OPM_Annual 2552 Design1

Page 1


ระเบี ย บส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ าด้วยการจั ด การเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ พ.ศ. ๒๕๕๒

มาตรา ๕๙

ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้บุคคลมีสิทธิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์และได้รับการแจ้งผล การพิจารณาภายในเวลาอันรวดเร็ว สมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อบรรเทาและเยียวยา ความเดือดร้อนของประชาชน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานเดียวกัน


ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


สารจากผู้อ�ำนวยการศูนย์บริการประชาชน ปัจจุบนั มีประชาชนจ�ำนวนไม่นอ้ ยทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อน และไม่ได้รบั การช่วยเหลือเยียวยา หรือบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้น เพราะมีปัญหา หลายประการที่ขัดขวางมิให้ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรมได้ เช่น ปัญหา ความยากจน การขาดความรู้ความเข้าใจในบทบัญญัติของกฎหมายและสิทธิ เสรีภาพที่พึงมีพึ่งได้โดยชอบธรรม เป็นต้น ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ในฐานะ ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาลจึงได้เสนอให้มีระเบียบส�ำนักนายก รัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ขึ้น เพื่อให้ ประชาชนได้มโี อกาสเข้าถึงความยุตธิ รรมอย่างแท้จริง มีแนวทางและมาตรฐาน ในการให้บริการส�ำหรับประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย สามารถ ยุติข้อพิพาท หรือการเยียวยาทุกข์ของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากภารกิจด้านการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนของประชาชนแล้ว ยังมี ภารกิจตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ โครงการก�ำกับติดตามและประเมินผลการพัฒนา ลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา และภารกิจตามนโยบายของรัฐบาลที่ได้รับมอบหมาย รายงานประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ฉบับนีไ้ ด้รวบรวมสรุปผลการด�ำเนินงาน ทีส่ ำ� คัญในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ทีผ่ า่ นมาเพือ่ เผยแพร่ให้สาธารณชน ได้ทราบถึงภารกิจและการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงาน ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี สุดท้ายนี้ ศูนย์บริการประชาชนขอขอบคุณทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ และองค์กรอิสระต่างๆ ที่ให้ความร่วมมือ ในการประสานการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนด้วยดีตลอดมา

(นายอ�ำนวย โชติสกุล) ผูอำ� นวยการศูนยบริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

ANNUAL REPORT


ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


สารบัญ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

ส่วนที่ ๒ ช่องทางการให้บริการ

๒.๑. แผนภาพแสดงช่องทางการร้องทุกข์ ๒.๒ สถานที่ตั้งศูนย์บริการประชาชน ๒.๓ กระบวนการการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์

ส่วนที่ ๓ สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๘ ๙ ๑๐

๓.๑ ภารกิจโครงการศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล ๓.๒ ภารกิจส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ๓.๓ ภารกิจการก�ำกับติดตามและประเมินผลการพัฒนาลุ่มน�ำ้ ทะเลสาบสงขลา ๓.๔ ภารกิจตามนโยบายของรัฐบาลที่ได้รับมอบหมาย ๓.๕ ศบช. เปิดบ้าน

๑๒ ๓๘ ๔๘ ๕๗ ๗๓

ส่วนที่ ๔ สถิติเรื่องร้องทุกข์ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๔.๑ สถิติการใช้บริการร้องทุกข์ของประชาชน จ�ำแนกตามช่องทางการร้องทุกข์ ๔ ช่องทาง ๘๖ ๔.๒ จ�ำนวนเรื่องร้องทุกข์ จ�ำแนกตามประเภทเรื่อง ๘๗ ๔.๓ ผลการด�ำเนินการเรือ่ งร้องทุกข์ จ�ำแนกตามรายกระทรวงทีไ่ ด้รบั การประงานเพือ่ แก้ไขปัญหา ๘๙ ๔.๔ ผลการด�ำเนินการเรือ่ งร้องทุกข์ จ�ำแนกตามรายจังหวัดทีไ่ ด้รบั การประงานเพือ่ แก้ไขปัญหา ๙๒ มติคณะรัฐมนตรีและนโยบายนายกรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ ๙๐ • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๒ ๙๑ • นโยบายนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ ๙๑ ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการเรือ่ งราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๙๐

ANNUAL REPORT


ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


อ�ำนาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้างส่วนราชการ อัตราก�ำลัง ผู้บริหารศูนย์บริการประชาชน

ส่วนที่

ข้อมูลทั่วไป

ANNUAL REPORT


2

ส่วนที่ ๑ : ข้อมูลทั่วไป

๑.ข้อมูลทั่วไป

ศูนย์บริการประชาชนเป็นส่วนราชการระดับส�ำนัก เดิมสังกัดส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ภายหลังจากการปรับปรุงโครงสร้างระบบราชการ ได้โอนกิจการบริหารและอ�ำนาจหน้าที่มาสังกัด ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ตามพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอ�ำนาจหน้าที่ของ ส่วนราชการตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๕ ศูนย์บริการประชาชนได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยปรับโครงสร้าง กระบวนการและเทคโนโลยีให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี เพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการให้สนองตอบความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน

อ�ำนาจหน้าที่

ศูนย์บริการประชาชนมีอำ� นาจหน้าที่ตามกฎหมาย ดังนี้ ๑. ด�ำเนินการเกี่ยวกับการร้องทุกข์ ร้องเรียนขอความเป็นธรรม และการขอความช่วยเหลือที่มี ผู้ยื่นค�ำร้องต่อนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี รวมทั้งปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ๒. ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับกฎหมายและการด�ำเนินคดีแก่ประชาชนที่มาขอความช่วยเหลือและ ขอค�ำแนะน�ำจากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ๓. ประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาและอ�ำนวยความสะดวกแก่มวลชนที่มาพบหรือชุมนุมร้องเรียน ต่อนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ๔. ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนในพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหาส�ำคัญที่เป็นกรณีเร่งด่วน ๕. ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องหรือทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรกลางในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล และเป็นศูนย์กลางแก้ไขปัญหา ความเดื อ ดร้ อ นของประชาชนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลเพื่ อ ประโยชน์ สุ ข และตอบสนอง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานภาครัฐ

พันธกิจ

๑. พัฒนาช่องทางการร้องทุกข์ในทุกช่องทางให้เป็นศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล ๒. พัฒนาระบบเครือข่ายให้เป็นศูนย์ประสานเร่งรัดติดตามและประเมินผลการแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของประชาชน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

3

๓. เพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ๔. พัฒนากระบวนการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างเป็นระบบ

โครงสร้างส่วนราชการ ศูนย์บริการประชาชนเป็นหน่วยงานในสังกัดส� ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี มีการแบ่ง โครงสร้างอย่างเป็นทางการเป็น ๓ ส่วน และ ๑ ฝ่าย ดังนี้

โครงสรางอยางเปนทางการตามกฎหมาย ปลัดสำนักนายกรัฐมนตร� ผูอำนวยการศูนยบร�การประชาชน

สวนบร�การประชาชน ๑

สวนบร�การประชาชน ๒

สวนประสานมวลชน และประเมินผล

ฝายบร�หารงานทั่วไป

อัตราก�ำลัง ศูนย์บริการประชาชน มีอัตราก�ำลังทั้งสิ้น ๑๑๙ อัตรา ประกอบด้วย ข้าราชการ ๕๐ อัตรา พนักงานราชการ ๓๑ อัตรา และลูกจ้างโครงการ ๓๘ อัตรา จ�ำแนกดังนี้

ต�ำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นิติกร เจ้าพนักงานธุรการ นักจัดการงานทั่วไป นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่ธุรการ พนักงานบันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่ระบบข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ

รวม

จ�ำนวน ๑ ๒๗ ๓๕ ๑๐ ๑ ๑ ๓ ๗ ๓๒ ๒

๑๑๙ ANNUAL REPORT


4

ส่วนที่ ๑ : ข้อมูลทั่วไป

ผู้บริหารศูนย์บริการประชาชน

๑ นายอ�ำนวย โชติสกุล

ผู้อ�ำนวยการศูนย์บริการประชาชน

๒ นางอัจจิมา จันทร์สุวานิชย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน

๔ นายสมเจตน์ โรจน์พัฒนากุล ผู้อ�ำนวยการส่วนบริการประชาชน ๑

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี

๓ นายทศพร สุวรรณาภิรมย์

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริการประชาชน ๒


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

5

ร้อยเอก ทวิช ศุภวรรณ์

นายสุขสวัสดิ์ สุวรรณวงศ์

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ

นิติกรช�ำนาญการ

นายพันศักดิ์ เจริญ นิติกรช�ำนาญการ

นายฆ้องชัย เกียรติกิตติสรณ์

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ

นายวิสุทธิ์ ฉัตรานุฉัตร

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ

นางศรีส�ำอาง หวังดี

นักจัดการงานทั่วไปช�ำนาญการ

นายอิทธิพล ช่างกลึงดี

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ

นายทัศพันธ์ พงษ์เภตรา

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ

นางมาลินี ภาวิไล

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ

ANNUAL REPORT


ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


แผนภาพแสดงช่องทางการร้องทุกข์ สถานที่ตั้งศูนย์บริการประชาชน กระบวนการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์

๒ ส่วนที่

ช่องทางการให้บริการ

ANNUAL REPORT


8

ส่วนที่ ๒ : ช่องทางการให้บริการ

๒.ช่องทางการให้บริการ

๒.๑ แผนภาพแสดงช่องทางการร้องทุกข์

1111 หนึ่งสี่ตัวกับ 4 ชองทาง เพื่อสรางความเปนธรรมในสังคม

สายด่วนของรัฐบาล www.1111.go.th ๑๑๑๑

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี

ตู้ ปณ.๑๑๑๑

ท�ำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๒ (ไม่ต้องติดแสตมป์)

จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

9

๒.๒ สถานที่ตั้งศูนย์บริการประชาชน

สะพานมัฆวานรังสรรค

สถานที่ตั้ง บริเวณท�ำเนียบรัฐบาล

ถนนราชดำเนิน

จุดบร�การประชาชน

ศบช. (ชั�น๒)

ประตู สปน.

ถนนพ�ษณุโลก

กองทัพภาคที่ ๑

ตึก สปน. ประตู สลค.

สะพานอรทัย

สถานที่ตั้ง ศูนย์บริการประชาชน ภายในท�ำเนียบรัฐบาล

ถนนลูกหลวง

ประตู จปร.

ตึกไทยคูฟา ประตูเขา

ปปป.

กพ. ประตูออก

ถนนนครปฐม

สะพานชมัยมรุเชษฐ

คลองเปรมประชา

ANNUAL REPORT


ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี • เจาหนาที่รับเร�่อง/อาน/ ว�เคราะหและบันทึกขอมูลใน ระบบการจัดการเร�่องราว รองทุกข • สงหนวยงานพิจารณา ดำเนินการ/รับทราบผาน ทางโทรศัพท/โทรสาร/ web portal/e-mail ตามความเหมาะสม • แจงผูรองทราบ การดำเนินการเบื้องตน

หนวยงานตอบผูรองโดยตรง และรายงานผลให สปน.ทราบ

๓.๐๙ วันทำการ

E-mail

๒ ชั่วโมง

สายดวน ของรัฐบาล ๑๑๑๑

๙ วันทำการ

ตู ปณ. ๑๑๑๑

สปน.

