บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) ทะเบียนบริษัทเลขที่ 0107537000891 (เลขทะเบียนเดิมเลขที่ บมจ.336)
ประกอบธุรกิจ
ผู้ผลิตและส่งออกอาหารทะเลแช่แช็งและบรรจุกระป๋อง
ส�ำนักงานใหญ่
72/1 หมู่ที่ 7 ถนนเศรษฐกิจ 1 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์ 66 (0) 3481-6500 (อัตโนมัติ 7 สาย) โทรสาร 66 (0) 3481-6886
ส�ำนักงานกรุงเทพ
979/12 ชั้นเอ็ม อาคารเอสเอ็มทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 66 (0) 2298-0024, 2298-0537-41 โทรสาร 66 (0) 2298-0548, 2298-0550
เว็บไซด์
www.thaiuniongroup.com และ www.thaiunion.co.th
หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมือ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2537 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทุนจดทะเบียนหุ้นสามัญ จ�ำนวน 885,090,950 บาท (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ทุนช�ำระแล้ว จ�ำนวน 883,170,950 บาท (883,170,950 หุ้น)
รายงานประจ�ำปี 2551 บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) สารบัญ
02 03 04
ข้อมูลทั่วไป
06 07 09 13 14 14 16 18 21 22 23 27 28 30 34
สารจากประธานกรรมการบริหาร
สารบัญ สารจากประธานกรรมการ
โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ / ทีมผู้บริหาร ประวัติและพัฒนาการของบริษัท วิสัยทัศน์และภารกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ การลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม สถิติผลการด�ำเนินงานในรอบ 5 ปี สัดส่วนของรายได้จากการขายและ การจัดจ�ำหน่ายในปี 2552 ลักษณะธุรกิจหลักของกลุ่มบริษัท จุดเด่นในการด�ำเนินธุรกิจ รางวัล เกียรติบัตร และการจัดล�ำดับ การพัฒนาที่ยั่งยืนของบริษัท กลุ่มธุรกิจต่อเนื่อง
39 40 44 47 57 58 60 70 71 72 73 74 75 76 78 86 87 88
บุคคลอ้างอิง ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยอื่น ที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุน รายงานการปฏิบัติตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การสรรหากรรมการ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบ รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน อัตราส่วนทางการเงิน ค�ำอธิบายอัตราส่วนทางการเงิน ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป โครงสร้างรายได้จากการขายของบริษัท และบริษัทย่อย โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ผลตอบแทนผู้บริหาร รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ บทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท
Message from Chairman สารจากประธานกรรมการ ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2552 ยังคงได้รบั ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะ ในช่วง 3 ไตรมาสแรกทีม่ คี วามผันผวนอย่างมาก ซึง่ ถ้าพิจารณาจากตัวเลขการส่งออกจะพบว่า ตัง้ แต่เดือนมกราคม - ตุลาคม 2552 มูลค่าการส่งออกขยายตัวติดลบมาโดยตลอด เมือ่ เปรียบ เทียบกับปี 2551 แต่ก็มีแนวโน้มค่อยๆ ฟื้นตัวขึ้นมาอีกครั้งในช่วง 2 เดือนสุดท้าย โดยมูลค่า การส่งออกมีการขยายตัวในทางบวก 14.1% และ 19.3% ตามล�ำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลา เดียวกันของปี 2551 ซึ่งเป็นผลจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่เริ่มส่งสัญญาณในทางที่ดี โดยเฉพาะประเทศคู่ค้าหลักอย่างสหรัฐอเมริกาที่รัฐบาลออกมาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ สถาบันการเงินที่ประสบปัญหา รวมถึงการน�ำเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจมากขึ้น ท�ำให้วิกฤต ภาคอสังหาริมทรัพย์ลดความรุนแรงลง ผู้บริโภคเริ่มมีการจับจ่ายสินค้าที่เพิ่มขึ้นจึงท�ำให้มี ค�ำสั่งซื้อกลับเข้ามาจ�ำนวนมาก แต่ส�ำหรับการส่งออกสินค้าอาหารทะเลกระป๋องและแปรรูปในปี 2552 มีปริมาณการ ส่งออกเพิม่ ขึน้ 3.26% เมือ่ เทียบกับปี 2551 โดยมีปริมาณเท่ากับ 921,807 เมตริกตัน คิดเป็น มูลค่าการส่งออกทั้งปีเท่ากับ 126,712 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อย 1.7% เมื่อเทียบกับปี 2551 นายไกรสร จันศิริ ประธานกรรมการ ที่มีมูลค่าส่งออกเท่ากับ 128,924 ล้านบาท ส่วนสาเหตุที่ท�ำให้มูลค่าลดลง เพราะราคาวัตถุ ดิบหลักทีล่ ดลง ซึง่ เป็นผลจากราคาน�ำ้ มันลดลง ท�ำให้ผปู้ ระกอบการต้องท�ำการปรับราคาขาย ลดลงตามราคาวัตถุดิบหลัก จากสภาวะเศรษฐกิจและปัจจัยเสี่ยงที่ยังคงมีความผันผวนอย่างต่อเนื่อง หลายฝ่าย วิตกกังวลถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น