Living with COVID-19 นิตยสารคิด ปีที่ 11 ฉบับที่ 7

Page 1

เมษายน 2563 ปีที่ 11 I ฉบับที่ 7 แจกฟรี

Fact and Figure From Black Death to COVID-19 Creative Business ดอกเตอร์ รักษา The Creative ดร.ภูรพ ิ นั ธุ์ รุจขิ จร (Boonmee Lab)



THAT WHICH DOES NOT KILL US MAKES US

Photo by Karim Manjra on Unsplash

STRONGER ความยากลำ�บากที่เราต้องเผชิญ จะทำ�ให้เราแข็งแกร่งขึ้น Friedrich Nietzsche

นักปรัชญาชาวเยอรมัน ผู้มีแนวคิดเกี่ยวกับศาสนาและวัฒนธรรมร่วมสมัย


Contents : สารบัญ

Creative Update

6

ไม่เจอเหมือนเจอ...เชือ่ มต่อแบบไม่ตอ้ งเจอกัน ในวันที่สถานการณ์โรคระบาดรุนแรง / สังคม ไร้ เ งิ น สดที่จ ะช่ ว ยลดการสั ม ผั ส เชื้ อ โรค / เทคโนโลยีช่วยเอาตัวรอดจากโควิด-19

Creative Resource 8 Featured Film / Book / Report

MDIC 10 Mask for ER : หน้ากากทางเลือก ป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา

Cover Story 12 Covid-19 : พลิกมุมคิด...วิกฤต หรือ โอกาส

Fact and Fig ure

From Black Death to COVID-19 : พัฒนาการของโรค โลก และมนุษย์

18

Creative Business 20 ดอกเตอร์ รักษา : บริการแพทย์ออนไลน์ อยู่ไหนก็หาหมอได้

How To 23 กินดีอยู่ดีเมื่อต้องกักตัว

Creative Place 24 Your Home: The Virtual World of Work เปลี่ยน “บ้าน” ให้เป็นสเปซของ “การทำ�งาน” อย่างสร้างสรรค์

The Creative 28 ดร. ภูริพันธุ์ รุจิขจร เข้าใจวิกฤตด้วยภาพในมุมมองของ Data Visualization Specialist

Creative Solution 34 Fulfill Your Dream เปลี่ยนบ้านในฝัน ให้เป็นเกราะป้องกันโรคระบาดที่ดีที่สุด

บรรณาธิการที่ปรึกษา l อภิสทิ ธิ์ ไล่สตั รูไกล บรรณาธิการอำ�นวยการ l มนฑิณี ยงวิกลุ ที่ปรึกษา l เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร บรรณาธิการบริหาร l พัชรินทร์ พัฒนาบุญไพบูลย์ กองบรรณาธิการ l มนต์นภา ลัภนพรวงศ์, มาฆพร คูวาณิชกิจ, อินทนนท์ สุกกรี และ กฤษดา ไชยวาปิน เลขากองบรรณาธิการ l ณัฐชา ตะวันนาโชติ ศิลปกรรม l ชิดชน นินนาทนนท์ ประสานงานกองบรรณาธิการ l วนบุษป์ ยุพเกษตร ช่างภาพและมัลติมเี ดีย l ภีรร์ า ดิษฐากรณ์ เว็บไซต์ l นพกร คนไว นักศึกษาฝึกงาน l มนันญา ใจมงคล, จุฑาทิพย์ บัวเขียว และ สุธิตา ลิบูลย์ จัดทำ�โดย l สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) (CEA) 1160 อาคารไปรษณีย์กลาง ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 02 105 7400 แฟกซ์. 02 105 7450 พิมพ์ที่ l บริษัท เอบิซ อินเตอร์กรุ๊ป จำ�กัด โทร. 034 446 718 จำ�นวน 10,000 เล่ม ติดต่อลงโฆษณา: Commu.Dept@tcdc.or.th

ภาพปกโดย Edwin Hooper on Unsplash

นิตยสารฉบับนีใ้ ช้หมึกพิมพ์จากนา้ํ มันถัว่ เหลืองทีไ่ ม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทัง้ ยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และใช้กระดาษ รีไซเคิล ซึ่งเป็นผลผลิตของผู้ประกอบการไทย จัดทำ�ภายใต้โครงการ “Creative Thailand สร้างเศรษฐกิจไทยด้วยความคิดสร้างสรรค์” โดยสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) (CEA) ซึ่งมีเป้าหมายในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) และผลักดันการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

อนุญาตใหใชไดตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส อนุญาตใหใชไดตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย แสดงที ่มา-ไมใTHAILAND ชเพื่อการคา-อนุI ญ4าตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย CREATIVE


ภาพปกโดย Jose Antonio Gallego Vazquez on Unsplash

Editor’s Note : บทบรรณาธิการ

RE SE T

ท่ามกลางสถานการณ์ไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ 2019 ดิจทิ ลั กลายเป็นเครือ่ งมือ สำ�คัญในการทำ�ให้ชวี ติ ยังคงเดินไปข้างหน้า ทัง้ การเรียน การทำ�งานจากทีบ่ า้ น และการกินอยู่ จึงไม่น่าแปลกใจถ้าหากยอดการใช้แพลตฟอร์มเพื่อการติดต่อ หรือยอดสั่งซื้อสินค้าออนไลน์จะเพิ่มขึ้นมากกว่าปีก่อน แต่ตัวเลขที่น่าสนใจ ยิ่งกว่า คือยอดดาวน์โหลดแอพพลิเคชันต่าง ๆ แค่เฉพาะในสหรัฐอเมริกา พบว่ายอดดาวน์โหลดรายวันของ 3 แอพพลิเคชันสั่งซื้อสินค้าอาหารสดและ ของใช้อย่าง Instacart, Walmart Grocery และ Shipt ในช่วงเวลาตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ - 15 มีนาคม 2563 มียอดเพิ่มขึ้นร้อยละ 218 ร้อยละ 160 และ ร้อยละ 124 ตามลำ�ดับ สะท้อนถึงกลุม่ ลูกค้าใหม่ทเ่ี ข้ามาสูโ่ ลกออนไลน์มากขึน้ แม้วา่ ในช่วงแรกอาจจะขลุกขลักไปบ้าง แต่ทว่าระยะเวลาการระบาดของโควิด ที่ยืดเยื้อเกินกว่าเดือนนั้น ทำ�ให้ผู้บริโภคจำ�นวนมากเริ่มคุ้นเคยกับการใช้ชีวิต ร่วมกับดิจทิ ลั มากขึน้ และถ้าหากเป็นไปตามทฤษฎีของดร. แม็กซ์เวลล์ มอลตซ์ (Maxwell Maltz) ที่เขียนหนังสือเรื่อง Phycho-Cybermetics ที่ว่า คนเราจะ ใช้เวลาอย่างน้อย 21 วัน ในการปลูกฝังนิสัยจากความเคยชินในการทำ�บางสิ่ง ซ้�ำ ๆ จนทำ�สิง่ นัน้ ได้อย่างง่ายดาย ก็นบั เป็นโอกาสในการเติบโตของผูใ้ ห้บริการ ดิจิทัล และช่วยเพิ่มความสำ�เร็จให้กับภาคเอกชนและภาครัฐที่เพียรพยายาม ที่จะนำ�ดิจิทัลมาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารองค์กรและบริการ (Digital Transformation) ที่มักจะจบลงด้วยการลงทุนที่สูญเปล่า โดยบทความของ Harvard Business Review อธิบายว่าการปรับตัวเข้าสู่ดิจิทัลแท้จริงแล้ว ไม่ใช่ เรื่องของเทคโนโลยี แต่เป็นเรื่องการปรับเปลี่ยนวิธีคิด (Mindset) เพื่อให้เกิด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากกว่า

การรับมือกับสถานการณ์โรคระบาดที่ร้ายแรง เป็นแรงผลักดันให้เรา ต้องปรับวิธีคิดและพฤติกรรมอย่างเร่งด่วน ทั้งการรักษาระยะห่างทางสังคม ลดการสัมผัสพื้นผิวให้น้อยลง และให้ความสำ�คัญกับสุขอนามัยมากขึ้น เพื่อ ลดความเสีย่ งในการติดเชือ้ และแพร่ระบาด อย่างเช่นการกินอาหารร่วมกันนัน้ สำ�หรับชาวจีนที่ใช้ตะเกียบของตัวเองคีบอาหารให้แก่กันมานานนับพันปี ก็ถึงคราวต้องยอมรับว่าตะเกียบกลางนั้นเป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับการกินข้าวกับ ครอบครัวและในร้านอาหาร นอกจากนี้เรายังได้เห็นการสร้างสรรค์เครื่องมือต่าง ๆ ในการรับมือและ ป้องกัน ตัง้ แต่การเรียนรูก้ ารทำ�อุปกรณ์ดไี อวายหน้ากาก และพลาสติกป้องกัน ฝอยละออง ที่ทุกบ้านสามารถทำ�เองได้ การผลิตมือจับประตูแบบการพิมพ์สามมิติ ที่ชว่ ยให้เราใช้ขอ้ ศอกเปิดประตูได้ จนถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมล้�ำ ยุคอย่างเอไอ หุ่นยนต์ และการประมวลผลข้อมูล ที่ถูกแปรมาเป็นอุปกรณ์เซ็นเซอร์สั่งการเพือ่ ลด การสัมผัสจุดแพร่เชือ้ ตำ�รวจจีนสวมหมวกทีม่ เี ครือ่ งตรวจจับอุณหภูมคิ นเดินถนน เพือ่ จัดการปัญหาอย่างรวดเร็ว และยังมีอกี หลายนวัตกรรมทีจ่ ะเกิดขึน้ ตามมา จากความจำ�เป็นระยะหนึ่งมาสู่ความเคยชิน น่าจะส่งผลให้เกิดการ เปลี่ ย นแปลงทั้ ง ที่ เ ป็ น ผลดี แ ละผลเสี ย กั บ บางอุ ต สาหกรรมในระยะยาว การทำ�ความเข้าใจล่วงหน้าเพื่อค้นหาความเป็นไปได้ใหม่ น่าจะเป็นทางออก ที่ดีที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้ในปัจจุบัน เพราะการอยู่รอดในอนาคตไม่ใช่คนที่ แข็งแกร่งที่สุด แต่เป็นผู้ที่ปรับตัวอยู่รอดได้เก่งที่สุด ในชั่วขณะที่โลกทั้งโลก หยุดการเคลื่อนไหวที่ไม่จำ�เป็น ท้องฟ้ากลับมาแจ่มใสเพราะกิจกรรมที่สร้าง มลพิษลดหายไป น่าจะเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการตั้งต้นคิดใหม่ในการ ก้าวไปข้างหน้าเพื่อตัวเราและโลกของเรา มนฑิณี ยงวิกุล บรรณาธิการอำ�นวยการ

CREATIVE THAILAND I 5


Creative Update : คิดทันโลก

ไม่เจอเหมือนเจอ...เชื่อมต่อแบบไม่ต้องเจอกัน ในวันที่สถานการณ์โรคระบาดรุนแรง เรื่อง : มนันญา ใจมงคล

แพลตฟอร์มสื่อสารผ่านวิดีโอนี้ ได้ถูกใช้ในการ จั ด งานแต่ ง งานของคู่ รั ก คู่ ห นึ่ ง จากบ้ า นของ พวกเขาเองในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด โควิด-19 ครั้งนี้ โดยมีผู้เข้าร่วมแสดงความยินดี อย่างล้นหลาม ถือเป็นการใช้ประโยชน์ และ พลิกสถานการณ์ได้อย่างสร้างสรรค์ Google Arts & Culture ร่วมมือกับพิพธิ ภัณฑ์ หลากหลายแห่งจากทั่วโลกจัดทำ� Virtual Tour หรือการท่องเที่ยวเสมือนจริงแบบ 360 องศา ให้ กับผู้ที่ต้องการสัมผัสกับงานศิลปะและสถานที่ ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติโดยทีไ่ ม่ตอ้ งออกจากบ้าน หรือเดินทางออกนอกประเทศ แต่ก็ยังสามารถ เลือกท่องเที่ยวในสถานที่ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก สบาย สร้างสรรค์ และปลอดภัย Netflix Party และ Watch2Gether แพลตฟอร์มทีจ่ ะพาให้เราได้รบั ชมวิดโี อ ภาพยนตร์ หรือฟังเพลง ร่วมกันกับเพื่อน ๆ ได้โดยไม่ต้อง ออกจากบ้าน ให้ความรูส้ กึ ใกล้ชดิ กันมากขึน้ เพราะ มีชอ่ งทางทีส่ ามารถพูดคุยแลกเปลีย่ นกันผ่านแถบ ข้อความได้ในระหว่างรับชม ถึงแม้แพลตฟอร์มนี้ จะมีขน้ึ มาแล้วในระยะหนึง่ แต่ตอนนีก้ �ำ ลังกลายเป็น แพลตฟอร์มทีเ่ ป็นประโยชน์ และมีคณุ ค่ากับผูใ้ ช้ อย่างมาก นอกจากนีก้ ย็ งั มีอกี หลากหลายช่องทาง ที่เข้ามาช่วยตอบสนองความจำ�เป็นและอำ�นวย ความสะดวกให้กบั ผูใ้ ช้งานท่ามกลางสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น นับเป็นการพัฒนาที่เข้ามาช่วยเยียวยา ในแต่ละด้านอย่างมีประสิทธิภาพ ในอนาคตเรา อาจได้เห็นการพัฒนาต่อยอดสิ่งใหม่ ๆ เป็น

artsandculture.google.com

ด้วยวิถชี วี ติ และสังคมทีด่ �ำ เนินควบคูก่ นั ตลอดเวลา ทำ�ให้มนุษย์มีความจำ�เป็นที่จะต้องพบเจอกัน แทบทุกขณะ แต่เมื่อเกิดวิกฤตการแพร่ระบาด ของไวรัสโคโรนาขึน้ ในระดับทีอ่ นั ตราย การรวมตัว หรือพบปะกันเป็นหมู่คณะจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนต้อง หลีกเลีย่ ง เพือ่ รักษาความปลอดภัยของทัง้ ตัวเอง และผู้อื่น เพราะการพบเจอกันนั้นจะก่อให้เกิด การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสที่ทำ�ให้เกิดความ เสียหายในวงกว้าง กิจกรรมที่เป็นการรวมตัว คนหมูม่ ากต่างก็ถกู ยกเลิกหรือเลือ่ นออกไปอย่าง ไม่มีกำ�หนด บริษัท องค์กร สถาบันการศึกษา หรือแม้แต่ห้างร้านต่าง ๆ ก็ต้องปิดทำ�การลง สิ่ ง ที่ ทุ ก คนหั น มาให้ ค วามสนใจอย่ า ง หลีกเลี่ยงไม่ได้ในสถานการณ์เช่นนี้ก็คือ Social Distancing หรือ การทิ้งระยะห่างจากสังคม หลายคนต้องเก็บตัวอยู่บ้านเพราะเป็นหนทางที่ ปลอดภัยไร้ความกังวลใจที่สุดในตอนนี้ แต่เมื่อ ทุกคนก็ยังคงต้องดำ�เนินชีวิตและทำ�หน้าที่ของ ตนเองต่ อ ไป การติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ า นช่ อ งทาง ออนไลน์ต่าง ๆ จึงถูกใช้งานมากขึ้น และเข้ามา เป็นตัวช่วยในการแก้ไขสถานการณ์นี้ได้อย่าง เหมาะสม อีกทั้งแต่ละช่องทางยังมีคุณลักษณะ ที่แตกต่างกันออกไปให้ทุกคนได้เลือกใช้ได้ตาม ความต้องการมากที่สุด Zoom และ Google Hangouts เป็นช่องทาง ในการติดต่อสื่อสารแบบเห็นหน้ากันผ่านวิดีโอ สำ � หรั บ คนที่ต้อ งเรี ย นหรื อ ทำ � งานร่ ว มกั น เป็ น หมูค่ ณะแม้อยู่ที่บ้าน และที่น่าสนใจกว่านั้นก็คือ

CREATIVE THAILAND I 6

หนทางในการแก้ไขสถานการณ์ที่ทันท่วงทียิ่งขึ้น และนี่อาจเป็นโอกาสดีที่ในการขับเคลื่อนให้โลก ของเราเปลี่ยนแปลงเข้าไปสู่การเป็นโลกของ Virtual Life อย่างเต็มรูปแบบ ที่มา : บทความ “Tour The World Without Leaving Home With Google Arts & Culture” (19 มีนาคม 2020) โดย Meaghan Kirby จาก nerdist.com / บทความ “When your friends get married on Zoom because of a coronavirus pandemic” (23 มีนาคม 2020) โดย Daniel Wolfe จาก qz.com

สังคมไร้เงินสด ที่จะช่วยลดการสัมผัสเชื้อโรค

เรื่อง : สุธิตา ลิบูลย์ การพกเงินสดทำ�ให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด-19 หรือไม่ กลายเป็นคำ�ถามที่หลายคนกังวลใจใน สถานการณ์วนั นี้ จากการศึกษาวิจยั ขององค์การ อนามัยโลก (WHO) พบว่า เชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุใ์ หม่ทท่ี �ำ ให้เกิดโควิด-19 นัน้ มีระยะเวลา ทีอ่ ยูบ่ นผิวสัมผัสแตกต่างกัน เช่น กระดาษหรือ พลาสติกจะมีระยะเวลาอยูไ่ ด้นานถึง 9 วัน แต่ถา้ อยู่ในอุณหภูมิห้องจะอยู่ได้ประมาณ 4-5 วัน ซึง่ ธนบัตร 1 ใบ นอกจากอาจปนเปือ้ นไวรัสนีแ้ ล้ว ก็ยงั มีแบคทีเรียสะสมมากถึง 2.6 หมืน่ ตัว เนื่องจาก การใช้งานที่ผ่านมือไปหลายต่อ ปัจจุบันจึงมี คำ�แนะนำ�ให้ประชาชนเลือกใช้การชำ�ระเงินแบบ ไร้สัมผัสเพื่อลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ


ในประเทศจี น ก็ ไ ด้ มี ก ารสร้ า งสรรค์ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อช่วยให้ประชาชน เลี่ยงการสัมผัสกับเชื้อโรค ผ่านระบบการชำ�ระ เงินแบบดิจิทัลอย่าง Alipay และ WeChat Pay ที่มีประชาชนใช้เป็นจำ�นวนมาก แม้แต่ร้านค้า ริมถนนเล็ก ๆ ก็ยังใช้กระเป๋าเงินดิจิทัลเหล่านี้ ส่วนในสหรัฐอเมริกามีรายงานว่า ผู้บริโภคมี แนวโน้มทีจ่ ะใช้การชำ�ระเงินแบบดิจทิ ลั เพิม่ มากขึน้ เช่นเดียวกับฟิลปิ ปินส์ ทีไ่ ด้มกี ารใช้ระบบชำ�ระเงิน แบบดิจิทัลมานานและยังคงเป็นที่นิยมในกลุ่ม ฟินเทค ทีเ่ ร่งพัฒนาเทคโนโลยีทางการเงินทีเ่ ปิดให้ ผู้ ใ ช้ ส ามารถทำ � ธุ ร กรรมกั บ ร้ า นค้ า ทั่ ว ไปและ ร้านค้าออนไลน์ผ่านโทรศัพท์มือถือได้ สำ�หรับประเทศไทยเองก็ได้มีการพัฒนา กระเป๋าเงินดิจทิ ลั ขึน้ หลากหลาย เช่น True Money Wallet, AirPay และ Rabbit LINE Pay มานาน แล้วเช่นกัน แต่ยังคงไม่ได้รับความนิยมมากนัก เพราะยังมีบางร้านค้าทีไ่ ม่รบั การชำ�ระเงินรูปแบบนี้ หรือการชำ�ระเงินโดยทั่วไปก็ยังคงเป็นการชำ�ระ แบบใช้เงินสด แม้ว่าธนบัตรจะเป็นแหล่งที่สะสมเชื้อโรคที่ มากจากการใช้แบบส่งต่อกัน แต่ปจั จุบนั งานวิจยั ต่าง ๆ ก็ยังไม่มีการยอมรับว่า เราจะสามารถ ติดเชื้อโควิด-19 จากธนบัตรได้หรือไม่ ทางที่ดี ที่ สุ ด ในเวลานี้ จึ ง เป็ น การล้ า งมื อ เป็ น ประจำ � ทุกครัง้ ทีส่ มั ผัสกับธนบัตร หรืออาจจะลองเปลีย่ น จากการพกธนบัตรเป็นการชำ�ระผ่านกระเป๋าเงิน ดิจทิ ลั และช่องทางการชำ�ระเงินอืน่ ๆ แทนทีน่ อกจาก จะเหมาะกับการก้าวเข้าสูส่ งั คมไร้เงินสดแล้ว ก็ยงั ดี สำ�หรับสถานการณ์โรคระบาดช่วงนีเ้ ป็นอย่างมากด้วย ที่มา : บทความ “China’s cashless challenge to the West” จาก valuewalk.com / บทความ “Going cashless reduces risks of virus spread, says GCash” จาก manilastandard.net / บทความ “โควิด-19 ไวรัสหยุดโลก” จาก prachachat.net / บทความ “ธนบัตร 1 ใบ มีแบคทีเรียอือ้ ” จาก thaihealth.or.th / บทความ “แบงค์ที่เราถืออยูใ่ นมือปลอดภัยจาก ไวรัสโควิด มากแค่ไหน” จาก moneyguru.co.th

เทคโนโลยีช่วยเอาตัวรอด จากโควิด-19 เรื่อง : จุฑาทิพย์ บัวเขียว

ช่วงเวลาทีค่ วามเป็นกับความตายอยู่หา่ งกันเพียง แค่เอื้อม “โควิด-19” นับเป็นฝันร้ายของมนุษย์ ทั่วโลกในขณะนี้ การระบาดของ โควิด-19 ที่ นับวันยิ่งทวีคูณขึ้นจาก 1 เมือง กลับขยายเป็น หลายสิบหลายร้อยประเทศภายในระยะเวลาเพียง

ไม่กเ่ี ดือน มีผเู้ จ็บป่วยและล้มตายหลายแสนราย การใช้ชวี ติ ท่ามกลางเชือ้ ไวรัสทีไ่ ม่สามารถมองเห็น ได้น้นั ทำ�ให้มนุษย์คิดสร้างสรรค์ ทดลอง และ ปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ ใหม่เพือ่ ความอยูร่ อด ปัจจุบนั หลายหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึง ภาคประชาชนได้มกี ารร่วมมือกันในการสร้างสรรค์ และพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่จะเข้ามาช่วยให้ มนุษย์สามารถใช้ชีวิตท่ามกลางความหวาดกลัว เหล่านีไ้ ด้ตอ่ ไป Alibaba Damo Academy

สถาบันวิจัยและนวัตกรรมของบริษัท Alibaba ผูน้ �ำ ด้านเทคโนโลยีของประเทศจีน ได้มกี ารค้นคว้า และพั ฒ นาระบบอั ล กอริ ทึ ม สำ � หรั บ วิ นิ จ ฉั ย การติ ด เชื้อ โควิ ด -19 โดยการทำ � CT Scan บริเวณปอด ซึง่ ระบบอัลกอริทมึ นีจ้ ะสามารถระบุ ความแตกต่างระหว่างปอดที่ติดเชื้อจากไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่กับโรคปอดอักเสบจากการ ติดเชือ้ ธรรมดาได้แม่นยำ�ถึง 96% รวมทัง้ ช่วยลด ระยะเวลาในการวินิจฉัยจาก 5-10 นาทีต่อราย เหลือเพียง 20 วินาทีต่อรายเท่านั้น โดยมีการ ใช้งานจริงทีป่ ระเทศจีนในช่วงภาวะวิกฤตทีผ่ า่ นมา COVID Tracker เกาะติดข้อมูลแบบเรียลไทม์

เว็บไซต์ covidtracker.5lab.co พัฒนาขึ้นโดย บริษทั 5Lab ได้มองเห็นถึงปัญหาและความสำ�คัญ ด้านข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็วผ่านแพลตฟอร์มที่ ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ โดยเว็บไซต์จะรวบรวม ข้อมูลสำ�คัญ ๆ ทีไ่ ด้รบั การยืนยันจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่าง ๆ ที่จำ�เป็นในรูปแบบของการระบุพิกัดใน แผนที่ อาทิ สถานที่ที่พบผู้ติดเชื้อที่ได้รับการ ยืนยันแล้ว และผูต้ อ้ งสงสัยว่าจะติดเชือ้ โควิด-19, สถานะของผู้ติดเชื้อ เช่น ถูกส่งตัวไปรักษาที่ โรงพยาบาล กลับบ้าน เสียชีวิต รวมทั้งให้ข้อมูล เกี่ยวกับโรงพยาบาลที่ให้บริการตรวจโควิด-19 ในพื้นที่ต่าง ๆ COVID Bot แชตบอตช่วยคัดกรอง ก่อนพบแพทย์

คลัสเตอร์วจิ ยั นวัตกรรมอนาคต หรือ FREAK Lab ร่วมกับโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีส�ำ หรับเด็กและเยาวชน หรือ JSTP พัฒนาแชตบอทผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแฟนเพจใน การช่ ว ยประเมิ น ความเสี่ ย งของการติ ด เชื้ อ CREATIVE THAILAND I 7

covidtracker.5lab.co

โควิด-19 เบื้องต้นโดยการตอบคำ�ถามที่ต้ังขึ้น ภายใต้ระเบียบของกรมควบคุมโรค การใช้งาน COVID Bot เปรียบเสมือนการไปโรงพยาบาลโดย จะมีพยาบาลคอยซักประวัติ อาการ และแพทย์ วินจิ ฉัยความน่าจะเป็นเบือ้ งต้น รวมทัง้ การให้ค�ำ แนะนำ� โดย COVID Bot จะประเมินความเสีย่ ง ในการติดเชื้อจากการตอบคำ�ถามของผู้ใช้งาน พร้อมให้คำ�แนะนำ�ในการดูแลตนเองเบื้องต้น รวมทัง้ มีระบบติดตามอาการโดยจะมีการประเมิน ความเสีย่ งซ้�ำ เพือ่ ให้ผลออกมามีประสิทธิภาพและ แม่นยำ�มากขึน้ Google Maps เช็กการเดินทางย้อนหลังอัตโนมัติ

แม้ Google จะเปิดตัวใช้ Google Maps มาเป็น เวลานานแล้ว แต่หลายคนอาจยังไม่ทราบว่า Google Maps มีฟีเจอร์ที่ชื่อว่า “Timeline” สำ�หรับติดตามสถานที่ที่ไปในแต่ละวัน ทำ�ให้ สามารถตรวจสอบประวัตกิ ารเดินทางย้อนหลังได้ เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าในช่วงที่ผ่านมาได้มี การเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยงที่พบผู้ติดเชื้อหรือไม่ หรือหากในกรณีที่คุณเองติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ก็สามารถเช็กย้อนหลังได้วา่ ในระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ได้เดินทางไปในพื้นที่ใดมาบ้างเพื่อเตือนผู้ที่อยู่ ในบริเวณนั้นให้ระมัดระวังตัวและป้องกันไม่ให้ เกิดการแพร่กระจายของเชื้อเพิ่มขึ้น

ที่มา : บทความ “How Alibaba Is Leading The War Against Coronavirus Outbreak” จาก analyticsindiamag.com / covidtracker.5lab.co


Creative Resource : วัตถุดิบทางความคิด เรื่อง : มาฆพร คูวาณิชกิจ, อินทนนท์ สุกกรี และ กฤษดา ไชยวาปิน

F EAT U RED FI LM Contagion (2011) สัมผัสล้างโลก โดย Steven Soderbergh ตั้งแต่การเกิดของโรคระบาดไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ๆ ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา นับว่ามีการสร้างภาพยนตร์ที่อาศัยการดำ�เนินเรื่องด้วยตัวละครที่ต้องเอาตัวรอด จากภาวะไม่ปกติ ตลอดจนการต่อสู้ระหว่างศีลธรรมและจริยธรรมท่ามกลางสถานการณ์ที่ว่านี้มาแล้วหลายต่อหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็น Outbreak (1995), Deranged (2012) ภาพยนตร์สัญชาติเกาหลี หรือ Flu (2013) ล่าสุดสำ�หรับผู้ที่ติดตามภาพยนตร์ทาง Netflix ก็มีซีรีส์ Pandemic (2020) ที่สร้างความ ตระหนักรู้ว่าเราจะสามารถดำ�รงชีวิตอยู่ท่ามกลางภาวะการระบาดของไวรัสได้อย่างไร ขณะที่ยังมีภาพยนตร์อีกหนึ่งเรื่องที่น่าสนใจและตีแผ่สัญชาตญาณการเอาตัวรอดของมนุษย์ได้ดีอย่าง Contagion หรือ สัมผัสล้างโลก ภาพยนตร์ในปี 2011 ผลงานโดยผู้กำ�กับสตีเฟ่น โซเดอร์เบิร์ก (Steven Soderbergh) ที่กลับมาโด่งดังอีกครั้งจากกระแสปากต่อปากของผู้ชมในโลกออนไลน์ขณะนี้ ด้วยเนื้อเรื่องที่ดำ�เนินไปเสมือนว่าสร้างจากเหตุการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ในปัจจุบัน ภาพยนตร์เรื่องนี้เปิดเรื่องด้วยอาการป่วยของ หญิงสาวชาวอเมริกันซึ่งเดินทางกลับมาจากฮ่องกง ตามด้วยการเสียชีวิตอย่างฉับพลันของผู้คนอีก 3 คนที่อยู่ห่างกันเกือบค่อนทวีป บรรดาผู้เชี่ยวชาญและ ทีมวิจัยต้องใช้ความพยายามอย่างหนักในการสืบหาต้นตอของโรค จนในที่สุดก็พบว่า ทุกเคสของผู้ป่วยที่เสียชีวิตอย่างเฉียบพลันล้วนแล้วแต่มาจากคาสิโน ที่เดียวกัน แต่ทว่าการระบาดของโรคกลับกระจายเป็นวงกว้างผ่านการมีปฏิสัมพันธ์และคร่าชีวิตผู้คนอย่างมากมาย ทุกคนที่เกี่ยวข้องต่างต้องทำ�งานแข่งกับ เวลา เพราะจะมีผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นทุกวินาที จาก 1 กลายเป็น 2, 4, 16, 256 และหลายพันราย ในขณะที่ต้องปะทะกับการนำ�เสนอข่าวที่บิดเบือนในสังคม ออนไลน์ไปพร้อมกัน ภาพยนตร์เหล่านี้ล้วนสร้างขึ้นจากการประมวลเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้น และพยายามตีแผ่ให้เห็นกระบวนการหลาย ๆ ด้าน ตลอดจน ผู้ที่อยู่เบื้องหลังซึ่งสะท้อนให้เราตระหนักและเตรียมพร้อมกับสถานการณ์ที่ไม่อาจคาดคิด พร้อมเป็นความหวังให้มนุษยชาติได้ผ่านพ้นวิกฤตไม่ว่าทางใด ก็ทางหนึ่ง เพราะทุกปัญหาย่อมมีทางแก้ไขเสมอ CREATIVE THAILAND I 8


B O OK

เมืองมีชีวิต : การใช้พื้นที่สาธารณะ (Life between buildings) โดย ญาน เกฮ์ล, ผู้แปล ภคนันท์ เสนาขันธ์ รุ่งแสง Social Distancing หรือระยะห่างทางสัมคมกลายเป็นสิง่ ทีจ่ �ำ เป็นอย่างมากในช่วงทีเ่ กิดการระบาดของ ไวรัส ซึ่งคำ�นี้ถูกกล่าวถึงในหนังสือเล่มนี้มาตั้งแต่ปี 1970 และถูกแปลมากกว่า 22 ภาษาทั่วโลก ผู้เขียน ได้อธิบายถึงการใช้ชวี ติ ในเมืองทีม่ ปี ระชากรหนาแน่น โดยพึง่ พาระบบการออกแบบต่าง ๆ ทางกายภาพ เพื่อจัดการกับปฏิสัมพันธ์ของผู้คนที่อยู่รวมกันเป็นจำ�นวนมาก ซึ่งหนังสือเล่มนี้จะช่วยให้สามารถ ทำ�ความเข้าใจหลักการปฏิบัติที่ถูกต้อง และยังมีการนำ�เสนอแนวคิดอื่น ๆ เกี่ยวกับการสร้างขอบเขต และความปลอดภัยระหว่างบุคคล เช่น การจัดวางผังที่นั่ง ทางเดิน สิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่แม้จะมีระยะ ห่างแต่ยงั คงเสริมสร้างปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์ ซึง่ เป็นแนวทางทีน่ า่ สนใจและนำ�ไปประยุกต์ใช้ได้จริง Around the World: The Atlas for Today โดย Andrew Losowsky ในช่วงเวลาทีต่ อ้ งการสือ่ สารกับคนหมูม่ าก การสือ่ สารด้วยภาพหรือสัญลักษณ์ทเี่ ข้าใจได้งา่ ย หรือข้อมูล จำ�พวกอินโฟกราฟิก นับเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่สามารถนำ�เสนอภาพรวมของสถานการณ์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและรวดเร็ว หนังสือเล่มนีไ้ ด้ยกตัวอย่างเหตุการณ์ส�ำ คัญทีเ่ คยเกิดขึน้ ในประวัตศิ าสตร์โลก มาจัดทำ�เป็นข้อมูลอินโฟกราฟิกที่เข้าใจได้ง่ายและตรงไปตรงมา ซึ่งเข้ากับบริบทปัจจุบันที่เราต้องการ สื่อที่มีความชัดเจน ครอบคลุมประเด็น เนื้อหาน่าสนใจ และสามารถสร้างความเข้าใจให้กับคนจำ�นวน มาก ๆ ได้อย่างทันท่วงที

R E P OR T COVID-19: Implication for business โดย Matt Craven, Linda Liu, Mihir Mysore และ Matt Wilson บทความวิเคราะห์ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจรอบโลกอันเนื่องมาจากสภาวะโรคระบาดโควิด-19 และข้อมูลสถิติเกี่ยวกับมูลค่าความเสียหายในภาค อุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั่วโลก จากบริษัท McKinsey & Company ที่ปรึกษาด้านการจัดการและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ ประเทศสหรัฐอเมริกาชิ้นนี้ ไม่เพียง เสนอภาพรวมของสถานการณ์ปจั จุบนั ทีย่ งั คงมีการปรับเปลีย่ นอยูต่ ลอดเวลา แต่ยงั มีการอัพเดตข้อมูลอย่างต่อเนือ่ ง ทำ�ให้ผอู้ า่ นสามารถรับรูแ้ นวโน้ม ทิศทาง การจัดการปัญหา และสถิตติ า่ ง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว และทีส่ �ำ คัญเป็นข้อมูลทีเ่ ชือ่ ถือได้ เพือ่ ให้เกิดการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาและประเมินผลกระทบได้อย่าง ทันท่วงที โดยมีการวิเคราะห์และนำ�เสนอมุมมองการแก้ไขปัญหาทั้งในระดับองค์กร และการจัดการทรัพยากรต่างๆ ของบริษัท ซึ่งเป็นการชี้แนะแนวทางที่ จะช่วยให้องค์กรต่าง ๆ จัดการกับปัญหาและช่วยให้ผ่านพ้นวิกฤตการณ์นี้ไปได้ สามารถอ่านรายงาน COVID-19: Implications for Business ฉบับเต็มได้ที่ www.mckinsey.com

พบกับบทความทีน่ า่ สนใจมากมาย จากหนึง่ ในฐานข้อมูลวิเคราะห์เทรนด์โลกทีโ่ ดดเด่นทีส่ ดุ อย่าง WGSN พร้อมแล้วสำ�หรับสมาชิกผูใ้ ช้บริการที่ TCDC ทุกสาขา ให้สามารถเข้าไปอ่าน บทวิเคราะห์เกี่ยวกับทิศทางการดำ�เนินชีวิตในภาวะที่ต้องเผชิญหน้ากับวิกฤตโควิด-19 ได้ที่หมวด Insight สนใจสอบถามเพิ่มเติมที่ Line@tcdc พบกับวัตถุดิบทางความคิดเหล่านี้ได้ที่ TCDC Resource Center CREATIVE THAILAND I 9


MDIC : นวัตกรรมและวัสดุ

MASK for ER : หน้ากากทางเลือกป้องกันเชือ้ ไวรัสโคโรนา เรื่อง : มนต์นภา ลัภนพรวงศ์

“หน้ากากอนามัยใช้ซ้ำ�ได้ไหม” คงเป็นคำ�ถามในใจของใครหลายคน ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วของเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือโควิด-19 ที่สามารถกระจายตัวและแพร่ผ่าน ละอองฝอยขนาดเล็กในอากาศได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้บุคลากรและ ประชาชนทัว่ ไปต้องการอุปกรณ์พน้ื ฐานทีจ่ �ำ เป็นในการป้องกันโรคติดต่อชนิดนี้ อย่าง “หน้ากากอนามัย” เพิม่ มากขึน้ จนทำ�ให้โรงงานมีก�ำ ลังผลิตไม่เพียงพอ ต่อความต้องการในการใช้งาน โดยเฉพาะการนำ�ไปใช้งานของบุคลากร ทางการแพทย์ทต่ี อ้ งใช้ในระหว่างปฏิบตั หิ น้าที่ คุณหมอต้องตา (อ. พญ.สุธาพร ล้ำ � เลิ ศ กุ ล ) จากหน่ ว ยเวชศาสตร์ ฉุ ก เฉิ น โรงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย ได้มาร่วมแบ่งปันถึงประสบการณ์จริงจากห้องฉุกเฉิน ความจำ�เป็นของอุปกรณ์พื้นฐานในการรักษา และแนวทางการพัฒนา หน้ากากอนามัยในสถานการณ์ระบาดครั้งนี้ ไม่ควรใช้หน้ากากซ้ำ� “สำ�หรับในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ ปกติทุกอย่างควรจะใช้ครั้งเดียว แล้วทิ้ง” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์ที่มีโรคระบาดเช่นนี้ อุปกรณ์ ทางการแพทย์ทใี่ ช้ในการดูแลเคสตัง้ แต่ผปู้ ว่ ยเบาไปจนถึงผูป้ ว่ ยหนักทุกอย่าง จะใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งในถังแยกขยะติดเชือ้ เนือ่ งจากความสะอาดของการ ใช้เครื่องมือทางการแพทย์มีความสำ�คัญเป็นอย่างมาก และแม้ว่าการใช้ ครัง้ เดียวทิง้ นัน้ จะช่วยป้องกันการติดต่อผ่านเชือ้ โรค แต่ผลกระทบทีต่ ามมา ก็คอื ทำ�ให้ “อุปกรณ์ไม่เพียงต่อความต้องการในการใช้งาน” และ “ราคาสินค้า ที่เพิ่มสูงขึ้น” หน้ากากที่สวมใส่ได้นานขึ้น คุณหมอต้องตากล่าวเสริมอีกว่า “บุคลากรทางการแพทย์ใส่มาสก์ทำ�งาน ทั้งวันไม่ได้ มันร้อนและอึดอัดมาก” นี่จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการทดลอง พัฒนาสิ่งใหม่ ๆ กับหน้ากากอนามัย โดยมีเป้าหมายคือ 1.) จะต้องเป็น หน้ากากที่นำ�ไปฆ่าเชื้อแล้วใช้ซ้ำ�ได้ และ 2.) ต้องเป็นหน้ากากที่ผู้สวมใส่ สามารถใส่หายใจได้สะดวกทัง้ วัน เมือ่ ได้โจทย์ดงั นี้ หลังจากรวบรวมและพัฒนา รูปแบบของโครงสร้างหน้ากากให้กระชับเหมาะกับรูปหน้าแล้ว ส่วนต่อมา คือการค้นหา “วัสดุ” ที่จะนำ�มาใช้เพื่อเป็นตัวกรองอากาศ ที่นอกเหนือจะ ต้องกรองขนาดอนุภาคเพือ่ ป้องกันการซึมผ่านของเชือ้ ไวรัสได้แล้ว อีกหนึง่ สิง่ ที่ จำ�เป็นต้องทดสอบก็คอื ความสามารถในการยอมให้อากาศไหลผ่าน (ตัวชีว้ ดั แรงต้านทานการหายใจ) เนื่องจากผู้ใส่ต้องหายใจเข้าและออกตลอดเวลา หากวัสดุที่นำ�มาใช้มีการต้านทานมากเกินไป จะทำ�ให้ต้องใช้แรงในการ หายใจมากขึน้ ความร้อนจากลมหายใจจะไม่สามารถระบายออกไปภายนอกได้ เป็นผลให้ผู้สวมใส่รู้สึกเหนื่อยง่ายและสวมใส่ได้ไม่นาน

เมือ่ เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิตเิ ข้ามามีสว่ นร่วมกับวงการแพทย์ นอกจากหน้ากากอนามัย ยังมีอุปกรณ์ทางการแพทย์อื่น ๆ ที่จำ�เป็นสำ�หรับ การรองรับผูป้ ว่ ยทีม่ จี �ำ นวนเพิม่ มากขึน้ เช่น อุปกรณ์เกีย่ วกับเครือ่ งช่วยหายใจ รวมไปถึงชุดตรวจคัดกรองไวรัส ระบบสแกนตรวจวัดอุณหภูมิ และเตียง ชั่วคราวสำ�หรับรองรับคนไข้ จึงนับเป็นความท้าทายสำ�หรับกลุ่ม Maker ที่ จะเป็นกองกำ�ลังสนับสนุนด้านอุปกรณ์เครื่องมือให้กับหน่วยแพทย์ฉุกเฉิน ดังเช่นเมื่อไม่นานมานี้ที่เหล่า Maker สามารถสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบของ วาล์วช่วยหายใจ (Emergency Valves for Respirators) หน้ากากและแว่นตา สำ�หรับป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนาที่ผลิตด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติได้ ทุกอย่างต้องผ่าน อย. อย่างไรก็ตาม แม้จะขึน้ ต้นแบบได้แต่กไ็ ม่ใช่เรือ่ งง่ายทีผ่ ลงานต้นแบบนัน้ จะ ได้รับการยอมรับให้นำ�ไปใช้กับผู้ป่วยจริง เพราะผลิตภัณฑ์ทุกชนิดที่จะใช้ กับมนุษย์ต้องผ่านมาตรฐานการทดสอบต่าง ๆ โดยเฉพาะจากสำ�นักงาน คณะกรรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อความปลอดภัยต่อการใช้งาน ด้วยข้อจำ�กัดนีท้ �ำ ให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกลุม่ Maker ยังไม่สามารถนำ� ไปใช้งานจริงได้ทันที ร่วมกับการที่ยังไม่มีผลการทดสอบและงานวิจัยที่ รองรับโรคโควิด-19 มากนัก ทำ�ให้แนวทางการดูแลรักษา รวมไปถึง กระบวนการพัฒนาวัสดุและอุปกรณ์ทางการแพทย์จึงยังไม่สมบูรณ์ สุดท้ายไม่วา่ จะเป็นหน้ากากผ้าหรือหน้ากากทีม่ คี วามพิเศษมากแค่ไหน หากใช้งานไม่ถูกต้อง ก็คงเป็นได้เพียงแค่ “เครื่องราง” ที่จะทำ�ให้ผู้ใส่รู้สึก ปลอดภัยเท่านั้น ที่สำ�คัญการใส่หน้ากากเพียงอย่างเดียวไม่ได้เป็นทางออก ของปัญหา แต่การเรียนรูท้ จี่ ะดูแลสุขอนามัยและลดความเสีย่ งในการติดเชือ้ กลับเป็นสิ่งสำ�คัญกว่าที่พึงปฏิบัติควบคู่กันไปในเวลานี้ ที่มา : สรุปเวิร์กช็อป “MASK for ER” วันที่ 14 - 15 มีนาคม 2563 โดย FabCafe Bangkok และบทความ “3D printers fabricate emergency valves for ventilators to keep coronavirus patients breathing” โดย Jennifer Hahn จาก DEZEEN

พบกับนวัตกรรมและวัสดุสร้างสรรค์ ได้ที่ชั้น 2 ห้อง Material & Design Innovation Center, CEA CREATIVE THAILAND I 10


พบกับนิตยสาร “คิด” Creative Thailand ได้ที่ ร้านหนังสือ ห้องสมุด สมาคม อาคารสำ�นักงาน และร้านกาแฟใกล้บ้าน ในกรุงเทพฯ เชียงใหม่ หัวหิน และจังหวัดอื่นๆ รวมถึง miniTCDC

หมดปญหาหยิบนิตยสารไมทัน สมัครสมาชิกรายป คาใชจายในการจัดสง 200 บาท (12 เลม)

ดูสถานที่จัดวางทั้งหมดได้ที่: creativethailand.org/contactus

หรือดาวนโหลดใบสมัครออนไลน creativethailand.org/contactus

กรุงเทพฯ ร้านหนังสือ • Asia Books • Kinokuniya • B2S • แพร่พิทยา

• MAIIAM Contemporary Art Museum • ชีวิต ชีวา • Minimeal Cafe • Impresso • Restr8to • Penguin Villa (Penguin Getto) ร้านกาแฟ/ร้านอาหาร • กาแฟอาข่า อ่ามา • Au Bon Pain La Fattoria สาขา2 • Starbucks • TOM N TOM’S COFFEE • Happy Hut ถ.นิมมานฯ • True Coffee • ราชดำ�เนิน • Auntie Anne’s • Mai Bakery In Garden • Baskin Robbins • Starbucks The Plaza • Coffee World • Yesterday Hotel • Mister Donut • October • Black Canyon • สุรยิ นั จันทรา นิมมานฯ ซอย 1 • McCafe’ • ร้านมีชามีชัย (กู) • ดอยตุง • Cafe’de nimman • Ninety four coffee • The Booksmith • Puff & Pie • ร้านชา (Drink Club) • Red Mango • Cotto Studio • Iberry • Starbucks Nimmanhemin • Greyhound Cafe’ • Fern Forest Cafe’ • Amazon Cafe’ • 9th Street Cafe • Chester’s Grill นิมมานฯ ซอย 9 • Luv minibar • ดวงกมล (Duang Kamol) • Rustic & Blue - Handgrown พิพิธภัณฑ์/หอศิลป์ • Produce & Artisan Food • หอศิลปวัฒนธรรม นิมมานฯ ซอย 9 แห่งกรุงเทพมหานคร • หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม • มิวเซียม สยาม • อุทยานการเรียนรู้ (TK park) มช. • นำ�ทอง แกลเลอรี่ หัวหิน • ร้านกาแฟ ชุบชีวา หัวหิน สมาคม/ห้องสมุด • อยู่เย็น หัวหิน บัลโคนี่ • ศูนย์ศิลปะนานาชาติ • บ้านใกล้วัง สมาคมฝรั่งเศส • ภัตตาคารมีกรุณา • ห้องสมุดเนลสัน เฮลส์ The Neilson Hays Library • บ้านถั่วเย็น @ แนบเคหาสน์ • ร้านอาหารหัวหิน (โกทิ) • ห้องสมุด - นิด้า • กาแฟข้างบ้าน • สมาคมโฆษณา • IL GELATO ITALIANO แห่งประเทศไทย • Together Bakery & Cafe’ • สมาคมธนาคารไทย • โรงแรม วรบุระหัวหิน • สมาคมสโมสรนักลงทุน • Let’s Sea • ห้องสมุด สสวท. • โรมแรม ดูน หัวหิน • สมาคมหอการค้าไทย • เดอะร็อค หัวหิน • สถาบัน • บ้านจันทร์ฉาย • Wall Street Institute • หัวหิน มันตรา รีสอร์ท • Raffle Design Institute • ลูน่าฮัท รีสอร์ท • Vision Swimming Academy กระบี่ • Nakamanda Resort & Spa เชียงใหม่ • Rawee Warin Resort & Spa • woo cefe • A little Handmade Shop • Kagee • Ristresto lab • ท่าแพอีสต์+ dibdee.binder ขอนแก่น • Hug School • C.A.M.P ,MAYA • True Coffee ,หอสมุด มช. of Creative Arts • ร้านสืบสาน • Punspace, นิมมานฯ • ร้านกาแฟ คอฟฟี่ เด้อ หล่า • asama cafe • มาหาสมุด (บ้านข้างวัด) (Coffee Der La) • see scape gallery เชียงราย • nimmanian club • ร้านหนังสือ herebookafe • 8 days a week • ร้าน Coffee Dad • Bulbul book cafe’ • Graph cafe’ นครราชสีมา • Cefe de museum • Hug station resort • local cafe Think park • Librarista นครปฐม • Artisan วัวลาย • ร้าน Dipchoc Cafe • paper spoon • กาแฟรสนิยม, นครสวรรค์ หลัง มช ทางขึ้นกาแล • The barn : Eatery Design • ร้าน Bitter Sweet • Book Republic น่าน • wake up หน้ามอ • ร้าน Runway Coffee • Fab cafe’ • kum cafe คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ • ร้านคลาสสิค โมเดล น่าน

• ร้านกาแฟปากซอย • ร้าน Nan Coffee Bean ปาย/แม่ฮ่องสอน • ร้านคอฟฟี่อินเลิฟ • ร้าน all about coffee • ร้านปายหวานบ้านนมสด • ร้านเล็กเล็ก • ปายวิมานรีสอร์ท พังงา • Niramaya Villa and Willness Resort • Ranyatavi Resort Phang Nga • The Sarojin เพชรบุรี • Grand Pacific Sovereign • Resort & Spa • DevaSom Hua Hin Resort ภูเก็ต • ร้านหนัง(สือ) ๒๕๒๑ ภูเก็ต • The oddy Apartment & Hotel • At Panta Phuket • Banyan Tree Phuket • Le Meridien Phuket • Millienium Ressort Patong Phuket • Novotel Phuket Resort • Patong Paragon Resort & Spa Phuket • Sheraton grand Lagana Phuket • Sri wanwa Phuket Villa • Thanyapura ระยอง • Le Vimarn Cottage ลำ�ปาง • อาลัมภางค์ เกสท์เฮ้าส์ แอนด์ มอร์ ลำ�ปาง • ร้านเอกาลิเต้ Egalite Bookshop • Lampang Art Center เลย • บ้านชานเคียง • มาเลยเด้ เกสต์เฮาท์ ลพบุรี • ซนดิคอฟฟี่ สมุทรสงคราม/อัมพวา • Baan Amphawa Resort and Spa สุโขทัย • Ananda Co.,Ltd. สุราษฎร์ธานี • Muang Samui Spa Resort • Pavilion Samui Boutique Resort • The Sunset Beach Resort and Spa Taling ngam • Nora Beach Resort Samui อุทัยธานี • ร้านบุ๊คโทเปีย Booktopia • Avatar Miracles

ขอมูลผูสมัครสมาชิก สมาชิกใหม ชื่อ นามสกุล เพศ โทรศัพท

สมาชิกเกา (ตออายุ) หญิง อายุ

ชาย

อีเมล

โทรศัพทมือถือ

อาชีพ นักเรียน ครู/อาจารย

นิสิต/นักศึกษา พนักงานบริษัท

นักออกแบบ/ครีเอทีฟ ผูประกอบการ

อาชีพอิสระ อื่นๆ โปรดระบุ

ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ

สาขา/อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับอาชีพของทาน โฆษณา สถาปตยกรรม แฟชั่น ศิลปะการแสดง ดนตรี ภาพยนตร โทรทัศน/วิทยุการกระจายเสียง

ทองเที่ยว/โรงแรม/สายการบิน วรรณกรรม/การพิมพ/สื่อสิ่งพิมพ พิพิธภัณฑ/หองแสดงงาน ซอฟตแวร/แอนิเมชัน/วิดีโอเกม

หัตถกรรม/งานฝมือ การเงิน/ธนาคาร ทัศนศิลป/การถายภาพ อื่นๆ โปรดระบุ

อาหาร การแพทย การออกแบบ

คาปลีก/คาสง โทรคมนาคม

ที่อยูในการจัดสง หมูบาน/บริษัท เลขที่ จังหวัด

ซอย

ถนน รหัสไปรษณีย

หนวยงาน/แผนก ตำบล/แขวง

อำเภอ/เขต

หนวยงาน/แผนก ตำบล/แขวง

อำเภอ/เขต

ที่อยูในการออกใบเสร็จ เหมือนที่อยูในการจัดสง เลขประจําตัวผูเสียภาษี เพื่อออกใบเสร็จรับเงิน หมูบาน/บริษัท เลขที่ ซอย ถนน จังหวัด รหัสไปรษณีย

ตองการสมัครสมาชิกนิตยสาร Creative Thailand ระยะเวลา 1 ป จำนวน 12 เลม เริ่มตั้งแตฉบับเดือน โดยยินดีเสียคาใชจายในการจัดสงเปนจำนวนเงิน 200 บาท

วิธีการชำระเงิน เช็คสั่งจายสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรค (องคการมหาชน) (CEA) พรอมใบสมัครสมาชิก โอนเงินเขาบัญชี สำนักงานสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรค (องคการมหาชน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสำนักงานใหญสลี ม เลขทีบ่ ญั ชี 101-9-12219-9 • แฟกซใบสมัครพรอมหลักฐานการโอนเงินมาที่ 02-105-7450 • หรือสงไปรษณียมาที่ สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรค (องคการมหาชน) (CEA) อาคารไปรษณียกลาง 1160 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 • หรือแนบไฟลใบสมัครพรอมหลักฐานการโอนเงินมาที่อีเมล creativethailand@cea.or.th สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ 02-105-7400 ตอ 116


Photo by Captionery on Unsplash

Cover Story : เรื่องจากปก

เรื่อง : ดลพร รุจิรวงศ์

ปี 2020 เปิดศักราชมาพร้อมกับเหตุด่วนเหตุร้ายที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตลอดไตรมาสแรก เริ่มตั้งแต่ไฟป่าที่ออสเตรเลียที่ลุกลามข้ามปี หรือ PM 2.5 ที่ก็ยืดเยื้อมาหลายปีเช่นกัน เข้มข้นขึ้นอีกด้วยความไม่สงบระหว่างสหรัฐอเมริกาและตะวันออกกลาง และที่สร้าง ความอกสัน่ ขวัญแขวนให้คนไทยจำ�นวนมาก คือเหตุกราดยิงทีโ่ คราชซึง่ นำ�ไปสูพ ่ ฤติกรรม เลียนแบบอีกหลายครั้ง แต่คำ�ที่คนทุกทวีปทั่วโลกขยาดและหวาดกลัวที่สุดในขณะนี้ คงหนีไม่พ้น “โควิด-19” โรคระบาดครัง้ นีน้ อกจากคร่าชีวติ และสุขภาพของผูค้ นกว่า 160 ประเทศแล้ว ยังกระทำ�ชำ�เราธุรกิจน้อยใหญ่ และตลาดหุ้น พรากมนุษยธรรม และย่ำ�ยีสุขภาพจิตของสังคมเราอย่างไม่ปรานี เรามีเหตุผลร้อยแปดพันเก้าที่จะกลัวโควิด-19 ทั้งการแพร่เชื้ออันง่ายดาย จำ�นวนผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตที่ เพิ่มขึ้นทุกวัน การขาดวัคซีนป้องกัน การบริหารจัดการที่ไม่ทันท่วงที ข้อเท็จจริงที่น่ากลัวยังถูกโหมประโคมด้วย ข่าวปลอมให้กระแสทวีความรุนแรงขึ้นไปอีก...โควิด-19 เป็นปรากฏการณ์ใหม่ที่เราไม่ควรนิ่งนอนใจ แต่เราควร เตรียมใจอย่างไร CREATIVE THAILAND I 12


ในเชิงกายภาพ ถึงแม้องค์การอนามัยโลกจะ ประกาศให้โควิด-19 เป็นโรคระบาด (Pandemic) ทีเ่ กิดจากจากไวรัสโคโรนาเป็นครัง้ แรก (องค์การ อนามัยโลกจัดให้โรคซาร์สและโรคเมอร์สเป็นโรค ประจำ�ถิ่น (Endemic) ไม่ถือว่าเป็นโรคระบาด) แต่ไวรัสสายพันธุ์ใหม่นี้ก็ไม่ได้ถือว่าร้ายแรงเมื่อ เทียบกับโรคระบาดอืน่ ๆ ในอดีตที่ผ่านมา เพียงแต่ ความหนักหนาสาหัสของการระบาดครั้งนี้อยู่ที่ อัตราการแพร่เชือ้ ทีร่ วดเร็วและกระจายเป็นวงกว้าง แต่ท�ำ ไมโควิด-19 ถึงมีอานุภาพทำ�ลายล้าง รุนแรงเหลือเกิน สาเหตุหลักของการติดต่อทางร่างกายอย่าง รวดเร็ว คือ ไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไปในยุคโลกาภิวตั น์ สังคมเมืองมาพร้อมกับพลวัตที่เลื่อนไหลอย่าง รวดเร็ว ผู้คนใช้เงินซื้อความสะดวกสบายและ ความสุข นิยมกิน ดื่ม เที่ยว ใช้ชีวิตอยู่นอกบ้าน มากขึ้น อยู่คนเดียวน้อยลง และที่สำ�คัญ วิถีชีวิต

ที่ไม่อยู่นิ่งทำ�ให้มีการเคลื่อนย้ายของประชากร มากขึน้ การเดินทางข้ามจังหวัดข้ามประเทศเป็น เรือ่ งง่ายและราคาย่อมเยากว่า 10-20 ปีที่แล้วมาก คนจำ�นวนมากทำ�งานต่างบ้านต่างเมือง คนจำ�นวน ไม่นอ้ ยเพลิดเพลินกับการไปสถานทีต่ า่ งวัฒนธรรม ทำ � ให้ ไ วรั ส แพร่ ก ระจายได้ อ ย่ า งไร้ พ รมแดน ผู้โดยสารที่เดินทางด้วยเครื่องบินเมื่อปี 2019 มี ทัง้ หมด 4,500 ล้านคน เพิม่ ขึน้ จาก 2,479 ล้านคน เมื่อปี 2009 และ 1,994 ล้านคนเมื่อปี 2004 เมื่อสถานการณ์เริม่ รุนแรง ภาครัฐยกระดับ มาตรการควบคุมการติดเชือ้ ประกาศลดการเดินทาง ไปต่างประเทศ งดการประชุมและชุมนุมสังสรรค์ ปิดสถานที่ทำ�งานและสถานบันเทิงหลายแห่ง รวมถึงสถานศึกษาทุกแห่ง ผู้บริโภคแห่แหน กันกักตุนสินค้าและพ่อค้าแม่ค้าโก่งราคาสินค้า ไปพร้อม ๆ กัน ประชาชนออกจากบ้านน้อยลง กิจกรรมที่ เคยชื่นชอบอย่างการกินข้าว เช็กอินตามคาเฟ่ นวด ทำ�เล็บ ออกกำ�ลังกาย กินเหล้าเฮฮา รวมถึง

โควิด-19 (COVID-19 ย่อมาจาก Coronavirus Disease 2019) เกิดจากไวรัสโคโรนา สายพันธุใ์ หม่ชอ่ื 2019-nCoV หลายคนคงทราบแล้วว่าไวรัสตระกูลโคโรนาไม่ใช่แขกแปลกหน้า เสียทีเดียว ไวรัสโคโรนาที่พบในสัตว์และคนมีกว่า 200 สายพันธุ์ แต่ที่ผ่านมา มนุษย์รู้จักกับ ไวรัสโคโรนา 6 สายพันธุ์ สายพันธุด์ งั้ เดิมทีท่ �ำ ให้เกิดโรคประจำ�ถิน่ อย่างหวัดและโรคทางเดิน หายใจมี 4 สายพันธุ์ ส่วนสายพันธุ์อุบัติใหม่ 2 สายพันธุ์ทำ�ให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบ แบบเฉียบพลันอย่างโรคซาร์ส (SARS ย่อมาจาก Severe Acute Respiratory Syndrome หรือ โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง) และโรคเมอร์ส (MERS ย่อมาจาก Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus หรือ ไวรัสทางเดินหายใจตะวันออกกลาง) 2019-nCoV เป็นสมาชิกลำ�ดับที่ 7 ในตระกูล เมือ่ ปี 2002 มีผเู้ สียชีวติ จากโรคซาร์สรวม 774 คนจากผูต้ ดิ เชือ้ ทัง้ หมด 8,096 คน อัตรา การตายคิดเป็น 10% ต่อมาในปี 2012 มีผู้ติดเชื้อโรคเมอร์สทั้งหมด 2,494 คน และเสียชีวิต 858 คน หรือ คิดเป็น 34% เมื่อเทียบกับโควิด-19 ที่มีผู้เสียชีวิตเกือบ 9,000 คนจากจำ�นวนผู้ติดเชื้อทั้งหมด 220,000 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 มีนาคม 2020) นับตัง้ แต่กลางเดือนธันวาคม 2019 เป็นต้นมา อัตราการตายของโรคคิดเป็นเพียง 3.4% เท่านั้น และถ้าย้อนกลับไปเกือบ 700 ปีที่แล้ว ระหว่าง ค.ศ. 1347-1351 เกิดโรคระบาด Black Death หรือที่ปัจจุบันรู้จักกันว่า กาฬโรค มีผู้เสียชีวิตราว 75-150 ล้านคน ทำ�ให้ประชากร โลกลดลงจากประมาณ 450 ล้านคนเหลือ 300-375 ล้านคน นับเป็นความเสียหายจาก โรคระบาดที่ใหญ่หลวงที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ส่วนโรคระบาดทีร่ า้ ยแรงเป็นอันดับสอง คือ โรคไข้หวัดใหญ่สเปน ทีอ่ อกอาละวาดในช่วง ค.ศ. 1918 ประชากรประมาณ 1 ใน 3 ของโลกติดเชื้อดังกล่าว และราว 50 ล้านคนเสียชีวิต CREATIVE THAILAND I 13

Photo by Erik Mclean on Unsplash

เราจิตตกเพราะโควิด... หรือความคิด

เที่ยวต่างจังหวัดและต่างประเทศก็ต้องลดลงไป โดยปริยาย ความโดดเดี่ยวจากการกักตัวและ การรักษาระยะห่างทางสังคมทำ�ให้กลุม่ ประชากร สุขนิยมเริ่มหดหู่ เพราะโหยหาแหล่งที่มาของ ความสุขอันคุ้นเคย เมื่ อ พฤติ ก รรมการบริ โ ภคและกิ จ กรรม นันทนาการเริ่มลดลง ธุรกิจหลายแห่งชะลอตัว เกิดปัญหาคนว่างงาน เศรษฐกิจหยุดชะงัก ตลาดหุน้ ซบเซา ทั้งหมดนี้เป็นเชื้อเพลิงเพิ่มความเครียด ชั้นดีที่ต่อเนื่องกันเป็นห่วงโซ่ เมื่อต้องอยู่บ้านมากขึ้น เวลาว่างส่วนใหญ่ ก็หมดไป การท่องโลกอินเทอร์เน็ตเพื่อเกาะติด สถานการณ์อย่างใกล้ชิด แต่ยิ่งเราเสพข่าวมาก แค่ไหน ความตื่นตระหนกวิตกจริตก็มากขึ้น เท่านั้น การคาดเดาอนาคตไม่ได้และไม่รจู้ ดุ จบของ เหตุการณ์เช่นนี้ส่งผลให้เกิดข่าวลวง ข่าวลือที่ ได้รบั ความเชือ่ ถือพอ ๆ กับข้อเท็จจริง ความกลัว แพร่สะพัดเข้าสู่จิตใจของเรายิ่งกว่าฝอยละออง ของผู้ติดเชื้อ ความตึงเครียดค่อย ๆ ก่อตัวขึ้น ความโกลาหลตามมาติดๆ สังคมเราคงไม่ตายด้วยโควิด-19 แต่จะมี ปัญหาสุขภาพจิตไปเสียก่อน


ความกลัวผันแปรตามความไม่รู้

ท่ามกลางมหาสมุทรเฟคนิวส์และสึนามิที่พัดพา ข่าวทีร่ นุ แรงเกินจริง คุณรูไ้ หมว่า 80% ของผูต้ ดิ เชือ้ มีอาการน้อยหรือไม่มีอาการเลย 15% แสดง อาการ และ 5% เข้าข่ายวิกฤต คุณรู้ไหมว่า ทอม แฮงค์ส พักรักษาตัวที่ โรงพยาบาลเพียงห้าวันเท่านั้น คุณรูไ้ หมว่า ผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่มอี าการแทบจะไม่มี โอกาสในการแพร่เชื้อเลย คุณรู้ไหมว่า ระยะที่ 1 2 3 ของสถานการณ์ แพร่ระบาด ไม่เกี่ยวกับความรุนแรงของโรค ส่วนความจริงที่เป็นทั้งข่าวร้ายและข่าวดี คือ สถานการณ์จะแย่ลงอีก แต่หลังจากนั้นจะ ดีขึ้น ศาสตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยา คลินกิ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายถึงธรรมชาติ ของโรคระบาดว่า การระบาดของโรคหลายชนิดที่ เกิดจากไวรัส เมือ่ ประชากรกว่าครึง่ ติดเชือ้ ทัง้ แบบ มีและไม่มีอาการ จะเกิดการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd Immunity) และเมื่อประชากรจำ�นวนมาก มีภูมิต้านทาน โรคระบาดจะลดความรุนแรงลง กลายเป็นโรคประจำ�ถิน่ หรือระบาดตามฤดูกาลแทน เช่น ไข้หวัดใหญ่สเปนที่มีความสูญเสียค่อนข้าง มากในปี แ รก หลั ง จากนั้ น ก็ อ ยู่ ป ระจำ � ถิ่ น เป็ น ไข้ ห วั ดใหญ่ ป ระจำ � ฤดู ก าลต่ อ มาอี ก นาน ส่วนไข้ทรพิษระยะแรกมีความรุนแรงมาก เมื่อมี การคิดค้นวัคซีนป้องกันออกมาก็ทำ�ให้ไข้ทรพิษ หายไปในที่สุด ในระหว่างนี้ที่ยังไม่มีวัคซีนรักษาโควิด-19 และยังไม่มีใครตอบได้ว่าการระบาดครั้งนี้จะ ดําเนินไปถึงเมือ่ ไร ไม่วา่ ประเทศไทยจะมีผตู้ ดิ เชือ้ กี่คน หรือการแพร่ระบาดอยู่ในระดับใดก็ตาม สิ่งที่เราควรทำ�เพื่อตัวเองและสังคม คือ รักษา สุขภาพให้แข็งแรง ปฏิบัติตนให้ถูกสุขลักษณะ ระมัดระวังการแพร่และการติดเชือ้ และหลีกเลีย่ ง ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ละไม่ มั่ น ใจว่ า เป็ น ความจริง

โควิดไม่ใช่วิกฤต (สุดท้าย)

อย่างไรก็ตาม Alanna Shaikh ผู้เชี่ยวชาญด้าน สุขภาพโลกพูดอย่างไม่อ้อมค้อมบนเวที TedTalk ที่ TEDxSMU เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2020 ในหัวข้อ Corona is Our Future ว่า

รคระบาด “ โความกลั ว

ไม่ ได้ ทำ� อันตราย เรา เท่า โรคระบาด แม้ ใน ช่วง ที่ มี โรคระบาด ความสุข ก็ ยัง คง มี อยู่ รอบ ตัวเรา จึง ขอ อวยพร ให้ ทุกคน ได้ เห็น ความสุข ท่ามกลาง ภัยพิบัติ ที่ พวกเรา กำ�ลัง เผชิญ”

“นีไ่ ม่ใช่โรคระบาดใหญ่ครัง้ สุดท้ายทีพ่ วกเรา จะต้องเผชิญ จากนี้ไปจะมีโรคระบาดมากขึ้น อีกเรือ่ ย ๆ และจะมีการแพร่กระจายอีกมาก นีไ่ ม่ใช่ การประเมินว่า ‘น่าจะเกิด’ แต่มนั ‘ต้องเกิด’ ขึน้ อีก แน่นอน และมันเกิดขึ้นจากวิธีการที่มนุษย์เรา ปฏิสัมพันธ์กับโลกของเรา” เพราะฉะนัน้ โควิด-19 ทีเ่ ราทุกคนต่างหวาดกลัว แท้จริงแล้วเป็นเพียงยอดภูเขาน้ำ�แข็งก้อนมหึมา ใต้ทะเลทีเ่ รามองไม่เห็น และเผลอ ๆ อาจจะเป็น เพียงหนึง่ ในภูเขาน้�ำ แข็งอีกหลายก้อนทีร่ ออยูข่ า้ ง หน้าด้วยซ้ำ� ซึ่งจะนำ�พาความเปลี่ยนแปลงหรือ วิกฤตอืน่ ๆ มาอีกในอนาคต แทนทีเ่ ราจะหวาดผวา ด้วยความสิ้นหวังและชวนคนรอบตัวหมดหวัง ไปพร้อมกัน เราทำ�อะไรได้บ้างเพื่อเตรียมตัว เตรียมใจรับมือ และเปลี่ยนโรคร้ายให้กลายเป็น โลกที่ดี

พระไพศาล วิสาโล

ทีเ่ กีย่ วข้องว่าไม่สามารถรับมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถือว่าเป็นโอกาสทีด่ ใี นการตัง้ สติให้มน่ั จับความคิด ตัวเองให้ทัน เพื่อพิจารณาจิตที่ปรุงแต่งของเรา และหยุดใช้อารมณ์ แต่ถอยมามองโรคระบาดนี้ ด้วยเหตุผลตามความเป็นจริงว่า ทุกอย่างล้วน ไม่เทีย่ ง เกิด แก่ เจ็บ ตายถือเป็นธรรมดาของชีวติ สิง่ ทีเ่ ราและโลกกำ�ลังเผชิญอยูท่ กุ วันนีไ้ ม่ใช่ เรื่องแปลกและไม่ใช่เรื่องใหม่ สมมติวันหนึ่ง เราติ ด เชื้ อ ไวรั ส ตั ว นี้ ขึ้ น มา ก็ รั ก ษาไปตาม กระบวนการของแพทย์ อย่าตื่นตูม เพราะการ ตื่นตระหนกก็ไม่สามารถช่วยให้เรารอดพ้นจาก การติดเชื้อได้ แถมอาจจะทำ�ให้เราล้มป่วยด้วย โรคอื่นด้วยซ้ำ� ในระหว่ า งที่ เ รายั ง ไม่ ต าย อย่ า มั ว แต่ กลัวตายจนตายทั้งเป็น ช่วงเวลาแบบนี้ เราควรขอบคุณโควิด-19 ด้วยซ้ำ�ที่มาเตือนสติให้เราดำ�เนินชีวิตบนความ โอกาสในวิกฤต ไม่ประมาท และสะกิดเตือนว่าเราโชคดีแค่ไหน พิจารณาความเปราะบางของชีวิต ที่ยังมีลมหายใจ มีเวลาขัดเกลาจิตใจให้มองเห็น ช่วงเวลาทีเ่ กิดอุบตั ภิ ยั ขึน้ ในโลก สัญชาตญาณดิบ ความเปลี่ยนแปลง และยอมรับกฎธรรมชาติ ของมนุษย์อย่างความกลัว ความเอาตัวรอด แม้ เ มื่ อ วั น หนึ่ ง ที่ ก ารระบาดเริ่ ม เบาบาง ความโลภ ความเห็นแก่ตัวจะโผล่ออกจากที่ซ่อน ลงแล้ว ก็อย่าลืมว่า ไม่มีอะไรรับประกันว่าเราจะ ช่วงเวลาของโควิด-19 ก็เช่นกัน ไม่มีใคร มีชีวิตอยู่ถึงเมื่อไร การหมั่นพิจารณาความตาย อยากป่วย อยากตาย อยากพลัดพรากจากคนรัก ที่อาจจะมาถึงวันนี้ พรุ่งนี้จะช่วยกระตุ้นให้เรา หรืออยากจ่ายเงินรักษาราคาแพง เลยต่างพากัน ใช้ ชี วิ ต ที่ เ หลื อ อยู่ อ ย่ า งคุ้ ม ค่ า สะสมความดี หวาดระแวงไปตาม ๆ กัน จิตปรุงแต่งจากความ สร้างความสุขให้ตัวเองและคนที่เรารัก และ รักตัวกลัวตายนี้ไม่นำ�ไปสู่ผลดีใด ๆ เลย รังแต่ สร้างสรรค์สิ่งดี ๆ เพื่อสังคม จะสร้างความขุ่นข้องหมองใจให้ตัวเอง ซึ่งเป็น บ่อเกิดแห่งความทุกข์ไม่จบสิ้น ปรับชีวิตออฟไลน์ ช่วงภาวะเช่นนี้ เมือ่ เรามีความรูส้ กึ ปรุงแต่ง ปรากฏการณ์ทกี่ ระทบต่อวิถชี วี ติ ในวงกว้างเช่นนี้ และเป็นอกุศล เช่น คิดโกรธแค้น “ผีน้อย” หรือ จะสร้าง New Normal หรือวิถีปกติใหม่ ๆ ใน “Super Spreader” ที่ไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงทาง รูปแบบต่าง ๆ ขึ้นมา บางครั้งก็เป็นจุดเปลี่ยนที่ สังคม หรือรุมประณามบุคคลและหน่วยงาน เกินความคาดหมาย CREATIVE THAILAND I 14


แต่ไหนแต่ไรมา คนท้องถิ่นในชุมชนแถบ แอฟริกาตะวันตกมีธรรมเนียมอาบน้ำ�และสัมผัส ศพด้วยมือเปล่าก่อนฝัง แต่เมือ่ โรคอีโบลาระบาด ช่วงปี 2013-2016 การสัมผัสสารคัดหลั่งของศพ ที่เป็นเหยื่อของโรคอีโบลาเป็นสาเหตุให้ไวรัส แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว เมื่อปี 2014 งานศพ ของเภสัชกรชื่อดังในประเทศเซียร์ราลีโอนเพียง งานเดียวทำ�ให้มผี ตู้ ดิ เชือ้ อีโบลาถึง 28 คน รัฐบาล ไลบีเรียและสหรัฐอเมริกาจึงประกาศบังคับเผาทุกศพ ที่เสียชีวิตจากเชื้อไวรัสอีโบลา ส่งผลให้หลาย ชุมชนยกเลิกการสัมผัสและฝังศพในเวลาต่อมา ส่วน New Normal ในยุคของโควิด-19 ก็เริม่ ปรากฏให้เห็นแล้ว ประเทศตะวันตกเริ่มเปลี่ยน ธรรมเนียมการทักทายจากการจับมือ กอด และ หอมมาเป็นการแตะข้อศอก การโบกมือ รวมถึง การไหว้แบบคนไทยด้วย ในทางกลับกัน การปรับพฤติกรรมช่วงนี้ ทำ�ให้เกิดขั้วตรงข้ามของ New Normal นั่นคือ การย้อนกลับไปหา Old Normal หรือวิถีชีวิตที่ เราคุ้นเคยในอดีต โดยเฉพาะก่อนที่เราจะรู้จัก อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตและสมาร์ตโฟนย่อโลก ทั้งใบให้อยู่ในมือเรา เราสามารถทำ�งาน ทำ�ธุระ หาความเพลิดเพลินเกือบทุกอย่างได้อย่างสะดวก สบายและประหยัดเวลามากกว่าที่เคย แต่รู้สึก ไหมว่าเราใช้ชีวิตอย่างรีบเร่งมากขึ้น และมีเวลา ว่างน้อยลง การกักตัวเองอยูใ่ นบ้านช่วงนีท้ �ำ ให้เราได้ใช้ ชีวิตช้าลง ให้เวลากับตนเองและครอบครัวอย่าง เต็ ม ที่ กิ น อาหารโฮมเมด ใช้ ชี วิ ต กลางแจ้ ง ออกกำ�ลังกาย และที่สำ�คัญ แทนที่จะจมจ่อม อยู่กับข่าวสารและความเครียด ควรจะหากิจกรรม เสริ ม ความสุ ข ในยามว่ า ง เช่ น อ่ า นหนั ง สื อ เล่นดนตรี ทำ�สวน เป็นต้น ส่วน Old Normal ที่สองอาจจะย้อนอดีต ไปไกลแต่ไม่เคยเป็นเรื่องเก่าในสังคมไทย เมื่อ 108 ปี ที่ แ ล้ ว เจ้ า พระยาพระเสด็ จ สุ เ รนทราธิ บ ดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) เสนาบดีกระทรวง ธรรมการ เรียบเรียงหนังสือ “สมบัติของผู้ดี” ขึ้น เพื่อรวบรวมวิธีประพฤติปฏิบัติตนที่เหมาะสมทั้ง กาย วาจา ใจ ขึ้น บทที่หนึ่งว่าด้วยผู้ดีย่อมรักษา ความเรี ย บร้ อ ยเขี ย นว่ า ผู้ ดีย่ อ มไม่ จิ้ ม ควั ก ล้วงแคะแกะเการ่างกายในที่ประชุมชน ย่อมไม่ จามด้วยเสียงอันดังโดยไม่ปอ้ งกำ�บัง ย่อมไม่ถกู ต้อง หรือหยิบยื่นสิ่งของที่ผู้อื่นจะบริโภคด้วยมือตน ย่อมไม่เอาเครือ่ งใช้ของตน เช่น ช้อนส้อม ไปล้วง

ตักสิง่ บริโภคซึง่ เป็นของกลาง ย่อมระวังไม่พดู จา ตรงหน้าผูอ้ นื่ ให้ใกล้ชดิ เหลือเกิน ทัง้ หมดเป็นคำ�สอน ที่เราได้ยินมาตั้งแต่เล็กจนโต แต่เราอาจหลงลืม ไปบ้างตามวัฒนธรรมตะวันตก หรือธรรมเนียมปฏิบัติอันดีงามเหล่านี้เอง ที่ช่วยให้อัตราการติดเชื้อของไทยชะลอตัวกว่า หลายประเทศทั่วโลก เปลี่ยนพฤติกรรมออนไลน์

สือ่ ออนไลน์นบั เป็นแหล่งสารสนเทศทีป่ อ้ นความรู้ และความบันเทิงให้เราได้ไม่สน้ิ สุด คิดอะไรไม่ออก ทำ�อะไรไม่ถกู ไม่มที ไี่ หนจะสร้างความอุน่ ใจได้ดี เท่าโซเชียลมีเดีย แต่ในช่วงของความระส่ำ�ระสายที่ทุกคน เต็มไปด้วยคำ�ถามและต้องการคำ�อธิบาย โซเชียล มีเดียกลายเป็นเวทีโต้วาทีสาธารณะทีเ่ ต็มไปด้วย การสาดอารมณ์และความคิดเห็นใส่กันจนไม่มี ใครฟังใคร ส่วนผู้ชมก็แย่งกันถาม แย่งกันเชียร์ และด่าทอ คนพูดยังพูดไม่ทันจบ คนฟังก็โกรธ เป็นฟืนเป็นไฟ บ้างก็น�ำ ไปขยายความต่อเสียแล้ว รู้ ตั ว อี ก ที มองไปทางไหนก็ มี แ ต่ ค นฉุ น เฉี ย ว วิตกจริต และจิตตกไปตาม ๆ กัน การที่เราได้อ่านได้เห็นประทุษวาจา (Hate Speech) และบรรยากาศอันก้าวร้าวเกรีย้ วกราด เช่ น นี้ ซ้ำ � แล้ ว ซ้ำ � เล่ า จะทำ � ให้ เ รามองไม่ เ ห็ น ข้อเท็จจริงและมองหาทางออกไม่ได้ สุดท้ายเรา จะไม่ ลุ ก ขึ้น ต่ อ สู้ เ พื่ อ สร้ า งความเปลี่ ย นแปลง อีกต่อไป เพราะความหวังทุกอย่างดับไปแล้ว เป็นภาวะที่เรียกว่า Learned Helplessness หรือ ความสิ้นหวังอันเกิดจากประสบการณ์ชีวิต ในโมงยามที่ สั ง คมต้ อ งการที่ ยึ ด เหนี่ ย ว การไตร่ตรองข้อมูลอย่างมีสติ สงวนอารมณ์ลบ แสดงอารมณ์บวกจะช่วยสร้างระบบนิเวศเชิงบวก ในโซเชียลมีเดีย เพื่อช่วยกันสร้างพลังบวกใน สังคม #ตระหนักแต่ไม่ตระหนก #โอกาสติดโควิดหนึ่งเปอร์เซนต์ #โอกาสประสาทแดกร้อยเปอร์เซนต์ ปฏิวัติสังคม

ดาบมีสองคมฉันใด โลกออนไลน์ก็มีทั้ง ประโยชน์และโทษฉันนั้น ตั้งแต่โซเชียลมีเดียเปรียบเสมือนเลือดเนื้อ และลมหายใจของเราเป็นต้นมา คนเรามีแนวโน้ม จะคาดหวังความสนใจ การยอมรับ และคำ�ชืน่ ชม CREATIVE THAILAND I 15

จากผู้ อื่ น มากเกิ น ไป ทั้ ง ยั ง มี แ นวโน้ ม ว่ า จะ เห็นอกเห็นใจผู้อื่นน้อยลง เพราะการถ่ายเซลฟี่ การโพสต์รูป ยอดไลก์ ยอดคอมเมนต์จะพาไป ในทางทีผ่ ดิ และทำ�ให้ผใู้ ช้รสู้ กึ มัน่ ใจเกินเหตุ รูส้ กึ ราวกับว่าสายตาทุกคูก่ �ำ ลังจับจ้องและสปอตไลต์ กำ�ลังส่องมาที่ตัวเอง แต่เมื่อวิกฤตโควิด-19 เข้มข้นรุนแรงขึ้น เรือ่ ย ๆ ผูใ้ ช้โซเชียลมีเดียโพสต์รปู เซลฟี่หรือเรือ่ งราว เกี่ยวกับตัวเองน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด แต่มีการ แสดงความเป็นห่วงเป็นใยคนรอบข้าง ผู้ป่วย บุคลากรทางการแพทย์ ประเทศชาติ และเพื่อน ร่วมโลกมากขึ้น คนไทยทำ�คลิปวิดีโอส่งกำ�ลังใจ ให้ ห มอและคนไข้ ใ นเมื อ งอู่ ฮั่ น โรงพยาบาล หลายแห่งประกาศรับบริจาคหน้ากากอนามัยและ ได้รับการสนับสนุ​ุนจากประชาชนอย่างท่วมท้น รัฐบาลยกเลิกนโยบายแจกเงินเยียวยาผลกระทบ จากโควิด-19 หลังจากทีป่ ระชาชนใช้โซเชียลมีเดีย เป็นกระบอกเสียงแสดงความคิดเห็นให้รัฐบาล ทบทวนมาตรการดังกล่าว วิกฤตครัง้ นี้ เราได้เห็นชาวแคนาดาในเฟสบุก๊ หลายหมื่ น คนรวมตั ว กั น ทำ � ความดี ด้ว ยการ มอบมิตรจิตมิตรใจเล็ก ๆ น้อย ๆ ให้ผทู้ ตี่ อ้ งการ ความช่วยเหลือ เช่น จ่ายตลาด ทำ�อาหาร ทำ�งานบ้าน สอนออกกำ�ลังกายออนไลน์ หรือ แม้แต่คุยเป็นเพื่อนคนแก่ กลุ่มลักษณะนี้เกิดขึ้น เร็วเป็นดอกเห็ด และขยายต่อไปอีกหลายประเทศ ภายในเวลาไม่กี่วัน พวกเขาเรียกกิจกรรมนี้ว่า Caremongering (การปลุกปั่นความเอาใจใส่) เป็นศัพท์ใหม่ทผ่ี นั มาจากคำ�ว่า Scaremongering (การปล่อยข่าวเพื่อปลุกปั่นให้จนคนกลัวหัวหด) เพราะคนจำ�นวนมากรู้สึกเบื่อหน่ายกับขยะและ มลพิษในโลกออนไลน์ สมาชิกหลายคนเข้าร่วมเพราะรูส้ กึ ว่าเครียด จากการอยู่บ้านเฉย ๆ และอยู่อย่างโดดเดี่ยว การได้ออกมาทำ�สิ่งที่ดี ๆ ให้ผู้อื่น ได้ช่วยคนแก่ ที่หงอยเหงาให้สดชื่นขึ้น ทำ�ให้รู้สึกว่าชีวิตมี ความหมาย อีกหนึ่งวิธีการความสุขจากโลกออนไลน์ถึง คนทั่วโลก คือ #togetherathome คอนเสิร์ตที่ แสดงสดผ่านไลฟ์ทางอินสตาแกรมให้แฟน ๆ ทัว่ โลก ที่ต้องกักตัวเองอยู่ที่บ้านได้ชม คริส มาร์ติน เป็นศิลปินคนแรกในโครงการนี้ ตามมาด้วย จอห์น เลเจนด์ และคนดนตรีในต่างประเทศ อีกมากมาย


“ ด้วยกันจะไม่เกิดขึ้นเลย ตราบใดที่มนุษย์ไม่ไปรุกรานและทำ�ลาย

การรุกรานของไวรัสสู่มนุษย์จนนำ�ไปสู่การแพร่เชื้อต่อมนุษย์ ระบบนิเวศของสัตว์บางประเภทที่เป็นแหล่งรวมของเชื้อโรคต่าง ๆ โดยไม่บุกรุกทำ�ลายธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหรือบริโภคสัตว์ป่า เชื้อโรคทั้งหลายก็ไม่สามารถแพร่มาถึงคนได้โดยง่าย ดังนั้นสัตว์ จึงไม่ควรถูกโยนบาปว่าเป็นผู้ร้าย แต่ผู้ร้ายตัวจริงควรเป็นมนุษย์ เดินดินที่ชอบเรียกตัวเองว่าสัตว์ประเสริฐนั่นเอง

พันธ์ศักดิ์ อาภาขจร

โควิด-19 ไม่ใช่เพียงวิกฤตทางสาธารณสุขเท่านัน้ แต่ยังคืบคลานครอบคลุมหน่วยงานทุกภาคส่วน และมนุษย์ทกุ ชนชัน้ ภาคเศรษฐกิจได้รบั ผลกระทบ อย่างรุนแรง และอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบ โดยตรง คือ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและ บริการ ซึ่งถือว่าเป็นตัวขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจ ที่สำ�คัญ เมือ่ ปี 2019 ประเทศไทยต้อนรับนักท่องเที่ยว ต่างชาติ 39.7 ล้านคน โดยมีนักท่องเที่ยวจีน มากถึง 11 ล้านคน จำ�นวนนักท่องเทีย่ วจีนทีล่ ดลง อย่างฮวบฮาบในช่วงวิกฤตโควิด-19 จึงส่งผลให้ ธุรกิจโรงแรม สายการบิน บริษัททัวร์ สถานที่ ท่องเที่ยวต่าง ๆ ในประเทศไทยทรุดหนักถึงขั้น วิกฤต ซึง่ ประเทศไทยยังไม่เคยเผชิญกับความสาหัส สากรรจ์เท่านี้มาก่อน เนื่องจากช่วงที่โรคซาร์ส ระบาดเมื่อปี 2003 นักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางเข้า มาในประเทศไทยมีราว 600,000 คนเท่านั้น สำ�หรับธุรกิจต่าง ๆ ทีช่ ะลอตัว ช่วงนีถ้ อื เป็น โอกาสที่ดีที่สุดในการพักจากสนามรบอันดุเดือด กลั บ มาปรั บ ทั พ และฝึ ก ปรื อ วิ ท ยายุ ท ธ์ ที่ เ รา อ่อนหัด เพื่อเตรียมพร้อมลงสนามอีกครั้งหลัง จากวิกฤตผ่านพ้นไป สิ่งที่ทำ�ได้ในช่วงนี้เพื่อให้ ออกดอกออกผลในระยะยาว คือ การติดตัง้ ระบบ พัฒนาศักยภาพบุคลากร แก้ไขจุดอ่อนของบริษทั หรือเปิดรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ธุรกิจหลายแห่งที่ปิดตัวลงทำ�ให้เกิดปัญหา การว่างงานทุกหย่อมหญ้า การทำ�งานอิสระตาม ความถนัดของตนเองและเป็นนายตัวเองจะเป็น ทางออกหนึ่งที่ได้รับความนิยมมากขึ้น ส่วน เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่เน้นการสร้างงาน สร้างรายได้ จากความคิดสร้างสรรค์ ทรัพย์สนิ ทางปัญญา และ

ศิลปวัฒนธรรมก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่นา่ สนใจ สำ�หรับคนที่สายป่านไม่ยาวพอ บทเรี ย นในอดี ต มอบความหวั ง ให้ เ ราว่ า เมือ่ วิกฤตใด ๆ ผ่านพ้นไป วิถชี วี ติ และความต้องการ ผู้บริโภคจะเปลี่ยนแปลงไปด้วย นำ�มาซึ่งปัญหา ความท้าทาย และอุปสรรคที่ต้องการการแก้ไข ซึ่งนั่นหมายถึงโอกาสใหม่ ๆ ของผู้ประกอบการ ด้วยเช่นกัน เมื่อเศรษฐกิจเริ่มเข้าสู่สภาวะปกติ ผู้บริโภคพร้อมจับจ่ายใช้สอยเช่นเดิม แต่ความ ต้องการผู้บริโภคเปลี่ยนไป ผู้ประกอบการต้อง กล้าปรับตัวและบุกเบิกเศรษฐกิจใหม่ ๆ Airbnb และ Uber เป็นตัวอย่างของสตาร์ตอัพที่เกิดขึ้น หลังจากวิกฤตซับไพรม์เมื่อ ค.ศ. 2008 ถือเป็น ผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงแผนธุรกิจแบบเดิม ๆ และ เป็นหัวหอกของบริษทั ลักษณะเดียวกันอีกหลายแห่ง ในเวลาต่อมา การทำ�งานทางไกลเพือ่ ลดความเสีย่ งในการ ติดเชื้อและแพร่เชื้อเป็นหนึ่งในโอกาสทางธุรกิจ ที่ เ ราไม่ ค วรมองข้ า ม ตั้ ง แต่ ต้ น ปี ที่ ผ่ า นมา แอพพลิเคชันประเภทการประชุมผ่านจอ เช่น

คืนความสมดุลให้สิ่งแวดล้อม

คนและสัตว์ป่ามีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น นับตัง้ แต่สมัยหินเก่าเมือ่ 2.5 ล้านปีมาแล้ว มนุษย์ เริม่ พึง่ พาธรรมชาติโดยการล่าสัตว์และหาผลหมาก รากไม้ในป่า ต่อมาจึงเริ่มเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ไว้ เป็นอาหารและพาหนะ จนมาวันหนึ่ง มนุษย์ เหิมเกริมและพยายามเอาชนะธรรมชาติ เช่น ไล่ลา่ สัตว์ปา่ จนสูญพันธุ์ ถางป่าจนเกินความพอดี หรือย้ายถิ่นฐานของสัตว์เข้ามาในเมือง เมื่อ ธรรมชาติเสียสมดุล มนุษย์จึงเริ่มได้รับความ เดือดร้อน หลายต่อหลายครัง้ ทีโ่ รคระบาดใหญ่เกิดขึน้ จากเชื้อโรคในสัตว์ที่ติดต่อมาสู่คน เช่น กาฬโรค จากแบคทีเรียในหนูและหมัดหนู โรคอีโบลา เกิดจากไวรัสอีโบลาที่มีค้างคาวผลไม้เป็นพาหะ

apps.apple.com

พลิกโฉมเศรษฐกิจ

Zoom, Slack, Google Meets, Microsoft Teams มี ย อดดาวน์ โ หลดเพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 5 เท่ า หลาย แอพพลิเคชันเปิดให้ใช้ฟรี เพราะมั่นใจว่าลูกค้า จะติดใจและซือ้ บริการอย่างต่อเนือ่ งในระยะยาว เมื่อมีเทคโนโลยีที่ดีรองรับ บริษัทก็ไม่ต้องกังวล เรื่องประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำ�งาน ที่ลดลง ทั้งยังสามารถลดต้นทุนของสำ�นักงาน เช่น ค่าน้ำ� ค่าไฟ ได้ด้วย ส่วนพนักงานก็ไม่เสีย เวลาและค่ า ใช้ จ่ า ยในการเดิ น ทาง สามารถ ทำ�งานได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย ในขณะที่ถนนและ อากาศก็ ไ ด้ รั บ ผลพลอยได้ จ ากการจราจรที่ เบาบางลง ถือเป็นช่วงทดลองที่น่าตื่นเต้นว่า รูปแบบการทำ�งานที่ยืดหยุ่น สร้างสรรค์ ทุกฝ่าย ได้ประโยชน์ และดีต่อสิ่งแวดล้อมเช่นนี้จะมา ทดแทนการทำ�งานรูปแบบเดิม ๆ ที่ผ่านมาได้ หรือไม่

CREATIVE THAILAND I 16


ไข้สเปน ไข้หวัดนก ไข้หวัดหมูมาจากไวรัส อินฟลูเอนซา (เชื้อไข้หวัดใหญ่) เป็นต้น โคโรนา ไวรัสที่เราเผชิญอยู่ในปัจจุบันสันนิษฐานว่ามา จากค้างคาวมงกุฎที่พบในจีน 2 สายพันธุ์ คือ ค้างคาวเกือกม้า และค้างคาวมงกฎยอดสั้นเล็ก โรคระบาดเหล่านีส้ ง่ สัญญาณว่าเรากำ�ลังทำ� มิดีมิร้ายธรรมชาติ ระบบนิเวศที่เปลี่ยนไปทำ�ให้ เชื้อโรคใหม่ ๆ รุกคืบเข้ามาหามนุษย์ได้ง่ายขึ้น ประกอบกับสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ เปลีย่ นแปลงทำ�ให้ไวรัสและแบคทีเรียเติบโตได้ดี ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ เ ราจะคื น ความสมดุ ล ให้ ธรรมชาติ ช่วงโควิด-19 ทำ�ให้เราจำ�เป็นและจำ�ยอม เปลีย่ นพฤติกรรมในการใช้ชวี ติ มาตรการป้องกัน ตัวเองหลายอย่างทั้งการใส่หน้ากากอนามัยหรือ การล้างมือบ่อย ๆ ก็ยงั ต้องเบียดเบียนธรรมชาติ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่วิธีอื่น ๆ เช่น การกักตัว การปิดสำ�นักงานชัว่ คราว การงดเดินทางไกลหรือ เดินทางต่างประเทศ หรือการปิดเมืองนำ�ไปสู่ ผลลัพธ์อันน่ายินดี ภาพถ่ า ยแผนที่ ท างดาวเที ย มของนาซา เผยว่า ปริมาณมลภาวะแถบเมืองอู่ฮั่น มณฑล หูเป่ยในช่วงเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ปี 2020 ลดลงอย่างมีนัยสำ�คัญเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน เมื่อปี 2019 เนื่องจากประเทศจีนออกมาตรการ สั่งห้ามการเดินทางและปิดโรงงานอุตสาหกรรม รวมทัง้ ประกาศไม่ให้ประชาชนนับล้านคนเดินทาง ออกนอกเมือง ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในมณฑลชานตงก็ลดลงด้วยเช่นกัน เนื่องจาก ผลิตถ่านหินและกลั่นน้ำ�มันลดลง องค์การอวกาศยุโรปเผยภาพถ่ายดาวเทียม ของสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วต่าง ๆ ในอิตาลี ว่าปริมาณ ก็ า ซไนโตรเจนไดออกไซด์ ล ดลงตั้ ง แต่ เ ดื อ น มกราคม 2020 เป็นต้นมา โดยเฉพาะเดือน มีนาคมที่มีการปิดเมืองหลายแห่งจนกระทั่งปิด ประเทศเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2020 น้ำ�ในคลองเวนิสสะอาดและใสแจ๋วเหมือน กระจกจากการฟื้นตัวตามธรรมชาติ การลดการปล่อยมลภาวะต่าง ๆ และการ เปิดโอกาสให้ธรรมชาติได้พักและเยียวยาตัวเอง เป็นของขวัญที่ดีที่สุดที่เราได้มอบให้กับโลกใน ช่วงนี้

แบบทดสอบของเธอ เขา หรือเราทั้งประเทศ

ในการทดสอบครั้งใด ๆ สิ่งที่สำ�คัญกว่าความ สำ�เร็จหรือความผิดพลาด คือ การเรียนรู้จาก บทเรียนครั้งนั้น เราได้ เ ห็ น และเรี ย นรู้ หลายบทเรี ย นจาก ความสำ�เร็จของประเทศจีน สิงคโปร์ ไต้หวัน มาเก๊า และญี่ปุ่นในการรับมือกับไวรัสร้ายแห่งปี 2019 แต่ปัจจัยที่นำ�ไปสู่ความสำ�เร็จดังกล่าว ไม่ได้เกิดขึ้นภายในไม่กี่วัน ไม่กี่สัปดาห์ ประเทศเหล่านั้นโชคดีที่เคยเผชิญวิกฤต สารพัน เช่น ภัยพิบัติ ภาวะสงคราม หรือ โรคระบาด บ่อยกว่าประเทศไทย ประเทศเหล่านั้นโชคดีที่คนในชาติเป็นน้ำ� หนึ่งใจเดียวกันเมื่อเผชิญวิกฤต ประเทศเหล่านั้นโชคดีที่แข็งแกร่งขึ้นจาก ประสบการณ์เหล่านั้น ประเทศไทยอาจจะโชคดีเกินไปทีไ่ ม่ตอ้ งเจอ แบบทดสอบมากเท่าเขา และประเทศไทยอาจจะ โชคร้ายสักหน่อยที่ “อ่อนซ้อม” มานาน เพราะ เราอยูใ่ นสภาวะทีส่ ขุ สบายเกินไป ข้าวปลาอาหาร อุดมสมบูรณ์ ภูมิประเทศปลอดจากภัยพิบัติ ความสบาย ๆ แบบไทย ๆ นี่เองทำ�ให้เราตั้งตัว ไม่ติด เมื่อเจอแบบทดสอบอันหนักหน่วงอย่าง โควิด-19

ในสายตาของประชาชนส่วนใหญ่ รัฐบาลไทย สอบตกในภารกิจคุม้ ครองประชาชนอย่างหลุดลุย่ ถ้าเราลองหยุดประเมินผู้อื่นสักพัก หยุดชี้นิ้ว หยุดวิพากษ์วิจารณ์ภายนอก และหันกลับมา สำ�รวจภายในว่า เราสอบผ่านภารกิจภูมิคุ้มกัน ทางใจหรือยัง คําว่า Resilience มีรากศัพท์จากภาษา ละตินว่า Resilire ทีแ่ ปลว่า กระโดดกลับมาทีเ่ ดิม การมีภมู คิ มุ้ กันทางใจ (Resilience Quotient) จึง หมายถึง การรับมือกับปัญหาและความท้าทาย ด้วยสติ ก้าวข้ามความทุกข์ได้ และกลับมา ดําเนินชีวติ ได้อย่างปกติสขุ อีกครัง้ และแข็งแกร่ง กว่าเดิม ภูมคิ มุ้ กันทางใจมีผชู้ ว่ ยทีช่ อื่ ว่า Growth Mindset (กรอบความคิดแบบเติบโต) เป็นชุด ความคิ ด ของคนที่ รู้ จั ก มองตั ว เองจนเข้ า ใจ จุดอ่อน-จุดแข็งของตัวเองดี กล้าลองผิดลองถูก มองความท้ า ทายและปั ญ หาไม่ ใ ช่ อุ ป สรรค หากล้มเหลว จะไม่กล่าวโทษผู้อื่น แต่จะยอมรับ ข้ อ บกพร่ อ ง และมองว่ า เป็ น บทเรี ย นล้ำ � ค่ า ในการพัฒนาตัวเอง ในฐานะคนไทยคนหนึ่ง เราจะปล่อยให้ โควิด-19 ฆ่าเราให้ตาย หรือจะจับมือเพื่อเรียนรู้ และเติบโตไปด้วยกัน ...What Doesn’t Kill Us Makes Us Stronger.

ที่มา : บทความ “มนุษย์ กับ ไวรัส” โดย พันธ์ศักดิ์ อาภาขจร จาก isranews.org / บทความ “มองเศรษฐกิจไทยในระยะ ยาว (2)” โดย ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ จาก bangkokbiznews.com / บทความ “หนทางที่แท้จริงในระยะยาวที่จะทำ�ให้โรค ระบาดรุนแรงน้อยลง คือการสร้างระบบสุขภาพรวมของโลก” โดย พชร สูงเด่น จาก adaybulletin.com / บทความ “Coronavirus is our future” โดย Alanna Shaikh จาก ted.com / บทความ “History in a crisis - Lessons for Covid-19” โดย David S. Jones, M.D., Ph.D. จาก nejm.org / บทความ “Number of scheduled passengers boarded by the global airline industry from 2004 to 2020” โดย E. Mazareanu จาก statista.com / บทความ “The UK is the MOST relaxed about the killer coronavirus: Global poll reveals three quarters of Britons aren’t fazed by the infection and are the least likely to wash their hands or avoid crowds where the illness may spread” โดย Harry Howard จาก dailymail.co.uk CREATIVE THAILAND I 17


Fact & Figure : พื้นฐานความคิด

From Black Death to COVID-19 : เรื่อง : ณัฐชา ตะวันนาโชติ

“โรคระบาด” เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมมนุษย์มาทุกยุคทุกสมัย และทุก ๆ ครั้งโรคร้ายเหล่านี้ก็นำ�มาซึ่งความสูญเสียมากมาย อย่างหลีกลี่ยงไม่ได้ แต่ในขณะเดียวกัน ทุกวิกฤตก็ทำ�ให้โลกได้เห็นถึงศักยภาพในการต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของมนุษย์ อันนำ�มาซึง่ วิทยาการและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทชี่ ว่ ยพัฒนาคุณภาพชีวติ และความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ของผูค้ น มาดูกนั ว่า เราจะนำ�บทเรียนจากอดีตเหล่านี้มาใช้ต่อกรกับปัจจุบันและเตรียมพร้อมสำ�หรับอนาคตได้อย่างไรบ้าง

1347-1351_BLACK DEATH

1817 - 1923_CHOLERA

กาฬโรค เป็นโรคระบาดที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งและก่อความ เสียหายอย่างมหาศาลมาตลอดประวัติศาสตร์มนุษย์ เริ่มแพร่กระจายไปตามเส้นทางการค้าต่าง ๆ โดยมีหมัด และสัตว์ฟันแทะที่มีเชื้อเป็นพาหะนำ�โรค ซึ่งสันนิษฐานว่า มีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ไปกว่า 200 ล้านคน การระบาดครั้ ง ที่ รุ น แรงที่ สุ ด เกิ ด ขึ้ น ที่ ยุ โ รปในช่ ว งค.ศ. 1347-1351 คร่าชีวิตประชากรยุโรปไปกว่าครึ่ง การระบาด ครั้งนี้เป็นที่รู้จักในนาม “Black Death” นำ�มาสู่จุดเริ่มต้นของการกักตัว (Quarantine) ซึ่งมาจาก ภาษาอิตาเลียน Quaranta Giorni แปลว่า 40 วัน เนื่องจาก เรือที่เดินทางมาจากเมืองที่มีการระบาดจะต้องทอดสมอ รอถึง 40 วัน ก่อนที่จะได้ขึ้นฝั่งนั่นเอง

อหิวาตกโรค หรือที่คนไทยมักเรียกว่า “โรคห่า” เป็นโรค ที่มีการระบาดบ่อยครั้ง และมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 1 ล้านคน สาเหตุเกิดจากแบคทีเรีย (Vibrio cholerae) ทีเ่ ข้าสูร่ า่ งกาย ผ่านทางอาหารหรือน้ำ�ดื่มที่ไม่สะอาด ในปี 1854 จอห์น สโนว์ (John Snow) แพทย์ชาวอังกฤษ ได้ศึกษาและพบว่าสาเหตุของโรคที่ระบาดอยู่ในลอนดอน ขณะนั้น เกิดจากแหล่งน้ำ�ที่สกปรก (ไม่ได้แพร่ทางอากาศ แบบที่คนสมัยนั้นเข้าใจ) ทำ�ให้ควบคุมการระบาดได้ และ ได้รบั การยกย่องให้เป็นบิดาแห่งวิชาวิทยาการระบาดสมัยใหม่ (Modern Epidemiology) ซึ่งศึกษาธรรมชาติของการเกิด และแพร่กระจายของโรคชนิดต่าง ๆ เพื่อหาทั้งแนวทาง ป้องกันและควบคุม

1500s - 1977_SMALLPOX

1918 - 1919_SPANISH FLU

โรคฝีดาษ หรือ ไข้ทรพิษ ระบาดหนักในช่วงค.ศ. 1500 จากการค้นพบทวีปอเมริกาของชาวยุโรป และเป็นเหตุให้ กว่า 90% ของชนพืน้ เมืองเสียชีวติ ระหว่างการล่าอาณานิคม การระบาดของโรคฝีดาษดำ�เนินต่อมาอีกหลายศตวรรษ มีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ไปอย่างน้อย 300 ล้านคนทั่วโลก ในปี 1796 ในปี เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ (Edward Jenner) แพทย์ ชาวอังกฤษได้คน้ พบวิธี “การปลูกฝี” เพือ่ ป้องกันการติดเชือ้ โรคฝีดาษได้ส�ำ เร็จ กลายเป็นจุดเริม่ ต้นของการศึกษาพัฒนา วัคซีน ในปี 1980 การประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) ได้ประกาศ ชัยชนะของมนุษย์ในการกวาดล้างโรคฝีดาษได้สำ�เร็จ

ช่วงปลายของสงครามโลกครัง้ ที่ 1 เกิดเหตุการณ์การระบาดของ โรคที่รุนแรงที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20 คือ ไข้หวัดใหญ่สเปน ซึง่ เกิดจากเชือ้ ไวรัส H1N1 มีผคู้ นเสียชีวิตไปกว่า 50 ล้านคน เนื่องจากขณะนั้นโลกกำ�ลังตกอยู่ในสภาวะสงคราม หลาย ประเทศจึงพยายามปิดข่าวเรื่องโรคระบาด ส่งผลให้กว่าจะ ตัง้ รับสถานการณ์ โรคก็ได้ระบาดไปไกลเกินกว่าจะควบคุมแล้ว สเปนไม่ใช้แห่ลงกำ�เนิดของโรค แต่เนือ่ งจากเป็นประเทศทีไ่ ม่ได้ เข้าร่วมสงคราม จึงเป็นผูป้ ระกาศข่าวโรคระบาดให้ทกุ ประเทศ ได้ทราบ กลายเป็นทีม่ าของชือ่ “โรคไข้หวัดใหญ่สเปน” นัน่ เอง เหตุการณ์นที้ �ำ ให้เกิดการวิจยั เพือ่ ศึกษาแนวทางป้องกันโรค ระบาด และพัฒนาระบบสาธารณสุข สำ�หรับเตรียมการรับมือ ไม่ให้การระบาดของโรคในอนาคตส่งผลรุนแรงแบบคราวนีอ้ กี

CREATIVE THAILAND I 18


พัฒนาการของโรค โลก และมนุษย์ 1968 - 1970_HONG KONG FLU

2009 - 2010_SWINE FLU

2002-2003_SARS

2019 - PRESENT_COVID-19

ในปี 1968 ไข้หวัดใหญ่ฮอ่ งกงได้เริม่ แพร่ระบาดและทำ�ให้ มีผู้เสียชีวิตไปอย่างน้อย 1 ล้านคนทั่วโลก สาเหตุเกิดจากเชือ้ ไวรัส H3N2 สันนิษฐานว่าวิวฒั นาการมาจาก เชือ้ ไวรัส H2N2 ทีท่ �ำ ให้เกิดไข้หวัดใหญ่เอเชียระบาดในปี 1957 เนือ่ งจากไข้หวัดใหญ่ เป็นโรคทีม่ กี ารระบาดบ่อยครัง้ และมี การเปลีย่ นแปลงพันธุกรรมอยูต่ ลอด ทำ�ให้ผคู้ นเริม่ ตระหนัก ถึงความสำ�คัญของการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคมากขึ้น ปัจจุบนั ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (CDC) แนะนำ�ให้บคุ คล ทัว่ ไปฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ประจำ�ฤดูกาลปีละ 1 ครัง้ เพือ่ ช่วย ให้ภมู คิ มุ้ กันโรคไข้หวัดใหญ่ท�ำ งานได้อย่างต่อเนือ่ ง และถึงแม้ จะป้องกันไข้หวัดสายพันธุ์ที่เกิดใหม่ไม่ได้ แต่ก็อาจช่วยลด ความรุนแรงได้ในระดับหนึ่ง

โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (Severe Acute Respiratory Syndrome) หรือ ซาร์ส (SARS) เกิดจากเชือ้ ไวรัสในตระกูลโคโรนา เริม่ ระบาดในปี 2002 จากมณฑลกวางตุง้ แพร่กระจายไป 26 ประเทศ ทำ�ให้มีคนติดเชื้อราว 8,000 คน เสียชีวิต 774 คน แม้การแพร่ระบาดจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่เทคโนโลยีใน ตอนนัน้ มีสว่ นช่วยให้การกระจายข่าวสารดำ�เนินไปอย่างทัว่ ถึง ประกอบกับความร่วมมือของศูนย์วจิ ยั ทัว่ โลกทำ�ให้สามารถ พบต้นตอของโรคได้ในเวลาเพียง 1 เดือน และควบคุม การแพร่ระบาดได้ในที่สุด การระบาดครั้งนี้ทำ�ให้ผู้คนตระหนักถึงวิธีการป้องกันโรค มากขึน้ มีการฆ่าเชือ้ ตามพืน้ ทีส่ าธารณะ และผูค้ นเริม่ หันมา ใช้หน้ากากอนามัยกันอย่างแพร่หลาย

ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 หรือ ไข้หวัดหมู เป็นการ ระบาดของเชื้อไวรัส H1N1 ซึ่งในปี 2009 มีผู้ติดเชื้อ 60 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตราว 150,000 - 575,000 คน ความแปลกของการระบาดคราวนี้ คื อ ผู้ เ สี ย ชี วิ ต กว่ า ร้ อ ยละ 80 ไม่ ใ ช่ ผู้ สู ง อายุ เ หมื อ นกั บ การระบาดของ ไข้หวัดใหญ่คราวก่อน ๆ แต่กลับเป็นคนหนุ่มสาวและเด็ก ที่มีอายุน้อยกว่า 65 ปี วัคซีนได้รับการคิดค้นขึ้นภายในปีเดียวกันนั้นเอง ซึ่งความ ก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยี มีส่วนช่วยให้อัตรา การเสียชีวติ และผลกระทบจากโรคระบาดต่าง ๆ โดยเฉพาะ จากไวรัสตระกูลไข้หวัดใหญ่นี้ มีความรุนแรงน้อยลงอย่าง ชัดเจน

การระบาดใหญ่ (Pandemic) ครัง้ ล่าสุดของมวลมนุษย์ทเ่ี กิด จากเชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ ที่ขณะนี้ (วันที่ 24 มีนาคม 2563) มียอดผู้ติดเชื้อพุ่งสูงถึง 334,981 คน มีผ้เู สียชีวิต 14,652 คน และแพร่ระบาดไปแล้วกว่า 190 ประเทศทั่วโลก ผู้เชี่ยวชาญพบว่าพันธุกรรมของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 นี้มี ความคล้ายคลึงกับไวรัสที่ก่อให้เกิดโรค SARS ถึง 86.9% แม้สถานการณ์ปัจจุบันจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และยังไม่มบี ทสรุปของการระบาดในครัง้ นี้ แต่เราก็ได้เห็นถึง ความพยายามในการต่อสูแ้ ละพัฒนาความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ โรคโควิด-19 รวมทัง้ การเร่งผลิตยารักษา นอกจากผลกระทบต่าง ๆ ของโรคแล้ว น่าสนใจว่าการระบาด ในครัง้ นีจ้ ะนำ�ไปสูค่ วามเปลีย่ นแปลงอะไรของโลกและวิถชี วี ติ ของมนุษย์บา้ ง และเราจะต้องปรับตัวอย่างไรต่อไปในอนาคต

ทีม่ า : ข้อมูลโดย Centers for Disease Control and Prevention จาก cdc.gov / ข้อมูลโดย World Health Organization จาก who.int / บทความ “Fighting the Plague in Medieval Towns” จาก medievalists.net / บทความ “Here’s How COVID-19 Compares to Past Outbreaks” โดย Julia Ries จาก healthline.com / บทความ “Pandemics That Changed History” จาก history.com / บทความ “Visualizing the History of Pandemics” โดย NicholasCREATIVE LePan จากTHAILAND visualcapitaliIst.com 19 / บทความ “11 Ways Pandemics Have Changed the Course of Human History, From the Over $4 Billion Spent to Fight Ebola to the Trillions It Might Take to Tackle the Coronavirus” โดย Debanjali Bose จาก businessinsider.com


Creative Business : ธุรกิจสร้างสรรค์

เรื่อง : วนบุษป์ ยุพเกษตร l ภาพ : ภีร์รา ดิษฐากรณ์

ผูค้ นเริม่ กักตุนอาหารและข้าวของเครือ่ งใช้จ�ำ เป็นในยามวิกฤต แต่อาจลืมนึกถึงยามเจ็บป่วยทีต่ อ้ งไปโรงพยาบาล แหล่งรวม เชื้ออันดับต้น ๆ ครั้นจะไปโรงพยาบาลก็กลัวจะติดเชื้อ แต่หากจำ�เป็น เราจะไปหาหมอโดยที่ไม่ต้องไปโรงพยาบาลได้อย่างไร โชคดีที่เทคโนโลยีแข็งแกร่งมากถึงขนาดวันนี้เราสามารถพบคุณหมอผ่านโทรศัพท์มือถือได้แล้ว ดอกเตอร์ รักษา (Doctor Raksa) ธุรกิจสตาร์ตอัพรายเล็กที่มีทีมงานเพียง 18 ชีวิตกำ�ลังเติบโตพุ่งแรงในยามวิกฤตเช่นนี้ สวนทางกับ หลายธุรกิจที่ขาแขนค่อย ๆ หมดกำ�ลังลงเพราะพิษไวรัสโควิด-19 ในเวลานี้ เรามีโอกาสได้พูดคุยกับ จาเรน ซิว (Jaren Siew ) ซีอีโอหนุ่มชาวสิงคโปร์ผู้บุกเบิกเทคโนโลยีแพทย์ทางไกล หรือ Telemedicine ในรูปแบบของแอพพลิเคชัน ที่มีชื่อว่า ดอกเตอร์ รักษา (Doctor Raksa) ที่จะมาเผยมุมมองทางธุรกิจภายใต้สโลแกน “ป่วยทัก รักษา”

CREATIVE THAILAND I 20


คุณหมอทางไกล

4 ปีมาแล้วที่ทีมรักษา แอพพลิเคชันการแพทย์สายเทคเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา เพื่อเป็นแพลตฟอร์มกลางออนไลน์พาให้คุณหมอและคนไข้มาเจอกันอย่าง สะดวกและรวดเร็วโดยที่ไม่ต้องเดินทางไปโรงพยาบาลในสังคมยุค 4.0 “สิ่งที่เรากำ�ลังทำ�อยู่ไม่ใช่เรื่องใหม่ เพราะหลายประเทศก็ได้เริ่มทำ�ไปแล้ว มันเรียกว่าเทคโนโลยีแพทย์ทางไกล (Telemedicine)” ที่จีนแผ่นดินใหญ่ เทคโนโลยีนี้เฟื่องฟูมาก แม้แต่ที่อเมริกา สหราชอาณาจักร สวีเดน อินเดีย หรืออินโดนีเซียเองก็ตาม จาเรนจึงตั้งคำ�ถามว่า “แล้วทำ�ไมเราถึงจะไม่ทำ� มันที่ประเทศไทยล่ะ” ในเมื่อไทยเป็นประเทศที่มีประชากรกว่า 70 ล้านคน ซ้ำ�ผู้คนยังใช้จ่ายกันเรื่องสุขภาพเยอะมากอีกด้วย เขาเผยมุมมองที่มีต่อ ตลาดการแพทย์ในเมืองไทยที่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของรักษา “ภายใน แอพพลิเคชันรักษาที่ทีมเราได้สร้างไว้ มีโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์เข้ามาร่วม ลงทุน ซึ่งนอกจากจะมีคุณหมอจากบำ�รุงราษฎร์เป็นส่วนใหญ่แล้ว ก็ยังมี คุณหมอจากโรงพยาบาลใหญ่อื่น ๆ ทั้งศิริราช สมิติเวช และรามาธิบดี อีกด้วย” จาเรนเล่าเรื่องราวของรักษาในเมืองไทยให้เราฟัง โดยตอนนี้บน แอพฯ รักษามีคณุ หมอพร้อมให้บริการมากกว่า 500 คน โดย 90% เป็นแพทย์ เฉพาะทาง รักษาให้คำ�ปรึกษาทางการแพทย์ไปแล้วถึง 50,000 ครั้ง และมี ผู้ใช้อีกกว่า 300,000 คนที่ลงทะเบียนเข้ามาใช้บริการ จาเรนบอกว่าขอให้ มัน่ ใจได้เลย เพราะหมอทีท่ างรักษาคัดเลือกและสัมภาษณ์เข้ามามีประสบการณ์ มากกว่า 8-10 ปี แถมหมอแต่ละคนก็ล้วนได้เรตติงจากผู้ใช้งานสูง ๆ จาก การให้คำ�ปรึกษาทางการแพทย์บนแอพพลิเคชันแทบทั้งนั้น แพทย์เฉพาะทางที่ออนไลน์บนแอพพลิเคชันรักษา กุมารแพทย์ / สูติ-นรีแพทย์ / อายุรแพทย์ / ทางเดินปัสสาวะ / กระดูกและข้อ / จิตแพทย์ / หู คอ จมูก / ศัลยแพทย์ / แพทย์ ผิวหนัง / จักษุแพทย์ / ระบบประสาท / แพทย์รังสีวิทยา **นอกจากนี้ จาเรนและทีมรักษาได้มสี ว่ นช่วยเหลือชาวไทยผ่านโดยร่วมมือกับ สมาคมไทยเทคสตาร์ตอัพ (TTSA) และกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เพื่อมอบข่าวสารและคัดกรองต้านภัย COVID-19 ผ่านทาง “เป็ดไทยสู้ภัย” เพจเฟซบุ๊กสายเทคสุขภาพ โดยให้ทีมแพทย์อาสาเข้ามาร่วมคัดกรองและให้ คำ�ปรึกษาเบื้องต้นผ่านแอพฯ**

สะดวก ปลอดภัย ประหยัด

ตรวจสอบประวัตกิ ารพบแพทย์ของเราได้ทกุ เมือ่ อย่างเช่น หากคุณเป็นคนไข้ ทีโ่ รงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์ รักษาก็สามารถดึงประวัตจิ ากโรงพยาบาลได้ทนั ที หรือแม้แต่ถา้ คุณหมอในแอพฯ ได้บนั ทึกอาการของคนไข้ลงในแอพฯ ข้อมูล ทั้งหมดก็จะถูกส่งไปที่โรงพยาบาลเช่นเดียวกัน ฉะนั้นจาเรนจึงขอให้ผู้ใช้ ทุกคนมัน่ ใจว่าระบบมีความปลอดภัยและเป็นไปเพือ่ ประสิทธิภาพในการดูแล รักษาคนไข้มาเป็นอันดับหนึง่ จริง ๆ ทัง้ หมดยังรองรับด้วยระบบหลังบ้านทีม่ ี ความปลอดภัยสูงสุด และทีมงานคับคุณภาพของเขา แม้แต่เรือ่ งคุณภาพของ ยาที่ขายบนแอพฯ เขาก็การันตีด้วยดีกรีนักเรียนแพทย์และเภสัชกรที่เข้าใจ และรูจ้ กั คุณภาพของยาทีน่ �ำ เข้ามาขายอย่างแท้จริง โดยปกติ เราใช้เวลาแทบทัง้ วันทีโ่ รงพยาบาล แต่ได้พบและพูดคุยกับ หมอจริง ๆ แค่ 5 นาทีเท่านัน้ นีเ่ ป็นสิง่ หนึง่ ทีบ่ อกเราว่าเรากำ�ลังเสียเวลา โดยไม่จำ�เป็น เพราะถ้าเราไม่ใช่ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ต้องรีบเข้าห้องไอซียู ก็คง ไม่จำ�เป็นต้องดั้นด้นไปรอนาน ๆ ที่โรงพยาบาล คำ�แนะนำ�ของจาเรนคือ “ถ้าคุณต้องการคุยกับหมอ คุณควรปรึกษาออนไลน์ก่อนโดยที่ไม่ต้องไปถึง โรงพยาบาล เพราะบางครัง้ หมอสามารถจ่ายยาให้คณุ ได้เลย คุณเพียงอยูบ่ า้ น แล้วรอดูอาการต่อไป” รักษาช่วยเข้ามาลดขัน้ ตอนในการเดินทาง การรอพบ หมอที่โรงพยาบาล ช่วยให้เราประหยัดเวลา แถมประหยัดเงินค่าเดินทาง อีกด้วย “แต่ถา้ อาการคุณแย่ลง ถึงตอนนัน้ คุณถึงต้องไปโรงพยาบาลจริง ๆ แล้ว” เขากล่าวเพิม่ เติม

โอกาสในวิกฤต

“ถ้าคุณปรึกษาหมอเรียบร้อยแล้ว คุณจะได้รับใบสั่งยาออนไลน์ท่ปี ลอดภัย ในแอพฯ ของเรา คุณจะสามารถเอาใบสัง่ ยานีไ้ ปซือ้ ยาทีร่ า้ นขายยาบนแอพฯ ของเราหรือจะไปซือ้ ทีร่ า้ นขายยาทัว่ ไปก็ได้ ทัง้ หมดก็เพือ่ ความสะดวกสบาย ของคนไข้” จาเรนการันตีราคายาบนแอพฯ ของเขาว่าถูกกว่าร้านขายยาทัว่ ไป แน่นอน ที่สำ�คัญหากสั่งซื้อยาจากแอพฯ รักษา ยังมีบริการจัดส่งฟรีให้ท่วั กรุงเทพฯ ภายใน 1 ชัว่ โมงอีกด้วย ในระบบของรักษา ทุกอย่างปลอดภัยทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของ ผูป้ ว่ ยหรือคุณหมอ จาเรนยกตัวอย่างว่าใบสัง่ ยาทีห่ มอเคยให้ไว้ เมือ่ ผ่านไป หลายปี ข้อมูลนัน้ ก็ยงั จะคงอยูใ่ นระบบทีท่ ง้ั สะดวกและปลอดภัย เราสามารถ

จาเรนบอกกับเราว่าเขาไม่เห็นเหตุผลอะไรทีจ่ ะไม่ท�ำ ธุรกิจการแพทย์ทางไกล ในประเทศไทย ผลตอบรับการใช้งานของรักษาดีมากโดยเฉพาะช่วงโควิด-19 ระบาดหนัก “ผมว่าแอพฯ ของเราช่วยสถานการณ์นไ้ี ด้จริง ๆ และนีเ่ ป็นเวลา ทองที่จะเพิ่มยอดผู้ใช้งาน” เขาพยายามแสดงให้เห็นว่ารักษาสามารถช่วย อย่างไรได้บา้ ง “รัฐบาลทีส่ งิ คโปร์ อเมริกา กระทัง่ จีนบอกประชาชนว่าให้หาหมอทางไกล เพราะว่าไม่อยากให้ใครไปโรงพยาบาลโดยไม่จ�ำ เป็น” จาเรนบอกให้เห็นว่า การหาหมอทางไกลนั้นดีอย่างไรโดยเฉพาะในยามที่เราต้องรักษาระยะห่าง จากคนอืน่ ๆ ในสังคมเช่นนี้ เพราะว่าหากเราไม่ได้ปว่ ย แล้วมีผปู้ ว่ ยติดเชือ้ โควิดที่โรงพยาบาล เราอาจติดเชื้อนั้นได้ง่าย ๆ โดยเฉพาะผู้สูงอายุหรือ

CREATIVE THAILAND I 21


ฟังก์ชันการใช้งานแอพพลิเคชันรักษาบนโทรศัพท์มือถือ

กลุม่ เสีย่ งทีม่ โี รคประจำ�ตัวทีต่ อ้ งระวังเป็นพิเศษ จาเรนเสริมต่อว่า “เอาพืน้ ๆ เลยนะครับ เราสามารถวินจิ ฉัยทีอ่ น่ื ได้ อย่างการใช้เทคโนโลยีแพทย์ทางไกล แล้วให้ทางโรงพยาบาลส่งรถมารับเพื่อแยกออกจากผู้ป่วยอื่น ๆ ได้ทันที” แต่หากถ้าเรายังเดินป้วนเปี้ยนอยู่ท่โี รงพยาบาลก็เท่ากับว่าตัวเราเองที่เข้าไป เพิม่ ความเสีย่ ง ณ ตรงนัน้ นีจ่ งึ เป็นอีกไอเดียทีจ่ าเรนแบ่งปันให้เราฟัง ยิง่ แล้ว ถ้าหากเมืองปิดโดยสมบูรณ์ ทางเดียวทีเ่ ราสามารถปรึกษาหมอได้โดยสะดวก ก็คอื การใช้บริการแพทย์ทางไกลนัน่ เอง

รักษาได้ทั่วถึง

“อีก 5 ปี ผมอยากให้มคี นใช้บริการถึง 10 ล้านคนในประเทศไทย” นี่คอื เป้าหมายทีร่ กั ษาวางไว้ แม้ยงั เป็นทางทีย่ าวไกลแต่พวกเขาก็จะพยายามไป ให้ถงึ ด้วยบริการทีเ่ ข้าอกเข้าใจผูป้ ว่ ยอย่างทีส่ ดุ จาเรนฝันว่าเขาจะสร้างระบบ นิเวศด้านสุขภาพในเมืองไทยให้ได้ดี ด้วยการทำ�งานร่วมกับโรงพยาบาล หลากหลายแห่งทัง้ รัฐบาลและเอกชน รวมไปถึงร้านขายยาต่าง ๆ ด้วย “ราคาเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ” คือสิ่งที่เขาหวังไว้ในวงการ การแพทย์ไทย เขาย้�ำ ด้วยภาพการเข้าถึงคุณหมอของคนทีอ่ าศัยอยูต่ า่ งจังหวัด ทีต่ อ้ งเดินทางไกลเข้ามาในเมืองเพือ่ รักษาตัว เพราะร้อยละ 90 ของแพทย์

เฉพาะทางปักหลักอยูเ่ มืองหลวงแทบทัง้ สิน้ “หมอทีต่ า่ งจังหวัดโทรฯ เข้ามา หาหมอในกรุงเทพฯ ผ่านแอพฯ รักษา ซึง่ หมอเหล่านัน้ ต้องจ่ายเงินเพือ่ ปรึกษา ขอคำ�แนะนำ�” นีค่ อื สิง่ ทีจ่ าเรนสังเกตเห็นว่าขนาดหมอด้วยกันเองยังโทรมา ปรึกษากันได้ ฉะนัน้ นีค่ อื ช่องทางของคนไข้ทส่ี ามารถปรึกษาหมอได้เลยง่าย ๆ ผ่านทางแอพพลิเคชันบนมือถือทีอ่ ยูก่ บั เราตลอดเวลา สิง่ ทีผ่ ปู้ ว่ ยหลายคนมักพบเจอเวลาไปโรงพยาบาล คือ เสียเวลาไปกับ การรอพบหมอ “ประสบการณ์ของคนไข้ในการไปโรงพยาบาลในปัจจุบัน ค่อนข้างแย่นะครับ ฉะนั้นสิ่งที่รักษาเห็นความสำ�คัญมากที่สุดคือการมอบ ประสบการณ์ดี ๆ ทีท่ ง้ั ปลอดภัยและราคาถูก” นอกจากรักษาจะพยายาม อำ�นวยสิง่ ดี ๆ ให้แก่ผใู้ ช้งานมาเป็นอันดับหนึง่ แล้ว อีกเรือ่ งทีต่ อ้ งโฟกัสไม่แพ้ กันเลยก็คือการตลาด “เรากำ�ลังลงทุนในการตลาดดิจิทัลด้วย คุณจะเห็น โฆษณาผ่านทางเฟซบุก๊ อยูบ่ อ่ ย ๆ เราหวังว่าสิง่ ทีเ่ ราสือ่ สารและการทีค่ นไป หาหมอผ่านแอพฯ จะกลายเป็นหนึง่ ในไลฟ์สไตล์ของคน ผมหวังว่าอีก 5 ปี ข้างหน้า สิ่งนี้จะกลายเป็น New Normal (ความปกติในรูปแบบใหม่) ครับ” จาเรนพยายามคิดถึงสิง่ ทีเ่ ขาและทีมงานจะพอช่วยได้ “เราสามารถเพิม่ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เพือ่ ให้พวกเขาทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ อาจจะเป็นเครือ่ งมือเอไอทีจ่ ะช่วยคุณหมอวินจิ ฉัยโรคได้เร็วมากขึน้ ” เขาขยาย ความต่อว่า หากเขาเป็นหมอและภายในหนึง่ วันเขาต้องรักษาผูป้ ว่ ย 100 ชีวติ หากมีอุปกรณ์เหล่านี้มันอาจทำ�ให้ช่วยคนไข้ได้ถึง 500 ชีวิตทีเดียว ทั้งมี ประสิทธิภาพและเป็นระบบ นอกจากนี้ยังสามารถนำ�ไปช่วยพัฒนาระบบ การจ่ายยาของเภสัชกรบนแอพพลิเคชันได้อีกด้วย รักษายังคิดไปถึงการ ผูกรักษาเข้ากับประกันภัยต่าง ๆ ทีร่ วมไปถึงสิทธิขน้ั พืน้ ฐานด้านสาธารณสุข ของคนไทยอย่างหลักประกันสุขภาพของทางรัฐบาลด้วย จาเรนยกตัวอย่างว่า “หากเราเป็นผูป้ ว่ ยประจำ�โรงพยาบาลรามาธิบดี รักษาจะช่วยให้เราสามารถ คุยกับคุณหมอประจำ�โรงพยาบาลได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เพราะแอพฯ รู้ว่าคุณมีสิทธิ์อะไรอยู่บ้างทางการรักษา และสิ่งนี้น่แี หละที่จะเป็นความสุข ของคนไข้” เขากล่าวด้วยความพอใจพร้อมรอยยิม้ ช่วงยามนี้ท่เี ราต้องใช้เวลากักตัวอยู่ท่บี ้าน หากรู้สึกไม่สบายตัว หรือ ไม่สบายใจเมื่อไร ก็ลองใช้บริการของรักษา ที่ช่วยลดความเสี่ยงในการไป โรงพยาบาล ช่วยลดภาระของคุณหมอและพยาบาล และยังคลายกังวลเรือ่ ง โรคภัย เพราะได้คยุ กับคุณหมอตัวจริง...ถ้าป่วยทัก รักษาเลย

อยู่บ้านก็ “รักษา” ได้ 3 ขั้นตอนปรึกษาคุณหมอผ่านรักษา 1. ค้นหาคุณหมอที่ต้องการรับคำ�ปรึกษา หากคุณหมอมีสถานะออนไลน์อยู่ สามารถขอรับคำ�ปรึกษาได้ทันที หรือสามารถกดกระดิ่งสำ�หรับ คุณหมอที่ออฟไลน์ไว้ และแอพฯ จะเด้งเตือนเราเวลาหมอที่อยากพบกลับมาออนไลน์ 2. อธิบายอาการ รวมถึงระยะเวลาที่มีอาการดังกล่าว เพื่อให้คุณหมอได้อ่านประวัติ 3. รอคุณหมอตอบรับภายใน 3 นาที หลังจากส่งอาการกรุณารอคุณหมอตอบรับภายใน 3 นาที แล้วเริ่มการสนทนาได้เลย

สำ�หรับช่วงวิกฤตโควิด-19 ทางรักษาก็มีส่วนลดสำ�หรับผู้ใช้ที่ต้องการปรึกษาอาการว่าเข้าข่ายหรือไม่ โดยใช้โค้ด COVID19

หมายเหตุ : ดาวน์โหลด Raksa ได้ทั้งระบบ Android และ IOS

ติดตามรักษาได้ทาง doctorraksa.com หรือ facebook.com/raksaapp CREATIVE THAILAND I 22


How To : ถอดวิธคี ดิ

การกักตัวเองในบ้านเป็นทางออกที่ดี ที่ สุ ด ในภาวะการระบาดของไวรั ส โควิด-19 แต่ไม่ได้หมายความว่าเรา จะอยู่กินนอนอย่างไร้จุดหมาย เพราะ ถึ ง แม้ จ ะปลอดภั ย แต่ สุ ข ภาพด้ า น ร่างกายและจิตใจอาจทรุดโทรมได้งา่ ย ๆ เมื่อขาดกิจกรรมหรือขาดการพบปะ ผู้คน นี่จึงเป็นเหตุผลที่เราควรจะสร้าง สุขภาวะที่ดีท่ามกลางสถานการณ์ที่ ตึงเครียดเช่นนี้ กักตุนอาหารให้เพียงพอ และถูกหลักโภชนาการ หลายคนเมือ่ รูว้ า่ ต้องกักตัวเป็นเวลานานก็รบี ออกไป ตุนเสบียงให้มากเท่าที่สุด ซึ่งเสบียงส่วนใหญ่ก็ หนีไม่พ้นบะหมี่ก่ึงสำ�เร็จรูปและอาหารแช่แข็ง ซึง่ เต็มไปด้วยโซเดียมทีม่ ากเกินความต้องการของ ร่างกาย เราจึงควรจำ�กัดอาหารที่ย่ัวยวน เช่น มันฝรัง่ ทอด น้�ำ อัดลม ขนมหวาน หรือ ไอศกรีม และเลีย่ งอาหารแช่แข็งบ้าง หรือเลือกรับประทาน ในปริมาณที่พอเหมาะในแต่ละวัน โดยอาหารที่ ควรมีตดิ บ้านและมีประโยชน์กเ็ ช่น อาหารประเภท ถัว่ อย่างอัลมอนด์ เม็ดมะม่วงหิมพานต์ หรือถัว่ ลิสง ซึง่ มีคณุ ค่าทางอาหารสูง ซีเรียลและธัญพืชอบแห้ง สามารถกินได้หลายแบบทัง้ กินพร้อมนมหรือโยเกิรต์ หรือธัญพืชอัดแท่งก็ชว่ ยให้พลังงานและทำ�ให้อม่ิ ท้อง ได้นานมากขึน้ นอกจากนีห้ ากเป็นไปได้ ยังควร กินอาหารให้ครบหมู่ท้งั ผัก ผลไม้สด ผลไม้แห้ง หรือผลไม้กระป๋อง ไข่ไก่หรือไข่เค็ม นมและโยเกิรต์ รวมถึงเนือ้ สัตว์ทง้ั เนือ้ ไก่ หมู หรือปลาทัง้ ในรูปแบบ แช่แข็งหรือปลากระป๋องต่าง ๆ

play.google.com

เรื่อง : นพกร คนไว

อย่าอยู่เฉยๆ การกักตัวหลายสัปดาห์คงไม่ได้หมายความถึงการ ดูซรี สี ม์ าราธอนเพียงอย่างเดียว จริงอยูท่ อ่ี าจทำ�ให้ จิตใจเราเบิกบานหรือคลายความเครียดลงได้บา้ ง แต่นน่ั อาจไม่มตี อ่ สุขภาพองค์รวมของคุณ ลองเลือก วิธอี ย่างการออกกำ�ลังกายออนไลน์ แพลตฟอร์ม อย่าง YouTube นัน้ มีทร่ี ายการสอนออกกำ�ลังกาย ดี ๆ จำ�นวนมากให้เลือกได้ทง้ั ประเภท ความถนัด และระดับความยากง่ายของการออกกำ�ลังกาย ทัง้ ยังทำ�ได้ส�ำ หรับผูท้ ม่ี พี น้ื ทีจ่ �ำ กัด หรืออาจะลองใช้ แอพพลิเคชัน 30 Day Fitness Challenge ที่เหมาะสม กับช่วงกักตัว ซึ่งจะทำ�ให้คุณกลับไปทำ�งานด้วย ความสดใสและรูปร่างทีไ่ ร้กงั วล และแม้แต่การฝึก โยคะลดเครียด ซึ่งเป็นศาสตร์ท่ไี ด้รับการรับรอง ทางการแพทย์มาอย่างยาวนานในด้านการช่วย บำ�บัดอารมณ์ ร่างกาย และจิตใจ ล่าสุดโรงเรียน แพทย์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (The Harvard Medical School) ยังได้แนะนำ�ให้นักศึกษาฝึก โยคะ ด้วยเหตุผลสำ�คัญคือมันสามารถช่วยลด ความเครียด ความดันโลหิต ช่วยเพิม่ ความจุของ เนือ้ ทีใ่ นปอด สร้างสมาธิ ช่วยกำ�หนดลมหายใจ และทำ�ให้จติ ใจเราสงบลง ซึง่ เชือ่ ว่าจะเป็นการลด ความเสีย่ งจากการป่วยด้วยไวรัสโควิด-19 ได้ ส่วน จอห์น ชาร์ป (John Sharp) จิตแพทย์จากสถาบัน เดียวกันนีย้ งั ได้ออกมาให้ค�ำ แนะนำ�เกีย่ วกับการทำ� สมาธิดว้ ยการฝึกโยคะ พร้อมแนะนำ�แอพพลิเคชัน อย่าง Calm และ Headspace เพือ่ เป็นแนวทาง ให้เราฝึกสมาธิจากโยคะได้งา่ ย ๆ ด้วย บริหารสุขภาพจิต งานวิจัยกลุ่มตัวอย่างในช่วงการระบาดของไวรัส SARS พบว่า ผูท้ ต่ี อ้ งกักตัวหลังจากสัมผัสกับผูท้ อี่ ยู่ ในกลุ่มเสี่ยงนั้น 20% อยู่ในความรู้สึกหวาดกลัว CREATIVE THAILAND I 23

18% รูส้ กึ หวาดวิตก อีกทัง้ ยังพบว่า กลุม่ ผูท้ ก่ี กั ตัว เป็ น เวลานานเกิ น 10 วั น มี แ นวโน้ ม ที่จ ะเกิ ด ความเครียด (Post-traumatic Stress - PTS) และ อาจเกิดพฤติกรรมการติดสุรา นอกจากนี้ผู้คน ท่ามกลางวิกฤตการณ์โรคระบาดยังต้องเผชิญกับ ความวิตกจากสือ่ ทีน่ �ำ เสนอข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือ ข้อมูลอันเป็นเท็จซึ่งจะยิ่งสร้างความตื่นตระหนก นักจิตวิทยาจึงมีค�ำ แนะนำ�ทีส่ ามารถทำ�ตามได้งา่ ย ๆ เพือ่ ช่วยลดความเครียดในแต่ละวัน สร้างกิจวัตรประจำ�วัน เริ่มต้นจากการ ตัง้ เวลาเข้านอน เวลาตืน่ การออกกำ�ลังกาย และ สร้างรายการสิง่ ทีท่ �ำ ในแต่ละวัน เพือ่ ช่วยให้คณุ มี สติทจ่ี ดจ่ออยูใ่ นกิจกรรมและไม่ฟงุ้ ซ่าน ทำ�งาน หลายคนอยู่ในช่วง Work from Home ฉะนั้ น การทำ � งานจึ ง เป็ น วิ ธี ท่ี ช่ ว ยให้ จิ ต ใจไม่ วอกแวก แต่หากงานทีท่ �ำ อยูก่ ลับเพิม่ ความเครียด งานอดิเรกทีช่ อบก็สามารถช่วยให้หายเบือ่ และลด ความเครียดได้เช่นกัน ติดต่อกับผูอ้ นื่ โทรศัพท์และโซเชียลมีเดีย เป็นสิง่ สำ�คัญทีส่ ดุ การส่งข้อความ โทรคุย หรือ วิดีโอคอลกับเพื่อนฝูงและครอบครัวจะทำ�ให้เรา ได้รวู้ า่ พวกเขาสบายดีหรือไม่ ผ่อนคลาย เมื่อมีภาระต้องทำ�ทั้งวันก็ถึง เวลาทีจ่ ะได้พกั สักที การได้ดซู รี สี ท์ ช่ี อบหรือแม้แต่ ลองกลับมาอ่านหนังสือที่ต้องใช้สมาธิและเวลา ซักหน่อย อาจช่วยให้ได้เติมเต็มข้อมูลความรู้ มหาศาลที่อาจยังไม่เคยรู้มาก่อน แม้สถานการณ์ในตอนนีเ้ รายังไม่สามารถใช้ ชีวติ ได้ตามปกติ และดูเหมือนว่าการระบาดครัง้ นี้ จะกินเวลาไปนานอีกหลายเดือน ดังนั้นหากเรา สามารถเปลีย่ นให้การกักตัวอยูบ่ า้ นเป็นเสมือนการ รีสตาร์ตพฤติกรรมใหม่ให้ชีวิต ตั้งแต่การสร้าง กิจวัตรประวันใหม่ การรับประทานอาหารทีด่ ขี น้ึ พักผ่อนเต็มทีม่ ากขึน้ หรือใช้เวลาพัฒนาตนเองให้ เก่งกว่าเดิม ซึ่งน่าจะเป็นวิธีท่ดี ีในการเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตที่ย่ังยืนต่อไปแม้หลังวิกฤติการณ์ ผ่านพ้นไปแล้ว ที่มา : บทความ “Gym closed? Here are some of the best home workout options” โดย Sharon Profis จาก cnet.com / บทความ “Making Health and Nutrition a Priority During the Coronavirus (COVID-19) Pandemic” โดย ASN Member Contributor จาก nutrition.org / บทความ “Post-traumatic stress, confusion and anger: How quarantine affects your mental health” จาก france24.com / บทความ “Psychology experts share their tips for safeguarding your mental health during quarantine” โดย Karen Gilchrist จาก cnbc.com


Photo by Dillon Shook on Unsplash

Creative Place : พื้นที่สร้างสรรค์

เรื่อง : วันเฉลิม สิริพันธุ์ คงปฏิเสธไม่ได้วา่ ในสถานการณ์ปจั จุบนั ทีม่ ที ง้ั เรือ่ งโรคติดต่อ รวมถึงพฤติกรรมการทำ�งานของพนักงานทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปโดยเฉพาะ เด็กยุคใหม่ และรูปแบบการทำ�งานในอนาคตทีต่ อ้ งการความรวดเร็วและคล่องตัว (Agility) สูงขึน้ การทำ�งานแบบทางไกล (Remote) จากโคเวิร์กกิงสเปซ ห้องสมุด คาเฟ่ หรือแม้แต่ “บ้าน” ของตัวเอง จึงเริ่มเข้ามามีบทบาททำ�ให้พฤติกรรมการทำ�งานของคนทั่วไป เปลีย่ นแปลงไป

เพราะถึงแม้ว่าจะไม่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่บีบให้หลายองค์กรต้องเปลี่ยนรูปแบบการทำ�งานในสำ�นักงานมาเป็นการทำ�งานแบบที่เรียกว่า Work from Home หรือการให้พนักงานสามารถทำ�งานจากบ้านได้ เพื่อลดการเดินทางและการเข้ามาอยู่ร่วมกันในออฟฟิศ แต่ปัจจุบัน เราก็เริ่มเห็นองค์กร หลายแห่งในต่างประเทศทีม่ กี ารปรับตัวให้สอดรับกับไลฟ์สไตล์ของพนักงานทีเ่ ป็นคนรุน่ ใหม่และการทำ�งานในรูปแบบใหม่มาระยะหนึง่ แล้ว เห็นได้จากบริษทั ข้ามชาติบางแห่งที่อนุญาตให้พนักงานสามารถ “เลือก” ทำ�งานจากสำ�นักงานในประเทศไหนของบริษัทก็ได้ เช่น ถ้าคุณเป็นพนักงานของสาขากรุงเทพฯ แต่สัปดาห์นี้ คุณอยากไปทำ�งานในสำ�นักงานที่สิงคโปร์ ทั้งยังพบว่างานที่ทำ� ไม่ได้จำ�เป็นต้องพบปะหรือประชุมแบบที่ต้องการการเข้าร่วมด้วยตนเอง เพียงเท่านี้ พนักงานก็สามารถแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบเพื่อเลือกที่จะไปทำ�งานโดยเข้าออฟฟิศที่สำ�นักงานสาขาอื่น ๆ ขององค์กรได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ก็ต้อง อยู่บนพื้นฐานที่ว่า องค์กรเหล่านี้ต้องมีระบบในการติดต่อประสานงาน รวมถึงพื้นที่ในการทำ�งานที่พร้อมให้พนักงานขององค์กรสามารถเลือกทำ�แบบนั้นได้ CREATIVE THAILAND I 24


โรคระบาดที่ยังไม่หยุด และธุรกิจที่ก็หยุดไม่ได้เช่นกัน

6 ปัจจัยที่ต้องคำ�นึงถึง ในการเปลี่ยน “บ้าน” ให้เป็น “ที่ทำ�งาน” เฉพาะกิจ

ลองมาดูกันว่า มีปัจจัยอะไรบ้างที่จะช่วยให้เรา สามารถเปลีย่ นบ้านเป็นออฟฟิศทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และยั งคงทำ �งานได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่อ ง เพื่อ จะได้ เตรียมพร้อมตัง้ แต่วนั นี้ และเปลีย่ นให้บา้ นซึง่ เป็น สถานที่ท่ีเป็นส่วนตัวของคุณสามารถเชื่อมต่อ กับโลกแห่งการทำ�งานได้อย่างสมดุล

1

เทคโนโลยีส�ำ หรับการทำ�งาน แบบ Virtual Working หากลองไล่ ดูป ระเภทของเทคโนโลยี ท่ี ถู ก นำ � เข้ามาช่วยให้การทำ�งานจากทีบ่ า้ น หรือ Virtual Working เป็นไปได้อย่างราบรืน่ อาจแบ่งได้เป็น ประเภทย่อย ดังนี้

จากเดิม ในอดีตที่เราใช้โทรศัพท์ หรือการวิดีโอคอลล์ ในการติดต่อสื่อสารหรือพูดคุยกัน ในปัจจุบัน เริ่มมีโปรแกรมหรือแอพพลิเคชันจำ�นวนมากขึ้น เรือ่ ย ๆ ทีช่ ว่ ยในการติดต่อสือ่ สารมีประสิทธิภาพ ในระดับที่มากกว่าการคุยผ่านเสียงหรือการเห็น แค่หน้าตาของกันและกัน แต่มีการพัฒนาให้ สนับสนุนไปถึงกิจกรรมอย่างการประชุมร่วมกัน หลายฝ่าย การแชร์หน้าจอระหว่างกัน หรือแม้แต่ เทคโนโลยีเพื่อการติดต่อสื่อสาร :

เทคโนโลยีในส่วนนีอ้ าจเหมาะสำ�หรับบริษทั ทีย่ งั มี วัฒนธรรมองค์กรหรือระบบการทำ�งาน ทีย่ งั ต้อง อาศัยข้อมูลเวลาทำ�งาน หรือตำ�แหน่งของพนักงาน ในขัน้ ตอนการทำ�งาน โดยปกติจงึ มักเป็นระบบที่ แตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงค์ของแต่ละ องค์กร ขึน้ อยูก่ บั การเลือกใช้ เทคโนโลยีเพือ่ การขนส่งและจัดส่ง : นอกจากไฟล์

gsuite.google.com

โดยปกติแล้ว หลายองค์กรมักมีการเตรียมแผน รับมือกับสถานการณ์ทไ่ี ม่ปกติเพือ่ ให้ธรุ กิจดำ�เนิน ไปได้ หรือ Business Continuity Plan (BCP) สำ�หรับพนักงาน ในกรณีฉกุ เฉินทีท่ �ำ ให้พนักงาน ไม่สามารถมาทำ�งานที่อาคารสำ�นักงานบริษัทได้ หลาย ๆ ทีม่ กี ารเตรียมเทคโนโลยีหรือความพร้อม ด้านต่าง ๆ ไว้ให้พนักงานสามารถทำ�งานได้อย่าง ต่อเนือ่ งและคล่องตัว ยิ่งในช่วงนี้ ซึ่งมีการแพร่ระบาดของไวรัส โควิด-19 บริษทั หลาย ๆ แห่ง หรือแม้แต่โรงเรียน ก็ เ ริ่ ม มี ก ารประกาศให้ พ นั ก งานหรื อ นั ก เรี ย น เริ่มทำ�งานหรือเรียนจากที่บ้านได้ เมื่อเป็นเช่นนี้ สิง่ ทีเ่ ราต้องคำ�นึงถึงต่อไปก็คอื การแปลง “บ้าน” ให้กลายเป็น “สำ�นักงานเสมือน” (Virtual Office) อย่างมีประสิทธิภาพ

เทคโนโลยีเพื่อการระบุตัวตนและตำ�แหน่ง :

โปรแกรมที่ช่วยให้การนำ�เสนองานเป็นไปอย่าง ราบรืน่ เสมือนมีการพบปะกันจริง ๆ โดยโปรแกรมหรือแอพพลิเคชันทีไ่ ด้รบั ความ นิยมในประเภทนีก้ เ็ ช่น Zoom, Google Meet, Microsoft Team, Webex ซึง่ แต่ละโปรแกรมก็จะมี จุดแข็งและจุดด้อยที่แตกต่างกันไป เช่น ความ สะดวกที่ไม่ต้องลงโปรแกรมในเครื่อง ประเด็น เรือ่ งค่าใช้จา่ ย นโยบายความปลอดภัย หรือการ มอบประสบการณ์การใช้งาน (User Experience) ทีด่ มี ากน้อยต่างกัน ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั ความเหมาะสม สำ�หรับแต่ละบริษทั หรือแต่ละบุคคล เทคโนโลยีเพื่อการแลกเปลี่ยนไฟล์ : จากเดิม ในอดีตทีก่ ารแลกเปลีย่ นไฟล์หรือข้อมูลจะทำ�ผ่าน อีเมลหรือส่งผ่านแอพพลิเคชันที่ใช้ในการพูดคุย เช่น Line หรือ Facebook Messenger แต่ปจั จุบนั มีผ้ใู ห้บริการที่นำ�เสนอบริการในการเก็บไฟล์เพือ่ การแลกเปลีย่ น หรือเพือ่ การอัพเดตทีม่ คี วามเป็น มืออาชีพมากขึน้ เช่น Google Drive, One Drive หรือ Dropbox ซึง่ แต่ละผูใ้ ห้บริการก็มเี งือ่ นไข วิธี ใช้งาน จุดเด่น และนโยบายความปลอดภัยของ ข้อมูลที่แตกต่างกัน ซึ่งผู้สมัครใช้บริการควรจะ ต้องศึกษาอย่างละเอียดก่อนสมัครใช้งาน CREATIVE THAILAND I 25

เอกสารที่ส ามารถจั ด ส่ ง ถึ ง กั น ในรู ป แบบของ อิเล็กทรอนิกส์ไฟล์แล้ว ในบางครัง้ การจัดเตรียม ระบบการจัดส่งเอกสารหรือพัสดุเพื่อให้พร้อม สำ�หรับการทำ�งานแบบ Virtual Working ก็เป็น สิ่งจำ�เป็น ซึ่งในปัจจุบันก็มีแอพพลิเคชันผู้ให้ บริการจัดส่งเอกสารจากที่หนึ่งในยังอีกที่หนึ่ง (Door to Door) แล้วเป็นจำ�นวนมาก เช่น Skootar, Grab, หรือ Line Man ขณะทีพ่ สั ดุหรือสินค้าทีม่ ี ขนาดใหญ่ และไม่ได้จ�ำ เป็นต้องส่งให้ถงึ ในทันที ผู้ใช้ก็สามารถใช้แอพพลิเคชันเพื่อใช้บริการผ่าน บริษทั ขนส่ง เช่น Kerry Logistics, ไปรษณียไ์ ทย หรือบริษทั รับจ้างขนส่งเอกชนรายอืน่ ๆ ได้ตาม ความสะดวกเช่นกัน ในกรณีที่ ผู้ท�ำ งานแบบ Virtual Working ไม่สะดวกในการ เดิ น ทางออกจากที่ พั ก หรื อ อยู่ ใ นช่ ว งกั ก ตั ว เนือ่ งจากเป็นกลุม่ เสีย่ งในการแพร่ระบาดของโรค ผู้ทำ� งานก็ ต้อ งมี ก ารจั ด เตรี ย มสิ น ค้ า ข้ า วของ สำ�หรับการอุปโภคบริโภค ต้องขอบคุณเทคโนโลยี ด้านนี้ท่เี อื้อให้ผ้บู ริโภคสามารถเลือกใช้บริการได้ อย่างหลากหลาย โดยอาจจะใช้บริการสั่งสินค้า จากเว็บไซต์ของซูเปอร์มาร์เก็ตหรือไฮเปอร์มาร์เก็ต

เทคโนโลยีเพื่อการอุปโภคบริโภค :


ขนาดใหญ่ หรือการสั่งสินค้าผ่านแอพพลิเคชัน ของร้านสะดวกซือ้ และผูใ้ ห้บริการที่จดั ส่งสินค้า เฉพาะทางอย่าง Happy Fresh, Blue Basket, Freshket หรือการสั่งสินค้าและอาหารผ่านผู้ให้ บริการขนส่ง เช่น Grab Food, Get, Food Panda หรือ Line Man เป็นต้น

2

ความมุ่งมัน่ ในงาน (Achievement) : ถ้าพนักงาน

มีความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะทำ�งานให้สำ�เร็จ และ องค์กรมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์มากกว่าขั้นตอน โอกาส ที่ ก ารทำ � งานแบบ Virtual Working จะมี ประสิทธิภาพ ก็จะยิ่งเพิ่มสูงขึ้น การที่บริษัท ไม่ต้องคอยติดตามว่าพนักงานเริ่มทำ�งานกี่โมง จะไปที่ ไ หนบ้ า ง ขณะที่ ตั ว พนั ก งานเองก็ มี ความตัง้ ใจอยากให้งานออกมาคุณภาพดี เป็นไป ตามกำ�หนดเวลา ซึง่ ถ้าเป็นแบบนีแ้ ล้ว พนักงาน อาจมีอิสระที่จะปรับเวลาการทำ�งานในส่วนที่ ไม่ต้องติดต่อสื่อสารกับคนอื่นเพื่อเปลี่ยนไปทำ� ตอนกลางคืนที่มีสมาธิมากกว่า แล้วใช้เวลาอื่น ในการพักผ่อนก็เป็นได้ ความรั บ ผิ ด ชอบในงาน (Accountable) :

ความรับผิดชอบในที่น้ีหมายถึง การรับผิดชอบ ต่องานที่ได้รับมา ซึ่งรวมถึงการทำ�ให้สำ�เร็จ ตามขัน้ ตอนและกฎระเบียบ ถ้าพนักงานมีความ รับผิดชอบในงาน บริษทั ก็สามารถวางใจเมือ่ ต้อง มีการทำ�งานแบบ Virtual Working เพราะใน บางครัง้ การจะทำ�งานได้ส�ำ เร็จและได้ผลลัพธ์ทด่ี ี ก็อาจไม่เพียงพอ แต่งานที่เสร็จนั้น จะต้องมา พร้อมกับขั้นตอนที่ถูกต้อง และการอยู่ในกรอบ วิชาชีพ รวมถึงกฎระเบียบของบริษัทด้วยเช่นกัน ความคล่องตัว (Agility) : การทำ�งานในสถานที่

ที่ไม่ใช่ส�ำ นักงาน เดิมนับเป็นการบังคับให้พนักงาน ต้องออกจากขัน้ ตอน ระบบการทำ�งาน หรือแม้แต่

Photo by Roberto Nickson on Unsplash

พฤติกรรมซึง่ เหมาะสมกับการทำ�งาน แบบ Virtual Working การที่จะพัฒนาตนเองให้สามารถทำ�งานแบบ Virtual Working ได้ดนี น้ั มีพฤติกรรมหลายอย่าง ทีน่ า่ จะพิจารณา ว่าเราจะสามารถพัฒนาตัวเอง หรือพนักงานให้มีพฤติกรรมเหล่านั้นได้หรือไม่ หรือพนักงานคนไหนบ้างที่เหมาะกับการทำ�งาน แบบ Virtual Working

อุปกรณ์การทำ�งานแบบเดิม ๆ ซึ่งแน่นอนว่า พนักงานที่มีความคล่องตัวกับการเปลี่ยนแปลง จะสามารถปรับตัวได้ รูจ้ กั จัดเตรียม และแก้ปญั หา เฉพาะหน้าต่าง ๆ ให้สามารถทำ�งานเดิมใน สถานที่ใหม่ได้อย่างราบรื่น ก็จะสามารถทำ�งาน แบบ Virtual Working ได้ดกี ว่า ความร่วมมือกับผูอ้ น่ื (Collaboration) : ถึงแม้วา่

การทำ�งานแบบ Virtual Working โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัส Covid-19 จะ เป็นการทำ�งานแบบคนเดียว ไม่ได้เจอผูร้ ว่ มงาน คนอืน่ ๆ แต่ในการทำ�งาน การร่วมมือกับผูอ้ น่ื ก็ ยังเป็นพฤติกรรมทีส่ �ำ คัญในการทำ�ให้งานหนึง่ ๆ สำ�เร็จลงได้ ซึ่งความร่วมมือนี้อาจจะออกมาใน รูปแบบของความกระตืนรือร้นที่จะตอบคำ�ถาม หรือให้ข้อมูลสนับสนุน และการช่วยเหลือให้ เพือ่ นร่วมงานให้ท�ำ งานได้ส�ำ เร็จ เพราะบางครัง้ ในการทำ�งานแบบ Virtual Working เรือ่ งเล็ก ๆ CREATIVE THAILAND I 26

อย่ า งการตอบข้ อ ความล่ า ช้ า หรื อ ไม่รับสาย โทรศัพท์ก็อาจจะส่งผลให้การทำ�งานของเพื่อน ร่วมงานล่าช้าลงไปได้

3

บริหารเวลาทำ�งานกับเวลาส่วนตัว การใช้ เ วลาทำ � งานแบบ Virtual Working ของหลาย ๆ คนมักจะเกิดขึน้ ณ ทีพ่ กั ของตัวเอง ซึ่ง ถ้ า เป็ นที่พัก ซึ่ง อยู่ลำ� พั ง คนเดี ย ว ก็อ าจจะ ไม่ลำ�บากนักในเรื่องของการบริหารเวลาส่วนตัว กับเวลาทำ�งาน แต่หากที่บ้าน มีสมาชิกคนอื่น ในครอบครัวอยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นญาติผู้ใหญ่ คูส่ มรส หรือแม้แต่บตุ ร การบริหารเวลาส่วนตัว กับเวลาทำ�งานจะกลายเป็นเรือ่ งทีไ่ ม่อาจมองข้าม เพราะไม่ ใ ช่ เ รื่อ งง่ า ยที่จ ะสื่อ สารกั บ พนั ก งาน ทุกคนว่า ช่วงเวลาทำ�งานจะไม่สามารถมีสว่ นร่วม กับกิจกรรมในครอบครัวได้ ซึ่งตัวพนักงานที่ ทำ�งานแบบ Virtual Woking เองก็ตอ้ งพยายาม


บริหารความสัมพันธ์กบั เพือ่ นร่วมงาน และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การไม่ ไ ด้ พ บปะกั น ตามปกติ เ พราะพนั ก งาน ต่างคนก็ต่างแยกย้ายกันไปทำ�งานแบบ Virtual Working ย่อมส่งผลกระทบทำ�ให้ความสัมพันธ์ และรูปแบบการติดต่อกับเพื่อนร่วมงาน หรือผู้มี ส่วนได้สว่ นเสียอืน่ ๆ เช่น ผูบ้ ริหาร ลูกค้า หรือ แม้แต่ผใู้ ห้บริการ แตกต่างออกไปจากการทำ�งาน ในรูปแบบเดิมทีส่ ามารถพบปะพูดคุยกันได้ การ บริหารความสัมพันธ์ เช่น การโทรติดต่อ การใช้ เทคโนโลยีทางการสื่อสาร หรือแม้แต่การใช้ โซเชียลมีเดียต่าง ๆ เข้ามาช่วย จึงมีประโยชน์ อย่างมากในการช่วยบริหารความสัมพันธ์แม้ไม่ได้ พบปะกัน ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ให้รบั ทราบเกีย่ วกับความเป็นไป ของเพือ่ นร่วมงาน ความก้าวหน้าของงาน และสิง่ ที่ ต้องสือ่ สารกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ให้มคี วามต่อเนือ่ ง และมีประสิทธิภาพที่สุด โดยผู้ท่ีทำ�งานแบบ Virtual Working ควรจะแบ่งเวลาและให้ความ สำ�คัญกับการบริหารความสัมพันธ์ในส่วนนี้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอาชีพที่การบริหารความ

สัมพันธ์มีความจำ�เป็นต่อผลสำ�เร็จของงานและ ความเข้าใจเกีย่ วกับลูกค้า เช่น อาชีพนักการขาย หรือเจ้าหน้าทีล่ กู ค้าสัมพันธ์ การดูแลสุขภาพ และสุขอนามัยส่วนตัว พนักงานหลายคนที่เลือกทำ�งานแบบ Virtual Working จำ � เป็ น ที่ จ ะต้ อ งดู แ ลสุ ข ภาพและ สุขอนามัยส่วนตัวควบคู่ไปกับการทำ�งานด้วย เนื่ อ งจากหลายคนอาจเคยต้ อ งเดิ น ทาง ออกจากบ้ า นไปทำ � งาน เดิ น จากโต๊ ะ ทำ � งาน ไปประชุม หรือแม้แต่เดินไปรับประทานอาหาร กลางวันแถวที่ทำ�งาน พอต้องเปลี่ยนมาทำ�งาน ในทีพ่ กั ของตัวเอง ก็เป็นทีแ่ น่นอนว่าอิรยิ าบถและ การเคลื่อนไหวในแต่ละวันก็จะลดน้อยลงกว่า ทีเ่ คย ดังนัน้ การใส่ใจในสุขภาพ การหมัน่ หาเวลา ขยับตัว เดินเล่น หรือออกกำ�ลังกายในทีพ่ กั ของ ตนเอง ก็เป็นเรือ่ งทีจ่ ะต้องใส่ใจ นอกจากนี้ ยังต้อง เลือกรับประทานที่มีประโยชน์ ไม่ให้พลังงานสูง จนเกินไป เพือ่ ให้เกิดความสมดุลระหว่างการใช้ และการได้รบั พลังงานในแต่ละวัน

5

6

การเตรียมพร้อม ทีจ่ ะกลับไปทำ�งานในสำ�นักงาน สำ � หรั บ พนั ก งานหลายคนที่ ต้ อ งทำ � งานแบบ Virtual Working ด้วยสถานการณ์โควิด-19 เมือ่ หมดช่วงระยะเวลาวิกฤติแล้ว หลายคนอาจจะ ต้อ งเตรียมตัวกลับไปทำ� งานที่สำ� นักงานหรือ

CREATIVE THAILAND I 27

บริษทั ดังนัน้ การจัดเตรียมข้าวของให้เป็นระเบียบ การไม่นำ�เอกสารหรืออุปกรณ์การทำ�งานของ บริษทั ซึง่ นำ�มาใช้ในช่วง Virtual Working ไปปะปน กับของส่วนตัว ก็จะช่วยให้มีความพร้อมในการ กลับไปทำ�งานทีส่ �ำ นักงานมากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ การเรียนรู้และประสบการณ์จากการทำ�งานแบบ Virtual working ที่บ างครั้ง เราอาจพบว่า มี ลักษณะงาน ขัน้ ตอนบางอย่าง หรือการประชุม บางประเภท ทีส่ ามารถทำ�ได้โดยไม่ตอ้ งพบหน้ากัน ในช่วง Virtual Working ก็อาจจะนำ�แนวทาง ปฏิบตั นิ ไ้ี ปใช้เมือ่ กลับไปทำ�งานตามปกติ เพือ่ ช่วย เพิม่ ประสิทธิภาพการทำ�งาน และเป็นอีกหนึง่ วิธที ี่จะ ช่วยลดเวลาของการทำ�งานทีไ่ ม่จ�ำ เป็นลงไปได้ดว้ ย ถึงแม้วา่ จะได้มกี ารเตรียมพร้อมใน 6 ปัจจัย ที่ได้อธิบายไปแล้วนั้น พนักงานที่ทำ�งานแบบ Virtual Working เอง ก็อาจจะมีอปุ สรรคในการ ทำ�งานซึง่ หลายคนจะต้องพบเจอ เช่น ปัญหาของ เทคโนโลยีเอง ปัญหาเรื่องความไม่คุ้ยเคยกับ เทคโนโลยี ปัญหาความพร้อมของเพือ่ นร่วมงาน หรื อ ปั ญ หาเรื่อ งการแบ่ ง เวลาส่ ว นตั ว กั บ เวลา การทำ�งานให้สมดุล ซึ่งพนักงานเองอาจต้อง ทำ�ความเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และค่อย ๆ เรียนรู้ เพื่อปรับตัวและพัฒนาตนเองให้เข้ากับ การทำ � งานแบบ Virtual Working เพื่ อ ให้ สามารถทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่แน่วา่ หลายคนอาจสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว และ พัฒนาจนกลายเป็นอีกหนึ่งทักษะที่สำ�คัญในโลก แห่งการทำ�งานในอนาคตหลังจากนี้ก็เป็นได้

Photo by Ishan Seefromthesky on Unsplash

จัดสรรเวลาใหม่ อาจจะแบ่งเวลาเดินทางในช่วง เช้า-เย็นจากที่เคยต้อง รถติดเดินทางไปทำ�งาน ตามปกติ เมือ่ ไม่ตอ้ งออกจากทีพ่ กั ก็อาจใช้เวลา ส่วนนีก้ บั ครอบครัวได้มากขึน้ หรือสามารถใช้เวลา ช่วงพักเที่ยงในการรับประทานอาหารร่วมกับ ครอบครัว เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจซึง่ กันและกันทัง้ ฝ่ายพนักงาน องค์กร และครอบครัว


The Creative : มุมมองของนักคิด

ดร. ภูริพันธุ์ รุจิขจร

เข้าใจวิกฤตด้วยภาพในมุมมองของ Data Visualization Specialist เรื่อง : วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ l ภาพ : ภีร์รา ดิษฐากรณ์

ในสถานการณ์ที่วิกฤตที่สุด อะไรจะมีความหวังได้มากไปกว่า “ความเชื่อมั่น” ที่สามารถทลายความเคลือบแคลงสงสัยและ ความกลัวที่สุดท้ายจะทำ�ลายทุกสิ่ง และแม้ “ความจริง” บางอย่างอาจทำ�ให้เราเจ็บปวด แต่ความจริงนั้นจะช่วยให้เรา มองเห็นทางรอดได้มากกว่าข่าวดีและคำ�ปลอบประโลมที่ไม่อาจรับประกันได้ว่าจะเป็นจริง ในวันนี้ คนไทยจึงต้องการ ความกลัวในระดับที่พอดีกับความเป็นจริง เพื่อพร้อมรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยังไม่มีใคร รูว้ า่ จะจบลงอย่างไร การนำ�เสนอข้อมูลทีถ่ กู ต้อง แม่นยำ� และเข้าใจง่าย จึงถือเป็นความจำ�เป็นเพือ่ ช่วยให้เราได้ท�ำ ความเข้าใจ กับสถานการณ์ตรงหน้าได้อย่างถี่ถ้วน อันจะนำ�ไปสู่การรับมือ ปรับตัว และมองเห็นทางรอดได้ร่วมกัน CREATIVE THAILAND I 28


ดร. ภูริพันธุ์ รุจิขจร อาจารย์ประจำ�คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาสถิติ และผู้ร่วมก่อตั้งบุญมีแล็บ บริษัท ทีผ่ นวกเอาความรูด้ า้ นข้อมูล เทคโนโลยี และการออกแบบ มาสรรสร้างเป็น ผลิตภัณฑ์และโปรเจ็กต์ที่ชวนกระตุ้นความสงสัยใคร่รู้ และทักษะการคิด วิเคราะห์ของผู้ใช้งานและผู้เสพข่าวสารได้อย่างสร้างสรรค์ เขาคือผู้อยู่ เบือ้ งหลังการจัดการข้อมูลย่อยยากให้เล่าออกมาได้เข้าใจง่ายขึน้ ผ่านรูปแบบ ผลงานภาพทีเ่ รียกว่า “Data Visualization” และในภาวะวิกฤตเช่นนี้ ทีห่ ลาย ภาคส่วนยังขาดการนำ�เสนอข้อมูลทีต่ รงไปตรงมาและน่าเชือ่ ถือ ความรูแ้ ละ ประโยชน์ของการแปลงข้อมูลเป็นภาพ จะสามารถเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะ ช่วยให้ประชาชนได้เข้าใจสถานการณ์ตรงหน้าอย่างชัดเจนขึ้นได้อย่างไร ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านข้อมูลหนุม่ ไฟแรงคนนี้ พร้อมแล้วทีจ่ ะมาตอบคำ�ถามนีใ้ ห้รกู้ นั Data Visualization คืออะไร หลัก ๆ คือการเอาข้อมูลมาแสดงผลเป็นภาพ หากมีข้อมูลอยู่ แทนที่เราจะ แสดงผลเป็นตาราง ตัวเลข หรือตัวหนังสือ ก็ท�ำ ออกมาเป็นภาพ ซึง่ ประโยชน์ หลัก ๆ ของมันก็จะอิงอยู่กับว่ามนุษย์เราเป็นสัตว์ที่เข้าใจภาพได้ค่อนข้างดี และมีประสิทธิภาพ และภาพเป็นสิ่งที่ดึงดูดใจ น่าสนใจ เหมือนกับการเห็น อะไรสวย ๆ แล้วก็อยากดู ซึ่งมันก็นำ�ไปสู่ประโยชน์ของมัน อย่างแรกที่เรา ใช้กันบ่อย ๆ คือการใช้ Visualization เพื่อช่วยในการสื่อสาร เนื่องจาก ภาพมันน่าสนใจและดึงดูดกว่า จึงเชิญชวนให้คนมาดูขอ้ มูลนัน้ ๆ ได้งา่ ยขึน้ ทำ�ให้เขาได้สิ่งที่เราต้องการสื่อสารตามไปด้วย ส่วนประโยชน์อีกแบบหนึ่ง คือ มันอาจจะไม่ได้ใช้เพื่อการสื่อสารอย่างเดียว แต่อาจจะช่วยให้เราย่อย ข้อมูลบางอย่างหรือข้อสรุปอะไรบางอย่างได้ เพราะบางครัง้ เราก็ไม่ได้ไอเดีย เมื่อรับข้อมูลในปริมาณมาก ๆ แต่หากเราทำ�ให้มันเป็นภาพก่อน ก็จะช่วย ให้เราสื่อสารกับตัวเองได้ดีขึ้น ว่าสิ่งที่เราเข้าใจมันถูกหรือผิด ภาพจะช่วย ให้เราเข้าใจง่ายขึน้ ดูเสร็จเราก็อาจจะเปลีย่ นภาพไปเรือ่ ย ๆ ภาพพวกนีอ้ าจ ไม่จำ�เป็นต้องสวยงาม แต่สามารถใช้สื่อสารเพื่อย้ำ�ความเข้าใจของตัวเอง เพื่อนำ�ไปสู่บทสรุปสุดท้าย และนำ�ไปใช้สื่อสารกับคนอื่นต่อไปได้ มันจะไปแทนที่การสื่อสารแบบเดิมหรือไม่ ผมคิดว่าไม่ได้แทนที่ แต่เพียงไปเสริมบางอย่าง แต่เดิมมันมีของทีม่ มี ลู ค่าอยู่ แต่ไม่มีใครเอาไปใช้ประโยชน์ ยกตัวอย่างหลาย ๆ องค์กรอยากเปลี่ยนเป็น Digital Transformation คือทำ� Dashboard เหมือนเขารู้ว่าองค์กรมีข้อมูล บางอย่างอยู่ แต่ไม่ได้เอาออกมาดู Dashboard ก็เป็น Visualization แบบหนึ่งที่ดึงเอาข้อมูลต่าง ๆ มาแสดงผลพร้อม ๆ กัน เพื่อช่วยให้การ ทำ�ความเข้าใจหรือตัดสินใจอะไรบางอย่างขององค์กร ผมจึงคิดว่ามันไม่ได้ แทนอะไร แต่มันไปช่วยเสริมสิ่งที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกอันหนึ่งที่หลายคนอาจจะคิดว่า Visualization มาแทนคือ Data Journalism (การใช้วทิ ยาศาสตร์ขอ้ มูลช่วยในการรายงานข่าวทีใ่ ช้ขอ้ มูลเป็น แกนหลัก) ในความเป็นจริงคือ Visualization ไม่ได้ไปแทนงานข่าวปกติ เพราะงานข่าวปกติ มันก็ยังทำ�หน้าที่ของมันได้ แต่ตอนนี้มันอาจจะมี รูปแบบใหม่ทอ่ี าจจะสือ่ สารบางเรือ่ งได้งา่ ยและชัดเจนกว่า เช่น เรือ่ งโควิด-19 มันชัดเจนเลยว่า เราก็สามารถเขียนเป็นบทความตามปกติได้ แต่ของบางอย่าง พอสื่อสารด้วยภาพมันเข้าใจได้ง่าย งานข่าวที่ดี ๆ ของฝั่งเอเชียอย่าง

...สกิลหลัก ๆ ที่ต้องมีสำ�หรับ Data Journalism คือความเป็นนักข่าว ที่คิดประเด็นได้ ถัดมาคือการเข้าใจ ในธรรมชาติของข้อมูล ความสามารถ ในการหาข้ อ มู ล รู้ ว่ า ข้ อ มู ล นี้ ทำ � อะไรได้บา้ ง...ส่วนความแตกต่างก็คอื Data Visualization สามารถเป็น เครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ในการทำ � ข่ า วแบบ Data Journalism South China Morning Post ของฮ่องกง ก็ใช้ภาพสื่อสารข่าวโควิดได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เช่น เราจะเห็นเทรนด์ผปู้ ว่ ยชัดเจนเลยว่าเพิม่ ขึน้ ถ้าเราอ่าน เป็นข้อมูลตัวหนังสือก็ทำ�ได้ แต่มันอาจจะไม่เห็นภาพแบบเดียวกัน ผมว่า มันช่วยเสริมกันมากกว่า แล้ว Data Journalism คืออะไร ต่างจาก Data Visualization อย่างไร Data Journalism ก็คือการทำ�ข่าวที่ใช้ข้อมูลมาเป็นแกนหลักก่อน แล้วถึง คิดได้เป็นประเด็นว่าจากตารางข้อมูลนี้ มันตั้งประเด็นอะไรได้บา้ ง ซึ่งมัน อาจเป็นเรื่องที่เราคาดไม่ถึงหรือไม่เคยคิดเป็นประเด็นเลยก็ได้ ทักษะ การทำ�ข่าวแบบนี้ต่างจากแต่ก่อนตรงที่ ปกติข่าวจะมาจากโต๊ะข่าวใน ลักษณะ Top Down ที่มีการแจกแจงให้นักเขียนเขียนข่าวแล้วค่อยส่งให้ กราฟิกทำ�ภาพประกอบ แต่ในการทำ� Data Journalism จะต้องมีคนมา ร่วมด้วยเยอะหน่อย ไม่ใช่แค่บรรณาธิการคนเดียว คือต้องมีคนทีเ่ ล่าเรือ่ งเป็น คนที่มีความเข้าใจเรื่องข้อมูล และนักออกแบบ เพื่อช่วยกันคิดว่าเนื้อข่าว แบบนีจ้ ะเอาข้อมูลมานำ�เสนอเป็นลักษณะอย่างไร แล้วค่อยทำ�ไปพร้อม ๆ กัน ปกติถ้าเป็นไปได้ เราก็อยากได้สกิลทั้งหมดนี้รวมอยู่ในคน ๆ เดียว แต่ใน ความเป็นจริงมันยังไม่มี เพราะมุมหนึ่งก็คือวิธีการสอนในมหาวิทยาลัย มันไม่ได้เอื้อให้คน ๆ เดียวมีสกิลหลากหลายขนาดนั้น ผมจึงคิดว่าร่วมมือ กันทำ�เป็นทีมอาจจะเหมาะสมมากกว่า ซึง่ สกิลหลัก ๆ ทีต่ อ้ งมีส�ำ หรับ Data Journalism คือความเป็นนักข่าว ที่คิดประเด็นได้ ถัดมาคือการเข้าใจ ในธรรมชาติของข้อมูล ความสามารถในการหาข้อมูล รู้ว่าข้อมูลนี้ทำ�อะไร ได้บ้าง ข้อจำ�กัดคืออะไร อาจจะเขียนโค้ดได้หรือไม่ได้ก็แล้วแต่ อีกด้านคือ ความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบและความสามารถในการ Encoding (การนำ�ข้อมูลมาสร้างเป็นภาพ) ต่าง ๆ รวมทัง้ เป็นคนทีเ่ ข้าใจว่าความสวยงาม คืออะไร และเข้าใจในข้อจำ�กัดของผลลัพธ์ที่เป็นภาพ การทำ�งานได้เป็นทีม แบบนี้ก็น่าจะสร้างผลงานที่ดีได้

CREATIVE THAILAND I 29


ส่วนความแตกต่างก็คอื Data Visualization สามารถเป็นเครือ่ งมือหนึง่ ในการทำ�ข่าวแบบ Data Journalism ตัวอย่างเช่น ถ้าเราพูดถึงเรือ่ งอุบตั เิ หตุ ในประเทศไทย แทนที่เราจะไปสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านอุบัติเหตุบน ท้องถนนหรือการจราจร เราก็อาจจะเอาข้อมูลจริงมาดูย้อนกลับไป 10 ปี แล้วพบว่าอุบัติเหตุในประเทศไทยมันมากขึ้นหรือน้อยลง อันนี้ก็จะเป็นอีก วิธีหนึ่งที่สามารถนำ�เสนอข่าวในรูปแบบใหม่ได้ ซึ่งเราอาจจะทำ�ข้อมูล แบบภาพ เพื่อให้คนได้ย่อยข่าวสารนั้นง่ายขึ้น การนำ�เสนอข้อมูลในลักษณะนีจ้ ะทำ�ให้ได้ขอ้ มูลทีล่ ดความคิดเห็น ลงหรือไม่ การทำ� Data Journalism อาจจะช่วยลดความคิดเห็นได้ แต่ตอ้ งบอกก่อนว่า ตัวข้อมูลหรือ Data โดยธรรมชาติมันมี Bias (อคติ) อยู่แล้ว ซึ่งอาจจะมี ตั้งแต่ตอนที่เก็บข้อมูลเลยก็ได้ เพียงแต่ Data Journalism จะเอื้อให้คนคิด ได้เอง ช่วยให้คนเข้าใจในข้อมูลนั้น ๆ ว่ามี Bias หรือไม่ เพราะเขาอาจจะ แนบลิงก์ข้อมูลมาให้เราโดยตรง หรือการใช้ Visualization ที่ทำ�ให้เราเห็น อะไรบางอย่างที่จากเดิมเรามองไม่เห็น เราอาจจะมีความสงสัยว่าอะไรจริง ไม่จริง เพราะเราได้เห็นข้อมูลมากกว่าข้อมูลที่เขียนมาเฉย ๆ ในมุมหนึ่ง มันจะเอื้อให้เป็น Data Driven (ข่าวที่เน้นการให้ข้อมูลเป็นหลัก) มากขึ้น ให้คนมีความรูค้ วามเข้าใจได้คดิ วิเคราะห์มากขึน้ ต่อข่าวนัน้ ๆ หรือพูดง่าย ๆ คือจะใส่ความคิดเห็นได้ยากขึน้ เพราะถ้าใส่ลงไปแล้วไม่มขี อ้ มูลมาสนับสนุน คนอ่านก็จะไม่เชื่อทันที พบตัวอย่างของการทำ� Data Visualization เรื่องการแพร่ ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทยหรือไม่อย่างไร พวกแผนที่ต่าง ๆ จากเอกชน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องจำ�นวนเคสผู้ป่วยในระดับ โลกว่ามีมากขนาดไหน หรือการเอาข่าวต่าง ๆ มาย่อยเป็นแผนทีแ่ ละแทร็กว่า ผูป้ ว่ ยเคยเดินทางไปทีไ่ หนมาบ้าง ข้อมูลอะไรแบบนีก้ ส็ ามารถทำ�เป็น Data Visualization ได้ ถ้ามองในการวิเคราะห์ข้อมูล คือมองว่าจากภาพทั้งหมด ของแผนที่ เราเอาตัวเองลงไป แล้วดูว่าเราอยู่ตำ�แหน่งตรงไหน อยู่ใกล้กับ ผู้ติดเชื้อหรือเปล่า แล้วเราจะหลีกเลี่ยงได้อย่างไรบ้าง ซึ่งงานในลักษณะ อย่างนีเ้ ราจะไม่คอ่ ยเห็นในรัฐบาลเท่าไร แต่เมือ่ มาดูทภี่ าคเอกชนทีค่ อ่ นข้าง พร้อมทำ�ข้อมูลอยู่แล้ว ขอเพียงให้เขามีข้อมูลที่เพียงพอ แต่ภาคเอกชน ตอนนีก้ ย็ งั ไม่มขี อ้ มูลเท่าไรเหมือนกัน การแถลงข่าวจากกระทรวงสาธารณสุข ก็จะเป็นลักษณะรายงาน รูปเล่ม หรือนั่งโต๊ะแถลงข่าว แต่ไม่ได้ให้ข้อมูล มาเลยว่า ตกลงเคสนั้น ๆ เกิดขึ้นที่ไหน ผู้ป่วยไปที่ไหนมาบ้าง ตรงนี้เรา ต้องรวบรวมเองจากข่าวต่าง ๆ ซึ่งก็คงไม่สะดวกเท่าไร ตัวอย่างการนำ�เสนอข้อมูลในสถานการณ์วิกฤตที่ดีควรทำ� อย่างไร ผมคิดว่าตอนนี้มันมี 2 ค่ายอยู่ในเรื่องข้อมูล เราอาจจะเห็นชัด ๆ ถ้ามอง จากฝั่งเอเชีย ปกติแทบจะเปิดเผยเกือบทั้งหมด แทบจะรู้เลยว่าทุกเคส เดินทางไปไหนมาบ้าง แน่นอนว่าไม่ได้ละเอียดถึงขั้นชื่อ กับอีกมุมหนึ่งคือ ข้อมูลจากฝัง่ ตะวันตก เราแทบจะไม่เห็นการรายงานเชิงเคสแบบละเอียด ๆ เลย อาจเป็นเพราะว่าเรามี Ideology (คตินิยม) ไม่เหมือนกัน ถ้าเป็นฝั่งเอเชีย

ถ้าบอกข้อมูลมากไป คนก็อาจจะ กังวลเรือ่ งความเป็นส่วนตัวและอาจจะ ทำ�ให้เกิดความตื่นตระหนกในบาง กรณี เช่น ถ้าเกิดบอกว่าคนทีต่ ดิ เชือ้ ไปที่ ร้ า นนี้ ใ นเวลานี้ คนที่ เ คยอยู่ ในร้ า นเวลาเดี ย วกั น ก็ ค งจะกั ง วล กั บ อี ก แบบหนึ่ ง คื อ บอกกว้ า งไป เช่น ไม่บอกเลยว่าผู้ป่วยไปไหนมา แต่ประชาชนไปรูจ้ ากข่าวลือว่าผูป้ ว่ ย ไปย่าน ๆ หนึ่ง ทำ�ให้ทั้งบริเวณนั้น เดือนร้อนกันหมด แทนที่จะเดือดร้อน แค่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เราอาจสนใจความเป็นส่วนตัวน้อยกว่าฝั่งตะวันตก พอมาพิจารณาแบบนี้ ผมคิดว่าฝัง่ เอเชียค่อนข้างประสบความสำ�เร็จในการควบคุมการระบาดของ โรค ตัวอย่างที่ชัดเจนคือ สิงคโปร์ ที่ควบคุมได้ละเอียดมาก เพราะเขามี การเปิดเผยข้อมูลทีล่ ะเอียดมากว่าคนนีไ้ ปติดจากใครมาบ้าง จากเหตุการณ์ไหน ใครไปติดใครต่อ แต่ในไทยเราจะไม่คอ่ ยรู้ ซึง่ ผมคิดว่าเราอาจจะให้ความสำ�คัญ เรื่องความเป็นส่วนตัว จึงไม่อยากให้คนรู้ว่าเคสนี้เป็นใคร แต่ในอีกมุมหนึ่ง ก็เป็นไปได้ว่า ทางภาครัฐเองก็ไม่ได้คิดว่าประชาชนต้องการรู้ จะรู้ไปทำ�ไม รูเ้ ท่าทีบ่ อกก็นา่ จะเพียงพอแล้ว อันนีอ้ าจจะเป็นความคาดหวังทีแ่ ตกต่างกัน แต่ผมว่าตอนนีห้ ลาย ๆ คนก็นา่ จะคิดเหมือนกันว่าข้อมูลจากรัฐบาลอาจจะ ไม่เพียงพอ ทางรัฐก็อาจต้องพยายามให้ข้อมูลมากขึ้น แล้วเราจำ�เป็นต้องรู้ข้อมูลมากขนาดสิงคโปร์ ไหม ผมคิดว่าควรรู้นะครับ เพราะที่บอกว่าประเทศไทยยังไม่เข้าสู่ระดับ 3 ในความเป็นจริงก็มีหลายคนสงสัยว่ามันเป็นอย่างนั้นจริงเหรอ แล้วคนนี้ คนนัน้ ไปติดจากใครมา ก็ไม่มกี ารอธิบายเท่าไร แล้วตกลงมีการเทสต์จริง ๆ เหรอว่าทุกคนไปติดจากใครมา ถ้าอธิบายอย่างชัดเจน ผมว่าน่าจะลด ความตื่นตระหนกได้มากกว่านี้ จริง ๆ มันมีอยู่ 2 ประเด็น ประเด็นหนึ่งคือ ถ้าบอกข้อมูลมากไป คนก็อาจจะกังวลเรื่องความเป็นส่วนตัวและอาจจะ ทำ�ให้เกิดความตื่นตระหนกในบางกรณี เช่น ถ้าเกิดบอกว่าคนที่ติดเชื้อไปที่ ร้านนีใ้ นเวลานี้ คนทีเ่ คยอยูใ่ นร้านเวลาเดียวกันก็คงจะกังวล กับอีกแบบหนึง่ คือบอกกว้างไป เช่น ไม่บอกเลยว่าผู้ป่วยไปไหนมา แต่ประชาชนไปรู้จาก ข่าวลือว่าผู้ป่วยไปย่าน ๆ หนึ่ง ทำ�ให้ทั้งบริเวณนั้นเดือนร้อนกันหมด แทนที่

CREATIVE THAILAND I 30


จะเดือนร้อนแค่กลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ และผมก็คดิ ว่าการปกปิดข้อมูลอาจจะไม่ใช่ วิธีการที่ดีเท่าไรในการควบคุมความตื่นตระหนก การเปิดเผยข้อมูลอาจจะ ดีมากกว่าเพราะคนจะตื่นตระหนกน้อยลง

South China Morning Post ที่ฮ่องกง ส่วนที่สิงคโปร์ก็มี The Straits Times ที่ทำ�ได้ดีมากช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยการทำ�เรื่องเคสผู้ป่วย ในสิงคโปร์ให้เห็นว่าแต่ละคนติดจากใครบ้าง

สถานการณ์ ในขณะนี้ เรายังขาดข้อมูลอะไรที่จำ�เป็นต้องรู้ ผมคิดว่าหลัก ๆ เลยคือขาดเรื่องเคสแต่ละเคส การบอกข้อมูลไม่ค่อย สม่ำ�เสมอ แต่ก็ต้องยอมรับว่าเหตุการณ์มันฉุกละหุก คืออาจจะไม่มีใครคิด แพตเทิร์นมาก่อนว่าต้องบอกข้อมูลละเอียดขนาดไหน แต่จนถึงทุกวันนี้ เราก็ยังได้รับข้อมูลที่ไม่สม่ำ�เสมอเท่าไร ยังไม่ค่อยรู้ว่าตกลงแต่ละคนติด จากใครบ้าง บางวันรายงานอาชีพผู้ติดเชื้อ บางวันก็ไม่รายงาน ก็อาจจะ สร้างความสับสน ซึ่งจริง ๆ ข้อมูลอาชีพก็เป็นเรื่องสำ�คัญ เราอาจจะอยาก รู้ ว่ า อาชี พ ไหนมี ค วามเสี่ ย งมากกว่ า กั น จะได้ จั ดการออกนโยบายถู ก แม้กระทั่งคนที่อยู่ในอาชีพนั้นจะได้รับมือได้ถูกต้อง เป็นต้น

เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การนำ � เสนอข่ า วในประเทศไทยแล้ ว คิดว่าเป็นอย่างไร แม้ตอนนีห้ ลาย ๆ ทีจ่ ะมีหมวดหมูข่ า่ วโควิด-19 โดยเฉพาะอยูแ่ ล้ว แต่ปญั หา หนึง่ ทีเ่ รามีกค็ อื สำ�นักข่าวไทยอาจจะไม่เคยทำ�ข่าวทีเ่ ป็นวิกฤตระดับนีใ้ นเชิง ดิจิทัลแพลตฟอร์ม เราก็เลยไม่มีเวลาเตรียมตัว เลยใช้เวลานานนิดหนึ่ง ในการทำ�ข่าวนี้ให้ทัน ยกตัวอย่างย้อนกลับไป ช่วงที่มีข่าวทีมหมูป่าติดถ้ำ� เราจะเห็นว่าในตอนนัน้ เราเริม่ ทำ�ข่าวออนไลน์แล้ว แต่วา่ เรายังไม่คอ่ ยพร้อม ในการทำ�ข่าวในมิติอื่น ๆ แม้เราจะทำ�ข่าวเรื่องนี้ก่อนต่างชาติ เพราะมัน เกิดขึ้นที่ไทยและเรามองว่าเป็นข่าวใหญ่ก่อนต่างประเทศ แต่สิ่งที่เราเห็น ในทีวสี ว่ นใหญ่จะเป็นการสัมภาษณ์คนทีเ่ กีย่ วข้องบ้าง แล้วก็จบไป จนกระทัง่ เราเห็นข่าวของต่างประเทศ เราก็เริม่ เข้าใจว่ามันมีมมุ อืน่ ในการทำ�ข่าว เช่น การนำ�เสนอข่าวของญี่ปุ่นที่จำ�ลองสถานการณ์ในถ้ำ� เราถึงได้รู้ว่ามันก็ทำ� แบบนีไ้ ด้ เหตุทเี่ ราติดคือ เราอาจจะยังไม่พร้อมว่าต้องทำ�ข่าวมากขนาดไหน และควรมีมมุ มองอย่างไรในการทำ�ข่าว ผมคิดว่าหลัง ๆ สำ�นักข่าวอาจเข้าใจ มากขึ้น เพราะเรามีคู่แข่งเป็นสำ�นักข่าวต่างประเทศด้วย คือข่าวไทยมันจะ ไม่ใช่ข่าวแค่ในประเทศในภูมิภาคเราอีกต่อไป เพราะถ้ามันเป็นเรื่องใหญ่ ระดับหนึ่ง คนต่างชาติก็จะมาทำ�ข่าวเหมือนกัน ฉะนั้นเราอาจจะต้องทำ� เตรียมเก็บไว้ด้วย ในเรื่องโควิด-19 ก็เป็นตัวอย่างที่ดีให้เราเห็นว่า เราสามารถทำ�ระบบ เตรียมไว้เพื่อใช้รับมือกับเรื่องอื่นได้ เช่น ถ้าเราทำ�เว็บไซต์อันหนึ่งที่ทำ�เรื่อง โควิด-19 ไม่มีเหตุผลอะไรที่เราจะใช้สิ่งเดียวกันพูดเรื่องภัยแล้งหรือ PM 2.5 ไม่ได้ อาจจะทำ�เป็นแผนที่เหมือนกัน แล้วพูดว่าปัญหาเกิดขึ้นตรงไหนบ้าง เป็นต้น และผมอยากให้สำ�นักข่าวหรือแม้กระทั่งรัฐบาลเองรู้ว่าของแบบนี้

คัดกรองข่าวอย่างไรไม่ให้ตื่นตระหนกจนเกินไป ก็ควรจะรับข่าวสารจากทางรัฐบาลเป็นหลัก แม้เขาอาจจะบอกข้อมูลน้อย ไปหน่อย แต่ข้อมูลที่ได้จากภาครัฐก็น่าจะมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ถ้าเป็นไปได้ก็อยากให้รัฐบาลเปิดเผยข้อมูลที่เพียงพอกับความต้องการ ตัวอย่างการสือ่ สารเรือ่ งโควิด-19 ทีน่ า่ สนใจและน่านำ�มาเป็น แบบอย่าง ผมขอเน้นแค่ Data Visualization และ Data Journalism นะครับในเรือ่ งนี้ ก็ยงั ต้องยกย่องให้ประเทศทีเ่ ป็นผูน้ �ำ เรือ่ งนีอ้ ยูแ่ ล้วอย่างสหรัฐอเมริกา ดูจาก เจ้าดัง ๆ อย่าง The New York Time หรือ The Washington Post ก็เป็น สื่อ 2 เจ้าใหญ่ที่ค่อนข้างเชี่ยวชาญการทำ�สื่อที่มี Visualization อยู่ข้างใน หรือกล้าทีจ่ ะนำ�เสนอข้อมูลปริมาณมาก ๆ ทีย่ อ่ ยมาในระดับหนึง่ ให้คนอ่าน ทำ�ความเข้าใจกับข้อมูลได้ไม่ยาก ถ้าในเอเชียที่ค่อนข้างมีชื่อเสียงคือ

CREATIVE THAILAND I 31


ประเด็นนี้จึงเหมือนไก่กับไข่ ในมุมหนึ่งคนของเราอาจไม่พร้อม แต่ใน อีกมุมหนึ่งเพราะเราไม่เคยให้อะไรยาก ๆ เลย ก็อาจจะต้องค่อย ๆ เริ่มให้ อะไรที่ ย ากมากขึ้ น ผมเห็ น ว่ า หลายที่ เ ริ่ ม นำ � เสนอชาร์ ต ที่ ย ากมากขึ้น ยกตัวอย่างทีช่ ดั เจนมากเลยคือตอนเลือกตัง้ ครัง้ ล่าสุด ก่อนหน้านีเ้ ราอาจจะ ไม่เคยเห็นแผนที่ประเทศไทยปรากฏในข่าวหน้าหนึ่งมากเท่าไร เพื่อเล่าว่า เขตไหนพรรคไหนใครชนะ แต่การเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา เรามีแผนที่ ที่ละเอียดมากขึ้น อยู่ในรูปแบบที่ถูกทำ�ให้เข้าใจง่ายแล้วด้วย คือเอาเขต การปกครองของไทยมาย่อยให้กลายเป็น 6 เหลี่ยม แล้วมาวางต่อกันเป็น แผนที่ประเทศไทย ซึ่งผมก็เคยได้รับคอมเมนต์ประเภทนี้มาพอสมควรว่า คนอ่านจะรู้เรื่องไหม แต่ในความเป็นจริง ก็มคี นเข้าใจในทันทีโดยที่หนังสือพิมพ์ เอาไปลงหน้าหนึ่งได้แบบที่ไม่ต้องรู้สึกว่าคนจะอ่านไม่รู้เรื่อง

CREATIVE INGREDIENTS ไม่ได้ทำ�ครั้งเดียวทิ้ง เพราะถ้าเราออกแบบมาดี ๆ มันก็สามารถใช้ซ้ำ�กับ ข้อมูลประเภทเดียวกันได้เยอะ ๆ ถ้าข้อมูลเป็นประเภทเชิงพื้นที่ทั้งหมด ยังไงก็ตามมันก็ต้องเป็นแผนที่แบบเดิม เพียงแค่เปลี่ยนข้อมูลไป คิดว่าคนไทยพร้อมเสพข้อมูลแบบ Data Visualization หรือไม่อย่างไร ผมคิดว่าความกังวลส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากผู้อ่านเป็นหลัก แต่เป็นคนที่ จ้ า งเรามากกว่ า ที่ กั ง วลว่ า ถ้ า เอาไปปล่ อ ยในเว็ บ ไซต์ จ ะมี ค นอ่ า นไหม เหมือนที่คนพูด ๆ กันว่าประเทศไทยยังต้องมีละครแบบนี้แหละ เพราะเรา เสพแต่ละครแบบนี้ หรือความจริงเราอาจจะคิดไปเองว่าเขาดูแต่ละครแบบนี้ แต่คนไทยอาจจะอยากดูอะไรยาก ๆ ก็ได้ แต่อนั หนึง่ ทีต่ อ้ งยอมรับคือ คนไทย อาจจะดูอะไรยาก ๆ ได้ไม่มากนักเมื่อเทียบกับคนต่างประเทศ ไม่ใช่ว่าเรา เก่งไม่เท่าเขานะ เพียงแต่เราไม่ชิน แต่ถ้าเราได้ดูบ่อย ๆ เราก็จะชินไปเอง ไม่มีเหตุผลอะไรที่คนไทยจะอ่านชาร์ตไม่ออก แค่เราไม่คุ้นเคย ครั้งแรกเรา อาจไม่คนุ้ แต่ครัง้ หลัง ๆ เราจะคุน้ ไปเอง ซึง่ เรือ่ งนีม้ กี ารศึกษาอยูห่ ลายครัง้ ว่าประเทศที่ใช้ Visual Language (ภาษาเชิงภาพ) ยาก ๆ เขาก็จะมี ความทนทานในการอ่านของแบบนี้ ซึ่งการศึกษาคือไปดูหนังสือพิมพ์ของ ประเทศต่าง ๆ ว่าใช้ชาร์ตที่ยากขนาดไหน ยิ่งประเทศไหนใช้ชาร์ตยากขึ้น เท่าไร เขาก็ยิ่งทนทานและมีความพยายามในการอ่านชาร์ตยาก ๆ

กว่าจะเป็น Data Visualization Specialist... ผมสนใจเรื่องภาพมาก่อน ตอนที่เรียนป.ตรี ผมเรียนวิศวะคอมฯ ก็สนใจ เกี่ยวกับภาพ เรียนเรื่องคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ที่เขียนโปรแกรมเพื่อให้ทำ� แอนิเมชัน เป็นต้น ผมก็เรียนพวกนี้ แล้วส่วนหนึ่งในคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ มันมีส่วนของ Visualization แต่จะไม่ได้มีเรื่องข้อมูลมาเกี่ยวข้อง ซึ่งถ้าเป็น เรื่อง Visualization จริง ๆ กระบวนการมันน่าสนใจมากกว่าความสวยงาม เพราะมั น มี เ รื่ อ งข้ อ มู ล และการวั ด ผล ก็ เ ลยเรี ย นปริ ญ ญาเอกในเรื่ อ ง Visualization โดยตรง เพราะคิดว่าความสนใจมันค่อย ๆ ขยับได้ ผมอยาก จะบอกเผื่อสำ�หรับคนที่อยากทำ�อาชีพนี้ว่า มันอาจจะมีอาชีพอื่น ๆ ที่เรา ไม่เคยรู้ว่ามีมาก่อน เพราะแม้แต่ในสหรัฐอเมริกาเองก็แทบจะไม่มีคำ�ว่า Visualization เพราะมันไม่ใช่อาชีพ ปกติเขาก็ให้กราฟิกทำ� เพิง่ มีมาหลัง ๆ ตอนทีม่ ขี อ้ มูลมากขึน้ ดังนัน้ ถ้าเราเรียนทีเ่ ราสนใจ อีกหน่อยในอนาคต ความ สนใจของเราก็อาจจะประกอบร่างเป็นสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์ได้เอง อย่างผมอาจจะ โชคดีนิดหนึ่งที่มันประกอบร่างกันทันเวลา เลยอยากแนะนำ�ว่าเรียนเรื่อง ทีเ่ ราสนใจน่าจะดีกว่า ค่อย ๆ ทำ�ความเข้าใจกับมันไปก่อน เพราะอีกหน่อย มันจะรวมร่างกันได้เอง วันว่างๆ ชอบ... ชอบดูงาน 3 มิติ พวกงานประติมากรรม (Sculpture) และชอบดูหนัง ล่าสุด ที่ไปดูแล้วชอบคือเรื่อง Portrait of a Lady on Fire (2019) ถ้าเป็นหนังไทย จะชอบหนังของคุณอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล หมายเหตุ : ข้อมูลสัมภาษณ์วันที่ 18 มีนาคม 2563

CREATIVE THAILAND I 32



Creative Solution : Advertorial

ก๊อกน้ำ� Aqua Soap

เรื่อง : กองบรรณาธิการ

ท่ามกลางมลภาวะทางอากาศอย่างฝุ่น PM 2.5 รวมถึงสถานการณ์ท่ี หลายคนกำ�ลังวิตกกังวลอย่างหนักอย่างโรคระบาดจากเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุใ์ หม่ ทีย่ งั คงดำ�เนินอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งนัน้ สิง่ หนึง่ ทีเ่ ราทุกคนสามารถ ทำ�ได้ดที ส่ี ดุ เพือ่ ชะลอปริมาณการระบาดลงก็คอื การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ที่เป็นมาตรการซึ่งหลายประเทศนำ�มาใช้ควบคุม การระบาดของโควิด-19 ในขณะนี้ โดยข้อมูลจากเว็บไซต์ statista.com ระบุวา่ ปริมาณการระบาดของผูป้ ว่ ยโควิด-19 จะเพิม่ ขึน้ เป็นเท่าตัวทุกๆ 4 วัน หากไม่มีการทำ� Social Distancing แต่หากทุกคนร่วมใจห่างกันสักพัก และอยูแ่ ต่ภายในบ้าน ปริมาณการระบาดทีจ่ ะเพิม่ เป็นเท่าตัว ก็ตอ้ งใช้เวลา ยาวนานออกไปเป็น 8 วัน จึงนับเป็นวิธที ไ่ี ด้ผลทีจ่ ะลดปริมาณการแพร่ระบาด ลงได้ ดังนั้น “บ้าน” ทั้งในปัจจุบันและอนาคต จึงต้องเป็นพื้นที่ที่มากกว่า เพียง “ทีพ่ กั อาศัย” ในไลฟ์สไตล์ทเ่ี ป็นส่วนตัว แต่ยงั ต้องทำ�หน้าทีอ่ นื่ ๆ ได้อย่าง ครอบคลุม ไม่วา่ จะเป็นพืน้ ทีท่ �ำ งาน การเรียน หรือทำ�กิจกรรมต่างๆ เพราะ “บ้าน” คือ “ความสุข” ที่สร้างได้ บ้านที่อยู่สบายและปลอดภัยช่วยให้เรา ได้พักผ่อนและรีชาร์จตัวเองให้มีพลังในการทำ�สิง่ ต่างๆ ในวันต่อไป ทีส่ �ำ คัญ บ้านทีส่ วยในสไตล์ของเรายังช่วยสร้าง “ความสุข” ในมิติที่ใกล้ตัวได้อย่างมี ประสิทธิภาพ “คอตโต้” เชื่อว่าบ้านที่จะมอบความสุขจะต้องมีสภาพแวดล้อมที่ ควบคุมให้อยูส่ บายและปลอดภัยจากสิง่ แวดล้อมทีน่ า่ กังวลได้ การทำ�ให้บา้ น เป็น Dream Space หรือพื้นที่สำ�หรับผ่อนคลายจากความเครียดและพร้อม ชาร์จพลังให้กับการดำ�เนินชีวิตนั้นควรมี 3 องค์ประกอบหลัก คือ Mood Lifting Environment ปรับเปลีย่ นเพือ่ ความแปลกใหม่ ไม่จ�ำ เจผ่านงานดีไซน์ ทีส่ ะท้อนตัวตน ด้วยองค์ประกอบต่างๆ ทีท่ �ำ ให้บา้ นสวยน่ามองในแบบของ

คุณเอง อย่าง Novo Craft Series กระเบื้องโมเสกสีขาวดํา สีเบสิกที่เหมาะ กับการแต่งห้องทุกสไตล์ มีลวดลายให้เลือกหลายแบบ หรือจะเลือก ออกแบบตามที่ต้องการก็ได้ จึงพร้อมเปลี่ยนจากพื้นที่เดิมๆ ให้โดดเด่น ไม่เหมือนใคร Pleasing Well-being สุขภาวะทีน่ า่ รืน่ รมย์จากสภาพแวดล้อม ทีส่ ะอาด สะดวกสบาย ด้วยสุขภัณฑ์อจั ฉริยะ Verzo และ Optimum ทีไ่ ด้รบั การออกแบบให้มรี ปู ลักษณ์กลมกลืนเป็นหนึง่ เดียวกันตามหลักการยศาสตร์ (ergonomic) หัวฉีดมีฟังก์ชัน Self-Clean มั่นใจได้ในความสะอาด พร้อมสั่งงานด้วยรีโมตคอนโทรลแบบไร้สาย เข้าคู่ได้ดีกับก๊อกอ่างล้างหน้า แบบเซ็นเซอร์รุ่น Aqua Soap มาพร้อมที่จ่ายสบู่อัตโนมัติ ลดการสัมผัส จึงช่วยให้มั่นใจเรื่องความสะอาดยิ่งขึ้น หรือก๊อกสำ�หรับครัวรุ่น Touch Faucet ที่มีเทคโนโลยีช่วยลดความเสี่ยงจากเชื้อโรคที่มองไม่เห็น สามารถ เปิด-ปิดก๊อกได้โดยไม่ต้องใช้มือจับ ช่วยให้งานครัวสะดวกสบายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การสร้างสุขภาวะที่ดีในพื้นที่อยู่อาศัยคือการคำ�นึงถึง ความปลอดภัยของทุกคนในบ้านด้วยเช่นกัน กระเบื้อง X-Porcelain ดีไซน์ สวยแบบธรรมชาติ มาพร้อมคุณสมบัติพิเศษ แข็งแรง ทนทาน และผิวหน้า กันลื่น (Anti-Slip) จึงตอบโจทย์เรื่องความปลอดภัยของทุกคนในครอบครัว และองค์ประกอบสุดท้าย Life-time Hassle Free คือความอุ่นใจ ไร้กังวล ที่เกิดจากสินค้าที่มีคุณภาพ บริการที่ครบวงจร เป็นมิตรต่อผู้ใช้งานและ สิง่ แวดล้อม ด้วยองค์ประกอบทีต่ อบโจทย์การอยูอ่ าศัยและช่วยเสริมคุณภาพ การใช้ชวี ติ เหล่านี้ จะช่วยเติมเต็มมิตขิ องการอยูอ่ าศัยให้สมบูรณ์แบบยิง่ ขึน้ และทำ�ให้มน่ั ใจได้วา่ ไม่วา่ สถานการณ์ภายนอกจะเป็นอย่างไร “บ้าน” จะเป็น Dream Space ให้เราเสมอ ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมของผลิตภัณฑ์ได้ที่ www.cotto.com

CREATIVE THAILAND I 34




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.