1
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
2 หนวยที่ 3 การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรดาน CAD ประกอบชิ้นสวน สรางงานนําเสนอ และสราง งานเขียนแบบ 2 มิติ 3.1 บทนํา เครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑตางๆ ที่ผลิตในภาคอุตสาหกรรมนั้น จะประกอบดวยชิ้นสวน หลายๆ ชิ้นสวนประกอบเขาดวยกัน บางผลิตภัณฑจะประกอบดวยชิ้นสวนเปนรอยเปนพันชิ้น เมื่อ นําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยในการออกแบบเครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑเหลานั้นก็จะตองเริ่ม จากการสร า งชิ้ น ส ว นแต ล ะชิ้ น ก อ นเช น กั น แล ว จึ ง นํ า เข า มาประกอบรวมกั น ซึ่ ง ในหน ว ยที่ 2 นักศึกษาไดเรียนรูวิธีการสรางชิ้นสวนจากคําสั่งตางๆ ของโปรแกรม Solidworks และในหนวย เรียนนี้นักศึกษาจะไดศึกษาการใชโปรแกรมนี้ประกอบชิ้นสวนที่ไดสรางขึ้นมาเดี่ยวๆ เปนชิ้นงาน ประกอบโดยใชการแอสเซมบลี (Assembly) รวมทั้งการนําไฟลดังกลาวไปสรางงานนําเสนอ (Presentation) และสรางงานเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing) 3.2 การใชโปรแกรม Solidworks ประกอบชิ้นสวน 3.2.1 ความหมายของแอสเซมบลีทูลบาร (Assembly Toolbar) แอสเซมบลีทูลบารของโปรแกรม Solidworks ทูลบารมาตรฐานแสดงดังรูปที่ 3.1 ซึ่งแตละ ไอคอนมีความหมายและการใชงานดังตารางที่ 3.1 นักศึกษาควรศึกษาแตละคําสั่งใหเขาใจ กอนที่ จะเริ่มตนการประกอบชิ้นสวน รูปที่ 3.1 ไอคอน
คําสั่ง Insert Component New Component Mate Move Component Rotate Component Smart Fasteners
ความหมายและการใชงาน ใชนําไฟลชิ้นสวนเขามาวางในไฟลแอสเซมบลี ใชสรางไฟลชิ้นสวนใหมในไฟลแอสเซมบลี เปนชุดคําสั่งที่ใชประกอบชิ้นสวนเขาดวยกัน ใช เ คลื่ อ นย า ยชิ้ น ส ว นไปยั ง ตํ า แหน ง ที่ ต อ งการ โดยจะเคลื่ อ นย า ยได เ พี ย ง ชิ้นสวนเดียวเทานั้น ใชเคลื่อนหมุนชิ้นสวนตามมุมมองที่ตองการ โดยจะหมุนไดเพียงชิ้นสวนเดียว เทานั้น เปนคํ าสั่งที่ใชประกอบชิ้น สวนนัตและสกรูเขามาประกอบกับชิ้นสวนโดย อัตโนมัติ
3 ไอคอน
คําสั่ง
ความหมายและการใชงาน
Exploded View
ใชเคลื่อนยายหรือหมุนชิ้นสวนใหเปนภาพระเบิดตามทิศทางที่ตองการ
Exploded Line Sketch
ใชสรางเสนเชื่อมตอชิ้นสวนที่ระเบิด
Interference detection
ใชตรวจสอบจุดทับซอนกันของชิ้นงาน
Hide/Show Component ใชแสดงหรือซอนชิ้นสวน Edit Component
ใชเชื่อมตอสลับระหวางโหมดการแกไขชิ้นสวนกับโหมดแอสเซมบลี
3.2.2 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกัน บนทูลบาร เครื่องมือที่ใชประกอบชิ้นงานเขาดวยกัน คือ Mate เมื่อคลิกไอคอน มาตรฐานจะปรากฏกลองโตตอบ Mate ดังรูปที่ 3.2 ซึ่งมีความหมายและการใชงานดังตอไปนี้
รูปที่ 3.2 จากภาพที่ 3.2 จะเห็นวากลองโตตอบ Mate จะประกอบดวย ตัวเลือกหลักคือ Mate Selections และ Standard Mates ซึ่งจะใชกําหนดความสัมพันธของการเคลื่อนที่ของชิ้นสวน มี ความหมายดังนี้ Mate Selections
เปนชองที่แสดงตําแหนงตางๆ บนชิ้นงานที่เราตองการจะนํามาประกอบ เขาดวยกัน ไมวาจะเปนพืน้ ผิว เสนขอบ หรือจุดบนชิน้ สวน ฯลฯ จะ แสดงในชองนี้หลังจากที่เราใชเมาสคลิกเลือก
Standard Mates
เปนสวนทีใ่ หเลือกชนิดของการ Assembly มี หลายแบบดวยกัน ดังนี้
4 ไอคอน
การใชงาน เปนการประกอบแบบประกบกันหรือเสมอกัน เปนการประกอบกันแบบ ขนานกัน เปนการประกอบกันแบบ ทํามุมกันตามองศาที่กําหนด เปนการประกอบกันแบบ สัมผัสกัน (Tangent) เชน สวนโคงสัมผัสกับสวนโคง เปนการประกอบกันแบบรวมศูนย Distance เปนชองสําหรับกรอกกําหนดคาระยะเยื้องที่ตองการ Angle เปนชองสําหรับกรอกคาองศาที่ตองการ
ตัวอยางที่ 1 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกันและสรางชิ้นสวนในไฟลแอสเซมบลี 1. สรางชิ้นสวน 3 ชิ้น ในไฟล
ดังรายละเอียดขางลางและรูปที่ 3.3
ชื่อชิ้นงาน - แผนรองลางขนาด 100 x 100 x 10 mm - แผนประกบบนขนาด 50 x 100 x 10 mm - สกูร M 20 x 2.5 2D Sketch