แต่ส�ำหรับบริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยการบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ อย่างต่อเนือ่ ง และทีมผูบ้ ริหารทีม่ วี สิ ยั ทัศน์ ภายใต้มุมมองที่มองวิกฤตก็คือ การสร้างโอกาส โอกาสส�ำหรับการลงทุน โอกาสส�ำหรับการ เพิ่มศักยภาพของพนักงาน และโอกาสส�ำหรับการสร้างมุมมองใหม่ๆ แต่การสร้างโอกาสนั้น ต้องค�ำนึงถึงความพร้อมในทุกๆ ส่วนที่เกี่ยวข้อง มองหาจังหวะที่เหมาะสม เพื่อสร้างโอกาส นั้น ซึ่งจากแนวทางดังกล่าวท�ำให้ผลการด�ำเนินงานในแต่ละปีของบริษัทมีอัตราการเติบโต อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดวิกฤตต้มย�ำกุ้งในปี 2540 และวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ใน ปี 2551 บริษทั ก็ยงั สามารถสร้างการเติบโตของยอดขายและก�ำไรสุทธิได้อย่างโดดเด่นมากใน ช่วงเวลานั้น ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานของบริษัทในปี 2552 นี้ บริษัทสามารถท�ำก�ำไรสุทธิได้ สูงถึง 3,344 เพิ่มขึ้น 52% เมื่อเทียบกับปี 2551 ซึ่งเป็นก�ำไรสุทธิที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ตั้งแต่ด�ำเนินธุรกิจมา ขณะที่รายได้รวมทั้งปีเท่ากับ 69,697 ล้านบาท อย่างไรก็ดี ถ้ามองย้อน หลังกลับไปดูตัวเลขผลประกอบการที่ผ่านๆ มาจะสะท้อนให้เห็นว่า บริษัทมีอัตราการเติบโต ทีต่ อ่ เนือ่ งมาโดยตลอด และสามารถให้ผลตอบแทนแก่ผถู้ อื หุน้ อย่างสม�ำ่ เสมอ โดยมีนโยบาย การจ่ายเงินปันผลปีละ 2 ครั้งและไม่ต�่ำกว่า 50% ของก�ำไรสุทธิ
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ส�ำหรับในปี 2552 บริษัทยังมีการสร้างการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเหมือนเช่นทุกๆ ปี เนื่องจากปัจจุบันสถานการณ์ต่างๆ มีความผันผวนตลอดเวลา ดังนั้นการมีรากฐานทางธุรกิจ ที่แข็งแกร่งและมั่นคง และมีโครงสร้างทางธุรกิจ ที่ยืดหยุ่นย่อมช่วยให้ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่มี ผลกระทบต่อบริษัทลดความรุนแรงลง หรือช่วยสร้างความสมดุลระหว่างกันให้เกิดขึ้น โดย พัฒนาการในปีนี้ประกอบไปด้วยการลงทุนตั้งโรงงานใหม่ การร่วมทุนจัดตั้งบริษัทใหม่ และ การปรับโครงสร้างการบริหาร โดยมีรายละเอียดดังนี้ การจัดตัง้ โรงงานแห่งใหม่ทรี่ ฐั จอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เพือ่ ด�ำเนินการผลิตปลา ทูน่าบรรจุกระป๋อง ทดแทนโรงงานที่อเมริกันซามัว ทั้งนี้เพื่อพัฒนากระบวนการซัพพลายเชน และการบริการ เพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน โดยแผนงานนี้จะท�ำให้ต้นทุนทางการผลิตลด ลงช่วยเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ดียิ่งขึ้น การร่วมทุนกับบริษัท อะแวนติ ฟีด จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ตั้งบริษัท อะแวนติ ไทย อควอ ฟีดส์ จ�ำกัดที่เมืองกูจารัต ประเทศอินเดีย เพื่อสร้างโรงงานผลิตอาหารกุ้ง รองรับกับ ความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นในพื้นที่ด้านตะวันตกของประเทศอินเดีย การร่วมทุนของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรมจ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยกับ บริษทั นิปปอน ซุยซัน ไคชา จ�ำกัด จากประเทศญีป่ นุ่ ตัง้ บริษทั ทีเอ็น ฟายน์ เคมีคอลส์ จ�ำกัด เพือ่ พัฒนาผลพลอยได้จากการผลิตอาหารทะเลแปรรูป (BY-PRODUCT) ด้วยเทคโนโลยaขัน้ สูงมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์จากอาหารที่มีคุณภาพ (FINE CHEMICALS) และสามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารเสริม และยารักษาโรคต่างๆ นอกจากนี้ ไทยรวมสินฯ ยังได้ร่วมทุนกับบริษัท เซ็นจูรี่ แคนนิ่ง คอร์ปอเรชั่น และ บริษัท ฟราเบล ฟิชชิ่ง คอร์ปอเรชั่น ตั้งบริษัท มอร์สบี้ อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง เพื่อจัด ตั้งบริษัท มาเจสติก ซีฟู้ด คอร์ปอเรชั่น ในประเทศปาปัวนิวกินีเพื่อด�ำเนินธุรกิจจับปลาทูน่า ในน่านน�้ำประเทศปาปัวนิวกินี ช่วยเพิ่มศักยภาพในการจัดหาวัตถุดิบ และสิทธิประโยชน์ทาง ภาษีไปยังกลุ่มประเทศยุโรป เพราะการผลิตและส่งออกจากประเทศปาปัวนิวกินีจะได้รับสิทธิ พิเศษนี้ การควบรวมทีมบริหารของ 2 บริษทั ย่อยในสหรัฐอเมริการะหว่างบริษทั ไทร-ยูเนีย่ น โฟรเซ่น ฟู้ดส์ จ�ำกัด และบริษัท เอ็มเพรส อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด เมื่อช่วงกลางปี 2552 ซึ่งจะแล้วเสร็จประมาณกลางปี 2553 นับเป็นการเริ่มต้นที่ดีสำ� หรับการเพิ่มประสิทธิภาพใน การก�ำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดได้อย่างชัดเจนและเข้มข้นขึ้นสอดคล้องกับสภาพตลาดที่มี การแข่งขันสูง และจากการรวมกันในครั้งนี้ท�ำให้บริษัทกลายเป็นผู้น�ำเข้าอาหารทะเลแช่แข็ง ใหญ่เป็นอันดับ 2 ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะช่วยเสริมความแข็งแกร่งในการด�ำเนินธุรกิจได้เป็น อย่างดี นับเป็นอีกหนึ่งแนวทางส�ำหรับการสร้างการเติบโตให้กับกลุ่มบริษัท
