึ่ง ผมเชื่อว่าในเมื่อเราเป็นคนไทย อยู่ในประเทศไทย ออกแบบอย่างไร ก็จะมี ความเป็นไทยอยู่ดี สัญชาตญาณการออกแบบของไทยอาจจะอยู่ในตัวเรา แค่เราเลือกมุมที่อยากจะพูด ไม่ได้บอกว่าแบบไหนถูกหรือผิด

เราจะแยกความแตกต่างระหว่าง ‘เลียนแบบ’ กับ ‘ต่อยอด’ ได้อย่างไร หมี: ผมคิดว่าสมัยนี้ความเป็นออริจินัลมันไม่ได้ดูจากสิ่งที่มองเห็นภายนอก แล้ว มันสัมพันธ์กันเป็นบริบท ทั้งแนวความคิด และสถานที่ใช้งาน บางที เราเอารูปร่างรูปทรงจากงานหนึ่งมาใช้กับอีกงานหนึ่ง ก็เกิดเป็นงานใหม่ได้ ถ้ามันถูกที่ถูกทาง เกิดเรื่องราวบางอย่างที่จะสื่อสารออกไป ผมว่าหลายๆ อย่างมันประกอบกัน ไม่ใช่ว่าเอาเส้นโค้งของอันนี้มาวาง แล้วเราบอกว่า มันคือการก๊อปปี้ ผมว่ามันไม่ใช่แค่นั้น

CREATIVE THAILAND I 30


การลอกเลี ย นแบบผลงานถื อ ว่ า เป็ น การลดทอนคุ ณ ค่ า ตัวงานไหม หมี: ถ้ามองในมุมงานทักษะฝีมือ จริงๆ การทำ�ซํ้ามันเป็นการฝึกฝนให้ งานมันเกิดคุณภาพมากขึ้น เกิดความประณีตมากขึ้น เช่น งานฝีมือ งานหัตถกรรมพื้นบ้าน งานจักสานที่ทำ�กันทั่วประเทศเลย แต่ละพื้นที่นำ�ไป พัฒนาให้แตกต่างกัน มันอาจจะมีแค่เส้นบางๆ แบ่งระหว่างงานออกแบบ กับงานที่ต่อยอด รวมไปถึงงานที่ลอกเลียนแบบ เรานำ�ภูมิปัญญามา ต่อยอดได้ แต่ถ้าเป็นเรื่องงานออกแบบก็ต้องดูหลายๆ อย่างประกอบกัน ไม่ใช่พิจารณาทีละเรื่อง แล้วบอกว่านี่คือการลอกเลียนแบบ เด: ต้องมองเจตนาของคนทำ�งานออกแบบนั้นๆ ด้วยครับ ไม่ใช่ว่าทุกครั้ง เราต่อยอดจากงานดีไซน์ของคนอื่นมาเป็นงานของเราเพียงอย่างเดียว เราควรกลับไปดูประวัติศาสตร์ ศิลปะ งานออกแบบ ภูมิปัญญาดั้งเดิมบ้าง ไม่ใช่เอารูปลักษณ์ภายนอกจากดีไซเนอร์คนหนึ่งมาทำ�งานต่อ หรือว่าความเป็นออริจินัล (Originality) ไม่มีอยู่จริง ในเมื่อ เราต่างก็หยิบยืม เคลื่อนย้ายวัฒนธรรมมาปรับใช้ ทุกคน: จริงๆ มีนะ พลอย: เรามองว่าการก๊อปปีก้ เ็ ป็นวิธเี รียนรูแ้ บบหนึง่ แต่มนั อยูท่ เี่ จตนาจริงๆ เช่น เราเห็นของสวยราคาแพง แต่อยากให้ราคามันถูกลง เราจะดึงตรงไหน มาทำ�ให้มนั ถูกลงได้ แต่ไม่ใช่กอ๊ ปปีม้ า 100% ถามว่าพวกเราโดนก๊อปปีง้ านไหม โดนค่ะ มันมีหลายรูปแบบ เช่น ใช้วัสดุเหมือนกัน ปรับรูปทรงนิดหน่อย อีกวิธีการหนึ่งก็คือ การใช้วัสดุที่ถูกลง แต่หน้าตาเหมือนกันเลย เราแค่ คาดหวังว่าการก๊อปปี้ที่ดี มันควรจะต่อยอดไปในบริบทอื่น ที่ไม่ใช่ว่าก๊อปปี้ มาเพื่อที่จะขายเหมือนกัน

