“…เราพูดเสร็จ เขาก็บอกว า “ขอให พูดซ้ำอีกที”. เราก็พูดซ้ำอีกที. เขาก็นั่งเฉยไปอีก ก็หมายความว าต องการจะให อธิบายขยายความ. เราจึงอธิบายว า ในการกระทำใด ๆ ถ าเรายอมลงทุนลงแรงไปก็เหมือนเสียเปล า แต ในที่สุดเรากลับจะได รับผลดี ทั้งตรงข าม ทางอ อม. เรื่องนี้ตรงกับงานของรัฐบาลโดยแท . ถ าหากว าอยากให ประชาชนอยู ดีกินดี รัฐจะต องลงทุน ต องสร างโครงการซึ่งต องใช เงินจำนวนเป นร อยเป นพันเป นหมื่นล าน. ถ าทำไปก็เป น “loss” เป นการเสีย เป นการขาดทุน เป นการจ าย คือ รัฐบาลต องตั้งงบประมาณรายจ าย ซึ่งมาจากเงินของประชาชน. แต ว าถ าโครงการดี ในไม ช าประชาชนก็จะได กำไร จะได ผล. ราษฎรจะอยู ดีกินดีขึ้น จะได ประโยชน ไป ส วนรัฐบาลไม ได อะไร. แต ข อนี้ถ าดูให ดี ๆ จะเห็นว าถ าราษฎรอยู ดีกินดี มีรายได รัฐบาลก็เก็บภาษีได สะดวก ไม มีการหนีภาษี เพราะเมื่อมีรายได ดีขึ้น เขาก็สามารถเสียภาษีได มากขึ้น…” พระราชดำรัส พระราชทานแก คณะบุคคลต าง ๆ ที่เข าเฝ าฯ ถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต วันพุธ ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔
ทรงพระเจริญ ด วยเกล าด วยกระหม อมขอเดชะ ข าพระพุทธเจ า นิตยสาร Creative Thailand
ANYTIME WE CONSIDER ANYTHING LESS THAN EVERYTHING, WE ARE MISSING SOMETHING.
เมื่อใดที่เราไม่คิดให้รอบด้าน เรากำ�ลังพลาดบางอย่างไป New Kind of Design
CONTENTS สารบัญ
6
8
Innovation/ Community/ Health
Crowdfunding ใหมวลชนเปนผูตัดสิน…
Insight
20
Creative Resource
Creative Entrepreneur
22
Creative City
24
The Creative
28
Creative Will
34
The Subject
Featured Book/ Book/ Magazine/ Movie
10
Matter
12
Classic Item
Afterword พลังแหงการระดมทุนทำหนังสือยุค 2.0
Flexible Packaging แนวโนมนวัตกรรมบรรจุภัณฑแหงอนาคต
เว็บบอรด…นวัตกรรมแหงการปลดปลอยและตอยอด
Copenhagen: Better Access, Better Living
กระทิง - เรืองโรจน พูนผล: Anyone Can Change the World
14
Cover Story
Freedom for Everyone อิ่มทอง เปลงเสียง อยูรวมกัน เสรีภาพและขอจำกัด
Fresh Kills Park: Lifescape
บรรณาธิการอำนวยการ l อภิสทิ ธิ์ ไลสตั รูไกล ทีป่ รึกษา l ชมพูนทุ วีรกิตติ, พิชติ วีรงั คบุตร, ยิง่ ลักษณ สุนศิ ารัตน, จรินทรทพิ ย ลียะวณิช บรรณาธิการบริหาร l ศุภมาศ พะหุโล ผูชวยบรรณาธิการ l พัชรินทร พัฒนาบุญไพบูลย กองบรรณาธิการ l ศิริอร หริ่มปราณี, มนฑิณี ยงวิกุล, เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร, กริยา บิลยะลา, ปยวรรณ กลิ่นศรีสุข, นันทนรี พานิชกุล เลขากองบรรณาธิการ l วรรณเพ็ญ บุ ญเพ็ญ บรรณาธิการศิลปกรรม l พจน องคทวีเกียรติ ศิลปกรรม l พัชราภรณ เตชะเลิศไพศาล, เบญจวรรณ แดงบุบผา สมาชิกสัมพันธ l ปยะพร สวัสดิ์สิงห ประสานงานกองบรรณาธิการ l ณัฏฐนิช ตัณมานะศิริ จัดทำโดย l ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (TCDC) ชั้น 24 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอร 622 สุขุมวิท 24 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 02 664 7667 แฟกซ. 02 664 7670 ติดตอลงโฆษณาไดที่ creativethailand@tcdc.or.th พิมพที่ l บริษัท ทูโฟร พริ้นติ้ง จำกัด โทร. 02 416 7300 แฟกซ. 02 416 7320 จำนวน 30,000 เลม นิตยสารฉบับนี้ใชหมึกพิมพจากน้ำมันถั่วเหลืองที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ ทั้งยังเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และใชกระดาษรีไซเคิล ซึ่งเปนผลผลิตของผูประกอบการไทย จัดทำภายใตโครงการ “Creative Thailand สรางเศรษฐกิจไทยดวยความคิดสรางสรรค” โดยศูนยสรางสรรคงานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) ซึ่งมีเปาหมาย ในการเผยแพรความรูเกี่ยวกับเศรษฐกิจสรางสรรค (Creative Economy) และผลักดันการใชความคิดสรางสรรค ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย สามารถดูสถานที่จัดวางทั้งหมดไดที่ creativethailand.org อนุญาตใหใชไดตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
EDITOR'S NOTE บทบรรณาธิการ
Everywhere is Design ต้องขอบคุณอัจฉริยภาพของคนเราที่พยายามค้นหาหนทาง และเครื่องมือที่จะน�ำสังคมไปสู่ความสมบูรณ์แบบตามอุดมคติ ทั้งความสุข ความมั่งคั่ง หรือความปลอดภัย บางครั้งเครื่องมือ นั้นก็ส่งผลในวงแคบๆ ในระยะเวลาอันสั้น แต่บางครั้งก็ส่งผล ระยะยาวทีท่ ำ� ให้ผคู้ นหรือสังคมได้รสู้ กึ ใกล้เคียงกับสภาวะจ�ำลอง ของความสมบูรณ์แบบ ผลงานออกแบบจึงถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ เป็นเครือ่ งมือหลากรูปแบบผ่านการปรับเปลีย่ น พัฒนา หรือละทิ้ง ตามยุ ค สมั ย ที่ ไ ม่ ใ ช่ ใ นเชิ ง ของสินค้าอุตสาหกรรมเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการคิดค้นบริการสาธารณะ การบริหารจัดการ สินทรัพย์ กระทั่งการบริหารความรู้สึกของสังคมที่สามารถออกแบบให้เกิดความรู้สึกหลอมรวมหรือแบ่งแยกด้วยซ�้ำไป ตัวอย่างของวิธคี ดิ เล็กๆ ทีบ่ ริหารสินทรัพย์ระดับโลกให้มาสูค่ วามอิม่ เอิบของผูค้ นทัว่ ๆ ไป คือโครงการ “อาร์ต เอเวอรีแ่ วร์ (Art Everywhere)” ที่เกิดจากความพยายามของริชาร์ด รีด (Richard Reed) นักธุรกิจผู้ก่อตั้งแบรนด์เครื่องดื่มสุขภาพ อินโนเซนต์ ซึ่งความคิดนี้เกิดขึ้นระหว่างที่เขาเดินไปท�ำงาน และเห็นป้ายโฆษณามากมายบนท้องถนน เขาสังเกตว่า ผู้คนล้วนใช้เวลาบนถนน รถเมล์ หรือรถไฟใต้ดิน แต่กลับไร้ช่วงเวลาสักเล็กน้อยที่จะได้ผ่อนคลาย หรือหลบหลีกจาก โฆษณาที่ประดังเข้ามาในสายตา ริชาร์ดจึงได้เริ่มติดต่อกับพิพิธภัณฑ์ทั่วลอนดอนเพื่อขออนุญาตคัดลอกงานศิลปะ ส�ำหรับมาจัดแสดงแทนสื่อโฆษณาต่างๆ ทั้งในรูปแบบของบิลบอร์ดและสื่อดิจิทัล และเพื่อให้ได้พื้นที่ของป้ายโฆษณา เขาจึงเชิญสมาคมโฆษณาของลอนดอนให้เข้าร่วมโครงการ และสละพื้นที่โฆษณาคิดเป็นมูลค่ากว่า 3 ล้านปอนด์ ให้แทนที่ ด้วยภาพงานศิลป์เป็นเวลาสองสัปดาห์ ขั้นตอนการหาความร่วมมือเพื่อถ่ายโอนประสบการณ์งานศิลป์สู่ท้องถนน ไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่ท�ำให้โครงการนี้ น่าประทับใจ โครงการยังเปิดให้มีการโหวตงานศิลป์ที่ประชาชนต้องการชื่นชมมากที่สุด ซึ่งปรากฏว่ามีคนโหวตราว 40,000 คนเพื่ อ เลื อ กงานมาสเตอร์ พี ซ 57 ชิ้ น ให้ ม าแสดงบนป้ า ยทั่ ว เกาะอั ง กฤษ 22,000 ป้ า ย ในจ� ำ นวนนั้ น เป็นป้ายบนรถบัส 2,000 ป้าย และกว่า 1,000 ป้ายติดตั้งไว้ในรถแท็กซี่ที่วิ่งอยู่รอบเมืองลอนดอน The Guardian หนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของอังกฤษยกย่องว่า นี่คือการทวงคืนพื้นที่ของงานศิลป์บนท้องถนน นับจากครั้งแรกที่จิตรกร แนวอิ ม เพรสชั่นนิสม์ค นส�ำคัญอย่า ง อองรี เดอ ตู ลู ส -โลแตร็ ก (Henri de Toulouse-Lautrec) ถู ก ว่ าจ้ างโดย มูแลง รูจ ให้ออกแบบโปสเตอร์เพื่อโปรโมตโบฮีเมียนไนต์คลับแห่งนี้ที่กรุงปารีสในศตวรรษที่ 19 เพราะหลังจากนั้น การโฆษณาสินค้าเชิงพาณิชย์ก็กลืนกินความงามจากงานศิลป์ไป ขณะที่ในวันเปิดงาน เซอร์ ปีเตอร์ เบลก (Sir Peter Blake) ศิลปินผู้บุกเบิกป็อปอาร์ต ได้กล่าวอย่างติดตลกว่า นี่เป็นการเปิดนิทรรศการภาพที่แปลกมากส�ำหรับเขา เพราะ มันเกิดขึน้ บนถนนและช็อปปิง้ มอลล์ แต่กลับเป็นนิทรรศการศิลปะทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ เท่าทีเ่ ขาเคยมีสว่ นร่วม และเขายังมองว่า นี่คือนิทรรศการที่ทุกคนได้เป็นภัณฑารักษ์เลือกสุดยอดงานศิลป์ขึ้นมาและจัดแสดงมันให้ทุกคนได้ชื่นชมอย่างใกล้ชิด ในโลกของสินค้าและบริการ การรังสรรค์ความงามหรือประโยชน์ใช้สอยดูจะเป็นเรื่องพื้นฐานของการออกแบบและ สร้างสรรค์ไปแล้ว แต่โลกขององค์ความรู้ด้านการออกแบบนั้นก็ไม่พอใจที่จะหยุดนิ่ง และได้ขยายภาพของวิธีคิดให้คมชัด และกว้างขวางเพื่อให้คุณค่าของเนื้อแท้แห่งการออกแบบยังคงมีตัวตนที่ส�ำคัญในสังคมต่อไป นั่นคือไม่ได้ส่งผลกระทบแค่ ต่อความรู้สึก การใช้ชีวิต หรือมูลค่าทางธุรกิจ แต่ต้องก่อให้เกิดแรงสะเทือน จนถึงเกิดความเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ผลงาน นั้นมีชีวิตอยู่ได้ยืนยาว และพิสูจน์ว่ามีคุณค่าพอที่จะเป็นส่วนหนึ่งของผู้คนและสังคมได้จริงๆ
ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l5
THE SUBJECT ลงมือคิด
เรื่อง: วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ
Innovation
plantagon.com
betterblock.org
Community
Plantagon อาคารลํ้า เลี้ยงเมือง ภายในปี 2050 นักวิทยาศาสตร์ของนาซา คาดการณ์วา่ ประชากรจะเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 40 นัน่ หมายความว่าจะมีคนบนโลกถึง 9 พันล้านคน และร้อยละ 80 จะย้ายเข้ามาอาศัยอยู่ในเมือง สิ่งนี้เองเป็นหนึ่งในสาเหตุให้โลกผลิตอาหาร ได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการ "แพลนตากอน" บริษทั นวัตกรรมแห่งสวีเดนจึงเสนอตัวสร้างโมเดล ต้นแบบการท�ำเกษตรกรรมในเมืองที่ใช้พื้นที่ น้อยลงแต่ได้ผลผลิตเพียงพอต่อคนในเขตเมือง แพลนตากอนเริ่ ม พั ฒ นาโปรเจ็ ก ต์ แ รก เมื่อปี 2012 ที่เมืองลินโชปิง (Linköping) โดยน�ำเทคโนโลยีที่สามารถเปลี่ยนความร้อน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากอุตสาหกรรม ภายในเมื อ งมาหมุ น เวี ย นใช้ เ พาะปลู ก พื ช ในอาคารเรือนกระจกแบบแนวดิง่ ซึง่ ได้คำ� นวณ ทิศทางและองศาตกกระทบของแสงอาทิตย์เพือ่ ควบคุมธรรมชาติให้เหมาะสมในแต่ละฤดูกาล โดมกระจกที่ แ ข็ ง แรงยั ง เพิ่ ม ความมั่ น ใจได้ ว่าผลผลิตจะปลอดภัยจากอุทกภัยและพายุ เฮอร์ริเคน นอกจากนี้ยังปลูกผลผลิตด้วยระบบ 6l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
ไฮโดรโปนิกส์และเลือกใช้พที มอส (Peat Moss) แทนดินเพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อโรค เพราะ เชื้อโรคทางการเกษตรไม่สามารถอาศัยอยู่ที่ พีทมอสได้รวมทัง้ ใช้ระบบไฮโดรโปนิกส์ แพลน ตากอนยังมีระบบจัดการของเสียจากการผลิต ให้กลายเป็นก๊าซชีวภาพและปุ๋ยเพื่อน�ำกลับมา ใช้ต่อได้อีกด้วย ปัจจุบันแพลนตากอนตั้งศูนย์อยู่ 5 แห่ง ทัว่ โลก ได้แก่ สตอกโฮล์ม เซีย่ งไฮ้ มุมไบ สิงคโปร์ และแถบอเมริกาตอนเหนือ พร้อมทัง้ เปิดเว็บไซต์ ให้ค�ำปรึกษาและเป็นแหล่งข้อมูลออนไลน์ให้ คนทั่วโลกสามารถเข้าถึงการท�ำการเกษตรใน เมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ได้มุ่งหวัง แค่ผลิตอาหารให้เพียงพอส�ำหรับประชากรที่ เพิม่ ขึน้ เท่านัน้ แต่ยงั มองไปถึงเรือ่ งโมเดลธุรกิจ อาหารแบบใหม่เอื้อให้ทุกคนในเมืองสามารถ จับจ่ายพืชผักสดสะอาดได้ในราคาที่ถูกลง ที่มา: plantagon.com, บทความ “Clever greenhouses for urban farming” จาก handelskammer.se, วิดีโอ “Earth Focus: Plantagon: The Future of Urban Food” จาก linktv.org และ วิกิพีเดีย
Better Block ถนนสร้างเศรษฐกิจ เพราะการได้ไปเที่ยวยุโรปเมื่อประมาณ 10 ปี ที่แล้ว ท�ำให้เจสัน โรเบิร์ตส์ (Jason Roberts) ได้ไอเดียในการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะ ไม่ว่า จะเป็ น ลานน�้ ำ พุ ใ นอิ ต าลี ซึ่ ง รายรอบไปด้ ว ย คนรุ่นปู่ย่าไปจนถึงบรรดาหลานๆ ที่ออกมา ท�ำกิจกรรมร่วมกัน หรือถนนในเมืองเก่าของ ประเทศแถบสแกนดิเนเวียทีม่ ที างให้ปน่ั จักรยาน รวมทั้งมีร้านค้าตลอดสองข้างทางจนเกิดเป็น คอมมูนิตี้เล็กๆ ด้วยแรงบันดาลใจนี้เอง เขาจึง รวบรวมคนในชุมชนโอ๊กคลิฟฟ์ (Oak Cliff) ให้ช่วยกันแปลงถนนสายเก่าที่เขาอาศัยในเมือง
THE SUBJECT ลงมือคิด
ดัลลัส รัฐเทกซัส ให้เป็นได้มากกว่าถนนเพื่อ รถยนต์ แต่เป็นถนนเพื่อทุกคน โดยการเพ้นท์สี ถนนเพือ่ สร้างทางจักรยาน ปลูกสวนเล็กๆ ริมทาง และจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้ผู้คนได้เข้าร่วม เช่น แสดงดนตรีสด จัดโชว์ผลงานศิลปะ ตลอด จนตั้งร้านค้าเล็กๆ ให้เกิดเป็นธุรกิจในชุมชน และตั้งชื่อโปรเจ็กต์นี้ว่า “Better Block” จนเกิด ปรากฏการณ์การแชร์พื้นที่สาธารณะขึ้น ด้วยกระแสตอบรับที่ดี เจสันจึงตัดสินใจ เปิดเว็บไซต์ betterblock.org ขึ้นเพื่อเป็น แหล่งข้อมูลและโมเดลต้นแบบให้แก่ชุมชน อื่ น ๆ ทั่ ว โลก ตั้ ง แต่ ป ี 2010 ถึ ง ปั จ จุ บั น มี Better Block เกิดขึ้นทั่วสหรัฐฯ แคนาดา และ ออสเตรเลียแล้วกว่า 82 โปรเจ็กต์ และในปี 2014 นี้ Better Block ได้รีฟ อร์มตัวเองใหม่ เป็น Better Block PDX โดยเปิดสองโปรเจ็กต์ ล่ า สุ ด เมื่ อ ตุ ล าคมที่ ผ ่ า นมาที่ ถ นน SW 3 rd Avenue และ SE Clinton & 26th Avenue ณ เมืองพอร์ตแลนด์ โดยสิ่งที่เพิ่มเข้ามาใหม่คือ ป็อปอัพ พลาซ่า รวมทั้งการจัดท�ำทางเดินเท้า ให้ เ น้ น ผ่ า นย่ า นธุ ร กิ จ ส� ำ คั ญ ๆ แทนการใช้ รถยนต์ ทั้งสองสิ่งนี้จะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ในชุมชนให้คึกคักยิ่งขึ้น เจสันให้หลักในการเริม่ ต้นสร้าง Better Block ไว้ว่า “ผมก็ไม่ได้ถนัดในการเป็นผู้น�ำ แต่นี่เป็น สิ่งที่ผมบอกกับผู้คนตลอดเวลาว่าถ้าหากคุณมี แพสชั่นในสิ่งใดก็ตาม คุณอาจต้องเป็นผู้น�ำใน เรือ่ งนัน้ ก่อนเพือ่ ให้ผคู้ นได้รบั รูแ้ ละใช้ประโยชน์ จากแพสชั่นของคุณได้ในวงกว้าง หากน�ำข้อ ได้เปรียบนี้มาใช้ สุดท้ายมันจะเกิดผลเอง”
ที่มา: betterblock.org, betterblockpdx.org และ วิดีโอ “How to build a better block: Jason Roberts” จาก youtube.com
thiscityisgoingonadiet.com
Health
