ปที่ 13 ฉบับที่ 88
สุดยอดเทคโนโลยีแหงอนาคต
สูความเปน “มืออาชีพ” ใน “ธุรกิจงานพิมพ”
ปที่ 13 ฉบับที่ 88
พบกับสุดยอดเทคโนโลยีแหงอนาคต
Cover C8000_final_m14.indd 2
C8000 ไดที่หนา 28-29 27/7/2554 22:15
Thai Print Magazine ฉบับที่ 88
อีกไมนานก็จะถึงเวลาที่ผูประกอบการอุตสาหกรรมการ พิมพทั่วประเทศเฝารอคอยกันมา นั่นก็คือการจัดการประกวด สิ่งพิมพแหงชาติครั้งที่ 6 ครั้งนี้มีผูสงผลงานเขาประกวดกัน เปนจํานวนมาก ตองคอยจับตาดูกันนะครับวาปนี้ใครจะไดรับ รางวัลอันทรงเกียรติระดับชาติ ซึง่ จัดขึน้ โดยสมาคมการพิมพไทย เพื่อชวยยกระดับใหอุตสาหกรรมการพิมพไทยกาวหนาทันยุค สมัยของการแขงขันดานสิง่ พิมพทส่ี งู ขึน้ อยางไมหยุดยัง้ ซึง่ ขณะนี้ ประเทศไทยเราไดพฒ ั นาขึน้ ไปอยูอ นั ดับตนๆ ของเอเซียเราแลว นะครับ และเปนที่นายินดีอยางมากที่เราไดรับการรวมมือจาก หลายๆ ภาคฝายดวยกัน ทางสมาคมการพิมพไทยจึงขอกลาว ขอบพระคุณผูที่ใหการสนับสนุนการจัดงานมา ณ โอกาสนี้ครับ ทิศทางการขับเคลื่อนเศรษฐกิจก็มีแนวโนววาจะขยับตัว ขึ้นกวาที่เคย เพราะระบบการเมืองไทยเราเพิ่งผานการเลือกตั้ง มาไมนานนี้ ถึงแมฝายใดจะไดจัดตั้งรัฐบาลก็ขอใหตั้งใจบริหาร ประเทศอยางเต็มที่นะครับ เพื่อความสุขของพี่นองประชาชน จะไดกนิ ดีอยูด เี ศรษฐกิจไทยมีความเจริญเติบโตขึน้ อุตสาหกรรม ตางๆ ในเมืองไทยเจริญกาวหนาขึ้น ทุกอยางคงมีแตภาพที่ สวยงามกลับสูภาพแหงความสุข ทางวารสารการพิมพไทยขอ เปนกําลังใจใหทุกฝายอยูรวมกันอยางเปนปกติสุขกันถวนหนา นะครับ เขาหนาฝนกันแลวนะครับ ชวงนี้ฝนตกบอยมากการใช รถใชถนนก็ตองใหการเอาใจใสเชนกัน เพราะถนนจะลื่นกวา ปกติ วิสัยทัศนในการมองเห็นก็จะลดลงไปดวย การควบคุม พาหนะของทานก็จะตองเอาใจใสมากขึ้นกวาเดิมเพราะฉะนั้น หากจําเปนตองใชยานพาหนะเดินทางตองระมัดระวังกันดวย นะครับ ซึ่งภายในวารสารการพิมพไทยฉบับนี้ไดเสาะหาวิธี การเตรียมความพรอมของยานพาหนะของทานกอนจะใชงาน ในหนาฝนมาฝากกันดวยนะครับ เพื่อความปลอดภัยของผูอาน ทุกทาน ภาพบรรยากาศงานการพิมพไทยสัญจร 54 ภาคเหนือ ที่จังหวัดเชียงใหมที่เพิ่งผานมา จัดขึ้นโดยสมาคมการพิมพไทย เพื่อใหผูประกอบการอุตสาหกรรมการพิมพภาคเหนือสามารถ ที่จะไดรับฟงการบรรยายการสัมมนาวิชาการจากผูเชี่ยวชาญ ดานสิ่งพิมพ ตลอดจนความรูทั่วไปในการบริหารธุรกิจโรงพิมพ ซึ่งหวังเปนอยางยิ่งวาความกาวหนาของสื่อสิ่งพิมพไทยจะมี การพัฒนาใหเพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ เพือ่ การพัฒนาจากระดับประเทศ สูระดับโลก ขอใหผูอานติดตามเนื้อหาสาระกันตอภายในเลม นะครับ ซึ่งในเลมไดรวบรวมบทความที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีการ พิมพที่ทันสมัยอัดแนนอยูในคอลัมนตางๆ มากมายครับ
THE THAI PRINTING ASSOCIATION
Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท อุปนายก คุณวิชยั สกลวรารุง เรือง, คุณวิรฬุ ห สงเสริมสวัสดิ์ คุณภาสกร วงษชนะชัย, คุณพิเชษฐ จิตรภาวนากุล คุณธนากร พุกกะเวส, คุณชัยวัฒน ศิริอําพันธกุล คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ คุณพงศธีระ พัฒนพีระเดช เลขาธิการ คุณพิมพนารา จิรานิธิศนนท ผูชวยเลขาฯ คุณนิธิ เนาวประทีป, คุณนภาพร โรจนวงศจรัส เหรัญญิก คุณผองเพ็ญ อาชาเทวัญ นายทะเบียน คุณคุณา เทวอักษร ปฎิคม คุณชินธันย ธีรณัฐพันธ ประชาสัมพันธ คุณประเสริฐ หลอยืนยง ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย กมลสุวรรณ, คุณเกษม แยมวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณชาญชัย ตระกูลยุทธชัยม คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน, คุณสุรเดช เหลาแสงงาม, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุจินตรา จรรยาทิพยสกุล, คุณวิธิต อุตสาหจิต, คุณสุพันธ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธํารง, คุณณรงคศักดิ์ มีวาสนาสุข, คุณชีวพัฒน ณ ถลาง, คุณดนัย ต. สุวรรณ, คุณจงอางศึก บุญยศิริกุล, คุณบุญชู ลิ่มอติบูลย, คุณชัยรัตน อัศวางกูร, คุณวรพจน อมรเธียร, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณม, คุณพัชร งามเสงี่ยม, ร.ศ.ดร.ศักดิ์ กองสุวรรณ, อ.บุญเลี้ยง แกวนาพันธ, ผศ.ประทุมทอง ไตรรัตน, รศ.ผกามาศ ผจญแกลว, อ.ไพบูลย กลมกลอม, ศ.ดร.วรรณา สนั่นพานิชกุล, ศ.วีระ โชติธรรมาภรณ, ดร.สุดา เกียรติกําจรวงศ, อ.สันติ ชื่นเจริญ, อ.สายพิณ ชูพงศ, ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ, รศ.สุณี ภูสีมวง, อ.สุริยันต เหลืองอราม ที่ปรึกษาพิเศษดานกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล
Special Thanks บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด เอื้อเฟอกระดาษที่ใชพิมพ thaiprint magazine โทรศัพท 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก ยูวี จํากัด ชวยเคลือบปกวารสารการพิมพไทยดวยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก. เพิ่มคุณคาใหงานพิมพ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ บริษัท สีทอง 555 จํากัด บริษัท สุนทรฟลม จํากัด บริษัท บางกอกบายนดิ้ง จํากัด
โทรศัพท 0-2425-9736-41 ผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑซองทุกชนิด โทรศัพท 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 ผูสนับสนุนการแยกสี ทําเพลท โทรศัพท 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผูสนับสนุนการไสกาว โทรศัพท 02-682-217779
หนังสือเลมนี้พิมพดวยกระดาษคุณภาพ เพื่องานคุณภาพ PAPER
10 Editor_m14.indd 10
27/8/2554 4:44
Content 24
33
45 112
Thaiprint News Update 24 งานแถลงขาวการจัดการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 112 ชมรมธุรกิจสิ่งพิมพภาคเหนือ Thaiprint Cover Story 28 เอ็มทีมัลติมีเดีย จํากัด Print News 18 รณรงคคัดคานการบังคับใชกฏหมายการทุมตลาด Anti Dumping 30 แถลงขาวไฮเดลเบิก 32 งานเลี้ยงไฮเดลเบิก 44 งานเลี้ยงวันการพิมพไทย / สังสรรควันการพิมพไทย 68 เครือเจริญอักษร 70 ทําบุญสมาคม 72 เลี้ยงขอบคุณสปอรนเซอร 82 บีเจซี เผยโฉมเทคโนโลยีการพิมพ ระบบดิจิตอลออฟเซ็ทหนึ่งเดียวในโลก 116 Muller Martini and RIMA-SYSTEM Seal Close Partnership 118 งานการพิมพไทยสัญจร 54 ภาคเหนือ 124 ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพไทยในบริบทเศรษฐกิจโลก Print Technology 40 เฟล็กโซคุณภาพออฟเซ็ต 50 น้ํายาฟาวนเทน [1] 136 LITHRONE G40 Print Education 60 Media Art Thaiprint Exhibition 74 PPI 2011 Print Exclusive 94 การบํารุงรักษาเครื่องพิมพ อยางไรใหไดผล 100 เอสเอ็มกราฟฟค Young Printer 104 คุณทิพยนารี วงศทวีเกียรติ (เวป) Printing Education & Development 138 สัมภาษณนักเรียนการพิมพ Safety Zone 143 ขับรถอยางไรถึงปลอดภัย ในฤดูฝน Printing Innovative Idea 146 อินเตอรอิ้งค
Thai Print Magazine ปีที่ 13 ฉบับที่ 88
104
สมาคมการพิมพไทย
เลขที่ 311/1 ซอยศูนยวิจัย 4 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint.org www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝายประชาสัมพันธ สมาคมการพิมพไทยจัดทําขึ้น เพื่อบริการขาวสาร และสาระความรูแกสมาชิกสมาคมการพิมพไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจขาวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพในประเทศไทย ขอคิดเห็นและบทความตางๆ ในวาสารนี้เปนอิสรทรรศ ของผูเขียนแตละทาน สมาคมการพิมพไทยไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอ
บรรณาธิการ อนันต ขันธวิเชียร Thai printing Laboratory ฝายบัญชี มยุรี จันทรรัตนคีรี
พิมพท่ี บริษทั ก.การพิมพเทียนกวง จํากัด 43 ซอยปราโมทย 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
12 ThaiPrint Magazine
12 CONTENT_m14.indd 12
30/8/2554 14:34
Anti Dumping
ขอเชิญชวนคนไทยและผูรักการอานทุกทาน รวมรณรงคคัดคานการบังคับใชกฏหมายตอบโต การทุมตลาด (Anti Dumping) สินคากระดาษ สหพั น ธ์ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ร่วมกับ 3 สมาคมพันธมิตร คือ สมาคม นิตยสารแห่งประเทศไทย สมาคมไทย ค้ากระดาษและสมุด สมาคมการค้าวัสดุ อุปกรณ์การพิมพ์ไทย รวม 12 องค์กร มี เ จตนารมณ์ ร่ ว มกั น ในการรวมพลั ง แสดงจุ ด ยื น มาตรการตอบโต้ ก ารทุ่ ม ตลาดสินค้ากระดาษ ซึ่งเห็นพ้องต้อง กันว่า การบังคับใช้กฏหมายตอบโต้การ ทุ่มตลาด หรือ anti-dumping ด้วยการ เก็บเซอร์ชาร์ตสินค้ากระดาษนี้ จะส่งผล กระทบอย่างรุนแรง ต่ออุตสาหกรรมการ พิมพ์ และวาระการอ่านของชาติ
18 ThaiPrint Magazine
18-20_m14.indd 18
เหนือสิ่งอื่นใด ทางสหพันธ์ฯ ไม่ ต้องการจะเห็นการผูกขาดในธุรกิจสินค้า กระดาษ เพราะผู้ร้องเป็นผู้ผลิตกระดาษ ชนิดที่ขอคุ้มครองแต่เพียงรายเดียวของ ประเทศ ซึ่งอาจจะปรับราคาสินค้าสูงขึ้น ตามที่ตัวเองต้องการได้ตลอดเวลา โดยไม่ สนใจสภาพหรือกลไกราคากระดาษที่แท้ จริงของตลาดโลก ทั้งๆ ที่ปัจจุบันทั่วโลก ก็เข้าสู่ยุคของการค้าเสรี และประเทศไทย ก็ กำ � ลั ง เตรี ย มตั ว เข้ า ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายในปี คศ. 2015 นี้แล้ว สหพันธ์ฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การ แสดงออกถึงความไม่เห็นด้วยในวิถีทาง ที่สร้างสรรค์นี้ จะส่งสัญญาณให้ภาครัฐ และผู้เกี่ยวข้องได้พิจารณาและไตร่ตรอง อย่างถี่ถ้วน และคำ�นึงถึงประโยชน์ของ สังคมและคนในประเทศโดยรวมมากกว่า ผลประโยชน์ของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น
ที่มา : นสพ. ไทยรัฐ ฉบับวันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2554 หน้า 5
30/8/2554 13:06
รณรงค์คัดค้านการบังคับใช้กฏหมายการทุ่มตลาดสินค้ากระดาษ สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ร่วมกับสมาคมการค้าวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ไทย สมาคมนิตยสารแห่ง ประเทศไทย สมาคมไทยค้ากระดาษและสมุด มีมติที่จะรวมตัวกันเพื่อแสดงพลังของคนในสหพันธ์อุตสาหกรรม การพิมพ์และเครือข่ายสมาคมพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง ที่ไม่เห็นด้วยต่อคำ�ร้องการบังคับใช้กฏหมายการทุ่มตลาด สินค้ากระดาษ จึงจัดให้มีกิจกรรมรวมพลังการเดินเพื่อสุขภาพ และอนาคตของอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ขึ้น เมื่อวันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม 2554 เวลา 7.00 น. โดยมี นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เดินทางมารับหนังสือคำ�ร้อง ณ ลานพระบรมรูป รัชกาลที่ 6 สวนลุมพินี
คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รับหนังสือคำ�ร้อง จากคุณทวีชัย เตชะวิเชียร ประธานสหพันธ์อุตสาหกรรม
คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง ขณะสนทนากับ คุณเกรียงไกร คุณพรชัย คุณเกษม คุณทวีชัย
ร่วมปล่อยนกพิราบเพื่อแสดงออกถึงการค้าเสรี
รวมพลังเป็นหนึ่งเพื่ออุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย
หัวแถวอยู่ถนนราชดำ�ริ ท้ายแถวยังอยู่ในสวนลุม
พวกเราไม่เห็นด้วยกับการใช้มาตรการนี้
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์
คุณเกษม นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย
ปิดกั้นต่อการเรียนรู้ของคนไทยทั้งประเทศ
ThaiPrint Magazine 19
18-20_m14.indd 19
30/8/2554 13:06
Anti Dumping
พวกเรายอมร้อนยอมเหนื่อยเพื่ออุตฯ การพิมพ์ไทย
รวมพลังคนโรงพิมพ์สามพันกว่าคน แถวยาวเหยียด
เด็กนักเรียนอ่านใบปลิวแล้วตระหนักถึงผลกระทบ
Anti Dumping เพื่อใคร ?
เครือข่ายสมาคมและพันธมิตรการพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง
ขณะเคลื่อนขบวนผ่านแยกราชประสงค์เข้าปทุมวัน
การรวมพลังครั้งใหญ่ แถวยาวเหยียดสุดลูกตา
ถ่ายรูปร่วมกัน เมื่อเดินถึงจุดหมาย
สวนหนึ่งของสื่อหนังสือพิมพ ที่ลงขาวเกี่ยวกับการคัดคานการบังคับใชกฏหมายการทุมตลาด (Anti Dumping) สินคากระดาษ
20 ThaiPrint Magazine
18-20_m14.indd 20
30/8/2554 13:07
Thaiprint News Update
งานแถลงขาว การจัดการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6
ตอกย้ําความสําเร็จและศักยภาพการพิมพของประเทศไทยกั ของประเทศไทยกับการก การกาวไปสู าวไปสู การเป็นผูนํนาํ และศูนยกลางการพิ กลางการพิมพแหงภู งภูมิภาคอาเซียน
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยขณะใหสัมภาษณสื่อมวลชน
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมฯ ให สัมภาษณกบั สือ่ TV ทีเ่ ขารวมรับฟงงานแถลงขาว
คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ประธานการจัดงานฯ ครั้งนี้ (กลาง)
คุณเกษม แยมวาทีทอง นายกสมาคม การบรรจุภัณฑฯ และคุณธนะชัย สันติชัยกูล
24 ThaiPrint Magazine
24-26_m14.indd 24
27/8/2554 4:47
งานแถลงขาวการจัดการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6
คุณเจน นําชัยศิริ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
สมาคมการพิมพไทยสานตอ ความสําเร็จจัดการประกวดสิ่งพิมพ แหงชาติ ครัง้ ที่ 6 กระตุน อุตสาหกรรม การพิมพใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง และตระหนักถึงความสําคัญของคุณภาพ งานพิมพ พรอมเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข ง ขั น ทั ด เที ย มกั บ ประเทศ อื่นๆ ทั่วโลกหลังกวาดรางวัลระดับ อาเซียนหลายปติดตอกัน การประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ หรือ Thai print Awards เปนเวที สํ า หรั บ แสดงผลงานและศั ก ยภาพ ทางการพิ ม พ ข องผู ป ระกอบการ วิสาหกิจการพิมพ ใหเปนที่ประจักษ แก ส ายตาของผู ที่ เ กี่ ย วข อ งทั้ ง ใน และตางประเทศมีวัตถุประสงคเพื่อ กระตุ น อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ ข อง ไทยใหพัฒนาตอเนื่องและตระหนัก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของคุ ณ ภาพงาน พิมพเปนการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันใหทัดเทียมกับประเทศ อืน่ ๆ ทัว่ โลกโดยไดรบั ความสนับสนุน จากกลุมบริษัทชั้นนําที่มีชื่อเสียงใน อุตสาหกรรมการพิมพใหความสนใจ ผลงานเข า ร ว มประกวดอย า งต อ เนื่องทุกป
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย เปดเผย วา งานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติของ ประเทศไทยไดจัดขึ้นมาตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบนั เปนจํานวน 5 ครัง้ โดย ในการจัดครั้งแรกๆ นั้นสมาคมการ พิมพไทยจัดขึ้นเพียงเพื่อตองการจะ ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสิ่งพิมพ ของคนไทย เพือ่ เพิม่ โอกาสทีจ่ ะไดรบั ความไววางใจจากผูซ อ้ื สิง่ พิมพใหหัน มาสั่งซื้อสิ่งพิมพของบานเรามากขึ้น เทานั้น โดยไมคาดคิดมากอนวาหลัง จากนั้นมา 5 ป ไมเพียงแตคุณภาพ และความสามารถในการพิมพของ โรงพิมพไทยจะกาวสูความเปนเลิศ ระดับสากลแลว จากการที่ประเทศ ไทยไดรบั รางวัลชนะเลิศเปนที่ 1 ติดตอ กัน 3 ครั้งในระดับเอเซีย และการ พัฒนาที่เปนระบบของอุตสาหกรรม การพิมพไดสง ผลใหตวั เลขการสงออก สิ่งพิมพของไทยนั้นกาวกระโดด โดย มีอัตราการเติบโตของตัวเลขสงออก สูงขึน้ ในทุกๆ ปจนกระทัง่ ปจจุบนั นับ เปนสิ่งที่ยืนยันไดวาขณะนี้คุณภาพ การพิ ม พ ข องโรงพิ ม พ ใ นประเทศ ไทยมี ค วามก า วหน า ทั ด เที ย มกั บ
ประเทศที่พัฒนาแลว โดยป จ จั ย สํ า คั ญ อั น หนึ่ ง ที่ นําพาสูความสําเร็จอันยิ่งใหญของ อุตสาหกรรมการพิมพไทยที่เห็นได ชัดคือ การที่ผูประกอบการโรงพิมพ ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง ต อ การ พั ฒ นาคุ ณ ภาพของงานพิ ม พ แ ละ ใหความรวมมือสงผลงานเขาแขงขัน ในทุกๆ ครัง้ ของงานประกวดสิง่ พิมพ แหงชาติที่ผานมา โดยจํานวนรางวัล ชนะเลิศจากงานทีถ่ กู สงเขามาประกวด นัน้ มากขึน้ ในทุกๆ ป ซึง่ ทําใหคณ ุ ภาพ ของชิ้ น งานที่ ไ ด รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ จากงานประกวดดีขึ้นอยางตอเนื่อง และที ่ น ่ า สนใจเป็ น อย่ า งยิ ่ ง คื อ คุ ณ ภาพของสิ่ ง พิ ม พ ไ ทยนั้ น ไม ไ ด กระจุ ก ตั ว อยู เ ฉพาะโรงพิ ม พ ที่ มี ขนาดใหญอกี ตอไปแลว เพราะในชวง หลังๆ มีรายชื่อโรงพิมพหนาใหมๆ ที่กาวขึ้นมารับเหรียญรางวัลมากขึ้น เรือ่ ยๆ ซึง่ ถือเปนสัญญาณทีด่ ตี อ การ พัฒนาคุณภาพสิ่งพิมพของประเทศ ไทยในอนาคต ดังนั้น การจัดงานประกวด สิ่งพิมพแหงชาติครั้งที่ 6 จึงไดถูก จั ด ขึ้ น อี ก ครั้ ง ในป นี้ ภ ายใต แ นวคิ ด ThaiPrint Magazine 25
24-26_m14.indd 25
27/8/2554 4:47
Thaiprint News Update
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมฯ คณะกรรมการการจัดงาน และผูสนับสนุนชูสัญลักษณแสดงถึงความพรอมในการจัดงานครั้งนี้
คุณสุวิทย เพียรรุงโรจน ประธาน Young Printer Group
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมรวมถายภาพ กับคณะกรรมการและผูส นับสนุนการจัดงาน
คณะกรรมการ Young Printer Group รวมถายภาพหลังเสร็จสิ้นงานแถลงขาว
Where Printing Creativity and Excellency Converges ซึง่ หมายถึง การเพิ่มความคิดสรางสรรคเขาไป กับคุณภาพและทักษะการพิมพอัน ยอดเยีย่ ม เพือ่ ใหงานพิมพของคนไทย นัน้ สามารถสรางความแตกตางในตัว ของผลิตภัณฑ เพื่อเปนการตอยอด ไปสูการสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา สิ่งพิมพของคนไทย ซึ่งจะสอดคลอง กับนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุน การสรางเศรษฐกิจแบบสรางสรรค ซึ่ ง การประกาศผลรางวั ล จะถู ก จั ด ขึ้นในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554 และในครั้งนี้ ทางคณะกรรมการการ จัดงานไดมกี ารปรับปรุงเปลีย่ นแปลง ประเภทรางวัล ใหมคี วามชัดเจนและ สอดคลองกับประเภทของการแขงขัน ในระดับสากลโดยแบงประเภทของ การประกวดเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ งานพิมพในระบบ offset งาน พิมพในระบบดิจิตอล และงานพิมพ ที่เปนลักษณะพิเศษ รวมทั้งสิ้น 29 ประเภทดวยกัน
ทางสมาคมการพิมพไทยมัน่ ใจ วาผลงานจากการประกวดครั้งนี้จะ ไดรับความสนใจอยางมากสามารถ แสดงศักยภาพของงานพิมพฝมือคน ไทยใหเปนที่ประจักษและจะประสบ ความสําเร็จอยางดียิ่งในเวทีอาเซียน สามารถกวาดรางวัลกลับมาสูป ระเทศ ไทยไดอีกอยางแนนอน ซึ่งจะยิ่งเพิ่ม ความเชื่อมั่นใหกับอุตสาหกรรมการ พิมพของไทยเราใหสูงขึ้นอีกขั้นหนึ่ง ปจจุบันอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ ของไทย เปนที่จับตามองอยางมาก ในกลุมประเทศอาเซียนเพราะมีการ พัฒนาดานคุณภาพอยางตอเนื่องทั้ง ยังมีตนทุนที่ต่ํากวาเมื่อเปรียบเทียบ กับประเทศผูนําตลาดอยางสิงคโปร โดยในป พ.ศ. 2553 ที่ผานมา ถึง แมวาจะมีปจจัยลบมากมาย แตการ สงออกสิง่ พิมพของไทยสามารถสงออก มีมูลคาถึง 2,098.11 ลานเหรียญ สหรัฐฯ หรือประมาณ 73,433.85 ลานบาท ขยายตัวเพิ่มคิดเปนรอยละ 35 และสําหรับในป พ.ศ. 2554
ในชวง 4 เดือนแรก (ม.ค.-เม.ย) มี มูลคาทั้งสิ้น 1,817.85 ลานเหรียญ สหรัฐฯ ขยายตัวเพิมขึ้นจากชวงเวลา เดียวของป 2553 ถึงรอยละ 181.63 สงผลใหประเทศไทยกาวเปนผูน าํ ของ ประเทศสงออกสิง่ พิมพสงู ทีใ่ นอาเซียน แสดงใหเห็นถึงความแข็งแกรงของ อุตสาหกรรมการพิมพ และสมาคม การพิมพไทยยังเชือ่ มัน่ วาในระยะยาว แนวโนมการสงออกสิง่ พิมพในภูมภิ าค นี้ตลอดไปโดยตลาดสงออกที่สําคัญ ไดแก ฮองกง ญีป่ นุ เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนิเซีย เกาหลีใต ออสเตรเลีย สิงคโปร ไตหวัน จีนตามลําดับ สําหรับผลงานที่ไดรับรางวัล จากการประกวดครั้งนี้ สมาคมการ พิมพไทยจะรวบรวมนําสงไปประกวด ในงาน Asia Pirnt Awards เชน เคย ซึ่งปนี้จะประกาศผลและมอบ รางวัลในวันที่ 16 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เซ็นทาราแกรนด
26 ThaiPrint Magazine
24-26_m14.indd 26
27/8/2554 4:47
Print News
ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย ฉลองการจําหนาย เครื่อง Ricoh Pro C901 และ Ricoh Pro 1107 EX เป็นครั้งแรกในเอเชีย
ไฮเดลเบิร์กประเทศไทย ประสบความสํ า เร็ จ ด้ า น ความร ว มมื อ ทางธุ ร กิ จ กับริโกประเทศไทย พรอม ฉลองการจํ า หน า ยเครื่ อ ง Ricoh ProC901 และ Ricoh Pro 1107EX ได้เป็นครัง้ แรก ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิก
เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2554 ที่ผ่านมา ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย และ รโิ ก้ ประเทศไทยได้จดั งานเปิดตัว และแถลงข่าว “Digital Solutions Showcase” ซึง่ เป็น “กิจกรรมแห่งป” มีผู้เข้าร่วมกว่า 300 คน พร้อมด้วย แขกผู้ทรงเกียรติจากทั่วประเทศไทย ตลอดจนผูส้ อ่ื ข่าวสายธุรกิจการพิมพ์ และสื่อแขนงอื่นๆ ที่ให้ความสนใจ เข้าร่วมงาน ณ โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล งานดังกล่าว จัดโดย คุณเรเน่ ลุดวิกเซ่น กรรมการผูจ้ ดั การ ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย พร้อมด้วย
คุณจูเลีย่ น ไฟรเอ็ด ประธานกรรมการ บริหารของริโก้ประเทศไทย เพือ่ ประกาศ ความร่วมมือทางธุรกิจในประเทศไทย โดยเครื่องทั้ง Ricoh Pro C901 และ Ricoh Pro 1107EX ได้ถูกนำา มาจัดแสดงในงานด้วย เพื่อแสดงให้ เห็นว่า ไฮเดลเบิรก์ ประเทศไทยได้จดั จำาหน่ายอุปกรณ์การพิมพ์รนุ่ ดังกล่าว ของ ริโก้ สำาหรับลูกค้าในประเทศไทย ทั้งเครื่องพิมพ์ 4 สีและเครื่องพิมพ์ สีเดียว ผสานกับการพิมพ์ออฟเซท ชั้นเยี่ยมของไฮเดลเบิร์ก
30 ThaiPrint Magazine
30-32_m14.indd 30
27/8/2554 4:47
ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย การนำ � เสนอและการสาธิ ต เครื่อง ดำ�เนินการโดย คุณนวภพ สุขเจริญ ผู้ดูแลผลิตภัณฑ์เครื่อง และอุปกรณ์พิมพ์ระบบดิจิตอลของ ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย ซึ่งเครื่อง ทัง้ สองรุน่ ได้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ การผลิตระดับสูงและความสามารถ อันหลากหลายในการผลิตงาน ซึ่ง ความถูกต้องเที่ยงตรงของสีได้สร้าง ความประทับใจให้กับผู้ชมการสาธิต เป็นอย่างมาก คุณนวภพได้แสดงให้ เห็นถึงแอพพลิเคชั่นที่น่าประทับใจ หลายๆ อย่างของเครือ่ งริโก้ เช่น การ ผลิตโฟโต้บคุ๊ การพิมพ์ Personalized และความเหมาะสมสำ � หรั บ การใช้ พิมพ์งานยอดสั้นที่หลากหลาย การ นำ�เสนอยังได้แสดงให้เห็นถึงความ แข็งแกร่งในด้านการผสานเทคโนโลยี ออฟเซทจากไฮเดลเบิร์กเข้ากับการ พิมพ์ดจิ ติ อลของริโก้ ซึง่ ความร่วมมือ ในครั้งนี้ทำ�ให้ลูกค้าสามารถรับงาน พิมพ์ที่มีตัวแปรหลากหลายและงาน พิมพ์ยอดสัน้ ได้ นอกเหนือจากความ คุม้ ค่าด้านราคา และคุณภาพจากงาน
พิมพ์ออฟเซท ยังสะท้อนความหมาย ธีมของงานที่ว่า “HEI-Flexibility” ได้ เป็นอย่างดี ในงานนี้ มีการจัดแสดงตัวอย่าง งานพิมพ์ที่หลากหลาย เพื่อตอกย้ำ� ให้เห็นถึงความสามารถในการผลิต ของเครือ่ งพิมพ์ดจิ ติ อลและโปรแกรม การพิมพ์อื่นๆ ที่สำ�คัญผู้เข้าชมงาน
ยังได้รว่ มเป็นประจักษ์พยานในความ สามารถของการผลิตงานจากเทคโนโลยี ของริโก้ ทีมงานฝ่ายขายของไฮเดลเบิรก์ มีความยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีผ่ เู้ ข้าร่วมงาน ให้ความสนใจและตอบรับเป็นอย่างดี พิสูจน์ได้จากคำ�ถามจำ�นวนมากและ การสอบถามด้วยความสนใจจากลูกค้า และสื่อมวลชนที่ให้ความสนใจ
ThaiPrint Magazine 31
30-32_m14.indd 31
27/8/2554 4:47
Print News ความสำ�เร็จจากกิจกรรมนีพ้ สิ จู น์ได้จากคำ�ถาม จำ�นวนมากจากลูกค้าทีต่ อ้ งการข้อมูลเพิม่ เติม ทส่ี �ำ คัญ ที่สุด คุณเศรษฐะสิทธิ์ ยิ่งถาวรกุล ผู้จัดการทั่วไป ของ บริษัท เอ เอ็ม ดีโมทีฟ จำ�กัด ได้เซ็นข้อตกลง ซื้อเครื่องพิมพ์ 4 สีรุ่น Ricoh Pro C901 และ เครื่องพิมพ์สีเดียวรุ่น Ricoh Pro 1107EX โดยการ ทำ�สัญญานี้เป็นครั้งแรกของการจำ�หน่ายเครื่องริโก้ โดย ไฮเดลเบิร์ก ในทวีปเอเชีย และเป็นเครื่องพิมพ์ ดิจิตอลขาวดำ�เครื่องแรกของ ริโก้ ที่จำ�หน่ายโดย ไฮเดลเบิร์กทั่วโลกและภายหลังวันงาน ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย จะส่งเครื่อง Ricoh Pro C901 เครื่อง ต่อไปให้กับเอกรัฐ กราฟฟิก ทำ�ให้ยอดขายรวมของ เครื่องทั้งหมดอยู่ที่ 3 เครื่อง
32 ThaiPrint Magazine
30-32_m14.indd 32
27/8/2554 4:48
งานเลี้ยง ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ และคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมถ่ายภาพกับคณะกรรมการบริหารของ บริษัท ไฮเดลเบิร์ก
มร. มารเซล คีสลิ่ง (Mr. Marcel Kiessling) กรรมการบริหารของ บริษัท ไฮเดลเบิรก ไดเดินทางมาประชุมภาคพื้นเอเชียแปซิฟก และไดเดินทางมาเยือนไฮเดลเบิรก ประเทศไทย ทั้งยังไดมีโอกาสพบสมาคมการพิมพและทานผูประกอบการดานการพิมพหลายๆ แหง มร. มารเซล คีสลิ่ง ไดกลาวถึงภาพรวมของอุตสาหกรรมการพิมพ ไวอยางนาสนใจ แม้จะมีสอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ มากขึน้ ในปัจจุบนั แต่ความต้องการ ด้านการพิมพ์ออฟเซตยังคงมีแนวโน้ม ทีจ่ ะเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง โดยประเทศ ที่กำ�ลังพัฒนา มีอัตราการอ่าน ข้ อ มู ล ผ่ า นอิ น เตอร์ เ น็ ท เพิ่ ม มาก ขึ้น ในขณะที่ประเทศที่พัฒนา แล้ว กลับมีอัตราการอ่านข้อมูล ผ่านอินเตอร์เน็ทคงที่ ด้าน การพิ ม พ์ ร ะบบดิ จิ ต อลแม้ จ ะมี ฐานของจำ�นวนผูป้ ระกอบการไม่มาก นัก แต่กลับมีแนวโน้มของการเติบโต พุ่งสูงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม
การพิ ม พ์ ร ะบบออฟเซตยั ง คงเป็ น ผูน้ �ำ เทคโนโลยีดา้ นการพิมพ์อยูด่ แี ละ นอกจากการมุง่ เน้นการมอบโซลูชน่ั ส์ การพิ ม พ์ ใ นระบบคอมเมอร์ เ ชี ย ล และการพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์ทม่ี อี ตั ราการ เติบโตอย่างมั่นคงแล้ว ไฮเดลเบิร์ก ยังได้ให้ความสำ�คัญกับการพิมพ์ระบบ ดิจิตอลอีกด้วย รวมถึงวัสดุอุปกรณ์ ทางการพิ ม พ์ ที่ ไ ด้ รั บ การควบคุ ม โดยผ่านการทดสอบเพื่อให้มั่นใจใน คุณภาพตามมาตรฐานอุตสาหกรรม และการเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ ประกอบการได้รับประโยชน์สูงสุด
จากธุรกิจและกระบวนการพิมพ์ได้ อย่างเต็มที่ ทัง้ ยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม นอกจากนั้น ไฮเดลเบิร์กยังมีความ โดดเด่นในการเป็นทีป่ รึกษาทางธุรกิจ ให้กับผู้ประกอบการ รวมทั้งการฝึก อบรมและการบริการหลังการขาย โดย ไฮเดลเบิร์ก มีทีมวิศวกร ที่มีความ เชี่ยวชาญกว่า 4,000 คนทั่วโลก ที่ พร้อมมอบการบริการทั้งด้านเครื่อง พิมพ์ และซอฟต์แวร์ตา่ งๆ และปัจจุบนั นี้ ยังมีการบริการผ่านรีโมทเซอร์วิส อีกด้วย (Remote Services) ซึ่ง ณ ขณะนีไ้ ด้ตดิ ตัง้ ระบบนีไ้ ปแล้วกว่า ThaiPrint Magazine 33
33-34_m14.indd 33
27/8/2554 4:50
Print News
10,000 เครื่องทั่วโลก การเป็ น พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ร่วมกับริโก้ จากประกาศเรื่องความ ร่วมมือทางธุรกิจอย่างเป็นทางการ ระหว่างไฮเดลเบิรก์ และริโก้ เมือ่ เดือน กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นถึง ความใส่ใจในระบบการพิมพ์ดิจิตอล สำ�หรับการพิมพ์งานยอดสัน้ ซึง่ ได้รบั ความนิยมอย่างสูงและได้รบั การตอบ รับอย่างดียิ่งเครื่องพิมพ์รุ่น RICOH Pro 1107EX สำ�หรับงานพิมพ์ขาวดำ� และเครื่องพิมพ์รุ่น RICOH Pro C901/C901S สำ�หรับงานพิมพ์สี โดยเฉพาะงาน Personalized งาน Print-on-Demand รวมทั้งงานพิมพ์ แบบเปลี่ยนข้อมูลทุกหน้า (Variable Data Printing) ทั้งยังสามารถรองรับ วัสดุพิมพ์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
คงคุณภาพสีสม่ำ�เสมอ และสามารถ พิมพ์งานกลับหน้าหลังในตัว โดย ความเร็วในการพิมพ์คงที่ 90 หน้า ต่อนาที การพิมพ์โดยระบบดิจิตอล เป็นการเพิม่ ช่องทางในการให้บริการ ลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ ไฮเดลเบิร์กได้พัฒนา รูปแบบการทำ�ธุรกิจการพิมพ์งานยอด สั้ น ไว้ แ ละได้ เ ปิ ด ตั ว เครื่ อ งพิ ม พ์ รุ่ น Speedmaster SM 52 Anicolor® ตั้งแต่งาน drupa 2008 เพื่อเป็นอีก หนึ่งทางเลือกให้กับลูกค้าที่ต้องการ ผลิตงานพิมพ์ยอดสั้น นอกจากนั้น ไฮเดลเบิร์ก ยังมีซอฟต์แวร์ Prinect ที่เชื่อมต่อกับเครื่องพิมพ์ ช่ ว ยให้ ฝ่ า ยผลิ ต เห็ น ภาพรวมของ กระบวนการผลิตในทุกๆ ขั้นตอน และยังช่วยให้สามารถจัดการแก้ไข
เรื่องสีได้อย่างสมบูรณ์ เทคโนโลยี สำ � หรั บ โซลู ชั่ น ส์ การพิมพ์ยอดสั้นโดยใช้จุดเด่นของ การพิ ม พ์ ร ะบบดิ จิ ต อลและเครื่ อ ง พิมพ์รุ่น Speedmaster SM 52 Anicolor® นี้ ช่วยให้ลูกค้ามีทาง เลื อ กหลากหลายในการให้ บ ริ ก าร งานพิ ม พ์ ไ ด้ อ ย่ า งคล่ อ งตั ว มากขึ้ น ซึ่งนับเป็นการสร้างความแข็งแกร่ง ในการเพิ่ ม ความสามารถในการ แข่งขัน ซึ่งจะช่วยเติมเต็มการผลิต งานพิมพ์ยอดสั้น งานด่วน งานเร็ว และคุ้มค่าด้านราคา ซึ่งสอดคล้อง กั บ ความต้ อ งการของตลาดในยุ ค ปัจจุบัน เพื่อให้ลูกค้าประสบความ สำ�เร็จได้มากที่สุด เรือ่ งโดย : คุณพรทิพย์ อัศวจารุพนั ธุ์
34 ThaiPrint Magazine
33-34_m14.indd 34
27/8/2554 20:50
Print Technology
อยากไดเฟล็กโซคุณภาพออฟเซ็ต เชิญทางนี้
ระบบการพิมพเฟล็กโซกราฟเริ่มเปนที่นิยมขึ้นมากในชวงกวาสิบป ที่ผานมา เนื่องจากมีความโดดเดนหลายประการ คือ สามารถพิมพวัสดุ ไดหลากหลาย เหมาะสําหรับการพิมพบรรจุภัณฑ ในขณะเดียวกันก็เปน ระบบที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม แตสิ่งที่สําคัญที่สุด คงเนื่องมาจากความ สามารถในการรองรับการทํางานในลักษณะที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพใน การทํางานได เชน การพิมพแบบปอนมวน ทําใหสงมวนงานพิมพเขา ระบบอัตโนมัติอยางระบบติดฉลาก หรือระบบขึ้นรูปเปนบรรจุภัณฑตางๆ เชน ถุงพลาสติก รวมทัง้ สามารถพิมพกลองกระดาษแข็งและผานกระบวนการ ผลิตกลองตางๆ ไดในรอบเดียว โดยไมตองสงตอไปยังเครื่องจักรอีกมาก มายหลายเครื่อง ชวยลดตนทุน ลดของเสีย และลดเวลาที่ใชในการผลิต และยังคงมีพัฒนาการที่กาวหนาอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ระบบการพิมพเฟล็กโซเปนระบบที่ใชแมพิมพพื้นนูนที่ เปนพอลิเมอรซึ่งมีผลตอคุณภาพของงานพิมพอยูบาง โดยเฉพาะเมื่อมีการ ออกแบบงานใหมีลักษณะไลโทนมากๆ ซึ่งเปนที่นิยมของนักออกแบบ หรือ มีภาพที่มีพื้นที่สวางแบบมีรายละเอียด (highlight) อยูจํานวนมากในภาพ ทําใหงานพิมพออกมาไมสวยงามเทาที่ควร อาจเนื่องมาจากการเตรียมงาน กอนพิมพที่ขาดความเขาใจในการพิมพเฟล็กโซ การทําแมพิมพไมถูกตอง แมพิมพซึ่งมีความยืดหยุนมาก อาจเกิดการบวมเมื่อพิมพไประยะหนึ่ง หรือ รับหมึกจากลูกกลิง้ อะนิลอ็ กซซง่ึ เปนลูกกลิง้ จายหมึกมากเกินไป หรือบวมเมือ่ ตั้งแรงกดที่เครื่องมากเกินไป ฯลฯ วิธแี กไขปญหา นอกจากการทํางานทุกขัน้ ตอนใหถกู ตองตามมาตรฐาน อยางที่ควรแลว ยังมีเทคโนโลยี HD Flexoจาก Esko Artwork ซึ่งเปน ผูเ ชีย่ วชาญดานขัน้ ตอนกอนการพิมพ ไมวา จะเปนดานซอฟตแวรสาํ หรับระบบ กอนพิมพ ซึ่งชวยลดปญหาในระหวางการพิมพได หรือดานเครื่องจักร โดย เปนผูนําดานเครื่องสรางภาพบนแมพิมพพอลิเมอร CDI ซึ่งมียอดการใชงาน กวา 1,700 เครื่องทั่วโลก ระบบ HD Flexoเปนระบบที่ตอยอดขึ้นมาเพื่อ 40 ThaiPrint Magazine
40-42_m14.indd 40
27/8/2554 4:52
เฟล็กโซคุณภาพออฟเซ็ต ใหผูใชสามารถผลิตงานที่มีคุณภาพระดับเดียวกับการพิมพออฟเซตและใน ขณะเดียวกันก็สามารถใชงานไดงาย ไมจําเปนตองเปลี่ยนแปลงระบบการ ทํางานทั้งระบบ ผูใชยังสามารถทํางานกับเครื่องทําแมพิมพ และแมพิมพรุน เดิมที่เคยใชไดดีอยูแลวได
เทคโนโลยี HD Flexo
HD Flexo ประกอบไปดวยเทคโนโลยีเลเซอรที่มีความละเอียดสูงขึ้น เปน 4000 dpi และเม็ดสกรีนชนิดพิเศษ สําหรับการพิมพเฟล็กโซโดยเฉพาะ การใชเลเซอรทล่ี ะเอียดขึน้ ในการสรางเม็ดสกรีน ทําใหไดขอ มูลทีถ่ กู ตอง ครบถวนตามตนฉบับมากขึ้น การเชื่อมกันระหวางเม็ดสกรีนลดลง ทําให งานพิมพดูสะอาดขึ้น พิมพไดนิ่งขึ้นและมีความสม่ําเสมอมากขึ้น นอกจาก นี้ เม็ดสกรีนที่ไดจะมีขอบที่เรียบเนียน ไมขรุขระ จึงมีความคงตัวมากขึ้น สามารถทําแมพิมพไดงายขึ้น และพิมพงานไดคงทน ไมหลุดลมไดงาย การใชเม็ดสกรีนพิเศษที่ออกแบบมาเพื่อแกปญหาการพิมพบริเวณ สวนสวางของภาพโดยเฉพาะ กลาวคือ มีรูปแบบเม็ดสกรีนที่มีลักษณะแบบ AM ในแงของความถี่ของเม็ดสกรีน ซึ่งชวยใหพิมพงาย แตในขณะเดียวกัน ก็ใชเม็ดสกรีนที่มีขนาดแตกตางกันในบริเวณ Highlight เพื่อใหเม็ดสวนที่มี ขนาดใหญชวยรับแรงกดที่เกิดขึ้นระหวางการพิมพ สวนเม็ดขนาดเล็กที่อยู รอบๆ นั้นจะทําหนาที่กระจายแรงดึงของแมพิมพขณะโคงรอบโมพิมพ ทําให เม็ดสกรีนที่ไดมีความคงตัวดีขึ้น ไมลมงาย และไมจุมลงในลูกกลิ้งอะนิล็อกซ และในขณะเดียวกันก็พมิ พตดิ แตมรี ะดับสีออ นกวาเม็ดขนาดใหญ ชวยใหพมิ พ งานไดจนถึง 0% โดยไมเกิดปญหาการขึ้นขอบเวลาไลโทนอยางการพิมพ เฟล็กโซทั่วๆ ไป จึงไมมีความจําเปนตองทํางานกอนพิมพแบบเฟล็กโซที่ ตองใสเปอรเซ็นตเม็ดสกรีนเขาไปในบริเวณสวางเพื่อปองกันการขึ้นขอบ