• หนวยงานรับผิดชอบ ดำเนินการแกไขปญหา โดยเรงดวน • รายงานผลการดำเนินการ ให สปน. ทราบ • ตอบผูรองทราบโดยตรง

หนวยงาน

หมายเหตุ - ระยะเวลาการใหบร�การในแตละชองทาง หมายถึง ระยะเวลาที่ สปน.ดำเนินการเพื่อใหเร�่องรองทุกขไปถึงยังหนวยงานรับผิดชอบโดยตรง

หลักฐาน/การเตร�ยมตัว • บัตรประจำตัวประชาชน • วัตถุประสงค/ประเด็น การรองทุกขที่ชัดเจน • เอกสารอื่นๆ ที่จำเปนประกอบคำรอง • ชองทางการติดตอ เชน โทรศัพท E-mail หร�อ ที่อยูที่ชัดเจน

ผูรับบร�การ/ผูรอง

๑.๓๘ วันทำการ

จ�ดบร�การ ประชาชน ๑๑๑๑

สปน.แจงการดำเนินการใหผูรองทราบเบื้องตน/ผูรองประสานติดตามเร�่อง

แผนผังแสดงภาพขั้นตอนและระยะเวลาการใหบร�การ กระบวนการจัดการเร�่องรองทุกข ศูนยบร�การประชาชน

สามารถรองทุกขโดยผาน ๔ ชองทาง

10 ส่วนที่ ๒ : ช่องทางการให้บริการ

๒.๓ กระบวนการสร้างคุณค่าประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ศูนย์บริการประชาชนมีกระบวนการ การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ในภาพรวมทั้งหมดแบ่งได้ ทั้งสิ้น ๓ กระบวนการประกอบด้วย


๑.๓๘ วันทำการ

จ�ดบร�การ ประชาชน ๑๑๑๑

๒ ชั่วโมง

สายดวน ของรัฐบาล ๑๑๑๑

๓.๐๙ วันทำการ

E-mail กรณีปกติ

๙ วันทำการ

ไปรษณีย กรณีปกติ

กระบวนงานยอย • เจาหนาที่รับเร�่อง/คนหาเร�่องเดิม (ดามี) • อาน/ประสานผูรอง/พิจารณา/ ว�เคราะห/สรุปประเด็นและบันทึก ขอมูลในระบบการจัดการเร�่องราว รองทุกข • สงเร�่องใหหนวยงานและตอบผูรอง ทราบเบื้องตน

ขั้นตอนที่ ๑

ผูบังคับบัญชา พิจารณาลงนาม

เจาหนาที่ทำหนังสือสงเร�่องให หนวยงาน และทำหนังสือตอบผูรอง เสนอผูบังคับบัญชาพิจารณาลงนาม

กรณีที่จำเปน ตองประสาน หนวยงานและ ผูรองเปนหนังสือ

• แจงผูรองทราบการ ดำเนินการเบื้องตน • บันทึกขอมูลในระบบ การจัดการเร�่องราว รองทุกข

ขั้นตอนที่ ๓

• สงหนวยงาน พิจารณาดำเนินการ/ รับทราบผานทาง โทรศัพท/โทรสาร/ web portal/e-mail • บันทึกขอมูลในระบบ การจัดการเร�่องราว รองทุกข

ขั้นตอนที่ ๒

หมายเหตุ : ระยะเวลาการใหบร�การในแตละชองทาง หมายถึง ระยะเวลาที่ สปน. ดำเนินการเพื่อใหเร�่องรองทุกขไปถึงยังหนวยงานรับผิดชอบโดยตรง

ผูรับบร�การ/ ผูรอง

รองทุกขผา น ๔ ชองทาง/สปน. แบงการดำเนินการออกเปน 7 กระบวนงานยอย

กระบวนการ : การจัดการเร�่องราวรองทุกข ระยะเวลาดำเนินการ : ตามที่กำหนดในกระบวนการยอย

หนวยงาน ดำเนินการ/ ตอบ สปน. และผูรอง

ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

11

โดยมีขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการดังรูป

ANNUAL REPORT


ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ภารกิจโครงการศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล ภารกิจการก�ำกับติดตามและประเมินผลการพัฒนาลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา ภารกิจส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ภารกิจตามนโยบายของรัฐบาลที่ได้รับมอบหมาย ศบช. เปิดบ้าน

๓ ส่วนที่

สรุปผลการด�ำเนินงาน ของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ANNUAL REPORT


14

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓. สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน

ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ศูนย์บริการประชาชนได้ด�ำเนินการในภารกิจที่ได้รับ มอบหมาย ดังนี้ ๓.๑ ภารกิจโครงการศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล ๓.๑.๑ การบริหารจัดการดูแลระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์และบ�ำรุงรักษาระบบ ๓.๑.๒ การพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ปฏิบัติงาน ๓.๑.๓ การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๓.๑.๔ การประสานมวลชนและองค์กรประชาชน ๓.๑.๕ การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ สรุปผลการด�ำเนินการในภารกิจดังกล่าวได้ ดังนี้

๓.๑.๑ การบริ ห ารจั ด การดู แ ลระบบ การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์และบ�ำรงุรักษาระบบ

สามารถบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ให้ ป ั ญ หาเรื่ อ งร้ อ งทุ ก ข์ ของประชาชนเข้าสู่กระบวนการแก้ไขปัญหาได้ทั้งสิ้น ๑๐๑,๔๙๙ เรื่อง รวมทั้งได้จัดจ้าง บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนิ น งานเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ ผ ่ า นช่ องทาง โทรศัพท์สายด่วนของรัฐบาล ๑๑๑๑ และบ� ำรุงรักษา ระบบการจัดการเรือ่ งราวร้องทุกข์ เพือ่ ให้บริการได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

15

๓.๑.๒ การพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะ ของผูป้ ฏิบตั งิ าน ด�ำเนินการจัดอบรมเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ าน

ของศู น ย์ บ ริ ก ารประชาชนเพื่ อ เสริ ม สร้ า งความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาสมรรถนะของ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน กระบวนการเรี ย นรู ้ ภ ายในองค์ ก รให้ มี การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน การถ่ายทอดและแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ในการท�ำงาน รวมทัง้ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน โดยได้ด�ำเนินการ จ�ำนวน ๑ ครั้ง ณ จังหวัดระยอง

ANNUAL REPORT


16

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

17

ANNUAL REPORT


18

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

19

ANNUAL REPORT


20

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.๑.๓ การสร้างความสัมพันธ์กบั ผูร้ บั บริการ  และผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย จั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร

ให้กับผู้รับผิดชอบการประสานงานเรื่องราวร้องทุกข์ และผู้รับผิดชอบการปฏิบัติงานการแก้ไขปัญหาเรื่องราว ร้องทุกข์ (Contact Point) ของกระทรวง กรม จังหวัด หน่วยงานอิสระและรัฐวิสาหกิจ มีผเู้ ข้ารับการอบรมทัง้ สิน้ จ�ำนวน ๑๒๗ คน ซึ่งได้จัดขึ้น ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจ เกีย่ วกับกลุม่ ผูร้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตามแนวคิด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) และ การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือที่ดีระหว่างกัน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

21

ANNUAL REPORT


22

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

23

ANNUAL REPORT


24

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

25

ANNUAL REPORT


26

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

27

๓.๑.๔ การประสานมวลชนและองค์ ก ร ประชาชน ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ศูนย์บริการ

ประชาชนได้ประสานการด�ำเนินงานร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ปัญหาของกลุ่มมวลชนและองค์กร ประชาชนได้รับการแก้ไขในหลายกรณี เช่น (๑) กลุ่มสหพันธ์พัฒนาองค์กรชุมชนคนจนเมือง แห่งชาติ (สอช.) จ�ำนวนประมาณ ๑๕๐ คน ขอให้ แก้ไขปัญหาด้านที่อยู่อาศัยให้แก่ผู้ยากจนในเมือง และ ปั ญ หาที่ ดิ น ท� ำ กิ น ในชนบท ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ การประชาชน ได้ เ จรจากั บ กลุ ่ ม ฯ และประสานนายภู เ บศ จั น ทนิ มิ ทีป่ รึกษารัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี (นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย) เป็นผูร้ บั หนังสือไว้โดยตรง และประสานงาน คณะอนุกรรมการศึกษาแนวทางการปฏิบัติตามนโยบาย การกระจายอ�ำนาจถือครองทีด่ นิ ของเครือข่ายปฏิรปู ทีด่ นิ แห่ ง ประเทศไทยกั บ กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและ ความมั่นคงของมนุษย์พิจารณาต่อไป

(๒) กลุ่มเครือข่ายสลัม ๔ ภาค จ�ำนวนประมาณ ๑,๒๐๐ คน ขอติดตามเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย ของคนจนในเมือง การถือครองที่ดินไม่เป็นธรรม และ การผลักดันนโยบายโฉนดชุมชนในพื้นที่สาธารณะ ฯลฯ ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจากับกลุ่มฯ และประสาน รั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี (นายสาทิ ต ย์ วงศ์หนองเตย) เป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง

ANNUAL REPORT


28

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๓) กลุ ่ ม คณะท� ำ งานผลั ก ดั น อนุ สั ญ ญา ILO ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ จ�ำนวนประมาณ ๑,๒๐๐ คน ขอให้ รัฐบาลรับรองอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุม้ ครอง สิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยเรือ่ งการรวมตัว ร่วมเจรจาต่อรองอย่างเร่งด่วนทีส่ ดุ เนือ่ งในวาระครบรอบ ๙๐ ปี ของการก่อตั้งองค์การแรงงานระหว่างประเทศฯ ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจากับกลุ่มฯ และประสาน รองนายกรัฐมนตรี (พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์) เป็นผู้รับ หนังสือไว้โดยตรง

(๔) กลุ่มภาคีเครือข่ายผู้ติดตามสถานการณ์ ประสาทเขาพระวิหาร จ�ำนวนประมาณ ๕๐ คน ขอให้ แก้ไขปัญหาเรื่องพื้นที่หลักเขตดินแดน รวมทั้งการส�ำรวจ และจั ด ท� ำ หลั ก เขตแดนทางบกไทย - กั ม พู ช า ซึ่ ง ศูนย์บริการประชาชนได้เจรจาและรับหนังสือจากกลุ่มฯ และประสานรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (นายสุธรรม ลิม้ สุวรรณเกษม) รับทราบ และด�ำเนินการต่อไป

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

29

(๕) กลุ ่ ม เครื อ ข่ า ยชาวนาภาคกลาง จ� ำ นวน ประมาณ ๕๐ คน ขอให้ชะลอการเปิดเขตการค้าเสรี ภายใต้ข้อตกลง AFTA และขอทราบแนวทางการป้องกัน ผลกระทบต่อเกษตรกรที่เกิดจากการเปิดเขตการค้าเสรี ซึง่ ศูนย์บริการประชาชนได้เจรจาและรับหนังสือ จากกลุม่ ฯ และประสานกระทรวงพาณิชย์และกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์พิจารณาต่อไป

(๖) กลุ่มองค์กรภาคประชาชน จ�ำนวน ๑๙ กลุ่ม จ�ำนวนประมาณ ๒๐ คน คัดค้านประกาศกระทรวง อุ ต สาหกรรมเรื่ อ งโครงการหรื อ กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อย่างรุนแรงด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ฉบับวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ ฯลฯ ซึง่ ศูนย์บริการประชาชนได้ประสาน นายสาธร วงศ์หนองเตย คณะท� ำ งาน รั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี (นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย) เป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง และส่ ง เรื่ อ งให้ ก ระทรวงอุ ต สาหกรรมกั บ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาต่อไป

ANNUAL REPORT


30

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๗) กลุ่มสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจส�ำนักงานสลากกินแบ่ง รัฐบาล สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจการประปาส่วนภูมิภาค สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไม้อัดไทย สหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวนประมาณ ๕๐ คน ขอให้แก้ไขปัญหาของการรถไฟแห่งประเทศไทยให้ได้ข้อยุติและถูกต้องเป็นธรรม ซึง่ ศูนย์บริการประชาชนได้ประสานผูต้ รวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี (นายวชิระ เพ่งผล) เป็นผูร้ บั หนังสือไว้โดยตรง และน�ำกราบเรียนนายกรัฐมนตรีรับทราบกับส่งเรื่องให้กระทรวงคมนาคมพิจารณาต่อไป

(๘) กลุ่มสมาคมคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทย จ�ำนวนประมาณ ๓๐๐ คน ขอให้จัดสรรโควตา สลากกินแบ่งรัฐบาลอย่างเป็นธรรมและเพิ่มโควตาสลากกินแบ่งรัฐบาลให้กับคนพิการ ซึ่งศูนย์บริการประชาชน ได้ประสานรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (นายสุธรรม ลิ้มสุวรรณเกษม) เป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

31

(๙) กลุ ่ ม เครื อ ข่ า ยอนุ รั ก ษ์ วิ ถี เ กษตรกรรม จ�ำนวนประมาณ ๔๐ คน คัดค้านประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม กรณีการก�ำหนดโครงการที่มีผลกระทบ รุ น แรง ไม่ ค รอบคลุ ม โรงไฟฟ้ า ก๊ า ซ ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ ก าร ประชาชนได้เจรจาและรับหนังสือจากกลุม่ ฯ และประสาน ให้กระทรวงอุตสาหกรรมพิจารณาต่อไป

(๑๐) กลุ่มเครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย จ�ำนวนประมาณ ๓๐๐ คน ขอให้แก้ไขปัญหาของเครือข่าย ปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย ซึ่งศูนย์บริก ารประชาชน ได้เจรจากับกลุ่มฯ และประสานรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนัก นายกรัฐมนตรี (นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย) เป็นผู้รับ หนังสือไว้โดยตรง

ANNUAL REPORT


32

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๑๑) กลุ่มสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจองค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้ จ�ำนวนประมาณ ๑๕๐ คน ขอความ ช่ ว ยเหลื อ ในการได้ ผ ลกระทบจากนโยบายรั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ให้ชะลอการใช้ประโยชน์สวนป่าทุกแห่ง ซึ่งศูนย์บริการ ประชาชนได้เจรจาและรับหนังสือจากกลุ่มฯ และส่งเรื่อง ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมพิจารณา

(๑๒) กลุ ่ ม สภาเครื อ ข่ า ยประชาชนอี ส าน (สอส.) จ�ำนวนประมาณ ๓๐๐ คน ติดตามการแก้ไข ปัญหาที่ดินท�ำกินและการแก้ไขปัญหาหนี้สินของกลุ่มฯ และขอให้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการระดั บ จั ง หวั ด โดยมี ตั ว แทนของกลุ ่ ม ฯ เป็ น อนุ ก รรมการร่ ว ม ในการพั ฒ นาแก้ ไ ขปั ญ หาฯด้ ว ย ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ ก าร ประชาชนได้เจรจากับกลุ่มฯ และประสานรองเลขาธิการ นายกรั ฐ มนตรี ฝ ่ า ยการเมื อ ง (นางอั ญ ชลี เทพบุ ต ร) เป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

33

(๑๓) กลุ่มองค์กรภาคประชาชน จ�ำนวนประมาณ ๑๐๐ คน คัดค้านประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องโครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง และร่าง พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๒ ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจากับกลุ่มฯ และประสานรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง (นางอัญชลี เทพบุตร) เป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง

(๑๔) กลุ่มชาวนาจากจังหวัดภาคกลาง จ�ำนวนประมาณ ๒๐ คน ขอให้แก้ไขปัญหาราคาข้าวตกต�่ำ ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้ประสานรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (นายธราดล เปี่ยมพงศ์สานต์) เป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง

ANNUAL REPORT


34

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๑๕) กลุ ่ ม บู ร ณาการแรงงานสตรี (กบส.) จ�ำนวนประมาณ ๔๐๐ คน เสนอข้อเรียกร้องวันสตรีสากล ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึง่ ศูนย์บริการประชาชนได้ประสาน รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (นางอัญชลี เทพบุตร) เพื่อน�ำเข้าพบนายกรัฐมนตรีโดยตรง

( ๑ ๖ ) ก ลุ ่ ม ส ภ า ค น พิ ก า ร ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท แห่งประเทศไทย จ�ำนวนประมาณ ๓๐๐ คน ขอความ เป็นธรรมในการจัดสรรสลากกินแบ่งรัฐบาลให้แก่คนพิการ และผูด้ อ้ ยโอกาสทัว่ ประเทศ เมือ่ วันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ซึ่ ง ได้ เ ดิ น ทางไปยื่ น หนั ง สื อ ที่ ก รมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้ประสานไปยัง นายเกษมสันต์ วีระกุล ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังเป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

35

(๑๗) กลุ่มคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย (คสรท.) จ�ำนวน ๒๔ คน ขอความช่วยเหลือให้แก่ผู้ใช้ แรงงานที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมือง ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจากับกลุ่มฯ และเป็นผู้รับ หนังสือไว้โดยตรง และได้น�ำเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน) รับทราบ พร้อมทั้งประสานกระทรวงแรงงาน กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา กับกรุงเทพมหานคร พิจารณาต่อไป

(๑๘) ตั ว แทนกลุ ่ ม มั ค คุ เ ทศก์ ห ลากภาษา จ�ำนวนประมาณ ๒๐ คน ขอให้ก�ำหนดมาตรการเยียวยา ผูป้ ระกอบการธุรกิจท่องเทีย่ วทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์ การชุ ม นุ ม ทางการเมื อ ง ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ ก ารประชาชน ได้เจรจากับกลุ่มฯ และเป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง พร้อมทั้ง น�ำเรียนที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน) และเลขาธิ ก ารนายกรั ฐ มนตรี รั บ ทราบ และประสาน กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาพิจารณาต่อไป

ANNUAL REPORT


36

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๑๙) กลุ ่ ม สภาเครื อ ข่ า ยองค์ ก รประชาชน แห่งประเทศไทย (สค.ปท.) จ�ำนวนประมาณ ๕๐๐ คน ขอให้แก้ไขปัญหาหนี้สินของเกษตรกรโดยเฉพาะปัญหา หนี้ สิ น ที่ ถู ก ขายทอดตลาดซึ่ ง มี บุ ค คลที่ ส ามซื้ อ ไปแล้ ว และหนี้ที่ไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ซึ่งศูนย์บริการ ประชาชนได้จดั ประชุมระหว่างตัวแทนกลุม่ และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยมีรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุม ณ ห้องประชุม ๑๐๑ อาคาร ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

(๒๐) กลุ่มสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ และพั น ธมิ ต ร จ� ำ นวน ๑๐ คน ขอให้ ต รวจสอบ ข้อกล่าวอ้างว่าแรงงานข้ามชาติที่ถูกผลักดันออกจาก ประเทศไทยต้ อ งเผชิ ญ กั บ การละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน อย่ า งร้ า ยแรงในประเทศสหภาพพม่ า โดยกองก� ำ ลั ง กะเหรี่ยงพุทธ Democratic Karen Buddhist Army (DKBA) ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ การประชาชนได้ เ จรจากั บ กลุ ่ ม ฯ และเป็ น ผู ้ รั บ หนั ง สื อ ไว้ โ ดยตรง พร้ อ มทั้ ง ประสาน กระทรวงการต่างประเทศและกระทรวงแรงงานรับทราบ เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาต่อไป

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

(๒๑) ตัวแทนกลุ่มเครือข่ายคุ้มครองประชาชน ด้านสาธารณสุข (คปส.) จ�ำนวน ๙ คน ขอให้รัฐบาล เป็ น เจ้ า ภาพจั ด การประชุ ม สมั ช ชาผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารและ ผู้รับบริการสาธารณสุข ๔ ภาค เพื่อประชาพิจารณ์ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... และขอให้จดั ตัง้ คณะกรรมการระดับชาติ แก้ไขระบบการสาธารณสุข ซึ่งศูนย์บริการประชาชน ได้เจรจากับกลุ่มฯ พร้อมทั้งประสานไปยังคณะท�ำงาน ของรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี (นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย) รับทราบ และน�ำตัวแทนกลุ่มฯ เข้าพบ และยื่นหนังสือต่อนายกรัฐมนตรีโดยตรง

37

(๒๒) กลุ ่ ม สภาศู น ย์ ก ารด� ำ รงชี วิ ต อิ ส ระ ของคนพิการประเทศไทย จ�ำนวนประมาณ ๔๐ คน ขอให้พิจารณาสนับสนุนการจัดท�ำสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส�ำหรับคนพิการ ในโครงการรถเมล์เอ็นจีวี ๔,๐๐๐ คัน ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจากับกลุ่มฯ และประสาน รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงคมนาคมเป็ น ผู ้ รั บ หนั ง สื อ ไว้โดยตรง ณ บริเวณที่ชุมนุม

ANNUAL REPORT


38

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๒๓) กลุ่มเครือข่ายประชาชนไทยหัวใจรักชาติ จ� ำ นวนประมาณ ๓๐ คน ขอให้ ย กเลิ ก เพิ ก ถอนมติ เพิ ก ถอนรั ฐ สภา เมื่ อ วั น ที่ ๒๘ ตุ ล าคม ๒๕๕๑ เรื่ อ งกรอบการเจรจาส� ำ รวจและจั ด ท� ำ หลั ก เขตแดน ทางบกประเทศไทยกั บ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า และ ขอให้ ถ อนเรื่ อ งที่ ค ณะกรรมาธิ ก ารพิ จ ารณาแล้ ว ตามระเบี ย บวาระการประชุ ม ร่ ว มกั น ของรั ฐ สภา ครัง้ ที่ ๑ (สมัยสามัญนิตบิ ญ ั ญัต)ิ วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ ระเบียบวาระที่ ๓ ตัง้ แต่ ๓.๑ - ๓.๓ ออกจากกระบวนการ พิจารณาของรัฐสภา ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจา กั บ กลุ ่ ม ฯ และเป็ น ผู ้ รั บ หนั ง สื อ ไว้ โ ดยตรง พร้ อมทั้ง ส่งเรื่องให้ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีด�ำเนินการ

(๒๔) กลุม่ เครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก จ�ำนวน ประมาณ ๕๐ คน ร้องเรียนเรื่องกรณีการประกาศประเภท โครงการหรือกิจการที่อาจมีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จ�ำนวน ๑๑ ประเภท ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจากับ กลุ่ม ฯ และประสานไปยังรองเลขาธิ การนายกรั ฐ มนตรี ฝ่ายการเมือง (นางอัญชลี เทพบุตร) เป็นผู้รับหนังสือ ไว้โดยตรง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

39

๓.๑.๕ การผลิตสือ่ ประชาสัมพันธ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓

ศูนย์บริการประชาชนได้จดั ท�ำวารสารประชาสัมพันธ์ศนู ย์บริการประชาชน (PSC Info.) จ�ำนวน ๖ ฉบับ และรายงานประจ�ำปีของศูนย์บริการ ประชาชนจ�ำนวน ๑ เล่ม พร้อมทัง้ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุม่ เป้าหมาย

ฉบับที่ ๒๕ ฉบับที่ ๒๖

ฉบับที่ ๒๗

ฉบับที่ ๒๘

ฉบับที่ ๓๐ ฉบับที่ ๒๙ ANNUAL REPORT


40

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.๒ ภารกิจส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของ ๓.๒.๒ ด�ำเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ประชาชน ระเบีย บส� ำ นัก นายกรัฐ มนตรี ว่ าด้ วยการรับฟัง สรุปผลการด�ำเนินการในภารกิจดังกล่าว ได้ดังนี้ ความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อให้เกิด

ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ ง ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ก ารด� ำ เนิ น งาน ตามระเบี ย บส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ฯ เป็ น ไปอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพประสิ ท ธิ ผ ลและเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่อประชาชน รวมทั้งด�ำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และเสริมสร้าง หน่วยงานของรัฐทีม่ โี ครงการของรัฐ มีความรูค้ วามเข้าใจ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด เทคนิค และสามารถปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี และวิธีการการมีส่วนร่วมของประชาชน ตามระเบียบ ได้อย่างถูกต้อง โดยมีหน่วยงานของรัฐขอค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีฯ ให้แก่ ข้าราชการหน่วยงานของรัฐ ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีฯ จ�ำนวน ๓๐ หน่วยงาน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จ�ำนวน ๔ ครัง้ ณ จังหวัด อุบลราชธานี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ จังหวัดเชียงใหม่ และ จังหวัดกระบี่ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จ�ำนวน ๙๓๐ คน จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่ ง มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ระเบี ย บส�ำ นั ก นายก รัฐมนตรีฯ จ�ำนวน ๖๔๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๕

๓.๒.๑. ก�ำกับดูแล ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ และแนะน�ำหน่วยงานของรัฐ ในการด�ำเนินการ ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อให้

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

41

ANNUAL REPORT


42

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

43

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ANNUAL REPORT


44

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

45

จังหวัดเชียงใหม่

ANNUAL REPORT


46

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

47

จังหวัดกระบี่

ANNUAL REPORT


48

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.๒.๓ จัดท�ำหลักสูตรวุฒิบัตรการพัฒนา การมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชนร่ ว มกั บ สถาบั น พระปกเกล้า ให้แก่หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ

ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ บริหารงานภาครัฐ จ�ำนวน ๒ ระดับ คือ หลักสูตรวุฒิบัตร การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนส�ำหรับผู้บริหาร ให้แก่ ข้าราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และรัฐวิสาหกิจ ที่ด�ำรงต�ำแหน่งประเภทอ�ำนวยการ หรือเทียบเท่าขึ้นไป จ�ำนวน ๒ รุ่น รวมจ�ำนวน ๖๐ คน และหลักสูตรวุฒิบัตร การพัฒนาการมีสว่ นร่วมของประชาชนส�ำหรับผูป้ ฏิบตั งิ าน ให้แก่ ข้าราชการส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค และรัฐวิสาหกิจ ที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ประเภทวิ ช าการระดั บ ช� ำ นาญการ หรือเทียบเท่าขึ้นไป จ�ำนวน ๖ รุ่น รวมจ�ำนวน ๒๔๐ คน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

49

๓.๒.๔ ด�ำเนินการจัดจ้างพัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และเว็บไซต์การรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชน ของศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ส�ำหรับประกาศ

รวบรวม และให้บริการข้อมูลทีเ่ ผยแพร่แก่ประชาชนและข้อมูลเกีย่ วกับการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โดยพัฒนา และปรับปรุงระบบการก�ำกับ ติดตามและดูแลหน่วยงานของรัฐ รวมทัง้ ระบบการเผยแพร่ขอ้ มูล ส�ำหรับประกาศรวบรวม และให้บริการข้อมูลที่เผยแพร่แก่ประชาชน และข้อมูลเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็น รวมทั้งปรับปรุงและพัฒนา ระบบรายงานเพิม่ เติม และการจัดฝึกอบรมการใช้งานเว็บไซต์บนั ทึก ประกาศ รวบรวม และให้บริการข้อมูลทีเ่ ผยแพร่ แก่ประชาชน และข้อมูลเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ผู้บันทึกข้อมูล โครงการของรัฐ) จ�ำนวน ๒๖ รุ่น (ครั้ง) ทั่วประเทศ ณ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดชลบุรี จังหวัดสงขลา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดอุดรธานี จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้เข้ารับการอบรม จ�ำนวน ๑,๐๑๙ คน www.publicconsultation.opm.go.th

ANNUAL REPORT


50

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.๓ ภารกิ จ การก� ำ กั บ ติ ด ตามและ ประเมินผลการพัฒนาลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา สรุปผลการด�ำเนินการในภารกิจดังกล่าว ได้ดังนี้

๓.๓.๑ เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการ พั ฒ นาลุ ่ ม น�้ ำ ทะเลสาบสงขลา และท� ำ หน้ า ที่

ฝ่ า ยเลขานุ ก ารคณะอนุ ก รรมการก� ำ กั บ ติ ด ตามและ ประเมิ น ผลการพั ฒ นาลุ ่ ม น�้ำ ทะเลสาบสงขลา โดยมี การประชุมคณะกรรมการฯ และคณะอนุกรรมการฯ รวมจ�ำนวน ๔ ครั้ง ณ จังหวัดสงขลา และจังหวัดพัทลุง

๓.๓.๒ ก� ำ กั บ ติ ด ตามและประเมิ น ผล การพั ฒ นาลุ ่ ม น�้ ำ ทะเลสาบสงขลาร่ ว มกั บ ภาค ประชาชน โดยจัดท�ำแนวคิด วิธีการแต่งตั้งคณะท�ำงาน

ติดตามประเมินผลการด� ำเนินงานภายใต้ แผนแม่บท การพั ฒ นาลุ ่ ม น�้ ำ ทะเลสาบสงขลาภาคประชาชนและ แนวทางการจัดฝึกอบรมให้กับคณะท�ำงาน ๓.๓.๓ ประชุมสัมมนา พัฒนาการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมบริเวณลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา จ�ำนวน ๑ ครั้ง ณ จังหวัดสงขลา

๓.๓.๔ บริ ห ารจั ด การและดู แ ลระบบ สารสนเทศเพือ่ ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน

จ�ำนวน ๑ ระบบ คือ เว็บไซต์การรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน www.publicconsultation.opm.go.th www.publicconsultation.opm.go.th/songkhlalake

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

51

ANNUAL REPORT


52

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

53

๓.๔ ภารกิจตามนโยบายของรัฐบาลทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ศูนย์บริการประชาชนได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการและคณะท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับงานตามนโยบายของรัฐบาล ประกอบด้วย

๓.๔.๑ คณะกรรมการอ�ำนวยการเพื่อแก้ไขปัญหาของเครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย (คปท.) โดยมีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จ� ำนวน

๙ คณะ มีการประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาแนวทางแก้ไขกรณีปัญหาไปแล้วทั้งสิ้น จ�ำนวน ๒๐ ครัง้ ซึง่ การด�ำเนินการของคณะกรรมการส่งผลให้เกิดการแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรมในหลายกรณี เช่น ๓.๔.๑.๑ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๓ ให้ยกเว้นการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๔ เรื่องการพิจารณาการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินราชพัสดุให้แก่สหกรณ์นิคมบ้านสร้างพัฒนา จ�ำกัด เพื่อให้สามารถโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินราชพัสดุให้แก่สหกรณ์การเช่าที่ดินคลองโยง จ�ำกัด จังหวัดนครปฐม และสหกรณ์ การเช่าที่ดินพิชัยภูเบนทร์ จ�ำกัด จังหวัดอุตรดิตถ์ อันเป็นการบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิกสหกรณ์ ทั้ง ๒ แห่ง ซึ่งไม่มีที่ดินท�ำกินหรือมีน้อยไม่เพียงพอต่อการประกอบอาชีพได้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินเป็นของตนเอง ทั้งนี้ ห้ามมิให้น�ำไปจ�ำหน่ายจ่ายโอนให้แก่บุคคลอื่น เว้นแต่เป็นการโอนให้แก่ทายาทหรือผู้มีสิทธิรับมรดกของสมาชิก เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพอย่างแท้จริง ๓.๔.๑.๒ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๓ เห็นชอบในร่างกฎกระทรวง ว่าด้วยการยกเว้นฯ เพื่อก�ำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการยกเว้น ผ่อนผัน ข้อก�ำหนดตามกฎกระทรวง ที่ออกตามกฎหมาย ว่าด้วย การควบคุมอาคารบางเรือ่ งทีไ่ ม่เกีย่ วข้องโดยตรงกับความมัน่ คงแข็งแรงหรือความปลอดภัยของอาคาร เช่น ระยะถอยร่น เนื้อที่ของที่ว่างภายนอกอาคาร หรือระยะห่างจากแนวเขตที่ดิน เป็นต้น เพื่อให้อาคารที่หน่วยงานของรัฐจัดให้มีหรือ พัฒนาสอดคล้องกับความต้องการและฐานะทางเศรษฐกิจของผู้มีรายได้น้อย

ANNUAL REPORT


54

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

55

๓.๔.๒ คณะกรรมการแก้ ไ ขปั ญ หาของ เครือข่ายชุมชนเพื่อการปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.) โดยมี นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย รัฐมนตรี

ประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และได้แต่งตั้ง คณะอนุ ก รรมการ จ� ำ นวน ๑๐ คณะ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ เพือ่ พิจารณาแนวทาง แก้ไขกรณีปัญหาไปแล้วทั้งสิ้น จ�ำนวน ๒๓ ครั้ง อาทิ เช่น (๑) กรณี ป ั ญ หาอั น เนื่ อ งมาจากการ ประกาศเขตอุ ท ยานและป่ า สงวนทั บ ที่ ดิ น ท� ำ กิ น ของ ชาวบ้านในพื้นที่จังหวัดพังงาและจังหวัดภูเก็ต

ANNUAL REPORT


56

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๒) ปัญหาผลกระทบจากการประกอบกิจการเหมืองแร่ทองค�ำ ในพืน้ ที่ จังหวัดพิจิตร พิษณุโลก และเพชรบูรณ์

(๓) การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เกี่ยวกับโครงการชุมชน ศรัทธา กัมปง ตักวา

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

57

(๔) การแก้ไขปัญหาสัญชาติ (คนไทยพลัดถิ่น กล่มุมุสลิมจากมะริด กลุ่มลาวอพยพ และคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ)

ANNUAL REPORT


58

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๕) การตรวจสอบการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินของชุมชนชาวเล บ้านราไวย์ ชุมชนหลังสวนหลวง ร.๙ และชุมชนปลากกะตักพัฒนา จังหวัดภูเก็ต

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

59

(๖) กรณีปญ ั หาเข้าไม่ถงึ สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานและการฟ้องคดีเพือ่ ขับไล่ ในพื้นที่ชุมชนสี่แยกบายพาสกุดลาด ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

(๗) กรณีปัญหานายทุนออกโฉนดทับที่ทำ� กินและที่สาธารณประโยชน์ ในพื้นที่บ้านคูสว่าง ต�ำบลหนองกินเพล อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี

ANNUAL REPORT


60

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

(๘) กรณีปญ ั หาความไม่มนั่ คงในทีอ่ ยูอ่ าศัยและการพัฒนาคุณภาพชีวติ ในพืน้ ทีช่ มุ ชนเกตุแก้ว ต�ำบลวารินช�ำราบ อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี

(๙) กรณีปญั หาไร้สญั ชาติ ปัญหาอุทยานแห่งชาติทบั ที่ ทีบ่ า้ นคันท่าเกวียน ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

61

(๑๐) การแก้ไขปัญหากล่มุ ชาติพนั ธุช์ าวเล (มอแกน มอแกลน อูรกั ลาโวย)

๓.๔.๓ คณะกรรมการแก้ไขปัญหาเขือ่ นปากมูล โดยมีนายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย

เป็นประธานและได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจ�ำนวน ๒ คณะ ได้แก่ คณะกรรมการ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างเขื่อนปากมูล และคณะ อนุกรรมการศึกษาข้อมูลงานวิจัย และข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาเขื่อนปากมูล

ANNUAL REPORT


62

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

การประชุมเพือ่ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาการก่อสร้างเขือ่ นปากมูล

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

63

ANNUAL REPORT


64

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.๔.๔ คณะกรรมการประสานการแก้ไขปัญหาข้อเรียกร้องของประชาชน ท� ำ เนี ย บรั ฐ บาล (คปช.) โดยมี นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย รัฐมนตรีประจ� ำ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน มีการประชุมเพื่อพิจารณาแนวทางแก้ไขกรณีปัญหา ไปแล้ว จ�ำนวน ๑ ครั้ง

๓.๔.๕ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า เรื่องร้องเรียนของประชาชนเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กรต.)

โดยมี นายสาทิ ต ย์ วงศ์ ห นองเตย รั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน มีการประชุมเพื่อ พิจารณาแนวทางแก้ไขกรณีปัญหาไปแล้ว จ�ำนวน ๓ ครั้ง และลงพืน้ ที่ ๔ อ�ำเภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ อ�ำเภอจะนะ อ� ำ เภอเทพา อ� ำ เภอสะบ้ า ย้ อ ย และอ� ำ เภอนาทวี ซึ่งสามารถผลักดันให้เกิดการแก้ไขปัญหาในภาพรวมได้ โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเรื่องร้องเรียนของ ประชาชนเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ตามที่ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี เสนอและให้ประกาศหลักเกณฑ์และแนวทางดังกล่าว ในราชกิจจานุเบกษา

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

65

ANNUAL REPORT


66

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.๔.๖ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า การปฏิบตั ติ ามมาตรา ๖๗ วรรคสองของรัฐธรรมนูญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๐ โดยมี นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นประธานและแต่งตั้ง คณะอนุ ก รรมการ จ� ำ นวน ๕ คณะ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ รวมทัง้ สิน้ ๑๔๕ ครัง้ และลงพื้ น ที่ จ� ำ นวน ๒ ครั้ ง ณ จั ง หวั ด ระยอง ซึ่งคณะกรรมการได้มีข้อเสนอต่อรัฐบาล ประกอบด้วย ร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เรือ่ งก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร ระเบียบปฏิบตั แิ ละแนวทาง ในการจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ร่างระเบียบส�ำนักนายก รัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานการให้ความเห็นของ องค์การอิสระในโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนอย่ า งรุ น แรง พ.ศ. .... และ ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ อ งค์ ก ารอิ ส ระตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. .... การจัดการปัญหาระยะห่างระหว่างอุตสาหกรรมและชุมชน ในพืน้ ทีม่ าบตาพุด และการเผยแพร่ขอ้ มูลผลการพิจารณา ของคณะกรรมการผังเมือง โครงการหรือกิจกรรมที่อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้าน คุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ สถานการณ์ปัจจุบัน ประเด็นปัญหาที่ส�ำคัญของปัญหา มลพิ ษ และแนวทางในการแก้ ไ ขปั ญ หาและเติ ม เต็ ม ในมาบตาพุดและพื้นที่ใกล้เคียง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

67

ANNUAL REPORT


68

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

69

ANNUAL REPORT


70

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.๔.๖ คณะกรรมการวิเคราะห์และติดตาม ผลการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ในโครงการ “๖ วั น ๖๓ ล้านความคิด” โดยมี นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย

รั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี เป็ น ประธาน ซึ่งส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี โดยศูนย์บริการ ประชาชน ได้รับมอบหมายให้จัดงาน “๖ วัน ๖๓ ล้าน ความคิด” ร่วมเดินหน้าปฏิรูปประเทศไทย ระหว่างวันที่ ๑ - ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นผ่านทางโทรศัพท์ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีได้ประมวลข้อมูล ปั ญ หาและข้ อ เสนอแนะเสนอต่ อ นายกรั ฐ มนตรี แ ละ คณะรัฐมนตรีตามล�ำดับ ซึง่ คณะรัฐมนตรีได้มมี ติเมือ่ วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบตามแนวทางที่สำ� นักงาน ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีเสนอ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

71

ANNUAL REPORT


72

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

73

ANNUAL REPORT


74

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

ศบช. เปิดบ้าน

75

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ได้มสี ว่ นราชการต่างๆ ให้ความสนใจเข้ามาศึกษาดูงานเกี่ยวกับการด�ำเนินการ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ ข องศู น ย์ รั บ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ ข อง รัฐบาล ณ ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี

ANNUAL REPORT


76

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

77

กรมจเรทหารอากาศ

ANNUAL REPORT


78

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

กิจกรรม ศบช. การจัดการความรู้ของศูนย์บริการประชาชน (Knowledge Management : KM) ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี ได้พัฒนาระบบจัดการความรู้ภายในองค์กร มาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าที่ ในการด�ำเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ส�ำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ศูนย์บริการประชาชน ได้จัดท�ำแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็น ยุ ท ธศาสตร์ ข องส� ำ นั ก งานปลั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี และคั ด เลื อ กองค์ ค วามรู ้ ที่ จ� ำ เป็ น ต่ อ การปฏิ บั ติ ง าน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้นำ� ความรู้ ดังกล่าวไปใช้ในการด�ำเนินการเรื่องร้องเรียนผ่านระบบ การจั ด การเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ จนข้ อ ร้ อ งเรี ย นได้ รั บ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี

การแก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า งรวดเร็ ว มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิ ท ธิ ผ ล รวมทั้ ง ได้ จั ด กิ จ กรรมชุ ม ชนนั ก ปฏิ บั ติ (CoP) เพื่ อ ระดมสมองบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งและได้ องค์ความรู้ ๓ องค์ความรู้ ได้แก่ เทคนิคการด�ำเนินการ เรื่องราวร้องทุกข์ผ่านระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ เทคนิ ค การประสานหน่ ว ยงานผ่ า นระบบการจั ด การ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ และเทคนิ ค การประมวลผล เรื่องร้องทุกข์ ในการนี้ ศูนย์บริการประชาชนได้ด�ำเนิน กิ จ กรรมตามแผนการจั ด การความรู ้ ปี ง บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ พร้อมทั้งมีการมอบรางวัลให้แก่ผู้ที่มีผลงาน การแลกเปลี่ยนความรู้โดดเด่น และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการจัดท�ำรายงานบันทึกความรู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

79

ANNUAL REPORT


80

ส่วนที่ ๓ : สรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


๔ ส่วนที่

สถิติเรื่องร้องทุกข์ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ANNUAL REPORT


82

ส่วนที่ ๔ : สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๔. สถิตเิ รือ่ งร้องทุกข์ของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓

ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ประชาชนได้ร้องทุกข์ถึงนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ผ่านช่องทางต่างๆ สรุปประเด็นส�ำคัญได้ ดังนี้

๔.๑ สถิตกิ ารใช้บริการร้องทุกข์ของประชาชน จ�ำแนกตามช่องทางการร้องทุกข์ ๔ ช่องทาง ๑,๗๙๓ ครั้ง รอยละ ๑.๒ ๑๖,๖๖๖ ครั้ง รอยละ ๑๑.๔

๑๑๖,๑๗๖ ครั้ง รอยละ ๗๙.๗

๑๐,๙๖๒ ครั้ง รอยละ ๗.๕๓

เว็บไซต www.1111.go.th

จ�ดบร�การประชาชน ๑๑๑๑

สายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑

ตู ปณ.๑๑๑๑/ไปรษณีย/โทรสาร

จากแผนภูมิแสดงสถิติการใช้บริการการร้องทุกข์ดังกล่าวข้างต้นพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ประชาชนใช้บริการการร้องทุกข์ผ่านช่องทางต่างๆ รวมทั้งสิ้น ๑๔๕,๕๙๗ ครั้ง โดยผ่านทาง สายด่วนของรัฐบาล ๑๑๑๑ มากที่สุด รองลงมา คือ ช่องทางเว็บไซต์ (www.1111.go.th) และช่องทาง ตู้ ปณ.๑๑๑๑ / ไปรษณีย ์ / โทรสาร ตามล�ำดับ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

83

๔.๒ จ�ำนวนเรื่องร้องทุกข์ จ�ำแนกตามประเภทเรื่อง ที่

ประเภทเรื่องหลัก

๑ กฎหมาย

ประเภทเรื่องรอง

การกระท�ำความผิดอาญา การใช้สิทธิหรือข้อพิพาทระหว่างเอกชน การบังคับตามกฎหมาย การเสนอและตรากฎหมาย รวม ๒ การเมือง-การปกครอง กล่าวโทษหรือร้องเรียนเจ้าหน้าที่ของรัฐ การใช้อ�ำนาจของหน่วยงานของรัฐ การเมือง นโยบายของรัฐบาล ปัญหาความมั่นคง สถาบันพระมหากษัตริย์ รวม ๓ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพน�้ำ และสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศและเสียง ทรัพยากรชายฝั่งทะเล ทรัพยากรธรณี นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ปัญหาของเสีย ปัญหาน�้ำบาดาล ปัญหาน�้ำผิวดิน ปัญหาในพื้นที่ป่า สัตว์ป่าและพืชป่า รวม ๔ เศรษฐกิจ การเกษตร การคลัง การค้า การเงิน

จ�ำนวน (เรื่อง)

๑,๔๓๔ ๔๗๑ ๗๒๘ ๓๙๓ ๓,๐๒๖ ๑๕,๐๙๖ ๓,๑๗๓ ๙,๐๖๖ ๖,๘๖๐ ๙,๘๒๘ ๑๔๒ ๔๔,๑๖๕ ๑๗๗ ๒๙๖ ๔๑ ๕๗ ๑๓๐ ๔๐๔ ๓๗ ๗๙๐ ๔๗๑ ๑๕๘ ๒,๕๖๑ ๑,๒๓๔ ๕๒๘ ๑,๑๕๑ ๑,๐๐๙

ร้อยละ ๑.๔๑ ๐.๔๖ ๐.๗๒ ๐.๓๙ ๒.๙๘ ๑๔.๘๗ ๓.๑๓ ๘.๙๓ ๖.๗๖ ๙.๖๘ ๐.๑๔ ๔๓.๕๑ ๐.๑๗ ๐.๒๙ ๐.๐๔ ๐.๐๖ ๐.๑๓ ๐.๔๐ ๐.๐๔ ๐.๗๘ ๐.๔๖ ๐.๑๖ ๒.๕๒ ๑.๒๒ ๐.๕๒ ๑.๑๓ ๐.๙๙

ANNUAL REPORT


84

ส่วนที่ ๔ : สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ที่

ประเภทเรื่องหลัก

ประเภทเรื่องรอง การลงทุน ปัญหาหนี้สิน ราคาพลังงาน รายได้ อุตสาหกรรม รวม

๕ สังคมและสวัสดิการ

การกีฬา การพนัน การศึกษา จัดระเบียบสังคม ประกันสังคม ปัญหาที่ดิน ปัญหาที่อยู่อาศัย ปัญหาแรงงาน ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม สถานภาพของบุคคล สวัสดิการสงเคราะห์ สังคมเสื่อมโทรม สาธารณสุข สาธารณูปโภค สิทธิมนุษยชน หลักประกันสุขภาพ รวม

รวมทั้งสิ้น

จ�ำนวน (เรื่อง)

๗๓๓ ๓,๒๔๖ ๒๐๓ ๙๖๖ ๑๐๙ ๙,๑๗๙ ๖๓ ๒,๙๗๕ ๑,๔๒๘ ๑,๕๘๔ ๔๕๐ ๑,๖๓๙ ๑,๐๔๙ ๑,๗๖๘ ๓๑๖ ๓๙๓ ๒,๒๖๙ ๘,๔๙๘ ๑,๗๔๒ ๑๗,๙๑๗ ๒๗๐ ๒๐๗ ๔๒,๕๖๘

ร้อยละ ๐.๗๒ ๓.๒๐ ๐.๒๐ ๐.๙๕ ๐.๑๑ ๙.๐๔ ๐.๐๖ ๒.๙๓ ๑.๔๑ ๑.๕๖ ๐.๔๔ ๑.๖๑ ๑.๐๓ ๑.๗๔ ๐.๓๑ ๐.๓๙ ๒.๒๔ ๘.๓๗ ๑.๗๒ ๑๗.๖๕ ๐.๒๗ ๐.๒๐ ๔๑.๙๔

๑๐๑,๔๙๙ ๑๐๐.๐๐

จากตารางแสดงจ�ำนวนเรือ่ งร้องทุกข์ขา้ งต้นพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ประชาชนร้องทุกข์ จ�ำแนกตามประเภทเรือ่ งต่างๆ รวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน ๑๐๑,๔๙๙ เรือ่ ง โดยร้องทุกข์ในประเภทเรือ่ งการเมือง -  การปกครองมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านสังคมและสวัสดิการ และด้านเศรษฐกิจ ตามล�ำดับ โดยประเภทเรื่องที่ประชาชนร้องทุกข์มากที่สุด ได้แก่ สาธารณูปโภค รองลงมาคือ กล่าวโทษ หรือร้องเรียนเจ้าหน้าที่ของรัฐ และปัญหาความมั่นคง ตามล�ำดับ ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


85

ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

๔.๓ ผลการด�ำเนินการเรื่องร้องทุกข์ จ�ำแนกตามรายกระทรวงที่ได้รับ การประสานเพื่อแก้ไขปัญหา ล�ำดับ ที่

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐

ส่วนราชการ

กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวงการพัฒนา สังคม และความมั่นคง ของมนุษย์ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงพาณิชย์ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพลังงาน กระทรวงกลาโหม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวง การต่างประเทศ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

จ�ำนวน รวม ร้อยละ (เรื่อง) ๕,๕๙๒ ๒,๖๒๐ ๒,๓๒๖ ๑,๖๗๔ ๑,๓๑๗ ๑,๒๔๔

๒๐.๓๖ ๙.๕๔ ๘.๔๗ ๖.๑๐ ๔.๘๐ ๔.๕๓

เพื่อทราบ จ�ำนวน (เรื่อง) ๑,๒๘๓ ๑,๓๙๐ ๑,๗๔๔ ๑,๑๗๑ ๕๖๗ ๖๐๐

ร้อยละ ๒๒.๙๔ ๕๓.๐๕ ๗๔.๙๘ ๖๙.๙๕ ๔๓.๐๕ ๔๘.๒๓

วัตถุประสงค์การประสานงาน เพื่อพิจารณา ด�ำเนินการ รอผลการ พิจารณา จ�ำนวน ร้อยละ จนได้ข้อยุติ (เรื่อง) จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) (เรือ่ ง) ๔,๓๐๙ ๗๗.๐๖ ๒,๕๒๕ ๕๘.๖๐ ๑,๗๘๔ ๔๑.๔๐ ๑,๒๓๐ ๔๖.๙๕ ๙๗๐ ๗๘.๘๖ ๒๖๐ ๒๑.๑๔ ๕๘๒ ๒๕.๐๒ ๔๕๔ ๗๘.๐๑ ๑๒๘ ๒๑.๙๙ ๕๐๓ ๓๐.๐๕ ๒๙๖ ๕๘.๘๕ ๒๐๗ ๔๑.๑๕ ๗๕๐ ๕๖.๙๕ ๕๙๒ ๗๘.๙๓ ๑๕๘ ๒๑.๐๗ ๖๔๔ ๕๑.๗๗ ๖๓๖ ๙๘.๗๖ ๘ ๑.๒๔

๑,๐๙๒ ๓.๙๘

๗๒๒ ๖๖.๑๒

๓๗๐ ๓๓.๘๘

๓๐๒ ๘๑.๖๒

๖๘ ๑๘.๓๘

๑,๐๐๑ ๓.๖๔

๓๗๖ ๓๗.๕๖

๖๒๕ ๖๒.๔๔

๔๑๔ ๖๖.๒๔

๒๑๑ ๓๓.๗๖

๘๔๔ ๓.๐๗

๑๘๐ ๒๑.๓๓

๖๖๔ ๗๘.๖๗

๔๑๐ ๖๑.๗๕

๒๕๔ ๓๘.๒๕

๕๕๔ ๒.๐๒ ๕๕๑ ๒.๐๑

๓๓๗ ๖๐.๘๓ ๓๙๗ ๗๒.๐๕

๒๑๗ ๓๙.๑๗ ๑๕๔ ๒๗.๙๕

๑๑๙ ๕๔.๘๔ ๑๐๖ ๖๘.๘๓

๙๘ ๔๕.๑๖ ๔๘ ๓๑.๑๗

๓๒๙ ๑.๒๐

๑๓๓ ๔๐.๔๓

๑๙๖ ๕๙.๕๗

๘๗ ๔๔.๓๙

๑๐๙ ๕๕.๖๑

๓๐๙ ๓๐๒ ๒๘๗ ๑๐๓

๑๐๑ ๔๒ ๑๔๔ ๓๗

๒๐๘ ๒๖๐ ๑๔๓ ๖๖

๑.๑๓ ๑.๑๐ ๑.๐๕ ๐.๓๘

๓๒.๖๙ ๑๓.๙๑ ๕๐.๑๗ ๓๕.๙๒

๖๗.๓๑ ๘๖.๐๙ ๔๙.๘๓ ๖๔.๐๘

๑๐๕ ๓๙ ๑๐๐ ๕๐

๕๐.๔๘ ๑๕.๐๐ ๖๙.๙๓ ๗๕.๗๖

๑๐๓ ๒๒๑ ๔๓ ๑๖

๔๙.๕๒ ๘๕.๐๐ ๓๐.๐๗ ๒๔.๒๔

๙๑ ๐.๓๓

๓๘ ๔๑.๗๖

๕๓ ๕๘.๒๔

๔๐ ๗๕.๔๗

๑๓ ๒๔.๕๓

๗๒ ๐.๒๖

๒๗ ๓๗.๕๐

๔๕ ๖๒.๕๐

๒๑ ๔๖.๖๗

๒๔ ๕๓.๓๓

๕๕ ๐.๒๐

๓๒ ๕๘.๑๘

๒๓ ๔๑.๘๒

๑๙ ๘๒.๖๑

๔ ๑๗.๓๙

๑๔ ๐.๐๕

๕ ๓๕.๗๑

๙ ๖๔.๒๙

๖ ๖๖.๖๗

๓ ๓๓.๓๓

ANNUAL REPORT


86

ส่วนที่ ๔ : สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

ล�ำดับ ที่

ส่วนราชการ

วัตถุประสงค์การประสานงาน เพื่อพิจารณา จ�ำนวน ด�ำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ เพื่อทราบ จนได้ ข อ ้ ยุ ต ิ พิจารณา จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) (เรือ่ ง)

๒๑ หน่วยงานอื่นๆ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ๖,๐๒๓ ๒๑.๙๓ ๔,๘๗๘ ๘๐.๙๙ ๑,๑๔๕ ๑๙.๐๑ ส�ำนักงาน คณะกรรมการกิจการ ๖๙๐ ๒.๕๑ ๔๙๓ ๗๑.๔๕ ๑๙๗ ๒๘.๕๕ โทรคมนาคมแห่งชาติ ส�ำนักงาน ๕๘ ๔๓.๒๘ ๗๖ ๕๖.๗๒ พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ๑๓๔ ๐.๔๙ ธนาคารแห่งประเทศไทย ๑๑๖ ๐.๔๒ ๔๒ ๓๖.๒๑ ๗๔ ๖๓.๗๙ ส�ำนักราชเลขาธิการ ๒๙ ๐.๑๑ ๒๘ ๙๖.๕๕ ๑ ๓.๔๕ ส�ำนักงานคณะ ๒๒ ๐.๐๘ ๒๐ ๙๐.๙๑ ๒ ๙.๐๙ กรรมการการเลือกตั้ง ๑๘ ๐.๐๗ ๐ ๐.๐๐ ๑๘ ๑๐๐.๐๐ ส�ำนักงานอัยการสูงสุด สภากาชาดไทย ๘ ๐.๐๓ ๖ ๗๕.๐๐ ๒ ๒๕.๐๐ ส�ำนักงานศาลยุตธิ รรม ๘ ๐.๐๓ ๕ ๖๒.๕๐ ๓ ๓๗.๕๐ ส�ำนักงานเลขาธิการ ๖ ๐.๐๒ ๕ ๘๓.๓๓ ๑ ๑๖.๖๗ สภาผู้แทนราษฎร ส�ำนักงาน คณะกรรมการป้องกัน ๖ ๐.๐๒ ๑ ๑๖.๖๗ ๕ ๘๓.๓๓ และปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ ส�ำนักงาน คณะกรรมการกองทุน ๔ ๐.๐๑ ๑ ๒๕.๐๐ ๓ ๗๕.๐๐ หมูบ่ า้ นและชุมชนแห่งชาติ ส�ำนักงานทรัพย์สิน ๔ ๐.๐๑ ๑ ๒๕.๐๐ ๓ ๗๕.๐๐ ส่วนพระมหากษัตริย์ ศูนย์ปฏิบัติการต�ำรวจ ๓ ๐.๐๑ ๑ ๓๓.๓๓ ๒ ๖๖.๖๗ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับ ๓ ๐.๐๑ ๑ ๓๓.๓๓ ๒ ๖๖.๖๗ หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ส�ำนักงาน คณะกรรมการสิทธิ ๓ ๐.๐๑ ๓ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ มนุษยชนแห่งชาติ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี

๖๔๑ ๕๕.๙๘

๕๐๔ ๔๔.๐๒

๗๕ ๓๘.๐๗

๑๒๒ ๖๑.๙๓

๑๕ ๑๙.๗๔

๖๑ ๘๐.๒๖

๓๖ ๔๘.๖๕ ๐ ๐.๐๐

๓๘ ๕๑.๓๕ ๑ ๑๐๐.๐๐

๑ ๕๐.๐๐

๑ ๕๐.๐๐

๑๑ ๖๑.๑๑ ๑ ๕๐.๐๐ ๒ ๖๖.๖๗

๗ ๓๘.๘๙ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๓๓.๓๓

๐ ๐.๐๐

๑ ๑๐๐.๐๐

๔ ๘๐.๐๐

๑ ๒๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๓ ๑๐๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๓ ๑๐๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๒ ๑๐๐.๐๐

๒ ๑๐๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐ ๐.๐๐


87

ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

ล�ำดับ ที่

ส่วนราชการ

วัตถุประสงค์การประสานงาน เพื่อพิจารณา จ�ำนวน ด�ำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ เพื่อทราบ จนได้ ข อ ้ ยุ ต ิ พิจารณา จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) (เรือ่ ง)

ส�ำนักงานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงาน ๒ โครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริ ส�ำนักงาน ๑ การตรวจเงินแผ่นดิน ส�ำนักงานผู้ตรวจ ๑ การแผ่นดินของรัฐสภา ศาลปกครอง ๑ สถาบันคุ้มครอง ผู้บริโภคในกิจการ โทรคมนาคม ส�ำนักงาน ๑ คณะกรรมการกิจกรรม โทรคมนาคมแห่งชาติ ราชบัณฑิตยสถาน ๑ ๑ ส�ำนักพระราชวัง ศาลอาญา ๑ รวม ๒๗,๔๖๓

๐.๐๑

๒ ๑๐๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

อ ๐.๐๐

๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๑ ๑๐๐.๐๐

๑ ๑๐๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐.๐๐

๑ ๑๐๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๑ ๑๐๐.๐๐

๑ ๑๐๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๑ ๑๐๐.๐๐

๑ ๑๐๐.๐๐

๐ ๐.๐๐

๐.๐๐ ๑ ๐.๐๐ ๑ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑๔,๘๗๕

๑๐๐.๐๐ ๐ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๕๔.๑๖ ๑๒,๕๘๘

๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๔๕.๘๔ ๘,๐๘๒

๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๖๔.๒๐ ๔,๕๐๖

๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๓๕.๘๐

ข้อมูล ณ วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๓

จากตารางแสดงจ�ำนวนเรื่องราวร้องทุกข์ข้างต้นพบว่า หน่วยงานต่างๆ ได้รับการประสานงาน เรื่องราวร้องทุกข์รวมทั้งสิ้น ๒๗,๔๖๓ เรื่อง โดยหน่วยงานที่ได้รับการประสานงานเพื่อรับทราบและ พิจารณาด�ำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องราวร้องทุกข์ให้แก่ประชาชนเรียงตามล�ำดับจากมากที่สุดได้แก่ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ รองลงมาคือ กระทรวงการคลังและกระทรวงมหาดไทย ตามล�ำดับ

ANNUAL REPORT


88

ส่วนที่ ๔ : สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๔.๔ ผลการด�ำเนินการเรือ่ งร้องทุกข์ จ�ำแนกตามรายจังหวัดทีไ่ ด้รบั การประสาน เพื่อแก้ไขปัญหา เขตตรวจ ราชการ

จังหวัด

จ�ำนวน รวม (เรื่อง)

วัตถุประสงค์การประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา ด�ำเนินการ รอผลการ ร้อยละ พิจารณา จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จนได้ข้อยุติ (เรื่อง) (เรื่อง) จ�ำนวน จ�ำนวน ร้อยละ ร้ อ ยละ (เรื่อง) (เรือ่ ง) ๓.๖๗ ๔๘๘ ๖๖.๕๘ ๒๔๕ ๓๓.๔๒ ๑๖๒ ๖๖.๑๒ ๘๓ ๓๓.๘๘ ๓.๐๗ ๔๒๔ ๖๙.๑๗ ๑๘๙ ๓๐.๘๓ ๙๙ ๕๒.๓๘ ๙๐ ๔๗.๖๒

๗๓๓ เขตตรวจ จังหวัดนนทบุรี ราชการที่ ๑ จังหวัดปทุมธานี ๖๑๓ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ๓๘๑ ๑.๙๑ ๒๕๑ ๖๕.๘๘ ๑๓๐ ๓๔.๑๒ ๖๒ ๔๗.๖๙ ๖๘ ๕๒.๓๑ จังหวัดสระบุรี ๒๓๙ ๑.๒๐ ๑๔๘ ๖๑.๙๒ ๙๑ ๓๘.๐๘ ๕๒ ๕๗.๑๔ ๓๙ ๔๒.๘๖ รวม ๑,๙๖๖ ๙.๘๕ ๑,๓๑๑ ๖๖.๖๘ ๖๕๕ ๓๓.๓๒ ๓๗๕ ๕๗.๒๕ ๒๘๐ ๔๒.๗๕ ๑๑๓ ๐.๕๗ ๕๔ ๔๗.๗๙ ๕๙ ๕๒.๒๑ ๕๕ ๙๓.๒๒ ๔ ๖.๗๘ เขตตรวจ จังหวัดชัยนาท ราชการที่ ๒ จังหวัดลพบุรี ๒๐๒ ๑.๐๑ ๑๐๖ ๕๒.๔๘ ๙๖ ๔๗.๕๒ ๗๘ ๘๑.๒๕ ๑๘ ๑๘.๗๕ จังหวัดสิงห์บุรี ๑๐๑ ๐.๕๑ ๕๗ ๕๖.๔๔ ๔๔ ๔๓.๕๖ ๓๕ ๗๙.๕๕ ๙ ๒๐.๔๕ จังหวัดอ่างทอง ๘๘ ๐.๔๔ ๓๕ ๓๙.๗๗ ๕๓ ๖๐.๒๓ ๓๙ ๗๓.๕๘ ๑๔ ๒๖.๔๒ รวม ๕๐๔ ๒.๕๓ ๒๕๒ ๕๐.๐๐ ๒๕๒ ๕๐.๐๐ ๒๐๗ ๘๒.๑๔ ๔๕ ๑๗.๘๖ เขตตรวจ จังหวัด ๒๔๙ ๑.๒๕ ๑๓๘ ๕๕.๔๒ ๑๑๑ ๔๔.๕๘ ๖๐ ๕๔.๐๕ ๕๑ ๔๕.๙๕ ราชการที่ ๓ ฉะเชิงเทรา จังหวัดนครนายก ๑๐๗ ๐.๕๔ ๕๓ ๔๙.๕๓ ๕๔ ๕๐.๔๗ ๓๔ ๖๒.๙๖ ๒๐ ๓๗.๐๔ จังหวัดปราจีนบุรี ๑๗๖ ๐.๘๘ ๘๖ ๔๘.๘๖ ๙๐ ๕๑.๑๔ ๒๖ ๒๘.๘๙ ๖๔ ๗๑.๑๑ จังหวัด สมุทรปราการ ๗๓๑ ๓.๖๖ ๕๑๘ ๗๐.๘๖ ๒๑๓ ๒๙.๑๔ ๑๔๕ ๖๘.๐๘ ๖๘ ๓๑.๙๒ จังหวัดสระแก้ว ๑๓๗ ๐.๖๙ ๕๘ ๔๒.๓๔ ๗๙ ๕๗.๖๖ ๓๑ ๓๙.๒๔ ๔๘ ๖๐.๗๖ รวม ๑,๔๐๐ ๗.๐๑ ๘๕๓ ๖๐.๙๓ ๕๔๗ ๓๙.๐๗ ๒๙๖ ๕๔.๑๑ ๒๕๑ ๔๕.๘๙ เขตตรวจ จังหวัดกาญจนบุรี ๒๖๕ ๑.๓๓ ๑๓๗ ๕๑.๗๐ ๑๒๘ ๔๘.๓๐ ๘๓ ๖๔.๘๔ ๔๕ ๓๕.๑๖ ราชการที่ ๔ จังหวัดนครปฐม ๓๖๕ ๑.๘๓ ๒๔๔ ๖๖.๘๕ ๑๒๑ ๓๓.๑๕ ๓๖ ๒๙.๗๕ ๘๕ ๗๐.๒๕ จังหวัดราชบุรี ๒๕๕ ๑.๒๘ ๑๔๘ ๕๘.๐๔ ๑๐๗ ๔๑.๙๖ ๓๖ ๓๓.๖๔ ๗๑ ๖๖.๓๖ จังหวัดสุพรรณบุรี ๒๓๓ ๑.๑๗ ๑๑๑ ๔๗.๖๔ ๑๒๒ ๕๒.๓๖ ๗๐ ๕๗.๓๘ ๕๒ ๔๒.๖๒ รวม ๑,๑๑๘ ๕.๖๐ ๖๔๐ ๕๗.๒๕ ๔๗๘ ๔๒.๗๕ ๒๒๕ ๔๗.๐๗ ๒๕๓ ๕๒.๙๓

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

เขตตรวจ ราชการ

จังหวัด

เขตตรวจ จังหวัด ราชการที่ ๕ ประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัด สมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสาคร รวม เขตตรวจ จังหวัดชุมพร ราชการที่ ๖ จังหวัด นครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง จังหวัดสุราษฎร์ธานี รวม เขตตรวจ จังหวัดกระบี่ ราชการที่ ๗ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง รวม เขตตรวจ จังหวัดนราธิวาส ราชการที่ ๘ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล รวม เขตตรวจ จังหวัดจันทบุรี ราชการที่ ๙ จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดระยอง รวม

89

วัตถุประสงค์การประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จ�ำนวน ด�ำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ พิจารณา จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จนได้ข้อยุติ (เรื่อง) (เรื่อง) (เรื่อง) จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) (เรือ่ ง) ๑๓๙ ๑๓๑

๐.๗๐ ๐.๖๖

๖๖ ๔๗.๔๘ ๗๒ ๕๔.๙๖

๗๓ ๕๒.๕๒ ๕๙ ๔๕.๐๔

๗๐ ๓๑๖ ๖๕๖ ๑๗๐

๐.๓๕ ๑.๕๘ ๓.๒๙ ๐.๘๕

๔๑ ๑๘๘ ๓๖๗ ๗๐

๕๘.๕๗ ๒๙ ๔๑.๔๓ ๒๕ ๘๖.๒๑ ๕๙.๔๙ ๑๒๘ ๔๐.๕๑ ๙๔ ๗๓.๔๔ ๕๕.๙๕ ๒๘๙ ๔๔.๐๕ ๑๙๗ ๖๘.๑๗ ๔๑.๑๘ ๑๐๐ ๕๘.๘๒ ๗๗ ๗๗.๐๐

๓๙๔ ๑๑๘ ๓๑๓ ๙๙๕ ๑๗๘ ๑๑๗ ๙๕ ๑๕๙ ๗๓ ๖๒๒ ๑๓๗ ๘๕ ๙๔ ๓๐๔ ๖๕ ๖๘๕ ๑๓๘ ๕๓๙ ๖๒ ๒๑๘ ๙๕๗

๑.๙๗ ๐.๕๙ ๑.๕๗ ๔.๙๘ ๐.๘๙ ๐.๕๙ ๐.๔๘ ๐.๘๐ ๐.๓๗ ๓.๑๒ ๐.๖๙ ๐.๔๓ ๐.๔๗ ๑.๕๒ ๐.๓๓ ๓.๔๓ ๐.๖๙ ๒.๗๐ ๐.๓๑ ๑.๐๙ ๔.๗๙

๑๙๔ ๖๘ ๑๗๐ ๕๐๒ ๘๑ ๖๖ ๔๒ ๙๒ ๓๘ ๓๑๙ ๔๗ ๓๑ ๔๑ ๑๖๙ ๓๗ ๓๒๕ ๖๖ ๓๓๐ ๒๐ ๑๒๗ ๕๔๓

๔๙.๒๔ ๕๗.๖๓ ๕๔.๓๑ ๕๐.๔๕ ๔๕.๕๑ ๕๖.๔๑ ๔๔.๒๑ ๕๗.๘๖ ๕๒.๐๕ ๕๑.๒๙ ๓๔.๓๑ ๓๖.๔๗ ๔๓.๖๒ ๕๕.๕๙ ๕๖.๙๒ ๔๗.๔๕ ๔๗.๘๓ ๖๑.๒๒ ๓๒.๒๖ ๕๘.๒๖ ๕๖.๗๔

๒๐๐ ๕๐ ๑๔๓ ๔๙๓ ๙๗ ๕๑ ๕๓ ๖๗ ๓๕ ๓๐๓ ๙๐ ๕๔ ๕๓ ๑๓๕ ๒๘ ๓๖๐ ๗๒ ๒๐๙ ๔๒ ๙๑ ๔๑๔

๕๐.๗๖ ๔๒.๓๗ ๔๕.๖๙ ๔๙.๕๕ ๕๔.๔๙ ๔๓.๕๙ ๕๕.๗๙ ๔๒.๑๔ ๔๗.๙๕ ๔๘.๗๑ ๖๕.๖๙ ๖๓.๕๓ ๕๖.๓๘ ๔๔.๔๑ ๔๓.๐๘ ๕๒.๕๕ ๕๒.๑๗ ๓๘.๗๘ ๖๗.๗๔ ๔๑.๗๔ ๔๓.๒๖

๒๒ ๓๐.๑๔ ๕๖ ๙๔.๙๒

๘๓ ๔๒ ๑๐๘ ๓๑๐ ๔๔ ๓๘ ๓๒ ๒๖ ๑๙ ๑๕๙ ๖๑ ๕๓ ๑๖ ๑๒๑ ๑๒ ๒๖๓ ๔๖ ๘๐ ๑๘ ๒๓ ๑๖๗

๔๑.๕๐ ๘๔.๐๐ ๗๕.๕๒ ๖๒.๘๘ ๔๕.๓๖ ๗๔.๕๑ ๖๐.๓๘ ๓๘.๘๑ ๕๔.๒๙ ๕๒.๔๘ ๖๗.๗๘ ๙๘.๑๕ ๓๐.๑๙ ๘๙.๖๓ ๔๒.๘๖ ๗๓.๐๖ ๖๓.๘๙ ๓๘.๒๘ ๔๒.๘๖ ๒๕.๒๗ ๔๐.๓๔

๕๑ ๖๙.๘๖ ๓ ๕.๐๘ ๔ ๓๔ ๙๒ ๒๓

๑๓.๗๙ ๒๖.๕๖ ๓๑.๘๓ ๒๓.๐๐

๑๑๗ ๘ ๓๕ ๑๘๓ ๕๓ ๑๓ ๒๑ ๔๑ ๑๖ ๑๔๔ ๒๙ ๑ ๓๗ ๑๔ ๑๖ ๙๗ ๒๖ ๑๒๙ ๒๔ ๖๘ ๒๔๗

๕๘.๕๐ ๑๖.๐๐ ๒๔.๔๘ ๓๗.๑๒ ๕๔.๖๔ ๒๕.๔๙ ๓๙.๖๒ ๖๑.๑๙ ๔๕.๗๑ ๔๗.๕๒ ๓๒.๒๒ ๑.๘๕ ๖๙.๘๑ ๑๐.๓๗ ๕๗.๑๔ ๒๖.๙๔ ๓๖.๑๑ ๖๑.๗๒ ๕๗.๑๔ ๗๔.๗๓ ๕๙.๖๖

ANNUAL REPORT


90

ส่วนที่ ๔ : สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

เขตตรวจ ราชการ

จังหวัด

๔๑.๓๐ ๔๘.๕๗ ๔๖.๖๗ ๔๓.๖๒ ๔๔.๖๓ ๔๕.๙๐ ๔๖.๓๘ ๓๔.๙๗ ๔๑.๓๒ ๔๓.๗๒ ๔๖.๘๙ ๔๕.๒๔ ๓๕.๘๓ ๔๓.๐๗ ๔๐.๕๗ ๔๕.๒๓ ๓๑.๐๖

๑๖๔ ๓๗๖ ๘๗ ๒๘๕ ๑๑๔ ๑๒๗ ๖๑๓ ๑๖๙ ๑๖ ๘๗ ๔๙ ๓๒๑

๒๘.๒๓ ๓๔.๑๒ ๔๓.๗๒ ๔๘.๕๕ ๔๔.๕๓ ๓๓.๖๙ ๔๓.๒๐ ๔๕.๕๕ ๔๕.๗๑ ๔๙.๑๕ ๔๗.๕๗ ๔๖.๗๙

๔๑๗ ๗๒๖ ๑๑๒ ๓๐๒ ๑๔๒ ๒๕๐ ๘๐๖ ๒๐๒ ๑๙ ๙๐ ๕๔ ๓๖๕

เพื่อทราบ จ�ำนวน รวม ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง)

๑๓๘ ๐.๖๙ เขตตรวจ จังหวัดเลย ราชการที่ ๑๐ จังหวัดหนองคาย ๑๔๐ ๐.๗๐ จังหวัดหนองบัวล�ำภู ๗๕ ๐.๓๘ จังหวัดอุดรธานี ๒๔๓ ๑.๒๒ รวม ๕๙๖ ๒.๙๙ เขตตรวจ จังหวัดนครพนม ๑๒๒ ๐.๖๑ ราชการที่ ๑๑ จังหวัดมุกดาหาร ๖๙ ๐.๓๕ จังหวัดสกลนคร ๑๔๓ ๐.๗๒ รวม ๓๓๔ ๑.๖๗ ๑๘๓ ๐.๙๒ เขตตรวจ จังหวัดกาฬสินธุ์ ราชการที่ ๑๒ จังหวัดขอนแก่น ๓๕๔ ๑.๗๗ จังหวัดมหาสารคาม ๑๖๘ ๐.๘๔ จังหวัดร้อยเอ็ด ๒๕๔ ๑.๒๗ รวม ๙๕๙ ๔.๘๐ ๑๐๖ ๐.๕๓ เขตตรวจ จังหวัดยโสธร ราชการที่ ๑๓ จังหวัดศรีสะเกษ ๒๘๓ ๑.๔๒ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ๑๓๒ ๐.๖๖ จังหวัด อุบลราชธานี ๕๘๑ ๒.๙๑ รวม ๑,๑๐๒ ๕.๕๒ ๑๙๙ ๑.๐๐ เขตตรวจ จังหวัดชัยภูมิ ราชการที่ ๑๔ จังหวัดนครราชสีมา ๕๘๗ ๒.๙๔ จังหวัดบุรีรัมย์ ๒๕๖ ๑.๒๘ จังหวัดสุรินทร์ ๓๗๗ ๑.๘๙ รวม ๑,๔๑๙ ๗.๑๑ เขตตรวจ จังหวัดเชียงใหม่ ๓๗๑ ๑.๘๖ ราชการที่ ๑๕ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ๓๕ ๐.๑๘ จังหวัดล�ำปาง ๑๗๗ ๐.๘๙ จังหวัดล�ำพูน ๑๐๓ ๐.๕๒ รวม ๖๘๖ ๓.๔๔

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี

๕๗ ๖๘ ๓๕ ๑๐๖ ๒๖๖ ๕๖ ๓๒ ๕๐ ๑๓๘ ๘๐ ๑๖๖ ๗๖ ๙๑ ๔๑๓ ๔๓ ๑๒๘ ๔๑

วัตถุประสงค์การประสานงาน เพื่อพิจารณา ด�ำเนินการ จ�ำนวน ร้อยละ จนได้ข้อยุติ (เรื่อง) จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) ๘๑ ๕๘.๗๐ ๕๐ ๖๑.๗๓ ๗๒ ๕๑.๔๓ ๓๒ ๔๔.๔๔ ๔๐ ๕๓.๓๓ ๑๕ ๓๗.๕๐ ๑๓๗ ๕๖.๓๘ ๖๙ ๕๐.๓๖ ๓๓๐ ๕๕.๓๗ ๑๖๖ ๕๐.๓๐ ๖๖ ๕๔.๑๐ ๓๓ ๕๐.๐๐ ๓๗ ๕๓.๖๒ ๒๕ ๖๗.๕๗ ๙๓ ๖๕.๐๓ ๔๑ ๔๔.๐๙ ๑๙๖ ๕๘.๖๘ ๙๙ ๕๐.๕๑ ๑๐๓ ๕๖.๒๘ ๖๗ ๖๕.๐๕ ๑๘๘ ๕๓.๑๑ ๘๔ ๔๔.๖๘ ๙๒ ๕๔.๗๖ ๓๑ ๓๓.๗๐ ๑๖๓ ๖๔.๑๗ ๑๑๐ ๖๗.๔๘ ๕๔๖ ๕๖.๙๓ ๒๙๒ ๕๓.๔๘ ๖๓ ๕๙.๔๓ ๓๔ ๕๓.๙๗ ๑๕๕ ๕๔.๗๗ ๙๐ ๕๘.๐๖ ๙๑ ๖๘.๙๔ ๗๗ ๘๔.๖๒ ๗๑.๗๗ ๖๕.๘๘ ๕๖.๒๘ ๕๑.๔๕ ๕๕.๔๗ ๖๖.๓๑ ๕๖.๘๐ ๕๔.๔๕ ๕๔.๒๙ ๕๐.๘๕ ๕๒.๔๓ ๕๓.๒๑

๔๓ ๒๔๔ ๕๐ ๕๘ ๒๑ ๑๕๖ ๒๘๕ ๙๒ ๑๒ ๒๖ ๔๑ ๑๗๑

๑๐.๓๑ ๓๓.๖๑ ๔๔.๖๔ ๑๙.๒๑ ๑๔.๗๙ ๖๒.๔๐ ๓๕.๓๖ ๔๕.๕๔ ๖๓.๑๖ ๒๘.๘๙ ๗๕.๙๓ ๔๖.๘๕

รอผลการ พิจารณา จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) ๓๑ ๓๘.๒๗ ๔๐ ๕๕.๕๖ ๒๕ ๖๒.๕๐ ๖๘ ๔๙.๖๔ ๑๖๔ ๔๙.๗๐ ๓๓ ๕๐.๐๐ ๑๒ ๓๒.๔๓ ๕๒ ๕๕.๙๑ ๙๗ ๔๙.๔๙ ๓๖ ๓๔.๙๕ ๑๐๔ ๕๕.๓๒ ๖๑ ๖๖.๓๐ ๕๓ ๓๒.๕๒ ๒๕๔ ๔๖.๕๒ ๒๙ ๔๖.๐๓ ๖๕ ๔๑.๙๔ ๑๔ ๑๕.๓๘ ๓๗๔ ๔๘๒ ๖๒ ๒๔๔ ๑๒๑ ๙๔ ๕๒๑ ๑๑๐ ๗ ๖๔ ๑๓ ๑๙๔

๘๙.๖๙ ๖๖.๓๙ ๕๕.๓๖ ๘๐.๗๙ ๘๕.๒๑ ๓๗.๖๐ ๖๔.๖๔ ๕๔.๔๖ ๓๖.๘๔ ๗๑.๑๑ ๒๔.๐๗ ๕๓.๑๕


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

เขตตรวจ ราชการ

จังหวัด

เพื่อทราบ จ�ำนวน รวม ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง)

วัตถุประสงค์การประสานงาน เพื่อพิจารณา ด�ำเนินการ จ�ำนวน ร้อยละ จนได้ข้อยุติ (เรื่อง) จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) ๑๓๙ ๕๗.๖๘ ๔๒ ๓๐.๒๒ ๔๔ ๕๘.๖๗ ๑๕ ๓๔.๐๙ ๗๐ ๕๕.๑๒ ๓๙ ๕๕.๗๑ ๔๗ ๕๕.๒๙ ๒๑ ๔๔.๖๘ ๓๐๐ ๕๖.๘๒ ๑๑๗ ๓๙.๐๐ ๔๖ ๕๘.๙๗ ๒๕ ๕๔.๓๕ ๑๙๒ ๖๓.๕๘ ๗๓ ๓๘.๐๒ ๑๔๔ ๕๙.๗๕ ๙๒ ๖๓.๘๙ ๗๐ ๕๘.๓๓ ๒๐ ๒๘.๕๗ ๕๗ ๕๑.๘๒ ๓๙ ๖๘.๔๒ ๕๐๙ ๕๙.๘๑ ๒๔๙ ๔๘.๙๒ ๙๘ ๕๐.๗๘ ๑๗ ๑๗.๓๕ ๑๙๙ ๕๑.๕๕ ๑๒๐ ๖๐.๓๐ ๑๑๕ ๕๙.๕๙ ๕๐ ๔๓.๔๘ ๗๑ ๕๗.๗๒ ๒๗ ๓๘.๐๓ ๔๘๓ ๕๓.๙๗ ๒๑๔ ๔๔.๓๑

91

รอผลการ พิจารณา จ�ำนวน ร้อยละ (เรื่อง) ๙๗ ๖๙.๗๘ ๒๙ ๖๕.๙๑ ๓๑ ๔๔.๒๙ ๒๖ ๕๕.๓๒ ๑๘๓ ๖๑.๐๐ ๒๑ ๔๕.๖๕ ๑๑๙ ๖๑.๙๘ ๕๒ ๓๖.๑๑ ๕๐ ๗๑.๔๓ ๑๘ ๓๑.๕๘ ๒๖๐ ๕๑.๐๘ ๘๑ ๘๒.๖๕ ๗๙ ๓๙.๗๐ ๖๕ ๕๖.๕๒ ๔๔ ๖๑.๙๗ ๒๖๙ ๕๕.๖๙

๒๔๑ ๑.๒๑ ๑๐๒ ๔๒.๓๒ เขตตรวจ จังหวัดเชียงราย ราชการที่ ๑๖ จังหวัดน่าน ๗๕ ๐.๓๘ ๓๑ ๔๑.๓๓ จังหวัดพะเยา ๑๒๗ ๐.๖๔ ๕๗ ๔๔.๘๘ จังหวัดแพร่ ๘๕ ๐.๔๓ ๓๘ ๔๔.๗๑ รวม ๕๒๘ ๒.๖๕ ๒๒๘ ๔๓.๑๘ ๗๘ ๐.๓๙ ๓๒ ๔๑.๐๓ เขตตรวจ จังหวัดตาก ราชการที่ ๑๗ จังหวัดพิษณุโลก ๓๐๒ ๑.๕๑ ๑๑๐ ๓๖.๔๒ จังหวัดเพชรบูรณ์ ๒๔๑ ๑.๒๑ ๙๗ ๔๐.๒๕ จังหวัดสุโขทัย ๑๒๐ ๐.๖๐ ๕๐ ๔๑.๖๗ จังหวัดอุตรดิตถ์ ๑๑๐ ๐.๕๕ ๕๓ ๔๘.๑๘ รวม ๘๕๑ ๔.๒๖ ๓๔๒ ๔๐.๑๙ ๙๕ ๔๙.๒๒ เขตตรวจ จังหวัดก�ำแพงเพชร ๑๙๓ ๐.๙๗ ราชการที่ ๑๘ จังหวัดนครสวรรค์ ๓๘๖ ๑.๙๓ ๑๘๗ ๔๘.๔๕ จังหวัดพิจิตร ๑๙๓ ๐.๙๗ ๗๘ ๔๐.๔๑ จังหวัดอุทัยธานี ๑๒๓ ๐.๖๒ ๕๒ ๔๒.๒๘ รวม ๘๙๕ ๔.๔๘ ๔๑๒ ๔๖.๐๓ เขตตรวจ กรุงเทพมหานคร ๓,๖๘๗ ๑๘.๔๗ ๒,๔๓๑ ๖๕.๙๓ ๑,๒๕๖ ๓๔.๐๗ ๙๖๗ ๗๖.๙๙ ๒๘๙ ๒๓.๐๑ ราชการ ส่วนกลาง รวมทั้งสิ้น ๑๙,๙๖๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐,๖๕๒ ๕๓.๓๗ ๙,๓๐๘ ๔๖.๖๓ ๕,๐๐๓ ๕๓.๗๕ ๔,๓๐๕ ๔๖.๒๕

ข้อมูล ณ วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๓

จากตารางแสดงจ�ำนวนเรื่องราวร้องทุกข์ข้างต้นพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ จังหวัด ในความรับผิดชอบของเขตตรวจราชการที่ได้รับการประสานงานเรื่องราวร้องทุกข์ มีจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น ๑๙,๙๖๐ เรื่อง โดยเขตตรวจราชการที่ได้รับการประสานงานเพื่อรับทราบและพิจารณาด�ำเนินการแก้ไข ปัญหาเรื่องราวร้องทุกข์ให้แก่ประชาชนเรียงตามล�ำดับจากมากที่สุด ได้แก่ เขตตรวจราชการส่วนกลาง รองลงมา คือ เขตตรวจราชการที่ ๑ และเขตตรวจราชการที่ ๑๔ ตามล�ำดับ

ANNUAL REPORT


92

ส่วนที่ ๔ : สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

มติคณะรัฐมนตรีและนโยบายนายกรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ “เห็นชอบให้ภารกิจด้านการด�ำเนินการเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้ได้ข้อยุติเป็นตัวชี้วัด ในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณของทุกกระทรวงและทุกจังหวัดในปีงบประมาณ พ .ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นไป”

หลักการในการยุติเรื่อง การด�ำเนินการทีถ่ อื เป็น “ข้อยุต”ิ ควรพิจารณาถึงการทีข่ อ้ ร้องเรียนจากประชาชนดังกล่าว ได้รบั การช่วยเหลือ ดูแล แก้ไขตามข้อเท็จจริงของสภาพปัญหาจากหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องแล้ว ดังนี้ ๑. เรือ่ งทีด่ �ำเนินการแล้วได้ตามความประสงค์ของผูร้ อ้ งทัง้ หมด และได้แจ้งให้ผรู้ อ้ งทราบเรือ่ งที่ ด�ำเนินการแล้ว ได้ตามความประสงค์ของผู้ร้องบางส่วน (หน่วยงานเจ้าของเรื่องด�ำเนินการตามขอบเขต เต็มที่แล้ว) หรือได้บรรเทาเยียวยาปัญหาความเดือดร้อนของผู้ร้องตามความเหมาะสม และได้แจ้งให้ ผู้ร้องทราบ ๒. เรื่องที่ด�ำเนินการแล้ว แต่ไม่ได้ตามความประสงค์ของผู้ร้อง (เช่น พ้นวิสัยด�ำเนินการ) และได้ ชี้แจงท�ำความเข้าใจกับผู้ร้อง ๓. เรื่องที่ส่งต่อให้หน่วยงานอื่นเพื่อทราบ และได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบหน่วยงานที่รับเรื่องดูแลต่อ ๔. เรื่องร้องเรียนที่ระงับการพิจารณา หรือรวมเรื่อง เช่น บัตรสนเท่ห์ เรื่องที่อยู่ในกระบวนการ ทางศาล เรื่องร้องทุกข์กล่าวโทษแต่ไม่มีหลักฐาน และได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบตามควรแก่กรณี ๕. เรื่องเสนอข้อคิดเห็นที่พ้นวิสัยด�ำเนินการหรือเป็นกรณีที่หน่วยงานได้ดำ� เนินการอยู่แล้ว ๖. กรณีที่เป็นการเสนอข้อคิดเห็นที่มีผลต่อส่วนรวม ให้หน่วยงานประมวลข้อมูลและเสนอ ข้อคิดเห็นเชิงนโยบายต่อผู้บริหาร

• มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ รับทราบสรุปผลการด�ำเนินการเรือ่ งร้องเรียนจากประชาชนในช่วงไตรมาสที่ ๒ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ และมอบหมายให้ทกุ กระทรวงติดตามผลการด�ำเนินการเรือ่ งร้องเรียนทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบ อย่างต่อเนื่อง มอบหมายให้สว่ นราชการทีม่ อี ำ� นาจหน้าทีใ่ นการด�ำเนินการแก้ไขปัญหาเรือ่ งร้องเรียนทีม่ ผี ลกระทบ ต่อส่วนรวม ก�ำหนดแนวทางด�ำเนินการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตามความเหมาะสมในการแก้ไข ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป มอบหมายให้หน่วยงานที่มีร้อยละของเรื่องที่ยุติต�่ำ เร่งรัดการด�ำเนินการเรื่องร้องเรียนให้มีผล เป็นที่ยุติมากขึ้น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี


ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

93

• มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๒ รับทราบสรุปผลการด�ำเนินการเรือ่ งร้องเรียนจากประชาชนในช่วงไตรมาสที่ ๓ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ และมอบหมายให้ทกุ กระทรวงติดตามผลการด�ำเนินการเรือ่ งร้องเรียนทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบ อย่างต่อเนื่อง มอบหมายให้หน่วยงานที่มีร้อยละของเรื่องที่ยุติต�่ำ เร่งรัดการด�ำเนินการเรื่องร้องเรียนให้มีผล เป็นที่ยุติมากขึ้น

• นโยบายนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ นายกรัฐมนตรีได้สั่งการให้จังหวัด / หน่วยงานที่มีร้อยละของเรื่องยุติตำ�่ เร่งรัดด้วย”

ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการเรือ่ งราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ด้วยระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ก�ำหนด ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าถึงความยุติธรรมอย่างแท้จริง เพราะในอดีตที่ผ่านมามีปัญหา หลายประการที่ขัดขวางมิให้ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรมได้ เช่น ปัญหาความยากจน การขาดความรู้ ความเข้าใจในบทบัญญัติของกฏหมายและสิทธิเสรีภาพที่พึงมีพึงได้โดยชอบธรรม เป็นต้น ซึ่งประชาชน ผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้แม้จะมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตามที่รัฐธรรมนูญได้ให้ หลักประกันไว้ แต่ในหลายกรณีไม่อาจได้รบั ความช่วยเหลือและได้รบั การเยียวยา หรือบรรเทาความเสียหาย ที่เกิดขึ้นตามหลักสิทธิมนุษยชนอย่างดีเพียงพอและมีมาตรฐานเดียวกัน จึงได้มีระเบียบส�ำนักนายก รัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อน�ำไปใช้เป็นกลไกและมาตรการในการ ก�ำหนดหลักเกณฑ์ และวิธกี ารรับเรือ่ งราวร้องทุกข์ การบรรเทาและเยียวยาความเดือนร้อนของประชาชน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและใช้เป็น “มาตรฐานงานขั้นต�ำ่ ” ของระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิง่ ขึน้ ทัง้ นีม้ ผี ลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ระเบียบดังกล่าวเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕๙ บัญญัตวิ า่ ให้บคุ คลมีสทิ ธิเสนอเรือ่ งราวร้องทุกข์และได้รบั การแจ้งผลการพิจารณาภายในเวลาอันรวดเร็ว โดยในระเบียบนี้ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อให้หน่วยงาน ของรัฐมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน และก�ำหนดให้มีคณะกรรมการ ๒ ระดับ คือ คณะกรรมการจัดการเรือ่ งราวร้องทุกข์ และคณะกรรมการจัดการเรือ่ งราวร้องทุกข์ประจ�ำกระทรวง

ANNUAL REPORT


ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ปี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.