บันทึก ไฟลชอื่ Bottom plate Top plate Screw Part Feature
Extrude 10 mm ก) แผนรองลาง
Extrude 10 mm ข) แผนประกบบน
5
ค) สกรู รูปที่ 3.3 2. คลิกที่ไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเขาสูไฟลแอสเซมบลี 3. จะเกิดหนาตาง Insert Component ขึ้นมาพรอมกับการเปดไฟลแอสเซมบลี ใหคลิกที่ปุม จะเกิดกลองโตตอบดังรูปที่ 3.4 หาตําแหนงที่อยูของไฟลที่บันทึกไว เลือก ชิ้นสวนชื่อ Bottom plate คลิกที่ปุม Open จะไดรูปแผนรองลางปรากฏอยูในกราฟกวินโดว ใหคลิกบนกราฟกวินโดวจะไดผลลัพธ ดังรูปที่ 3.5
รูปที่ 3.4
รูปที่ 3.5
6 4. ทําขั้นตอนเชนเดียวกับขอที่ 3 ใหเลือกไฟลชิ้นสวนชื่อ Top plate และ Screw มาวางใน ไฟลแอสเซมบลี จะไดชิ้นสวนตางๆ ดังรูปที่ 3.6
รูปที่ 3.6 5. แตละชิ้นสวนจะมีองศาอิสระอยู 6 ทิศทาง คือ เคลื่อนที่ไปตามแกน x, y และ z และ หมุนรอบแกน x, y และ z ยกเวน bottom plate จะไมมีองศาอิสระเนื่องจากแผนรองลางเปน ชิ้นสวนแรกที่ถูกนําเขามาวางในไฟลแอสเซมบลีโปรแกรมจะกําหนดใหอยูกับที่โดยคําสั่ง Fix ซึ่งนักศึกษาสามารถใหชิ้นสวน bottom plate เคลื่อนที่ไดอิสระ โดยคลิกขวาที่ไอคอน แลวคลิกเลือก Float จากเมนูดังรูปที่ 3.7 ซาย (ถาไมตองการชิ้นสวนไหนมี องศาอิสระใหคลิกเลือก Fix ดังรูปที่ 3.7 ขวา)
รูปที่ 3.7 6. เริ่มแรกใหประกอบแผน bottom plate กับ top plate เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวน ทั้งสอง หมุนแผนประกบบนโดยใชคําสั่ง แลวคลิกคําสั่ง จะมีหนาตาง Mate ปรากฏขึ้นดังรูปที่ 3.8
7 - Mate Selections: ตําแหนงที่ 1 เลือกผิวดานลางของแผน top plate ตําแหนงที่ 2 เลือก ผิวดานบนของแผน bottom plate ดังรูปที่ 3.8 - Standard Mate: โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อ ยอมรับการ Mate
1
2
รูปที่ 3.8 7. คลิกเลือกผิวรูดานในของแผน top plate ผิวรูดานในของของแผน bottom plate ดังรูปที่ 3.9 โปรแกรมจะเลือก Concentric โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate 1 2
รูปที่ 3.9 8. คลิ ก เลื อ กผิ ว ด า นข า งของแผ น top plate และแผ น bottom plate อี ก ด า นหนึ่ ง ดั ง รู ป ที่ 3.10 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
8
1 2
รูปที่ 3.10 9. ขั้นตอไปประกอบแผน bottom plate กับ Screw ใหหมุน bottom plate และ Screw โดยใชคําสั่ง ดังรูปที่ 3.11 คลิกเลือกเสนวงกลมรูกลางของแผน bottom plate และเสนวงกลมของ Screw โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
1
2 รูปที่ 3.11 10. บันทึกไฟล 3.2.3 การสรางชิ้นสวนในไฟลแอสเซมบลี การสรางชิ้นสวนใหมในไฟลแอสเซมบลี หรืองาน Top-down Design จะมีขอดีคือชิ้นสวน ใหมที่สรางขึ้นมาจะมีความสัมพันธกับชิ้นสวนที่มีอยูกอนในไฟลแอสเซมบลี เมื่อชิ้นสวนที่มีความ เกี่ยวพันธกันถูกแกไขเปลี่ยนแปลงขนาด อีกชิ้นสวนหนึ่งก็จะแกไขตามเสมอ สามารถสรางสวนใน ไฟลแอสเซมบลีไดดังนี้
9 1. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน เพื่อสรางชิ้นสวนใหมจะปรากฏกลองโตตอบ Save as ดังรูปที่ 3.12 ชอง File name ใหกําหนดชื่อเปน Nut กําหนดตําแหนงที่อยูของไฟลตาม ตองการที่ชอง Save in เสร็จแลวคลิกปุม Save
รูปที่ 3.12 2. เมาสจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ใหคลิกเลือกระนาบสเกตซที่ผิวดานบนของแผน top plate ดังรูปที่ 3.13 ซึ่งไอคอนบนทูลบารมาตรฐานจะเปลี่ยนเปนสเกตซทูลบาร
รูปที่ 3.13
รูปที่ 3.14
3. กดปุม Ctrl ที่คียบอรดคางไว แลวลากเมาสไปคลิกเลือกเสนของรูปหกเหลี่ยมและวงกลมที่ จากสเกตซทูลบาร จะปรากฏเสน Profile ของ ผิวบนของแผน bottom plate คลิกปุม รูปหกเหลีย่ มและวงกลม บนผิวของแผน top plate ดังรูปที่ 3.14 ซึ่ง Profile นี้จะถูก นําไปใชสรางชิ้นสวน Nut ตอไป
10 4. เปลี่ยนสเกตซทูลบารเปนฟเจอรทูลบาร คลิกปุม เลือก Profile และกําหนดความหนา 10 mm แลวคลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.15ก