This City is Going on a Diet เมืองนี้ไม่อ้วน “เมืองนี้จะลดน�้ำหนัก และเราจะลดน�้ำหนัก ให้ได้หนึ่งล้านปอนด์” เป็นค�ำประกาศของมิค คอร์เนตต์ (Mick Cornett) นายกเทศมนตรี เมืองโอคลาโฮมาซิตี้ ที่ทนไม่ได้เรื่องเมืองของ เขาติดโพลอันดับ 8 เป็นเมืองที่อ้วนที่สุดใน ประเทศจากนิตยสาร Men’s Fitness ประจ�ำ ปี 2007 มิคจึงตัดสินใจตั้งโครงการ “This City is Going on a Diet” รวมทั้งจัดท�ำเว็บไซต์ thiscityisgoingonadiet.com เพื่ อ ให้ ค น ในเมืองเข้ามาลงทะเบียนออนไลน์ศึกษาข้อมูล การลดน�้ำหนักที่ถูกต้องและติดตามผลความ ก้าวหน้าในการลดน�ำ้ หนักของคนทัง้ เมือง มิ ค ใช้ แ ผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ที่ ชื่ อ ว่ า “แมพส์ 3 (MAPS 3)” ซึ่งน�ำเงินที่ได้จากการ หั ก ค่ า ภาษี ก ารค้ า หนึ่ ง เซ็ น ต์ ต ลอดปี 2010 ถึงปี 2017 มาเพิ่ มแผนการส่ ง เสริ มสุ ขภาพ รวมถึงใช้ช่วยเรื่องการลดน�้ำหนักเมืองในครั้ง นี้ด้วย โดยแมพส์ 3 นี้จะช่วยให้ชาวเมืองได้ ปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตแบบเดิมๆ ที่ เสี่ยงต่อการเป็นโรคอ้วนสู่วิถีชีวิตแบบใหม่ที่ ใส่ใจสุขภาพยิง่ ขึน้ เช่น การสร้างสวนสาธารณะ รวมทั้งศูนย์ออกก�ำลังกายให้กระจายทั่วทุก
มุมเมือง การสนับสนุนให้ใช้การเดินและปั่น จักรยานแทนการใช้รถยนต์ ส่งเสริมให้ทุกร้าน อาหารมีเมนูเพื่อสุขภาพแทนอาหารฟาสต์ฟู้ด การท�ำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยการรวมกลุม่ ต่างๆ ได้แก่ กลุ่มเพื่อนบ้านละแวกเดียวกันให้ นัดมาเดินออกก�ำลังกายด้วยกัน หรือกลุ่มที่อยู่ ในบริษัทเดียวกันให้นัดกินอาหารสุขภาพและมี เวลาพักเพื่อออกมาเดิน 15 นาทีก่อนกลับขึ้น ไปท�ำงาน รวมถึงการจัดแข่งขันวิง่ แข่งเพือ่ ต่อสู้ โรคอ้วน เป็นต้น ผลที่ ไ ด้ คื อ ในปี 2012 ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มลง ทะเบียนออนไลน์ราว 47,000 คนลดน�้ำหนัก รวมกั น ได้ ห นึ่ ง ล้ า นปอนด์ เ ป็ น ผลส� ำ เร็ จ และในปีเดียวกันนิตยสารเดิมที่เคยจัดอันดับ ว่าเมืองนี้เป็นเมืองที่อ้วนที่สุดเป็นอันดับที่ 8 กลับจัดอันดับให้เมืองนี้เป็นเมืองที่มีสุขภาพดี ที่สุดเป็นอันดับที่ 22 ในสหรัฐฯ ที่มา: บทความ “The city that shed a million pounds” โดย Ben Paynter (23 สิงหาคม 2012) จาก businessweek.com, วิ ด ี โ อ “Mick Cornett: How an obese town lost a million pounds” จาก youtube.com, okc.gov และ thiscityisgoingonadiet.com ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l7
CREATIVE RESOURCE วัตถุดิบทางความคิด
FEATURED BOOK FREE: THE FUTURE OF A RADICAL PRICE โดย Chris Anderson
พบกับวัตถุดิบทางความคิดเหล่านี้ได้ที่ TCDC Resource Center
8l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
เรื่อง: เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร และ กริยา บิลยะลา
ปรมาจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์โลก มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) ได้เคยกล่าววลีอมตะที่เราต่างจ�ำขึ้นใจว่า “There ain't no such thing as a free lunch” หรือ “ในโลกนี้ไม่มีอะไรที่ฟรีจริงๆ หรอก” แต่ คริส แอนเดอร์สัน ผู้แต่งหนังสือเล่มนี้กลับบอกว่า “The best thing in life is free” หรือ “ไม่มีอะไรดีไปกว่าของฟรีอีกแล้ว” ในระบบการซื้อขายแลกเปลี่ยน ราคามักเป็นก�ำแพงกั้นการเข้าถึง สินค้าและบริการระหว่างคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน แต่เมื่อ เทคโนโลยีเจริญมากยิ่งขึ้น ท�ำให้ต้นทุนการผลิตลดลง เกิดการแข่งขัน มากขึน้ ส่งผลให้ราคาสินค้ามีแนวโน้มลดต�ำ่ ลง ธุรกิจทีไ่ ม่สามารถปรับตัว ได้ทันก็จะเสียเปรียบในที่สุด ซึ่งในมุมของผู้บริโภค การแข่งขันด้าน คุณภาพและราคาเช่นนี้กลับเป็นเรื่องดี และจะดียิ่งขึ้นไปอีก ถ้าไม่ต้อง จ่ายเงินเลยสักบาท ใช่ เราทุกคนชอบของฟรี ในอดีตการให้อะไรฟรีๆ นั้นหมายถึงเราอาจต้องจ่ายอะไรบางอย่าง เพื่อให้ได้มาซึ่งของที่แจกฟรี นั้น เช่นการลดแลกแจกแถมที่เราคุ้นเคยกันดี แต่ปัจจุบัน โมเดลของการ ให้ฟรีนนั้ น่าสนใจอย่างยิง่ ท�ำไมธุรกิจจ�ำนวนมากถึงได้ให้เราใช้บริการทีม่ ี คุณภาพนั้นฟรีๆ กูเกิล เฟซบุ๊ก ไลน์ หรือยูทูป รวมไปจนถึงตั๋วเครื่องบิน ราคา 0 บาท กลายเป็นสิ่งที่พบเห็นอยู่เป็นประจ�ำ ซึ่งช่วยเพิ่มขอบเขต และลดช่องว่างการเข้าถึงสินค้าและบริการได้มากยิ่งขึ้น คริสได้สรุปปรากฏการณ์ที่บรรดาธุรกิจสมัยใหม่ต่างเปิดให้ใช้สินค้า และบริการของตนโดยไม่มีค่าใช้จ่าย ออกเป็น 4 แนวทาง 1. เป็นวิธีการดั้งเดิมที่ธุรกิจใช้อยู่เป็นประจ�ำ คือการน�ำต้นทุนของ สินค้าหนึ่งไปฝากไว้กับสินค้าอีกอย่างหนึ่ง (Direct Cross-Subsidies) เช่น แจกโทรศัพท์ฟรีแต่ต้องท�ำสัญญาจ่ายค่าบริการ หรือฟรีอาหารและ เครื่องดื่มเมื่อซื้อบัตรชมการแสดง เป็นต้น 2. ระบบตลาด 3 ฝ่าย (The Three-Party Market) คือการทีธ่ รุ กิจหนึง่ ให้สนิ ค้าและบริการต่อผูบ้ ริโภคฟรีๆ โดยทีอ่ กี ธุรกิจหนึง่ เป็นผูจ้ า่ ย รูปแบบนี้ เราเห็นได้มากกับผูใ้ ห้บริการเนือ้ หา เช่น เราใช้ยทู ปู ได้ฟรี เพราะมีคนจ่าย โฆษณา หรือกลุ่มนิตยสารแจกฟรีที่มีอยู่มากมาย 3. ฟรีเมียม (Freemium) เป็นการทดลองให้ใช้แบบมีข้อจ�ำกัดหรือให้ ใช้ในรูปแบบพืน้ ฐานก่อน ซึง่ หากต้องการใช้มากขึน้ ก็อาจต้องจ่ายเงินเพิม่ ต่อไป ยิ่งจ่ายแพงมากก็ยิ่งได้บริการที่มีคุณภาพมากขึ้น โดยรูปแบบนี้เรา จะพบมากในการให้บริการออนไลน์และเกมออนไลน์ในปัจจุบัน 4. การให้ฟรีโดยไม่หวังผลในรูปแบบตัวเงิน (Non Monetary Market) คือการที่ธุรกิจให้ใช้สินค้าและบริการฟรี เพื่อช่วยให้สังคมดีขึ้น หรือเพียง เพื่อได้รับชื่อเสียงและฐานลูกค้าในอนาคตที่เหนียวแน่น หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในหนังสือเล่มแรกๆ ที่ควรอ่าน หากจะเริ่มต้น ธุรกิจในปัจจุบัน เพราะบางครั้งรูปแบบธุรกิจและโครงสร้างรายได้อาจ ไม่ใช่สิ่งที่ตรงไปตรงมา และนั่นอาจช่วยให้ขยายฐานลูกค้าจากเดิมไปได้ มากอย่างที่ไม่เคยนึกถึง
BOOK
THE FORTUNE AT THE BOTTOM OF THE PYRAMID โดย C. K. Prahalad
MAGAZINE
VIEWPOINT บรรณาธิการ Kate Franklin และ Caroline Till
MOVIE
CREATIVE RESOURCE วัตถุดิบทางความคิด
VERONICA MARS กำ�กับโดย Rob Thomas
โลกนี้มีคนรวยอยู่แค่เพียงร้อยละ 10 ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีตัวเลือกมากมายในการใช้ชีวิต แต่สำ�หรับ คนอีกราวร้อยละ 90 บางกลุ่มมีตัวเลือกน้อยมากในสินค้าและบริการที่ควรจะได้รับ โดยเฉพาะ คนระดับล่างซึ่งมีจำ�นวนเกินกว่าครึ่งหนึ่งของสังคม หรือกว่า 4 พันล้านคนทั่วโลก เรามองเห็น โอกาสอะไรจากจำ�นวนประชากรในกลุ่มนี้บ้าง เป็นคำ�ถามที่ธุรกิจจำ�นวนมากเริ่มให้ความสนใจ ตลาดฐานปิรามิดหรือตลาดคนระดับล่างกลายเป็นความท้าทายใหม่ เพราะนั่นหมายถึงต้องใช้ เทคโนโลยีและความเข้าใจตลาดอย่างมาก เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและต้นทุนให้สามารถเข้าถึง คนกลุ่มนี้ได้ ถ้าต้องการสร้างธุรกิจที่จะเปลี่ยนแปลงโลกนี้อย่างแท้จริง ก็ไม่ควรพลาดงานเขียน ระดับตำ�ราอ้างอิงเล่มนี้
นิตยสารด้านการคาดการณ์แนวโน้มเทรนด์ประจำ�ฤดูหนาว 2014 นำ�เสนอบทความขนาดสั้น “The Big Idea” สะท้อนมุมมองที่น่าสนใจในแวดวงธุรกิจสร้างสรรค์ โดยหยิบหัวข้อ Open-source Micro Factories เพื่อชูประเด็นความนิยมในการสร้างผลงานร่วมกันของเหล่านักออกแบบยุคใหม่ ที่ใช้ช่องทางออนไลน์ช่วยกระตุ้นการสร้างเครือข่ายการผลิต โดยดีไซเนอร์ทำ�หน้าที่ไม่ต่างจาก โอเพนซอร์ซชัน้ ดี ในการเปิดโอกาสให้คนหมูม่ ากสามารถดาวน์โหลดข้อมูลการออกแบบอย่างถูกต้อง เพื่อไปใช้ประกอบผลงานด้วยตัวเอง ตัวอย่างเช่น โปรเจ็กต์ “The Precious Plastic” โดย เดฟ แฮกเกนส์ (Dave Hakkens) ที่ออกแบบเซ็ตอุปกรณ์โอเพนซอร์ซซึ่งสามารถทำ�เองได้เพื่อ รีไซเคิลพลาสติกให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ นับเป็นการย่อขนาดอุตสาหกรรมการผลิตที่มีขนาดใหญ่ให้ เล็กลงเหลือเพียงห้องเวิร์กช็อป และยังเป็นหนทางในการมองหาความแตกต่างระหว่างบุคคลและ ท้องถิ่น เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สากลร่วมกันที่อาจมีที่มาจากเพียงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเท่านั้น
กระแสการระดมทุนจากมวลชนผ่าน kickstarter.com กลายเป็นแหล่งรวมตัวของไอเดียที่สามารถ ดำ�เนินการต่อได้ดว้ ยแรงสนับสนุนของผูค้ นทีม่ แี นวทางเดียวกัน และไม่เพียงโปรเจ็กต์ดา้ นผลิตภัณฑ์ หรือการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ เพราะแม้กระทั่งซีรีย์นักสืบวัยรุ่นยอดนิยมอย่าง Veronica Mars ซึ่งเคยแพร่ภาพทางช่อง UPN และ The CW ในสหรัฐฯ ระหว่างปี 2004-2007 ก็ได้รับ การโหวตจากแฟนนับแสน อีเมลหลายหมื่นฉบับ และเงินสนับสนุนกว่า 5.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายใต้แคมเปญ “Most-backed” นับเป็นปรากฏการณ์ใหม่สำ�หรับวงการภาพยนตร์ฮอลลีวูด ที่แฟนภาพยนตร์มีสิทธิ์มีเสียงในการชุบชีวิตภาพยนตร์เรื่องโปรด แม้ทางผู้ผลิตจากค่ายใหญ่อาจ ไม่พร้อมที่จะลงทุนด้วยตัวเอง โดยในเวลาเดียวกันยังเป็นการวัดเสียงตอบรับของผู้คนจำ�นวนมาก ในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งอาจเป็นทางเลือกใหม่สำ�หรับผู้ผลิตภาพยนตร์ทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ ที่ยังคงมีฐานผู้ชมเหนียวแน่นและต้องการพื้นที่ในการกลับคืนสู่จอ ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l9
MATTER วัสดุต้นคิด
เรื่อง: ชมพูนุท วีรกิตติ และ ปิยวรรณ กลิ่นศรีสุข
แรงขับเคลือ่ นในการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์สำ� หรับสินค้าอุปโภคบริโภคเกิดขึน้ ด้วยหลายปัจจัย ทั้งจากผู้ผลิตที่ต้องการเพิ่มอายุสินค้าบนชั้นวาง การลด น�ำ้ หนักหีบห่อเพือ่ การขนส่งทีส่ ะดวกและประหยัด รวมถึงข้อกฎหมายด้าน สิ่งแวดล้อมในแต่ละประเทศ ซึ่งความต้องการเหล่านี้ได้รับการตอบโจทย์ ไปทีละขั้นด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทันสมัย และหนึ่งในนั้นก็คือ “Flexible Packaging” หรือ “บรรจุภัณฑ์อ่อนตัว” ในประเทศญีป่ นุ่ การใช้บรรจุภณั ฑ์ออ่ นตัวในกลุม่ สินค้าอุปโภคบริโภค นัน้ ก�ำลังเป็นทีน่ ยิ มอย่างสูง ซึง่ บรรจุภณั ฑ์ออ่ นตัวส่วนใหญ่นนั้ จะขึน้ รูปจาก ฟิล์มหลายชนิดจนได้ถุงที่มีความแข็งแรง ทนต่อความร้อน และความดัน สูงได้ ทั้งยังสามารถพิมพ์ลวดลายกราฟิกลงบนบรรจุภัณฑ์ เมื่อผนวกกับ จุดเด่นในการลดน�ำ้ หนักบรรจุภณั ฑ์ได้ ก็ยงิ่ ช่วยแก้ปญั หาเรือ่ งการจ่ายภาษี ตามน�ำ้ หนักของบรรจุภณั ฑ์ ทัง้ ยังช่วยลดปริมาณการใช้วสั ดุและพลังงาน ในกระบวนการผลิต ประหยัดค่าขนส่งและพื้นที่ ตลอดจนห่อหุ้มสินค้า ไม่ให้แตกหักง่าย บริษทั ชัน้ น�ำด้านบรรจุภณั ฑ์ในญีป่ นุ่ อาทิ Toppan Printing Co., Ltd. ได้พัฒนาทั้งวัสดุโพลิเมอร์และโครงสร้างฟิล์มอย่างต่อเนื่อง เพื่อน�ำไป ใช้ทดแทนบรรจุภัณฑ์คงรูปต่างๆ เช่น กระป๋องอะลูมิเนียม ขวดแก้ว ขวด
10 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
พลาสติกคงรูป ยกตัวอย่างถุงตัง้ ได้ทขี่ นึ้ รูปด้วยการอัดรีดร่วม (Co-Extrude) จากโพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง (HDPE) และโพลีเอทิลีนความหนาแน่น ต�่ำ (LLDPE) มาหลอมเหลวแล้วอัดรีดร่วมกันให้เป็นโครงสร้างวัสดุสามชั้น โดยชัน้ กลางเป็น HDPE ประกบผิวทัง้ สองด้านด้วย LLDPE จากนัน้ จึงน�ำไป ตัดและปิดขอบด้วยความร้อนให้เป็นรูปซองบรรจุภณั ฑ์ซึง่ น�ำไปรีไซเคิลได้ ทั้งยังทนต่อการเจาะทะลุ ต้านทานการซึมผ่านของความชื้นและไขมัน เพือ่ คงรสชาติและกลิน่ ของอาหารได้ดี หรือการคิดค้นบรรจุภณั ฑ์ในรูปแบบ Steam Release Packaging เพื่อบรรจุอาหารประเภทที่ต้องอุ่นด้วย ไมโครเวฟโดยไม่ต้องเจาะรูเพื่อให้ไอน�้ำระบายออกได้ โดยใช้หลักการ Hot Air Release บนซองบรรจุภณั ฑ์ โดยไอน�ำ้ และอากาศภายในทีข่ ยายตัว ในซองบรรจุภัณฑ์จะถูกระบายออกทางวาล์วแบบอัตโนมัติเมื่อความดัน ภายในและภายนอกซองต่างกัน สิ่งเหล่านี้ล้วนเน้นย�้ำการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ให้ความส�ำคัญเรื่อง การใช้งานของผู้บริโภค ควบคู่ไปกับการเลือกใช้นวัตกรรมวัสดุที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ทั้งยังปลอดภัยและเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคโดยตรง ที่มา: ampaconline.com, toppan.co.jp และ เอกสารประกอบการสัมมนา “Packaging Trend from Tokyo Pack 2014” โดย มยุรี ภาคล�ำเจียก และวรรณา สุทัศน์ ณ อยุธยา
หมดปญหาหยิบนิตยสารไมทัน สมัครสมาชิกรายป คาใชจายในการจัดสง 200 บาท (12 เลม) หรือสมัครออนไลนไดที่ tcdc.or.th/creative_thailand
Ultra Green™ TreeSaver™ (MC# 7255-01) Ultra Green Packaging, Inc.
เยือ่ กระดาษส�ำหรับใช้หล่อขึน้ รูป ผลิตจากฟางข้าวสาลีหรือ ไม้ไผ่ซึ่งเป็นเส้นใยจากธรรมชาติที่ปลูกทดแทนใหม่ได้ และ สารเติมแต่งที่ผ่านการรับรองจากส�ำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยาของสหรัฐอเมริกา พัฒนาขึน้ เพือ่ ทดแทนการใช้ พลาสติก โฟม หรืออะลูมิเนียมส�ำหรับผลิตวัสดุใช้แล้วทิ้ง มีคุณสมบัติต้านทานน�้ำมัน ทนความชื้น หมักเป็นปุ๋ยและ ย่อยสลายทางชีวภาพได้ สามารถน�ำเข้าไมโครเวฟหรือ เตาอบได้ทคี่ วามร้อนสูงถึง 400 Fํ ฝาปิดท�ำจากโพลีเอสเตอร์ รี ไ ซเคิ ล (PET) ใช้ สั ม ผั ส อาหารเหลวและอาหารมั น ได้ เหมาะส�ำหรับท�ำภาชนะอาหารและบรรจุภัณฑ์
ขอมูลผูสมัครสมาชิก สมาชิกใหม ชื่อ นามสกุล เพศ โทรศัพท
สมาชิกเกา (ตองการตออายุสมาชิก) หญิง อายุ
ชาย
อีเมล
โทรศัพทมือถือ
อาชีพ นักเรียน ครู/อาจารย
นิสิต/นักศึกษา พนักงานบริษัท
นักออกแบบ/ครีเอทีฟ ผูประกอบการ
อาชีพอิสระ อื่นๆ โปรดระบุ
ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ
สาขา/อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับอาชีพของทาน โฆษณา สถาปตยกรรม แฟชั่น ศิลปะการแสดง ดนตรี ภาพยนตร โทรทัศน/วิทยุการกระจายเสียง
ทองเที่ยว/โรงแรม/สายการบิน วรรณกรรม/การพิมพ/สื่อสิ่งพิมพ พิพิธภัณฑ/หองแสดงงาน ซอฟตแวร/แอนิเมชัน/วิดีโอเกม
หัตถกรรม/งานฝมือ การเงิน/ธนาคาร ทัศนศิลป/การถายภาพ อื่นๆ โปรดระบุ
อาหาร การแพทย การออกแบบ
คาปลีก/คาสง โทรคมนาคม
ที่อยูในการจัดสง หมูบาน/บริษัท เลขที่ จังหวัด
Chameleon™ (MC# 7279-01) Rollprint Packaging Products, Inc.