3 รายงานประจ�ำปี 2553
Message from President สารจากประธานกรรมการบริหาร ปี 2552 ยังคงเป็นอีกปีที่ท้าทายส�ำหรับด�ำเนินธุรกิจ เพราะผลกระทบจากภาวะ เศรษฐกิจทัว่ โลกทีถ่ ดถอย และส่งผลต่อเนือ่ งเป็นลูกโซ่มายังภาคอุตสาหกรรมการผลิต ก�ำลัง ซื้อของผู้บริโภคลดลงตามสภาพเศรษฐกิจ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ยังคงมีความระมัดระวังเรื่อง การใช้จ่าย สินค้าที่ไม่มีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต เช่น สินค้าประเภทฟุ่มเฟือย มีปริมาณ การซื้อลดลง หรือชะลอระยะเวลาการซื้อออกไปก่อน แต่สำ� หรับบริษัทไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด(มหาชน) แล้ว เนื่องจากบริษัทประกอบธุรกิจอาหารทะเลและผลิตภัณฑ์ของ บริษทั ทัง้ หมดก็เป็นผลิตภัณฑ์อาหารซึง่ มีความจ�ำเป็นอย่างมากในการด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันท�ำให้ บริษทั ไม่ได้รบั ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกมากนัก ปริมาณการขายสินค้าของบริษทั ยัง คงเติบโตอยู่อย่างต่อเนื่อง นอกจากปัจจัยเรือ่ งสภาวะเศรษฐกิจโลกแล้ว เรือ่ งอัตราแลกเปลีย่ น ราคาน�ำ้ มัน ราคา วัตถุดบิ และแรงงาน ยังคงเป็นเรือ่ งทีท่ ำ� ให้บริษทั ต้องเพิม่ ความรัดกุมในการบริหารจัดการงาน ทุกระบบและทุกกระบวนการให้มปี ระสิทธิภาพอย่างยัง่ ยืน ซึง่ ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารทะเล แล้ว ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการต้องติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และน�ำ นายธีรพงศ์ จันศิริ ปัจจัยเหล่านัน้ มาท�ำการวิเคราะห์ เพือ่ หากลยุทธ์ทเี่ หมาะสม เนือ่ งจากเป็นปัจจัยทีม่ าจากสภาพ ประธานกรรมการบริหาร แวดล้อมภายนอกซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ แต่การติดตามอย่างใกล้ชิด พร้อมกับปรับวิธีการ หรือแนวทางการท�ำงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์นนั้ ๆ ต้องการความยืดหยุน่ ในการด�ำเนิน งาน ซึ่งก็คือ อีกยุทธวิธีหนึ่งของการบริหารจัดการที่ดีที่บริษัทสามารถกระท�ำได้หรือสามารถ ควบคุมได้ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ลงได้ ส�ำหรับในรอบปีที่ผ่านมา บริษัทสามารถสร้างอัตราการเติบโตของก�ำไรสุทธิได้อย่าง โดดเด่นมาก เพียงแค่ช่วง 9เดือนแรกบริษัทสามารถท�ำก�ำไรสุทธิเท่ากับ 2,625 ล้านบาท มากกว่าก�ำไรสุทธิทงั้ ปีของปี 2551 ซึง่ ท�ำไว้ 2,200 ล้านบาท โดยมีกำ� ไรสุทธิทงั้ ปี 2552 เท่ากับ 3,344 ล้านบาทเพิม่ ขึน้ 52% เมือ่ เทียบกับปีทแี่ ล้ว สูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ของการบันทึกสถิติ และต้องนับเป็นสถิตใิ หม่ของบริษทั เช่นกัน ส�ำหรับรายได้จากการขายในรูป เงินเหรียญสหรัฐ ทั้งปีเท่ากับ 2,014 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลง3% จากปี 2551 และมีรายได้จากการขายในรูป เงินบาททัง้ ปีเท่ากับ 68,995 ล้านบาท ใกล้เคียงกับช่วงเวลาเดียวกันของปี2551 ขณะทีร่ ายได้ รวมทัง้ ปีเท่ากับ 69,697 ล้านบาท จากผลการด�ำเนินงานในรอบปีทผี่ า่ นมา ถือเป็นเครือ่ งพิสจู น์ ให้เห็นถึงการมีประสบการณ์ ความช�ำนาญ และความเชีย่ วชาญในการด�ำเนินธุรกิจอาหารทะเล แช่แข็งและอาหารทะเลบรรจุกระป๋อง รวมทัง้ ความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีการผลิตและการ บริหารจัดการ ตลอดจนความพร้อมด้านบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ซึ่งเสริมศักยภาพ ความแข็งแกร่งในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทมาโดยตลอด บริษทั ยังคงมุง่ เน้นเรือ่ งการพัฒนาศักยภาพในทุกด้านอย่างมีนยั ส�ำคัญ ปัจจุบนั กระแส การแข่งขันทางการค้ามีความรุนแรงมากขึ้น ประเทศคู่ค้าและประเทศคู่แข่งต่างก็พยายาม พัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ เพือ่ ความเป็นผูน้ ำ� ทีจ่ ะสามารถสร้างอ�ำนาจการต่อรองได้