ก
ข รูปที่ 3.15
5. คลิกปุม 6. บันทึกไฟล
บนเมนูมาตรฐาน เพื่อจบการแกไขชิ้นสวน จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.15ข
ขอแนะนํา ชิ้ น ส ว นต า งๆ สามารถเปลี่ ย นสี ห รื อ วัส ดุ ไ ด ต ามความต อ งการ นั ก ศึ ก ษาสามารถลอง เปลี่ยนสีหรือวัสดุ โดยคลิกขวาที่ไอคอนชื่อของชิ้นสวนที่ตองการดังรูปที่ 3.16 เลือก Appearance จากเมนู แลวเลือก Color, Texture หรือ Material ซึ่งโปรแกรมจะมีสีตางๆ มีวัสดุจํานวนมากให เลือกใชไดตามความตองการ
11
รูปที่ 3.16 3.3 การสรางภาพระเบิดโดยคําสั่ง Explode View บนทูลบาร การสรางภาพระเบิดในโปรแกรม Solidworks จะใชคําสั่ง มาตรฐาน เมื่อคลิกคําสั่งนี้จะปรากฏหนาตาง Explode ดังรูปที่ 3.17 ซึ่งมีความหมายดังนี้
รูปที่ 3.17 Explode Steps เปนชองที่ใชแสดงประวัติลําดับของการระเบิดของชิ้นงานที่ไดทําการ ระเบิดออก สามารถลบ หรือแกไขลําดับของการระเบิดได โดยการคลิก เลือกลําดับการระเบิดที่ตองการลบ หรือแกไข
12 Settings
เปนชองที่ใชสําหรับแสดงชิ้นสวนที่ตองการจะใหระเบิดออกไป โดยการ คลิ ก เลื อ กชิ้ น ส ว นบนกราฟ ก วิ น โดว หรื อ เลื อ กที่ ชื่ อ ของชิ้ น ส ว นบน บราวเซอรบาร ชื่อของชิ้นงานที่ถูกเลือกจะปรากฏในชองนี้
Explode Directions
ใชสําหรับกําหนดทิศทางของการระเบิด เมื่อคลิกเลือกชิ้นงาน แลวจะเกิดแกน X, Y และ Z บนจุดที่เราเลือก ใหคลิกเลือก ทิศทางที่ตองการจะใหระเบิดออกไป ทิศทางที่ถูกเลือกจะปรากฏ ในชองนี้
Explode Distance
ใชสําหรับกําหนดระยะที่ตอ งการจะระเบิดออก
ในตัวอยางนี้จะใชไฟล Assembly ที่ทําไวในหัวขอที่แลว มาสรางภาพระเบิด 1. เปดไฟล Assembly ในหัวขอที่แลว 2. คลิกคําสั่ง
บนทูลบารมาตรฐาน จะปรากฏหนาตาง Explode ดังรูปที่ 3.18
รูปที่ 3.18 3. ขั้นแรกจะระเบิดนัตออกทางดานบน ลากเมาสไปคลิกที่ชิ้นสวนนัต จะเกิดพิกัด X, Y และ Z ขึ้นที่จุดนั้น ใหคลิกเลือกแกน Y กําหนดคาระยะการระเบิดเทากับ 120 mm ลงในชอง Explode Distance แลวคลิกปุม Done ชิ้นสวนนัตจะระเบิดออกดังรูปที่ 3.18
13
รูปที่ 3.19 4. ระเบิดแผนประกบบน ขึน้ ขางบน - Settings คลิกเลือกที่ผิวของชิ้นสวน Top plate บนกราฟกวินโดว ดังรูปที่ 3.19 - Explode Directions ทิศทางระเบิด แกน Y - Explode Distance ระยะระเบิด 60 mm แลวคลิกปุม Done 5. การระเบิดสกรูออกจากแผนรองลาง - Settings คลิกเลือกที่ผิวของชิ้นสวน Screw บนกราฟกวินโดว ดังรูปที่ 3.20 - Explode Directions ทิศทางระเบิดแกน Y คลิกปุม เพื่อกลับทิศทางการระเบิด - Explode Distance ระยะระเบิด 160 mm แลวคลิกปุม Done
รูปที่ 3.20 คลิกปุม
จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.21 ซึ่งเปนการเสร็จสิ้นการระเบิด บันทึกไฟล
14
รูปที่ 3.21
6. การใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวนแตละชิ้น โดยการคลิกที่คําสั่ง บนทูลบาร มาตรฐาน จะปรากฏหนาตาง Route Line ใหลากเมาสไปคลิกที่พื้นผิวดานในรูของชิ้นสวน nut, top plate, bottom plate และคลิกที่พื้นผิวดานนอกของ screw อยางตอเนื่อง ดังรูปที่ 3.22 แลวคลิกปุม เปนการเสร็จสิ้นการใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวน บันทึกไฟล
รูปที่ 3.22
15 3.3.1 การสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) คุณสามารถสรางภาพเคลื่อนไหวของการประกอบเขาและระเบิดออกของชิ้นสวนตางๆ โดยการคลิกไอคอน (Configuration-Manager) แลวคลิกขวาบนไอคอนชื่อไฟลแอสเซมบลี เลือก Animate explode จากเมนู ดังรูปที่ 3.23 จะปรากฏกลองโตตอบ Animation controller ดังรูปที่ 3.24
รูปที่ 3.23 ใหนกั ศึกษาทดลองใชทูลตางๆ ของ Animation Controller เพื่อดูการระเบิด และการประกอบ ชิ้นสวนไดตามความตองการ