ฟิ ล์ม อั ด รี ด เคลื อ บผิ ว ที่เ กิ ด การเปลี่ย นสี ชัด เจนเมื่อ ฟิ ล์ม ถูกดึงแยกออกจากกัน กลไกที่ช่วยระบุความเสียหายหรือ ตรวจสอบการลักลอบเปิดผนึกบรรจุภณั ฑ์ ชัน้ ฟิลม์ ประกบนี้ ผลิตด้วยการอัดรีดร่วมแล้วเคลือบเพื่อใส่สีระหว่างชั้นก่อน นำ�ไปผนึกด้วยความร้อน ผลิตได้หน้ากว้างถึง 1.65 เมตร สามารถกำ�หนดตามต้องการ และปรับให้เหมาะกับอัตลักษณ์ และวั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการใช้ ต รวจสอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ นอกจากนี้ ยังสามารถนำ�ฟิล์มไปพิมพ์ด้วยกระบวนการ เฟล็กโซกราฟีเพื่อสร้างลักษณะพิเศษหรือทำ�ฉลากสินค้า หรือนำ�ไปผ่านการฆ่าเชือ้ โรคให้ได้คณุ สมบัตติ ามมาตรฐานห้อง ปลอดเชือ้ ISO Class 8 เหมาะใช้เป็นฟิลม์ ผนึกด้วยความร้อน บรรจุภัณฑ์สำ�หรับอุปกรณ์ทางการแพทย์และอาหาร พบกับวัสดุต้นคิดเหล่านี้ได้ที่ Material ConneXion® Bangkok, TCDC
ซอย
ถนน รหัสไปรษณีย
หนวยงาน/แผนก ตำบล/แขวง
อำเภอ/เขต
หนวยงาน/แผนก ตำบล/แขวง
อำเภอ/เขต
ที่อยูในการออกใบเสร็จ เหมือนที่อยูในการจัดสง หมูบาน/บริษัท เลขที่ ซอย จังหวัด
ถนน รหัสไปรษณีย
ตองการสมัครสมาชิกนิตยสาร Creative Thailand ระยะเวลา 1 ป จำนวน 12 เลม เริ่มตั้งแตฉบับเดือน โดยยินดีเสียคาใชจายในการจัดสงเปนจำนวนเงิน 200 บาท
วิธีการชำระเงิน เช็คสั่งจายศูนยสรางสรรคงานออกแบบ พรอมใบสมัครสมาชิก โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ เลขที่บัญชี 101-808967-0 ธนาคารกรุงเทพ สาขาสำนักงานใหญสีลม • แฟกซใบสมัครพรอมหลักฐานการโอนเงินมาที่ 02-664-7670 • หรือสงไปรษณียมาที่ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (Creative Thailand) 622 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอรชั้น 24 ถนนสุขุมวิท 24 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 • หรือแนบไฟลใบสมัครพรอมหลักฐานการโอนเงินมาที่อีเมล creativethailand@tcdc.or.th สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ 02-664-7667 ตอ 122
ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 11
CLASSIC ITEM คลาสสิก
Webboard
เรื่อง: มนฑิณี ยงวิกุล
Bulletin Board ถ้ า หากเสรี ภ าพในการแสดงออก (Freedom of expression) เป็นสิทธิ มนุ ษ ยชนขั้ น พื้ น ฐานประการหนึ่ ง ของสั ง คมประชาธิ ป ไตย คงไม่ มี นวั ต กรรมใดที่ ช ่ ว ยกระจายสิ ท ธิ์ ขั้นพื้นฐานนี้ได้ดีไปกว่าเว็บบอร์ด ที่ ทุ ก ล็ อ กอิ น มี สิ ท ธิ เ ท่ า เที ย มกั น ในการดาวน์ โ หลดและอั พ โหลด ภายใต้ ก ติ ก าที่ ต กลงร่ ว มกั น
ที่มา: บทความ “Gaia Online creators launch NSFW spinoff Tentacl” (2014) โดย Matt Kamen จาก wired.co.uk, บทความ “Side Effects may include enlarges profits” (2014) จาก นิตยสาร Bloomberg Businessweek, บทความ “What is netiquette?” (2012) โดย WebWise Team จาก bbc.co.uk, หนังสือ Knowledge Discovery Practices and Emerging Applications of Data Mining: Trends and New Domains โดย A.V.Senthil Kumar, gaiaonline.com, pbs.org, sunfull.or.kr และ วิกิพีเดีย
บูลเลติน บอร์ด แผ่นกระดานไม้ทสี่ ว่ นใหญ่ทำ�จากไม้กอ๊ กเพือ่ ให้ปกั หมุดข้อความได้สะดวก นั้น เคยเป็นช่องทางหลักสำ�หรับการส่งสารหรือแสดงความคิดเห็นสำ�หรับผู้ที่อาศัยอยู่ ในชุมชนนั้นๆ แต่เมื่อมีการพัฒนาระบบบีบีเอส (Bulletin Board System) กระดานข่าว ออนไลน์ หรือ เว็บบอร์ด จึงเข้ามาแทนที่บอร์ดไม้เพราะสามารถเปิดกว้างให้ผู้คนจาก ทัว่ โลกได้เข้ามาปักหมุดแสดงความคิดเห็น ติดตามข่าวสาร ตักตวงความรู้ และฟังความเห็น จากคนแปลกหน้า phpBB bbPress Vanilla Forums
phpBB, bbPress และ Vanilla Forums ล้วนเป็นซอฟต์แวร์เว็บบอร์ดยอดนิยม เพราะ ถูกออกแบบมาบนพื้นฐานของการใช้งานที่ง่ายทั้งสำ�หรับผู้ตั้งเว็บบอร์ด ผู้ตั้งกระทู้ และ ผู้เขียนคอมเมนต์ และยังให้ดาวน์โหลดมาใช้ฟรี จึงทำ�ให้พื้นที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็นนี้ ขยายตัวได้อย่างรวดเร็ว Shareware
Freeware
แชร์แวร์ หรือ ฟรีแวร์ เป็นคุณประโยชน์ทเี่ กิดจากเว็บบอร์ดในยุคต้น ทีเ่ หล่ากูรคู อมพิวเตอร์ ผู้พัฒนาโปรแกรมต่างๆ จะมาปล่อยของให้ได้ทดลองใช้กันฟรีๆ ก่อนที่ความก้าวหน้า ของอิ น เทอร์ เ น็ ต จะทำ�ให้ เ ว็ บ ไซต์ เ ข้ า มาเป็ น ช่ อ งทางหลั ก ที่ บ ริ ษั ท พั ฒ นาโปรแกรม คอมพิวเตอร์ให้ลูกค้ามาดาวน์โหลดสิ่งที่พัฒนาขึ้นใหม่ได้โดยตรง แสดงความคิดเห็น
ส่งข้อความ
12 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
CLASSIC ITEM คลาสสิก
กระทูท้ คี่ ณ ุ อาจสนใจ มือใหม่...ศึกษาก่อนโพส (ขอร้อง)
เมื่อการสื่อสารออนไลน์เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิต มารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต (Netiquette) จึงถูกบัญญัติขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการสื่อสาร และการใช้งานที่ถูกที่ควร อย่างเช่น การโพสข้อความให้ตรงกับหัวเรื่อง การให้เครดิตแหล่งที่มา พร้อมกับให้อำ�นาจแก่เจ้าของเว็บบอร์ดในการลบ ทิง้ ข้อความหรือห้ามใช้งาน เพือ่ ให้ทกุ คนปฏิบตั ติ ามกฎทีต่ งั้ ไว้ โดยในแต่ละเว็บบอร์ดมักจะมีกติกาข้อปลีกย่อยทีแ่ ตกต่างกันตามแต่ละสภาพสังคม ดังเช่น เว็บไซต์พนั ทิปทีม่ ขี อ้ ห้ามอย่างเด็ดขาดในการเขียนข้อความเกีย่ วกับสถาบันพระมหากษัตริย์ หรืออย่างในเกาหลีใต้ประเทศทีม่ ดี ารานักร้อง ฆ่าตัวตายเพราะข้อความในอินเตอร์เน็ต จึงไม่เพียงมีหนังสือเรียนทีส่ อดแทรกเนือ้ หาเกีย่ วกับมารยาททางออนไลน์ แต่ยงั มีแคมเปญซันฟูล (Sunfull) เพื่อรณรงค์เกี่ยวกับการโพสความอย่างสุภาพ ซึ่งมีโรงเรียนประถมและมัธยมจำ�นวนมากเข้าร่วมโครงการนี้ หมาแก่ ใครเบื่อเจ้านายระบายทางนี้
แม้จะต้องปฏิบตั ติ ามกติกาและมารยาท แต่การได้แสดงออกนัน้ ก็ชว่ ยทำ�ให้ผคู้ นรูส้ กึ ถึงการปลดปล่อย สำ�นักข่าวบีบซี ี เวิลด์ เซอร์วสิ ทำ�การสำ�รวจ ความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่าง 27,973 คน ใน 26 ประเทศ ในจำ�นวนนี้เป็นผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 14,306 คน ด้วยการโทรศัพท์และสัมภาษณ์ในเดือน พฤศจิกายน 2009 จนถึงกุมภาพันธ์ 2010 พบว่าคนส่วนใหญ่เห็นว่าการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตควรเป็นสิทธิข์ นั้ พืน้ ฐาน และร้อยละ 78 ของผูใ้ ช้อนิ เทอร์เน็ต ระบุว่าอินเทอร์เน็ตช่วยให้พวกเขารู้สึกมีอิสรภาพมากขึ้น นิรนาม (ซ่อน ID) Item ใหม่มาแลกกันเถอะ
เมือ่ เสรีภาพในโลกออนไลน์ทท่ี ำ�ให้ผคู้ นเสพติดถูกเสริมด้วยฟีเจอร์ตา่ งๆ ก็ยง่ิ ทำ�ให้ผคู้ นแวะเวียนเข้ามาอย่างไม่ขาดสาย อย่างเว็บไซต์ gaiaonline.com ที่เปิดตัวในปี 2003 เพื่อเป็นพื้นที่สำ�หรับแฟนอนิเมะก่อนจะพัฒนาไปสู่บอร์ดยอดนิยมจากการนำ�เกมออนไลน์เข้ามาผนวก โดยผู้ใช้จากทั่วโลก สามารถลงทะเบียนเพื่อสร้างร่างแปลงเป็นการ์ตูน (Avatar) แล้วเข้าไปทำ�ความรู้จักกับคนอื่นๆ ผ่านเมืองจำ�ลองหรือเกมต่างๆ ที่เล่นร่วมกัน มีการใช้เหรียญทองทีห่ ามาได้จากการโพสข้อความหรือการใช้เงินซือ้ จริงเพือ่ เสริมแต่งร่างแปลงของตน จึงทำ�ให้เว็บไซต์นมี้ ผี ลู้ งทะเบียนแล้วมากกว่า 23 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัยรุ่นและมีข้อความที่โพสบนฟอรั่มมากถึง 1 ล้านข้อความต่อวันเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนตั้งแต่เรื่องเกมไปจนถึงเรื่อง สัพเพเหระ เจ้าหญิงเพื่อนซี้มังกร Who move my word?
เว็บบอร์ดไม่เพียงเป็นพื้นที่แสดงความคิดเห็น แต่ยังเป็นแหล่งความรู้จากผู้ใช้ที่มาแบ่งปันประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ ซึ่งเมื่อมีปริมาณมากพอ ก็สามารถใช้เป็นฐานข้อมูลเพื่อการทำ�ธุรกิจได้ เช่น ทริโต (Treato) บริษัทจัดการข้อมูลจากอิสราเอลที่คอยเฝ้าเว็บบอร์ดจากแหล่งต่างๆ ที่คนไข้ หรือผู้ใช้ยาจะมาปรับทุกข์และเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับผลจากการใช้ยา เพื่อวิเคราะห์เป็นรายงานรายสัปดาห์และรายเดือนส่งให้กองทุนต่างๆ ใช้ประกอบการตัดสินใจในการลงทุนในหุ้นกลุ่มยา เป็นต้น $$$$$
ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 13
© Bettmann/CORBIS
เด ขาด ็กชายช แคล าวอ นอา ินเด หาร ียร่าง ผลจ กาย ากส ผอม งคร โซจ ามช ากภ ่วงป าวะ ี 194 3
เร ที่เน อื นกระ ท เธ จก ขึ้นแดลองพอร์แลนดอนรุ กั ษ ละม บว่า ์ ใช พ์ ลงั ีรสช แสง ้ไฟฟ งานส าติท จาก ้าจา �ำ หร ี่ซับซ หล กเคร บั ปล ้อน อดไฟ ื่องเก กู พชื LED ็บพลัง ไมโคร ทำ�ใ งานแ กรนี ส ห้พื สงอ ์ (Mic ชเ าท ro © F จริญเต ิตย์ จา greens rans ิบโต กกา ) Lem ได้เร ร men ็ว s/C orb is © Stuart O'Sullivan/Corbis
Freedom for Everyone
COVER STORY เรื่องจากปก
เรื่อง: วิป วิญญรัตน์
© Yannis Behrakis
14 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
COVER STORY เรื่องจากปก “Development has to be more concerned with enhancing the lives we lead and the freedoms we enjoy.” - Amartya Sen
ความยากจนคือการลดทอนศักยภาพ และการลดทอนศักยภาพคือการลดทอนเสรีภาพ ในการเลือกใช้ชีวิตแบบใดแบบหนึ่ง ตามความเห็นของนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล อมรรตยะ เสน การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการเมืองคือการพัฒนาเพื่อให้มนุษย์มี เสรีภาพทีจ่ ะเลือกใช้หรือไม่ใช้ศกั ยภาพของตนเองในการดำ�เนินชีวต ิ ให้มากทีส่ ด ุ ไม่วา่ จะ เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ลดปัญหาความยากจน หรือระบบการเมืองทีเ่ อือ้ แก่เสรีภาพ
อิ่มท้อง ความหิวโหยสามารถเป็นทางเลือกได้หรือไม่ ผูค้ นในแอฟริกาบางส่วนทีข่ าดแคลนอาหารและต้องทนหิว กับผูช้ มุ นุมประท้วงทีเ่ ลือกใช้ การอดอาหารเป็นเครือ่ งมือในการเปล่งเสียงเรียกร้องนัน้ แตกต่างกันอย่างไร ในขณะทีค่ วามหิวอย่างหลังเป็นทางเลือก เพราะสามารถ เลือกที่จะเลิกอดเมื่อไรก็ได้ แต่อย่างแรกมาจากปัญหาเรื่องการผลิตอาหารที่ไม่เพียงพอในบางส่วนของโลก ที่นับวันจะยิ่งทวีความ รุนแรง ความหิวโหยจึงกลายเป็นตัวจำ�กัดเสรีภาพในการดำ�เนินชีวิต
การปลูกพืชเลี้ยงสัตว์อาจถูกมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติมนุษย์ กระแส “เกษตรกรรมแบบธรรมชาติ” ในปัจจุบัน ยิ่งทำ�ให้รู้สึกว่านี่เป็น กิจกรรมทีม่ นุษย์ได้ใกล้ชดิ กับธรรมชาติมากทีส่ ดุ แต่ในความเป็นจริง การ ผลิตและการสร้างอาหารเป็นนวัตกรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นมาราว 10,00020,000 ปีก่อนคริสตกาล การเริ่มปลูกข้าวในตะวันออกช่วง 8,000 ปีก่อน คริสตกาลนัน้ คือการทำ�ให้ขา้ วและพืชผักสมุนไพรจากป่ากลายมาเป็นของ ที่ “ถูกเลีย้ ง (Domesticated)” โดยมนุษย์ได้ การปลูกพืชเลีย้ งสัตว์จงึ เป็น วัฒนธรรม (Agro-Culture) อย่างหนึ่ง ไม่ใช่ธรรมชาติ การปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตนำ�มาสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบทางสังคม ด้วย ก่อนการประดิษฐ์การกสิกรรม มนุษย์ดำ�รงชีวิตได้ด้วยการหาของป่า ล่าสัตว์ (Hunting and Gathering) ในสังคมรูปแบบนี้ แรงงานส่วนใหญ่ จะต้องถูกใช้ไปกับการดำ�รงชีวิตขั้นพื้นฐาน แต่เมื่อมนุษย์เข้าสู่ยุคสังคม กสิกรรม แรงงานส่วนหนึง่ ของสังคมไม่จ�ำ เป็นต้องทำ�หน้าทีผ่ ลิตอาหารอีก ต่อไป ราว 5,500 ปีกอ่ นคริสตกาล ชาวสุเมเรียนเริม่ ทำ�การเกษตรกรรมแบบ เข้มข้น ตั้งแต่การใช้ที่ดินจำ�นวนมากเพื่อปลูกพืชเชิงเดี่ยว (Monocropping) การออกแบบระบบชลประทาน และการแบ่งงานกันทำ�เพื่อผลิต อาหารจำ�นวนมาก ระบบการผลิตอาหารที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นนี้เอง ที่ทำ�ให้เกิดการผลิตส่วนเกิน (Food Surplus) อันนำ�มาซึ่งการขยายตัวของ ประชากร สมาชิกในสังคมจำ�นวนหนึง่ ไม่มคี วามจำ�เป็นต้องทำ�หน้าทีผ่ ลิต อาหารอีกต่อไป อาณาจักรสุเมเรียนจึงสามารถสร้างกองทัพประจำ�การขึน้ มาได้เป็นอาณาจักรแรกๆ ของโลก และด้วยกองทัพประจำ�การนีเ่ องทีส่ ร้าง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการเมืองขึ้นมา
การปฏิวัติการผลิตอาหารเมื่อ 10,000 ปีก่อนคริสตกาลไม่ได้เกิดขึ้น แค่ครั้งเดียว อังกฤษในช่วงระหว่างศตวรรษที่ 16 ถึงศตวรรษที่ 19 ขณะ ทีก่ ารเริม่ เพาะปลูกของมนุษย์ในสมัยโบราณทำ�ให้สภาพสังคมเปลีย่ นแปลง ไป การเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตอาหารในโลกสมัยใหม่เป็นไปได้เพราะ ระบบระเบียบทางการเมือง การล้อมรัว้ (Enclosure) เป็นตัวอย่างหนึง่ ของ การผลิตอาหารทีค่ อ่ ยๆ เคลือ่ นเข้าสูโ่ ลกสมัยใหม่ แทนทีก่ ารเลีย้ งปศุสตั ว์ สัตว์จะหากินในพืน้ ทีเ่ ปิด รัว้ ทีป่ ดิ ได้สร้างกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ทีเ่ ป็นเจ้าของโดย เจ้าของทีด่ นิ เท่านัน้ ทำ�ให้เจ้าของทีด่ นิ สามารถควบคุมคุณภาพและพัฒนา ผลิตภาพ (Productivity) ได้ ความแข็งแกร่งของระบบระเบียบกฎหมาย (Rule of Law) ของอังกฤษทำ�ให้การถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นไปได้ นัก ประวัติศาสตร์บางคนเสนอว่าการผลิตอาหารหลังการล้อมรั้วทำ�ให้เกิด แรงงานส่วนเกินและกลุ่มชาวนาไร้ที่ทำ�กิน (Landless Peasantry) ซึ่งเป็น หนึ่งในเงื่อนไขสำ�คัญของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในเวลาต่อมา หากโจทย์ของโลกยุคโบราณ คือทำ�อย่างไรถึงจะผลิตอาหารให้ เพียงพอ โจทย์ในโลกยุคปัจจุบันอาจจะซับซ้อนกว่านั้น ด้านหนึ่งปัญหา เรือ่ งความมัน่ คงทางอาหาร (Food Security) ยังคงเป็นปัญหาของประเทศ ที่ยังไม่พัฒนาหลายประเทศ ในขณะที่ปัญหาสินค้าเกษตรล้นเกินทำ�ให้ ราคาตก ผู้ผลิตอาหารไม่สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ได้ นำ�มาซึ่งการแทรกแซง ตลาดจากรัฐ เช่น การตัง้ กำ�แพงภาษีไปจนถึงการอุดหนุนราคาสินค้าต่างๆ การแทรกแซงสินค้าเกษตรโดยรัฐเป็นนโยบายที่ถูกปรับใช้ในแทบทุก ประเทศ ในสหรัฐอเมริกา การสนับสนุนสินค้าเกษตรเริม่ ต้นในช่วงสภาวะ เศรษฐกิจตกตํา่ ปี 1930 รัฐบาลสหรัฐฯ จ่ายเงินเกษตรกรเพือ่ ให้ลดผลผลิต ลง เพื่อแก้ปัญหาสภาวะผลผลิตล้นตลาด อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีข้อ วิจารณ์ว่าการอุดหนุนสินค้าเกษตรในสหรัฐฯ เป็นการอุดหนุนบริษัท ทางการเกษตรขนาดใหญ่มากกว่าจะสนับสนุนเกษตรกรรายย่อย ธันวาคม 2557 l Creative Thailand l 15
COVER STORY เรื่องจากปก danielholmes.net
เปล่งเสียง
