Creative Thailand Magazine

Page 1



STAY FRESH.



EDITOR'S NOTE บทบรรณาธิการ

แถลงการณ์จากความบีบคั้น ราวเดือนตุลาคมปีทแ่ี ล้ว กลุม่ แบรนด์เสือ้ ผ้าเล็กๆ สัญชาติญป่ี นุ่ 14 แบรนด์ ได้รว่ มกันเปิดร้านค้าชัว่ คราว ในสิงคโปร์ ภายใต้ชอ่ื “ฮาราจูกุ สตรีท สไตล์" (Harajuku Street Style) โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ แผ่ขยายอิทธิพล แฟชั่นสไตล์ฮาราจูกุให้แทรกซึมและเข้าถึงวัยรุ่นเอเชียอย่างเอาจริงเอาจัง อันทีจ่ ริงแล้ว ไม่มอี ะไรน่าประหลาดใจและไม่มอี ะไรใหม่ ทัง้ ฮาราจูกุ ถนนแฟชัน่ ทีว่ ยั รุน่ ได้แสดงออก ถึงความบิดเบีย้ วจากขนบดัง้ เดิม หรือ สตรีทแฟชัน่ (Street Fashion) ซึง่ ทุกวันนีไ้ ด้กลายเป็นรูปแบบหนึง่ ของ อุตสาหกรรม ตัง้ แต่ ฟาสต์ แฟชัน่ (Fast Fashion) จนถึง โอต์ กูตรู ์ (Haute Couture) แต่ความน่าสนใจก็คอื กระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น (METI) คือผู้สนับสนุนหลักของโครงการดังกล่าว คำ�ถามก็คือ อะไรดลใจให้ METI อันเกรียงไกรของญี่ปุ่น ซึ่งเคยให้ความสลักสำ�คัญแต่กับกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และเครือ่ งใช้ไฟฟ้า มายาวนานหลายสิบปี หันมาให้ความสำ�คัญ กับความเพีย้ นของวัฒนธรรมการแต่งกายวัยรุน่ บนท้องถนนในโตเกียว และยังมอบความไว้วางใจให้คนกลุม่ นี้ มีบทบาทในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจและภาพลักษณ์ของประเทศ คำ�ตอบก็คือ ญี่ปุ่นกำ�ลังว้าเหว่กับสภาพ การแข่งขันในตลาดสินค้าอุตสาหกรรมยักษ์ใหญ่ทต่ี อ้ งสูก้ บั เกาหลีใต้และจีน รวมถึงภัยพิบตั สิ นึ ามิทก่ี ระตุน้ ให้ญี่ปุ่นต้องลุกขึ้นทำ�อะไรใหม่เพื่อสร้างจิตวิญญาณของตนเอง ซึ่ง METI เรียนสิ่งนั้นว่า "คูล เจแปน" (Cool Japan) อันเป็นนโยบายส่งเสริมฐานที่มั่นใหม่เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยมีองค์ประกอบคือ แฟชั่น ดนตรี อาหาร และแอนิเมชั่น โดยมีการจัดตั้งสำ�นักงาน The Cool Japan Promotion Strategy Program ขึ้นใน METI เพื่อตั้งเป้าที่จะส่งออกสินค้าจากความสร้างสรรค์ของญี่ปุ่นให้ได้ 140 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2020 และทีท่ �ำ ให้ประหลาดใจขึน้ ไปอีกก็คอื การทีแ่ คมเปญนีจ้ ะถูกบรรจุรวมไว้ในการประชุมไอเอ็มเอฟ (IMF) และเวิลด์ แบงค์ (World Bank) ที่โตเกียวในปีนี้ด้วย ความเพีย้ นของฮาราจูกุ กับวาระประชุมไอเอ็มเอฟเป็นเรือ่ งน่าพิศวง แต่เมือ่ หันไปมองปรากฏการณ์ท่ี METI กำ�ลังต่อสู้ดิ้นรนอยู่นี้ อาจไม่ต่างจากอุตสาหกรรมในระบบทุนนิยมทั่วโลกที่กำ�ลังเดินมาถึงทางแคบ และตีบตัน เพราะอยูๆ่ แฟชัน่ ดนตรี และศิลปะ ก็หมดทางทีจ่ ะหยิบฉวยความอลังการมานำ�เสนอ ความเฉา ที่เกิดจากความซํ้าซากนี่เองที่ก่อให้เกิดอาการหายใจติดขัดในอุตสาหกรรมการผลิต ด้วยเหตุนี้ เมื่อหันไป ได้ยินสำ�เนียงแปร่งหูที่เคยเป็นเรื่องน่ารำ�คาญ อึกทึก และกวนใจ ก็กลับกลายเป็นเรื่องน่าชื่นชมของวันนี้ เสียงทีก่ ร่นด่าสังคมถึงความตา่ํ ต้อย กดขี่ ของเพลงฮิปฮอป การบ่อนทำ�ลายแบบกราฟฟิต้ี หรือรสชาติอาหาร ของผูใ้ ช้แรงงาน จึงกลายเป็นต้นทุนทีส่ ดใหม่ทางความคิด อีกทัง้ ยังสร้างความใกล้ชดิ ระหว่างความเห็นอก เห็นใจในความนอกคอก ให้เกิดเป็นความนิยมในรูปแบบการใช้ชีวิตสมัยใหม่ร่วมกัน วัฒนธรรมเล็กๆ จากท้องถนนได้แสดงเจตจำ�นงอย่างชัดเจนถึงความบีบคัน้ ทีพ่ วกเขาได้รบั จากความ ไม่เป็นธรรมของสังคม ถ้อยแถลงของโลกอุตสาหกรรมก็เช่นกัน เมือ่ ความบีบคัน้ ทางเศรษฐกิจได้ถาโถมเข้ามา บรรทัดฐานด้านความงาม ความไพเราะ และความเลอเลิศ ก็เปลี่ยนแปลงได้ทั้งนั้น อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล บรรณาธิการอํานวยการ

กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l5


© Wolfram Steinberg/dpa/Corbis

THE SUBJECT ลงมือคิด

Underground help เรื่อง: มนฑิณี ยงวิกุล

แม้ ข้ อ ถกเถี ย งว่ า ลวดลายและสี สั น บนกำ � แพงที่ ป รากฏอยู่ ต ามที่ ส าธารณะนั้ น เป็ น ศิ ล ปะหรื อ การทำ � ลายทรั พ ย์ สิ น จะยังไม่จบสิ้น แต่ในเบอร์ลิน ที่แม้จะมีการออกปราบปรามเฉกเช่นกฎระเบียบทั่วไป แต่ด้วยค่าปรับอันน้อยนิดและระยะเวลา ในการทำ�ความสะอาดที่ทอดนานออกไป จึงทำ�ให้เมืองหลวงของเยอรมนีแห่งนี้ กลายเป็นผืนผ้าใบชั้นเยี่ยมสำ�หรับระบาย ความในใจของเหล่าศิลปินสีสเปรย์ ว่ากันว่า หลังการรวมเยอรมนีในช่วงแรกๆ เบอร์ลนิ มีสภาพคล้ายนิวยอร์ก ไม่มีทาง!)” ยังคงปลุกเร้าให้คนจำ�นวนมากซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่น่าจะถูก ในช่วงทศวรรษ 1970 ซึ่งเต็มไปด้วยกองทัพศิลปินที่หลงใหลการวาดภาพ เรียกว่าพวกอนุรักษ์นิยมพากันสมัครเรียนในคอร์สสอนการวาดศิลปะ กราฟฟิตี้ในสถานที่ต่างๆ ตั้งแต่สถานีรถไฟใต้ดิน กำ�แพงโบสถ์ และ บนกำ�แพง สเตฟานี ฮานนา (Stephanie Hanna) กล่าวว่า เธอเริ่ม ยอดอาคาร จนทำ�ให้เบอร์ลนิ ฝัง่ ตะวันออกทีเ่ คยเคร่งขรึมถูกปกคลุมไปด้วย โครงการ "Senior Street Art" เมือ่ ปี 2005 โดยไม่คดิ ว่าจะมีเสียงเรียกร้อง สีสเปรย์และมาร์กเกอร์ อย่างต่อเนื่องมาจนถึงสิ้นปี 2012 ซึ่งเธอคิดว่าเป็นเพราะคนเริ่มมองเห็น เทศบาลเมืองเบอร์ลินได้จัดตั้งหน่วยงานพิเศษในการกวาดล้าง คุณค่าทางศิลปะของกราฟฟิตี้มากขึ้น และในบางครั้งเธอยังได้เห็นงาน กลุ่มศิลปินใต้ดินเหล่านี้มาตั้งแต่ปี 1990 แต่ทว่ากิจการร้านขายสีสเปรย์ กราฟฟิตี้ที่คาดว่าจะเป็นผลงานของลูกศิษย์สูงวัยของเธอ ได้แอบนำ�สิ่งที่ กลับเฟื่องฟูไปด้วยสีชนิดพิเศษ หน้ากากกันละอองสี มาจนถึงแฟชั่น ได้เรียนรูม้ านัน้ ไปใช้จริงบนท้องถนนอีกด้วย รุ่นพิเศษ อย่างเช่นเสื้อยืดเกรซ โจนส์ (Grace Jones) และรองเท้าผ้าใบ ปัจจุบันการจับกุมผู้ทำ�ลายทรัพย์สินก็ยังเป็นเรื่องปกติ ความคิดของ (Sneaker shoes) รุ่นลิมิเต็ด เช่นกันกับแกลลอรีในมิทเทอะ (Mitte) ทั้งผู้ล่าและผู้ถูกไล่ล่าก็ยังคงสวนทางกันตามหน้าที่ แต่ในยามคํ่าคืน ย่านใจกลางเมืองของเบอร์ลินที่มีการจัดแสดงผลงานศิลปะจากข้างถนน กลุ่มศิลปินใต้ดินยังคงเดินเสาะแสวงหาพื้นที่ว่างเพื่อระบายความรู้สึก อยู่บ่อยครั้ง ขณะที่นิตยสารโลดาว์น (Lodown) ก็ไม่เคยขาดแคลนภาพ ผ่านสีสเปรย์ และกลับมาชื่นชมผลงานของตนเองในเช้าวันถัดไป และเรื่องราวที่จะมาตีพิมพ์ ที่มา: วงการกราฟฟิตี้ในเบอร์ลินยังขยายวงมากขึ้นจากข้อความในใบปลิว nytimes.com spiegel.de ที่ว่า "Too old for graffiti? Never! (แก่เกินไปสำ�หรับกราฟฟิตี้หรือ? video.nytimes.com 6 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555


johnnyryan.com

brokelyn.com

japa.la

THE OBJECT คิดแล้วทำ�

VICE magazine เรื่อง: ศุภมาศ พะหุโล

“เวลาทีเ่ ริม่ ทำ�ดนตรี คุณทำ�เพือ่ ตัวเองกับเพือ่ นทีค่ ดิ เหมือนคุณ คุณไม่สนใจอย่างอืน่ เลย... แต่ถา้ เผอิญว่ามีคนอืน่ ชอบด้วย มันก็จะเยีย่ มมาก ไม่ตา่ งจากดนตรี เราไม่ตอ้ งการทำ�นิตยสารเพือ่ เอาใจคนอ่าน มันไม่ใช่ แบบว่ากลุม่ เป้าหมายของเราคือใคร เราควรต้องใส่เรือ่ งกีฬาท้าทายลงไปไหม เพราะเรือ่ งเหล่านัน้ เราไม่แม้แต่จะสนใจมันด้วยซา้ํ เราจะเสนออะไรก็ตามทีเ่ ราเห็นว่า น่าสนใจเท่านั้น" ฌีน สมิธ (Shane Smith) กล่าวถึงกฎเหล็กของ VICE "สีสนั ความรุนแรง และการวิพากษ์" คืออุดมการณ์ดบิ ๆ ภายใต้วถิ พี งั ก์ทผ่ี นั ฉบับต่อเดือน ใน 28 ประเทศทัว่ โลก และมีลกู ค้าเป็นแบรนด์เสือ้ ผ้าและอุปกรณ์ จากการทำ�วงดนตรีตั้งแต่วัยเยาว์สู่เนื้อหาและคอลเล็กชั่นของภาพถ่าย กีฬาชัน้ นำ� ไปจนถึงโทรศัพท์มอื ถือและรถยนต์จากอีกฟากของโลก แต่ยงั บนหน้านิตยสาร ก่อตั้งโดยสมิธ และสหายพังก์รุ่นเก๋าอีก 2 คน คือ เกวิน ครอบคลุมไปถึงค่ายเพลง บริษทั ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์ออนไลน์ VBS.tv แม็คอินส์ (Gavin McInnes) และ ซูรชู อัลวี (Suroosh Alvi) เปิดตัวครัง้ แรก ที่มี สไปก์ โจนส์ (Spike Jonze) เป็นหัวเรือใหญ่ VICE ยังคงเปิดโอกาส ในปี 1994 ที่มอนทรีออล VICE พัฒนาจากนิตยสารแจกฟรี Voice of ให้กบั นักเขียนและช่างภาพรุน่ ใหม่ๆ ให้ได้ทดลองทำ�งานตามอยากเพือ่ แสดง Montreal ซึง่ ได้รบั ทุนจากรัฐบาลแคนาดา อันเป็นส่วนหนึง่ ของโปรแกรม จุดยืนทีช่ ดั เจนของตน ช่างภาพหลายคนทีท่ �ำ งานร่วมกับ VICE ต่างได้รบั การจัดสวัสดิการเพือ่ ส่งเสริมการให้บริการชุมชน ก่อนทีจ่ ะย้ายสำ�นักพิมพ์ การยอมรับในวงกว้าง ไม่ว่าจะเป็นเทอร์รี ริชาร์ดสัน (Terry Richardson) มาปักหลักที่นิวยอร์กด้วยเหตุผลทางธุรกิจ ไรอัน แม็คกินลี (Ryan McGinley) และแดช สโนว์ (Dash Snow) VICE แตกต่างจากนิตยสารฉบับอื่นอย่างชัดเจนตั้งแต่การคิดและ “มันมาจากความเป็นพังก์ พวกเราจะทำ�อะไรเล็กๆ สำ�หรับพวกเราเอง ตั้งชื่อคอลัมน์ไปจนถึงการคัดเลือกเนื้อหาภายใน มี "Dos & Don'ts" เป็น ถ้าเราได้อะไรที่มากกว่านั้นก็ดี ถ้าไม่ได้ ก็ไม่ได้ ช่างหัวมัน" วันนี้ VICE คอลัมน์ยอดฮิตตลอดกาล นำ�เสนอบทวิจารณ์แฟชัน่ จากภาพถ่ายทีช่ า่ งภาพ นำ�แก่นของวัฒนธรรมพังก์มาสู่แบรนด์ที่มีมูลค่าหลายล้านเหรียญสหรัฐฯ เก็บตกมาจากงานปาร์ต้ี รถไฟโดยสารข้ามเมือง หรือแม้กระทัง่ บนชายหาด อย่างสง่าผ่าเผย และขึน้ แท่นเป็นนิตยสารแจกฟรีทเ่ี ป็นเหมือนกระบอกเสียง ว่าแบบไหนควรใส่หรือไม่ควรใส่ ด้วยภาษาและเนื้อหาที่ตรงไปตรงมาแต่ ให้กับวัฒนธรรมย่อยของเยาวชนขบถทั่วโลก แฝงการจิกกัดและมุขตลกร้ายโดยอาจไม่ได้แตะทีต่ วั เสือ้ ผ้าเลยแม้แต่ค�ำ เดียว ทีThe่มา:Pirate's Dilemma: How youth culture is reinventing capitalism (2008) โดย Matt Mason ทุกวันนี้ VICE ไม่ได้เป็นแค่นิตยสารแจกฟรีที่มียอดพิมพ์ถึง 900,000 vice.com กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l7


CREATIVE RESOURCE วัตถุดิบทางความคิด

เรื่อง: เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร และ กริยา บิลยะลา

FEATURED BOOK

Street Knowledge

วัฒนธรรมสตรีท วัฒนธรรมข้างถนนที่แทรกซึม เข้าไปอยูใ่ นวิถชี วี ติ ของคนหลายคน ไม่ใช่แค่แนวทาง ของแฟชั่น ไม่ใช่แค่แนวทางดนตรี และไม่ใช่แค่ รูปแบบของศิลปะทีข่ ดี เขียนอยูต่ ามกำ�แพง แต่เมือ่ พูดถึงสิง่ ทีเ่ ป็นวัฒนธรรมแล้ว สิง่ นัน้ หมายถึง รูปแบบ การใช้ชวี ติ การเป็นกลุม่ ก้อน และการส่งต่อ แต่จดุ ที่ทำ�ให้คนในเจเนอเรชั่นปัจจุบันสนใจวัฒนธรรม แบบสตรีทมากยิ่งขึ้น อาจเป็นเพราะมันสะท้อน ความจริ ง บางอย่ า งที่ อ ยู่ ใ นใจของพวกเขาได้ ดี หรืออาจทดแทนด้วยสองคำ�สั้นๆ ว่า “มันเรียล!” King Adz เป็นคนหนึ่งที่ใช้ชีวิตอยู่ในวงจร ของโลกแห่ ง วั ฒ นธรรมสตรี ท มานานนั บ สิ บ ปี หนังสือเล่มนี้ของเขาจึงแสดงให้เห็นถึงความรู้ลึก และรูจ้ ริงในวัฒนธรรมสตรีทเป็นอย่างดี การใส่เสือ้ ผ้า

8 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555

โดย King Adz แนวสตรีทแฟชั่น ฟังเพลงฮิปฮอป เล่นกีฬาท้าทาย ชื่นชมศิลปะกราฟฟิตี้ หรือกินอาหารริมทาง อาจ ทำ�ให้คุณได้รู้จักกับวัฒนธรรมนี้แค่เพียงภายนอก เท่านั้น เพราะหลังอ่านหนังสือเล่มนี้จบ คุณจะได้ ค้นพบจุดเริม่ ต้นของวัฒนธรรมทีว่ า่ นี้ ทีซ่ ง่ึ คุณจะได้ รูท้ ง้ั หมดว่า อะไรบ้างทีม่ อี ทิ ธิพลในการผลักดันให้เกิด การแสดงออก บุคลิก และรสนิยม อย่างทีเ่ ห็นในวันนี้ นอกจากนั้น หนังสือเล่มนี้ยังรวบรวมสถานที่ ประวัติ ผลงาน ความเคลื่อนไหว ตลอดจนคนดัง และกลุ่มศิลปินที่มีชื่อเสียงในแวดวงที่เกี่ยวข้อง อาทิ Hugo Haagman, Know Hope, John Fekner, Banksy, Quik และอื่นๆ ไว้อีกมากมายในระดับที่ สามารถใช้เป็นสารานุกรมเฉพาะทางสำ�หรับการ อ้ า งอิ ง เพื่ อ ทำ � ความเข้ า ใจวั ฒ นธรรมสตรี ท ได้