ทุกวันนีเ้ ราเห็นการเคลือ่ นย้ายของวัฒนธรรมต่างชาติมาสร้าง มูลค่าในไทยเยอะมาก นักออกแบบไทยต้องปรับตามรสนิยม ที่เปลี่ยนเร็วนี้ไหม เด: ในมุมการทำ�งาน ถือว่าเราเริ่มทำ�งานได้ง่ายขึ้นในภาษาเดียวกันกับ คนทัว่ โลกมากขึน้ ในขณะเดียวกันเรามีตน้ ทุนทีน่ า่ สนใจเชิงวัสดุ และต้นทุน ทางวัฒนธรรม ทำ�ให้งานของเราทีเ่ ป็นภาษาสากล มีเสน่หแ์ ละมีจดุ แตกต่าง ผมมองว่าเป็นข้อได้เปรียบทีเ่ รามีหรือควรเอามาใช้ แทนทีจ่ ะเป็นภาษาสากล ที่เหมือนกันไปหมด เราก็บวกต้นทุนเข้าไปให้กลายเป็นภาษาของเรา ถึงแม้ว่าเขาจะยกเชียงใหม่ไปไว้ที่เสิ่นเจิ้น หรือแม้ว่าคนไทยจะ เอาปาลิโอมาไว้ที่เขาใหญ่ มันก็ไม่เหมือนกันใช่ไหม หมี: ใช่ ไอเดียเคลื่อนย้ายได้ วัฒนธรรมอาจจะถูกส่งออกได้ แต่เรื่องวิธีการ ลงมือทำ� (Execution) มันแตกต่างตามบริบทของพืน้ ที่ ในฐานะนักออกแบบ เรารู้สึกว่ายังมีแนวทางอื่นๆ ที่ไม่ต้องเอามาทั้งหมด พลอย: ถามว่าทำ�ไมเขาถึงก๊อปปี้เวนิสมาไว้ที่เมืองไทย มันก็มีคนที่อยากไป แต่ไม่มีโอกาสได้ไป แล้วเขาก็ได้มาสัมผัสประสบการณ์หรือบรรยากาศ ประมาณนี้ ก็ถือเป็นเหตุผลที่ดีนะ หรือแบรนด์ MINISO ที่ก๊อปปี้แบรนด์ MUJI มา มันก็มีกลุ่มคนที่ไม่สามารถซื้อได้ ต้องดูว่าความตั้งใจของเขาคือ การก๊อปปี้ 100% หรือเพื่อให้คนในตลาดอื่นๆ ได้เข้ามาใช้ของดีๆ บ้าง