สำ�หรับประชากรบางส่วนในชนชัน้ ทางเศรษฐกิจระดับบน การ “อิม่ ท้อง” ดูจะไม่เพียงพออีกต่อไป กระแสเกษตรกรรมแบบออร์แกนิกเป็นอีกกระแส ของการผลิตอาหาร และมีมูลค่าเพิ่มขึ้นมหาศาล ปี 2011 มูลค่าอาหาร และเครื่องดื่มออร์แกนิกอยู่ที่ 63 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 170 จากปี 2002) อุปสงค์หลักๆ ของสินค้าประเภทดังกล่าวอยู่ที่ทวีป อเมริกาเหนือและยุโรป ซึง่ สวนกระแสวิกฤตเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศ แถบนี้ ในขณะที่ผู้ผลิตสินค้าออร์แกนิกหนึ่งในสามของโลกอยู่ในประเทศ กำ�ลังพัฒนาและตลาดใหม่ (Emerging Market) ซึ่งผลิตเพื่อการส่งออก เป็นหลัก ในแง่นี้ กิจกรรมการผลิตอาหารจึงถูกออกแบบให้ขบั เคลือ่ นจาก ด้านการผลิต (Supply-Driven) คือผลิตอย่างไรให้พอ มาสู่ด้านอุปสงค์ (Demand-Driven) คือผลิตอย่างไรให้ตอบโจทย์ผู้บริโภค น่าคิดว่าความเป็นไปได้ของเสรีภาพใน “การเลือก” สินค้าประเภท อาหารทีม่ ากไปกว่าการ “อิม่ ท้อง” นัน้ เกิดขึน้ บนเงือ่ นไขของอุตสาหกรรม อาหารทีก่ ระแสอาหารออร์แกนิกเองพยายามจะต่อต้าน เพราะถ้าปราศจาก พื้นฐานการผลิตอาหารที่ล้นเกินในระดับหนึ่งแล้ว ความ “ฟุม่ เฟือย” ของ วิถีชีวิตออร์แกนิกใกล้ชิดธรรมชาติก็จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้
เงื่อนไขการด�ำรงอยู่ของมนุษย์ข้อหนึ่งคือการอยู่ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นยุคโบราณที่การล่าช้างแมมมอธยังต้องอาศัยการท�ำงานเป็นทีม มาจนถึงวิถชี วี ติ สมัยใหม่ ความสามารถในการสือ่ สารของมนุษย์ดา้ นหนึง่ ก็มาพร้อมกับการวิวฒ ั นาการจากไพรเมต (Primate) ด้วย
แต่พลังอ�ำนาจการสือ่ สารของมนุษย์นนั้ มีมากกว่าไพรเมตทัว่ ไป การสือ่ สาร คืออ�ำนาจ ในสังคมมุขปาฐะ การบอกเล่าปากต่อปากเป็นการผลิตซํ้า ความรู้และวัฒนธรรมเฉพาะของสังคมนั้นๆ เช่น ต�ำนานต่างๆ ที่ย้อน กลับมาก�ำหนดต�ำแหน่งแห่งทีข่ องสมาชิกในสังคม นอกจากการสือ่ สารเพือ่ การด�ำรงอยูด่ ว้ ยกันในระบบระเบียบทางการเมืองแล้ว การสือ่ สารทีเ่ ปลีย่ น ไปก็ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตได้เช่นเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสื่อสารที่ส�ำคัญมากในประวัติศาสตร์ มนุ ษ ย์ คื อ การประดิ ษ ฐ์ แ ท่ น พิ ม พ์ อาจกล่ า วได้ ว ่ า การพิ ม พ์ จ�ำนวน ครั้งละมากๆ นั้นท�ำให้การสื่อสารแพร่กระจายสู่คนอ่านจ�ำนวนมาก ได้งา่ ยขึน้ การพิมพ์ไบเบิลเป็นภาษาท้องถิน่ ทีค่ นทัว่ ไปใช้งาน (Vernacular) อย่ า งภาษาเยอรมั น ได้ สั่ น คลอนอ�ำนาจของศาสนจั ก รในกรุ ง โรม จากเดิม ที่ ก ารอ่ า นคั ม ภี ร ์ไบเบิลต้องผ่า นภาษาละตินเท่า นั้น ท�ำให้ การเข้ า ถึ ง ศาสนาของคนส่ ว นใหญ่ ต ้ อ งพึ่ ง พิ ง นั ก บวช ในขณะที่ การใช้ภาษาท้องถิ่น เช่น เยอรมัน ฝรั่งเศส อังกฤษ ช่วยคนจ�ำนวนมาก ให้สามารถอ่านได้ การเกิดนิกายโปรเตสแตนต์และการปฏิรูปศาสนา (Reformation) ด้านหนึ่งเกิดขึ้นได้ด้วยเงื่อนไขของการพิมพ์ นอกจากนี้ หากเชือ่ ตามข้อเสนอของแมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) การพัฒนาทุนนิยม เกิดขึ้นได้เพราะเงื่อนไขจริยศาสตร์แบบโปรเตสแตนต์ 16 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
นอกจากการพิมพ์จะล้มการผูกขาดพระเจ้าที่โรมได้แล้ว ยังมีส่วน ในการล้มการผูกขาดอ�ำนาจทางการเมืองได้ด้วย การเกิดขึ้นของกระแส ยุครู้แจ้ง (The Enlightenment) ส่งผลกระทบต่อการเมืองในยุโรปช่วง ศตวรรษที่ 17 และ 18 และเป็นหนึง่ ในเงือ่ นไขส�ำคัญทีท่ �ำให้เกิดการปฏิวตั ิ ในอเมริกาในปี 1776 และการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี 1848 ในขณะเดียวกัน ค�ำว่าหนังสือ “โป๊ (Pornography)” ในศตวรรษที่ 18 นั้น ไม่ได้หมายถึง หนังสือที่มีไว้ดูเพื่อกระตุ้นอารมณ์ทางเพศเท่านั้น แต่ยังหมายความรวม ถึงเรื่องราวที่ล้อเลียนหรือต่อต้านสถาบันกษัตริย์ เช่น หนังสือ 120 วันใน โซดอม (The 120-Days of Sodom) ของมาร์กีส์ เดอ ซาด (Marquis de Sade) ที่แสดงให้เห็นถึงความ “เท่าเทียม” ในความสกปรก การขับถ่าย ของเสีย และธรรมชาติของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นชนชั้นน�ำหรือคนธรรมดา และนี่ท�ำให้การเซ็นเซอร์จากรัฐเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับการอ่านโดยสาธารณชน (The Reading Public) พลังอ�ำนาจของการผลิตซ�ำ้ ทางความคิดทีน่ �ำมาซึง่ ความเปลีย่ นแปลง ทางการเมืองถูกกล่าวถึงโดยนักคิดในศตวรรษที่ 20 อย่างต่อเนื่อง แน่นอนว่าสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือหรือภาพยนตร์ ถูกน�ำมาใช้เพื่อ วัตถุประสงค์ทางการเมืองที่หลากหลาย เช่นเพื่อต่อต้านอ�ำนาจรัฐ ขณะ เดียวกันรัฐเองก็ใช้สื่อต่างๆ เพื่อโฆษณาชวนเชื่อค่านิยมหลากหลาย ประการเช่นกัน
หากคาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) เขียน ประกาศพรรคคอมมิวนิสต์ (The Communist Manifesto) เป็นใบปลิวแล้ว หัวใจของการต่อสู้ ทางการเมืองของโลกในศตวรรษที่ 21 ก็คือการ “ตีพิมพ์” ผ่านอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างการต่อสู้ ทางการเมืองครัง้ ใหญ่ในรอบสิบปีทผี่ า่ นมาอย่าง อาหรับสปริง (Arab Spring) ถูกตั้งข้อสังเกต ว่า คนหนุ่มสาวในการต่อสู้ครั้งนั้นใช้เครื่องมือ ส�ำคัญๆ อย่างเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ และยูทูปกัน เยอะมาก หนังสือพิมพ์ The New York Times ตั้งข้อสังเกตว่า ความขัดแย้งในศตวรรษที่ 21 คือในขณะที่ฝ่ายรัฐบาลระดมยิงกระสุนเข้าใส่ ผู้ประท้วงรัวๆ ฝ่ายผู้ประท้วงหนุ่มสาวก็ระดม ทวีตรัวๆ เช่นกัน เราอาจเห็นอิทธิพลของอินเทอร์เน็ตผ่าน แนวโน้มการโฆษณาบนอินเทอร์เน็ตได้ ในช่วง ขวบปีแรกๆ ของเวิล์ด ไวด์ เว็บ มูลค่าโฆษณา บนอินเทอร์เน็ตยังมีไม่มาก แต่ในปี 2013 มูลค่า
© Bettmann/CORBIS
COVER STORY เรื่องจากปก
© Siegfried Modola
คาร์ล มาร์กซ์ และ ฟรีดริช เองเงิลส์ ตรวจงานหน้าแท่นพิมพ์
การโฆษณาบนอินเทอร์เน็ตมีมูลค่าสูงถึง 5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ นิตยสาร The Economist วิเคราะห์ว่าการเจริญเติบโตของสมาร์ทโฟน ทำ�ให้การเข้าถึงเนือ้ หาบนอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนตัวมากขึน้ (ไปพร้อมๆ กับ การโดนติดตามจากผู้ที่เก็บข้อมูลและรูปแบบการใช้งาน หรือ ThirdParty Tracker ทัง้ หลายทีบ่ ริษทั โฆษณาใช้เพือ่ ติดตามการใช้อนิ เทอร์เน็ต) ทำ�ให้การโฆษณาบนอินเทอร์เน็ตเป็นธุรกิจที่มีมูลค่าสูงขึ้นเรื่อยๆ และ มากกว่าโฆษณาแบบดัง้ เดิม แน่นอนว่าการได้มาซึง่ เนือ้ หาทีผ่ ลิตมาสำ�หรับ เราโดยเฉพาะเป็นการส่วนตัว (Personalized) นั้น สิ่งที่อาจสูญเสียไป ระหว่างทางคือความเป็นส่วนตัว (Privacy) ของการใช้อินเทอร์เน็ตนั่นเอง ในรอบสิบปีทผี่ า่ นมา อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นเครือ่ งมือของอี-คอมเมิรซ์ (E-Commerce) อย่างแพร่หลาย นอกจากผูเ้ ล่นรายใหญ่ในตะวันตกอย่าง แอมะซอนหรืออีเบย์แล้ว การเกิดขึ้นของสื่อสังคม (Social Media) ทำ�ให้ ผู้ต้องการซื้อและผู้ต้องการขายสามารถเจอกันได้ง่ายขึ้น ยูโรมอนิเตอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล (Euromonitor International) คาดการณ์ว่าในช่วง ระหว่างปี 2013-2016 การขายปลีกบนอินเทอร์เน็ตของไทยจะโตขึ้น ร้อยละ 6 ในขณะที่ยักษ์ใหญ่ของจีนอย่างอาลีบาบา (Alibaba) ก็กำ�ลัง เติบโตอย่างก้าวกระโดด จากรายงานในปี 2012 อาลีบาบาทำ�ยอดขายได้ มากกว่าแอมะซอนและอีเบย์รวมกันเสียอีก
เด็กสาววัย 16 ปี ชาวปาเลสไตน์ทวีตปัญหาความขัดแย้งรุนแรงภายในบ้านของครอบครัวเธอในเมืองกาซ่า ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 17
COVER STORY เรื่องจากปก
อยู่ร่วมกัน ปัจจุบันประชากรของโลกอาศัยอยู่ในเขตเมืองเกินกว่าร้อยละ 50 ข้อมูลของธนาคารโลกเสนอว่า การอาศัยอยู่ในเมืองอาจเป็นหนึ่งใน วิธีบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ เพราะสามารถจัดให้มีบริการต่างๆ เช่น โรงพยาบาล โรงเรียน และสถานที่ต่างๆ อยู่ใกล้ กับประชากรจ�ำนวนมากได้ ในขณะที่การตั้งรกรากที่แผ่กระจายออกไปอย่างเบาบางนั้นท�ำให้การเดินทางไปตามที่ต่างๆ ต้องสูญเสีย เวลาและทรัพยากรมากกว่า
ด้ า นหนึ่ ง ประเด็ น ปั ญ หาของการจั ด การเมื อ งคื อ การออกแบบและจัดการพื้นที่ และการจัดการพื้นที่ ของเมืองสะท้อนประเด็นปัญหาทั้งสภาวะสมัยใหม่ ปัญหาการเมืองและทุนนิยม แม้แต่ในช่วงศตวรรษที่ 18 เดวิด ฮูม (David Hume) นักคิดที่ให้ความส�ำคัญ กับการค้าขายในฐานะคุณธรรมแบบหนึ่งก็เสนอให้ เมืองใหญ่มีการตัดถนนที่เรียบ มีไฟสาธารณะที่ส่อง สว่าง ไปจนถึงความปลอดภัย ภายใต้วิธีคิดนี้ การ สัญจรเพือ่ มีปฏิสมั พันธ์ทดี่ ตี อ่ กันเป็นเงือ่ นไขส�ำคัญที่ น�ำไปสู่การเจริญรุ่งเรืองทางการค้า และความเจริญ รุง่ เรืองทางการค้าน�ำมาซึง่ อรรถประโยชน์ของคนส่วน มาก ไปจนถึงความสามารถในการยับยั้งสงครามได้ ดังนั้น กรอบคิดในการบริหารจัดการเมืองใน สมัยวิกตอเรียของอังกฤษจึงมักถูกคิดแบบบนลง ล่าง (Top-Down) โดยสถาปนิกเป็นผู้วาดผังเมือง ปัญหาใหญ่ๆ ในยุคนั้นมักเป็นปัญหาเรื่องความ สะอาดและการปะปนของชนชั้นต่างๆ หลายครั้งที่ การตัดถนนเกิดขึน้ เพียงเพือ่ แบ่งแยกบริเวณสลัมของ คนจนออกจากทีอ่ ยูอ่ าศัยของชนชัน้ กลาง การระบาด ของอหิวาตกโรคยังท�ำให้กรุงลอนดอนซึง่ เริม่ มีคนอยู่ อาศัยมากขึน้ ต้องรีบจัดการรับมือกับโรคระบาดนี้ ทัง้ ในแง่การจัดการพื้นที่ การสร้างระบบสาธารณสุข รวมถึงความหวาดกลัวทีม่ ตี อ่ การลุกฮือของชนชัน้ ล่าง ทีอ่ าศัยอยูใ่ นเมืองใหญ่ ท�ำให้การสร้างสวัสดิการโดย รัฐค่อยๆ ได้รับการพัฒนาขึ้น ความคลาดเคลื่อนระหว่างการออกแบบจัดการ เมืองจากบนลงล่างกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงนั้นเกิดขึ้น ตลอดเวลา อย่างที่สถาปนิก คริสโตเฟอร์ อเล็กซานเดอร์ (Christopher Alexander) ถกเถียงว่า ผู้ ที่น่าจะมีส่วนในการออกแบบสถานที่มากที่สุดไม่ใช่ สถาปนิก แต่คือผู้ที่อยู่อาศัยเอง อาจกล่าวได้ว่าการ ออกแบบจัดการพื้นที่เมืองและที่อยู่อาศัยถูกท�ำให้ เป็นประชาธิปไตย (Democratized) มากขึ้น สิ่ง 18 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
flickr.com/photosscouttwentynine
เหล่านี้ไม่ใช่เรื่องของผู้ช�ำนาญการล้วนๆ อีกต่อไป แต่ผู้มีส่วนได้เสียจะต้องเข้ามามีส่วนร่วม ให้มากที่สุด เป้าหมายทีเ่ ป็นอุดมคติมากด้านหนึง่ ของการออกแบบผังเมืองอย่างมีสว่ นร่วม (Participatory Planning) คือการลดความขัดแย้งระหว่างกลุม่ ผลประโยชน์ตา่ งๆ และอาจนำ�มาซึง่ ความ เป็นธรรมมากขึ้น เพราะแทนที่การวางผังเมืองจะเป็นเรื่องของนักวางผังที่เป็นผู้วาดแผนที่เช่น ในอดีต ว่าพื้นที่ไหนควรสร้างตึกแบบไหน แต่ไม่รับรู้ถึงสภาพความเป็นอยู่ของผู้คนบนถนน มันจะเป็นเรื่องที่คนส่วนใหญ่ได้มีส่วนร่วมด้วย ความคิดการออกแบบผังเมืองอย่างมีส่วนร่วม เริ่มเข้ามาอิทธิพลในช่วงระหว่างปี 1960-1970 เช่นเดียวกับยุควิกตอเรีย แนวคิดดังกล่าวเกิด ขึ้นภายใต้บริบทของความหวาดกลัวการลุกฮือของชนชั้นล่างเช่นเดียวกัน ในกรณีนี้คือความ ตึงเครียดทางสีผิวในสหรัฐฯ และปัญหาการว่างงานในอังกฤษ แน่นอนว่าในความเป็นจริงการ สร้างฉันทามติเป็นสิ่งที่แทบเป็นไปไม่ได้ ความขัดแย้งจึงเป็นส่วนหนึ่งของการอยู่ร่วมกัน
commons.wikimedia.org richardbarrow.com
bangkokpost.com
แนวโน้มการออกแบบทีใ่ ห้ความสำ�คัญกับประสบการณ์กอ็ าจ เข้ามามีสว่ นในการวางผังเมืองเช่นเดียวกัน เช่นในแง่นี้ แทนทีก่ าร ออกแบบเมืองจะเป็นการคิดถึงพืน้ ทีข่ นาดใหญ่ การออกแบบสถานที่ และประสบการณ์ วิธคี ดิ เรือ่ งการออกแบบบริการ (Service Design) จึงเป็นวิธีการที่ภาครัฐควรหยิบมาใช้เพื่อออกแบบการบริการ สาธารณะ เช่น การออกแบบขนส่งมวลชนให้ผใู้ ช้ได้รบั ประสบการณ์ การเดินทางทีด่ ี จะทำ�ให้คนใช้รถยนต์สว่ นตัวน้อยลง หลายครั้งที่สิ่งที่นักวางผังเมืองคาดหวังกับสิ่งที่ถูกใช้งานจริง อาจจะไม่ตรงกัน เช่น ในเมืองทีว่ ถิ ชี วี ติ ไม่ได้ใช้จกั รยานในการเดิน ทางจริง การตีเส้นทางจักรยานบนถนนไม่ได้หมายความว่าจะมีผู้ ใช้จกั รยานมากขึน้ แต่มนั กลับกลายเป็นทีจ่ อดรถ ทีว่ างของระเกะ ระกะอย่างที่ครั้งหนึ่งหนังสือพิมพ์ The Guardian รวบรวมมานำ� เสนอไว้ หรือในกรณีของกรุงเทพฯ คือการที่เลนจักรยานกลับไป เบียดบังทางเดินเท้าและทางถนนที่มีน้อยอยู่แล้ว ในขณะที่ความ ต้องการใช้จักรยานเพื่อการเดินทางกลับมีน้อยมากหากเปรียบ เทียบกับความจำ�เป็นของขนส่งมวลชนอื่นๆ
เสรีภาพและข้อจำ�กัด ถึงแม้ว่าแนวคิดทางประชาธิปไตยในการออกแบบและแนวคิดเรื่องการออกแบบที่ให้ผู้ใช้เป็นศูนย์กลางจะได้รับการตอบรับที่ดีขึ้น แต่ ด้วยโครงสร้างของรัฐและระบบราชการ การมองแบบบนลงล่างยังเป็นสิ่งที่ไม่หายไปไหน ในประเทศจีนมีการทดลองสร้างเลนส�ำหรับ คนเดินเท้าที่ใช้โทรศัพท์มือถือกับเลนคนเดินที่ไม่ใช้โทรศัพท์มือถือ เพื่อหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุที่เกิดจากคนก้มหน้าก้มตาใช้โทรศัพท์ แน่นอนว่าในทางปฏิบัติแล้ว ไม่มีใครท�ำตาม
ความพยายามควบคุมจัดการอินเทอร์เน็ตโดยรัฐก็ไม่ใช่เรื่องแปลก หาก พิจารณาถึงความพยายามควบคุมจัดการการสื่อสารตั้งแต่ยุคการพิมพ์ หนังสือใหม่ๆ ไปจนถึงการเบลอเหล้าบุหรี่ในจอทีวี เมื่อเดือนตุลาคมที่ ผ่านมา ยาโนส อาเดร์ (Janos Ader) ประธานาธิบดีฮังการี เสนอการจัด เก็บภาษีอนิ เทอร์เน็ต (Internet Tax) ซึง่ นัน่ ทำ�ให้เขาถูกมองว่าพยายามจะ ลดทอนและควบคุมจัดการเสรีภาพบนอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้มีผู้ประท้วง แนวคิดนี้เป็นจำ�นวนมากจนรัฐบาลต้องพับแผนไป สุดท้ายแล้ว ความพยายามในการค้นหาวิธีให้มนุษย์อิ่มท้องก็ยังไม่ หายไปไหน ในขณะทีอ่ ตุ สาหกรรมการผลิตอาหารในปัจจุบนั สามารถผลิต
ส่วนเกินมาได้บา้ งแล้ว นักวิทยาศาสตร์ก�ำ ลังเฝ้ารอการมาถึงของการผลิต เนื้อสัตว์ที่สร้างในแล็บ (Lab Grown Meat) โดยใช้เซลล์ของสัตว์มาเพาะ หลายคนอ้างว่าการผลิตเนื้อวิธีนี้ไม่เป็นการทารุณสัตว์ เพราะไม่ต้องฆ่า สัตว์ ทำ�ให้คนกินมังสวิรตั กิ ส็ ามารถกินเนือ้ ได้ ทัง้ ยังสามารถควบคุมความ สะอาดได้ดีกว่าในฟาร์ม และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า และถ้าเสรีภาพคือศักยภาพที่จะเลือก ประเด็นปัญหาเรื่องการผลิต อาหารเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการที่มากขึ้นและซับซ้อนมากขึ้น จึงยังคงเป็นประเด็นใจกลางสำ�คัญ ทั้งในด้านเทคโนโลยี การออกแบบ และระบบการเมือง
