คำชี้แจง
การจัดทำ “รายงานประจำปี 2550 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ” ฉบับนี้เป็นการแสดง ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2550 ซึง่ ในขณะนัน้ มหาวิทยาลัยยังมีสถานภาพเป็นสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ดังนั้นเนื้อหาภายในเล่มจะยังคงใช้คำว่า “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ” แต่เนื่องจากรายงานประจำปีฉบับนี้ ออกเผยแพร่ ห ลั ง จากที่ ส ถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ เปลี่ ย นสถานภาพเป็ น “มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ” แล้ว จึงใช้ชื่อว่า “รายงานประจำปี 2550 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ”
สารบัญ
หน้ า
กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ
2-3
เกียรติประวัติของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สารอธิการบดี
ปรัชญา ปณิธาน สัญญลักษณ์
คณะผู้บริหาร
10-20
ประวัติและพัฒนาการของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
21-25
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
เป้าประสงค์ที่ 1 บริหารจัดการทรัพยากรคล่องตัวมุ่งสู่คุณภาพ
เป้าประสงค์ที่ 2 ผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิชาการชั้นสูงที่พึงประสงค์
เป้าประสงค์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยและพัฒนา
69-88
เป้าประสงค์ที่ 4 ให้บริการวิชาการอย่างมีมาตรฐาน
89-96
เป้าประสงค์ที่ 5 ทำนุบำรุงอนุรักษ์และจรรโลงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
สารสนเทศ
4-5 7 8-9
26
27-44
45-68
97-100 101-112
กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี และในมิ่งมงคลวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2550 สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่่ หั ว ฯ
ในวโรกาสนี้ ได้แก่ 1. สภาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีมติในคราวประชุมครั้งที่ 6/2550 เมื่อวันที่
15 สิงหาคม 2550 ขอพระราชทานทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชฯ
2. การจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระจอมเกล้าพระนครเหนือ เทิดไท้องค์ราชันนิทรรศ เมื่อ วันที่ 22-25 มกราคม 2550 ในการนี้สถาบันได้ทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จเป็น
องค์ประธานเปิดงานในวันที่ 22 มกราคม 2550 3. การถวายสัตย์ปฏิญาณ เพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน ในวันที่ 4 ธันวาคม 2549 ณ ห้องประชุมประดู่แดง อาคารอเนกประสงค์ สจพ. 4. ร่วมเดินเทิดพระเกียรติ ณ ท้องสนามหลวง ในวันที่ 5 ธันวาคม 2549 เนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ประจำปี พ.ศ. 2549 เพื่อเป็นการแสดงความสำนึก ในพระมหากรุณาธิคุณ และความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รวมทั้งเพื่อแสดงความ มุ่งมั่นแน่วแน่ที่จะปฏิบัติตามรอยพระยุคลบาท
เกียรติประวัติของ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (สจพ.) หน่วยงานดีเด่นของชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รางวัลพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ประจำปี พ.ศ. 2550
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติให้เป็น หน่วยงานดีเด่นของชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีพุทธศักราช 2550 ประเภทหน่วยงาน ซึ่งเป็น รางวัลพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ นับเป็นเกียรติยศและเกียรติประวัติแก่สถาบันที่ได้รับการ ยอมรับและประกาศเกียรติคุณผลงานการศึกษาวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของสถาบันมาอย่างต่อเนื่องให้เป็นที่ประจักษ์ รางวัลพระราชทานที่ได้รับนี้จะเป็นขวัญ กำลังใจ และแรงบันดาลใจ
อันยิ่งใหญ่ให้หน่วยงาน คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษาของสถาบันได้ทุ่มเทสร้างสรรค์พัฒนาการศึกษา วิจัยและ การสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้มคี วามเจริญก้าวหน้ายิง่ ๆ ขึน้ ไป โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี อธิการบดีได้เข้ารับพระราชทานรางวัลนี้จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
ในวันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2550 เวลา 17.00 น. ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
รายงานประจำปี 2550
อธิการบดีเข้ารับโล่ประกาศเกียรติคุณจากคุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นตัวแทนนายกรัฐมนตรี ในงานประกาศเกียรติคุณ บุคคล หน่วยงานและโครงการดีเด่นของชาติ ครั้งที่ 18 ประจำพุทธศักราช 2550 ณ ตึกสันติไมตรี (หลังนอก) ทำเนียบรัฐบาล ในวันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2550
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
รายงานประจำปี 2550
สารอธิการบดี ปีงบประมาณ 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีการปรับ แผนยุ ท ธศาสตร์ ข องสถาบั น ให้ ค รอบคลุ ม ภารกิ จ ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาครบทั้ ง 4 ประการให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เมื่อก้าวเข้าสู่แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ในรายงานประจำปี 2550 ฉบับนี้จึงได้เสนอ ผลการดำเนินงานของ สถาบันที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงความเพียร พยายามของบุ ค ลากรทุ ก ฝ่ า ยที่ ช่ ว ยกั น ผลั ก ดั น ให้ ส ถาบั น มี พ ลั ง ขั บ เคลื่ อ นไปตาม เป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ให้ช่วงรอยต่อระหว่างการปรับเปลี่ยนสถานภาพของสถาบันเป็น มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาลได้อย่างต่อเนื่อง การดำเนินงานในปีงบประมาณ 2550 สถาบันได้ทุ่มเทสรรพกำลังที่มีอยู่เพื่อ เตรียมความพร้อมสำหรับการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล โดยด้านการบริหาร นอกจากมีการปรับแผนยุทธศาสตร์แล้วยังมีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ บริหารจัดการให้มีความคล่องตัวเพิ่มขึ้น ทั้งในด้านงบประมาณ การเงินและการเก็บ ข้อมูลต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในการจัดการศึกษาสถาบันยังคงมุ่งเน้นการผลิต บัณฑิตที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับตลาดแรงงาน โดยมีความร่วมมือทางวิชาการทั้งใน ประเทศและต่างประเทศในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ในการมุ่งสู่ มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย และพั ฒ นามี ก ารปรั บ ปรุ ง ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆ ให้ เ อื้ อ ต่ อ การ สร้ า งสรรค์ ผ ลงานวิ จั ย ของคณาจารย์ แ ละบุ ค ลากรมากขึ้ น โดยการขยายการให้ ทุ น อุดหนุนจากกองทุนวิจัยของสถาบันในลักษณะต่างๆ และเพิ่มวงเงินการให้ทุนอุดหนุน การวิ จั ย การส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารตี พิ ม พ์ บ ทความวิ จั ย ในวารสารวิ ช าการทั้ ง ภายในและ ภายนอกสถาบันเพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ด้านการบริการ วิ ช าการแก่ สั ง คมมี ก ารตรวจสอบการรั บ รองมาตรฐานสากลของทุ ก หน่ ว ยงานอย่ า ง ต่อเนื่อง และเน้นการให้บริการวิชาการแก่ ภาคอุตสาหกรรม โดยการร่วมมือกับหน่วย งานทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไ ด้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง นอกจากนี้ ส ถาบั น ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของการ ทำนุ บำรุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและภู มิ ปั ญ ญาไทยอั น เป็ น มรดกอั น ล้ำ ค่ า ของชาติ ใ ห้ มี ก าร สืบทอดประเพณีไทยอันดีงามด้วยการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นการส่งเสริมการปลูกฝัง จิตสำนึกให้บุคลากรและนักศึกษามีความรักและความภาคภูมิใจต่อวัฒนธรรมประเพณีที่ ดีงามของชาติและของสถาบันต่อไป จากผลงานที่ปรากฏในรายงานประจำปี 2550 ฉบับนี้ส่งผลให้สถาบัน ได้ รั บ คัดเลือกจาคณะกรรมการส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติให้เป็นหน่วยงานดีเด่นประจำปี 2550 ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นรางวัลพระราชทานจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ นับเป็นเกียรติประวัติอันสูงส่งที่ได้รับรางวัลเกียรติยศนี้ ในโอกาสนี้จึงขอ ขอบคุณบุคลากรทุกฝ่ายและผู้สนับสนุนทุกท่านที่ช่วยส่งเสริมการดำเนินงานของสถาบัน ให้เจริญก้าวหน้ามาโดยตลอด และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความเกื้อหนุนจากท่านเช่น นี้ตลอดไป
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี) อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ปรัชญา
“พัฒนาคน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
ปณิธาน ม ุ่งมั่นที่จะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ วิชาการชั้นสูงที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้คู่คุณธรรมเพื่อเป็นผู้พัฒนาและสร้างสรรค์เทคโนโลยีที่เหมาะสม อันก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
รายงานประจำปี 2550
สัญญลักษณ์ ตราประจำสถาบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้พระราช ทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญ พระมหามงกุฎ ซึ่งเป็นพระบรมราชลัญจกรประจำพระองค์ในพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ให้เป็นตรา ประจำสถาบัน
สิ่งสักการะประจำสถาบัน
ต้นไม้ประจำสถาบัน
หลวงพ่อสิงห์ ประดิษฐ์สถานอยู่ ณ หอพระหน้าสถาบัน
ต้ น ประดู่ แ ดง เป็ น ไม้ เ นื้ อ แข็ ง ที่ มี ค วามแข็ ง แกร่ ง ซึ่งแสดงถึง ความแข็งแกร่งของสถาบัน มีดอกสีแดง เข้มเหมือนหมากสุกที่มีสีสันพ้องกับ สีประจำสถาบัน และจะออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งตรงกับวัน สถาปนาสถาบันคือวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ของทุกปี
สีประจำสถาบัน สีแดงหมากสุก เป็นสีประจำพระองค์ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ที่สถาบันอัญเชิญ มาเป็นสีประจำสถาบัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สภาสถาบัน
ศาสตราจารย์ ดร. เกษม สุวรรณกุล นายกสภาสถาบัน
ดร.ชุมพล เที่ยงธรรม
กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิและอุปนายก
นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ
กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ
นายโอภาส เขียววิชัย
กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒ ิ
ดร. นิพนธ์ สุรพงษ์รักเจริญ
กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี 10
กรรมการสภาสถาบันโดยตำแหน่ง (ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550)
รายงานประจำปี 2550
ดร. สุรินทร์ โตทับเที่ยง
กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒ ิ
ศาสตราจารย์ ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ กรรมการสภาสถาบันโดยตำแหน่ง (ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม 2550)
รองศาสตราจารย์ ชัยพร วงศ์พิศาล กรรมการสภาสถาบันโดยตำแหน่ง
สภาสถาบัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์ กรรมการสภาสถาบันประเภทผู้บริหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีระศักดิ์ เสรีกุล กรรมการสภาสถาบันประเภทผู้บริหาร
อาจารย์ชาญวุฒิ พณิชีพ
กรรมการสภาสถาบัน ประเภทผู้แทนคณาจารย์ประจำ (ถึงวันที่ 14 มีนาคม 2550)
นายดิศักดิ์ ศรีสุวรรณ
กรรมการสภาสถาบันประเภทศิษย์เก่า
รองศาสตราจารย์ อุดม จีนประดับ
กรรมการสภาสถาบันประเภทผู้บริหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมนึก วิสุทธิแพทย์ กรรมการสภาสถาบันประเภทผู้บริหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธานินทร์ ศิลป์จารุ รองศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร พลาวงศ์ กรรมการสภาสถาบัน ประเภทผู้แทนคณาจารย์ประจำ (ถึงวันที่ 14 มีนาคม 2550)
กรรมการสภาสถาบัน ประเภทผู้แทนคณาจารย์ประจำ (ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2550)
รองศาสตราจารย์ ดร.กมลวัลย์ ลือประเสริฐ กรรมการสภาสถาบัน ประเภทผู้แทนคณาจารย์ประจำ (ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2550)
นายแสงชัย โชติช่วงชัชวาล
กรรมการสภาสถาบันประเภทศิษย์เก่า
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรา สังข์สุวรรณ เลขานุการสภาสถาบัน (ถึงวันที่ 14 สิงหาคม 2550)
เลขานุการสภาสถาบัน (ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2550)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
11
คณะผู้บริหาร
ศาสตราจารย์ ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี
อธิการบดี (ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม 2550)
อธิการบดี (ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550)
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรา สังข์สุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วิภาวิวัฒน์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์ รองอธิการบดี ประจำวิทยาเขต สจพ.ปราจีนบุรี
12
รายงานประจำปี 2550
รองอธิการบดีฝ่ายการคลัง
รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
อาจารย์อรุณ พุฒยางกูร
อาจารย์สิกานต์ กุญชรจันทร์
รองอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมและพัฒนา กิจการมหาวิทยาลัย
รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ (ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550)
คณะผู้บริหาร
รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธชัย บรรเทิงจิตร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายอุตสาหกรรมสัมพันธ์ (ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักร จันทลักขณา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา (ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2550)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรังศี เดชเจริญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรรยา ทองดี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา (ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2550)
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร (ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรรยา ทองดี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา (ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม 2550)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพล ทิพยกานนท์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ (ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550)
อาจารย์สมชาย เวชกรรม
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา (ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
13
คณะผู้บริหาร รองศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ชื่นแขก คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ เมธาภัทร คณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
รองศาสตราจารย์ วิชัย สุรเชิดเกียรติ
คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีระศักดิ์ เสรีกุล คณบดีคณะเทคโนโลยีและ การจัดการอุตสาหกรรม
รองศาสตราจารย์ ดร.มนต์ชัย เทียนทอง
คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
รองศาสตราจารย์ สุรภี ตันเสียงสม คณบดีคณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ (ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2549)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประนอม อุตกฤษฏ์
คณบดีคณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์
คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร (รักษาราชการแทน ถึงวันที่ 30 กันยายน 2550)
อาจารย์สมชาย เวชกรรม
คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร (รักษาราชการแทน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2550)
ดร.มงคล หวังสถิตย์วงษ์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
14
รายงานประจำปี 2550
คณะผู้บริหาร รองศาสตราจารย์ บรรเลง ศรนิล
ผู้อำนวยการบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ถึงวันที่ 12 ตุลาคม 2549)
รองศาสตราจารย์ ศิวิไล ถนอมสวย
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2549)
อาจารย์มนตรี เข็มราช
ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดกลาง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมนึก วิสุทธิแพทย์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร.คณิต เฉลยจรรยา ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเทคโนโลยี เพื่ออุตสาหกรรม
รองศาสตราจารย์ อุดม จีนประดับ
ผู้อำนวยการสำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนาฤทธิ์ เศรษฐกุล ผู้อำนวยการศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยี ไทย-ฝรั่งเศส
รองศาสตราจารย์ ชัยพร วงศ์พิศาล
ประธานสภาคณาจารย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
15
แผนภูมิแสดงการบริหารสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีงบประมาณ 2550
สภาสถาบัน (นายกสภาสถาบัน) สภาคณาจารย
อ.ก.ม.สถาบัน สถาบัน (อธิการบดี) (รองอธิการบดี)
สภาขาราชการ
คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการวิชาการ
สภาพนักงาน มหาวิทยาลัย
คณะกรรมการ ประจำคณะ/ วิทยาลัย/ บัณฑิตวิทยาลัย
สำนักงานคณบดี/ สำนักงานผูอำนวยการ (หัวหนาสำนักงาน)
16
คณะ/วิทยาลัย/ บัณฑิตวิทยาลัย (คณบดี/ ผูอำนวยการ)
คณะกรรมการ ประจำสำนักงาน อธิการบดี
ภาควิชา/ฝาย/ศูนย (หัวหนาภาควิชา/ หัวหนาฝาย/หัวหนาศูนย)
รายงานประจำปี 2550
สำนักงาน อธิการบดี (หัวหนา สำนักงาน)
กอง/ศูนย (ผูอำนวยการกอง/ ผูอำนวยการศูนย)
สำนัก (ผูอำนวยการ สำนัก)
สำนักงานผูอำนวยการ (หัวหนาสำนักงาน)
คณะกรรมการ ประจำสำนัก
ฝาย/ศูนย (หัวหนาฝาย/ หัวหนาศูนย)
คณะกรรมการบริหาร
(ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม 2550) ประธานกรรมการ ศาสตราจารย์ ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ กรรมการ รองศาสตราจารย์ ชาญ ถนัดงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรา สังข์สุวรรณ อาจารย์อรุณ พุฒยางกูร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทวีป งามสม รองศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ชื่นแขก รองศาสตราจารย์ วิชัย สุรเชิดเกียรติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมนึก วิสุทธิแพทย์ รองศาสตราจารย์ ดร.คณิต เฉลยจรรยา รองศาสตราจารย์ ดร.มนต์ชัย เทียนทอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีระศักดิ์ เสรีกุล รองศาสตราจารย์ ชัยพร วงศ์พิศาล นางสุชาดา จิตรเมตตาชน กรรมการและเลขานุการ รองศาสตราจารย์ วัฒนา ปิ่นเสม ผู้ช่วยเลขานุการ นางสาวทัศนีย์ ตรีธาร
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วิภาวิวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักร จันทลักขณา รองศาสตราจารย์ บรรเลง ศรนิล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ เมธาภัทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์ รองศาสตราจารย์ สุรภี ตันเสียงสม อาจารย์มนตรี เข็มราช รองศาสตราจารย์ อุดม จีนประดับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนาฤทธิ์ เศรษฐกุล อาจารย์ชาญวุฒิ พณิชีพ นางศิริวิช ดโนทัย
นางสาวเบญจมาศ จงรักษ์ (ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550)
ประธานกรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี กรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง อาจารย์อรุณ พุฒยางกูร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์ รองศาสตราจารย์ ชัยพร วงศ์พิศาล รองศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ชื่นแขก รองศาสตราจารย์ วิชัย สุรเชิดเกียรติ รองศาสตราจารย์ ดร.มนต์ชัย เทียนทอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประนอม อุตกฤษฏ์ อาจารย์ สมชาย เวชกรรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมนึก วิสุทธิแพทย์ รองศาสตราจารย์ ดร.คณิต เฉลยจรรยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนาฤทธิ์ เศรษฐกุล นางศิริวิช ดโนทัย กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรา สังข์สุวรรณ ผู้ช่วยเลขานุการ นางสาวทัศนีย์ ตรีธาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วิภาวิวัฒน์ อาจารย์สิกานต์ กุญชรจันทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพล ทิพยกานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรรยา ทองดี รองศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ เมธาภัทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีระศักดิ์ เสรีกุล รองศาสตราจารย์ บรรเลง ศรนิล รองศาสตราจารย์ ศิวิไล ถนอมสวย ดร.มงคล หวังสถิตย์วงษ์ อาจารย์มนตรี เข็มราช รองศาสตราจารย์ อุดม จีนประดับ รองศาสตราจารย์ ดร.กมลวัลย์ ลือประเสริฐ นางสุชาดา จิตรเมตตาชน
นางสาวเบญจมาศ จงรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
17
คณะอนุกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย (อ.ก.ม.) (ถึงวันที่ 21 กรกฎาคม 2550) ประธาน อ.ก.ม. ศาสตราจารย์ ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ อ.ก.ม. โดยตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ ชาญ ถนัดงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรา สังข์สุวรรณ อาจารย์อรุณ พุฒยางกูร รองศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ชื่นแขก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี อาจารย์มนตรี เข็มราช รองศาสตราจารย์ อุดม จีนประดับ อ.ก.ม. ผู้ทรงคุณวุฒ ิ รองศาสตราจารย์ ดร.มนต์ชัย เทียนทอง นายธีระ ภักดีวานิช อ.ก.ม.โดยตำแหน่ง และเลขานุการ รองศาสตราจารย์ วัฒนา ปิ่นเสม อ.ก.ม.ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ช่วยเลขานุการ นางสาวปราณี เข็มวงศ์ทอง
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วิภาวิวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ เมธาภัทร รองศาสตราจารย์ วิชัย สุรเชิดเกียรติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีระศักดิ์ เสรีกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมนึก วิสุทธิแพทย์ รองศาสตราจารย์ ดร.คณิต เฉลยจรรยา รองศาสตราจารย์ ชัยพร วงศ์พิศาล รองศาสตราจารย์ สุรภี ตันเสียงสม
(ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2550) ประธาน อ.ก.ม. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี อ.ก.ม. โดยตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง อาจารย์อรุณ พุฒยางกูร รองศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ชื่นแขก รองศาสตราจารย์ วิชัย สุรเชิดเกียรติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์ รองศาสตราจารย์ ศิวิไล ถนอมสวย อาจารย์มนตรี เข็มราช รองศาสตราจารย์ อุดม จีนประดับ อ.ก.ม. ผู้ทรงคุณวุฒ ิ รองศาสตราจารย์ ดร.มนต์ชัย เทียนทอง นายธีระ ภักดีวานิช อ.ก.ม.โดยตำแหน่ง และเลขานุการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรา สังข์สุวรรณ อ.ก.ม.ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ช่วยเลขานุการ นางสาวปราณี เข็มวงศ์ทอง 18
รายงานประจำปี 2550
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วิภาวิวัฒน์ อาจารย์สิกานต์ กุญชรจันทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ เมธาภัทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีระศักดิ์ เสรีกุล ดร.มงคล หวังสถิตย์วงษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมนึก วิสุทธิแพทย์ รองศาสตราจารย์ ดร.คณิต เฉลยจรรยา รองศาสตราจารย์ ชัยพร วงศ์พิศาล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประนอม อุตกฤษฏ์
คณะกรรมการวิชาการ (ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม 2550)
ประธานกรรมการ ศาสตราจารย์ ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ กรรมการ รองศาสตราจารย์ ชาญ ถนัดงาน อาจารย์อรุณ พุฒยางกูร รองศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ชื่นแขก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีระศักดิ์ เสรีกุล รองศาสตราจารย์ ดร.มนต์ชัย เทียนทอง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒ ิ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรินทร์ เหล่าสุขสถิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพร รัตนพันธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร พลาวงศ์ กรรมการและเลขานุการ รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง ผู้ช่วยเลขานุการ นางทิพวรรณ รัตนวงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วิภาวิวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ เมธาภัทร รองศาสตราจารย์ วิชัย สุรเชิดเกียรติ รองศาสตราจารย์ ดร.สุวัฒน์ กุลธนปรีดา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี รองศาสตราจารย์ สุรภี ตันเสียงสม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักร จันทลักขณา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธานินทร์ ศิลป์จารุ
นางสาวธนพร ดีจงเจริญ
(ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2550) ประธานกรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี กรรมการ ศาสตราจารย์ ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ อาจารย์ สิกานต์ กุญชรจันทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ชื่นแขก รองศาสตราจารย์ วิชัย สุรเชิดเกียรติ รองศาสตราจารย์ ดร.มนต์ชัย เทียนทอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประนอม อุตกฤษฏ์ ดร.มงคล หวังสถิตย์วงษ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒ ิ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรินทร์ เหล่าสุขสถิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพล ศรีบุญทรง กรรมการและเลขานุการ รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง ผู้ช่วยเลขานุการ นางทิพวรรณ รัตนวงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วิภาวิวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ จตุรพาณิชย์ รองศาสตราจารย์ ดร.พิสิฐ เมธาภัทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีระศักดิ์ เสรีกุล ดร.มลพิไล นรสิงห์ อาจารย์ สมชาย เวชกรรม รองศาสตราจารย์ ศิวิไล ถนอมสวย รองศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร พลาวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพร รัตนพันธ์
นางสาวธนพร ดีจงเจริญ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
19
คณะกรรมการดำเนินงานสภาคณาจารย์ ประธานสภาคณาจารย์ รองศาสตราจารย์ ชัยพร วงศ์พิศาล รองประธานสภาคณาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพล ศรีบุญทรง กรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ นาคปทุมสวัสดิ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สินชัย ชินวรรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชนัดดา เหมือนแก้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมศักดิ์ ว่องวิชญกร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เพียรพูล เกิดวิชัย อาจารย์ บุญยะวัตร หนูหงษ์ อาจารย์ วรรณชัย วรรณสวัสดิ์ อาจารย์ มาณัติ ภมะราภา อาจารย์ ชาญวุฒิ พณิชีพ กรรมการและเลขาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ จันทร์ตระกูล
20
รายงานประจำปี 2550
รองศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร พลาวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรรณิการ์ ดิษยวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไกรพัฒน์ จีนขจร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพดล กีรติจิรัฐติกาล อาจารย์ ชัยยุทธ บูรณะสิงห์ อาจารย์ อัมรินทร์ เดชาอนันตทรัพย์ อาจารย์ พิสุทธิ์ จันทร์ชัยชนะกุล อาจารย์ วันชัย อัตถวิบูลย์กุล อาจารย์ ศิริวัฒน์ หงษ์ทอง
ประวัติและพัฒนาการของ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ก่อนแผนพัฒนาการศึกษา ปี พ.ศ. 2502
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือ สังกัดกรมอาชีวศึกษา เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตช่างฝีมือที่เน้นการปฏิบัติและ ประสบการณ์จริง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในนาม “เทคนิคไทย-เยอรมัน” ต่อมาได้มีการ ลงนามในสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมันฉบับแรก ในวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2502
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) ปี พ.ศ. 2507
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือ ขึ้นเป็น “วิทยาลัย เทคนิคพระนครเหนือ” ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) ปี พ.ศ. 2514
มีประกาศพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514 ให้รวมวิทยาลัยเทคนิค พระนครเหนือ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี และวิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี สังกัดกรมอาชีวศึกษา เข้าด้วยกัน เพื่อจัดตั้งเป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูง และได้รับพระราชทานนามว่า “ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้า” ให้เป็นสถาบันการศึกษาและวิจัย สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อ วันที่ 23 เมษายน 2514 มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการศึกษา ทำการวิจัย ให้บริการวิชาการและ ส่งเสริมทางเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และครุศาสตร์อุตสาหกรรม รวมทั้งทำนุบำรุงศิลปะและ วัฒนธรรมของชาติ โดยแบ่งการบริหารงานออกเป็น 3 วิทยาเขต วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ ใช้ชื่อว่า “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตพระนครเหนือ”
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) ปี พ.ศ. 2517
- มีประกาศแก้ไขเพิม่ เติมของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 216 กำหนดให้สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เป็นส่วนราชการในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2517 - มีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตพระนครเหนือ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงาน 3 หน่ ว ยงาน ได้ แ ก่ สำนั ก งานรองอธิ ก ารบดี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ และคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
21
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) ปี พ.ศ. 2524
มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และสำนักพัฒนาเทคโนโลยีทาง การศึกษาเพื่อการศึกษาด้านเทคนิค (สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษาในปัจจุบัน) เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2524
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) ปี พ.ศ. 2529
- มีประกาศพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2528 เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 โดยให้แยกสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าออก เป็นสถานศึกษา 3 แห่ง เพื่อความคล่องตัวในการบริหารงานของแต่ละสถาบัน วิทยาเขต พระนครเหนือ ใช้ชื่อว่า “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ” มีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดการศึกษาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อผลิตบุคลากรทำหน้าที่เป็นช่างเทคนิค นักวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยี วิศวกร ครูช่าง และผู้บริหารในสถาบันการศึกษาธุรกิจและ อุตสาหกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการกำลังคนในการพัฒนาประเทศ - มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัย เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 - มี ป ระกาศทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ให้ จั ด ตั้ ง กองธุ ร การและกองบริ ก ารการศึ ก ษา ในสั ง กั ด สำนักงานอธิการบดี เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2529