CREATIVE THAILAND I 31


การที่เราต้องเสพวัฒนธรรมอืน่ ที่น�ำเข้ามา ทัง้ ทีเ่ ราก็มวี ฒ ั นธรรมของเราอยู่ แสดงว่าวัฒนธรรมของเรา ท�ำหน้าทีบ่ างอย่างบกพร่องหรือเปล่า การคัดลอกวัฒนธรรมแบบยกแพ็กมักจะพบเห็นได้ในแถบ เอเชีย หรือจริงๆ แล้วเราก็คัดลอกหยิบยืมกันหมด หมี: จุดประสงค์หนึ่งของการออกแบบ ก็เพื่อทำ�ให้คุณภาพชีวิตของคนดีขึ้น เช่น การผลิตจำ�นวนเยอะ (Mass Production) ในอดีตเพื่อให้คนทั่วไปมี ของใช้ แทนที่จะผลิตใช้กันเฉพาะคนระดับบน แค่ตอนนี้มันอาจเร็วขึ้นและ เห็นชัดกว่า ถามว่ายกเวนิสมาที่นี่ผิดไหม ถ้ามองในเชิงบริบท เราอาจต้อง กลับมาตั้งคำ�ถามว่า การที่เราต้องเสพวัฒนธรรมอื่นที่นำ�เข้ามา ทั้งที่เราก็มี วัฒนธรรมของเราอยู่ แสดงว่าวัฒนธรรมของเราทำ�หน้าทีบ่ างอย่างบกพร่อง หรือเปล่า บางครัง้ เรารูส้ กึ ว่าความเป็นไทยมันถูกแช่แข็งไว้วา่ ต้องแบบนี้ และ อาจจะขาดการพัฒนาทีต่ อ่ เนือ่ ง เราควรปรับให้อยูใ่ นชีวติ ประจำ�วันได้ ไม่ใช่ เป็นของที่ไว้โชว์เฉยๆ เป็นไปได้ไหมว่าถ้าเราจะแพ็กวัฒนธรรมของเราแล้วส่งออก ไปต่างประเทศบ้าง หรือคิดว่าวิธีนี้จะสร้างมูลค่าได้ไหม เด: อาจต้องใช้เวลา ถ้าเราจะเอาวัฒนธรรมของเราส่งออกไปแบบนัน้ แต่จริงๆ มีหลายอย่างที่ไปได้แล้ว เช่น อาหาร การท่องเที่ยว สปา โรงแรม รีสอร์ต ทีจ่ ริงเราสามารถสอดแทรกวงการอืน่ ๆ แฝงเข้าไปในวัฒนธรรมเหล่านัน้ เช่น เฟอร์นิเจอร์ในร้านอาหาร สปา ผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในธุรกิจเหล่านั้น พลอย: คิดว่าตอนนี้เป็นแบบนั้นแล้วนะคะ สมัยก่อนร้านอาหารไทย คนจะ นึกถึงภาพหุ่นไม้ยกมือไหว้ กับลายแกะสลัก แต่เดี๋ยวนี้กลายเป็นสตรีทฟู้ด ดังนั้นเราต้องคิดแล้วว่าทำ�ไมคนถึงอยากมาเที่ยวประเทศไทย ทำ�ไม กรุงเทพฯ ยังคงเป็นจุดหมายปลายทางอันดับต้นๆ ของโลก บางทีวฒั นธรรม ของเรามีเรื่องของความถูกผิดบางอย่างที่เราแตะไม่ได้ การที่คนไทยรับและ ชื่นชอบวัฒนธรรมอื่นๆ ได้เร็ว อาจเป็นเพราะว่าเรายังไม่รู้จักวัฒนธรรมนั้น ลึกซึ้ง หรือเราอาจจะคิดว่ามันดี ก็เลยรับมา มันเหมือนเป็นการเรียนรู้และ ปรับตัว การออกแบบของเราก็เริ่มต้นแบบนั้น ตอนแรกนักออกแบบอาจจะ ชอบงานออกแบบสแกนดิเนเวียนหรือมินิมัลแบบญี่ปุ่น แล้วค่อยๆ นำ�มา ปรับให้เข้ากับบริบท จนกลายเป็นงานออกแบบของตัวเอง หมี: บางทีเราอาจจะต้องเปิดกว้างกับการวิพากษ์วิจารณ์ มันไม่มีชิ้นงานที่ เพอร์เฟ็กต์ตั้งแต่แรก เวลาเราทำ�งานออกแบบ มันไม่มีถูกไม่มีผิด เราต้อง พัฒนา ทดลองทำ� หรืออย่างน้อยเห็นผ่านตาเรือ่ ยๆ ว่าองค์ประกอบของไทย