ที่มา: ธเนศ วงศ์ยานนาวา, เมื่อฉันไม่มีขนฉันจึงเป็นศิลปะ (2557), บทความ “A bit of protest” โดย A.L. จาก economist.com, บทความ “A Chinese city is asking smartphone users to walk in their own sidewalk lane” โดย Rick Noack จาก washingtonpost.com, บทความ “Cycle path fails around the world” โดย Francesca Perry & Guardian Readers จาก theguardian. com, บทความ “Don’t end agricultural subsidies, fix them” โดย Mark Bittman จาก opinionator.blogs.nytimes.com, บทความ “Little Brother” จาก economist.com, บทความ “Smarter cities need design” โดย Jim Northover จาก designweek.co.uk, บทความ “Tear down this cyberwall!” โดย Nicholas D. Kristof จาก nytimes.com, บทความ “The in vitro meat cookbook” จาก nextnature.net, บทความ “Three points in support of in vitro meat” จาก nextnature.net บทความ “Urban development” จาก data.worldbank.org wikipedia.org, Helga Willer, Julia Lernoud and Robert Home, The World of Organic Agriculture: Statistics & Emerging Trends 2013. Research Institute of Organic Agriculture (FiBL) and the International Federation of Organic Agriculture Movements (IFOAM, 2013), Madeline Stock, The Role of Social Media in Political Mobilisation: a Case Study of the January 2011 Egyptian Uprising. (M.A. Dissertation, 2011), Nurit Alfasi, “Is Public Participation Making Urban Planning More Democratic?: The Israeli Experience” Planning Theory and Practice. Vol.4 No. 2. (2003). pp. 185-202, Ogborn Miles, Spaces of Modernity: London’s Geographies, 1680-1780. (London: Guilford Publication, 1998), Peter Hall, City of Tomorrow: an Intellectual History of Urban Planning and Design since 1880. (London: Blackwell, 2014) ธันวาคม 2557 l Creative Thailand l 19
INSIGHT อินไซต์
CROWDFUNDING ให้มวลชนเป็นผู้ตัดสิน... เรื่อง: ภารุต เพ็ญพายัพ
โลกออนไลน์สร้างความเป็นไปได้ให้โลกแห่งความเป็นจริง เมื่อนักธุรกิจ ผู้ประกอบการ นักออกแบบ หรือนักคิดแหวกแนว สามารถน�ำเสนอ ผลงานของตนผ่านเว็บไซต์ Crowdfunding ต่างๆ เพื่อระดมทุนจาก มวลชนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากทั่วทุกมุมโลก ใครๆ ก็มีโอกาสได้รับการ สนับสนุนทางการเงินหากมีไอเดียโดนใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องตลกขบขัน เช่นกรณีทศี่ ลิ ปินตลก เคิรต์ บราวโนห์เลอร์ (Kurt Braunohler) ประสบ ความส�ำเร็จในการระดมทุน 6,000 เหรียญสหรัฐฯ ผ่าน kickstarter.com เพียงเพือ่ จ้างเครือ่ งบินให้เขียนข้อความบนท้องฟ้าของลอสแอนเจลิสว่า “How Do I Land” เสมือนว่าท้องฟ้าและก้อนเมฆก�ำลังสือ่ สารกับคุณว่า “ฉันจะลงมายังพืน้ ดินได้อย่างไร” หรือโครงการเทคโนโลยีลำ�้ ยุค ARKYD ทีป่ ระสบความส�ำเร็จในการระดมทุน 1.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จากมวลชน 17,614 ราย เพือ่ ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศสาธารณะ (Public Space Telescope) ให้โคจรรอบโลก นับเป็นครั้งแรกทีป่ ระชาชนทัว่ ไปมีสิทธิ์ใน การควบคุมกล้องดังกล่าว เพื่อถ่ายภาพโลกและส่องดูวัตถุที่ล่องลอย ในอวกาศ
ไม่ใช่เฉพาะโครงการแปลกประหลาดสุดโต่งเท่านั้นที่สร้างชื่อและความ นิยมให้แก่การระดมทุนจากมวลชน การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ง่ายดาย ยิ่งขึ้น และต้นทุนในการน�ำเสนอผลงานใหม่ๆ ต่อสาธารณชนที่ต�่ำลง ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ น�ำมาซึ่งโอกาสของผู้ประกอบการรายย่อย จ�ำนวนมาก ที่โดยปกติแล้วอาจไม่ได้รับการเหลียวแลจากธนาคารใหญ่ หรือสถาบันการเงินแบบดั้งเดิม หนังสือพิมพ์ The Wall Street Journal ถึง ขั้นอธิบายปรากฏการณ์นี้ว่าเป็น “การปฏิวัติทางด้านการจัดหาเงินทุนแก่ ภาคธุรกิจรายย่อย” ซึ่งเปลี่ยนผู้ใช้สื่อออนไลน์หลายล้านคนให้กลายเป็น นักลงทุนและผู้ให้ชีวิตแก่ไอเดียธุรกิจที่มีมูลค่า ซึ่งไม่อาจเข้าถึงแหล่งเงิน ทุนจากช่องทางอื่นๆ ได้ ผลการวิจัยของธนาคารโลกพบว่าเว็บไซต์ Crowdfunding ที่ปัจจุบัน มีจ�ำนวนเกือบ 1,000 เว็บไซต์ทั่วโลก ได้ขยายโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงิน ทุนของผู้ประกอบการอย่างเป็นรูปธรรม ในปี 2012 มีการระดมทุนจาก เว็บไซต์เหล่านี้เป็นมูลค่าถึง 2.7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการขยายตัว เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 63 ต่อปี และคาดการณ์ว่าจะมีมูลค่าสูงถึง 9.3 หมื่น ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2025 ความแพร่หลายของการระดมทุนเกิดขึ้นในช่วงเวลาไล่เลี่ยกับวิกฤต การณ์ทางการเงินทีเ่ ริม่ ต้นขึน้ ในปี 2008 ในขณะทีธ่ นาคารและสถาบันการ เงินหลักของโลกตะวันตกก�ำลังประสบปัญหา การระดมทุนจากมวลชน ผ่านระบบโครงข่ายอินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นแหล่งเงินทุนทางเลือก โดย มวลชนสามารถเลือกบริจาค ปล่อยกู้ หรือลงทุนเพือ่ เข้าถือหุน้ ในโครงการ ที่ตนเองสนใจผ่านเว็บไซต์ Crowdfunding ตลอดช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ภาคเอกชนจากหลากหลายสาขาต่างหันมาระดมทุนผ่านโลกออนไลน์ นับตัง้ แต่อตุ สาหกรรมเพลง ภาพยนตร์ การออกแบบ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า หรือ แม้แต่อสังหาริมทรัพย์ ตลอดจนกิจกรรมเพือ่ สังคมทีไ่ ม่แสวงหาก�ำไร เมือ่ วิเคราะห์ถึงการระดมทุนจากมวลชน กอร์ดอน เบิร์ตช์ (Gordon Burtch) 20 l Creative Thailand l ธันวาคม 2557
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ผเู้ ชีย่ วชาญด้านสารสนเทศและศาสตร์ดา้ นการตัดสิน ใจ (Information and Decision Sciences) ประจ�ำมหาวิทยาลัยมินนิโซตา (University of Minnesota) กล่าวว่าปัจจุบันธุรกิจสตาร์ทอัพสามารถ ระดมทุนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ชีวิตของผู้ประกอบการจึงง่ายขึ้น เมื่อปัจจัย ก�ำหนดความส�ำเร็จของพวกเขาไม่ต้องขึ้นกับความสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการสร้างความสัมพันธ์ส่วนตัวกับเครือข่ายนักลงทุนรายใหญ่เช่น ในอดีต กระบวนการระดมทุนจากมวลชนยังเปรียบเสมือนเครื่องชี้วัด ความนิยมของผูบ้ ริโภค ตัวอย่างเช่น ความส�ำเร็จของ Pebble Technology บริษัทเล็กๆ ผู้ประสบความส�ำเร็จจากการระดมทุน 10.3 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ บน kickstarter.com จากมวลชน 68,929 คน เพื่อผลิตนาฬิกา อัจฉริยะ (Smartwatch) ก่อนที่บริษัทผู้ผลิตสมาร์ทโฟนรายใหญ่อย่าง ซัมซุง แอปเปิล และกูเกิล จะเปิดตัวผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันเสียอีก แม้ระบบการระดมทุนออนไลน์จะเปิดโอกาสครั้งใหญ่ให้แก่ภาค ประชาชน แต่ไม่ได้หมายความว่าระบบดังกล่าวได้รับการพัฒนาจน สมบูรณ์แบบและไม่มีจุดบกพร่องใดๆ นิตยสาร Wired ตั้งข้อกังขาต่อ การระดมทุนจากมวลชนว่าเป็น “นวัตกรรมทางการเงินซึง่ อาจน�ำมาซึง่ ทัง้ ความหวังและหายนะ แม้ระบบการระดมทุนจากมวลชนจะเอื้อประโยชน์ ต่อภาคธุรกิจรายย่อยในยามที่พวกเขาก�ำลังหมดหวัง แต่ระบบดังกล่าว อาจเป็นช่องทางการหลอกลวงอันทรงประสิทธิภาพของนักลงทุนก็ได้” เมื่อให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์ The New York Times วิล ชรอยเตอร์ (Wil Schroter) ผู้ร่วมก่อตั้ง fundable.com กล่าวว่า “ช่วงเวลาดื่มน�้ำผึ้ง พระจันทร์ของการระดมทุนจากมวลชนอาจจะก�ำลังจบลง เพราะผูค้ นเริม่ ตระหนักถึงความเสี่ยงในการลงทุนกับผลิตภัณฑ์หรือไอเดียธุรกิจใหม่ๆ ในช่วงตั้งไข่” การระดมทุนได้เกินเป้าหมายที่วางไว้อาจน�ำมาซึ่งภาระ มหาศาลเกินคาดคิด ผลส�ำรวจของส�ำนักข่าว CNN พบว่าร้อยละ 84 ของ โครงการทีป่ ระสบความส�ำเร็จบน kickstarter.com 50 อันดับแรก กลับไม่
G N I D N U F D W O CR A
RY OF B R IE F H IS T O
ก อนยุคปฏิวัติไอที
1700s
โจนาธาน สวิฟต (Jonathan Swift) บิดาแห งไมโครเครดิต (Father of Microcredit) ริเริ่ม “กองทุนกู ยืม แห งไอร แลนด (The Irish Loan Fund)” เพื่อปล อยกู แก ภาคครัวเรือนที่มีรายได ต่ำ
1884
โจเซฟ พูลิตเซอร (Joseph Pulitzer) จัดทำแคมเปญระดมทุนผ านหนังสือพิมพ The New York World เพื่อก อสร างฐาน ของรูปป นเทพีเสรีภาพ และประสบความสำเร็จ ในการเรี่ยไรเงินจากผู บริจาค 160,000 ราย คิดเป นมูลค า 101,091 เหรียญสหรัฐฯ
1976
มูฮัมหมัด ยูนูส (Muhammad Yunus) ริเริ่มโครงการปล อยกู แก ภาคครัวเรือน รายได ต่ำในบังกลาเทศ โครงการดังกล าวได รับการพัฒนาต อยอดจนต อมามีการ จัดตั้งธนาคารกรามีน (Grameen Bank) ธนาคารเพื่อผู ยากไร แห งแรกของโลก
ยุคปฏิวัติไอที
1997
แฟนเพลงชาวอเมริกัน ระดมทุน 60,000 เหรียญสหรัฐฯ ผ านอินเทอร เน็ตให แก Marillion วงร็อค จากเกาะอังกฤษ เพื่อเป นทุนการจัดทัวร คอนเสิร ตทั่วสหรัฐฯ
2003
artistshare.com คือ Crowdfunding เว็บไซต แรกที่เป ดโอกาสให นักดนตรี ระดมทุนจากแฟนเพลงได
2005-06
kiva.org ก อตั้งขึ้นเพื่อระดมทุนปล อยกู แก ผู ประกอบการ เขตพื้นที่ยากไร ในประเทศกำลังพัฒนา ช วงเวลาไล เลี่ยกัน zopa.com และ prosper.com ก อตั้งขึ้นในประเทศพัฒนาแล ว เพื่อทำหน าที่ปล อยกู แบบ “Peer-to-Peer Lending” หรือการปล อยกู ระหว างบุคคลโดยไม ต องผ านตัวกลางอย าง ธนาคารหรือสถาบันการเงิน
2006-2010
2000s2010s
Late Early
Indiegogo.com และ kickstarter.com ก อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค แรกเริ่มในการ ระดมทุนให โครงการต างๆ ที่เกี่ยวข องกับ ศิลปะและอุตสาหกรรมสร างสรรค
เกิดการระดมทุนจากมวลชนอย างแพร หลายใน ภาคอุตสาหกรรมต างๆ รวมทั้งกิจกรรมเพื่อสังคม
สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ของตนถึงมือลูกค้าได้ตามก�ำหนดเวลาทีว่ าง ไว้ นอกจากนี้ ยังเกิดค�ำถามถึงขอบเขตความเหมาะสมของกิจกรรม การระดมทุนในแวดวงสาธารณะ เมื่อเกิดกรณีหญิงสาววัย 23 ปีที่ใช้ ชือ่ ว่าเบลีย์ (Bailey) ลงประกาศขอระดมทุนบน gofundme.com เพือ่ น�ำเงินไปท�ำแท้ง แต่เงินทุนมูลค่า 2,100 เหรียญสหรัฐฯ ที่เบลีย์ได้รับ กลับน�ำมาซึ่งเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างเผ็ดร้อนบนโลกออนไลน์ ข้อ กังขาถึงเส้นแบ่งทางด้านศีลธรรมและการใช้กลไกตลาดเข้ามาจัดสรร ทรัพยากรทางการเงินส่งผลให้ gofundme.com ต้องออกกฎใหม่ โดย ก�ำหนดให้งดการระดมทุนเพื่อกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเกลียดชัง ความรุนแรง การก่อให้เกิดความพิการทางร่างกาย และการกระท�ำที่ ผิดกฎหมายทุกประเภท คล้ายคลึงกับแพลตฟอร์มใหม่ตัวอื่นๆ ที่ประสบความส�ำเร็จบน โลกออนไลน์ เช่น อีเบย์ กูเกิล และเฟซบุ๊ก ซึ่งเริ่มต้นอย่างขาวสะอาด แต่เมือ่ เวลาผ่านไปกลับเกิดกรณีการฉ้อโกงหรือมีผนู้ �ำไปใช้ในทางทีผ่ ดิ จนท�ำให้ผู้สร้างแพลตฟอร์มนั้นๆ ต้องปรับกฎระเบียบการใช้ให้รัดกุม ยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ปัญหาและข้อบกพร่องที่ยังคงอยู่ไม่ใช่เหตุผลที่ ผู้คนทั่วไปจะต้องปิดโอกาสตนเองที่อาจได้รับจากนวัตกรรมแห่งยุค ไอที กระบวนการระดมทุนจากมวลชนเปรียบเสมือนการปฏิวัติการ ปฏิสัมพันธ์ทางการเงิน ซึ่งท�ำให้ผู้คนมากหน้าหลายตาได้ท�ำการแลก เปลี่ยนสินค้า บริการ และกิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ อย่างไร้พรมแดน ด้วยต้นทุนธุรกรรมที่ต�่ำ เช่นเดียวกับระบบตลาดในโลกแห่งความเป็น จริง ระบบตลาดการเงินบนโลกออนไลน์นี้ย่อมต้องได้รับการปฏิรูป อย่างไม่หยุดยั้งเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ใช้
ที่มา: บทความ “10 crazy crowdfunding projects that actually got funding” จาก mandatory.com, บทความ “Comedian uses crowd funding to finance sky writing joke” (2013) จาก tntmagazine.com, บทความ “Crowdfunding abortion: seeking change” (2014) จาก economist.com, บทความ “Crowdfunding: it’s no longer a buzzword” (2014) จาก crowdsourcing.org, บทความ “Crowdfunding offers alternative to traditional investments” (2013) จาก theguardian.com, บทความ “Crowdfunding start-ups: herding investors” (2013) จาก economist.com, บทความ “Crowdfunding: the end of banking as we know it?” (2014) จาก neweconomics.org, บทความ “Disciplining the Sharing Economy” (2014) จาก project-syndicate.org, บทความ “Global crowdfunding volumes rise 81 percent in 2012” (2013) จาก reuters.com, บทความ “History of crowdfunding” (2013) จาก nesta.org.uk, บทความ “How we achieved business success through crowdfunding” (2014) จาก theguardian.com, บทความ “Is crowdfunding the next big thing or an invitation to digital fraud” (2011) จาก wired.com, บทความ “Kickstarter’s biggest hits: why crowdfunding now sets the trends” (2014) จาก theguardian.com, บทความ “Kickstarter’s growing pains” (2012) จาก money.cnn.com, บทความ “Markets of magical thinking” (2012) จาก projectsyndicate.org, บทความ “Muhammad Yunus, Father of Microfinance, is also the Grandfather of crowdfunding” (2014) จาก noozhawk.com, บทความ “Success of crowdfunding puts pressure on entrepreneurs” (2012) จาก nytimes.com, บทความ “The crowdfunding economy is about to pop” (2013) จาก business.time.com, บทความ “The history of crowdfunding” จาก fundable.com, บทความ “The Statue of Liberty and America’s crowdfunding pioneer” (2013) จาก bbc.com, บทความ “What is crowdfunding and how does it benefit the economy” (2012) จาก forbes. com, รายงาน “Crowfunding’s potential for the developing world” (2013) จาก infodev.org และรายงาน “Some simple economics of crowdfunding” (2013) โดย Ajay K. Agrawal, Christian Catalini and Avi Goldfarb ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 21
after word
CREATIVE ENTREPRENEUR คิด ทำ� กิน
พลังแห่งการระดมทุนทำ�หนังสือยุค 2.0 เรื่อง: ปิยพร อรุณเกรียงไกร ภาพ: อดิเดช ชัยวัฒนกุล
ช่วงกลางปี 2014 ที่ผ่านมา กิจการเพื่อสังคมภายใต้ช่ือ "อาฟเตอร์เวิร์ด (afterword)" ได้สร้างปรากฏการณ์บน โลกออนไลน์ทท่ี �ำ ให้วงการหนังสือไทยตืน่ ตัวอีกครัง้ ด้วยการ เปิดโอกาสให้เหล่านักอ่านเข้ามามีสว่ นร่วมจัดทำ�หนังสือร่วม กับนักเขียน ตัง้ แต่ตน้ จนพิมพ์ออกมาเป็นรูปเล่ม โดยใช้วธิ ี การระดมทุน เพื่อสนับสนุนการทำ�หนังสือที่ดีและมีคุณค่า แต่ไม่มโี อกาสได้ตพ ี มิ พ์ เพียงเพราะถูกตัดสินว่าไม่มตี ลาด รองรับ ขายไม่ได้ หรือมีกลุม่ เป้าหมายเล็กเกินไป กิตติศกั ดิ์ ปัญญาจิรกุล และ พราวพรรณราย มัลลิกะมาลย์ คือผูท้ อ่ี ยูเ่ บือ้ งหลังการขับเคลือ่ นการระดมทุนเหล่านีภ้ ายใต้ ความเชือ่ ทีว่ า ่ "หนังสือทีด่ เี ปลีย่ นแปลงคนได้"