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) ปี พ.ศ. 2531
ปี พ.ศ. 2534
22
รายงานประจำปี 2550
- วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งหน่วยงานในสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ดังนี้ 1. สำนักงานอธิการบดี (เปลี่ยนจากสำนักงานรองอธิการบดี วิทยาเขตพระนครเหนือ) 2. คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม (เปลีย่ นชือ่ จากคณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรมและวิทยาศาสตร์) 3. คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (จัดตั้งใหม่โดยยกฐานะภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์) 4. สำนักหอสมุดกลาง (ยกฐานะจากงานห้องสมุด กองบริการการศึกษา) - วั น ที่ 17 ตุ ล าคม พ.ศ. 2531 มี ป ระกาศทบวงมหาวิ ท ยาลั ย จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานระดั บ กอง สังกัดสำนักงานอธิการบดี ดังนี้ 1. กองกลาง (เปลี่ยนจากกองธุรการ) 2. กองกิจการนักศึกษา 3. กองแผนงาน มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2534
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) ปี พ.ศ. 2536 ปี พ.ศ. 2538
ปี พ.ศ. 2539
สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้ง ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส เป็นหน่วยงานระดับคณะ ภายในสถาบัน เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2536 สถาบั น ได้ ข ยายโอกาสทางการศึ ก ษาไปสู่ ภู มิ ภ าคที่ จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ในนาม สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ ปราจี น บุ รี มี ค ณะเทคโนโลยี แ ละการจั ด การ อุตสาหกรรมเป็นคณะแรกที่จัดการเรียนการสอนที่ สจพ. ปราจีนบุรี มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม และ สำนักคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2539
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ปี พ.ศ. 2540 ปี พ.ศ. 2544
มีประกาศทบวงมหาวิทยาลัยจัดตั้ง กองบริหารและจัดการทรัพยากรมนุษย์ เป็นหน่วยงาน ภายในระดับกอง สังกัดสำนักงานอธิการบดี เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2540 - สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้งหน่วยงานภายใน เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ดังนี้ 1. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นหน่วยงานภายในระดับคณะ 2. กองงานสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปราจีนบุรี สังกัดสำนักงาน อธิการบดี 3. กองอาคารสถานที่และยานพาหนะ สังกัดสำนักงานอธิการบดี - สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้ง “กองคลัง” เป็นหน่วยงานภายในระดับกอง สังกัดสำนักงาน อธิการบดี เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2544 - สภาสถาบันอนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ “ศูนย์ประกันคุณภาพการศึกษา” เป็นหน่วยงานภายในระดับกอง สังกัดสำนักงานอธิการบดี เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2544
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ปี พ.ศ. 2545
ปี พ.ศ. 2546 ปี พ.ศ. 2548
- สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้ง “ศูนย์บริการเทคโนโลยี สจพ.ปราจีนบุรี” เป็นหน่วยงานภายใน ระดับกอง สังกัดสำนักงานอธิการบดี เมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2545 - สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้ง “คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์” เป็นหน่วยงานภายในระดับคณะ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2545 - สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้ง “ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” เป็นหน่วยงานภายใน ระดับกอง สังกัดสำนักงานอธิการบดี เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2545 สภาสถาบั น อนุ มั ติ ใ ห้ จั ด ตั้ ง “คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร” เป็ น หน่ ว ยงานภายในระดั บ คณะ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้ง “บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน” เป็นหน่วยงานภายในระดับคณะ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2548
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
23
แผนพัฒนาการศึกษาระยะที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ปี พ.ศ. 2550
24
รายงานประจำปี 2550
- สภาสถาบันอนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ หน่วยงานภายในสถาบัน เมือ่ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ดังนี ้ 1. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ เป็นหน่วยงานภายในระดับภาควิชา สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ 2. โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน เป็นหน่วยงานภายในระดับภาควิชา สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้ง “ภาควิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม” เป็นหน่วยงานภายใน ระดับภาควิชา สังกัดคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2550 - สภาสถาบันอนุมัติให้จัดตั้งหน่วยงานภายในสถาบัน เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ดังนี้ 1. ศูนย์ผลิตตำราเรียน เป็นหน่วยงานภายในระดับงานสังกัดสำนักงานอธิการบดี 2. งานจั ด สิ ท ธิ ป ระโยชน์ แ ละเกื้ อ กู ล บุ ค ลากร เป็ น หน่ ว ยงานภายในระดั บ งานสั ง กั ด สำนักงานอธิการบดี - สภาสถาบันอนุมัติให้เปลี่ยนชื่อภาควิชาการบริหารงานก่อสร้างและออกแบบผลิตภัณฑ์เป็น ภาควิชาเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์และจัดการอุตสาหกรรมก่อสร้าง คณะเทคโนโลยี และการจัดการอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 - สภาสถาบันอนุมตั ใิ ห้ยกฐานะศูนย์วจิ ยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็น สำนักวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นหน่วยงานระดับคณะภายในสถาบัน เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550
เป้าประสงค์ที่ 1 แผนภูมิแสดงโครงสร้างสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีงบประมาณ 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
กรุงเทพมหานคร
วิทยาเขตปราจีนบุรี
คณะ/วิทยาลัย
สำนัก/ศูนย
คณะเทคโนโลยีและ การจัดการอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะวิศวกรรมศาสตร
บัณฑิตวิทยาลัย
คณะอุตสาหกรรมเกษตร
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
สำนักงานอธิการบดี
สำนักงานอธิการบดี
คณะวิทยาศาสตรประยุกต
สำนักหอสมุดกลาง
สำนักหอสมุดกลาง
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา
คณะศิลปศาสตรประยุกต
สำนักพัฒนาเทคโนโลยี เพื่ออุตสาหกรรม
บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สำนักคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยี ไทย-ฝรั่งเศส
หนวยงานภายในจัดตั้งโดยสภาสถาบัน ขยายการบริหารและการจัดการศึกษาจากกรุงเทพ ไปยังปราจีนบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
25
วิสัยทัศน์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
พันธกิจ 1. ผลิตบัณฑิต 2. วิจัย 3. บริการวิชาการแก่สังคม 4. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
เป้าประสงค์ 1. บริหารจัดการทรัพยากรคล่องตัวมุ่งสู่คุณภาพ 2. ผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิชาการชั้นสูงที่พึงประสงค์ 3. มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยและพัฒนา 4. ให้บริการวิชาการอย่างมีมาตรฐาน 5. ทำนุบำรุง อนุรักษ์และจรรโลงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
26
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 1
1
เป้าประสงค์ที่
บริหารจัดการทรัพยากรคล่องตัวมุ่งสู่คุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 บริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1.1 สร้างเสริมธรรมาภิบาลและพัฒนาระบบบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ 1.2 ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 1.3 พัฒนาระบบบริหารการเงิน การคลังและพัสดุที่เอื้อต่อการพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 1.4 สร้างความแข็งแกร่งและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ยุทธศาสตร์ที่ 1.5 ประชาสัมพันธ์ศักยภาพและภาพลักษณ์ขององค์กร ยุทธศาสตร์ที่ 1.6 พัฒนาระบบบริหารอาคารสถานที่และระบบบริหารสาธารณูปโภค
เป้าประสงค์ที่ 1 บริหารจัดการทรัพยากรคล่องตัวมุ่งสู่คุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 บริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมีเป้าประสงค์ที่ 1 ที่จะบริหารจัดการทรัพยากรคล่องตัวมุ่งสู่ คุณภาพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางด้านการบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ของสถาบัน ให้สามารถขับเคลื่อนไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ในการพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรให้มีความคล่องตัวมุ่งสู่ คุ ณ ภาพ สถาบั น ได้ กำหนดยุ ท ธศาสตร์ ไ ว้ ทั้ ง หมด 6 ยุ ท ธศาสตร์ ได้ แ ก่ 1 สร้ า งเสริ ม ธรรมาภิ บ าลและพั ฒ นา ระบบบริหารจัดการ 2 ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3 พัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังและพัสดุที่เอื้อต่อ การพั ฒ นา 4 สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง และพั ฒ นาระบบสารสนเทศเพื่ อ การบริ ห าร 5 ประชาสั ม พั น ธ์ ศั ก ยภาพ และภาพลักษณ์ขององค์กร และ 6 พัฒนาระบบบริหารอาคารสถานที่และระบบบริหารสาธารณูปโภค ในรอบปีงบประมาณ 2550 สถาบันมีการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานบริหารจัดการทรัพยากรทั้งในส่วน ของทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรการเงิน วัสดุ และครุภัณฑ์ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
ผ่านยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ของสถาบันดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1.1 สร้างเสริมธรรมาภิบาลและพัฒนาระบบบริหารจัดการ
• การจัดทำแผนพัฒนาสถาบันในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) สถาบันได้กำหนดให้มีการสัมมนาระดมความคิดจากคณะผู้บริหารระดับสูง โดยสภาสถาบัน ซึ่งเป็นองค์กร บริหารสูงสุดร่วมกับคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อรับทราบผลการดำเนินงานตามแนวทางการดำเนินงานที่สภา สถาบันกำหนดในปีที่ผ่านมาและร่วมกำหนดแนวนโยบายการพัฒนาในระยะ 5 ปีข้างหน้า ในการสัมมนาสถาบัน ระยะที่ 1 เรือ่ ง “กรอบแนวคิดทิศทางการพัฒนา” ซึง่ จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ ถึง 1 มีนาคม 2550 เพื่อให้คณะ ผู้บริหารระดับหัวหน้าภาควิชาและเทียบเท่าขึ้นไป ซึ่งถือเป็นผู้แทนประชาคมทุกภาคส่วนได้ร่วมสานทิศทางนโยบาย ที่องค์กรบริหารกำหนดได้แปลงสู่การปฏิบัติในระดับยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ตามลำดับในการสัมมนาสถาบัน ระยะที่ 2 เรื่อง “การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ” ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 16-17 มีนาคม 2550 การสัมมนาสถาบันทั้ง 2 ระยะได้รับความสนใจจากคณะผู้บริหารทุกระดับอย่างดียิ่ง สถาบันได้รับเกียรติ
จากสภาสถาบั น และอดี ต อธิ ก ารบดี ข องสถาบั น ทั้ ง 3 ท่ า น ได้ แ ก่ รองศาสตราจารย์ ดร.สมชอบ ไชยเวช รองศาสตราจารย์ ดร.ชนะ กสิภาร์ และรองศาสตราจารย์ บรรเลง ศรนิล ได้ให้แนวคิดและถ่ายทอดประสบการณ์ ในแง่มมุ ต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ สถาบันในการเตรียมการวางแผนพัฒนาสถาบันสูเ่ ป้าหมายทีท่ กุ คนร่วมกันกำหนดไว้
28
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 1
การได้มาซึ่งแผนการพัฒนาสถาบันในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 เป็นผลจาก การนำกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์มาใช้ในการสัมมนา ซึ่งสถาบันได้มีการทบทวนปรับปรุงวิสัยทัศน์ใหม่ และกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ “ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม” เพิ่มขึ้นจากแผนยุทธศาสตร์ 4 ปีของสถาบัน เพื่อให้ บรรลุเป้าประสงค์ “ทำนุบำรุง อนุรักษ์ และจรรโลงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย” โดยสถาบันได้ร่วมกัน กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบัน รวม 18 ยุทธศาสตร์และ 83 กลยุทธ์ เป็นธรรมนูญองค์กร ทั้งนี้สถาบันได้ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลแผนการพัฒนาสถาบันผ่านการสื่อสารในช่องทางต่างๆ ที่หลากหลาย ทั้งในระดับบุคคล ที่เข้าร่วมสัมมนา ผู้บริหารองค์กร และระดับหน่วยงานเพื่อใช้ประโยชน์ในการอ้างอิง และเป็นแนวทางในการสร้าง พลังร่วมเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานของสถาบันให้บรรลุวิสัยทัศน์ตามที่กำหนดไว้ • การขยายการพัฒนาด้านหน่วยงานใหม่ / หลักสูตรใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สถาบันได้กำหนดแผนการพัฒนาสถาบันในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) โดยสภาสถาบั น ได้ กำหนดกรอบแนวทางการจั ด ทำแผนการเปิ ด หน่ ว ยงานใหม่ / หลั ก สู ต รใหม่ ตามศักยภาพและความพร้อม โดยได้บรรจุแผนการขยายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ด้านหน่วยงานใหม่ จำนวน 5 โครงการ ด้านหลักสูตร / สาขาวิชาใหม่ จำนวน 12 สาขาวิชา ซึ่งผลการดำเนินงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ ในมิติของระยะเวลาพบว่า สถาบันสามารถขยายการพัฒนาหน่วยงานใหม่แล้วเสร็จทันตามระยะเวลาในรอบปีจำนวน 3 หน่วยงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 60.00 ได้แก่ การจัดตั้งภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
การจั ด ตั้ ง ภาควิ ช าบริ ห ารธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม คณะครุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรม และการจั ด ตั้ ง โรงเรี ย นเตรี ย ม วิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม อนึ่ง การจัดตั้งสำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขณะนี้สภาสถาบันได้มีมติอนุมัติจัดตั้งเป็นหน่วยงาน ภายในเทียบเท่าคณะเรียบร้อยแล้ว เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550 ซึ่งล่วงเข้าสู่งบประมาณ พ.ศ. 2551 ส่วนภาควิชา เทคโนโลยีการบิน คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม เลื่อนดำเนินการ ส่วนการขยายศักยภาพด้านหลักสูตร / สาขาวิชาใหม่ สถาบันสามารถดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนเพียง 1 สาขาวิชา ได้แก่ หลักสูตรระดับปริญญาเอก บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจ อุตสาหกรรม คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คิดเป็นร้อยละ 8.33 เท่านั้น ส่วนที่เหลืออีก 10 สาขาวิชา อยู่ระหว่าง ดำเนินการ สำหรับสาขาวิชาวิศวกรรมรถไฟฟ้าในระดับปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ เสนอขอยกเลิก แผนการจัดตั้งหน่วยงานใหม่ในแผนฯ 10 ปีงบประมาณ 2550 โครงการ
1. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 2. โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ไทย-เยอรมัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3. ภาควิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 4. ภาควิชาเทคโนโลยีการบิน คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม 5. สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงาน
สภาสถาบันอนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ เมือ่ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2550 สภาสถาบันอนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ เมือ่ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2550 สภาสถาบันอนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2550 ขอเลื่อนดำเนินการ สภาสถาบันอนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ เมือ่ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2550
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
29
• การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการของสถาบัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ในปีงบประมาณ 2550 สำนักงาน ก.พ.ร. ได้จัด ให้มีการจัดทำคำรับรองและติดตามผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2550 ซึ่งต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2547 โดยมีการกำหนดกรอบการประเมินผลการพัฒนา การปฏิบัติราชการ การวิเคราะห์และจัดให้มีการเจรจา ความเหมาะสมของตัวชี้วัด เป้าหมายและเกณฑ์การให้ คะแนนตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการให้มีความ สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดินและแผน ปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) ของสถาบัน ซึ่ ง ในการจั ด ทำคำรั บ รองการปฏิ บั ติ ร าชการปี ง บประมาณ 2550 ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา สำนั ก งาน ก.พ.ร. ได้มอบหมายให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องค์การมหาชน (สมศ.) เป็นที่ปรึกษาและ ดูแลรับผิดชอบการจัดทำและติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยในปีนี้มีการ จัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาออกเป็น 4 กลุ่มตามแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของ สมศ. เพื่อให้การกำหนด ตัวชี้วัด เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนสอดคล้องกับภารกิจของแต่ละสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งสถาบันจัดอยู่ในกลุ่ม ที่ 1 กลุ่มสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย เป็นกลุ่มสถาบันที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา ที่เน้นการ ผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาและวิจัยสร้างความรู้ใหม่เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการในทุกภารกิจ และเผยแพร่ ความรู้ไปสู่ผู้ใช้ทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดยมุ่งสู่ความทันสมัยและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล
ในการนี้สถาบันได้แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการของสถาบัน ประจำปีงบประมาณ 2550 ขึ้นเพื่อดำเนินการจัดทำและรายงานการประเมินผลการ ปฏิ บั ติ ร าชการประจำปี ง บประมาณ 2550 โดยมี อธิการบดีเป็นประธาน ซึ่งสถาบันได้ดำเนินการรายงาน ผลการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ รอบ 6 เดือน และรอบ 9 เดือน ตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด เมื่ อ สิ้ น ปี ง บประมาณสถาบั น ได้ ร ายงานการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ร าชการฯรอบ 12 เดื อ น ในภาพรวมได้ คะแนน 3.1959 จากคะแนนเต็ ม 5 ทั้ ง นี้ ยั ง ไม่ ร วม ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ใ น มิ ติ ที่ 1 ด้านประสิทธิผลแผนปฏิบัติราชการ 4 ตัวชี้วัด และตัวชี้วัดในมิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ อีก 3 ตัวชี้วัด ที่รอการประเมินจากหน่วยงานภายนอกที่สำนักงาน ก.พ.ร มอบหมาย
30
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 1
• ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภายในสถาบัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สถาบันได้ดำเนินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภายในสถาบัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบันสู่การปฏิบัติ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สถาบันกำหนดตัวชี้วัดภายใต้ 5 เป้าประสงค์ รวม 56 ตัวชี้วัด และได้พัฒนาการคิดคะแนนตัวชี้วัดต่าง จากปีที่ผ่านมา โดยกำหนดให้ตัวชี้วัดกลางภาคบังคับมีค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก 100 ตัวชี้วัดกลางเลือก มีค่าคะแนน ถ่วงน้ำหนัก 20 จากคะแนนถ่วงน้ำหนักทั้งหมด 120 และได้กำหนดเกณฑ์สูงขึ้นเพื่อการกระตุ้นการพัฒนาจากระดับ 5 คะแนนเป็ น 7 คะแนน ใน 3 ประเภทหน่ ว ยงาน ได้ แ ก่ หน่ ว ยงานจั ด การศึ ก ษา หน่ ว ยงานบริ ก ารวิ ช าการ และหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษา โดยผลการดำเนินงานในหน่วยงานทั้ง 3 ประเภทมีค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก เฉลี่ยในรายเป้าประสงค์สูงกว่า 5 คะแนนขึ้นไปในทุกเป้าประสงค์ สรุปได้ดังนี้ ประเภทหน่วยงานจัดการศึกษา คะแนนถ่วงน้ำหนัก
5 เป้าประสงค์ ในภาพรวมเท่ากับ 5.07 หน่วยงานที่มีค่า คะแนนถ่วงน้ำหนัก เฉลี่ยสูงกว่าระดับคะแนนเฉลี่ยในภาพ รวม ได้ แ ก่ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม (6.23) คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ (5.90) และคณะเทคโนโลยีและ การจัดการอุตสาหกรรม (5.27) ประเภทหน่ ว ยงานบริ ก ารวิ ช าการ คะแนนถ่ ว ง
น้ำหนัก 5 เป้าประสงค์ ในภาพรวมเท่ากับ 5.65 โดยแต่ละ หน่ ว ยงานมี ร ะดั บ คะแนนเฉลี่ ย ใกล้ เ คี ย งกั น โดยมี ผลการดำเนิ น งานสู ง กว่ า 5 คะแนนทั้ ง 3 หน่ ว ยงาน ซึ่งหน่วยงานที่มีค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักเฉลี่ยสูงสุดตามลำดับ ดั ง นี้ สำนั ก พั ฒ นาเทคนิ ค ศึ ก ษา (6.22) สำนั ก พั ฒ นา เทคโนโลยี เ พื่ อ อุ ต สาหกรรม (5.57) และศูนย์นวัตกรรม เทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส (5.17) ประเภทหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษา คะแนน
ถ่วงน้ำหนัก 5 เป้าประสงค์ ในภาพรวมเท่ากับ 5.05 หน่วยงาน ที่มีค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักเฉลี่ยสูงกว่าระดับคะแนนเฉลี่ยใน ภาพรวม ได้ แ ก่ สำนั ก วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (6.24) และบัณฑิตวิทยาลัย (5.46) ทั้งนี้เพื่อเป็นการสร้างขวัญกำลังใจในการร่วมแรง ร่วมใจในการสร้างพลังขับเคลื่อนสถาบันในการร่วมสร้าง วั ฒ นธรรมคุ ณ ภาพองค์ ก ร สถาบั น จะจั ด ให้มีการมอบโล่ ประกาศเกียรติคุณหน่วยงานดีเด่นทั้ง 3 ประเภทในวันคล้าย วันสถาปนาสถาบัน วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
31
• การดำเนินการเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. … เมื่อต้นปีงบประมาณ 2550 ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. ... ได้ ค้ า งอยู่ ใ นกระบวนการพิ จ ารณาของรั ฐ บาล เนื่องจากเกิดเหตุ การณ์เปลี่ยนอำนาจทางการเมื องขึ้นในเดือ น กันยายน 2549 และเมื่อมีการตั้งรัฐบาลชั่วคราวขึ้นใหม่แล้ว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้มีหนังสือถึง สถาบันเพื่อถามถึงความต้องการในการดำเนินการต่อ ซึ่งสถาบันได้ยืนยันการดำเนินการต่อ โดยให้ยึดถือร่าง พ.ร.บ. ฉบับที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการกฤษฎีกาเข้าสู่ การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี และต่อมาได้มีการตั้ง กรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ พ.ศ. ... โดยมีการประชุมทุกวันพฤหัสบดี เมื่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติฯ
เสร็จเรียบร้อยแล้วได้เสนอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) พิจารณาต่อไป ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณา เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติของสถาบันเสร็จเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2550 และได้เสนอให้สำนักงาน เลขาธิการคณะรัฐมนตรีทูลเกล้าถวายให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ลงพระนาม เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2550 และประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 26 ธันวาคม 2550 • การจัดทำระเบียบข้อบังคับเพื่อรองรับการเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐบาล ในการเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริหารงานของสถาบันเมื่อเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐบาล เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2549 สถาบันได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำร่างข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงาน ออกโดยอาศัยอำนาจ ตามความในร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. … มี รศ.ดร.วิมลยุตต์ วรรณสว่าง ที่ปรึกษาอธิการบดีเป็นประธานกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้มีภาระหน้าที่ดังนี้ 1. จัดทำร่างข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงาน เพื่อใช้เป็นต้นร่างในการจัดทำประชาพิจารณ์ต่อไป 2. เสนอสถาบันแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการเพือ่ เสนอข้อมูลประกอบการจัดทำร่างข้อบังคับเกีย่ วกับการบริหารงาน ซึง่ ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในร่างพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. … 3. ประสานงานกับหน่วยงานภายในสถาบันเพื่อให้การจัดทำร่างข้อบังคับมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการชุดนี้ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นมา 10 ชุด เพื่อจัดทำหลักการร่างข้อบังคับด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการเงินและการงบประมาณ ด้านพัสดุและทรัพย์สิน ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านสวัสดิการสำหรับ บุคคล ด้านการบริการวิชาการ ด้านการวิจัย ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านกิจการนักศึกษา ด้านการสรรหา นายกสภา กรรมการสภาและผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัย และด้านโครงสร้างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ตามร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ... ให้มีความคล่องตัว สอดคล้อง และรองรับระบบการบริหารงาน เมื่อสถาบันปรับเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในอนาคต นอกจากนี้สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ยังมีการดำเนินการจัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนสถานภาพของสถาบันเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐบาล และมีการแจ้งความก้าวหน้าเกี่ยวกับ การดำเนินการของร่างพระราชบัญญัติของสถาบันเป็นระยะๆ ต่อบุคลากรภายในสถาบันอีกด้วย • การประกันคุณภาพการศึกษา
32
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือได้ดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษามาอย่าง ต่ อ เนื่ อ งให้ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายและแนวทางการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของสำนั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) โดยมีศูนย์ประกันคุณภาพการศึกษาเป็นหน่วยงานกลางในการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2550 มีผลการดำเนินการดังนี้ รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 1
1. การจัดอบรม บรรยายและสัมมนา เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาแก่บุคลากร โดยจัดบรรยายจำนวน 2 โครงการมีผู้เข้าร่วม 434 คน จัดสัมมนาจำนวน 1 โครงการมีผู้เข้าร่วม 36 คน และจัด อบรม 7 โครงการ มีผู้เข้าร่วม 514 คน รวมทั้งได้ส่งบุคลากรของสถาบันเข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ การประกันคุณภาพการศึกษาจำนวน 10 ครั้ง 2. การจัดทำคู่มือเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายในระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุน ตามแนวทางที่ สกอ. กำหนด และประกาศให้สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตั้ ง แต่ ปี ก ารศึ ก ษา 2550 เป็ น ต้ น ไป รวมทั้ ง ได้ จั ด ทำแบบฟอร์ ม การเขี ย นรายงานการประเมิ น ตนเองเพื่ อ ให้ ทุกหน่วยงานนำไปปฏิบัติด้วย 3. การจัดทำแผนปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ได้จัดทำแผนและ กิจกรรมให้สอดคล้องกัน เพื่อรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในทั้งหน่วยงานระดับคณะ และระดับสถาบัน ให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานต่างๆ รวมถึงการจัดทำเอกสาร ข่าวและรายงานประจำปีเพื่อเผยแพร่ความรู้ ข่าวสารและ กิจกรรมด้านการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเผยแพร่ในรูปของเอกสารที่แจกให้ทุกหน่วยงานผ่านทางเว็บไซต์ของ ศูนย์ประกันคุณภาพการศึกษา และจดหมายข่าวประกันคุณภาพการศึกษา 4. การรั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกรอบที่ 2 จากสำนั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษา (สมศ.) เมื่อวันที่ 11-13 กันยายน 2549 ซึ่งเป็นการประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานการจัดการศึกษาของ สถาบันตามมาตรฐานคุณภาพ สมศ. 7 มาตรฐาน ผลการประเมินระดับสถาบันทั้งภาพรวมเฉลี่ยรวมทุกมาตรฐาน และเฉลี่ยเฉพาะมาตรฐานที่ 1-4 อยู่ในระดับดี ผลการประเมินคุณภาพในแต่ละมาตรฐานพบว่ามาตรฐานที่มีผลการ ประเมินอยู่ในระดับดีมาก คือ มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ด้านการ พั ฒ นาสถาบั น และบุ ค ลากร และด้ า นระบบการประกันคุณภาพ ระดับดี ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพบั ณ ฑิ ต ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ และด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน 5. การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน หน่วยงานระดับคณะ ประจำปี 2549 (รอบปีการศึกษา 2548) สถาบั น ได้ มี ก ารทบทวนและปรั บ เปลี่ ย นเกณฑ์ประเมินจากเดิม 5 ระดับ เป็นเกณฑ์ประเมิน 7 ระดับ เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับการดำเนินงานที่แท้จริงของหน่วยงาน ผลการประเมินพบว่า มีหน่วยงานที่ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย 5 ขึ้นไป แยกเป็ น หน่ ว ยงานที่ จั ด การเรี ย นการสอน จำนวน 5 หน่ ว ยงาน ประกอบด้ ว ย คณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และคณะเทคโนโลยีและ การจัดการอุตสาหกรรม หน่วยงานสนับสนุนวิชาการ จำนวน 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักงานอธิการบดี สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับหน่วยงานอื่นๆ มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.11-4.36 ประกอบด้วยคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิต วิทยาลัย สำนักหอสมุดกลาง คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ และศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรัง่ เศส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
33
ยุทธศาสตร์ที่ 1.2 ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยส่งเสริมให้แต่ละหน่วยงานในสถาบันได้ จัดอบรม สัมมนาให้กับบุคลากร เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงาน และเจตคติต่อการทำงาน โดยในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สถาบันมีการจัดทำแผนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นรูปธรรม มีการดำเนินการจัดอัตรากำลังให้ เหมาะสมตามการเติบโตของหน่วยงาน มีแผนการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ เข้ า ร่ ว มอบรมสั ม มนาเพื่ อ เพิ่ ม พู น ความรู้ แ ละพั ฒ นาตนเอง โดยสนั บ สนุ น งบประมาณ ดำเนิ น การแจ้ ง เวี ย น ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรของสถาบันทราบอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังสนับสนุนให้บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการจัด ทำคู่มือสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งของตนเอง เพื่อให้การทำงานและการประสานงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซึ่งสถาบันได้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในรูปแบบต่างๆ ดังนี้ 1. การให้ทุนโครงการพัฒนาบุคลากร สถาบันมีนโยบายสนับสนุนให้บุคลากรทุกสายงานมีโอกาสศึกษาต่อทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ โดยปีงบประมาณ 2550 มีบุคลากรที่ได้รับทุนอุดหนุนการศึกษาภายในประเทศ จำนวน 3 ทุน ทุนอุดหนุนการศึกษาในต่างประเทศ จำนวน 1 ทุน และทุนอุดหนุนเพื่อไปเสนอผลงานทางวิชาการระดับ นานาชาติ จำนวน 3 ทุน นอกจากนี้ยังมีบุคลากรที่ได้รับทุนอุดหนุนเพื่อไปประชุม สัมมนา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย และดูงาน ณ ต่างประเทศ จำนวน 1 ทุน 2. การจัดฝึกอบรม สัมมนา ประชุม ดูงานและบรรยายพิเศษ ในรอบปีงบประมาณ 2550 สถาบันได้อนุมัติให้ หน่วยงานต่างๆ ในสถาบันจัดฝึกอบรม สัมมนา ประชุม ดูงานและบรรยายพิเศษ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถ ในการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากรของสถาบันจำนวน 163 โครงการ โครงการอบรม สัมมนา ประชุม บรรยายพิเศษ และดูงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรของสถาบัน ประจำปีงบประมาณ 2550