เป็นอย่างดี ทุกวันนี้ วัฒนธรรมสตรีทอาจไม่ได้สะท้อน ฐานะทางสังคมหรือเศรษฐกิจอย่างที่เคยเป็นมา สินค้าสตรีทแฟชัน่ บางอย่างทวีมลู ค่าสูงลิบลิว่ และ ไม่ได้ถกู จำ�กัดอยูใ่ นแวดวงแคบๆ อีกต่อไป เหตุหนึง่ คงมาจากการที่วัฒนธรรมนี้มีสายสัมพันธ์อันดีกับ เครือข่ายสังคมที่กำ�ลังได้รับความนิยมในปัจจุบัน ความช่วยเหลือจากสื่อสังคมออนไลน์ ที่ได้ขยาย เสน่ห์อันลึกลับของสตรีทอาร์ตไปสู่คนในวงกว้าง ให้ได้มีโอกาสชื่นชมสิ่งเหล่านี้ได้มากยิ่งขึ้น จน ทำ�ให้วัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มนี้สามารถก้าวไปสร้าง อิทธิพลต่อกระแสความนิยมหลักของสังคมได้อย่าง ชัดเจนโดยไม่ต้องหลบซ่อนอยู่ในมุมมืดอีกต่อไป


CREATIVE RESOURCE วัตถุดิบทางความคิด

BOOK

MAGAZINE

DVD

Thai Street Food: Authentic recipes, vibrant traditions

Streetwear Today

Exit Through the Gift Shop

การลุกขึ้นมาปฏิเสธแฟชั่นกระแสหลักของวัยรุ่น ในยุค 60 เป็นจุดเปลี่ยนในการตั้งตัวเป็นขบถและ เริ่มต้นตั้งคำ�ถามถึงการมีรสนิยมที่ดีในการบริโภค แฟชั่น ความกล้าออกจากกรอบปฏิบัติในเวลานั้น ช่วยพลิกหน้าประวัตศิ าสตร์พร้อมสร้างไอคอนใหม่ ที่เรียกว่า “สตรีทแวร์” อันเป็นแฟชั่นทางเลือกใน การแสดงตัวตนอย่างอิสระตัง้ แต่หวั จรดเท้า รวมถึง หัวใจที่ปฏิเสธการครอบงำ�จากตลาดกระแสหลัก ในความนิยมสตรีทยังมีการแยกความนิยมลงเป็น กลุ่มย่อยซึ่งสะท้อนความหลากหลายของสไตล์ให้ ชัดเจนลงไปอีกทั้ง โกธิก กรันจ์ พังก์ ฮิปปี้ และ ฮิปฮอป ที่ต่างมีรายละเอียดเสื้อผ้า หน้าผม และ เครือ่ งแต่งกายทีบ่ ง่ บอกความเป็นเด็กแนวทางเลือก อย่างชัดเจน นิตยสารเล่มนี้จึงเป็นดั่งคู่หูที่คอย อัพเดทสินค้าแฟชั่นชิ้นใหม่ เสนอคำ�แนะนำ� และ บทความจากกูรทู จ่ี ะทำ�ให้เข้าใจถึงความเป็นสตรีท ในฐานะความท้าทายใหม่ส�ำ หรับผูค้ นในยุคปัจจุบนั

ภาพยนตร์กึ่งสารคดีเรื่องนี้เปิดตัวครั้งแรก ณ เทศกาลหนังนอกกระแสซันแดนส์ (Sundance) โดย เกิดจาก Thierry Guetta นักถ่ายภาพเคลื่อนไหว เป็นงานอดิเรกที่ได้เริ่มต้นถ่ายทำ�สารคดีให้กับ กลุ่มกราฟฟิตี้ จนมีโอกาสได้คลุกคลีกับแบงก์ซี่ (Banksy) ระหว่างการถ่ายทำ�กลับมีการสลับบทบาท หน้าทีใ่ ห้เขากลายเป็นผูถ้ กู ถ่ายทำ�เสียเอง ในฐานะ ผู้สร้างงานศิลปะที่ชื่อว่า Mr. Brainwash ศิลปิน ผูใ้ ช้ทางลัดในการคัดลอกงานศิลป์และจัดจำ�หน่าย ด้วยคำ�นึงถึงมูลค่าด้านราคาเพียงอย่างเดียว ก่อนจะ ส่งต่องานศิลป์จอมปลอมให้มวลชนสังเคราะห์ต่อ ซึ่งสอดคล้องกับชื่อภาพยนตร์ที่ต้องการสะท้อน พฤติกรรมการเสพงานศิลปะเพียงแค่หน้าประตู ทางเข้าหรือร้านขายของที่ระลึกมากกว่าการรับรส ที่ลึกซึ้งในห้องแสดงผลงานที่ศิ ล ปิ น ตั้ ง ใจจั ด ไว้ ทั้งยังบ่งบอกถึงความไม่เข้าใจในความหมายและ ไม่สนับสนุนงานศิลปะอย่างสิน้ เชิง

โดย David Thompson จะมีทไ่ี หนในโลกทีอ่ าหารซึง่ วางขายอยูต่ ามข้างทาง นั้นจะทั้งถูกและอร่อยเช่นในเมืองไทย David Thompson หลงเสน่ห์อาหารไทยเข้าอย่างเต็มเปา และมุ่งมั่นที่จะศึกษาศาสตร์การปรุงอาหารไทย จนปัจจุบันได้กลายเป็นหนึ่งในเชฟอาหารไทยที่มี ชื่อเสียงระดับโลก และยังเป็นเจ้าของ “nahm” ร้านอาหารไทยชือ่ ดังร้านแรกในกรุงลอนดอนทีไ่ ด้รบั ดาวจากมิชเชอแลง (Michelin Star) อีกด้วย หนังสือ เล่มนีไ้ ด้บอกเล่าเรือ่ งราวอาหารไทยทีพ่ บได้ขา้ งทาง แบบไม่จ�ำ เป็นต้องเข้าร้านหรูหรา โดยจัดแบ่งเนือ้ หา ตามช่วงเวลา เช้า กลางวัน และเย็น มีรายละเอียด เครื่องปรุง ตลอดจนวิธีการทำ�ตามขั้นตอน ทั้งยัง มาพร้อมกับรูปภาพอาหารแต่ละชนิดทีช่ ว่ ยกระตุน้ การทำ�งานของต่อมนํ้าลายได้ดีทีเดียว

กำ�กับโดย Banksy

กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l9


leezysworld.blogspot.com

MATTER วัสดุต้นคิด

KAWS Toy ของเล่นเด็กสตรีท

เรื่อง: พัชรินทร์ พัฒนาบุญไพบูลย์

อาจยังพูดได้ไม่เต็มปากว่าเป็น “ตัวจริง” หากไม่มี KAWS Toy เรียงในตู้โชว์คอลเล็กชั่นของเล่นของสะสมสำ�หรับผู้ที่ หลงใหลในวัฒนธรรมสตรีท ของเล่นจากไวนิลราคาแพงและ โด่งดังไปทั่วโลกนี้ มีต้นกำ�เนิดมาจากศิลปินที่มีชื่อเดียวกัน “KAWS” ซึ่งมาพร้อมเอกลักษณ์ดวงตารูปกากบาททั้ง สองข้างที่สื่อทั้งความหมายและอารมณ์ความรู้สึกแบบ สากลกับบรรดาคนรัก KAWS Toy ของเล่นจากวัสดุบา้ นๆ ที่กลายมาเป็นของสะสมมากคุณค่าทางจิตใจ การเดินทางไปยังโตเกียวของ KAWS ศิลปินกราฟฟิตี้จากนิวเจอร์ซีที่มี ชื่อจริงว่า ไบรอัน ดอนเนลลี (Brian Donnelly) เมื่อปี 1997 ทำ�ให้เขาได้ ร่วมงานกับศิลปินหลายแขนงและนำ�มาสู่การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะให้ กับบริษัทมากมาย รวมถึงการได้ผลิตคอลเล็กชั่นของเล่นจากไวนิลใน จำ�นวนจำ�กัด ซึ่งได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วในหมู่นักสะสมโดยเฉพาะ ในญีป่ นุ่ ก่อนทีเ่ ขาจะค่อยๆ พัฒนาเอกลักษณ์ของผลงานมาเป็น KAWS Toy ภายใต้แนวคิดการลบเส้นแบ่งงานศิลปะออกจากการผลิตจำ �นวนมาก เพือ่ จำ�หน่าย เพราะสิง่ ที่ KAWS ต้องการ คือการได้สง่ ต่อจินตนาการไปยัง ผูค้ นทัว่ ไปมากกว่าทีจ่ ะถูกจำ�กัดอยูเ่ ฉพาะแต่ในแวดวงศิลปะ โดยทีผ่ ลงาน นั้นจะต้องสามารถคงไว้ซึ่งคุณค่าและมูลค่าของตัวมันเอง และแม้ของเล่นจากไวนิลโดยส่วนใหญ่จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ถูกจัดให้ เป็นสินค้าราคาถูก แต่ KAWS ก็ยังเลือกที่จะใช้ไวนิลเป็นวัสดุสื่อกลาง ในการส่งผ่านความคิด จินตนาการ และความสนุกสนานของเขาไปสู่ สาธารณชน จนกลายเป็นที่ถูกใจของคนทั่วโลก ด้วยคุณสมบัติของไวนิล (Vinyl) ทีเ่ ป็นโพลิเมอร์สงั เคราะห์ซง่ึ มีสว่ นผสมระหว่างพลาสติกคุณภาพสูง และสารเพิ่มประสิทธิภาพต่างๆ เช่น สารเพิ่มความทนทานต่อแสงแดด ทนทานต่อแรงกระแทก ทนทานต่อสภาวะอากาศ และทนทานความร้อน จึงทำ�ให้ของเล่นจากไวนิลนอกจากจะมีความแข็งแรงสูง ไม่ลามไฟ ทนต่อ 10 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555

รังสียวู ี และสภาวะอากาศแล้ว ยังเป็นวัสดุทไ่ี ม่มปี ญั หาเรือ่ งแมลงกัดเจาะ การผุกร่อนหรือบิดงอ หรือเกิดสนิม และยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพราะ สามารถนำ�กลับมารีไซเคิลได้นบั ครัง้ ไม่ถว้ น จึงเหมาะอย่างยิง่ กับการนำ�มา ผลิตเป็นของสะสมที่จะคงสถานะการเป็นของรักของหวงได้นานกว่า พลาสติกทั่วไปกว่าครึ่งทศวรรษ จากทีม่ าทีไ่ ปในการสร้างงานของ KAWS ทีเ่ น้นการผลิตเพือ่ คนส่วนมาก ได้สง่ ผ่านไปถึงการเลือกสรรวัสดุทน่ี �ำ มาใช้สร้างงานทีท่ รงคุณค่าและเข้าถึง ได้ง่ายในทุกๆ สังคม พลาสติกไวนิลจึงกลายเป็นคำ�ตอบที่ลงตัว เพราะ แม้เบื้องหน้าจะดูธรรมดา แต่เมื่อผ่านกระบวนการเพิ่มเติมความคิด สร้างสรรค์ลงไปแล้ว วัสดุนี้ก็สามารถก้าวขึ้นมามีบทบาทสำ�คัญต่อหน้า ประวัติศาสตร์และกระแสความนิยมของผู้คนจำ�นวนมากได้ในทันที เช่นเดียวกับที่ KAWS Toy ได้ขึ้นไปอยู่ในทำ�เนียบของสะสมยอดฮิตในหมู่ นักสะสมของเล่นแนวสตรีททั่วโลกแล้วในวันนี้ ที่มา: KAWS Speaks with Interview Magazine จาก thejailbreak.com urbanvinyltoyshop.com nstda.or.th


CLASSIC ITEM คลาสสิก

แม้จะไม่ได้รบั การคิดค้นขึน้ ในสหรัฐอเมริกา แต่กป็ ฎิเสธไม่ได้วา่ วัฒธรรมสตรีทตามหัวมุมถนนของเมืองใหญ่ในดินแดนแห่งเสรีภาพ อย่างนิวยอร์กและลอส แองเจลิส ได้สร้างภาพจำ�ของบูมบ็อกซ์ (Boombox) ให้ติดตา ตั้งแต่กลางทศวรรษ 1970-1980 บูมบ็อกซ์ ได้ทลายข้อจำ�กัดด้านพื้นที่ในการแสดงออกซึ่งตัวตนให้กับวัยรุ่นชายขอบ หนุ่มสาวชาวละตินหรือชาวแอฟริกัน-อเมริกันผู้นิยมการ เตร็ดเตร่ เลือกทีจ่ ะเต้นเบรกแดนซ์บนบาทวิถี ตามเสียงดนตรีแร็ปดังสนัน่ ทีเ่ ล่นจากบูมบ็อกซ์ ซึง่ พวกเขาแบกขึน้ บ่าไปด้วยทุกหนแห่ง เรียกร้องให้ผู้คนหยุดมอง ฟัง และรับรู้ถึงการมีอยู่ของพวกเขา บริษัทฟิลิปส์ของเนเธอร์แลนด์คือผู้คิดค้น ช่วงทศวรรษ 1970 บูมบ็อกซ์รู้จักกันในชื่อ “ทศวรรษ 1980 คือยุคทองของบูมบ็อกซ์" เครื่องเล่นวิทยุและเทปคาสเซ็ตต์แบบพกพา ซึ่ง “Ghetto blaster” (ระเบิดเสียงจากสลัม) ส่วน สมาคมผู้บริโภคสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ ใช้แหล่งพลังงานได้ทั้งจากแบตเตอรี่และปลั๊กไฟ สำ�คัญทีท่ �ำ ให้ดนตรีแร็ปสามารถออกจากคลับมา รายงานว่า ในปี 1986 มีการนำ�เข้าบูมบ็อกซ์มายัง ออกสูต่ ลาดครัง้ แรกในปี 1969 แต่แบรนด์สญั ชาติ อาละวาดบนท้องถนน อย่างทีเ่ ห็นได้ในภาพยนตร์ สหรัฐฯ มากถึง 20.4 ล้านเครื่อง ญีป่ นุ่ เช่น เนชัน่ แนล พานาโซนิค และซันโย กลับ Do the right thing (1989) กำ�กับโดย สไปร์ก ลี ครองตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดนี้ด้วยการขยัน (Spike Lee) บูมบ็อกซ์ค่อยๆ หายไปจากท้องถนนใน พัฒนาทั้งรูปลักษณ์และลูกเล่น ทศวรรษ 1990 เมื่อวอล์กแมน (Walkman) ที่ บูมบ็อกซ์เป็นทีร่ จู้ กั ไปทัว่ โลกจากมิวสิกวิดโี อ เล็กกว่า เบากว่า เข้าตีตลาด และหมู่วัยรุ่นยุค บูมบ็อกซ์ท�ำ จากวัสดุพลาสติกหรือโลหะ โดย เพลงฮิตของนักร้องอย่าง แอลแอล. คูล เจ (LL. ต่อมาเริ่มมองว่าการแบกบูมบ็อกซ์ไปไหนมา มีส่วนประกอบหลักๆ คือ ลำ�โพง (สองตัวขึ้นไป) Cool J) มาดอนนา (Madonna) และ บีสต์ตี บอยส์ ไหนไม่ "คูล” อีกต่อไป (Beastie Boys) รวมถึงภาพยนตร์ฮอลลีวดู เรือ่ งดัง เครื่องขยายเสียง ปุ่มปรับคลื่นความถี่วิทยุ ส่วน ในทศวรรษ 1980 เช่น Flashdance (1983) และ เครื่องเล่นและอัดเทปคาสเซ็ตต์ รวมถึง “หูหว้ิ ” ปัจจุบนั บูมบ็อกซ์กลับมาฮิตอีกครัง้ เมือ่ กระแส ชิน้ ส่วนสำ�คัญที่ขาดไม่ได้ Krush Groove (1985) โหยหาอดีตมาแรง บวกกับเทคโนโลยีและดีไซน์ท่ี ทันสมัยซึ่งช่วยให้สามารถเชื่อมต่อกับยูเอสบีหรือ ไอพ็อดได้ตามชอบใจในระบบเสียงสุดกังวาน

beritalits.wordpress.com

เรื่อง: นันท์นรี พานิชกุล

ที่มา: beginnersguide.com pocketcalculatorshow.com whoinventedit.net กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 11


ในปี 1975 แกลลอรี่ย่านโซโหของลอนดอน ได้เปิดการแสดงนิทรรศการกราฟฟิต้ี พร้อมเปิดให้มกี ารซือ้ ขายงานกราฟฟิตบ้ี นผืนผ้าใบ และได้กลายเป็นจุดเริ่มต้นของความงามทางศิลปะรูปแบบใหม่ของชนชั้นสูง ความฮิตของมินสิ เกิรต์ ทีแ่ สดงออกถึงความหัวขบถของชาวฮิปสเตอร์ส์ (Hipsters) ฝัง่ อังกฤษ กับสัญลักษณ์ดอกไม้ซง่ึ แสดงถึงวัฒนธรรมฮิปปีท้ ม่ี งุ่ ต่อต้านสงคราม ได้กลายมาเป็นแรงบันดาลใจ จากวัฒนธรรมบนท้องถนนทีอ่ ฟี แซงต์ โลรองต์ (Yves Saint Laurant) เลือกมาใช้ผลิตคอลเล็กชั่นเสื้อผ้าชั้นสูงในปี 1967 เว็บไซต์ CNNgo.com เลือกให้ชาเย็นของไทยเป็นเครื่องดื่มยอดฮิต อันดับที่ 27 จาก 50 อันดับ เครื่องดื่มยอดนิยมทั่วโลก เพราะรสชาติที่นุ่มนวล และหาซื้อได้ง่าย ทัง้ จากริมถนนและร้านค้า

12 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555


COVER STORY เรื่องจากปก

ย่านบร็องซ์ (The Bronx) ต้นทศวรรษ 1970 ดีเจ คูล เฮิร์ก (DJ Kool Herc) แอฟริกา แบมบาตา (Afrika Bambaata) และแกรนด์มาสเตอร์ แฟลช (Grandmaster Flash) นำ�ดนตรีแนวใหม่มาสู่กลุ่มผู้ฟัง “ฮิปฮอป” ซึ่งได้เติบโตและคืบคลานจากกลุ่มผู้ฟังจำ�นวนเล็กๆ ในคลับมาสู่ท้องถนน ในปี 1983 ซิงเกิ้ลเพลง White line (Don’t do it) ของ แกรนด์มาสเตอร์ แฟลช และ เมลลี เมล (Melle Mel) ซึ่งเป็นเพลงที่ใช้เพื่อต่อต้านการเสพโคเคน ก็ผลักดันให้วัฒนธรรมดนตรีของชาวฮิปฮอป หลุดจากตลาดอันเดอร์กราวด์มาสู่กระแสเพลงหลัก ลากูน่าบีช แคลิฟอร์เนีย ปี 1980 ฌอน สตุสซี่ (Shawn Stussy) เขียนนามสกุลหวัดๆ ของเขา ลงบนแผ่นกระดานโต้คลื่น กางเกง และหมวกที่ขายสำ�หรับนักเล่นเซิร์ฟ มันกลายเป็นเครื่องแบบของหนุ่มสาวผู้บ้าระหํ่าในกีฬาเอ็กซ์เกม สิบปีต่อมา ยอดขายสินค้าของสตุสซี่สูงราว 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ วันนี้สตุสซี่ได้กลายเป็นโฮลดิ้งคอมปานีไปแล้ว