รูปที่ 3.24 ขอแนะนํา นักศึกษาสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ดังกลาวเปนไฟลวีดีโอ AVI เพื่อที่จะนําไฟลไปแสดง และกําหนดคาตางๆ ตามที่ การเคลื่อนที่ในโปรแกรม Media Player อื่นๆ โดยการคลิกที่ปุม โปรแกรมตองการ การใหชิ้นสวนประกอบกลับหรือระเบิดออก การใหชิ้น ส ว นประกอบกลั บ หรือ ระเบิดออก สามารถทํา ไดโดยการคลิกไอคอน (Configuration-Manager) คลิกขวาบนไอคอนชื่อไฟลแอสเซมบลีแลวเลือก Collapse จากเมนู เมื่อ
16 ตองการประกอบเขาดังรูปที่ 3.25ซาย หรือเลือก Explode จากเมนู เมื่อตองการระเบิดออกดังรูปที่ 3.25ขวา
รูปที่ 3.25 ตัวอยางที่ 2 การประกอบชิน้ งานเขาดวยกันดวยคําสัง่ Mate 1. ใชไฟล
สรางชิ้นสวน 5 ชิ้น ดังรายละเอียดตามรูปที่ 3.26
รูปที่ 3.26 2. คลิกที่ไอคอน 3. ใชคําสั่ง
แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน
โปรแกรมจะเขาสูไฟลแอสเซมบลี
นําชิ้นสวนทั้ง 5 ชิ้นมาวางในไฟลแอสเซมบลีตามจํานวนดังรูปที่ 3.27
17
รูปที่ 3.27 4. เริ่มแรกใหประกอบชิ้นสวนที่ 3 กับชิ้นสวนที่ 4 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้ง จะมีหนาตาง Mate ปรากฏขึ้น คลิกเลือกเสนวงกลมของชิ้นสวน สอง แลวคลิกคําสั่ง ที่ 3 และเสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 4 ดังรูปที่ 3.28 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดย อัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
1 2
รูปที่ 3.28 5. ประกอบชิ้นสวนที่ 4 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้งสอง หมุน ดังรูป คลิกเลือกเสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 4 และเลือก ชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 โดยใชคําสั่ง เสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 ดังรูปที่ 3.29 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
18
1 2
รูปที่ 3.29 6. ประกอบชิ้นสวนที่ 4 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 2 เขาดวยกัน ดวยวิธีเดียวกับขอ 5 ดังรูปที่ 3.30
2 1
รูปที่ 3.30 7. ประกอบชิ้นสวนที่ 1 กับชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 1 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้งสอง หมุนชิ้นสวนที่ 2 โดย ใชคําสั่ง ดังรูป คลิกเลือกผิวดานลางของชิ้นสวนที่ 2 และผิวดานบนของชิ้นสวนที่ 1 ดังรูปที่ 3.31 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
1 2 รูปที่ 3.31
19 8. คลิกเลือกพื้นผิวดานหนาของชิ้นสวนที่ 1 และชิน้ สวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.32 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
1 2 รูปที่ 3.32 9. คลิกเลือกพื้นผิวดานขางของชิ้นสวนที่ 1 และชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.33 Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
1
โปรแกรมจะเลือก
2 รูปที่ 3.33
10. ประกอบชิ้นสวนที่ 1 กับชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 2 เขาดวยกัน ดวยวิธีตามขอ 7-9 จะไดผลดังรูปที่ 3.34
20
รูปที่ 3.34 11. ประกอบชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 2 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 2 เขาดวยกันโดย - คลิกเลือกพื้นผิวทรงกระบอกของชิ้นสวนที่ 5 และพื้นผิวในรูของชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.35ก โปรแกรมจะเลือก Concentric โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate - คลิกเลือกพื้นผิวดานหนาของชิ้นสวนที่ 2 และชิ้นสวนที่ 5 ดังรูปที่ 3.35ข โปรแกรมจะ เลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate จะไดผลดังรูปที่ 3.36 12. บันทึกไฟล 1
1 2 2
ก
ข รูปที่ 3.35
21
รูปที่ 3.36 3.4 การสราง Simulation 1. การจําลองการหมุนของลอทําได โดยคลิกเลือก Rotary motor ที่อยูในคําสั่ง จะปรากฏ หนาตางของ Rotary motor ขึ้นมาดังรูปที่ 3.37 ใหลากเมาสไปคลิกที่ผิวของโคงของชิ้นที่ 3 กําหนด ความเร็วในการหมุน (Velocity) ที่ตองการ แลวคลิกปุม 2. คลิกเลือก ที่อยูในคําสั่ง เพื่อใหโปรแกรมคํานวณและเปนการ บันทึกการจําลองการหมุนของลอ ซึ่งชิ้นงานที่ 3 จะหมุนไปอยางตอเนื่อง เมื่อตองการหยุดใหคลิก ที่อยูในคําสั่ง