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ยกตัวอย่างเช่น การกีดกัน ทางการค้าจากประเทศคู่ค้าซึ่งมีทั้งมาตรการที่อยู่ในรูปแบบภาษี และรูปแบบที่ไม่ใช่ภาษี โดยเฉพาะมาตรการที่ไม่ใช่ภาษีได้มีการน�ำประเด็นเรื่องภาวะโลก ร้อนเข้ามา ขณะที่ประเทศคู่แข่งก็พยายามพัฒนาศักยภาพของตนเอง ดังนั้นบริษัทจึงต้อง มีการติดตามข่าวสารในเรื่องมาตรการใหม่ๆ อย่างใกล้ชิดมีการตั้งสมมติฐานล่วงหน้า รวม ถึงการก�ำหนดนโยบายและแนวทางอย่างชัดเจน ขณะเดียวกันก็ต้องปรับกลยุทธ์การด�ำเนิน งานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถรองรับกับสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกิดขึ้น ได้ ซึ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนาที่ดีอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกันโดยตลอดปีที่ผ่านมา บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญอย่างมากกับการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาสายการผลิตและสายการ ตลาดการพัฒนาด้านผลิตภัณฑ์ และการบริหารจัดการทางด้านการเงินด้านการลงทุน และด้าน สินค้าคงคลัง ทัง้ นีเ้ พือ่ ความพร้อมส�ำหรับการแข่งขันและรองรับกับการขยายตัวของบริษทั ใน อนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้คือ แนวทางการสร้างการเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของบริษัทนั่นเอง ปัจจุบันประเด็นเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วมยังคง เป็นเรื่องที่บริษัทตระหนักและยึดมั่นอยู่บนรากฐานของการด�ำเนินธุรกิจมาโดยตลอด มีการ ก�ำหนดเป็นนโยบายหลักอย่างชัดเจนโดยบริษัทมีแนวคิดในลักษณะ 3 มิติคือ มิติที่ 1 การ ปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 2 การสร้างงานและพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ดีให้กับพนักงาน และมิติที่ 3 การมีส่วนร่วมที่จะเป็นแรงขับเคลื่อนสังคมให้ก้าวไปสู่การ พัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งทั้ง 3แนวคิดนี้จะถูกถ่ายทอดออกมาในรูปแบบโครงการต่างๆ อย่าง สร้างสรรค์และสอดรับกับสภาพแวดล้อมทางสังคมในปัจจุบันบริษัทมีหลากหลายโครงการที่ ก�ำลังด�ำเนินอยู่และเป็นโครงการต่อเนื่อง เช่น โครงการ 1,000,000 ต้นกล้าคืนความสมดุล สู่ป่าชายเลน โครงการธนาคารปู โครงการอนุรักษ์พลังงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ น�ำ้ โครงการทียเู อฟปันน�้ำใจสูบ่ า้ นเกิด และโครงการอิม่ บุญวันเกิดนอกจากนีบ้ ริษทั ยังร่วมก่อ ตั้ง International SeafoodSustainability Foundation เพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาและใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรสัตว์น�้ำอย่างยั่งยืน และให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติบนหลักการ ทางวิทยาศาสตร์ และส�ำหรับในปีหน้า บริษัทก็ยังจะด�ำเนินโครงการต่างๆ เหล่านี้ต่อไปอีก อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการคิดและสร้างสรรค์โครงการดีๆ ขึ้นมาใหม่ เพื่อประโยชน์ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมต่อไป ส�ำหรับช่วง 2-3 ปีทผี่ า่ นมา บริษทั ให้ความส�ำคัญมากกับกระบวนการพัฒนาบุคลากร เพื่อเพิ่มศักยภาพบุคลากรในองค์กรให้พร้อมรับกับการขยายตัวของธุรกิจ มีการจัดฝึกอบรม ให้กบั พนักงานด้วยหลักสูตรทีเ่ หมาะสมในทุกๆ ต�ำแหน่งสร้างทักษะการสือ่ สารระหว่างผูบ้ งั คับ บัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อเน้นการท�ำงานแบบมีส่วนร่วมให้มากขึ้นพยายามสร้างวิธีคิด หรือแนวคิดให้กบั พนักงานมากขึน้ เพราะการคิดจะท�ำให้เกิดการพัฒนาในสิง่ ใหม่ๆ บริษทั มุง่ หวังที่จะพัฒนาคน พร้อมๆ กับการสร้างคนเก่ง และคนดีต่อองค์กรและสังคมโดยรวม
5 รายงานประจ�ำปี 2553
Organization Chart โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบร�ษัท คณะกรรมการบร�ษัท
คณะกรรมการตร คณะกรรมการตรวจสอบ
ประธานกรรมการบร�หาร ประธานกรรมการบร�หาร
กลุมผลิตภัณฑปลา กรรมการผูจัดการ ผูจัดการทั�วไป รองผูจัดการทั�วไป
กลุมผลิตภัณฑปลา กลุมผลิตภัณฑกุง กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ ผูจัดการทั�วไป ผูจัดการทั�วไป รองผูจัดการทั�วไป รองผูจัดการทั�วไป
กลุมผลิตภัณฑกุง ผูจัดการทั�วไป สายสนับ ผูจัดการทั�วไป สายสนับสนุนองคกร กรรมการผูจัดการ ผูจัดการทั�วไป รองผูจัดการทั�วไป
ผูชวยผูจัดการทั�วไปสายการเงิน ผูชวยผูจัดการทั�วไปสายการเงิน ผูจัดการฝายการเงิน ผูจัดการฝายการเงิน ผูจัดการฝายบัญชี ผูจัดการฝายบัญชี พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำนวนทั้งสิ้น พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำนวนทั้งสิ้น 12,882 คน - พนักงานรายเดือน จำนวน - พนักงานรายเดือน จำนวน 1,144 คน - พนักงานรายวัน จำนวน - พนักงานรายวัน จำนวน 11,738 คน
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)
12,882 คน 1,144 คน 11,738 คน
Board of Directors คณะกรรมการบริษัท
1
นายไกรสร จันศิริ ประธานกรรมการ อายุ 75 ปี
2
นายชาน ฮอน กิต
รองประธานกรรมการ อายุ 70 ปี
3
นายเชง นิรุตตินานนท์ กรรมการบริหาร อายุ 70 ปี
ต�ำแหน่งงานอื่นในปัจจุบัน
ต�ำแหน่งงานอื่นในปัจจุบัน
ต�ำแหน่งงานอื่นในปัจจุบัน