​​​​

ปี 1984 รัน-ดี.เอ็ม.ซี (Run-D.M.C) นำ�การแต่งกายของชาวฮิปฮอปไม่ว่าจะชุดกีฬา สร้อยทองเส้นโต และ My Adidas เข้าสู่ทำ�เนียบเพลงฮิตและแฟชั่นแบบสตรีทสไตล์ (Street style) รัน-ดี.เอ็ม.ซี เป็นกลุ่มดนตรีฮิปฮอปกลุ่มแรกที่อุตสาหกรรมเสื้อผ้ากีฬา อย่างอาดิดาส ยอมทุ่มเงินเป็นสปอนเซอร์ในเวลาต่อมา ระบบรถไฟใต้ดินของนิวยอร์ก คือที่แสดงงานศิลปะชั้นเลิศของ ผู้ปลดปล่อยแรงขับภายใน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนดำ�ผู้ยากจน จากทศวรรษ 1960 สู่ 1970 กราฟฟิตี้ (Graffiti) ได้เดินเข้า สูพ่ น้ื ทีส่ าธารณะอย่างเปิดเผย การจัดแสดงงานที่ เรเซอร์ แกลลอรี่ (Razor gallery) ในปี 1972 ได้รับการบันทึกลงนิวส์วีก ในปี 1974 ประวัตขิ องศิลปะกราฟฟิตถ้ี กู ตีพมิ พ์ขน้ึ เป็นครัง้ แรก

เรื่อง: ศิริอร หริ่มปราณี ภาพประกอบ: พิชญ์ วิซ

ู น ห ื ่ อ เม ว่ ยราชสหี ์ ช

ครั้งหนึ่ง... มันคือโลกส่วนตัวของคนกลุ่มเล็กๆ ทีต่ อ้ งการประกาศความแตกต่าง ความตํา่ ต้อยและตัวตน ให้สงั คมได้รบั รู้ แต่วนั นี... ้ เรื่องราวจากริมถนนของพวกเขา กำ�ลังหอบหิ้วมูลค่าสินทรัพย์มหาศาลของโลกทุนนิยม กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 13


COVER STORY เรื่องจากปก

แต่บงั เอิญว่า… วันนี้ ชีวติ ดูจะไม่เรืองรองเช่นนัน้ เสียแล้ว เพราะขบวน พาเหรดวิกฤติหนี้ของยุโรปยังคงไร้วี่แววว่าจะสิ้นสุดลงในเร็ววัน ภาวะ เศรษฐกิจถดถอยของสหรัฐฯ ยังอาจดำ�ดิ่งต่อไป และความร้อนแรงของ เศรษฐกิจจีนก็เริม่ จะแผ่วลง โลกแห่งการผลิตที่ตกอยู่ภายใต้ภาวะหายใจ ไม่ทั่วท้องเช่นนี้ จะแสดงเวทมนตร์เช่นไรให้เกาะเกี่ยวกับชีวิตประจำ�วัน ของผู้คนได้อย่างไม่เสื่อมคลาย © Ashley Gilbertson/VII/Corbis

สามสิบกว่าปีทแ่ี ล้ว ดีไซเนอร์ผมู้ สี ไตล์หรูหราอย่างคริสเตียน ลาครัวซ์ (Christian Lacroix) ได้น�ำ เสนอแฟชัน่ ตระการตาผ่านกระโปรงทรงสุม่ ทีไ่ ด้ แรงบันดาลใจจากราชนิกลู ยุโรปในสมัยกลาง ความงามและสไตล์อนั มัง่ คัง่ เช่นนี้ดูไม่ขัดเขินกับราคาหุ้นที่วอลล์สตรีท ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และภาค การเงินอันเฟือ่ งฟู หรือเหล่ายับปี้ (Yuppie) หนุม่ สาวทีพ่ ร้อมจะสังสรรค์ด้วย ไวน์บรูเนลโล่ วินเทจ จากตอนใต้ของเมืองฟลอเรนซ์

บ่อนํา้ มันกลางทะเลทราย บนความตีบตันและอึดอัดจากความเหมือนและมากจนเกินพอดี ได้เปิดประตูสโู่ ลกแห่งชีวติ จริงของคนกลุม่ เล็กๆ ทีไ่ ม่มอี ะไรเกีย่ วข้อง กับไวน์วินเทจ หรือ โอต์ กูตูร์ แต่อย่างใด แต่วันนี้ วิถีชีวิตจาก มุมอับและท้องถนนของพวกเขา ค่อยๆ เผยตัวออกมาจากทีซ่ อ่ น เกิดเป็นวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่ที่สง่าผ่าเผย อุตสาหกรรมอาหาร ภาพยนตร์ ดนตรี แฟชั่น ต่างพร้อมใจการันตี ความพิเศษของ วัฒนธรรมย่อยๆ เหล่านี้

14 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555


COVER STORY เรื่องจากปก

ความกระหายของพวกเขา “ทำ�ไมผมถึงใช้ชื่อคอร์นเบรดเหรอ ผมได้ชื่อ มาตอนทีอ่ ยูโ่ รงเรียน เพราะผมประท้วงพ่อครัวทีโ่ รงเรียนว่าควรจะใช้ขนมปัง ข้าวโพด แทนที่จะให้ขนมปังขาวเก่าๆ มาให้เรากินแบบนี้ทุกวัน ผมจะ โวยวายใส่พวกเขา แล้วพวกเขาก็จบั ผมให้ไปเข้าแถว ผมเริม่ เขียนทีห่ ลังเสือ้ คนเริม่ จำ�ชือ่ ผมแบบนัน้ หลังจากนัน้ ก็บนกำ�แพง แล้วก็ในคุก” 
 แต่ศิลปะบนความแร้นแค้นและอัดอั้นของพวกเขากลายเป็นไม้เบื่อ ไม้เมากับผูร้ กั ษากฎหมายและชาวเมือง เพราะไม่ใช่ทกุ คนทีม่ องเห็นลวดลาย กราฟิกเหล่านีเ้ ป็นงานศิลปะ และปัญหาอาชญากรรมจากกลุ่มต่างๆ ของ ชาวฮิปฮอปก็สง่ ผลให้ต�ำ รวจหมายตาพวกเขาเป็นพิเศษ กราฟฟิตถ้ี กู มอง ว่าเป็นส่วนหนึ่งของความฟอนเฟะของสังคม และถูกเรียกว่า “ศิลปะดิบๆ ของผูก้ อ่ การร้าย” ต่อมาไม่นานก็กลายประเด็นร้อนในสังคมนิวยอร์ก เกิด เป็นกลุ่มการต่อต้านขึ้นทั่วเมือง หนึ่งในนั้นเป็นสื่อหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่ อย่างนิวยอร์กไทม์ส แต่บนการถกเถียงของ สังคมนิวยอร์กนั้นก็เหมือนเป็นการเปิดตัว วัฒนธรรมฮิปฮอปให้ผคู้ นได้รจู้ กั ในวงกว้างไป ในตัว จะด้วยความเบือ่ หน่าย สะใจ หรือเห็นใจ ก็ตามที ในทศวรรษ 1980 วัฒนธรรมฮิปฮอป ได้เดินทางสูอ่ ตุ สาหกรรมดนตรี ภาพยนตร์ และ แฟชัน่ อย่างเปิดเผย ภาพยนตร์เรือ่ ง Wild Style (1983), Style Wars (1983) และ Beat Street (1984) แสดงให้เห็นวิถขี องปาร์ต้ี ขณะทีด่ นตรี ฮิปฮอปและศิลปะการแร็ปกลายเป็นของใหม่ของ อุตสาหกรรมดนตรี โดยระหว่างปี 1985-1993 ถือเป็นยุคทองแห่งการเติบโตของฮิปฮอปอย่าง แท้จริง ในด้านดนตรี เพลงฮิปฮอปเดินหน้าเข้า บิลบอร์ดชาร์ตแทนเพลงป็อปหวานหูทซ่ี า้ํ ซาก ขณะที่ด้านอุตสาหกรรมแฟชั่นก็ไม่เกี่ยงงอน กับความนิยมเช่นนี้ เพราะสตรีทแฟชัน่ คือมุมมอง ใหม่ทเ่ี กิดจากการผสมกลมกลืนของวัฒนธรรม ทีม่ าพร้อมกับสไตล์พงั ก์รอ็ ก ซึง่ แสดงถึงความขบถและการต่อต้าน ส่วนเครือ่ งประดับแบบฮิปฮอปและ กีฬาเอ็กซ์เกมทีแ่ สดงความโลดโผน ก็กลายเป็นความแปลกใหม่ในโลกแฟชัน่ แม้จะเริม่ จากความนิยมในหมูค่ นเล็กๆ ในย่านแออัด แต่แฟชัน่ ชัน้ สูง ก็ไม่ได้เบือนหน้าหนีจากสตรีท แฟชั่นเช่นกัน ปี 1988 แอนนา วินทัวร์ แสดงเจตจำ�นงของเธอผ่านนิตยสารโว้ก ฉบับอเมริกา ด้วยหน้าปกที่แสน จะขัดแย้งด้วยการแสดงภาพของนางแบบที่สวมใส่สเว็ตเตอร์ราคาหนึ่ง หมื่นเหรียญสหรัฐฯ ของคริสเตียน ลาครัวซ์ เข้าคู่กับกางเกงยีนส์ตัวละ 50 เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเป็นแบรนด์ที่ไม่มีใครรู้จัก และนับจากนั้นมาก็ ไม่มีใครคิดว่าแฟชั่นจากข้างถนนเป็นเรื่องน่ารังเกียจอีกต่อไป © themeydale.blogspot.com

วัฒนธรรมสตรีทเป็นวัฒนธรรมย่อย (Subculture) ของคนกลุ่มเล็ก ใน สังคมเมืองใหญ่ทม่ี กั จะแตกต่างจากการปฏิบตั ใิ นชีวติ ของคนทัว่ ไป บ้าบิน่ โลดโผน และดิบ คือการแสดงออกซึ่งตัวตนผ่านกีฬาท้าทาย อาทิ การโต้ คลืน่ และสเก็ตบอร์ด ผ่านจังหวะดนตรีอย่างแร็ปและพังก์ รวมไปถึงศิลปะ กราฟฟิต้ี การเต้นเบรกแดนซ์ และการแสดงข้างถนน (Street performance) กระทัง่ อาหารการกินก็สะท้อนความเป็นอยูข่ องชุมชนและชนชัน้ แรงงาน และ สตรีทแฟชัน่ ทีแ่ สดงอิสรภาพภายใต้ความย่อมเยา ทัง้ หมดนีย้ ากจะปฏิเสธว่า คลืน่ ของผูอ้ พยพต่างถิน่ คนกลุม่ น้อย และชนชัน้ แรงงาน ได้กอ่ ให้เกิดการ หล่อหลอมทางจิตวิญญาณและตกผลึกเป็นสินทรัพย์ทางวัฒนธรรมในระบบ การผลิตแบบทุนนิยมเช่นนี้ บรรยากาศช่วงยุค 1970 ท่ามกลางภาวะสงครามเย็น และผลกระทบ ของสงครามเวียดนามเป็นสภาวะทางสังคมที่นำ�ไปสู่วัฒนธรรมย่อยใน เวลาต่อมา ปฏิกริ ยิ าของคนอเมริกนั ทีส่ ดุ โต่งต่อ สงคราม ยาเสพติดแพร่ระบาด นักการเมืองถูก ตัง้ ข้อสงสัย นโยบายต่างประเทศถูกตัง้ คำ�ถาม ในย่านบร็องซ์ นิวยอร์ก เขตที่อยู่ของชาว แอฟริกนั -อเมริกนั กลับสร้างช่องทางหลีกหนี จากความเจ็บป่วยของสังคมด้วยเสียงสะท้อน จากวัฒนธรรมดนตรีแนวใหม่ทม่ี จี งั หวะการร้อง และเนือ้ หาทีส่ อ่ เสียดตัดพ้อ บรรยายสภาพชีวติ เซ็กซ์ หรือแม้แต่ยาเสพติด “ฮิปฮอป" ได้กลาย เป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ในย่านบร็องซ์ และยังได้ สร้างสีสนั เพือ่ ดึงดูดกลุม่ ผูฟ้ งั ด้วยงานปาร์ตี้ ลีลาการเปิดแผ่นของดีเจ การพ่นสีบนกำ�แพงและ ขบวนรถไฟ การเต้นเบรกแดนซ์ รวมถึงเอ็มซี ผู้ทำ�หน้าที่แร็ปที่จะขาดไม่ได้ส�ำ หรับปาร์ตี้ จากงานปาร์ตใ้ี ต้ดนิ ย่านซอมซ่อ สัญลักษณ์ ของฮิปฮอปได้แตกตัวไปสูอ่ าณาเขตอืน่ ๆ อย่าง กว้างขวาง ความดิบ อันตราย และผิดกฎหมาย กลายเป็นพฤติกรรมอันองอาจสำ�หรับวัฒนธรรมฮิปฮอป ในส่วนของกราฟฟิต้ี มันได้ลน่ื ไหลไปสูร่ ถไฟใต้ดนิ ของนิวยอร์ก พืน้ ทีแ่ สดงผลงานแห่งใหม่ทป่ี ะทะ สายตาสาธารณชน ซึ่งเป็นการบ่งบอกถึงศักยภาพที่ยิ่งใหญ่ของผู้ชมและ การเชื่อมต่อทางจิตใจของพวกเขาที่มีต่อเมืองที่อาศัยอยู่ “บร็องซ์มันห่วย” คอร์นเบรด (CORNBREAD) ศิลปินกราฟฟิตี้จาก ฟิลาเดลเฟียผู้สร้างงานตั้งแต่ปี 1967 นิยามแหล่งกำ�เนิดของฮิปฮอป เขา เผยถึงแรงกระตุ้นที่อยู่เบื้องหลังแก๊งข้างถนนและพฤติกรรมเหล่านั้นว่า กราฟฟิตเ้ี ป็นวิธกี ารเดียวทีจ่ ะทำ�ให้รสู้ กึ โดดเด่น เหมือนเป็น "ใครบางคน" ที่ รู้สึกถึงการได้รับการยอมรับและให้ความสำ�คัญ สำ�หรับคนซึ่งเติบโตมา จากย่านอันตํ่าต้อย กิจกรรมเหล่านี้จึงเป็นวิธีเดียวที่เติมเต็มความรู้สึกใน

กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 15


COVER STORY เรื่องจากปก

ถ้าดนตรีฮิปฮอปและศิลปะกราฟฟิตี้เติบโตจากพลังงานด้านลบ วัฒนธรรม อาหารริมถนนต่างออกไปจากนัน้ ด้วยแง่มมุ ของความหวังทีต่ ดิ ตัวมากับแรงงาน ต่างถิ่นเพื่อแสวงหาโอกาสในมหานคร พร้อมกับนำ�เอาวิถีชีวิตและการกินอยู่ ตามติดมาด้วย ในขณะที่ อุ ต สาหกรรมอาหารของตะวั น ตกขยายตั ว อย่ า งยิ่ ง ใหญ่ สู่ ประเทศกำ�ลังพัฒนาด้วยธุรกิจฟาสต์ฟดู้ และวัฒนธรรมแฮมเบอร์เกอร์ แต่บางส่วน ของยุโรปและอเมริกาเหนือ สตรีทฟู้ด (Street food) หรือ "อาหารริมทาง" ซึ่ง มีถน่ิ กำ�เนิดจากเอเชีย ละตินอเมริกา และแอฟริกา กำ�ลังค่อยๆ เติบโตขึน้ จนเริม่ กลายเป็นส่วนหนึง่ ของฉากหลังในชุมชน การวิง่ สลับขัว้ นีอ้ ยูบ่ นความต่างระหว่าง วัฒนธรรมและตัวเลขทางเศรษฐกิจ โดยธุรกิจฟาสต์ฟดู้ นัน้ ได้รบั การจัดการอย่างดี และเป็นระบบ มีชุดพนักงาน มาสค็อต และของเล่น เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ การตลาดเพื่อการโฆษณา สปอนเซอร์ และข้อเสนอพิเศษ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อ สร้างความนิยมต่อแบรนด์และการขายแฟรนไชส์ รวมถึงการมีบริษัทข้ามชาติ เป็นซัพพลายเออร์ที่คอยป้อนมันฝรั่งให้สำ�หรับผลิตเฟรนช์ฟรายและไก่ทอด จำ�นวนมหาศาล แต่ผลกำ�ไรจากการขายทีส่ ร้างโดยชาวต่างชาติ ซึง่ เป็นผูค้ วบคุม ห่วงโซ่อาหารนี้กลับถูกส่งออกไปนอกประเทศ ขณะที่อาหารริมถนนนั้นสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมท้องถิ่น ดั้งเดิมที่หลากหลาย ทั้งในด้านวัตถุดิบและเมนู ร้านขายอาหารเหล่านี้ตั้งอยู่ กลางแจ้งซึง่ สามารถเข้าถึงได้งา่ ยจากถนน พวกเขามีสง่ิ อำ�นวยความสะดวกเป็น ทีน่ ง่ั เบียดเสียด ประสบความสำ�เร็จได้จากการตลาดแบบปากต่อปาก ถนนธุรกิจ อาหารริเริ่มจากบุคคลหรือครอบครัว แต่ผลประโยชน์จากการค้ากระจายตัวไป ทัว่ เศรษฐกิจท้องถิน่ เช่น แหล่งวัตถุดบิ เชือ่ มโยงโดยตรงกับฟาร์มขนาดเล็ก สวน

และตลาด โดยมีปจั จัยร่วมทีด่ ใู กล้เคียงกับวัฒนธรรมฮิปฮอปและกราฟฟิตอ้ี ย่าง การที่ธุรกิจหาบเร่แผงลอยเหล่านี้มีความสัมพันธ์ท่ีไม่สู้ดีนักกับเทศบาลเมือง แต่ถงึ อย่างนัน้ ธุรกิจริมถนนก็ยงั เป็นแหล่งจ้างงานและดูดซับแรงงานทักษะ โดย เฉพาะประเทศในแถบเอเชียและละตินอเมริกา ซึง่ รายงานจากองค์การอาหารโลก (เอฟเอโอ) ระบุวา่ สตรีทฟูด้ เป็นแหล่งจ้างงานผูห้ ญิง เช่นในฟิลปิ ปินส์ ซึง่ ผูห้ ญิง มีบทบาทในธุรกิจนี้มากกว่าร้อยละ 50 อินโดนีเซียร้อยละ 40 และยังเป็นแหล่ง รายได้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยรายได้เฉลีย่ ของผูข้ ายสูงมากกว่า 3-10 เท่า จากแรงงานขัน้ ตํา่ และในมาเลเซียพบว่า ธุรกิจเหล่านีท้ �ำ กำ�ไรสุทธิขน้ั ตา่ํ เฉลีย่ ที่ 16-20 เหรียญสหรัฐฯ ต่อวัน ทุกวันนี้ สตรีทฟู้ดกลายเป็นหัวข้อที่การท่องเที่ยวและการพัฒนาเมืองให้ ความสนใจ มหานครใหญ่ของโลกกลายเป็นหน้าต่างแสดงวัฒนธรรมการกินของ ชนชัน้ แรงงานหลากสัญชาติ หน้าตาของอาหาร เจ้าของกิจการ และการสือ่ สาร เปลี่ยนแปลงไปมาก ในนิวยอร์กรถเข็นขายอาหารจำ�นวนมากมีเจ้าของเป็น นักศึกษามหาวิทยาลัยที่หันมาประกอบธุรกิจอาหารแทนการเข้าทำ�งานกับ องค์กรต่างๆ แอนดรูว์ สมิธ (Andrew Smith) ศาสตราจารย์ดา้ นประวัตศิ าสตร์ อาหารและผู้แต่งหนังสือ Eating History: Thirty turning points in the making of American cuisine กล่าวว่ามันเป็นปรากฏการณ์ใหม่ของธุรกิจในเมืองใหญ่ และเกือบจะเป็นกระแสความนิยมระดับชาติของอเมริกาเพราะตลาดแรงงาน เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งรอคอย แต่การออกไปสร้างธุรกิจของตัวเองเป็นเรือ่ งง่าย เจ้าของ ธุรกิจอย่าง The Grilled Cheese Truck นำ�ของว่างสไตล์ยโุ รปอย่างเฟรนส์ฟราย ราดซอสมายองเนสมาขายได้ดีในแอลเอ ส่วน เลฟ เอ็กสเตอร์ (Lev Ekster) ทนายหนุ่มวัย 26 ก็เลือกการขายคัพเค้กบนรถบรรทุก และประชาสัมพันธ์ช่อง ทางการขายผ่านข้อความ “NYC's First Mobile Gourmet Cupcake Shoppe” บนทวิตเตอร์ ซึ่งมีลูกค้าตามกว่า 12,000 คน หรือ โทมัส หยาง (Thomas Yang) บัณฑิตตกงานผูก้ ลายเป็นเจ้าของซุม้ ขายก๋วยเตีย๋ วสไตล์ไต้หวันทีบ่ อกว่า “ผมสมัครงานมาเยอะ และผมเกลียดมัน ทีน่ วิ ยอร์กเราซือ้ ใบอนุญาตขายอาหาร ในราคา 200 เหรียญสหรัฐฯ ลงทุนรถ ลงทุนอาหาร กับสไตล์อาหารของแม่ และ มันก็กลายเป็นสมบัติของผม” ตัวอย่างความสำ�เร็จของ แวน เลียวเวน อาร์ตซิ าน ไอศกรีม (Van Leeuwen Artisan Ice Cream) ได้ทำ�ให้อาหารประเภทนี้กลายเป็นสมบัติที่จับต้องได้ เมื่อโฮลฟู้ด มาร์เก็ต (Wholefood Market) ซูเปอร์มาร์เก็ตยักษ์ใหญ่ในตลาด อาหารเพื่อสุขภาพสนใจและติดต่อให้ไอศครีมแบรนด์นี้ได้เข้าไปขายในห้างดัง หลังจากที่แมวมองมาสังเกตการณ์และพบกับคิวอันแน่นขนัดของร้านไอศกรีม และนั่นช่วยให้อาหารสไตล์สตรีทก้าวขึ้นไปเทียบชั้นกับอาหารสไตล์กูร์เมต์ ได้จริงๆ

© pbs.org

Street Food...No Fast No Furious

่มา: ทีFood entrepreneurs taking it to the streets (28 พฤษภาคม 2010) โดย Joseph Pisani

16 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555

จาก CNBC News Associate


© i_amonline.com

COVER STORY เรื่องจากปก

Instant Street...

ปรุงโฉมโสตสัมผัสข้างถนน เมื่อความดิบถูกตีค่าเป็นความสด และอันตรายกลายเป็น เสน่ห์ที่น่าสนเท่ห์ วิถีชีวิตการกินอยู่หลับนอนของคนกลุ่ม เล็กๆ จึงกลายเป็นต้นทุนอันเร้าใจของอุตสาหกรรมทั่วโลก

ย่านแอบบ็อต สตรีท (Abbot Street) กรุงลอนดอน คือเวทีแสดงเครื่อง แต่ ง กายโฉมใหม่ ข องอาหารริ ม ถนนในแบบที่ แ ยบยลและเซ็ ก ซี่ ก ว่ า ภัตตาคาร "เดอะ ลอง เทเบิล้ " (The Long Table) ของบูตสแตร็ป คอมพานี (Bootstrap company) นั้น แสดงจุดยืนอย่างชัดเจนถึงความชื่นชมใน พลังความคิดสร้างสรรค์ของกลุม่ ผูป้ ระกอบการเล็กๆ ในชุมชน และอาหาร เป็นตัวเลือกทางธุรกิจของพวกเขา ในภัตตาคารที่คัดสรรเมนูที่ดีที่สุด ของสตรีทฟู้ดมานำ�เสนอในบรรยากาศใหม่แห่งนี้ มีเมนูสร้างสรรค์อย่าง ทาปาส บาร์บีคิว และอาหารยำ�แบบตะวันออก ซึ่งได้รับการจัดวางและ เปลีย่ นชือ่ ใหม่ให้ดนู า่ สนใจยิง่ ขึน้ ให้คอยให้บริการ ขณะทีร่ า้ น "อีสต์ สตรีท" (East Street) ในเขตเวสต์มินสเตอร์ ก็ดึงดูดใจลูกค้าด้วยอาหารริมถนน สไตล์เอเชียในราคาประหยัด บวกกับบรรยากาศทีไ่ ด้รบั การออกแบบ และ คิดค้นมาเป็นอย่างดีของสตูดิโอ ไอ-แอม (I-am) ที่มีจุดเริ่มต้นมาจาก โจทย์ของ นิก เจฟฟรีย์ (Nick Jeffrey) กับ เดวิด ฟ็อกซ์ (David Fox) ผู้ก่อตั้งเชนร้านอาหาร "แทมโปโป้" (Tampopo) ที่ได้เดินทางมาท่องเที่ยว ในเอเชียและเกิดติดใจกับบรรยากาศ ความวุน่ วาย แสงสี และความอึกทึก

ของตลาดโต้รุ่งในเอเชีย “เราอยากจำ�ลองบรรยากาศตลาดในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และร้านกาแฟข้างถนน เราต้องการรักษาบรรยากาศ แบบดัง้ เดิมไว้ เพือ่ ให้ลกู ค้ารูส้ กึ ถึงประสบการณ์การนัง่ อยูใ่ นตลาดริมถนน โต๊ะไม้ยาว เพื่อให้เกิดความรู้สึกเหมือนนั่งอยู่ในร้านกาแฟยุ่งๆ ในฮ่องกง หรือเวียดนาม ซึ่งมีแสงไฟน้อยๆ ล้อมรอบไปด้วยป้ายไฟและเสียงจาก ในครัว" การเดินทางของอาหารริมถนนเข้าสู่ทำ�เนียบเมนูระดับ เอลิสต์ นั้น ไม่ได้เพิง่ เริม่ ต้น เมนูอย่างส้มตำ�ทีเ่ กิดขึน้ จากแรงงานชาวอีสาน กลาย เป็นสลัดหรูในภัตตาคารต่างประเทศมาราวทศวรรษแล้ว แต่ลำ�พังชนิด อาหารดูจะไม่เพียงพอสำ�หรับความสร้างสรรค์ เมือ่ ปัจจุบนั การขายอาหาร ถูกต่อเติมให้เป็นการขายประสบการณ์การท่องเที่ยวไปในตัว ความพิเศษบนท้องถนนยังถูกค้นพบในรูปแบบแฟชั่น และหยิบยืม ไปใช้ในบางโอกาสเมือ่ ดีไซเนอร์จากโอต์ กูตรู พ์ งึ พอใจ แต่วนั นีน้ กั ออกแบบ ใช้เรื่องราวบนท้องถนนมาปิดช่องว่างของอุตสาหกรรมแฟชั่น เพื่อสร้าง ความรู้สึกร่วม และไม่แปลกแยกจากสภาพเศรษฐกิจ รวมถึง “ความสด” ทีเ่ กิดขึน้ จากรสนิยมส่วนตัวของผูค้ นทีม่ ตี วั ตนจริงๆ อีฟส์ แซงต์ โลรองต์ กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 17


flickr.com/photos/bayjade

.4.bp.blogspot.com

modadelamode.blogspot.com

flickr.com/photos/tulenheimo

COVER STORY เรื่องจากปก

ขวัญใจช่างภาพ ปี 2005 สก็อต ชูมาน (Scott Schuman) นำ�กล้องดิจิทัลของเขาออกไปเดินเล่นบน ถนน และเริ่มถ่ายภาพผู้คนที่มีบุคลิกสะดุดตาและมีสไตล์ในการแต่งตัวที่ไม่ซํ้าใคร เขานำ�ภาพผู้คนบนท้องถนนเหล่านั้นมาใส่ในบล็อกและเริ่มเขียนบรรยายสั้นๆ ถึง สไตล์อันโดดเด่นและมีพลังลงบนบล็อก The Sartorialist ซึ่งได้รับความนิยมอย่าง รวดเร็วและเป็นที่กล่าวถึงในแวดวงแฟชั่น ไม่นานจากนั้น บล็อกเกอร์นิตยสาร แฟชั่นอย่าง Pop และเว็บไซต์ Style.com ก็อุทิศพื้นที่ให้แก่ผู้คนที่มีรอยยิ้มขี้อาย กับเสื้อผ้าและสไตล์ที่ร่วมสมัยบนท้องถนน มารีนา ลาร์ราวเด (Marina Larroude) บรรณาธิการด้านการตลาดอาวุโส ของ Style.com กล่าวว่า “พวกเขาน่าตื่นตาตื่นใจและเป็นตัวแทนที่ดีเยี่ยมของ บทสนทนาเรื่องความสัมพันธ์ของโลกแฟชั่นกับชีวิตประจำ�วันของตัวเอง” นับเป็น การเติมเต็มช่องว่างระหว่างแฟชั่นไฮสตรีทกับชีวิตจริง และสะท้อนถึงการหมดยุค ของสไตลิสต์ นักออกแบบ บรรณาธิการแฟชั่น เพราะผูอ้ า่ นหรือลูกค้าเชือ่ ในหน้าตา และเสื้อผ้าจริงในชีวิตประจำ�วันของคนที่อยู่ในบล็อกหรือนิตยสารมากกว่า สตรีท แฟชั่นทำ�ให้มุมมองความงามของอุตสาหกรรมนางแบบเปลี่ยนแปลง ไปด้วย ลอนดอนแฟชั่น วีกส์ กุมภาพันธ์ 2012 ลิลลี่ โคล (Lily Cole) นางแบบ

18 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555

ขวัญใจของชาแนล และแอร์เมส เป็นบัณฑิตใหม่สาขาประวัติศาสตร์ศิลปะจาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ส่วน อีดีย์ แคมเบลล์ (Edie Campbell) นางแบบอีกคน บนแคตวอล์กก็ก�ำ ลังเรียนอยูท่ ส่ี ถาบันคอร์ทาล์ด (Courtauld Institute) ในลอนดอน แคเธอรีน ออสต์เลอร์ (Catherine Ostler) อดีตบรรณาการนิตยสารแทตเลอร์ กล่าวว่า ในยุค 1960 ผูค้ นชืน่ ชอบสาวน้อยข้างบ้านอย่างทวิกกี้ (Twiggy) ซึง่ เป็นลูกสาวคนงาน ในโรงงาน ต่อมาคนก็หลงใบหน้าของเคต มอสส์ (Kate Moss) ลูกสาวของบาร์เทนเดอร์ แต่ในยุคที่ผู้คนล้วนเป็นตัวของตัวเองและนำ�เสนอการแต่งกายได้อย่างมีสไตล์ การเป็นนางแบบต้องสื่อสารกับแฟชั่นให้มากขึ้น นั่นคือยุคของนางแบบที่เป็น ธรรมชาติ สุขภาพดี ฉลาด และมีการศึกษา มาร์ก เจคอบส์ กล่าวว่า “ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน บนแคตวอล์กหรือบนถนน คุณต้อง ทำ�ให้กล้องรักคุณ” ที่มา: “The Beauty Business: Brainy models and global talent pool are changing the catwalk” (11 กุมภาพันธ์ 2012) จาก The Economist


© Allpix /Splash News/Corbis

COVER STORY เรื่องจากปก

หยิบจับวัฒนธรรมฮิปปี้มาใช้ในการออกแบบชุดกระโปรงมินิเดรสตั้งแต่ ปลายยุค 1960 เช่นเดียวกับวิเวียน เวสต์วดู ทีฝ่ ากอุดมการณ์พงั ก์ของเธอ ไว้ในเสื้อผ้าและถ้อยแถลงอันขัดต่อขนบสังคมอังกฤษ แต่เนื้อหาเหล่านี้ กลับดำ�เนินไปได้ดีบนไฮสตรีทแฟชั่นและพรมแดงมากกว่า จนกระทั่งปี 2009 ความชัดเจนเกี่ยวกับกระแสการเคลื่อนตัวของ แฟชั่นได้เปลี่ยนจากระดับสูงสู่ตลาดล่างมาเป็นการสร้างสรรค์จากระดับ ฐานราก (Bottom up) มาสู่แฟชั่นชั้นสูง นักวิจารณ์แฟชั่นบางคนเรียก กระแสนีว้ า่ "มิน-ิ เรอเนสซองซ์" (Mini-Renaissance) ทีส่ ร้างตัวจากบริบท ในสังคมและแผ่ขยายออกไปอย่างฉับพลันและมีพลัง แฟชัน่ อาศัยเรือ่ งราว ของกลุม่ นักปัน่ จักรยานทีอ่ ยูร่ อบๆ เมือง ภาพอากัปกริยาของผูค้ น สาวสวย ผู้มีมันสมองคือตัวแทนนางแบบหน้าปกโว้กรุ่นใหม่ ห้องนอนกลายเป็น พรมแดง อินเทอร์เน็ตเข้ามาแทนที่นิตยสาร และบล็อกเกอร์คือผู้เติมเต็ม และขยายความอุตสาหกรรมแฟชัน่ แทนทีส่ ไตลิสต์ ทัง้ หมดนี้ คือการเรียนรู้ วิถีชีวิตของคนธรรมดาเพื่อใช้เป็นฐานของธุรกิจแฟชั่นที่ร่วมสมัยและมี ปฏิสัมพันธ์กับความเป็นจริงมากยิ่งขึ้น

ไม่ใช่เพียง สตรีท ฟู้ด หรือ สตรีท แฟชั่น ที่เป็นวัตถุดิบให้นักสร้างสรรค์ ในแวดวงอุตสาหกรรมหลายสาขา แต่ในด้านวงการศิลปะ กราฟฟิตี้ซึ่งเคย เป็นปรากฏการณ์ที่ใช้แยกแยะคนกลุ่มน้อยออกจากสังคม วันนีไ้ ด้แตกตัว ไปยังพืน้ ทีท่ ก่ี ว้างใหญ่ยง่ิ ขึน้ จากพืน้ ทีส่ ร้างงานในสถานีรถไฟใต้ดนิ ได้เปลีย่ น มาเป็นการแสดงงานในแกลลอรีแ่ ละพิพธิ ภัณฑ์ นอกจากนีบ้ นโลกอินเทอร์เน็ต กลุม่ กราฟฟิตร้ี นุ่ ใหม่ทว่ั โลกยังสามารถติดต่อสือ่ สาร แลกเปลีย่ นข้อมูลมุมมอง และทัศนคติ รวมถึงซื้อขายและส่งภาพออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ชื่อดังอย่าง American On Line นอกจากนี้ กราฟฟิตย้ี งั ถูกสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ผ่านอุปกรณ์เมาส์และโปรแกรม แทนกระป๋องสีสเปรย์แบบเดิม งานกราฟฟิต้ี ในโลกของอินเทอร์เน็ต ได้รับการเรียกขานว่า "Art Crimes" ทั้งหมดนี้ เปลีย่ นแปลงไปมากหลังจากสีส่ บิ ปีผา่ นไป กราฟฟิตก้ี า้ วออกจากมุมมืด จาก การแสดงออกของตัวตนของผูไ้ ร้ตวั ตน การถูกกดขี่ ความไม่เสมอภาคกลาย ไปเป็นแฟชั่นและส่วนหนึ่งของธุรกิจโฆษณา เช่ น เดี ย วกั บ ในมิ ติ ข องอุ ต สาหกรรมเพลงและสิ น ค้ า ไลฟ์ ส ไตล์ วัฒนธรรมสตรีทของชาวฮิปฮอปได้สร้างยอดขายแบบถล่มทลายในวันนี้ เอ็นแอลดี กรุ๊ป บริษัทวิจัยการตลาดระหว่างประเทศ รายงานว่ามากกว่า ร้อยละ 50 ของกลุ่มวัยรุ่นอายุ 20 ปีซื้ออัลบั้มฮิปฮอป ขณะที่เพลงร็อกมี สัดส่วนในตลาดร้อยละ 25 และคันทรี่มิวสิกร้อยละ 17 โดยตลาดผู้ฟัง เพลงฮิปฮอปนัน้ มากกว่าร้อยละ 70 เป็นกลุม่ คนฟังผิวขาว และมีรายงาน จากฟอร์บส์ระบุวา่ วัฒนธรรมฮิปฮอปทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมดนตรีและ ไลฟ์สไตล์ เป็นตัวขับเคลือ่ นเศรษฐกิจมากกว่าหมืน่ ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี เอช. ซามี อาลิม (H.Samy Alim) ศาสตราจารย์ด้านมานุษยวิทยาจาก มหาวิทยาลัยยูซแี อลเอกล่าวว่า “วัฒนธรรมฮิปฮอปได้กลายเป็นส่วนที่ช่วย พยุงโครงสร้างสังคมอยู่ เพราะสำ�หรับคนรุน่ ทีเ่ ติบโตในเจเนอเรชัน่ เอ็กซ์แล้ว วัฒนธรรมฮิปฮอปคือส่วนหนึ่งของชีวิตไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง และบางทีเรา อาจต้องขอบคุณพระเจ้าที่ฮิปฮอปเกิดมา” ถ้ามีใครสักคนสมควรได้เหรียญตราในฐานะผู้ประคับประคองความ อยู่รอดของอุตสาหกรรมยุคใหม่ ผู้นำ�สารของวัฒนธรรมสตรีททั้งหมดก็ ควรได้รับเกียรตินั้น แม้ว่ารูปแบบของเนื้อหาจะเปลี่ยนแปลงไปมากจาก จุดที่เกิดมา แต่คำ�แถลงการณ์จากตัวตนที่แตกต่างของพวกเขาจะยังคง อยู่เสมอ ไม่ว่าจะถูกท้าทายจากสถานการณ์ใดๆ ก็ตาม ที่มา: The EuroZone Crisis and U.K. Fashion (2012) จาก apparelinsider.com The Hip Hop Economy and its Effects on Society (2011) จาก aarontwells.wordpress.com Street Fashion to High Fashion: Bridging the gap? (2012) โดย Shoshana Bachrach จาก yuobserver.com Yves Saint Laurent Mini-Dress c.1967 (2012) จาก fidmmuseum.org Trendy Harajuku Draws Crowds (2011) โดย Kazuaki Nagata จาก The Japan Time Bomb it-Global Graffiti Street Art Film Documentary กำ�กับโดย John Reiss

กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 19


พบกับนิตยสาร Creative Thailand

ทุกสัปดาหแรกของเดือน ที่ TCDC รานหนังสือ หองสมุด อาคารสำนักงาน และรานกาแฟใกลบาน ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จังหวัดเชียงใหม หัวหิน และ Mini TCDC 13 แหงทั่วประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล

รานหนังสือ • Asia Books • B2S • คิโนะคูนิยะ • C Book (CDC) • Zero Book • ศึกษิตสยาม • โกมล รานกาแฟ / รานอาหาร • Chaho • คอฟฟ เวิลด • อาฟเตอร ยู • ดอยตุง คอฟฟ • โอ บอง แปง • ซัมทาม คอฟฟ • บานไรกาแฟ เอกมัย • ทรู คอฟฟ • ยูอารสเตชั่น • รานกาแฟวาวี • Sweets Cafe • วีวี่ คอฟฟ • แมคคาเฟ • Babushka • คอฟฟ คิส • มิลลเครป • ไล-บรา-ลี่ คาเฟ • ก.เอย ก.กาแฟ • อะเดยอินซัมเมอร • ชีสเคกเฮาส • คอฟฟแอลลียอินเดอะการเดน • รมไมไออุน ทาวนอินทาวน • บานกามปู ทรอปคอล แกลเลอรี่ • ไอเบอรรี่ • Take a Seat • รานกวยเตี๋ยวเรือทุงพญาไท • ซูเฟ House Bakery • Greyhound (Shop and Café) • รานกาแฟบางรัก โรงภาพยนตร / โรงละคร • โรงภาพยนตรเฮาส • เมืองไทย รัชดาลัย เธียเตอร • ภัทราวดีเธียเตอร หองสมุด • หองสมุดศศินทร จุฬาฯ • หองสมุดมารวย • ศูนยหนังสือ สวทช. • หองสมุด The Reading Room • SCG Experience • The Reading Room พิพิธภัณฑ / หอศิลป • มิวเซียม สยาม • อุทยานการเรียนรู (TK park) • หอศิลปวัฒนธรรม แหงกรุงเทพมหานคร • การเดน แกลเลอรี่ แอนด คาเฟ • ดีโอบี หัวลำโพง แกลเลอรี • นับเบอรวัน แกลเลอรี่ • ไวท สเปซ แกลเลอรี่ • HOF Art โรงแรม • หลับดี (Hotel สีลม)

สมาคม • สมาคมธนาคารไทย • สมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย • สมาคมอุตสาหกรรมทอผาไทย • สมาคมหอการคาไทย • สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมไทย • สมาคมสโมสรนักลงทุน • สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย • สถาบันบุนกะแฟชั่น • สถาบันราฟเฟลส • สถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน

เชียงใหม

• รานนายอินทร • รานเลา • ดอยชาง • 94 Coffee • รานแฮปปฮัท • คาเฟ เดอ นิมมาน • Kanom • รานมองบลังค • หอมปากหอมคอ • กูชาชัก & โรตี • จิงเกิ้ล • Impresso Espresso Bar • Minimal • Luvv coffee Bar • Gallery Seescape • The Salad Concept • casa 2511 • กาแฟโสด • รานสวนนม • กาแฟวาวี ทุกสาขา • อุนไอรัก • ช็อกโก คาเฟ • Love at first Bite • เวียง จูม ออน • Fern Forest Cafe' • Just Kao Soi

หัวหิน

• เพลินวาน • ชุบชีวา หัวหิน คอฟฟ • ทรู คอฟฟ หัวหิน • ดอยตุง คอฟฟ • ทูเก็ตเตอรเบเกอรี่ แอนดคาเฟ • อยูเ ย็น บัลโคนี่ • สตารบคั ส หอนาิกา • วรบุระ รีสอรท แอนด สปา • หัวหิน มันตรา รีสอรท • เลท ซี หัวหิน • กบาล ถมอ รีสอรท • บานใกลวงั • บานจันทรฉาย • ภัตตาคารมีกรุณา • ลูนา ฮัท รีสอรท • The Rock • บานถัว่ เย็น (ถนนแนบเคหาสน)

• อิฐภราดร • October • Tea House Siam Celadon • ดอยตุง คอฟฟ • Mood Mellow • Little Cook Cafe' • มหาวิทยาลัยเชียงใหม • สุริยันจันทรา • Rabbithood Studio • Things Called Art • หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม • หอการคาจังหวัดเชียงใหม • โรงแรมดุสิต ดีทู • เดอะเชดี • บรรทมสถาน • บานเส-ลา • Yesterday The Village • Hallo Bar • บานศิลาดล • Cotto Studio (นิมมานฯ) • 9wboutique Hotel • Food Coffee • รานวาซาบิ ซูชบิ าร (นิมมานฯ) • Just Milk • ไหม เบเกอรี่ • ดับเบิ้ลซี คุกกี้ แอนด คอฟฟ บายนิตา • Hub 53

ลําปาง

• A little Handmade Shop • อาลัมภางค เกสตเฮาส แอนด มอร • Egalite Bookshop

นาน

• รานกาแฟปากซอย • Nan Coffee Bean

ภูเก็ต

• รานหนัง (สือ) ๒๕๒๑ • The Oddy Apartment & Hotel

เลย

• มาเลยเด เกสตเฮาส • บานชานเคียง

โคราช

• Hug Station Resort

ปาย

• รานเล็กเล็ก

นครปฐม

• Dipchoc Café

อุทัยธานี

• Booktopia หมายเหตุ: แสดงเพียงบางสวนของสถานที่จัดวางเทานั้น

INSIGHT อินไซต์


© REUTERS/Lucas Jackson

INSIGHT อินไซต์

เวทีนี้ ไม่ได้มีแค่ศิลปะชั้นสูง เรื่อง: ปิยพร อรุณเกรียงไกร

ประเด็นทีว่ า่ สตรีทอาร์ตมักจะถูกเลือกปฏิบตั เิ สมือนชิน้ งานข้างถนนทีด่ อ้ ยค่าและบ่อนทำ�ลายทัศนียภาพชุมชนกำ�ลังจะตกไป เพราะทุก วันนี้ สีจดั จ้านของตัวอักษร กราฟิกล้อเลียนเสียดสี รอยสเปรย์บนพืน้ ถนนและกำ�แพงพังผุ ได้กลายเป็น “เสน่ห”์ ทีน่ กั เสพสุนทรียภาพ ร่วมสมัยพากันคลัง่ ไคล้ เช่นเดียวกับบรรดาภัณฑารักษ์ทพ ่ี ยายามผลักดัน “มาสเตอร์พซี อันทรงคุณค่าทีก่ ล้าแหกกรอบ” สูส่ ปอร์ตไลท์ ในแกลลอรีและพิพิธภัณฑ์ ไปจนถึงการเป็น “เพชรเม็ดงาม” ในสงครามการประมูลอันร้อนระอุของสถาบันการประมูลยักษ์ใหญ่

คงไม่ใช่เรื่องแปลก หากเว็บไซต์ของสถาบันการประมูลคริสตีส์จะยกย่อง ปาโบล ปีกัสโซ (Pablo Picasso) ในฐานะศิลปินร่วมสมัย 100 อันดับแรก ของโลก แต่สิ่งที่อยู่เหนือความคาดหมายคือชื่อของศิลปินสตรีทอาร์ต จอมขบถแห่งลอนดอน ทีเ่ รียกขานตนเองว่า “แบงก์ซ”ี่ (Banksy) ได้ปรากฏ อยู่บนลิสต์นี้เช่นกัน ซํ้ายังรั้งตำ�แหน่งอยู่ที่อันดับสองรองจากศิลปินป็อป อาร์ต แอนดี วอร์ฮอล (Andy Warhol) แบงก์ซีขึ้นชื่อเรื่องการสร้างผลงานที่เสียดสีประชดประชันสังคมและ การเมืองร่วมสมัยอย่างเจ็บแสบ เขามักเลือกใช้เทคนิคสเตนซิล (Stencil) ที่มีเอกลักษณ์ พ่นระบายภาพและสัญลักษณ์ลงบนพื้นที่ที่ถูกเลือกสรรมา อย่างดี ก่อนจะทิ้งลายเซ็นของตนแล้วหายตัวไปในเงามืดของมหานคร องค์ประกอบเหล่านี้ทำ�ให้ผลงานของเขาเขย่าความคิดของผู้พบเห็น เกิด การตั้งคำ�ถามในมวลชนและแปรสถานภาพเป็นสมบัติชิ้นใหม่ที่เหล่า นักสะสมแข่งขันกันเพือ่ ครอบครอง ยิง่ ความลึกลับของแบงก์ซด่ี �ำ ดิง่ ลงมาก เท่าไหร่ คนทัว่ โลกก็พร้อมจะเทความสนใจให้กบั ผลงานของเขามากขึน้ เท่านัน้ เพราะแม้แต่คริสตีส์ที่คัดสรรเฉพาะศิลปะ “สูงค่า” และ “หายาก” ก็ ยังเปิดห้องประมูลผลงานของนักสร้างสรรค์คนนี้อยู่เรื่อยมา ป้ายจราจร

พลาสติกสเปรย์ภาพเครือ่ งบินกำ�ลังพุง่ ชนตึกแฝดชือ่ Warning Sign (2006) นัน้ สามารถประมูลได้ราคาสูงถึง 361,956 เหรียญสหรัฐฯ (ราว 11 ล้านบาท) ในขณะที่ Bird and Grenade (2002) ทีย่ อกย้อนความกระหายสงครามของ ประเทศมหาอำ�นาจผ่านรูปนกน้อยทีก่ �ำ ลังคาบระเบิดมือ ก็ได้ปดิ การประมูล ไปที่ 228,043 เหรียญสหรัฐฯ (เกือบ 7 ล้านบาท) ในปีที่ผ่านมา ผลงาน ของแบงก์ซี่ยังมีความหลากหลายและบ้าบิ่นอย่างคาดไม่ถึง Vandalised Phone Box (2005) ตูโ้ ทรศัพท์สแี ดงทีถ่ ูกทำ�ลายด้วยขวานจนอยู่ในสภาพ หักงออาบเลือด ก็ยังเรียกเสียงฮือฮาจากห้องประมูลซัทเธอบีส์ บริษทั การ ประมูลที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ ด้วยมูลค่าสูงถึง 605,000 เหรียญสหรัฐฯ (ราว 18 ล้านบาท) ซึ่งนับเป็นผลงานชิ้นที่แพงที่สุดเป็นอันดับ 4 ของเขา เมื่อภาพขีดเขียนข้างถนนได้เบ่งบานมาเป็นตัวบ่งชี้รสนิยมของผู้คน สมัยใหม่ ความกล้าแหกคอก คิดต่าง จึงแปรเปลีย่ นเป็นผลงานสร้างสรรค์ ที่ชวนให้ตรึกตรอง และนำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ทรงพลัง ขณะเดียวกัน การเปิดประตูตอ้ นรับแนวคิดใหม่ในวงการประมูล ก็พิสูจน์ว่าลายเซ็นของ ศิลปินนอกกรอบสามารถสร้างมูลค่าได้ไม่แพ้ดอกผลที่งอกเงยจากฝีมือ ของศิลปินระดับตำ�นาน

ที่มา: arrestedmotion.com, artofthestate.co.uk, banksy.co.uk, christies.com, streetartnews.net, web.artprice.com กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 21


CREATIVE ENTREPRENEUR คิด ทำ� กิน

PREDUCE

เรื่อง: กมลกานต์ โกศลกาญจน์ ภาพ: เจนชัย มนตรีเลิศรัศมี

พรีดวิ ส์ (PREDUCE) คือคำ�ทีไ่ ม่มคี วามหมายตรงตัวในภาษาอังกฤษ แต่ถา้ อ่านกลับเป็นคำ�ภาษาไทยแล้ว ความหมายของคำ�นีค้ อื “พริว้ ดี” อันหมายถึงคำ�ชื่นชมท่วงท่าลีลาที่เคลื่อนไหวอย่างมีฝีมือในวงการ ของผูเ้ ล่นสเก็ตบอร์ด พรีดวิ ส์คอื ร้านขายอุปกรณ์สเก็ตบอร์ดแบบ เต็มตัวแห่งแรกในประเทศไทย และเป็นหนึง่ ในธุรกิจทีม่ สี ว่ นผลักดัน ให้วงการโปรสเก็ต (Pro-Skate) เป็นรูปเป็นร่างขึ้น “แม้จะมีความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่เราเล่นสเก็ตบอร์ด เหมือนกัน เราแตกต่างกัน แต่เราแชร์ประสบการณ์กันได้ ถ้าหาก คุณต้องการจะสร้างเพื่อนหรือเครือข่ายจากการเล่นสเก็ตบอร์ด มันเป็นเรือ่ งง่ายมาก สเก็ตบอร์ดทำ�ให้เราเหมือนกัน เพราะสเก็ตบอร์ด คือความเป็นสากล” ไซมอน เพลโอ (Simon Pellaux) ตัวแทน ของพรีดิวส์แลกเปลี่ยนทัศนคติของเขาที่มีต่อกีฬาฮิตตลอดกาล ของวัยรุน่ ทีว่ นั นีไ้ ด้เปลีย่ นแปลงบทบาทมาสูก่ ารเป็นหนึง่ ในตัวแทน ของวัฒนธรรมสตรีทที่ชัดเจน

22 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555


สเก็ตบอร์ดไทยสู่มาตรฐานสากล “ผมเซอร์ไพรส์มากตอนมาเมืองไทยครั้งแรก เมื่อสิบปีที่แล้ว ตอนนั้นที่นี่มีคนเล่นสเก็ตบอร์ด เยอะมาก ไม่ต่างจากที่ยุโรปเลย ผมบินไปกลับ ระหว่างไทยและสวิสเซอร์แลนด์อยู่ราวๆ 2 ปี มีโอกาสได้พดู คุยกับนักสเก็ตบอร์ดไทยหลายคน ผมเจอ “หนึง่ ” (อาทิตย์ พันนิกลุ ผูก้ อ่ ตัง้ ร้านพรีดวิ ส์ รุน่ แรกทีอ่ บุ ลราชธานี) เราเล่นสเก็ตบอร์ดและลง แข่งด้วยกัน เมือ่ คุยกัน เราพบว่าการหาสปอนเซอร์ ให้นักสเก็ตบอร์ดในไทยนั้นเป็นเรื่องยากมาก ผมและ “กีโยม” (กีโยม วิซ หุน้ ส่วนชาวสวิส) เลย ตัดสินใจว่าจะเปิดร้านเพื่อเป็นแหล่งรวมสินค้าที่ เกี่ยวกับสเก็ตบอร์ด นำ�เข้าแบรนด์ที่มีคุณภาพ รวมทัง้ หาและเป็นสปอนเซอร์ให้กบั นักสเก็ตบอร์ด ที่มีฝีมือ ในตอนเริ่มต้น เราได้สปอนเซอร์จาก ไนกี้ เขาสนับสนุนเราจากที่เขาเห็นคลิปวิดีโอที่ เราเคยโพสต์กนั ไว้ รายต่อมาคืออาดิดาส ซึง่ ทำ�ให้ เรามีเงินทุนมากพอเพือ่ เริม่ ต้นทำ�ร้านได้ มันเป็น เรื่องที่ดีและน่าสนใจมากนะที่เราจะมีรา้ นขาย ของเพือ่ การเล่นสเก็ตบอร์ดจริงๆ เพราะมันไม่มี ประโยชน์ ถ้ารองเท้าสเก็ตบอร์ดจะไปอยูใ่ นร้าน ขายของธรรมดา” ไซมอนเริ่มต้นธุรกิจ พรีดิวส์ ในปี 2550 จำ�หน่ายเสื้อผ้า รองเท้า และอุปกรณ์ เฉพาะสำ�หรับการเล่นสเก็ตบอร์ด ทัง้ ทีผ่ ลิตขึน้ เอง ภายใต้แบรนด์พรีดวิ ส์และนำ�เข้าสินค้ารุน่ ทีผ่ ลิต จำ � นวนจำ � กั ด หรื อ เป็ น คอลเล็ ก ชั่น พิ เ ศษโดย เฉพาะรองเท้า เช่น ไนกี้ เอสบี (Nike SB หรือ Nike Skateboarding) แวนส์ โปร สเก็ต (Vans Pro Skate) อาดิดาส สเก็ตบอร์ดดิง้ (Adidas Skateboarding) หรือคอนเวิรส์ คอนส์ (Converse Cons) พรีดวิ ส์เป็นกลุม่ แรกในไทยทีผ่ ลิตแผ่นสเก็ต (Skateboard deck) ขายภายใต้แบรนด์ของตัวเอง ลวดลายบนแผ่นสเก็ตของพวกเขามักสอดแทรก ความเป็นไทย ดังทีเ่ ห็นในคอลเล็กชัน่ “ผีตาโขน” หรือ "ปลากัด" ไซมอนเชือ่ ว่าการเล่นสเก็ตบอร์ด ในเมืองไทย คือการเข้าถึงวัฒนธรรมย่อยได้ อย่างแท้จริง ความเข้าใจและการยอมรับของคนไทย ที่มีต่อวัฒนธรรมจากต่างประเทศ เมื่อนำ�มา ผสมผสานกับเอกลักษณ์ของตัวเองจึงกลายเป็น เสน่หท์ ล่ี งตัว ไม่แตกต่างจากงานสตรีทในแขนง