รูปที่ 3.37 3. การแสดงการจําลองการหมุนของลอทําไดโดยคลิกเลือก ที่อยูในคําสั่ง จะปรากฏหนาตางของ Animation Controller ขึ้นมาดังรูปที่ 3.38 ซึ่งชิ้นที่ 3 จะหมุนรอบ ตัวเองไปเรื่อยๆ นักศึกษาสามารถทดลองใชทูลตางๆของ Animation Controller เพื่อดูการเคลื่อนที่
22 ของลอไดตามความตองการ
รูปที่ 3.38 ขอแนะนํา นักศึกษาสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ดังขอที่ 3 เปนไฟลวีดีโอ AVI เพื่อที่จะนําไฟลไปแสดง และกําหนดคาตางๆตามที่ การเคลื่อนที่ในโปรแกรม Media Player อื่น ๆ โดยการคลิกที่ปุม โปรแกรมตองการ 3.5 การตรวจสอบการซอนทับกันของชิ้นงาน 1. การตรวจสอบการซอนทับกันของชิ้นงานที่นํามาประกอบกันทําได โดยใชคําสั่ง เมื่อคลิก เลือกจะปรากฏหนาตางของ Interference Detection ขึ้นมาดังรูปที่ 3.39ก ใหคลิกเลือกชิ้นสวนที่ตองการจะตรวจสอบการซอนทับกัน 2. ในชอง หรือเลือกชิ้นสวนทั้งหมด เมื่อเลือกเสร็จใหกดปุม เพื่อใหโปรแกรมคํานวณหาการ ซอนทับกันของชิ้นงาน 3. เมื่อโปรแกรมตรวจพบการทับซอนกันของชิ้นสวนจะแสดงผลในชองของ Results ดังรูปที่ 3.40ข (เนื้อของชิ้นงานที่ทับซอนกันจะถูกแสดงเปนสีแดง) นักศึกษาสามารถตรวจสอบและทําการแกไข ใหถูกตอง
ก
ข รูปที่ 3.39
23 3.6 การสรางภาพระเบิดโดยคําสั่ง Explode View จากตัวอยางทีผ่ านมานักศึกษาไดฝกใชคําสั่ง Explode View สรางภาพระเบิดโดยการกรอกคา ระยะทีต่ องการใหชิ้นสวนระเบิด สําหรับในแบบฝกหัดนี้จะใชวิธี Drag and Drop หรือคลิกเมาสคาง ไวแลวลากไปวางในตําแหนงที่ตองการ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ บนทูลบารมาตรฐาน เมื่อคลิกคําสั่งนี้จะปรากฏหนาตาง Explode ขึ้นมา ซึ่ง 1. คลิกคําสั่ง นักศึกษาไมตอ งกําหนดหรือกรอกคาอะไรลงในหนาตางนี้ 2. ใหคลิกบนพืน้ ผิวของชิ้นสวนที่ตองการจะระเบิด จะเกิดพิกัด X,Y และ Z ขึ้นที่จุดนัน้ ใหคลิก เลือกแกนทีต่ องการจะระเบิดคางไว แลวลากเมาสไปปลอยลงในตําแหนงที่ตองการ ดังรูปที่ 3.40
รูปที่ 3.40 3. ระเบิดชิ้นสวนอื่นๆ ดวยวิธีการเชนเดียวกันกับขอที่ 2 ใหไดภาพระเบิดดังรูปที่ 3.41
รูปที่ 3.41 4. การใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวนแตละชิ้น โดยใชคําสั่ง ลักษณะดังรูปที่ 3.42
บนทูลบารมาตรฐาน ใหมี
24
ขอแนะนํา
รูปที่ 3.42 การคลิกเลือกตําแหนงการระเบิดของนักศึกษาอาจจะไมตรงกับในแบบฝกหัดนี้ ดังนั้นใหนักศึกษาเปลี่ยนทิศทางการระเบิดใหภาพที่ระเบิดออกมีลักษณะใกลเคียง กับตัวอยาง หรือนักศึกษาจะระเบิดไปตามทิศทางที่ตองการก็ได
25 แบบทดสอบที่ 5 ใหฝกการสรางชิ้นงาน 3 มิติ และนํามาประกอบเขาดวยกัน หนวยนิว้ (English)
ขอที่ 1
26 หนวยมิลลิเมตร (Metric)
ขอที่ 2
27 3.7 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing) หลังจากที่สรางชิ้นสวน 3 มิติ ไมวาจะเปนชิ้นสวนเดี่ยว (Part) หรือชิ้นสวนประกอบ (Assembly) เสร็จเรียบรอยแลวนั้น ขั้นตอนตอไปคือการนํางานเหลานั้นมาสรางเปนภาพเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing) และกําหนดรายละเอียดของงาน ไมวาจะเปนขนาด พิกัดความเผื่อ คุณภาพผิว วัสดุ ที่ใชในการผลิต และสัญลักษณในการเขียนแบบตาง ๆ ที่จําเปน เพื่อนําภาพเขียนแบบ 2 มิติ นั้น เสนอใหลูกคา หรือชางเทคนิคเพื่อทําการผลิตชิ้นสวนนั้นตอไป การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ ของ โปรแกรม Solidworks ทําไดงายมากๆ โดยการนําไฟลชิ้นสวน 3 มิติ หรือไฟลชิ้นสวนประกอบเขา มาวางในไฟล Drawing เลือกมุมมอง 2 มิติที่ตองการ ก็จะไดภาพเขียนแบบ 2 มิติ ของชิ้นสวนนั้นๆ ไฟล Drawing มีความเกี่ยวพันธแบบพาราเมตริกกับไฟลอื่นๆ กลาวคือเมื่อทําการแกไขขนาดของ ไฟลใดไฟลหนึ่งอีกไฟลก็จะแกไขเปลี่ยนแปลงตามกันไปดวย 3.7.1 ความหมายของ Drawing Tools Drawing จะประกอบดวยเครื่องมือใชงานบนทูลบารมาตรฐานดังตอไปนี้ ไอคอน คําสั่ง หนาที่ ใชวางภาพเขียนแบบ 2 มิติ ภาพแรกลง ในไฟล Drawing สามารถเลือก Model View มุมมองของการเขียนแบบไดตามความตองการ ใชสรางภาพฉายดานอืน่ ๆ หรือสรางภาพไอโซเมตริกจากภาพทีไ่ ดจาก Projected View Model View Auxiliary View
ใชสรางภาพฉายชวย โดยภาพที่ฉายจะตั้งฉากกับเสนขอบที่เราเลือก
Section View
ใชสรางภาพตัดเพื่อใหเห็นสวนประกอบภายในโดยใชเสนตัดตรง
ใชสรางภาพตัดเพื่อใหเห็นสวนประกอบภายในโดยใชสองเสนตัดทํา มุมกัน ใชสรางภาพขยายรายละเอียดของภาพอื่นๆ ในสวนที่ตอ งการใหเห็น Detail View รายละเอียดเพิม่ เติม ใชสรางภาพ Broken (ภาพที่ตัดสวนตรงกลางออกเหลือแตสวนปลาย Broken View ของทั้งสองดาน ทําใหประหยัดเนื้อทีใ่ นกระดาษเขียนแบบ) Standard 3 View ใชสรางภาพฉายทั้ง 3 ดานโดยอัตโนมัติ
Section View
28 3.7.2 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ จากไฟลชิ้นสวน (Part) หลังจากที่นักศึกษาไดสรางชิ้นสวน 3 มิติเปนเรียบรอยแลว สามารถนําชิ้นสวน 3 มิตินั้น มาทําเปนภาพเขียนแบบ 2 มิติ โดยวิธีดังนี้ 1. เปดไฟล Drawing โดยการคลิกไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน 2. โปรแกรม Solidworks จะมีมาตรฐานกระดาษเขียนแบบขนาดตางๆ ใหเลือก ใหนักศึกษา เลือก A4-Landscape และออปชันตางๆ ดังรูปที่ 3.43 คลิกปุม OK
วางกระดาษแนวนอน วางกระดาษแนวตั้ง
รูปที่ 3.43 3. โปรแกรมจะเขาคําสั่ง Model View โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อหาไฟล Part 3 ที่นักศึกษาสรางและบันทึกเก็บไวในตัวอยางของหัวขอการประกอบชิ้นงานดังรูปที่ 3.44 คลิกปุม Open แลวลากเมาสมาคลิกตําแหนงดังรูปที่ 3.45 คลิกปุม
รูปที่ 3.44
29
รูปที่ 3.45 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม นักศึกษาสามารถยายตําแหนงของภาพ Model View ไดโดยการคลิกเมาสที่ภาพนั้นคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ
) แลวลากไปปลอยวางยังตําแหนงที่ตองการ
4. คลิกที่ไอคอน ไปคลิกที่ภาพ Model View (ตําแหนงที่ 1) แลวลากเมาสลงมาดานลาง (ตําแหนงที่ 2) คลิกเมาส 1 ครั้ง จะไดภาพดานบน ดังรูปที่ 3.46 หลังจากนั้นใหเลือก Display Style แบบ Hidden Lines visible แลวคลิกปุม
รูปที่ 3.46
30 5. สรางภาพตัด โดยคลิกไอคอน จะปรากฏหนาตางของ Section View ใหกําหนดชื่อของภาพ ตัด (Label) =A มาตราสวน (Scale) และสไตลดังรูป ลากเมาสไปคลิกตําแหนงที่ 1 และ 2 ดังรูปที่ 3.47 ตามลําดับเพื่อสรางเสนตัด แลวลากเมาสมาวางตําแหนงที่ตองการวางภาพตัด คลิกปุม จะ ไดผลลัพธดังรูป
รูปที่ 3.47 6. การแสดงภาพรายละเอียดของสวนที่ตองการ ทําไดโดยการคลิกที่ไอคอน คลิกเลือกภาพที่ ตองการทํา Detail ในตัวอยางนี้ ใหคลิกที่ภาพตัด แลวคลิกสรางวงกลมใหมีขนาดครอบคลุมตําแหนง ที่ตองการสราง Detail ดังรูปที่ 3.48 แลวลากเมาสไปวางตําแหนงที่ตองการ พรอมกันนั้นจะปรากฏ หนาตาง Detail View ดังรูป ใหกําหนดชื่อภาพ (Label) = B มาตราสวน (Scale) = 1:1 และ สไตล เปนแบบ Hidden line Remove คลิกปุม
รูปที่ 3.48 7. ใชคําสั่ง
สรางภาพ Isometric ดานลางของภาพตัดดังรูปที่ 3.49 คลิกปุม
31
รูปที่ 3.49 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม นักศึกษาสามารถแกไขหรือกําหนดมาตรฐานการเขียนแบบตางๆ ของ Drawing ไดตาม ความตองการ โดยคลิกที่ปุม Option จะปรากฏหนาตางของ System Options และ Document Properties ดังรูปที่ 3.50 ซึ่งสามารถแกไขมาตรฐานการเขียนแบบของ Drawing ไดที่แท็บ Document Properties
รูปที่ 3.50 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม นักศึกษาสามารถแกไข มุมมอง รูปแบบของการแสดงภาพ มาตรสวน หรืออื่นๆ ที่ตองการ ของภาพ Drawing ไดทุกภาพ โดยการคลิกเมาสที่ภาพที่ตองการแก จะปรากฏหนาตางของ Drawing view ดังรูปที่ 3.51 ซึ่งสามารถแกไขตามความตองการ แลวคลิกปุม