• ประธานกรรมการ บริษทั ไทยรวมสินพัฒนา อุตสาหกรรม จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท รวมไทยอาหารทะเล จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริหาร บริษทั สงขลาแคนนิง่ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริหาร บริษัท ไทยยูเนี่ยน กราฟฟิกส์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เอ็มเพรส อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ภูเก็ตฟิชชิ่ง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท สมุยฟิชชิ่ง จ�ำกัด
• ประธานกรรมการ บริษัท สงขลาแคนนิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด จ�ำกัด •กรรมการบริหาร บริษัท ไทยรวมสินพัฒนา อุตสาหกรรม จ�ำกัด • กรรมการบรหิาร บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด • กรรมการบริหาร บริษัท ไทยยูเนี่ยน กราฟฟิกส์ จ�ำกัด
• ประธานกรรมการ บริษัท เอเซียนแปซิฟิคแคน จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท ลัคกี้ ยูเนี่ยน ฟู้ดส์ จ�ำกัด • กรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ บริษทั ไทยรวม สินพัฒนาอุตสาหกรรม จ�ำกัด • กรรมการบริหาร บริษัท ภูเก็ตฟิชชิ่ง จ�ำกัด • กรรมการบริหาร บริษัท สมุยฟิชชิ่ง จ�ำกัด • กรรมการบริหาร บริษัท พังงาฟิชชิ่ง จ�ำกัด • กรรมการบริหาร บริษัท สงขลาฟิชชิ่ง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟู้ดส์ จ�ำกัด
ต�ำแหน่งทางสังคม • ประธานที่ปรึกษาถาวร ชมรมนักธุรกิจไทย - จีน • รองประธาน หอการค้าไทย - จีน • รองประธาน สมาคมมิตรภาพไทย - จีน • รองประธานกิตติมศักดิ์ สหพันธ์วอลเล่ย์บอลแห่งเอเชีย • นายกสมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ถือ 114,137,590 หุ้น*
จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ถือ 2,500,000 หุ้น*
ต�ำแหน่งทางสังคม • กรรมการ บริษัท เอ็มเพรส อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน โฟรเซ่น ฟู้ดส์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท พีที จุยฟา อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ดส์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ยู่เฉียงแคนฟู้ด จ�ำกัด จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ถือ 58,580,640 หุ้น*
7 รายงานประจ�ำปี 2553
Corporate History and Development ประวัติและการพัฒนาการของบริษัท บริษัทเริ่มประกอบธุรกิจผลิตและส่งออกอาหารทะเลแช่แข็ง เมื่อปี 2531 ด้วยทุน จดทะเบียนเริ่มแรก 25 ล้านบาทจากนั้นในปี 2535 บริษัทได้ร่วมทุนกับบริษัท มิตซูบิชิ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด และ บริษัท ฮาโกโรโม่ ฟู้ดส์ จ�ำกัดซึ่งเป็นทั้งผู้จำ� หน่ายและลูกค้าของ บริษทั โดยทัง้ สองบริษทั มีสว่ นส�ำคัญในการช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานและสามารถ แข่งขันในตลาดโลกได้ ต่อมาในปี 2537 บริษัทได้แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน และเข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ส�ำหรับระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทได้มีการเพิ่มทุนอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน885,090,950 บาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยมีทุน ช�ำระแล้วเป็น 883,170,950 บาท หรือเท่ากับ 883,170,950 หุ้น จากระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทด�ำเนินการภายใต้ โครงสร้างการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ ประกอบกับความเชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจที่มีประสบการณ์อันยาวนาน พร้อมๆ กับวิสยั ทัศน์อนั ยาวไกลของคณะผูบ้ ริหารท�ำให้การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ประสบความส�ำเร็จ มีสถานะทางการเงินมั่นคงและแข็งแกร่ง ตลอดจนมีอัตราการเติบโตที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
วิสัยทัศน์ บริษทั มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเป็น “พ่อครัวของโลก” เป็นผูท้ เี่ ชีย่ วชาญด้านการปรุงอาหาร มุง่ คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมทางอาหารใหม่ๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้ บริโภคอย่างต่อเนื่อง
ภารกิจ