บทนำ�: เปิดเรื่องจากปัญหา
แม้จะมองเห็นปัญหาทีร่ ออยูข่ า้ งหน้า แต่ดว้ ยเชือ่ ในพลังของหนังสือว่าเป็น ทั้งอาหารสมอง บ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ หรือกระทั่งมีอิทธิพลทางใจ ขณะเดียวกันก็อยากรักษาคุณค่าของหนังสือทีต่ อ้ งผ่านกระบวนการทำ�งาน อย่างหนักและประณีตจนได้ตน้ ฉบับทีส่ มบูรณ์ เมือ่ บวกเข้ากับความสนใจ ในธุรกิจเพื่อสังคมของทั้งคู่ จึงเกิดเป็นโมเดลธุรกิจออนไลน์ ที่นักเขียน สามารถนำ�เสนอต้นฉบับทุกรูปแบบสู่สาธารณชนได้เอง ใครสนใจหนังสือ เล่มไหนก็มาร่วมลงขัน เปลีย่ นต้นฉบับให้เป็นเล่มจริง ภายใต้เงือ่ นไขและ ผลตอบแทนที่ต่างกันไปตามกำ�ลังสนับสนุน เช่น คนที่มีกำ�ลังให้มากกว่า ก็จะได้รบั หนังสือพร้อมลายเซ็นและสิทธิพเิ ศษจากนักเขียน ส่วนในกรณีที่ ไม่ได้ยอดเงินตามเป้าหมาย โครงการก็จะแจกจ่ายกลับคืนไปให้ทุกคน 22 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
กิตติศักดิ์มองว่าการระดมทุนนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ พร้อมอธิบายว่า วิธีการนี้แฝงอยู่ในวิถีชีวิตของคนไทยมาแต่อดีต ไม่ต่างจากการทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เพียงปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของการสื่อสารในปัจจุบันมากขึ้น โดยยังคงรักษาประโยชน์ส�ำ หรับทุกฝ่าย นัน่ คือ นักเขียนมีพนื้ ทีแ่ สดงฝีมอื คนอ่านเองก็มสี ว่ นร่วมสร้างคอนเทนต์ทดี่ ี ซึง่ พิสจู น์วา่ กำ�ไรทางการตลาด ไม่ใช่ตัวบ่งชี้คุณค่าของหนังสืออีกต่อไป หากเป็นความต้องการที่แท้จริง ของผู้อ่านต่างหาก
CREATIVE ENTREPRENEUR คิด ทำ� กิน
เปิดหน้ากลาง: สร้างกรอบที่แข็งแรงและยืดหยุ่น
บทส่งท้าย: เมื่อปลายทางคือจุดเริ่มต้นของคุณค่า
ใช่วา่ การระดมทุนจะเป็นวิธที แี่ สนง่าย เพราะกว่าจะเปิดตัวอาฟเตอร์เวิรด์ กิตติศักดิ์และพราวพรรณรายต้องทดสอบและพัฒนารูปแบบการทำ�งาน ครัง้ แล้วครัง้ เล่ากว่าจะได้มาซึง่ เฟรมเวิรก์ ทีแ่ ข็งแรงทีพ่ วกเขาเรียกว่า “3C” ซึ่งมาจาก “CONTENT”, “COMMUNITY” และ “COMMERCE”
มาจนถึงวันนี้ อาฟเตอร์เวิรด์ ได้ท�ำ คลอดหนังสือไปแล้ว 4 เล่ม ทุกโครงการ ประสบความสำ�เร็จในการระดมทุนเกิน 100 เปอร์เซ็นต์ แต่ผลของการ ระดมทุนนัน้ กลับแตกยอดมากกว่าทีค่ ดิ ไม่วา่ จะเป็นฝ่ายนักเขียนทีไ่ ด้รจู้ กั กลุม่ นักอ่านของตนเอง คนอ่านได้รว่ มสนับสนุนการทำ�หนังสือดีๆ ทางฝัง่ ทีมงานเองก็ได้รับฟีดแบ็กเชิงบวก แต่ถึงเช่นนั้น พวกเขาก็ยังมองว่าการ ทำ�ธุรกิจหนังสือในลักษณะนีไ้ ม่เหมือนกับธุรกิจสตาร์ทอัพทีเ่ น้นโตเร็วแบบ ก้าวกระโดด หากเปรียบเสมือนการวิ่งมาราธอน เพราะงานหนังสือต้อง อาศัยความละเอียดสูง แต่อีกแง่หนึ่ง ก็ต้องเรียนรู้ว่าควรปรับปรุงข้อด้อย และพัฒนาข้อดีอย่างไรให้ตอ่ เนือ่ ง สมาํ่ เสมอ ไม่ยดึ ติดกับโมเดลเดิมอย่าง เดียว เพื่อให้ธุรกิจเติบโตอย่างที่ควรจะเป็นและทันต่อกระแสสังคม โดย ไม่ลืมความมุ่งมั่นเดิมที่จะสร้างงานที่มีคุณค่าอย่างแท้จริง ซึ่งนี่คือปัจจัย สำ�คัญที่หล่อเลี้ยงธุรกิจให้เติบโตได้ในระยะยาวมากยิ่งกว่ากลยุทธ์ไหน “สังคมเรามันเปลี่ยนไปเร็วมาก การมาถึงของโซเชียลมีเดียทำ�ให้คน เราไม่ค่อยชื่นชมกับอะไรที่ได้มาช้าๆ จะคุ้นเคยกับอะไรที่ได้มาเร็วๆ แต่ การทำ�ธุรกิจจริงๆ มันคือการสร้างคุณค่าขึ้นมาใหม่ ต้องแตกต่างและมี คุณค่าจริงๆ ถึงจะทำ�ให้คนเอาเงินมาให้เราตั้งแต่ตอนที่ยังไม่เห็นหนังสือ เลยด้วยซํ้า มันเป็นคุณค่าที่ประหลาดแต่เราก็ต้องรักษาไว้และพยายาม ขยายต่อไป เหมือนกับ afterword ที่แปลว่า บทส่งท้ายของหนังสือ หรือ อีกนัยยะหนึง่ ก็คอื เราไม่อยากให้มนั จบทีต่ วั หนังสืออย่างเดียว แต่อยากให้ เกิดความเคลื่อนไหว เกิดคอมมูนิตี้ของคนอ่านต่อไปด้วย"
CONTENT สร้างสรรค์เนื้อหาที่มีคุณค่า หัวใจสำ�คัญของการระดมทุนไม่ได้เน้นการช่วยเหลือใครคนใดคนหนึง่ แต่ คนทำ�จะต้องผลิตเนื้อหาที่ดีทั้งในแง่คุณภาพและคุณค่า พวกเขาจึงตั้งใจ ทำ�งานกับนักเขียนตั้งแต่พิจารณาต้นฉบับ แชร์ไอเดียการโปรโมตหนังสือ ไปจนถึงส่งเข้าโรงพิมพ์ โดยได้ ผศ.ดร.การดี เลียวไพโรจน์ และวิภว์ บูรพา เดชะ นักเขียนและบรรณาธิการนิตยสารแฮพเพนนิง มาร่วมทดลองบุกเบิก สองโครงการแรก "Creativity Hunter" กับ "หลับตาดูหนัง" ในฐานะ Early Adopter* เมื่อยอดบรรลุตามเป้าหมาย เขาทั้งสองก็จะเข้าไปดูแล ขั้นตอนการผลิตจริง ทั้งเป็นบรรณาธิการเล่ม ประสานงาน จนกระทั่งจัด ส่งหนังสือให้กับผู้ร่วมระดมทุนทุกคน COMMUNITY เชื่อมโยงเครือข่ายจากออนไลน์สู่ชุมชนขนาดย่อม ปลายทางของอาฟเตอร์เวิร์ดไม่ใช่แค่การส่งหนังสือถึงมือนักอ่านโดย สวัสดิภาพเท่านั้น แต่ยังต้องการสร้างคอมมูนิตี้ที่พานักอ่านมาพบปะพูด คุยกับนักเขียนในงานเสวนา ซึ่งอาจจุดประกายไปสู่การเปลี่ยนแปลงทาง ความคิดและสังคมในอนาคต COMMERCE วางระบบการจัดการธุรกิจให้เวิร์ก เพราะการระดมทุนแต่ละครั้งใช้เวลาไม่ตํ่ากว่า 3 เดือน ก่อนจะเปิดตัว โครงการจึงต้องวางแผนการทำ�งานอย่างรัดกุม ตั้งแต่การลงทะเบียนบน เว็บไซต์ที่ใช้งานง่ายและจัดเก็บฐานข้อมูลได้ไปในตัว อธิบายข้อมูลพอ กระชับและน่าอ่าน เช่น วิธีการระดมทุน ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือ รวมทั้ง การทำ�งานของโครงการ วางแผนประชาสัมพันธ์ผ่านโซเชียลมีเดีย เช่น จัดทำ�คลิปโปรโมตบอกเล่าแรงบันดาลใจของการเขียนหนังสือ คอยอัพเดท ข่าวสารและบทความที่เกี่ยวข้อง "เวลาเป็นสิ่งสำ�คัญ เราต้องวางแผนใน ระยะสัน้ แล้วทำ�เลย คนทีจ่ บสแตนฟอร์ดอย่างพวกเราจะมีกรอบความคิด คล้ายกันในเรื่องกระบวนการคิดเชิงออกแบบ นั่นคือ มีแนวโน้มที่จะไป ลงมือกระทำ� (Bias Towards Action) คิดแล้วต้องทำ� ทำ�เร็วๆ ด้วย เรา ก็จะเรียนรู้เร็ว ล้มเร็ว ลุกเร็ว แก้เร็ว” * กลุม่ นำ�สมัย (Early Adopter) หมายถึงกลุม่ คนทีเ่ ปิดใจรับนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ มาใช้ ส่วนใหญ่เป็นผู้นำ�ทางความคิดและมักมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชุมชน
Tips for Entrepreneurs •ไอเดียไม่ต่างจากสินค้าต้นแบบที่ต้องทดสอบความเป็นไปได้อยู่เสมอ คล้ายกับการทดลองวิทยาศาสตร์ที่ต้องตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง ทดสอบผล และปรับใช้ไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ • คนส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดว่าการทำ�ธุรกิจเป็นเรื่องง่ายและมีสูตรสำ�เร็จ จึง มองแค่ยอดภูเขานํ้าแข็งที่ผู้ประสบความสำ�เร็จยืนอยู่ แต่กลับมองข้าม ประเด็นสำ�คัญอย่างเช่น ต้นทุนสะสมและความยากลำ�บากทีค่ นเหล่านัน้ พบ เจอมา ซึ่งจะเป็นบทเรียนที่ดีมากของนักเริ่มต้น ร่วมสนับสนุนการทำ�หนังสือที่ตรงกับความสนใจได้ที่ afterword.co พบแนวคิ ด ใหม่ จ ากผู ้ ป ระกอบการไทยที่ น�ำความ คิดสร้างสรรค์มาสร้างเป็นมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและ บริการได้ที่ TCDCCONNECT.COM เว็บไซต์ทรี่ วบรวมรายชือ่ และผลงานของนักออกแบบ ผู้ผลิต และผู้ประกอบการ จากทุ ก อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ ใ นประเทศไทยไว้ ใ น ที่เดียวกัน
ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 23
CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
COPENHAGEN BETTER ACCESS, BETTER LIVING เรื่อง: นันท์นรี พานิชกุล
เมื่ อ มองอย่ า งผิ ว เผิ น ลำ � พั ง ท่ า เรื อ ปู พื้ น หิ น กั บ อาคารตึ ก แถว สี สั น สดใสที่ ตั้ ง เรี ย งรายริ ม นํ้ า และรู ป ปั้ น นางเงื อ กบนโขดหิ น ในเขตท่าเรือใหม่ หรือ นูฮาวน์ (Nyhavn) คงทำ�ให้ "โคเปนเฮเกน" เมืองหลวงของเดนมาร์กดูเหมือนหลุดออกมาจากเมืองแฟนตาซี[1] ย้อนยุคจากนิทานคลาสสิกของฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เสน แต่หากมองลึกลงไป หนึ่งในเมืองท่าสำ�คัญในเขตสแกนดิเนเวีย แห่งนี้คือเมืองที่ถูกจัดอันดับว่าทันสมัยและมอบคุณภาพชีวิต ที่ดีให้แก่ผู้อยู่อาศัยมากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก อันเป็นผลจากการ วางแผนพัฒนาเมืองอย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งทำ�ให้จากเมืองท่าไม่ใหญ่ ไม่โตแห่งศตวรรษที่ 12 กลายเป็นเมืองท่าทางทะเลเมืองสำ�คัญของ ยุโรปเหนือตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา
ทุกวัน เจ้าหน้าที่ของสภาเมืองโคเปนเฮเกนจะตรวจวัดระดับแบคทีเรียบริเวณ The Harbour Bath และแจ้งผลผ่านแอพพลิเคชั่น ซึ่งให้ชาวเมืองเช็คได้ว่าวันนี้สระถูกปิดเพื่อปรับคุณภาพนํ้า หรือ สามารถลงเล่ นนํ้าThail ได้อย่aาnd งปลอดภั 24 l Creative l ธันยวาคม 2557
CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
ตั้งแต่ปี 2009 สภาเมืองโคเปนเฮเกนได้ตอบรับ แผนพัฒนาเมืองใหม่ซึ่งใช้ชื่อว่า "A Metropolis for People" หรื อ "มหานครสำ � หรั บ ทุ ก คน" อันแสดงให้เห็นถึงวิสยั ทัศน์ของการพัฒนาพืน้ ที่ เมืองโคเปนเฮเกน ทีม่ งุ่ หวังให้เมืองมีการพัฒนา อย่างยั่งยืน มีพื้นที่สาธารณะที่เหมาะสำ�หรับ ทุกคน และมีกิจกรรมที่สนับสนุนการดำ�รงชีวิต ในหลากรูปแบบ โดยมีเป้าประสงค์หลักอยู่ 3 ข้อ คือ การสร้างพื้นที่สาธารณะให้มากขึ้น กระตุ้นให้ชาวเมืองออกมาเดินมากขึ้น และ สนับสนุนให้ผู้คนใช้เวลาภายในเมืองมากขึ้น
subsite.kk.dk
หลายปี ที่ ผ่ า นมา พื้ น ที่ เ ขตนู ฮ าวน์ แ ละเขต คริ ส เตี ย นส์ ฮ าวน์ (Christianshavn) ได้ เปลีย่ นแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป ธุรกิจในกลุม่ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ต่างทยอยโยกย้ายออก จากย่านรอบเวิ้งอ่าวโคเปนเฮเกน นับเป็นการ เปิดโอกาสให้กบั ความเป็นไปได้ใหม่ๆ และการ พัฒนาศักยภาพในย่านรอบอ่าว ให้กลายเป็น พืน้ ทีส่ นั ทนาการสำ�หรับชาวเมือง ทัง้ นี้ สภาเมือง โคเปนเฮเกนได้จัดทำ�ข้อเสนอโครงการพัฒนา พื้นที่ท่าเรือและกรอบการดำ�เนินงานในการ พัฒนาพืน้ ที่ เพือ่ แสดงให้เห็นว่าการจะสร้างเขต ริมอ่าวให้เป็นพืน้ ทีส่ �ำ หรับทุกคนนัน้ สามารถเป็น ไปได้ในรูปแบบใดบ้าง และใครมีสว่ นร่วมในการ ตัดสินใจได้บ้าง ซึ่งจะนำ�ไปเป็นข้อมูลประกอบ การวางแผนพัฒนาพื้นที่เขตรอบอ่าวต่อไปใน อนาคต
เวิ้งอ่าวแห่งโอกาส เนือ่ งจากพืน้ ทีร่ อบอ่าวกำ�ลังเปลีย่ นผ่านจากเขต อุตสาหกรรมหนักไปเป็นเขตพื้นที่อยู่อาศัย อัน ประกอบไปด้วยอาคารบ้านเรือน สำ�นักงาน และ สถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจสมัยใหม่ แต่ภายในเขต ดั ง กล่ า ว ยั ง เหลื อ ร่ อ งรอยจากการเป็ น เขต อุ ต สาหกรรมที่ ไ ม่ เ อื้ อ ต่ อ การอยู่ อ าศั ย และ การเดินทางนัก เช่น บริเวณท่าเรือที่มีความสูง ชันซึ่งสร้างขึ้นตั้งแต่เมื่อครั้งการขนถ่ายสินค้า ขึ้นลงเรือยังเป็นกิจวัตรประจำ�วันและเส้นทาง สัญจรรอบอ่าวไม่เชื่อมต่อกัน ความท้าทายที่สภาเมืองโคเปนเฮเกนเชิญ ชวนทุกคนมาร่วมกันคิดก็คือ จะทำ�อย่างไรให้ พื้นที่เขตริมอ่าวนี้กลายเป็นศูนย์กลางกิจกรรม ต่างๆ ของเมืองทัง้ บนบกและทางนํา้ ทีเ่ ข้าถึงได้ สะดวกภายในปี 2025 หรืออีกกว่า 10 ปีขา้ งหน้า โดยนอกจากการพัฒนาจะช่วยยกระดับคุณภาพ ชี วิ ต ของผู้ อ ยู่ อ าศั ย แล้ ว ยั ง ต้ อ งไม่ ทำ � ลาย ธรรมชาติในเวิ้งอ่าวที่อุดมด้วยพืชนํ้าและสัตว์ ทะเลหลากหลายสายพันธุ์
[1] ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เสน (Hans Christian Andersen) เป็นนักเขียนและกวีชาวเดนนิชผู้มีชื่อเสียงโด่งดังทั่วโลกจากงาน วรรณกรรมและเทพนิยายสำ�หรับเด็กตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 เช่น เงือกน้อย (The Little Mermaid) ลูกเป็ดขี้เหร่ (The Ugly Duckling) และ ราชินีหิมะ (The Snow Queen) ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 25
26 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
อย่างยิ่ง ทั้งยังต้องคำ�นึงถึงกลุ่มผู้ใช้งาน พื้นที่ และลักษณะของกิจกรรมทีม่ คี วามแตกต่างและ หลากหลาย สภาเมืองโคเปนเฮเกนมองว่าการจัด ให้มีการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ระหว่างกลุม่ ต่างๆ จะช่วยให้การพัฒนาพืน้ ทีร่ มิ ฝั่งเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จุดมุ่งหมายไม่ ได้อยู่ที่ทางออกใดทางออกหนึ่งของการพัฒนา พื้นที่เฉพาะ เพราะเมืองและพลวัตรของเมือง เปลีย่ นแปลงตลอดเวลา แต่อยูท่ ก่ี ารเข้าใจความ ต้ อ งการของผู้ ใ ช้ ง านทุ ก กลุ่ ม รั บ ฟั ง ความ ต้องการและข้อเสนอแนะซึง่ กันและกันมากกว่า จึงจะทำ�ให้พนื้ ทีท่ งั้ หมดได้รบั การพัฒนาให้เป็น พื้นที่ที่รองรับความต้องการแบบครบครันและ รอบด้าน ทั้งในเชิงการค้าที่ยังเป็นเรื่องสำ�คัญ และในเชิงพักผ่อนหย่อนใจทีน่ บั วันจะมีผคู้ นมา ใช้บริการมากขึ้น
สร้างพื้นที่ส่วนรวมร่วมกัน ปัจจุบันพื้นที่รอบอ่าวโคเปนเฮเกนได้รับการ พัฒนาเป็นพื้นที่ใช้สอยเพื่อการพักผ่อนอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป ปีที่ผ่านมาโครงการพัฒนา เพือ่ ประโยชน์ทางการสันทนาการทัง้ ของภาครัฐ และภาคเอกชนทยอยผุดขึ้นราวกับดอกเห็ด ไม่ว่าจะโครงการพัฒนาพื้นที่ทางเดินริมฝั่งให้ เป็นพื้นที่พักผ่อน Kalvebod Wave โครงการ สร้างทางจักรยานข้ามคลองเชื่อมต่อในเขต Bryggebroen หรือการสร้างสะพานคนข้ามแห่ง ใหม่ในเขตเวิ้งอ่าวตอนในของนูฮาวน์ แต่การพัฒนาเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้นอย่าง สะเปะสะปะ ตั้งแต่น้ีเป็นต้นไป เมื่อโครงการ หนึ่งๆ ผ่ า นความเห็ น ชอบจากทุ ก ฝ่ า ยแล้ ว โครงการนั้นจะได้รับไฟเขียวให้ดำ�เนินการก็ต่อ เมื่อแสดงให้เห็นว่าได้คำ�นึงถึงแนวคิดในการ
subsite.kk.dk
แน่นอนว่าผูใ้ ช้งานและเจ้าของพืน้ ทีร่ มิ อ่าว ไม่ได้มเี พียงประชาชนคนธรรมดา แต่ยงั รวมถึง กลุ่มสมาคมผู้ประกอบการภาคธุรกิจเอกชน ต่างๆ องค์กรเพื่อการพัฒนาเมืองและท่าเรือ โคเปนเฮเกน (CPH City & Port Development) กองทัพเดนมาร์ก ภาครัฐเดนมาร์ก และเมือง โคเปนเฮเกน ความซับซ้อนและทับซ้อนในสิทธิ์ ความเป็นเจ้าของและการจัดการนี้ ทำ�ให้ใน แผนกรอบการดำ�เนินงานเพื่อการพัฒนาพื้นที่ เขตท่าเรือสภาเมืองกำ�หนดให้มีการจัดตั้งสภา ที่ประกอบด้วยสมาชิกจากกลุ่มเจ้าของพื้นที่ ในแผนกรอบการดำ � เนิ น งานเพื่อ การพั ฒ นา พื้นที่เขตท่าเรือ ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกทำ�หน้าที่ ประสานงานและดู แ ลการติ ด ต่ อ ขอใช้ พ้ืน ที่ ทั้งการสร้างสิ่งปลูกสร้างและการจัดกิจกรรม ซึ่งจะเกิดขึ้นบนพื้นที่ซึ่งมีเจ้าของเป็นกลุ่มคน และหน่วยงานทีห่ ลากหลาย กระบวนการทัง้ หมด นีเ้ กิดขึน้ เพือ่ ให้แน่ใจว่า ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนา พื้ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย แห่ ง ใหม่ ห รื อ การสร้ า งพื้ น ที่ สันทนาการริมฝั่ง กิจกรรมและโครงการน้อย ใหญ่นั้นๆ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกคน และผ่านการเห็นชอบจากผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องแล้ว ทุกวันนี้ บริเวณท่าเรือและรอบเวิ้งอ่าว โคเปนเฮเกนมีผใู้ ช้งานด้วยจุดประสงค์แตกต่าง กันไป ทั้งผู้ใช้เรือคายักที่มีจำ�นวนราวสามพัน คน เรือชมทัศนียภาพริมอ่าวที่ต้อนรับนักท่อง เทีย่ วกว่าล้านคนทุกปี ท่าเรือเมล์สาธารณะทีใ่ ห้ บริการผู้สัญจรไปมารอบเขตพื้นที่จำ�นวนหลาย ร้อยคนต่อวัน ท่าจอดเรือยอชต์ของเอกชน และ กลุม่ เรือทีด่ ดั แปลงเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยแบบเรือนลอย นาํ้ การวางแผนการจัดการและการพัฒนาพืน้ ที่ ในบริเวณดังกล่าวนับจากนีไ้ ปจึงเป็นเรือ่ งสำ�คัญ
subsite.kk.dk
CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
เทคนิคและสิง่ แวดล้อมยังจัดทำ�ตัวอย่างแม่แบบ การออกแบบและพัฒนาพืน้ ทีร่ มิ นาํ้ แคตตาล็อก Waterfront Design ทำ�หน้าที่เป็นแหล่งสร้าง แรงบันดาลใจให้แก่ผู้ใช้งานและผู้เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาพื้นที่ทุกคน ช่วยให้เข้าใจ เห็นภาพ และพูดคุยถึงความเป็นไปได้ของการสร้างท่าเรือ ให้เป็นพื้นที่ริมอ่าวที่เหมาะสำ�หรับทุกโอกาส ผ่านภาพตัวอย่างการใช้พื้นที่และภาพลายเส้น แบบหน้าตัด ทั้งหมดเป็นตัวอย่างความเป็นไป ได้ของการออกแบบการใช้พื้นที่ท้ังถาวรและ กึ่งถาวร ซึ่งจะผลักดันให้เกิดการคิดปรับแปลง และตีความให้เหมาะสมกับเงื่อนไขต่างๆ ของ ลั ก ษณะทางกายภาพและการใช้ พื้ น ที่ ริ ม ฝั่ ง ทั้งหมด 6 กลุ่ม ได้แก่ พื้นที่ริมนํ้าดั้งเดิม จุด เชื่อมต่อทางนํ้า พื้นที่ริมนํ้าสาธารณะ พื้นที่ ริมนํ้าเพื่อการสัญจร พื้นที่ริมนํ้าเพื่อการจัด กิจกรรมต่างๆ ชั่วคราว และกิจกรรมริมฝั่งนํ้า ต่างๆ ที่เกิดขึ้นตลอดทั้งปี อันคำ�นึงถึงราย ละเอียดการใช้พื้นที่ทั้งระดับบนผิวนํ้า ท้องนํ้า และหน้าผิวดินใต้นํ้า และลึกลงไปใต้ชั้นดิน ปีนี้ สภาเมืองโคเปนเฮเกนวางแผนจะออก แผนวิสยั ทัศน์การพัฒนาพืน้ ทีร่ มิ ฝัง่ ฉบับทางการ ซึง่ จะช่วยให้การพัฒนาพืน้ ทีเ่ ป็นไปอย่างมีระบบ
สภาเมื อ งโคเปนเฮเกนลงทุ น ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ย่ า น สำ�นักงานให้มีพ้ืนที่พักผ่อนริมน้ำ�ของชุนชนเมือง ภายใต้ชื่อ Kalvebod Brygge
dac.dk
พัฒนาเมืองที่ทางเมืองได้ร่างกรอบไว้ทั้งสิ้น 8 ประการ ได้แก่ สร้างให้เกิดกิจกรรมในพืน้ ที่ เข้า ถึงได้ง่ายจากทางนํ้า ช่วยเพิ่มพื้นที่สาธารณะ นำ�เสนอเส้นทางสัญจรที่เชื่อมต่อได้ดีกว่าเดิม สร้างพื้นที่สะอาดน่าใช้งาน รักษาสิ่งแวดล้อม เอื้อต่อการจัดกิจกรรมต่างๆ เฉพาะกาล และ เป็นพืน้ ทีท่ ปี่ รับเปลีย่ นประโยชน์ใช้สอยได้หลาก หลายเหมาะกับทุกคน เพราะท่าเรือมีเพียงแห่งเดียว หากแต่มผี ใู้ ช้ งานจำ�นวนมาก ดังนั้นกรอบแนวคิดที่กล่าวมา จึงช่วยให้การสร้างสรรค์ทางออกเป็นไปอย่าง เป็นรูปธรรมและมองอย่างรอบด้านเพื่อสร้าง สมดุลของการใช้สอยพื้นที่ สิ่งที่เกิดขึ้นตามมา คือโครงการที่เกิดขึ้นจากทุกคนเพื่อส่วนรวม อย่างแท้จริง ซึง่ อาจเป็นโครงการอะไรก็ได้ ทีส่ �ำ คัญ คือต้องเปิดพื้นที่ริมนํ้าให้สาธารณชนเข้าถึงได้ หัวใจสำ�คัญอีกประการคือการลงทุนพัฒนา และออกแบบหน้าตาของพื้นที่สาธารณะริมนํ้า ซึ่ ง ฝ่ า ยจั ด การเทคนิ ค และสิ่ ง แวดล้ อ มของ สภาเมืองเป็นผู้รับผิดชอบศึกษาวิจัยแนวคิด ต่างๆ ว่าเป็นไปได้จริงหรือไม่และอย่างไร โดย เฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการระดมทุนสนับสนุน โครงการ ว่าควรขอเงินบริจาคจากภาคเอกชน หรื อ ไม่ รั ฐ ควรลงทุ น มากน้ อ ยแค่ ไ หนจาก งบประมาณการพัฒนาเมืองที่ได้รับในแต่ละปี เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดเข้าใจและ เห็นถึงความเป็นไปได้ในการพัฒนา ฝ่ายจัดการ
และผูเ้ กีย่ วข้องทุกคนมีสว่ นร่วมได้จริง หลังเขต เทศบาลเมืองที่อยู่ในเขตริมอ่าวโคเปนเฮเกน ร่างระบบการดำ�เนินงานของแต่ละเขตแล้วเสร็จ บนกรอบของงบประมาณที่เตรียมการไว้เพื่อ เสนอของบประมาณจากสภาเมืองต่อไป ให้สม กับทีส่ ภาเมืองเคยประกาศไว้วา่ “...เราตัง้ ใจให้ โคเปนเฮเกนเป็นเมืองที่น่าอยู่อาศัยที่สุดในโลก เป็นเมืองที่ยั่งยืน มีพื้นที่สาธารณะที่เอื้อให้ เกิดความหลากหลายและกิจกรรมต่างๆ อย่าง มี เ อกลั ก ษณ์ เราหวั ง ที่จ ะเป็ น มหานครของ ทุกคน....” ไม่ต้องสงสัยเลยว่าความหวังนั้นได้เกิดขึ้น แล้วที่เมืองแห่งนี้
ที่มา: หนังสือ A Harbour of Opportunities: Visions for more activity within the Harbour of Copenhagen (2013) โดย The Technical and Environmental Administration, City of Copenhagen, หนังสือ The City’s of Copenhagen’s Waterfront Design Catalogue: Source of Inspiration for Encouraging More Waterfont Activity (2013) โดย The Technical and Environmental Administration, City of Copenhagen ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 27
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
KRATING
28 l
C H A N G E
กระทิง
เรืองโรจน์ พูนผล
E N O Y N A CAN
เรื่อง: ณัฏฐนิช ตัณมานะศิริ ภาพ: พิชญ์ วิซ
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
D L R O W THE
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
เมื่อโลกหมุนเร็วขึ้นและการใช้ชีวิตของผู้คนถูกฉีกออกจากกฏเดิมๆ ด้วยพลังอำ�นาจของเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทีเ่ ชือ่ มผูค้ นเข้าหากัน กระทิง - เรืองโรจน์ พูนผล คือหนึง่ ในคนรุน่ ใหม่ทเี่ ข้าใจพลังอำ�นาจ นี้เป็นอย่างดี จากเด็กต่างจังหวัดที่มีความฝันและเชื่อในความพยายามอย่างไม่ย่อท้อ ความมุมานะ เกินร้อยทำ�ให้เขาได้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา สถาบันบ่มเพาะผูป้ ระกอบการ ชั้นนำ�ของโลก ก่อนจะเข้าทำ�งานกับบริษัทกูเกิล ได้คลุกคลีและเรียนรู้จากการลงมือทำ�งานร่วมกับ ทีมงานระดับหัวกะทิในซิลิคอน แวลลีย์เป็นเวลาถึงเจ็ดปีเต็ม ในวันนี้ กระทิงคือผู้เชี่ยวชาญด้านการบ่มเพาะธุรกิจ “สตาร์ทอัพ” โมเดลธุรกิจเกิดใหม่ที่ลงทุน น้อยแต่สร้างแรงกระเพือ่ มยิง่ ใหญ่ตอ่ การใช้ชวี ติ ของผูค้ น โดยรับหน้าทีผ่ อู้ �ำ นวยการโครงการส่งเสริม ผูป้ ระกอบการด้านนวัตกรรมไอที dtac Accelerate และยังเป็นผูก้ อ่ ตัง้ Disrupt University สถาบัน บ่มเพาะและผลักดันสตาร์ทอัพแห่งแรกในประเทศไทยอีกด้วย
ในงานสัมมนา CU 2014: IF…Defining the Future ที่ผ่านมา คุณบอกว่า “ทุกวันนีข้ อแค่มไี อเดีย แม้แต่คนตัวเล็กๆ ก็สามารถ เริ่มต้นสร้างสิ่งที่ทำ�ให้เกิดประโยชน์ต่อคนจำ�นวนมากหรือแม้ กระทัง่ เปลีย่ นโลกได้” คุณคิดว่าอะไรคือปัจจัยสำ�คัญทีท่ �ำ ให้เป็น อย่างนั้น
อย่างแรกเลย คือพลังอำ�นาจของอินเทอร์เน็ต ที่ทำ�ให้คนทั่วไปสามารถ เข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้มหาศาล เกิดแพลตฟอร์มต่างๆ ที่ทำ�ให้ไอเดีย เล็กๆ สามารถกระจายไปทั่วโลกได้อย่างรวดเร็ว สองคือในแง่ของ การระดมทุนแบบใหม่ๆ ยกตัวอย่างง่ายๆ อย่างเด็กในโครงการ dtac Accelerate ที่ผมดูแลอยู่ พวกเขาพัฒนา Drivebot เซ็นเซอร์ตรวจสอบ สภาพรถและพฤติกรรมการขับรถ ซึ่งจะส่งข้อมูลเป็นกราฟเข้ามาใน แอพพลิเคชั่นบนมือถือ เหมือนเป็น Fitbit สำ�หรับรถยนต์ โครงการนี้ เพิ่งระดมทุนไปได้สามล้านกว่าบาทจาก Crowdfunding Platform ชื่อ Indiegogo ถ้าเป็นสมัยก่อนนี่ เป็นไปไม่ได้ถูกไหมครับ แต่ตอนนี้แหล่ง เงินทุนพวก Venture Capitalist (ธุรกิจเงินร่วมลงทุน) และ Angel Investor (นักลงทุนรายอิสระที่ใช้เงินส่วนตัวในการลงทุนในธุรกิจใดๆ) ก็เริ่มมาลงทุนกับผู้ประกอบการสตาร์ทอัพแล้วค่อนข้างเยอะ เราจะเห็นเลยว่าอินเทอร์เน็ตทำ�ให้คนทำ�งานร่วมกันได้ง่ายมากขึ้น ถ้าคุณสนใจเรื่องอะไร คุณก็สามารถรวมตัวกันได้ ผมว่าส่วนผสมเหล่านี้ นีแ่ หละทีท่ �ำ ให้คนธรรมดามีพลังอำ�นาจทางเทคโนโลยี ถึงขัน้ ทีค่ นตัวเล็กๆ ก็ทำ�อะไรที่ยิ่งใหญ่ได้
[1] Fitbit อุปกรณ์ติดตามและวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของร่างกาย
ซึง่ อินเทอร์เน็ตก็ยงั ช่วยลดช่องว่างในการเข้าถึงองค์ความรูด้ ว้ ย
ผมคิดว่ามันจะมีพลังขึ้นเรื่อยๆ เทคโนโลยีมือถือจะทำ�ให้เราสามารถ เข้าถึงองค์ความรู้จากที่ไหนเมื่อไหร่ก็ได้ จากที่สมัยก่อนความรู้มันจำ�กัด อย่างฮาร์วาร์ดคนเข้าได้ปีหนึ่งไม่กี่คน แต่ว่าเดี๋ยวนี้เราสามารถเข้าไปใน courseera.org หรือคลาสออนไลน์ต่างๆ ที่รวมคอร์สของมหาวิทยาลัย ระดับท็อปอย่างสแตนฟอร์ด ฮาร์วาร์ด หรือเอ็มไอที มาให้คนทัว่ ไปได้เรียน อย่าง OpenCourseWare ของเอ็มไอที เขาก็จะอัดเป็นวิดโี อไว้หลายคอร์ส เลย แนวคิดของเขาคือความรู้มันไม่ควรจะจำ�กัดอยู่แค่ในรั้วมหาวิทยาลัย เท่านัน้ ตอนนีท้ จี่ ฬุ าฯ ก็พยายามจะทำ�คล้ายๆ กัน ดังนัน้ ช่องว่างระหว่าง ความรู้มันน้อยลงเรื่อยๆ เพียงแค่เรามีอินเทอร์เน็ตใช้เท่านั้นเอง เด็กมัธยมเองก็เหมือนกัน ถ้าไม่ได้สนใจแค่เรื่องการสอบอย่างเดียว แต่อยากได้ความรู้เพิ่มเติม แค่คุณมีความรู้ภาษาอังกฤษก็สามารถเข้าไป ดูใน khanacademy.org ซึ่งเกิดจากคนชื่อ แซลมอน คาน (Salmon Khan) ที่เป็นนายธนาคารมาก่อนแล้วเจอช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ก็เลยออก มาทำ�ในสิ่งที่ตัวเองอยากทำ�จริงๆ เขาเป็นคนสอนเก่งมาก ก็ทำ�วิดีโอสอน เลข ฟิสกิ ส์ ฯลฯ แม้แต่ลกู ของบิล เกตส์เองก็เรียนจากทีน่ ี่ เขาบอกว่าสอน ดีกว่าอาจารย์ทโี่ รงเรียนเยอะ พอบิล เกตส์รกู้ เ็ ลยเขียนเช็คให้คานสองแสน ห้าหมื่นเหรียญสหรัฐฯ แม้แต่เรื่องการเขียนโปรแกรม ก็มี codecademy.com คุณแค่ต้อง มีความรูภ้ าษาอังกฤษ มีวนิ ยั ในการเรียน แล้วคอร์สเหล่านีย้ งั สัง่ งานให้เรา ไปทำ�และให้เพื่อนร่วมคลาสตรวจสอบซึ่งกันและกัน มีไกด์ไลน์ในการ ตรวจข้อสอบให้ ซึ่งผมว่าตรงนี้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนเยอะมาก แต่ทำ�นอง เดียวกันการแข่งขันจะสูงขึน้ มากเพราะมันเกิดขึน้ ทัว่ โลก ดังนัน้ คนตัวเล็กๆ ที่อาจทำ�สิ่งยิ่งใหญ่คนนั้นจะเป็นใครก็ได้ และในทำ�นองเดียวกันคนตัว ใหญ่ๆ เองถ้าไม่ปรับตัว ยังอุ้ยอ้ายอยู่ ก็มีสิทธิ์ที่จะหายไปอย่างรวดเร็ว ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 29
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
ผมว่าคนรุน่ มิลเลเนียลเขาอยากจะทำ�อะไรด้วยตัวของเขาเอง แล้วใน ขณะเดียวกันก็มคี วามเป็นตัวของตัวเองสูงมาก ซึง่ ทำ�ให้เข้ามาอยูใ่ น องค์กรใหญ่ค่อนข้างยาก เพราะองค์กรจะเน้นเรื่องวัฒนธรรม องค์กรและความเป็นหนึ่งเดียวกัน
ดูเหมือนจะเป็นเรื่องของเจเนอเรชั่นด้วย อย่ า งเด็ ก เจเนอเรชั่ น วายจะขวนขวาย หาความรู้ ในเรื่องที่เขาสนใจ และมักจะ มองว่ า ตั ว เองเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการ เปลี่ยนแปลงโลก
ใช่ครับ ผมว่าคนรุ่นมิลเลเนียลเขาอยากจะทำ� อะไรด้วยตัวของเขาเอง แล้วในขณะเดียวกันก็ มีความเป็นตัวของตัวเองสูงมาก ซึง่ ทำ�ให้เข้ามา อยูใ่ นองค์กรใหญ่คอ่ นข้างยาก เพราะองค์กรจะ เน้นเรื่องวัฒนธรรมองค์กรและความเป็นหนึ่ง เดียวกัน ดังนั้นเมื่อมีเรื่องของเทคโนโลยีเข้ามา ต้นทุนในการเปิดบริษัทหรือการเริ่มทำ�อะไร น้อยลง ต้นทุนในการล้มเหลวก็น้อยลง ล้มก็ลุก ขึ้นมาทำ�ใหม่ได้ คนจึงไม่ค่อยมาทำ�บริษัทใหญ่ ผมคิดว่าบริษัทใหญ่ทุกบริษัททั่วโลกต้อง ปรับตัว ถ้าไม่ปรับตัวมีปัญหาแน่ๆ กูเกิลเอง ปัจจุบนั ก็มปี ญั หาเพราะว่ามันใหญ่ สมัยทีผ่ มอยู่ นั้นพนักงานมีแค่ 4,000 คน สนุกมาก มันไม่ ค่อยมีระเบียบขัน้ ตอน อยากทำ�อะไรทีม่ อี มิ แพ็ก กับบริษทั และผูใ้ ช้งานอินเทอร์เน็ตก็คยุ กันแล้วก็ ดึงคนมาลงมือทำ�ได้เลย แต่วา่ ปัจจุบนั กูเกิลเริม่ มีความเป็นองค์กรมากขึ้น คนเข้าไปทำ�งาน กูเกิลสองปีก็ออกมาเปิดบริษัทของตัวเองแล้ว ดังนัน้ กูเกิลจึงต้องเริม่ ปรับตัวอีกครัง้ แล้วเหมือน กัน ผมว่าองค์กรใหญ่ต้องเริ่มรันเหมือนบริษัท เล็กๆ หลายๆ บริษัทมากขึ้น
30 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
ดูเหมือนว่าในยุคนี้ การแบ่งปันหรือการ ที่ ทุ ก คนมี ส่ ว นร่ ว มมั น เกิ ด ขึ้ น ในทุ ก กระบวนการของการสร้างสรรค์
ต่อไปมันจะเป็นเรือ่ งของ Co-creation (การร่วม กันสร้าง) และ Collaboration (ความร่วมมือ) ค่อนข้างเยอะ คือทุกคนมาช่วยกันสร้าง อย่าง สมัยก่อนก็จะมีพวกลินกุ ซ์ (Linux) ซึง่ เป็นโอเพน ซอร์สซอฟต์แวร์ ปัจจุบันเราจะเห็นโอเพนซอร์ส ซอฟต์แวร์เยอะมากทีค่ นเป็นล้านล้านคนทัว่ โลก มาช่วยกันเขียน วิกิพีเดีย ยูทูป และกูเกิลก็เป็น ตัวอย่างที่ชัดมาก คือแม้ว่ากูเกิลจะเป็นผู้สร้าง แพลตฟอร์ม แต่ผู้สร้างคอนเทนท์คือคนทั่วโลก ต่อไป Co-creation มันจะไม่ได้หมายถึง ผู้ผลิตหลายๆ คนมาช่วยกันทำ�เท่านั้น แต่ผู้ใช้ งานหรือผู้บริโภคเองก็มีส่วนร่วมในการสร้าง ด้วยเหมือนกัน ยกตัวอย่างเช่นบริษทั เอเชียอย่าง เสี่ยวหมี่ (Xiaomi) บริษัทมือถือที่เรียกกันว่า เป็น Apple of China เป็นผูผ้ ลิตโทรศัพท์มอื ถือ
ต่อไป Co-creation มันจะไม่ได้ หมายถึงผู้ผลิตหลายๆ คนมา ช่ว ยกันทำ�เท่านั้น แต่ผู้ ใช้งาน หรือผู้บริโภคเองก็มีส่วนร่วมใน การสร้างด้วยเหมือนกัน
อันดับ 3 ของโลกซึ่งก่อตั้งบริษัทมาแค่ 4 ปี แต่ เขาเจ๋ ง ตรงที่ เ ขารั บ คอมเมนต์ ข องผู้ ใ ช้ ง าน ผ่านทางเวยป๋อ (Weibo) ซึ่งเป็นทวิตเตอร์ของ จีน ทำ�ให้ผใู้ ช้งานสามารถตอบโต้กนั ได้ และทุก สองอาทิตย์เสีย่ วหมีก่ จ็ ะเลือกท็อปคอมเมนต์มา แก้ ไ ข ปรั บ แต่ ง ซอฟต์ แ วร์ ข องตนเองแล้ ว ก็ อัพโหลด ในขณะที่ไอโอเอสนั้นกว่าจะปรับแต่ง แต่ละส่วนได้ก็ใช้เวลานาน ในแง่ของสินค้าที่จับต้องได้ก็เช่นกัน ตอน นี้เรามีเครื่องพิมพ์สามมิติแล้ว เมื่อดีไซน์มันอยู่ ในรูปของซอฟต์แวร์ คนก็เข้ามาช่วยกันดีไซน์ได้ หรือคุณจะเอาเทมเพลตมาตรฐานมาปรับเป็น ของตัวเองแล้วพิมพ์ผา่ นเครือ่ งพิมพ์สามมิตกิ ไ็ ด้ ถ้าไม่ชอบก็กลับมาแก้ไฟล์ใหม่ได้ ดังนั้นต่อไป บทบาทมันจะเบลอมากขึน้ เขาเรียกว่า Prosumer คือคนที่เป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค อยากให้ ย กตั ว อย่ า งไอเดี ย จากคน ธรรมดาที่สร้างประโยชน์ ใ ห้คนจำ�นวน มาก