32
รูปที่ 3.51 8. การกําหนดขนาดของแบบ 2 มิติ การกําหนดขนาดใหภาพเขียนแบบสามารถทําได 2 วิธี คือ การ กําหนดขนาดอัตโนมัติ และการกําหนดขนาดดวยตัวเอง - การกําหนดขนาดอัตโนมัติ ทําได ดังนี้ คลิกไอคอน
(Annotations)
ดังรูปที่
3.52 ทูลบารจะเปลี่ยนเปน Drawing
หรือคําสั่ง แลวลากเมาสไปคลิกเลือกรูปที่ตองการจะให Annotation ใชคําสั่ง เสนใหขนาดจะแสดงอัตโนมัติ การใหขนาดวิธีนี้โปรแกรมจะอางอิง ขนาดคลิกปุม ตามขนาดของชิ้นสวน 3 มิติที่นักศึกษากําหนดตอนสเกตซ ดังนั้นตําแหนงการวางขนาด ในภาพเขียนแบบ 2 มิติ อาจจะไมสวยงาม หรือไมวางในตําแหนงที่เราตองการ นักศึกษา สามารถยายตําแหนงของเสนกําหนดขนาดไดโดยการลากเมาสไปวางบนเสนบอกขนาด นั้นแลวคลิกที่ตัวเลขหรือเสนกําหนดขนาดคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) แลวลากเมาสไปวางปลอยลงในตําแหนงที่ตองการ
รูปที่ 3.52
33 - กําหนดขนาดดวยตัวเอง ทําไดดังนี้ เลือกใชกลุมคําสั่งการใหขนาด แลวลากเมาสไปคลิกใหขนาด ตามตองการ ใหนักศึกษาใชคําสั่งการใหขนาดแบบตาง ๆ ฝกใหขนาดกับภาพดานขาง ของชิ้นสวนที่ 3 ดังรูปที่ 3.53
รูปที่ 3.53 การกําหนดสัญลักษณเขียนแบบตาง ๆ ลงในภาพเขียนแบบ 2 มิติ นักศึกษาสามารถกําหนดสัญลักษณการเขียนแบบตาง ๆ เชน คุณภาพผิวงาน สัญลักษณ งานเชื่อม พิกัดความเผื่อตาง ๆ ลงบนภาพเขียนแบบ 2 มิติ โดยการคลิกเลือก (Annotations) จากเมนูจะปรากฏไอคอนสัญลักษณเขียนแบบตาง ๆใหเลือกใช ในตัวอยางนี้จะกลาวถึงเฉพาะ สัญลักษณเขียนแบบที่ใชงานบอยๆ เทานั้น สวนสัญลักษณที่ไมไดกลาวถึงนักศึกษาสามารถทดลอง ใชไดโดยการดูจากเครื่องมือชวย (Help) ของโปรแกรม การใชเครื่องมือ Center line Centerline เปนคําสั่งที่ใชสรางเสนศูนยกลางของรูปที่มีความสมมาตรกัน บนทูลบารมาตรฐาน 1. คลิกที่ปุม 2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนดานขางทั้งสองเสนของภาพดานบนชิ้นสวนที่ 3 (ตําแหนงที่ 1 และตําแหนงที่ 2 ดังรูปที่ 3.54 ตามลําดับ) โปรแกรมจะสรางเสนศูนยกลางตัดกลางเสน ที่เลือกทันที ซึ่งขณะนี้นักศึกษายังอยูในคําสั่ง Center line สามารถที่จะไปคลิกสรางเสน ศูนยกลางเสนอื่นๆ ได 3. สรางเสน Center line ของภาพดานขางดังรูปที่ 3.55 ดังวิธีเดียวกับขอ 3 4. คลิกปุม เพื่อออกจากคําสั่ง
34
1
2
รูปที่ 3.54
รูปที่ 3.55 การใชเครื่องมือ Datum Feature Datum Feature เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณพิกัดความเผื่อตําแหนงและรูปราง บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Datum Feature ขึ้นดังรูปที่ 3.56 1. คลิกที่ปุม กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ตองการ 2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนของภาพดานบนของชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงดังรูปที่ 3.56 แลวคลิก ปุม เพื่อออกจากคําสั่ง
35
รูปที่ 3.56 การใชเครื่องมือ Datum Target Datum Target เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณพิกัดความเผื่อตําแหนงและรูปรางที่สัมพันธ กับ Datum Feature 1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Datum Target ขึ้นดังรูปที่ 3.57 กรอกคาของ Datum กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ตองการ 2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนของภาพดานบนของชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงดังรูปที่ 3.57 แลวคลิก ปุม เพื่อออกจากคําสั่ง จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.58
รูปที่ 3.57
รูปที่ 3.58
36 การใชเครื่องมือ Surface Finish Surface Finish เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณแสดงคาความหยาบของผิวชิ้นงาน 1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Surface Finish ขึ้นดังรูปที่ 3.59 กรอกคา ของความหยาบ กํา หนดรู ป แบบของตั ว หนัง สื อ และรู ปแบบของสั ญลั ก ษณ ที่ ตองการ 2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนวงกลมของภาพดานหนาชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงที่ ดังรูปที่ 3.59 แลวคลิกปุม เพื่อออกจากคําสั่ง จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.60