มีที่มาอย่างไร มาจากไหน เราอาจจะไม่ต้องเอามาใช้ทั้งหมด แต่หยิบ บางอย่างมาใช้ มันก็จะพัฒนาต่อไปได้ เห็ น แนวโน้ ม ของนั ก ออกแบบรุ่ น ใหม่ ที่ เ ปิ ด กว้ า งมากขึ้ น บ้างไหม หรือเราควรจะปูพื้นให้เด็กรุ่นใหม่อย่างไรบ้าง หมี: หลักสูตรที่เราเรียนการออกแบบสมัยมหาวิทยาลัย ก็เป็นหลักสูตรที่เรา รับมาจากต่างชาติ เราทำ�งานออกแบบมา 10-20 ปี แล้วถึงเริ่มย้อนกลับ มาดู และแกะรอยว่าข้าวของที่เป็นวัฒนธรรมของเรามีหน้าตาเป็นอย่างไร สมัยก่อนเราออกแบบเก้าอี้บนพื้นฐานของวัฒนธรรมตะวันตก เพราะฉะนั้น ก็ต้องใช้เวลา แต่ยังไม่มีการนำ�งานออกแบบไทยมาวิเคราะห์ว่าทำ�ไม ตัง่ ถึงเป็นแบบนี้ รูปทรงมันอาจจะไม่ใช่ไทยแท้กไ็ ด้ อาจจะรับอิทธิพลมาจาก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือช่างจีน แต่เราไม่ได้พูดถึงกันเป็นเรื่องราว ต้น: งานออกแบบไม่ใช่วัฒนธรรมของเราตั้งแต่แรก วัฒนธรรมของเรา น่าจะเป็นงานฝีมือมากกว่า งานออกแบบเป็นสิ่งใหม่สำ�หรับบ้านเราด้วย พลอย: นักเรียนออกแบบไทยเราเรียนหลักสูตรสากลกันมาก่อน พอเริ่มทำ� จนเข้าใจแล้ว ก็อยากกลับไปหารากของเรา เวลามีคนถามเราว่างานออกแบบไทย เป็นอย่างไร เราไม่สามารถตอบได้เต็มปากเต็มคำ�ว่ามันคืออะไร เราก็ต้อง กลับไปดูว่ามีอะไรบ้างที่จะใช้นิยามว่าเป็นงานออกแบบไทย พบคำ � ตอบ ผลลั พ ธ์ หรื อ ได้ เ รี ย นรู้ อ ะไรจากการค้ น หา สัญชาตญาณความเป็นไทยในงานออกแบบในนิทรรศการนี้ พลอย: จริงๆ มันก็เป็นอีกหนึ่งวิธีการนะคะ เราไม่ได้บอกว่ามันเป็นคำ�ตอบ สุดท้าย ตอนที่เรานั่งคุยกันว่าจะตั้งโจทย์อะไรต่อจาก Bangkok Object เราอยากทำ�เรือ่ งงานออกแบบไทย จนมาจบทีค่ �ำ ว่า “Design Instinct” เพราะ เรามองว่ามันมีความเป็นไทยที่ฝรั่งมองเห็น เช่น หนังสือ Very Thai เขาเห็น ความเป็นไทยแบบหนึง่ ขณะทีเ่ ราไม่เคยนำ�มานิยามเอง ทุกคนก็เลยตีโจทย์ กันว่า Design Instinct ของแต่ละคนคืออะไร สุดท้ายแล้วมันเป็นเรื่อง การแก้ไขปัญหา นิสยั ชอบหยิบจับอะไรมาปรับใช้งา่ ยๆ หรือสบายๆ แบบไทย ก็เป็นสิง่ ทีบ่ ง่ บอกถึงความเป็นไทยได้ ทีไ่ ม่ใช่แนวทางของศิลปวัฒนธรรมชัน้ สูง เด: ผมคิดว่ามันสรุปได้เป็นความหลากหลายจากโจทย์อันเดียวกัน คือ ‘สัญชาตญาณ’ พอผ่านประสบการณ์ของแต่ละคน ความถนัดเฉพาะตัวของ แต่ละคนแล้ว สุดท้ายผลลัพธ์ทไ่ี ด้ออกมามันแตกต่างกัน เราสามารถใช้วธิ กี าร เดียวกันได้ ผ่านความถนัดและประสบการณ์ของแต่ละคน ทำ�ให้เกิดความ แตกต่างหลากหลายได้ไม่มีที่สิ้นสุด ต้น: เราทำ�นิทรรศการกันหลายคน เลยคิดว่ามันมีประเด็นที่แต่ละคนเข้าไป สำ�รวจศึกษา มีผลงานทีพ่ ดู ถึงการนำ�ของสำ�เร็จรูป (Ready-made Object) มาดัดแปลง บางงานคิดถึงวิธีการแบบบ้านๆ แล้วเอามาต่อยอดเป็น งานออกแบบ หรือเรื่องการหยิบจับสิ่งที่มีวัฒนธรรมอยู่ในนั้น แล้วนำ�มา ออกแบบใหม่ ผมมองว่าถ้านักออกแบบคนเดียวทำ�นิทรรศการนี้ จะต้อง ออกแบบงาน 30-40 ชิ้น มันก็จะไม่ได้มีความน่าสนใจมากเท่านี้