หน่วย : โครงการ
ประเภท หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สำนักงานอธิการบดี สำนักหอสมุดกลาง สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร
ไทย-เยอรมัน สภาคณาจารย์ สภาข้าราชการ
รวม
34
รายงานประจำปี 2550
ฝึกอบรม
สัมนา
ประชุม
บรรยาย พิเศษ
ดูงาน
รวม
- 3 4 1 - 1 - 3 2 18 4 1 5 9 5
8 4 1 2 1 2 1 5 3 19 1 5 1 1 -
1 - - - 1 - - - - 4 - - - - 1
- 1 - - - - - - - 7 - - - - -
4 3 2 - 1 3 1 4 2 2 1 - 1 1 5
13 11 7 3 3 6 2 12 7 50 6 6 7 11 11
-
1
-
-
2
3
- - 56
1 1 57
- 1 8
1 1 10
- - 32
2 3 163
เป้าประสงค์ที่ 1
3. สถาบันได้อนุมัติให้บุคลากรของสถาบันลาศึกษาต่อ อบรม สัมมนา ประชุม ดูงาน เสนอผลงานวิจัยและ บรรยายพิเศษ ภายในประเทศ ในรอบปีงบประมาณ 2550 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานให้แก่ บุคลากรของสถาบันจำนวน 8,365 ครั้ง โดยมีบุคลากรที่ได้รับอนุมัติจำนวน 1,713 คน คิดเป็นร้อยละ 91.51 ของบุคลากรทั้งหมดในสถาบัน จำนวนบุคลากรทีล่ าศึกษาต่อ อบรม สัมมนา ดูงาน ประชุม เสนอผลงานวิจยั และฟังบรรยาย ภายในประเทศ ประจำปีงบประมาณ 2550 จำแนกตามหน่วยงาน หน่วยงาน/ประเภท คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการ อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สำนักงานอธิการบดี สำนักหอสมุดกลาง สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ สิรินทร ไทย-เยอรมัน
รวม
ศึกษาต่อ อบรม
สัมนา
ประชุม
รวมจำนวนครั้ง เสนอ ฟัง ดูงาน ผลงานวิ จยั บรรยาย ครั้ง คน
12 16 18 8
140 128 104 66
602 170 79 95
199 216 166 23
44 8 14 2
37 8 13 1
165 117 76 37
1,199 663 470 232
341 142 145 88
6 1 3 16 1 10 3 4 3 17
16 38 56 235 106 634 253 80 202 31
46 128 53 563 31 282 83 96 29 67
3 31 14 164 32 650 70 78 21 20
- 21 22 35 7 20 2 6 - 1
4 - 2 9 - - - - - -
7 22 42 75 29 665 85 96 102 48
82 241 192 1,097 206 2,261 496 360 357 184
33 63 28 319 18 281 74 68 31 29
1 1
85 8
23 14
80 14
19 18
- 2
53 7
261 64
37 16
120
2,182
2,361
1,781
219
76
1,626
8,365
1,713
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
35
4. สถาบันได้อนุมัติให้บุคลากรของสถาบันลาศึกษาต่อ อบรม สัมมนา ประชุม ดูงาน เสนอผลงานวิจัยและ บรรยายพิเศษ ในต่างประเทศ ในรอบปีงบประมาณ 2550 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานให้แก่ บุ ค ลากรของสถาบั น จำนวน 532 ครั้ ง โดยมี บุ ค ลากรที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จำนวน 405 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 21.63 ของบุคลากรทั้งหมดในสถาบัน จำนวนบุคลากรที่ลาศึกษาต่อ อบรม สัมมนา ดูงาน ประชุมและเสนอผลงานวิจัย ในต่างประเทศ ประจำปีงบประมาณ 2550 จำแนกตามหน่วยงาน ประเภท หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สำนักงานอธิการบดี สำนักหอสมุดกลาง สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ
สิรินทร ไทย-เยอรมัน
รวม
ศึกษาต่อ อบรม
สัมนา
ประชุม
ดูงาน
เสนอ ผลงานวิจัย
รวมจำนวนครั้ง ครั้ง คน
6 7 15 4 2 1 1 11 - - - - - -
3 - 3 1 - 1 - 11 - 2 - 1 - 1
5 - 1 - - 1 - 2 - - - - - -
19 5 6 - - - - 5 - - - - - 1
46 17 62 2 - 35 - 89 3 12 16 30 8 1
40 3 35 8 1 - - 2 - 1 - - - -
119 32 122 15 3 38 1 120 3 15 16 31 8 3
67 24 90 13 3 33 1 100 3 13 16 26 8 3
1
-
1
3
1
-
6
5
48
23
10
39
322
90
532
405
• บุคลากรดีเด่นประจำปี 2550 นางเพ็ญแข ประจงใจ บรรณารักษ์ชำนาญการ ระดับ 8 สังกัดสำนักหอสมุดกลาง ได้รับรางวัลบุคลากร สายสนับสนุนวิชาการดีเด่น ด้านวิชาชีพดีเด่น จากสถาบันฯ โดยเป็นผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญพิเศษเกี่ยว กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ การพัฒนาฐานข้อมูลออนไลน์ Digital Library Digital Collection ผลงานที่ผ่านมาที่ได้ รั บ การยกย่ อ งดี เ ด่ น และเป็ น ที่ ย อมรั บ ได้ แ ก่ การวางระบบการจั ด เก็ บ เอกสารในรู ป แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข อง วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา การวางระบบการจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์งานวิจัยของ อาจารย์ข้าราชการและการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมแห่งชาติ นางเพ็ญแข ประจงใจ
36
รายงานประจำปี 2550
นายจีระพล คุ่มเคี่ยม
นายถิระ เพชรกำบังภัย
เป้าประสงค์ที่ 1
นายจีระพล คุ่มเคี่ยม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สังกัดสำนักหอสมุดกลาง ได้รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้าน
บริการดีเด่นจากสถาบันฯ โดยเป็นผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญพิเศษด้านการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ การพัฒนาระบบเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ มีความเชี่ยวชาญด้านการเขียนโปรแกรมเพื่อการใช้งาน ห้องสมุด นอกจากนี้ยังมีผลงานที่ได้รับการยกย่องดีเด่นและเป็นที่ยอมรับได้แก่ การวางระบบและพัฒนาระบบ ห้องสมุดอัตโนมัตสิ ำหรับห้องสมุดการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ห้องสมุดโรงเรียนประชานิเวศน์ การพัฒนาระบบการยืม-คืน ด้วยตนเองโดยใช้ Barcode การพัฒนาระบบ library@mobile เป็นการให้บริการในการยืมและสืบค้นข้อมูลผ่าน โทรศัพท์มือถือที่รองรับ WAP การพัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการใช้งานกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล นายถิระ เพชรกำบังภัย บุคลากรภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ได้รับการคัดเลือก จากที่ประชุมประธานสภาข้าราชการและลูกจ้าง มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปขมท.) ให้เป็น “บุคลากรสาย สนับสนุนผู้ที่มี ผลงานดีเด่น” ประจำปี พ.ศ. 2549 ด้านสร้างสรรค์นวัตกรรมดีเด่นจากการสร้างเครื่องอบแห้งแบบ พ่นฝอย เป็นเครื่องแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารหรือวัสดุที่มีลักษณะเป็นของเหลวที่ไหลได้ให้เป็นผงแห้ง และสามารถ เก็บไว้ได้นานๆ สะดวกต่อการเก็บรักษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 1.3 พัฒนาระบบบริหารการเงิน การคลังและพัสดุทเ่ี อือ้ ต่อการพัฒนา • การดำเนินการนำการบริหารจัดการงบประมาณแผ่นดินเข้าสู่ระบบบัญชี 3 มิต ิ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือได้ดำเนินการนำงบประมาณแผ่นดินเข้าสู่ระบบบัญชี 3 มิติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมีนโยบาย ให้สถาบันอุดมศึกษาจัดทำบัญชีต้นทุน ตามมาตรา 21 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ ของรั ฐ บาล ซึ่ ง ในการดำเนิ น การนำงบประมาณแผ่ น ดิ น เข้ า สู่ ร ะบบบั ญ ชี 3 มิ ติ นั้ น กองแผนงานเป็ น ผู้ กำหนด โครงสร้างงบประมาณ รหัสและรายละเอียดกองทุน ร่วมกับสำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และกองคลัง โดยดำเนินการคู่ขนานไปกับการจัดทำงบประมาณเงินรายได้ ซึ่งในปัจจุบันจะมีระบบการเบิกจ่ายงบประมาณผ่าน ระบบ 3 มิติ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่แยกฐานข้อมูลออกจากกัน แต่ในอนาคตจะมีการนำงบประมาณเงินรายได้และ งบประมาณแผ่นดินมารวมกัน โดยทำผ่านระบบ 3 มิติเพียงระบบเดียว ทั้งนี้เพื่อให้การบริหารงบประมาณเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบบัญชี 3 มิติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
37
นอกจากนี้ในการนำงบประมาณแผ่นดินเข้าสู่ระบบบัญชี 3 มิ ติ ได้ มี ก ารจั ด ประชุ ม กั บ หน่ ว ยงานภายในสถาบั น เพื่อชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายและหลักการนำงบประมาณ แผ่นดินเข้าสู่ระบบบัญชี 3 มิติด้วย เพื่อให้หน่วยงานมี ความเข้าใจตรงกันและสามารถนำไปดำเนินการให้เป็นไป ในทิศทางเดียวกันได้
ยุทธศาสตร์ท่ี 1.4 สร้างความแข็งแกร่งและพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหาร • การจัดทำระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและประกันคุณภาพการศึกษา (MA&QA Information System) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้จัดทำระบบสารสนเทศเพื่อ การบริหารและประกันคุณภาพการศึกษา (MA&QA Information System) ขึ้นโดยได้รับความร่วมมือจากสำนักงาน คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้มาเป็นที่ปรึกษาในการพัฒนาระบบนี้ขึ้น เพื่อใช้ในการจัดเก็บ ข้อมูลในงานประกันคุณภาพการศึกษาและการประเมินผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยมีข้อมูลที่จะบันทึกในระบบนี้ทั้งหมด 19 Module ได้แก่ 1. คณะ / ภาควิชา 2. หลักสูตร วิชา ตารางเรียน 3. ข้อมูลอาคาร ยานพาหนะ 4. ข้อมูลบุคลากร 5. ข้อมูลการศึกษาบุคลากร / ความเชี่ยวชาญ 6. ข้อมูลการทำงาน ประสบการณ์ รางวัล 7. ทรัพย์สินทางปัญญา / อนุสิทธิบัตร / นวัตกรรม 8. การบริการวิชาการ 9. งานวิจัย การเผยแพร่ผลงานวิจัย 10. บทความวิชาการ
11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและประกันคุณภาพการศึกษา
38
รายงานประจำปี 2550
วิทยานิพนธ์และการตีพิมพ์ / นักศึกษารับรางวัล การพัฒนาบุคลากร นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ กิจกรรมในเดือน / ประชุม ตรวจสอบกิจกรรม แผนงาน / โครงการคณะ คำสั่งแต่งตั้งกรรมการ การเงินและงบประมาณ เจ้าหน้าที่ QA คัดกรองข้อมูล ว่าใช่หรือไม่ใช่
เป้าประสงค์ที่ 1
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและประกันคุณภาพการศึกษา
ในการนี้สถาบันได้แต่งตั้งคณะทำงานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและประกันคุณภาพการศึกษาขึ้น ประกอบด้วยคณะทำงานดูแลและพัฒนาระบบ คณะทำงานบริหารจัดการข้อมูลและประสานงาน เพือ่ ทำหน้าทีด่ ำเนินการ เพื่ อ ให้ ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ การบริ ห ารและประกั น คุ ณ ภาพของสถาบั น สามารถใช้ ง านได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ แ ละมี ประสิทธิภาพ พร้อมทั้งดูแลและรักษาระบบสารสนเทศนี้ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ตลอดจนปรับปรุงและพัฒนา ระบบให้สอดคล้องกับนโยบายของสถาบัน นอกจากนีย้ งั มีคณะทำงานบันทึกข้อมูลเข้าสูร่ ะบบซึง่ เป็นผูแ้ ทนจากหน่วยงาน ต่างๆ ภายในสถาบัน ทำหน้าที่บันทึกข้อมูลในงานที่รับผิดชอบเมื่อมีงานหรือกิจกรรมใหม่เข้ามาสู่ระบบ โดยให้ บันทึกวันต่อวันเพื่อให้ระบบเป็นปัจจุบัน (Real Time) โดยให้บันทึกข้อมูลเริ่มต้นตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งในขณะนี้ได้มีการติดตั้งระบบการฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูลต่างๆ และมีการบันทึกข้อมูลลงในระบบ เป็นปัจจุบันเรียบร้อยแล้ว • ศูนย์บริการนักศึกษา กองกิจการนักศึกษา สำนักงานอธิการบดี ได้ให้บริการนักศึกษาโดยจัดตั้งศูนย์บริการนักศึกษา ณ บริเวณ ชั้น 1 อาคาร 40 ปี ขึ้น เพื่อเป็นศูนย์รวมให้บริการ ตอบสนองการให้บริการและพัฒนางานการให้บริการของกอง กิจการนักศึกษา โดยนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษาที่มาติดต่อใช้ บริการให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว พัฒนาศักยภาพในการทำงานและการให้บริการนักศึกษาและเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ของนักศึกษา ลักษณะงานที่ให้บริการได้แก่ 1. รับยื่นเรื่องเพื่อส่งต่อยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นสื่อกลางในการรับและส่งเอกสารใบสมัครเอกสารที่ ติดต่อหน่วยงานกองกิจการนักศึกษา เช่น ใบสมัครเข้าร่วมโครงการ-กิจกรรม การจองใช้สนามกีฬา เป็นต้น 2. ให้บริการแบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว เพื่ออำนวยความสะดวกและลดขั้นตอนการติดต่อและให้บริการแก่ นักศึกษา-บุคลากร ได้แก่ การให้คำปรึกษา การยื่นขอผ่อนผันการเข้ารับราชการทหาร การจองห้องพัก KMITNB Residence ชั้น 11 เป็นต้น 3. เป็ น ศู น ย์ ก ลางประสานงาน การประชาสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร กิ จ กรรมและผลการดำเนิ น งานของ กองกิ จ การนั ก ศึ ก ษา ฝ่ า ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษา และองค์ ก รนั ก ศึ ก ษา ผ่ า นสื่ อ เสี ย งตามสายลานสวนปาล์ ม บอร์ ด สารสนเทศ ข่าวกิจการนักศึกษา และสื่อโทรทัศน์วงจรภายใน การรับแจ้งเหตุ และศูนย์การเรียนรู้ของนักศึกษา ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการเสียงข่าวกิจการนักศึกษา เป็นต้น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
39
• การพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนบัณฑิตและการสำรวจภาวะการหางานทำของบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ สำนักคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ กองแผนงานและกองบริการการศึกษา ได้ร่วมกันดำเนินการพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียน บัณฑิตและการสำรวจภาวะการหางานทำของบัณฑิตขึ้น เพื่อใช้กับบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2549 การดำเนินงานของ ระบบที่พัฒนาขึ้นนี้ สถาบันจะให้ผู้สำเร็จการศึกษาที่จะขึ้นทะเบียนรับพระราชทานปริญญาบัตรกรอกข้อมูลการสำรวจ ภาวะการหางานทำของบัณฑิต ในระบบนี้ผ่านทางระบบเครือข่าย Internet ใน Website ของสถาบัน เมื่อบัณฑิต กรอกข้อมูลในแบบสำรวจเรียบร้อยแล้วจึงจะสามารถ Printout แบบฟอร์มการขึ้นทะเบียนบัณฑิต เพื่อเข้ารับพระราช ทานปริญญาบัตรได้ แล้วจึงสามารถมาขอขึ้นทะเบียนบัณฑิตที่สถาบัน หรือผ่านทางไปรษณีย์ได้ ซึ่งระบบนี้ได้พัฒนา แล้วเสร็จในเดือนสิงหาคม 2550 ทันกับการขึ้นทะเบียนบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2549 ที่กำหนดไว้ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม ถึง 20 กันยายน 2550 ผลจากการพัฒนาระบบนี้ทำให้การสำรวจภาวะการหางานทำของบัณฑิตของสถาบันมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งในด้านประหยัดงบประมาณ ลดระยะเวลาและเพิ่มความคล่องตัวในการดำเนินงาน อีกทั้งเป็นฐานข้อมูลพื้นฐาน สำหรับนำไปใช้ในระบบอื่น และสามารถนำข้อมูลมาใช้ในการจัดทำสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาของ สถาบันให้มีศักยภาพยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลการสำรวจการมีงานทำของบัณฑิตส่งสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้อีกด้วย
ระบบการขึ้นทะเบียนบัณฑิตและการสำรวจภาวะการหางานทำของบัณฑิต
40
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 1
ยุทธศาสตร์ที่ 1.5 ประชาสัมพันธ์ศักยภาพและภาพลักษณ์ขององค์กร
• การจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระจอมเกล้าพระนครเหนือ เทิดไท้องค์ราชันนิทรรศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ “พระจอมเกล้าพระนครเหนือ เทิดไท้องค์ราชันนิทรรศ” เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี และในมิ่งมงคลวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22-25 มกราคม 2550 ณ อาคารอเนกประสงค์ และอาคารของคณะและสำนักต่างๆ ภายในสถาบัน ในการนี้สมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ เป็ น องค์ ป ระธานเปิ ด งานและทอดพระเนตรงานนิ ท รรศการ เฉลิมพระเกียรติ “พระจอมเกล้าพระนครเหนือ เทิดไท้องค์ราชันนิทรรศ” เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
41
• การจัดตั้งสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา สจพ. FM 93.25 MHz ภาควิ ช าครุ ศ าสตร์ เ ทคโนโลยี คณะครุ ศ าสตร์ อุตสาหกรรม ได้จัดตั้งสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา สจพ. FM 93.25 MHz เพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สังคม โดยการ เสนอรายงานส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาการ ศึ ก ษาทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ทั้ ง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคม และเป็นสื่อกลางของ การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของหน่วยงานต่างๆ ในสถาบัน รวมทั้งเป็นสื่อสัมพันธ์ระหว่างศิษย์เก่ากับศิษย์ปัจจุบันและ สถาบั น โดยได้ ทำการทดลองกระจายเสี ย งตั้ ง แต่ วั น ที่ 9 สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา สิงหาคม 2550 เป็นต้นมา • ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของสถาบัน สถาบันมีการแต่งตั้งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารขึ้นตามหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ให้หน่วยงานของรัฐ ทุกแห่งจัดทำสรุปผลการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2550 มีการจัดทำเว็บไซด์ศูนย์ ข้อมูลข่าวสารของสถาบัน http://infocenter.kmitnb.ac.th โดยในปีงบประมาณ 2550 ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ สถาบันได้มีการส่งข้อมูลข่าวสารของราชการไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ซึ่งได้ดำเนินการแล้ว มีผู้มาใช้บริการ จำนวน 72 ราย และมีการส่งข้อมูลข่าวสารของราชการลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งอยู่ระหว่างการดำเนินการ นอกจากนี้ยังมีผู้มีใช้สิทธิขอข้อมูลข่าวสารหรือขอข่าวสารเฉพาะรายที่มิได้จัดเตรียมไว้ที่ศูนย์ตรวจดูข้อมูลข่าวสาร จำนวน 1 ราย • งานนัดพบแหล่งงานพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สจพ.ร่วมกับกรมการจัดหางาน จัดงานนัดพบแหล่งงานพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ระหว่างวันที่ 14-15 กุมภาพันธ์ 2550 โดยมีบริษัทชั้นนำกว่า 130 บริษัท ตำแหน่งงานว่างกว่า 5,000 อัตรา รองรับเป็นจำนวนมาก ซึ่งกรมการจัดหางานและสถาบันได้ตระหนักถึงปัญหาการว่างงานและเร่งดำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อเป็นการบรรเทา ปัญหาการว่างงานของประชาชน
42
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 1
ยุทธศาสตร์ท่ี 1.6 พัฒนาระบบบริหารอาคารสถานทีแ่ ละระบบบริหารสาธารณูปโภค
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา
• การรณรงค์ประหยัดพลังงานของบุคลากร สถาบันมีการรณรงค์การประหยัดพลังงานของบุคลากรและหน่วยงานในสถาบัน ซึ่งในปีงบประมาณ 2549 มีหน่วยงานที่สามารถลดใช้พลังงานได้สูงสุดประเภทหน่วยงานจัดการศึกษาคือ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประเภทหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษา ได้แก่ สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา ซึ่งทั้ง 2 หน่วยงาน ได้เข้ารับมอบโล่ ประกาศเกียรติคุณหน่วยงานที่สามารถตอบสนองยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาด้านพลังงานดีเด่นในงานวันรวมน้ำใจ ชาวสจพ. เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2550 • การก่อสร้างอาคารใน สจพ. กรุงเทพมหานคร และ สจพ.วิทยาเขตปราจีนบุร ี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สถาบันมีการปรับปรุงอาคารสถานที่สำคัญ ดังนี้ 1. สจพ.กรุงเทพมหานคร ได้ก่อสร้างอาคารบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทยเยอรมัน แล้วเสร็จ และมีหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในอาคารดังกล่าว ได้แก่ ชั้น 1 กองคลัง ชั้น 2 กองบริการการศึกษา และชั้น 3-10 บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
43
กองบริการการศึกษา
กองคลัง
2. สจพ.วิทยาเขตปราจีนบุรี ได้ดำเนินการติดตั้งระบบกล้องวงจรปิดและสแกนลายนิ้วมือของหอพัก นักศึกษา ซ่อมบำรุงเครื่องปรับอากาศ ลิฟต์ ปรับปรุงที่จอดรถหอพักนักศึกษา ปรับปรุงระบบ TV โรงอาหาร ปรับปรุงระบบสัญญาณ TV บ้านพักอาจารย์ ตีเส้นจราจรเพื่อความปลอดภัยในการสัญจร รวมถึงป้ายเตือนให้ใช้ ยานพาหนะด้านความระมัดระวัง นอกจากนี้ยังได้ก่อสร้างหลังคาคลุมทางเดิน เชื่อมระหว่างอาคารบริหารกับ
คณะอุตสาหกรรมเกษตร
ระบบบัตรคิว เพื่อบริการนักศึกษา
ปรับปรุงที่จอดรถหอพักนักศึกษา
44
รายงานประจำปี 2550
ป้ายเตือนให้ใช้ยานพาหนะ ด้านความระมัดระวัง
ระบบกล้องวงจรปิดและสแกนลายนิ้วมือ ของหอพักนักศึกษา
การก่อสร้างหลังคาคลุมทางเดิน เชื่อมระหว่างอาคารบริหาร กับคณะอุตสาหกรรมเกษตร
เป้าประสงค์ที่ 2
2
เป้าประสงค์ที่
ผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิชาการชั้นสูงที่พึงประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 2.1 ส่งเสริมการผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 2.2 พัฒนาและขยายการจัดการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2.3 ส่งเสริมการพัฒนาจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
45
เป้าประสงค์ที่ 2 ผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิชาการชั้นสูงที่พึงประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีเป้าประสงค์ที่ 2 ที่มุ่งมั่นผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่พึงประสงค์ให้สามารถสนองตอบความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม การพัฒนาอุตสาหกรรมควบคู่ ไปกับการส่งเสริมให้นักศึกษาและคณาจารย์มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพอีกด้วย ซึ่งสถาบันได้ กำหนดยุทธศาสตร์ 3 ประการ ได้แก่ 1 ส่งเสริมการผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2 พัฒนาและขยาย การจัดการศึกษา และ 3 ส่งเสริมการพัฒนาจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ โดยในปีงบประมาณ 2550 สถาบันมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ทั้ง 3 ประการ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2.1 ส่งเสริมการผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ • การจัดการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้พัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อผลิตผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับต่างๆ ออกไปรับใช้สังคมตามปณิธานที่จะมุ่งมั่นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและวิชาการชั้นสูงที่เกี่ยวข้อง ให้มีความรู้คู่คุณธรรม เพื่อเป็นผู้พัฒนาและสร้างสรรค์ เทคโนโลยีที่เหมาะสม อันก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ภายใต้ปรัชญาของสถาบันที่ ว่า “พัฒนาคน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” ปีการศึกษา 2550 สถาบันได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนในหน่วยงานที่จัดการศึกษา 9 หน่วยงานดังนี้ 1. คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มี น โยบายการผลิ ต วิ ศ วกรที่ มี ค วามรู้ ความเข้าใจในหลักการวิศวกรรมศาสตร์พื้นฐานและมีทักษะในเชิง ปฏิ บั ติ สามารถนำทฤษฎี ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ เ พื่ อ แก้ ปั ญ หาทาง วิศวกรรมในปัญหาจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยความรู้ ในวิชาชีพและประสบการณ์ อีกทั้งมีโครงการความร่วมมือทาง วิ ช าการกั บ หน่ ว ยงานภายในประเทศและต่ า งประเทศ ได้ แ ก่ ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี กั บ Institute of Technologist ประเทศญี่ ปุ่ น ความร่ ว มมื อ ทาง วิชาการด้านการเรียนการสอนกับ Ecole des Mines de Paris ประเทศฝรั่งเศส เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพในการจัดการ ศึกษาของคณะให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ในปีการศึกษา 2550 มี ก ารเรี ย นการสอน 9 ภาควิ ช า จั ด การศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี 14 หลั ก สู ต ร ระดั บ ปริ ญ ญาโท 9 หลั ก สู ต ร และระดับปริญญาเอก 4 หลักสูตร 2. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มุ่งเน้นการผลิตครูช่างอุตสาหกรรม นั ก เทคโนโลยี เ ทคนิ ค ศึ ก ษา นั ก วิ จั ย นั ก การศึ ก ษา ผู้ บ ริ ห าร อาชีวะศึกษาและเทคนิคศึกษา ให้เป็นผู้นำความคิด การค้นคว้า วิจัยและพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษาด้านอาชีวะศึกษา ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังมีโครงการความ 46
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 2
ร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการเพื่ อ พั ฒ นาครู ป ระจำการและผู้ บ ริ ห ารของ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการด้ า นการเรี ย นการสอนกั บ โรงเรี ย น จิตรลดา (สายวิชาชีพ) บริษัทเจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นต้น ในปีการศึกษา 2550 มีการเรียนการสอน 7 ภาควิชา จัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี 7 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 8 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 6 หลักสูตร 3. คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตรง ตามความต้องการของอุตสาหกรรมและการพัฒนาประเทศ และให้ บริการการสอนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปในกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ และวิ ท ยาศาสตร์ ใ ห้ แ ก่ ค ณะต่ า งๆ ในสถาบั น นอกจากนี้ ยั ง มี โครงการความร่วมมือทางวิชาการด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาบุคลากร กับ La Trobe University ประเทศออสเตรเลีย ความร่วมมือทาง วิ ช าการด้ า นการเรี ย นการสอนกั บ University Monpellier II ประเทศฝรั่ ง เศส Keimyung University ประเทศสาธารณรั ฐ เกาหลีและ University of Reading ประเทศอังกฤษ เพื่อพัฒนา ศักยภาพการจัด การศึกษา ในปีการศึกษา 2550 มีการเรียนการ สอน 7 ภาควิชา จัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี 13 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 8 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 2 หลักสูตร 4. คณะเทคโนโลยี แ ละการจั ด การอุตสาหกรรม มุ่งเน้นการผลิต บัณฑิตทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการจัดการที่มีความ รู้ความสามารถตรงกับความต้องการของธุรกิจและอุตสาหกรรม พร้อมทั้งประยุกต์ใช้องค์ความรู้เพื่อชุมชนและสังคม ในรูปแบบ ความร่วมมือกับสถานประกอบการ โดยการขยายโอกาสทางการ ศึ ก ษาไปยั ง ภู มิ ภ าคที่ จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี แ ละพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย ง นอกจากนี้ ยั ง มี โ ครงการความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการในการ แลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษาระหว่างสถาบันการศึกษาทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ เช่น Keimyung University ประเทศ สาธารณรั ฐ เกาหลี Chemnitz University of Technology ประเทศสหพั น ธ์ ส าธารณรั ฐ เยอรมั น เป็ น ต้ น ในปี ก ารศึ ก ษา 2550 มี ก ารเรี ย นการสอน 5 ภาควิ ช า จั ด การศึ ก ษาในระดับ ปริญญาตรี 9 หลักสูตร และระดับปริญญาโท 1 หลักสูตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
47
5. คณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศ มุ่ ง เน้ น การผลิ ต นั ก เทคโนโลยี สารสนเทศ ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการและส่งเสริมการพัฒนา อาจารย์ ใ ห้ มี ผ ลงานวิ จั ย และพั ฒ นาวิ ท ยาการทางด้ า นระบบ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ และซอฟแวร์ของประเทศ นอกจากนี้ยังมีโครงการ ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอนกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เช่น Oklahoma State University ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนานาชาติอีก ด้วย ในปีการศึกษา 2550 มีการเรียนการสอน 2 ภาควิชา จัดการศึกษาระดับปริญญาโท 4 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 2 หลักสูตร 6. คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มุ่ ง เน้ น การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให้ มี ค วาม รู้ความสามารถทางวิชาการด้านอุตสาหกรรมเกษตร การบริหาร และการจัดการในระบบธุรกิจทางการเกษตร รวมถึงการดำเนิน การทดลอง ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาวิทยาการเฉพาะทางของ สาขาวิ ช าอุ ต สาหกรรมเกษตร เพื่ อ นำมาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการ สนับสนุนและส่งเสริมความรู้ในเนื้อหาวิชาทางด้านอุตสาหกรรม เกษตร โดยเน้นการขยายโอกาสทางการศึกษาในส่วนภูมิภาคที่ จังหวัดปราจีนบุรีและพื้นที่ใกล้เคียง ในปีการศึกษา 2550 มีการเรียนการสอน 2 ภาควิชา จัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี 2 หลักสูตร 7. คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมและเสริมสร้างองค์ความรู้ ทางวิชาการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการใช้ภาษาเพื่อ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ได้ให้บริการการเรียน การสอนวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปในกลุ่มวิชาภาษา กลุ่มวิชา สั ง คมศาสตร์ และกลุ่ ม วิ ช ามนุ ษ ยศาสตร์ ใ ห้ แ ก่ ค ณะต่ า งๆ ในสถาบัน และยังมีโครงการความร่วมมือทางวิชาการด้านการ เรี ย นการสอนกั บ สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยอี ก ด้ ว ย ในปีการศึกษา 2550 มีการเรียนการสอน 3 ภาควิชา จัดการ ศึกษาระดับปริญญาโท 6 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 1 หลักสูตร 8. บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย วิ ศ วกรรมศาสตร์ น านาชาติ สิ ริ น ธร ไทย-เยอรมั น มุ่ ง เน้ น การผลิ ต บั ณ ฑิ ต วิศวกรรมศาสตร์หลักสูตรนานาชาติทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกที่มีศักยภาพ ในการทำวิจัยและพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการจริงของประเทศและภูมิภาค ในการจัดการเรียนการ สอนจะมีผู้เชี่ยวชาญจาก RWTH Aachen University เดินทางมาร่วมสอนให้แก่นักศึกษา และได้มีการส่ง นั ก ศึ ก ษาไปฝึ ก งาน ณ ประเทศสหพั น ธ์ ส าธารณรั ฐ เยอรมนี แ ละประเทศสาธารณรั ฐ เกาหลี อี ก ด้ ว ย ในปีการศึกษา 2550 มีการจัดการศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตรภาษาอังกฤษ 8 หลักสูตร 48
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 2
9. วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม มุ่ ง เน้ น การผลิ ต ช่ า ง เทคโนโลยี แ ละบั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามรู้ ค วามชำนาญ ทั้ ง ด้ า น ทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ ให้ มี ค วามสามารถปฏิ บั ติ ง านใน อุตสาหกรรมการผลิตสมัยใหม่ เน้นความชำนาญในการ ปฏิ บั ติ ง านในโรงงานและภาคสนามให้ ส ามารถประกอบ อาชี พ ได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ พั ฒ นาศั ก ยภาพทาง วิ ช าการในการจั ด การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพตามมาตรฐาน สากลโดยมี โ ครงการความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการกั บ มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เช่น University of Applied Science Rosenheim ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นต้น ในปีการศึกษา 2550 มีการจัดการเรียนการสอน 9 ภาควิชา จัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี 20 หลั ก สู ต ร นอกจากนี้ได้มีการจัดตั้งโรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มีฐานะเทียบเท่าภาควิชาเพื่อผลิตบัณฑิตนัก ศึ ก ษาที่ มี ค วามรู้ ความสามารถในด้ า นคณิ ต ศาสตร์ แ ละ วิทยาศาสตร์ที่มีความชำนาญด้านพื้นฐานวิศวกรรมศาสตร์ แนวปฏิบัติตามรูปแบบการผลิตวิศวกรของประเทศเยอรมัน ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3 หลักสูตร อีกด้วย • หลักสูตรที่เปิดสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เปิดสอนทั้งสิ้น 127 หลักสูตร คณะ/หลักสูตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) • อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.)
(ต่อเนื่อง) • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) - หลักสูตรภาษาไทย - หลักสูตรนานาชาติ
จำนวน
สาขาวิชา
11 3 9 3 1
วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมขนถ่ายวัสดุ วิศวกรรมระบบเครื่องมือวัด วิศวกรรมวัสดุ วิศวกรรมการบินและอวกาศ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีขนถ่ายวัสดุ เทคโนโลยีการผลิต เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม การบริหารงานก่อสร้าง วิศวกรรมการบินและอวกาศ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมเครื่องกล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
49
คณะ/หลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม • ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) (ต่อเนื่อง) • ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ค.อ.ม.) • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) • ครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต (ค.อ.ด.)
50
จำนวน 6 1 7 1 4 2
วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ วิศวกรรมโยธา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การบริหารงานวิศวกรรมโยธา เครื่องกล ไฟฟ้า โยธา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา บริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ธุรกิจอุตสาหกรรม การบริหารงานวิศวกรรมโยธาและงานระบบ คอมพิวเตอร์ศึกษา ไฟฟ้าศึกษา เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา วิจัยและพัฒนาการสอนเทคนิคศึกษา บริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา วิจัยและพัฒนาหลักสูตร
คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) (ต่อเนื่อง) • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
10 3 8 2
เคมีอุตสาหกรรม คณิตศาสตร์ประยุกต์ สถิติประยุกต์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์ เทคโนโลยีชีวภาพ ฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหาร สถิติธุรกิจและการประกันภัย สถิติประยุกต์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์การแพทย์ เคมีอุตสาหกรรม วัสดุศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ สถิติประยุกต์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์การแพทย์ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมชีวภาพ เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เคมีอุตสาหกรรม สถิติประยุกต์
คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม • อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) • อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.)
(ต่อเนื่อง) • บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) • เทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) • อุตสาหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (อส.ม.)
3 4 1 1 1
การจัดการอุตสาหกรรม การบริหารงานก่อสร้าง เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร การจัดการอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารงานก่อสร้าง เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการอุตสาหกรรม
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) - หลักสูตรภาษาไทย - หลักสูตรนานาชาติ • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) - หลักสูตรภาษาไทย - หลักสูตรนานาชาติ
2 2 1 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะอุตสาหกรรมเกษตร • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)
2
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
รายงานประจำปี 2550
สาขาวิชา
เป้าประสงค์ที่ 2
คณะ/หลักสูตร
จำนวน
สาขาวิชา
คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) - หลักสูตรภาษาอังกฤษ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) • บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต (บธ.ด.)
2 3 1 1
จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ การแปลเพื่อการศึกษาและธุรกิจ ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจและอุตสาหกรรม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอุตสาหกรรม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอุตสาหกรรม
บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ สิรินธร ไทย-เยอรมัน • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) - หลักสูตรภาษาอังกฤษ
8
วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมยานยนต์ วิศวกรรมโทรคมนาคม วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ วิศวกรรมระบบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมวัสดุและโลหะการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)
11 เทคโนโลยีวิศวกรรมการออกแบบและผลิตเครื่องจักรกล เทคโนโลยีวิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ เทคโนโลยีวิศวกรรมพอลีเมอร์ เทคโนโลยีวิศวกรรม- แมคคาทรอนิกส์ เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์กำลัง วิศวกรรมโยธาและเทคโนโลยี เทคโนโลยีวิศวกรรมไม้ เทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม เทคโนโลยีวิศวกรรม- เครื่องมือ เทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์
• อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.)
(ต่อเนื่อง) • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) • ศิลปบัณฑิต (ศ.บ.) • ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ป.วช.)
(เตรียมวิศวกรรมศาสตร์)
6 1 2 3
เทคโนโลยีเครื่องกล เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์กำลัง เทคโนโลยีเครื่องต้นกำลัง เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีศิลปอุตสาหกรรม เทคโนโลยีการเชื่อม การจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ ออกแบบภายใน ออกแบบเซรามิกส์ เครื่องกล ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
51
• นักศึกษาใหม่ ปี ก ารศึ ก ษา 2550 สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ มี นั ก ศึ ก ษาใหม่ จำนวน 7,219 คน ลดลงจากปีการศึกษา 2549 จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 0.30 เมื่อพิจารณานักศึกษาใหม่จำแนกตามระดับการ ศึกษาพบว่า เป็นนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 82.60 รองลงมาเป็นนักศึกษาใหม่ระดับ ปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 10.20 ส่วนการรับนักศึกษาใหม่จำแนกตามประเภทการรับเข้าพบว่า เป็นนักศึกษาใหม่ โดยการรับตรงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 64.34 รองลงมาเป็นนักศึกษาโควตาเรียนดี คิดเป็นร้อยละ 20.70 ปริญญาตรี 5,963 คน (82.60%)
ปริญญาโท 736 คน (10.20%) ปวช. 475 คน (6.58%)
ปริญญาเอก 45 คน (0.62%)
• นักศึกษาทั้งหมด ในปี ก ารศึ ก ษา 2550 สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ มี นั ก ศึ ก ษาทั้ ง หมด 21,182 คน ลดลงจากปีการศึกษา 2549 จำนวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 1.23 เมื่อพิจารณานักศึกษาทั้งหมดจำแนกตามคณะ พบว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีนักศึกษาทั้งหมดมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 32.47 รองลงมาเป็นคณะ วิศวกรรมศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 26.74 และเมื่อพิจารณาตามระดับการศึกษาพบว่า มีนักศึกษาทั้งหมดระดับ ปริญญาตรีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 84.46 รองลงมาเป็นระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 7.54 ปริญญาตรี 17,891 คน (84.46%)
ปวช. 1,504 คน (7.10%)
ปริญญาโท 1,598 คน (7.54%) ปริญญาเอก 189 คน (0.90%)
• ผู้สำเร็จการศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2549 ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีจำนวน 4,967 คน เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2548 จำนวน 398 คน คิดเป็นร้อยละ 8.71 เมื่อพิจารณาผู้สำเร็จการศึกษาจำแนกตามระดับ การศึกษาพบว่า ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีผ้สู ำเร็จการศึกษา จำนวน 393 คน เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2548 จำนวน 45 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 12.93 ระดั บ ปริ ญ ญาตรี มี ผู้ สำเร็ จ การศึ ก ษา จำนวน 3,460 คน เพิ่ ม ขึ้ น จาก ปีการศึกษา 2548 จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 1.50 ระดับปริญญาโทมีผู้สำเร็จการศึกษา จำนวน 1,099 คน 52
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 2
เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2548 จำนวน 291 คนคิดเป็นร้อยละ 36.02 และระดับปริญญาเอกมีผู้สำเร็จการศึกษา จำนวน 15 คน เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2548 จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 2.75 ปริญญาตรี 3,460 คน (69.66%) ปริญญาโท 1,099 คน (22.13%) ปวช. 393 คน (7.91%) ปริญญาเอก 15 คน (0.30%)
• ภาวะการหางานทำของบัณฑิต จากการสำรวจภาวะการหางานทำของบัณฑิต รุ่นปีการศึกษา 2548 ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ เมื่อวันที่ 3-5 พฤศจิกายน 2549 หลังสำเร็จการศึกษาไปแล้วเป็นเวลา 7 เดือน มีบัณฑิตเข้ารับพระ ราชทานปริญญาบัตร 4,071 คน และมีบัณฑิตกรอกแบบสำรวจ 4,062 คน คิดเป็นร้อยละ 99.78 ของผู้เข้ารับ
พระราชทานปริญญาบัตร ผลการสำรวจพบว่า บัณฑิตมีงานทำ จำนวน 3,235 คน คิดเป็นร้อยละ 79.64 บัณฑิตที่ ยังไม่ได้ทำงาน จำนวน 575 คน คิดเป็นร้อยละ 14.16 และศึกษาต่อ จำนวน 252 คน คิดเป็นร้อยละ 6.20 เมื่อพิจารณาตามระดับการศึกษาพบว่าระดับปริญญาตรี จำนวน 3,328 คน มีงานทำ จำนวน 2,536 คน คิดเป็นร้อยละ 76.20 ยังไม่ได้ทำงาน จำนวน 544 คน คิดเป็นร้อยละ 16.35 ศึกษาต่อ จำนวน 248 คน คิดเป็น ร้อยละ 7.45 ส่วนระดับปริญญาโท จำนวน 732 คน มีงานทำ จำนวน 697 คน คิดเป็นร้อยละ 95.22 ยังไม่ได้ ทำงาน จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 4.23 ศึกษาต่อ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.55 และระดับปริญญาเอก จำนวน 2 คน มีงานทำทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 หน่วย : คน ระดับการศึกษา
มีงานทำ ยังไม่ได้ทำงาน 2,536 544 ปริญญาตรี (76.20%) (16.35%) 697 31 ปริญญาโท (95.22%) (4.23%) 2 - ปริญญาเอก (100%) 3,235 575 รวม (79.64%) (14.16%) (สำรวจเมื่อ 3-5 พฤศจิกายน 2549 หลังสำเร็จการศึกษาไปแล้วเป็นเวลา 7 เดือน)
ศึกษาต่อ 248 (7.45%) 4 (0.55%) - 252 (6.20%)
สำหรับการมีงานทำของบัณฑิต รุ่นปีการศึกษา 2548 จำแนกตามประเภทหน่วยงาน พบว่าบัณฑิตระดับ ปริญญาตรีส่วนใหญ่ทำงานเป็นพนักงานลูกจ้างเอกชน คิดเป็นร้อยละ 87.74 รองลงมาทำงานรับราชการ/ลูกจ้าง/ พนักงานของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 4.93 และทำงานกิจการของครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 3.31 บัณฑิตระดับปริญญาโท ส่วนใหญ่ทำงานรับราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 48.92 รองลงมาทำงานเป็นพนักงานลูกจ้าง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
53
เอกชน คิดเป็นร้อยละ 38.59 และทำงานเป็นพนักงานลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 6.17 ส่วนบัณฑิตระดับ ปริญญาเอกทำงานกิจการของครอบครัว และรับราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 50 เท่ากัน พนักงานลูกจ้างเอกชน 2,494 คน (77.09%)
พนักงานลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ 82 คน (2.53%)
ไม่ระบุ 11 คน (0.34%)
รับราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานของรัฐ 467 คน (14.44%) กิจการของครอบครัว 97 คน (3.00%)
กิจการของตนเอง 82 คน (2.54%)
องค์การต่างประเทศ 2 คน (0.06%)
• การศึกษาความพึงพอใจของนายจ้างต่อบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือได้ศึกษาความพึงพอใจของนายจ้างต่อบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2548 จากการส่งแบบสอบถามให้แก่นายจ้างของบัณฑิตที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 353 ฉบับ ได้รับแบบสอบถามที่ สมบูรณ์จำนวน 244 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 69.12 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ความพึงพอใจของนายจ้างต่อบัณฑิต ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการในการปฏิบัติงาน ด้านความสามารถพื้นฐานที่ส่งผลต่อการทำงาน และด้าน คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพของบัณฑิตปริญญาตรีและปริญญาโทในภาพรวม นายจ้างมีความ พึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 เมื่ อ จำแนกตามคณะพบว่ า นายจ้ า งของบั ณ ฑิ ต ปริ ญ ญาตรี มี ค วามพึ ง พอใจในบั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ อุตสาหกรรม อยู่ในระดับมาก มากกว่าคณะอื่น มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.12 และนายจ้างของบัณฑิตปริญญาโท มีความพึงพอใจในบัณฑิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.66 เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนายจ้างต่อบัณฑิต จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชาพบว่า นายจ้างมีความ พึงพอใจต่อบัณฑิตในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ และกลุ่มสาขา วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ไม่มคี วามแตกต่างกันในภาพรวมทัง้ 3 ด้าน อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 กลุ่มสาขาวิชา คุณลักษณะ
1. ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ ในการปฏิบัติงาน 2. ด้านความรู้พื้นฐานที่ส่งผลต่อการ ทำงาน 3. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ จรรยาบรรณในวิชาชีพ ภาพรวม
54
รายงานประจำปี 2550
วิทยาศาสตร์ กายภาพ และชีวภาพ SD X¯
และ วิศวกรรมศาสตร์ มนุสัษงยศาสตร์ คมศาสตร์ X¯
SD
X¯
F
P
SD
4.14 0.505 4.19 0.419 4.28 0.445 0.518 0.596 4.15 0.367 4.16 0.353 4.34 0.337 0.813 0.445 4.37 0.434 4.44 0.405 4.60 0.379 1.162 0.315 4.20 0.370 4.24 0.332 4.39 0.340
เป้าประสงค์ที่ 2
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.2 พัฒนาและขยายการจัดการศึกษา • การพัฒนาหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2550 สถาบันได้มีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ 1 หลักสูตร และมีการปรับปรุงหลักสูตรทั้งหมด 8 หลักสูตร โดยมีรายชื่อหลักสูตรดังนี้ 1. หลักสูตรใหม่ ได้แก่ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการบริหารงานวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2549) 2. หลักสูตรปรับปรุง จำนวน 8 หลักสูตร ได้แก่ 2.1 หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานก่อสร้างและออกแบบผลิตภัณฑ์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) 2.2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) 2.3 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) 2.4 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) 2.5 หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องต้นกำลัง (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) 2.6 หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) 2.7 หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาเทคโนโลยีการเชื่อม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) 2.8 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและเทคโนโลยี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) ระดับบัณฑิตศึกษา ในปีการศึกษา 2550 สถาบันได้มีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ 3 หลักสูตร และมีการปรับปรุงหลักสูตรทั้งหมด 8 หลักสูตร โดยมีรายชื่อหลักสูตรดังนี้ 1. หลักสูตรใหม่ จำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ 1.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสถิติประยุกต์ 1.2 หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอุตสาหกรรม 1.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวิศวกรรมโยธาและงานระบบ 2. หลักสูตรปรับปรุง จำนวน 8 หลักสูตร ได้แก่ 2.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี 2.2 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร 2.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีและกระบวนการ 2.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟแวร์ 2.5 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 2.6 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง 2.7 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ 2.8 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
55
• การพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ในรอบปีงบประมาณ 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากกิจการนักศึกษาเป็นกระบวนการที่เสริมสร้างประสบการณ์เพื่อ ส่งเสริมการผลิตบัณฑิตของสถาบันให้มีคุณภาพทั้งในด้านความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งมีการจัดโครงการในด้าน ต่างๆ ดังนี้ การจัดกิจกรรมนักศึกษา
- กิจกรรมด้านวิชาการ เป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่มุ่งเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ด้านวิชาการให้แก่ นักศึกษา รวมทั้งสิ้น 8 โครงการ โดยมีการจัดกิจกรรม โครงการฝึกอบรมลูกเสือทางอากาศ โครงการ ENGLISH CAMP โครงการอบรมเพื่อเตรียมสอบรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น โครงการอบรมการใช้กล้อง และอุปกรณ์ถ่ายภาพเบื้องต้น โครงการบันทึกภาพเมืองใหญ่ “รอบเกาะรัตนโกสินทร์” โครงการแข่งขัน CQ WW VHF CONTEST 2007 โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยุสื่อสารให้กับเยาวชน โครงการถ่ายภาพสัญจร ตอน “เที่ยว นครนายก” เป็นต้น - กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อมุ่งส่งเสริมความรู้และประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา ทางด้านศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณีต่างๆ อาทิเช่น โครงการตักบาตรประจำสัปดาห์ โครงการ ปล่อยปลาประจำสัปดาห์ โครงการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทย โครงการกีฬาคริสเตียนสัมพันธ์ 3 พระจอมเกล้า โครงการร้อยรักสิง่ ดีเพือ่ พ่อ โครงการใยศิลป์ โครงการดนตรีสขี าว โครงการไหว้ครูประจำปี โครงการค่ายคุณธรรมวันแม่ โครงการอบรมจริยธรรมและสัมมนาประจำปี โครงการไหว้ครูดนตรีไทย เป็นต้น
- กิจกรรมด้านอาสาพัฒนาและบำเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่นักศึกษาจัดขึ้นเพื่อช่วยเหลือสังคมหรือ ชุมชนที่ประสบปัญหาด้านต่างๆ โดยในปีงบประมาณ 2550 มีการจัดกิจกรรมในต่างๆ รวมทั้งสิ้น 22 โครงการ อาทิเช่น โครงการเท่อย่างไรไม่พึ่งพายาเสพติด โครงการแนะแนวเส้นทางสู่มหาวิทยาลัยจากใจสมาพันธ์นิสิต
นักศึกษากลุ่มทักษิณ โครงการบำเพ็ญประโยชน์แก่ผู้ที่ด้อยโอกาสในสังคม โครงการค่ายวันเด็ก โครงการค่ายปัน น้ำใจสู่วันสดใสให้น้อง โครงการลงพื้นที่เพื่อจัดกิจกรรมเพื่อน้องผู้ด้อยโอกาส โครงการ สจพ. รวมพลังยับยั้งเอดส์ โครงการนิทรรศการรำลึก “สืบ นาคะเสถียร” เป็นต้น
56
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 2
- กิจกรรมด้านกีฬา เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อมุ่งพัฒนานักศึกษาให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและมีน้ำใจเป็น นักกีฬา ได้แก่ โครงการแข่งขันเปตอง พระนครเหนือ โอเพ่น ครั้งที่ 8 โครงการแข่งขันเดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพต้าน ยาเสพติด โครงการแข่งขันวอลเล่ย์บอลโอเพ่น ครั้งที่ 8 โครงการแข่งขันแบดมินตัน Kmitnb Open ประจำปี 2550 โครงการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่น สจพ.คัพ ครั้งที่ 34 โครงการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34 เป็นต้น
- กิจกรรมส่วนกลาง เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวมการสนับสนุนการจัดกิจกรรมต่างๆ ของนักศึกษา โดยมีสภานักศึกษา องค์การนักศึกษา สโมสรนักศึกษา ร่วมกันจัดกิจกรรมส่วนกลางต่างๆ ได้แก่ โครงการ 5 ธันวา มหาราช โครงการ 12 สิงหามหาราชินี โครงการค่ายวันเด็ก โครงการสัมมนาผู้นำพระจอมเกล้า ครั้งที่ 4 โครงการ ติวฟรีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ครั้งที่ 15 โครงการสัมมนากลุ่มนิสิต-นักศึกษาสัมพันธ์ครั้งที่ 39 โครงการ เปิดโลกกิจกรรม โครงการเลือกตั้งสภานักศึกษา องค์การนักศึกษา ปีงบประมาณ 2551 โครงการสัมมนากลุ่ม สภานิสิต-นักศึกษาสัมพันธ์ ครั้งที่ 40 ปีงบประมาณ 2551 เป็นต้น
การให้บริการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ สถาบันได้ดำเนินการให้บริการทางด้านการจัดหางาน ประชาสัมพันธ์
ข้อมูลข่าวสารการรับสมัครงาน ประสานงานกับผู้ประกอบการ จัดหาข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องในการประกอบอาชีพ ให้บริการข้อมูลแนะนำสถานประกอบการ ให้บริการห้องสมุดอาชีพ นอกจากนี้ยังมีโครงการโลกทัศน์อาชีพซึ่ง เป็นการจัดบรรยายและสอบข้อเขียนแก่นักศึกษาที่ต้องการสมัครงาน โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม (ปัจฉิม นิเทศนักศึกษา) โครงการอบรมแรงงานไทยเพื่อความมั่นคงในอาชีพ โครงการนัดพบแหล่งงานพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ครั้งที่ 15 เป็นต้น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
57
การให้บริการสุขภาพและพลานามัยของนักศึกษา
สถาบันได้ส่งเสริมให้นักศึกษามีสุขภาพดีและมีกิจกรรมที่ ส่ ง เสริ ม พลานามั ย ของนั ก ศึ ก ษา ได้ แ ก่ โ ครงการบริ จ าค โลหิต โครงการกิจกรรมเอดส์โลก กิจกรรมวันต่อต้าน ยาเสพติดโลก โครงการสร้างอาชีพ สร้างคุณค่า ไม่พึ่งพา ยาเสพติด โครงการวัคซีนป้องกันเอดส์ 2550 นิทรรศการ สุ ข ภาพจิ ต การเผยแพร่ ค วามรู้ เ รื่ อ งสุ ข ภาพจิ ต -กาย โครงการฟั น สวยยิ้ ม ใส โครงการตรวจสุ ข ภาพนั ก ศึ ก ษา ประจำปี 2550 เป็นต้น การให้บริการด้านวินัยนักศึกษา สถาบันได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเสริมสร้างนักศึกษาให้เป็นผู้ที่มี
ระเบียบวินัย เคารพกฎหมายบ้านเมืองและกฎ ข้อบังคับ ระเบียบประกาศของสถาบัน นอกจากนี้ยังให้บริการด้าน การรักษาดินแดน โดยในปีงบประมาณ 2550 งานวินัยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การทดสอบสมรรถภาพ ร่างกายเพื่อสมัครเรียนวิชาทหาร ชั้นปีที่ 1 และการนำนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีท่ี 2 – 5 รายงานตัวเรียนวิชาทหาร รวมถึง ดูแลการฝึกภาคสนามด้วย นอกจากนี้ยังมีโครงการประกาศคุณงามความดีนักศึกษา โครงการเพชร สจพ. เป็นต้น
การให้บริการทุนการศึกษา สถาบันยังได้สนับสนุน
ให้นกั ศึกษามีโอกาสรับทุนอุดหนุนการศึกษาจากหน่วยงาน ต่ า งๆ ทั้ ง ภาครั ฐ บาลและเอกชน ซึ่ ง ได้ จั ด สรรทุ น การ ศึ ก ษาให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาที่ ป ระสบปั ญ หาหรื อ เดื อ ดร้ อ น ทางการเงิน รวมถึงนักศึกษาที่เรียนดี มีความประพฤติ เรียบร้อยแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์และนักศึกษาที่มีความ สามารถดีเด่นในด้านต่างๆ โดยในปีงบประมาณ 2550 มีทุนอุดหนุนการศึกษาแก่นักศึกษา 962 คน เป็นมูลค่า 5,500,900 บาท ให้บริการกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) แก่นักศึกษา 5,003 คน เป็นมูลค่า 133,731,900 บาท และกองทุ น ให้ กู้ ยื ม ที่ ผู ก ติ ด กั บ รายได้ ใ นอนาคต (กรอ.) แก่นักศึกษา 162 คน เป็นมูลค่า 2,205,400 บาท 58
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 2
• การให้บริการห้องสมุด สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ ได้ส่งเสริมให้นักศึกษามีความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง เพื่ อ เป็ น การปลู ก ฝั ง ให้ มี คุ ณ ลั ก ษณะด้ า นการใฝ่ รู้ โดยสนับสนุนให้สำนักหอสมุดกลางเป็นศูนย์กลางให้บริการ ทางวิชาการด้านสารนิเทศ เป็นแหล่งรวบรวม บำรุงรักษาและ เผยแพร่หนังสือ วารสารและสิ่งพิมพ์ทั้งภาษาไทยและภาษา ต่ า งประเทศ เอกสารอ้ า งอิ ง ทางประวั ติ ศ าสตร์ ฐานข้ อ มู ล รวมทั้งโสตทัศนวัสดุและอุปกรณ์การศึกษา เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน การค้นคว้า และการวิจัยให้ แก่อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษาของสถาบันและบุคคลทั่วไป ด้วยการให้บริการยืมและแลกเปลี่ยนสื่อต่างๆ และบริการ สืบค้นข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางของการ ประสานงานการบริหารระบบงานห้องสมุดของสถาบันให้มี มาตรฐานเดียวกันเทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยการพัฒนา ห้ อ งสมุ ด ให้ เ ป็ น ห้ อ งสมุ ด ดิจิตอล ทั้งที่สำนักหอสมุดกลาง กรุงเทพฯ และห้องสมุดสาขาสจพ.วิทยาเขตปราจีนบุรี รวมทั้ง ยั ง มี ค วามร่ ว มมื อ และประสานงานระหว่ า งห้ อ งสมุ ด มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังมีการจัดทำโฮมเพจ มี URL คือ http://library.kmitnb.ac.th เพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการให้ บริ ก ารต่ า งๆ ของสำนั ก หอสมุ ด กลางอี ก ด้ ว ย ซึ่ ง ในปี งบประมาณ 2550 สำนักหอสมุดกลางมีรายการทรัพยากร สารนิเทศที่ให้บริการดังนี้
หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ ฐานข้อมูลซีดี-รอม (CD-ROM) ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สื่อโสตทัศน์วัสดุ
245,303 740 21 7 11 14 12,108 16,627
เล่ม รายการ ชื่อ ฐานข้อมูล ฐานข้อมูล ฐานข้อมูล รายชื่อ รายการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
59
• การให้บริการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศโดยมี สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นศูนย์กลางการบริการทางวิชาการและเทคโนโลยี ทำการค้นคว้า วิจัยและพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ดูแลรักษาระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายทั้งภายในสถาบัน และที่เชื่อมโยงไปยังต่างประเทศ ให้สามารถสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริหารการศึกษาได้ อย่ า งเพี ย งพอและทั น ต่ อ ความต้ อ งการ นอกจากนี้ ยั ง เป็ น หน่ ว ยงานเฉพาะด้ า นที่ จั ด การเกี่ ย วกั บ การจั ด ระบบ ฐานข้อมูลและสารสนเทศของสถาบัน รวมทั้งให้บริการทางวิชาการด้านระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการฝึก อบรมและให้คำปรึกษาแก่บุคลากรและหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน โดยในปีงบประมาณ 2550 สำนัก คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการพัฒนาการให้บริการแก่นักศึกษา คณาจารย์และบุคลากร ดังนี้ 1. ปรับปรุงพื้นที่ห้องบริการคอมพิวเตอร์ ด้วยการติดตั้งเครื่องโปรเจคเตอร์ จอภาพ และเครื่องขยาย เสียงทุกห้องปฏิบัติการ 2. เพิ่มจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการแก่นักศึกษาจำนวน 62 เครื่อง 3. เพิ่มความเร็วของอินเตอร์เน็ตที่ สจพ.กรุงเทพฯจาก 40 Mbps เป็น 100/15 Mbps และที่ สจพ.วิทยาเขตปราจีนบุรี เพิ่มวงจรจาก 2 Mbps เป็น 8 Mbps 4. ติดตั้งระบบ Firewall เพื่อป้องกันการบุกรุกของไวรัสเข้าระบบเครือข่าย 5. เปลี่ยน Core Router เพื่อให้การสื่อสารภายในเครือข่ายมีประสิทธิภาพและรวดเร็วขึ้น 6. ติดตั้งระบบบริหารและจัดการอินเตอร์เน็ตเพื่อควบคุมการใช้อินเตอร์เน็ตในการเรียนการสอน 7. ติดตั้งระบบ San เพื่อใช้สำหรับเก็บฐานข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงานภายในสถาบัน เช่น ฐานข้อมูล
ระบบบัญชีการลงทะเบียน ฐานข้อมูลนักศึกษา ฐานข้อมูลระบบบัญชี 3 มิติ ฐานข้อมูลบุคลากร เป็นต้น 8. เพิ่มแบรนวิดท์ เพื่อให้บริการพื้นที่ในการจัดทำ Homepage แก่อาจารย์และนักศึกษา จาก 2.27 Kbps เป็น 5.1 Kbps 9. เพิ่มพื้นที่ของ E-mail ของนักศึกษาจาก 27.96 Mb เป็น 50 Mb และของอาจารย์ เจ้าหน้าที่ จาก 50 Mb เป็น 100 Mb นอกจากนี้ยังให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยการจัดฝึกอบรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการให้กับบุคลากรของ สถาบันและบุคคลภายนอก จำนวน 8 โครงการ อาทิเช่น โครงการอบรมหลักสูตร Microsoft Access หลักสูตร SQL หลักสูตร Dream weaver หลักสูตร VB.net หลักสูตร PhotoShop หลักสูตร PHP เป็นต้น
60
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 2
• โครงการความร่วมมือทางวิชาการในประเทศ หน่วยงาน
วัตถุประสงค์
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ ใหม่ในสาขาอุตสาหกรรมเครื่องหนัง รองเท้า ฟอกหนังและ อุตสาหกรรมสิ่งทอ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เพื่อจัดทำหลักสูตรการจัดการพลังงานเพื่ออาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย กระทรวงอุตสาหกรรม วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางและมาตรการในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานใน 4 สาขาอุตสาหกรรม คือ อุตสาหกรรมกระดาษและเยื่อกระดาษ อุตสาหกรรมแก้ว และเซรามิก อุตสาหกรรมสิ่งทอและอุตสาหกรรมเหล็กและ เหล็กกล้า เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและกำลังคนเข้าสู่ อุตสาหกรรมฐานความรู้ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ เพื่อวางแผนกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟแวร์และ สังคมแห่งชาติ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และเสริมสร้างความเข้มแข็ง ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพด้านบริการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันในตลาดโลก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ ความร่วมมือในโครงการวิจัย การประดิษฐ์ต้นแบบของเซลล์ เทคโนโลยีแห่งชาติ แสงอาทิตย์ชนิดใช้อนุภาคนาโนเป็นตัวรับอิเล็กตรอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ความร่วมมือทางวิชาการในโครงการมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง ตาม โครงการเสริมสร้างศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้ ความ ชำนาญและประสบการณ์ในการทำงานด้านการออกแบบ การผลิต การควบคุมคุณภาพ การวิเคราะห์ปัญหาจากการ ปฏิบัติงานจริง ซึ่งจะสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ 2. เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอุตสาหกรรมระดับ บัณฑิตศึกษา สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน แห่งประเทศไทย ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 3 เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มและเชื่อมโยงอุตสาหกรรมแปรรูปข้าว จังหวัดพิจิตร และจังหวัดสุพรรณบุรี อุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนา ความร่วมมือทางวิชาการในโครงการโอลิมปิกวิชาการ มาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาฯ (สอวน.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
61
หน่วยงาน
มูลนิธิพระดาบส
วัตถุประสงค์
เพื่อมอบสื่อการเรียนการสอนในสาขาช่างไฟฟ้า ช่างยนต์ ช่างซ่อมบำรุง สื่อหมวดวิชาพื้นฐาน สื่อสาขาเคหะบริบาล การพัฒนาการเรียนและห้องสมุดงานวิจัย และงานฝึกอบรม ครูผู้สอนและจัดทีมช่วยสอน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ ความร่วมมือทางวิชาการในโครงการพัฒนาอัจฉริยะภาพทาง ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี (สสวท.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เพื่อรองรับการขยายการเปิดการเรียนการสอนระดับปริญญา บัณฑิตทางวิชาชีพของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เพื่อพัฒนาการศึกษาให้เป็นฐานความรู้และการแลกเปลี่ยน อาจารย์และนักศึกษาในงานด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ) ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาระดับช่างอุตสาหกรรมให้ สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสามารถนำ หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ป.วช.) ของวิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สจพ. มาใช้เป็นหลักสูตรการเรียน การสอนช่างอุตสาหกรรมของโรงเรียนลำปางพาณิชยการและ เทคโนโลยีได้ บริษัทเพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด(มหาชน) ความร่วมมือทางวิชาการด้านการจัดการงานวิศวกรรมโยธา บริษัทฤทธา จำกัด บริษัทเจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม จำกัด การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บริษัทเรียลเอสเตท คอนซัลแทนท์ จำกัด บริษัทไทยโพลีคอนส์ จำกัด บริษัทเดอะ แวลูเอชั่น แอนด์ คอนซัลแทนส์ จำกัด บริษัทสตีลอินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน) บริษัทแพนเอเซียอุตสาหกรรม จำกัด ความร่วมมือในการวิจัยและพัฒนาในโครงการสหกิจศึกษา บริษัท HMC Polymer จำกัด ความร่วมมือในโครงการสหกิจศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ ความร่วมมือทางวิชาการด้านการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ของวิทยาลัยเทคนิคราชบุรีให้มีความรู้ความสามารถในการ บริษัทผลิตไฟฟ้าราชบุรี จำกัด พัฒนากระบวนการทางการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย อย่างมีประสิทธิภาพ 62
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 2
• โครงการความร่วมมือทางวิชาการในต่างประเทศ ประเทศ/หน่วยงาน ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
PUKYONG National University Keimyung University
วัตถุประสงค์
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา การแลกเปลี่ยนอุปกรณ์การเรียนการสอน
ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
Thai Nguyen University Haiphong University
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา ความร่วมมือในการทำวิจัย
ประเทศญี่ปุ่น
Tokyo Institute of Technology Institute of Technologist
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา ความร่วมมือในการวิจัย ความร่วมมือทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเทศออสเตรเลีย
The Faculty of Information Technology at Monash University La Trobe University RMIT University University of Wollongong
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา ความร่วมมือในการวิจัย ความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาบุคลากร ความร่วมมือในโครงการวิจัยการขึ้นรูปและศึกษาสมบัติของ วัสดุเชิงประกอบจากเส้นใยเซลลูโลสของปาล์มน้ำมันและ พอลีแลคติกแอซิด
ประเทศนิวซีแลนด์
The University of Canterbury Massey University
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา ความร่วมมือในการวิจัย
ประเทศฝรั่งเศส
Institut National Polytechnique de Grenoble (INPG) National Polytechnique de Lorraine (INPL) Soudure (IS) Institut National Polytechnique de Toulouse (INPT) University Monpellier II Ecole des Mines de Paris
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา ความร่วมมือในการวิจัย
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
63
ประเทศ/หน่วยงาน ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
วัตถุประสงค์
Bavarian Thai University Center (BTUC) ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน University of Applied Sciences Landshut การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา University of Applied Science Rosenheim ความร่วมมือในการวิจัย University of Applied Science Esslingen Chemnitz University of Technology RWTH Aachen University of Technology University of Munster Flidnerstr ประเทศสหรัฐอเมริกา
Oklahoma State University University of Louisiana of Lafaye New Mexico State University
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา ความร่วมมือในการวิจัย
ประเทศอังกฤษ
Liverpool John Moore University University of Reading School of Chemistry, The University of Manchester โครงการความร่วมมือทางวิชาการในประเทศ
โครงการความร่วมมือทางวิชาการในต่างประเทศ
64
รายงานประจำปี 2550
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนคณาจารย์ / เจ้าหน้าที่ / นักศึกษา ความร่วมมือในการวิจัย ความร่วมมือในการวิจัยโครงการสังเคราะห์เชื้อเพลิงเหลวจาก ชีวมวลผ่านกระบวนการฟิเชอร์ทรอป
เป้าประสงค์ที่ 2
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.3 ส่งเสริมการพัฒนาจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้มอบหมายให้กองบริหารและจัดการทรัพยากรมนุษย์ เป็น ผู้ ดำเนิ น การและประสานงานการส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาจริ ย ธรรม คุ ณ ธรรมและจรรยาบรรณในวิ ช าชี พ โดยใน ปีงบประมาณ 2550 มีการดำเนินการดังนี ้ 1. การแต่งตัง้ คณะกรรมการกำกับดูแลจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ เพือ่ ทำหน้าทีก่ ำกับดูแลการปฏิบตั ติ น ตามจรรยาบรรรณวิชาชีพคณาจารย์ที่กำหนด โดยให้มีหน้าที่กำกับดูแลเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ การจัดทำระบบการส่งเสริมให้ผู้เกี่ยวข้องปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ ระบบการประเมินผลการปฏิบัติ งาน รวมถึงยกร่างระบบการกำกับติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ในด้านความ สำเร็จ และมาตรการดำเนินการกับผู้ไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ 2. การจัดทำข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ว่าด้วย จรรยาบรรณบุคลากร พ.ศ. 2550
แทนฉบับปี พ.ศ. 2549 ขึ้นใหม่ไว้เป็นประมวลความประพฤติเพื่อรักษาไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและส่งเสริมชื่อเสียง เกียรติคุณ เกียรติฐานะของบุคลากรอันจะส่งผลให้ผู้ประพฤติเป็นที่เลื่อมใส ศรัทธาและยกย่องของบุคคลโดยทั่วไป ข้อบังคับดัง กล่าวมีหลักการเพื่อให้บุคลากรยึดมั่นและยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ ปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ ปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ไม่ใช้อำนาจครอบงำผิดทำนองครองธรรมต่อนักศึกษา 3. การจัดทำคู่มือจรรยาบรรณบุคลากร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ตามข้อบังคับ สถาบันฯ ว่าด้วยจรรยาบรรณบุคลากร พ.ศ. 2550 และแจ้งให้บุคลากรทุกคนรับทราบ และถือเป็นแนวทางปฏิบัติ ต่อไป รวมถึงได้จัดทำแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณบุคลากร 4.การกำกับติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ โดยคณะกรรมการกำกับดูแล จรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งทำหน้าที่ในการกำกับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ การให้คำแนะนำ ตักเตือน ให้ข้อเสนอแนะ และอื่นๆ ที่เหมาะสม สำหรับคณะกรรมการที่ทำหน้าที่ดูแลจรรยาบรรณของบุคลากรสาย สนับสนุนวิชาการในขณะนี้ มีคณะกรรมการใสสะอาดของสถาบัน รวมถึงคณะกรรมการใสสะอาดประจำหน่วยงาน ทำหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของบุคลากรอยู่ ซึ่งหากพบว่าบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการหรือ คณาจารย์ประพฤติปฏิบัติตน ที่ไม่เป็นไปตามจรรยาบรรณก็สามารถให้คำแนะนำ ตักเตือน เพื่อให้ประพฤติปฏิบัติ ตามจรรยาบรรณที่กำหนดได้เช่นเดียวกัน 5.การประเมินผลเกี่ยวกับการรับรู้และการปฏิบัติตามจรรยาบรรณบุคลากร โดยสอบถามบุคลากรทั้ง สถาบันเกี่ยวกับผลการรับรู้และการปฏิบัติตามจรรยาบรรณบุคลากร พ.ศ. 2549 (ยกเลิกแล้ว) และฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) จำนวน 1,800 คน ทั้งนี้ผลการประเมิน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ รับทราบว่ามีข้อบังคับ จรรยาบรรณ พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2550 ออกมาใช้บังคับในระดับปานกลาง โดยมีความเห็นว่าจรรยาบรรณดัง กล่าวมีลักษณะเข้าใจง่าย ชัดเจนและเหมาะสม สามารถนำไปใช้บังคับได้กับบุคลากรทุกคน โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ อยู่ในระดับปานกลาง และสามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กำหนดได้ อยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
65
• กิจกรรมสำคัญด้านการผลิตบัณฑิต - วันที่ 2-20 ตุลาคม 2549 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จัดการฝึกอบรมด้านการพัฒนา และการบำรุ ง รั ก ษาเครื่ อ งยนต์ อ ากาศยาน ซึ่ ง เป็ น โครงการความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการกั บ Brandenburg University of Technology Cottbus โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมบุคลากรของสถาบัน มหาวิทยาลัย และองค์กรการบินต่างๆ ในประเทศไทยได้เพิ่มพูนความรู้ มีความเข้าใจในการออกแบบพัฒนาและการซ่อมบำรุง เครื่องยนต์เจ็ท ณ ห้องประชุมเบญจรัตน์ อาคารนวมินทรราชินี - วันที่ 25-27 ตุลาคม 2549 คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม จัดโครงการสัมมนาการใช้โปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้านสังคมศาสตร์ เพื่อให้นักศึกษาของคณะได้ศึกษาและทดลองใช้โปรแกรมสำหรับการ ทำวิจัยด้านสังคมศาสตร์ ณ ห้อง B4-13 คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม - วันที่ 13 พฤศจิกายน 2549 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทน พระองค์ พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปีการศึกษา 2548 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
- คณะศิ ล ปศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ ได้ จั ด โครงการฝึ ก ทั ก ษะการฟั ง เพื่ อ สอบ TOEFL TOEIC และ IELTS ให้ แ ก่ นักศึกษาและผู้สนใจเข้ารับการอบรม เพื่อใช้ประโยชน์ในการสอบ TOEFL TOEIC และ IELTS - คณะศิ ล ปศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ จั ด กิ จ กรรมเตรี ย มความพร้ อ มก่ อ นเรี ย น ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 1 โดยรุ่ น ที่ 1 ระหว่างวันที่ 12, 19 และ 26 ธันวาคม 2549 และรุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 17, 24 และ 31 มกราคม 2550 ณ ห้อง มินเิ ธียเตอร์ชั้น 10 อาคารนวมินทรราชินี
66
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 2
- วันที่ 15 มกราคม 2550 กองทุนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร วิศวกรรมสถานแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มอบประกาศเกียรติคุณแก่นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ประกอบด้วย นายนฤพนธ์ เอี่ยวนิพนธ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบินอวกาศ คะแนนเฉลี่ยสะสม 3.83 และนางสาวธณิตา นิตยา นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คะแนนเฉลี่ย 3.90 ซึ่งเป็นผู้ได้รับการ คัดเลือกจากสถาบันจากการที่มีคะแนนเป็นอันดับหนึ่งของภาควิชา เพื่อเข้ารับเหรียญรางวัลการศึกษาดีเด่น ที่มี คะแนนสะสมมากกว่า 3.6 โดยมีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ - วันที่ 19 มกราคม 2550 ศูนย์สหกิจศึกษาและอุตสาหกรรมสัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจพ. จัดงานวันสหกิจศึกษา (Co-op Day) เพื่อประชาสัมพันธ์การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรสหกิจศึกษาให้กับนักศึกษา ตลอดจน สถานประกอบการต่างๆ ที่เข้าร่วมโครงการ ภายในงานประกอบด้วยผลการดำเนินงานของศูนย์สหกิจศึกษาการ ลงนามสั ญ ญาความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสถาบันฯและบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกั ด (มหาชน) การมอบ ประกาศนียบัตรแด่นักศึกษาสหกิจศึกษา การเสวนาสหกิจศึกษา การนำเสนอผังการเรียนสหกิจศึกษาของแต่ละ ภาควิชา รวมทั้งรายละเอียดของบริษัทในโครงการสหกิจศึกษาโดยผู้แทนจากบริษัท - วันที่ 9 และ 23 กุมภาพันธ์ 2550 ภาควิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ได้จัดให้นักศึกษาของ ภาควิชาศึกษาดูงาน ณ บริษัท สยามคูโบต้าอุตสาหกรรม จำกัด จังหวัดปทุมธานี และบริษัท ไทยรุ่งยูเนียนคาร์ จำกัด กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาด้านการควบคุมคุณภาพการผลิต - วันที่ 12 มีนาคม 2550 ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ได้จัดโครงการพัฒนาความรู้ และความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์ และโครงการเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการและประสบการณ์เชิงปฏิบัติการใน อุตสาหกรรมเคมี โดยเน้นให้นักศึกษาดูงาน ณ บริษัทแอ๊ดวานซ์ เปเปอร์ จำกัด จังหวัดปราจีนบุรี บริษัท คอบบร้า อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โรงงานกลั่นน้ำมันศรีราชา จังหวัดชลบุรี - วันที่ 15 มีนาคม – 8 เมษายน 2550 สถาบันจัดโครงการติวฟรีพระจอมเกล้า เป็นโครงการที่ส่งเสริมให้ นักศึกษาได้ร่วมกันจัดกิจกรรมสันทนาการเพื่อเตรียมตัวเป็น Staff และนำความรู้ที่ได้มาแบ่งเป็นบ้านๆ ในการ ดูแลผู้เข้าอบรม และในโครงการนี้ได้เตรียมนักศึกษาฝ่ายวิชาการ เพื่อสอนหรือแนะนำการทำข้อสอบ ทั้งการสอบ เข้าศึกษาต่อที่สถาบันและสถานศึกษาอื่นๆ ที่เปิดสอนทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งถือว่าเป็นการใช้ ความรู้ที่มีถ่ายทอดให้กับสังคม ชุมชน โดยมีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและปลายเป็นผู้เข้าร่วมโครงการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
67
68
- วั น ที่ 2-7 เมษายน 2550 ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ร่ ว มกั บ ศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ จัดโครงการอบรมค่ายอิเล็กทรอนิกส์รุ่นเยาว์ (E-Camp 50) ซึ่งได้ อบรมเกี่ยวกับความรู้พ้นื ฐานทฤษฎีไฟฟ้าที่สำคัญ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การใช้เครื่องมือพื้นฐาน การออกแบบ ลายวงจรการประกอบและทดสอบวงจรสำเร็จรูป การวิเคราะห์วงจรโดยใช้คอมพิวเตอร์ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ วงจรอย่างง่ายในชีวิตประจำวันให้กับนักเรียนระดับมัธยมปลาย - วันที่ 14-19 พฤษภาคม 2550 ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ได้จัดโครงการปรับวิชาพื้นฐานความรู้ด้านฟิสิกส์ และคณิตศาสตร์นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2550 และจัด โครงการปฐมนิเทศและกิจกรรม วันแรกพบนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2550 - วันที่ 25-26 พฤษภาคม 2550 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 3 ณ ห้องประชุมเบญจรัตน์ อาคารนวมินทรราชินี โดยการสนับสนุนทางด้าน วิ ช าการจาก Oklahoma State University ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า และ Monash University ประเทศ ออสเตรเลีย เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอผลงานทางวิชาการด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ - วันที่ 14 มิถนุ ายน 2550 สถาบันได้จดั โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่และโครงการอบรมจริยธรรมนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2550 โดยในปีนี้การจัดพิธีมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาใหม่ทุกคนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรม ทั้งที่ สจพ.กรุงเทพมหานครและสจพ.วิทยาเขตปราจีนบุรี - วันที่ 22 กรกฎาคม 2550 วง Andente’ โดยสมาชิกวงประดู่แดง ชมรมดนตรีสากล สจพ. ได้รับรางวัลชนะ เลิศรับถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จากการเข้าประกวดดนตรีในรายการ True Visions Yamaha Thailand Band Contest 2007 - วั น ที่ 9 สิ ง หาคม 2550 ดร.พานิ ช พงศ์ พิ โ รดม อธิ บ ดี ก รมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน กระทรวงพลังงาน ได้เปิดตัวโครงการงานแถลงข่าวและสัมมนาผู้บริหารโครงการขยายผลหลักสูตรการจัดการ พลั ง งานเพื่ อ อาชี ว ศึ ก ษาร่ ว มกั บ นายทรงสวั ส ดิ์ ทิ พ ย์ ค งคา รองเลขาธิ ก ารสำนั ก งานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา (สอศ.) นางศลีนา วงศ์วิริยะ ผู้อำนวยการกลุ่มงานโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน สำนักบริหารงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) และ ผศ.ปรีชา อ่องอารี อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ (สจพ.) โครงการการขยายผลหลักสูตรการจัดการพลังงานเพื่ออาชีวศึกษา มีวัตถุประสงค์ เพื่อบริหารจัดการในการพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรม พัฒนาวิทยากรและอบรมให้ครู อาจารย์มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับคุณค่า และความสำคัญของทรัพยากรพลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน เป็นการเพิ่มทักษะให้ครู อาจารย์ สามารถใช้คู่มือผู้สอน และสื่อการสอนในหลักสูตรการจัดการพลังงาน จัดทำคู่มือผู้สอน คู่มือผู้เรียนและสื่อต่างๆ และให้ครู อาจารย์ ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในด้านการอนุรักษ์พลังงาน และการจัดการพลังงาน ติดตาม สนับสนุนการเรียนของนักเรียนอาชีวศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการจัดการพลังงานในสถานศึกษาที่ เข้าร่วมโครงการ - วันที่ 18 สิงหาคม 2550 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้จัดสัมมนาหัวข้องานวิจัยสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษาทุกภาควิชา เพื่อให้นักศึกษามีแนวทางการวิจัยที่สอดคล้องกับปรัชญาของหลักสูตรและข้อกำหนดของ คณะกรรมการการอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มพูนความรู้โดยการวิจัย - วันที่ 22 สิงหาคม 2550 ผศ.ปรีชา อ่องอารี อธิการบดี สจพ. ได้เปิดงาน “โครงการอบรมแรงงานไทยเพื่อ ความมั่นคงในอาชีพ” โดยมีนางรติวัณณ สุนทรา ผู้อำนวยการสำนักงานกรุงเทพ เขตพื้นที่ 2 กล่าวรายงาน การอบรมแรงงานไทยเพื่อความมั่นคงในอาชีพ ซึ่งจัดโดย สจพ. ร่วมกับสำนักงานจัดหางานกรุงเทพ เขตพื้นที่ 2 กรมจัดหางาน โครงการนี้จัดให้แก่นักศึกษาที่ใกล้สำเร็จการศึกษา หรือผู้ที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยมีหัวข้อ อบรมประกอบด้วย การสร้างวินัยในการทำงาน มนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน กฎหมายคุ้มครองแรงงานและ ความปลอดภัยในการทำงาน และการประกันสังคมที่ควรรู้ รายงานประจำปี 2550
3
เป้าประสงค์ที่
มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยและพัฒนา
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 เพิม่ ขีดความสามารถในการวิจยั และพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 3.1 สร้างเครือข่ายและศักยภาพของนักวิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 3.2 สร้างเครือข่ายการวิจัยกับองค์กรภายนอก ยุทธศาสตร์ที่ 3.3 สร้างบรรยากาศการวิจัย
เป้าประสงค์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยและพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีเป้าประสงค์ที่ 3 ที่จะมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยและ พัฒนาที่สอดรับกับปณิธานของสถาบันในส่วนการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันจึงมีความมุ่งมั่นที่จะ สร้ า งสรรค์ อ งค์ ค วามรู้ โ ดยเฉพาะทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ที่ ต อบสนองต่ อ การพั ฒ นาประเทศทางด้ า น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยให้มีความเข้มแข็งให้สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ สถาบันจึงกำหนดยุทธศาสตร์การ พัฒนาสถาบันไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยและพัฒนาไว้ 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ สร้างเครือข่ายและศักยภาพของนัก วิจัย สร้างเครือข่ายการวิจัยกับองค์กรภายนอก และสร้างบรรยากาศการวิจัย โดยในปีงบประมาณ 2550 สถาบันมี การดำเนินการต่างๆ ภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์ เพื่อจะผลักดันให้สถาบันขับเคลื่อนไปสู่มหาวิทยาลัยวิจัยและพัฒนา ได้ดังนี ้
ยุทธศาสตร์ที่ 3.1 สร้างเครือข่ายและศักยภาพของนักวิจัย • การให้ทุนสนับสนุนการวิจัยของสถาบัน
สถาบันได้ส่งเสริมศักยภาพของนักวิจัยภายในสถาบัน โดยในปีงบประมาณ 2550 สถาบันได้สนับสนุนเงิน งบประมาณแผ่ น ดิ น และเงิ น รายได้ ทั้ ง ในส่ ว นของกองทุ น พั ฒ นาสถาบั น และหน่ ว ยงานในสถาบั น จำนวน 158 โครงการ เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2549 จำนวน 38 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 31.67 โดยได้รับทุนอุดหนุนการ วิจัยเพิ่มขึ้น จำนวน 10,861,912 บาท คิดเป็นร้อยละ 75.69 นอกจากนี้สถาบันยังมีจำนวนนักวิจัยเพิ่มขึ้นจำนวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 59.41 ของจำนวนอาจารย์ประจำ • การสนับสนุนการวิจัยเฉพาะทาง สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ให้การสนับสนุนศูนย์วิจัยเฉพาะทางโดยให้ความช่วยเหลือในด้าน การวิจัย และได้จัดพื้นที่ภายในอาคารสำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น 6 เป็นที่ตั้งของศูนย์วิจัยเฉพาะทาง จำนวน 5 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์วิจัยพอลิเมอร์ ศูนย์วิจัยวิศวกรรมการผลิต ศูนย์วิจัยด้านอาหารและอุตสาหกรรมเกษตร ศูนย์วิจัยและพัฒนาเครื่องจักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรม และศูนย์วิจัยด้านเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์และพลังงาน หมุนเวียน • ผลงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับรางวัลปีงบประมาณ 2550 ในปีงบประมาณ 2550 สถาบันมีการพัฒนาผลงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์โดยคณาจารย์ของสถาบันที่สำคัญ ได้แก่ - นายชาคริต ศรีประจวบวงษ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวัสดุศาสตร์ จากภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สจพ. และนายภาณุวัฒน์ ประเสริฐพงษ์ นักศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตร เทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกัน จั ด ทำโครงการพั ฒ นาแผ่ น พลาสติ ก ใสทนแรงกระแทกสู ง ได้ รั บ คั ด เลื อ กโครงงานระดั บ ภู มิ ภ าค เป็นตัวแทนภาคกลางระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อเข้าแข่งขันต่อในระดับประเทศ สาขาปิโตรเคมี โพลิเมอร์ และเชื้อเพลิงทดแทน โดยมี รศ.นฤมล เครือองอาจนุกูล อาจารย์ประจำภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สจพ. และอาจารย์ ดร.กิติกร จามรดุสิต ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรม นิเวศวิทยาอุตสาหกรรม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นอาจารย์ ที่ปรึกษาในการประกวดโครงการนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 ในสาขาปิโตรเคมี โพลิเมอร์ และเชื้อเพลิงทดแทน ระดับภูมิภาค ภาคกลาง ระหว่างวันที่ 17-19 สิงหาคม 2550 ณ ศูนย์แสดง 70
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับสมาคม วิทยาศาสตร์ แห่งประเทศไทย และบริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) - ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ มาลี ซิ้ ม ศรี ส กุ ล ภาควิ ช า เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรมเกษตร คณะวิ ท ยาศาสตร์ ประยุกต์ สจพ. ได้รับรางวัลจากโครงการเชิดชูเกียรติและ สร้ า งเครื อ ข่ า ยนวั ต กรรม “เมธี ส่ ง เสริ ม นวั ต กรรม” จากสำนั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (สนช.) กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในปี 2548 ซึ่งเป็นโครงการ ที่ต้องการให้เกิดเครือข่ายของผู้เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรม หรือด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - ผศ.ดร.สุมนทิพย์ คงตัน หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ได้ทำวิจัยชุด ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย เพื่อช่วยเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรสู่ท้องตลาด ได้แก่ 1. โลชั่ น ทากั น ยุ ง สมุ น ไพรไทย โดยนำสมุ น ไพรไทย ประกอบด้วย มะกรูด ขิง สะระแหน่ ส้มเขียวหวาน มาสกัดเป็นน้ำมันหอมระเหยด้วยไอน้ำ แล้วนำน้ำมัน หอมระเหยแต่ละชนิดมาผสมกันใช้ทากันยุงได้นาน 1-5 ชั่วโมง 2. สบู่เหลวสมุนไพรยับยั้งแบคทีเรีย โดยนำสมุนไพรสด ประกอบด้ ว ย มั ง คุ ด ทองพั น ชั่ ง มะกรู ด กานพลู และเปลื อ กส้ ม เขี ย วหวาน มาสกั ด เป็ น น้ำ มั น หอม ระเหยผสมกั บ สบู่ ตามสั ด ส่ ว นที่ กำหนดขึ้ น และ ทดสอบว่ า ชนิ ด ใดเหมาะสมกั บ ชนิ ด ของผิ ว และมี ประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรียทุกสภาพผิว - ผศ.ดร.ศศิ ธ ร คงเรื อ ง อาจารย์ ภ าควิ ช าเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ได้ทำ วิจัยชุดผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรียเซลลูโลสช่วยลดการเกิด มะเร็ ง ในลำไส้ ซึ่ ง เป็ น การศึ ก ษาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม าใช้ ใ น อุตสาหกรรมอาหารเพื่อการผลิตเป็นปลาเส้นโดยผสม สมุนไพรเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาในสูตรต่างๆ ที่คิดค้น ขึ้น ได้แก่ สูตรบาบีคิว สูตรขิง และสูตรกานพลู รวมถึง การคิดค้นผลิตภัณฑ์เจลลี่รสชาติต่างๆ ที่ผสมแบคทีเรีย เซลลูโสสทำให้เส้นใยที่ได้มีลักษณะพิเศษเมื่อเปรียบเทียบจากเซลลูโสลที่ได้จากพืช ซึ่งมีประโยชน์ช่วย ลดจำนวนแคลอรี่ในร่างกาย ช่วยในการขับถ่าย และช่วยดูดซึมโลหะในลำไส้ได้ดี รวมถึงช่วยลดการเกิด มะเร็งในลำไส้อีกด้วย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
71
- ดร.สมิ ต ร ส่ ง พิ ริ ย ะกิ จ อาจารย์ ภ าควิ ช าเทคโนโลยี วิ ศ วกรรมโยธาและสิ่ ง แวดล้ อ ม วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ได้ทำการวิจัยการใช้เถ้าถ่านหินแม่เมาะผลิต จีโอโพลิเมอร์คอนกรีต โดยมีผรู้ ว่ มวิจยั ได้แก่ นายประวิทย์ ศรี โ ยธี นายวรเชษฐ์ ป้ อ มเชี ย งหิ น และนายอเดช ใจรักษ์ ซึ่งงานวิจัยนี้ยังได้รับรางวัลดีเด่นประเภทบุคลากร สถาบั น ฯ และได้ เ ผยแพร่ ใ นที่ ป ระชุ ม วิ ช าการคอนกรี ต ประจำปี ครั้งที่ 2 และการประชุมวิชาการนานาชาติโดย การผลิตปูนซิเมนต์จากเถ้าถ่านหินนี้เป็นการนำเถ้าลอย หรือเถ้าถ่านหินจากการเผาถ่านหินในโรงงานหรือในโรง ไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น มาสู่ ก ระบวนการผลิ ต คอนกรี ต กำลั ง สู ง ที่ สามารถนำมาใช้ในงานวิศวกรรมก่อสร้างได้หลากหลาย รูปแบบ ซึง่ มีราคาไม่สงู เมือ่ เทียบกับวัสดุอน่ื ๆ ทีน่ ยิ มนำมา ใช้ในงานก่อสร้าง - ดร.สุ ท ธิ ศั ก ดิ์ พงศ์ ธ นาพาณิ ช ภาควิ ช าเทคโนโลยี วิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม ได้รับรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับชมเชย ประจำปี 2550 สาขา วิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย จาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เรื่อง การวิจัย และพัฒนาไฟไนต์เอลิเมนต์พร้อมซอฟแวร์เพื่อการศึกษา และออกแบบงานทางวิศวกรรม ซึ่งได้มีการมอบรางวัลใน งานวันนักประดิษฐ์ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2550 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร - ที ม Ideal ของนั ก ศึ ก ษาจากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สจพ.วิทยาเขตปราจีนบุรี ชนะเลิศจากการแข่งขันหุ่นยนต์ กู้ภัยชิงแชมป์ประเทศไทย (Thailand Rescue Robot Championship 2006) เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ณ MCC Hall ศูนย์การค้า The Mall งามวงศ์วาน ซึง่ หุน่ ยนต์ ดังกล่าวมีความสามารถในการค้นหาผู้ประสบภัยที่ติดค้าง อยู่ในซากปรักหักพัง รวมทั้งระบุรายละเอียดต่างๆ เช่น ผู้ประสบภัยมีชีวิตหรือไม่ การตรวจวัดอุณหภูมิ ลักษณะ ของการถูกกดทับ สีของเสื้อผ้าที่สวมใส่และการทำแผนที่ระบุตำแหน่งของผู้ประสบภัย นอกจากนี้ทีม Ideal ยังเป็นตัวแทนประเทศไทยร่วมกับทีม Independent เข้าร่วมการแข่งขัน World Robocup Rescue 2007 ณ เมืองแอตแลนตา ประเทศสหรัฐอเมริกาอีกด้วย
72
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
- ทีม Independent ของนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ชนะเลิศจากการแข่งขัน World Robocup 2007 ที่จัดขึ้น ณ เมืองแอตแลนตา ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2550 ซึ่งเป็นตัวแทนประเทศไทย เพื่อรักษา แชมป์โลกปี 2006 ที่ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ทีมหุ่นยนต์ Independent ยังคงรักษาแชมป์โลกได้ถึง 2 สมัย ทั้งนี้มีจุดเด่นที่ล้อสามารถเคลื่อนที่ผ่านอุปสรรค และสิ่งกีดขวางต่างๆ และติดตั้งระบบตรวจจับความร้อน เสี ย ง การหายใจ การเคลื่ อ นไหวด้ ว ยเซ็ น เซอร์ ต่ า งๆ และเก็ บ ข้ อ มู ล นำไปสร้ า งแผนที่ ตำหน่ ง ผู้ ป ระสบภั ย ได้ โดยเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2550 ทีม Independent ได้เข้าพบท่านนายกรัฐมนตรี พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ศ.ดร.วิ จิ ต ร ศรีสะอ้าน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ เพื่อรับมอบทุนการ ศึกษาและโอวาทกับนักศึกษากลุม่ ดังกล่าวด้วย - ทีม The Ares ของนักศึกษาสจพ. ได้รับรางวัลรองชนะ เลิศอันดับ 1 จากการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท.ชิงแชมป์ ประเทศไทย ปี 2550 ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา โดยที ม The Ares จะมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน ABU Robot Contest Thailand 2007 ที่ประเทศเวียดนาม โดยใช้การแข่งขันว่า “มหัศจรรย์ ฮาลองเบย์” - ทีม iRAP : Ranger ของนักศึกษา สจพ. ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 และรางวัลเทคนิคยอดเยี่ยม รวมทั้ง รางวัลกองเชียร์ชนะเลิศ ในการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท. ชิงแชมป์ประเทศไทย ปี 2550 ระดับอุดมศึกษา - นายศราวุ ธ ชั ย มู ล นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้รับ รางวั ล บทความดี เ ด่ น สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า สื่ อ สาร เรื่อง “Miniaturized CPW-fed Inductively Coupled Slot Antennas Using Stepped Impedance Resonator With Tuning Slot Stub Loading” จากการ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 29 (EECON-29) โดยมี รศ.ดร.ประยุทธ อัครเอกฒาลิน เป็ น ผู้ ร่ ว มวิ จั ย ซึ่ ง งานวิ จั ย นี้ เ ป็ น การทำการพั ฒ นา สายอากาศให้สามารถรองรับการประยุกต์ใช้งานของการ สื่ อ สารไร้ ส ายได้ ใ นหลายๆ ระบบ รวมทั้ ง มี ข นาดเล็ ก กระทัดรัด แต่ยังคงมีประสิทธิภาพการทำงานที่ดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
73
- นายสุ ธ าทร พรมประถม นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท นายจารึก จันทร์ตรี และนายศราวุธ ชัยมูล นักศึกษา ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าคณะวิศวกรรม ไฟฟ้ า ได้ รั บ รางวั ล บทความดี เ ด่ น เรื่ อ ง “Compact Microstrip Two-layer Dual-band Bandpass Filter Using Aperture-Coupled SIR Hairpin Resonator” จากการประชุมวิชาการนานาชาติ The 4th Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunication and Information Technology International Conference (ECTI-CON 2007) โดยงานวิ จั ย นี้ เป็นการศึกษาและ ออกแบบสร้างวงจรกรองผ่านแถบแบบสองความถี่ที่ใช้ โครงสร้างไมโครสตริป ศึกษาการทำงานของวงจรกรอง แผ่นแถบแบบสองความถี่ท่ีใช้ในโครงสร้างไมโครสตริป สองชั้นและเรโซเนเตอร์อิมพีแดนซ์แบบขั้น - นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจพ. ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวด ซอฟท์แวร์เพื่องานอุตสาหกรรม ระดับนิสิตนักศึกษา ครั้งที่ 4 ซึ่งกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมร่วมกับ สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์จัดขึ้น เพื่อกระตุ้นให้นิสิตนักศึกษาเกิดการคิดค้นและพัฒนาโปรแกรม สำเร็จรูปใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับ อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย เป็นการพัฒนาระบบคลังสินค้าอัจฉริยะ ช่วยเถ้าแก่บริหารร้านค้าได้สะดวกแทนระบบจัดเก็บข้อมูลลงเอกสารกระดาษ จัดเก็บสินค้าเข้าที่เป็น ระบบ รู้แหล่งเก็บสินค้า ผู้เบิกสินค้า เพิ่มประสิทธิภาพให้ธุรกิจ - นักศึกษาภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจพ. ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 จากการประกวด Solid Works 3D Design & Skill Contest 2007 และได้แสดงผลงานใน งาน Solid Works Conference 2007 เป็ น การแข่ ง ขั น ทางด้ า นซอฟท์ แ วร์ Solid World ซึ่ ง เป็ น นวัตกรรมแห่งซอฟท์แวร์ 3 มิติ ที่ช่วยในการออกแบบทางด้านเครื่องจักรกลและผลิตภัณฑ์ ทำได้อย่าง ถูกต้อง ง่ายและรวดเร็วที่สุด ด้วยหลักการสร้างแบบจำลอง 3 มิติ พร้อมการสร้าง Drawing 2 มิติ โดยอัตโนมัติ ข้อมูลการออกแบบสามารถแก้ไขได้ 100% และมีการ Update ความสัมพันธ์ระหว่าง โมเดล Part 3 มิติ Drawing 2 มิติและโมเดลประกอบใน Assembly อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังใช้ เทคนิค Surfacing และเครื่องมือในการสร้าง Sheet Metal ที่ดีที่สุด
74
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
• ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลนวัตกรรมเทคโนโลยี ประจำปี 2549 ประเภทบุคลากร กลุ่มงานวิจัย รางวัลดีเด่น
1. การใช้เถ้าถ่านหินแม่เมาะผลิตจีโอโพลิเมอร์คอนกรีต โดย ดร.สมิตร ส่งพิรยิ ะกิจ นายประวิทย์ ศรีโยธี นายวรเชษฐ์ ป้อมเชียงพิณ และนายอเดช ใจรักษ์
กลุ่มสิ่งประดิษฐ์ รางวัลชมเชย
2. เครื่องคัดขนาดวัสดุแบบลูกเบี้ยวหมุน โดย ผศ.ณรงค์ โมกขวิสุทธิ ์
3. การพัฒนาเครื่องพันใยแก้วอัตโนมัติสำหรับเพิ่มกำลังการผลิต ในอุตสาหกรรมผลิตถังบำบัดน้ำเสียที่ทำจากไฟเบอร์กลาส โดย อ.พิพัฒน์ ไพศาลภาณุมาศ น.ส.ปิยวดี อยู่ยืนยง และนายปฏิวัติ เตสุชาตะ
4. รถจักรยานเก้าอี้มีล้อสำหรับคนพิการและรถเข็นของติดตั้ง อุปกรณ์เพิ่มพลังงานจากแรงโน้มถ่วง โดย ผศ.บุญมี บุญยะผลานันท์
ประเภทนักศึกษา
กลุ่มสิ่งประดิษฐ์ทางด้าน Hardware รางวัลดีเด่น
5. การพัฒนาเครื่องมือพันลวดความร้อนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
กระบวนการผลิตแผ่นความร้อนในหม้อหุงข้าว โดย นายสมภพ ศรัทธารมย์ และนายชัยวัฒน์ วารีด ี
อาจารย์ที่ปรึกษา อ.พิพัฒน์ ไพศาลภาณุมาศ
รางวัลชมเชย
6. เครื่องควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านสายไฟฟ้ากระแสสลับโดยการ ควบคุมผ่านอินเตอร์เน็ตพร้อมระบบตรวจสอบความผิดพลาด แบบ CRC โดย นายสุธนัย ดาผา และนายอินทร ชัยศรี
อาจารย์ที่ปรึกษา อ.นริศร แสงคะนอง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
75
7. รถจักรยานไฟฟ้า โดย นายธวัชชัย มีกลิ่นหอม อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ขจร อินวงษ์
8. แบบจำลองมือกลควบคุมด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง โดย นายดิเรก ทาฟู และนายกฤษฎา ลีลามงคลชาติ
อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ชวนะ อยู่ภักดี
9. เครือ่ งแปลงสัญญาณโทรศัพท์พน้ื ฐานเป็นสัญญาณโทรศัพท์มอื ถือ โดย นายกิตติโชติ วงษ์กิติโสภณ และน.ส.ชนิดา พิกุลทอง อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ชาญชัย กุศลจิตกรณ์
10. เครื่องตรวจสอบการทำงานของเครื่องจักรแบบไร้สาย โดย นายธงไทย เลอไกรสิทธิ์ นายณัฐพร ดวงดี
และนายอำนวยพร สุขอารณ์ อาจารย์ทป่ี รึกษา อ.ชาญวิทย์ ตัง้ สิรวิ รกุล และอ.ศิรพิ ร เฮงเกียรติศกั ดิ ์
กลุ่มสิ่งประดิษฐ์ทางด้าน Software รางวัลดีเด่น
11. โปรแกรมคำนวณการรับแรงกดของบรรจุภัณฑ์กล่องกระดาษ ลูกฟูกประเภท RSC และพับขึ้นรูปของกล่องบรรจุภัณฑ์ โดย นายนิติ นุชธุรี อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.อรรถกร เก่งพล
รางวัลชมเชย
12. การสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับการวางแผนการ บำรุงรักษาอุปกรณ์การแพทย์ในโรงพยาบาล กรณีศึกษา โรงพยาบาลตัวอย่าง โดย น.ส.กุรุพินท์ เวชทรัพย์ อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.อรรถกร เก่งพล 13. เกมต่อเลขคำนวณผ่านระบบเครือข่าย โดย นายสุพัฒน์พงษ์ พุ่มเจริญ อาจารย์ที่ปรึกษา อ.กฤช สินธนะกุล
76
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
กลุ่มงานวิจัย/สื่อการสอน รางวัลชมเชย
14. การออกแบบและประเมินชุดสื่อมัลติมีเดียวิชาการถ่ายภาพ ทางการศึกษาตามโมเดลการออกแบบของกานเยและบริกส์ โดย นายธีรศานต์ ไหลหลั่ง อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.ตวงรัตน์ ศรีวงษ์คล
15. เกมราชาคณิตศาสตร์ โดย นายเอกสิทธิ์ สูงปานเขา อาจารย์ที่ปรึกษา อ.จิรพันธุ์ ศรีสมพันธุ ์
16. การผลิตผลิตภัณฑ์เส้นหมี่โดยกระบวนการเอ็กทรูชั่น โดย น.ส.เบญจวรรณ บุญธิมา และ น.ส.ประภาศิริ รักวิโรจน์สุข อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.วิไล รังสาดทอง
• การเผยแพร่ผลงานวิจัย
ปีงบประมาณ 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้เผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทาง วิชาการของคณาจารย์และบุคลากร ในระดับนานาชาติและระดับชาติ ดังนี้ หน่วย : เรื่อง
หน่วยงาน
การเสนอบทความวิจัย
บทความวิจัยที่ตีพิมพ์
รวม
ในประเทศ
ต่างประเทศ
ในประเทศ
ต่างประเทศ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการ อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน
60 73 14 11
41 6 16 4
10 6 1 1
18 - 6 -
129 85 37 16
27 21 -
2 4 -
- 1 -
- - 1
29 26 1
รวม
206
73
19
25
323
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
77
ยุทธศาสตร์ที่ 3.2 สร้างเครือข่ายการวิจัยกับองค์กรภายนอก • ทุนสนับสนุนการวิจัยจากภายนอกสถาบัน
ในปี ง บประมาณ 2550 สถาบั น ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย จากหน่ ว ยงานภายนอก ได้ แ ก่ สำนั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ สำนักงาน พั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) ศู น ย์ เ ทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห่ ง ชาติ ศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สถาบันไทย-เยอรมัน หน่วยงานภาคเอกชน เป็นต้น จำนวน 61 ทุน เป็นจำนวนเงิน 109,241,149 บาท เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2549 จำนวน 3 ทุน คิดเป็นร้อยละ 5.17 และมีจำนวน เงินเพิ่มขึ้น 9,656,032 บาท คิดเป็นร้อยละ 9.70 • การสร้างเครือข่ายการวิจัย
สถาบันมีการสร้างเครือข่ายการวิจัยเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลวิจัย โดยทำความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Institute of Technology ในประเทศญี่ปุ่น โดยมีการส่งนักศึกษาไปฝึกงานภายใต้ทุนของมหาวิทยาลัยดังกล่าว มีการเข้าร่วม เครือข่ายในโครงการไทยกริดแห่งชาติเพื่อนำเทคโนโลยีกลับมาพัฒนาประเทศ รวมถึงการเข้าร่วมการดำเนินการใน สมาคมวิชาการหุ่นยนต์กู้ภัย สมองกลฝังตัวในไทย เพื่อให้บุคลากรมีส่วนร่วมในหน่วยงานอื่นๆ และเผยแพร่ ชื่อเสียงของสถาบัน อีกทั้งยังมีความร่วมมือกับคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการจัดตั้งศูนย์วิจัยเฉพาะในการ บ่มเพาะนักวิจัย โดยได้จัดตั้งขึ้นที่วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์ ในปี 2549 และในปี 2550 ได้มีการขยายโครงการความ ร่วมมือในส่วนของภาคตะวันออกที่วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี สำหรับการสร้างเครือข่ายความร่วมมือการให้บริการวิชาการด้านการวิจัยแก่ภาคอุตสาหกรรมและสังคม สถาบันมีความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับหน่วยงานเอกชนต่างๆ อาทิเช่น บริษัท เช็งฮวดแมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด บริษัท ซี.พี.แอล กรุ๊ฟ จำกัด (มหาชน) บริษัทไทยเลเธอร์ โค้ทติ้ง จำกัด บริษัท ไทยเทคโนกลาส จำกัด บริษัท แมคพาเรล จำกัด บริษัท เอเซี่ยมารีน เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) บริษัท ทีวีที ผลิตภัณฑ์ไม้ จำกัด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ในการจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนโครงการสำหรับ นักศึกษาปริญญาตรี จาก สกว. มีการจัดบรรยายให้แก่คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ที่ขอรับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยและ นวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก ประจำปีงบประมาณ 2550 จากเครือข่ายบริการการวิจัยทาง ปัญญาภาคกลางตอนล่างของ สกอ. รวมถึงได้มีความร่วมมือระหว่างนักวิจัยกับองค์กรภายนอกผ่านทางสมาคม สภาวิชาการอุตสาหกรรมเกษตร ซึ่งมีการทำวิจัยร่วมกับศูนย์ประสานงานพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน สำนั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุ ข ในการทำงานวิ จั ย โครงการปริ ท รรศน์ ม าตรฐาน ผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนอีกด้วย
78
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
ยุทธศาสตร์ที่ 3.3 สร้างบรรยากาศการวิจัย
• การเปิดอาคารสำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้รับเกียรติจาก ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล นายกสภาสถาบัน พร้อมด้วย ฯพณฯเอกอัครราชฑูตเยอรมันประจำประเทศไทย (H.E Christoph Brummer) พร้อมด้วยผู้แทนเอกอัครราชฑูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทย (Mr.Damien Terny) ร่วมพิธีกดปุ่มเปิดแพร คลุมป้ายอาคารสำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักของสถาบันที่รับผิดชอบการส่งเสริม สนับสนุนและการบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันในภาพรวม จัดสรรทุนอุดหนุนการวิจัยและแสวงหาแหล่งเงินทุน สนับสนุนการวิจัยจากทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งการติดตามและประเมินผลโครงการวิจัยต่างๆ เป็นศูนย์กลาง ข้อมูลและเผยแพร่ถา่ ยทอดผลงานวิจยั แก่สงั คม และส่งเสริมงานวิจยั พัฒนาสูเ่ ชิงพาณิชย์โดยการประสานงานกับภาค อุตสาหกรรม และประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ตลอดจนการส่งเสริมและสนับสนุนงานของศูนย์วิจัยเฉพาะทางใน ด้านการวิจัยและการให้บริการวิชาการตามความเชี่ยวชาญ ให้ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ • การจัดตั้งศูนย์บริหารทรัพย์สินทางปัญญา
สถาบันจัดตั้งศูนย์บริหารทรัพย์สินทางปัญญา ชั้น 8 อาคารสำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเป็นหน่วยงานหลักของสถาบันในการส่งเสริมสนับสนุนและบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาอัน เกิดจากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบัน เพื่อเป็นศูนย์กลางฐานข้อมูลด้านทรัพย์สินทางปัญญา ของสถาบันและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายนอกสถาบัน เพื่อเผยแพร่ถ่ายทอดทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อให้เกิดประโยชน์ แก่สังคมส่งเสริมและสนับสนุนการนำผลงานวิจัยไปพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ และเพื่อเป็นตัวแทนสถาบันในการบริหาร จัดการและเจรจาต่อรองในการอนุญาตให้ใช้สทิ ธิทรัพย์สนิ ทางปัญญา และผลประโยชน์ทเ่ี กิดขึน้ จากทรัพย์สนิ ทางปัญญา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
79
• การจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมเทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัต ิ
สถาบั น จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ฝึ ก อบรมเทคโนโลยี ก ารควบคุ ม อั ต โนมั ติ ชั้ น 4 อาคารสำนั ก วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริการแก่อาจารย์และนักศึกษาของสถาบันในการใช้เป็นศูนย์ปฏิบัติการเพื่อการ เรียนรู้เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติและเพื่อใช้เป็นศูนย์ถ่ายทอดความรู้ ตลอดจนเทคโนโลยีการผลิตแบบสมัยใหม่ให้กับ บุคลากรทั้งในภาคการศึกษาและบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมทั้งนี้เพื่อพัฒนาขีดความรู้ความสามารถของบุคลากรซึ่ง เป็นทรัพยากรที่สำคัญของชาติให้มีศักยภาพที่สูงขึ้นสามารถก้าวทันต่อเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะปรับเปลี่ยนไปอย่าง รวดเร็วได้ • การปรับปรุงระเบียบเพื่อส่งเสริมการวิจัยภายในสถาบัน
ในปีงบประมาณ 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้ปรับปรุงระเบียบการเงินที่เกี่ยวข้อง กับการวิจัยให้เกิดความคล่องตัว ส่งเสริมการคุ้มครองงานวิจัยที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญา โดยมีการจัดทำระเบียบ เพิ่มขึ้นดังนี้ 1. ระเบียบสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ว่าด้วย ทุนอุดหนุนเพื่อส่งเสริมงานวิจัยในลักษณะ กลุ่มวิจัย พ.ศ.2549 โดยสถาบันได้จัดสรรเงินรายได้เพื่อเป็นทุนอุดหนุนส่งเสริมการสร้างผลงานวิจัยสำหรับบุคลากร ในสถาบัน และพัฒนาส่งเสริมศักยภาพทางด้านการทำวิจัยในลักษณะกลุ่มวิจัย เพื่อให้สามารถนำไปสู่การได้รับการ ยอมรับและได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอกต่อไป 2. ระเบียบสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ว่าด้วย ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณ แผ่นดิน พ.ศ. 2550 เพื่อให้การบริหารจัดการภายในเกี่ยวกับเงินทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน เพื่อสนับสนุนการวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สอดคล้องและ รองรับหลักการของกระทรวงการคลังที่กำหนด 3. ระเบียบสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ว่าด้วย การบริหารผลประโยชน์อันเกิดจาก ทรัพย์สิน พ.ศ. 2550 เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้คณาจารย์ นักวิจัย บุคลากรและนักศึกษาของสถาบัน ได้ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ออกแบบ ทำขึ้นหรือสร้างสรรค์ผลงานทรัพย์สินทางปัญญาสาขาต่างๆ อันอาจนำไป ใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้ รวมถึงการปกป้องพิทักษ์สิทธิอันชอบธรรมในทรัพย์สินทางปัญญานั้น • การบรรยายพิ เ ศษเรื่ อ ง “เขี ย นข้ อ เสนอโครงการอย่ า งไร จึ ง ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย สวทช. ในคลัสเตอร์ยานยนต์ และการขนส่ง”
เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2549 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจพ. ได้จัดโครงการบรรยายพิเศษเรื่อง “เขียนข้อเสนอ โครงการอย่างไร จึงได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย สวทช. ในคลัสเตอร์ยานยนต์ และการขนส่ง” วิทยากรโดย ศ.ดร. ปราโมทย์ เดชะอำไพ จากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ โดยได้กล่าวถึงโปรแกรมการวิจัยด้านยานยนต์ที่ เน้นการวิจัยด้าน High Performance Materials, Forming Tech. of Auto Parts, Electronic Control System และ Computer and Engineer Tech. การพิจารณาให้ทุนวิจัย รวมทั้งองค์ประกอบของการได้รับทุน ซึ่งผู้เข้าร่วม ฟังการบรรยายสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้พัฒนาการเขียนข้อเสนอโครงการเพื่อรับทุนสนับสนุนการวิจัยต่อไป
80
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
• โครงการวิจัยที่ได้รับเงินอุดหนุนประจำปีงบประมาณ 2550
ปีงบประมาณ 2550 สถาบันได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยงานภายนอก เงินงบประมาณแผ่นดินและ เงินรายได้ทั้งในส่วนของกองทุนพัฒนาสถาบันและหน่วยงานภายในสถาบัน รวมทั้งสิ้น 219 โครงการ เป็นเงิน 134,454,449 บาท โดยได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย จากหน่ ว ยงานภายนอก จำนวน 61 โครงการ เป็ น เงิ น 109,241,149 บาท ทุนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน จำนวน 23 โครงการ เป็นเงิน 17,859,600 บาท และเงินรายได้ สถาบันในส่วนของกองทุนพัฒนาสถาบันจำนวน 79 โครงการ เป็นเงิน 4,079,500 บาท และทุนสนับสนุนจากหน่วย งานในสถาบัน จำนวน 56 โครงการ เป็นเงิน 3,274,200 บาท ดังนี ้ ลำดับที ่ แหล่งทุน/ชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ จำนวนเงิน 1. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย จำนวน 6 โครงการ เป็นเงิน 7,295,600 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 การออกแบบแม่พิมพ์อัดรีดยางแผ่น ผศ.ดร.ชาญยุทธ โกลิตะวงษ์ 350,000 2 ทุนผู้ช่วยวิจัยโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก 2,089,000 ผศ.ดร.ชาญยุทธ โกลิตะวงษ์ (คปก.) (สกว.-สสว.) ในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ประจำปี 3 โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษกของ 1,591,000 ผศ.ดร.ณชล ไชยรัตนะ นายวรัญญู วงษ์เสรี นักศึกษาในหลักสูตรปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า 4 โครงงานความปลอดภัยแบบประหยัดพลังงาน ดร.พงษ์ศักดิ ์ กีรติวินทกร 480,000 สำหรับเครื่องตรวจจับแบบไร้สาย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 5 การศึกษาเชิงเปรียบเทียบศักยภาพในเชิงคู่แข่ง 2,076,100 ดร.ณัฐชา เพชรดากูล และคู่ค้าระหว่างประเทศเวียดนามและไทยในกลุ่ม สินค้าอาหารทะเลแปรรูป วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 6 บล็อกประสานปูพื้นผสมตะกอนดินจากน้ำประปา ผศ.สมบูรณ์ คงสมศักดิ์ศิริ 709,500 2. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย จำนวน 8 โครงการ เป็นเงิน 3,913,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 วิธีการควบคุมความคับคั่งแบบระบบสำหรับทีซีพี ดร.เพิ่มพูน อู่ทองทรัพย์ 240,000 บนเครือข่ายความเร็วสูง เวลาหน่วงสูง 2 การใช้คอมพิวเตอร์จำลองการไหลของพลาสติก ผศ.ดร.ชาญยุทธ โกลิตะวงษ์ 480,000 ในแม่พิมพ์อัดรีดท่อแบบเยื้องศูนย์ รศ.ดร.ณชล ไชยรัตนะ 3 การจำแนกประเภทธาลัสซีเมียโดยใช้ข่ายงานระบบ 400,000 ประสาทและการโปรแกรมเชิงพันธุกรรม 4 การพัฒนาวัสดุจากชีวมวลสำหรับการประยุกต์ใช้ในการ ผศ.ดร.จันทรพร ผลากรกุล 1,200,000 ผลิตและกักเก็บแก็สไฮโดรเจน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
81
ลำดับที ่ แหล่งทุน/ชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ จำนวนเงิน 5 แผนภาพศักย์ไฟฟ้า-พีเอชของเหล็กกล้าไร้สนิมเกรด 153,000 ดร.สมฤกษ์ จันทรอัมพร AISI 316L ในสารละลายคลอไรด์ และซัลเฟตโดย วิธีโพลาไรเซซัน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 6 การออกแบบโปรโตคอล การออกแบบการส่งสัญญาณ ดร.ชัยยศ พิรักษ์ 480,000 และการออกแบบโครงสร้างสัญญาณนำร่องที่เหมาะสม สำหรับการประมาณค่า คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ดร.ศิริศาส เอื้อใจ 7 การขึ้นรูปและศึกษาสมบัติของวัสดุเชิงประกอบจาก 480,000 เส้นใยเซลลูโลสของปาล์มน้ำมันและพอลีแลคติกแอซิด 8 การพัฒนาเทคนิคใหม่และวิธีวิเคราะห์ปริมาณซัลไฟต์ ดร.ชัชลิฎา บุญเพเนียด 480,000 และซัลเฟอร์ไดออกไซด์อาศัยหลักการไหลแบบอัตโนมัติ 3. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 453,480 บาท วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 1 เครือ่ งอบปุย๋ อินทร์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์รว่ มกับก๊าซ LPG ผศ.ดร.สมเกียรติ บุญณสะ 453,480 4. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จำนวน 4 โครงการ เป็นเงิน 21,843,800 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ รศ.ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ 1 การศึกษาและจัดทำแนวทางการผลักดันโครงการผลิต 3,990,000 พลังงานจากขยะ 2 โครงการศึกษาศักยภาพพลังงานลมเฉพาะแหล่ง ผศ.ดร.อุดมเกียรติ นนทแก้ว 5,200,000 3 ศึกษา พัฒนาและเผยแพร่การจัดการขยะเพื่อพลังงาน รศ.ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ 5,699,000 สำหรับชุมชน 4 โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพไบโอดีเซลและการลด 6,954,800 ผศ.ดร.อนุรักษ์ ปีติรักษ์สกุล ของเสียจากขบวนการผลิต (โครงการศึกษาสาธิตการ บำบัดน้ำเสียจากการผลิตไบโอ) 5. กรมควบคุมมลพิษ จำนวน 2 โครงการ เป็นเงิน 10,040,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 โครงการกิจกรรมการสนับสนุนการตรวจประเมิน รศ.ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ 1,790,000 เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม 2 โครงการจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนย์รวมขององค์กร รศ.ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ 8,250,000 ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพ 6. สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน จำนวน 4 โครงการ เป็นเงิน 239,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 การทดลองและออกแบบระบบจ่ายไฟฟ้าแบบผสม ผศ.ดร.ปูมยศ วัลลิกุล 40,000 ระหว่างเซลล์แสงอาทิตย์-เซลล์เชื้อเพลิง (แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน)
82
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
ลำดับที ่ แหล่งทุน/ชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ จำนวนเงิน คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ อ.อนุสรา ศรีสรวล 2 เครื่องทำความเย็นแบบดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์ 39,000 (แผนพลังงานทดแทน) 3 การผลิตก๊าซไฮโดรเจนโดยวิธีชีวภาพจากกากของแข็งที่ ผศ.ดร.นิพนธ์ พิสุทธิ์ไพศาล 80,000 เกิดจากอุตสาหกรรมสกัดน้ำมันปาล์ม (แผนพลังงานทดแทน) 4 การผลิตก๊าซไฮโดรเจนโดยวิธีชีวภาพจากน้ำเสีย ผศ.ดร.นิพนธ์ พิสุทธิ์ไพศาล 80,000 อุตสาหกรรมสกัดน้ำมันปาล์ม (แผนพลังงานทดแทน) 7. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 7,076,490 บาท คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 1 การสังเคราะห์เชื้อเพลิงเหลวจากชีวมวลผ่าน ดร.สไบทิพย์ ตุงคะมณี 7,076,490 กระบวนการฟิชเชอร์ทรอป ปีที่ 2 8. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ร่วมกับ หน่วยงานเอกชน จำนวน 2 โครงการ เป็นเงิน 12,963,444 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 ระบบผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากขยะมูลฝอย 12,144,444 รศ.ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ แบบป้อนต่อเนื่อง (โครงการต่อเนื่อง 3 ปี เริ่มจากปีงบประมาณ 2549) 2 การออกแบบและพัฒนาโครงสร้างคานรถพ่วงบรรทุก รศ.ศุภชัย ตระกูลทรัพย์ทวี 819,000 ด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ 9. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 250,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ ผศ.ดร.สถาพร ลักษณะเจริญ 1 การออกแบบกลไกการจับที่ใช้แนวคิดจากธรรมชาติ 250,000 เพื่อใช้ในหุ่นยนต์ 10. บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงาน มจธ. จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 1,200,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 โครงการพัฒนาเครือ่ งกังหันน้ำผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ปีท่ี 5 ผศ.ดร.อุดมเกียรติ นนทแก้ว 1,200,000 11. หน่วยงานเอกชน จำนวน 8 โครงการ เป็นเงิน 2,236,600 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ รศ.ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ 1 ศึกษาและวิจัยระบบการจัดการมูลฝอยชุมชนของ 230,000 กรุงเทพมหานคร 2 การวิจัยและพัฒนาระบบผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงจากเศษยาง รศ.ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ 50,000 3 การศึกษาและพัฒนาความต้านทานการสึกหรอแบบ 86,600 อ.ปิโยรส พรหมดิเรก อีโรชั่นที่อุณหภูมิของเทอร์โมเวลด้วยวิธีการเชื่อมพอก แบบทิก 4 Behavior of the Lacquered Beetroot Cans รศ.ศิริพร ดาวพิเศษ 100,000
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
83
ลำดับที ่ แหล่งทุน/ชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ จำนวนเงิน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 5 การอนุรักษ์พลังงานแบบบูรณาการสำหรับ ผศ.ดร.ศิริพรรณ ธงชัย 60,000 บริษัทอินโดโพลี (ประเทศไทย) 6 การอนุรักษ์พลังงานแบบบูรณาการสำหรับอุตสาหกรรม ผศ.ดร.ศิริพรรณ ธงชัย 150,000 ชิ้นส่วนพลาสติก 7 การอนุรกั ษ์พลังงานแบบบูรณาการสำหรับอุตสาหกรรมสิง่ ทอ ผศ.ดร.ศิริพรรณ ธงชัย 60,000 กรณีศกึ ษาสำหรับ บริษทั คาสเซอร์ พีค โฮลดิง้ ส์ (มหาชน) รศ.ดร.คณิต เฉลยจรรยา 8 วิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรมาตรฐานสมรรถนะ 1,500,000 ด้านการผลิต บริษัท ซัมมิท โอโต้ บอดี้ อินดัสตรี จำกัด 12. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 1,318,300 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ ดร.พงษ์ศักดิ์ กีรติวินทกร 1 การวิจัยและพัฒนาระบบการรายงานสภาพจราจร 1,318,300 โดยใช้โมบายเว็บเซอร์วิสและโมบายอินเทอร์เน็ต 13. สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จำนวน 3 โครงการ เป็นเงิน 20,900,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 การศึกษาการพัฒนาเทคโนโลยีและกำลังคนเพื่อเข้าสู่ อ.วิรัช อยู่ชา 7,600,000 อุตสาหกรรมฐานความรู้ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 2 การปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานใน 7,600,000 ผศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ ภาคอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรมไทย (ระยะที่ 1) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3 การบริหารจัดการยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้าง ผศ.วีระ อรัญมงคล 5,700,000 อุตสาหกรรม 14. สถาบันไทย-เยอรมัน จำนวน 5 โครงการ เป็นเงิน 5,230,935 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 การออกแบบแม่พิมพ์ขึ้นรูปโลหะเที่ยงตรงสูง ดร.สุรังศี เดชเจริญ 2,190,750 เชิงบูรณาการ ปีที่ 3 2 การพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อช่วยในการวางแผนการผลิตชิ้น ผศ.ดร.จรัมพร หรรษมนตร์ 408,000 ส่วนและประกอบแม่พิมพ์สำหรับขึ้นรูปโลหะแผ่น 3 การออกแบบแม่พิมพ์ทุบขึ้นรูปที่อุณหภูมิสูง ผศ.ดร.จุฬาลักษณ์ ค้าไม้ 999,185 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4 การออกแบบแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกหูหิ้วภาชนะบรรจุ ผศ.ชาลี ตระการกูล 802,500 น้ำแข็งแบบใช้ก๊าซช่วยฉีด 5 การออกแบบแม่พิมพ์ฉีดสำหรับฐานเมาส์พลาสติกด้วย ผศ.ชาลี ตระการกูล 830,500 ระบบรู่วิ่งร้อน
84
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
ลำดับที ่ แหล่งทุน/ชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ จำนวนเงิน 15. สำนักพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม และผู้ประกอบการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จำนวน 3 โครงการ เป็นเงิน 7,255,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี 1 โครงการพัฒนาระบบส่งเสริมการรวมกลุ่มในลักษณะ 2,465,000 ของคลัสเตอร์ 2 โครงการสนับสนุนและประชาสัมพันธ์คลัสเตอร์ 800,000 รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี การศึกษาดูงานต่างประเทศของคลัสเตอร์อุตสาหกรรม ต่อตัวถังรถบัส 3 โครงการพัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรมต่อตัวถังรถบัส รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี 3,990,000 16. สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จำนวน 2 โครงการ เป็นเงิน 1,370,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และต้นแบบ ประเภท 570,000 รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี ผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนังและ ชิ้นส่วนอุปกรณ์ตกแต่ง 2 กิจกรรมการศึกษารูปแบบ (Model) รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี 800,000 การส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมแฟชั่น 17. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จำนวน 2 โครงการ เป็นเงิน 950,000 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 การวิจัยและพัฒนานโยบายการจัดการเรียนการสอนใน ผศ.ดร.จันทรพร ผลากรกุล 450,000 ระดับอุดมศึกษา โดยใช้กระบวนการวิจัย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 2 การศึกษาแนวทางการผลิตกำลังคนด้านอาชีวศึกษาและ รศ.บรรเลง ศรนิล 500,000 เทคโนโลยีตามความต้องการของประเทศ : กรณีศกึ ษาสาขา ช่างอุตสาหกรรม 18. มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 101,500 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 ศึกษาประสบการณ์ต่างประเทศในการจัดการ 101,500 ผศ.ดร.เทอดศักดิ ์ รองวิรยิ ะพานิช การเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ และสังเคราะห์ ข้อเสนอเชิงนโยบาย 19. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จำนวน 4 โครงการ เป็นเงิน 2,801,000 บาท คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 1 การหมัก การสกัดและการตรวจสอบคุณสมบัติ 630,000 ดร.สริญญา ชวพันธ์ ของ พอลิ-3-ไฮดรอกซีอัลคาโนเอตที่ผลิตจาก เชื้อ Alcaligines latus ดร.ศิริศาส เอื้อใจ 2 พอลิเมอร์เชิงประกอบชนิดเดี่ยวที่เตรียมจาก 600,000 พอลิแลคติคแอซิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
85
ลำดับที ่ แหล่งทุน/ชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ จำนวนเงิน ดร.กฤษณเวช ทรงธนศักดิ์ 3 การศึกษาผลผลิตและสารพิษจากการสลายตัวของ 1,041,000 ผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพในกระบวนการหมักเพื่อทำปุ๋ย ผศ.ดร.นิพนธ์ พิสุทธิ์ไพศาล 4 การผลิตพลาสติกชีวภาพโพลีโฮดรอกซีอัลโนเอท 530,000 จากวัสดุชีวมวลที่ได้มาจากภาคเกษตรกรรม 20. ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 803,000 บาท คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ผศ.ดร.ยิ่งพิศ พรพัฒน์กุล 1 การสังเคราะห์และสมบัติของโพลิเมอร์นำไฟฟ้า 803,000 โพลีอะนิลีนที่มีขนาดอนุภาคระดับนาโนเมตร 21. สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 1,000,000 บาท คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม 1 โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายและ 1,000,000 ดร.อนิราช มิ่งขวัญ สารสนเทศสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 22. เงินงบประมาณแผ่นดิน จำนวน 23 โครงการ เป็นเงิน 17,859,600 บาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 การสร้างและทดสอบเพื่อหารูปแบบการจัดเรียง ผศ.ดร.อุดมเกียรติ นนทแก้ว 278,500 ไฮโดรไซโคลนที่เหมาะสมสำหรับการแยกเซลล์ ยีสต์และแคลเซียมในกระบวนการผลิตเอธานอล ดร.กำชัย นุ้ยธิติกุล 2 การศึกษาและพัฒนาคุณสมบัติการดูดซับของ 748,600 ถ่านกัมมันต์ที่สังเคราะห์จากเศษไม้ไผ่ 3 การศึกษาปัจจัยที่มีผลในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ อ.พิชาญ ตันติชัยปกรณ์ 323,500 การกรองแบบไมโครฟิลเตรชั่นในกระบวนการ คลาริฟิเคชันของเบียร์ ผศ.ดร.อรรถกร เก่งพล 4 แนวทางการกำหนดมาตรฐานเฟอร์นิเจอร์ไม้ไผ่อัด 466,200 ประสานที่สามารถส่งออกไปยังต่างประเทศ 5 การประเมินศักยภาพในการแข่งขันเฟอร์นิเจอร์ไม้ไผ่อัด อ.อมรรัตน์ ชุมภู 505,100 ประสาน เพื่อจำหน่ายภายในและภายนอกประเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 6 การสร้างต้นแบบโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดดายเซนซิไทซ์ ผศ.ดร.ณรงค์ ผังวิวัฒน์ 3,680,900 ที่เหมาะสมกับประเทศไทย ปีที่ 2 7 เครื่องตรวจวัดแอลกอฮอล์ในเลือดจากลมหายใจ อ.อนุสรา ศรีสรวล 277,000 8 ระบบศูนย์กลางเฝ้าระวังผู้ป่วยแบบไร้สาย ผศ.สุรพันธ์ ยิ้มมั่น 979,100 9 ระบบตรวจสัดระดับความไวต่อยาต้านจุลชีพอัตโนมัติ ผศ.สุรพล ศรีบุญทรง 333,500 10 การศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์ลดน้ำตาล ผศ.ดร.สุมนต์ทิพย์ คงตัน 1,801,500 ในเลือดจากแป๊ะตำปึง
86
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 3
ลำดับที ่ แหล่งทุน/ชื่อโครงการวิจัย 11 การสร้างเอนไซม์ไบโอเซนเซอร์สำหรับการประเมิน การเน่าเสียของเนื้อสัตว์ 12 การศึกษาการผลิตวุ้นเส้นจากแป้งพุทธรักษากินได้โดย กระบวนการเอ็กซทรูชั่น ปีที่ 2 13 ศักยภาพความพร้อมและสถานภาพของปัจจัย สิ่งแวดล้อมของสถาบันอุดมศึกษาในการปฏิบัติตาม แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 14 เครื่องมือสำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภาพทางสถิติ อินเตอร์เน็ต 15 การออกแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบอัตราส่วน สำหรับ 2 สายการผลิตแบบต่อเนื่อง 16 การวิเคราะห์ทางสถิติสำหรับตัวแบบความเชื่อถือได้ของ ซอฟต์แวร์แบบ Non-Homogeneous Poisson Process 17 ช่วงความเชื่อมั่นสำหรับผลต่างของค่าเฉลี่ยภายหลังจาก การทดสอบด้วยตัวสถิติ F ในการวิเคราะห์ ความแปรปรวน โดยใช้วิธี Jackknife 18 การจัดหาองค์ความรู้ของระบบผู้เชี่ยวชาญเพื่อช่วยใน การออกแบบระบบไฟฟ้าแสงสว่างในอาคารสำหรับธุรกิจ ขนาดเล็กและขนาดกลาง (SME) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 19 การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ไม้ประดับไผ่โดยใช้ หลักการยศาสตร์ 20 การพัฒนากรรมวิธีการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ประดับไผ่ 21 การศึกษาผลกระทบของเกมส์ออนไลน์ที่มีต่อพฤติกรรม ทางสังคมการเรียนและเศรษฐกิจของนักศึกษา 22 การวิเคราะห์และสร้างระบบต้นแบบการสะสมน้ำเย็น สำหรับระบบปรับอากาศ เพื่อลดค่าไฟฟ้าของสถานศึกษา 23 การหาองค์ความรู้และการจัดสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วย ตนเองด้านการประหยัดพลังงานในระบบนิวเมติกส์ สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศ
หัวหน้าโครงการ ผศ.โสภา กลิ่นจันทร์
จำนวนเงิน 613,400
รศ.ดร.วิไล รังสาดทอง
881,800
อ.ปฐม กลั่นน้ำทิพย์
193,500
อ.สถาพร เทพสัมฤทธิ์พร
299,000
ผศ.ดร.ธิดาเดียว มยุรีสวรรค์
266,500
ผศ.ดร.วินัย โพธิ์สุวรรณ์
256,600
อ.จีรภา สรรพกิจกำจร
226,500
ผศ.เพียรพูล เกิดวิชัย
358,500
รศ.วันชัย แหลมหลักสกุล
1,008,100
รศ.วันชัย แหลมหลักสกุล ผศ.คันธรส แสนวงศ์
2,694,000 186,600
ผศ.ดร.สมเกียรติ บุญณสะ
1,093,000
ผศ.รัตน์ สงวนพงษ์
388,200
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
87
• จำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากกองทุนพัฒนาสถาบัน และหน่วยงานภายใน หน่วยงานที่สนับสนุน
จำนวนโครงการ
1. กองทุนพัฒนาสถาบัน
ทุนสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่
ทุนอุดหนุนเพื่อส่งเสริมงานวิจัยในลักษณะกลุ่มวิจัย 2. คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3. คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 4. คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม 5. วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม รวม
จำนวนเงิน
79 26 53 8 27 7 14
4,079,500 1,201,500 2,878,000 800,000 1,797,700 249,500 427,000
135
7,353,700
• ผลงานวิจัย/สิ่งประดิษฐ์ที่จดทะเบียนสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และลิขสิทธิ ์ ลำดับ
ประเภท/วันออกสิทธิบัตร
ผลงานวิจัย/สิ่งประดิษฐ์
1 ลิขสิทธิ์ เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2550 โปรแกรมฟังเพลงผ่านเครือข่ายภายใน องค์กร 2 ลิขสิทธิ์ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2550 การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการ จัดส่งสินค้าเข้าคลังสินค้า กรณีศึกษาโรงงาน ผลิต ข้อต่อประปาเหล็ก 3 ลิขสิทธิ์ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2550 โปรแกรมฐานข้อมูลรถเกี่ยวข้าว 4 ลิขสิทธิ์ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2550 การออกแบบฐานข้อมูลเพื่อจัดการบริหาร งานซ่อมบำรุงรักษาระบบสาธารณูปโภค 5 ลิขสิทธิ์ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2550 การประยุกต์หลักการ ABC Analysis ในโปรแกรมบริหารพัสดุอะไหล่ 6 อนุสทิ ธิบตั ร เมือ่ วันที่ 6 มีนาคม 2550 หลอดไฟฟ้าแอลอีดีอิเล็กทรอนิกส์ 7 ลิขสิทธิ์ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2550 โปรแกรมการออกแบบและจัดทำคลังความรู้ ผ่านระบบอินทราเน็ต 8 ลิขสิทธิ์ เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2550 การออกแบบและประเมินชุดสื่อมัลติมีเดีย วิชาการถ่ายภาพทางการศึกษา ตามโมเดล การออกแบบของกานเยและบริกส์ 9 อนุสิทธิบัตร อุปกรณ์กระจายความเย็นในของเหลวแบบ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 จุ่มชนิดท่อขดลวดเกลียว (เฮลิคอลคอยล์) บนท่อบังคับการไหล 10 อนุสิทธิบัตร เครื่องวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดโดยวิธี เป่าลมหายใจแบบหลอดเหรียญ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 11 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ เครื่องตีเส้นใย เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2550 12 ลิขสิทธิ์ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2550 โปรแกรมสร้างแบบจำลองใบจักรเรือ
88
รายงานประจำปี 2550
ผู้สร้างผลงาน
อ.วัชรชัย คงศิริวัฒนา ผศ.ดร.อรรถกร เก่งพล ผศ.ดร.อรรถกร เก่งพล ผศ.ดร.อรรถกร เก่งพล ผศ.ดร.อรรถกร เก่งพล อ.ชาญวิทย์ ตั้งสิริวรกุล ผศ.ดร.อรรถกร เก่งพล ผศ.ดร.ตวงรัตน์ ศรีวงษ์คล ผศ.ดร.ภาวนี นรัตถรักษา อ.ชัยวัฒน์ อยู่หนู รศ.สุรพันธ์ ยิ้มมั่น อ.อนุสรา ศรีสรวล อ.สาวิตรี กลั่นเอี่ยม อ.สุกัญญา แพรสมบูรณ์ ผศ.บุญมี บุญยะผลานันท์ ดร.วิบูลย์ เลิศวิมลนันท์
เป้าประสงค์ที่ 4
4
เป้าประสงค์ที่
ให้บริการวิชาการอย่างมีมาตรฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างศักยภาพการให้บริการ วิชาการตามมาตรฐานสากลสู่สังคม ยุทธศาสตร์ที่ 4.1 เพิ่มศักยภาพการบริการวิชาการ ยุทธศาสตร์ที่ 4.2 สร้างการยอมรับผลงานให้กับภาคอุตสาหกรรมและชุมชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
89
เป้าประสงค์ที่ 4 ให้บริการวิชาการอย่างมีมาตรฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4
เสริมสร้างศักยภาพการให้บริการวิชาการตามมาตรฐานสากลสู่สังคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมีเป้าประสงค์ที่ 4 ที่มุ่งเน้นการให้บริการวิชาการอย่างมี มาตรฐานเพื่ อ เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพทางวิ ช าการของสถาบั น ด้ ว ยการถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีมาตรฐานสากลแก่สังคมให้เป็นที่ยอมรับและเกิดความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้รับบริการใน ภาคอุตสาหกรรมและสังคม สถาบันจึงกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริการวิชาการไว้ 2 ประการ ได้แก่ เพิ่ม ศักยภาพการบริการวิชาการ และสร้างการยอมรับผลงานให้กับภาคอุตสาหกรรมและชุมชน โดยในรอบปีงบประมาณ 2550 สถาบันได้ดำเนินการด้านการบริการวิชาการตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 4.1 เพิ่มศักยภาพการบริการวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือได้ให้ความสำคัญของการบริการวิชาการแก่สังคมซึ่งถือเป็น ภารกิจหลักที่สำคัญประการหนึ่ง จึงสนับสนุนให้หน่วยงานในสถาบันเผยแพร่ความรู้ในสาขาวิชาที่สถาบันมีความ เชี่ยวชาญจากการศึกษาวิจัย ผลิตและพัฒนา และเพิ่มศักยภาพการบริการวิชาการด้านต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีที่ ทันสมัย เพื่อประโยชน์ในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ในวิทยาการต่างๆ ที่ทันสมัยให้แก่บุคลากรและองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน และสังคม โดยส่งเสริมให้คณะ สำนัก ศูนย์ และวิทยาลัยให้บริการวิชาการในลักษณะต่างๆ และมี หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้บริการวิชาการแก่สังคมที่มุ่งเน้นการให้บริการวิชาการเฉพาะด้านที่สำคัญ ได้แก่ สำนักพัฒนา เทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา และศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส นอกจากนี้เพื่อ เป็นการเพิ่มศักยภาพการบริการวิชาการตามมาตรฐานสากลแก่สังคม และให้เป็นที่ยอมรับของภาคอุตสาหกรรมและ ชุมชน สถาบันได้นำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 มาใช้ในการดำเนินงานของหน่วยงานบริการวิชาการของ สถาบัน และมีการตรวจสอบการรับรองมาตรฐานเป็นประจำทุกปี ดังนี้ 1. สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา ได้รับการรับรองคุณภาพ ISO 9001:2000 จากบริษัท TüV NORD (Thailand) จำกัด เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2543 จนถึงปัจจุบัน 2. สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม ได้รับการรับรองคุณภาพ ISO 9001:2000 จากบริษัท Moody International (Thailand) จำกัด เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2545 จนถึงปัจจุบัน 3. ศู น ย์ น วั ต กรรมเทคโนโลยี ไ ทย-ฝรั่ ง เศส ได้ รั บ การรั บ รองคุ ณ ภาพ ISO 9001:1994 จากบริ ษั ท ยู โ รเวอริ ทั ส (ประเทศไทย) จำกั ด เมื่ อ วั น ที่ 7 เมษายน 2543 และได้ ป รั บ เป็ น ISO 9001:2000 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2544 ต่อมาได้เปลี่ยนหน่วยงานรับรองมาตรฐาน ISO 9000:2000 เป็นบริษัท United Registrar of Systems (Thailand) จำกัด เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2546 จนถึงปัจจุบัน 90
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 4
การเพิ่มศักยภาพการบริการวิชาการของหน่วยงานบริการวิชาการของสถาบัน • สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือการให้บริการวิชาการแก่ภาค
อุตสาหกรรมและสังคม โดยมีโครงการความร่วมมือต่างๆ กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน อาทิเช่น โครงการ ซ่ อ มบำรุ ง รถดั บ เพลิ ง และบรรเทาสาธารณภั ย และอุ ป กรณ์ ดั บ เพลิ ง ร่ ว มกั บ สำนั ก ป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย กรุงเทพมหานคร และโครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่อุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มศักยภาพการ ให้บริการทดสอบ/ตรวจสอบเพื่อการรองรับมาตรฐานโดยสามารถทดสอบมาตรฐานเพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีอยู่ คือ เพิ่มมาตรฐานในการให้บริการวิชาการด้านการทดสอบ ตรวจสอบงานไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ 1 มาตรฐาน ได้แก่ 1462–2548 ซึง่ เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับสมรรถนะเครือ่ งซักผ้า
• สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา ได้จัดทำโครงการเพื่อเพิ่มศักยภาพการบริการวิชาการ ได้แก่ โครงการปรับปรุง
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย ดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลการใช้พลังงานในปัจจุบันของภาคอุตสาหกรรมใน 4 สาขาอุตสาหกรรม คื อ อุ ต สาหกรรมกระดาษและเยื่ อ กระดาษ อุ ต สาหกรรมแก้ ว และเซรามิ ก อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า นอกจากนี้ยังจัดทำโครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่รายสาขา ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรมเครื่องหนัง รองเท้า ฟอกหนัง และอุตสาหกรรมสิ่งทอ โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการ ใหม่หลักสูตรระยะกลาง และระยะยาว โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้ประกอบการเจ้าของทรัพย์สินทาง ปัญญา และโครงการความช่วยเหลือทางวิชาการแก่มลู นิธพิ ระดาบสเพือ่ โดยเสด็จพระราชกุศล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
91
• ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย – ฝรั่งเศส สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพการบริการวิชาการ ฝึกอบรม สัมมนา
และการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสร้างเครือข่ายความร่วมมือแก่ภาคอุตสาหกรรมและ สั ง คม โดยมี ก ารร่ ว มมื อ ด้ า นบริ ก ารวิ ช าการกั บ หน่ ว ยงานภาคเอกชน จำนวน 10 หน่ ว ยงาน อาทิ เ ช่ น บริษัทแมคพาเรล จำกัด บริษัท เช็งฮวดแมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด บริษัท ไทยเทคโนกลาส จำกัดและบริษัท นีโอพลาสท์ จำกัด เป็นต้น และสร้างเครือข่ายร่วมกับ ภาครั ฐ ได้ แ ก่ กรมส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ อุ ต สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 4.2 สร้างการยอมรับผลงานให้กับภาคอุตสาหกรรมและชุมชน สถาบันได้ดำเนินการด้านการให้บริการวิชาการจนเป็นที่ยอมรับจากภาคอุตสาหกรรม และชุมชน โดยจะเห็น ได้จากการที่มีผู้รับบริการในแต่ละประเภทของการให้บริการวิชาการ เป็นจำนวนทั้งสิ้น 9,815 หน่วยงาน / คน รวมถึงมีการเชิญบุคลากรไปเป็นวิทยากร กรรมการ ที่ปรึกษา ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมทั้งสิ้น 353 คน นอกจากนี้สถาบันยังเป็นหน่วยงานที่ให้คำปรึกษา แนะนำ เผยแพร่ความรู้โดยมีผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้านในเรื่องต่าง ๆ อาทิเช่น การให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีและการผลิตของคณะวิศวกรรมศาสตร์ การเป็น มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงและที่ปรึกษาด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโครงการส่งเสริมศักยภาพด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมของคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ การให้คำปรึกษาโครงการ ผู้ ป ระกอบการใหม่ ข องสำนั ก พั ฒ นาเทคนิ ค ศึ ก ษา การให้ คำปรึ ก ษาโครงการพั ฒ นารวมกลุ่ ม และเชื่ อ มโยง อุตสาหกรรมแปรรูปข้าว จ.พิจิตร และ จ.สุพรรณบุรี ของสำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม การให้คำปรึกษา โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อยกระดับความสามารถทางการแข่งขันของศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส เป็นต้น การให้บริการวิชาการแก่สังคม ในรอบปีงบประมาณ 2550 ในรอบปีที่ผ่านมา สถาบันได้ให้บริการวิชาการแก่สังคม ในด้านต่าง ๆ เป็นจำนวนหลายโครงการ ซึ่งนับได้ว่า ภาคอุตสาหกรรมและชุมชนให้การยอมรับการให้บริการวิชาการของสถาบันเป็นอย่างดี โดยมีการบริการวิชาการ ประเภทต่าง ๆ ดังนี้ 1. การจัดประชุม ฝึกอบรม สัมมนา และบรรยายพิเศษ สถาบันได้เผยแพร่ความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการ
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการบริหารอุตสาหกรรม โดยได้จัดประชุม ฝึกอบรม สัมมนา และบรรยายพิเศษให้ แก่หน่วยงานภายนอก อาทิเช่น ค่ายอบรมและสอบเพื่อนักพัฒนาซอฟแวร์ (MCPD Boot Camp) คณิตศาสตร์ขั้นสูง สำหรับนักสถิติ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับด้านยานยนต์และการผลิตยานยนต์ เป็นต้น โดยในปีนี้ได้ให้บริการวิชาการ ด้านนี้ จำนวน 210 โครงการ ให้บริการ 318 ครั้ง และมีผู้รับบริการ 6,491 คน 92
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 4
2. การเป็ น วิ ท ยากรบรรยายพิ เ ศษ สถาบั น ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ บุ ค ลากรของสถาบั น ได้ รั บ เชิ ญ จากหน่ ว ยงาน
ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อไปบรรยายพิเศษเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการแก่สังคม โดยมีบุคลากรที่ได้รับเชิญ ไปเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษให้แก่หน่วยงานภายนอกสถาบันในปีนี้ จำนวน 215 คน ให้บริการ 606 ครั้ง 3. การเป็นกรรมการ/ที่ปรึกษา สถาบันมีบคุ ลากรทีไ่ ด้รบั เชิญไปเป็นกรรมการ/ทีป่ รึกษาให้แก่หน่วยงานต่างๆ
ในปีนี้ จำนวน 138 คน ให้บริการ 319 ครั้ง 4. การศึกษาดูงานกิจการของสถาบัน ในปีนี้มีบุคลากรและหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนที่สนใจ
เข้ามาศึกษา ดูงาน ความก้าวหน้าทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย และผลงานที่เป็นที่ยอมรับ ของสังคมของสถาบัน จำนวน 88 ครั้ง ผู้เข้าเยี่ยมชม จำนวน 1,600 คน 5. การผลิต การตรวจสอบ และการทดสอบผลิตภัณฑ์ สถาบันมีการให้บริการวิชาการแก่สังคมในรูปแบบ
ของการออกแบบ การผลิต การตรวจสอบ และการทดสอบผลิตภัณฑ์และชิน้ งาน อาทิเช่น การทดสอบวัสดุ การเตรียม ชิ้นงาน การผลิตชิ้นงาน และการทดสอบกำลังอัดคอนกรีต เป็นต้น โดยในปีนี้สถาบันได้ให้บริการด้านนี้ จำนวน 15,612 ครั้ง มีผู้รับบริการ 1,668 หน่วยงาน 6. การให้คำปรึกษา สถาบันมีบริการให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิเช่น
การให้คำปรึกษาการประเมินศักยภาพและต้นทุนการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการสำรวจการใช้พลังงาน ให้คำ ปรึ ก ษาการวิ จั ย ตลาดและการจั ด ทำแผนธุ ร กิ จ โครงการชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วยั่ ง ยื น เขตหนองจอก เป็ น ต้ น โดยใน ปีนี้สถาบันได้ให้บริการวิชาการด้านนี้ จำนวน 564 ครั้ง มีผู้รับบริการ 56 หน่วยงาน
สรุปการให้บริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2550
ผลิต ตรวจสอบ ทดสอบ 15,612 ครัง้ (83.89%)
ดูงาน 82 ครัง้ (0.44%)
ให้คำปรึกษา 564 ครัง้ (8.96%)
กรรมการ/ทีป่ รึกษา 319 ครัง้ (1.72%)
อบรม สัมมนา บรรยาย 322 ครัง้ (1.73%)
วิทยากร 607 ครัง้ (3.26%)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
93
กิจกรรมสำคัญด้านการให้บริการวิชาการแก่สังคม 1. การจัดประชุมทางวิชาการระดับประเทศด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดโดยคณะเทคโนโลยี สารสนเทศ เมื่อวันที่ 25-26 พฤษภาคม 2550
2. การจั ด เตรี ย มการและจั ด ประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ International Welding Congress จั ด โดยศู น ย์ นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 21-22 พฤศจิกายน 2549 3. โครงการซ่อมรถดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัย จัดโดยสำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม ดำเนิน การตลอดปีงบประมาณ 2550 4. โครงการความร่ ว มมื อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนระดั บ โรงเรี ย น เป็ น โครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ดำเนินการ ตลอดปีงบประมาณ 2550
5. การเป็นมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงและที่ปรึกษาด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโครงการส่งเสริม ศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ จัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2550 6. โครงการจัดอบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน จัดโดยภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีและการ จัดการอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2550 94
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 4
7. โครงการอบรมการเสริมสร้างศักยภาพผู้ประกอบการเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา จัดโดยสำนักพัฒนาเทคนิค ศึกษา จำนวน 3 รุ่น รุ่นที่ 1 วันที่ 3-19 กรกฎาคม 2550 รุ่นที่ 2 วันที่ 27 สิงหาคม – 24 กันยายน 2550 และรุ่นที่ 3 วันที่ 5-24 กันยายน 2550
8. โครงการฝึ ก ทั ก ษะเชิ ง ช่ า งไฟฟ้ า และอิเ ล็กทรอนิกส์ เบื้องต้น จั ดโดยภาควิ ชาเทคโนโลยีวิ ศวกรรมไฟฟ้ า วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 9-10 ตุลาคม 2549 9. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ Mastering Networks an Internet Lab รุ่น 3 จัดโดยคณะเทคโนโลยี สารสนเทศ จำนวน 3 รุ่น รุ่นที่ 1 วันที่ 6-10 พฤศจิกายน 2549 รุ่นที่ 2 วันที่ 20-24 พฤศจิกายน 2549 และรุ่นที่ 3 วันที่ 7-15 มกราคม 2550
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
95
รายงานประจำปี 2550
คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติฯ สำนักงานอธิการบดี สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สำนักหอสมุดกลาง สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส รวม
หน่วยงาน
ประเภทจำนวน ให้บริการ
จำนวน
4 11 9 11 3 8 1 - 5 10 5 21 42 - 6 74 210
5 11 9 11 4 14 1 - 6 10 5 32 72 - 10 132 322
โครงการ ครั้ง
ผู้รับบริการ 634 665 349 496 85 489 31 - 210 218 150 557 1,468 - 66 1,073 6,491
คน
วิทยากร 44 51 19 18 2 14 1 - 22 1 5 14 - 3 7 15 216
คน
ให้บริการ 102 202 27 33 2 28 1 - 32 1 6 55 - 12 15 91 607
ครั้ง
กรรมการ/ ที่ปรึกษา 36 24 21 7 - 9 - - 20 - 6 6 - 3 1 5 138
คน
ให้บริการ 66 74 50 18 - 23 - - 37 - 12 11 - 19 1 8 319
ครั้ง
ให้บริการ 3 6 1 2 4 1 - - 21 2 6 1 - 1 1 33 82
ครั้ง 18 96 5 6 18 6 - - 351 57 527 6 - 5 56 328 1,479
คน
ผู้รับบริการ
ดูงานกิจการสถาบัน ผลิต ตรวจสอบ ทดสอบ ให้คำปรึกษาและอื่นๆ
ครั้ง/ หน่วยงาน ชิ้นงาน 2,245 310 5,393 527 73 13 203 28 - - - - 3 1 - - 4,680 412 - - 16 3 246 21 1,626 197 - - - - 1,127 156 15,612 1,668
ให้บริการ
กรรมการ/ที่ปรึกษา
ผู้รับบริการ
วิทยากรบรรยายพิเศษ
หน่วยงาน/ คน 31 11 - - 1 1 3 3 - - 101 2 - - - - 1 1 - - - - 5 3 362 24 - - - - 60 11 564 56 ครั้ง
ให้บริการ
อบรม สัมมนา บรรยาย
สรุปการให้บริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2550 ผู้รับบริการ
96
5
เป้าประสงค์ที่
ทำนุบำรุง อนุรักษ์และจรรโลงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
เป้าประสงค์ที่ 5 ทำนุบำรุง อนุรักษ์และจรรโลงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีเป้าประสงค์ที่ 5 ที่เน้นการทำนุบำรุง อนุรักษ์และจรรโลงไว้ ซึ่งศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย เพื่อเป็นการสืบสานและธำรงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่ดีงาม โดยการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกให้บุคลากรและนักศึกษา ให้ตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของไทยและของสถาบันที่ดีงามภายใต้ยุทธศาสตร์ 4 ประการ ได้แก่ 1 ส่งเสริม พัฒนา อนุรักษ์และ จรรโลงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 2 เสริมสร้างเอกลักษณ์และวัฒนธรรมที่ดีของสถาบันให้เป็นที่ประจักษ์แก่ สังคม 3 ส่งเสริมเอกลักษณ์ไทย 4 ส่งเสริมเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน โดยในปีงบประมาณ 2550 สถาบันมีการจัด กิจกรรมที่สำคัญ ดังนี้ • พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ 5 ธันวามหาราช เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2549 คณะผู้บริหาร บุคลากร และผู้ แ ทนนั ก ศึ ก ษา ร่ ว มพิ ธี ถ วายสั ต ย์ ป ฏิ ญ าณเนื่ อ งใน วโรกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นการแสดงความจงรักภักดีและร่วม สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รวมทั้งเพื่อแสดงความมุ่งมั่น แน่วแน่ที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท
• เดินเทอดพระเกียรติ 12 สิงหามหาราชิน ี เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2550 บุคลากรและนักศึกษา ของสถาบัน ร่วมเดินเทอดพระเกียรติ 12 สิงหามหาราชินี พร้อมจุดเทียนชัยถวายพระพร เนื่องในวันพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ณ มณฑลพิธี ท้องสนามหลวง
• พิธวี างพานพุม่ ถวายสักการะพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ ไทย บุคลากรและนักศึกษาของสถาบัน ร่วมวางพานพุ่มถวาย สักการะแด่พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เพื่ อ น้ อ มรำลึ ก ถึ ง พระมหา กรุณาธิคุณและพระอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ บริเวณ พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 หน้าสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ในวันที่ 18 ตุลาคม 2549
98
รายงานประจำปี 2550
เป้าประสงค์ที่ 5
• ทอดผ้าป่าสามัคคี เมื่ อ วั น ที่ 7 กรกฎาคม 2550 สถาบั น จั ด งานทอดผ้ า ป่ า สามั ค คี ประจำปี พ.ศ. 2550 ณ วั ด มั ช ฌั น ติ ก าราม (วั ด น้ อ ย) เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร เพื่อรวบรวมทุนบริจาคจัดซื้อที่ดินสวน ป่าสำหรับปฏิบัติธรรมให้แก่พุทธศาสนิกชน • ทอดกฐินสามัคคี เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2549 สถาบันจัดงานทอดกฐินสามัคคี ประจำปี พ.ศ. 2549 ณ วัดป่าอัมพวัน จ.ชลบุรี เพื่อรวบรวมปัจจัย บริจาคผู้มีจิตศรัทธาสมทบการก่อสร้างศาลาปฏิบัติธรรม และเพื่อ เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนิกชน • แห่เทียนเข้าพรรษา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2550 สถาบันได้ส่งเสริมให้นักศึกษา ร่ ว มกิ จ กรรมประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า พรรษา เพื่ อ เป็ น การสื บ สาน วั ฒ นธรรมและประเพณี ข องไทยในเทศกาลวั น เข้ า พรรษา ณ วัดมัชฌันติการาม (วัดน้อย) เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร • ประเพณีลอยกระทง เมื่ อ วั น ที่ 3 พฤศจิ ก ายน 2549 สถาบั น ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ มี กิ จ กรรมลอยกระทงประจำปี โดยให้ ส โมสรข้ าราชการ สจพ.เป็ น
ผู้ ดำเนิ น การ เพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ บุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษารู้ จั ก ประเพณีอันดีงาม และให้มีความร่วมมือกันในการประดิษฐ์กระทงเข้า ประกวดทุกหน่วยงาน พร้อมกันนี้ได้ส่งเสริมการแต่งกายด้วยชุดไทย ในการประกวดนางนพมาศของนักศึกษาและบุคลากรอีกด้วย • พิธีไหว้ครู สถาบันได้จัดพิธีไหว้ครูเป็นประจำทุกปี เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมการสร้างเสริมเอกลักษณ์และวัฒนธรรม ที่ดีของสถาบัน และเพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อคณาจารย์ของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ โดยในปีนี้ที่ สจพ.กรุงเทพมหานครจัดพิธีเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2550 และสจพ.วิทยาเขต ปราจีนบุรีจัดพิธีเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2550
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
99
• งานอำลาประดู่แดง 50 เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2550 สถาบันจัดงานอำลาประดู่แดง 50 เพื่อเป็นการแสดงมุทิตาจิตต่อผู้เกษียณ อายุราชการและสืบทอดประเพณีอันดีงาม ในปี 2550 มีผู้เกษียณอายุราชการ รวม 8 คน เป็นข้าราชการ 4 คน และลูกจ้างประจำ 4 คน
• งานวันรวมน้ำใจชาว สจพ. เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2550 สถาบันจัดงานวันรวมน้ำใจชาว สจพ. “48 ปี ศักดิ์ศรีนามแห่งสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ” เพื่อ รำลึกถึงการก่อตั้งสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประกาศ เกียรติคุณศิษย์เก่าดีเด่นและผู้ปฏิบัติงานดีเด่นของสถาบัน รวมทั้งผู้ทำคุณ ประโยชน์ให้แก่สถาบันด้านต่างๆ ตลอดจนส่งเสริมความสามัคคีระหว่าง บุคลากรและศิษย์เก่า
• การแข่งขันเรือยาวประเพณี วันที่ 5-9 กุมภาพันธ์ 2550 สโมสรนักศึกษาจัดการแข่งขันเรือยาวประเพณี ณ บริเวณคลองบางเขนที่ผ่านใน สถาบัน ซึ่งจัดโดยนักศึกษาของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ไมตรีและเป็นการส่งเสริมให้ผู้ แข่งขันมีความร่วมมือ มีความสามัคคีและมีน้ำใจเป็นนักกีฬา
นอกจากนี้สถาบันยังมีการส่งเสริมให้บุคลากรแต่งกายด้วยผ้าไทยและสวมเสื้อเหลืองเฉลิมพระเกียรติ และมี การรณรงค์การใช้ภาษาไทยที่สุภาพและถูกต้อง รวมทั้งยังมีโครงการตักบาตรประจำสัปดาห์ (ทุกวันพฤหัสบดี) 100
รายงานประจำปี 2550
สารสนเทศ
หลักสูตร หลักสูตร ปีการศึกษา 2550 ปริญญาเอก 15 หลักสูตร (11.81%)
ปวช.* 3 หลักสูตร (2.36%)
127 หลักสูตร ปริญญาตรี 65 หลักสูตร (51.18%)
ปริญญาโท 44 หลักสูตร (34.65%)
จำแนกตามระดับการศึกษาและหน่วยงาน** หน่วย : หลักสูตร หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ สิรินธร ไทย-เยอรมัน
รวม
ระดับการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาเอก ปวช.* ปริญญาตรี ภาษาไทย นานาชาติ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย นานาชาติ - 14 9 - - 3 1 - 7 8** - - 6 - - 13 8 - - 2** - - 9 1 - - - - - - 2 2 - 1 1 - - 3 - 3 1** - - 2 - - - - - 3 20 - - - - - - - - - 8 - - 3
65
31
2 44
* ปวช. (เตรียมวิศวกรรมศาสตร์) ** รวมจำนวนหลักสูตรที่เปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2550
102
รายงานประจำปี 2550
11
13
2 15
รวม 27 21 23 10 6 7 2 23 8 127
สารสนเทศ
นักศึกษา นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2550 จำแนกตามประเภทการรับเข้า
โควตาความสามารถพิเศษ 111 คน (1.54%)
โควตาเรียนดี 1,494 คน (20.70%)
7,219 คน
สอบผ่าน สกอ. 969 คน (13.42%)
รับโดยตรง 4,645 คน (64.34%)
นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2550 หน่วย : คน หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ สิรินธร ไทย-เยอรมัน รวม
ปวช.* - - - - - - - 475 - 475
ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 1,607 154 13 518 256 27 1,300 73 1 687 29 - - 125 4 - 74 - 77 - - 1,774 - - - 25 - 5,963
736
45
รวม 1,774 801 1,374 716 129 74 77 2,249 25 7,219
* ปวช. (เตรียมวิศวกรรมศาสตร์)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
103
นักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2550 หน่วย : คน หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ สิรินธร ไทย-เยอรมัน รวม
ปวช.* - - - - - - - 1,504 - 1,504
ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 5,160 456 48 1,473 585 113 3,772 152 3 1,788 52 - - 185 25 - 113 - 324 - - 5,374 - - - 55 - 17,891
1,598
189
รวม 5,664 2,171 3,927 1,840 210 113 324 6,878 55 21,182
* ปวช. (เตรียมวิศวกรรมศาสตร์)
ผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2549 หน่วย : คน หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ สิรินธร ไทย-เยอรมัน รวม
* ปวช. (เตรียมวิศวกรรมศาสตร์)
104
รายงานประจำปี 2550
ปวช.* - - - - - - - 393 - 393
ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 1,034 245 5 256 508 10 735 33 - 313 - - - 226 - - 75 - 28 - - 1,094 - - - 12 - 3,460
1,099
15
รวม 1,284 774 768 313 226 75 28 1,487 12 4,967
สารสนเทศ
บุคลากร บุคลากร ปีการศึกษา 2550 ลูกจ้างประจำ 96 คน (5.13%)
พนักงานราชการ 26 คน (1.39%)
ลูกจ้างชั่วคราว 29 คน (1.55%)
พนักงานพิเศษ 322 คน (17.20%) อาจารย์ 788 คน (42.09%)
1,872 คน ธุรการ 383 คน (20.46%)
ผู้ช่วยวิชาการ 228 คน (12.18%)
จำแนกตามหน่วยงานและประเภท
ข.* 149 96 105 10 - 26 - 149
พ.ม.* 56 29 39 40 13 19 9 45
ข.* 14 7 10 1 - - - 4
พ.ม.* 1 2 5 3 3 1 3 2
ข.* 45 29 20 5 - 3 - 18
พ.ม.* 15 6 5 5 1 2 4 7
-
3
-
-
2
2
- - - - - - - - - - - - - - 535 253 788
4 3 47 18 28 7 37 6 4 1 7 4 4 2 167 61 228
6 2 84 37 11 2 13 4 14 9 5 3 16 8 271 112 383
รวม
ธุรการ
พนักงานพิเศษ
รวม
ผู้ช่วยวิชาการ
ลูกจ้างประจำ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ สิรินธร ไทย-เยอรมัน บัณฑิตวิทยาลัย สำนักงานอธิการบดี สำนักหอสมุดกลาง สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส
อาจารย์
พนักงานราชการ
หน่วยงาน
ลูกจ้างชั่วคราว
หน่วย : คน
1 2 4** 1 3** 8** - -
2 1 1 1 1 - 5 2
14 12 4 - - - - 14
48 13 29 27 18 18 4 62
345 197 222 93 39 77 25 303
2**
-
-
3
12
- 8** - - - - -
- 13 - - - - -
1 43 3 5 - - -
3 60 18 2 2 10 5
19 310 69 67 30 29 35
29
26
96
322
1,872
* ข. : ข้าราชการ พ.ม. : พนักงานมหาวิทยาลัย ** ข้อมูลรวมชาวต่างประเทศ ข้อมูล : วันที่ 30 กันยายน 2550 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
105
อาจารย์ประจำ จำแนกตามตำแหน่งทางวิชาการ
จำแนกตามวุฒิการศึกษา
ผู้ช่วยวิชาการ จำแนกตามวุฒิการศึกษา
ธุรการ จำแนกตามวุฒิการศึกษา
106
รายงานประจำปี 2550
สารสนเทศ
งบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร ปีงบประมาณ 2550 จำแนกตามงบรายจ่าย งบเงินอุดหนุน 260,595,070 บาท (20.88%)
งบรายจ่ายอื่น 524,760 บาท (0.04%)
งบบุคลากร 398,687,930 บาท (31.95%) งบลงทุน 258,228,100 บาท (20.70%)
1,247,846,200 บาท งบดำเนินการ 329,810,340 บาท (26.43%)
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร ปีงบประมาณ 2550 จำแนกตามงบรายจ่าย งบรายจ่าย งบบุคลากร เงินเดือนและค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทนพนักงานราชการ งบดำเนินการ ค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง งบอุดหนุน บริการวิชาการ เงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย การวิจัย อื่นๆ งบรายจ่ายอื่นๆ
รวม
งบประมาณแผ่นดิน 373,605,200 357,643,500 11,583,700 4,378,000 185,667,500 144,616,200 41,051,300 229,117,400 59,184,000 169,933,400 133,077,800 - 102,534,500 17,281,900 13,261,400 - 921,467,900
งบประมาณเงินรายได้ จัดการศึกษาอุดมศึกษา บริการวิชาการแก่สังคม 24,204,330 878,400 - - 24,204,330 878,400 - - 142,590,320 1,552,520 121,285,450 1,546,520 21,304,870 6,000 28,526,700 584,000 26,501,700 584,000 2,025,000 - 126,924,490 592,780 - 592,780 - - 6,381,090 - 120,543,400 - 520,260 4,500 322,766,100 3,612,200 326,378,300
รวม 398,687,930 357,643,500 36,666,430 4,378,000 329,810,340 267,448,170 62,362,170 258,228,100 86,269,700 171,958,400 260,595,070 592,780 102,534,500 23,662,990 133,804,800 524,760 1,247,846,200
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
107
จำแนกตามประเภทและหน่วยงาน หน่วย : บาท หน่วยงาน
งบประมาณแผ่นดิน
คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สำนักงานอธิการบดี สำนักหอสมุดกลาง สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส โครงการพัฒนาสถาบัน โครงการส่งเสริมงานวิชาการของสถาบัน* ทุนความสามารถดีเด่น สำรองนักศึกษาพ้นสภาพ
งบประมาณเงินรายได้
102,999,000 60,814,600 66,754,200 24,414,500 50,000 13,634,000 27,369,700 92,326,700 4,989,200 473,133,200 21,682,900 15,837,500 4,370,200 13,092,200 - - - - - 921,467,900
รวม
รวม
จัดการศึกษาอุดมศึกษา บริการวิชาการแก่สังคม 58,125,080 21,408,080 50,056,210 17,413,050 759,960 4,998,560 2,990,320 72,724,610 6,520,770 12,965,140 7,401,760 - - 11,405,030 - 45,503,220 8,321,600 832,160 1,340,550 322,766,100
92,300 355,900 16,000 4,500 17,000 81,400 - 305,900 - 109,500 - 310,100 1,576,000 - 743,600 - - - - 3,612,200
161,216,380 82,578,580 116,826,410 41,832,050 826,960 18,713,960 30,360,020 165,357,210 11,509,970 486,207,840 29,084,660 16,147,600 5,946,200 24,497,230 743,600 45,503,220 8,321,600 832,160 1,340,550 1,247,846,200
* เงินที่จัดสรรจากค่าพัฒนาวิชาการ 24,497,230 45,503,220 832,160 743,600 8,321,600 1,340,550 5,946,200 , 16,147,600 29,084,660
161,216,380
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตรประยุกต คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม
82,578,580
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตรประยุกต คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
116,826,410
1,247,846,200 บาท
บัณฑิตวิทยาลัย สำนักงานอธิการบดี สำนักหอสมุดกลาง สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา
486,207,840 41,832,050
สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม สำนักคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ
826,960 18,713,960 30,360,020
ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส โครงการพัฒนาสถาบัน โครงการสงเสริมงานวิชาการของสถาบัน ทุนความสามารถดีเดน สำรองนักศึกษาพนสภาพ
165,357,210 11,509,970
108
รายงานประจำปี 2550
สารสนเทศ
งบประมาณแผ่นดินที่ได้รับจัดสรร ปีงบประมาณ 2550 จำแนกตามงบรายจ่าย งบเงินอุดหนุน 133,077,800 บาท (14.44%)
งบลงทุน 229,117,400 บาท (24.86%)
งบบุคลากร 373,605,200 บาท (40.54%)
921,467,900 บาท
งบดำเนินการ 185,667,500 บาท (20.15%)
งบประมาณเงินรายได้ที่ได้รับจัดสรร ปีงบประมาณ 2550 จำแนกตามงบรายจ่าย งบรายจ่ายอื่น 524,760 บาท (0.16%)
งบเงินอุดหนุน 127,517,270 บาท (39.07%)
326,378,300 บาท
งบบุคลากร 25,082,730 บาท (7.69%)
งบดำเนินการ 144,142,840 บาท (44.16%)
งบลงทุน 29,110,700 บาท (8.92%)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
109
อาคารสถานที ่ 1. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่เลขที่ 1518 ถนนพิบูลสงคราม
แขวงบางซือ่ เขตบางซือ่ กรุงเทพมหานคร 10800 ปัจจุบนั มีเนือ้ ทีท่ ง้ั หมด 87 ไร่ 1 งาน 72.8 ตารางวา มีอาคารเรียน 17 หลัง อาคารสำนักงานและอาคารอื่นๆ 14 หลัง นอกจากนี้ยังมีอาคารเรียนที่กำลังดำเนินการก่อสร้างอยู่คือ อาคารปฏิบัติการพื้นฐานรวม
110
รายงานประจำปี 2550
สารสนเทศ
แผนผังสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพมหานคร 26
25 22 23
18
4 20 4
4
13
6 6
17
27
12
4
4
7
3
4 4
ขนใ หม
10 14
5
9
8
างเ
21
อง บ คล
16
1 15
ไปจังหวัดนนทบุรี ถนนพิบูลสงคราม
1. อาคารบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน (TGGS) ชั้น 1 กองคลัง ชั้น 2 กองบริการการศึกษา ชั้น 3 สำนักงานผู้อำนวยการ TGGS ชั้น 4 ห้องพักอาจารย์ 2. อาคารอเนกประสงค์ ชั้น 1 -งานประชาสัมพันธ์ -สหกรณ์ออมทรัพย์พระจอมเกล้าพระนครเหนือ จำกัด ชั้น 2 -สำนักงานผู้บริหาร ชั้น 3-5 -สำนักคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น 6 -กองบริหารและจัดการทรัพยากรมนุษย์ กองแผนงาน ศูนย์ประกันคุณภาพการศึกษา ชั้น 7-8 -สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม ชั้น 9 -ศูนย์ประสานงานคณะเทคโนโลยีและการจัด การอุตสาหกรรม, งานจัดสิทธิประโยชน์และเกื้อกูล บุคลากร, งานตรวจสอบภายใน ชั้น 10 -โครงการไอเอสเต้ งานวิเทศสัมพันธ์ กองงานพัสดุ งานประชุมและพิธีการ 3. อาคาร 40 ปี สจพ. (กิจกรรมนักศึกษา) ชั้น 2 ศูนย์อาหาร ชั้น 3-11 กองกิจการนักศึกษา 4. คณะวิศวกรรมศาสตร์ 5. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 6. คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 7. วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 8. อาคารโยธา 9. ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส 10. อาคาร 46 ชั้น 1 ศูนย์ผลิตตำราเรียน ชั้น 2 ศูนย์อาหาร
4
2 2
24 19
7
5
11
ไปสะพานพระราม 7
11. สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา 12. อาคารสโมสรข้าราชการ สจพ. ชั้น 1 ศูนย์บริการสุขภาพ สจพ. ห้องอาหารสโมสรข้าราชการ 13. สนามกีฬา สจพ. 14. อาคารนวมินทรราชินี โซน A - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ (ชั้น 4-6) - ศูนย์ประสานงานคณะอุตสาหกรรมเกษตร (ชัน้ 11) โซน B - สำนักหอสมุดกลาง (ชั้น 2-9) โซน A-B - บัณฑิตวิทยาลัย (ชั้น 12) 15. หอพระ 16. พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 4 17. อาคารศูนย์เทคโนโลยีพอลิเมอร์ 18. อาคารเก็บสารเคมีและวัตถุไวไฟ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 19. กองอาคารสถานที่และยานพาหนะ งานสารบรรณ 20. คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ 21. สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22. บ้านพักสวนปาล์ม 23. อาคารปฏิบัติการขนถ่ายวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ 24. สถานีไฟฟ้าย่อย 25. พื้นที่ที่เพิ่มขึ้นปี 2548 1 ไร่ 3 งาน 5.8 ตารางวา
(705.8 ตารางวา) 26. พื้นที่ที่เพิ่มขึ้นปี 2548 และ 2549 1 ไร่ 3 งาน 4.1 ตารางวา (704.4 ตารางวา) 27. อาคารปฏิบัติการพื้นฐานรวม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (กำลังดำเนินการก่อสร้าง)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
111
2. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 126 หมู่ 6 ตำบลเนินหอม
อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ปัจจุบันมีเนื้อที่ทั้งหมด 1,809 ไร่ 59 ตารางวา มีอาคารเรียน 2 หลัง อาคาร สำนักงาน 4 หลัง อาคารหอพักนักศึกษา 2 หลัง อาคารที่พักอาศัยของอาจารย์และข้าราชการ 3 หลัง อาคารโรง ปฏิบัติการ 2 หลังและอาคารศูนย์กีฬา 1 หลัง
แผนผังสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี
4 5
10 2
9 8 6
3 1
บริเวณส่วนการศึกษา 1. อาคารบริหาร 2. อาคารอเนกประสงค์ 2 หลัง 3. อาคารคณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม 6. อาคารสิรินธร (สำนักหอสมุดกลาง) 7. อาคารคณะอุตสาหกรรมเกษตร 8. โรงปฏิบัติการกลุ่มวิศวกรรมไฟฟ้า 9. โรงปฏิบัติการกลุ่มวิชาเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตร บริเวณส่วนหอพักนักศึกษา 5. อาคารหอพักนักศึกษา 2 หลัง 10. อาคารศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ บริเวณส่วนที่พักอาศัยของอาจารย์และข้าราชการ 4. อาคารบ้านพักอาศัยแบบชุดอาจารย์และข้าราชการ 3 หลัง
112
รายงานประจำปี 2550
7
บริเวณสวนอุตสาหกรรม บริเวณกำจัดขยะมูลฝอย บริเวณส่วนบริการชุมชน บริเวณส่วนกีฬาและพักผ่อน บริเวณเก็บกักน้ำและอนุรักษ์ สถานีไฟฟ้าย่อย บริเวณประลองด้านวิศวกรรมศาสตร์ บริเวณแปลงทดลองด้านเกษตรอุตสาหกรรม บริเวณแปลงทดลองด้านเกษตร บ่อน้ำสาธารณะ
ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีชา อ่องอารี นางศิริวิช ดโนทัย
อธิการบดี ผู้อำนวยการกองแผนงาน
ผู้จัดทำ
นางรัชฎา ธิโสภา นางสาวอรดา เกรียงสินยศ นางจินตนา มังคละกนก
หัวหน้างานวิจัยสถาบัน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
ขอขอบคุณ
คณะและหน่วยงานต่างๆ ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการจัดทำข้อมูลและภาพประกอบ จำนวนพิมพ์ 1,000 เล่ม มีนาคม 2551