ภาพที่ 3.59
รูปที่ 3.60 เมื่อทําเสร็จทุกขั้นตอนจะไดผลลัพธของภาพเขียนแบบ 2 มิติ ดังรูปที่ 3.61
37
รูปที่ 3.61 3.4.3 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ จากไฟลแอสเซมบลี (Assembly) 1. คลิก New แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเปดไฟล Drawing 2. ใหเลือก A4-Landscape และออปชันตางๆ ตามวิธีการดังหัวขอที่ผานมา เพื่อหาไฟล 3. โปรแกรมจะเขาคําสั่ง Model View โดยอัตโนมัติ คลิกปุม Assembly ที่นักศึกษาสรางและบันทึกเก็บไวในตัวอยางของหัวขอการประกอบชิ้นงาน ดังรูปที่ 3.62 คลิกปุม Open
รูปที่ 3.62
38 4. ใหกําหนดมุมมองของภาพเปน Isometric View สไตลเปนแบบ Hidden line Remove และมาตรา สวน (Scale) = 1: 3 ดังภาพที่ 3.63 ซาย แลวลากเมาสมาคลิกตําแหนงดังรูปที่ 3.63ขวา คลิกปุม
รูปที่ 3.63 5. ทําเหมือนขอที่ 3 โดยใชคําสั่ง Model View แตตองทําการประกอบกลับ Assembly ที่บันทึกไวในหัวขอที่แลว
รูปที่ 3.64
(Collapse) ไฟล
39 6. ใหกําหนดมุมมองภาพเปน Isometric View มาตราสวน (Scale) = 1:2 และสไตลเปนแบบ Shaded with Edge คลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.64 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม นักศึกษาสามารถยายตําแหนงของภาพตางๆ โดยการคลิกเมาสที่ภาพนั้นคางไว (ลูกศรจะ เปลี่ยนเปนสัญลักษณ
) แลวลากไปปลอยวางยังตําแหนงที่ตองการ
7. การสราง Balloon การสราง Balloon หรือการกําหนดหมายเลขกํากับชิ้นสวน สามารถทําได 2 วิธีคือ (เปลี่ยน Drawing Tools เปน Annotations Tools โดยวิธีการดังตัวอยางที่ผานมา) (Auto Balloon) แลวลากเมาสไป 7.1 การสราง Balloon พรอมกันทุกชิ้นสวน โดยการคลิกปุม คลิกภาพที่ตองการทํา Balloon จะปรากฏหนาตางโตตอบ Auto Balloon ดังรูปที่ 3.65 ใหเปลี่ยน คลิกปุม จะเกิด Balloon กระจัดกระจายดังรูปที่ 3.65
รูปที่ 3.65 7.2 การทํา Balloon ทีละชิ้นสวน โดยการคลิกปุม แลวไปคลิกบนชิ้นสวนในภาพที่ ตองการทํา Balloon คลิกปุม เพื่อยอมรับและออกจากคําสั่ง Balloon การยายตําแหนงตัวเลขและตําแหนงการชีข้ องลูกศรบนภาพชิ้นสวนของ Balloon นักศึกษาสามารถจะยายตําแหนงตัวเลขของ Balloon แตละหมายเลขได โดย การคลิกที่ตัวเลขจะมีปุมสีเขียวเกิดขึ้นที่ตัวเลขและที่ลูกศรใหคลิกที่ปุมสีเขียวของ ) ดังรูปที่ 3.66 ลากเมาสไปปลอย ตัวเลขคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ
40 วางยังตําแหนงที่ตองการ สวนการยายตําแหนงการชี้ของลูกศรบนภาพชิ้นสวนใหคลิก เมาสคางไวที่ปุมสีเขียวของลูกศรแลวทําเชนเดียวกับวิธีการยายตัวเลข
รูปที่ 3.66 การลบและแกไข Balloon -การลบ Balloon ทําไดโดยคลิกบน Balloon ที่ตองการลบแลวกด Delete บนคียบอรด -การแกไข Balloon ทําไดโดยคลิกบน Balloon ที่ตองการ จะปรากฏหนาตาง Balloon ขึ้นมาดังรูปที่ 3.67 ซึ่งสามารถแกไขชนิดและหมายเลขของ Balloon ไดตามความตองการ
รูปที่ 3.67 8. การสรางตารางรายการชิ้นสวน (Bill of Materials)
41 การสร า งตารางรายการชิ้ น ส ว น หรื อ รายการวั ส ดุ ทํ า ได โ ดยการคลิ ก ที่ ไ อคอน บนทู ล บาร ม าตรฐาน แล ว ลากเมาส ไ ปคลิ ก ที่ ภ าพที่ ต อ งการบอกรายการ เลื อ ก ชิ้นสวน ในตัวอยางนี้ใหคลิกที่ภาพ Assembly ภาพใดก็ได จะปรากฏหนาตาง Bill of Materials ดัง รูปที่ 3.68 ซาย
รูปที่ 3.68 9. กําหนดออปชันของ Bill of Materials ดังรูป แลวลากเมาสไปคลิกวางในตําแหนงดังรูปที่ 3.68ขวา จะไดตารางรายการชิ้นสวนของภาพที่เลือกบันทึกไฟล
42 แบบทดสอบที่ 6 ใหฝกสรางงานDrawing 2 มิติโดยใชรูปดังตอไปนี้
ขอที่ 1
ขอที่ 3
ขอที่ 5
ขอที่ 2
ขอที่ 4
ขอที่ 6
43
ขอที่ 7