อืน่ ๆ นอกจากนี้ พรีดวิ ส์ยงั ได้รว่ มงานกับศิลปิน สตรีทไทยอย่าง MMFK (พฤษ์พล มุกดาสนิท) และ TRK(ธีระยุทธ พืชเพ็ญ) “ผมไม่ใช่คนไทย แต่ พรีดวิ ส์คอื ธุรกิจของไทย และเราอยากทำ�งานร่วม กับศิลปินไทย จะมีประโยชน์อะไรถ้าเราเปิดร้าน ในไทย แต่เลือกใช้กราฟิกและทุกอย่างในร้านจาก อเมริกา เพราะการมีเอกลักษณ์ของความเป็นไทย มาอยูใ่ นผลิตภัณฑ์ของเราเป็นเรือ่ งทีว่ เิ ศษมาก” รู้เล่นอย่างมืออาชีพ เมือ่ เป้าหมายสำ�คัญคือการยกระดับนักสเก็ตบอร์ด ไทยให้ดำ�เนินชีวิตได้โดยยึดการเล่นสเก็ตบอร์ด เป็นอาชีพเหมือนกับกีฬาชนิดอืน่ ๆ ทำ�ให้พรีดวิ ส์ ต้องทำ�งานหนักกว่าการทำ�ธุรกิจทัว่ ไป “สำ�หรับ นักสเก็ตมือสมัครเล่น การได้สปอนเซอร์มาสนับ สนุนเปรียบได้กบั เป้าหมายสูงสุด มือสมัครเล่น จะต้องเล่นอย่างสมํา่ เสมอ เก็บชัว่ โมงบินให้สงู และ แสดงให้คนอืน่ เห็นถึงความสามารถและประสบการณ์ ของคุณให้ได้ เพราะเมือ่ สปอนเซอร์ชน่ื ชอบในฝีมอื ของคุณ ไม่วา่ เขาจะเห็นผ่านคลิปวิดโี อ รูปถ่าย ในนิตยสาร ภาพของคุณจากหน้าเว็บไซต์ คุณจะได้ รับการสนับสนุนทัง้ เงินเดือน และอุปกรณ์ตา่ งๆ" พรีดวิ ส์เองก็เป็นสปอนเซอร์ดว้ ยเช่นกัน พรีดวิ ซ์ สนับสนุนแผ่นสเก็ตให้กบั โปรสเก็ต (เรียกย่อมาจาก Professional Skateboard) โดยโปรสเก็ตแต่ละคน ไม่วา่ จะเป็น เก่ง จักรินทร์ เต๋า กิจพูลลาภ หรือ เลิศ แซ่หลี จะมีชอ่ื จริงของตัวเองอยูบ่ นแผ่นสเก็ต ในแต่ละคอลเล็กชัน่ ทีว่ างจำ�หน่าย "การมีชื่อจริง ของตัวเองอยูบ่ นแผ่นสเก็ต หมายความว่าคุณได้ เป็นโปรสเก็ตอย่างเต็มตัว เมือ่ ถึงวันนัน้ สปอนเซอร์ จะออกแบบสินค้าเพือ่ ให้โปรสเก็ตเลือกใส่ เพือ่ จะ ได้เห็นโลโก้ย่หี ้อตัวเองอยู่ค่กู ับฝีมือของพวกเขา” นอกจากการสนับสนุนจากสปอนเซอร์สนิ ค้าแล้ว การลงแข่งขันเพือ่ แสดงความสามารถและชิงเงิน รางวัลก็เป็นอีกหนทางหนึง่ ทีช่ ว่ ยให้นกั สเก็ตบอร์ด สามารถเล่นกีฬาชนิดนี้เป็นอาชีพได้ ขยายขอบเขตแห่งความชอบ คงปฏิเสธไม่ได้ว่า เครื่องมือการสื่อสารที่ดีที่สุด ของวงการสเก็ตบอร์ดคือการถ่ายทำ�คลิปวิดีโอ

สื่อภาพเคลื่อนไหวที่มีข้ันตอนการผลิตไม่ยาก เกินกำ�ลัง การทำ�คลิปวิดโี อไม่ได้เป็นเครือ่ งมือที่ แค่ประกาศให้คนอืน่ ๆ รับรูถ้ งึ สิง่ ทีก่ �ำ ลังทำ�อยูแ่ ต่ หมายถึงการสร้างแบรนด์ การสร้างทีม และขยาย เครือข่ายระหว่างกลุ่ม การเปิดหน้าร้านในโลก ออนไลน์สำ�หรับพรีดิวส์ จึงเป็นทั้งการโปรโมต คอลเล็กชัน่ ใหม่ เป็นแหล่งรวมของกลุม่ นักสเก็ต บอร์ดสำ�หรับแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่างกัน และ แน่นอนว่ารวมถึงการอัพเดตคลิปวิดโี อใหม่ๆ ทัง้ การแข่งขันและออกทัวร์ไปยังเมืองต่างๆ การ โพสต์คลิปลงอินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางที่รวดเร็ว และได้กลุม่ ผูช้ มทีม่ ากกว่า แม้จะลดช่องทางการ มีรายได้ แต่ผลตอบแทนจากการได้ขยายเครือข่าย ที่มากขึ้นนั้นก็คุ้มค่าเช่นกัน “กฎสำ�คัญข้อแรก ของการทำ�ธุรกิจสเก็ตบอร์ดคือเรือ่ งของเครือข่าย และการช่วยเหลือกัน เหมือนผมทีอ่ ยูต่ รงนี้ พูดไทย ไม่ได้ เป็นแค่คนเล่นสเก็ตบอร์ดทีอ่ ยูป่ ระเทศไทย เท่านัน้ อย่างมีคนจากอเมริกาอยากมาเมืองไทย พวกเขาเห็นเราผ่านคลิปในยูทบู เขาก็ตดิ ต่อเรา ผ่านเบอร์ทอ่ี ยูใ่ นคลิปนัน้ แล้วเราก็ออกทัวร์ดว้ ยกัน ทำ�หนังสัน้ ด้วยกัน พวกเขามีสว่ นสนับสนุนร้านเรา ได้มาก เพราะมีทั้งช่างภาพ กองบรรณาธิการ นิตยสาร คนทำ�เว็บไซต์ในอเมริกา ซึง่ เราก็รกั ษา เครือข่ายระหว่างกันอยูเ่ สมอ สามารถติดต่อแลก เปลี่ยนเนื้อหาไปให้ทางนั้นตีพิมพ์ได้ ทั้งหมดนี้ เกิดขึน้ เพราะเรารักในไลฟ์สไตล์ทเ่ี ป็นสิง่ เดียวกัน” ในวันที่แนวโน้มของธุรกิจเกี่ยวกับสเก็ตบอร์ดมี จำ�นวนเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดนั้นถือว่าเป็นข่าวดี เพราะสำ�หรับพรีดวิ ส์ การเพิม่ โอกาสและช่องทาง ใหม่ๆ ให้บรรดานักสเก็ตบอร์ดคือเป้าหมายทีต่ อ้ ง ไปให้ถงึ “เราไม่เห็นร้านทีเ่ กิดใหม่เป็นคูแ่ ข่งเลย กลับรู้สึกดีมากที่มันเกิดขึ้นจากตัวนักสเก็ตเอง เพราะเราสามารถร่วมมือหรือให้ความช่วยเหลือ ซึง่ กันและกันได้อยูแ่ ล้ว นีค่ อื วิวฒั นาการทีด่ ี เพราะ ประเทศไทยยังมีพื้นที่ให้เรื่องเหล่านี้อีกมาก เพียงเริม่ ต้นและลงมือทำ�เท่านัน้ ” Preduce: สยามสแควร์ ซอย 1 preduce.com กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 23


CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์

MANHATTAN

Street is where it at เรื่อง: ณัฐพร ศรีศิริรังสิมากุล

meatpacking-district.com

คงไม่เป็นการกล่าวเกินไป ที่จะบอกว่าโลกทั้งใบกระจุกตัวอยู่ในแมนฮัตตัน โบโรฮ์ (Borough) พื้นที่ที่มีขนาดเล็กที่สุดของ นิวยอร์ก แต่กลับมีประชากรหนาแน่นมากที่สุด พื้นที่ขนาด 59 ตารางกิโลเมตรนี้อัดแน่นไปด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติกว่า 1.6 ล้านคน ดนตรีพังก์ ศิลปะป๊อปอาร์ต ฮิปปี้หัวขบถ และอาหารหลากหลายสไตล์ ล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นจากความแตกต่างอัน หลากหลาย มีชีวิตชีวา และแรงบันดาลใจจากวิถีแห่งท้องถนนอันเป็นเอกลักษณ์ของแมนฮัตตันทั้งสิ้น

MEATPACKING DISTRICT: FROM GRIT TO GLOSS จากชื่อก็เดาได้ไม่ยากว่า มีตแพ็กกิ้ง ดิสทริก (Meatpacking District) ย่านทางตะวันตกของแมนฮัตตัน เคยเป็นเขตโรงฆ่าสัตว์มาก่อน ย้อน กลับไปราว 100 กว่าปีที่แล้ว มีโรงฆ่าสัตว์กว่า 250 แห่งอยู่ในย่านนี้ และ ผู้คนส่วนใหญ่ก็ประกอบอาชีพชำ�แหละและแพ็กเนื้อขายเป็นหลัก แต่ ธุรกิจนี้ก็เริ่มถดถอยลงในยุค 80 จนเกิดโกดังและโรงงานร้างมากมายให้ อันธพาล โสเภณี และสาวประเภทสอง จับจองเป็นที่ค้ายาเสพติดและทำ� ธุรกิจค้า “เนื้อสด” แทน แต่ด้วยบรรยากาศดิบๆ แฝงความอันตราย และค่าเช่าถูก ย่าน อโคจรแห่งนี้จึงเริ่มดึงดูดศิลปิน แฟชั่นดีไซเนอร์ สถาปนิก และนักธุรกิจ 24 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555

ให้เข้ามาเปิดร้านรวง และเปลี่ยนโกดังเก่าให้กลายเป็นสตูดิโอถ่ายภาพ แกลลอรี่ ร้านอาหาร และไนท์คลับ ที่หว่านเสน่ห์ของวิถีแห่งท้องถนนให้ กลุ่มลูกค้าผู้มีอันจะกินทยอยตามกันมาในมีตแพ็กกิ้ง ภาพหญิงสาวแต่ง ตัวนำ�สมัยเดินกรีดกรายในรองเท้าจิมมี่ ชูส์ บนถนนปูอิฐที่สกปรกด้วย คราบมันและเลือดจากโรงงานชำ�แหละเนื้อ ในขณะที่คาเฟ่ริมทางมีสาว ประเภทสองแวะมาทานมื้อสายเพื่อแก้อาการเมาค้าง อยู่ข้างๆ โต๊ะที่ ครีเอทีฟโฆษณากำ�ลังคุยงานกัน เป็นความขัดแย้งที่น่าสนใจที่ทำ�ให้ มี ต แพ็ ก กิ้ ง เปลี่ ย นสถานภาพจากแหล่ ง อโคจรมาเป็ น ย่ า นฮ็ อ ตที่ น่ า จับตามอง


© Cameron Davidson/Corbis

meatpacking-district.com

CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์

ปัจจุบัน มีตแพ็กกิ้งกลายเป็นย่านที่ค่าเช่าพุ่งสูงลิบลิ่ว โรงงาน ชำ�แหละเนื้อเหลืออยู่เพียงหยิบมือ แต่ก็ทำ�ธุรกิจส่งเนื้อให้แก่ร้านอาหารหรู และโรงแรมที่มาเปิดใหม่ นิวยอร์กแมกกาซีนยกให้อดีตสถานทีอ่ โคจรแห่งนี้ เป็นย่านที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งของนิวยอร์ก เพราะคึกคักมีชีวิตชีวา เกือบตลอด 24 ชั่วโมง ด้วยผับบาร์ ร้านอาหาร และบูติกของดีไซเนอร์ อย่าง สเตลลา แมคคาร์ทนีย์ (Stella McCartney), อเล็กซานเดอร์ แม็กควีน (Alexander McQueen) และคริสเตียน ลูบูแตง (Christian Louboutin) นอกจากนี้ พิพิธภัณฑ์วิทนีย์ (Whitney Museum) ที่กำ�ลังจะมาเปิดสาขา ในปี 2015 ยังจะมาเติมเต็มให้มตี แพ็กกิง้ เป็นย่านทีเ่ พียบพร้อมทัง้ ด้านการค้า ความบันเทิง และวัฒนธรรม

ALONG THE HIGH LINE

meatpacking-district.com

สิ่งที่มีส่วนทำ�ให้มีตแพ็กกิ้งบูมถึงขีดสุด คงหนีไม่พ้น ไฮไลน์ (High Line) ทางรถไฟลอยฟ้าที่สร้างขึ้นในปี 1934 เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการขนส่ง สินค้า เพราะตัดผ่านตัวอาคารและเชื่อมเข้ากับโรงงานและคลังเก็บสินค้า โดยตรง แต่ในช่วงต่อระหว่างยุค 50 และ 60 เมื่อรถบรรทุกเริ่มเข้ามาแทนที่ การขนส่งโดยรถไฟก็เสื่อมความนิยมลง จนไฮไลน์ปิดตัวลงในปี 1980 และ ถูกทิ้งให้รกร้างและมีวี่แววว่าจะโดนทุบทิ้ง กลุ่ม Friends of the High Line จึงได้รวมตัวกันขึ้นในปี 1999 เพื่อยื่นเรื่องเสนอให้เปลี่ยนทางรถไฟทรุด โทรมนี้เป็นสวนสาธารณะลอยฟ้าความยาว 1.6 กิโลเมตร ที่เชื่อมมีตแพ็กกิ้ง เวสต์ เชลซี และคลินตัน เข้าด้วยกัน ไดแอน วอน เฟอร์สเตนเบิร์ก (Diane von Furstenberg) ดีไซเนอร์ที่หลงเสน่ห์ในแบบอินดัสเทรียลของมีตแพ็กกิ้ง จนมาอาศัยในย่านนี้ ก็บริจาคเงินก้อนโตเพื่อสนับสนุนโครงการนี้ และเมื่อ ไฮไลน์เปิดให้บริการในปี 2009 สถิติอาชญากรรมในมีตแพ็กกิ้งลดลงอย่าง เห็นได้ชัด แถมยังเป็นการดึงดูดทั้งนักท่องเที่ยวและโรงแรมชั้นนำ�ให้เข้ามา เดินจับจ่ายใช้สอย ชมเมือง ทำ�ให้ร้านอาหาร บาร์ และร้านขายของต่างๆ ในย่านนี้คึกคักและมีชีวิตชีวาขึ้น

กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 25


thetastenyc.wordpress.com

CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์

EAST VILLAGE: BOHEMIAN RHAPSODY อีสต์ วิลเลจ (East Village) เคยเป็นเขตชุมชนแออัดที่คับคั่งไปด้วย ผูอ้ พยพและแรงงานต่างชาติ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของย่านโลเวอร์ อีสต์ ไซต์ (Lower East Side) มาก่อน จนมาในยุค 60 ฮิปปี้ ศิลปินไส้แห้ง นักดนตรี และนักศึกษามหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ที่เสาะแสวงหาห้องเช่า ราคาถูก เริ่มเข้ายึดครองย่านนี้ และเรียกพื้นที่ตรงนี้เสียใหม่ว่า อีสต์ วิลเลจ เพื่อแยกตัวเองออกจากภาพของสลัมและผูอ้ พยพทีต่ ดิ มากับโลเวอร์ อีสต์ ไซต์ การทีห่ นุม่ สาวจากหลากหลายวัฒนธรรมมาเบียดเสียดกันอยูใ่ นย่านนี้ ทำ�ให้อีสต์ วิลเลจ กลายเป็นแหล่งจุดไฟสร้างสรรค์ชั้นดีที่ขับเคลื่อนด้วย พลังแห่งความขบถของคนรุน่ ใหม่ การเคลือ่ นไหวทางศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งสำ�คัญต่างมีจุดกำ�เนิดที่ “หมู่บ้านศิลปิน” แห่งนี้ คีธ แฮริ่ง (Keith Haring) และฌอง-มิเชล บาสเคีย (Jean-Michel Basquiat) เริ่มชีวิต ศิลปินของพวกเขาจากการวาดภาพกราฟฟิตใ้ี นอีสต์ วิลเลจ แอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol) จัดงานแสดงศิลปะมัลติมีเดียและถ่ายทำ�การแสดงของ The Velvet Underground ในบาร์บนถนนเซนต์ มาร์กส์ เพลซ (St. Marks Place) โจนาธาน ลาร์สัน (Jonathan ` Larson) แต่งละครเพลง Rent โดย ดัดแปลงมาจากโอเปร่า La Boheme ถ่ายทอดชีวิตของศิลปิน นักดนตรี เกย์ เลสเบี้ยน และสาวประเภทสอง ในย่านอีสต์ วิลเลจช่วงปลายยุค 80 ที่มีการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ เฮโรอีน และอาชญากรรม 26 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555

และก็เหมือนกับหลายย่านของนิวยอร์ก ที่เมื่อเหล่า “ฮิปปี้” ทำ�ให้ อีสต์ วิลเลจ “ฮิป” ขึ้นมา ชนชั้นกลางก็เริ่มทยอยตามกันมาจนอีสต์ วิลเลจเปลี่ยนแปลงหน้าตาไป CBGB ผับในย่าน The Bowery ที่เคยเป็น เมกะของดนตรีพงั ก์และอันเดอร์กราวด์ ปัจจุบนั กลายเป็นบูตกิ ของจอห์น วาร์วาทอส (John Varvatos) ที่จัดวางแผ่นเสียง เครื่องเสียงจากยุค 70 และกราฟฟิตี้ ไว้เคียงข้างเสื้อผ้าผู้ชายแบบคลาสสิกแฝงกลิ่นอายร็อก แอนด์โรลราคาแพงลิบลิ่ว ที่มีศิลปินอย่าง กรีนเดย์ (Green Day) และ อิกกี ป๊อบ (Iggy Pop) เป็นพรีเซนเตอร์ ย่าน The Bowery เองที่เคยเป็น ถิ่นของสถานบำ�บัดคนติดยาเสพติด และบ้านพักคนจรจัด ก็ได้กลายเป็น ที่ตั้งของคอนโดมิเนียมหรูมากมาย แต่ด้วยจิตวิญญาณโบฮีเมียนที่หยั่งลึกในย่านนี้มาอย่างยาวนาน ประกอบกับค่าครองชีพที่ยังคงย่อมเยาเมื่อเทียบกับที่อื่น อีสต์ วิลเลจจึง ยังคงบรรยากาศแห่งความคิดสร้างสรรค์ไว้ได้ เพราะศิลปินรุ่นใหม่ที่เข้า มาเสริมกำ�ลัง ทำ�งานร่วมกับฮิปปี้รุ่นบุกเบิก อย่างกลุ่ม Fourth Arts Block (FAB) ที่รวมตัวกันขึ้นเพื่อโปรโมตและพัฒนา East 4th Street Cultural District อันเป็นที่ตั้งของกลุ่มศิลปะ โรงละคร แกลลอรี่ และ สถาบันการแสดงมากมาย พวกเขาเป็นตัวตัง้ ตัวตีในการโปรโมตนิทรรศการ จัดเวิรก์ ช็อปศิลปะ วอล์กกิง้ ทัวร์ และรวบรวมศิลปินมาเปลีย่ นไซต์กอ่ สร้าง ฟุตปาธ และพื้นที่รกร้าง ให้กลายเป็นลานแสดงศิลปะข้างถนน


gourmetpigs.blogspot.com

© Andrew Holbrooke/Corbis

CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์

BOHEMIAN RHAPSODY

WHEELED KITCHEN: ครัวติดล้อ นอกจากศิลปะและดนตรีแล้ว อาหารนับเป็นอีกหนึ่งสีสันของแมนฮัตตัน การรวมกลุ่ ม ของคนหลากเชื้ อ ชาติ ทำ � ให้ เ กิ ด ร้ า นอาหารเฉพาะทาง มากมายที่นำ�รสชาติจากทั่วโลกมาให้ได้ลิ้มลอง ไม่ว่าจะเป็นนิวยอร์ก ไทมส์ หรือนิวยอร์กแมกกาซีน ต่างมีคอลัมน์แนะนำ�สตรีทฟู้ด รถเข็น ข้างทาง และรถขายอาหารหรือ Food Truck สำ�หรับนักชิมที่ต้องการ อาหารถูกและดี และเจ้า Food Truck นี้เอง ที่ยกระดับของอาหารสตรีทฟู้ดให้เป็น มากกว่าแค่ฮ็อตด็อกและเพร็ตเซิล เปิดช่องทางให้แก่คนที่ยังไม่มีกำ�ลัง ทรั พ ย์ พ อที่ จ ะเปิ ด ร้ า นเป็ น เรื่ อ งเป็ น ราวได้ เ ริ่ ม ธุ ร กิ จ เป็ น ของตั ว เอง ตัวอย่างที่ประสบความสำ�เร็จนั้นมีมากมาย อาทิ คิม อิมา (Kim Ima) ลูกครึ่งญี่ปุ่น-ยิว อดีตนักแสดงในโลเวอร์ อีสต์ ไซต์ ก็หันมาเปิด The Treats Truck ออกขายคุกกี้และบราวนี่ในราคา 1-3 ดอลลาร์ Wafels & Dinges ก็เริ่มขึ้นโดยอดีตพนักงานไอบีเอ็ม ที่ทิ้งเงินเดือนก้อนโตมาขาย วาฟเฟิลตำ�รับเบลเยียม เจอโรม ชาง (Jerome Chang) อดีตเชฟของ หวานที่ Le Cirque ทิ้งตำ�แหน่งที่ร้านอาหารฝรั่งเศสเก่าแก่ของนิวยอร์ก เพื่อมาเป็นเชฟใหญ่ประจำ�รถ Dessert Truck ขายของหวานระดับ ภัตตาคารในราคาไม่ถึง 10 เหรียญ และ Schnitzel & Things ที่นำ�รถ

สีนํ้าตาลอ่อนออกขายชนิตเซล ไส้กรอกบราทบรัวส์ท และเมนูออสเตรีย สูตรเด็ด จนได้รับรางวัล Vendy ที่มอบให้กับผู้ประกอบการสตรีทฟู้ดใน นิวยอร์กมาครอง โดยร้านติดล้อเหล่านี้จะวิ่งไปเรื่อยๆ และจอดไม่เป็นที่ ตามแต่กฎจราจรจะอำ�นวย ลูกค้าขาประจำ�จึงต้องคอยเช็กทวิตเตอร์ของ รถคันโปรดว่าจะจอดที่ไหน เวลาไหน และตามไปต่อคิวซื้อกันเอาเอง ถึงแมนฮัตตันจะเปลี่ยนหน้าตาไปไม่เว้นแต่ละวัน แต่สิ่งหนึ่งทีไ่ ม่เคย เปลี่ยนคือวิถีแห่งท้องถนนที่หยั่งรากลึกจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของโบโรฮ์ แห่งนีไ้ ปแล้ว หากคุณต้องการรูจ้ กั แมนฮัตตัน วิธที ด่ี ที สี ดุ คือการเดินลัดเลาะ ไปตามตรอกซอกซอยต่างๆ ให้ผู้คนอันหลากหลาย สิ่งก่อสร้างสาธารณะ กราฟฟิต้ี อาหาร และงานสถาปัตยกรรมต่างๆ ช่วยเล่าเรือ่ งราวให้คณุ ฟัง ที่มา: meatpacking-district.com nycartspaces.com
 nytimes.com thehighline.org

กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 27


THE CREATIVE มุมมองของนักคิด

Chris Bowden

STREET SAVVY เรื่องและภาพ: อรรคพล สุทัศน์ ณ อยุธยา

คริส โบเดน (Chris Bowden) หรือที่รู้จักกันในวงการสตรีทอาร์ตในนาม “บิชัวร์” (Beejoir) เขาคือศิลปิน สตรีทอาร์ต ที่เป็นทั้งนักสะสมผลงานและนักขายงานสตรีทอาร์ต (Art Dealer) ตัวยง คริสอยู่ในวงการนี้มา นานนับสิบปีและมีโอกาสร่วมงานกับศิลปินดังๆ มากมาย และนอกจากจะเป็นขาใหญ่ในวงการแล้ว คริส โบเดน ยังเคยเป็นช่างภาพข่าว ครูสอนดำ�นา้ํ ไปจนถึงช่างต่อโลงศพราคาแพงในยูกนั ดา ก่อนทีจ่ ะมาเปิด “โซลด์ เอาท์ สตูดโิ อ” (Souled Out Studio) ที่กรุงเทพฯ เพือ่ ผลิตงานภาพพิมพ์ของศิลปินสตรีททัว่ โลกแบบจำ�นวนจำ�กัด และราคาไม่สูงจนเกินไป

28 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555


THE CREATIVE มุมมองของนักคิด

คุณหลงรักสตรีทอาร์ตตั้งแต่เมื่อไร น่าจะประมาณปี 1995-1996 ทีผ่ มเริม่ สังเกตเห็นงานสตรีทอาร์ต ตอนนัน้ ผมอายุสัก 15-16 ปี มีศิลปินสตรีทแถวบ้านที่น่าสนใจอยู่สองสามคน พวกเขาทำ�งานศิลปะทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งการเมือง (Political Art) เป็นศิลปะ ที่ไม่เน้นความสวยงามแต่ต้องการสื่อสารความคิดเป็นหลัก

แต่ก่อนสตรีทอาร์ตไม่ได้ถูกมองว่าเป็นงานศิลปะ ผมยังชอบทีค่ นคิดอย่างนัน้ ผมชอบทีม่ นั จะไม่ได้ถกู จัดรวมในกลุม่ เดียวกัน กับศิลปะรูปแบบดั้งเดิม จะว่าไปแล้ว คนเพิ่งจะมายอมรับงานประเภทนี้ ก็เมือ่ มันขายได้ราคานีแ่ หละ ย้อนกลับไปเมือ่ ประมาณปี 1995 1996 1997 มันไม่มมี ลู ค่าอะไรเลย คุณไม่สามารถขายงานสตรีทอาร์ตได้ ไม่มที างเลย แต่พอมันเริม่ ขายได้เท่านัน้ ล่ะ คนส่วนใหญ่จงึ ก็เริม่ หันมามองมัน เริม่ เห็น คุณค่า เริ่มมองมันเป็นงานศิลปะมากขึ้น

ละแวกบ้านที่คุณหมายถึง คือที่ไหน หมู่บ้านเล็กๆ ที่ผมโตมาคือแถวนอร์ท เดวอน (North Devon) ในอังกฤษ ที่นั่นแวดล้อมไปด้วยธรรมชาติของชายฝั่งทะเลทางตอนเหนือ งานศิลปะ ส่วนใหญ่จงึ หนีไม่พน้ เรือ่ งสภาพแวดล้อม และงานกราฟฟิตท้ี ท่ี �ำ ขึน้ ทีน่ น่ั ก็เพือ่ ต่อต้านการเข้ามาของบริษทั ใหญ่ๆ ทีเ่ ห็นแก่ผลประโยชน์ของตนเป็นหลัก

นอกจากคุณเป็นศิลปินแล้ว คุณยังเป็นนักสะสมงานศิลปะด้วย ผมไม่เคยสะสมอะไรเลยในชีวติ ผมไม่มบี า้ นทีจ่ ะสามารถซือ้ อะไรไปแขวนได้ เพราะผมเองย้ายที่อยู่ค่อนข้างบ่อย ผมไม่เคยสะสมงานศิลปะ ไม่ว่าจะ ประเภทไหน แต่พอผมอายุสัก 22-23 ปี ผมเริ่มมีรายได้จากการขายงาน ศิลปะชิ้นแรก ตอนนั้นผมอยู่ที่ลอนดอน ผมเอางานของตัวเองไปฝากไว้ที่ ออฟฟิศของแบงก์ซี่ (Banksy) เพื่อให้คนที่ตกลงซื้องานมารับไป ระหว่าง ผมนั่งรอ ผมเห็นงานของแบงก์ซี่วางกองเต็มไปหมด งานพวกนั้นเขาทำ� สำ�หรับขาย ผมรู้สึกชอบงานเขา งานเขาดูสนุกดี ผมตัดสินใจซื้องาน ภาพพิมพ์ของเขามา 5-6 ชิน้ และงานเขียนสีบนผ้าใบ 1 ชิน้ ผมไม่รจู้ ริงๆ ว่าทำ�ไมถึงซือ้ มา ไม่รจู้ ริงๆ แต่รไู้ หม... หลังจากนัน้ ไม่นาน ผมก็เริม่ สะสม มันอย่างบ้าคลัง่ นัน่ เป็นช่วงเวลาก่อนทีเ่ ขาจะโด่งดัง ผมใช้เงินไปประมาณ 300-400 ปอนด์ทไ่ี ด้มา ตอนนัน้ มันเป็นเงินทีเ่ ยอะมากอยู่ ผมขายงานศิลปะ ของผมเพือ่ ซือ้ งานของเขา แต่กถ็ อื ว่าเป็นการตัดสินใจซือ้ ด้วยความอยาก ที่ออกจะมีดวงสักหน่อย (หัวเราะ)

VY

คุณแยกประเภทงานสตรีทอาร์ตอย่างไร ทั้งในแง่เนื้อหาและเทคนิค มันง่ายกว่ามาก ถ้าจะให้ผมจำ�แนกประเภทงานสตรีทอาร์ตเมื่อ 5-6 ปี ที่แล้ว ก่อนที่คนจะเริ่มสนใจมันมากเช่นทุกวันนี้ แต่ก่อน... สตรีทอาร์ต มันชัดมาก คนที่ทำ�มันก็ทำ�ไปโดยไม่คิดถึงผลตอบแทน เราทำ�มันฟรีๆ เราแค่อยากขีดเขียนตามกำ�แพง ตามท้องถนน เพราะฉะนั้นงานศิลปะ อะไรก็ตามที่อยู่บนท้องถนน เราก็จะเรียกมันว่าเป็นสตรีทอาร์ตทั้งหมด แต่สมัยนี้มันไม่ใช่ ตอนนี้ใครๆ ก็เลือกที่จะเขียนกำ�แพงเพื่อเรียกร้อง ความสนใจ มากกว่าพยายามเสนอสิง่ ทีต่ วั เองคิดออกไป ผมเห็นว่ากราฟฟิต้ี ก็เป็นสตรีทอาร์ตด้วยเหมือนกัน

ตอนคุณซื้องานแบงก์ซี่ คุณคิดว่ามันจะมีมูลค่ามากขนาดนี้ไหม ไม่เลย ถ้ามองย้อนกลับไป ตอนผมขายงานชิ้นแรกๆ ได้เนี่ยะ ชิ้นละ 100-150 ปอนด์ ก็ถอื ว่าเป็นเงินมากโขอยู่ แต่หา้ ปีถดั มา งานชิน้ นัน้ ถูกขาย ไปในราคา 5,000-10,000 ปอนด์ ซึ่งนั่นทำ�ให้ผมช็อกไปเลย แต่ก่อนเรา คิดไม่ถึงหรอกว่าจะแอบเก็บงานภาพพิมพ์ไว้บางส่วนเผื่อขายเอากำ�ไร ในอนาคต ตอนนัน้ เราไม่รวู้ า่ ราคามันจะขึน้ ขนาดนี้ อย่างตอนทีผ่ มซือ้ งาน แบงก์ซ่ี ผมก็ไม่รวู้ า่ มันจะได้ราคาขนาดนี้ แต่ไม่แน่ อาจมีอะไรลึกๆ ทีส่ ง่ั ให้ผมซื้องานเขาก็ได้ จริงๆ ตอนทีผ่ มอยูท่ อ่ี อฟฟิศของแบงก์ซ่ี ผมกะจะซือ้ งานของเขาอีกชิน้ เป็นงานออริจินัล แต่ผมดันเมาและพลาดเหยียบเฟรมงานชิ้นนั้นตอนตื่น ขึ้นมารุ่งเช้าอีกวัน ผมรีบซ่อนงานชิ้นที่พังไว้หลังโซฟา แล้วซื้องานของ ดี*เฟซ (D*Face) ที่แขวนอยู่มาแทนด้วยความรู้สึกผิด ถ้ามองด้านการ ลงทุนแล้ว ผมน่าจะได้ก�ำ ไรประมาณ 200,000 ปอนด์ ถ้าผมไม่เหยียบงาน ชิ้นนั้น แล้วซื้อมันมา... น่าเสียดายจริงๆ

กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 29


THE CREATIVE มุมมองของนักคิด

,,

คนเพิ่งจะมายอมรับงานประเภทนี้ก็เมื่อมันขายได้ ราคานีแ่ หละ ย้อนกลับไปเมือ่ ประมาณปี 1995 1996 1997 มันไม่มีมูลค่าอะไรเลย คุณไม่สามารถขาย งานสตรีทอาร์ตได้ ไม่มที างเลย แต่พอมันเริม่ ขายได้ เท่านัน้ ล่ะ คนส่วนใหญ่จงึ ก็เริม่ หันมามองมัน เริม่ เห็น คุณค่า เริม่ มองมันเป็นงานศิลปะมากขึน้

,,

30 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555


,,

THE CREATIVE มุมมองของนักคิด

คุณเริ่มเป็นคนกลางในการขายงานศิลปะตั้งแต่เมื่อไร ผมขายของมาทั้งชีวิต พ่อแม่ให้ผมไปช่วยขายของที่ตลาดตั้งแต่เล็กๆ บางทีก็ขายของตามบ้านบ้าง ผมเป็นเซลล์แมนมาทั้งชีวิต คือหลังจากที่ ผมเริ่มขายงานศิลปะของตัวเองได้โดยไม่ผ่านเอเยนต์ พวกเพื่อนศิลปินก็ ขอให้ผมช่วยขายงานของพวกเขาให้ จากนั้นก็มีคนที่มาขอให้ผมช่วย ขายงานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เขาคงไว้ใจผมด้วยมั้ง เพราะผมเองก็เป็นศิลปิน ไม่ใช่แค่คนขายงาน ผมเข้าใจศิลปินว่าเขาต้องการอะไร การเปลีย่ นจากการ ขายงานของตัวเองไปเป็นขายงานให้เพื่อน มันเป็นอะไรที่ง่ายมาก แต่สง่ิ ทีต่ ามมา ซึง่ มันค่อนข้างแย่ ก็คอื ผมไม่คอ่ ยได้ท�ำ งานของตัวเอง เพราะมัวแต่ปน้ั โชว์ ขายงานของศิลปินคนอืน่ ทำ�งานภาพพิมพ์ให้เขาบ้างล่ะ แต่ผมก็รักมันมาก ผมชอบคิวเรท (curated) โชว์ ชอบผลิตงานออกมา ปีนี้เป็นปีที่สิบแล้วที่ผมขายงานศิลปะเป็นอาชีพ ผมจำ�ได้ว่าครั้งแรกที่ผม ขายงาน มีคนเสนอราคามาให้ 2,500 ปอนด์ส�ำ หรับงานศิลปะบนผืนผ้าใบ 5 ชิ้น มันได้ราคาดีมากนะผมว่า และนั่นเป็นจุดเริ่มต้นของทุกอย่าง อะไรคือข้อแตกต่างระหว่างอาร์ต ดีลเลอร์ (Art Dealer) และสถาบันการ ประมูลศิลปะ (Art Auction House) ผมคิดว่าทั้งอาร์ตดีลเลอร์และสถาบันการประมูลต่างเป็นเรื่องโกหก แต่ สถาบันการประมูลดูจะเป็นทีย่ อมรับในวงกว้างกว่า มีการกำ�หนดราคาตัง้ ต้น แน่นอน การขายงานสตรีทอาร์ตเหมือนเป็นการเปิดโลกใหม่ในตลาดซื้อขาย งานศิลปะ เพราะไม่เคยมีใครขายมาก่อน ศิลปินบางคนยอมที่จะจ่าย 3 เปอร์เซนต์ให้สถาบันการประมูล เพื่อปั่นราคางานศิลปะให้ขึ้นสูง เช่น เขาจะตกลงราคาที่สูงกว่าราคาที่ตั้งไว้ 10 เท่า ทำ�ให้คนคิดว่าขายไปได้ เท่านัน้ จริงๆ เช่น สมมติเคาะราคาที่ 10,000 ปอนด์ แต่จริงๆ ไม่ใช่ เพราะ มันจะถูกซือ้ กลับไปด้วยศิลปินเอง และนัน่ เป็นตัวทีท่ �ำ ให้เกิดการตัง้ มูลค่า สำ�หรับชิน้ งานของศิลปินแต่ละคน จริงๆ แล้วสถาบันการประมูลก็ไม่ตา่ ง อะไรกับตลาดหุ้น เล่าเรื่องโซลด์ เอาท์ สตูดิโอ ให้ฟังหน่อย เราสร้างโซลด์ เอาท์ สตูดโิ อ ภายในหนึง่ วัน ทำ�โลโก้ ทำ�แบรนด์ ทำ�เว็บไซต์ พิมพ์ทกุ อย่างเสร็จในราคา 25 ปอนด์ นัน่ เป็นเงินก้อนแรกในการตัง้ ต้นธุรกิจ ของผมและเพือ่ น จอน-ไมเคิล โวโกล หรือ จอนนี่ โวเท็กซ์ (Jon-Michael Vogel AKA Jonny Votex) ตอนแรกพวกเราคิดว่าจะทำ�มันเล่นๆ ไม่จริงจัง อะไร คือเราอยากลองทำ�งานภาพพิมพ์ของตัวเองขายดูบ้าง อยากรู้ว่า ผลมันจะออกมายังไง ผลคือขายหมดเกลีย้ งทันที จากนัน้ มาเราก็เริม่ ทำ�งาน ของเราและรับทำ�งานให้กับเพื่อนศิลปินคนอื่นๆ

,,

ผมคิดว่าทัง้ อาร์ตดีลเลอร์และสถาบัน การประมูลต่างเป็นเรือ่ งโกหก แต่สถาบัน การประมูลดูจะเป็นทีย่ อมรับในวงกว้างกว่า มีการกำ�หนดราคาตัง้ ต้นแน่นอน

คุณทำ�งานศิลปะประเภทไหน ผมไม่เคยเพ้นท์อะไรสวยงาม ผมชอบทำ�งานประเภททีม่ นั "ปะทะหน้าคุณ" สือ่ ความหมายชัดๆ เข้าใจง่าย ไม่ใช่แบบมีความหมายซ่อนอยู่ ผมชอบพูด เรื่องการเมือง เรื่องสังคม ซึ่งมันค่อนข้างเปลี่ยนบ่อย ผมอยากทำ�ให้งาน ศิลปะของผมดูไร้กาลเวลา เพราะฉะนั้น ถ้าผมจะเลือกคาแรคเตอร์อะไร มาใช้ มันต้องอยูไ่ ด้นานๆ เพราะตัวละครทีเ่ รารูจ้ กั กันในสิบปีน้ี ร้อยปีหน้า อาจไม่มีใครรู้จักแล้ว ซึ่งผมคำ�นึงถึงเรื่องนี้มาก มีงานชิ้นไหนไหมที่ทำ�ให้คุณต้องตกอยู่ในที่นั่งลำ�บาก มีบางบริษัทที่ขอให้ผมเลิกผลิตเพราะติดปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ เช่น หลุยส์ วิตตอง ขอร้องให้ผมหยุดทำ�งาน LV Child ซึง่ ตอนแรกเขาตัง้ ใจจะฟ้องผม 100,000 ปอนด์ เหตุเพราะผมใช้สญั ลักษณ์ของแบรนด์เขาบนงานภาพพิมพ์ แต่ผมไม่หยุด ผมทำ�งานต่อ ผมเคยมีปัญหาที่จีนด้วย ที่จีนคุณไม่มีสิทธิ์ เขียนหรือวาดอะไรลงบนผนังสาธารณะ ทีเ่ มืองไทยค่อนข้างใจดี ถ้าคุณไม่ ไปวาดบนผนังห้างสรรพสินค้าหรือกำ�แพงบ้านใคร คุณก็จะไม่เจอกับปัญหา แต่ทเ่ี มืองจีน คุณไม่สามารถพูดสิง่ ทีค่ ณุ คิดออกมาในงานกราฟฟิตไ้ี ด้เลย หลายคนนิยมซื้องานศิลปะบนอีเบย์ มันคือดาบสองคม อย่างงานที่สตูดิโอของผม พอผมปล่อยงานขายบน เว็บไซต์โซลด์ เอาท์ สตูดโิ อ คนก็จะแห่กนั มาซือ้ จากนัน้ ก็เริม่ มีการปล่อย งานของเราในราคาที่สูงขึ้นในอีเบย์ แม้มันจะไม่ดีสำ�หรับนักสะสมเพราะ ไม่ได้ซื้อจากศิลปินหรือสตูดิโอโดยตรง แต่มันก็ทำ�ให้เกิดกระแสความ ต้องการงานชิน้ นัน้ ๆ มากยิง่ ขึน้ ทีโ่ ซลด์ เอาท์ สตูดโิ อ ขายหมดเร็วก็เพราะ กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 31


THE CREATIVE มุมมองของนักคิด

อย่างนัน้ ด้วย ผมเกลียดมันในฐานะศิลปิน แต่ผมก็รกั มันในฐานะนักธุรกิจ อีกอย่างทีแ่ ย่คอื มันง่ายมากทีจ่ ะเจอของปลอมบนอีเบย์ อย่างงานออริจนิ ลั ของ แบร์รี่ แมคกีย์ (Barry McGee) งานของแบงก์ซี่มันปลอมทั้งนั้น มัน ง่ายมากทีจ่ ะขายงานศิลปะปลอมๆ บนอีเบย์ จริงๆ แล้วมันง่ายมากทีจ่ ะ ขายงานศิลปะปลอมๆ ไม่ว่าที่ไหนก็ตาม คุณคิดยังไงกับเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา (หัวเราะ) ผมไม่สนว่าจะมีใครก็อปปี้งานของผม หรือจะทำ�ขึ้นใหม่แล้ว ได้เงินจากมัน เพราะมันช่วยกระจายสิ่งที่ผมต้องการสื่อให้ออกไปใน วงกว้างขึน้ ผมค่อนข้างโอเค ถ้าจะมีใครนำ�งานผมไปใช้ ใครก็ได้ ทีไ่ หนก็ได้ ใช้ไปเลย ผมไม่สน

,,

ทำ�ไมถึงเลือกที่จะทำ�สตูดิโอในเมืองไทย ผมย้ายมาที่กรุงเทพฯ ผมเริ่มตั้งโซลด์ เอาท์ สตูดิโอ เริ่มทำ�ภาพพิมพ์ จากนั้นผมก็ติดแหงกอยู่ที่นี่ เพราะเราทำ�สิ่งที่เรากำ�ลังทำ�อยู่ปัจจุบันที่อื่น ไม่ได้ เราทำ�ที่ยุโรปไม่ได้ เพราะค่าครองชีพมันแพงเกินไป ที่นี่ เราอยู่ได้ แม้ในช่วงที่เศรษฐกิจถดถอย ถ้าต้องเปรียบเทียบสตรีทอาร์ตของไทยกับต่างชาติ ผมไม่อยากเทียบในสเกลโลก แต่ถ้าเปรียบเทียบในกลุ่มเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ผมว่าเมืองไทยมีศิลปินสตรีทอาร์ตที่น่าสนใจที่สุด มีศิลปินอยู่ 4-5 คนที่มีฝีมือดีมากๆ ดีเทียบระดับโลกได้เลย แต่ที่ไม่ได้ถูกมองหรือ ถูกพูดถึงอาจเป็นเพราะพวกเขาเป็นคนไทย เป็นคนเอเชีย ผมเชือ่ ว่าในอีก สิบปีขา้ งหน้า ศิลปินเหล่านีน้ า่ จะไปได้ไกลทีเดียว ตอนนีค้ ณุ อาจจะยังซือ้ งาน ของพวกเขาได้ถกู แต่เมือ่ มันเข้าตลาดเมือ่ ไร มันก็นา่ จะเกิดการเปลีย่ นแปลง

,, souledoutstudios.com

เพราะสีสเปรย์ไม่เคยถูกคิดให้พน่ บนผ้าใบ มันเป็นสีส�ำ หรับไม้ คอนกรีต และ โลหะ เพราะฉะนัน้ ในอนาคตงานประเภทนี้ จะมีปญ ั หาเรือ่ งการดูแลรักษาตามมา

32 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555

แล้วคุณคิดอย่างไรที่งานสตรีทอาร์ตได้เข้าไปอยู่ในพิพิธภัณฑ์ ผมชอบทีม่ นั อยูใ่ นพิพธิ ภัณฑ์ ผมคิดว่ามันควรจะมีสตรีทอาร์ตในพิพธิ ภัณฑ์ มากกว่างานศิลปะชนิดอืน่ ด้วยซํา้ เพราะว่ามันเป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรม กราฟฟิตเ้ี ป็นงานศิลปะทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ ย้อนกลับไปได้ถงึ งานศิลปะบนกำ�แพงถา้ํ แต่ปัญหาอย่างหนึ่งของสตรีทอาร์ต คือการทำ�งานด้วยสีสเปรย์ ซึ่ง ทำ�ให้งานมีอายุสน้ั เมือ่ เทียบกับสีนา้ํ มันซึง่ อยูไ่ ด้เป็นพันๆ ปี เนือ้ สีสเปรย์ จะแตกและร้าวภายในช่วงเวลาไม่เกิน 10 ปี เพราะสีสเปรย์ไม่เคยถูกคิดให้ พ่นบนผ้าใบ มันเป็นสีส�ำ หรับไม้ คอนกรีต และโลหะ เพราะฉะนัน้ ในอนาคต งานประเภทนี้จะมีปัญหาเรื่องการดูแลรักษาตามมา


THE CREATIVE มุมมองของนักคิด

Creative Ingredients

งานศิลปะที่คุณชอบ ผมชอบงานศิลปินรุน่ ใหญ่ (Old Masters) งานทีม่ อี ายุเกินร้อยปีขน้ึ ไป ผม ชอบศิลปินอิตาเลียนมาก ผมสามารถเดินในพิพธิ ภัณฑ์ได้ทง้ั วัน โดยเฉพาะ National Portrait Museum (ลอนดอน) งานอย่างเซซาน (Paul Cezanne) ผมก็ชอบเช่นกัน งานศิลปะที่คุณเก็บ ผมชอบงานออริจินัลของแบงก์ซี่ชิ้นหนึ่งมาก ที่เป็นรูปตำ�รวจเรียงหน้า กระดาน หน้าทุกคนเป็นหน้ายิม้ สมายลี เฟซ (Smiley face) ส่วนอีกงานหนึง่ เป็นศิลปินกราฟฟิตี้ไทยชื่อ บอน (Bon) งานเขาสวยและมีพลัง และยังอยู่ ในราคาที่คุณสามารถซื้อเก็บได้ คือตํ่ากว่า 1,000 ปอนด์ ผมชอบงาน ชิน้ หนึง่ มากเป็นภาพเขาขีค่ อแม่ เขาวาดหลังจากทีต่ กบันไดลิงเพือ่ ทำ�งาน กราฟฟิตบ้ี นกำ�แพง บางงานผมซือ้ เพือ่ เก็บ แต่บางงานจะมีเรือ่ งการลงทุน มาประกอบการตัดสินใจ แต่สำ�หรับบอน ผมแค่ชอบมันเอามากๆ เคล็ดลับการขายงาน คุณต้องโกหกให้เป็น (หัวเราะ) คุณต้องใส่ใจในสิง่ ทีค่ ณุ ขาย คุณต้องเข้าใจ ว่าศิลปินเชื่ออะไร คิดอะไร ต้องการอะไร คุณต้องทำ�ให้เขาเชื่อในตัวคุณ คุณถึงจะสามารถช่วยขายงานเขาได้ ในทางกลับกัน คุณต้องเชื่อในงาน เชื่อในศิลปินที่คุณขาย ถ้าคุณไม่เชื่อ ไม่รักมัน คุณจะไม่มีทางขายมันได้

ภาพยนตร์สตรีทที่คุณชอบ Rockers (1978) ชาวจาเมกันในย่านสลัมของเมืองเทร็นช์ทาวน์ทต่ี า่ งดิน้ รน หาเงินเลี้ยงปากท้องของตัวเอง มันไม่ใช่ภาพยนตร์สตรีทซะทีเดียว แต่ มันก็สตรีทมาก เวลาว่าง ผมชอบถ่ายภาพ ผมชอบดำ�นา้ํ ชอบขายของ ผมชอบทะเล บางทีการอยู่ กรุงเทพฯ มันก็ท�ำ ให้ผมจะบ้าได้เหมือนกัน เพราะมันไม่มที ะเล ผมกำ�ลัง จะสร้างบ้านหลังหนึง่ อยูร่ มิ ชายหาด ผมหวังว่าจะทำ�มันเป็นสตูดโิ อสำ�หรับ ศิลปินด้วย มันอาจมีแรงขับเคลื่อนและแรงบันดาลใจน้อยกว่าในฐานะ ศิลปินสตรีท แต่ววิ ก็ดกี ว่าเยอะ อยูเ่ มืองมันมีเรือ่ งแย่ๆ ทีใ่ ห้คณุ ต้องใช้งาน ของคุณสูเ้ ยอะ แต่ทท่ี ะเลมันไม่มอี ะไรผิด คุณก็แค่ยดื เส้นยืดสายและพักผ่อน กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 33


CREATIVE WILL คิด ทำ� ดี

เรื่อง: กมลกานต์ โกศลกาญจน์

ถนนทุกเส้นย่อมมีร่องรอยแห่งอดีต ความเป็นไปในปัจจุบัน และ การพัฒนาให้เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต ถนนจึงเป็นหน้าหนึ่ง ของสมุดบันทึกชั้นดีที่บรรจุเรื่องราวประวัติศาสตร์ไว้ในทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ในด้านหนึ่งเส้นถนนแบ่ง พื้นที่ออกเป็น 2 ฝั่งตรงข้ามกัน แต่อีกด้านหนึ่งถนนได้ทำ�หน้าที่ เชือ่ มโยงแต่ละชุมชนเข้าไว้ด้วยกัน ทั้งยังสร้างเครือข่ายทีแ่ ข็งแรง ระหว่างพื้นที่ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ถนนได้รักษาไว้นั้น รวมถึงมิติทางสังคมอย่างการแข่งขันกีฬาด้วยเช่นกัน

“โอลิมปิกเกม 2012” ณ กรุงลอนดอน อังกฤษ คือมหกรรมกีฬาระดับ โลกซึง่ จะเกิดขึน้ ในเดือนกรกฎาคมที่กำ�ลังจะถึงนี้ นอกเหนือจากประเด็น เรื่องความยิ่งใหญ่ของการจัดงาน นํ้าใจนักกีฬา หรือเรื่องตัวเลขของเงิน จำ�นวนมหาศาลที่จะหมุนเวียนภายในงานครั้งนี้ เมื่อลองมองดูอีกมิติที่ ลอนดอนเลือกต้อนรับผู้มาเยือนมหกรรมกีฬาโอลิมปิก จะพบว่ามีการ ปรับปรุงถนนทุกเส้นที่เชื่อมโยงแต่ละย่านเข้าด้วยกัน รวมถึงการพลิกฟื้น ทุกชุมชนแออัด และต่อเติมด้วยพืน้ ทีใ่ ห้เต็มเปีย่ มไปด้วยพลังแห่งความคิด สร้างสรรค์ ที่ดำ�เนินงานควบคู่ไปกับการรักษาเอกลักษณ์ดง้ั เดิมของแต่ละ ท้องถิ่นเอาไว้ “ไฮ สตรีท 2012” (High Street 2012) คือโครงการพัฒนาถนนและ ปรับปรุงวิถีชีวิตชาวลอนดอนที่อาศัยอยู่ในอัลด์เกต (Aldgate) ย่านที่ เปรียบเหมือนประตูทางเข้าสู่ลอนดอน ไปจนถึงสนามกีฬาโอลิมปิก ที่ย่านสตาร์ตฟอร์ด (Stratford) ระหว่างเส้นทางนี้ผ่านย่านสำ�คัญๆ อย่าง ไวท์ชาเปล (Whitechapel) ไมล์ เอนด์ เวสต์ (Mile End Waste) โอเชียน กรีน (Ocean Green) และโบว (Bow) ด้วยการให้ความช่วยเหลือในเรื่อง การเปลี่ยนแปลงและฟื้นฟูพื้นที่ให้เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น เพื่อดึงดูดการ ลงทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อันประกอบไปด้วยการปรับปรุงเส้นทางเพื่อ รองรับทั้งผู้อยู่อาศัยและนักท่องเที่ยว การกระตุ้นระบบสิ่งแวดล้อมด้วย การเพิ่มพื้นที่สีเขียวทั้งบนทางเท้าและเลนจักรยาน การปรับปรุงระบบ การเดินทางให้มีการคมนาคมที่หมุนเวียนถึงกันอย่างสะดวก รวมถึงการ เปิดเผยคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่มีมายาวนานด้วยการ บูรณะอาคารเก่าและรักษาพื้นที่ทางประวัติศาสตร์โดยรอบ ทั้งนี้ ไฮ สตรีท 2012 นับเป็นส่วนหนึ่งของการร่วมมือกันระหว่าง 2 โครงการ คือ London’s Great Outdoors โครงการปรับปรุงพื้นที่ สาธารณะภายใต้การดูแลของนายกเทศมนตรี และ Mayor’s Great Spaces Initiative โครงการปลูกพื้นที่ศิลปะให้งอกเงยในทุกเขตพื้นที่ 34 l Creative Thailand l กรกฎาคม 2555

สาธารณะ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือจากองค์กรอิสระต่างๆ อีกหลาย หน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็น Design for London, English Heritage หรือ Transport for London ตัวอย่างการดำ�เนินงานของไฮ สตรีท 2012 เช่น การสร้างระบบไฟใหม่ทง้ั หมดในสถาปัตยกรรมเก่าแก่ยา่ นอัลด์เกต การวาง ตำ�แหน่งอนุสาวรีย์ชาฮีด มินาร์ (Shaheed Minar) ในสวนสาธารณะใหม่ เพื่อการเข้าถึงและดึงดูดความสนใจให้มีมากขึ้น การจัดแสดงผลงาน สิ่งประดิษฐ์ที่นักโบราณคดีค้นพบในสวนสาธารณะอัลเทบ อาลี (Altab Ali Park) และการจัดแสดงนิทรรศการประวัติศาสตร์ของพื้นที่แบบหลาย ภาษาเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวหลากเชื้อชาติ เป็นต้น “เป็นความเหมาะสมอย่างยิง่ ทีจ่ ะสร้างถนนซึง่ นำ�เราไปสูป่ ระวัติศาสตร์ หน้าใหม่ของลอนดอนในปี 2012” คำ�กล่าวของบอริส จอห์นสัน (Boris Johnson) นายกเทศมนตรีของกรุงลอนดอนคงจะไม่เป็นเรื่องเกินจริง ใน วันนี้ที่เราเห็นรูปร่างของความสำ�เร็จของโครงการไฮ สตรีท 2012 ปรากฏ อยู่ตรงหน้า แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ไฮ สตรีท 2012 มอบเป็นของขวัญให้ กรุงลอนดอนคงไม่ใช่คำ�ชื่นชมเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการพัฒนาที่มอบ ความสมบูรณ์ให้กับชุมชนอย่างยั่งยืนมากกว่า ที่มาและภาพ: highstreet2012.com


กรกฎาคม 2555 l Creative Thailand

l 35


“สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน” เรียนรูเพื่อความสุข บนความพอเพียง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.