CREATIVE THAILAND I 32



Creative Will : คิด ทํา ดี

STORIES FOR ALL

จงเป็นตัวเอกและเป็นตัวเอง

storyforall.org

เรื่อง : วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ

“แม่ครับ ทำ�ไมไม่มใี ครในหนังสือเป็นเหมือนผมเลย” คือคำ�ถามของเด็กชาย ผิวสีในวัย 7 ขวบทีถ่ ามแม่ของเขาเมือ่ ได้อา่ นหนังสือชุด ‘The Magic House’ ซึ่งมีเหล่าเด็กอเมริกันผิวขาวรับบทเป็นตัวเอกตลอดทั้งเรื่อง แน่นอนว่า คำ�ถามนี้ทำ�ให้ผู้เป็นแม่อย่างจูดี้ ดอดสัน (Judy Dodson) รู้สึกจุกที่อก เธอตัดสินใจลุกขึน้ มาเขียนหนังสือ ‘Micah’s Magic’ โดยให้เด็กผิวสีเป็นตัวเอก ดำ�เนินเรื่องแทน 10 ปีต่อมา จูด้ตี ัดสินใจยื่นต้นฉบับหนังสือเรื่องนี้ให้กับ สำ�นักพิมพ์แห่งหนึง่ พิจารณาตีพมิ พ์และหวังว่าเด็กๆ ในวันข้างหน้าจะไม่รู้สึก แปลกแยกเหมือนกับที่ลูกของเธอเคยรู้สึก เช่นเดียวกับคุณแม่อีกคนอย่าง เกีย เบิร์ด (Kia Byrd) ที่ก็กังวลกับ ประเด็นความไม่หลากหลายทีป่ รากฏในหนังสือเด็กเช่นกัน เธอมักตรวจสอบ เนือ้ หาในนิทานทีซ่ อื้ ให้ลกู ผิวสีของเธอก่อนเสมอว่า ลูกของเธอจะได้เห็นภาพ ตัวเองในเรื่องราวที่ได้อ่าน “ฉันอยากให้ลูกรู้ว่าในโลกนี้มีผู้คนอีกมากที่ เหมือนกับเธอและสามารถทำ�ในสิ่งที่ยิ่งใหญ่ได้ ฉันคิดว่ามันเป็นเรื่องสำ�คัญ