- เป็นผูผ้ ลิตทีค่ ำ� นึงถึงหลักโภชนาการทีด่ ี พร้อมใส่ใจในเรือ่ งรสชาติ ความสะดวก และ ความปลอดภัย ควบคูก่ บั ความห่วงใยในสิง่ แวดล้อม เพือ่ ความยัง่ ยืนอย่างต่อเนือ่ ง - รับฟังความคิดเห็น ความต้องการ ตลอดจนข้อเสนอแนะของลูกค้า สร้างความ พึงพอใจ และความเชื่อมั่นอย่างสูงสุดต่อลูกค้า - เป็นผู้ผลิตที่มีความเป็นธรรมและมีความรับผิดชอบ ได้รับความไว้วางใจ และการ ยอมรับจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกส่วน พร้อมสร้างความส�ำเร็จที่ยั่งยืนร่วมกัน - เป็นองค์กรที่มีชื่อเสียงด้านการเสริมสร้างพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ให้โอกาส การเติบโตในสายการท�ำงาน และพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น - เป็นองค์กรทีต่ ระหนักถึงความส�ำคัญของการดูแลและรักษาทรัพยากรทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน - สร้างความแข็งแกร่งในการด�ำเนินธุรกิจ และตราสินค้าเพือ่ ความเป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรม อาหารทะเลของประเทศไทยทีม่ บี ทบาทบนเวทีอตุ สาหกรรมอาหารทะเลในระดับโลก
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)
พัฒนาการของบริษัทในรอบปี 2552 1. การจัดสรรก�ำไรสุทธิจากผลการด�ำเนินงานส�ำหรับงวด6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน2552 เป็นเงินปันผลระหว่างกาลเท่ากับ 0.92 บาทต่อ หุน้ 15บริษทั ไทยยูเนีย่ น โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)ส�ำหรับทุนจดทะเบียนและช�ำระแล้ว จ�ำนวน 883,170,950 หุ้นรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 812,517,274 บาท ในวันที่ 31 สิงหาคม2552 2. การควบรวมทีมบริหารระหว่างบริษัท ไทร-ยูเนี่ยน โฟรเซ่นฟู้ดส์ จ�ำกัด เจ้าของ แบรนด์ “Chicken of the Sea FrozenFoods” และบริษัท เอ็มเพรส อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด เจ้าของแบรนด์ “Xcellent” ซึ่งทั้ง 2 บริษัทเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)ส�ำหรับการด�ำเนินการในครั้งนี้ ก็เพื่อความคล่องตัวในการบริหาร งาน และมีกลยุทธ์การด�ำเนินงานทีช่ ดั เจนมากขึน้ รวมถึงเพือ่ สร้างรากฐานทีแ่ ข็งแกร่งในตลาด สหรัฐอเมริกาให้รองรับกับแผนการด�ำเนินงานในอนาคต 3. การลงทุนตัง้ โรงงานแห่งใหม่ทรี่ ฐั จอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ของบริษทั ไทร-ยู เนี่ยน ซีฟู้ดส์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นเจ้าของตราสินค้า “Chicken of the Sea” เพื่อด�ำเนินการผลิตปลา ทูนา่ บรรจุกระป๋อง ทดแทนโรงงานทีอ่ เมริกนั ซามัว โดยเริม่ เปิดด�ำเนินการผลิตเป็นทีเ่ รียบร้อย ส�ำหรับแผนงานดังกล่าว จะท�ำให้ต้นทุนการผลิตลดลง และยังเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ดี ส�ำหรับโรงงานเดิมที่อเมริกันซามัวนั้น จะใช้เป็นห้องเย็นเพื่อเก็บวัตถุดิบแทน 4. การร่วมทุนของบริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด(มหาชน) กับบริษัท อะแวนติ ฟีด จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตอาหารกุ้งรายใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศอินเดีย จัดตั้ง บริษัทอะแวนติ ไทย อควอ ฟีดส์ จ�ำกัด ที่เมืองกูจารัต ประเทศอินเดีย เพื่อสร้างโรงงานผลิต อาหารกุง้ รองรับกับความต้องการทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในพืน้ ทีด่ า้ นตะวันตกของประเทศภายหลังจาก รัฐบาลอินเดียอนุญาตให้ผปู้ ระกอบการสามารถเลีย้ งกุง้ ขาวได้ ด้วยสัดส่วนร้อยละ 50.00 ของ ทุนจดทะเบียน 55.44 ล้านบาท 5. การร่วมทุนของบริษทั ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรมจ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของ บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่นโปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) กับบริษัท นิปปอน ซุยซัน ไคชาจ�ำกัด จากประเทศญี่ปุ่น เพื่อจัดตั้งบริษัท ทีเอ็น ฟายน์เคมีคอลส์ จ�ำกัด เพื่อด�ำเนินธุรกิจผลิตและ ส่งออกผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากอาหารทะเล โดยใช้เทคโนโลยีขนั้ สูงในการผลิต เช่น น�้ำมัน ปลาทูน่า น�้ำนึ่งปลาเข้มข้นและสารสกัดจากเปลือกกุ้งและเปลือกปูที่เรียกว่า สารกลูโคซามีน เป็นต้น ด้วยสัดส่วนร้อยละ 48.97 ของทุนจดทะเบียน 90 ล้านบาท ส�ำหรับน�้ำมันปลาทูน่าที่ผลิตได้นี้จะสามารถน�ำไปเป็นส่วนผสมในอาหารเด็กอ่อนได้ และช่วยเสริมสร้างเซลล์สมองของเด็กให้มีพัฒนาการที่ดีและมีความสมบูรณ์มากขึ้นส่วนสา รกลูโคซามีนที่ผลิตได้ก็สามารถน�ำไปท�ำเป็นยารักษาโรคข้อกระดูกเสื่อม ซึ่งจะช่วยหล่อลื่น ข้อกระดูก บรรเทาอาการเจ็บปวดของข้อกระดูกต่างๆ ได้
9 รายงานประจ�ำปี 2553
Investments In Subsidiaries and Associated Companies การลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จ�ำกัด (TUM) ส�ำนักงาน โทรศัพท์ / โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ / โทรสาร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้าร่วมลงทุน ชนิด/อัตราส่วน/จ�ำนวนหุ้นที่ถือ