เพื่อนของผมคนหนึ่งชื่อ แซม โกลด์แมน (Sam Goldman) เขาได้ รั บ การจั ด อั น ดั บ จาก นิตยสารForbes ให้เป็นหนึ่งในคนที่มีอิทธิพล ที่สุดของโลก แซมอายุแค่ 30 กว่า เขาสร้าง นวัตกรรมที่เรียกว่า d.light เป็นหลอดไฟที่ดึง พลังงานจากแสงอาทิตย์ในตอนกลางวัน ตอน กลางคืนก็สามารถนำ�มาใช้ได้โดยไม่ต้องใช้ ไฟฟ้า แล้วบนโลกเรามีคนถึงสองพันล้านคนที่ ไฟฟ้าเข้าไปไม่ถึง อย่างในอินเดีย บังกลาเทศ แอฟริกา ตอนกลางคืนต้องใช้ตะเกียงเจ้าพายุ หรือเทียน ทำ�ให้ควันเข้าตา เด็กๆ ต้องเพ่งอ่าน หนังสือจนมีปัญหาสายตา หรือบางคนตาบอด ด้วยซํ้าเพราะแสงไม่พอ ชีวิตยากลำ�บากมาก ดังนั้นสำ�หรับคนเหล่านี้พอมีสิ่งนี้เข้าไปมันช่วย เขาได้ แล้วเขาดีไซน์จนมันราคาถูกกว่าการซื้อ เทียนมาใช้ 6 เดือนอีก สามารถผ่อนศูนย์ เปอร์เซ็นต์ได้ด้วย แถมยังมีประกัน ถ้าเสียก็ สามารถส่งกลับมาได้
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
d.light เป็นกิจการเพื่อสังคมที่มีกำ�ไรด้วย ระดมทุ น ได้ เ ป็ น พั น ๆ ล้ า นบาท คื อ กำ � ไร มหาศาล ตอนแรกเขาระดมทุนผ่าน Venture Capital แล้วก็ชนะ Social Venture Challenge ได้เงินมา 250,000 เหรียญสหรัฐฯ คือคิดดูว่า คุณสนุก คุณได้เปลี่ยนแปลงโลก แล้วยังสร้าง มันเป็นธุรกิจขึน้ มาได้ดว้ ย ผมว่านีค่ อื คอนเซ็ปต์ ของยุคสมัยใหม่ จนถึงตอนนีเ้ ขาเปลีย่ นชีวติ คน ที่ตอนกลางคืนไม่มีไฟฟ้าใช้แล้ว 150 ล้านคน คิดดูวา่ ครัง้ หนึง่ ในชีวติ เราเกิดมาแล้วมีโอกาสได้ ทำ�อะไรแบบนี้ ผมว่ามันก็คมุ้ แล้วทีเ่ กิดมา แซม เป็นคนธรรมดา แต่มีความฝันที่ยิ่งใหญ่มาก อีกตัวอย่างหนึ่งคือรุ่นน้องของผมที่สแตน ฟอร์ด อลิซาเบธ โฮล์มส์ (Elizabeth Holmes) ตอนทีเ่ รียนอยูป่ ีหนึง่ เขาพบปัญหาเวลาเราเจาะ เลือดไปตรวจว่าต้องเจาะหลายครั้งมาก บางที เจาะไปแล้วตัวอย่างไม่พอก็ต้องมาเจาะเพิ่มอีก ทั้งเสียเวลาทั้งเจ็บตัว เขาเลยคิดเทคโนโลยีที่ใช้ เลือดน้อยกว่า เสียบเข้าไปแล้วดึงออกมาครั้ง เดียวก็รผู้ ลทุกอย่างเรียบร้อยเลย ตอนปีสองเขา ก็ลาออกแล้วก็เอาเทคโนโลยีมาขาย สุดท้าย ตอนนี้เขาเป็นเศรษฐีนีที่อายุน้อยที่สุดในโลก (Youngest Self-Made Female Billionaire) อายุแค่ 30 ต้นๆ เท่านั้นเอง จากที่เล่ามา คนเหล่านี้ก็คือสตาร์ทอัพ ใช่ไหม ถ้าอย่างนั้นจริงๆ แล้วสตาร์ทอัพ คืออะไร เพราะหลายคนยังเข้าใจว่ามัน ต้องเป็นนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี (Tech Startup) เท่านั้น แล้วมันต่างจาก SME หรือ Minipreneurs อย่างไร
สำ�หรับผมสตาร์ทอัพมันคือ Mindset เทคโนโลยี เป็นแค่สว่ นหนึง่ เท่านัน้ สิง่ ทีส่ ตาร์ทอัพแตกต่าง จาก SME เลยคื อ 10X Thinking คื อ ต้ อ ง คิ ด สิ บ เท่ า โตเร็ ว สิ บ เท่ า และแก้ ปั ญ หาด้ ว ย โซลูชนั่ ทีด่ กี ว่าเดิมสิบเท่า มีตวั อย่างหลายๆ อัน ที่มันเป็นแค่เว็บไซต์ แต่ว่าสุดท้ายมันคือการ ออกแบบที่ใช้คนเป็นศูนย์กลาง มันถึงได้โตเร็ว นี่คือเรื่องหลัก
ตัวอย่างเช่นเว็บไซต์ Rent the Runway (renttherunway.com) แนวคิดของเขาคือ ต้องการให้ผหู้ ญิงคนหนึง่ ได้เป็นเจ้าหญิงในวันที่ พิเศษที่สุดอย่างงานพรอมหรืองานวันเกิด แต่ ดีไซน์เนอร์เดรสอย่างคาลวิน ไคลน์ราคามันแพง เขาก็ลองไปซือ้ ชุดดีไซเนอร์แบรนด์แล้วให้คนมา เช่า ตอนแรกก็ทดลองง่ายๆ โดยทำ�เฟซบุ๊กเพจ ขึ้นมา ซื้อตัวอย่างมาแค่สี่ห้าตัวก่อน แล้วก็เอา ไปโพสบนเฟซบุ๊ ก ของเด็ ก ฮาร์ ว าร์ ด คนหนึ่ ง นี่แหละ จุดเริ่มต้นมันแค่นี้เอง คือทำ�ยังไงให้ ผูห้ ญิงทุกคนเป็นเจ้าหญิงได้ในวันพิเศษ บางชุด เช่าแค่ร้อยเหรียญเท่านั้น ชุดแบบนี้ใส่แค่ครั้ง เดียวอยู่แล้ว ยิ่งเดี๋ยวนี้มีเฟซบุ๊กยิ่งรู้สึกว่าใส่ซํ้า ไม่ได้ กลัวเพือ่ นจะจำ�ได้ แต่ประเด็นก็คอื ผูห้ ญิง อยากจะใส่ชดุ พิเศษทีส่ ดุ ในวันพิเศษทีส่ ดุ ต่อมา เขาก็สร้างเป็นเว็บไซต์ เจ้าของเว็บนี้เป็นเด็กใน บิสสิเนสสคูล ไม่ได้มีความรู้เทคโนโลยีเลย เว็บไซต์ก็จ้างทำ�หมดเลย แต่จุดแข็งของเขาคือ การคุ ย กั บ ดี ไ ซเนอร์ แ บรนด์ จ นรู้ ว่ า ตั ว ไหน ที่ผู้หญิงชอบ และปรากฏว่ามันกลายเป็นหนึ่ง ในห้าสิบเว็บไซต์ที่ดีที่สุดตามการจัดอันดับของ นิตยสารTimes เทคโนโลยี มั น เรี ย นรู้ ไ ด้ ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว สิง่ สำ�คัญทีส่ ดุ มันคือ การคิดหาทางออกทีด่ กี ว่า (Better Solution) และคือการเติบโตเพิ่มขึ้น สิบเท่า ซึ่งต่างจาก SME เลย อีกอย่างคือการ เติบโตของสตาร์ทอัพมันสูงมาก สมมติว่าราย ได้ (Revenue) 1 ล้าน แต่มูลค่าบริษัทเขา 10 ล้ า น ในขณะที่ S MEรายได้ 1 ล้ า น มู ล ค่ า บริษัท 1 ล้านเพราะมันค่อยๆ โตไปเรื่อยๆ สตาร์ ท อั พ มี วิ ธี ใ นการสร้ า งการเติ บ โต (Goal Tackling) ที่ต่างออกไป เพราะเขาคิดว่า เขาต้องโตสิบเท่า อาทิตย์หนึ่งฉันต้องโตขึ้น 5 เปอร์ เ ซ็ น ต์ SME มั น ไม่ มี วิ ธี คิ ด แบบนี้ อี ก อย่ า งคื อ SMEจะใช้ เ งิ น ลงทุ น หรื อ สิ น ทรั พ ย์ ค่อนข้างเยอะ ในขณะที่สตาร์ทอัพใช้เงินน้อย เพราะเขาเรี ย นรู้ ก ารใช้ เ ทคโนโลยี พึ่ ง พา เทคโนโลยีในระดับหนึ่ง แต่มันไม่ใช่เทคโนโลยี
ตอนนี้เรามีเครื่องพิมพ์สามมิติ แล้ว เมื่อดีไซน์มันอยู่ในรูปของ ซอฟต์แวร์ คนก็เข้ามาช่วยกัน ดีไซน์ได้ หรือคุณจะเอาเทมเพลต มาตรฐานมาปรับเป็นของตัวเอง แล้วพิมพ์ผ่านเครื่องพิมพ์สาม มิติก็ได้ ถ้าไม่ชอบก็กลับมาแก้ ไฟล์ ใหม่ได้ ดังนั้นต่อไปบทบาท มันจะเบลอมากขึ้น เขาเรียกว่า prosumer คื อ คนที่ เ ป็ น ทั้ ง ผู้ ผลิตและผู้บริโภค ที่ยาก แต่ประเด็นคือมันเป็นแนวคิดที่ต้องคิด ใหม่ อย่างแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) เทคโนโลยี เขาก็ง่ายๆ แค่ให้คนมาเช่าพื้นที่ว่างในบ้านเรา อย่างผมมีโซฟาว่างผมให้คนมานอน ผมก็ชาร์จ ได้แล้วคืนละ 10 เหรียญ มันไม่มีอะไรเลย มัน เป็นแค่เว็บไซต์ทใี่ ห้คนเข้ามาโพสข้อมูลเข้าไปได้ เทคโนโลยี มั น คื อ อะไรเหรอ ดั ง นั้ น แม้ ว่ า เทคโนโลยีจะมีผล แต่สงิ่ ทีส่ �ำ คัญมากกว่าคือเรา เอาเทคโนโลยีไปทำ�อะไร ต้องตัง้ ต้นทีโ่ จทย์วา่ ผู้ ใช้ตอ้ งการอะไร และฉันจะเสนอทางออกทีด่ กี ว่า ได้ยังไง วงการสตาร์ทอัพในเมืองไทยตอนนี้เป็น อย่างไรบ้าง
สตาร์ทอัพในไทยตอนนี้ยังเล็กมาก ทั้งประเทศ มีไม่ถึง 500 สตาร์ทอัพ ในเมืองไทยเองเราก็ กำ�ลังจะมี Angel Investor Club เพือ่ ช่วยสตาร์ท อัพ แต่สว่ นใหญ่กจ็ ะเป็น Tech Startup ทำ�เรือ่ ง ซอฟต์แวร์และมือถือค่อนข้างเยอะ และผู้เล่นที่ ประสบความสำ�เร็จแล้วก็ยังน้อย เราต้องสร้าง ให้มันมากขึ้นกว่านี้ ธันวาคม 2557
l
Creative Thailand
l 31
นั่นคือเหตุผลที่คุณตั้ง Disrupt University ขึ้นใช่ไหม
ผมเปิดโรงเรียนสอนสตาร์ทอัพ Disrupt University ขึ้นก็เพราะในเมือง ไทยเรายังไม่มี ทุกวันนีค้ ณุ ไปเรียนเอ็มบีเอหรือบิสสิเนสสกูลในไทยเขาก็ สอนทฤษฎี มาร์เก็ตติ้งยังสอนเรื่อง 4P 4C กันอยู่เลย คือบางอย่างถ้า เราสอนวิธีการใช้เครื่องมือ เช่น การตลาดสำ�หรับเฟซบุ๊ก (Facebook Marketing) คุณเรียนไปเมือ่ หกเดือนทีแ่ ล้ว เจอตอนนีม้ นั ใช้ไม่ได้เลย ดัง นั้นต้องสอนหลักการคิด ผมว่าสตาร์ทอัพมันเริ่มจาก Why ก่อน คือทำ� ไปทำ�ไม ส่วนใหญ่คือมันจะเริ่มจากความรู้สึกที่ว่ามีปัญหาสำ�คัญอย่าง หนึง่ ทีค่ นอย่างน้อยหนึง่ ล้านคนบนโลกมีเหมือนกัน เขาอยากจะทำ�อะไร สักอย่าง อยากจะแก้ไข อยากจะทำ�ให้โลกดีขึ้น แล้วมันเป็นแรงบันดาล ใจให้เขา มันเริม่ จากตรงนัน้ อย่างทีม taamkru.com เขาก็เริม่ จากความ รูส้ กึ ทีอ่ ยากจะเปลีย่ นการศึกษาของเด็กให้มนั ดีขนึ้ เพราะการศึกษาตอน นี้มันแย่มาก ผมเลยมาเปิดโรงเรียนเพราะอยากแก้ปัญหาตรงนี้ แล้วลักษณะการสอนและผลตอบรับที่ได้เป็นอย่างไรบ้าง
ส่วนใหญ่ตอนนี้เราจัดเป็นเวิร์กช็อปอย่างเดียว แต่ปีหน้าจะเปลี่ยนไป เยอะเลยครับ เราจะปรับหลักสูตรครัง้ ใหญ่เลย เป็นความรูช้ ดุ ใหม่ทงั้ หมด เราจะแบ่งออกเป็น 4 ขั้น ขั้นแรกคือสำ�หรับคนที่ยังไม่แน่ใจว่าอยากทำ� สตาร์ทอัพหรือเปล่า ให้เขาลองเข้ามาสัมผัสดูกอ่ น เมือ่ เขามัน่ ใจแล้วขัน้ ที่สองคือก็จะเป็นเวิร์กช็อปที่เรามีอยู่แล้ว ตามมาด้วยขั้นที่สามสำ�หรับ คนที่จบเวิร์กช็อปมาแล้วต้องการระดมทุน และขั้นสุดท้ายเลยคือเราจะ ส่งเขาไปบ่มเพาะข้างนอก ไปฝังตัวอยู่ในซิลิคอน แวลลีย์ ฝึกงานใน บริษัทชั้นนำ� จะได้รู้ว่าเขาคิดยังไงทำ�ยังไง ทีผ่ า่ นมาเราเปิดเวิรก์ ช็อปมาทัง้ หมด 6 คลาส เอาประสบการณ์ของ ตัวเองที่อยู่ที่ซิลิคอน แวลลีย์มา 7 ปีกลั่นออกมาให้เหลือแค่ 5 วันเพื่อ เป็นพื้นฐานก่อนที่เขาจะไปเรียนรู้ต่อเอาเอง ตอนนี้เด็กจาก Disrupt University ระดมทุนจากนักลงทุน VC ภายนอก ได้รวมกัน 7 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ แล้วนะครับ ประมาณ 210 กว่าล้านบาท ตอนแรกผมตั้งเป้าไว้ ว่า ภายในห้าปีนักเรียนของเราจะระดมทุนรวมกันได้ 10 ล้านเหรียญ ตอนนี้เป้ามันเล็กไปแล้ว ตั้งเป็น 30 ล้านเหรียญแทน เชื่อว่าข่าวดีของเราในปีหน้าจะพลิกวงการสตาร์ทอัพเมืองไทยอีก ครั้งหนึ่ง เราจะขยายตัวอีกเยอะ น่าจะสร้างสตาร์ทอัพขึ้นมาอีกเยอะ ก็ จะมีผู้เล่นหน้าใหม่ๆ ขึ้นมา ซึ่งที่ผ่านมาเราเห็นได้ชัดเลยว่าการตั้ง โรงเรียนขึน้ มามันช่วยได้มากในการเพิม่ ขีดความสามารถของสตาร์ทอัพ สตาร์ทอัพรุ่นใหม่ๆ เก่งขึ้นเยอะ เพราะว่าเขามีความรู้พื้นฐาน เราเองก็ ภูมิใจที่ได้รู้ว่าในบรรดาสตาร์ทอัพในไทยที่ระดมทุนได้นั้นครึ่งหนึ่งเป็น เด็กของเรา 32 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
Creative Ingredients กิจกรรมยามว่าง
ปกติจะไม่คอ่ ยมีเวลาว่างเท่าไหร่ แต่ถา้ ว่างก็จะอ่านหนังสือพวกชีวประวัติ มีจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes) อัลเบิรต์ ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) แต่ว่าต้องอ่านชีวประวัติที่เป็นกลางนะ คือต้องมอง เขาเป็นคนคนหนึ่ง ผมว่าของวอลเตอร์ ไอแซคสัน (Walter Isaacson) ทีเ่ ขียนให้ไอน์สไตน์นดี่ มี าก มันคือการเอาประสบการณ์ชวี ติ ของคนทีย่ งิ่ ใหญ่ของโลกมาสรุปให้เราอ่านจบในสามชั่วโมง ซึ่งผมว่าคุ้มมาก
บทเรียนครั้งสำ�คัญที่สุดในชีวิต
คงจะเป็นตอนทีค่ ณุ แม่ผมหยุดหายใจ คือท่านเป็นหอบหืดมา 30 ปี หยุด หายใจทัง้ หมด 6 ครัง้ ในชีวติ มีอยูค่ รัง้ หนึง่ ทีห่ ยุดหายใจไปเกินหนึง่ นาที ซึง่ ในทางกฎหมายถือว่าเสียชีวติ ไปแล้ว ตอนนัน้ คุณแม่ตวั เขียวมาก ต้อง เจาะท่อลงไปถึงก้านปอดแล้วปัม๊ เพือ่ ให้ออกซิเจนเข้าถึงปอดโดยตรงถึง ฟืน้ ขึน้ มา คุณแม่ผมจะสอนเสมอว่าแม่สกู้ บั ความตายแม่ยงั ชนะเลย แล้ว ลูกจะไปกลัวอะไร อีกอย่างหนึง่ คือมันทำ�ให้เราเห็นคุณค่าของชีวติ ว่าเรา จะตายเมื่อไหร่ก็ไม่รู้ ทุกวันทุกวินาทีมันมีประโยชน์ เราสร้างประโยชน์ ได้ บางทีที่เราท้อ เราจะเห็นว่าอุปสรรคมันเป็นเรื่องเล็กมากพอนึกถึง ภาพที่คุณแม่เอาชนะความตายมาได้
CREATIVE WILL คิด ทำ� ดี
FRESH KILLS PARK LIFESCAPE
fieldoperations.net
เรื่อง: ภูษณิศา กมลนรเทพ
หลั ง จากประสบความสำ � เร็ จ กั บ การเปลี่ ย นพื้ น ที่ ท างรถไฟ ร้างลอยฟ้าของเกาะแมนฮัตตันให้กลายเป็นเส้นทางเดินเท้า กลางแจ้งร่วม 23 ช่วงตึกที่รู้จักกันในชื่อ "เดอะ ไฮ ไลน์ (The High Line)" ฟีลด์ โอเปอเรชันส์ (Field Operations) บริษัท ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมเจ้ า ของผลงาน นำ � โดยเจมส์ คอร์ เ นอร์ (James Corner) ผู้ก่อตั้ง ก็ไ ด้ชนะการนำ�เสนอโปรเจ็กต์ "เฟรช คิลส์ พาร์ก" ในการพัฒนาพื้นที่ขนาด 2,200 เอเคอร์ ซึ่งใหญ่เกือบ 3 เท่าของเซ็นทรัล พาร์ก บนเกาะสแตเทน ที่ตั้งอยู่ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของนครนิวยอร์ก โดยตามแผนงาน แล้ว โปรเจ็กต์นี้จะมีระยะเวลาการดำ�เนินงานต่อเนื่องนานถึง 30 ปีจึงจะเสร็จสมบูรณ์
ย้อนกลับไปเมื่อช่วงปี 1950 พื้นที่สวนสาธารณะแห่งใหม่ผืนนี้คือแหล่ง ทิ้งขยะแบบฝังกลบแห่งใหญ่ของเมืองขนาด 1,000 เอเคอร์ ทำ�ให้ยังไม่มี ผู้สนใจคิดจะไปลงทุนโดยรอบ จึงยังรักษาแหล่งนํ้าจืดขนาด 450 เอเคอร์ บนเกาะ และทุ่ ง หญ้ า อั น เป็ น ที่ อ ยู่ ข องนกนานาชนิ ด ล้ อ มรอบด้ ว ย ทัศนียภาพที่งดงามของเมืองแมนฮัตตันไว้ได้อย่างสมบูรณ์ โดยพื้นที่ ทั้งหมดนี้อยู่ในความดูแลของกรมอุทยานและสันทนาการเมืองนิวยอร์ก (NYC Department of Parks & Recreation) ด้วยพื้นที่มหาศาลและ ศักยภาพในการพัฒนาไปเป็นโอเอซิสของเมืองใหญ่จึงมีการริเริ่มร่าง โปรเจ็กต์นี้เมื่อปี 2001 ก่อนจะนำ�แผนงานมาลงมืออย่างเป็นรูปธรรม ตั้งแต่ปี 2006 มีการลงพื้นที่เพื่อจัดเสวนาใหญ่กับประชาชนโดยคณะ ทีป่ รึกษาชุมชน ร่วมมือกันจัดการเจรจาเปิด หารือกลุม่ ย่อย และเวิรก์ ช็อป หลายครั้งจนที่สุดภาพร่าง “ไลฟ์สเคป (Lifescape)” นวัตกรรมสวน สาธารณะร่วมสมัยตอบโจทย์ชุมชนก็เกิดขึ้น บริษทั ฟีลด์ โอเปอเรชันส์ ได้ออกแบบพืน้ ทีท่ งิ้ ขยะให้กลายเป็นแหล่ง สันทนาการแห่งใหญ่ของเมือง ประกอบด้วย 5 พื้นที่ใช้สอย แบ่งเป็น ส่วนเดินเล่นกลางแจ้งและกิจกรรมทางนํ้า พื้นที่กิจกรรมทั่วไปและเพื่อ 34 l
Creative Thailand
l ธันวาคม 2557
การศึกษา ส่วนของทุง่ หญ้าและลำ�ห้วยเป็นพืน้ ทีเ่ หมาะสำ�หรับกิจกรรมดูนก มีพื้นที่จัดมหกรรมกีฬา สนามฟุตบอล และพื้นที่จัดแสดงงานศิลปะ สาธารณะ โดยฝั่งเนินดินสูงทางทิศตะวันตกจะเป็นที่ตั้งอนุสรณ์สถาน เพื่อรำ�ลึกถึงเหตุการณ์ 9/11 อีกทั้งยังเป็นจุดชมวิวแบบ 360 องศา ของเมืองแมนฮัตตัน อย่างไรก็ตาม เฟรช คิลส์ พาร์กยังมีงานสำ�คัญอีกอย่างที่ต้อง ทำ�ควบคู่ไปกับการปรับปรุงพื้นที่ นั่นคือการปรับทัศนคติของผู้คนซึ่ง ยังอาจไม่มั่นใจกับความปลอดภัยในการนำ�พื้นที่ที่มีขยะฝังอยู่หลายตัน มาทำ�เป็นสวนสาธารณะ จึงจัดให้มีการจัดจำ�หน่ายก๊าซมีเทนในพื้นดิน เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงตามบ้านเรือนจนกว่าความหนาแน่นของก๊าซจะลด ถึงระดับเบาบาง โมเดลการเปลี่ยนพื้นที่กำ�จัดขยะเก่าให้เป็นพื้นที่สีเขียว ขนาดใหญ่แห่งนี้ยังนับเป็นสัญญาณที่ดีเมื่อภาครัฐ เอกชน และชุมชน ร่วมมือกัน ซึ่งแม้จะกินเวลาดำ�เนินการยาวนาน แต่ก็แสดงให้เห็นถึงการ คาดการณ์ความเป็นอยูใ่ นอนาคตว่า ผูค้ นจะต้องการพืน้ ทีส่ ว่ นรวมร่วมกัน มากกว่ า พื้ น ที่ ที่ น ายทุ น จั บ จองเพื่ อ ผลกำ � ไรหรื อ ให้ ป ระโยชน์ กั บ คน เพียงกลุ่มเดียว แนวคิด"ไลฟ์สเคป" นวัตกรรมสวนสาธารณะร่วมสมัยของเฟรช คิลส์ พาร์ก เป็นกระบวนการบุกเบิกด้านสิ่งแวดล้อมและการสร้างใหม่ในสเกลใหญ่ ซึง่ ไม่ใช่แค่การฟืน้ ฟูดา้ นระบบนิเวศน์และสุขภาพของผูค้ น แต่ยงั ลงลึกไป ถึงในแง่สปิริตและภาพความหวังความต้องการด้านวิถีการดำ�เนินชีวิตของ ผูค้ นในยุคสมัยนีแ้ ละในอนาคตข้างหน้า ถึงความสนใจในเรือ่ งพลังงานใหม่ การศึกษา เทคโนโลยี ปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูค้ น และการกลับสูธ่ รรมชาติ ที่มา: บทความ "Landfill Park Proves Savior in Hurricane" (17 ธันวาคม 2012) โดย Michael Kimmelman จาก nytimes.com, fieldoperations.net, nycgovparks.org/park-features/ freshkills-park, thehighline.org และ visitstatenisland.com