ประโยชนที่ไดรับ
• พิมพงานไดละเอียดขึ้น มีความคมชัดมากขึ้น และสามารถเก็บ รายละเอียดไดจนถึง 0% จึงแยกสีไดงายขึ้น ขั้นตอนการทํางานกอนพิมพ จึงทําไดงายและรวดเร็วขึ้น • คุณภาพของแมพิมพที่คมชัด ชวยลดปญหาการเชื่อมเม็ดสกรีน ทําใหการพิมพสะอาดขึ้น ชวยลดการทําความสะอาดระหวางพิมพ จึงยืด อายุการใชงานของแมพิมพใหพิมพไดนานขึ้น และลดเวลาหยุดเครื่อง ชวย เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต • แมจะทํางานพิมพที่มีความละเอียดสูงขึ้น แตดวยเทคโนโลยีการ สรางเม็ดสกรีนทําใหเม็ดสกรีนบริเวณสวางมีขนาดใหญพอที่จะไมจุมลง ในลูกกลิ้งอะนิล็อกซ จึงไมตองเปลี่ยนไปใชอะนิล็อกซที่มีความละเอียดสูง มากๆ • สามารถใชเครื่องพิมพเฟล็กโซพิมพงานคุณภาพเทียบกับออฟเซต ได จึงไมจําเปนตองลงทุนเครื่องพิมพออฟเซตที่มีราคาสูง ThaiPrint Magazine 41
40-42_m14.indd 41
27/8/2554 4:52
Print Technology • เทคโนโลยีใหมเปนเพียงการเปลี่ยนตัวเลเซอรและเพิ่มซอฟตแวร ในการทํางานบางสวนจึงไมจําเปนตองลงทุนซื้อเครื่องสรางภาพบนแมพิมพ ใหมหากมีอยูแลว และใชระบบการฉายแสงและลางแมพิมพ รวมทั้งแมพิมพ รุนเดิมที่เคยใชอยูได
เม็ดสกรีนที่เปอรเซ็นตเทากัน เมื่อสรางภาพดวยความละเอียดตางกันจะทําใหไดคุณภาพของเม็ดสกรีนที่แตกตางกัน
รูปแบบเม็ดสกรีนพิเศษที่ชวยใหไลโทนไดถึง 0% โดยไมเกิดปญหาขณะพิมพ
การใชเทคโนโลยี HD Flexo ชวยใหสามารถพิมพงาน ไดโทนที่ครบถวน 0-100%
ตัวอยางงานพิมพ จาก HD Flexo แสดงใหใหการไลโทนที่เนียนเรียบ ไม ขึ้นขอบ ทั้งการไลโทนสี และสีดํา และสามารถแสดงสีขาวไดจากการพิมพสี CMY
เรียบเรียงโดย ณุตตรา ศรีประเสริฐ บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จํากัด 42 ThaiPrint Magazine
40-42_m14.indd 42
27/8/2554 4:52
Print News
กิจกรรมเนื่องในโอกาส วันการพิมพ์ไทย 3 มิถุนายน 2554 พิธีทําบุญทักษิณานุปทานถวาย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ณ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม มูลนิธิเงินทุนงานแสดงการพิมพแหงประเทศไทย จัดพิธีทําบุญทักษิณานุปทาน ถวายพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 และบังสุกุลใหกับบุคคลในวงการพิมพที่ลวงลับไปแลว ณ วัดราชประดิษฐสถิต มหาสีมาราม ซึ่งมีตัวแทนจากองคกรในสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ บุคคลที่อยูในอุตสาหกรรมการพิมพ และ นักเรียน-นักศึกษาเขารวมพิธีเปนจํานวนมาก โดยไดยึดถือปฏิบัติสืบตอกันมาเปนประจําทุกป
พิธีการทําบุญทักษิณานุปทานและบังสุกุลใหกับบุคคลในวงการพิมพที่ลวงลับไปแลว
พิธีรําลึกถึงหมอบรัดเลย มูลนิธิเงินทุนงานแสดงการพิมพแหงประเทศไทย รวมกับองคกรในสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ และ สถาบันการศึกษาดานการพิมพ จัดพิธีรําลึกถึงหมอบรัดเลย ณ สุสานโปรแตสแตนท ถนนเจริญกรุง เนื่องในโอกาส วันการพิมพไทย ซึ่งยึดถือปฏิบัติอยางตอเนื่องเปนประจําทุกป เพื่อรําลึกถึงคุณูปการของหมอบรัดเลย ที่ไดนํา ความรูและวิทยาการตางๆ เกี่ยวกับการพิมพเขามาเผยแพรในประเทศไทย
องคกรในสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพและสถาบันการศึกษา ดานการพิมพเขารวมพิธีรําลึก
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย ถายภาพรวมกับนายกสมาคมฯ ในสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ
44 ThaiPrint Magazine
44_m14.indd 44
27/8/2554 4:54
สังสรรค์วันการพิมพ์ไทย
สพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ จัดงานเลี้ยงสังสรรค์วันการพิมพ์ไทย ณ ห้องอังรีดูนัง ราชกรีฑาสโมสร (สปอร์ตคลับ) ถ.อังรีดูนัง เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2554 เพื่อเป็นการพบปะสังสรรค์ของผูป้ ระกอบธุรกิจ และผู้เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการพิมพ์และอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง พร้อมเลีย้ งขอบคุณผูใ้ ห้การสนับสนุนกิจกรรมของสหพันธ์ฯ และองค์กร สมาชิกด้วยดีมาโดยตลอด ซึ่งกิจกรรมในงานมีทอล์คโชว์พิเศษจาก คุณตัน ภาสกรนที ผู้บริหารมากความสามารถ ส่วนไฮไลท์ที่สำ�คัญ ของงาน ได้แก่ การส่งมอบตำ�แหน่งประธานสหพันธ์อุตสาหกรรม การพิมพ์ ให้กับ คุณทวีชัย เตชะวิเชียร เพื่อดำ�รงตำ�แหน่ง ประธาน สหพันธ์ฯ วาระปี 2554-2555 ต่อไป
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย กล่าวทักทายกับผู้มาร่วมงานจากแคนนอน
คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง อุปนายกฝ่ายกิจกรรมพิเศษสมาคมการพิมพ์ไทย (ขวา) และคุณประชา อินทร์ผลเล็ก จาก Heidelberg ThaiPrint Magazine 45
45-46_m14.indd 45
27/8/2554 4:57
Print News
คุณสุวิทย์ เพียรรุ่งโรจน์ ประธาน Young Printer รับหน้าที่เป็นพิธีกร
อดีตประธานและประธานในวาระใหม่
พิธีส่งมอบตำ�แหน่งประธานสหพันธ์
ทอล์คโชว์ “ธุรกิจสร้างสรรค์สไตล์ตัน” โดย คุณตัน ภาสกรนที
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ ร่วมสนทนากับ คุณตัน ภาสกรนที
คุณพงศ์ธีระ พัฒนธีระเดช อุปนายกฝ่ายประชาสัมพันธ์ และคุณประเสริฐ หล่อยืนยง
คุณตัน ภาสกรนที ผู้บริหารมากความสามารถขึ้นโชว์บนเวที
ถ่ายภาพเป็นที่ระลึก ร่วมกับคุณตัน
คุณเกษม แย้มวาทีทอง นายกสมาคม การบรรจุภัณฑ์ไทย และคุณวิเทียน นิลดำ�
คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ อุปนายกฝ่าย ภายในประเทศสมาคมการพิมพ์ไทย และครอบครัว
46 ThaiPrint Magazine
45-46_m14.indd 46
27/8/2554 4:57
Print Technology
ระบบน้ำ�ในก�รพิมพ์อ๊อฟเซ็ต (Dampening system)
เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าในระบบการพิมพ์อ๊อฟเซ็ตนั้น อาศัยหลัก การที่น้ำากับน้ำามันไม่สามารถรวมตัวกันได้ หรือรวมตัวกันได้น้อยมาก ในการ แยกบริเวณภาพ (Image area) และบริเวณไร้ภาพ (Non-image area) ออก จากกัน ดังนั้นระบบการพิมพ์อ๊อฟเซ็ตจึงเป็นระบบการพิมพ์ประเภทเดียวที่ ต้องใช้น้ำาในการพิมพ์
รูปที่ 1 ตัวอย่างแสดงบริเวณภาพ (Image) และไรภาพ (Non-image) ของแม่พิมพ์
น้ำ�ในก�รพิมพ์อ๊อฟเซ็ตประกอบดวย 3 สวนหลัก ดังนี้
1. น้ำา (Water) เป็นส่วนประกอบที่มีมากที่สุดประมาณ 80-98% 2. น้าำ ยาฟาวน์เทน (Fountain Solution) เพิ่มคุณสมบัติของน้ำาให้ เหมาะสมกับการใช้งานทางการพิมพ์มากขึน้ ใช้ประมาณ 1.5 – 5% 3. ไอโซโพรพานอล (Isopropanol) เป็นสารลดแรงตึงผิวใช้ในระบบ น้ำาในการพิมพ์อ๊อฟเซ็ตปรมาณ 0-15%
รูปที่ 2 ตัวอย่างค่าความกระดางของน้ำาในแบบต่างๆ
น้ำ� (WATER) น้ำาเป็นองค์ประกอบที่มีปริมาณมากที่สุดในระบบน้ำาของการพิมพ์แบ บอ๊อฟเซ็ต ดังนั้นคุณภาพของน้ำาจึงเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำาคัญเป็นอย่างยิ่ง น้าำ ทีม่ ปี ริมาณไอออนของแคลเซียมและแมกนีเซียมอยูใ่ นปริมาณมาก เราเรียก 50 ThaiPrint Magazine
50-53_m14.indd 50
27/8/2554 4:59
ระบบน้ำ�ในการพิมพ์อ๊อฟเซ็ท กันว่าน้ำ�กระด้าง ซึ่งน้ำ�ที่เหมาะสมสำ�หรับใช้ในการพิมพ์อ๊อฟเซ็ตควรจะเป็น น้ำ�อ่อน หรือน้�ำ ที่มีปริมาณไอออนของแคลเซียมและแมกนีเซียมปนอยู่น้อย การวัดความกระด้างของน้�ำ สามารถวัดได้โดยง่าย โดยวัดจากค่าการนำ�ไฟฟ้า (Electrical conductivity) หรือวัดจากค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน้�ำ ทั้งหมด (Total dissolved solid; TDS) โดยที่น้ำ�อ่อนจะมีค่าการนำ�ไฟฟ้าอยู่ที่ 0 225 microSiemens ( s) น้ำ�กระด้างจะมีค่าการนำ�ไฟฟ้ามากกว่า 450 microSiemens ( s) โดยหลักการแล้วน้ำ�ที่ใช้ในการพิมพ์ควรจะมีค่าการนำ� ไฟฟ้าไม่เกิน 330 microSiemens ( s) การใช้น้ำ�กระด้างในการพิมพ์เป็น สาเหตุของปัญหาหลายอย่างด้วยกันเช่น การเกิดคราบขาวบนแม่พิมพ์ และ ผ้ายาง (Calcification) ทำ�ให้หมึกพิมพ์ไม่ถ่ายโอน (Stripping) และแขวน ลอยในน้ำ�มากเกินไป (Tinting) และที่ส�ำ คัญคือ ไปรบกวนการทำ�งานของน้�ำ ยาฟาวน์เทน ซึง่ ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการป้องกันการเกิดภาพลดลง เป็น ผลให้หมึกพิมพ์ไปเกาะบริเวณไร้ภาพของแม่พิมพ์ (Scumming)
น้ำ�ยาฟาวนเทน (Fountain Solution)
หน้าที่ของน้�ำ ยาฟาวน์เทนมีหลายประการ ดังนี้ 1. ทำ�หน้าที่ช่วยให้น้ำ�ปกคลุมบริเวณไร้ภาพของแม่พิมพ์ได้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ทำ�ความสะอาดหมึกบริเวณไร้ภาพของแม่พมิ พ์ในระหว่างทีเ่ ริม่ พิมพ์ 3. รักษาสมดุลในการรวมตัวของน้�ำ กับหมึกพิมพ์ให้เหมาะสม และ คงที่ตลอดการพิมพ์ 4. เป็นสารหล่อลื่นลดแรงเสียดทานระหว่างแม่พิมพ์และผ้ายาง 5. ควบคุมการไหลของน้ำ�ให้สม่ำ�เสมอ 6. คุณสมบัติเพิ่มเติมอื่นๆ เพื่อเพิ่มความสะดวกและสามารถใช้งาน ได้ง่ายขึ้น องค์ประกอบของน้ำ�ยาฟาวน์เทนนอกจากน้ำ�ซึ่งเป็นตัวทำ�ละลายหลัก ในน้ำ�ยาฟาวน์เทนแล้วยังมีส่วนประกอบอื่นที่สำ�คัญ ดังนี้
1. กรด (Acid)
ทำ�หน้าทีล่ ด pH และช่วยรักษาบริเวณภาพบนแม่พมิ พ์ให้ไวต่อปฏิกริ ยิ า กับหมึกพิมพ์ ขณะเดียวกันก็ชว่ ยรักษาบริเวณไร้ภาพให้รบั นา้ํ ได้ดี กรดทีน่ ยิ ม ใช้มักจะเป็นกรดอ่อนๆ ได้แก่ กรดฟอสฟอริก กรดเหล่านี้จะไปทำ�ปฏิกิริยา กับกัมแล้วเปลีย่ นสภาพเป็นโมเลกุลของกรดอารบิก (Arabic Acid Molecule) ซึง่ จะไปทำ�ปฏิกริ ยิ าต่อกับออกไซด์ของโลหะบนแม่พมิ พ์ ทำ�ให้เกิดพืน้ ผิวส่วน ที่ชอบนํ้า (Hydrophilic) ของบริเวณไร้ภาพ โดยที่ pH ที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 4.5 - 5.5 ซึ่งจะทำ�ให้กัมอารบิกสามารถยึดเกาะกับบริเวณไร้ภาพได้ดี
2. กัม หรือ กัมอารบิก (Plate desensitizers)
กัมอารบิก (Gum Arabic) เป็นสารประกอบธรรมชาติชนิดหนึ่งที่ อยู่ในกลุ่มสารไฮโดรคอลลอยด์ (Hydrocolloids) กัมอารบิกมาจากน้�ำ ยางธรรมชาติที่ไหลออกมาจากผิวเปลือกของลำ �ต้นของพืชในกลุ่มอากา เซีย (Acacia) กัมสามารถละลายน้�ำ และยึดเกาะกับอลูมิเนียมได้ดี ดังนั้น กัมจึงทำ�หน้าที่ยึดเกาะตรงบริเวณไร้ภาพเพื่อป้องกันการเปื้อนของหมึก พิมพ์ นอกจากนั้นแล้วยังช่วยป้องกันแม่พิมพ์จากความชื้น ป้องกันแม่พิมพ์ ThaiPrint Magazine 51
50-53_m14.indd 51
27/8/2554 4:59
Print Technology ทำ�ปฏิกิริยากับอากาศ และสารเคมีต่างๆ ในระหว่างที่หยุดพิมพ์อีกด้วย กัมอารบิกสามารถทำ�หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพที่ค่า pH ไม่เกิน 5 ดังนั้น ควรรักษาค่า pH ของระบบน้�ำ ให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม
รูปที่ 3 ตัวอย่างกัมอารบิก
รูปที่ 4 แสดงการทำ�งานของฟาวน์เทนบนแม่พิมพ์
3. บัฟเฟอร (Buffer)
ทำ�หน้าที่รักษาค่า pH ให้คงที่และอยู่ในช่วงที่เหมาะสมทางการพิมพ์ เนื่องจากในทางการพิมพ์มีปัจจัยหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นกระดาษ น้ำ�หรือ ก๊าซที่สามารถส่งผลทำ�ให้ค่า pH เกิดการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการรักษา ระดับของ pH ให้คงที่จะเป็นการช่วยให้คุณภาพในงานพิมพ์คงที่และส่งผล ให้กัมอารบิกทำ�หน้าที่ได้เต็มประสิทธิภาพอีกด้วย
4. สารลดแรงตึงผิว (Surfactant)
ทำ�หน้าที่ลดแรงตึงผิวของน้ำ�ให้สามารถปกคลุมบริเวณไร้ภาพได้ดีขึ้น เช่น Glycerin และ Glycol ชนิดต่างๆ โดยปกติแล้วน้�ำ จะมีค่าแรงตึงผิวอยู่ ที่ 72 Dynes/cm ซึ่งจะไม่สามารถปกคลุมผิวเพลทได้ดีต้องมีการใช้สารลด แรงตึงผิวเพื่อช่วยลดแรงตึงผิวของน้�ำ จนมีค่าประมาณ 35-45 Dynes ซึ่ง เป็นค่าที่เหมาะสมที่น้ำ�จะสามารถสร้างชั้นฟิล์มบางๆเพื่อปกคลุม ผิวเพลท ได้ดีและรวดเร็ว
5. สารเติมแตง (Additive)
สารเติมแต่งเป็นสารที่ใช้เพิ่มคุณสมบัติของน้ำ�ยาฟาวน์เทนในด้าน ต่างๆ ให้สามารถทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งสารเติมแต่งนี้มี ด้วยกันหลายตัว เช่น - สารหล่อลื่น (Release Agent) เช่น ซิลิโคน (Silicone) ช่วยลด การสึกหรอและยืดอายุแม่พิมพ์โดยป้องกันหมึกพิมพ์และแม่พิมพ์ ไม่ให้เกิดความร้อนสูงเกินไป - สารป้องกันจุลินทรีย์ (Biocide) ช่วยควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ เนื่องจากกัมเป็นอาหารที่ดีของจุลินทรีย์ทำ�ให้เกิดการเจริญเติบโต อย่างรวดเร็วส่งผลให้นํ้ายาฟาวน์เทนเสื่อมสภาพโดยเป็นกรดมาก ขึ้น ซึ่งความเป็นกรดของน้ำ�จะไปกัดกร่อนแม่พิมพ์และทำ�ให้สูญ เสียสมดุลของหมึกพิมพ์และนํ้า นอกจากนี้ยังทำ�ให้เกิดตะกอนใน รางนํ้าและส่งกลิ่นเหม็น 52 ThaiPrint Magazine
50-53_m14.indd 52
27/8/2554 4:59
ระบบน้ำ�ในการพิมพ์อ๊อฟเซ็ท - -
สารป้องกันการตกตะกอน (Sequestrant) ช่วยป้องกันการตก ตะกอนของแคลเซียมและแมกนีเซียมในนํ้าโดยรวมตัวเกิดเป็น สารประกอบเชิงซ้อนที่ละลายในนํ้าได้ นอกจากนี้ยังมีสารลดฟอง (Defoamer) สารเพิ่มความหนืด (Viscosity builders) สารควบคุมการรวมตัวของน้ำ�กับหมึก (Emulsification control agent) และสารเติมแต่งอื่นๆ อีก มากมายเพื่อให้น้ำ�ยาฟาวน์เทนมีคุณสมบัติที่ใช้งานได้ง่าย และ สะดวกมากยิ่งขึ้น
ไอโซโพรพานอล (Isopropanol; IPA)
ทำ�หน้าที่ลดแรงตึงผิวของน้ำ�ให้สามารถปกคลุมบริเวณไร้ภาพได้ดีขึ้น เช่นเดียวกันกับสารลดแรงตึงผิวที่มีในน้ำ�ยาฟาวน์เทน นอกจากลดแรงตึง ผิวของน้ำ�แล้ว ไอโซโพรพานอลยังสามารถเพิ่มความหนืดของน้ำ�เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการไหลจากลูกกลิ้งสู่ลูกกลิ้ง และด้วยคุณสมบัติที่สามารถ ระเหยได้เร็ว ไอโซโพรพานอลจึงทำ�หน้าที่เป็นสารช่วยระบายความร้อน (Coolant) ที่เกิดขึ้นในระหว่างการพิมพ์ได้อีกด้วย
รูปที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความหนืด กับปริมาณของแอลกอฮอล์ในน้�ำ
รูปที่ 5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงตึงผิว กับปริมาณของแอลกอฮอล์ในน้ำ�
แม้วา่ การใช้ไอโซโพรพานอลจะส่งผลดีตอ่ คุณภาพการพิมพ์ แต่ปริมาณ ในการใช้จำ�เป็นต้องควบคุมให้เหมาะสม หากใช้มากหรือน้อยเกินไปก็จะส่ง ผลให้เกิดปัญหาต่อคุณภาพงานพิมพ์ได้เช่นกัน นอกจากนี้ยังเป็นสารไวไฟที่ มีจุดวาบไฟที่ต�่ำ เพียง 11.7 องศาเซลเซียส จึงจัดเป็นสารอินทรีย์ที่ระเหยได้ (Volatile Organic Compound, VOC) ซึ่งทําให้เป็นอันตรายต่อมนุษย์และ ชั้นบรรยากาศของโลก ในปัจจุบันจึงนิยมหันมาใช้สารอื่นทดแทนแอลกอฮอล์ กันมากขึน้ เช่น Glycerin และ Glycol ชนิดต่างๆ นอกจากไม่เป็นอันตรายต่อ มนุษย์และชั้นบรรยากาศแล้ว ยังใช้ในปริมาณที่น้อยซึ่งสามารถช่วยประหยัด ค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย จากบทความขางตน คงจะทำ�ใหทุกทานรูจักน้ำ�ยาฟาวนเทนมากขึ้นไมมาก ก็นอยนะครับ ในฉบับหนาผมจะมากลาวถึงการควบคุมระบบน้ำ�สำ�หรับการพิมพ ออฟเซ็ตนะครับเจอกันฉบับหนา...สวัสดีครับ ThaiPrint Magazine 53
50-53_m14.indd 53
27/8/2554 4:59
Guowang_m14.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
1/7/2554
2:07
Print Education การพัฒนาบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญในการออกแบบศิลปะมีเดียและเทคโนโลยี เพื่อสรางสรรคนวัตกรรม ใหมๆ ทางดานสื่อดิจิตอล มีเดียทางการแพทยฯ และเทคโนโลยีมีเดีย ใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และกอใหเกิด ประโยชนสูงสุดตอสังคมนั้นตองอาศัยความรูและทักษะเปนอยางมาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ไดเล็งเห็นความสําคัญของการศึกษาในภาควิชานีจ้ งึ ไดเปด โครงการรวมบริหารหลักสูตร ศล.บ. สาขาวิชามีเดียอาตส และหลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย โดยมุงเนนการเรียนการสอน และการทําวิจัยที่บูรณาการองคความรู ทางด านการออกแบบศิ ลปะมี เดีย และเทคโนโลยี เพือ่ กอใหเกิดการพัฒนานวัตกรรมทางดานสือ่ ดิจติ อล และเทคโนโลยี King Mongkut’s University of Technology Thonburi มีเดีย สําหรับผูปกครองหรือผูที่สนใจ สามารถดูรายละเอียดการสมัครไดดังตอไปนี้
Media
Medical & Science Media
Media Arts
Media Arts สาขาวิชามีเดียอาตส
Animation แอนิเมชั่น เนนการเรียนการสอนจากขัน้ พืน้ ฐาน ของศิลปะไปสูกระบวนการในการ สร า งแนวคิ ด การผู ก เรื่ิ อ งเชิ ง สร า ง สรรค และถายทอดจินตนาการออก มาเปนภาพเคลือ่ นไหวในรูปแบบและ เทคนิควิธกี ารตางๆ สําหรับผูท สี่ าํ เร็จ การศึกษา สามารถประกอบอาชีพ ดานการสรางผลงานภาพเคลื่อนไหว เป น ส ว นหนึ่ ง ในการผลิตภาพยนต แอนิเมชั่น ผลิตงานโฆษณา และสื่อ อื่นๆ ที่เกี่ยวของ
) s t . r A A . B.F edia (M
Visual Effects วิชวล เอฟเฟกต เนนการเรียนการสอนกระบวนการ ในการสรางแนวคิดการผูกเรื่องเชิง สรางสรรคและการฝกปฏิบัติทักษะ ผลงานการสรางสรรคเทคนิคตางๆ ทางภาพนิ่ ง ภาพเคลื่ อ นไหว จน สามารถนําผลงานไปประยุกตใชกับ สื่ อ ต า งๆ โดยผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษา สามารถที่จะประกอบอาชีพในดาน ภาพเทคนิ คพิ เ ศษต างๆ ทางภาพ นิ่งและภาพเคลื่อนไหวในภาพยนตร โฆษณา โทรทัศน และสื่ออื่นๆ ที่ เกี่ยวของ
Digital Photography & Graphic Design การถายภาพดิจิทัล & การออกแบบกราฟก เนนการเรียนทฤษฏีควบคูไปกับการ ฝกปฏิบตั ิ เพือ่ ใหเกิดความเชีย่ วชาญ ทางดานการผลิตงานออกแบบกราฟก และการผลิตภาพดิจิทัลใหสามารถ สรางสรรคผลงานดานการออกแบบ สือ่ ตางๆ ตลอดจนการถายภาพดิจทิ ลั โดยผูสําเร็จการศึกษาสามารถที่จะ ประกอบอาชีพในตําแหนงชางภาพ นักการออกแบบกราฟก ออกแบบ สิง่ พิมพ ผลิตงานโฆษณา งานสือ่ สาร มวลชนและสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ
60 ThaiPrint Magazine
60-66_m14.indd 60
27/8/2554 5:07
Media Arts
โครงการรวมบริหารหลักสูตร ศล.บ.สาขาวิชามีเดียอาตส และหลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย
Media
King Mongkut’s University of Technology Thonburi
Medical & Science Media Media Arts
Medical & Science Media
สาขาวิชามีเดียทางการแพทยและวิทยาศาสตร
ical &) . d h e c B.Te edia M Media (M ience Sc
Medical & Science Media สาขาวิชามีเดียทางการแพทยและวิทยาศาสตร สาขาวิชามีเดียทางการแพทยและวิทยาศาสตรเปนหลักสูตรที่มุงเนนให บัณฑิตมีความรูความสามารถมีทักษะและความคิดริเริ่มสรางสรรคใน การออกแบบและผลิตสื่อทางการแพทยและสาธารณสุข โดยมุงเนนการ ผลิตผลงานสื่อดานเสียง กราฟก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ และ 3 มิติ และสามารถบูรณาการกับศาสตรทางการแพทย ในการผลิตสื่อเพื่อ การเรียนรู การวินิจฉัย การนําเสนอ การประชาสัมพันธ และการวิจัย เพือ่ ยกระดับมาตรฐานการดําเนินงานทางดานแพทยและสาธารณสุขใหสงู ขึน้ และสามารถชีน้ าํ แนวทางในการพัฒนาศาสตรดา นมีเดียทางการแพทย และวิทยาศาสตรใหกับสังคม ตลอดจนปลูกฝงใหบัณฑิตเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม และรับผิดชอบตอสังคมในวงการวิชาชีพ ThaiPrint Magazine 61
60-66_m14.indd 61
27/8/2554 5:08
Print Education
Media
King Mongkut’s University of Technology Thonburi
Media Arts
Medical & Science Media
เกณฑการรับสมัครนักศึกษาระบบคัดเลือกตรง ปการศึกษา 2555 โครงการรับตรงเคลียริ่งเฮาส
62 ThaiPrint Magazine
60-66_m14.indd 62
27/8/2554 5:08
Media Arts
Media
King Mongkut’s University of Technology Thonburi
Media Arts
Medical & Science Media
เกณฑการรับสมัครนักศึกษาระบบคัดเลือกตรง ปการศึกษา 2555 โครงการคัดเลือกตรง (เรียนดี) รอบที่ 1
ThaiPrint Magazine 63
60-66_m14.indd 63
27/8/2554 5:09
Print Education
Media
King Mongkut’s University of Technology Thonburi
Media Arts
Medical & Science Media
เกณฑการรับสมัครนักศึกษาระบบคัดเลือกตรง ปการศึกษา 2555 โครงการคัดเลือกตรง (ครั้งที่ 2)
64 ThaiPrint Magazine
60-66_m14.indd 64
27/8/2554 5:09
เกณฑการรับสมัครนักศึกษาระบบคัดเลือกตรง ปการศึกษา 2555 โครงการรวมบริหารหลักสูตร ศล.บ.สาขาวิชามีเดียอาตส และหลักสูตร วท.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย
Media Arts
ThaiPrint Magazine 65
60-66_m14.indd 65
28/8/2554 0:35
Print Media Education
Media
Media
King Mongkut’s University of Technology Thonburi
Medical & Science Media
Media Arts
King Mongkut’s University of Technology Thonburi
Media Arts
Medical & Science Media
ศล.บ. สาขาวิชามีเดียอาตส B.F.A. (Media Arts)
ทล.บ. สาขาวิชามีเดียทางการแพทยและวิทยาศาสตร B.Tech. (Media Medical & Science Media)
School lay
District Office
ha nT
y ala Th inic n l e i Th Polyc
Police Station
Polyclinic Ap
iT hi
en Th ni . ala am re Co h y2 C it u 5 n r t g Fu un uran L a sta u r ) Kh m Re ple g em run ae Th t (T Bum a W ha c Pra
ien nth p hu a g K us M n Ba mp Ca
23
So
rua Kh aeng nt w ura a S sta Re
l ay
Kh
.
Rd
an mn t Ko uran r Po esta R
a Th
ng
Ba
Th un
a Th ien
sta
Re
ien
e
s Re
lay
t
ura
i Th
an
rab
oK Aa
ran tau
nt
So
Ru
an
th gri
Co
.
un
Kh
Th
a Th ien
2R
d.
m aa n Kh tio aa ta Th lice S ) Po ple a emooch T ( t B Wa dha Pr Bu a
.
Rd
on ati le) ol ort p mpeeph s e n t (T Pl Tra e 1 Waheep nd Zon t ou a r r G P g an
Ba
gs
lay
y To ex
ma
a Rd.
Restaurant
on
Ra
d mo s ng Ba mpu a C
buch
Ch
hi e nT
hu
K ng
Phutt a
Temple
it C ath
o.
.
Rd
ch
B
le) et mp Ph (Te aew t Wa an K Ch ) ple as em orn ras t (T g M Sa hool a W lon Sc Kh
Admission le ) mp n (Te g Sua t Wahlon K
m
Isla
) ple em ru t (T gkh a W Tun
et it h s V ol a s o ra Sa Sch
ic C
ol
e leg
aU
th
it
Rd .
Suksawad Rd.
Company
na ura sb l Ra choo S hruion K ng at Tu cy St li Po
kru ng Tu ool t Wa Sch
Map King Mongkut’s University of Technology Thonburi 49 Soi 25 Bangkhuntien-Chaitalay Road, Takham, Bangkhuntien, Bangkok 10150 Tel: 02-470 7600, Fax: 02-470 7601 www.mta.kmutt.ac.th
66 ThaiPrint Magazine
60-66_m14.indd 66
27/8/2554 5:10
ฉลองครบรอบ 100 ป กําเนิดแบรนด ROLAND
ThaiPrint Magazine 67
67_m14.indd 67
27/8/2554 5:12
Print News
“Gold East Friendships : Dinner & Mini Concert ” เสวนาพิเศษ “สื่อ อิเล็กทรอนิกส บุกสื่อ สิ่งพิมพ เตรียมปรับ รับมืออยางไร”
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ และคุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง ร่วมถ่ายภาพกับคณะผู้บริหารกลุ่มบริษัท เจริญอักษรกรุ๊พ
กลุ่มบริษัท เจริญอักษร กรุ๊พ ร่วมกับโรงงาน โกลด์ อีสท์ เปเปอร์ จัดกิจกรรมเลี้ยงสังสรรค์ในชื่องาน “Gold East Friendships : Dinner & Mini Concert” โดยภายในงานมี การเสวนาในหัวข้อ “สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ บุ ก สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ เ ตรี ย มปรั บ รั บ มื อ อย่างไร” ในวันอังคารที่ 28 มิถนุ ายน 2554 เวลา 18.00 - 20.20 น. ณ ห้อง ฉัตรา 1 โรงแรม สยาม เคมปินสกี้ โฮเต็ล กรุงเทพมหานคร (Siam Kempinski Hotel) โดยมีคณ ุ สุรพล ดารารัตนโรจน์ กล่าวเปิด งาน และได้รับเกียรติจาก MR. Ma Chih Ming ประธานบริหารโรงงาน โกลด์ อีสท์ เปเปอร์ กล่าวทักทายแขก ผู้ร่วมงาน โดยกิจกรรมในวันงานเป็น การเสวนาให้มุมมองของ กระแสสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) และปรับกลยุทธ์เพือ่ การเตรียมรับมือ ของสื่อสิ่งพิมพ์ในภาคอุตสาหกรรม สิ่งพิมพ์ โดยมีมุมมองใน 3 ภาคส่วน ร่วมเสวนา คือ ภาคผู้ผลิตกระดาษ รายใหญ่ของโลก โดย Mr. Chi Ming Chung (รองประธานบริหารโรงงาน โกลด์อีสท์ เปเปอร์) ภาคสิ่งพิมพ์ หรือผู้ประกอบการโรงพิมพ์ โดย คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล (รอง เลขาธิ ก ารสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง
68 ThaiPrint Magazine
68-69_m14.indd 68
27/8/2554 5:13
Gold East Friendships
คุณริสรวล อร่ามเจริญ นายกสมาคมผู้จัดพิมพ์และจัดจำ�หน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย กำ�ลังบรรยายถึงผลกระทบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่ออุตสาหกรรมหนังสือและสิ่งพิมพ์
ประเทศไทย) และภาคผูจ้ ดั พิมพ์หรือ ผู้ จำ � หน่ า ยหนั ง สื อ ภายในประเทศ โดย คุณริสรวล อร่ามเจริญ นายก สมาคมผู้จัดพิมพ์ และผู้จำ�หน่าย หนังสือแห่งประเทศไทย โดยได้รับ เกียรติจาก คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ (อุปนายกฝ่ายกิจกรรมพิเศษ สมาคม การพิมพ์ไทย) เป็นพิธีกรกิตติมศักดิ์ ดำ�เนินรายการ ภายในงานดังกล่าวมี “มินิ คอนเสิร์ต ของวงพี่น้อง สินเจริญ
บราเธอร์ส” มาบรรเลง สร้างความ เพลิดเพลิน รวมทั้งผู้เข้าร่วมงานได้ ลุ้นโชครับ IPad 2 จำ�นวน 5 รางวัล และได้รับ หนังสือหายาก “สู้ไม่ถอย ประวัติและคติธรรมขององค์หลวง ตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน” ภายในงานมีผู้ประกอบการโรงพิมพ์ สำ � นั ก พิ ม พ์ แ ละสมาคมการพิ ม พ์ ไทยเข้ า ร่ ว มงานเป็ น จำ � นวนมาก บรรยากาศเต็ ม ไปด้ ว ยความสนุ ก สนานและเป็นกันเอง
กลุ่มศิลปินวงสินเจริญบราเธอร์ส ขึ้นบรรเลงสร้างความเพลิดเพลิน
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองเลขาธิการสภา อุตสาหกรรมฯ ร่วมเสวนาในงาน (2 จากซ้าย)
Mr.Chi Ming Chung รองประธานบริหาร โรงงานโกลด์อีสท์ รับของที่ระลึก
คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ อุปนายกฝ่ายกิจกรรมพิเศษรับของที่ระลึก
สรวลเสเฮฮาบรรยากาศภายในงาน 1 ใน 3 พี่น้องวงสินเจริญลงมาทักทายแขกผู้มีเกียรติตามโต๊ะอาหาร ThaiPrint Magazine 69
68-69_m14.indd 69
27/8/2554 5:13
Print News
งานทําบุญที่สมาคมการพิมพไทย เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 สมาคมการพิมพไทย ไดจัดทําบุญสมาคมฯ โดยมี คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย และคณะกรรมการสมาคมฯ กลุม ยังพริน้ เตอร ตลอดจนเจาหนาที่ ทําบุญรวมกัน ณ อาคารสมาคมการพิมพไทย โดยไดมีการนิมนตพระสงฆจํานวน 9 รูป จากวัดพระรามเกาฯ สวดพระพุทธมนต ถวายภัตตราหารเพลพรอมทั้งถวายสังฆทาน กอนพระสงฆใหพรอันเปนมงคลกับแขก ผูมีเกียรติและผูรวมงานทุกทาน เพื่อที่จะไดมีกําลังใจที่ดีสืบสานงานสมาคมฯ และผลักดันใหอุตสาหกรรม การพิมพไทยเจริญกาวหนาตอไปในอนาคต
คณะกรรมการสมาคมฯและแขกผูมีเกียรติรวมฟงพระเจริญพระพุทธมนต นายกสมาคมฯจุดเทียน ธูป สักการะพระประธานในพิธี
คณะกรรมการสมาคมฯ และแขกผูมีเกียรติ รวมทําบุญสมาคมฯ
พระภิกษุสงฆฉันภัตตาหารเพล
คณะกรรมการสมาคมฯ และแขกผูมีเกียรติ รวมถวายสังฆทานแดพระภิกษุสงฆ
คณะกรรมการและเจาหนาที่รับศีลจากพระภิกษุสงฆ
70 ThaiPrint Magazine
70-71_m14.indd 70
27/8/2554 5:14
งานทําบุญสมาคมการพิมพไทย
พิธีเจิมปายสมาคมฯ เพื่อความเปนสิริมงคล
ประพรมน้าํ มนตใหกบั เจาหนาทีส่ มาคมฯ เพือ่ ความเปนศิรมิ งคล
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมฯ เปนเกียรติเขารวมงานทําบุญ ThaiPrint Magazine 71
70-71_m14.indd 71
27/8/2554 5:14
Print News
งานเลี้ยงขอบคุณผู้สนับสนุนการจัดงาน การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 6
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ ร่วมถ่ายภาพกับคณะผู้จัดงาน และผู้สนับสนุนหลักในการจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 6
Mr.Alf Carrigan Independent Chairman of the Judging Panel สนทนากับคุณพรชัย และคุณวิทยา
คณะกรรมการจัดงาน Thai Print Awards ครั้งที่ 6 และคณะกรรมการสมาคมการพิมพไทย นําโดย คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ ไดรวมจัดงานเลี้ยงขอบคุณ ผู ส นั บ สนุ น การจั ด งานประกวดสิ่ ง พิ ม พ แ ห ง ชาติ ขึ้ น เพื่ อ พบปะพูดคุยถึงแนวทางการจัดงาน อีกทั้งเปนการกระชับ ความสัมพันธระหวางคณะกรรมการสมาคมฯ และผูบริหาร ของบริษัทฯ ตางๆ ที่สนับสนุนการจัดงานประกวดฯ ให แนนแฟนยิ่งขึ้น ซึ่งบรรยากาศภายในงานเต็มไปดวยความ เปนกันเอง ทางสมาคมฯ ขอขอบคุณผูมีพระคุณทุกทานที่ ใหการสนับสนุนการจัดงานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติและ กิจกรรมตางๆ ของสมาคมฯ ดวยดีมาตลอด งานเลี้ยงครั้งนี้ จัดขึ้น ณ ภัตตาคาร แชง เบลส โรงแรมแชงกรีลา กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
72 ThaiPrint Magazine
72-73_m14.indd 72
27/8/2554 5:16
งานเลี้ยงขอบคุณผู้สนับสนุนการจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 6
Mr.Alf Carrigan Independent Chairman of the Judging Panel กล่าวถึงความสำ�เร็จของการจัดงานที่ผ่านมา
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ ขึ้นมอบของที่ระลึกฯ แก่ผู้สนับสนุน
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ กล่าวทักทายแขกผู้มีเกียรติ และแถลงรายละเอียดการจัดงานกับผู้สนับสนุนการจัดงานฯ
บรรยากาศการสนทนาของคณะกรรมการสมาคมฯ และผู้สนับสนุนอย่างใกล้ชิดและเป็นกันเอง
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ThaiPrint Magazine 73
72-73_m14.indd 73
27/8/2554 5:16
show show update update
นน ให ให ไป ไป
volume 2 volume 2
งานแสดงสินคานานาชาติอุตสาหกรรม งานแสดงสิ นคานานาชาติ อุตฑสาหกรรม การพิมพและการบรรจ� ภัณ แหงเอเช�ย การพิมพและการบรรจ�ภัณฑแหครั งเอเช� ้งที่ ย3 ครั้งที่ 3 ศูนยนิทรรศการและการประชุม ศูนยนิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ประเทศไทย กรุงเทพฯ ประเทศไทย
r e t t be s s e n i s u b beyond
eht tahw eyhrtstu ad hni ...yyratsuotw dnsiah ...yas ot s ah
เเ
s r e d boาrคม –– 33 กกันันยยาายยนน
3311 สสิงิงหหาคม
จ จ ผ ผ พ พ ผ ผ แล แล ใน ใน ก ก ผ ผ จ จ พ พ PP PP ก ก ท ท แล แล
ค ค
M M P P
เเ
2255554 4
เป เป
M M P P
อ อ
เพ เพ M
M N N
P P
M M P P
รวมจัดโดย รวมจัดโดย
ลงทะเบี ยยนล ววงหน าาได ทที่ี่ ลงทะเบี นล งหน ได www.pack-print.de www.pack-print.de 74-81_m14.indd 74
The Thai Packaging The Association Thai Packaging Association
The Thai Printing TheAssociation Thai Printing Association 29/8/2554 13:37
exhibiting new / improved products exhibiting new / improved products
A.B.C. PRINTING MATERIALS CANON MARKETING A.B.C. PRINTING MATERIALS CANON MARKETING (THAILAND) CO LTD (THAILAND) COCO LTD (THAILAND) CO LTD (THAILAND) LTD กลุมบร�กลุ ษัทมเอบี ซ � อั ล ลายด เพรสรู ม โปรดั ก ส เร� ม ่ ก อ ตั ง ้ ตั ง ้ แต ป ออกแบบมาเพื อ ่ สร า งผลกำไรให ก ับธุกรับกิธุจรของคุ ณ ณ บร�ษัท เอบีซ� อัลลายด เพรสรูม โปรดักส เร�่มกอตั้ง ตั้งแตป ออกแบบมาเพื่อสรางผลกำไรให กิจของคุ 1952 จากประเทศสหรั ฐอเมร�ฐกอเมร� า ดวกยความเช� ่ยวชาญ เคร�่อเคร� งพิม่อพงพิดิจม�ตพอลสี imagePRESS รุนใหม องแคนนอน 1952 จากประเทศสหรั า ดวยความเช� ่ยวชาญ ดิจ�ตอลสี imagePRESS รุนขใหม ของแคนนอน และการทุ มเททำงานว� จัยและพัจัยฒและพั นา ทำให รับความเช� ่อมั่น ่อมั่น มาพรมาพร อมเทคโนโลยี ที่ล้ำหน รองรั บสื่อบงานพิ มพทมี่หพลากหลาย และการทุ มเททำงานว� ฒนาไดทำให ไดรับความเช� อมเทคโนโลยี ที่ลา้ำหน า รองรั สื่องานพิ ที่หลากหลาย จากลูกจากลู คาทั่วกทุคกามุทัม่วโลก จจ�ในป บันมีจโจ�รงงานผลิ ตครอบคลุ ม ม และตัวและตั เลือวกสำหรั บการจั ดเร�ยดงชุเร�ดยเอกสาร ที่เปนทีส่เปวนนสำคั ญญ ทุกมุในป มโลก บันมีโรงงานผลิ ตครอบคลุ เลือกสำหรั บการจั งชุดเอกสาร สวนสำคั 3 ทว�ปทั3่วทว� โลกปทั(อเมร� า อังกกฤษ น) เราจ� นผูงนเปำทางด าน าน ในการส งเสร�มงเสร� ธุรกิมจธุของคุ ณ imagePRESS รุนใหม ะบบสี ่วโลก ก(อเมร� า อังจ�กฤษ จ�น)งเป เราจ� นผูนำทางด ในการส รกิจของคุ ณ imagePRESS รุนรใหม ระบบสี เคมีภัณเคมี ฑในระบบออฟเซท โดยมุงโดยมุ หวังการขั เคลื่อบนธุ จ รกิจ ก็ยังคงประสิ ทธ�ภาพที หนือ่เหนื ความคาดหมาย เหมาะสำหรั บ บ ภัณฑในระบบออฟเซท งหวังบการขั เคลืร่อกินธุ ก็ยังคงประสิ ทธ�ภ่เาพที อความคาดหมาย เหมาะสำหรั เพื่อสังคม สิ่งเพื แวดล ม เพือ่ มลูกเพืค่อาของเรา เพื่อเติเพื บโต มืออาช� ทางด านงานพิ มพ เชมพน โรงพิ มพ, มศูพน,ยศูถนายยเอกสาร เพื่อเพื สัง่อคม ่อสิ่งอแวดล ลูกคาของเรา ่อเติบโต มือพอาช� พทางด านงานพิ เชน โรงพิ ถายเอกสาร แบบยั่งยืแบบยั น สิน่งยืคนาทีสิ่เปนนคทีาที่น่เิยปมนที่นิยม และรับและรั พิมพบพิงานสื สิ่งพิ่อมสิพ่งพิ, มแผนกการพิ มพภมายในบร� ษัท ษัท มพง่อานสื พ, แผนกการพิ พภายในบร� เชน น้ำเช ยาฟาวเท นที่ไมใชนที่ไมใช และ CRD เคร�่อเคร� งพิม่อพงพิดมิจพ�ตอลสี imagePRESS รุนใหม องของ น น้ำยาฟาวเท และ CRD ดิจ�ตอลสี imagePRESS รุนขใหม แอลกอฮอล น้ำยา น้ำยา แคนนอนมี การทำงานที ่เช�่อถื่เช�อ่อไดถือกไดาวสูกคาวสู วามล้ ำหนำาหน ของาของ แอลกอฮอล แคนนอนมี การทำงานที ความล้ ฟอกสีลฟอกสี ูกหมึกลูกน้หมึ ำยาก น้ำยา งานพิงานพิ มพและการเติ บโตทางธุ รกิจ รพร มสำหรั บงานพิ มพทมี่มพี ที่มี มพและการเติ บโตทางธุ กิจอพร อมสำหรั บงานพิ ทำความสะอาดเพลท คุณภาพสู ง และความสามารถที ่เหนือ่เหนื ชั้นอในการผลิ ต ต ทำความสะอาดเพลท คุณภาพสู ง และความสามารถที ชั้นในการผลิ และแปงและแป พน งพน
A.J. A.J. PLAST PUBLIC CO CO LTDLTD PLAST PUBLIC
CLEARPACK (THAILAND) COCO LTD CLEARPACK (THAILAND) LTD
FERR FER
บร�ษัท เอ.เจ. จำกัด จำกั (มหาชน) ประกอบธุ รกิจเกีร่ยกิวกั บร�ษัท พลาสท เอ.เจ. พลาสท ด (มหาชน) ประกอบธุ จเกีบ่ยวกับ การผลิการผลิ ตและจำหน ายแผนาฟยแผ ลมภายในประเทศและส งออกงออก ตและจำหน นฟลมภายในประเทศและส ตางประเทศของ BOPPBOPET Film, BOPET Film, BOPA Film (Nylon) ตางประเทศของ BOPP Film, Film, BOPA Film (Nylon) และ Metallized ผลิฑตขภัองบร� ณฑขษองบร� ัทเปนภบรรจ� และ Metallized Film ผลิFilm ตภัณ ัทเปนษบรรจ� ัณฑภัณฑ อนกึจ่งรูสำเร็ ลูกคาจะนำผลิ ณฑของบร� ชนิดออชนิ นกึด่งอสำเร็ ป ซ�่งจลูรูกปคซ�า่งจะนำผลิ ตภัณฑตขภัองบร� ษัทฯ ษัทฯ ไปใชในการแปรรู ปเปนภบรรจ� ่อใชสบินรรจ� าอุปโภค ไปใชในการแปรรู ปเปนบรรจ� ัณฑ ภเพืัณ่อฑใชบเพืรรจ� คาอุสินปคโภค และบร�โภค และบร�โภค
บร�ษัทบร�เคลี รแพ็ยครแ(ไทยแลนด ) จำกั) ดจำกัด ษัทยเคลี พ็ค (ไทยแลนด เราเปเราเป นบร�ษนัทบร� ผูนษำในด านการผลิ ตที่มตาสำนั กงานใหญ ตั้งอยู ี่ ที่ ัทผูนำในด านการผลิ ที่มาสำนั กงานใหญ ตั้งทอยู ประเทศสิ ตและจำหน นคาสำหรั ขั้นตอนการ ประเทศสิ งคโปรงคโปร เราผลิเราผลิ ตและจำหน ายสินายสิ คาสำหรั บขั้นบตอนการ ฑและผลิ ี่เกีอ่ยวข อง รวมทั บรรจ�บรรจ� ภัณฑภแัณ ละผลิ ตภัณตฑภัทณี่เกีฑ่ยทวข ง รวมทั ้งมีบ้งร�มีกบารร�การ หลังการขายโดยว� ศวกรที ดรับการอบรมอย หลังการขายโดยว� ศวกรที ่ไดรับ่ไการอบรมอย างดีเายีงดี ่ยมเยี่ยม นคาของ Clearpack มีหลากหลาย แต ่อเคร� ่องบรรจ� สินคาสิของ Clearpack มีหลากหลาย ตั้งแตตั้งเคร� งบรรจ� หีบหหอีบ,หอ, งปดฉลาก, ่องบรรจ� ง, ่อเคร� ่องบรรจ� เคร�่อเคร� งปด่อฉลาก, เคร�่อเคร� งบรรจ� ลงกลลองกล ง, อเคร� งบรรจ� ลงลัลงงลั , ง, ่องบรรจ� ของผงและของเหลว, สายพานลำเลี เคร�่อเคร� งบรรจ� ของผงและของเหลว, สายพานลำเลี ยง ยง และขบวนการบรรจ� ทั้งหมด ร�การบรรจ� ฑและนำส และขบวนการบรรจ� ทั้งหมด เราใหเราให บร�กบารบรรจ� ภัณภฑัณ และนำส ง ง นคาครบวงจรตามมาตรฐาน สินคาสิครบวงจรตามมาตรฐาน ISO ISO
แฟโรสตั แฟโรสล อยูทอยู ี่เมืทอี่เงม ผูนดำจจ ผูนำจั อุตสา อุตสาหก กระบว กระบวนก เคร�เคร� ่องพิ่อมง ตัวแท ตัวแทนผ น โกก เชนเชโกดั โวเลน โวเลนเบอ เอ็มเอ็ บีโมอบีคโ อีกมา อีกมากม แฟโรสล แฟโรสตั ประสบ ประสบกา ที่แปล ที่แปลกให
รายละเอี โปรดดูรโปรดดู ายละเอี ยด ยด เพิ่มเติมเพิได่มทเติี่ มไดที่ www.ajplast.co.th www.ajplast.co.th
COMPUTER PERIPHERAL COMPUTER PERIPHERAL & & SUPPLIES LIMITED SUPPLIES LIMITED
ARTDECO CREATIVE ARTDECO CREATIVE ANDAND INVESTMENT CO LTD INVESTMENT CO LTD Creative and Investment การ Coating ArtdecoArtdeco Creative and Investment ใหบร�กใหารบร�Coating Film Film วัสดุบสHeat ำหรับ Transfer Heat Transfer ฟลมทำจาก และ วัสและ ดุสำหรั Label Label แผนฟแผ ลมนทำจาก PET PET ่งมีคุณ ติความหนาที ่สม่ำสามารถใช เสมอ สามารถใช ไดกับการพิ ซ�่งมีคุณซ�สมบั ติคสมบั วามหนาที ่สม่ำเสมอ ไดกับการพิ มพ มพ ้งแบบ screen และoffset แบบ offset ทั้งแบบทัscreen และ แบบ สวนสินสควานสิ วัสนดุคนาวัั้นสมีดุบนร�ั้นกมีารบร�การ พิมพ screen แตงและอื กาว่นและอื ๆ ทุตกภัผลิ หมึกพิมหมึ พ กscreen สารเติมสารเติ แตง มกาว ๆ ทุก่นผลิ ณตฑภัณฑ ของ Artdeco บสิ่งอแวดล ของ Artdeco เปนมิตเป รกันบมิสิต่งรกั แวดล ม อม
FU FUJI บร�ษบร� ัท ษฟูัทจ ชั่น โซลูโซลู ชั่นสำ TX Series เปน่อเคร� พสบำหรั บงานอุ ตสาหกรรม PostekPostek TX Series เปนเคร� งพิ่อมงพิ พสมำหรั งานอุ ตสาหกรรม หากค ณม ความละเอี ง สามารถเลื อกความละเอี นี้ : 203 ความละเอี ยดสูงยดสู สามารถเลื อกความละเอี ยดไดยดดได ังนีด้ :ัง203 DPI DPI หากคุ มองหร ไดความเร็ /ว�น300 าที 300 DPIความเร็ ไดความเร็ นิ้วน/ว� ไดความเร็ วที่ 10วทีนิ่ 10 ้ว/ว�นิน้วาที DPI ได วที่ 8วทีนิ่ ้ว8/ว� าทีนาที มองหาธุ ในตลา ในตลาดจ 600ไดDPI ไดความเร็ าทีวหน วยประมวลผล หร�อ หร� 600อ DPI ความเร็ วที่ 4วทีนิ่ ้ว4/ว�นิ้วน/ว� าทีนหน ยประมวลผล ขอเช� ญ ขอเช� ญแว ของเคร� อ ่ งพิ ม พ ใ ช CPU ARM ความเร็ ว ที ่ 32 Bit มี ห น า จอ LCD ของเคร�่องพิมพใช CPU ARM ความเร็วที่ 32 Bit มีหนาจอ LCD แสดงผลได ึง 2 บรรทั ดำเนิดำเนิ นธุรน แสดงผลได ถึง 2ถบรรทั ด ด มองเห มองเห็ นโ เพราะ เพราะธุ รก Fuji Fuji XeroXe ที่จนะเป ที่จะเป ค ของค ของคุ ณต
C.G.S. (THAILAND) C.G.S. (THAILAND) CO CO LTDLTD .เอส. (ประเทศไทย) นผูจัดาจำหน นคาและบร� ารชั้นนำ ซ�.จ�.เอส.ซ�.จ�(ประเทศไทย) เปนผูจเป ัดจำหน ยสินคายสิ าและบร� การชั้นกนำ ่มคุณภาพและประสิ ทธ�ภาพในการทำงานแบบครบวงจร เพื่อเพิ่มเพืคุ่อณเพิภาพและประสิ ทธ�ภาพในการทำงานแบบครบวงจร แกอุตสาหกรรมการพิ มพและบรรจ� ัณฑในประเทศไทย ใหแกอุตใหสาหกรรมการพิ มพและบรรจ� ภัณฑใภนประเทศไทย เรามีคนวามยิ นดีนำเสนอสิ เรามีความยิ ดีนำเสนอสิ นคาดังนนีค้ าดังนี้
CREATION MACHINERY GL CREATION MACHINERY GLOB CORPORATION LIMITED MA CORPORATION LIMITED MAC ผูจาำหน งจั่ทกันรทีสมั่ทยันสมั อุปกรณ และอะไหล สำหรั ผูจำหน ยเคร�ายเคร� ่องจัก่อรที อุปยกรณ และอะไหล สำหรั บ บ บร�ษบร� ัท ษโกัท อุตสาหกรรมการพิ ่รูจักในวงการ ร�การการติ เราเป อุตสาหกรรมการพิ มพทมี่เปพนททีี่เป่รูจนักทีในวงการ ใหบร�ใหกบารการติ ดตั้งดตั้ง เราเป นบรน และการบร� การหลั งการขายโดยที มงานช างเทคนิ คและว� ศวกร ตางๆ และการบร� การหลั งการขายโดยที มงานช างเทคนิ คและว� ศวกร ตางๆ ที่ใช ที่มีความรู และประสบการณ งๆ มาจากผู นิตยส ไฟฟาไฟฟ ที่มีคาวามรู และประสบการณ ผลิตผลิ ภัณตฑภัตณาฑงๆตามาจากผู ผลิตผลิต นิตยสาร จากประเทศในยุ โรปและเอเช� ยซ�น่งทีเป่รนูจทีัก่รกัูจนักทักั่วนโลก ทั่วโลก น KOMORI ผานการฝ ผานก จากประเทศในยุ โรปและเอเช� ยซ�่งเป เชน เชKOMORI CHAMBON, ROTATEK, PERFECTA, GOLDEN TEC, CHAMBON, ROTATEK, PERFECTA, GOLDEN TEC, เกี่ยเกี วกั่ยบวก ก GUOWANG, INOTECH, PURPLE MAGNA, COSMOTECH, GUOWANG, INOTECH, PURPLE MAGNA, COSMOTECH, และสัและสั ่งซ�้อ่ง JINBAO, YOCO-NIKKO, RILECART, FUJIKURA, ของส JINBAO, YOCO-NIKKO, RILECART, FUJIKURA, PCSPCS ของสิ นค อีกมากมาย และอื่นและอื ๆ อี่นกๆมากมาย GBCGBC CO CON CONTRO ตภ ผลิตผลิ ภัณ และเป และเปนมิต ภายใต ภายใต แบ “GGM “GGM”
• การทำตนแบบบรรจ�ภัณฑระบบกอนพิมพ • การทำตนแบบบรรจ�ภัณฑระบบกอนพิมพ และ CTP สำหรับแมพิมพโฟโตพอลิเมอร และ CTP สำหรับแมพิมพโฟโตพอลิเมอร EskoArtwork EskoArtwork • แมพิมพโฟโตพอลิเมอร FlintGroup • แมพิมพโฟโตพอลิเมอร FlintGroup • ระบบการผสมหมึกพิมพสีพิเศษจาก • ระบบการผสมหมึกพิมพสีพิเศษจาก EasyDoser, IGT และ Ink Formulation EasyDoser, IGT และ Ink Formulation • กลองสแกนภาพสามมิติเพื่อตรวจแมพิมพ • กลองสแกนภาพสามมิติเพื่อตรวจแมพิมพ โฟโตพอลิเมอรอะนิล็อกซโมกราเว�ยร โฟโตพอลิเมอรอะนิล็อกซโมกราเว�ยร Troika Systems Troika Systems • เคร�่องพิมพดิจ�ทัลสำหรับฉลากจำนวนนอย • เคร�่องพิมพดิจ�ทัลสำหรับฉลากจำนวนนอย QuickLabel Systems QuickLabel Systems • ระบบบรรจ�สินคาลงกลองปดผนึก • ระบบบรรจ�สินคาลงกลองปดผนึก และลำเลียงสินคาลงพาเลทจาก Schneider และลำเลียงสินคาลงพาเลทจาก Schneider และ Econocorp และ Econocorp • การฝกอบรมจาก C.G.S. Academy • การฝกอบรมจาก C.G.S. Academy
74-81_m14.indd 76
DUPL DU ดูโปร .. เร ดูโปร ดวยผลิ ต ดวยผ สำเนา ระ สำเนา งานพิ มพ งานพ เคร�เคร� ่องเย็ ่องบ เอกสาร/ เอกสา อยาอย งลึากง ที่เกีที่ย่เวข กี่ยอว ของดู โปร ของด ผลิตผลิ ภัณ ตภ ใชงานง าย ใชงาน บำรุบำรุ งรักงษร เพื่อเพืให่อตใหอ ตอความ ตอคว ของผู ใชอ ของผ
27/8/2554 5:18
อน ลาย ากหลาย คัญ ญ นสำคั สีบบสี หรับ าร อกสาร ร�ษัท ของ ของ ทีมพ ่มี ที่มี
DTD
ี่ ที่ ตัยู้งทอยู ตอนการ การ ร ม หีรจ� บหหอีบ,หอ, ลงลั ง, ง,
และนำส นำส ง ง
DUPLO (THAILAND) DUPLO (THAILAND)LIMITED LIMITED ดูโปร .. เราเข า ใจถึ ง ศั ก ยภาพแห ง งานพิ มพมอพยอายงแท จร�จงร�ง ดูโปร .. เราเขาใจถึงศักยภาพแหงงานพิ างแท ดวยผลิ ตภัณ งสำหรั บงานพิ มพมพ(เคร� ่องพิ มพมพ ดวยผลิ ตภัฑณทฑี่มทีศี่มักีศยภาพสู ักยภาพสู งสำหรั บงานพิ (เคร� ่องพิ สำเนา ระบบดิ จ�ตอล) และเคร� ่องที ่สมบู รณรณ แบบสำหรั บใชบหใชลัหงลัง สำเนา ระบบดิ จ�ตอล) และเคร� ่องที ่สมบู แบบสำหรั งานพิ มพมอาทิ เชนเชเคร� ่องเร� ยงเอกสาร ่องพั บกระดาษ งานพิ พ อาทิ น เคร� ่องเร� ยงเอกสารเคร�เคร� ่องพั บกระดาษ เคร�เคร� ่องเย็ บกระดาษ ่องเข าเลามเล(แบบสั นกาว) ่องตั ดด ่องเย็ บกระดาษเคร�เคร� ่องเข ม (แบบสั นกาว)เคร�เคร� ่องตั เอกสาร/ตั ดนามบั ตรตฯลฯ ดูโปร ไดทไดุมทเทค นคว าว�าจว�ัยจและเข าใจาใจ เอกสาร/ตั ดนามบั ร ฯลฯ ดูโปร ุมเทค นคว ัยและเข อยาอย งลึากงลึซ�้งกถึซ�ง้ งามพิ มพมเอกสาร รวมทั ้งอุ้งปอุกรณ /เคร� ่อง่อง ถึงงามพิ พเอกสาร รวมทั ปกรณ /เคร� ที่เกีที่ย่เวข มพมทพั้งหมดมาเป นเวลานาน ผลิผตลิภัตณ ฑ ฑ กี่ยอวขงกัอบงกังานพิ บงานพิ ทั้งหมดมาเป นเวลานานทำให ทำให ภัณ ของดู โปรตอบสนองความต องการได ทุกทรูุกปรูแบบ นน ของดู โปรตอบสนองความต องการได ปแบบและเป และเป ผลิตผลิ ภัณ ตภัฑณที่มฑีคทวามคงทน ี่มีความคงทน ใชงานง าย าไมยยไมุงยากในการ ใชงานง ยุงยากในการ บำรุบำรุ งรักงษา รักษา เพื่อเพืให่อตใหอบสนอง ตอบสนอง ตอความต องการ ตอความต องการ ของผู ใชอใยชอางสู สุดงสุด ของผู ยางงสู FERROSTAAL FERROSTAAL(THAILAND) (THAILAND)CO COLTD LTD แฟโรสตั ลคือลคืผูอใหผูบใหร�กบร�ารทางด านอุ ตสาหกรรม กงานใหญ แฟโรสตั การทางด านอุ ตสาหกรรมสำนั สำนั กงานใหญ อยูทอยู ี่เมืทอี่เงเอสเซ็ นประเทศเยอรมนี ในประเทศไทยแฟโรสตั ลคืลอคือ มืองเอสเซ็ นประเทศเยอรมนี ในประเทศไทยแฟโรสตั ผูนดำจัจำหน ดจำหน ายเคร� กรและอุ ปกรณ ั้นนำสำหรั ผูนำจั ายเคร� ่องจั่อกงจัรและอุ ปกรณ ชั้นชนำสำหรั บบ อุตสาหกรรมการพิ และบรรจ� จของเราครอบคลุ อุตสาหกรรมการพิ มพมแพ ละบรรจ� ภัณภฑัณธุฑรธุกิรจกิของเราครอบคลุ มม กระบวนการพิ พในทุ ้นตอนตั ุปกรณ และระบบก อนพิ กระบวนการพิ มพมในทุ กขัก้นขัตอนตั ้งแต้งแต อุปอกรณ และระบบก อนพิ มพมพ ิจ�ตอล ่องพิ และเคร� ่องหลั เราเป เคร�เคร� ่องพิ่อมงพิพมดพิจ�ตดอล เคร�เคร� ่องพิ มพมพ และเคร� ่องหลั งพิงมพิพมพเราเป นน ตัวแทนผู ูจักนเปอย นอย ตัวแทนผู ผลิผตทีลิต่รูจทีัก่รเป างดีางดี น โกดั ก เอชพี โคโมร� เชนเชโกดั ก เอชพี โคโมร� โวเลนเบอร ก เมคคาโนเทคนิ โวเลนเบอร ก เมคคาโนเทคนิ กากา โอ คอนติ -แอร และอื เอ็มเอ็ บีโมอบีคอนติ -แอร และอื ่นๆ่นๆ อีกมากมาย พบกั อีกมากมาย พบกั นทีน่บทีูธ่บูธ แฟโรสตั สัมสผัส แฟโรสตั ลเพืล่อเพืสั่อมผั ประสบการณ ทางนวั ตกรรม ประสบการณ ทางนวั ตกรรม ที่แปลกใหม ที่แปลกใหม
GRAPHPACK GRAPHPACK CO CO LTD LTD บร�บร�ษทัษทั กราฟแพค จำกั ด A Print กราฟแพค จำกัด A PrintFinishing Finishing Equipment Equipment Company จำหน จำหนายอุ ายอุปปกรณ กรณหหลัลังงพิพิมมพพคคุณุณภาพสู ภาพสูงง พร พรออมที มทีมมงานที งานที่มีความรู และประสบการณ และประสบการณ
LARGE FORMAT FORMAT LARGE SYSTEMS CO LTD LTD SYSTEMS CO บร�ษทั ลาร ลารจจ ฟอร ฟอรแแม็ม็ททซ�ซ�สสเต็เต็มมสสจำกั จำกัดดนำเสนอเคร� นำเสนอเคร�อ่ อ่ งพิงพิมพมพ ภาพสูงงสำหรั สำหรับบเทรนงานพิ เทรนงานพิมมพพในอนาคต ในอนาคตเคร� เคร�อ่ อ่ ง งDilli DilliNeo Neo คุณภาพสู Titan Series Series UV-Curable UV-Curableink inkPrinter Printerคืคืออเคร� เคร�อ่ อ่ งคุงคุณณภาพสู ภาพสูง ง จากเกาหลี ในราคาเร� ในราคาเร�ม่ ม่ ตตนนเพีเพียยงง22ลลาานกว นกวาาเปเปนนเคร� เคร�อ่ อ่ งทีงทีใ่ ชใ่ ช จากเกาหลี ลเคร�อ่ อ่ งง งงาายย มีมีดดว ว ยกั ยกันน88รุรุน น รุรุน น ทีทีน่ น่ า สนใจสำหรั า สนใจสำหรับตลาด บตลาด และดูแลเคร� งไทยไดแแกก 1606WS 1606WSกักับบ1606VS 1606VSทัทัง้ สองรุ ง้ สองรุน นนีส้นีามารถ ส้ ามารถ ในเมืองไทยได นวัสสดุดุไไดดหหลากหลายทั ลากหลายทัง้ ง้ ชนิ ชนิดดมมววนและชนิ นและชนิดดแผแผนนไดไดแกแก พิมพบบนวั อรดด,, พีพีววซ� ซ� บ� บ� อร อรดด, ,พลาสติ พลาสติกกบอร บอรดด, ,อะคิ อะคิลลกิ กิ , พลาสวู , พลาสวูด,ด, พีพบี อร โฟมบอรดด,, ไมไม,, ไมไมออดั ดั , ,ไมไมเอ็เอ็มมดีดีเอฟ, เอฟ,ยางดิ ยางดิบบ, ,หนัหนังเที งเทียม, ยม,กระจก, กระจก, โฟมบอร เหล็กก,, สเต็ สเต็นนเลส, เลส,หิหินน, ,แผ แผนนอลู อลูมมเิ นีเิ นียยม,ม,แผแผนนแมแมเหล็ เหล็ก,ก, กระเบือ้ อง,ง, เหล็ แบนเนอรไไวนิ วนิลล, ,ผผาา, ,แคนวาส, แคนวาส,สติ สติกกเกอร เกอร, กระดาษ , กระดาษ ฟลม , แบนเนอร กระดาษโฟโต, , กระดาษอาร กระดาษอารตต, , พีพ,ี กระดาษโฟโต กระดาษปอนด,, กระดาษกล กระดาษกลออง,ง, กระดาษปอนด กระดาษลูกกฟูฟูกก ฯลฯ ฯลฯ สามารถ สามารถ กระดาษลู ไดททเ่ี เ่ีบอร บอร 02-930-0111 02-930-0111 ติดตออได www.dilli.co.kr www.dilli.co.kr
OJILA L OJI “โอจ� เลเบ “โอจ� เลเบล ซ�่งซ�เป่งเป นทีน่ยทีอ่ย และกระด และกระดาษ อผลิ หร�หร� อผลิ ตต วยประท ดวดยประสิ
HEIDELBERG HEIDELBERG GRAPHICS GRAPHICS (THAILAND) (THAILAND) LTD LTD
LINE O O MATIC MATIC GRAPHIC GRAPHIC LINE INDUSTRIES INDUSTRIES
PMCL PMC MAT MATE
งเทคโนโลยีดดาานการพิ นการพิมมพพดดววยประสบการณ ยประสบการณที่ยาวนาน ที่สทีุด่สุดแหแหงเทคโนโลยี 100ปปไฮเดลเบิ ไฮเดลเบิรรกกจ�จ�งงกกาาวล้ วล้ำำดดววยความรู ยความรู ความเช� ความเช�่ยวชาญ กวกวา า100 านการพิมมพพและเพื และเพื่อ่อสร สราางความแข็ งความแข็งงแกร แกรงงใหใหกกับับอุอุตสาหกรรม ดาดนการพิ การพิมมพพในประเทศไทย ในประเทศไทยในฐานะผู ในฐานะผูนนำโซลู ำโซลูชชั่นั่นสสกกราฟฟ ราฟฟคสอารต การพิ ระดับบโลก โลกไฮเดลเบิ ไฮเดลเบิรรกกจ�จ�งงตัตัดดสิสินนใจเข ใจเขาารรววมงานแสดงสิ มงานแสดงสินคา ระดั PACKPRINT PRINTINETERNATIONAL INETERNATIONAL2011 2011 ในป ในปนนี้ ี้ เพื เพื่อ่อนำเสนอ PACK โซลูชั่นชั่นสสและนวั และนวัตตกรรมล กรรมลาาสุสุดดดดาานการพิ นการพิมมพพซซ�่ง�่งจะตอบโจทย จะตอบโจทยธุรกิจ โซลู การพิมมพพออยยางครบวงจร างครบวงจรโดยจะเน โดยจะเนนนดดาานประสิ นประสิททธ�ธ�ภภาพ การพิ มาตรฐานในการผลิตตลดเวลาการตั ลดเวลาการตั้ง้งเคร� เคร�่อ่องง และคุ และคุณภาพ มาตรฐานในการผลิ งานพิมมพพทที่ดี่ดเยีีเยี่ย่ยมสม่ มสม่ำำเสมอตลอดการพิ เสมอตลอดการพิมมพพงงาน าน งานพิ
Line OO Matic บบ Matic Graphic GraphicIndustries Industriesเปเปนนผูผูผผลิลิตตเคร� เคร�่อ่องจังจักรสำหรั กรสำหรั การผลิ การผลิตตหนั หนังงสืสือออัอัตตโนมั โนมัตติอิอยยาางเต็ งเต็มมรูรูปปแบบ แบบเคร� เคร�่อ่องดึงดึงมงวมนป วนปอนอน แผนอัตตโนมั โนมัตติ ิ เคร� เคร�่อ่องนั งนับบและเคร� และเคร�่อ่องพั งพับบอัอัตตโนมั โนมัตติ เคร� ิ เคร�่อ่องตังตัดด กระดาษขนาด กระดาษขนาด A4 A4 // A3 A3//folio folioพร พรออมห มหออเขเขาร�ามร�มอัอัตตโนมั โนมัติติ รวมไปถึ รวมไปถึงงเคร� เคร�่อ่องผลิ งผลิตตหนั หนังงสืสืออแบบอื แบบอื่น่นๆๆ
ผูน ผูำในการ น ำในกา สติสติ กเกอร กเกอ) ออฟเซต ออฟเซตเล มีสมีนิ สคนิ าคใหาเให ล งานฉลากม งานฉลาก
MULLER MULLER MARTINI MARTINI (THAILAND) (THAILAND) CO CO LTD LTD เคร�่องเย็ งเย็บบหนั หนังงสืสืออ (เก็ (เก็บบ-เย็ -เย็บบ-ตั-ตัดด) )ของมู ของมูลลเลอร เลอรมาร มารตตินีินี รุน Presto Presto A90 A90 มีมีคคุณ ุณลัลักกษณะเด ษณะเดนนตตาางๆงๆดัดังนีงนี้ :้ :
RICOH RICO
- Aristo - Aristo: เคร� : เคร�่อ่องตังตัดดกลกลอองลูงลูกกฟูฟูกกInkjet Inkjetสติ สติกกเกอร เกอร - Petratto - Petratto: เคร� : เคร�่อ่องปะ งปะCDCDกล กลอองงซอง ซอง - Zechini : เคร� อ ่ งทำปกแข็ ง Children book - Zechini : เคร�่องทำปกแข็ง Children book - Kisun - Kisun: เคร� : เคร�่อ่องอาบ งอาบUVUVเคร� เคร�่อ่องทำโฟโต งทำโฟโตบบุคุค - i.Thermal - i.Thermalฟฟลมลและเคร� มและเคร�่อ่องลามิ งลามิเนต เนต - Onglematic - Onglematic: เคร� : เคร�่อ่องตังตัดดIndex Index - Stago - Stago: เคร� : เคร�่อ่องเย็ งเย็บบเจาะ เจาะตัตัดดมุมุมม
แวะชมรายละเอี แวะชมรายละเอียยดเพิ ดเพิ่ม่มเติเติมมไดไดทที่ ี่www.graphpack.co.th www.graphpack.co.th
applyingquality qualitystandards. standards. ininapplying
FUJI XEROX(THAILAND) (THAILAND)CO COLTD LTD FUJI XEROX ร็อกซ (ประเทศไทย) นบร� ่นำเสนอ บร�ษบร� ัท ษฟูัทจ�ฟูซ�จร� ็อซ�กซ (ประเทศไทย) จำกัจำกั ด ดเปนเปบร� ษัทษทีัท่นทีำเสนอ ชั่นสำหรั บการทำธุ วยแท �ตอลพร� โซลูโซลู ชั่นสำหรั บการทำธุ รกิรจกิสิจ่งสิพิ่งมพิพมดพวดยแท นพินมพิพมดพิจด�ติจอลพร� ้นท้นท กรรม ม หากคุ ณมองหาโอกาสในการขยายธุ ของคุ ณมองหาโอกาสในการขยายธุ รกิรจกิสิจ่งสิพิ่งมพิพมขพองคุ ณณหร�หร� ออ 3203 DPI DPI หากคุ มองหาธุ ร กิ จ ที ม ่ แ ี นวโน ม การเติ บ โตอย า งต อ เนื อ ่ งและมี ค แ ู ข ง ขัน มองหาธุ ร กิ จ ที ม ่ แ ี นวโน ม การเติ บ โตอย า งต อ เนื อ ่ งและมี ค แ ู ข ง ขั น นิ ว ้ /ว� น าที /ว�นาที ในตลาดจำนวนไม ในตลาดจำนวนไม มากมาก วลผล ผล ญแวะที ูธ Fuji Xeroxตลอดระยะเวลา ตลอดระยะเวลา4444ปขปองการ ของการ ญแวะที ่บูธ ่บFuji Xerox นอาจอ LCDLCD ขอเช�ขอเช� กิจในเมื องไทย เรามี ่ยวชาญที วยให คุณ ดำเนิดำเนิ นธุรนกิธุจรในเมื องไทย เรามี ทีมทผูีมเช�ผู่ยเช�วชาญที ่จะช่จวะชยให คุณ มองเห็ นโอกาสทางการลงทุ นอย ดเจนยิ มองเห็ นโอกาสทางการลงทุ นอย างชัางชั ดเจนยิ ่งข�่ง้นข�้น เพราะธุ กิจการพิ วยเคร� ่องพิ �ตอลไม ่องพิ เพราะธุ รกิจรการพิ มพมดพวดยเคร� ่องพิ มพมดพิจด�ติจอลไม ใชแใชคแเคคร�เคร� ่องพิ มพมพ Xerox เราให ำสัญา ญญา Fuji Fuji Xerox เราให คำสัคญ ที่จนะเป ที่จะเป คูคนาคูทีค่ดาทีีท่ดี่สีทุดี่สุด ของคุ ณตลอดไป ของคุ ณตลอดไป
HENKEL(THAILAND) (THAILAND) LTD LTD HENKEL ภัณฑใฑนกลุ ในกลุมมอุอุตตสาหกรรมบรรจ� สาหกรรมบรรจ�ภภัณัณฑฑทที่จี่จะนำไปจั ะนำไปจัดดแสดงในงาน แสดงในงาน ผลิผลิตภัตณ PackPrint Print 2011 2011ในครั ในครั้ง้งนีนี้ คื้ คืออกลุ กลุมมผลิ ผลิตตภัภัณณฑฑบบรรจ� รรจ�ภภัณ ัณฑและการพิมพ Pack สำหรับกลุ บกลุมผลิ มผลิตตภัภัณณฑฑบบรรจ� รรจ�ภภัณัณฑฑไดไดแแกกสิสินนคคาาในกลุ ในกลุมม Adhesin® Adhesin® และ สำหรั Aerobond® ซ�่งซ�เป ่งเปนนผลิ ผลิตตภัภัณณฑฑทที่ผี่ผลิลิตตข�ข�้น้นโดยใช โดยใชเเทคโนโลยี ทคโนโลยีขั้นสูงและมี Aerobond® คุณภาพดี ภาพดีเหมาะสำหรั เหมาะสำหรับบงานลามิ งานลามิเนตกล เนตกลอองกระดาษลู งกระดาษลูกกฟูฟูกก และงาน คุณ ลามิเนตทั เนตทั่วไป ่วไปเปเปนนเทคโนโลยี เทคโนโลยีทที่ชี่ชววยประหยั ยประหยัดดกาวที กาวที่ใ่ใชช ลดป ลดปญหาการ ลามิ าของกาวและเพิ และเพิ่ม่มคุคุณณสมบั สมบัตติในการยึ ิในการยึดดติติดดไดไดดดียียิ่งิ่งข�ข�้น้น สุสุดดททาายย แหแหงตังวตัชวาชของกาว ำหรับบงานสิ งานสิ่ง่งพิพิมมพพทีที่จ่จะนำไปเป ะนำไปเปดดตัตัววในงานครั ในงานครั้ง้งนีนี้ ้ คืคืออ ไดไดแกแผกผลิตลิตภัภัณณฑฑสสำหรั ภัณฑใฑนกลุ ในกลุมมPURmelt PURmelt เปเปนนผลิ ผลิตตภัภัณณฑฑทที่ผี่ผลิลิตตข�ข�้น้นโดยใช โดยใชเเทคโนโลยี ทคโนโลยี ผลิผลิตภัตณ PerfectBook Bookbinding binding มีมีคคุณ ุณสมบั สมบัตติเิเหมาะสำหรั หมาะสำหรับบ ขั้นขัสู้นงสูงหร�หร�ออทีที่เร�่เยร�ยกวกวา า Perfect การติดสัดนสัหนั นหนังสืงสืออการติ การติดดกระดาษที กระดาษที่ต่ติดิดคคออนข นขาางยาก งยาก มีมีคความยื วามยืดดหยุ หยุนน การติ coatingweight weightต่ต่ำำเหมาะเป เหมาะเปนนอย อยาางยิ งยิ่ง่งสำหรั สำหรับบงานหนั งานหนังงสืสืออ ตัวตัสูวงสูงใหใหcoating ตยสารที่มีค่มีความหนามากเป วามหนามากเปนนพิพิเศษ เศษ และที และที่ส่สำคั ำคัญ ญทีที่ส่สุดุด ยัยังงชชววยลดต ยลดตนนทุทุนน นิตนิยสารที การผลิตตใหใหกกับับลูลูกกคคา า การผลิ นอยางดี างดี ไดไดเปเนปอย
GLOBAL GRAPHIC GLOBAL GRAPHIC MACHINES COLTD LTD MACHINES CO ัท โกลบอล กราฟฟ ค แมชช� ส จำกั www.ggm-th.com บหรับ บร�ษบร� ัท ษโกลบอล กราฟฟ ค แมชช� นสนจำกั ด ดwww.ggm-th.com รการติ เราเป า และส งออก ่องจั และอุ ปกรณ รติดตั้งดตั้ง เราเป นบร�นษบร�ัทผูษัทนผูำเขนำเข า และส งออก เคร�เคร� ่องจั กรกวัรสวัดุสดุและอุ ปกรณ ว�กร ศวกร ตางๆ ่ใชในอุ ตสาหกรรม ้งในส วนของงานพิ ฉลาก ตางๆ ที่ใชทีในอุ ตสาหกรรม ทั้งทัในส วนของงานพิ มพมฉพลาก าจากผู นิตยสาร ง และบรรจ� ฑ โดยที มงานที ีประสบการณ กผู ผลิตผลิต นิตยสาร กลอกลง อและบรรจ� ภัณภฑัณโดยที มงานที ่มีป่มระสบการณ น KOMORI ผานการฝ ผานการฝ กอบรมจากโรงงานผู อมให คำปร� กษา OMORI กอบรมจากโรงงานผู ผลิผตลิตพรพร อมให คำปร� กษา เกี ย ่ วกั บ กระบวนการพิ ม พ และบร� ก ารติ ด ตั ง ้ เคร� อ ่ ง ซ อ มแซม เกี่ยวกับกระบวนการพิมพ และบร�การติดตั้งเคร�่อง ซอมแซม OTECH, ซ�้ออะไหล ทจากต างประเทศบร�บร� ัท โกลบอลฯเปเป วแทน CH, และสัและสั ่งซ�้อ่งอะไหล แทจแากต างประเทศ ษัทษโกลบอลฯ นตันวตัแทน ของสิ น ค า ภายใต แ บรนด ช น ้ ั นำ เช น KODAK, JBI WIRE-O®, ของสินคาภายใตแบรนดชั้นนำ เชน KODAK, JBI WIRE-O®, COSMO FILMS, TECHNOTRANSและและQ.I.Q.I.PRESS PRESS GBCGBC COSMO FILMS, TECHNOTRANS CONTROLS บร� ษ ท ั โกลบอลฯ ได ค ด ั สรร และนำเสนอ CONTROLS บร�ษัท โกลบอลฯ ไดคัดสรร และนำเสนอ ตภัฑณคุณ ฑคภาพ ุณภาพ ่อความสมดุ ลของสภาวะทางการพิ ผลิตผลิ ภัณ เพื่อเพืความสมดุ ลของสภาวะทางการพิ มพมพ และเป น มิ ต รกั บ สิ ง ่ แวดล อ ม และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ภายใต แบรนด ภายใต แบรนด “GGM” “GGM”
KAOYEH YEHMACHINE MACHINE KAO INDUSTRIAL CO INDUSTRIAL CO วยประสบการณกกววาา40 40ปปในการผลิ ในการผลิตตเคร� เคร�่อ่องตั งตัดด,, Kao Kao Yeh Yeh ดวดยประสบการณ นหนึ่งในผู ่งในผูนนำการผลิ ำการผลิตตเคร� เคร�่อ่องตั งตัดดจากประเทศไต จากประเทศไตหหวัวันน เช� เช�่ย่ยวชาญ วชาญ เปเปนหนึ ในการตัดดทีที่แม่แมนนยำ, ยำ,การม การมววน,น,การตั การตัดดความเร็ ความเร็ววสูสูงง ทีที่ม่มีกีการ าร ในการตั ออกแบบและสรางเคร� างเคร�่อ่องตั งตัดดมมววนด นดววยเทคโนโลยี ยเทคโนโลยี simplex simplex // ออกแบบและสร duplexsurface surfaceสำหรั สำหรับบกระดาษ กระดาษและ และ nonwoven nonwoven และเคร� และเคร�่อ่องง duplex ตั ด ม ว นเทคโนโลยี duplex center / surface สำหรั พลาสติกก ตัดมวนเทคโนโลยี duplex center / surface สำหรับบ พลาสติ มและแผนนฟอยล ฟอยล ฟฟลมลและแผ
74-81_m14.indd 77
-- หน หนาาจอควบคุ จอควบคุมมระบบสั ระบบสัมมผัผัสสงงาายต ยตออการใช การใชงาน งาน -- เปลี เปลี่ย่ยนงานได นงานไดรรวดเร็ วดเร็ววและแม และแมนนยำยำ -- ความเร็ ความเร็ววสูสูงงสุสุดด 9000 9000เลเลมม//ชม. ชม. -- เก็ เก็บบ-เย็ -เย็บบ-ตั -ตัดด ครอบคลุ ครอบคลุมมขนาดหนั ขนาดหนังงสืสืออทีที่ห่หลากหลาย ลากหลาย -- สามารถเพิ สามารถเพิ่ม่มเคร� เคร�่อ่องเก็ งเก็บบยกหนั ยกหนังงสืสืออไดไดถถึงึง1212ยกยก -- โครงสร โครงสราางเคร� งเคร�่อ่องที งที่แ่แข็ข็งงแรง แรงทนทาน ทนทาน -- ใชใชเเนืนื้อ้อทีที่ต่ติดิดตัตั้ง้งเคร� เคร�่อ่องน งนออยย -- มีมีออุปุปกรณ กรณคควบคุ วบคุมม คุคุณ ณภาพหลายแบบ ภาพหลายแบบ เพื เพื่อ่อเพิ เพิ่ม่มประสิ ประสิททธ�ธ�ภภาพ าพ การผลิ การผลิตต
NATIONWIDE NATIONWIDE CO CO LTD LTD บร� ษ ท ั เนชั น ่ ไวด จำกั ด บร�ษัท เนชั่นไวด จำกัด
Ricoh ProPro C9 Ricoh รองรั บงานระ รองรั บงาน ของเคร� อ ่ งมั ของเคร�่องล งานโรงพิ มพม งานโรงพิ งานงาน Persona Perso ดวดยความเร็ วยความว กระดาษหนาถ กระดาษหน กลักลั บหน าหลัาหง บหน ทั้งทัCREO แล ้ง CREO ซ�่งซ�Ricoh Pro ่ง Ricoh งานพิ มพมดพิจด�ต งานพิ ระดัระดั บโรงพิ มพ บโรงพ
RISO RISO บร�บร� ษัทษร�ัทโซร�โ( •• KONICA อกที ่คุม่คคุมาคา ความเร็ วสว KONICA MINOLTA MINOLTAเคร� เคร�่อ่องพิ งพิมมพพดดิจิจ�ต�ตอลสี อลสีระบบเลเซอร ระบบเลเซอรทางเลื ทางเลื อกที ความเร็ สำหรั ทธ�ทภธ�าพในการผลิ ตงาน สำหรับบ งานพิ งานพิมมพพอออนดี อนดีมมานด านดคคุณุณภาพสู ภาพสูงงเปเปยยมดมดวยประสิ วยประสิ ภาพในการผลิ ตงาน Pack Print Pack Pri พิพิมมพพแและ ละ ตัตัววเคร� เคร�่อ่องที งที่ค่คงทนแข็ งทนแข็งงแรง แรง งานอิงคเจ •• SCREEN ง งดวดยระบบ SCREEN เคร� เคร�่อ่องยิ งยิงงเพลท เพลทCtP CtPระบบเทอร ระบบเทอรมมัลัลประสิ ประสิทธ�ทภธ�าพสู ภาพสู วยระบบexternal external งานอิงค drum นยำสู ง งใหให คุณ ภาพ drum เทคโนโลยี เทคโนโลยีเฉพาะของ เฉพาะของSCREEN SCREENและหั และหัววเลเซอร เลเซอรที่มทีคี่มวามแม ีความแม นยำสู คุณ ภาพ เขาเขเลาม เลเจาะ มเจ เม็ เหมาะสำหร เม็ดดสกร� สกร�นน ทีที่ส่สวยและคมชั วยและคมชัดด เหมาะสำ •• XINGRAPHICS เพลท CtP ระบบเทอร ม ล ั ให ค ณ ุ ภาพงานพิ ม พ ท ส ่ ี ม่ ำ เสมอคงที ่ XINGRAPHICS เพลท CtP ระบบเทอรมัล ใหคุณภาพงานพิมพที่สม่ำเสมอคงที่ ลูกคาที่ตอ ลูกคาที่ต ประหยั ภาพเยี ่ยม่ยม ประหยัดดเวลาด เวลาดววยการสร ยการสราางภาพที งภาพที่ร่รวดเร็ วดเร็ววเพืเพื่อ่องานพิ งานพิมพมพคุณ คุณ ภาพเยี การประชุ ม •• DAY มพมทพุกทระบบ การประช DAY ผผาายางทางการพิ ยางทางการพิมมพพทที่มี่มีใหีใหเลืเลืออกหลากหลายสำหรั กหลากหลายสำหรับงานพิ บงานพิ ุกระบบ และทุ ก การใช ง าน เพื อ ่ คุ ณ ภาพงานพิ ม พ ส ง ู สุ ด ของอาจาร และทุกการใชงาน เพื่อคุณภาพงานพิมพสูงสุด ของอาจ •• VARN ลาลสุาดสุทีด่ททีัน่ทสมั ยย จากเอกสา VARN น้น้ำำยาสำหรั ยาสำหรับบงานพิ งานพิมมพพสร สราางสรรค งสรรคข�้นข�้นจากเทคโนโลยี จากเทคโนโลยี ันสมั จากเอก พรอมสรรพดวยผลิตภัณฑหลากหลายชนิด อาทิ น้ำยาฟาวเทน, น้ำยา เคร�เคร� ่องพิ มพ พรอมสรรพดวยผลิ ตภัณฑหลากหลายชนิ ด อาทิ ทำความสะอาด, น้ำยาทางการพิ มพอื่นๆ และแป งพนน้ำยาฟาวเทน, น้ำยา ่องพ มพนอดื่นวๆยคุและแป งพตนิความสมดุลยของหมึก ระบบพิ มพม •ทำความสะอาด, K+E หมึกพิมพน้ชำุดยาทางการพิ ออฟเซท โดดเด ณสมบั ระบบพิ • K+Eำที่ดหมึ พชุดออฟเซท และน้ ีเยี่ยกมพิมและการแห งตัวทีโดดเด ่รวดเร็นวดวยคุณสมบัติความสมดุลยของหมึก Comcolor และน้ำที่ดีเยี่ยม และการแหงตัวที่รวดเร็ว Comcol
27/8/2554 5:18
มพ Neo สูง ช ลาด ารถ ก ด, ระจก, ล็ก,
รสำหรับ นปอน ด มัติ
คุมคา ารผลิตงาน
บบ external ใหคุณภาพ
สมอคงที่
กระบบ
นสมัย า
องหมึก
OJI LABEL (THAILAND) LTD
SANKI MACHINERY CO LTD
“โอจ�เลเบล” เราผลิตสติ๊กเกอรคุณภาพสูงตามมาตรฐานญี่ปุน ซ�่งเปนที่ยอมรับจากผูใชทั่วโลก และเปนหนึ่งในกลุมผูผลิตเยื่อ และกระดาษครบวงจรชั้นนำของโลก เพื่อตอบสนองการออกแบบ หร�อผลิต สำหรับโรงพิมพระบบมวนและระบบแผน ดวยประสิทธ�ภาพสูงสุดและการบร�การดีเยี่ยมจากเรา
เคร�่องพิมพสติ๊กเกอรระบบโรตาร�่ ยี่หอ “SANKI” จากประเทศ ญี่ปุน รุน SMP-300 8 สี สวนประกอบที่สำคัญ เซอรโวมอเตอร แยกอิสระแตละหนวยพิมพ หนากวางกระดาษ 300 มม. ระยะพิมพสูงสุด 220 มม.( บางกรณีสูงสุด 290 มม.) หนวยระเบิดผิวพลาสติก, เวบไกด, หนวยอบแหงระบบยูว� 8 หนวย ระบบอินเว�ทเตอร หนวยปลอยมวนและกรอมวน ระบบลม, หนาจอสัมผัส ความเร็วสูง>>แมนยำสูง>>วางใจได
TAPES & INSULATED PRODUCTS CO LTD ผลิตภัณฑเทปกาวทุกประเภท เชน เทปกาว OPP, เทปกาว สองหนาที่เหมาะกับทุกอุตสาหกรรม ภายใตเบรนด TIPTAPE, GUMTREE และ ARMARK และยังเปนผูจัดจำหนายอยางเปน ทางการสำหรับผลิตภัณฑของ บร�ษัท LOHMANN GmbH & CO. KG. of Germany อีกทั้งยังเปนผูผลิตเทปกาวสองหนา สำหรับงานพิมพเฟล็กโซ
A
B
C
PMC LABEL MATERIALS CO LTD ผูน ำในการผลิต PSA label materials (ฉลากมีกาวในตัว หร�อ สติกเกอร) จำหนายสินคาคุณภาพทีใ่ ชเทคโนโลยีชน้ั สูงในกลุม ลูกคา ออฟเซต เล็ตเทอรเพรส โรทาร�่ เฟล็กเซอรและอืน่ ๆอีกมากมาย มีสนิ คาใหเลือกมากกวา 200 รายการ เราเปนผูเ ช�ย่ วชาญ งานฉลากมีกาวในตัว (สติกเกอร)
RICOH (THAILAND) LIMITED Ricoh Pro C901 Graphics Arts edition เคร�่องพิมพดิจ�ตอลสี ศักยภาพสูง รองรับงานระดับอุตสาหกรรมการผลิตที่มากกวาเคร�่องพิมพ ดวยคุณสมบัติ ของเคร�่องมัลติฟงกชั่น ทั้งการพิมพ การสแกน การทำสำเนา แตคุณภาพระดับ งานโรงพิมพ ตอบโจทยโซลูชั่นที่หลากหลาย ทั้งงานพิมพ PODs งาน Personalized หร�อจะเปนงานหนัก ๆ เชน งานพิมพระดับอุตสาหกรรม ดวยความเร็วที่เหนือกวา 90 หนาตอนาทีหร�อ 5,400 หนาตอชั่วโมง แมเปน กระดาษหนาถึง 300 แกรม แตคงคุณภาพงานสีสม่ำเสมอ พรอมพิมพงาน กลับหนาหลังในตัวโดยคงความเร็วการผลิตเทาเดิม มาพรอม Color Controller ทั้ง CREO และ EFI ใหคุณเลือกไดตามความคลองตัวในการทำงาน ซ�่ง Ricoh Pro C901 Graphics Arts edition นี้ถูกออกแบบเพื่อการทำธุรกิจ งานพิมพดิจ�ตอลอยางแทจร�ง ทนงานหนัก กำลังผลิตสูง และคุณภาพงาน ระดับโรงพิมพ
SANXIN PRINTING MACHINE MATERIAL (THAILAND) CO LTD บร�ษัทซันซ�นโฮลดิ้งส(ประเทศไทย) จำกัด เราเปนบร�ษัทที่ใหบร�การทางดาน เคร�่องจักรกลการพิมพและการบรรจ�ภัณฑ อุปกรณและวัสดุทางการพิมพ พรอมจัดโปรแกรมการวางแผนการลงทุนใหกับลูกคาในเวลาเดียวกัน เชนการ ผลิตผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต การเลือกอุปกรณ คาใชจาย โดยประมาณของการจัดซ�้อ ฯลฯ รวมถึงใหการบร�การฝกอบรมทางดาน เทคนิคหลังการขายและการซอมแซมและการบำรุงรักษาที่รวดเร็ว บร�ษัทเรามี ความมั่นคงเขมแข็งและมีประสบการณมามากกวา10ป ทางเรามีการจัดเก็บขอมูล ความตองการของตลาดและมีการสรางความสัมพันธความรวมมืออันดีกับโรงงาน ผลิตที่มีความเช�่อใจซ�่งกันและกัน ทำใหเรารูประสิทธ�ภาพการทำงานรวมถึงขอดี และขอเสียของแตละผลิตภัณฑเปนอยางดี ดังนั้นเราจ�งสามารถนำเสนอ ผลิตภัณฑที่มีคุณภาพดีที่สุดและรุนที่เหมาะสมตามความตองการของลูกคาใน ราคาที่ลูกคาพึงพอใจ
TECHNOLOGY 2004 CO LTD บร�ษัทเทคโนโลยี่ 2004 จำกัด เปนตัวแทนนำเขาเคร�่องจักร CNC จากหลาย ประเทศ อาทิเชน MultiCam จากอเมร�กา Mimaki จากญี่ปุน เปนตน - Router Machine สำหรับงานตัดงานประเภท ไม อะคร�ลิค พลาสวูด อลูมิเนียม ทองเหลือง และ ทองแดง มีความแมนยำและเคลื่อนที่ดวยความเร็วสูง - Plasma Machine สำหรับตัดงาน เหล็ก แสตนเลส ที่มีความหนา และตองการ ความเร็วในการตัดงาน - Laser Machine สำหรับตัดงานคุณภาพสูง มีใหเลือกตั้งแต 25-1,500 watt - WaterJet Machine เคร�่องตัดดวยน้ำแรงดันสูง เหมาะสำหรับงานหนามากๆ สามารถตัดทุกวัสดุ - เคร�่องตัดสติ๊กเกอร มีใหเลือกหลายรุน หลายขนาด ทางบร�ษัทฯ มีทีมชาง ชำนาญการไวคอยให คำปร�กษาและบร�การ กับลูกคาทุกทาน โดยทาง บร�ษัทยังคงยืนยันที่จะ นำเสนอเคร�่องที่มี คุณภาพและบร�การ หลังการขายที่ดีที่สุด ใหลูกคา
SATO AUTO-ID (THAILAND) CO LTD
TMP MEURER GRAPHIC GMBH
ซาโตผบู กุ เบิกและผูใ หบร�การชัน้ นำของโลกดานระบบระบุและจัดเก็บ ขอมูลอัตโนมัตทิ ใ่ี ชประโยชนจากเทคโนโลยีบารโคดและ เทคโนโลยี RFID ซาโตไดรบั การยอมรับและไววางใจเกีย่ วกับสมรรถณะของตัว ผลิตภัณฑ ซ�ง่ ผลิตภัณฑของเรานัน้ ไดครอบคลุมในทุกดาน เชน เคร�อ่ งพิมพบารโคดทัง้ แบบไดเรค และ เทอรมอล ทรานเฟอร, เคร�อ่ งพิมพ RFID, แท็ค, ระบบจัดเก็บขอมูล, อุปกรณเสร�ม เคร�อ่ งพิมพ, หมึกพิมพ, ลาเบลผลิตภัณฑ และบร�การใหคำปร�กษา เกีย่ วกับระบบบารโคด อีกทัง้ ยังมีโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับ อุตสาหกรรมตางๆ อีกดวย
TMP Meurer Graphic GmbH มีสโลแกนเฉพาะคือ "your direct link to German Printing Industry” หร�อ “เช�่อมโยงคุณโดยตรง ไปยังอุตสาหกรรมการพิมพของเยอรมนี" 14 ป ที่บร�ษัทฯ ไดจัดจำหนายอุปกรณการพิมพ offset คุณภาพชั้นเยี่ยมไปยัง 90 ประเทศทั่วโลก ทุกๆความตองการไดรับการแกไขโดย ความรูความชำนาญของ TMP ซ�่งเราไดทำงานรวมกับหุนสวน ที่มีช�่อเสียงและมีความชำนาญอยางใกลช�ดสำหรับทุกๆงาน ที่ตองการปรับปรุง TMP Meurer ใหบร�การตั้งแตการจัดซ�้อ ใหคำปร�กษา และแผนงานขาย รวมไปถึงการเง�น
label design software, and thermal transfer ribbons.
RISO (THAILAND) LIMITED บร�ษัทร�โซ (ประเทศไทย) จำกัดผูนำเขาเคร�่องพิมพอิงคเจ็ตสี ความเร็วสูงจากประเทศญี่ปุนไดนำสินคารุนลาสุดมาแสดงในงาน Pack Print International 2011 รุนComcolor ซ�่งสามารถพิมพ งานอิงคเจ็ตสี่สีดวยความเร็วสูงสุด 150 แผนตอนาทีพรอมชุด เขาเลมเจาะรูเย็บมุงหลังคาตลอดจนการเย็บเอกสารเปนชุด เหมาะสำหรับงานพิมพจำนวนตั้งแต 1 สำเนาเปนตนไปสำหรับ ลูกคาที่ตองการงานพิมพสี่สีที่ราคาหมึกไมสูงเชนรายงาน การประชุมคูมือการใชงานตางๆรวมถึงเอกสารประกอบการสอน ของอาจารยที่ตองการแสดงสีสันเพื่อใหผูอานไดรับทราบขอมูล จากเอกสารนั้นๆอยางครบถวนเขาใจงายที่สำคัญหมึกของ เคร�่องพิมพ Comcolor เปนหมึกชนิดกันน้ำและมีตนทุนต่ำกวา ระบบพิมพจากเคร�่องพิมพดิจ�ตอลสีอื่นๆเช�ญชมเทคโนโลยี่ Comcolorไดที่บูธ RISO
SUZHOU OMAY OPTICAL MATERIAL CO LTD SUZHOU OMAY ผูนำในการผลิตแผนฟลมใส PC และพลาสติก แผน PC มีคุณสมบัติไมติดไฟ non-halogen, แบบไมติดไฟ และแบบทั่วๆไป ผลิตภัณฑทั้งหมดมีพื้นผิวและสีที่แตกตางกัน แผนฟลม PC ของ OMAY มีการรับรองจาก UL และ ROHS ครอบคลุมการใชงานที่หลากหลาย อาทิเชนการพิมพ, บรรจ�ภัณฑ, ปายช�่อ, เมมเบรน, จอ LCD, ฉนวนกันความรอน เปนตน
D
E
F
G
H
I
VT GRAPHIC CO LTD บร�ษทั ว�ที กราฟฟค จำกัด เปนผูแ ทนจำหนายเคร�อ่ งจักรหลัง การพิมพสำหรับอุตสาหกรรมการบรรจ�ภณ ั ฑภายใตแบรนด DGM® และ Tsai Yi® เรามีความเช�ย่ วชาญในการบรรจ�ภณ ั ฑ รวมไปถึงการใหบร�การทีด่ เี ยีย่ ม เราไมเพียงแตมที มี งานว�ศวกร ผูเ ช�ย่ วชาญเทานัน้ แตเรายังมีความรูค วามเขาใจในการออกแบบ บรรจ�ภณ ั ฑอกี ดวย โชวรมู ของเราตัง้ อยูใ จกลางเมืองใกลกบั ถนนพระราม 3 ซ�ง่ ลูกคาสามารถเขามาทดสอบการทำงานของ เคร�อ่ งจักรกอนทีจ่ ะตัดสินใจซ�อ้ ได เรารับประกันสินคา 3 ป ซ�ง่ รวมถึงการบำรุงรักษาตามระยะเวลา การฝกอบรมโดยไมเสีย คาใชจา ย(แมเมือ่ ทานมี การเปลีย่ นแปลงผูค วบคุม เคร�อ่ งจักร) และการทดสอบ/ ใชบร�การเคร�อ่ งในโชวรมู ของเรา
J K
L
74-81_m14.indd 78
27/8/2554 5:18
CO 3M A. A. Ad AIC An Ar Ar Ar As Be Be Be Be BP C. Ca Ca Ca Ch Cl Co Co Co CO Co Cr Da Da Di Di Du Du Du Ea Ec Ep Es Es Ex Fa FC Fe Fli Fu Fu FU G Ge Gl Go GO Go Gr GT Gu Ha He He He He Ho Eq HS Hu Hu i.T Ide IG Inf Ino Int IST Iw Ja Jin Ka Kia Kin Kis KL Ko Ko Ko KO Ko Ko Ko Ko Kr La Lin LIN Lin
กาว TAPE, งเปน mbH สองหนา
รายช�่อผูแสดงสินคา A
B
C
กหลาย
ด อลูมิเนียม ง ละตองการ
D
500 watt หนามากๆ
มีทีมชาง
our direct ณโดยตรง ษัทฯ ยมไปยัง ดย หุนสวน ๆงาน จัดซ�้อ
กรหลัง บรนด ภัณฑ ว�ศวกร ออกแบบ กลกบั านของ ป ดยไมเสีย
E
F
G
H
I
J K
L
COMPANY COUNTRY 3M USA A.B.C. Printing Materials (Thailand) Co Ltd Thailand A.J. Plast Public Company Limited Thailand Advanced Business Solutions And Services Co Ltd Thailand AICELLO (THAILAND) CO LTD Thailand Anilox Services Co Ltd Thailand Arets Asia Pte Ltd Singapore Aristo Graphic Systeme GmbH & Co KG Germany ArtDeco Creative And Investment Co Ltd Hong Kong Asia Package Industry Publishing Co Ltd Taiwan Becker Asia Pte Ltd Singapore Beijing Shengli Weiye Printing Machinery Co Ltd China Beijing Silkroad Legend International Exhibition Co Ltd China Beiren Printing Machinery Holdings Limited China BPS United Co Ltd Thailand C.G.S. (Thailand) Co Ltd Thailand Calbe Chemie GmbH Germany Canon Marketing (Thailand) Co Ltd Thailand Capric (Thailand) Co Ltd Thailand Chengdu Xingraphics Co Ltd China Clearpack (Thailand) Co Ltd Thailand ColorGATE GmbH Germany Computer Peripheral And Supplies Limited Thailand ContiTech Elastomer-Beschichtungen GmbH Germany COREMO OCMEA SPA Italy Cosmo Films USA Creation Machinery Corporation Limited Thailand Dainippon Screen MFG. Co Ltd Japan Day International Inc USA Diehard Dies Pvt Ltd India Dilli Precision Ind. Co Ltd South Korea Duplo (Thailand) Limited Thailand DuPont™ Sontara® USA Durst Phototechnik AG Italy EasyDoser Offset Ink Dispenser Netherlands Econocorp Inc USA Epson Japan EskoArtwork Belgium Esko-Graphics Pte Ltd Singapore Expert Industries Private Limited India Fawick Company USA FCI International Co Ltd Thailand Ferrostaal (Thailand) Co Ltd Thailand Flint Group Germany GmbH Germany Fuchu Shiko Co Ltd Japan Fuji Xerox (Thailand) Co Ltd Thailand FUJIKURA GRAPHICS Japan G & K Techmedia GmbH Germany Gerhard Busch GmbH Germany Global Graphic Machines Co Ltd Thailand Godex International Co Ltd Taiwan GOIZPER, S. COOP. Spain Golden Tec Machinery Co Ltd Taiwan Graphpack Co Ltd Thailand GTB Co Ltd Japan Guowang Machinery Co Ltd China Haosheng Printing Machinery Co Ltd China Heiber + Schröder Maschinenbau GmbH Germany Heidelberg Graphics (Thailand) Ltd Thailand Henkel (Thailand) Ltd Thailand Hewlett-Packard USA Hong Ei Printed Matter Machinery & Equipment (Thailand) Co Ltd Thailand HSA Systems ApS Denmark Hua Far Import Export Ltd Part Thailand Huayue Packaging Machinery Co Ltd China i.Thermal Laminating China & Thailand Ideamaker Technology Co Ltd Thailand IGT Testing Systems Netherlands Infomedia 18 Limited India Inotech Systems Ltd UK Inter Far East Engineering Public Company Limited Thailand IST METZ GmbH Germany Iwasaki International Inc. Japan James Burn International France Jinbao Screen Printing Machinery Co Ltd China Kao Yeh Machine Industrial Co Taiwan Kiatnakin Bank Public Company Limited Thailand Kinetic Engineering Co Ltd Thailand Kisun Co Ltd South Korea KL Corporation South Korea Kodak USA Kodak Graphic Communications Group USA Koenig & Bauer Group (Kba) Germany Germany KOLBUS GmbH & Co KG Komori Corporation Japan Komori-Chambon SAS France Konica Minolta Japan Konica Minolta Business Technologies, Inc Japan Krelus AG Switzerland Large Format Systems Co Ltd Thailand Line O Matic Graphic Industries India LINTEC BKK PTE LTD Thailand Linx Printing Technologies Ltd UK
74-81_m14.indd 79
COMPANY COUNTRY M Macsa ID, SA Spain Maepim Co Ltd Thailand Manugraph India Ltd India MBA International Co Ltd Thailand MBO Binder GmbH & Co KG Germany Meccanotecnica SpA Italy Merobel France Mimaki Engineering Co Ltd Japan Mitsubishi Heavy Industries Printing & Packaging Machinery, Ltd Japan Mitsubishi Paper Mills Limited Japan Muller Martini (Thailand) Co Ltd Thailand N Nagai Machine MFG. Co Ltd Japan Nationwide Co Ltd Thailand Nazdar Limited USA New Era Industrial Co Ltd China NEWLONG (THAILAND) LIMITED Thailand Niika Corp Taiwan Nikken Chemical Laboratory Co Ltd Japan N K Printing Technologies Co Ltd Thailand North India Printers’ Association India O Oji Label (Thailand) Ltd Thailand OMET SRL Italy Onglematic France P PBM Co Ltd Japan Perfecta Schneidemaschinenwerk GmbH Germany PERMA-FLEX CO LTD Thailand Petratto Srl Italy PMC Label Materials Co Ltd Thailand PPP International AG Switzerland Print & Publishing India Printer’s Magazine Taiwan Printing Review India PT Asia Ltd Thailand Q QuickLabel Systems USA Quote & Print Software Australia R R.I.K. (Thailand) Co Ltd Thailand RE SpA Italy Rich Inter Product Co Ltd Thailand Ricoh (Thailand) Limited Thailand Rilecart Srl Italy Riso (Thailand) Limited Thailand Roland Corporation Japan Rosback Company USA Rotary Technology Limited Partnership Thailand ROTATEK SA Spain RotoMetrics (SE Asia) Co Ltd Thailand Ruan Huawei Printing Machinery Co Ltd China S S.K.P. Interpack Co Ltd Thailand Sakurai Graphic Systems Corporation Japan SAM*INK. (Inkjet Systems Private Limited) Singapore Sanki Machinery Co Ltd Thailand Sanxin Printing Machine Material (Thailand) Co Ltd Thailand SATO Auto-ID (Thailand) Co Ltd Thailand SCG Paper PLC Thailand Schneider Packaging Equipment Co Inc USA Seethong 555 Co Ltd Thailand Seiko I Infotech Inc Japan Sericol Japan Limited Japan Shanghai Purple Magna Machinery Co Ltd China Shanghai Yoco Printing Machinery Co Ltd China Shenzhen JMD Machinery Corporation Limited China ShenZhen Runtianzhi image Technology Co Ltd China Sitma Italia PI Italy SM Graphic Center Co Ltd Thailand Smart Trade Publications Co Ltd Thailand STAGO GmbH Germany Suzhou Kingswood Printing Ink Co Ltd China Suzhou Omay Opitcal Material Co Ltd China T T.A.O. Bangkok Corporation Ltd Thailand Tapes & Insulated Products Co Ltd Thailand Technology 2004 Co Ltd Thailand Technology Media Co Ltd Thailand Technology Promotion Association (Thailand-Japan) Thailand Technotrans Technologies Pte Ltd Singapore Tecpress Services Ltd Part Thailand Ten Alps Communications Singapore TeroLab Surface Group SA Switzerland TEZ Industries Co Ltd Thailand Thai Nan Pao Resins Chemical Co Ltd Thailand Thai Trade & Industry Media Co Ltd Thailand TMP Meurer Graphic GmbH Germany Tokyo Wenhong Printing Machinery (ShenZhen) Co Ltd China Trio Trading Co Ltd Thailand Troika Systems Limited UK U Union TSL Limited Thailand V V Mount & Trim Co Ltd Thailand USA Varn Products Co Ltd VT Graphic Co Ltd Thailand W Wohlenberg Schneidesysteme GmbH Germany X X-Rite, Inc USA Y Yokohama Japan Yoshino Machinery Co Ltd Japan Z Zechini Gra.For Srl Italy Zhongshan Furey Printing Material Co Ltd China
27/8/2554 5:18
bebtettetresrs s e e n n i i s s u u b b bebyeoynodnd srs r e e d r d o r b o b
งานแสดงสินนคคาานานาชาติ นานาชาติ งานแสดงสิ ตสาหกรรมการพิมพ มพและการบรรจ� และการบรรจ�ภภัณ ัณฑฑ อุตอุสาหกรรมการพิ งเอเช�ยยครั ครั้ง้งทีที่ ่33 แหแหงเอเช�
งหาคม––33กักันนยายน ยายน 2554 2554 3131สิงสิหาคม
เม เ
ิทรรศการและการประชุมมไบเทค ไบเทคบางนา บางนา ศูนศูยนนยิทนรรศการและการประชุ งเทพฯประเทศไทย ประเทศไทย กรุกรุงเทพฯ
วงหน ยนล มลงทะเบี แบบฟอร าา วงหน ยนล มลงทะเบี แบบฟอร
นเขาชมงานผ านทางเว็ ไซตอหร� อทางแฟกซ โปรดกรอกรายละเอียดหร�อแนบนามบัตร* ลงทะเบีลงทะเบี ยนเขายชมงานผ านทางเว็ ยไซตยหร� ทางแฟกซ โปรดกรอกรายละเอียดหร�อแนบนามบัตร* ล ว งหน า วั น นี ้ ลุ น รั บ โอกาสเข า ชมงาน drupa คำนำหนาช�่อ นาย/นาง/นางสาว/ดอกเตอร/อื่นๆ (โปรดระบุ) : ________________________________________________________ ลวงหนาวันนี้ ลุนรับโอกาสเขาชมงาน drupa งานแสดงสินคาอุตสาหกรรมการพิมพที่ใหญที่สุดในโลก คำนำหนาช�่อ นาย/นาง/นางสาว/ดอกเตอร/อื่นๆ (โปรดระบุ) : ________________________________________________________ งานแสดงสินคาอุตสาหกรรมการพิมพที่ใหญที่สุดในโลก ช�่อ-นามสกุล: _______________________________________________________________________________________________________ ณ ประเทศเยอรมนี ช�่อ-นามสกุล: _______________________________________________________________________________________________________ โปรดข�ดเสนใตนามสกุล ณ ประเทศเยอรมนี โปรดข�ดเสนใตนามสกุล • โปรดกรอกแบบฟอรมทั้งหมด • โปรดกรอกแบบฟอร มทั้งหมด - ผูเขาชมงานจากประเทศไทย แฟกซมาที่ (66) 2204 2586-7 - ผูเขาชมงานจากประเทศไทย แฟกซมแฟกซ าที่ (66) 2586-7 - ผูเขาชมงานจากตางประเทศ มาที่ 2204 (65) 6337 4633 - ผูเข•าชมงานจากต า งประเทศ แฟกซ ม าที ่ (65) 6337 4633 ลงทะเบียนลวงหนาออนไลนที่ www.pack-print.de • ลงทะเบี ยนลวงหน หมายเหตุ : าออนไลนที่ www.pack-print.de หมายเหตุ : 1. กรุณาลงทะเบียนลวงหนากอนวันที่ 15 สิงหาคม 2554 1. กรุณ2.าลงทะเบี ยนล วงหนากอนวันที่ ม15นี้ หากต สิงหาคม 2554 สามารถถ ายเอกสารแบบฟอร องการแบบฟอร มเพิ่ม 2. สามารถถ า ยเอกสารแบบฟอร ม นี ้ หากต อ งการแบบฟอร มเพิ่ม 3. เปดรับสำหรับผูเขาชมงานเพื่อการคาเทานั้น 3. เปดรั4.บสำหรั เขาชมงานเพื ่อการคาเทานั้น การแตบงผูกาย: ชุดทำงาน 4. การแต ง กาย: ชุ ด ทำงาน 5. เวลาจัดแสดงงาน: 10.30 – 18.00 น. 5. เวลาจัดแสดงงาน: 10.30 – 18.00 น. โปรดระบุโดยใชเคร�่องหมาย () นเคยเข มงาน () โปรดระบุทาโดยใช เคร�าร่อวงหมาย PACK PRINT INTERNATIONAL 2009 หร�อไม? ทานเคยเข า ร ว มงาน [ ] เคยINTERNATIONAL [ ] ไมเคย 2009 หร�อไม? PACK PRINT [ ] เคยทานจะเข [ ]าชมงาน ไมเคย TIPREX 2011 ดวยใชหร�อไม [ ] ใช [ ] ไมใช ทานจะเขาชมงาน TIPREX 2011 ดวยใชหร�อไม [ ] ใช [ ] ไมใช
เกี่ยวกับบร�ษัท A. เกี่ยวกัประเภทของธุ บบร�ษัท รกิจ
[ ] 01 โรงงาน / ผูผลิต A. ประเภทของธุ จ าย / ตัวแทน [ ] 02 ผูจรัดกิจำหน [ ] 01 [โรงงาน ผลินตำเขาและสงออก/ ผูคาสง ] 03 ผู/คาผู/ผู [ ] 02 [ผูจ] ัด04จำหน ย / ตัวฐบาล แทน หนวายงานรั [ ] 03 [ผูค] า05/ผูผูนใำเข หบาร�และส การ งออก/ ผูคาสง [ ] 04 [หน] ว06ยงานรั บาล ) อื่นๆฐ(โปรดระบุ [ ] 05 ผูใหบร�การ ____________________________________________ [ ] 06 อื่นๆ (โปรดระบุ )
[ [ [ [ [ [
ตำแหนง: ______________________________________________________________________________________________________________ ตำแหนง: ______________________________________________________________________________________________________________ บร�ษัท: _______________________________________________________________________________________________________________ บร�ษัท: _______________________________________________________________________________________________________________ ที่อยู: _________________________________________________________________________________________________________ ที่อยู: _________________________________________________________________________________________________________ จังหวัด: ______________________________________ รหัสไปรษณีย: _____________________ ประเทศ:_______________________ จังหวัด: ______________________________________ รหัสไปรษณีย: _____________________ ประเทศ:_______________________ โทร:( ________ ) ( _________ ) ___________________________ มือถือ: (__________ ) _________________________________________ รหัสประเทศ - รหัสพื้นที่ รหัสประเทศ โทร:( ________ ) ( _________ ) ___________________________ มือถือ: ( __________ ) _________________________________________ รหั สประเทศ - รหั)ส(พื_________ ้นที่ สประเทศ แฟกซ :(________ ) __________________________ อีเมล: รหั_____________________________________________________ รหัสประเทศ - รหัสพื้นที่ แฟกซ:(________ ) ( _________ ) __________________________ อีเมล: _____________________________________________________ รหัสประเทศ - รหัสพื้นที่
[ ] 14 กระดาษ / เยื่อกระดาษ [ ]กระดาษ 15 พลาสติ ยาง ] 14 / เยืก่อและ กระดาษ [ ]พลาสติ 16 การพิ พ ยาง ] 15 ก มและ [ ]การพิ 17 ร�ไมซเคิ ] 16 พ ล่อสาร [ ] 18 การสื ] 17 ไซเคิอืล่นๆ (โปรดระบุ) [ ]ร�19 ] 18 การสื่อสาร ] 19 อื่นๆ ____________________________________________ (โปรดระบุ) ____________________________________________
เกี่ยวกับทาน เกี[A.่ย]งานหลั วกั บทกของท าน าน (กรุณาเลือกเพียง 1 ขอเทานั้น) 01 ผูบร�หารระดับสูง
C. โปรดระบุวัตถุประสงคของการรวมงาน (เลือกไดมากกวา 1 ขอ) ] 01 รวบรวมข มูลของงาน C.[ โปรดระบุ วัตถุปอระสงค ของการรวมงาน (เลือกไดมากกวา 1 ขอ) ] 02รวบรวมข เพื่อสั่งซ�้ออมูลของงาน [ [] 01 ความเป น ไปได ใ นการสั ่งซ�้อ [ ] 02 เพื่อ[ สั]่งทัซ�น้อที ความเป นไปได6ในการสั [ ] ภายใน เดือน ่งซ�้อ [ [] ทั] ภายใน นที 1 ป [ [] ภายใน เดือน ] ยังไมก6ำหนด ] ภายในวแทนจำหน 1 ป าย [ ] 03 [มองหาตั ] ยับงซัไมพกพลายเออร ำหนด [ ] 04 [พบกั [ [] 03 วแทนจำหน ] 05มองหาตั ประเมินการเพื ่อเขาราวยมงานในครั้งหนา [ [] 04 พพลายเออร ] 06พบกั อื่นๆบซั(โปรดระบุ ) [ ] 05 ประเมินการเพื่อเขารวมงานในครั้งหนา [ ] 06 อื่น____________________________________________ ๆ (โปรดระบุ)
A. งานหลั ของทาหนารทางเทคนิ (กรุณาเลือกเพี [ ] 02กการบร� ค ยง 1 ขอเทานั้น) [ ] 01 บร�ทีห่ปารระดั [ ]ผู03 ร�กษาบสูง D. คุณ____________________________________________ รูจักงานนี้ไดอยางไร? (เลือกไดมากกวา 1 ขอ) [ ] 02 ค มคุณภาพ [ ]การบร� 04 บำรุหงารทางเทคนิ รักษา / ควบคุ [ ] 01 หนังสือเช�ญจากผูจัดงาน [ ] 03 ่ปร�ว�กจษาัย / พัฒนา [ ]ที05 (เลือนกได D.[ คุ] ณ จักงงานนี ดอจากผู ยางไร? 02รูหนั สือเช�้ไญ แสดงสิ คามากกวา 1 ขอ) [ ]บำรุ 06 งจัรัดกซ�ษา ้อ / ควบคุมคุณภาพ [ ] 04 ] 03หนัหนังสืงอ สือเช�พิญมจากผู พ จัดงาน [ [] 01 [ ]ว�07 / ออกแบบ [ ] 05 จัยว�/ศวกร พัฒนา ] 04หนัรับงสืขาอวสารจากอี [ [] 02 เช�ญจากผูเแมล สดงสินคา [ ]จั08 ฝ้อายผลิต / โรงงาน [ ] 06 ด ซ� ] 05หนัสิง่ สืตีอพพิ ิมพมทพางการคา [ [] 03 B.____________________________________________ ลักษณะกิจการ [ ]ว�09 ฝายขายและการตลาด [ ] 07 ศวกร / ออกแบบ ] 06รับเพืข่อาวสารจากอี นรวมงาน /เมล สมาคมการคา [ [] 04 [ ] 01 ผูผลิตช�้นสวน อุปกรณ [ ]ฝ10 อื่นๆต (โปรดระบุ [ ] 08 ายผลิ / โรงงาน) [ ] 07 สมาคม [ ] 05 สิ ง ่ ตี พ ม ิ พ ท างการค า [ ] 02 ผู ผ ลิ ต รายใหญ OEM B. ลักษณะกิจการ [ ] 09 ฝายขายและการตลาด ] 08เพือิ่อนนร เตอร เน็ต / สมาคมการคา [ [] 06 วมงาน CMs [ ] 01 [ผูผ] ลิ03ตช�ผู้นรสับวจนางผลิ อุปตกรณ ____________________________________________ [ ] 10 อื่นๆ (โปรดระบุ) ] 09สมาคม อื่นๆ (โปรดระบุ) [ [] 07 ผูรับจางบรรจ� [ ] 02 [ผูผ] ลิ04ตรายใหญ OEM [ ] 05 ผู ผ ลิ ต สิ น ค า บร� โ ภค [ ] 08 อิ น เตอรเน็ต B. สิ____________________________________________ นคาที่สนใจ (เลือกไดมากกวา 1 ขอ) [ ] 03 ผูรับจางผลิต CMs นำเขา และ จัดจำหนายเคร�่องจักร [ ] 09 อื่น____________________________________________ ๆ (โปรดระบุ) B1 การบรรจ�ภัณฑ [ ] 04 [ผูร] ับ06จาผูงบรรจ� นการศึ [ ค]า01 เคร�่อ งจั กกได ร และอุ ปกรณ ก) ารบรรจ�ภัณฑ [ ] 05 [ผูผ] ลิ07ตสิสถาบั นคาบร� โภค กษา/ หนวยงานรัฐบาล E. คุณสนใจที่จะรับขอมูลเกี่ยวกับ (เลือกไดมากกวา 1 ขอ) (เลื อ ม ากกว า 1 ข อ B. สิ น ที ส ่ นใจ 08 าทีและ ่ปร�กจัษาดจำหนายเคร�่องจักร [ ] 02 วัสภดุัณ ตาฑงๆ วัตถุดิบในการผลิตบรรจ�ภัณฑ [ ] 06 [ผูน] ำเข All In ____________________________________________ Print China 2011 B1 การบรรจ� [ ] 09 ผู ใ ห บ ร� ก าร [ ] 03 การให บ ร� ก ารสำหรั บ อุ ต สาหกรรม [ ] ร ว มแสดงสิ าชมงาน [ ] 07 สถาบันการศึกษา/ หนวยงานรัฐบาล [ ] 01 เคร�่อการบรรจ� งจักร และอุ ป กรณ ก ารบรรจ� ภ ณ ั ฑ E. คุณสนใจที ่จะรันบคขา อมู[ลเกี] เข่ยวกั บ (เลือกไดมากกวา 1 ขอ) ภัณฑ [ ] 08 C.ที่ปร�ประเภทของอุ กษา UPAKOVKA / UPAK ITALIA 2012 [ ] 02 วั ส ดุ ต า งๆ วั ต ถุ ด บ ิ ในการผลิ ต บรรจ� ภ ณ ั ฑ ตสาหกรรม (เลือกไดมากกวา 1 ขอ) All In Print China 2011 [ ] 04 บรรจ�ภัณฑเพื่อการอุปโภคและบร�โภค [ ] 09 [ผูใ]ห01 บร�กยานยนต าร วมแสดงสินนคคา า [ [ ] ]เขเขาาชมงาน ชมงาน [ ] 03 ารสำหรั)บอุตสาหกรรม / การขนสง [ [] ร] วรมแสดงสิ [ ]การให 05 อื่นบๆร�ก(โปรดระบุ การบรรจ�ภัณฑ drupa 2012/ UPAK ITALIA 2012 [ ] 02 การกอสราง UPAKOVKA C. ประเภทของอุ [ ] 04 บรรจ�____________________________________________ ภัณฑเพื่อการอุปโภคและบร�โภค วมแสดงสินนคคา า [ [ ] ]เขเขาาชมงาน ชมงาน [ ] 03 เคมีต/สาหกรรม นำ้มัน (เลือกไดมากกวา 1 ขอ) [ [] ร] วรมแสดงสิ [ ] 01 [ยานยนต การขนส [ ] 05 อื่นๆ (โปรดระบุ) ] 04 บร�ก/ารเป นที่ปร�งกษา International PackTech India 2012 drupa [ ] 02 [การก ] 05ออิสร เล็ากงทรอนิกส B2 การพิมพ [ ] รว2012 มแสดงสินคา [ ] เขาชมงาน [ ] รวมแสดงสินคา [ ] เขาชมงาน [ ] 03 [เคมี] 06/ นำ้ ไฟฟมันา / ว�ศวกรรม [ ] ____________________________________________ 01 พร�-เพรส และ พร�-มีเดีย interpack 2014 [ ] 04 [บร�] ก07ารเป น ที ป ่ ร� ก ษา ของใชในบาน / สินคาตกแตงบาน International 2012 [ ] 02 เคร�่องพิมพ และอุปกรณ [ ] รวมแสดงสิPackTech นคา [ ] India เขาชมงาน [ ] 05 [อิเ]ล็08 กทรอนิ กส อนรับ B2 การพิ บร�การต [ ] 03มพการเขาเลม – งานพิมพสำเร็จ [ ] รวมแสดงสินคา [ ] เขาชมงาน [ ] 06 [ไฟฟ า /ขอว�มูศลวกรรม [ ] 01 และปพร� -มีเดีย– รวมไปถึง ] 09 สารสนเทศ [ ]พร� 04-เพรส การแปรรู กระดาษ interpack 2014 [ ] 07 [ของใช นบาน / สิ/นคเภสั าตกแต งบาน [ ] 02 เคร�่อการผลิ งพิมพตและอุ ] 10 ใการแพทย ชกรรม บรรจ�ปภกรณ ัณฑ [ ] รวมแสดงสินคา [ ] เขาชมงาน [ ] 08 [บร�] ก11ารตแมอพนรั ิมพบ [ ] 03 าเลมมพ– เพืงานพิ มพปสโภคและบร� ำเร็จ โภค [ ]การเข 05 การพิ ่อการอุ ทางทะเล [ ] 09 [ขอ] มู12ลสารสนเทศ [ ] 06 อื น ่ ๆ (โปรดระบุ ) [ ] 04 การแปรรูปกระดาษ – รวมไปถึง ] 13 บรรจ�/ ภเภสั ัณฑชกรรม [ ] 10 [การแพทย การผลิตบรรจ�ภัณฑ [ ] 11 แมพิมพ [ ] 05 การพิ____________________________________________ มพเพื่อการอุปโภคและบร�โภค [ ] 12 ทางทะเล [ ] 06 อื่นๆ (โปรดระบุ) *การเปดเผยขอมูล [ ] 13 บรรจ� ัณฑ านอาจถูกเปดเผยใหกับบร�ษัทผูแสดงสินคาเพื่อประโยชนในการจับคูทางธุรกิจ หากทานไมตองการเปดเผยขอมูลกรุณาทำเคร�่องหมายในชองนี้: [ ] ไมตองการเปดเผยขอมูล ขอมูลภของท ____________________________________________ *การเปดเผยขอมูล ขอมูลของทานอาจถูกเปดเผยใหกับบร�ษัทผูแสดงสินคาเพื่อประโยชนในการจับคูทางธุรกิจ หากทานไมตองการเปดเผยขอมูลกรุณาทำเคร�่องหมายในชองนี้: [ ] ไมตองการเปดเผยขอมูล
74-81_m14.indd 80
27/8/2554 5:18
อ อ
D m an an D m PA a a
สน
P
ส
s เมื เมื่อ่อคุคุณ ณพัพักกอยู อยูในกรุ ในกรุงงเทพฯ เทพฯ การเดิ การเดินนทางมายั ทางมายังไบเทค งไบเทค รถไฟฟ าบีาทบีีเทอส รถไฟฟ ีเอส สถานีรถไฟฟาบางนา อยูหางจากไบเทคเพียง 400-500 เมตร สถานีรถไฟฟาบางนา อยูหางจากไบเทคเพียง 400-500 เมตร
____ ____
___ ___
รถแท็กซ�่ แท็รถแท็ กซ�่มีใหกบซ�ร�่ การจองคิวลวงหนาที่ business centre ซ�่งจะมีจ�ดรับ-สงอยูที่หนาอาคาร แท็ กซ�น่มคีใหา บ103 ร�การจองคิวลวงหนาที่ business centre ซ�่งจะมีจ�ดรับ-สงอยูที่หนาอาคาร แสดงสิ แสดงสินคา 103 รถโดยสารประจำทาง รถโดยสารประจำทาง รถโดยสารประจำทางหมายเลข 11 13 และ 23 สามารถใชเดินทางมายัง ศูนยนิทรรศการ รถโดยสารประจำทางหมายเลข 11 13 ซ�และ สามารถใชเดินทางมายัง ห ศูนนายสถานที นิทรรศการ และการประชุ มนานาชาติกรุงเทพ(ไบเทค)ได ง่ จะมี23 ปา ยรถโดยสารประจำทางอยู จ่ ดั งาน และการประชุมนานาชาติกรุงเทพ(ไบเทค)ได ซ�ง่ จะมีปา ยรถโดยสารประจำทางอยูห นาสถานทีจ่ ดั งาน รถยนตสวนบุคคล สวนบุคคล ศูนรถยนต ยนิทรรศการและการประชุ มนานาชาติกรุงเทพ(ไบเทค)เช�่อมตอกับทางดวนที่สามารถ ศูนงยเขตธุ นิทรรศการและการประชุ กรุงเทพ(ไบเทค)เช� ่อมต อกับาทางด วนที ไปถึ รกิจกลางใจเมือง (10มกินานาชาติ โลเมตร) สามารถเข าได 3 ทาง ทางเข -ออกที ่ 1 ่สามารถ เขตธุรกิจกลางใจเมืองและทางเข (10 กิโลเมตร) าได ข3ุมว�ทาง และไปถึ2งจากถนนบางนา-ตราด า-ออกทีสามารถเข ่ 3 จากถนนสุ ท ทางเขา-ออกที่ 1 และ 2 จากถนนบางนา-ตราด และทางเขา-ออกที่ 3 จากถนนสุขุมว�ท
___ ___
___ ___ ___ ___ ___ ___ ___
____ ___
___
1 ขอ)
องคกรที่ใหการสนับสนุน องคกรที่ใหการสนับสนุน
พักตออีกคืน… พักตออีกคืน…
1 ขอ)
Extra Night, Extra Smile Night, Extra สำนัExtra กงานสงเสร� มการจัดประชุ มและนิทSmile รรศการ (TCEB) ได ร เ � ร� ม ่ แผนกระตุ น สำหรั บ ผู เ ข า ชมงาน สำนักงานสงเสร�มการจัดประชุมและนิ ทรรศการ จากต างประเทศของงาน PPI 2011 ยงแค (TCEB) ไดร�เร�่มแผนกระตุ นสำหรังาบยๆ ผูเขเพี าชมงาน พักจากต 2 คืนาตงประเทศของงาน อเนื่องในโรงแรมที่เPPI ขาร2011 วมโครงการ งายๆ เพียงแค ลงทะเบี ย2นกั บตTCEB กงในโรงแรมที อนที่ทานจะมาถึ งวทมโครงการ านได พั ก คื น อ เนื อ ่ เ ่ ข า ร พักคืนที่ 3 แบบฟร�ๆ ในโรงแรมที่ทานเลือก ลงทะเบียนกับ TCEB กอนที่ทานจะมาถึง ทานได พักคืนที่ 3 แบบฟร�ๆ ในโรงแรมที่ทานเลือก
___
รายละเอียดเพิ่มเติม เขาชมไดที่
___
www.tceb.or.th
รายละเอียดเพิ่มเติม เขาชมไดที่ www.tceb.or.th
___
งานที่จัดรวม
___
งานที่จัดรวม
งานแสดงสินคาอุตสาหกรรม ดานพลาสติก และ ยางนานาชาติ ครั้งที่3
www.tiprex.com งานแสดงสินคาอุตสาหกรรม ดานพลาสติก และ ยางนานาชาติ ครั้งที่3
www.tiprex.com Disclaimer: All information is published in good faith and based on information available at press time. No part of this publication may be reproduced in part or full without the written permission of the publisher. Opinions expressed are those of the contributors and not necessarily endorsed by the publisher. Whilst every effort is made to ensure accuracy in the reproduction of the material and information provided, the publisher will not accept liability for any error or omission that may occur inadvertently. Disclaimer: All information is published in good faith and based on information available at press time. No part of this publication may be reproduced in part or full without the written permission of the publisher. Opinions expressed are those of the contributors PACK INTERNATIONAL 2011 Whilst every effort is made to ensure accuracy in the reproduction of the material and notPRINT necessarily endorsed by the publisher. and information provided, the publisher will not accept liability for any error or omission that may occur inadvertently. สนับสนุนโดย
รวมจัดโดย
วัน / สถานที่ / เวลาแสดงงาน วัน / –สถานที ่ / เวลาแสดงงาน 31 สิงหาคม 3 กันยายน 2554 หาคม – 3 กันยายน 2554 ไบเทค 31 • กรุสิงเทพฯ • กรุ 10.30 ไบเทค – 18.00 น. งเทพฯ 10.30 – 18.00 น. การเขาชมงาน สำหรับการเข นักธุรกิาชมงาน จและ ผูเขาชมงานที่ลงทะเบียนเทานั้น การแตสำหรั งกาย:บชุนัดกทำงาน ธุรกิจและ ผูเขาชมงานที่ลงทะเบียนเทานั้น การแตงกาย: ชุดทำงาน ลงทะเบียนลวงหนาทางแฟกซ หร�อทางออนไลน ลงทะเบียนลทวี่ www.pack-print.de งหนาทางแฟกซ ระหวางการจั ดงาน สามารถลงทะเบี ยน หร�อทางออนไลน ที่ www.pack-print.de ไดที่หนระหว าทางเข า ฮอล 101, 102, 103 างการจัดงาน สามารถลงทะเบียน ไดที่หนาทางเขาฮอล 101, 102, 103 โรงแรม รายช�่อโรงแรม สามารถเขาชมไดที่ โรงแรม www.pack-print.de รายช�่อโรงแรม สามารถเขาชมไดที่ บร�ษัทตัwww.pack-print.de วแทนทองเที่ยว
Pacific World (Thailand) Ltd บร�ดษอัทMr. ตัวแทนท องเทีSinsap ่ยว กรุณาติ Stephen Pacific World โทร: (66) 2245 5178(Thailand) Ltd ณาติ ดอ 5184 Mr. Stephen Sinsap แฟกซ: กรุ (66) 2245 โทร: (66) 2245 5178 exhibition@pacificworld-th.com แฟกซ: (66) 2245 5184 ติดตอexhibition@pacificworld-th.com สอบถามไดที่ สำนักงานในประเทศไทย ตอสอบถามได บร�ษัท ติบีดแอลไอ (ไทยแลนดท) ี่ จำกัด สำนัชั้นก22, งานในประเทศไทย 170/70 โอเช�่ยนทาวเวอร 1, ถนนรัชบร� ดาภิ ดใหม,(ไทยแลนด เขตคลองเตย, ษัทเษกตั บีแอลไอ ) จำกัด แขวงคลองเตย, เทพฯ 170/70 ชักรุ้นง22, โอเช�10110 ่ยนทาวเวอร 1, โทร ถนนรั : (66)ชดาภิ 2204 2580-5 เษกตั ดใหม, เขตคลองเตย, แฟกซ แขวงคลองเตย, : (66) 2204 2586-7 กรุงเทพฯ 10110 contact@blithailand.com โทร : (66) 2204 2580-5 แฟกซ : (66) 2204 2586-7 สำนักงานระหว างประเทศ contact@blithailand.com Messe Düsseldorf Asia Pte Ltd 3 HarbourFront Placeางประเทศ #09-02 สำนักงานระหว HarbourFront TwoAsia Pte Ltd üsseldorf Messe DTower Singapore 099254 Place #09-02 3 HarbourFront Tel: (65) 6332 9620Tower Two HarbourFront Fax: (65) 6337 4633 Singapore 099254 ppi@mda.com.sg Tel: (65) 6332 9620 Fax: (65) 6337 4633 ppi@mda.com.sg
Messe Düsseldorf / จัดโดย PACK PRINT INTERNATIONAL 2011
สนับสนุนโดย
รวมจัดโดย Messe Düsseldorf /
จัดโดย The Thai Packaging Association
The Thai Packaging Association 74-81_m14.indd 81
The Thai Printing Association
The Thai Printing Association 27/8/2554 5:18
นำธุรกิจของคุณ ใหกาวขามขอบเขต ไปกับ PPI 2011! จับตามองแนวโนมของตลาด ผานงานแสดงสินคาที่สรางสรรค พรอมการสาธ�ตภายในงานจาก ผูนำในตลาดตางประเทศ และบร�ษัทเล็กๆที่กำลังเติบโต ในงานแสดงสินคาการพิมพและ การบรรจ�ภัณฑชั้นนำของเอเช�ย
ht tahw rtsudni as ot sah
ผูแสดงสินคามากกวา 250 ราย จาก 20 ประเทศ พรอมที่จะ พบกับคุณแลวอีกครั้งที่งาน PPI 2011 เพื่อสรางชองทาง การสื่อสาร และเวทีสำหรับธุรกิจ ที่มีคุณภาพ ความหลากหลาย และความรวมมือระหวางประเทศ
การจับคู คุณกับ คูคา ทางธุรกิจ ที่เหมาะสม
b
ประโยชนที่ทานจะไดจากการบร�การจับคูธุรกิจ ทั้งทางออนไลนและระหวางงานแสดงสินคา
e
นอกจากบทบาทการเปนผูจัดงานแสดงสินคาชั้นนำแลว Messe Düsseldorf Asia ยังจะเปนผูชวยคุณ ทำงานรวมกับคุณ เพื่อรักษาและยกระดับ ความสามารถทางกลยุทธธุรกิจ และคนหาคูคา, ลูกคา, ซัพพลายเออรและกลุมเปาหมาย ในการซ�้อใหมๆ โดยการเช�่อมตอคุณกับคูคาทางธุรกิจที่เหมาะสม ลงทะเบียนการเขารวมงานของคุณเพื่อใชบร�การจับคูธุรกิจไดที่ www.pack-print.de
ประเภทสินคาที่จัดแสดง
กลุมเปาหมายผูเขาชมงาน
• • • • •
• การพิมพหนังสือพิมพและโฆษณา • Repro Houses • ผูเช�่ยวชาญดานการพิมพ การพิมพสำเร็จ ดานกราฟฟคและการออกแบบ • การขายปลีก และการผลิต • ผูออกแบบและผลิตงานโฆษณา การตลาดทางตรงและบร�ษัททำประชาสัมพันธ • ผูผลิตสื่อมัลติมีเดียและสื่อทางอินเตอรเนต • การผลิตบรรจ�ภัณฑ • ผูผลิตวงจรอิเล็คทรอนิกสและสินคาบร�โภค • ผูรับจางผลิตบรรจ�ภัณฑ • ผูนำเขาเคร�่องจักร
พร�-เพรส และ พร�-มีเดีย เคร�่องพิมพ และอุปกรณการพิมพ การเขาเลม งานพิมพสำเร็จ การแปรรูปกระดาษ – รวมไปถึงการ ผลิตบรรจ�ภัณฑ • วัสดุการบรรจ�ภัณฑ ว�ธ�การบรรจ�และเคร�่องมือ ชวยบรรจ� • การบร�การสำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ และการบรรจ�ภัณฑ
เ
รากำลังเตร�ยมการในการจัดกลุมผูผลิตกลุมใหญจากแวดวงการพิมพของประเทศฟลิปปนสเพื่อเขารวมงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2011 ตามแนวคิดที่วา นำพาธุรกิจกาวขามขอบเขต ซ�่งเหมาะสมอยางยิ่งกับสภาพการณปจจ�บันของอุตสาหกรรมการพิมพ ผมมั่นใจวาจะประสบ ความสำเร็จเหมือนอยางที่เคยเปนมา
Mr. John L. Choa President, Printing Industries Association of the Philippines
b
เ
o
ปนที่รูกันดีวางาน drupa ที่จัดโดย Messe Düsseldorf เปนงานแสดงสินคาที่ใหญที่สุดในโลก ซ�่งเอื้ออำนวยและเปนประโยชนกับอุตสาหกรรม การพิมพและการบรรจ�ภัณฑในเอเช�ย Messe Düsseldorf Asia จ�งไดร�เร�่มจัดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL ที่จะไมตางไปจากงาน drupa เปนงานที่ไมควรพลาดเปนอยางยิ่งสำหรับอุตสาหกรรมการพิมพและการบรรจ�ภัณฑในเอเช�ย
Mr. Vijay Kumar Chopra President, North India Printers’ Association (NIPA)
อุ
ตสาหกรรมการบรรจ�ภัณฑเปนประชาคมโลกและเปนที่ยอมรับของ AIP งานนี้จ�งเปนโอกาสอันดีสำหรับผูเช�่ยวชาญทางดานบรรจ�ภัณฑ และผูคนที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมการบรรจ�ภัณฑในวงกวางเพื่อเพิ่มพูนความรูในระบบการบรรจ�ภัณฑและการพิมพรวมถึงทางออก สำหรับอุตสาหกรรมนี้ การเขารวมงานแสดงสินคานี้ AIP ตระหนักเปนอยางยิ่งวาจะเปนสวนสำคัญของอุตสาหกรรมดานนี้ เพื่อใชสนับสนุนการศึกษาในระบบที่สอนโดย AIP
Mr. Pierre Pienaar National President, Australian Institute of Packaging (AIP)
PRINT INTERNATIONAL เปนงานแสดงสินคาระดับมืออาช�พที่คุณสามารถเก็บเกี่ยวขอมูลของ P ACK นวัตกรรม เคร�่องจักร และเคร�่องมือสำหรับอุสาหกรรมการพิมพและการบรรจ�ภัณฑที่ใหมลาสุด Mr. Nguyen Van Dzong President, Vietnam Printing Association
what the industry has to sa y...
r d e r s
74-81_m14.indd 75
29/8/2554 13:32
Print News
บีเจซี เผยโฉมเทคโนโลยีการพิมพ์ ระบบดิจิตอลออฟเซ็ทหนึ่งเดียวในโลก
เอชพี อินดิโก้ ชิงมาร์เก็ตแชร์ และยกระดับมาตรฐานการพิมพ์ดิจิตอลในไทย เผยโฉมเทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจิตอลออฟเซ็ทหนึ่งเดียวในโลก ที่พรั่งพร้อมด้วยคุณสมบัติพิเศษและฟงก์ชั่นตางๆ เพื่อรองรับทั้งงานพิมพ์ดิจิตอลออฟเซ็ทอยางมืออาชีพ 82 ThaiPrint Magazine
82-83_m14.indd 82
27/8/2554 5:20
บีเจซี เผยโฉมเทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจิตอลออฟเซ็ทหนึ่งเดียวในโลก ปัจจุบันนี้เทคโนโลยีงานพิมพ์ ได้มีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลง อย่างเห็นได้ชัด และธุรกิจสิ่งพิมพ์ก็ มีการแข่งขันสูงขึ้นตลอดเวลา ดังนั้น การผลิตสื่อและบรรจุภัณฑ์ต่างๆ จึง ต้องมีการปรับเปลี่ยนเพื่อรับมือกับ ความท้าทาย และการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นอย่างสม่�ำ เสมอ ระบบการพิมพ์ดิจิตอลได้รับ ความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในองค์กร ทั้ ง ภาครั ฐ และธุ ร กิ จ ด้ ว ยโซลู ชั่ น ที่ ตอบสนองความต้องการของตลาด ไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์เท่าที่ต้องการ ใช้จริง (On Demand) การพิมพ์ เปลี่ยนแปลงข้อมูลแบบไม่ซ�้ำ กัน การ เลื อ กใช้ วั ส ดุ ไ ด้ ห ลากหลายโดยไม่ จำ � กั ด การพิ ม พ์ บ นกระดาษทั่ ว ไป และผลตอบแทนจากการลงทุ น ที่ คุ้มค่า รวมทั้งยังช่วยลดปริมาณการ ปลดปล่อยคาร์บอนเพื่อช่วยลดโลก ร้อนได้อีกด้วย นายพิสิษฐ์ วสุไกรไพศาล Assistant Vice President–Graphics Division บริษัท เบอร์ลี่ยุคเกอร์ จำ�กัด (มหาชน) กล่าวว่า “เราภูมิใจอย่าง
ยิ่งที่ฮิวเล็ตต์-แพคการ์ดให้ความไว้ วางใจในการขาย และทำ�การตลาด เทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจิตอล ออฟเซ็ทหนึ่งเดียวในโลก คือ เอชพี อินดิโก้ (HP Indigo) ที่มอบ คุณภาพสีที่เหมือนธรรมชาติ และ สร้างความโดดเด่นเพิ่มมูลค่าให้กับ งานพิมพ์ด้วยหมึกสีขาวที่พิมพ์บน กระดาษสีเข้ม ฟอยล์ หรือ วัสดุ โปร่งแสงได้อย่างสวยงาม นอกจาก นี้ เอชพี อินดิโก้ ยังเป็นเครื่องพิมพ์ ระดับอุตสาหกรรมที่มีความคงทน แข็งแรงและคุณภาพงานพิมพ์คงที่ ไม่วา่ จะพิมพ์จ�ำ นวนน้อย พิมพ์จ�ำ นวน มากหรือพิมพ์ซ�้ำ ”
เครื่องพิมพ์ดิจิตอลออฟเซ็ท เอชพี อินดิโก้
ได้ รั บ การออกแบบมาพิเศษ กว่าเครื่องพิมพ์ดิจิตอลแบรนด์อื่นๆ ซึ่งนำ�เสนอคุณภาพงานพิมพ์เหมือน หรื อ ใกล้ เ คี ย งงานพิ ม พ์ จ ากเครื่ อ ง พิมพ์ออฟเซ็ทมากทีส่ ดุ จึงได้รบั ความ ไว้วางใจจากลูกค้า ในการใช้ส�ำ หรับ ปรู๊ฟงานพิมพ์ ก่อนจะพิมพ์จริงด้วย
เครื่องพิมพ์ออฟเซ็ท บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัท ที่อยู่คู่เมืองไทยมากว่า 129 ปี เรา ได้รับความไว้วางใจให้เป็นตัวแทน จำ�หน่ายในผลิตภัณฑ์ชั้นนำ�มากมาย จากหลากหลายประเทศ และฝ่าย การพิมพ์ (Graphics Division) ก็ได้ รับความไว้วางใจให้ดูแล และเป็น ตัวแทนจำ�หน่ายสินค้าของ เอชพี อิ น ดิ โ ก้ แ ต่ เ พี ย งผู้ เ ดี ย วในประเทศ ไทย ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเรา ได้รบั ความไว้วางใจจากผูใ้ ช้งาน และ ลูกค้ามากมายด้วยคุณภาพที่ดีของ สินค้าที่มีคุณภาพสูงและบริการที่ดี เสมอมา บริษัทฯ คาดหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่า ด้วยคุณภาพที่ดีของสินค้าและ ความเป็ น มิ ต รของเราจะสามารถ ส่งเสริม และสนับสนุนให้ลูกค้าทุก ราย ไม่ว่าจะกลุ่มโรงพิมพ์และผู้ใช้ งานทั่วไปสามารถเติบโตในแง่ธุรกิจ และเพิม่ ยอดขายพร้อมๆ กันตลอดไป กับเอชพี อินดิโก้ ThaiPrint Magazine 83
82-83_m14.indd 83
27/8/2554 5:20
Print Exclusive
การบํารุงรักษาเครื่องพิมพอยางไรใหไดผล โดย ดร.ชัยยา ตันติสุขารมย ผูจัดการทั่วไปฝายบริการลูกคา บริษัท ไฮเดิลเบิรก (ประเทศไทย) จํากัด ประเภทการบํารุงรักษา 1. รอเสียกอนคอยซอมบํารุง (Break down repair-Maintenance) สําหรับเครื่องจักรหรืออุปกรณที่ไมมีผลกระทบกับระบบการผลิตทาง ตรงหรือผลกระทบเชิงธุรกิจมีมูลคาไมแตกตางจากคาซอม 2. การบํารุงรักษาแบบปองกัน (Preventive maintenance 1951) เปนการบํารุงรักษาประจําวันหรือประจํารอบเวลาโดยการแบงออกเปน 2a. การบํารุงรักษาประจํารอบเวลา (Time Based Maintenance - TBM) เปนการเขาบํารุงรักษาตามรอบเวลาที่กําหนด ซอมแซม ทําความ สะอาดหรื อ เปลี่ ย นอะไหล เ พื่ อ ป อ งกั น เครื่ อ งจั ก รเสี ย และเกิ ด ปญหาในระบบกระบวนการผลิต 2b. การบํารุงรักษาแบบทํานายอายุใชงาน (Predictive Maintenance) เปนการเฝาระวังและติดตามอายุการใชงานของอะไหลวกิ ฤต คํานวน เวลาจากการตรวจสอบ และการวิเคราะหการใชงาน เพือ่ การใชงาน อะไหลวิกฤตภายในอายุใชงาน หรืออาจเรียกไดวาเปน การบํารุง รักษาตามเงื่อนไขตามการวิเคราะหและประมวลผลการใชงาน 3. การบํารุงรักษาแบบแกไข (Corrective Maintenance 1957) เปนการบํารุงรักษาที่มีการวิเคราะหวิจัยปรับปรุงอะไหลที่เสียหายเพื่อ ใหอะไหลดีขึ้น การใชงานในระบบดีขึ้น และจะทําใหการวางแผนในการ บํารุงรักษา มีความนาเชื่อถือสูงขึ้น 4. การปองกันแบบบํารุงรักษา (Maintenance Prevention 1960) เปนการบํารุงรักษา และเก็บขอมูลเพื่อบงชี้ถึงการปรับปรุงผลิตภัณฑใน อนาคต ทําไมการบํารุงรักษาเครื่องพิมพ์จึงมีความสําคัญ ๏ ระบบอัตโนมัติที่เพิ่มขึ้นเกิดจากจํานวนอุปกรณควบคุมที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหการบํารุงรักษาแบบปองกันเพิ่มตามขึ้นไปดวย ๏ ระบบผลิตสงของตามเวลาที่กําหนด (JIT) ที่ถูกใชงานมากขึ้นเรื่อยๆ ชวยลดปริมาณสินคาคงคลังลงทําใหเครื่องจักรสําหรับการผลิตจึงตอง มีความพรอมสูงขึน้ เครือ่ งจักรตองพรอมเมือ่ ตองการผลิต และไมสามารถ เสียระหวางการผลิตได และเมือ่ ไมมสี นิ คาคงคลังอยูร ะบบการบํารุงรักษา แบบปองกันจึงมีความจําเปนมากขึ้น ๏ ถาเครื่องจักรเสียในระหวางการผลิต จะทําใหสายการผลิตสินคารวม เพื่อสงมอบลูกคาลาชาออกไป 94 ThaiPrint Magazine
94-99_m14.indd 94
29/8/2554 11:34
Print Exclusive ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏
ในระบบการบริหารปัจจุบันในภาวะการแข่งขันสูงมีแนวโน้มที่จะยอม ให้การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าผ่านพ้นไปก่อนหากต้องตัดสินใจเลือก ระหว่างแผนการระยะยาว กับผลตอบแทนเฉพาะหน้า - เป็นการง่ายกว่าที่จะมองเห็นการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น ยอดขายที่เพิ่มขึ้น แต่จะมีใครมองเห็นบ้างว่าจารบีประจำาวันได้อัดแล้ว มอเตอร์ใช้เวลา ซ่อม 12 ชม.แทนที่จะเป็น 24 ชม.เป็นต้น ระบบการตัดสินใจรูปแบบนี้ทำาให้เกิดข้อจำากัดในระบบการปฏิบัตการ บำารุงรักษาทำาให้เกิดการบำารุงรักษาแบบตามหลังหรืออาจไม่ได้มีการ ทำาการบำารุงรักษาตามรูปแบบที่วางแผนไว้ อย่ า งไรก็ ต ามเมื่ อ การบำ า รุ ง รั ก ษาได้ รับ การปฏิ บั ติ จ นถึ ง จุ ด ที่ ควรจะ เป็นการบำารุงรักษาอาจนับเป็นจุดในการทำากำาไรได้สามารถสร้างผล ตอบแทนในเชิงบวกได้ ไม่มีปฏิบัติการบำารุงรักษาใดๆ ที่ประสบความสำาเร็จได้ถ้าไม่ได้รับการ สนับสนุนอย่างเต็มที่จากผู้บริหารระดับ(สูง) - หลายๆ ครัง้ การบำารุงรักษาต้องได้รบั การตัดสินใจจากผูบ้ ริหารโรงงาน ในการปฏิบัติการบำารุงรักษามากกว่าที่จะปล่อยให้เครื่องจักรทำางาน ไปเรื่อยๆ ตามความจำาเป็นของแผนการผลิต หากไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงปฏิบัติการบำารุงรักษา จะไม่เคยเกิดขึ้นหรือได้ปฏิบัติแต่เพียงเล็กน้อยหรือช้าเกินไป ดังนั้น การสนับสนุนจากฝ่ายบริหารระดับสูง (สุด) อย่างเข้มแข็งเท่านั้น การบำารุงรักษา จึงจะประสบผลสำาเร็จได้ ควรปฏิบัติการบำารุงรักษา เมื่อใด
๏ ๏ ๏ ๏ ๏
จากรูปแสดงค่าใช้จ่ายต่อครั้งในการบำารุงรักษา และค่า ซ่อมเมื่อเทียบกับ ณ เวลาที่กระทำา จากรูปแสดงให้เห็นว่าค่าใช้จ่ายในการซ่อมสูงขึ้นเมื่อช่วง ระยะเวลาสูงขึน้ หรืออาจหมายถึงว่า ยิง่ มีการบำารุงรักษา น้อยเท่าใดค่าซ่อมต่อครั้งจะสูงขึ้น เมื่อปล่อยให้อุปกรณ์ทำางานนานขึ้นจนถึงจุดที่อาจจะเสีย ก็จะต้องการการซ่อมเปลี่ยนสูงมากขึ้น ในทางกลับกันการบำารุงรักษามีค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติ งานการยืดช่วงปฏิบัติการบำารุงออกไปจะทำาให้ค่าใช้จ่าย ในการบำารุงรักษาลดน้อยลง แต่ถ้าทำาการบำาบุงรักษาถี่ เกินไป ค่าใช้จ่ายในการบำารุงรักษาก็จะสูงมากขึ้นมาก เมือ่ พิจารณาค่าใช้จา่ ยทัง้ สอง จะพบว่ามีจดุ เหมาะสมจุดหนึง่ ทีค่ า่ ใช้จา่ ย ในการ ซ่อม-บำารุงรัษา ต่ำาสุด ควรปฏิบัติการบำารุงรักษา อย่างไร
๏ ๏
ผู้ปฏิบัติประจำาเครื่องคือคำาตอบที่สอง รองจากผู้บริหารสูงสุด ที่จะทำาให้ การบำารุงรักษาได้รับการปฏิบัติอย่างครบถ้วนถูกต้อง ผู้ปฏิบัติประจำาเครื่องสามารถรับรู้ถึงความแตกต่าง หรือความผิดปกติ ของเครื่องจักรที่กำาลังปฏิบัติงานอยู่
96 ThaiPrint Magazine
94-99_m14.indd 96
27/8/2554 5:22
การบำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์อย่างไรให้ได้ผล การสั่นสะเทือน
การมองเห็น กลิ่น เสียง อุณหภูมิ
๏ ๏ ๏
ทัง้ จากการมองเห็น เสียงของเครือ่ งจักรทีเ่ ปลีย่ นไปอุณหภูมขิ องเครือ่ งจักร ทีผ่ ดิ ปกติ กลิน่ ทีผ่ ดิ แปลกไปหรือการสัน่ สะเทือนของเครือ่ งจักรทีเ่ ปลีย่ น แปลงไป ดังนั้น การปฏิบัติการบำ�รุงรักษาก่อนเครื่องจักรจะพังเสียหายควรได้รบั การกระตุ้นทั้งผู้ใช้ และพนักงานหน่วยซ่อมบำ�รุง หรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิด เครื่องจักร การบำ�รุงรักษาโดยใช้ชา่ งประจำ�เครือ่ ง (Operator Involved Maintenance) - การบำ�รุงรักษาโดยช่างประจำ�เครื่อง ถูกกำ�หนดเป็นมาตราฐาน อุตสาหกรรมในการให้ความรู้ความเข้าใจที่ดีขึ้นแก่ช่างประจำ�เครื่อง ในการป้องกันปัญหา และลดภาระของช่างบำ�รุงรักษาช่างประจำ�เครือ่ ง จะรู้จักเครื่องพิมพ์ที่ทำ�งานด้วยได้ดีกว่าใคร - จุดสำ�สำ�คัญของการบำ�รุงรักษาโดยช่างเครื่อง คือ เป็นการสร้างความ เข้าใจและการเป็นเจ้าของงานซ่อมบำ�รุงและให้การฝึกอบรมในการ ปฏิบัติการซ่อมบำ�รุงรักษานั้นๆ งานบำ�รุงรักษาอาจหมายถึง • การทำ�ความสะอาดเครือ่ งพิมพ์ การหล่อลืน่ อุปกรณ์อย่างสม่�ำ เสมอ • การตรวจสอบสภาพเครื่องพิมพ์อยู่ตลอดเวลา • ทำ�ให้การแจ้งสิ่งผิดปกติของเครื่องพิมพ์ทำ�ได้โดยง่าย • มีความเข้าใจในการปฏิบัติการบำ�รุงรักษา • แยกย่อยการบำ�รุงรักษาเฉพาะครัง้ เป็นรายการเล็กๆ เพือ่ ให้สามารถ ปฏิบัติได้ และมีส่วนร่วมในการบำ�รุงรักษาหลักกับฝ่ายบำ�รุงรักษา และซ่อมแซม • การประสบความสำ�เร็จในการบำ�รุงรักษาจะต้องทำ�เป็นขัน้ เป็นตอน ใช้เวลาและความทุ่มเท ในการกระตุ้นความมีส่วนร่วมในการมี เครื่องจักรที่ดีการได้รับการยอมรับและมองเห็นคุณค่าในการ “ทำ�” การบำ�รุงรักษา
ตัวอยา ง โรงพิมพอ อ็ ฟเซ็ต - โรงพิมพธ รุ กรรมการคา ๏ ขนาด : พนักงาน 12 คน ทำ�งาน 8 ชั่วโมง 5 วัน ๏ ลักษณะทำ�เลที่ตั้ง : เป็นบริษัทที่ตั้งอยู่ในอาคารอุตสาหกรรมที่สร้าง โดยส่วนการพัฒนาของเวลส์ ๏ ลักษณะบริษัท : เป็นโรงพิมพ์ที่มี ซีทีพี และมีเครื่องพิมพ์ใหม่สี่สี กำ�ลัง พิจารณาสั่งซื้อเครื่องหลังพิมพ์ ๏ การบำ�รุงรักษา : บริษัทเล็กจำ�เป็นต้องพึ่งพาผู้ขายเครื่องจักรในการซ่อม และบำ�รุงรักษา ช่างพิมพ์ประจำ�เครื่องได้รับการกระตุ้น ในการติดตาม สภาพเครื่องพิมพ์ เสียงผิดปกติ เช่น เสียงลูกปืนดัง ความผิดปกติที่ สังเกตเจอให้ลงบันทึกไว้ เนื่องจากโรงพิมพ์อยู่ไกลช่างซ่อมของผู้ขายจะ ถูกเรียกมาให้บริการพร้อมๆ กันหลายอาการ ๏ เอกสาร : อาการเสียทุกรายการให้บันทึกลงไปในสมุด ๏ พนักงานบำ�รุงรักษา : ไม่มี ๏ พนักงานผลิต : เกี่ยวข้องกับการบำ�รุงรักษาอย่างง่าย และการทำ�ความ สะอาด • การบำ�รุงรักษาจากภายนอก : บริษัทได้รับการบริการที่ดีจากผู้ขาย เครื่องจักร • เงื่อนไขในการเฝ้าระวัง : ช่างประจำ�เครื่องต้องใช้การสังเกต ในการ ตรวจพบความผิดปกติของเครื่องพิมพ์ ThaiPrint Magazine 97
94-99_m14.indd 97
27/8/2554 5:22
Print Exclusive • สภาพพืน้ ทีก่ ารทำางาน : ดีเนื่องจากเป็นอาคารสูงเฉพาะอุตสาหกรรม • อะไหลสาำ รอง : มีเฉพาะวัสดุสิ้นเปลือง อะไหล่ใช้การสั่งเฉพาะครั้ง • ผลการบำารุงรักษาที่ไดรับ : - ช่างประจำาเครื่องสามารถตรวจจับความผิดปกติของเครื่อง และ กำาหนดตารางการหยุดเครื่องซ่อมได้ก่อนที่จะเกิดความเสียหาย ของชิ้นส่วนและต้องหยุดซ่อมในระหว่างการผลิต • กรณีศึกษา - ช่างประจำาเครื่องเริ่มได้ยินว่าลูกปืนเริ่มมีเสียงผิดปกติจึงขอสั่ง ซื้อลูกปืนไว้ล่วงหน้า และจัดตารางหยุดซ่อมเครื่องโดยทันทีที่ ทำาได้โดยไม่กระทบกับการผลิต - ลูกปืนสองลูกได้เปลีย่ นพร้อมกัน เนือ่ งจากตำาแหน่งงานและอายุ การใช้งานที่คล้ายคลึงกัน • ขอบงชี้ความสำาเร็จ - ช่างพิมพ์ประจำาเครื่องมีความชำานาญสามารถสังเกตเห็นความผิด ปกติของเครื่องจักรได้เสมอ
ปฏิบัติการบำารุงรักษาบนเครื่องไฮเดลเบิร์ก ชวงการบำารุงรักษา (CD102)
I II III VI V
ประจำาวันหรือ 150,000 รอบพิมพ์ ประจำาสัปดาห์หรือ 800,000 รอบพิมพ์ ประจำาเดือน หรือ 3,000,000 รอบพิมพ์ ประจำาหกเดือนหรือ 15,000,000 รอบพิมพ์ ประจำาสิบสองเดือนหรือ 30,000,000 รอบพิมพ์
รหัสรังสีตรง ตำาแหนงหลอลืน แดง เหลือง น้ำาเงิน เขียว มวง
• จำานวนรอบพิมพ์อาจแตกต่างกันเป็นไปตามคำาแนะนำาของเครื่องพิมพ์ แต่ละรุ่น • ช่วงการบำารุงรักษาที่ หนึ่ง สอง และสาม เรียกว่า ช่วงการบำารุงรักษา โดยช่างประจำาเครื่อง • ช่วงบำารุ่งที่สี่ และห้า เรียกว่า ช่วงบำารุงรักษาโดยช่างซ่อม
ชนิดหัวรับการหล่อลื่น (CD102) 1. 2. 3.
หัวรับหล่อลืน่ แบบเปด อาจจะกรองน้าำ มันลงไปหรือใช้ปนื อัดจารบีแล้ว แต่ชนิดของหัวรับ ทีต่ าำ แหน่งหล่อลืน่ นี้ หัวรับการหล่อลืน่ แบบอัดจารบี เติม่ ตำาแหน่งหล่อลืน่ นีโ้ ดยการอัดจารบี หัวรับการหล่อลืน่ แบบลูกบอล เติม่ ตำาแหน่งหล่อลืน่ นีโ้ ดยปืนเติมน้าำ มัน
98 ThaiPrint Magazine
94-99_m14.indd 98
27/8/2554 5:22
การบำารุงรักษาเครื่องพิมพ์อย่างไรให้ได้ผล
• ต้องมีอุปกรณ์และเครื่อมือเพื่อทำาการหล่อลื่นอยู่ในสถานที่ทำางาน Lubricating 2 open oil lubrication holes with oil can
Check the condensate level in the condensate tank weekly. Drain the condensate if necessary
Clean 2 sheet alignment sensors weekly
Check the fi lter element annually Replace if faulty
Clean the pull lay monitor sensors monthly Dampening system
Dampening dive gear
Grease the bearing of intermediate rollers half yearly
ปฏิบัติการบำารุงรักษาอย่างไรให้ได้ผล ๏ ๏ ๏
เวลาเพือ่ การบำารุงรักษาต้องรวมอยูใ่ นแผนของการผลิตมีแผนรองรับการ ผลิตเมื่อมีการบำารุงรักษา ทัศนคติองค์กร - ใสใจในความผิดปกติของเครื่องจักร แม้เพียงเล็กน้อยมีสมุดบันทึกการ สังเกตสิ่งผิดปกติของเครื่องจักร - เป็นเจ้าของร่วมกัน และรับผิดชอบร่วมกันมีการบันทึกการแก้ก่อน การซ่อมเพราะเครื่องหยุดทำางาน - การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติหน้างานมีอุปกรณ์บำารุงรักษาพร้อมตลอด เวลา - การรับรู้จากองค์การ หรือผู้บริหารสูงสุดในการปฏิบัติการบำารุงรักษา บำารุงรักษาเด่น <==> ยอดขายดีเด่น ได้รับความใสใจและบังคับใช้งานโดยผู้มีอำานาจสูงสุดในองค์กร ThaiPrint Magazine 99
94-99_m14.indd 99
27/8/2554 5:23
การบํารุงรักษาเครื่องพิมพอยางไรใหไดผล ๏ ดวยภาวะการแขงขันทางการคาที่รุนแรง ในปจจุบันการสงมอบสินคา ลาชาอาจหมายถึงการสูญเสียลูกคาเลยทีเดียว ๏ การบํารุงรักษาแบบปองกัน จึงจําเปนสําหรับการทําใหเครื่องจักรมี ความนาเชือ่ ถือเพียงพอทีจ่ ะผลิตสินคาไดตามกําหนด และสงมอบสินคา ใหลูกคาไดตามคํามั่นสัญญา ๏ ในปฏิบัติการผลิตในอุตสาหกรรม กระบวนการผลิตแตละชวงจะผูกพัน กับกระบวนการผลิตกอนหนานั้น ๏ ในบางบริษัท อาจจะกําหนดกระบวนการผลิตเปนสวนยอย แตละ กระบวนการผลิตยอยเปนอิสระตอกัน แตอยางไรก็ตามกระบวนการผลิต ยอยตองไมนอยกวา 97% เปนความสามารถต่ําสุดที่ยอมรับไดก็อาจ เปนตัวเลขที่สูงและใชไดสําหรับกระบวนการผลิตยอยหนึ่ง ๏ แตถามีกระบวนการผลิตยอยตอกัน สิบกระบวนการผลิตยอยสําหรับ ผลิตภัณฑสําเร็จรูปชนิดหนึ่งจะพบวา ความสามารถรวมในการวิ่งงาน ตอเนื่องของเครื่องจักรทุกตัวตลอดสายการผลิตอยูที่ 73% เทานั้น ๏ การบํารุงรักษาแบบปองกันยังชวยลดคาใชจายดานพลังงานของเครื่อง จักร เครือ่ งจักรทีไ่ ดรบั การดูแลดีจะใชพลังงานในการปฏิบตั งิ านนอยกวา เชน ระบบลูกปนหมุนไดลื่นกวา ระบบขับเคลื่อนทางกลที่ตั้งศูนยดี ทํางานไดเบาแรงกวาเปนตน ๏ ระบบพลังงานที่ลดลงจากการใชงานโดยไมจําเปนอาจมีคาตั้งแต 5% จนสูง ถึง 11%
๏ คุณภาพเปนอีกประเด็นหนึง่ ทีม่ คี วามสําคัญ ในการสนับสนุนความสําคัญ ของการปฏิบัติการบํารุงรักษา - คุณภาพการผลิตที่สูงขึ้นจึงเปนผลโดยตรงกับการปฏิบัติตามแผนการ บํารุงรักษา - เครื่องจักรที่มีสภาพไมดี ยอมไมสามารถผลิตงานที่มีคุณภาพดีได ๏ ระบบการผลิตระดับมาตราฐานโลกจึงกําหนดการปฏิบัติการบํารุงรักษา เปนกระบวนการยอยกระบวนการหนึ่งในสายการผลิต ที่ตองปฏิบัติเพื่อ ไดผลผลิตที่มีคุณภาพ - ในการตลาดที่มีการแขงขันสูง ในปจจุบันการปฏิบัติการบํารุงรักษาจึง เปนเรื่องที่ตองทํา ๏ จําเปนตองปรับเปลี่ยนแนวความคิด ในเรื่องของความสําคัญของการ บํารุงรักษา - การเปลีย่ นแปลงนี้ รวมถึงการเปลีย่ นมุมมองการฝายบริหาร (โดยเฉพาะ ผูบริหารที่เกี่ยวของกับการขาย) ThaiPrint Magazine 95
94-99_m14.indd 95
29/8/2554 11:34
Print Exclusive
การบํารุงรักษาเครื่องพิมพ (Maintenance) เอกลักษณ เกล็ดเครือมาศ
สาเหตุที่ตองบํารุงรักษาเครื่องพิมพ ผลเสียเมื่อเครื่องจักรเสียหาย ๏ ไมสามารถสงสินคาไดตามเวลาที่กําหนด ๏ คุณภาพสินคามีความไมแนนอน ๏ ตนทุนสูงขึ้นในกรณีท่มี ีการซอมเครื่องจักรอยางเรง ดวน (อาจจําเปนตองจายคาแรงเพิ่มมากขึ้น) ๏ ไมสามารถที่จะใหบริการที่ดีได
ประเภทของการบํารุงรักษาเครื่องจักร ๏ การบํารุงรักษาแบบซ่อมเมือ่ เสีย (Break Maintenance) - การบํารุงรักษาที่ตองรอจนกวาเครื่องจะหยุด ทํางาน อันเนื่องมาจากมีอุปกรณ ในเครื่องเสีย จึงทําใหเครื่องหยุด จากนั้นจึงทําการซอมทําให สูญเสียเวลาในการบํารุงรักษา และสูญเสียเงิน คอยขางมาก ๏ การบํารุงรักษาเชิงป้องกัน (PLanned Maintanance of Preventive Maintenance) - การวางการบํารุงรักษาเครื่อง และอะไหลตางๆ ใหตามกําหนด เพื่อลดโอกาสที่เครื่องจะหยุด เสียกะทันหัน และชวยยืดอายุของเครื่องอีกดวย
๏ การบํารุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance) - เปนการบํารุงรักษาที่พัฒนาจาก PM เพราะ วาคนที่จะบอกถึงปญหาไดดีที่สุด คือ ผูใช การ บํารุงรักษาแบบนีจ้ งึ ตองอาศัยการทํางานรวมกัน ระหวาง 2 แผนก คือ ฝายซอมบํารุง และฝาย ปฏิบัติงาน ๏ การบํารุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive Maintenance) - เปนการบํารุงรักษาเครื่องพิมพโดยอาศัยหลัก การตรวจสภาพเขามาใชเปนการนําเอาเทคโนโลยี เขามาชวยในเรื่องของการบํารุงรักษาเชน เครื่อง จับการสั่นสะเทือน เครื่องตรวจอุณหภูมิ เปนตน ซึง่ วิธนี จ้ี ะทําใหเรารูข อ มูลเชิงตัวเลขทําใหสามารถ ทําสถิติการหยุดเครื่องซอมบํารุงได รวมถึงงบ ประมาณได ๏ การบํารุงรักษาเชิงรุก Proactive Maintenance - เป็นการบํารุงรักษาที่มงุ เนนไปที่อะไหลเปนหลัก วา สาเหตุที่เสียหายเกิดจากอะไร และตองทํา อยางไรไมใหเกิดขึ้นอีก
ภาพรวมของตัวเครื่องพิมพ์
> Feeder unit สวนปอนกระดาษ > Register unit สวนกํากับกระดาษ
> Printing unit สวนปอนพิมพ > Delivery unit สวนรองรับ
100 ThaiPrint Magazine
100-103_m14.indd 100
27/8/2554 5:24
การบํารุงรักษาเครื่องพิมพ ตารางหล่อลื่นและน้ํามันสําหรับเครื่องพิมพ์ จุดหล่อเลือน
สารหล่อเลื่อน
น้ํามันหลอลื่นภายในหองเครื่อง ราวโซดานกระดาษออก จารบีสําหรับจุดอัดตางๆ ชิ้นสวนตางๆ ที่ตองเคลื่อนไหว เกียรหรือเฟองของระบบลูกน้ํา Feeder Pump
น้ํามันเกียรอุตสาหกรรม โอโมลาเบอร150 น้ํามันเกียรอุตสาหกรรม โอโมลาเบอร150 จารบีเชลลอัลบาเนีย อีชี เบอร 2 สเปยหลอลื่นเบอร 40 (WD40) จารบีกันน้ําของโอเมกา (Omega 73 High Power EP grease) จารบีพิเศษทนความรอนสําหรับปมลม แอมบริกอน ทีเอ 15/2
ความถี่ในการบํารุงรักษาเครื่องพิมพ์
3. ตรวจสอบน้ํามันเครื่องที่ไหลขึ้นไปบนถาดของปอม พิมพ
4. หมุนกรองน้ํามันเครื่อง 2 ถึง 3 ครั้ง
ก่อนที่จะเริ่มใช้งานเครื่องพิมพ์ ประจําวัน 1. กอนเปดสวิชทตองแนใจ ว า ระดั บ น้ํ า มั น อยู เ หนื อ ขี ด ของเกรดดาน GS
5. 6. 7. 8.
ตรวจสอบระดับของน้ํามันลางลูกกาว ตรวจเช็คแรงดันลมใหอยูในมาตรฐาน ปดเดนวาวของปมลม Compressor ตรวจสอบระดับของน้ํามันหลอลื่นโซเดลิเวอลี่และ ควรดึงใหปมทํางานทุกวัน
2. แนใจวาไมมีเครื่องมืออยู ในบริเวณเครื่องพิมพ ThaiPrint Magazine 101
100-103_m14.indd 101
27/8/2554 5:24
Print Exclusive 9. ทําความสะอาดฝุนที่มาเกาะบริเวณตาไฟตางๆ
หลังใช้เครื่องพิมพ์ ประจําสัปดาห์ 1. ชุดสวนปอนกระดาษบริเวณที่มีการเคลื่อไหวของ ชิ้นสวนของตางๆ ควรที่จะฉีดสเปยหลอลื่นไวหลัง เสร็จงานกอนที่จะหยุดทํางาน
10. ปดทําความสะอาดระบบอัลตราโซนิค
11. คา Ph 12. คา Conductivity 13. อุณหภูมิของระบบน้ํา 2. ชุดสวนกํากับฉากแบบ ตองหลอลื่นชุดกํากับฉาก ทั้ ง แบบล อ ดึ ง และแบบลมดู ด เพื่ อ ที่ จ ะไม ใ ห ก าร ทํางานนั้นติดขัด 3. อัดจารบีชุดสวิงกริปเปอร 4. อัดจารบีชุดเฟองฉากหนา
หลังใช้เครื่องพิมพ์ ประจําวัน 1. เช็คคราบหมึกที่เกาะอยูบน Bearer ระหวางโม พิมพกับโมผายาง 2. เช็คทําความสะอาดผิว หนาของโมกดพิมพ 3. ลางทําความสะอาด ลูกกาว ลูกน้ําให เรียบรอย 4. แยกลูกน้ําใหจากกัน 5. ปลอยลมออกจาก เครื่องและใตปมลม Compressor และใต Feeder
5. InK Key ตองมีการ Exercise เพื่อไมใหติดขัด และมีการทาจารบี เพื่อใหเกิดความลื่นไหลในการ เคลื่อนตัวของ InK Key แตละตัว 6. ราวกริปเปอรตามโมตางๆ 7. ฉีดสเปรยตามแคลมปแมพิมพ 8. อัดจารบีโมผายาง 9. ลูกปนหัวโมตางๆ
102 ThaiPrint Magazine
100-103_m14.indd 102
27/8/2554 5:24
การบํารุงรักษาเครื่องพิมพ 4. ฉีดสเปรยดานในของหัวลมดูด 5. อัดจารบีเฟองลูกน้ํา 6. เปาไสกรองปมลม Feeder Pump
10. สวนของเดริเวอลี่ หรือดานกระดาษออก 11. ตรวจสอบน้าํ มัน หลอลืน่ ราวโซตอ งใหแนใจวามีการ หลอลื่นจริงเพราะขณะวิ่งเครื่องน้ํามันจะตองลดลง ถาไมลงแสดงวาวาวอาจจะเสีย 12. ฉีดสเปรยหลอลื่น ทําความสะอาดชุด ราวโซ กริปเปอร
หลังใช้เครื่องพิมพ์ ประจํา 3 เดือน 1. 2. 3. 4. 5. 6.
ชุดรางหมึกอัดจารบี 30 จุดตอ 1 ปอม เปาแปงชุดชะลอกระดาษดานกระดาษออก เปาดูดแปงที่ราวโซกริปเปอร ทําความสะอาดแปงบริเวณคอหาน ชุดตบกระดาษดานกระดาษออก เปาทําความสะอาดพัดลมดานกระดาษออก
หลังใช้เครื่องพิมพ์ ประจํา 6 เดือน 1. อัดจารบีปมลม 2. เปลีย่ นถายน้ํามันเครื่อง 3. ตรวจสอบปมลมโดยผูที่มีความชํานาญ
หลังใช้เครื่องพิมพ์ ประจําเดือน 1. เปาไสกรองฟวเตอรระบบลม 2. อัดจารบีราวโซกริปเปอรใหครบทุกๆ ราว 3. อัดจารบี Main motor
หลังใช้เครื่องพิมพ์ ประจําปี 1. 2. 3. 4.
ลางปรับตั้งกริปเปอร เปา-ดูด ตูไฟระบบไฟฟา การบวมของ Capacitor ตองเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง ThaiPrint Magazine 103
100-103_m14.indd 103
27/8/2554 5:24
Young Printer
ทิพย์นารี วงศ์ทวีเกียรติ
104 ThaiPrint Magazine
104-109_m14.indd 104
27/8/2554 5:25
ทิพยนารี วงศทวีเกียรติ
ทิพยนารี วงศทวีเกียรติ (เวป) อยากจะให้แนะนําตัวเองสั้นๆกับผู้อ่าน ชวงเวลาที่มีความสุขคะ เนื่องจากได เรียนในสิง่ ทีเ่ ราชอบ ประกอบกับการ สวัสดีคะ พี่ๆ เพื่อนๆ ทุกคน เรียนดานศิลปะ ซึ่งมีสุนทรียศาสตร ทิพยนารี วงศทวีเกียรติ เรียกสั้นๆ ในตัวอยูแ ลว แมงานจะหนักมากเพราะ วา เวป ไดเลยคะ เนนดานปฏิบัติก็ตาม เรียกไดวาสุข เคลาน้ําตาคะ (555) ประวัติการศึกษา เรียนที่ไหน เลือก เรียนคณะอะไรและชีวิตมหาลัยเป็นยังไง ตอนนี้ยังโสดอยู่หรือมีครอบครัวแล้ว บ้าง? และชีวิตครอบครัวเป็นอย่างไรบ้าง เวป จบการศึกษาชั้นมัธยม ยังโสดสนิทคะ รับสมัครนะ จากโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ตอดวย (หัวเราะ) เวปเปนลูกคนเล็กคะ มี ปริ ญ ญาตรี ค ณะศิ ล ปกรรมศาสตร พี่ชาย 2 คน เลยเอาแตใจตัวเองนิด สาขาศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ หนอย (555) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร แลวจึงไป ต่อปริญญาโทที่ ESMOD Paris มีกิจกรรมอะไรบ้างกับครอบครัวที่ทํา ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเรียนลึกลงไปใน เป็นประจํา? ดาน Creative Pattern คะ ชีวิต ครอบครัวเวปชอบทองเที่ยว มหาลัยและปริญญาโทของเวปเปน มากคะ ปะปามามาเริ่มพาเวปเที่ยว ThaiPrint Magazine 105
104-109_m14.indd 105
27/8/2554 21:06
Young Printer
ตั้งแต่ตอน 2 ขวบ เที่ยวตลอดเลย ทุกอาทิตย์ ไม่เคยอยู่บ้านเลยตั้งแต่ เด็ก (ขำ�) มีช่วงมัธยมปลายนี่เริ่มซา เพราะเวปเตรียมเอ็นท์ บวกกับพอเรา เริ่มโตขึ้นก็มีติดนู้นนี้เลยซาๆ ไป แต่ ถ้ามีโอกาสก็มกั หาทีเ่ ปลีย่ นบรรยากาศ คะ และอีกกิจกรรมทีท่ กุ คนในครอบครัว ชอบเหมือนๆ กันคือ อ่านหนังสือคะ แต่ละคนจะมีมุมส่วนตัวเลย หลุดไป เที่ยวในหนังสือ อยากให้เล่าถึงความเป็นมาของกิจการ หจก.วี.เจ.พริ้นติ้ง เริ่มก่อตั้ง วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2524 คะ โดยเปิดเป็นโรงพิมพ์รับจ้างพิมพ์งาน สิง่ พิมพ์ทว่ั ไปโดยเฉพาะหนังสือเรียน แต่เดิมอยูท่ ่ี ถ.เกษมราษฎร์ คลองเตย จากนั้นปี 2533 ได้ย้ายไปอยู่ที่ จตุจักร และปี 2547 ได้ย้ายมาที่อยู่ ปัจจุบนั ทีร่ าษฎร์บรู ณะ ปีนเ้ี ป็นปีท่ี 30 แล้ว และเราก็เพิ่มรายการผลิต โดย เพิม่ การผลิตบรรจุภณ ั ท์เข้ามาด้วยคะ
อะไรเป็ น สาเหตุ ที่ ทำ � ให้ ตั ด สิ น ใจเข้ า มา ช่วยธุรกิจของครอบครัว ความทีเ่ วปโตมาในสิง่ แวดล้อม ของโรงพิมพ์ เลยซึมซับตั้งแต่เด็ก คิดมาตลอดว่าโตขึน้ คงรับช่วงต่อแล้ว หากเราสนใจอะไร หรือชอบอะไรก็ ทำ�เป็นงานรองลงไป ชีวติ จะได้มหี ลาย สีสัน เริ่มเข้ามาช่วยกิจการของครอบครัว ตั้งแต่เมื่อไร ตอนนั่นเวปเพิ่งจบโท ป๋าม้า มาเยี่ยมเวปเลยพาพวกท่านบินไป เที่ยวฉลองกันที่โรม ประเทศอิตาลี เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ไ ม่ ค าดคิ ด กั บ ปะป๊ า ระหว่างที่นั่งรออยู่หน้าห้องผ่าตัดที่ โรม เวปได้คำ�ตอบกับตัวเองว่ากลับ ไทยดีกว่า และยิ่งแน่ใจมากขึ้นเมื่อ อีกหนึ่งเดือนต่อมาม่าม้าที่พักผ่อน ไม่พอป่วยอีกคน มันคงถึงเวลาที่เรา ต้องเริ่มทำ�อะไรแล้วละ เวปจึงเข้ามา เริ่มเรียนรู้งานคะ
106 ThaiPrint Magazine
104-109_m14.indd 106
27/8/2554 5:25
ทิพย์นารี วงศ์ทวีเกียรติ
ปัจ จุบัน บทบาทและหน้าที่ รับผิ ดชอบ กับงานธุรกิจการพิมพ์มีอะไรบ้าง เป็นเบ้ (555+) ตำ�แหน่งดู สวยหรูดดู ี ว่า Junior manager แต่ ทำ�งานจริงทำ�ทุกอย่างทุกหน้าทีท่ กุ สิง่ อัน ไม่นา่ เชือ่ ม้าจะโหดกับเรา (555) เวปเพิ่งเข้ามาทำ�ได้ประมาณหนึ่งปี นิดๆ คะ เรียนรู้งานจากม้า เรียนงาน จากหัวหน้าช่าง ทำ�บัญชี หาลูกค้า คิดเงินเดือน ทำ�อาร์ตเวิร์ค ไปส่งของ ไปรับของ รบกับลูกน้อง เห็นมั้ยเบ้ จริงๆ ระดับความยากง่ายของแต่ละงานที่เรา มีความรับผิดชอบนั้นเป็นยังไงบ้าง ทุ ก งานมั ก จะมี ตั ว แปรที่ ไ ม่ คาดคิดอยู่คะ สิ่งที่ยากคือการหาวิธี รับมือกับตัวแปรนั้นคะ ซึ่งจำ�เป็น ต้องอาศัยประสบการณ์การทำ�งาน และความอดทน เราทีเ่ พิง่ เริม่ ทำ�ต้อง เรียนรู้อีกมากคะ
เมื่อได้เข้ามาช่วยธุรกิจของครอบครัว แล้วมีความรู้สึกยังไงบ้าง? โห ทำ�ไมมันเหนื่อยขนาดนี้!!!! ตอนเด็กๆ เวปโดนจับทำ�งานบ้าง แต่ ไม่ได้เต็มตัว ช่วยเล็กๆ น้อยๆ พอมา ทำ�เต็มๆ แล้วรู้เลยคะ งานโรงพิมพ์ เป็นงานที่เรื่องเยอะมากคะ ปัญหา เกิดขึน้ ได้ตลอดเลยคะ ทัง้ กับคนและ สิ่งของ !! อุปสรรค์ที่เกิดขึ้นกับงานมีอะไรบ้างและ เรามีวิธีแก้ไขอย่างไรถึงผ่านพ้นไปได้? ขึ้นอยู่กับตัวแปรคะ สิ่งที่เวป ต้ อ งพยายามเตื อ นตั ว เองอยู่ เ สมอ คือ อดทน สติ อารมณ์คะ เพราะ เวลาทำ�งานเวปค่อนข้างจริงจัง ความ ที่ เ วปยั ง คุ ม อารมณ์ ตั ว เองไม่ ค่ อ ย เก่ง บางครั้งเราก็จะมีปัญหาคะ การ ที่เราตึง เกินไปก็เป็น อี ก เรื่ อ งที่ ต้ อ ง ปรับปรุงคะ เพราะประสบการณ์เรา น้อย ต้องอาศัยการเรียนรู้อีกมากคะ ThaiPrint Magazine 107
104-109_m14.indd 107
29/8/2554 11:23
Young Printer
แนวความคิดของการบริหารธุรกิจเป็น อย่างไร และมีความแตกต่างกับรุ่นพ่อ แม่หรือเปล่า? ต้องแตกต่างบ้างคะ เราสมัย ใหม่แล้ว บางครัง้ การปรับเปลีย่ นต้อง เกิดคะ เพือ่ ไปสูก่ ารทำ�งานทีเ่ ป็นระบบ กว่าเดิม และตอบสนองกับความต้อง การของลูกค้าที่มีมากขึ้นตามยุคสมัย แต่เนื่องจากโรงพิมพ์เราเปิดมานาน การเปลี่ยนแปลงย่อมทำ�ได้ยากเป็น ธรรมดาคะ ต้องอาศัยเวลาคะ เราไดคิดพัฒนาธุรกิจดานการพิมพที่ ตอยอดมาจากรุนกอนๆ มีอะไรบางที่ คิดวาทำ�ขึ้นใหดีกวาเดิม? ตอนนี้เราได้เพิ่มรายการผลิต เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์เข้ามาคะ เป็น รายการผลิตที่เราเพิ่งเริ่มทำ� คาดว่า ในอนาคตเราคงเปิดตลาดมากกว่านี้ คะ รวมถึงการเข้าหากลุ่มลูกค้าสมัย ใหม่คะ การที่ได้มีโอกาสเข้ามาบริหารงานด้าน ธุรกิจการพิมพ์คิดว่าโชคดีกว่าคนอื่น
หรือไม่ โชคดีสิคะ อยากเขียนหนังสือ เองก็ได้ เขียนเองพิมพ์เอง (ฮาๆๆ) เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร พี่เบนซ์ พาเวอร์ปริ้น ชวนให้ เข้าพร้อมกันคะ เข้ามาเป็นแพ็คดูโอ รู้สึก อย่ างไรกั บ บทบาทการเป็ นคณะ กรรมการ Young printer Group สนุกคะ พี่ๆ ทุกคนน่ารักมาก คะ เป็นกันเอง และให้คำ�แนะนำ� เยอะมากๆ สำ�หรับเวปที่เพิ่งเริ่มเข้า มาทำ�เป็นอะไรที่เป็นประโยชน์มาก คะ เพราะการหาประสบการณ์ท�ำ ได้ มีหลายแบบ หลักๆ เลยคือ 1. ทำ� เองเรียนรู้ด้วยตัวเอง กับ 2. คือทาง ลัด ฟังจากผู้ที่ผ่านประสบการณ์ มาก่อน ซึง่ เป็นอะไรทีห่ าไม่ได้งา่ ยๆคะ โดยส่วนตัวเวปคิดว่าการที่เราเรียนรู้ จากผู้ มี ป ระสบการณ์ น อกจากจะ ประหยัดเวลาแล้วเรายังได้ข้อคิดเห็น ที่มีประโยชน์ในการปรับใช้ด้วยคะ
108 ThaiPrint Magazine
104-109_m14.indd 108
27/8/2554 5:25
ทิพย์นารี วงศ์ทวีเกียรติ
บทบาทในการเป็นสมาชิกนั้นเราได้รับ ผิดชอบในส่วนไหนและรู้สึกอย่างไร? เวปได้รับหน้าที่เลขานุการคะ แต่ไม่รู้ทำ�ไมกลายเป็นประธานต้อง โทรมาเตือน มาบอก และแจ้งข่าวให้ เลขาแทน (5555)
คือ เรียงลำ�ดับความสำ�คัญในแต่ละ เหตุการณ์นั้นๆ คะ จัดระบบความ สำ�คัญและความจำ�เป็น จากนั้นเวลา จะเป็นของเราคะ เวลาทุกคนมีเท่า กันคะ ขึ้นอยู่กับจะใช้ยังไง อยากจะฝากอะไรหรือแนะนำ�แนวคิดดีๆ ให้กับสมาชิกรุ่นต่อๆไปไว้อย่างไรบ้าง? เวลาคิดจะทำ�อะไร ให้ลงมือ ทำ� อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อยทำ� เพราะ มันมักจะไม่ได้ทำ� การที่จะริเริ่มทำ� อะไร หากไม่ลงมือทำ� มันก็จะไม่ได้ เริ่มสักที จากประสบการณ์โดยตรง ของเวปนะคะ
กิ จ กรรมที่ ผ่ า นมาของสมาคมที่ เคย เข้าร่วมรู้สึกประทับกับกิจกรรมใดบ้าง อย่างไร เวปประทับใจกิจกรรมเยีย่ มชม โรงงานมากคะ เป็นประโยชน์และได้ เรียนรู้มาก เปิดโลกเราให้กว้างขึ้น เลยคะ อย่างที่บอกข้างต้นเวปชอบ ฟังประสบการณ์ที่มีคนถ่ายทอดให้ คะ เราฟัง เราคิด เราเรียนรู้ เราจึง อยากให้ชักชวนเพื่อนๆ ที่ยังไม่ได้เป็น ปฏิบัติคะ สมาชิก Young Printer Group อยากเชิญชวนให้สมัครเข้ามา มีการจัดสรรเวลาอย่างไร สำ�หรับการ นะคะ เวปได้อะไรเยอะมากจากการ ดูแลธุรกิจของตัวเอง งานสมาคม และ เป็น YPG ทั้งที่ปรึกษา พี่ๆ เพื่อนๆ ชีวิตส่วนตัว พาร์ตเนอร์ทางธุรกิจ กิจกรรมสนุกๆ ความจริงเวปเป็นคนมีปัญหา Young Printer Group Full Option ในการจั ด การเวลาตามประสาคน เสมอคะ อารมณ์ศิลปิน (ขำ�) แต่สิ่งที่เวปทำ� ThaiPrint Magazine 109
104-109_m14.indd 109
28/8/2554 0:27
Thaiprint News Update
คุณพรชัย รัตนชัยก�นนท์ น�ยกสม�คมก�รพิมพ์ไทย มอบดอกไม้แสดงคว�มยินดีกับคุณหิรัญ เนตรสว่�ง ที่ได้รับเลือกให้ดำ�รงตำ�แหน่งประธ�นชมรมฯ ต่ออีกว�ระ
คุณหิรัญ เนตรสวาง
นายกชมรมธุรกิจสิ่งพิมพ์ภาคเหนือ
“
รู้สึกอย่างไรกับการได้รับการยอมรับ จากสมาชิกของชมรมที่เลือกท่านมา ดำารงตำาแหน่งเป็นนายกชมรมธุรกิจ สิง่ พิมพ์ภาคเหนืออีกเป็นวาระที่ 2 ครับ? รู้สึกดีใจและยินดีเป็นอย่�ง ยิ่งที่สม�ชิกชมรมฯ ยังคงไว้ว�งใจให้ ดำ�รงตำ�แหน่งประธ�นชมรมธุร กิจ สิ่งพิมพ์ภ�คเหนือเป็นสมัยที่ 2 และ ต้องขอขอบคุณสม�ชิกฯ ทุกท่�น
”
ชมรมธุรกิจสิง่ พิมพ์ภาคเหนือได้กอ่ ตัง้ ขึ้นมาตั้งแต่เมื่อใด และมีจุดมุ่งหมายใน การพัฒนาด้านสิ่งพิมพ์ในภาคเหนือ ไว้อย่างไรบ้าง? ชมรมธุรกิจสิ่งพิมพ์ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 24 กรกฎ�คม พ.ศ. 2545 ซึ่ง ในปีนี้บรรจบครบ 9 ปีพอดี โดย คุณ สันติภาพ พันธพิกุล ต้องขอย้อนถึง อดีตของก�รก่อตั้งชมรมฯ นับว่�เป็น คว�มโชคดีในคว�มโชคร้�ยของพวก เร� (ผู้ประกอบก�รธุรกิจสิ่งพิมพ์ใน จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดใกล้เคียง) ท่�มกล�งวิกฤตที่ได้เกิดขึ้นกับพวก เร� ซึ่งในขณะนั้นนับว่�เป็นข่�วครึก โครมมิใช่น้อย พวกเร�ใช้เวล�รวมตัว
กัน 2 - 3 เดือนนับจ�กก�รรวมตัว ประชุมกันครัง้ แรก ทัง้ นีต้ อ้ งยกคว�มดี ให้แก่ท�่ นประธ�นก่อตัง้ คุณสันติภาพ พันธพิกุล และคณะทำ�ง�นชุดแรก ท่ � นอ�ศั ย ประสบก�รณ์ จ �กก�ร ทำ�ง�นด้�นกิจกรรมท�งสังคมทีส่ ะสม ม�อย่�งย�วน�นเข้�ม�ช่วยในก�ร ก่ อ ตั้ ง องค์ ก รจนพวกเร�ส�ม�รถ ดำ�เนินกิจกกรรมหล�ยด้�นได้สำ�เร็จ ลุล่วง นอกจ�กนี้ยังต้องยกคว�มดี ให้แก่คณะกรรมก�รทั้งที่ได้รับก�ร แต่งตั้งและสม�ชิกที่เสียสละตนเอง เข้�ม�มีส่วนร่วมในชมรมฯ ทั้งท�ง ตรงและท�งอ้อม ด้วยคว�มมุ่งมั่น เสียสละ ทำ�ให้กิจกรรมต่�งๆของ
112 ThaiPrint Magazine
112-115_m14.indd 112
27/8/2554 5:26
ชมรมธุรกิจสิ่งพิมพ์ภาคเหนือ
ชมรมดำ � เนิ น อย่ า งราบรื่ น มาโดย ตลอด และส่วนที่สำ�คัญที่สุดก็คือ สมาชิกผู้ประกอบการธุรกิจสิ่งพิมพ์ ในเขตเชียงใหม่และจังหวัดใกล้เคียง ที่ให้ความร่วมมือ และสนับสนุน กิจกรรมทุกครั้ง จากเริ่มแรกมี 91 กิจการ ปัจจุบันมีถึง 151 กิจการ ที่เห็นความสำ�คัญในการรวมตัว เพื่อ ช่วยเหลือซึง่ กันและกันด้านต่างๆ อัน จะก่อให้เกิดการพัฒนาเติบโตอย่าง เข้มแข็งในการทำ�กิจกรรมต่างๆ ทีจ่ ะ เป็นประโยชน์ตอ่ สังคมและเศรษฐกิจ โดยรวม กิจกรรมและโครงการต่างๆ ทีท่ างชมรม ได้ริเริ่มหรือได้ปฏิบัติไปบ้างแล้วมีอะไร บ้างสำ�เร็จผลดี หรือมีอุปสรรค์ในการ ดำ�เนินงานทางด้านไหนบ้าง และมีวิธี แก้ไขอย่างไร? ชมรมฯ ของเราเป็นชมรมฯ เล็กๆ ก่อตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นศูนย์กลางการ พบปะพูดคุยแลกเปลีย่ นประสบการณ์ กันระหว่างสมาชิก จึงไม่คอ่ ยมีโครงการ ใหญ่ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมเพื่อ
ความสมัครสมานสามัคคีและเพิม่ พูน ความรู้ให้กับสมาชิก เช่น โครงการ เข้าชมงานแสดงเครือ่ งพิมพ์ทก่ี รุงเทพฯ โครงการเยี่ยมชมสถานประกอบการ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจการพิมพ์ ส่วนงาน ด้านสาธารณประโยชน์ เช่น เมื่อปีที่ ผ่านมาได้ร่วมกับชมรมอื่นๆ ในภาค เหนือสร้างฝายชะลอน้ำ�ที่ อ.แม่พริก จังหวัดลำ�ปาง และอำ�เภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งนับว่าประสบ ความสำ�เร็จดี มีสมาชิกเข้าร่วม กิจกรรมนีม้ ากพอสมควร ด้านงานที่ต้องรับผิดชอบในส่วนของ ชมรมธุรกิจสิ่งพิมพ์ภาคเหนือมีสิ่งใด บ้าง? งานที่ชมรมฯ ต้องรับผิดชอบ โดยทั่วไปคือ เป็นสื่อกลางกระจาย ข่าวสารจากสมาคมการพิมพ์ไทยและ หน่วยงานต่างๆ ไปยังสมาชิก อีกทั้ง ยังดูแลและรับฟังปัญหาข้อคิดเห็น ของสมาชิก เพื่อนำ�มาประชุมหาข้อ แก้ไขต่อไป ThaiPrint Magazine 113
112-115_m14.indd 113
27/8/2554 5:27
Thaiprint News Update
อยากให้ ส มาคมการพิ ม พ์ ไทยเข้ า มา ช่วยเหลือด้านใดบ้างเพื่อการพัฒนา และขับเคลื่อนไปพร้อมๆ กัน ผมคิ ด ว่ า การที่ ส มาคมการ พิมพ์ไทยมาจั ด สั ม มนาสั ญ จรปี ล ะ 1 - 2 ครั้ง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ ป ระกอบการสิ่ ง พิ ม พ์ ภ าคเหนื อ ให้มีโอกาสเข้ า มารั บ ฟั ง อย่ า งมาก ถือว่าเหมาะสมดีอยู่แล้ว ความพร้อมในการได้รับตำ�แหน่งนายก ชมรมธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ์ ภ าคเหนื อ สมั ย ที่ 2 ท่านมีความพร้อมในการพัฒนา ชมรมอย่ า งใดบ้ า งและจะสานงานต่ อ ด้านไหนก่อนเป็นอันดับแรก ในเมือ่ ได้รบั ความไว้วางใจจาก สมาชิกชมรมฯ แล้วก็ต้องพร้อมที่จะ ทำ�หน้าที่ให้ดีที่สุด แต่ชมรมจะเจริญ ก้าวหน้าได้นน้ั คงไม่ได้ขน้ึ อยูก่ บั ประธาน แต่เพียงผูเ้ ดียว แต่ตอ้ งมีคณะกรรมการ และเพื่อนสมาชิกช่วยกันทำ�งาน เพื่อ ให้ชมรมขับเคลือ่ นไปข้างหน้าได้อย่าง ยั่งยืนและมั่นคง ท่ า นมี แ นวคิ ด กั บ ธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ์ ใ น ประเทศไทยเราว่าจะเติบโตมากขึ้นขนาด ไหนและมีความพร้อมทางด้านใดบ้าง สำ�หรับสิ่งพิมพ์ในภาคเหนือ ผมคิดว่าธุรกิจสิ่งพิมพ์ในเมือง 114 ThaiPrint Magazine
112-115_m14.indd 114
ไทยมีการพัฒนามาเรือ่ ยๆ โดยตลอด ส่วนสิ่งพิมพ์ทางภาคเหนือ ก็มีการ พัฒนาขึน้ มากโรงพิมพ์บางแห่งสามารถ สร้างงานทีม่ คี ณ ุ ภาพได้ไม่นอ้ ยไปกว่า โรงพิมพ์ใหญ่ๆ ในกรุงเทพฯ เลย แต่ ลูกค้ายังคงยึดติดกับความคิดเก่าๆ ที่ คิดว่าเทคโนโลยีทันสมัย และงานที่มี คุณภาพต้องผลิตที่กรุงเทพฯ เท่านั้น คุณภาพ เวลา ราคาที่คุณพอใจใน ภาคเหนือก็มี จุดหมายสูงสุดที่ตั้งเป้าเอาไว้สำ�หรับ ชมรมธุรกิจสิ่งพิมพ์ภาคเหนือท่านได้ ตั้งไว้อย่างใดบ้างและคาดว่าจะใช้ระยะ เวลานานเท่าใดจึงจะแล้วเสร็จ หน่ ว ยงานทุ ก แห่ ง ย่ อ มมี เ ป้ า หมายสูงสุดอยู่ แต่การที่จะกำ�หนด ระยะเวลาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น คงจะเป็นไปได้ไม่ง่าย จึงอยากให้มัน พัฒนาขึ้นไปเรื่อยๆ ตามธรรมชาติ มากกว่า ทางชมรมธุรกิจสิ่งพิมพ์ภาคเหนือยัง ขาดสิ่งใดบ้างที่อยากให้สมาคมฯ หรือ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเข้ า มาดู แ ลและ ช่วยในการสนับสนุนในสิ่งต่างๆ ณ เวลานี้สิ่งที่ยังขาดเหลืออยู่ ก็คือ งบประมาณสนับสนุนโครงการ ชมงาน Pack Print ที่กรุงเทพ
>>
27/8/2554 5:27
ชมรมธุรกิจสิ่งพิมพ์ภาคเหนือ
คุณหิรัญ เนตรสว่าง นายกชมรมธุรกิจ สิ่งพิมพ์ภาคเหนือ
ขณะนี้สมาชิกของชมรมธุรกิจ สิง่ พิมพ์ภาคเหนือมีจ�ำ นวนเท่าใด และมีการแบ่งส่วนการทำ�งานไว้ อย่างไรบ้าง ? ปัจจุบนั มีสมาชิกทัง้ หมด 151 ราย โดยแบ่งเป็นสมาชิก ทั่วไป 125 ราย และสมาชิก สมทบ 26 ราย
ThaiPrint Magazine 115
112-115_m14.indd 115
27/8/2554 5:27
Print News
Muller Martini and RIMA-SYSTEM Seal Close Partnership In order to provide their customers with optimized production processes for press delivery systems and offer a comprehensive support service, the two system manufacturers, Muller Martini and RIMA-SYSTEM will be working together in the future.
For this reason, the two finishing specialists, RIMA-SYSTEM and Muller Martini have entered into a cooperative agreement, which will enable them to use shared synergies and offer their customers perfect, customized solutions.
Now, more than ever before, price competition and surplus capacities in the market due to increasingly efficient press delivery systems require the graphic arts industry to confront high cost pressure with flexible systems and intelligent automation of production systems.
Bruno Müller, CEO of Muller Martini, said that “for web printers in particular, it is important in today’s environment to be able to use the right technology for their production facilities. The cooperation with RIMA-SYSTEM allows our customers to choose their ideal and individual solution from the extensive product line offered by the two market leaders. This means users can benefit from the most efficient solution in each case – e.g. a Newsveyor conveyor system from Muller Martini paired with a compensating stacker and palletizing robot from RIMA-SYSTEM.”
This is particularly true for press delivery systems, which are an important interface between printing and finishing. High availability is an important factor alongside process intelligence and reliability when it comes to cost-optimized finishing. To achieve this, leading edge technology as well as optimum service support are required. 116 ThaiPrint Magazine
116-117_m14.indd 116
27/8/2554 5:28
Muller Martini and RIMA-SYSTEM Seal Close Partnership The two partners have coordinated and streamlined their joint product lines in accordance with current requirements. This optimized product line includes the areas of conveying, cutting, stack production, bundle production and roll production as well as palletizing and will be supplemented with a professional range of services with comprehensive service being provided by the Muller Martini national companies and the RIMA-SYSTEM project centers.
and RIMA-SYSTEM, our customers will benefit from the best technology, a global sales and service network with extensive system knowledge and the stability of two financially strong manufacturers.”
“Our partnership with Muller Martini is much more than a cooperation agreement. It is a commitment to finding the best solution for the customer, which is defined independently of the manufacturer label and must be optimally adapted to the respective application. After all, our main priority is that the customer benefits from the solution,” said Dr. Axel B. Tübke, CEO of RIMA-SYSTEM.
Muller Martini, as a world-wide group of companies, is a leader in the development, manufacturing and marketing of a wide range of print finishing systems and size-variable web offset printing presses. For more than 65 years, the family business has been developing innovative, marketable products and support services which meet the highest customer demands. Today, Muller Martini operates in seven business segments: unique digital solutions, size-variable web offset printing, press delivery systems, stitching, softcover and hardcover production and newspaper mailroom. http://www.mullermartini.com
In the past, the two organizations have already worked together very successfully on projects in rotogravure processing and printing commercial work. For example, Grafiche Mazzuchelli in Seriate near Bergamo, Italy, opted for a joint solution by the two new system partners. At the Italian location, a Muller Martini Newsveyor conveyor brings the printed products of the 96-page printing press safely to the RIMA-SYSTEM stackers and robots. Another, current example is Eurogravure, a rotogravure company near Milan, Italy, where RIMA-SYSTEM, in close cooperation with Muller Martini, is currently integrating a palletizing robot solution into a complete Muller Martini press delivery system. “Together, we are creating investment security and the basis for maximum availability of printing presses and print finishing systems,” said Bruno Müller and Dr. Axel B. Tübke with confidence. “With the partnership between Muller Martini
Details of the agreement will be available at the end of July on the websites of the two manufacturers.
Muller Martini
RIMA-SYSTEM RIMA-SYSTEM is a world-wide group of companies, which is a leader in the development, manufacturing and marketing of post press solutions – from simple stackers to highly automated systems with palletizing robots – for commercial printing and web rotogravure printing. This is enhanced with selective solutions for small newspapers and the material handling behind book binding machines. For more than 35 years, the flexible and innovative family business has been developing productive and reliable solutions, which are marketed and supported via its own Project & Support Centers. http://www.rima-system.com ThaiPrint Magazine 117
116-117_m14.indd 117
27/8/2554 5:28
Printing Print News Education & Development
งานการพิมพ์ไทยสัญจร 54 ภาคเหนือ
เมื่อวันเสาร์ที่ 9 กรกฏาคม 2554 ที่ผ่านมาทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดการสัมมนา การพิมพ์ไทยสัญจร 54 ภาคเหนือ ณ ห้องคอนเวนชั่น โรงแรม เลอ เมอร์ริเดียน เชียงใหม่โดยมีกลุ่มพี่น้องในอุตสาหกรรมการพิมพ์และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง รวมถึงผู้ประกอบการ ทั่วไปในภาคเหนือ ได้เข้ารับฟังการบรรยาย ในการสัมมนาทางวิชาการจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านสิ่งพิมพ์ และความรู้ทั่วไปในการบริหารธุรกิจ โรงพิมพ์ส�ำ หรับผู้ประกอบการทั่วไป อีกทั้งยังมีโอกาสได้ร่วมพบปะพูดคุยกับผู้จำ�หน่ายเครื่องจักร และอุปกรณ์การพิมพ์ ชั้นนำ�ของประเทศไทย พร้อมโปรโมชั่นพิเศษในงานมากมาย ซึ่งก็ได้รับการตอบรับจากกลุ่มอุตสาหกรรมภาคเหนือเป็นอย่างดี
รอยยิ้มพร้อมสินค้าคุณภาพในการเข้าร่วมงาน จาก บริษัท ไฮเดลเบิร์ก (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัท โตโยอิงค์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ได้มีเจ้าหน้าที่ค่อยให้ความรู้เรื่องคุณสมบัติ ของหมึกที่ใช้ในการพิมพ์อย่างละเอียด
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคม การพิมพ์ไทยถ่ายภาพกับคุณฉี บริษัทซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
ภาพบรรยากาศบนเทวี มีการซักถามประเด็นสำ�คัญๆ ของหัวข้อต่างๆ จากผู้ร่วมบรรยาย
บริษัทฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด กับรอยยิ้มสร้างบรรยากาศสดใสให้กับงานครั้งนี้
แขกผู้มีเกียรติและกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ภาคเหนือ เข้าร่วมฟังการบรรยายกันอย่างเนืองแน่น
คุณสุวิทย์ เพียรรุ่งโรจน์ ประธานกลุ่ม Young Printer Group ให้เกียรติเป็น ผู้ดำ�เนินรายการ
คุณเกษม แย้มวาทีทอง นายกสมาคม การบรรจุภัณฑ์ไทย ขึ้นมอบของรางวัล
คณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ไทยและกลุ่ม Young Printer Group เบื้องหลังทีมงานแห่งความสำ�เร็จ 118 ThaiPrint Magazine
118_m14.indd 118
27/8/2554 5:30
Print News
บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) จํากัด ได้บริจาคเพลทเก่าใช้แล้ว น้ําหนัก 6.701 กก.
คิดเป็นมูลค่ากว่า 400,000 บาท
ให้กับ มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เพื่อนําไปผลิตเป็นขาเทียมให้แก่ผู้พิการ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2554
โครงการเรียกคืนวัสดุอะลูมิเนียม เพื่อจัดทําขาเทียมพระราชทาน คณะ บจก. หงอี้ เครือ่ งจักรสิง่ พิมพและอุปกรณ (ประเทศไทย) จํากัด นําโดย Mr.Cai พรอมกับ คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทยฯ และ คุณเกษม แยมวาทีทอง นายกสมาคมบรรจุภัณฑฯ เขาเยี่ยม ชมโรงงาน CHENG MING MACHINERY Co., Ltd. ผูผลิตเครื่องปะกลองคุณภาพดี ยี่หอ CM อันมีชื่อเสียง ณ เมืองตงกวน ประเทศจีน เมื่อเดือนมิถุนายน 2554 ที่ผานมา
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย (ที่ 2 จากซาย) คุณเกษม แยมวาทีทอง นายกสมาคมการบรรจุภัณฑไทย (ที่ 2 จากขวา) เขาเยี่ยมชมโรงงาน ThaiPrint Magazine 119
119_m14.indd 119
27/8/2554 5:31
อาคาร 60 ป สมาคมการพิมพไทย
อาคาร 60 ปี
หองสมุด
Thaiprint Lab ThaiPrint Magazine 121
121-122_m14.indd 121
27/8/2554 5:33
อาคาร 60 ป สมาคมการพิมพไทย
อาคาร 60 ปี สมาคมการพิมพ์ไทย จากหองแถวเล็กๆ 2 คูหา ณ ซอยจินดาถวิล ถ.สี่พระยา สูบานหลังที่ 2 โฮมออฟฟศ 5 ชั้น บนถนน นวลจันทร สูอาคาร 60 ป สมาคมการพิมพไทยบนถนนพระราม 9 ที่จะเปนศูนยขอมูลอุตสาหกรรมการพิมพ เปน สถานที่ประชุมสัมมนา เปนศูนยทดสอบมาตราฐานวัสดุและอุปกรณการพิมพ ตลอดจนเปนสถานที่ทําการฝกพิมพ อบรมและสรางบุคคลากรทางการพิมพ อาคารไดดําเนินการกอสรางไปบางแลว แตยังขาดทุนทรัพยเปนบางสวน ทานผูมีจิตศรัทธาสามารถชวย สนับสนุนบริจาคทุนทรัพย หรือชวยสนับสนุนซื้อที่ดินบริเวณ ถนนบางนา เพื่อนําเงินมาสมทบทุนสรางอาคาร สมาคมใหม
รายนามผู้สนับสนุนจะถูกจารึกไว้ ณ อาคาร ฯ เพื่อเป็นการร่วมประกาศเกียรติคุณ
ที่ท่านได้ร่วมสร้างฝันให้เป็นจริง 1. บริษัท นิวไวเต็ก จํากัด 1,500,000 2. บริษัท สาฮะแอนดซันสพริ้นติ้ง จํากัด 500,000 3. บริษัท ส.ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส จํากัด 400,000 4. บริษัท คอนติเนนตัลบรรจุภัณฑ (ไทยแลนด) จํากัด 300,000 5. บริษัท ไซเบอรพริ้นท จํากัด 300,000 6. บริษัท วงตะวัน จํากัด 200,000 7. บริษัท วิสคอมเซ็นเซอร จํากัด 200,000 8. บริษัท เฮาสการพิมพและบรรจุภัณฑ จํากัด 200,000 9. บริษัท ก.การพิมพเทียนกวง จํากัด 200,000 10. บริษัท โรงพิมพหยี่เฮง จํากัด 200,000 11. บริษัท บวรสารการพิมพ จํากัด 200,000 12. คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ 200,000 13. บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) 200,000 14. คุณพิมพนารา จิรานิธิศนนท 200,000 15. บริษัท เอสเอ็ม กราฟฟริก เซ็นเตอร จํากัด 150,000 16. บริษัท เพาเวอรพริ้น จํากัด 100,000 17. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด 100,000 18. บริษัท สํานักพิมพสุภา จํากัด 100,000 19. บริษัท โรงพิมพรุงเรืองรัตน จํากัด 100,000 20. บริษัท โรงพิมพอักษรสัมพันธ (1978) จํากัด 100,000 21. บริษัท พิมพดี จํากัด 50,000 22. บริษัท ฐานการพิมพ จํากัด 20,000 23. บริษัท อินเตอรอิงค จํากัด 20,000 24. บริษัท โรงพิมพเดือนตุลา จํากัด 20,000
บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท
122 ThaiPrint Magazine
121-122_m14.indd 122
27/8/2554 5:33
Print Exclusive
ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ไทย ในบริบทเศรษฐกิจโลก
ในงาน SCG Paper Business Partnership Seminar 2011 ณ โรงแรม พลาซา แอทธินี กรุงเทพ เอ รอยัล เมอริเดียน เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554
จากการถอดเทปการบรรยายของ
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล
รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ปรึกษานายกสมาคมการพิมพ์ไทย
เป็นที่ทราบกันดีกว่าปจจุบันภาพรวมของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ในประเทศไทย สามารถแบ่งออก เป็นสองส่วนอย่างชัดเจน ส่วนแรกคือ การพิมพ์เพื่อใช้บริโภคภายในประเทศและอีกส่วนหนึ่งคือ การ พิมพ์เพื่อการส่งออก ซึ่งหากเราจะมองในมุมภาพรวมของตลาดทั้งสองส่วน พบว่าปจจุบันอุตสาหกรรม การพิมพ์ได้รบั ผลกระทบจากหลายวิกฤตทัว่ โลก ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการลุกขึน้ ประท้วงของประเทศในภาค พื้นตะวันออกกลาง ซึ่งมีผลกระทบต่อภาคพลังงานทําให้ราคาน้ํามันพุ่งสูงขึ้น ปญหาที่ตามมาคือ การ ทําให้ต้นทุนการผลิตสิ่งพิมพ์เพิ่มมากขึ้นและยังส่งผลกระทบต่อต้นทุนการขนส่ง (Logistic) ของเยื่อ กระดาษ ซึ่งเท่ากับว่าต้นทุนผลิตกระดาษจะสูงขึ้นเป็นเงาตามตัว เป็นที่น่าสังเกตว่าภาวะเศรษฐกิจทั่ว โลกที่มีปญหาอาจจะเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งของชาติมหาอํานาจของตะวันตก เนื่องจากการส่งกําลังเข้า ไปรบในลิเบียนัน้ ส่งผลทําให้ราคาน้าํ มันทีก่ าํ ลังอยูใ่ นช่วงราคาทีย่ อมรับได้นน้ั กลับเพิม่ ขึน้ และมีแนวโน้ม ว่าจะปรับตัวสูงขึ้นไปเรื่อยๆ 124 ThaiPrint Magazine
124-135_m14.indd 124
27/8/2554 5:34
ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ไทยในบริบทเศรษฐกิจโลก
สำ�หรับตลาดสิ่งพิมพ์ของไทยเวลานี้เรายังถือว่า โชคดี เนื่องจากอุตสาหกรรมภายในประเทศมีความ เข้มแข็ง และด้วยเหตุที่ว่าเรามีอุตสาหกรรมต้นน้ำ�ของ เราเอง และเป็นอุตสาหกรรมเดียวที่มีการจัดการห่วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) ที่ค่อนข้างจะแข็งแรง และเรา ยังเป็นอุตสาหกรรมตัวอย่าง (Cluster) ให้กับหลายๆ อุตสาหกรรม อีกทั้งประเทศไทยมีความชัดเจนในเรื่อง ของการเป็นแหล่งผลิตอาหารของโลก (Kitchen of the World) เป็นอันดับหนึง่ ในภูมภิ าคเอเชีย ในรูปแบบรับจ้าง ผลิต (OEM: Original Equipment Manufacturer) ให้ กับประเทศอื่นๆ อีกมากมายในโลก การพิมพ์ในวันนีเ้ ราเติบโตไปพร้อมกับค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศที่สูงขึ้น (GDP: Gross Domestic Product) รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าด้านการศึกษาของ คนในประเทศทำ�ให้ความต้องการใช้สิ่งพิมพ์และการใช้ กระดาษยังเติบโตอยู่ เพราะฉะนัน้ หากเรามาดูหมวดการ ใช้กระดาษภายในประเทศเราจะเห็นได้ชัดเจนว่า เรา ยังมีอัตราการเจริญเติบโตอยู่ และเมื่อปีที่แล้วพบว่า อุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ์ มี อั ต ราการเติ บ โตอยู่ ป ระมาณ 7 – 8% ของภาพรวมและเมื่อเทียบภาพรวมของการ เติ บ โตของอุ ต สาหกรรมกระดาษก็ ถื อว่ า ใกล้ เ คี ย งกั น แต่ว่าเรามีปัจจัยที่เป็นบวกที่เห็นชัดเจนก็คือ เรื่องของ การส่งออก
การส่งออกในปี 2553 ที่ผ่านมาถึงแม้วา่ เราจะ เจอปัญหามากมาย แต่วา่ การส่งออกของประเทศไทยนัน้ เราไปได้ถึง 2,098 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นคิดเป็น เงินไทย 60,000 กว่าล้านบาท มีอัตราการเจริญเติบโต กว่าปีที่แล้วประมาณ 35% และประเทศที่เราส่งออก 10 ประเทศนั้น เป็นประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเชีย 9 ประเทศ และอีก 1 ประเทศที่อยู่นอกภูมิภาคนั้นคือ ประเทศ สหรัฐอเมริกา จะเห็นว่า 80 – 90% ตลาด ส่งออกนั้นอยู่ในประเทศแถบเอเชียทั้งสิ้น และเป็น ภูมิภาคที่มีความเติบโตในแนวโน้วที่สูงมาก ประเทศแรก ที่นำ�เข้าสิ่งพิมพ์จากประเทศไทยมากที่สุด คือ ประเทศ ฮ่องกง อันดับสองคือ ญี่ปุ่น อันดับสาม มาเลเซีย รองลงมาคือ เวียดนาม อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน สหรัฐอเมริกา และสิงคโปร์ ตามลำ�ดับ สำ�หรับคำ�ถามทีว่ า ่ แนวโน้มการส่งออกปีนจ้ี ะเป็น อย่างไร ผมได้มีโอกาสให้สัมภาษณ์สดกับวิทยุคลื่นหนึ่ง ในหัวข้อผลกระทบจากผลกระทบจากสึนามิของประเทศ ญี่ปุ่นส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร ในต้นปีในช่วงเดือน มกราคม และ กุมภาพันธ์ ตัวเลขการส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่นมีตัวเลขอยู่ที่ 45 ล้านเหรียญสหรัฐ และเพียงสองเดือนแรกที่กล่าวมาข้าง ต้นนั้น เมื่อเทียบกับปีที่แล้วเราเติบโตขึ้นมา 32% และ ถือได้ว่ายังมีอัตราการเติบโต แต่หลังจากที่เกิดสึนามิ ThaiPrint Magazine 125
124-135_m14.indd 125
27/8/2554 5:34
Print Exclusive
แล้วนั้นสถานการณ์จะเป็นอย่างไรบ้างนั้น เป็นคำ�ถาม ที่ตอบได้ยาก แต่ต้องยอมรับในเบื้องต้นว่า ขณะนี้ ประเทศญี่ปุ่นเกิดปัญหาความชะงักกันในภาคการผลิต ส่งผลให้การสั่งนำ�เข้าสินค้าสำ�เร็จรูปถูกชะลอลงไปด้วย เนื่องจากทางประเทศญี่ปุ่นต้องการเวลาในการปรับตัว และแก้ไขปัญหาต่างๆ โรงงานที่ได้รับผลกระทบมาก ในญี่ปุ่นนั้นส่วนใหญ่จะเป็นโรงงานที่ตั้งอยู่ริมทะเล โดย เฉพาะโรงงานที่อยู่ในหมวดอุตสาหกรรมกระดาษชั้นนำ� ของประเทศญีป่ นุ่ ยกตัวอย่างเช่น บริษทั นิปปอน (NPI) หรือ บริษัทมิตซูบิชิที่ได้รับความเสียหายในส่วนสต๊อก สินค้าทำ�ให้สนิ ค้าไม่เพียงพอต่อ ความต้องการใช้กระดาษ ในประเทศญี่ปุ่นต้องรีบนำ�สินค้าเข้าอย่างเร่งด่วน และ ขนาดเดียวกันโรงพิมพ์อน่ื ๆ ทีย่ งั เปิดการผลิตได้นน้ั ก็ตอ้ ง หยุดการผลิตไปด้วยเช่นกัน เนือ่ งจากมีปญ ั หาเรือ่ งพลังงาน ที่มีไม่พอต่อความต้องการ ซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาของ ประเทศญีป่ นุ่ คือ การทำ�งานเป็นโซนนิง่ สลับเปิดการผลิต โซนละ 4 – 5 ชั่วโมง ฉะนั้นคาดการได้ว่าอีกประมาณ 3 – 6 เดือน ญี่ปุ่นก็ยังอยู่ในขั้นของการปรับตัวอยู่ นอกจากนี้ยังมีประเด็นที่ชัดเจนอีกประเด็นหนึ่งคือการ ที่ญี่ปุ่นสั่งนำ�เข้ากระดาษจากประเทศจีนเป็นจำ�นวนมาก นั้นทำ�ให้ราคากระดาษในตอนนี้เริ่มปรับตัวสูงขึ้น
มีหลายคนถามว่าแล้วอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์จะมี ผลกระทบมากหรือน้อยอย่างไร การตอบคำ�ถามประเด็น นี้ค่อนข้างเป็นไปได้ยาก แต่ในช่วงสั้นๆ นั้นมีผลกระทบ แน่นอน ณ เวลานี้มีขา่ วออกมาว่าโรงพิมพ์ที่ญี่ปุ่นหลาย แห่งประสบปัญหาไม่สามารถทำ�การพิมพ์ได้ และอาจต้อง นำ�เข้าสิ่งพิมพ์จากประเทศไทยเพิ่มขึ้นแต่อยู่ในรูปแบบ ของการนำ�เข้าสิ่งพิมพ์สำ�เร็จรูป โดยเฉพาะในช่วง 3 – 6 เดือนนี้ เป็นช่วงที่นา่ สนใจเป็นพิเศษ ความเป็นจริงแล้วทางสมาคมการพิมพ์และกลุ่ม อุตสาหกรรมการพิมพ์ฯ เรามีความตั้งใจที่จะไปเชิญชวน ญี่ปุ่นเข้ามาร่วมลงทุนในประเทศไทย ส่วนนี้ทางเราได้มี แผนงานร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมอยู่ก่อนหน้านั้น แล้ว โดยท่านผู้ช่วยรัฐมนตรีอุตสาหกรรม คุณพุทธิพงศ์ ปุณณกันต์ มีความสนใจในการทำ�โครงการจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) ระหว่างประเทศไทยกับประเทศ ญี่ปุ่น โดยจะมอบหมายให้หน่วยงาน บีโอไอ เป็นผู้ รับผิดชอบ ซึ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนด้วยกัน ส่วนแรกคือ การเชิญชวนให้ประเทศญี่ปุ่นย้ายฐาน การผลิตส่งทำ�สิ่งพิมพ์จากประเทศไทย จากที่ผมเคยเล่า ให้หลายคนฟังว่า ขณะนี้คุณภาพสิ่งพิมพ์ของไทยเราเป็น ที่ยอมรับของผู้ซื้อสิ่งพิมพ์ของญี่ปุ่น ซึ่งประเทศไทยติด
126 ThaiPrint Magazine
124-135_m14.indd 126
27/8/2554 5:35
ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ไทยในบริบทเศรษฐกิจโลก
อันดับ 1 ใน 10 สำ�หรับรายชื่อผู้ผลิตสิ่งพิมพ์ที่ ประเทศญี่ปุ่นให้ความไว้วางใจในการจัดส่งสิ่งพิมพ์เข้าสู่ ประเทศของเขาได้และนั่นเป็นสาเหตุที่ทำ�ให้ตัวเลขของ อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์เพิ่มมากขึ้น แต่เนื่องจากการเกิด สึนามิจึงทำ�ให้เราต้องชะลอโอกาสเหล่านี้ไว้ก่อนและ ทันทีที่สถานการณ์ในประเทศญี่ปุ่นเข้าสู่ภาวะปกติเรา จะนำ�ทัพใหญ่เชิญชวนผู้ประกอบการของประเทศญี่ปุ่น หันมาซื้อสิ่งพิมพ์ในประเทศไทย เพื่อจะกระจายความ เสี่ยงและลดต้นทุน และส่วนที่ 2 คือ การเชิญชวน โรงพิมพ์ในระดับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME: Small and Medium Enterprises) ของประเทศญีป่ นุ่ ให้ เข้ามาร่วมลงทุนในประเทศไทยเพื่อรองรับออเดอร์จาก ประเทศญี่ปุ่นเข้าสู่ประเทศไทยในอนาคต แม้ว่าอุตสาหกรรมการพิมพ์ของประเทศไทยจะ ได้รับผลกระทบมากมายจากปัจจัยลบต่างๆ แต่ตัวเลข การส่งออกอ้างอิงจาก กรมการส่งออกนั้น พบว่า การส่ง ออกแค่ช่วง 2 เดือนแรก (ม.ค.- ก.พ. ) มียอดการส่งออก ถึง 1,117 ล้านเหรียญสหรัฐ เมื่อเทียบกับพี่ที่แล้วทั้งปี 2,098 ล้านเหรียญ เพิ่มจากปีก่อนคิดเป็น 35 % ตามที่ เคยกล่าวไว้ข้างต้นนั้นเป็นแนวโน้นที่ค่อนข้างดีมาก ขณะนี้ประเทศไทยเป็นอันดับที่หนึ่ง ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเรื่องของตัวเลขการส่งออก ซึ่งเราจะไม่พูดถึงสิงคโปร์เพราะสิงคโปร์ถูกประเทศไทย ทิ้งขาดไปแล้ว แต่ประเทศที่กำ�ลังจะเป็นคู่แข่งสำ�คัญใน ขณะนีค้ อื ประเทศจีนเนือ่ งจากจีนมีโรงงานทีเ่ ป็นฐานการ ผลิตกระดาษเป็นอันดับต้นๆ ของโลกทำ�ให้มีกำ�ลังการ ผลิตที่เหลือเฟือ และเนื่องด้วยประเทศจีนกำ�ลังกระตุ้น เศรษฐกิจภายในประเทศพร้อมกับการส่งออก ทำ�ให้จีน มีความต้องการใช้สิ่งพิมพ์ในประเทศมากมาย และเนื่อง ด้วยจีนเป็นประเทศเกิดใหม่เลยทำ�ให้มีศักยภาพและ โอกาสทางการตลาดสูงสำ�หรับสิ่งพิมพ์ นอกเหนือจาก นั้นรัฐบาลจีนยังได้ประกาศนโยบายที่ต้องการสนับสนุน ให้ อุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ์ จี น ขึ้ น เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของผู้ ส่งออกสิ่งพิมพ์ของโลก ซึ่งนั่นหมายความว่าประเทศจีน เขาไม่พูดกันในระดับเอเชียกันแล้วเขาจะพูดกันระดับ โลกเท่านั้น ซึ่งปัจจัยทางประเทศจีนนั้น เราจะมองเห็น อย่ างชั ด เจนในอี ก ไม่ ก ี ่ ป ี ข้า งหน้ า ซึ ่ ง ผมคิ ด ว่า คนใน อุตสาหกรรมการพิมพ์จะต้องรีบทำ�ความเข้าใจเพราะ เรามีเวลาอีกประมาณ 4 ปีกว่า และเมือ่ เราเป็นประชาคม เอเชียหรือ AEC แล้วเราจะมีตลาดใหญ่ของประชากร จำ�นวนถึง 600 ล้านคนซึ่งเป็นตลาดที่มีกำ�ลังซื้อสูงและ มีอัตราเติบโตมาก ซึ่งก็ทำ�ให้เกิดเสรีแห่งโอกาสของการ ThaiPrint Magazine 127
124-135_m14.indd 127
27/8/2554 5:35
Print Exclusive
ไหลเวียนของทุน แรงงาน การผลิต บริการ และ เทคโนโลยีต่างๆ แต่ในขณะเดียวกันหากอุตสาหกรรม ของเราเตรียมความพร้อมไม่ดีพอ เราอาจจะเสียเปรียบ ประเทศอื่นๆ ได้เช่นกัน เพราะฉะนั้นการเป็นประชาคม เอเชียของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์วันนี้ไม่ได้เป็นของไกลตัว ว่าแต่ต้องถามตรงๆ ว่าท่านพร้อมกันหรือยัง !! เพราะฉะนั้น เรื่องนี้ก็คงเป็นหัวข้อใหญ่อีกเรื่องที่ ทางสมาคมการพิมพ์ไทยและกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์ฯ เราจะให้ความรูแ้ ละความเข้าใจแก่สมาชิกของเรา และจะ จัดให้มีการสัมมนาในหัวข้อนี้อย่างเจาะลึก เราจะเชิญ วิ ท ยากรผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ทั้ ง หลายมาให้ ค วามรู้ ใ นเรื่ อ ง ดังกล่าว เพื่อจะให้ท่านทั้งหลายได้เตรียมตัวว่าใน ปี 2015 พวกเราจะต้องเตรียมตัวอย่างไร สิ่งที่เห็นชัดมากในเวลานี้ คือ ในเวทีของตลาด อาเซียน ซึ่งรวมทั้งประเทศไทย ก็ได้ถูกทัพนักลงทุน ขนาดใหญ่ทั้งจากประเทศญี่ปุ่น และจีนเข้ามาแย่งซื้อ ทรัพยากรทางด้านพืชผลการเกษตร ซึ่งรวมไปถึงโรงงาน ผลิตเยื่อกระดาษและพื้นที่สำ�หรับการปลูกป่าในลักษณะ ที่เป็นคอนแทรคฟาร์มมิ่ง (Contract Farming) อย่าง มากในภูมิภาคนี้ ทราบมาว่า ขณะนี้ทางจีนได้เข้ามาเจรจาขอซื้อ สำ�เร็จไปแล้วหลายโครงการ และทางญี่ปุ่นเองก็ได้มาซื้อ โรงงานผลิตเยือ่ กระดาษรายหนึง่ ของไทยไปเป็นทีเ่ รียบร้อย แล้วเช่นกัน คงจะมีข่าวออกมาเปิดเผยสู่สาธารณะใน เร็วๆ นี้
แต่นั่นยังไม่รวมถึงโรงพิมพ์ขนาดใหญ่จำ�นวนมาก โดยเฉพาะทางด้ า นบรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ นประเทศไทยถู ก ทุ น ญี่ปุ่นเข้ามาทาบทามขอซื้อกิจการ ซึ่งเชื่อว่าต่อจากนี้ไป พวกเราคงจะได้เจอเหตุการณ์ในลักษณะเช่นนี้มากขึ้นๆ เรือ่ ยๆ เนือ่ งจากเป็นทีท่ ราบกันดีวา่ ประเทศไทยเป็นตลาด ทีด่ มี ศี กั ยภาพสูง และประเทศเราก็ยงั มีโอกาสในการเติบโต อีกมาก ส่วนคำ�ถามที่ว่า สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่กำ�ลังมี บทบาทอยู่มากตามกระแสโลกนั้นจะส่งผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมการพิมพ์หรือไม่นน้ั ผมคิดว่าคงเป็นคำ�ถาม ที่คนส่วนใหญ่อยากรู้ และจะถือว่าเป็นภัยคุกคามที่จะ ทำ�ให้ความต้องการใช้สิ่งพิมพ์ลดลงหรือไม่นั้น สำ�หรับ ผมมองว่าสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อดิจิตอลนั้นอาจมีผล กระทบกับสิง่ พิมพ์ในบางหมวดเท่านัน้ เอง หากเราศึกษา การบริโภคกระดาษของโลกแล้ว เราจะพบว่า อัตราการ ใช้กระดาษยังคงมีภาวะการเจริญเติบโต เนื่องจากยังมี ประเทศที่เกิดใหม่ที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่าง รวดเร็ว ยกเว้นประเทศทีม่ คี วามอิม่ ตัวทางด้านสือ่ สิง่ พิมพ์ มากๆ อย่างเช่น สหรัฐอเมริกา หรือในยุโรปจะเห็นได้ว่า ในส่วนที่เป็นหนังสือพิมพ์จะได้รับผลกระทบมาก แต่ ยอดการจัดจำ�หน่ายไม่ได้ลดลงเลย หนังสือพิมพ์หลายๆ หัวยังคงมียอดจำ�หน่ายถึง 2 – 3 ล้านฉบับ แต่ทข่ี าดทุน หรือเลิกกิจการไปนั้นเกิดจากรายได้จากยอดโฆษณา ลดลง เนือ่ งการโฆษณาในปัจจุบนั นัน้ เรามีสอ่ื ทางเลือก เกิดขึ้นมากมาย และมีอัตราค่าใช้จ่ายที่ลดลงในขณะที่
128 ThaiPrint Magazine
124-135_m14.indd 128
29/8/2554 11:18
ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ไทยในบริบทเศรษฐกิจโลก
สามารถกระจายข้อมูลการโฆษณาได้ครอบคลุมมากขึ้น แต่ ห ากเรากลั บมามองประเทศแถบเอเชี ย หรื อ ประเทศที่เพิ่งเกิดใหม่ สื่อหนังสือพิมพ์นั้นยังมีโอกาสใน การเติบโต โดยเฉพาะจีน อินเดีย รัสเซีย ประเทศเหล่า นี้มีจำ�นวนประชากรค่อนข้างมาก และเมื่อมาดูประเทศ ไทยเราพบว่า ปีหนึ่งอัตราการอ่านหนังสือโดยเฉลี่ยนั้น อยู่ที่ 2 – 3 เล่มต่อคน ผมยังคิดว่าประเทศไทยเราก็ยัง สามารถเติบโตได้อีกมาก เพียงแต่ว่าผู้ประกอบการเอง จะต้องรู้จักปรับตัวในการรู้จักสื่ออื่นมากกว่าสื่อสิ่งพิมพ์ เมื่อก่อนเราคิดว่าเราทำ�สิ่งพิมพ์ไม่ต้องไปสนใจสื่ออื่น เพราะคนละสายงานกัน แต่วันนี้พวกท่านที่อยู่ในสำ�นัก พิมพ์ หนังสือพิมพ์ใหญ่ๆ ในประเทศไทยเรา จะต้อง ทำ�ความเข้าใจสื่อออนไลน์เพื่อนำ�มาใช้หรือใช้ร่วมกันกับ สื่อสิ่งพิมพ์ที่มีอยู่ให้สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์หรือวิถีชีวิต ของคนรุ่นใหม่ และต้องยอมรับว่าสื่อหนังสือพิมพ์นั้นมี ฐานการยอมรับจากคนอายุ 40 ปีขึ้นไป ซึ่งเขายังคงชอบ การอ่านหนังสือพิมพ์กันอยู่ ในขณะที่เด็กรุ่นใหม่วันนี้ได้ มองข้ามหนังสือพิมพ์ไปแล้ว เพราะด้วยวิถีชีวิตของคน รุ่นใหม่นั้นตื่นเช้าขึ้นมาเขาก็สามารถเปิดดูหนังสือพิมพ์ ในอินเตอร์เน็ตได้ ซึ่งไม่ใช่เฉพาะข่าวในประเทศไทยเท่า นั้นแต่สามารถดูได้จากทั่วโลก ดังนั้นสำ�หรับประเทศไทยนั้น ในหมวดสิ่งพิมพ์ที่ ยังมีโอกาสเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง คือพวกบรรจุภัณฑ์ ต่างๆ ผมได้พูดในทุกเวทีว่าตอนนี้ แนวโน้มของการ เติบโตของบรรจุภัณฑ์ของโลกยังมีอัตราการเติบโตที่สูง
มากขึ้น และทั้งโลกมองว่าบรรจุภัณฑ์ถือเป็นอาวุธสำ�คัญ ในด้านการตลาด เพื่อช่วยเพิ่มมูลค่า และทำ�ให้ขาย สินค้าได้ และที่ผมอยากจะพูดให้ท่านทั้งหลายฟังใน วันนี้ ก็คือส่วนของบรรจุภัณฑ์ที่เรียกว่า บรรจุภัณฑ์ ฟุ่มเฟือย (Luxury packaging) ซึ่งทั่วโลกกำ�ลังให้ความ สำ�คัญอย่างยิ่งและมีอัตราการเติบโตสูง จากข้อมูลอัตรา การเติบโตเฉพาะหมวดบรรจุภณ ั ฑ์ฟมุ่ เฟือยนัน้ พบว่ายัง มีอัตราการเติบโตอยู่ 3% ของบรรจุภัณฑ์ทั้งโลก ซึ่งมี มูลค่าอยู่ ประมาณสองหมืน่ ล้านเหรียญสหรัฐหรือประมาณ หกแสนกว่าล้านบาท และทราบหรือไม่ครับว่า 35% ของ มูลค่าสองหมื่นล้านเหรียญสหรัฐนี้ เป็นยอดการเติบโต อยู่ในเอเซียตอนนี้ เราเป็นอันดับหนึ่ง อันดับที่สองคือ ยุโรปคือ 29.9% ส่วนอันดับสามคือ อเมริกาประมาณ 25% เพราะฉะนั้นประเทศจีนและประเทศในเอเชียที่ ร่�ำ รวยทั้งหลายจะเป็นตัวนำ�สำ�หรับในหมวดหมู่นี้และจะ เติบโตอย่างชัดเจน คาดการณ์ไว้ว่าจากนี้ไป 10 ปี 20 ปี นี้จะเติบโตไปอีกประมาณ 4% - 6% และเพิ่มขึ้นไป เรื่อยๆ เนื่องจากสินค้าสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้มาก และเชื่อว่าสินค้าในหมวดบรรจุภัณฑ์ฟุ่มเฟือย (Luxury Packaging) ตัวเลขที่มีมูลค่าเพิ่มสูงนั้น อันดับหนึ่งคือ บรรจุภัณฑ์ทางด้านสุขภาพ (Health Care) ซึ่งพวก บรรจุภณ ั ฑ์ทเ่ี กีย่ วกับยาอาหารเสริมต่างๆ ขณะนีม้ สี ดั ส่วน อยู่ประมาณ 25% และส่วนที่สองจะเป็นบรรจุภัณฑ์ ทางด้านเครื่องสำ�อางหรือคอสเมติก ได้แก่พวกกล่องใส่ เครื่องสำ�อางค์ทั้งหลายประมาณ 21% และนอกจากนั้น ThaiPrint Magazine 129
124-135_m14.indd 129
29/8/2554 11:18
Print Exclusive
จะเป็นพวกบรรจุภัณฑ์อ�ห�รและเครื่องดื่มทั้งหล�ยมี อยู่ประม�ณ 14% และก็ท�งบรรจุภัณฑ์พรีเมียมต่�งๆ สำ�หรับเครื่องดื่มจำ�พวกแอลกอฮอล์ หรือกล่องเหล้�ทั้ง หล�ย ก็ประม�ณ 16.5% สำ�หรับประเทศไทยนั้นบรรจุภัณฑ์ท�งด้�นอ�ห�ร ถือเป็นหมวดหมู่ที่มีอัตร�ก�รเติบโต เนื่องจ�กขณะนี้ ประเทศไทยเร�เป็นครัวของโลก (Kitchen of the World) เร�ส�ม�รถส่งสินค้�ท�งด้�นต่�งๆ ทั้งสินค้�อ�ห�ร สำ�เร็จรูปและสินค้�กึ่งสำ�เร็จรูปแช่แข็งไปข�ยทั่วโลก จะเห็นได้ว่�ผลก�รดำ�เนินง�นของ บริษัท เจริญ โภคภัณฑ์อ�ห�ร จำ�กัด (มห�ชน) นั้นมียอดก�รสั่งซื้อ อ�ห�รจ�กประเทศไทยเป็นจำ�นวนม�ก เพร�ะฉะนั้น บรรจุภณ ั ฑ์มห�ศ�ลทีอ่ อกไปจะเติบโตไร้ขดี จำ�กัด รวมทัง้ อ�ห�รเสริมต่�งๆ ที่ขณะนี้หล�ยประเทศใช้ประเทศไทย เป็นแหล่งวัตถุดิบ เพื่อผลิตและติดยี่ห้อต่�งประเทศไป ข�ยทั่วโลก ห�กเร�กลับม�มองดูตัวเลขก�รส่งสินค้� ประเภทอ�ห�รจะพบว่� ก�รส่งออกไปยังประเทศฮ่องกง และประเทศญี่ปุ่นมีค่อนข้�งเยอะทั้งท�งตรง และท�ง อ้อม เพร�ะฉะนั้นยอดสินค้�ในหมวดนี้ขยับตัวขึ้นช่วย ยกระดับก�รเติบโตของอุตส�หกรรม สิง่ พิมพ์ของประเทศ และตัวเลขในปีนี้เร�ก็ยังยืนยันนะครับว่�ยังเติบโต ประม�ณ 10% ในประเทศ เฉพ�ะยอดก�รส่งออก อย่�งเดียวเมื่อเทียบกับปีที่แล้วแค่ระยะสองเดือนของ ปีนี้ยอดส่งออกเร�ตัวเลขเป็นครึ่งหนึ่งของยอดก�รส่ง ออกของปีที่แล้ว เพร�ะฉะนั้นทั้งปีและที่เหลือจะเพิ่ม ขึ้นอีกม�กกว่�ปีก่อนแน่นอน ส่วนยอดก�รส่งออกไปที่ ประเทศญี่ปุ่น เร�เคยทำ�ยอดได้ดีที่สุดประม�ณสองร้อย ล้�นเหรียญสหรัฐ หรือประม�ณหกพันล้�นถึงเจ็ดพัน
ล้�นบ�ท แต่เร�คิดว่�ค่�ก�รส่งออกในส่วนนีค้ งจะลดลง ไม่ม�กเท่�ไหร่เพร�ะประเทศญี่ปุ่นเข�ฟื้นเร็ว หรือถ้� ฟื้นตัวไม่เร็วถึงยังไงญี่ปุ่นเข�ก็ต้องซื้อสิ่งพิมพ์จ�กบ้�น เร�เข้�ไปทดแทนกับที่เข�มีปัญห� ส่วนในเรื่องก�รพิมพ์ ซึ่ ง ตอนนี้ โ รงพิ ม พ์ ใ นญี่ ปุ่ น ประสบปั ญ ห�ม�กเหมื อ น กัน ไม่มีไฟฟ้�ผลิตของ เครื่องจักรก็จอดกันเป็นแถว กระด�ษก็ไม่มี ระบบลอจิสติกก็มีปัญห�ม�ก ถ้�มองให้ ดีอ�จจะเป็นโอก�สของเร�ก็ได้นะครับ เพร�ะว่�ภ�ยใต้ วิกฤตของเข� แต่สิ่งพิมพ์ไทยเร�ก็ยังมีโอก�สที่จะเติบโต ในช่วงท้�ยนี ้ สรุปได้ว�่ ยุทธศ�สตร์ก�รพิมพ์แห่งช�ติ ของสม�คมก�รพิมพ์ไทย และกลุม่ อุตส�หกรรมก�รพิมพ์ สภ�อุ ต ส�หกรรมแห่ ง ประเทศไทยมุ่ง เน้ น ก�รพั ฒน� อุตส�หกรรมสิ่งพิมพ์ ทั้งตล�ดภ�ยในประเทศ ควบคู่ไป กับตล�ดก�รส่งออก เร�มองว่�ประเทศไทยยังมีคว�ม ต้องก�รใช้สิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ต่�งๆ เป็นจำ�นวนม�ก ซึ่ง ในปีที่ผ่�นม�นั้น โครงก�รสัญจรเป็นโครงก�รหนึ่งที่เร� ได้จดั ขึน้ โดยรับงบประม�ณจ�กภ�ครัฐร่วมกับจุฬ�ลงกรณ์ มห�วิทย�ลัย เพื่อออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้กับผู้ประกอบ ก�รสินค้� OTOP, SME และสินค้�ชุมชนเกือบทั่ว ประเทศ ซึ่งประสบคว�มสำ�เร็จ ทั้งก�รตอบรับ และ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ประกอบก�รอย่�งแท้จริง ประเทศไทยเร�นำ�แนวคิดสินค้� OTOP ม� จ�ก OVOP หรือ One Village One Product จ�ก เมืองโออิตะ ประเทศญี่ปุ่นอย่�งที่เร�ทร�บกันดีอยู่ ซึ่ง ประเทศไทย และประเทศญี่ปุ่นมีคว�มคล้�ยคลึงกันใน เรื่องของสินค้�ชุมชน หรือสินค้�พื้นบ้�น (Cottage Industry) ค่อนข้�งม�ก แต่สิ่งที่แตกต่�งกันเรื่องหนึ่ง ก็คือ OVOP มีก�รออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ดี ซึ่งเป็นผล
130 ThaiPrint Magazine
124-135_m14.indd 130
27/8/2554 5:35
ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ไทยในบริบทเศรษฐกิจโลก
ให้สินค้าของประเทศญี่ปุ่นขายได้เกือบทุกเมือง และมี คอนเซ็ปต์ที่ชัดเจน สังเกตุได้ว่าผลิตภัณฑ์ที่เป็นของกิน ที่มีลักษณะ “แป้งห่อถั่ว ถั่วห่อแป้ง” เป็นสินค้าอีกกลุ่ม หนึ่งของชาวญี่ปุ่นที่ขึ้นชื่อ ทุกวันนี้เวลาเราเดินทางไป ประเทศญีป่ นุ่ ของฝากยอดนิยมทีเ่ รานำ�ติดมือกลับมาด้วย ก็คือ ขนมโตเกียวบานาน่า เป็นขนมปังนิ่มสอดไส้รส กล้วยหอมที่ขายดิบขายดี โดยจะเห็นว่ากล่อง กระดาษ ห่อ และบรรจุภณ ั ฑ์ดา้ นในทีถ่ กู ออกแบบให้ซบั ซ้อนหลาย ชั้นนั้นมีความสวยงาม แต่เมื่อรับประทานกลับทำ�หน้า แหย เพราะไม่อร่อยเหมือนกับที่คาดหวังจากบรรจุภัณฑ์ ภายนอก ในขณะเดียวกันประเทศไทยเราเองมีสนิ ค้า และ วัตถุดิบที่ดี มีคุณภาพ แต่ขายไม่ได้ เนื่องจากแต่งตัว ไม่เป็น หรือบรรจุภัณฑ์ไม่สวย โครงการสัญจรนี้เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยรัฐบาลทักษิณ แต่นา่ เสียดายที่ขาดความต่อเนื่อง ทำ�ให้ขาดช่วงของการ พัฒนา และขาดผู้ที่จะช่วยเรื่องการออกแบบอย่างจริงจัง ทั้งที่ผู้ประกอบการมีความต้องการมาก ดังนั้นสมาคม การพิมพ์ไทยจึงมาช่วยสานต่อทำ�ให้เกิดขึ้นจริง โดยการ จัดสัมมนา จัดเวิร์คช็อป จัดกระบวนการให้ความรู้ทุก อย่างกับชาวบ้าน ซึ่งนำ�ทีมโดยนักออกแบบ และมีฝ่าย ประสานงาน (Account Executive) ช่วยเหลือ โดยที่ชาว บ้านนำ�สินค้าของตนเองมาเข้าร่วมโครงการนี้ท่านละ 2 ชิ้น โครงการในครั้งนี้มีหลักคือ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
ให้กับสินค้าของชาวบ้านโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งฝ่าย ประสานงานจะเป็นผู้รับงาน ชาวบ้านสามารถระบุความ ต้องการของตนได้ ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายรูป หรือการลง ข้อความต่างๆ โดยทางทีมงานจะเขียนให้ ปรับให้จน เสร็จสมบูรณ์ เพื่อสร้างบรรจุภัณฑ์ต้นแบบ หรือสิ่งพิมพ์ ต้นแบบให้กับชาวบ้าน อันจะช่วยให้เกิดการต่อยอดได้ และนำ�ไปใช้ได้จริง ที่ ผ่ า นมาในอดี ต แม้ ว่ า ชาวบ้ า นจะได้ รั บ ฟั ง ถึ ง ขั้นตอนการออกแบบ หรือเข้าใจถึงความสำ�คัญของการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ แต่เมื่อจบการฟัง สัมมนาแล้ว ก็ไม่รู้จะไปหาใครทำ�ให้หรือต้องทำ�อะไรต่อ หรือไม่มีคนช่วยต่อเนื่อง แต่โครงการของนี้ เราช่วย ออกแบบให้เสร็จสมบูรณ์ภายในเวลาหนึ่งเดือน เมื่อชาว บ้านได้ต้นแบบเรียบร้อยแล้ว พวกเขาก็สามารถติดต่อ โรงพิมพ์ โดยใช้ตน้ แบบนัน้ ผลิตสิง่ พิมพ์เพือ่ ใช้ขายได้จริง ผลก็คือ เกิดสินค้าใหม่ๆ และยังส่งผลดีให้การพิมพ์ใน ภูมิภาคหรือจังหวัดนั้นๆ มีงานเพิ่มขึ้น เรียกว่า วิน วิน กันทุกฝ่าย โครงการในครั้งนี้ เราได้รับงบประมาณในการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์จำ�นวน 4,500 ชิ้น แต่ มีคนให้ ความสนใจเข้าร่วมเป็นหมื่นๆ คน และนำ�ตัวอย่างสินค้า มาเป็นหมื่นๆ ชิ้น เราจำ�เป็นต้องหยุดรับเพราะเกินเป้า ไปเยอะมาก ท่านลองคิดดูครับ ถ้าแบบบรรจุภัณฑ์ที่เรา ThaiPrint Magazine 131
124-135_m14.indd 131
27/8/2554 5:35
Print Exclusive
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ซ้าย) ถ่ายภาพร่วมกับผู้บรรยายกิติมศักดิ์ภายในงาน
ช่วยออกแบบจากโครงการนี้ได้ผล 10% จาก 4,500 ชิ้น ทำ�ให้สนิ ค้าใหม่ๆ หรือช่วยให้สนิ ค้ามันเกิดขึน้ ได้และขาย ได้จริงเหมือนกับ ขนมโตเกียวบานาน่า ของญี่ปุ่นทำ�ให้ เหมือนสินค้าของฝาก หรือสินค้าขายดีประจำ�จังหวัดที่ ใครๆ มาแล้วต้องซื้อกลับ ก็จะช่วยสร้างผู้ประกอบการ ใหม่จำ�นวนมากเกิดขึ้น สิ่งพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ และฉลาก ต่างๆ ก็จะเกิดขึ้นในประเทศอย่างมากมาย เช่นเดียวกับ ที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่นนั้นเป็นประเทศ ที่มีการใช้กระดาษสูง เนื่องจากประการแรก ทั่วประเทศ ญีป่ นุ่ ได้ผลิตสินค้ามากมายในแต่ละเดือน จึงต้องเน้นหนัก ในเรื่องการใช้บรรจุภัณฑ์จำ�นวนมาก ซึ่งมีผลให้ปริมาณ ความต้องการสิง่ พิมพ์เพิม่ มากขึน้ เมือ่ ชาวบ้านขายสินค้า ได้ ก็ยิ่งสั่งพิมพ์มากขึ้น ประการต่อมาคือ การอ่าน อย่างที่ผมเคยกล่าว ไว้ว่า การพิมพ์อาจจะได้รับผลกระทบกระเทือนบ้าง แต่ เรามีสมาคม ผู้จัดพิมพ์ และผู้จัดจำ�หน่ายหนังสือที่ ค่อนข้างจะเข้มแข็ง ซึ่งก็เป็นหนึ่งในสมาชิกของสหพันธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์ที่พยายามผลักดันให้การอ่านเป็น วาระแห่งชาติ เพราะคนไทยโดยเฉลี่ยนั้นอ่านหนังสือ น้อย ฉะนั้นเรายังมีโอกาสที่จะเติบโตอีกมาก ขณะนี้ เราต้องการให้รัฐบาลผลักดันในเรื่องสิทธิประโยชน์ด้าน ภาษีมาใช้ โดยมีรายละเอียดว่าบุคคลใดที่บริจาคให้กับ การพิมพ์หนังสือ สามารถนำ�ไปหักภาษีได้ ซึ่งเชื่อมั่นว่า จะมีส่วนช่วยทำ�ให้สิ่งพิมพ์เพิ่มมากขึ้น เมื่อสองประการ
ที่ว่ามานี้เติบโต ผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ก็จะเกิดการเติบโตตามไปด้วย ดังนัน้ เราจะเดินหน้าเรือ่ ง บรรจุภัณฑ์ และการออกแบบอย่างต่อเนื่อง วันนี้เราคงได้ยินกันว่า รัฐบาลชุดปัจจุบันกำ�ลัง ผลักดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือ Creative Economy ซึ่งสิ่งพิมพ์ถูกจัดเป็น 1 ใน 15 อุตสาหกรรมที่ได้รับการ คัดเลือก และสิ่งพิมพ์ก็ถูกยกให้เป็น “โรว์โมเดล” (Role Model) เพราะสิ่งพิมพ์ของไทยนั้นเป็นอุตสาหกรรมที่มี การรวมตัวกันค่อนข้างเข้มแข็งในระบบเครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster) ซึ่งมีต้นน้ำ� กลางน้ำ� ปลายน้ำ� ครบถ้วนทุก อย่าง และผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ์ค่อน ข้างที่จะรวมตัวกันได้ดี ทำ�ให้ผลงานอุตสาหกรรมการ พิมพ์เติบโตอย่างเข้มแข็ง รวดเร็ว และต่อเนื่อง จึงเป็น ต้นแบบตัวอย่างให้กับอุตสาหกรรมอื่นๆ ทุกวันนี้ บรรจุภัณฑ์สามารถสร้างเงินให้เราได้ เพราะเรามีนวัตกรรม เรามีการออกแบบที่สามารถ รักษาคุณภาพอาหารได้ สร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าดูดี เหมาะสม และตรงกับการใช้งาน นอกจากนี้ยังมี การออกแบบที่ ช่ ว ยป้ อ งกั น ความเสี ย หายจากการ บรรทุก หรือการบรรจุได้ สิ่งเหล่านี้ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ ซึง่ จะเป็นนโยบายหลักของสมาคมการพิมพ์ ไทย รวมถึงกลุ่มการพิมพ์ต่อไปในอนาคต
132 ThaiPrint Magazine
124-135_m14.indd 132
27/8/2554 5:35
ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ไทยในบริบทเศรษฐกิจโลก เราจะผลักดันให้สิ่งพิมพ์เป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทางด้านการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ (Printing and Packaging) เราจะต้องมีนวัตกรรมใหม่ๆ (Innovation) เพราะฉะนั้น สิ่งพิมพ์จำ�พวกหนังสือ หรือนิตยสารของ เรา ที่ส่วนใหญ่ใช้กระดาษพิมพ์เขียนที่ผลิตในประเทศ เป็นวัตถุดิบหลัก ซึ่งผู้ผลิตกระดาษของไทยเรามีความ แข็งแกร่งค่อนข้างมาก เพราะฉะนั้นสำ�หรับการส่งออก สิ่งพิมพ์ หากเป็นกระดาษที่ผลิตจาก บริษัท เอส.ซี.จี เปเปอร์ จำ�กัด (มหาชน) (S.C.G Paper Public Company Limited) เราจะมี Local Content มากกว่า 90% ซึ่งหมายความว่ามูลค่าที่จะเกิดขึ้นในประเทศมาก กว่า 90% แต่บรรจุภัณฑ์จำ�นวนมากที่เราทำ�การส่งออก กลับนำ�เข้าจากต่างประเทศ เช่น กระดาษพิเศษต่างๆ จึงขอฝากบริษัท เอส.ซี.จี เปเปอร์ จำ�กัด (มหาชน) ช่วย พิจารณาในเรื่องนี้ เนื่องจากว่า หากเราสามารถสร้าง สิ่งนี้ให้เกิดขึ้นได้ หากเชื่อมั่นว่าทิศทางของประเทศไทย จะกลายเป็น Kitchen of the world เราจะสามารถส่ง อาหารไปขายทั่วโลก ไปอยู่ในซุปเปอร์มาร์เก็ต หรือใน ตู้เย็นของคนทั่วโลก ก็จะทำ�ให้เศรษฐกิจของไทยดีขึ้น ทำ�ให้ปริมาณยอดการใช้สิ่งพิมพ์เราเพิ่มมากขึ้น เราจึง จำ�เป็นที่ต้องมีกระดาษที่ดี และมีความหลากหลายเพื่อ การใช้งานมากกว่าที่เป็นอยู่ เมื่อกลับมาพูดถึงเรื่องหนังสือ เราต้องมีเนื้อหา (Content) ที่ดี เราต้องมีอนิเมชั่น (Animation) มี การ์ตูน (Cartoon) และมีรูปคาแรคเตอร์ (Character) ที่ดี สิ่งเหล่านี้ต้องเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเรา พยายามที่จะผลักดันเรื่องนี้นอกเหนือไปจากการที่จะ เป็นเพียงผู้รับจ้างผลิตสินค้า โดยรับจ้างผลิตให้แก่ลูกค้า ที่อยู่ในต่างประเทศ (OEM; Original Equipment Manufacturing) และการเป็นผู้รับจ้างผลิตสินค้า หรือ ผู้ผลิตสินค้าที่เน้นการวิจัย และพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ (ODM ; Original Design Manufacturing) หรือให้ สามารถก้าวขึ้นเป็นผู้ผลิตสินค้าและให้บริการ ซึ่งมีการ พัฒนาตราผลิตภัณฑ์สำ�หรับสินค้าและบริการของตนเอง (OBM ; Original Brand Manufacturing) ได้สักวัน เราคาดหวังว่า ทั้งหนังสือก้านกล้วย หนังสือปังปอนด์ หรือหนังสืออื่นๆ ในประเภทเดียวกันนี้ หากเราพัฒนา คาแรคเตอร์อย่างต่อเนื่อง เราก็จะสามารถสร้างเป็น แบรนด์ของไทยที่นำ�ไปขายได้ทั่วโลก ปัจจุบันนี้ เวลาพวกเราเดินทางไปร่วมออกงาน
แฟรงค์เฟิร์ตบุ๊คแฟร์ ต้องเรียนครับว่าเรามีปัญหาในการ พยายามที่จะขายคอนเทนต์ของประเทศไทย เนื่องจาก ว่าการประชาสัมพันธ์ยังไม่ครบวงจร ทางภาครัฐก็ยัง ไม่ได้เข้าร่วมกับเอกชน ในการผลักดันคอนเทนต์อย่าง เช่น ประเทศเกาหลี เราต้องชื่นชมประเทศเกาหลีใน เรื่องยุทธศาสตร์การขายคอนเทนต์ หรือการขายความ คิดสร้างสรรค์ การขายวัฒนธรรมของเขาทำ�แบบครบ วงจร เจ้าภาพหลักของเขาคือกระทรวงวัฒนธรรมได้ ทุ่มเทงบประมาณเพื่อทำ�การประชาสัมพันธ์เพื่อให้คน ทั่วโลกรู้จักว่า แดจังกึม เป็นอย่างไร อาหารเกาหลีเป็น อย่างไร ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบในเรื่องรสชาติอาหารแล้ว อาหารเกาหลีไม่สามารถสู้รสชาติอาหารญี่ปุ่นได้ แต่ วันนี้คนก็นิยมทานกันมากขึ้น ในขณะที่ประเทศไทยมี ทุกอย่าง เราจะทำ�อย่างไรนั้นเป็นเรื่องที่ต้องร่วมมือกัน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของประเทศไทย ทำ�ให้ ประเทศเราขายได้ และมีเรื่องราวดีๆ และน่าสนใจต่างๆ ที่จะพิมพ์เป็นหนังสือออกขาย เมื่อเป็นเช่นนั้น หนังสือของเราจะถูกซื้อมากขึ้น ซึ่งในเวลานี้ ก็ถือว่าเราอยู่ในระดับที่ดีขึ้นเรื่อยๆ แต่คน ยังไม่ค่อยเกิดการรับรู้เท่าที่ควร แม้กระทั่งภาพยนตร์ เรื่องล่าสุด คือ เรื่องสมเด็จพระนเรศวร หรือเรื่องสุริโยไท แม้ว่าจะเป็นหนังฟอร์มใหญ่ แต่เมื่อไปต่างประเทศ กลับ ไม่มีใครรู้จัก และผมขอเรียนด้วยว่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่ได้คุยไว้กับท่านรัฐมนตรี และอธิบดีกรมส่งออกว่า เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในต่างประเทศ นั้นจะประสบความ สำ�เร็จได้ ต้องเริ่มขึ้นจากมีเดียที่เป็นสิ่งพิมพ์ก่อนเสมอ มากกว่า 90% มันจะต้องเกิดมาจากหนังสือก่อน แล้ว จึงมาเป็นภาพเคลื่อนไหว ไปเป็นคาแรคเตอร์ ไปเป็นอนิ เมชั่น และเป็นดิจิตอลมีเดีย (Digital Media) มันต้องขึ้น ไปอย่างนั้น เพราะฉะนั้นเรื่องของสิ่งพิมพ์เวลานี้ เราจะ ต้องเป็นสารตั้งต้นที่จะนำ�ไปสู่ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของ อุตสาหกรรม ที่ผ่านมานั้นรัฐบาลซึ่งเป็นรัฐบาลชุดใหม่ ได้ริเริ่ม ดำ�เนินการในเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์ แต่ตัวเขาเอง ก็ ยังไม่รู้ และไม่เกิดความเข้าใจเท่าไหร่นัก เมื่อเราเห็น เขาดำ�เนินงานก็พบว่ามันขาดตอน ไม่เกิดการบูรณาการ ซึ่งตอนนี้รัฐบาลได้ยอมรับแล้ว ฉะนั้นคอนเทนต์ของเรา ผมเชื่อว่าถ้าเราผลักดันโดยเริ่มจากสื่อสิ่งพิมพ์ก่อนก็จะ สร้างสามารถต่อยอดสร้างเรือ่ งราวต่อเนือ่ งมากมาย และ สามารถนำ�ไปขายยังต่างประเทศได้ ทัง้ ในงานแฟรงค์เฟิรต์ ThaiPrint Magazine 133
124-135_m14.indd 133
27/8/2554 5:35
Print Exclusive
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมฯ รับมอบของที่ระลึก
บุ๊คแฟร์ หรือบุ๊คแฟร์ทั่วโลก ส่วนเรื่องบรรจุภัณฑ์อย่างที่ผมเรียนว่า เรื่องดีไซน์ นั้นสำ�คัญมาก เราจะทำ�อย่างไร วันนี้มีโรงพิมพ์ที่ประสบ ความสำ�เร็จก็คือ บริษัท คอนติเนลตัลบรรจุภัณฑ์ ที่ทำ� การออกแบบเอง มีนวัตกรรมของตนเอง แล้วส่งดีไซน์ ไปขายให้กับผู้ซื้อ หรือว่าเจ้าของผลิตภัณฑ์ทั่วโลก ด้วย วิธีการขายกลับกัน ไม่ใช่แค่รับจ้างพิมพ์ให้กับโรงพิมพ์ แต่ออกแบบและขายให้กับบริษัทชั้นนำ�ที่มีสินค้า เพราะ เมื่อเขาเห็นแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ๆ เขาจะเกิดไอเดียทันที ว่าเขาต้องขายอย่างนี้ เขาต้องซื้ออย่างนี้ และก็สั่งพิมพ์ บรรจุภณ ั ฑ์เหล่านัน้ ภายใต้สทิ ธิบตั ร (Patent) การออกแบบ โดย บริษัทคอนติแนลตัล เพราะฉะนั้นจะสร้างมูลค่าเพิ่ม มากกว่ากันเยอะ ไม่ใช่การรับแบบอาร์ตเวิร์คจากลูกค้า เหมือนอย่างที่พวกเราส่วนใหญ่ทำ�กันทุกวันนี้ ที่เป็นรับ แบบอาร์ตเวิร์คมา หรือรับไฟล์มาจากลูกค้า แล้วฝ่ายจัด ซื้อของลูกค้าเราก็เรียก 10 โรงพิมพ์เข้ามาประมูลราคา เดี๋ยวนี้โลกเจริญขึ้นมาก เขาเชิญอีก 10 โรงพิมพ์ทั่วโลก มารวมกับโรงพิมพ์ในประเทศอีก 10 รวมเป็นจำ�นวน 20 โรงพิมพ์ แล้วทำ�การประมูลในระยะเวลา 1 ปี เมื่อ ครบตามเวลา ปีหน้าจึงเข้ามาใหม่ ทำ�การประมูลใหม่ อีกครั้ง ซึ่งมีผลให้การประมูลทุกๆ ปีถูกลง วิธีการเช่น นี้เราคงต้องพยายามหลีกเลี่ยง เพราะค่าแรงของเราเอง
ทุกวันนี้ไม่ถูกแล้ว ประเทศจีนก็เช่นกัน เวลานี้ประเทศ จีนได้เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ�ขึ้นไปเยอะ ราคาก็ขึ้นไปเรื่อยๆ จีนจึงบอกว่าจะทำ�การปรับเปลี่ยนเช่นกัน โดยหันมา ให้ความสำ�คัญเรื่องสร้างสรรค์ และเรื่องของการสร้าง นวัตกรรมเหมือนกัน เพราะฉะนัน้ เรือ่ งของสิง่ พิมพ์ เรือ่ งของบรรจุภณ ั ฑ์ คงจะต้องเอาจริงเอาจัง เรื่องของการออกแบบ หรือ เรื่องของการหาวัสดุที่ถูกต้อง กระดาษของเราจะต้องมี ความหลากหลายมากกว่านี้ ไม่ใช่อยูเ่ ฉพาะแค่พมิ พ์เขียน และมีกระดาษกล่องเพียงไม่กี่แบบ เราทำ�ไม่ได้ เพราะ ไม่ครบวงจร ส่วนในเรื่องของตลาดใหม่ๆ อย่างที่บอก ไปว่าเราจะมุ่งเน้นตลาดอาเซียน เนื่องจากว่าตลาดใน อเมริกา หรือยุโรปทีไ่ ด้คาดเอาไว้วา่ เกิดการอิม่ ตัว ประกอบ กับเศรษฐกิจของประเทศไม่ค่อยสู้ดี แม้กระทั่งรัฐบาล ท่านโอบามาขณะนี้ก็มีปัญหาในเรื่องการตกงานต่างๆ เศรษฐกิจก็ยังไม่ฟื้น ซึ่งเขาคาดเดาว่าอีกประมาณ 5 ปี ข้างหน้านี้ สิง่ พิมพ์ทเ่ี กีย่ วกับการอ่านหนังสือ และหนังสือ พิมพ์จะหายไปในตลาดอเมริกนั และยุโรปประมาณ 30% แต่ในตลาดเอเซียนั้นจะกลับกัน เอเชียจะเป็นผู้ใช้ กระดาษรายใหญ่ของโลก ตลาดเกิดใหม่อย่างเช่นประเทศ จีน อินเดีย ประเทศบราซิล รวมทั้งประเทศรัสเซีย รวม ทั้งประชาคมอาเซียนอีกกว่า 600 ล้านคนจะเป็นผู้ใช้
134 ThaiPrint Magazine
124-135_m14.indd 134
27/8/2554 5:35
ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ไทยในบริบทเศรษฐกิจโลก กระดาษรายใหญ่และเติบโตอย่างมาก เพราะฉะนั้น อัตราของการใช้กระดาษทัว่ โลกก็ยงั คงเติบโตอยู่ แต่อาจ จะมีบางตัวที่อาจลดลงไป อย่างเช่นกระดาษนิวส์ปริ้นท์ (Newsprint) บางโรงงานในภูมภิ าคยุโรปทีซ่ ง่ึ เมือ่ ก่อนนัน้ เคยได้เปรียบ เพราะมีแหล่งวัตถุดิบ อาจจะต้องปิดตัวลง ย้ายมาผลิตในเอเชียมากขึ้น ย้ายฐานการผลิตมากขึ้น ดังนั้นจะทำ�ให้เกิดการเคลื่อนย้าย แต่ว่ายังคงเติบโตอยู่ ฉะนั้น จึงมั่นใจได้ว่าสิ่งพิมพ์ทั้งในประเทศ และต่าง ประเทศ หากเรายังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่องเช่นนี้ ความ สำ�คัญอุตสาหกรรมของเราอยู่ที่พวกเราทุกคน รวมทั้ง ลูกน้องเรา ถ้าบุคคลากรของเราดีเราก็สามารถแข่งขันกับ ชาติอื่นได้ ถ้าไม่ดีก็คงแข่งขันลำ�บาก แต่ในวันนี้ เราก็ มีโปรแกรมหลายๆ อย่าง ซึ่งสมาคมการพิมพ์ไทยเรา ก็เน้นเรื่องการสร้างบุคคลากร 3 ระดับที่เป็นหนึ่งใน ยุทธศาสตร์การพิมพ์แห่งชาติ อันดับแรก เจ้าของกิจการเตี่ย และเสี่ย เนื่องจาก ว่าสมาคมการพิมพ์ไทยนั้นเน้นการนำ�นโยบายไปปฏิบัติ จากบนลงล่าง (Top-Down) ถ้าเตี่ยกับเสี่ยคุยกันไม่รู้ เรื่อง ไม่มีวิสัยทัศน์ก็เป็นอันจบ อันดับที่สองคือ เน้น ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Management) เพราะ วันนี้โรงพิมพ์เราแบ่งครึ่ง เมื่อจ้างบุคลากรมา เราก็ต้อง เทรนนิ่งเขา เราใช้มืออาชีพมากขึ้น ส่วนอันดับที่สาม คือ ช่างพิมพ์ หรือช่างต่างๆ ซึง่ ทัง้ สามโปรแกรมทีก่ ล่าว มานั้น เรามีแล้วก็คือ โรงเรียนสอนการพิมพ์ (Thai Print Academy) ที่เราได้เปิดร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆ และขณะนี้ก็ยังเปิดอยู่ ถ้าท่านสนใจขณะนี้ได้มีคนส่ง บุคลากรไปเรียนหลายหลักสูตรแล้ว ได้ประโยชน์ครับ และรุน่ ใหม่ๆ ก็คือรุ่นที่จะไปแข่งขันในตลาดโลกได้ ซึ่งจะ ทำ�ให้เกิดความเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้นเรื่องบุคลากร เรือ่ งตลาด เรือ่ งพัฒนา ผมยืนยันและยังเชือ่ ว่าอุตสาหกรรม การพิมพ์ของเรายังไปได้ดีอยู่ ตามการเจริญเติบโตของ ประเทศ ส่วนทางด้านปัจจัยเสี่ยงก็คงมีบา้ ง หากการ เมืองนิ่งๆ เช่นนี้ แน่นอนครับวันนี้บรรยากาศยังอึมครึม ก็คล้ายกับหน้าหนาวในฤดูรอ้ น แต่ท�ำ ไมถึงเป็นหน้าหนาว ที่หนาวที่สุด หนาวกว่าหน้าหนาวหลายๆ ปีที่ผา่ นมา ทำ�ไมจึงเกิดน้�ำ ท่วมมากอย่างนี้ มันเป็นบรรยากาศอึมครึม ในขณะทีบ่ รรยากาศยังเป็นเช่นนี้ แล้วเรายังผ่านไปได้ดว้ ยดี ก็ช่วยกันภาวนาขอให้ประเทศผ่านวิกฤติตรงนี้ไปด้วยดี
“
ผมเชื่อว่าถ้าประเทศเรานิ่ง นักลงทุนมีความมั่นใจ ต่างชาติมคี วามมัน่ ใจ ประเทศเราไปได้อกี ไกลมาก เพราะ ฉะนั้นเรื่องนี้ถือเป็นปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยที่สองก็คือ ปัจจัย ที่เราควบคุมไม่ได้ เช่น เรื่องน้ำ�มัน เรื่องพลังงาน ประเทศไทยเสียเปรียบประเทศคูแ่ ข่งในเรือ่ งค่าโลจิสติกส์ (Logistic) เพราะว่ามีอัตราสูงถึงเกือบ 20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งถือได้ว่าสูงกว่าประเทศอื่นๆ มากที่ส่วนใหญ่อยู่ที่ ประมาณเลขตัวเดียว หากค่าพลังงานเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ สิ่งสำ�คัญก็คือมันจะกดดันให้เศรษฐกิจโลกถดถอย ทำ�ให้ กำ�ลังซื้อลดลงได้ในหลายๆ ภูมิภาค แต่สิ่งที่ผมเห็น ว่าประเทศไทยของเรายังมีศักยภาพในการเติบโตของ สิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์อีกมาก นั่นก็เพราะประเทศเรา มีผู้ประกอบการ SME เป็นแสนๆ เป็นล้านๆ ราย มี กิจการจำ�นวนมากที่แจ้งเกิดได้แต่เราต้องเข้าไปช่วยเขา เรื่องของการออกแบบ เรื่องของการให้ความสำ�คัญ เรื่อง ของนวัตกรรมก็มีหลายๆ เรื่องที่ต้องเข้าช่วยเหลือ ยก ตัวอย่างเช่น น้ำ�พริกทั่วประเทศมีหลากหลายรสชาติซึ่ง มีรสชาดอร่อยมาก แต่ปรากฏว่าบรรจุภัณฑ์กลับใช้ขวด รีไซเคิล จำ�พวกขวดโอวัลตินใช้แล้วมาใส่ แล้วก็ใช้ พลาสติกใสปิดฝาขวดรัดด้วยหนังยาง ขายกันอย่างนั้น ล้างป้ายเก่าออก แล้วก็นำ�ป้ายที่เขียนเอง ทำ�เอง หรือ โรเนียวมาติด แต่ถ้าเรามีบรรจุภัณฑ์ที่ดี ฉลากที่ดี และ กล่องที่ดี เชื่อได้วา่ ต้องขายดิบขายดี มีลูกค้าอยู่รายหนึ่ง เมื่อเราออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ให้ แล้วนำ�ไปจัดพิมพ์ เพื่อใส่สินค้า ก็ทำ�ให้ขายดี ซึ่งตอนนี้ก็สั่งพิมพ์เพิ่มมา หลายรอบแล้ว คือ สินค้าหมูทบุ เราออกแบบให้เองมีดไี ซน์ ไดคัทเป็นรูปหมูที่หน้ากล่องของบรรจุภัณฑ์ ปรากฎว่า ขายดิบขายดีเมื่อช่วงปีใหม่ที่ผ่านมา ดังนั้นผมจึงคิดว่า สิ่งนี้เป็นตลาดใหม่ที่พวกเราจะสามารถช่วยกันสร้างให้ เกิดขึ้นมาได้ และสมาคมของเราจะให้ความสำ�คัญทั้งสอง ตลาดควบคูเ่ สมอกันไป คือ ตลาดภายในประเทศ และ ตลาดต่างประเทศ
”
ThaiPrint Magazine 135
124-135_m14.indd 135
27/8/2554 5:35
Rise of the Lithrone G40 Rise of the Lithrone G40
Print Technology
Mai มพ คววามเร็ สูงได บนกระดาษหลายรู 1. พิมพ 1.คพิวามเร็ สูงได บวนกระดาษหลายรู ปแบบ ปแบบ
านเมื่อทำการติ อมกับระบบKHS-AI ตลอดช ตลอดช วงการพิวิมงการพิ พ งานเมืิมพ ่องทำการติ ดตั้งพร ดอตัมกั้งพร บระบบKHS-AI นอกจากนี าติ่มดด ตัว้งยระบบ เพิ่มด วยระบบ spectrophoto้ถ าติดตั้งถเพิ PDC-SXPDC-SX spectrophotoมพ ด วยความเร็ ด 16,500 นต อชั่วโมง พิมพ ด วพิยความเร็ วสูงสุด วสูงสุ16,500 แผ นต อชัแผ ่วโมง เครื่อง เครื่องนอกจากนี จะช วคยทำให ความสามารถที ่กล ้เพิาวมานี รุ นใหม จรุะช นวใหม ยทำให วามสามารถที ่กล าวมานี ่มขึ้นเป ้เพิน่มขึ้นเป น ประกอบรวม ไปด วยรั วยหน วยรับกระดาษและหน วยป อนกระดาษรุ ประกอบรวม ไปด วยหน บกระดาษและหน วยป อนกระดาษรุ นใหม นใหม meter meter คูณ ระบบ จะทำการควบคุ มสีโดยการวั PDC-SXPDC-SX จะทำการควบคุ มสีโดยการวั ดแถบสี ดแถบสี ู ทวีระบบ และเทคโนโลยี บเตรี่อยงได มเครื ่องได หลากหลายฟั และเทคโนโลยี ในการปรัในการปรั บเตรียมเครื หลากหลายฟั งก ชั่นซึ่ง ก ชั่นซึ่ง ทวีคณ ในทุกงตำแหน งบนกระดาษที ่พิมาพ พิแมละถ พ Mini ตำแหน บนกระดาษที ่พิมพ และถ พ าพิมMini Spots Spots วยเพิ ่มเสถียรภาพในการพิ มพ วคสูวามเร็ งได าเงดี ป นอย างดีและ และได ในทุกได ช วยเพิ่มช เสถี ยรภาพในการพิ มพ ความเร็ งได เป วนสูอย าไปด จะช วยควบคุ เตอร ตโนมั โดยอัติตัโนมั ไปด ่มวเข ยก็ จะช ววยก็ ยควบคุ มระบบรีมจระบบรี ีสเตอร จโีสดยอั ้งแต ติตั้งแต อ นกระดาษที ่ ม ี ค วามหนาเป น ที ่ นพิ ยิ มมใช ิ ม พ ่ วงๆไป านทั ่ ว ๆไปเพิ่มเข าเพิ การป อการป นกระดาษที ่ ม ี ค วามหนาเป น ที ่ น ิ ย มใช พ ง พานทั พ แผ นแรกและถ ระบบ PQA-S (Print Quality การพิมพ การพิ แผ นมแรกและถ าใช ระบบาใช PQA-S (Print Quality Assess-Assessบตั้งแรงกดจั แต อย างใด ไม จำเป นไม ต จอำเป งปรันบต ตัอ้งงปรั แรงกดจั บของ กริบของ ปเปอร กริแปต เปอร อย างใด ment System) ยยิ่งกช ารควบคุ วยให การควบคุ ละ คุณภาพงานพิ ment System) ด วยยิ่งช ด ววยให มสีและ คุมณสีแภาพงานพิ มพ มพ ในขณะทำการพิ มพ เป านงอั ไปอย างอัติตลอดเวลาของการพิ โนมัติตลอดเวลาของการพิ มพ เป นไปอย ตโนมั มพ มพ 2. เพิ่มความเที ่ยงตรงของระบบรี ด วยแคลมป 2. เพิ่มความเที ่ยงตรงของระบบรี จีสเตอร จดีส วเตอร ยแคลมป จับเพลทจับเพลทในขณะทำการพิ งานนั้นๆงานนั้นๆ
รุ นใหม รุ นใหม
เพิ่มความเที ่ยงตรงของระบบเพลทรี งขึ้นด วยระบบ เพิ่มความเที ่ยงตรงของระบบเพลทรี จีสเตอร จใีสห เตอร ดียิ่งขึให ้นดด ียวิ่ยระบบ บปรุงงการใช งานและการบำรุ กษา โดยการออกแบบ งการใช านและการบำรุ งรักษางรัโดยการออกแบบ เปลี่ยนเพลทอั ติทนี่ไม ต จอำเป นต องงอเพลทล วงหน า (แคลมป เปลี่ยนเพลทอั ตโนมัติทตี่ไโนมั ม จำเป งงอเพลทล วงหน า (แคลมป จับ จับ 4. ปรั4.บปรุปรั ให เบหมาะกั บสภาพการทำงานของผู สภาพการทำงานของผู ปฎิบัติง ปานฎิบัติงาน ้งยังช วยลดความเสี ยหายของขอบเพลทให เหมาะกั เพลทเป เพลทเป นแบบเรีนยแบบเรี บ)อีกทัย้บ)อี งยังช กวทัยลดความเสี ยหายของขอบเพลท บปรุงานและการบำรุ การใช งานและการบำรุ ษา โดยลดขั ้นตอนการทำงาน งรักษา งรักโดยลดขั ้นตอนการทำงาน ง ายต อการนำเพลทกลั บมาใช ใหม โดยการออกแบบใหม และทำให และทำให ง ายต อการนำเพลทกลั บมาใช ใหม โดยการออกแบบใหม นี้ นปรัี้ บปรุงปรัการใช มเครือี่อกงลง กทับ้งให ยังตปรั บให งตใต ำแหน ะบบล างโม และควบคุและควบคุ มเครื่องลง ทั้งยังอีปรั ำแหน ระบบงใต ล ารงโม ยังช วยลดเวลาในการเตรี มเครื งได าเงมาก ป นอย างมาก ยังช วยลดเวลาในการเตรี ยมเครื่อยงได เป น่ออย าชุบง น้าำยต ยา)อการดึ ง ายต งอออกมาจากทางด การดึงออกมาจากทางด กดพิมพ กดพิ (ซึ่งมใช พ ผ า(ซึชุ่งบใช น้ำผยา) าน าน ควบคุ มเครื ่องเพื ่อเปลี่ยนแผงควบคุ มการทำงานเครื ่องเพื ่อเปลี ่ยนแผงควบคุ มการทำงานเครื ่องรุ นใหม ่องรุ นใหม พ คุณงภาพสู ่มเสถียรภาพของการพิ 3. งานพิ3.มงานพิ พ คุณมภาพสู และเพิง่มและเพิ เสถียรภาพของการพิ มพ ด วยมพ ด วยควบคุมเครื ที่อายูนหน ทางด าของหน านหน าวของหน วยรับกระดาษซึ กพัฒนามาให ที่อยู ทางด ยรับกระดาษซึ ่งถูกพัฒ่งถูนามาให มองเห็นมองเห็น ระบบควบคุ สีในตั ระบบควบคุ มสีในตัวมเครื ่องวเครื่อง มพ Lithrone G40 สามารถพิ มพ คงุณานได คุณงสุภาพสู เครื่องพิเครื มพ ่องพิ Lithrone G40 สามารถพิ มพ งานได ภาพสู ด งสุดได ดียิ่งขึได ้น ดียิ่งขึ้น
136 ThaiPrint Magazine
136-137_m14.indd 136
28/8/2554 1:05
โรง ในเดือน รับรอง แบบด ว นอกจา เสียจาก มีสองโร และโรง การ การปร สนับสน เป นมิต และหน า ทุกชิ้นส
เทคโน Komo
- ลดกา
AI otoนเป น แถบสี pots ตั้งแต essพิมพ พิมพ
กแบบ
ำงาน
น
งเห็น
L I T H R O N E G40
Main Features โรงงาน Toride ของ Komori ได รับใบรับรอง ISO 14001 ในเดือนธันวาคมป 2001 ส วนโรงงานที่เหลือได ปฏิบัติตามและได รับใบ รับรองนี้ในป 2003 และทั่วทั้งบริษัทได เข าร วมทำโปรแกรมหลายรูป แบบด วยความพากเพียรจนสามารถเป นแบบอย างให แก อุตสาหกรรม นอกจากนี ้ โ รงงานผลิ ต ทุ ก โรงได ต ั ้ ง เป า หมายของการปล อ ยของ เสียจาก อุตสาหกรรมให เป นศูนย จนมาในเดือน พฤศจิกายนป 2004 มีสองโรงงาน ที่ประสบความสำเร็จในการปล อยของเสียปกติเป นศูนย และโรงงานอื่นๆ ก็กำลังดำเนินการเพื่อให บรรลุ เป าหมายนี้ การควบคุมสารอันตรายต างๆอย างถูกต อง การส งเสริมเรื่อง การประหยัดพลังงาน การลดของเสียหรือการนำกลับมาใช ใหม การ สนับสนุนการอนุรักษ ทรัพยากร และการพัฒนาผลิตภัณฑ ที่ เป นมิตรกับสิ่งแวดล อม เหล านี้ในป จจุบันได กลายมาเป นภารกิจ และหน าที่ที่ชัดเจนของบริษัท และความคิดเหล านี้ได ซึมซับอยู ใน ทุกชิ้นส วนของเครื่องพิมพ Lithrone G40
เทคโนโลยี ท ี ่ ใ ช ใ นผลิ ต ภั ณ ฑ ท ี ่ เ ป น มิ ต รกั บ สิ ่ ง แวดล อ มของ Komori
- ปรับปรุงสภาพแวดล อมของการทำงาน / ควบคุมสาร ประกอบระเหยที่เป นพิษด วยอุปกรณ เก็บรวบรวมผงแป ง ระบบ น้ำยาฟาวเท น Komorimatic ระบบล างทำความสะอาดที่ ใช ผ าชุบน้ำยา - เพิ่มการประหยัดพลังงาน โดยการใช Inverter Motors (สำหรับ Main Motors และ Blowers) - ปรับปรุงเรื่องเสียงของเครื่อง โดยใช ตู เก็บเสียง
ใบรับรองของการปฏิบัติตามมาตรฐานสิ่งแวดล อมของ BG* จากความสำเร็จในการปล อยของเสียที่น อยมาก ทำให เครื่องพิมพ Lithrone G40 ได ผ านการทดสอบเพื่อ BG Emission Test Certificate และได รับใบรับรองเป นที่เรียบร อย *มาตรฐาน BG จะมอบให กับเครื่องพิมพ ที่ลดการปล อยของเสีย ต างๆลงพิมพ โดยปราศจากแอลกอฮอล และเครื่องเดินด วยเสียง ดังน อย สอบถามข อมูลเพิ่มเติมได ที่ฝ ายขาย บริษัท แฟโรสตัล (ไทยแลนด ) โทร 0-2401-9779
- ลดการสูญเสียกระดาษ โดยระบบ PQA-S, ระบบ KHS-AI
ThaiPrint Magazine 137
136-137_m14.indd 137
28/8/2554 1:05
Printing Education & Development
สัมภาษณนักเรียนการพิมพ หลักสูตรการพิมพออฟเซ็ตเบื้องตน สถาบันการพิมพไทย หรือ Thai Print Academy เกิดขึ้นจากการที่สมาคมการพิมพไทยตระหนักถึงการสราง บุคลากรคุณภาพทางดานการพิมพนั้นเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง ในการพัฒนามาตรฐานและคุณภาพของอุตสาหกรรม สิ่งพิมพของไทย อันเนื่องมาจากภาวะการแขงขันทางธุรกิจที่สูงขึ้น ทําใหผูประกอบการตองเตรียมความพรอมใน ทุกๆ ดาน ไมวาจะเปนดานการตลาด การเงิน การผลิต และปจจัยสําคัญที่สุดคือเรื่องของบุคลากร โดยเริ่มตั้งแต ระดับปฏิบัติการ ระดับผูบริหารชั้นตนจนถึงผูบริหารสูงสุด สถาบันการพิมพไทยตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมสินสาคร เมืองการพิมพและบรรจุภัณฑพรอมเครื่องจักร และอุปกรณอันทันสมัยที่ใชในการเรียนการสอบครบขบวนการ นับเปนโรงเรียนการพิมพที่สมบูรณแบบแหงหนึ่งของ ประเทศไทย วันนี้เราลองมาพูดคุยกับนักเรียนที่ไดเขามาอบรมจากสถาบันแหงนี้วาแตละคนไดเรียนรูอะไร และรูสึก อยางไรบางทีไ่ ดมาเรียนทีส่ ถาบันแหงนี้ ซึง่ หลักสูตรการพิมพออฟเซ็ตเบือ้ งตนคราวนีม้ นี กั เรียนสมัครมาจากหลากหลาย ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการพิมพ เชน ขายกระดาษ หมึกพิมพ เราลองมาทําความรูจักวามีใครบางดังนี้
กลุมที่ 1
นายสมพงษ รัตนชัยกานนท บริษัท สาฮะแอนดซันสพริ้นติ้ง จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับสิ่งพิมพและบรรจุภัณฑ น.ส.ชนนิสา ธนชัยประเสริฐ บริษัท แฟโรสตัล(ไทนแลนด) บจก. ธุรกิจเกี่ยวกับ ผูแทนจําหนายเครื่องพิมพ komori ฯลฯ น.ส.ศิรินภา วรรณศิริ บริษัท โตโยอิงค (ประเทศไทย) จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับหมึกพิมพ นายปรัชญา เสนาวงศนารถ บริษัท โตโยอิงค (ประเทศไทย) จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับหมึกพิมพ นาย เอกสิทธิ์ โรจนสุวิชัย หจก.เอ.เอ็ม.ไดคัท ธุรกิจเกี่ยวกับ โรงปมและเชื่อมเครื่องจักร นายพิสิฐ ฐิติมนตรี หจก.ยงชัย อีเล็คทริค ธุรกิจ ออกแบบแปลน ติดตั้งไฟฟาโรงงานอุตสาหกรรม
กลุมที่ 1
กลุมที่ 2
นาย สมโภช สงวนปยะพันธ บริษัท บางกอก เปเปอร บิสสิเนส จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับ ขายกระดาษ นายรวี แยมวาทีทอง บริษัทโรงพิมพหยี่เฮง ธุรกิจเกี่ยวกับโรงพิมพ น.ส.พรพิมล ศักดามิ่งมงคล บริษัทสมไทยเปเปอร จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับ ขายกระดาษ น.ส.ปยฉัตร สุนทรสวัสดิ์ บริษัทแฟนซีเปเปอร จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับขายกระดาษ นายภาสิทธิ์ ศายาลักษณ บริษัท ลิ้มพาณิชย เปเปอร กรุป จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับขายกระดาษ
กลุ่มที่ 2
138 ThaiPrint Magazine
138-142_m14.indd 138
28/8/2554 0:57
บีเจซี เผยโฉมเทคโนโลยีการพิมพระบบดิจิตอลออฟเซ็ทหนึ่งเดียวในโลก กลุมที่ 3
น.ส.วรรณวิสา สุทธาธิกุลชัย บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับโรงพิมพ น.ส.สุพิชญา วรรณศิริกุล บริษัท เมยฟลาวเวอร (ประเทศไทย) จํากัด น.ส.อาภากร ชุนเจริญ บริษัท พงศพัฒนการพิมพ จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ นายจิระเมศร มัญชุศรีวรินทรา บริษัท แอดวานซ อิมเมจการด จํากัด นายพุทธินันท ชนาพัฒนโชคชัย บริษัท ปริ๊น-คัพ จํากัด
กลุมที่ 3
กลุมที่ 4
นายจักรพันธ เชาวเพชรนอย บริษัท แอล.เอส.ซัคเซ็ส.การพิมพ จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ คุณสุวิทัศน กวีขําคม บริษัท ที.เค.เอส.สยามเพรส แมเนจเมนท จํากัด ธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ
กลุมที่ 4
บรรยากาศภายในหองเรียนที่เปนกันเองพรองทั้งอุปกรณการเรียนที่ครบครัน ThaiPrint Magazine 139
138-142_m14.indd 139
28/8/2554 0:58
Printing Education & Development
คิ ด อย่ า งไรถึ ง อยากที่ จ ะมาทํ า งาน ด้ า นการพิ ม พ์ ส านต่ อ ธุ ร กิ จ จาก ครอบครัว โรงพิมพ เปนธุรกิจหลักของ ครอบครัว ซึ่งเปนหนาที่และความ รับผิดชอบที่ตอ งกลั บมารั บ ช ว งต อ เพื่อใหธุรกิจดําเนินตอไป คําตอบ โดยรวมจากทางกลุมก็สรุปวา การได ทําในสิ่งที่ครอบครัวมีอยูแลวก็รูสึก วาดีและอีกอยางก็เสียดายถาไมทํา ต อ เพราะถื อ ว า เป น ธุ ร กิ จ ที่ สื บ ต อ มาตั้งแตรุนคุณปูคุณยาก็เลยคิดวา ถ า ไม มี ค นทํ า เราก็ จํ า เป น ที่ จ ะต อ ง สานงานด า นการพิ ม พ ต อ จากรุ น คุณพ่อคุณแม่ รวมถึงเรื่องคนงาน ที่ทํามากับคุณพอมาตั้งแตรุนบุกเบิก หากเราหยุ ด ไปเขาก็ ไ ม รู จ ะไปทํ า อะไรต่อเหมือนเราทิ้งเขา ซึ่งก็ไม่ อยากให เ หตุ ก ารณ แ บบนี้ เ กิ ด ขึ้ น รูสึกสงสารเขาบางคนก็เห็นวาเปน ธุรกิจที่นาศึกษา และเห็นวานาจะ สนุกดี และเราก็เกิดอยูในโรงพิมพ ตั้งแตเล็กเห็นมาตั้งแตเล็กคงจะทิ้ง ไปไมได
หลักสูตรการพิมพ์ในรุ่นนี้เป็นอย่างไร บ้าง ดีหรือไม่ดีอย่างไร หลั ก สู ต รการพิ ม พ ที่ ท าง สมาคมจัดทําขึ้นเปนประโยชนอยาง มากสํ า หรั บ การแนะนํ า การพิ ม พ เบื้องตน ซึ่งประกอบไปดวยดานวิชา การและปฏิบัติ ซึ่งสามารถนําไปใช กั บ การทํ า งานจริ ง ในแต ล ะกิ จ การ นักเรียนสวนใหญใหคําตอบคําเดียว กันวา ดีครับทุกอยางดีหมดสามารถ ทําใหเขาใจในเรื่องการพิมพมากขึ้น ขอมูลละเอียดดีจากที่เรารูแค 10% สามารถทําใหเรารู 40 - 50% มองเห็น ขอผิดพลาดตางๆ ไดและสามารถคุย กับชางไดสวนธุรกิจอื่นที่ไมเกี่ยวของ กับการพิมพกส็ ามารถมองเห็นวิธกี าร พิ ม พ ขั้ น ตอนในการพิ ม พ แ ละเกิ ด ความเขาใจในปญหาตางๆ ทีโ่ รงพิมพ เกิดปญหาที่ตัวเองไมเคยรูมากอนมี ความเขาใจโรงพิมพมากขึ้นทั้งธุรกิจ ขายหมึกและขายกระดาษเราสามารถ แลกเปลี่ ย นความรู ซึ่ ง กั น และกั น สรุปได้ว่า พอได้เข้ามาศึกษากับ หลักสูตรนี้แลวเกิดความรูเรื่องระบบ
การพิมพมากขึ้น และไดทดลองเขา ทํางานเครือ่ งพิมพจริงๆ เลยทําใหเรา เห็นขั้นตอนตางๆ วาทําไมเขาถึงตั้ง เครื่องนานทําไมกระดาษไมรับหมึก ทํ า ไม ตั้ ง สี น านเหลื อ เกิ น คื อ ป ญ หา พวกนี้ เราก็จะรองออ...มันเปนอยาง นี้นี่เองนานเพราะอะไร เราจะรูและ เขาใจมากขึ้น สื่อสารกันไดงายขึ้นมี ความเขาใจตอกันระหวางธุรกิจหนึง่ สู ธุรกิจหนึง่ ทีเ่ กีย่ วของกับอุตสาหกรรม การพิมพ การดํ า เนิ นกิ จ กรรมในการเรี ย นการ สอนรวมถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอน เป็นอย่างไรบ้างเพียงพอหรือไม่ เครื่ อ งจั ก รที่ ใ ช ถื อว า อยู ใ น สภาพที่พรอมใชงานแตการใหความ เขาใจในการปฏิบัติงานกับเครื่องจักร ยังครอบคลุมได้ไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่ง อยากจะใหมีการโชวการทํางานหรือ อธิบายหนาทีก่ ารทํางานของอุปกรณ ตางๆ กอนลงมือปฏิบตั จิ ริงบนเครือ่ ง จักรกิจกรรมก็ดีครับทั้งเครื่องพิมพ และอุปกรณตางๆ รวมถึงกิจกรรมที่
140 ThaiPrint Magazine
138-142_m14.indd 140
28/8/2554 0:57
บีเจซี เผยโฉมเทคโนโลยีการพิมพระบบดิจิตอลออฟเซ็ทหนึ่งเดียวในโลก
ภาคปฏิบัติครูผูสอนอธิบายถึงขั้นตอนการทํางานอยางละเอียดกอนลงมือปฏิบัติ
พาพวกเราออกไปเยี่ยมชมโรงงาน ตางๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งพิมพ ซึ่งทําใหเรา เห็ นขั้ นตอนการผลิตสิ่งพิมพอ ยา ง ละเอียดและก็ไดปฏิบตั กิ บั เครือ่ งจริง เริม่ ตัง้ แตการพิมพเครื่องพิมพสีเดียว จนถึงเครื่องพิมพสี่สีถามวาพอหรือ ไม ก็ ต อ งตอบว า เครื่ อ งมี เ พี ย งพอ ครับ เพราะอาจารยจะแบ่งกลุ่มกัน เป็นกลุ่ม เพื่อการทํางานทีส่ ะดวก สบายมากขึ้น แตขอตินิดครับ เรื่อง การแบงกลุม คือ อาจารยจะแบงกลุม ผู ห ญิ ง แยกออกไปเรี ย นเครื่ อ งเล็ ก สวนผูชายจะเรียนเครื่องใหญ ซึ่งที่ จริงแลวนาจะใหกลุมหนึ่งมีท้ังหญิง และชายแลวสลับกันเปลี่ยนเครือ่ งใน การทํางานจะดีมากขึ้นเพราะจะได้ ช่วยเหลือกัน และรู้ขั้นตอนทั้งหมด ไปพรอมๆ กันครับถามีการเรียนการ สอนที่ เ จาะลึ ก กว า นี้ ก็ จ ะดี คื อ แบบ เรียนเปนเรื่องๆ ไปเลยเปดหลักสูตร สอนวิธีทํากอนการพิมพ และหลัง การพิ ม พที่เราอยากที่จ ะเรียนเพิ่ม เติมอีกดวยหากมีการเปดก็จะเขามา เรียนเพิ่มเติมอีกเพราะยังมีอีกหลาย
เรื่องที่ยังตองการศึกษาเพิ่มเติม เรียนแล้วได้พื้นฐานทางด้านการพิมพ์ เป็นอย่างไรบ้าง ความรูทางดานพื้นฐานการ พิมพเราสามารถรูไดเลยวาการพิมพ จะตองเริ่มจากจุดไหนไปจนถึง งาน ที่พิมพออกมาเสร็จเลยครับ ซึ่งเราก็ จะเริ่มเรียนจากเครื่องพิมพสีเดียว แลวพิมพใหออกมาเปนภาพสี่สีโดย การพิมพซ้ําหรือพิมพทับสีจนออก มาเปนภาพสี่สีไดเปนภาพสี่สีปรกติ จากนั้น เราก็มาตั้งเครื่องกอนพิมพ การสั่งใหเครื่องทํางานคือ เทาที่เคย ไปเรี ย นกั บ ที่ อื่ น มายั ง ไม รู เ ท า มา เรี ย นที่ ห ลั ก สู ต รนี้ ข องสถาบั น การ พิมพไทยคือ เราจะรูละเอียดทั้งภาค ทฤษฏี ก็ ส อนได อ ย า งละเอี ย ดมาก เพราะอาจารยจะเอาประสบการณ จริ ง ที่ ผ า นมาแล ว นํ า มาสอนให เ รา เขาใจถึงปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นและ วิ ธี แ ก ไ ขอย า งถู ก ต อ งรวมถึ ง เรื่ อ ง การดู แ ลรั ก ษาเครื่ อ งพิ ม พ เ พื่ อ ให เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการพิ ม พ ม าก
ขึ้นและมีอายุใชงานที่ยาวนานภาค ปฎิบัติก็จะทํางานกันที่เครื่องพิมพ จริงเลยครับเห็นขั้นตอนการทํางาน ของเครื่ อ งพิ ม พ ทั้ ง หมดทํ า ให เ รา เขาใจอะไรไดมากขึ้น สรุปไดวาทุก คนชอบในหลั ก สู ต รการเรี ย นการ สอนของที่นี่สามารถทําใหรูเรื่องการ พิมพดวยระบบออฟเซตเบื้องตนได มากขึ้นเขาใจมากขึ้นและอยากที่จะ เรียนเพิ่มเติมอีก เมือ่ เรียนแล้วสามารถนํากลับไปประยุกต์ ใช้กลับการทํางานจริงได้หรือไม่ มี ค วามเข า ใจกระบวนการ ทํางานของงานพิมพ์มากขึ้น ซึ่ง สามารถนําไปใชปฏิบัติจริงกับการ ทํางานในปจจุบัน และยังไดขอมูล เพิ่มเติมในการบํารุงรักษาเครื่องจักร ซึง่ สามารถนําไปเพิม่ ศักยภาพสําหรับ กิจการตอไปไดตรงจุดนี้ สํ า หรั บ ทายาทโรงพิ ม พ ก็ ตอบมาวา สามารถทําใหเขาใจใน ระบบมากขึ้น เพราะบางคนก็ไมเคย เรียนรูเรีองการพิมพมากอนคือ ไม ThaiPrint Magazine 141
138-142_m14.indd 141
28/8/2554 0:58
Printing Education & Development เคยเขาไปดูเลยแตพอเขามาเรียนเขา มาอบรมรูสึกมองเห็นภาพไดงายขึ้น วาการพิมพคืออะไร ขั้นตอนในการ พิมพจะตองทําอยางไร เริ่มจากจุด ไหนกอนจุดไหนหลังปญหาตางๆ ที่ จะเกิดขึ้น เพราะเมื่อตอนที่เราเรียน อาจารยจะปลอยใหนักเรียนลองตั้ง เครื่องดูกอนเลย เพื่อที่ปญหาตรงจุด ไหนเกิดอาจารยถึงมาชวยแกไขให และบอกถึ ง สาเหตุ ร วมถึ ง วิ ธี แ ก ไ ข กันเปนเรือ่ งๆ ไป ซึง่ จะทําใหนกั เรียน ไดเห็นปญหาที่เกิดขึ้นจริง และเรา สามารถทีจ่ ะนําปญหาเหลานีไ้ ปแกไข ไดจริงที่โรงพิมพของเราสามารถคุย กั บ ช า งได รู เ รื่ อ งสื่ อ สารกั น ได ดี ขึ้ น รวมถึ ง เข า ใจช า งมากขึ้ นว า สาเหตุ อะไรถึงเกิดขึ้นเกี่ยวกับปญหาตางๆ ในการพิมพดวยระบบออฟเซ็ต การ นําความรูที่ไดรับจากการอบรมไป ใชรวมกับการทํางานนั้นมีประโยชน อยางสูง โดยเฉพาะความรูเบื้องตน สําหรับการจัดซื้ออุปกรณการพิมพ และวิธีการบํารุงรักษาเครื่องจักร
เรารูอะไรไดเยอะทั้งที่อาจารยและ เพื่อนๆ ที่เข้ามาเรียนในหลักสูตร เดียวกัน เพราะตางคนตางมาจาก ธุรกิจที่แตกตางกันและแลกเปลี่ยน ความรูก นั ชวยเหลือกันไดมากทีเ่ ดียว หากมี ส อนเพิ่ ม เติ ม ในหลั ก สู ตรอื่ น ที่นาสนใจก็จะกลับมาเรียนอีกครับ สวนมากอยากที่เรียนตอกันครับ
คิ ด ว่ า จะกลั บ มาเรี ย นเพิ่ ม เติ ม หรื อ ไม่ หากมีการเปิดสอนหลักสูตรเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการพิมพ์ คือถาเปดสอนในหลักสูตร อื่นที่เกี่ยวกับระบบการพิมพก็อยาก ที่จะมาเรียนเพิ่มเติม เพราะคิดวามี ประโยชนมากหากถาเราจะทําธุรกิจ การพิมพตอจากครอบครัว เพราะ มองเห็ น ว า ถ า เราสามารถเรี ย นรู ระบบการพิ ม พ อ ย า งระเอี ย ดเราก็ สามารถจะมองไดไกลกวาคนที่ไมรู เพราะระบบในการพิ ม พ มี ห ลาย เรื่องที่เรายังไมรู อยางเชน การผสม สีการเลือกกระดาษที่ดีตอการพิมพ ประเภทตางๆ การทําเพลทและอืน่ ๆ เพราะเท า ที่ ไ ด เ ข า มาเรี ย นรู สึ ก ว า
ระยะเวลาในการเรียนในหลักสูตรนี้มาก ไปหรือน้อยเกินไปควรจะมีสักเท่าไหร่ ถึงจะคิดว่าเหมาะสม ระยะเวลา 10 อาทิตย สํ า หรั บ หลั ก สู ต รนี้ ผ มว า เป น ระยะ เวลาที่ เ หมาะสมแต อ ยากให มี ก าร แยกให้มีการเพิ่มเติม หลักสูตรที่ เจาะลึกในการทํางานจริง เพื่อนําไป ใชในกิจการจริง เชน วิธีการเปรียบ เทียบสี อบรมหลักสูตรพัฒนาชาง พิมพ เปนตน ซึ่งก็คิดวาดีแตความตอเนื่อง มันนอยเกินไปหรือไมถ่พี อเวลาเรียน ไปแล ว กลั บมาเรี ย นอี ก ที ก็ จ ะลื ม ๆ ไป ถาเปนไปไดอยากใหเรียนนาน กวานี้หนอย เพราะจะไดเขาใจมาก
เริ่มปฏิบัติงานจริงกับเครื่องพิมพสี่สีอยางละเอียดทุกขั้นตอนการพิมพ
ขึ้ น และขยายเวลาเรี ย นออกไปอี ก นิดก็จะดีมาก เพราะบางครัง้ เราเรียน ในระยะเวลาที่นอยอาจารยก็จะตอง รีบสอนรีบถายทอดความรูออกมาสู เราใหมากที่สุดแตความสามารถใน การจดจําความสามารถในการรับรู ขอมูลอาจจะไมเทากัน ยิ่งบางคนไม ไดเรียนสายการพิมพ หรือที่บานไม ไดทําโรงพิมพยิ่งจะเขาใจยากหรือ ชากวาคนอื่นที่ที่บานเขาทําโรงพิมพ อยูจะขยายออกไปสัก 3 เดือน 12 สัปดาหกําลังดีเราะจะไดมีเวลาเรียน มากขึ้นอีกนิดหรือระยะเวลาเทาเดิม แตเพิ่มวันเรียนเปน เสาร – อาทิตย แตไมทราบวาคนอื่นเขาจะมีเวลามา เรี ย นกั น หรื อ เปล า ตรงนี้ ก็ ไ ม แ น ใ จ คนส วนมากในกลุม ก็ มี ทั้ ง เห็ น ด ว ย และไมเห็นดวย เนื่องจากทุกคนก็มี งานที่ตองรับผิดชอบอยูแลวเลยคิด ว า น า จะหาอะไรที่ ล งตั ว ได สํ า หรั บ ทางสถาบันที่กําหนดหลักสูตรออก มาและกํ า หนดวั น เรี ย นออกมาถ า นักเรียนที่สนใจเรียนจริงๆ ก็นาจะ หาเวลามาเรียนไดตามกําหนดที่ทาง สถาบันการพิมพไทยกําหนดเอาไว
142 ThaiPrint Magazine
138-142_m14.indd 142
28/8/2554 0:58
ขับรถอยางไรถึงปลอดภัยในฤดูฝน
ขับรถอยางไรถึงปลอดภัยในฤดูฝน หน้าฝนเปนอีกอุปสรรคอย่างหนึ่งของคนใช้รถใช้ถนน นอกจากฝนตกถนนลื่น ยังง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งเปน สาเหตุของรถติดยาวเหยียดอีกด้วย ดังนั้นคนมีรถอย่างเราจึงต้องเตรียมรถยนตของเราให้พร้อม ก่อนออกสตารทอย่าง ปลอดภัยตลอดเส้นทางการขับขี่ยวดยานสัญจรไปมาทั้งในกรุงเทพฯและต่างจังหวัดมีความจำาเปนอย่างยิ่งครับที่จะต้อง ระมัดระวังมากยิ่งขึ้นในฤดูฝนเพราะสถิติการเกิดอุบัติเหตุนั้นเกิดจากฝนตกทำาให้ประสิทธิภาพในการควบคุมยานยนต นั้นลดน้อยลงไปครับแล้วเราจะมีวิธีไหนบ้างที่จะช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุให้น้อยลงไปครับ เช็คผ้าเบรก – อย่�งที่ทร�บกันดีว่� เมื่อเกิดฝนตก ถนนก็จะลื่น เบรกจึงเป็นสิ่งสำ�คัญที่จะทำ�ให้เร�ส�ม�รถหยุด รถได้อย่�งปลอดภัย ห�กรถเร�เริ่มมีเสียงขณะเบรก เนื่อง จ�กผ้�เบรกเริ่มเสื่อม หรือเริ่มรู้สึกเบรกไม่ค่อยอยู่ ควรรีบ ตรวจเช็คและเปลีย่ นผ้�เบรกเสีย เมือ่ ต้องเบรกกระทันหันจะ ได้ส�ม�รถหยุดรถได้อย่�งปลอดภัย เปลี่ยนใบปดน้ำาฝน – เพื่อทัศนวิสัยที่ดีในก�ร ขับขี่ ควรเปลี่ยนที่ปัดน้ำ�ฝน เมื่อเห็นว่�ใบปัดน้ำ�ฝนรีดน้ำ� ออกไม่หมด หรือปัดได้เป็นช่วงๆ ไม่เรียบ หรือเกิดเสียง ขณะปัด เนื่องจ�กย�งปัดน้ำ�ฝนเริ่มเสื่อมสภ�พ ห�กต้อง ก�รยืดอ�ยุก�รใช้ง�นของใบปัดน้ำ�ฝน ควรฉีดน้ำ�ล้�งกระจก ทุกครั้งที่ปัดน้ำ�ฝน เพื่อให้ฝุ่น หรือโคลนที่เก�ะอยู่ที่กระจก อ่อนตัวลงก่อน จะทำ�ให้ปัดง่�ยขึ้น และไม่ทำ�ให้ใบปัดน้ำ�ฝน เสียดสีกระจก ทำ�ให้ย�งชำ�รุดได้ง่�ย เช็คลมยาง และสภาพยาง – ควรตรวจเช็คลม ย�งเป็นประจำ�สัปด�ห์ละครั้ง ระวังอย่�ให้ลมย�งอ่อนหรือ แข็งเกินไป จะทำ�ให้ทรงตัวลำ�บ�กในหน้�ฝน นอกจ�กนี้ ห�กดอกย�งสึกหรอไปม�กจะมีผลต่อก�รเก�ะถนนของรถ ทำ�ให้รถเบรกไม่ค่อยอยู่ วางแผนก่อนออกเดินทาง – เมื่อต้องเดินท�งใน ช่วงฝนตก ควรเตรียมข้อมูลสำ�หรับก�รเดินท�งให้พร้อม โดย เลือกเส้นท�งที่ใช้เวล�น้อยที่สุด และควรตรวจสอบเส้นท�ง จร�จร หรือเส้นท�งลัด เพื่อหลีกเลี่ยงเส้นท�งที่รถติด เกิด น้ำ�ท่วม หรือเกิดอุบัติเหตุ ที่สำ�คัญควรเตรียมหม�ยเลข โทรศัพท์ฉุกเฉิน ในกรณีรถเกิดอุบัติเหตุ หรือรถเสียกล�ง ท�งไว้ด้วย ขับรถอย่างระมัดระวัง – เมื่อทุกอย่�งพร้อมแล้ว ก็ออกเดินท�งได้เลย ช่วงฝนตกอย่�งนี้ไม่ควรใช้คว�มเร็วสูง จนเกินไป เพร�ะอ�จเสียหลักได้ง่�ย ระวังอย่�งเข้�โค้งด้วย
คว�มเร็ว และอย่�แตะเบรกกระทันหัน เพร�ะอ�จทำ�ให้ ท้�ยรถปัด ไม่ควรขับเข้�ใกล้รถคันหน้�ม�กนัก ควรเว้น ระยะห่�ง เผื่อระยะเบรกพอสมควร แต่ห�กเกิดเบรกไม่อยู่ ควรเบรกย้ำ�ๆ จะทำ�ให้รถหยุดได้ดีกว่�ก�รเหยียบแช่ไว้
เตรียมรถใหพรอม รับหนาฝน
เพร�ะช่วงฤดูฝนเป็นช่วงที่มีคว�มเสี่ยงต่อก�รเกิด อุบัติเหตุท�งถนนม�กกว่�ปกติ เนื่องจ�กถนนเปียกลื่นกว่� ปกติ และทัศนวิสัยในก�รมองเห็นไม่ดี เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ท�งถนนในช่วงฤดูฝน ผมจึงขอแนะนำ�ก�รขับรถในเวล�ทีฝ่ น กำ�ลังตกมีดังนี้ครับ
การเตรียมสภาพรถ
ผู้ขับขี่ควรตรวจสอบระบบสัญญ�ณไฟให้อยู่ในสภ�พ ที่ใช้ง�นได้ดี ห�กโคมแก้วเปอนให้เช็ดทำ�คว�มสะอ�ด เพื่อ ให้คว�มสว่�งเพิ่มขึ้น รวมถึงตรวจสอบอุปกรณ์ใบปัดน้ำ�ฝน ให้ส�ม�รถปัดกว�ดน้ำ�ฝนได้สะอ�ด ไม่มีรอยฝ้�หรือรอย ขูดขีดบนกระจก และเตรียมผ้�แห้งไว้เช็ดฝ้�ที่ติดอยู่กระจก ภ�ยในรถ รวมถึงหมัน่ เติมน้�ำ ในกระปุก ฉีดน้�ำ อยูเ่ สมอ เลือก ใช้ย�งรถยนต์ที่มีดอกย�งละเอียด เติมลมย�งให้มีแรงดันลม ม�กกว่�ปกติ 2-3 ปอนด์/ต�ร�งนิ้ว เพื่อให้หน้�ย�งแข็ง ซึ่งจะช่วยให้ย�งมีกำ�ลังในก�รรีดน้ำ�ดียิ่งขึ้น ตลอดจนตรวจ สอบผ้�เบรกให้ส�ม�รถใช้ง�นได้ดีในสภ�พถนนเปียกลื่น ห�กเบรกแล้วรถมีอ�ก�รปัด ให้จัดก�รเปลี่ยนผ้�เบรกใหม่ เตรียมรถให้พร้อม รับหน้�ฝน
การขับรถในชวงฝนตก
เปิดใบปัดน้ำ�ฝน โดยปรับระดับคว�มเร็วของใบปัดน้ำ� ฝน ให้สัมพันธ์กับคว�มแรงและปริม�ณฝนที่ตกลงม� ThaiPrint Magazine 143
143-145_m14.indd 143
27/8/2554 5:42
Safety Zone การใช้น้ำ�ฉีดกระจก ในช่วงที่ฝนเริ่มตก น้ำ�ที่กระเด็น จากการดีดจะมีลักษณะเหนียวคล้ายโคลน ในกรณีนี้ แม้ จะใช้เปิดก้านปัดน้ำ�ฝนปัดก็ไม่สามารถปัดออกได้หมด จึง ควรใช้น้ำ�ฉีดกระจกช่วยชะล้างคราบโคลนเหล่านี้ แต่สิ่งที่ ต้องระวังก็คือ ไม่ควรฉีดน้ำ�ในขณะที่ขับรถด้วยความเร็วสูง เพราะจะทำ�ให้ไม่สามารถมองเห็นเส้นทางได้ชัดเจน เปิดไฟหน้า-หลังรถ เนื่องจากสภาพอากาศในช่วงที่ ฝนตกหนักมักมืดครึ้มคล้ายช่วงหัวค่ำ� ทำ�ให้ผู้ขับขี่มองเห็น เส้นทางไม่ชดั เจน การเปิดไฟหน้า-หลังรถนอกจากจะช่วยให้ ผูข้ บั ขีม่ องเห็นเส้นทางดีขน้ึ แล้ว ยังช่วยให้ผขู้ บั ขีร่ ถคันอืน่ เห็น รถของเราได้ชัดเจนมากขึ้นด้วย ลดความเร็ว จากการศึกษาพบว่า ช่วงที่ฝนเริ่มตกใน 10 นาทีแรก เป็นช่วงที่รถมีโอกาสลื่นไถลมากที่สุด เพราะ น้ำ�ฝนจะชะล้างคราบดินและฝุ่นละอองที่ติดอยู่บนพื้นถนน ซึ่งมีลักษณะคล้ายการละเลงโคลน ดังนั้น การลดความเร็ว ของรถ จึงเป็นการเพิ่มความปลอดภัยในการขับขี่ ซึ่งระดับ ความเร็วที่ทำ�ให้รถไม่เกิดการลื่นไถล คือ 60 กม./ชม. ไม่ขับรถชิดคันหน้ามากเกินไป เพราะสภาพถนนที่ เปียกลื่น ทำ�ให้ต้องใช้ระยะทางในการหยุดรถเพิ่มขึ้น ผู้ขับขี่ ควรเว้ น ระยะห่ า งจากรถคั น หน้ า มากกว่ า การขั บ ขี่ ใ นช่ ว ง ปกติ 10-15 เมตร เพื่อให้สามารถหยุดรถได้ทัน หากขณะขับรถแล้วรถลื่นไถลหรือเหินน้ำ� ห้าม เหยียบเบรกจนล้อหยุดหมุนในทันที เพราะจะทำ�ให้รถพลิก คว่ำ�ได้ ให้แก้ไขด้วยการถอนคันเร่ง ควบคุมพวงมาลัยให้ มั่นคงแล้วพยายามลดความเร็วโดยใช้เกียร์ต่ำ�จนกว่ารถจะ ทรงตัวได้ แล้วจึงค่อยเหยียบเบรกเพื่อหยุดรถ
เพือ่ ป้องกันอุบตั เิ หตุทางถนนในช่วงฝนตก ผูข้ บั ขีค่ วร ตรวจสอบสภาพยาง ใบปัดน้ำ�ฝน ระบบสัญญาณไฟให้อยู่ใน สภาพใช้งานได้ดี และหมั่นเติมน้ำ�ในกระปุกฉีดน้ำ�ฝนอย่าง สม่ำ�เสมอ อีกทั้งเลือกใช้ยางที่มีดอกยางละเอียด เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการยึดเกาะถนนและหยุดรถ ตลอดจนเพิ่ม ความระมัดระวังในการขับขี่มากกว่าปกติ ไม่ขับรถด้วยความ เร็วสูง และเว้นระยะห่างจากรถคันอื่นให้มากกว่าปกติ
การป้องกันเพื่อไม่ให้รถเกิดสนิมหลังหน้าฝนผ่านไป
เพราะว่าหน้าฝนมาถึงเมื่อไร สิ่งที่ตามมาด้วยก็คือ ความชื้น และเจ้าความชื้นนี่เองที่เป็นสาเหตุหลักของการ เกิดสนิมซึ่งเป็นสิ่งที่เจ้าของรถก็คงเกิดความกังวล และไม่ อยากให้เกิดขึ้นกับรถของตนเองเป็นแน่เพราะฉะนั้นเราจะ หาวิธิป้องกันอย่างไร
สนิม คืออะไร
สนิมเกิดจากการทำ�ปฏิกิริยากันระหว่าง อ๊อกซิเจน และธาตุเหล็ก หรือที่เราเรียกว่าปฏิกิริยาอ๊อกซิเดชั่น ซึ่งน้ำ� และออกซิเจนนี่เองที่เป็นปัจจัยหลักในการทำ�ให้เกิดสนิม สนิมจะเป็นคราบสีน้ำ�ตาลออกแดง ทำ�ให้เหล็กผุกร่อนจนถึง เนื้อในได้ วิธีการป้องกันเหล็กไม่ให้เกิดสนิมมีอยู่หลายวิธี อาทิ เช่น การเคลือบผิวเหล็ก ซึ่งจะช่วยป้องกันไม่ให้เนื้อเหล็ก การขับรถผานเสนทางที่มีน�้ำ ทวมขัง สัมผัสกับน้ำ�และอากาศโดยตรง หรือที่เรียกว่า การพ่นกัน ผู้ขับขี่ควรหยุดประเมินสถานการณ์ และขับรถผ่าน สนิมนั่นเอง ถนนในบริเวณทีม่ นี �ำ้ ท่วมขังน้อยทีส่ ดุ และระมัดระวังในการ ขับผ่านถนนที่มีลักษณะนูนเป็นหลังเต่า เพราะหากขับรถ ประโยชนของการพนกันสนิม เบี่ยงออกนอกเส้นทาง อาจทำ�ให้รถจมน้ำ�ได้ ขับรถโดย • ป้องกันความชื้นไม่ให้สัมผัสแผ่นเหล็ก ใช้เกียร์ 1 เร่งเครื่องให้รอบสูงแล้วเหยียบคลัทช์ เพื่อให้ • ป้องกันความร้อน ความเร็วต่ำ� แต่อย่าให้รอบต่ำ�จะทำ�ให้เครื่องดับกลางน้ำ�ได้ • ป้องกันเสียงดังรบกวนที่จะเข้ามาในห้องโดยสาร ไม่ขบั รถเร็วเกินไป เพราะจะทำ�ให้มนี �ำ้ กระเด็นเข้าเครือ่ งยนต์ • ป้องกันการกระแทกและขูดขีดจากสะเก็ดหิน อีกทั้งระวังน้ำ�ที่อาจกระเด็นจากรถคันอื่นเข้าไปในห้องเครื่อง เพราะจะทำ�ให้เครื่องยนต์ดับหรือรถลอยซึ่งจะทำ�ให้ควบคุม การพนปองกันสนิม อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ รถได้ยากขึ้น หากมีน้ำ�ท่วมสูง อย่าขับรถลุยน้ำ�โดยเด็ดขาด 1. ระบบป้องกันสนิมใต้ตัวถังรถ เพราะรถอาจถูกพัดไปตามกระแสน้ำ�ได้ 2. ระบบป้องกันสนิมภายใน เช่น ร่องประตู หรือ ตามซอกต่างๆ
144 ThaiPrint Magazine
143-145_m14.indd 144
27/8/2554 5:42
ขับรถอยางไรถึงปลอดภัยในฤดูฝน ก่อนที่เร�จะพ่นกันสนิมนั้น เร�ต้องล้�งใต้ท้องรถ และพื้น ผิวให้สะอ�ด โดยใช้ส�ยฉีดน้ำ�แรงดันสูงทำ�คว�ม สะอ�ดจ�กนั้นปล่อยให้พื้นผิวแห้งสนิท เพร�ะถ้�มีคว�มชื้น แทรกซึมเข้�ไปแล้วจะทำ�ให้เกิดปัญห�สนิมฝังในและปัญห� อื่นๆ จะต�มม�ที่บริเวณอื่นๆ อีกด้วยนะครับ
จุดที่ควรระวังน้ำารั่วซึมเขามาในรถยนต ยางขอบกระจกบังลมหน้า และหลัง ย�งขอบกระจกบังลมหน้� และหลัง เป็นอีกจุดที่ทำ�ให้ น้ำ�ฝนเล็ดลอดเข้�ม�ในห้องโดยส�รได้ วิธีก�รตรวจสอบก็ ไม่ย�กครับ เพียงแค่นำ�รถไปล้�งดู ห�กพบว่�ตรงจุดใดมี น้ำ�ซึมหรือไหลเข้�ม�ได้ ก็จัดก�รแก้ไขซะให้เรียบร้อย โดย วิธีก�รแก้ปัญห�นั้น ให้ใช้ “ซิลิโคน”ย�ต�มแนวขอบกระจก แค่นี้ก็จะช่วยบรรเท�ปัญห�รั่วซึมตรงบริเวณขอบกระจกบัง ลมได้ม�ก แต่อย่�ลืมว่�! หลังจ�กใช้ “ซิลิโคน” ย�ต�มแนว ขอบกระจกแล้ว ควรทิ้งไว้ประม�ณ 24 ชั่วโมง จ�กนั้นจึงนำ� รถยนต์ไปล้�งดูใหม่ และเช็ครอยรั่วดูอีกครั้งครับ แผงจิ้งหรีด แผงจิง้ หรีด หรือแผงซีๆ ่ ตรงบริเวณทีย่ ดึ ก้�นปัดน้�ำ ฝน จุดนี้น้ำ�ฝนก็อ�จจะเล็ดลอดเข้�ม�ได้เหมือนกันครับ เพร�ะ เป็นช่องที่ใช้ระบ�ยอ�ก�ศ จะมีท่อนำ�อ�ก�ศผ่�นเข้�ม�ใน ห้องโดยส�รได้ เพื่อไม่ให้กระจกบังลมหน้�เป็นฝ้� หรือ ระบ�ยอ�ก�ศในห้องโดยส�ร เพื่อลดคว�มชื้น และกลิ่นอับ ในห้องโดยส�ร แต่ในท�งกลับกันก็อ�จจะนำ�พ�น้ำ�ฝนเข้� ม�ในห้องโดยส�รได้ ห�กเร�ขับรถฝ่�ส�ยฝนที่ตกกระหน่ำ� เป็นระยะเวล�น�นๆ และยังอ�จเป็นช่องท�งนำ�พ�กลิ่นอัน ไม่พึงประสงค์จ�กภ�ยนอกรถเข้�ม�ก็ได้ครับ ในต่�งประเทศ เข�จะมีอุปกรณ์ OPTION พิเศษ ที่ เรียกว่� SNOW CAP ไว้สำ�หรับปิดช่องตรงแผงจิ้งหรีดนี้ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำ�ฝนหรือหิมะที่ตกหนักเล็ดลอดเข้�ม�ใน ห้องโดยส�รครับ ยิ่งหน้�ฝนที่มีฝนตกติดต่อกันแทบทุกวันแบบนี้ ก็ต้อง ดูแลเอ�ใจใส่กับรถยนต์กันม�กหน่อยนะครับ และที่สำ�คัญ อย่�มัวแต่ดูแลรถยนต์เพียงอย่�งเดียวนะครับ สุขภ�พของ ตัวท่�นเอง และคนรอบข้�งก็สำ�คัญด้วย สำ�คัญซะยิ่งกว่� รถเสียอีก ต้องดูแลตัวเองอย่�ให้เจ็บป่วย ยิ่งช่วงที่มีโรค แปลกๆ เกิดขึ้นม�ใหม่ทุกปี อ�ทิเช่น ไข้หวัดนก หรือไข้หวัด ใหญ่ 2009 ครับ
ใบปดน้ำาฝน...เรื่องเล็กๆ ที่คุณมองขามไป
ตอนนี้ก็เข้�หน้�ฝนกันแล้ว สิ่งที่จำ�เป็นสำ�หรับคว�ม ปลอดภัยในก�รขับขี่ก็คือ ใบปัดน้ำ�ฝน นั่นเอง เร�จะพบว่� มีใบปัดน้ำ�ฝนหล�กหล�ยยี่ห้อให้เร�เลือกซื้อกัน ไม่ว่�จะม� จ�กค่�ยฝรั่งเช่น บ๊อช แวริโอ หรือค่�ยญี่ปุ่นเช่น เด็นโซ่ และ เอ็น ดับบลิว ดี แต่ยี่ห้อ หรือใบปัดน้ำ�ฝนชนิดไหนล่ะ ที่จะ เหม�ะกับรถยนต์คันเก่งของเร�
ความเขาใจเกี่ยวกับใบปดน้ำาฝน
มีคว�มเข้�ใจผิดกันม�ตลอดว่� ใบปัดน้�ำ ฝนทีด่ จี ะต้อง ปัดน้ำ�ฝนให้หมดไปจ�กกระจก แท้ที่จริงแล้วก�รทำ�ง�นของ ใบปัดน้�ำ ฝนนัน้ จะป�ดน้�ำ ฝน โดยมีชอ่ งว่�ง คว�มห่�งระหว่�ง กระจกและน้ำ�ฝนประม�ณ 0.01 - 0.05 มม. เพื่อสร้�งผิว ฟิล์มบนกระจก หรือเรียกง่�ยว่�ก�รป�ดน้ำ�ให้เรียบนั่นเอง แต่ไม่ใช่เป็นก�รป�ดน้ำ�ทั้งหมดออกไปจ�กกระจก มิฉะนั้น ห�กออกแบบให้ใบปัดอยู่ติดกับกระจกม�กเกินไปแล้ว จะ ทำ�ให้เกิดปัญห�ใบปัดสะดุด และสั่นกระพือเมื่อใช้ง�น
ชนิดของใบปัดน้ำาฝน
ชนิดของใบปัดน้ำ�ฝนที่จำ�หน่�ยในท้องตล�ดปัจจุบัน 3 ชนิด ได้แก่ 1. ชนิดแบบมีโครงเหล็ก (Conventional Wiper Blade) ใบปัดน้ำ�ฝนแบบนี้เป็นแบบดั้งเดิม ท่�นจะสังเกต เห็นโครงเหล็กแขนย�งปัดน้ำ�ฝน และใบปัดน้ำ�ฝน แบบนี้มี ให้เห็นโดยทั่วไป ใบปัดน้ำ�ฝนชนิดนี้จะใช้ได้ดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่ กับปัจจัยดังต่อไปนี้
- คุณภาพของยาง ย�งคุณภ�พดีส่วนม�กก็ม� จ�กประเทศไทยและม�เลเซีย ผู้ผลิตจะใส่ส�รปรุงแต่งบ�ง ตัวเพื่อเพิ่มประสิทธิภ�พ เช่น ส�รต่อต้�นแสงยูวี ค�ร์บอน แบลค - จำานวนจุดที่เปนข้อต่อบนแขนของใบปดน้ำา ฝน ยิ่งมีจุดข้อต่อมาก ยิ่งกระจ�ยแรงกดไปบนย�งรีดน้ำ�ฝน ทำ�ให้ใบปัดน้ำ�ฝนปัดน้ำ�ได้สะอ�ดเกลี้ยงเกล� ไม่ทิ้งคร�บน้ำ� - การออกแบบโครงเหล็ก ปัจจุบนั มีผผู้ ลิตหล�ย ร�ยออกแบบโครงเหล็กให้มีคว�มโค้งมนรับกับแรงลมต�ม หลักอ�ก�ศพลศ�สตร์ ทำ�ให้เกิดก�รกระพือของใบปัดน้ำ�ฝน น้อยแม้จะวิ่งรถด้วยคว�มเร็วสูง
หนาฝนนี้ ขอใหผูใชรถใชถนนขับขี่กันอยางปลอดภัยนะ ครับโปรดระมัดระวัง และเตรียมตัวเช็คสภาพรถใหพรอมใชงาน อยูเสมอนะครับฉบับหนาจะเกร็ดสาระความรูมาฝากผูอานเพิ่ม เติมอีกเรื่อยๆ นะครับ ขอใหติดตามเกร็ดความรูและสาระดีๆ กัน ตอในฉบับหนานะครบสวัสดีครับ ThaiPrint Magazine 145
143-145_m14.indd 145
27/8/2554 5:42
Printing Innovative Idea
UV HY-BD INK สวัสดีครับ กระผมนายไอไอเคมาพบกับทุกทานอีกครั้งมาคราวนี้ ผมมีเรื่องเกี่ยวกับหมึก UV มานําเสนอครับ หลายทานคงรูจักเทคโนโลยี การพิมพดวยระบบ UV โดยพระเอกตัวละครสําคัญตัวหนึ่งในการพิมพ ระบบ UV คงหนีไมพนหมึก UV แตหลายทานคงไมทราบวาพระเอกตัว นี้ไดมีการแตงตัวปรับปรุงโฉมใหม เพื่อเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แถมชวย ใหพิมพงานงายขึ้น ดังนั้น ในบทความนี้ ขอแนะนําทานผูอานรูจักกับ พระเอกนองใหมในวงการ นั่นคือ หมึกพิพม UV HY-BD นะครับ
ชื่อ UV HY-BD สำาคัญไฉน
ชื่อ UV HY-BD นั้น หลายท่านคงเข้าใจว่า มาจากรากศัพท์คำาว่า hybrid หรือแปลตามตัวว่าลูกผสมนั่นเอง ท่านผู้อ่านเข้าใจถูกต้องแล้วครับ ว่าแต่ เจ้า UV HY-BD นี้เปนลูกผสมของใครกันนะ ใช่ลูกผสมที่เกิดมาจาก สารเรซินของหมึก UV ผสมกับสารเรซินของหมึกฐานน้ำามันหรือไม่ หรือว่า ใช่หมึกลูกผสมที่สามารถขึ้นพิมพ์ทั้งเครื่องที่เปนเครื่องพิมพ์ระบบ UV และ เครื่องพิมพ์ระบบฐานน้ำามันดั้งเดิมหรือไม่ หรือความหมายลูกผสมที่แปลได้ ว่าพิมพ์ได้ทั้งที่เปนใช้น้ำาและไม่ใช้น้ำา ขอเฉลยนะครับ จริงๆ เจ้าตัว HY-BD นั้นเปนหมึก UV 100% จำาเปนต้องใช้กับเครื่องพิมพ์ระบบ UV ที่มีหลอดไฟ UV ฉายรังสีเพื่อการแห้งตัว และใช้ในกระบวนการพิมพ์โดยมีน้ำามาเกี่ยวข้อง 100% แท้ๆ อีกด้วย แต่ HY-BD ที่ว่านี้ รวมข้อดีต่างๆ ของหมึก UV ต่างๆ รวมกับข้อดีต่างๆ ของหมึกฐานน้ำามันมานั่นเอง
ขอดีที่เดนชัดของ UV HY-BD
ควบคุมการจ่ายน้ำาในระบบการพิมพ์ที่กว้างกว่าหมึก UV ทั่วไป ทำาให้ช่างพิมพ์สามารถควบคุมการพิมพ์ได้ง่าย รักษาสิ่งแวดล้อม เปนหมึก UV ชนิดเดียวที่สามรถทำาการแยกหมึก ออกจากกระดาษ (Deinking) ในกระบวนการรีไซเคิลได้ง่าย ให้ความเงาในงานพิมพ์สูงกว่าหมึก UV ทั่วๆ ไป ชั้นฟล์มหมึกมีความยืดหยุ่นกว่าหมึก UV ทั่วไป ทำาให้ลดปญหา การเกิดรอยแตกหัก (Cracking) ของชั้นหมึกในงานพิมพ์ ราคาไม่สูง ความเข้มสีสงู ทำาให้สามารถพิมพ์งานได้มากด้วยปริมาณหมึกน้อย
146 ThaiPrint Magazine
146-148_m14.indd 146
27/8/2554 5:43
อินเตอรอิ้งค ขอดีอื่นๆ เหมือนรุนพี่ (หมึก UV ชนิดอื่นๆ) สามารถพิมพ์บนวัสดุต่างๆ รวมทั้งพลาสติกต่างๆ ที่ผ่านการปรับ ปรุงสภาพผิวมาเปนอย่างดี รักษาสิง่ แวดล้อม แถมยังเปนหมึกไม่มสี ารระเหยสารอินทรีย์(VOCs Free) เหมือนรุ่นพี่ๆ อีกด้วย ชั้นหมึกมีความแข็งแรง ทนข่วน ทนความร้อน กว่าหมึกฐานน้ำามัน ไม่แห้งหน้าของหมึกพิมพ์บนเครื่องพิมพ์ ไม่ซับหลัง ไม่พึ่งแปงพ่น เพราะแห้งด้วยรังสีได้ทันที สิ่งพิมพ์ไม่มีกลิ่นเหมือนในหมึกฐานน้ำามัน เพราะไม่มีสาร VOCs ขอดีของหมึกฐานน้ำามัน พิมพ์งานง่าย จ่ายน้ำาดี เม็ดพิมพ์ที่ได้จาก HY-BD ใกล้เคียงกับหมึกฐานน้ำามัน มาดูผลการวิจัยเกี่ยวกับหมึก HY-BD กันนะครับ ว่าเปนอย่างไร กันบ้าง
คุณภาพงานพิมพ - ผลเปรียบเทียบงานพิมพดวยหมึก HY-BD Yellow Dot Gain
รูปกราฟที่ 1 แสดง Dot Gain เปรียบเทียบของหมึก Yellow
Cyan Dot Gain
รูปกราฟที่ 3 แสดง Dot Gain เปรียบเทียบของหมึก Cyan
Magenta Dot Gain
รูปกราฟที่ 2 แสดง Dot Gain เปรียบเทียบของหมึก Magenta
Black Dot Gain
รูปกราฟที่ 4 แสดง Dot Gain เปรียบเทียบของหมึก Black
จากรูปที่ 1 ถึง 4 สรุปได้ว่า หมึก UV HY-BD ให้ค่าของ dot gain ใกล้เคียงกับหมึกฐานน้ำามัน ซึ่งมีค่าน้อยกว่า หมึก UV อื่นๆ อธิบายแบบวิทยาศาสตร์ได้ว่า หมึกฐานน้ำามันและหมึก UV HY-BD ของเรา มีความยืดหยุ่นในตัวเนื้อหมึก (Elasticity) เมื่อหมึกดังกล่าวพิมพ์ลงบนวัสดุสิ่งพิมพ์แล้ว จะค่อยๆ หดตัวซึ่งเปนที่มาของเม็ดสกรีนคมนั่นเอง ซึ่งต่างจากหมึก UV ทั่วไปที่มีค่าความยืดหยุ่นต่ำา ผลพลอยได้และเปนสิ่งที่ดีอย่างหนึ่งจากความยืดหยุ่นที่มากของ UV HY-BD ก็คือ สามารถ เบนงอตามสิ่งพิมพ์ได้ในระดับที่มากกว่างานพิมพ์ที่พิมพ์จากหมึก UV ทั่วไป ทำาให้ทนต่อรอยแตกจากกระบวนการหลังพิมพ์ ได้มากนั่นเอง ThaiPrint Magazine 147
146-148_m14.indd 147
27/8/2554 5:43
Printing Innovative Idea
รูปที่ 5 แสดงผลของงานพิมพ์ที่มี dot gain น้อย (ด้านขวา) เทียบกับ dot gain มาก (ด้านซ้าย)
เปรียบเทียบชวงการรับน้ำ�ของหมึก HY-BD
รูปกราฟที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบช่วงการรับน้ำ�ของหมึก HY-BD
จากกราฟด้านบน แสดงถึงการเก็บค่าผลสำ�รวจช่วงการรับน้ำ�จาก โรงพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่น แสดงให้เห็นว่า หมึก UV HY-BD มีช่วงการรับน้ำ� ที่สูงกว่าหมึก UV ทั่วไป โดยมุ่งพัฒนาให้ช่วงการรับน้ำ�ที่ใกล้เคียงกับหมึก ฐานน้�ำ มันโดยทัว่ ไป จากการปรับโครงสร้างเนือ้ หมึกและค่าสมบัตติ า่ งๆ ของ หมึก เช่น ค่าความเหนียว ค่าการไหล ทำ�ให้ช่างพิมพ์สามารถควบคุมการ จ่ายน้ำ�ได้ง่ายขึ้น สามารถพิมพ์งานได้ยาวและนิ่งขึ้น
วัสดุใชพิมพที่เหมาะสม
กระดาษคาร์ตัน กระดาษเมทัลไลท์ฟอยล์ พลาสติกที่ผ่านการปรับ สภาพผิวอย่างดี สรุปคือสามารถพิมพ์บนวัสดุได้ทุกชนิดที่หมึกพิมพ์ UV ทั่วไปจะพิมพ์ได้ ทายนี้กระผมนายไอไอเค หวังวาหมึก UV HY-BD INK เปนทางเลือกหนึ่ง สำ�หรับโรงพิมพนะครับ โอกาสหนากระผมจะนำ�เสนอเนื้อหาสาระดีๆ มาใหทาน ผูอานไดอานกันอีกครั้งนะครับ สวัสดี
นายไอไอเค prd.mgr@inter-ink.com, mkt@inter-ink.com
148 ThaiPrint Magazine
146-148_m14.indd 148
29/8/2554 11:12
143 A.B.C printing_87-m19.indd 1
6/15/11 3:18 AM