979/13-16 ชั้นเอ็ม อาคารเอสเอ็มทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 66 (0) 2298-0025, 2298-0421-32 / 66 (0) 2298-0027 - 28 30/2 หมู่ 8 ถนนเศรษฐกิจ 1 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 66 (0) 3441-2210, 3481-6441-4 / 66 (0) 3442-5459 ผู้ผลิตและส่งออกปลาทูน่าบรรจุกระป๋อง และอาหารแมวบรรจุกระป๋อง 300,000,000.- บาท มูลค่าหุ้นละ 10.- บาท มีนาคม 2537 ลงทุนเพิ่ม มิถุนายน 2542 มีนาคม 2537 ลงทุนเพิ่ม มิถุนายน 2542
บริษัท สงขลาแคนนิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) (SC) ส�ำนักงาน โทรศัพท์ / โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ / โทรสาร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้าร่วมลงทุน ชนิด/อัตราส่วน/จ�ำนวนหุ้นที่ถือ
979/9-10 ชั้น 12 อาคารเอสเอ็มทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 66 (0) 2298-0029 / 66 (0) 2298-0442 - 3 333 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะวง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90100 66 (0) 7433-4005 - 8 / 66 (0) 7433-4009 ผู้ผลิตและส่งออกอาหารทะเลบรรจุกระป๋อง 360,000,000.- บาท มูลค่าหุ้นละ 10.- บาท ตุลาคม 2538 ลงทุนเพิ่ม มีนาคม 2542 หุ้นสามัญ ร้อยละ 90.44 หรือ 32,556,819 หุ้น
บริษัท ไทยยูเนี่ยน ซีฟู้ด จ�ำกัด (TUS) ส�ำนักงาน โทรศัพท์ / โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ / โทรสาร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้าร่วมลงทุน ชนิด/อัตราส่วน/จ�ำนวนหุ้นที่ถือ
979/8 ชั้น 12 อาคารเอสเอ็มทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 66 (0) 2298-0024 / 66 (0) 2298-0550 77 หมู่ 5 ถนนสงขลา-ระโนด ต�ำบลวัดขนุน อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา 90330 66 (0) 7448-3481 - 2 / 66 (0) 7448-3480 ผู้ผลิตและส่งออกกุ้งแช่แข็ง 400,000,000.- บาท มูลค่าหุ้นละ 10.- บาท ธันวาคม 2539 ลงทุนเพิ่ม มีนาคม 2548 และตุลาคม 2551 หุ้นสามัญ ร้อยละ 51.00 หรือ 20,400,000 หุ้น
บริษัท เอเซียนแปซิฟิคแคน จ�ำกัด (APC) ส�ำนักงาน โทรศัพท์ / โทรสาร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้าร่วมลงทุน ชนิด/อัตราส่วน/จ�ำนวนหุ้นที่ถือ
38/70 หมู่ 8 ถนนเศรษฐกิจ 1 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 66 (0) 3442-3401 - 6 / 66 (0) 3442-1493 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายกระป๋องเปล่าส�ำหรับบรรจุอาหาร 80,000,000.- บาท มูลค่าหุ้นละ 400,000.- บาท ธันวาคม 2536 หุ้นสามัญ ร้อยละ 90.50 หรือ 181 หุ้นลงทุนโดยบริษัท สงขลาแคนนิ่ง จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท ไทยยูเนี่ยน กราฟฟิกส์ จ�ำกัด (TUG) ส�ำนักงาน โทรศัพท์ / โทรสาร ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ปีที่เข้าร่วมลงทุน ชนิด/อัตราส่วน/จ�ำนวนหุ้นที่ถือ
85/14 หมู่ 4 ถนนพระราม 2 แขวงแสมด�ำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 66 (0) 2415-5808 - 9, 2895-5865 - 6 / 66 (0) 2415-4371 ผู้ให้บริการด้านงานพิมพ์ ด้วยระบบออฟเซ็ท แบบครบวงจร ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 40,000,000.- บาท มูลค่าหุ้นละ 10.- บาท กรกฎาคม 2538 ลงทุนเพิ่ม พฤษภาคม 2544 หุ้นสามัญ ร้อยละ 74.00 หรือ 2,960,000 หุ้น
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)
5-Year Comparative Financial Statistic สถิติผลการด�ำเนินงานในรอบ 5 ปี 2009 SALES BREADOWN
สัดส่วนของรายได้จากการขายปี 2552 50
40
41%
30
20
20%
10
9%
9% 6%
ปลาทูนา บรรจ�กระปอง
กุงแชแข็ง
อาหารแมว อาหารทะเล อาหารกุง บรรจ�กระปอง บรรจ�กระปอง
5%
4%
ผลิตภัณฑ ปลาทูนาสุก ที่ขายภายใน แชแช็ง ประเทศ
3%
3%
ปลาหมึก ปลาซาดีน/ แชแช็ง ปลาแมคเคอเรล บรรจ�กระปอง
2009 DISTRIBUTION การจัดจ�ำหน่ายปี 2552 50
40
41%
30
20
20%
10
9%
9% 6%
ปลาทูนา บรรจ�กระปอง
กุงแชแข็ง
อาหารแมว อาหารทะเล อาหารกุง บรรจ�กระปอง บรรจ�กระปอง
5%
4%
ผลิตภัณฑ ปลาทูนาสุก ที่ขายภายใน แชแช็ง ประเทศ
3%
3%
ปลาหมึก ปลาซาดีน/ แชแช็ง ปลาแมคเคอเรล บรรจ�กระปอง
11
รายงานประจ�ำปี 2553
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)