ทีจ่ ะต้องมีหนังสือทีค่ อยบอกเด็กๆ ว่า มันโอเคนะทีจ่ ะเป็นตัวเอง และพวกเขา ก็แตกต่างและโดดเด่นได้อย่างที่พวกเขาเป็น” เกียกล่าว ย้อนไปในปี 2017 ประเด็นเรือ่ งการขาดความหลากหลายในหนังสือเด็ก นั้นไม่ใช่เรื่องเล็กๆ เพราะเคยมีการเคลื่อนไหวของนักเขียน ผู้ปกครอง นักการศึกษา และสำ�นักพิมพ์ในสหรัฐฯ ได้ออกมาเรียกร้องให้สงั คมตระหนัก ถึงประเด็นดังกล่าวกันอย่างกว้างขวางจน #WeNeedDiverseBooks กลายเป็น ไวรัลแคมเปญที่มีคนในโลกออนไลน์ร่วมกันแสดงความคิดเห็นกันอย่าง ท่วมท้น ว่าอยากจะเห็นหนังสือที่เปิดรับความหลากหลายทั้งเรื่องสีผิว เพศ เชื้อชาติ ศาสนา และสถานะทางสังคมเป็นจำ�นวนมากกว่าหนึ่งแสน ทวีต เพราะผลสำ�รวจโดยมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน-แมดิสัน (University of Wisconsin-Madison) เรื่องความหลากหลายของสีผิวที่ปรากฏในตัวละคร ของนิทานเด็กเฉพาะในสหรัฐฯ จำ�นวน 3,700 เรื่อง เผยให้เห็นตัวละครที่ ไม่ได้มีผิวขาวเพียง 1 ใน 4 เท่านั้น ต่างจากความจริงที่ว่าสังคมอเมริกันมี เด็กผิวขาวจริงๆ เพียงครึ่งหนึ่ง คำ�ถามคือ ในเมื่อเด็กผิวขาวไม่ได้เป็น คนกลุ่มหลักของประชากรเด็กทั้งหมด ทำ�ไมเรายังไม่เห็นเด็กสีผิวอื่นๆ ได้ออกมาเฉิดฉายและกลายเป็นตัวเอกในนิทานของพวกเขากันบ้าง และนัน่ เป็นเพราะความไม่มนั่ ใจของสำ�นักพิมพ์ทไี่ ม่กล้าเสีย่ งลงทุนกับหนังสือทีไ่ ม่มี เด็กผิวขาวตามขนบเดิมๆ รับบทเป็นตัวละครเอก ‘First Book’ องค์กรไม่แสวงหากำ�ไรเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ เด็กๆ ในสังคมคือหน่วยงานที่ออกมาท้าทายความเชื่อนี้ ไคล์ ซิมเมอร์ (Kyle Zimmer) ซีอีโอและผู้ก่อตั้งได้พัฒนาโครงการที่ชื่อว่า ‘Stories for All’ มาตั้งแต่ปี 2013 เพื่อสนับสนุนให้สำ�นักพิมพ์ตีพิมพ์หนังสือเด็กที่ชูประเด็น ความหลากหลายทุกด้าน โดยหนังสือทีผ่ า่ นการคัดเลือกจากโครงการจะได้รบั การการันตีว่าจะถูกซื้อเป็นจำ�นวน 10,000 เล่ม ดังนั้นนักเขียนที่ต้องการ เขียนถึงเรือ่ งราวใหม่ๆ ผ่านความหลากหลายของตัวละครรวมถึงตัวสำ�นักพิมพ์ เองจึงมีความมัน่ ใจทีจ่ ะเขียนและตีพมิ พ์มากขึน้ เพราะมีลกู ค้าเจ้าใหญ่อย่าง Stories for All คอยให้การสนับสนุน และหนังสือเหล่านี้ ส่วนหนึง่ จะถูกนำ�ไป บริจาคให้กับเด็กที่ยากไร้ในสังคม อีกส่วนจะนำ�ไปจำ�หน่ายให้กับสมาชิก ทีเ่ ป็นองค์กรการศึกษาสำ�หรับเด็กๆ ด้อยโอกาสในราคาทีถ่ กู กว่าปกติ เพือ่ ให้ เด็กๆ ได้เข้าถึงมิติความแตกต่างเหมือนที่ปรากฏอยู่ในนิทานซึ่งสื่อสารกับ เด็กๆ ว่า พวกเขาก็สามารถเป็นตัวละครเอกทีผ่ จญภัยในโลกกว้างและสร้างสิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่ได้ไม่แพ้ใครเช่นกัน เหมือนอย่างทีส่ ตีเฟน โควีย์ (Stephen Covey) นักเขียนชื่อดังชาวอเมริกันเคยกล่าวไว้ว่า “ความแข็งแกร่งเป็นสิ่งที่มาจาก ความแตกต่าง ไม่ใช่ความเหมือน” (Strength lies in differences, not in similarities.)

Did You Know?

รายงานจาก First Book เผยว่า กว่า 90% ของเด็กๆ จะอยากอ่านหนังสือมากขึ้น หากพวกเขาสามารถเห็นภาพตัวเองได้ในเรื่องราวที่กำ�ลังอ่าน ตั้งแต่ปี 2013 โครงการ Stories for All ได้สนับสนุนเงินเป็นจำ�นวน 5 แสนเหรียญสหรัฐฯ เพื่อซื้อหนังสือที่ชูประเด็นความหลากหลาย เมื่อโครงการได้รับกระแส ตอบรับทีด่ จี ากภาคประชาชนผ่านเงินบริจาค ในปี 2017 ทางโครงการจึงเพิม่ เงินสนับสนุนการซือ้ หนังสือเป็นจำ�นวน 1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทำ�ให้ตอนนีม้ หี นังสือเด็ก ทีม่ เี รือ่ งราวหลากหลายทางเชือ้ ชาติ วัฒนธรรม เพศ รวมถึงเรือ่ งของเด็กๆ ทีม่ คี วามบกพร่องทางร่างกายและจิตใจเป็นจำ�นวนถึง 650 เรือ่ งเกิดขึน้ ใหม่ในสังคม ที่มา: firstbook.org / บทความ “Diversity in Children’s Books: Moving From Outcry to Real, Market-Driven Solutions” (ธันวาคม 2017) จาก huffingtonpost.com / บทความ “Her Kids Didn’t See Themselves In Books. So This NC Mom Started Writing” (กรกฎาคม 2018) จาก wunc.org / บทความ “New Initiative Aims To Encourage Diversity In Kids’ Publishing” (พฤษภาคม 2014) จาก npr.org CREATIVE THAILAND I 34




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.