Nature of Main Business ลักษณะธุรกิจหลักของกลุ่มบริษัท ลักษณะของผลิตภัณฑ์หลักที่ส่งออก ผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าบรรจุกระป๋อง /บรรจุถุงสูญญากาศ / บรรจุภาชนะปิดผนึก เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการน�ำปลาทูน่าสดแช่แข็ง มาผ่านกระบวนการคัดสรรละลาย นึง่ ให้สกุ ด้วยไอน�้ำ และผ่านการแปรรูปเป็นชิน้ เนือ้ ทีส่ ะอาด ก่อนบรรจุกระป๋อง ถุงสูญญากาศ หรือภาชนะปิดผนึกอืน่ ๆ ตามความต้องการของลูกค้า แล้วเติมส่วนผสมทีเ่ พิม่ คุณค่าทางอาหาร และรสชาติ เช่นน�้ำเกลือ น�้ำมันดอกทานตะวัน น�้ำมันถั่วเหลือง น�้ำมันมะกอก หรือซอสปรุง รสชนิดต่างๆ เป็นต้น จากนัน้ สินค้าทีป่ ดิ ผนึกแล้วจะถูกน�ำมาผ่านกระบวนการสเตอริไลส์ และ ตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์กุ้งแช่แข็ง เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการน�ำกุ้งขาวแวนนาไม มาผ่านกระบวนการแปรรูปหรือน�ำมา ต้มตามกระบวนการผลิตทีไ่ ด้มาตรฐานก่อนน�ำไปแช่แข็งเพือ่ บรรจุใส่ภาชนะพร้อมกระจายสูผ่ ู้ บริโภคในตลาดทั่วโลก กุ้งแช่แข็งที่ผลิตมีทั้งประเภทกุ้งทั้งตัวแช่แข็ง กุ้งเด็ดหัวแช่แข็ง กุ้งไว้ หาง กุ้งที่เอาหัวและเปลือกออก กุ้งต้ม และกุ้งที่น�ำมาผลิตให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เช่น กุ้งซูชิ กุ้งชุบแป้ง นอกจากนี้ยังได้มีการผลิตกุ้งบรรจุถุง เพื่อเพิ่มความสะดวกให้แก่ผู้บริโภคในการ ปรุงอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลบรรจุกระป๋อง /บรรจุถุงสูญญากาศ / บรรจุภาชนะปิดผนึก เป็นผลิตภัณฑ์ทนี่ ำ� วัตถุดบิ อาทิ กุง้ ปู ปลาหมึก และหอยลาย ทีค่ ดั สรรแล้วมาแกะเปลือก ต้ม เติมน�ำ้ เกลือ แล้วน�ำไปบรรจุกระป๋อง ถุงสูญญากาศ หรือภาชนะปิดผนึกอืน่ ๆ จากนัน้ สินค้า ที่ปิดผนึกแล้วจะถูกน�ำมาผ่านกระบวนการสเตอริไลส์และตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ปลาซาร์ดีน และปลาแมคเคอเรลบรรจุกระป๋อง /บรรจุถุงสูญญากาศ เป็นผลิตภัณฑ์ที่น�ำปลาซาร์ดีนและปลาแมคเคอเรลสดจากทะเล และแช่เยือกแข็ง ทีไ่ ด้มาตรฐานจากในประเทศ และต่างประเทศมาคัดสรรคุณภาพ และท�ำความสะอาดก่อนบรรจุ กระป๋อง หรือถุงสูญญากาศตามความต้องการของลูกค้า จากนั้นน�ำไปนึ่งให้สุก แล้วเติมส่วน ผสมทีเ่ พิม่ คุณค่าทางอาหารและรสชาติ เช่น ซอสมะเขือเทศ น�ำ้ เกลือ น�ำ้ มันดอกทานตะวัน น�ำ้ มัน ถั่วเหลือง หรือน�้ำมันมะกอก เป็นต้น สินค้าที่ปิดผนึกแล้วจะถูกน�ำมาผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อ ระบบสเตอริไลส์ และตรวจสอบคุณภาพ
13 รายงานประจ�ำปี 2553
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าสุกแช่แข็ง เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการน�ำปลาทูน่าสดแช่แข็ง มาผ่านกระบวนการคัดสรร ละลาย นึง่ ให้สกุ ด้วยไอน�ำ้ และผ่านการแปรรูปเป็นชิน้ เนือ้ ทีส่ ะอาดตามมาตรฐานของลูกค้า ก่อนบรรจุ ในถุงสูญญากาศ แล้วจึงน�ำไปแช่แข็งเพือ่ รักษาคุณภาพของสินค้าก่อนส่งจ�ำหน่ายทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ ส�ำหรับวัตถุดิบปลาทูน่าที่ใช้ในการผลิตนั้น จะมีหลายสายพันธุ์ เช่น สกิป แจ็คเยลโลว์ฟิน อัลบาคอร์ เป็นต้น ซึ่งได้มาจากทะเลน�้ำลึกโดยการน�ำเข้าจากต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์ปลาหมึกแช่แข็ง เป็นผลิตภัณฑ์ที่น�ำปลาหมึกสดจากทะเล และวัตถุดิบแช่เยือกแข็งที่ได้มาตรฐานโดย น�ำเข้าจากต่างประเทศ มาผ่านกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ผสมผสานความช�ำนาญ เทคนิคในการผลิต และใส่ใจในคุณภาพ เพือ่ ให้คงรสชาติจากทะเล โดยน�ำมาแปรรูปเป็นสินค้า มูลค่าเพิ่มที่ได้มาตรฐานตามความต้องการของลูกค้า เช่น ซาชิมิ ปลาหมึกชุบแป้ง เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ปลาแซลมอนแช่แข็ง เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปลาแซลมอน ที่ผ่านการคัดสรรตามมาตรฐานคุณภาพจาก ประเทศนอร์เวย์ และชิลี ซึ่งอุดมคุณค่าไปด้วยโปรตีน และโอเมก้า 3 มาผ่านกระบวนการ แปรรูปและเพิ่มมูลค่า ด้วยเทคนิคในการผลิตที่เชี่ยวชาญ และช�ำนาญ ท�ำให้สามารถพัฒนา จนเป็นสินค้าหลากหลาย ที่ยังคงความสดและรสชาติของเนื้อปลาได้อย่างดีเยี่ยม ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมรับประทาน เป็นผลิตภัณฑ์อาหารปรุงส�ำเร็จรูปแช่แข็ง ที่ผ่านการคัดสรรวัตถุดิบคุณภาพชั้นดี มาประกอบกับเครือ่ งปรุงชัน้ เยีย่ มทีส่ ง่ ตรงมาจากแหล่งผลิตจากต่างประเทศส�ำหรับเมนูอาหาร นานาชาติ หรือสมุนไพรไทยที่อุดมไปด้วยคุณค่า ส�ำหรับเมนูอาหารไทยสูตรต้นต�ำรับ จากนั้น น�ำมาผ่านกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ถูกหลักอนามัย คงความอร่อยเหมือนปรุงเสร็จ ใหม่ๆ โดยมีช่องทางการจัดจ�ำหน่ายทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์เลี้ยงบรรจุกระป๋อง /บรรจุถุงสูญญากาศ / บรรจุภาชนะปิดผนึก เป็นการน�ำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเนื้อปลาทูน่าสุก มาคลุกเคล้ากับวัตถุดิบหรือส่วนผสม อื่นๆ ที่เพิ่มคุณค่าทางอาหารและรสชาติ ตามความต้องการของลูกค้า ก่อนบรรจุกระป๋อง ถุงสูญญากาศหรือภาชนะปิดผนึกอื่นๆ แล้วน�ำมาผ่านกระบวนการสเตอริไลส์ และตรวจสอบ คุณภาพ
15 รายงานประจ�ำปี 2553
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน)