DeeTravel T H A I L A N D เทีย ่ วไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน Part2 “สัมผัสการทองเที่ยวอยางลึกซึ้ง สนุกตามสไตล แบบวิถีชีวิต วิถีไทย” นครพนม บึงกาฬ บุรีรัมย มุกดาหาร เลย ศรีสะเกษ สุรินทร หนองคาย อํานาจเจริญ อุบลราชธานี
THAILAND
THAILAND
แสกนปุบ วาฟปบ
แนะนำการใชงานหนังสือ DeeTravelThailand
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
เมื่อทานพบเห็นสัญลักษณ Qrcode scan me ทานสามารถคนหาขอมูลเพิ่มเติมไดบนเว็บไซต รับชมวีดีทัศนและอีกมากมาย บนเว็บไซตของเรา
วิธีสแกนรหัส QR โทรศัพทระบบ Android 1. เปด Play Store ของ Android 2. พิมพ QR code reader ในชองคนหา แลวแตะปุม search. จะเห็นรายชื่อแอพ สำหรับสแกน QR code ทั้งหมด 3. แตะ QR Code Reader ของคาย Scan. 4. แตะ Install. ...แตะ Accept. 5. เปดโปรแกรม QR Code Reader. 6. เล็งให QR code พอดีกับเฟรมกลอง. 7. แตะ OK เพื่อเปดเว็บ.
โทรศัพทระบบ ios 1. เปดแอพกลองจากหนาจอโฮม ศูนยควบคุม หรือหนาจอล็อค 2. เลือกกลองหลัง ถืออุปกรณของคุณเพื่อให รหัส QR ปรากฏขึ้นในชองมองภาพใน แอพกลอง อุปกรณของคุณจะจดจำรหัส QR และแสดงการแจงเตือน 3. แตะการแจงเตือนเพื่อเปดลิงกที่เชื่อมโยง กับรหัส QR
DeeTravelThailand บริษัท ดีทราเวลเลอร์ไทย จำ�กัด 42/22 ถนนอินจันทร์ณรงค์ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31000 โทรศัพท์ 09-2992-1966 E-mail deetravellerthai@gmail.com www.deetravel.co ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรอุมา พิชยะสุนทร นางกิ่งแก้ว ไทยธรรม คณะที่ปรึกษา นายธนิพัทธ์ ธรเลิศพิมล บรรณาธิการ นายณัฏฐพัฒน์ แจ่มจันทร์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานและสื่อสารองค์กร นายกษิดิส ไทยธรรม ผู้จัดการฝ่ายธุรการ นายไพรัตน์ กลัดสุขใส นายธนวรรษ เชวงพจน์ ที่ปรึกษาผู้จัดการฝ่ายประสานงาน นายชัยวิชญ์ แสงใส นายพงศธร วงษ์ศรีษะ นายวัฒนา จันทร์เจริญ นายเสฐลัทธ์ ปัตตังเว ช่างภาพ นายถาวร นนทะชัย นางสาวชัชญาณิช วิจิตร นางสาวภัชชนก พิชัย นางสาวกาญจนาพร สิทธิวงศ์ ฝ่ายประสานงาน นายชัยวิชญ์ แสงใส นางสาวธนภรณ์ จันทร์เจริญกิจ นางสาวสุพัตรา ถ�้ำทอง นางสาวชัชญาณิช วิจิตร นางสาวศรีสุดา ฉัตรทอง ออกแบบ นางสาวญาดา ทวยหาญศักดิ์ทวี ตัดต่อวีดีโอ
โครงการส่งน�้ำและบำ�รุงรักษาลำ�นางรอง พระราชดำ�ริในพระองค์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตำ�บลโนนดินแดง อำ�เภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการเกษตรอทิตยาทร โครงการพิเศษในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ ที่ทรงตั้งพระทัยให้เป็นศูนย์เรียนรู้การเกษตรในพระดำ�ริ
“ซแรย์ อทิตยา” ตั้งอยู่ใกล้บริเวณอ่างเก็บน�้ำอำ�ปึล ตำ�บลเทนมีย์ อำ�เภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
เอเรน บูท ีค โฮเทล
สัมผัสบรรยากาศโรแมนติก ภายใต้มนต์เสน่ห์แห่งอีสาน ณ ใจกลาง อ.ประโคนชัย จ.บุรรี มั ย์ โรงแรม Eireann ซึ่งเป็นที่รู้จักดีที่นักท่องเที่ยว สามารถเดินทางได้ สะดวก บริเวณรอบๆ โรงแรม มีทงั้ แหล่งช้อปปิง้ ร้านอาหาร และสถานบันเทิงต่างๆ ซึ่งสามารถ เดินทางได้จากโรงแรม ทีส่ ำ� คัญโรงแรมยังตัง้ อยูใ่ กล้ ร้านค้า โรงพยาบาล และห้างสรรพสินค้า เราให้ บริการห้องพักทีส่ ะดวกสบายจ�ำนวน 44 ห้อง ซึง่ จะ เป็นทางเลือกหนึ่งในการเดินทางไม่ว่าจะพักผ่อน หรือติดต่องาน
HOTEL เรามีหอ้ งพักให้บริการจ�ำนวน 44 ห้อง ซึ่ ง ได้ รั บ การออกแบบที่ เ รี ย บง่ า ย ทันสมัย โดยมีหน้าต่างเป็นรูปตัวแอล พร้อมวิวตัวเมือง รวมถึงอุปกรณ์ใน ห้องพัก ดังนี้ พนักงานต้อนรับ 24 ชัว่ โมง ฟรีการเชือ่ มต่ออินเตอร์เน็ต ห้องออกก�ำลังกาย ทีจ่ อดรถ ห้องอาหาร การท�ำความสะอาดห้องพัก บริการซักแห้ง รับส่งสนามบิน
ทีอ่ ยูข่ องโรงแรม
299 หมู่ 10 ต�ำบลประโคนชัย อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ 31140 เบอร์โทรศัพท์
โทรศัพท์: +66 4 466 6199 โทรสาร: +66 4 466 6808 มือถือ: +66 8 7 493 9919 อีเมลของโรงแรม
info@eireannhotel.com
DeeTravel Thailand Vol.2
CONTENTS เทีย ่ วไทยหลายวิถี
10 ถิ่นดี ณ อีสาน
24 จังหวัดนครพนม
26 สารผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม 28 ชวนไหว้พระธาตุประจำ�วันเกิด 30 10 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� 32 แนะนำ�ที่พัก 34 แนะนำ�ร้านอาหาร + ร้านกาแฟ 36 วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร 38 สำ�นักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดนครพนม 40 สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครพนม 41 สำ�นักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดนครพนม 42 ท้องถิ่นโนนตาล 43 ท้องถิ่นศรีสงคราม 44 อบต.หนองเทา 45 ท้องถิ่นอุ่มเหม้า
48 จังหวัดบึงกาฬ 50 สารผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬ 52 8 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� 56 แนะนำ�ที่พักและร้านอาหาร 58 วัดโพธาราม
62 จังหวัดบุรีรัมย์ 66 13 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� 70 แนะนำ� 11 ที่พัก 72 แนะนำ�ร้านกาแฟและร้านอาหาร 74 สำ�นักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดบุรีรัมย์ 76 วัดกลาง พระอารามหลวง 78 วัดท่าสว่าง 80 วัดหนองไผ่น้อย 82 วัดโพธิ์ทองบ้านยาง 84 วัดตลาดชัย 86 วัดโนนดินแดงใต้ 88 วัดหนองบัวทอง 90 วัดหนองไทร 92 วัดเทพนรสิงห์ 94 วัดเขาพระอังคาร 96 ที่พักสงฆ์บ้านแสลงคง-โคกเพชร 98 อบต.บ้านยาง
102 อบต.หนองบัวโคก 104 อบต.ไพศาล 106 อบต.เมืองฝ้าย 110 อบต.โคกล่าม 114 อบต.เมืองแฝก
124 จังหวัดมุกดาหาร 126 สารผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร 128 7 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� 132 แนะนำ�ที่พักและร้านอาหาร 134 วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ 136 สำ�นักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดมุกดาหาร
142 จังหวัดเลย
144 สารผู้ว่าราชการจังหวัดเลย 146 15 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� 152 แนะนำ�ที่พักและร้านอาหาร 154 สำ�นักงานท้องถิ่นจังหวัดเลย
160 จังหวัดศรีสะเกษ 162 สารผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ 164 9 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� 170 สำ�นักงานท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ 174 สารนายอำ�เภออุทุมพร 176 แนะนำ� 6 ที่พัก 178 แนะนำ�ร้านอาหาร 179 คาเฟ่ราคอตต้า 180 วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม 182 วัดมหาพุทธาราม 184 ไหว้พระ 5 วัดศรีสะเกษ 186 วัดป่าศรีมงคลรัตนาราม 190 องค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งไชย 192 ท้องถิ่นน�ำ้ อ้อม
196 จังหวัดสุรินทร์ 198 สารผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ 200 9 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� 204 แนะนำ� 6 ที่พัก 205 แนะนำ�ร้านกาแฟและร้านอาหาร 206 วัดศาลาลอย พระอารามหลวง 208 สำ�นักงานท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์ 210 สำ�นักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสุรินทร์ 211 สารผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์อัครเดช สุพรรณฝ่าย 212 สารผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์สุดใจ สะอาดยิ่ง 214 องค์การบริหารส่วนตำ�บลช่างปี่ 216 องค์การบริหารส่วนตำ�บลสะกาด 220 องค์การบริหารส่วนตำ�บลสลักได 224 องค์การบริหารส่วนตำ�บลแจนแวน 228 องค์การบริหารส่วนตำ�บลยาง 232 ท้องถิิ่นเมืองลีง 233 ท้องถิ่นบักได
236 จังหวัดหนองคาย 238 สารผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย 240 11 สถานที่ท่องเที่ยว 244 แนะนำ�ที่พักและร้านอาหาร 246 วัดโพธิคำ์ �
250 จังหวัดอำ�นาจ 252 สารผู้ว่าราชการจังหวัดอำ�นาจเจริญ 254 8 สถานที่เที่ยวแนะนำ� 258 แนะนำ� 4 ที่พัก 259 แนะนำ�ร้านอาหาร 260 วัดแนะนำ�จังหวัดอำ�นาจเจริญ 262 สำ�นักงานท้องถิ่นจังหวัดอำ�นาจเจริญ
264 เทศบาลตำ�บลพนา 268 องค์การบริการส่วน ตำ�บลดงบัง
274 จังหวัดอุบลราชธานี 276 สารผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี 278 15 สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� 282 แนะนำ� 7 ที่พัก 283 แนะนำ�ร้านกาแฟ 284 4 วัดแนะนำ�จังหวัดอุบลราชธานี 286 วัดมณีวนาราม 288 วัดหนองหลัก 290 วัดน�้ำยืน 292 วัดหนองสองห้อง 294 วัดหนองดุม 296 เส้นทางบุญ เส้นทางธรรม 10 วัดเขมราษฎร์ธานี 308 สำ�นักงานท้องถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี 310 สารผู้ทรงคุณวุฒิ นายกริชชัย ศิลปรายะ 312 5 ท้องถิ่นวิถีพัฒนา
314 องค์การบริหารส่วนตำ�บลยาง 316 องค์การบริหารส่วนตำ�บลพังเคน 320 เทศบาลตำ�บลโพธิ์ไทร 324 องค์การบริหารส่วนตำ�บลโพธิ์ไทร 330 วัดรัชฎาธิษฐานราชวรวิหาร
1
2
KLIM HOTEL
THADA CHATEAU HOTEL
โรงแรมธาดาชาโตว์
โรงแรมคลิม
10
10 recommended hotels
เลขที่ 1/114-115 ถ.หน้าสถานี ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000
klimcoffee@gmail.com www.Facebook.com/Klimhotel @klimhotel 0-4460-1989
โรงแรม น่าพัก
เลขที่ 219 ม.18 ถ.บุรรี มั ย์-ประโคนชัย ต.อิสาณ อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000 thadachateau@gmail.com
แนะนำ�โดย DeetravalThailand
4
Thada Chateau Hotel โรงแรมบุรรี มั ย์
0-4466-6616
SORIN BOUTIQUE HOTEL
โรงแรมโซริน บูติค
3
5
VIENG KHONG HOTEL
โรงแรมเวียงโขง
เลขที่ 189 ถ.ส�ำราญชายโขงใต้ ต.ศรีบุญเรือง อ.เมือง จ.มุกดาหาร
โรงแรม เวียงโขง มุกดาหาร www.viengkhong.com 09-6686-0045
LAE KHONG RIVER RESORT
โรงแรมแลโขง ริเวอร์ รีสอร์ท
เลขที่ 22/88 ถ.เทศบาล 3 ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.สุรนิ ทร์ 32000 sorin_boutiquehotel@hotmail.com Sorin Hotel www.sorinhotel.com 0-4406-0188
เลขที่ 6/3 ม.11 ต.เขมราฐ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี 34170 laekhong_111@outlook.co.th Lae Khong River Resort www.laekhongresort.com 08-7111-2836
6
7
NA THATPHANOM PLACE
โรงแรม ณ ธาตุพนม เพลส
UNITY HOTEL
โรงแรมยูนติ ี้
10
10 recommended hotels
เลขที่ 117 ม.10 ถ.ชยางกูร ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จ.นครพนม 48110 thatphanomplace@gmail.com
โรงแรม ณ ธาตุพนม เพลส 08-1504-7899
โรงแรม น่าพัก
แนะนำ�โดย DeetravalThailand
9
SLIVE HOTEL
เลขที่ 1325/202 ถ.ราชการรถไฟ 2 ซ.ประชาราษฎร์บำ�รุง ต.เมืองเหนือ อ.เมืองฯ จ.ศรีสะเกษ 33000 Unity Hotel 0-4561-4040 09-2645-9195
โรงแรมสลีฟ
8
10 SIAMGRAND HOTEL
LA VIVA HOTEL BURIRAM
โรงแรมลาวีว่า บุรีรัมย์
เลขที่ 36/67/1 ซ.แสนสุข 3 ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรีรัมย์ 31000 lavivahotel979@gmail.com La Viva Hotel,Buriram 0-4461-3979
โรงแรมสยามแกรนด์
เลขที่ 169 ถ.หลักเมือง ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.สุรินทร์ 32000 slivesurin@gmail.com Slive Hotel Surin www.slivehotel.com 0-4406-0323
เลขที่ 218/3 ถ.นครพนม - ท่าอุเทน อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000 siamgrandhotel@hotmail.co.th Siamgrand Hotel Nakhonphanom www.siamgrandhotel.net 08-8562-7750
18
ท้องถิ่น วิถีพัฒนา องค์การบริหารส่วน ต�ำบลดงบัง นายอุเทน กาเผือก
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลดงบัง
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“ชุมชนน่าอยู่ เศรษฐกิจพัฒนา ส่งเสริมการศึกษา ร่วมรักษาธรรมชาติป่าชุมชน”
เทศบาลต�ำบลพนา ว่าที่พันตรีเผชิญลาภ อินทรจันทร์ นายกเทศมนตรีต�ำบลพนา
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลโพธิ์ไทร
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“ภายใน ปี 2565 คุณภาพชีวิตของ ชาวเทศบาลต�ำบลพนาจะดีขึ้นทุกด้าน เป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) สะอาดน่าอยู่ เสริมสร้างภาคีเครือข่าย พัฒนาควบคู่กับการบริหารจัดการ ที่เป็นเลิศสู่มาตรฐานสากล”
นายพิทักษ์ โสดา
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ไทร
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“คมนาคมสะดวก การบริการและสาธารณูปโภค ทั่วถึง เกษตรกรรมยั่งยืน พัฒนาการศึกษา เศรษฐกิจ และแหล่งท่องเที่ยว สร้างชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ สูตรต�ำบลสร้างเสริมสุขภาวะ”
เทศบาลต�ำบลโพธิ์ไทร ว่าที่พันตรี จรูญ เจริญสุข นายกเทศมนตรีต�ำบลโพธิ์ไทร
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“สร้างภูมิทัศน์ พัฒนามีส่วนร่วม ผดุงความเป็นธรรม น�ำโพธิ์ไทรก้าวหน้า มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลยาง นายสังคม สุทธัง
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลช่างปี่
วิสัยทัศน์การพัฒนา
นายสุธี บูรณ์เจริญ
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลยาง เมืองแห่งผลไม้ พืชไร่เศรษฐกิจ แหล่งผลิตพันธุ์ ข้ า วหอม ล� ำ ซอมน�้ ำ ใส งานใหญ่ ส งกรานต์ อุ ท ยานธรรมะ ศิ ล ปะลายไทย น�้ ำ ใจอารี ประเพณีงดงาม
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลช่างปี่
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สืบสานต�ำนานปราสาทช่างปี่ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลแจนแวน นายวีระชัย มีสติ
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแจนแวน
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลสลักได นายมานพ แสงคำ�
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสลักได
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“ต�ำบลสลักไดน่าอยู่ อยู่ดีมีสุข เครือข่ายเข้มแข็ง ชุมชนสามารถจัดการตัวเองได้”
วิสัยทัศน์การพัฒนา
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลสะกาด นายเมธา ขอชัย
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบตั หิ น้าทีน่ ายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสะกาด
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“บ้านเมืองน่าอยู่ ยกชูวัฒนธรรม มุ่งมั่นเกษตรกรรมพึ่งตนเอง พร้อมเปลี่ยนแปลงสู่อาเซียน”
“ข้าวมะลิลือเลื่อง เมืองเกษตรอินทรีย์ มากมีผ้าไหมไทยกวย งามด้วยวัฒนธรรม”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลบ้านยาง
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนองบัวโคก
นายสุรศักดิ์ สมบูรณ์รัมย์
นายพัสกร แกล้วกล้า
วิสัยทัศน์การพัฒนา
วิสัยทัศน์การพัฒนา
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านยาง “บ้านยางเป็นเมืองน่าอยู่ คู่สังคมเกษตรที่ดี เศรษฐกิจก้าวหน้า พัฒนาการศึกษา เป็นชุมชนเข้มแข็ง ส่งเสริมสิ่งแวดล้อม พร้อมภูมิปัญญาท้องถิ่น”
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัวโคก “ต�ำบลหนองบัวโคก เป็นเมืองน่าอยู่คู่คุณธรรม มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี ปราศจากมลพิษ เศรษฐกิจยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็ง”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลทุ่งไชย นายสมมาศ ถาวร
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุง่ ไชย
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“ รู้หน้าที่ มีวินัย ใจสะอาด ”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลไพศาล นายมงคล บุญประกอบ
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“ต�ำบลไพศาลเมืองน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง คนมีคุณภาพ และการบริหารจัดการที่ดี แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สุขภาพดี ส่งแวดล้อมดี”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลโคกล่าม นายบุญมา โคกสนาม
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกล่าม
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“อาชีพมั่นคง เศรษฐกิจมั่งคั่ง การศึกษาก้าวล�้ำ แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ วัฒนธรรมน�ำใจ สังคมเป็นสุข”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลเมืองฝ้ าย นายทวี พยัคฆา
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองฝ้าย
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“เป็นเมืองน่าอยู่ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความรูค้ คู่ ณ ุ ธรรม เศรษฐกิจมัน่ คง ชุมชนเข้มแข็ง สิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์สวยงาม”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลเมืองแฝก นางจุฑามาศ ซารัมย์
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองแฝก
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“เมืองแฝกน่าอยู่ คู่เกษตรอินทรีย์ ถิ่นดีผ้าไหม ใส่ใจการศึกษาพัฒนาสิ่งแวดล้อม พร้อมส่งเสริมวัฒนธรรม”
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลพังเคน นายพินิจศักดิ์ คำ�วัน
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลพังเคน
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลยาง นายศักดินันท์ สุภัควรางกูร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลยาง
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง หล่ อ เลี้ ย งชุ ม ชน การศึกษาก้าวหน้า ล�้ำค่าเกษตรอินทรีย์ มีดีแหล่งท่องเที่ยว”
วิสัยทัศน์การพัฒนา
องค์การบริหารส่วน ต�ำบลทุ่งกระเต็น นายบุญธรรม นนตานอก
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งกระเต็น
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“เส้นทางสายยุทธศาสตร์ 24 ปราชญ์กลองยาวและ ดนตรี ฝี มื อ ล�้ ำ ทอเสื อ กก ขี่ ม ้ า เล่ น ชมธรรมชาติ พลังงานสะอาดโซล่าเซลล์ งามเลิศล�ำ้ อ่างทุง่ กระเต็น”
“เป็น อบต.ที่มีการสาธรณูปโภคครบถ้วน ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี สืบสานวัฒธรรมประเพณีท้องถิ่น ดีเด่นด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม พร้อมเป็บแบบอย่างที่ดีในการบริหารจัดการ”
Phra That Phanom the most sacred shrine. Divided various Tradition. Renu Phu Thai tribe. Wonderful Illuminated boat procession. Magnificent along the Mekong riverside.
“พระธาตุพนมค่าล�้ำ วัฒนธรรมหลากหลาย เรณูผู้ไท เรือไฟโสภา งามตาฝั่งโขง”
24
Nakhon Phanom
25
จังหวัด
นครพนม
จังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดเล็ก ๆ ริมฝั่งแม่น�้ำโขง ในดินแดน ทีร่ าบสูง อดีตเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีโคตรบูรณ์อนั รุง่ เรือง แรกทีเดียว ตัวเมืองตั้งอยู่ทางฝั่งซ้ายของล�ำน�้ำโขง (ฝั่งลาว) บริเวณทางใต้ปากเซบั้งไฟ ตรงข้ามกับอ�ำเภอพระธาตุพนมในปัจจุบนั ตามอุรงั คนิทานหรือต�ำนานพระ ธาตุพนม (พิสดาร) ของพระธรรมราชานุวตั รอดีตเจ้าอาวาสวัดพระธาตุพนม ได้เรียบเรียงไว้ตอนหนึ่งว่าสมัยพุทธกาลพระพุทธเจ้าได้เสด็จมาโปรดสัตว์ ที่ แ คว้ น ศรี โ คตรบู ร มี พุ ท ธท� ำ นายว่ า เมื่ อ พระองค์ ป ริ นิ พ พานไปแล้ ว เมืองศรีโคตรบูรณ์จักย้ายไปตั้งที่ “ป่าไม้รวก” มีนามว่า “เมืองมรุกขนคร” ซึ่งสันนิษฐานกันว่าหมายถึงเมืองที่อยู่ในดงไม้รวกตามสภาพภูมิประเทศที่ สร้างบ้านแปงเมืองนั้นเองประมาณ พ.ศ. 500 สมัยพญาสุมิตรธรรมผู้ครอง เมืองมรุกขนคร เป็นกษัตริย์ผู้มีจิตศัรทธาต่อพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า มีการบูรณะพระธาตุพนมขึน้ เป็นครัง้ แรก โดยก่อพระลานอูบมุงชัน้ ที่ 1 และ ชั้ น ที่ 2 แล้ ว สร้ า งก� ำ แพงล้ อ มรอบมี ง านฉลองสมโภชอย่ า งมโหฬาร ซึง่ พระอุรงั คธาตุได้แสดงปาฎิหารย์อศั จรรย์ยงิ่ ท�ำให้พญาสุมติ รธรรมบังเกิด ความปีตโิ สมนัสมาก นอกจากถวายทรัพย์สนิ มีคา่ มากมายเป็นพุทธบูชาแล้ว ยังมอบหมายให้หมู่บ้านทั้ง 7 แห่งในเขตแดนนั้นเป็นผู้ดูแลรักษาองค์ พระธาตุ หลังจากพญาสุมติ รธรรมมีผคู้ รองนครต่อมาอีก 2 พระองค์ ก็เกิด เหตุอาเพศแก่อาณาจักรศรีโคตรบูรจนกลายเป็นเมืองร้าง กระทั่งถึง
26
พ.ศ. 1800 เจ้าศรีโคตรบูร ได้สร้างเมืองมรุกขนครขึน้ ใหม่ใต้เมืองท่าแขก บนฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขง ใน พ.ศ. 2057 สมัยพระเจ้านครหลวงพิชิตทศพิศ ราชธานีศรีโคตรบูรได้เปลี่ยนชื่อเมืองใหม่กลายเป็น “เมืองศรีโคตรบรู” ตรงตามชือ่ อาณาจักรเดิม ในสมัยนีย้ งั มีการบูรณปฎิสงั ขรณ์พระธาตุพนม เรือ่ ยมาจนถึง พ.ศ. 2280 พระธรรมราชาเจ้าเมืองศรีโคตรบูรองค์สดุ ท้าย ได้ย้ายเมืองมาตั้งบนฝั่งขวา (ฝั่งไทย) เยื้องเมืองเก่าไปทางเหนือแล้ว ขนานนามเมืองใหม่ว่า “เมืองนคร” จากนั้นมีการโยกย้ายชุมชนเมือง อีกหลายครั้ง พ.ศ. 2321 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้มี การย้ายเมืองมาตั้งที่บ้านหนองจันทร์ห่างขึ้นไปทางเหนือ 52 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2333 รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์เมืองนครก็ได้ขอขึ้นตรงต่อ กรุ ง เทพมหานคร โดยพระองค์ ท รงพระราชทานนามใหม่ ขึ้ น ว่ า “นครพนม” ชื่อนครพนมนั้นมีข้อสันนิษฐานประการหนึ่งว่า เมืองนคร เคยเป็นเมืองลูกหลวงมาก่อนและมีความส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ จึง ได้ใช้ชื่อว่า นคร ส่วนค�ำว่า พนม ก็มาจากพระธาตุพนม ปูชนียสถาน ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองมาช้านาน หรืออีกนัยหนึ่งคือ เดิมเมืองมรุกขนครตั้ง ้ เวณทีม่ ภี เู ขาสลับซับซ้อน จึงน�ำค�ำว่า พนม อยูท่ างฝัง่ ซ้ายแม่นำโขงในบริ ซึ่งแปลว่าภูเขามาใช้ นครพนม จึงหมายความถึง เมืองแห่งภูเขา
จังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดที่มีความผูกพันกับ ความเชื่อด้านประเพณี ศาสนาและวัฒนธรรมที่หลากหลายทั้ง ประเพณีของไทยและของชนเผ่าต่าง ๆ นครพนมมีศาสนสถาน ที่ส�ำคัญ คือ องค์พระธาตุพนม ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของ พุทธศาสนิกชนชาวไทยและทัว่ โลก และยังมีองค์พระธาตุประจ�ำ วันเกิดรวมทั้งหมด 8 พระธาตุ องค์พญาศรีสัตตนาคราช ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณริ ม แม่ น�้ ำ โขงในตั ว เมื อ งนครพนม และยั ง มี วัฒนธรรมแต่ละชนเผ่าที่หลากหลาย วัฒนธรรมการแต่งกาย การกิน วัฒนธรรมการด�ำรงชีวิต การก่อสร้างอาคารบ้านเรือน ซึง่ นครพนมมีอาคารบ้านเรือนทีเ่ ป็นอนุสรณ์จำ� นวนมากทีต่ งั้ อยู่ ริมแม่น�้ำโขง เช่น จวนผู้ว่าราชการจังหวัดหลังเก่า ที่เคยเป็น ทีป่ ระทับของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร หรือ ศาลากลางหลังเก่า ปัจจุบนั เป็นหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง อีก ประการที่ ส� ำ คั ญ ก็ คื อ การท่ อ งเที่ ย วในช่ ว งเทศกาลทาง วัฒนธรรมต่าง ๆ เช่น ออกพรรษา เทศกาลปีใหม่ หรือ เทศกาล สงกรานต์ และอีกแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญ คือ สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาวแห่งที่ 3 ซึ่งเป็นการออกแบบทางสถาปัตยกรรมที่ สวยงาม จังหวัดนครพนม เป็นที่กล่าวขานว่าเป็นจังหวัดที่ สวยงาม 3 ที่สุด คือ ศักดิ์สิทธิ์ที่สุด คือองค์พระธาตุพนม งาม ที่สุด คือ ธรรมชาติที่สวยงามและทิวทัศน์ริมสองฝั่งโขง สวย ที่สุด คือ สะพานมิตรภาพ ไทย - ลาวแห่งที่ 3 ที่เชื่อมโยง ระหว่ า ง จั ง หวั ด นครพนม – แขวงค� ำ มวน สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ดังนั้นจึงอยากเชิญชวนนักท่อง เที่ยวมาสัมผัสความหลากหลายทางวัฒนธรรมและแหล่งท่อง เที่ยวที่สวยงาม
นายสยาม ศิริมงคล ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม
27
พระธาตุพนม
พระธาตุประจ�ำวันอาทิตย์
1
ว่ากันว่าถ้าใครได้มานมัสการพระธาตุครบ 7 ครั้ง จะถือว่าเป็น “ลูกพระธาตุ” เป็นสิริมงคลแก่ชีวิตและจะมี ความเจริญรุ่งเรือง ที่ตั้ง: 183 หมู่13 ถนนชยางกูร ต�ำบลธาตุพนม อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 48110
2
พระธาตุเรณู
พระธาตุประจ�ำวันจันทร์
คนที่เกิดวันจันทร์มักเป็นคนมีเสน่ห์ใครได้กราบไหว้จะมี รูปงามผ่องใส ซึ่งตรงกับลักษณะของเทพประจ�ำวันจันทร์ ที่ตั้ง: ต�ำบลเรณู อ�ำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม 48170
ชวนไหว้ 8 พระธาตุ พระธาตุศรีคูณ
พระธาตุประจ�ำวันอังคาร
3
เทพประจ�ำวันอังคาร ซึ่งเป็นนักต่อสู้ คนที่เกิดวันนี้ จะเป็นนักสู้ มีน�้ำอดน�้ำทน เชื่อว่าใครได้ไปสักการะจะได้ อานิสงส์ทวีคูณ จิตเข้มแข็งขึ้น ที่ตั้ง: ต�ำบลนาแก อ�ำเภอนาแก จังหวัดนครพนม 48130
4 พระธาตุประจ�ำวันพุธ
พระธาตุมหาชัย
ผู้ที่ไปนมัสการพระธาตุมหาชัย จะประสบแต่ชัยชนะ ในชีวิต จะเป็นนักประสานสิบทิศ โอภาปราศรัยดี ค้าขายคล่อง พูดจามีคนเชื่อถือ
ที่ตั้ง: ต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม 48160
28
5
พระธาตุมรุกขนคร
พระธาตุประจ�ำวันพุธ กลางคืน
เป็นพระธาตุประจ�ำวันเกิดของคนเกิดวันพุธกลางคืน ซึง่ ปกติ ไม่ค่อยได้มีคนกล่าวถึงมากนัก เนื่องจากเพิ่งก่อสร้างได้ไม่นานนัก ที่ตั้ง: ต�ำบลดอนนางหงส์ อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 48110
พระธาตุประสิทธิ์
พระธาตุประจ�ำวันพฤหัสบดี
6
เชือ่ กันว่า ผูใ้ ดได้ไปนมัสการจะได้รบั อานิสงส์ให้ประสบ ผลส�ำเร็จในหน้าที่การงาน ที่ตั้ง: 187 หมู่ 2 ต�ำบลนาหว้า อ�ำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม 48180
ประจำ�วันเกิด
7 พระธาตุประจ�ำวันศุกร์
พระธาตุท่าอุเทน
ผู้ที่ไปนมัสการพระธาตุแห่งนี้จะได้รับอานิสงส์ให้ชีวิตมี ความรุ่งโรจน์ เปรียบเสมือนพระอาทิตย์ขึ้นยามรุ่งอรุณ ที่ตั้ง: ต�ำบลท่าอุเทน อ�ำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม 48120
พระธาตุนคร
พระธาตุประจ�ำวันเสาร์
8
มีคติเชื่อกันว่า ผู้ท่ีไปนมัสการพระธาตุแห่งนี้จะได้รับ อานิสงส์เสริมบุญบารมีและมีอ�ำนาจวาสนาเป็นเจ้าคนนายคน ที่ตั้ง: ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม 48000
29
10
สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ� จั งหวัดนครพนม By DeeTravelThailand
พญาศรีสัตตนาคราช
อุโมงค์นาคราช
“พญาศรีสัตตนาคราช” มีความเชื่อกันว่าเป็นกษัตริย์แห่ง พญานาค ซึ่งยังถือเป็นแลนด์มาร์กส�ำคัญของจังหวัดนครพนมที่ตั้งอยู่ ริมฝั่งแม่น�้ำโขง และเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวนครพนม
อีกหนึ่งแลนด์มาร์กที่ส�ำคัญของเส้นทางจักรยานริมแม่น�้ำโขง จังหวัดนครพนม เลียบตามล�ำแม่น�้ำโขง มีระยะทาง 307 เมตร เป็นอุโมงค์ เหล็ก มีทศั นียภาพทีส่ วยงามของล�ำน�ำ้ โขงได้กว้างไกลและสามารถขีจ่ กั รยาน สวนกันได้
บ้านลุงโฮจิมินห์ เ ป ็ น ส ถ า น ที่ ท ่ อ ง เ ที่ ย ว ส� ำ คั ญ ที่ อิ ง ประวัติศาสตร์ เพราะ นายโฮจิมินห์ได้เคยเข้ามาอาศัย พึ่งพระบรมโพธิสมภารพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย เพื่ อ กอบกู ้ เ อกราชของ เวียดนามระหว่างท�ำสงคราม
รองอาสนวิหารนักบุญอันนา หนองแสง หอนาฬิกาเวียดนามอนุสรณ์ โบสถ์คริสต์ที่มีความเก่าแก่สวยงามแห่งหนึ่งในจังหวัดนครพนม ก่อสร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1926 ลักษณะเป็นหอคอยคู่ ซึ่งยังถือเป็นการแสดง สัญลักษณ์วา่ เมืองนครพนมนี้เป็นเมืองที่มีคนหลายเชื้อชาติอาศัยอยู่รวมกัน
30
หลังชนะสงครามภายในประเทศ เมื่อฝรั่งเศสพ่ายแพ้ในสงคราม เดียนเบียนฟู ชาวเวียดนามที่ลี้ภัยมาอาศัยในนครพนมได้ร่วมกันสร้างหอ นาฬิกาขึ้นเพื่อระลึกถึงไมตรีจิตของคนไทย ซึ่งถือเป็นการขอบคุณคนไทย
พิพิธภัณฑ์จวนผู้ว่าราชการ จังหวัดนครพนม เป็นสถาปัตยกรรมดีเด่นในจังหวัดนครพนม มีความสวยงามโดย เฉพาะ ลักษณะเป็นแบบตะวันตก เพราะได้รับอิทธิพลในรูปแบบการก่อสร้าง จากฝรั่งเศส ช่วงสมัยสงครามอินโดจีน
ศาลหลักเมือง ตัง้ อยูบ่ ริเวิณตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัดนครพนม ศาลหลักเมือง ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์เมื่อวันที่ 24 กันยายน พศ. 2539 อันเป็นสถานที่ส�ำหรับ การเคารพสักการะและเป็นศูนย์รวมยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนในจังหวัด
หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครพนม ในปี พศ. 2533 พลเอก มานะ รัตนโกเศศ ให้การ สนับสนุนที่จะจัดตั้งหอสมุดแห่งชาติที่จังหวัดนครพนม เพื่อให้เป็น ศูนย์รวมแห่งการเรียนรู้ที่จะเอื้อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าแก่ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนในจังหวัดนครพนม
ถนนคนเดิน อำ�เภอธาตุพนม
พิพิธภัณฑ์สัตว์น�้ำหนองญาติ
ร้านค้าเข้ามาวางขายสินค้า มีทงั้ เสือ้ ผ้า เครือ่ งประดับ ของใช้ และ ยังมีอาหารการกินของท้องถิ่นแซ่บๆ มากมายให้ได้ลองชิม ซึ่งถ้าอยากได้ บรรยากาศควรจะมาเที่ยวนครพนมในช่วงหน้าหนาว เพราะบรรยากาศที่ริม โขงจะดีมาก
เป็นสถานที่เลี้ยงสัตว์น�้ำขนาดกลาง มีการจัดแสดงสัตว์น�้ำต่างๆ มากมาย ทีน่ มี่ อี โุ มงค์ลอดใต้ตปู้ ลาทีส่ ามารถชมความเคลือ่ นไหวของปลาได้จาก ภายในอุโมงค์ซึ่งส่วนนี้เป็นจุดเด่นของที่นี่ แสดงพันธุ์ปลาทั้งทั่วไปและใกล้จะ สูญพันธุ์
31
Nakhon Phanom ดีทราเวลไทยแลนด์ แนะนำ�โรงแรมใกล้แม่น�้ำโขง ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะน�ำ 5 ทีพ่ กั ใกล้แม่นำ้ โขง สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ าเยือนจังหวัดนครพนม
โรงแรม สยามแกรนด์นครพนม SIAMGRAND HOTEL
เลขที่ 218/3 ถ.นครพนม - ท่าอุเทน อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000 siamgrandhotel@hotmail.co.th
Siamgrand Hotel Nakhonphanom www.siamgrandhotel.net 08-8562-7750
โรงแรม ณ ธาตุพนม เพลส NA THATPHANOM PLACE
เลขที่ 117 หมู่ 10 ถ.ชยางกูร ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จ.นครพนม 48110 thatphanomplace@gmail.com
โรงแรม ณ ธาตุพนม เพลส
โรงแรม พรนฤมิตร
PORNNARUMIT HOTEL เลขที่ 77 หมู่ 10 ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จ.นครพนม 48110 โรงแรมพรนฤมิตร - ธาตุพนมรีสอร์ท 08-1623-0907
08-1504-7899
5 Nakhon ห้องพักใกล้แม่น�้ำโขง
โรงแรม พัก พิง อิง โขง PAK PING ING KHONG HOTEL
เลขที่ 176/1 ถ.นครพนม-ท่าอุเทน ต.หนองแสง อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000
pakpingingkhong@gmail.com
โรงแรม พัก พิง อิง โขง www.pakpingingkhong.com 08-1661-1170
32
โรงแรม 41 สตูดิโอ 41 STUDIO HOTEL
เลขที่ 226/1 ถ.นิตโย ต.หนองญาติ อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000 studio41_nkp@hotmail.com 41Studio 0-4251-4141
Phanom
Nakhon Phanom ดีทราเวลไทยแลนด์ แนะนำ�ห้องพักราคาสุดคุ้ม ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะน�ำ 5 ทีพ่ กั ราคาสุดคุม้ สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ าเยือนจังหวัดนครพนม
กรรณิกาเพลส KANNIKA HOTEL
เลขที่ 198 หมู่ 14 ถ.ชยางกูร บ้านหนองจันทร์ ต.ท่าค้อ อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000 กรรณิกาเพลส 0-4254-3335
ภูธารินทร์ รีโซเทล รีสอร์ท นครพนม พจน์ลอดจ์ รีสอร์ท PHUTTARIN RESOTEL RESORT
เลขที่ 137 ถ.ชยางกูร ต.ท่าค้อ อ.เมือง นครพนม จ.นครพนม 48000 phutarinnakhon@hotmail.com ภูธารินทร์รีโซเทล รีสอร์ท นครพนม www.phutarin.com 0-4250-2199
POTLOGE RESORT
เลขที่ 316 หมู่.9 ถ.อำ�นวยสุข ต.โพนทอง อ.เรณูนคร จ.นครพนม 48170 autnee@gmail.com พจน์ลอดจ์ รีสอร์ท 08-1488-1094 , 08-2896-9253
แนะนำ� ห้องพักราคาสุดคุ้ม
ตีรณาเพลส
โรงแรม บี-ไฮฟ์
TEERANA PLACE
BHIVE HOTEL
เลขที่ 664 หมู่.4 ถ.นาแก-หนองญาติ ต.นาแก อ.นาแก จ.นครพนม 48130 Teerana place 08-9123-0018
เลขที่ 53 หมู่ 14 ต.ท่าค้อ อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000 bhive.nkp@gmail.com BHIVE 09-5179-4964
Nakhon Phanom
33
Wayla Cafe’ ร้ า นกาแฟ ใจกลางเมื อ งนครพนม ตกแต่ ง สไตล์ โ มเดิ ร ์ น บรรยากาศเงียบสงบ พร้อมให้บริการกับทุกๆท่านได้มาสัมผัส กับรสชาติ ของเครื่องดื่มต่าง ๆ และบรรยากาศของร้าน และเป็นอีกหนึ่งสถานที่ใน การพบปะพูดคุยของหลาย ๆ คน
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�
ร้านกาแฟ
นครพนม
เลขที่ 79 ถ.อดุยทาน ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000
Wayla Cafe 09-5896-2742 09:00 - 17:30 น. ทุกวัน
Sister Coffee & Restuarant ร้านกาแฟตัง้ อยูใ่ กล้ๆ กับวัด พระธาตุพนม ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ที่ ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด เดิ น ทางสะดวก เป็นร้านกาแฟและร้านอาหาร ทางร้าน มีการคัดสรรกาแฟที่มีคุณภาพอย่างดี เพื่ อ น� ำ มาเป็ น สู ต รกาแฟเฉพาะของ ทางร้าน
34
118 ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จ.นครพนม 48110 Sister ธาตุพนม 0-4253-2148 06:30 - 22:30 น. ทุกวัน
สบายดี @ นครพนม ’ ร้ า นนี้ เ ป็ น ร้ า นดั ง ของนครพนมเลยก็ ว ่ า ได้ อยู ่ ไ ม่ ไ กลจาก หอนาฬิกา ขึ้นชื่อเรื่องเมนูปลาเเม่น�้ำโขง ทั้งปลาคัง ปลาเค้า ปลาลิง ปลาบึก ปลาหน้าหนู และอีกมากมาย ส่วนบริเวณโดยรอบจะเป็นบ้านและ ร้านสีสันฉูดฉาด สะดุดตา
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�
ร้านอาหาร
นครพนม ร้านอาหาร เป๋นปลาเป็น
เลขที่ 414/6 ถ.สุนทร์วิจิตร ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000
namnamco@hotmail.com สบายดี@นครพนม
namco2118
0-4206-4200 10.00 - 22.00 น. ทุกวัน
ร้านอาหารพื้นบ้านที่แสนอร่อย พร้อมบรรยากาศริมแม่น�้ำโขง อันงดงาม เน้นอาหารพื้นบ้านอีสานและปลาน�้ำโขงเป็นหลัก โดยเฉพาะ ต�ำถาด ต�ำลาวรสเด็ด มาพร้อมเครื่องเคียง ขนมจีน ไข่ต้ม ผักดอง ผักสด ข้าวเกรียบปลา หนังหมูทอดและเมนูอื่น ๆ อีกมากมาย
หมู่ 6 ต.อาจสามารถ อ.เมืองฯ จ.นครพนม 48000 เป๋นปลาเป็น 08-7634-7467 (Line ID) 10.00 - 22.00 น. ทุกวัน
35
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ถือเป็นวัดพระอารามหลวงชัน้ เอกชนิดวรมหาวิหาร ซึง่ พระธาตุพนม ทีป่ ระดิษฐานอยูน่ นั้ เป็นทีเ่ คารพสักการะของพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป โดยเฉพาะ อย่างยิ่งชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมไปถึงประชาชนชาวลาว และเมื่อ ถึงฤดูเทศกาลเพ็ญเดือน 3 ที่จะจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ที่วัดพระธาตุพนมจะ มีพทุ ธศาสนิกชนหลัง่ ไหลมาจากทัว่ ทุกสารทิศ เพราะต้องการทีจ่ ะมาร่วมงาน สมโภชและนมัสการพระธาตุพนม
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ที่ตั้ง: 183 หมู่ 13 ถนนชยางกูร ต�ำบลธาตุพนม อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 48110
36
แผนที่วัด
ประวัติ
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร เจ้าอาวาสวัดพระธาตุพนม - เจ้าคณะจังหวัดนครพนม พระเทพวรมุนี (สำ�ลี ปญญาวโร ป.ธ.5)
พระธาตุพนมประดิษฐาน ณ วัดพระธาตุพนม วรมหาวิหาร อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ตามต�ำนาน นั้นว่าสร้างมานานไม่น้อยกว่า 2,300 ปี ซึ่งผู้ที่สร้างก็คือ พระมหากัสสปะและพร้อมด้วยพระอรหันต์ทั้ง 500 องค์ และผูท้ รี่ ว่ มช่วยสร้างพระธาตุนยี้ งั มี ท้ายพระยาเมืองต่างๆ ซึ่งก็ได้น�ำพระอุรังคธาตุ หรือคือ กระดูกหน้าอกขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพร้อมของมีค่าจ�ำนวนมากมา เพื่อที่จะบรรจุไว้ภายในพระธาตุ นอกจากนีเ้ มือ่ ถึงคราวพระราชพิธรี าชาภิเษกทุก รัชกาลจะต้องน�ำน�้ำจากสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ไปร่วมพิธีด้วย เพื่อประกอบพิธีมุรธาภิเษก และเมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานต้นไม้ทอง-เงิน น�้ำอบ และผ้าคลุมส่งไปนมัสการพระธาตุพนมทุกปี และ เมือ่ ถึงเทศกาลเข้าปุรมิ พรรษา ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเทียนพรรษาเป็นพุทธบูชาทุกปี
37
เรื่องราวหลายวิถี
20 ถิน่ ดีอสี าน จังหวัดนครพนม
นายคมสัน นิลยองตระกูล ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดนครพนม รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการท่องเทีย่ ว โดยการกระตุน้ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและชาวต่า งชาติ ไ ด้ สั ม ผั ส ความ มหัศจรรย์ในเมืองไทย โดยมุง่ เน้นให้เกิดการท่องเทีย่ วตลอดทัง้ ปี เพื่ อ สร้ า งรายได้ แ ละกระจายรายได้ สู ่ ป ระชาชนทุ ก กลุ ่ ม มี กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นหน่วยงานหลักในการขับ เคลือ่ นนโยบาย โดยการน�ำความแปลกใหม่มาพัฒนาสินค้า ท่องเทีย่ ว และน�ำความโดดเด่นเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน นัน้ มาออกแบบกิจกรรมท่องเทีย่ วให้เป็นการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน คือ มีมาตรฐานดี การบริการที่ดี ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ ท่องเทีย่ ว เพือ่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ วให้เดินทางมาท่องเทีย่ ว และน�ำมา ซึ่งคุณค่าทางจิตใจในการสร้างความรัก ความภาคภูมิใจ ความ หวงแหน น�ำไปสูก่ ารอนุรกั ษ์สบื สานถ่ายทอดจากรุน่ สูร่ นุ่ และมี รายได้เสริมจากการท่องเที่ยวสู่ครอบครัวชุมชน และสังคม นครพนมยั ง มี เ ส้ น ทางเชื่ อ มโยงกั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น คื อ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นการส่งเสริมการ ท่องเทีย่ วในกลุม่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เราน�ำมาเป็นจุดเด่น ในการเชิญชวนนักท่องเทีย่ วให้มาท่องเทีย่ วในจังหวัดนครพนม
38
จังหวัดนครพนมได้มกี ารจัดท�ำแผนพัฒนาปรับปรุงเพือ่ เป็นการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวตลอดแนวฝั่งริมแม่น�้ำโขง โดยมีเส้นทางจักรยาน เชื่อมโยงเส้นทางตลอดฝั่งโขงเพื่อสอดรับกับนโยบาย 3 ที่สุดของจังหวัด ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ สุ ด คื อ พระธาตุ พ นม สวยที่ สุ ด คื อ สะพานมิ ต รภาพไทยลาวแห่ ง ที่ 3 นครพนม-ค� ำ ม่ ว น และงามที่ สุ ด คือ บรรยากาศสองฝั่งโขงในเขตเทศบาลเมืองนครพนม นี่คือยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดนครพนมให้เป็นเมืองท่องเทีย่ วเพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจและยัง เป็นการส่งเสริมการท่องเทีย่ วริมฝัง่ โขงอีกด้วย ตลอดถึงการสร้างมูลค่าการ ท่องเที่ยวด้วยการจัดกิจกรรมด้านกีฬาต่าง ๆ ส่งเสริมการท่องเที่ยวและ กิจกรรมเทศกาลงานท่องเที่ยวต่าง ๆ จากวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณี ชาวนครพนมที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่น เฉพาะพื้นที่ของจังหวัดนครพนม พร้อมด้วยการประชาสัมพันธ์ด้านตลาดการท่องเที่ยวอย่างครบวงจรผ่าน กิจกรรมและสื่อออนไลน์ต่าง ๆ สู่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อขับเคลื่อนโปรโมต ตลอดปี อันจะส่งผลให้การท่องเที่ยวเติบโตและเกิดการกระจายรายได้ สูช่ มชนอย่างยัง่ ยืนจังหวัดนครพนมยงั มีแหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจอีกมากมาย พร้อมเป็นอีกหนึ่งเป้ าหมายของนักท่อง เที่ยวที่ครั้งหนึ่งในขีวิตต้องมาเยี่ยม เยือนแล้วจะประทับใจจนต้องบอกต่อ
ชุมชนท่องเที่ยวแนะนำ� 8 ชนเผ่า 2 เชื้อชาติ ของจังหวัดนครพนม คนไทยเชื้อสายจีน
คนไทยเชื้อสายเวียดนาม
ชนเผ่าไทยแสก
ชนเผ่าไทยญ้อ
ชนเผ่าไทยโส้
ชนเผ่าไทยอีสาน
ชนเผ่าไทยกวน
ชนเผ่าผู้ไท
ชนเผ่าไทยกะเลิง
ชนเผ่าไทยข่า
39
นครพนมมี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ มี คุ ณ ค่ า หลายอย่าง นอกจากองค์พระธาตุพนม แล้วยังมีองค์พระธาตุประจ�ำวันเกิดอีก เกือบทุกอ�ำเภอ เรามีความร�่ำรวยทาง วัฒนธรรมโดยเฉพาะเรือ่ งอัตลักษณ์ของ ชนเผ่าต่างๆ ทุกแห่งเราได้ไปจัดตั้งเป็น หมูบ่ า้ นท่องเทีย่ วชุมชนเผ่า ยินดีตอ้ นรับ นักท่องเที่ยว
สารผูท้ รงคุณวุฒิ
วัฒนธรรมจังหวัดนครพนม
นายธนิตศักดิ์ อุ่นตา 40
ชุ ม ชนในหลายท้ อ งถิ่ น มี อั ต ลั ก ษณ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และวิ ถี ชี วิ ต ท้ อ งถิ่ น มากมาย กระบวนการมี ส ่ ว นร่ ว มใน ชุมชนส่งเสริมให้ชุมชนเกิดการตื่นตัว และเกิดการรวมพลังของชุมชน จนถึง ชุ ม ชนสามารถน� ำ เสนอเรื่ อ งราว ยกระดับคุณภาพชีวิต กระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างรายได้ให้ชุมชน
สารผูท้ รงคุณวุฒิ
สำ�นักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดนครพนม
นายสามารถ โรจนวิเชียร 41
ท้องถิ่นโนนตาล ตำ�บลโนนตาล อำ�เภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
ได้รับรางวัล “ นักปกครองท้องถิ่นดีเด่น แห่งปีประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ” ในสาขาส่งเสริมคุณภาพชีวิต
“ โนนตาลตำ�บลน่าอยู่ เฟื่องฟูแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เกษตรกรรมยั่งยืน ” ส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินการ ด้านศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น เพื่อเป็นศูนย์กลาง การรวมจิตใจของคนในต�ำบลและพัฒนาให้เป็น แหล่งรายได้ของชุมชน
42
ท้องถิ่นศรีสงคราม ตำ�บลศรีสงคราม อำ�เภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม
พระพุทธรูปทองคำ�ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้าน ศาลเจ้าปู่ตา ตลาดวันพระคู่เมือง ลือเลื่องปลาสงคราม งามตาเขื่อนน�้ำอูน วัดสุภราราม-วัดศรีสมบูรณ์สามัคคี ถิ่นเมืองดีน่าอยู่ เคียงคู่นำ�้ สงคราม
ประเพณีลอยกระทง
งานประเพณีบุญข้าวจี่ (บุญเดือนสาม)
43
ท้องถิ่นหนองเทา
ตำ�บลหนองเทา อำ�เภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม วัดพุทธนิมิตร
งานตักบาตรปริวาสกรรม
“หนองเทาเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ล�้ำค่าการเกษตร”
ต� ำ บลหนองเทานั้ น ตั้ ง อยู ่ ใ นแนวชายแดนไทยและลาว มี ลั ก ษณะ ภูมิประเทศส่วนใหญ่ติดริมฝั่งแม่น�้ำโขง แหล่งท่องเที่ยวน่าสนใจได้แก่ วัดพุทธนิมิตรที่มีความสวยงามของสถาปัตยกรรมแบบศิลปะร่วมสมัย ทีห่ าได้ยาก
44
งานตักบาตรปริวาสกรรม
ท้องถิ่นอุ่มเหม้า ตำ�บลอุ่มเหม้า อำ�เภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม พิธีเหยา (ประเพณีและความเชื่อของชนเผ่าไทยข่า
“ ส่งเสริมอาชีพ การศึกษา ภูมิปัญญา รักษาทรัพยากร เน้นสัญจร ไฟฟ้า ประปา การพัฒนาของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน “ ชนเผ่าผู้ไท
ชนเผ่าไทยข่า
กลุ่มทอผ้าย้อมคราม
การละเล่นชนเผ่าผู้ไท
เอกลักษณ์โดดเด่นของชาวเผ่าผู้ไทที่นี่คือการแต่งกาย ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถมา เรียนรู้การท�ำฝ้ายกับชาวบ้าน ตั้งแต่ขั้นตอนแรกไปจนถึงการทอผ้าเป็นผืนและการ ย้อมฝ้ายจากต้นครามด้วยกรรมวิธีโบราณที่หาชมได้ยาก
45
Phaya Sisattanakarat พญาศรีสัตตนาคราช
The 7 heads Naga is sacred landmark locataed near Mekhong River on Sunthon Wichit Road Mueang District, Nakhon Phanom, and the most respected by Thai and Lao, both sides of Mekhong river, they belief to this 7 heads Naga the same as to related to the Mekhong river as well as their ancestors do so. If visit Nakhon Phanom do not miss to respect for praying the blessing to you.
46
“พญาศรี สั ต ตนาคราช” หรื อ ว่ า องค์ พ ญานาค 7 เศี ย ร แลนด์มาร์คศักดิ์สิทธิ์ซึ่งประดิษฐานอยู่ริมฝั่งโขง ถนนสุนทรวิจิตร อ.เมือง จ.นครพนม ที่ชาวไทย และพี่น้องชาวลาว 2 ฟากฝั่ง ให้ความ เคารพศรัทธาอย่างทีท่ ราบกันดีวา่ พีน่ อ้ งทัง้ ชาวไทย และชาวลาว ล้วนมี ความเชื่อผูกพันกับองค์พญานาคพอ ๆ กับความผูกพันในล�ำน�้ำโขง รุ่นปู่ยา่ ล้วนศรัทธาถึงความศักดิ์สิทธิ์ของพญานาค ในฐานะที่เป็นผู้ดูแล ปกปักษ์รักษาแถบลุ่มน�้ำโขง หากใครมาเที่ยวจังหวัดนครพนม ก็ไม่ควรพลาดที่จะแวะมา กราบไหว้บูชาพญาศรีสัตตนาคราช ขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคล
47
Two blessed women, magical Luang Po Yai
Clean water resource Nong Kut Thing, greatest boat race White sand is majestic, worth viewing A Hong cataract Beautiful Mekong at Bueng Kan, really delightful
สองนางศักดิ์สิทธิ์
อิทธิฤทธิ์หลวงพ่อใหญ่ แหล่งน้ำ�ใสหนองกุดทิง สุดใหญ่ยิ่งแข่งเรือยาว หาดทรายขาวเป็นสง่า น่าทัศนาแก่งอาฮง งามน้ำ�โขงที่บึงกาฬ สุขสำ�ราญที่ได้ยล
ฬ า ก ง ึ ัจงหวัด บ g Kan Bun
จังหวัด
บึงกาฬ “ เที่ยวชมธรรมชาติ สัมผัสเสน่ห์ริมฝั่งโขง ” ในอดีต อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ มีชื่อเดิมว่า บ้านบึงกาญจน์ มีฐานะ เป็นต�ำบลขึ้นกับอ�ำเภอไชยบุรี จังหวัดนครพนม ต่อมาได้มีการย้ายที่ว่าการ อ�ำเภอไชยบุรมี าตัง้ ทีบ่ า้ นบึงกาฬ คงชือ่ อ�ำเภอไชยบุรี ขึน้ กับจังหวัดนครพนม จนกระทั่งปี พ.ศ. 2460 ได้ถูกโอนย้ายให้ขึ้นต่อจังหวัดหนองคายและถูก เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น บึงกาฬ ในปี พ.ศ. 2482 ต่อมา ในปี พ.ศ. 2537 ได้มีการ ร้องขอให้จัดตั้งเป็นจังหวัดบึงกาฬ ตามข้อเสนอของนายสุเมธ พรมพันห่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเสรีธรรม จังหวัดหนองคาย โดยแยกพื้นที่ อ� ำ เภอบึ ง กาฬ อ� ำ เภอปากคาด อ� ำ เภอโซ่ พิ สั ย อ� ำ เภอพรเจริ ญ อ�ำเภอเซกา อ�ำเภอบึงโขงหลง อ�ำเภอศรีวิไล และอ�ำเภอบุ่งคล้า ออกจาก จั ง หวั ด หนองคาย แต่ ก ระทรวงมหาดไทยยั ง ไม่ มี แ ผนที่ จ ะยกฐานะ อ�ำเภอบึงกาฬ ขึ้นเป็นจังหวัด เพราะการจัดตั้งจังหวัดใหม่เป็นการเพิ่มภาระ ด้านงบประมาณ อีกทัง้ ยังเป็นการเพิม่ ก�ำลังคนภาครัฐซึง่ ขัดมติคณะรัฐมนตรี จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ในการประชุมสภา ผู้แทนราษฎร นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ส.ส.สัดส่วน พรรคกิจสังคม ได้ตั้งกระทู้ ถามสดต่อนายกรัฐมนตรี เรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬและทางกระทรวง มหาดไทยเห็นด้วย ก�ำลังอยู่ในกระบวนการน�ำเข้าเสนอต่อที่ประชุม ครม.
50
เพื่ อ พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบก่ อ นส่ ง เรื่ อ งเข้ า มาสู ่ ส ภาผู ้ แ ทนราษฎร เพื่อเสนอเป็นกฎหมาย พ.ร.บ. จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ และในวันที่ 3 สิงหาคม ปีเดียวกัน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ เมื่อมีการ จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬขึ้นตามพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554 อ�ำเภอบึงกาฬจึงได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ” โดยเป็นอ�ำเภอหนึง่ ของจังหวัดบึงกาฬ ตามความในมาตรา 3 และ 4 แห่งพระราชบัญญัตดิ งั กล่าว อันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป จังหวัดบึงกาฬ เป็นจังหวัดที่ 77 ของประเทศไทยและเป็นอีกหนึง่ จังหวัดที่อยู่ติดริมแม่น�้ำโขง ในขณะเดียวกันบึงกาฬก็อยู่ตรงข้ามกับเมือง ปากซัน (สปป.ลาว) ซึ่งตอนนี้ก�ำลังมีโครงการก่อสร้าง สะพานมิตรภาพ ไทยลาวแห่งที่ 5 เพื่อเชื่อมโยงเส้นทางเศรษฐกิจของภูมิภาคอินโดจีนตาม เส้นทางยุทธศาสตร์ทางการค้า บึงกาฬยังเป็นเมืองหลวงของ ยางพาราแห่ง ภาคอีสาน ซึ่งมีพื้นที่ปลูกยางพาราประมาณ 1.6 ล้านไร่ ปัจจุบันภาครัฐมี การแก้ไขปัญหายางพาราตกต�่ำด้วยการส่งเสริมให้เกษตรกรสร้างมูลค้าเพิ่ม ให้แก่ยางพารา เช่นการท� ำยางแผ่น และการแปรรูปยางพารามาเป็น ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ บึงกาฬเป็นจังหวัดที่มีสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์แวดล้อมไป
นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร ผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬ
ด้วยภูเขา น�้ำตกที่สวยงามและมีพื้นชุ่มน�้ำติดอันดับโลก ท�ำให้บึงกาฬเป็นจังหวัดที่มีอากาศที่บริสุทธิ์ มีอาหารการ กินทีส่ มบูรณ์ น�ำไปสูส่ ขุ ะภาวะทีด่ ี อารมณ์ดแี ละอายุยนื ยาว บึงกาฬมีพระพุทธศาสนาและอริยสงฆ์ทมี่ ชี อื่ เสียงหลายรูป เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบึงกาฬ ให้มีความสามัคคีเป็น หนึ่งเดียวกัน มีความเมตตาเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่กันและกัน สุดท้ายนี้ กระผมนายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร ผูว้ า่ ราชการจังหวัดบึงกาฬ อยากเชิญชวนนักเทีย่ วทุก ๆ ท่าน ทีก่ ำ� ลังมองหาเมืองท่องเทีย่ ว อยากให้ลองมาสัมผัสอากาศ ที่บริสุทธิ์ ธรรมชาติที่สวยงาม และแหล่งธรรมมะซึ่งเป็นที่ ยึดเหนี่ยวใจของผู้คน พร้อมมาสัมผัสวิถีชีวิตคนบึงกาฬ กระผมและชาวจังหวัดบึงกาฬพร้อมยินดีตอ้ นรับทุก ๆ ท่าน ด้วยความยินดียิ่ง
51
8 สถานที่ท่่องเที่ยว บึงกาฬ จังหวัดเล็ก ๆ ที่น่าหลงใหล
1
ภูทอก
“ภูทอก” เป็นภาษาอีสาน แปลว่า ภูเขาที่โดดเดี่ยว ตั้งอยู่ในเขต บ้านคำ�แคน ตำ�บลนาแสง เป็นภูเขา หินทราย ประกอบด้วย ภูทอกใหญ่และ ภู ท อกน้ อ ย แต่ ก่ อ นเคยเป็ น ป่ า ทึ บ มีสัตว์ป่าอาศัยมากมาย พระอาจารย์ จวน กุลเชฏโฐ เข้ามาจัดตัง้ เป็นสถาน ปฏิบัติธรรมที่ภูทอกน้อยหรือวัดเจติ ยาคีรีวิหาร(วัดภูทอก) เนื่องจากเป็น สถานที่ เ งี ย บสงบ และเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น การเดิ น เท้ า ขึ้ น สู่ ย อดภู ทอกโดย เดินตามสะพานไม้เวียนรอบเขาสูงชัน จนถึงยอดซึ่งสร้างจากแรงศรัทธาของ พระเณร ชาวบ้าน เริ่มสร้างในปี พ.ศ. 2512 ใช้เวลานานถึง 5 ปี บันไดขึ้นสู่ ยอดภูทอกเปรียบเสมือนเส้นทางธรรม ที่ น้อ มนำ�สั ต บุ รุ ษ สู่ โ ลกแห่ ง โลกุต ระ โลกแห่งการหลุดพ้นด้วยความเพียร พยายามมุ่งมั่น
2
น้ำ�ตกถ้ำ�พระ
4
บึงโขงหลง
้ “น้ำ�ตกถ้ำ�พระ” โดยรวมของตัวนำ�้ ตกถำ�พระแบ่ งออก ้ เป็น 3 ช่วงหลัก ๆ ได้แก่ ช่วงแรกจะเป็นธารนำ�ตกไหลหลดหลัน่ ลง สูแ่ อ่งนำ�้ กว้าง ช่วงกลางของนำ�้ ตกมีพนื้ ทีข่ นาดใหญ่กนิ พืน้ ทีย่ าว ้ น้ำ�ค่อนข้างตืน้ และส่วนสุดท้าย เป็นบริเวณ ไปจนถึงฝายทดนำ� เหนือฝายขึน้ ไป จุดนีถ้ อื เป็นไฮไลท์เด็ดของนำ�้ ตก เพราะจะได้เห็น นำ�้ ตกกว้างสีขาวลอยฟูฟอ่ ง ซึง่ เป็นต้นธารทีไ่ หลลงสูแ่ อ่งนำ�้ เบือ้ งล่าง จุดนีจ้ ะเห็นนักท่องเทีย่ วทีท่ ง้ั ขึน้ มาชมนำ�้ ตกและลงเล่นนำ�้ ดับร้อนกัน
3 น้ำ�ตกเจ็ดสี
“น�้ำตกเจ็ดสี” เดิมเรียกว่า น�้ำตกห้วยกะอาม ซึ่งเกิดจากธารน�้ำ ของห้วยกะ อามน�้ำตกจากหน้าผาสูง แล้วเกิดเป็นละอองไอน�้ำกระทบกับ แสงแดดยามบ่ายท�ำให้เกิดสีตา่ ง ๆ ขึน้ จึงเรียก ว่า น�้ำตกเจ็ดสี
“บึงโขงหลง” คือ ทะเลสาบขนาดใหญ่ ซึ่งเป็น แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติเชิงนิเวศ บริเวณริมบึงโขงหลงมี ้ ป่ ลายสุดด้านทิศใต้ของบึง เขือ่ นป้องกันตลิง่ พัง มีประตูนำ�อยู และมีชมุ ชนเมืองตัง้ อยู่ รอบบึงส่วนใหญ่เป็นทีร่ าบมีเนินสลับ ้ อ่ พยพ บ้าง และเป็นพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์พนั ธุน์ ก โดยเฉพาะนกนำ�ที ้ เข้ามาในช่วงฤดูหนาวเช่น ห่านป่า นกเป็ดนำ� นกยาง และมีจดุ ดูนกทีด่ อนสวรรค์ ซึง่ เป็นทีต่ ง้ั ของเขตห้ามล่าสัตว์ปา่ บึงโขงหลง
52
5 ภูสิงห์ บึงกาฬ
“ภู สิ ง ห์ บึ ง กาฬ” อยู่ ใ นเขตพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ใ นเขตป่ า สงวน แห่งชาติ ป่าดงดิบกะลาป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพูภูสิงห์เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาของเปลือกโลกในลักษณะต่าง ๆ เกิดการเรียง ตัวของก้อนหิน เกิดหน้าผา ถ้ำ� กลุ่มหินรูปทรงต่าง ๆ ลานหินกระจายทั่ว ภูสิงห์ ทำ�ให้เกิดความงามตามธรรมชาติลักษณะต่างกันบนภูสิงห์สามารถ ชมพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตกในภูเดียวได้ เหมาะสมที่จะเป็น แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและยังมีลานธรรมภูสิงห์ เป็นลานกว้างอยู่ด้าน ทิศเหนือของภูสิงห์ มีหินทรายแดงขนาดใหญ่มองดูคล้ายสิงโตมอบอยู่ ข้างลาน จึงเป็นทีม่ าของชือ่ “ภูสงิ ห์” และยังมีพระพุทธรูป หลวงพ่อพระสิงห์ ประดิษฐานอยู่เป็นสถานที่พระสงฆ์และฆราวาสใช้เป็นที่สวดมนต์ภาวนา และจัดกิจกรรมทางศาสนาประจำ�ทุกปี
7 แก่งอาฮง
“แก่งอาฮง” หรือ สะดือ แม่ น�้ ำ โขง ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณหน้ า วั ด อาฮงศิลวาส ว่ากันว่าเป็นจุดทีแ่ ม่นำ�้ โขงมีความลึกทีส่ ดุ ซึง่ ไม่สามารถวัด ระดับความลึกได้ทงั้ ยังเป็นบริเวณที่ น�้ำไหลเชี่ยวกรากมากโดยเฉพาะ ช่วงฤดูนำ�้ หลาก เหตุทไี่ ม่สามารถวัด ระดับความลึกได้นั้น ก็เนื่องจาก บริ เ วณนี้ มี ลั ก ษณะเป็ น น�้ ำ วน มี กระแสน�ำ้ ไหลวนเป็นรูปกรวยขนาด ใหญ่ มองเห็นได้อย่างชัดเจนจาก บริเวณวัดชาวบ้านจึงเชื่อกันว่าเป็น
6 หินสามวาฬ
“หินสามวาฬ” หากมอง จากมุ ม สู ง จะเห็ น ภู เขาสามลู ก ตั้ง เรียงกันรูปร่างคล้ายวาฬ พ่อแม่ลูก จึ ง เรี ย กกั น ว่ า “หิ น สามวาฬ” ลักษณะเป็นหินทรายขนาดใหญ่ติด หน้าผาสูงอยู่ด้านทิศตะวันออกของ ภูสิงห์ซ่งึ นับเป็นจุดชมวิวอีกจุดที่ไม่ ควรพลาด สามารถยืนชมทัศนียภาพของป่าภูววั ห้วยบังบาตร แก่ง สะดอก หาดทรายแม่นำ�้ โขง และภูเขาเมืองปากกระดิง่ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทัง้ ยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ขน้ึ ยามเช้า
สะดือแม่น�้ำโขง ตามต�ำนานเล่าสืบต่อกันว่า บริเวณสะดือแม่นำ�้ โขงจะมีถำ�้ ใต้นำ�้ และโขดหินใหญ่อยู่บริเวณทางฝั่ง ประเทศลาว ตรงข้ามกับวัดอาฮง ศิ ล าวาสเป็ น ที่ ชุ ม นุ ม ของเหล่ า พญานาคในวั น ออกพรรษาเพื่ อ ท�ำบุญบั้งไฟเป็นพุทธบูชาร่วมกับ มนุษย์จึงเป็นสถานที่ศักสิทธิ์ แต่ละ ปีบริเวณนี้มีบั้งไฟพญานาคขึ้นเป็น จ�ำนวนมาก
8 วัดอาฮงศิลาวาส
“วัดอาฮงศิลาวาส” มีเรือ่ งเล่าสืบทอดว่า วัดแห่งนีส้ ร้าง ขึน้ โดยหลวงพ่อลุน สมัยก่อนมีชอื่ เรียกว่าวัดป่าเลไลย ต่อมาหลวง พ่อลุนมรณภาพเมือ่ ปี พ.ศ. 2506 ท�ำให้วดั นีไ้ ม่มพี ระภิกษุจำ� วัด หลายปี จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2517 ท่านเจ้าคุณนิเทศศาสนคุณ (หลวง พ่อมหาสมาน สิรปิ ญ ั โญ) ได้ผา่ นมาเห็น จึงแวะเข้ามาดูเห็นสภาพ ทัว่ ไปสงบร่มรืน่ จึงปรึกษากับคณะพระภิกษุสงฆ์พร้อมญาติโยมใน ท้องถิน่ เพือ่ ปฏิสงั ขรณ์วดั ขึน้ ใหม่ให้เป็นวัดทีส่ มบูรณ์ และตัง้ ชือ่ ใหม่ ว่า “วัดอาฮงศิลาวาส” เพราะอยู่ติดกับริมฝั่งแม่น�้ำโขง ใกล้กับ แก่งอาฮง
53
ผ้าหมักโคลนนาคี
Buengkan
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�ห้องพักราคาสุดคุ้ม ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะนำ� ทีพ่ กั สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม สำ�หรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ าเยือนจังหวัดบึงกาฬ
โรงแรมบีเคเพลส
BK PLACE HOTEL
โรงแรมไชยะบุรี บึงกาฬ
CHAIYABURI BUENGKAN HOTEL
ถ. 222 พังโคน ต.บึงกาฬ อ.เมืองฯ จ.บึงกาฬ 38000
เลขที่ 419 ม. 9 ต.บึงกาฬ อ.เมืองฯ จ.บึงกาฬ 38000
bkplace.resort@gmail.com โรงแรมบีเคเพลส Bk Place บึงกาฬ 09-9638-0988
โรงแรมไชยะบุรี บึงกาฬ www.chaiyaburi.simdif.com 04-2491-917
แนะนำ� ห้องพักราคาสุดคุ้ม
Buengkan อาเซียน รีสอร์ท
ASEAN RESORT เลขที่ 99 ม. 13 ตำ�บลวิศษิ ฐ์ อ.เมืองฯ จ.บึงกาฬ 38000 อาเซียนรีสอร์ท ที่พักจังหวัดบึงกาฬ Asean Resort @asean.resort 08-9375-3425
56
วัดอาฮงศิลาวาส
ร้านกาแฟ
Coffee Chill Cafe’
ร้านอาหาร ต้นโพธิ์ปลาเผาริมโขง
ถ.สันติราษฏร์ ต.บึงกาฬ อ.เมืองฯ จ.บึงกาฬ 48000 ติดถนนเรียบริมฝั่งโขง หรือที่ เรียกกันว่าถนนข้าวเม่าริ ร้านอาหารต้นโพธิ์ปลาเผาริมโขง 09-4796-9954 08.30 - 17.30 น.
เลขที่ 100/1 ต.วิศษิ ฐ์ อ.เมืองฯ จ.บึงกาฬ 38000 anuwatf Coffee Chill Cafe’ 093 461 4477 09.00 - 22.00 น. ทุกวัน
ร้านกาแฟ รู้สึกดีคาเฟ่
เลขที่ 312 ม.1 ถ.บึงกาฬพังโคน ต.บึงกาฬ อ.เมืองฯ จ.บึงกาฬ 38000
ร้านอาหาร ครัวเสวย
เลขที่ 334/1 ถ.ข้าวเม่า ต.วิศิษฐ์ อ.เมืองฯ จ.บึงกาฬ 38000
@830lvtff Roo-Seuk-Dee cafe&studio 08-2704-1943 จ-ศ 8.00 - 18.00 น. ส-อ 10.00 - 18.00 น.
ครัวเสวย บึงกาฬ 09-1363-1495
11.00 - 22.00น. ทุกวัน
57
วัดโพธาราม
อำ�เภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ
58
วัดโพธาราม
อำ�เภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ
59
ผ้าขาวม้าหมักโคลนนาคี
น้ำ�ตกซะแนน 60
หินสามวาฬ
เหนือสุดแดนอีสาน แหล่งพระธรรมภูทอก ตำ�นานลุ่มน้ำ�โขง งดงามวัฒนธรรม อุดมธรรมชาติ สามวาฬเด่นสง่า น้ำ�ตกใสเจ็ดสี
61
Buri ram
The city of sandstone sanctuaries, the land of volcanoes, beautiful silk and rich culture.
เมืองปราสาทหิน
“
ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย
รวยวัฒนธรรม เลิศล�้ำเมืองกีฬา”
64
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มมีขึ้นอีกครั้ง ตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏชือ่ ว่าเป็นเมืองขึน้ ของเมืองนครราชสีมา และปรากฏชือ่ ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรถี งึ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์วา่ บุรรี มั ย์มฐี านะ เป็นเมือง ๆ หนึ่ง จนถึง พ.ศ.๒๔๗๖ ได้มีการจัดระเบียบราชการบริหาร ส่วนภูมิภาคใหม่ จึงได้ชื่อเป็น จังหวัดบุรีรัมย์ มาจนถึงปัจจุบันนี้ ชื่อ เมืองบุรีรัมย์ ไม่ปรากฎในเอกสารประวัติศาสตร์สมัยอยุธยาและ ธนบุ รี เ ฉพาะชื่ อ เมื อ งอื่ น ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เป็ น อ� ำ เภอในจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ได้ แ ก่ เมืองนางรอง เมืองพุทไธสง และเมืองประโคนชัย พ.ศ. ๒๓๑๙ รัชสมัยสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช กรุงธนบุรี กรมการเมืองนครราชสีมา มีใบบอกเข้ามา ว่ า พระยานางรอง คบคิ ด เป็ น กบฏร่ ว มกั บ เจ้ า โอ เจ้ า อิ น และอุ ป ฮาด เมืองจ�ำปาศักดิ์ จึงโปรดให้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อยังด�ำรงค�ำแหน่ง เจ้าพระยาจักรี เป็นแม่ทัพไปปราบจับตัวพระยานางรอง ประหารชี วิ ต และสมทบเจ้ า พระยาสุ ร สี ห ์ (สมเด็ จ พระบวรราชเจ้ า มหา สุรสิงหนาท) คุมกองทัพหัวเมืองฝ่ายเหนือยกไปตีเมืองจ�ำปาศักดิ์ เมืองโขง และ เมืองอัตปือ ได้ทั้ง ๓ เมือง ประหารชีวิต เจ้าโอ เจ้าอิน อุปฮาด เมืองจ�ำปาศักดิ์ แล้วเกลี้ยกล่อมเมืองต่าง ๆ ใกล้เคียงให้สวามิภักดิ์ ได้แก่ เขมรป่าดง ตะลุบ สุรินทร์ สังขะ และเมืองขุขันธ์ รวบรวมผู้คนตั้งเมืองขึ้นในเขตขอมร้า เรียกว่า เมืองแปะ แต่งตั้ง บุรีรัมย์ บุตรเจ้าเมืองผไทสมัน (พุทไธสง) ให้เป็นเจ้าเมือง ซึ่ ง ต ่ อ ม า ไ ด ้ เ ป ็ น พ ร ะ ย า น ค ร ภั ก ดี ป ร ะ ม า ณ ป ล า ย รั ช ก า ล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือต้นราชการ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เปลี่ยนชื่อ เมืองแปะ เป็น บุรีรัมย์ ด้วยปรากฎว่า ได้มกี ารแต่งตัง้ พระส�ำแดงฤทธิรงค์ เป็น พระนครภักดีศรีนครา ผูส้ ำ� เร็จราชการ เมืองบุรรี มั ย์ขนึ้ เมืองนครราชสีมา ใน พ.ศ. ๒๔๑๑ เมืองบุรรี มั ย์และเมืองนางรอง ผลั ด กั น มี ค วามส� ำ คั ญ เรื่ อ ยมา พ.ศ.๒๔๓๓ เมื อ งบุ รี รั ม ย์ โ อนขึ้ น ไปขึ้ น กั บ หัวเมืองลาวฝ่ายเหนือ มีหนองคายเป็นศูนย์กลางและเมืองบุรีรัมย์มีเมืองใน สังกัด ๑ แห่ง คือ เมืองนางรอง ต่อมาประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๐-๒๔๔๑ เมืองบุรีรัมย์ได้กลับไปขึ้นกับมณฑลนครราชสีมา เรียกว่า “บริเวณนางรอง” ประกอบด้วย เมืองบุรีรัมย์ นางรอง รัตนบุรี ประโคนชัย และพุทไธสง
จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย มนต์เสน่ห์ที่สวยงามทั้งทางอารยธรรม วัฒนธรรมประเพณีและ แหล่งท่องเที่ยว ดั่งค�ำขวัญที่ว่า “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม เลิศล�้ำเมืองกีฬา” เมื่ อ พู ด ถึ ง แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางอารยธรรมที่ นักท่องเที่ยวทุกคนให้ความสนใจก็คือ อุทยานประวัติศาสตร์ ปราสาทหิ น พนมรุ ้ ง ซึ่ ง เป็ น โบราณสถานสถาปั ต ยกรรม สมัยลพบุรีที่มีความงดงามและมีความส�ำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่ง ในประเทศไทย แต่ถ้าพูดถึงถิ่นภูเขาไฟนอกจากเขาพนมรุ้งแล้ว ก็ยังมีภูเขาไฟที่ดับสนิทและเปิดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอีก ๒ จุด คือ จุดแรก คือ วนอุทยาน เขากระโดง ซึ่งยังปรากฏร่องรอย ปล่องภูเขาไฟให้ได้เห็นอย่างชัดเจน และบนยอดเขากระโดงยัง เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระสุภทั รบพิตร พระพุทธรูปองค์ใหญ่คเู่ มือง บุรีรัมย์ และจุดที่สอง คือ เขาอังคาร เป็นอีกหนึ่งแหล่งภูเขาไฟ ที่ดับสนิทแล้วบนยอดเขาอังคารปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ วัดเขา อังคาร ที่มีโบสถ์ที่สร้างด้วยงานสถาปัตยกรรมแบบประยุกต์ที่ สวยงามแปลกตา อีกทั้งยังมีการค้นพบโบราณสถานเก่าแก่และ ใบเสมาหินทรายสลักภาพบุคคล สถูป ดอกบัว และธรรมจักร สมัยทวารวดีหลายชิ้น และอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่ดึงดูด นั ก ท่ อ งเที่ ย วเป็ น มนต์ เ สน่ ห ์ ข องจั ว หวั ด บุ รี รั ม ย์ คื อ สนามธันเดอร์คาสเซิล สเตเดียม สนามฟุตบอลของสโมสร บุรรี มั ย์ ยูไนเต็ด จัดเป็นสนามฟุตบอลทีไ่ ด้มาตรฐานแห่งแรกและ แห่งเดียวในประเทศไทย ตามมาด้วย สนามช้าง อินเตอร์ เนชั่นแนล เซอร์กิต มอเตอร์สปอร์ตระดับมาตรฐานสากลหนึ่ง เดียวในไทย ปั จ จุ บั น จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี ก ารก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ ในการพัฒนาจังหวัดไว้ ๔ ด้าน คือ ๑.พัฒนาศักยภาพเป็น ศูน ย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมและกีฬาระดับโลก ๒.ส่งเสริมผลิตสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัยมาตรฐานสากล ๓.ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ไหม ๔.ส่งเสริมการค้าชายแดน เพื่อการค้าและการลงทุน
“ ศูนย์กลางการท่องเที่ยวแห่ง อารยธรรมขอมและกีฬาระดับโลก ”
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
65
13 สถานทีท ่ ่องเทีย ่ ว
1 1
1
1
66
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
สนามฟุตบอลช้างอารีน่า บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
สนามแห่งนีม้ คี วามจุ 32,600 ทีน่ งั่ ซึง่ สร้างด้วยงบประมาณ กว่า 500 ล้านบาท จัดเป็นสนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานแห่งแรก และแห่ ง เดี ย วในประเทศไทยที่ ผ ่ า นมาตรฐานระดั บ โลกจาก สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ มาตรฐานสนามกีฬาระดับเอ จาก สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย และสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน และได้บันทึก ลงกินเนสส์บุ๊คว่าเป็นสนามฟุตบอลในระดับฟีฟ่าแห่งเดียวในโลก ที่ใช้เวลาก่อสร้างน้อยที่สุดในโลกคือ 256 วัน
2
ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ปราสาทพนมรุ้ง
3
ในวันเพ็ญเดือน 5 ของทุกๆปี จะมีงานประเพณีขนึ้ เขาพนม รุง้ ทีไ่ ด้ปฏิบตั สิ บื ต่อกันมา และเป็นทีน่ า่ สังเกตว่าในช่วงงานทุกปีจะ มีปรากฏการณ์ที่ส�ำคัญเกิดขึ้นเป็นประจ�ำ คือเราจะมองเห็นดวง พระบรมธาตุเจดีย์วัดเกาะแก้ว (วัดระหาน) อาทิตย์ขึ้นตรงกับประตูทางด้านทิศตะวันตกฝ่ากรอบประตูต่าง ๆ ภายในวัดประดิษฐานพระมหาธาตุรตั นเจดีย์ ลักษณะของ กว่า 10 กรอบ นับตั้งแต่ประตูปรางค์ประธานทะลุออกซุ้มประตู หน้าความยาว 88 เมตร ซึ่งดวงอาทิตย์จะขึ้นตรงกรอบประตูพอดี องค์พระมหาเจดีย์เป็นศิลปะประยุกต์ร่วมสมัยความสูง 60 เมตร มี 4 ชั้น ชั้นที่ 1 ใช้ประโยชน์เป็นศาลาอเนกประสงค์ ชั้นที่ 2 เป็น สถานที่ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ชั้นที่ 3 เป็นอุโบสถ พิพิธภัณฑ์ และทีป่ ระดิษฐานรูปเหมือนของพระสงฆ์ผปู้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบ ชัน้ ที่ 4 เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ รอบๆ จะเป็นสวนที่ร่มรื่น
2
3
4
4
ศาลหลักเมืองบุรีรัมย์
5
5
เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองที่เคารพสักการะบูชา และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของชาวบุรีรัมย์ เดิมเป็นศาลที่มีขนาด วัดกลาง เล็กๆ แต่พอเริ่มทรุดโทรม จึงสร้างศาลหลักเมืองขึ้นมาใหม่ในปี พ.ศ. 2548 โดยให้ทางกรมศิลปากร ช่วยท�ำการออกแบบ ในรูปแบบ วัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองบุรีรัมย์มาแต่โบราณ มีประวัติเล่า ศิ ล ปะขอมโบราณที่ เ ลี ย นแบบมาจากปราสาทหิ น พนมรุ ้ ง เพื่ อ ว่าสมัยกรุงธนบุรี เจ้าพระยามหากษัตริยศ์ กึ น�ำทัพไปปราบเจ้าเมือง เป็นการบ่งบอกเอกลักษณ์และตัวตนของคนชาวบุรีรัมย์ นางรองซึง่ เป็นกบฏ และได้หยุดพักทัพทีบ่ ริเวณนีซ้ งึ่ มีสระน�ำ้ ขนาด ใหญ่แห่งหนึ่ง ปัจจุบันเชื่อกันว่าเป็นสระน�้ำศักดิ์สิทธิ์อยู่ในวัดกลาง บุ รี รั ม ย์ และทางราชการได้ มี ป ระกาศยกวั ด กลางบุ รี รั ม ย์ เ ป็ น พระอารามหลวงแห่งแรกของบุรีรัมย์เมื่อปี พ.ศ. 2533 เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
67
7
6
บุรีรัมย์ อินเตอร์เนชันแนล เซอร์กิต
เขื่อนลำ�นารอง
เป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ ไ ด้ รั บ การขนานนามว่ า เป็ น “ทะเลสาบแห่งอีสานใต้” หาดล�ำนางรองเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมได้ทุกวัน เป็นเขื่อนดินฐาน คอนกรีตขนาดใหญ่ จุน�้ำได้ประมาณ 150 ล้านลูกบาศก์เมตร นอกจากจะกักเก็บน�้ำไว้ใช้เพื่อการเกษตรแล้ว ยังที่พักผ่อนหย่อน ใจ มีทศั นียภาพทะเลสาบเหนือเขือ่ นกว้างใหญ่สวยงาม มีหาดทราย เทียมให้ลงเล่นน�้ำ
บุรีรัมย์ อินเตอร์เนชันแนล เซอร์กิต หรือ ช้าง อินเตอร์ เนชัน่ แนล เซอร์กติ เป็นสนามแข่งรถตามมาตรฐานสมาพันธ์รถยนต์ นานาชาติแห่งแรกและแห่งเดียวของประเทศไทย ตั้งอยู่ด้าน ทิศตะวันตกของช้างอารีนา่ ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมืองบุรรี มั ย์ จังหวัด บุรีรัมย์ เป็นสถานที่ของคนที่ชอบการแข่งขันรถระดับนานาชาติ เพราะตัวสนามบุรีรัมย์ เซอร์กิจเคยเป็นสถานที่จัดการแข่งระดับ นานาชาติมาแล้ว
7 6
9
8
8
บุรีรัมย์คาสเทิล
บุรรี มั ย์คาสเซิล เป็นส่วนหนึง่ ของ BURIRAM UNITED ตัง้ อยู่ระหว่างสนามช้างอารีน่า และ สนามแข่งรถ แบ่งเป็น Avenue Area ปราสาทหินพนมรุ้งจ�ำลอง สวนดอกไม้ ไม้ประดับและสวน กระบองเพชร ซึง่ ออกแบบและจัดสร้างโดยสวนนงนุช มีรา้ นอาหาร มากมายและมุมสวย ๆ ให้นักท่องเที่ยวและชาวจังหวัดบุรีรัมย์ ได้ถ่ายรูปและนั่งผักผ่อนกันตามอัธยาศัย
8
68
9
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
6
พระบรมราชานุเสาวรีย์ รัชกาลที่ 1
มี ข นาดเท่ า ครึ่ ง ของพระองค์ จ ริ ง พระบรมรู ป ฉลอง พระองค์แบบนักรบตามขัตติยราชประเพณีโบราณประทับอยู่บน คอช้างศึก ซึ่งหล่อด้วยโลหะสัมฤทธิ์ พ.ศ. 2541 และในการนี้ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้เสด็จพระราชด�ำเนินทรงประกอบพิธเี ปิด พระบรมราชานุเสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2542
7
9
10
พระสุภัทรบพิตร
เป็ น พระพุ ท ธรู ป คู ่ เ มื อ ง ภายในเศี ย รบรรจุ พ ระธาตุ ประดิษฐานอยูบ่ นเขากระโดง เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐฉาบปูนขนาด ใหญ่ หน้าตักกว้าง 12 เมตร ฐานยาว 14 เมตร หันหน้าไปทางทิศ เหนือ สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2512 โดยผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ นายสุรวุฒิ บุญญานุสาสน์ ในขณะนัน้ ร่วมกับพ่อค้าประชาชนและ ผูม้ จี ติ ศรัทธาเลือ่ มใส เพือ่ ให้เป็นทีส่ กั การะบูชาของ พุทธศาสนิกชน ทั่วไป
12
สร้างเมื่อ พ.ศ.2551 มีพื้นที่ 80 ไร่ และปลูกป่าภายในวัด สร้างความร่มเย็นเพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ในวัดมีเสนาสนะที่ งดงามด้วยฝีมอื ช่าง อันได้แก่ มหาวิหารไม้ เป็นสถาปัตยกรรมแบบ ล้านนาผสมกับล้านช้าง วิหารพุทธร่มโพธิ์ เป็นสถาปัตยกรรมแบบ ไทย ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปหยกเขียว อุโบสถกลางน�ำ้ เป็น สถาปัตยกรรมแบบล้านนาผสมล้านช้าง
10
11
12
13
วัดเขาพระอังคาร
เป็นวัดที่สร้างเลียนแบบสถาปัตยกรรมสมัยต่าง ๆ หลาย รู ป แบบงดงามแปลกตาและน่ า สนใจยิ่ ง ภายในโบสถ์ มี ภ าพ จิตรกรรมฝาผนังและเรื่องราวพุทธชาดกเป็นภาษาอังกฤษด้วย บริเวณวัดเป็นปากปล่องภูเขาไฟ คาดว่าเคยเป็นที่ตั้งของโบราณ สถานสมัยทวารวดีเพราะเสมาหินแกะสลักสมัยดังกล่าวหลงเหลือ อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ เขาอังคารถือเป็นภูเขาไฟทีด่ บั แล้วอีกลูกหนึง่ ในบุรีรัมย์อีกด้วย
11
11 วัดป่าระหานทราย
12
13
ร้านลายไหม ของฝากครบ จบที่เดียว
ร้านลายไหม แหล่งรวมผ้าไหมและของฝากดัง้ เดิมของเมือง บุรีรัมย์ที่เปิดมากว่า 50 ปี ทางร้านมีผ้าไหมคุณภาพคัดพิเศษ เกรดพรีเมีย่ ม และสินค้าคัดคุณภาพอืน่ ๆ อาทิ ผ้าฝ้าย ผ้าซิน่ ตีนแดง เสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ขนม ของฝาก ของที่ระลึก และผลิตภัณฑ์ OTOP จากชุมชนต่างๆ สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม โทร. 08-7340-6404, 08-9665-6411
12
13 เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
69
เลขที่ 219 ม.18 ถ.บุรรี มั ย์-ประโคนชัย ต.อิสาณ อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000 thadachateau@gmail.com Thada Chateau Hotel โรงแรมบุรรี มั ย์
0-4466-6616
เลขที่ 314 ม.14 บ้านสวนครัว ซ.ตองอ่อน ต.อิสาณ อ.เมืองฯ จ.บุรีรัมย์ 31000 d.sine.resort@gmail.com D Sine Resort ดีทราย รีสอร์ท 0-4466-6755
70
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
เลขที่ 36/67/1ซ.แสนสุข 3 ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรีรัมย์ 31000 lavivahotel979@gmail.com La Viva Hotel,Buriram 0-4461-3979
เลขที่ 1/114-115 ถ.หน้าสถานี ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000
เลขที่ 453 ม.17 ต.ชุมเห็ด อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000
เลขที่ 26/1-42 ถ.องค์การบริหารส่วนตำ�บล อิสาน-บ้านหนองหัวลิง ต.อิสาณ อ.เมืองฯ จ.บุรีรัมย์ 31000
nphotelburiram1@gmail.com NP Hotel Buriram www.nphotel.co.th 044-620444 098-1020436
klimcoffee@gmail.com www.Facebook.com/Klimhotel @klimhotel 0-4460-1989
www.facebook.com/ruentara 0-4466-6932, 09-4265-7918
เลขที่ 91 ม.9 ต.ชุมเห็ด อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000 aniceresort@hotmail.com Anice buriram : อะไนซ์ บุรรี มั ย์ 0-4461-1818
เลขที่ 167 ม.8 ต.ชุมเห็ด อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000
เรืองสิริ รีสอร์ท บุรีรัมย์ 0-4466-6116,08-7565-0081
เลขที่ 437/125 ถ.จิระ ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000 www.facebook.com/navasiriplace/ 08-1877-6743 08-0151-6758
เลขที่ 33 ม.2 ต.สวายจีก อ.เมืองฯ จังหวัดบุรีรัมย์ 31000 ไม้หอม รีสอร์ท - Maihom Resort 09-9461-1924
เลขที่ 224 ม.10 ต.หนองคู อ.ลำ�ปลายมาศ จ.บุรรี มั ย์ 31130
เลขที่ 169 ม.7 ต.สระแก้ว อ.หนองหงส์ จ.บุรรี มั ย์ 31240
ทีพ่ กั ลำ�ปลายมาศ บุรรี มั ย์ กรีนเฮ้าส์ รีสอร์ท 0-4466-1909 08-8074-8238
ไออุ่น รีสอร์ท 08-5611-9478 08-9422-8463
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
71
ROCKET COFFEE
Buriram
เลขที่ 9/19 ถ.บุลำ�ดวน ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000 Rocket Coffee Buriram 08-9665-6411 7.00 - 19.00 น. ทุกวัน
MONGNI CAFE ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�
Buriram
ร้านกาแฟ
เลขที่ 289 ถ.จิระ ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรีรัมย์ 31000 Mongni Cafe Buriram 09-1064-7925 10.00 - 21.00 น. ทุกวัน
บุรีรัมย์ เป๋คาเฟอีน
BLUE COFFEE
Buriram
Buriram
เลขที่ 91-93 ถ.ธานี ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรีรัมย์ 31000 เป๋คาเฟอีน 08-6366-2008 7.30 - 23.00 น. ทุกวัน
72
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
เลขที่ 488 ม.7 ถ.สหนพมาศ ต.ล�ำปลายมาศ อ.ล�ำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ 31130 08-4095-8725 จ - ส 7.00 - 17.00 น. อา 7.00 - 12.00 น.
สองพีน่ อ้ ง (ไดโนเสาร์)
ทางหลวงหมายเลข 219 ทางไป ประโคนชัย บุรรี มั ย์ (ติดกับโรง พยาบาลค่าย ฯ ปากซอยจะพบ ไดโนเสาร์ตวั ใหญ่) 08-1264-4862 8.00 - 17.00 น. ทุกวัน
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�
ร้านอาหาร
บุรีรัมย์
ไก่ย่างสีดา
ถ.สุนทรเทพ ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.บุรรี มั ย์ 31000 ไก่ยา่ งสีดา 08-9720-4297 6.00 - 15.00 น. ทุกวัน
CALIFORNIA STEAK แคลิฟอร์เนียสเต็ก เลขที่ 361/1 หมู่ 8 ถ.บุรรี มั ย์นางรอง ต.อิสาณ จ.บุรรี มั ย์ 31000 แคลิฟอร์เนียสเต็ก California STEAK 0-4462-1511 08-8580-3331 9.30 - 21.30 น. ทุกวัน เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
73
“
ขับเคลื่อนงานพระพุทธศาสนา สู่ความมั่นคง
“
สังคมแห่งศีลธรรม นำ�ชีวิตสู่ความสุข
สารผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดบุรีรัมย์
นายสมพงษ์ หมวดไธสง 74
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
จากนโยบายสู่การปฏิบัติที่มีชีวิต ขับเคลื่อนงานพระพุทธศาสนาสู่ความมั่นคง หมายถึง การ
ด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในการท�ำนุบ�ำรุง สิ่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา รวมถึงให้การอุปถัมภ์คมุ้ ครองและส่งเสริมพัฒนางานพระศาสนา ดูแลรักษา จัดการศาสนสมบัติให้มีความมั่นคงอย่างยั่งยืน สังคมแห่งศีลธรรม หมายถึง การด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้ พุทธศาสนิกชนได้มีโอกาสศึกษาและปฏิบัติธรรมอย่างทั่วถึง ครอบคลุม ทุกพื้นที่ ทุกเพศ ทุกวัย จนกลายเป็นสังคมแห่งศีลธรรม
น�ำชีวิตสู่ความสุข หมายถึง การน้อมน�ำหลักธรรมที่ได้ ศึกษาอย่างเข้าใจถ่องแท้และลึก ซึ้ง แล้วน้อมน�ำมาปฏิบัติเป็น เครื่องมือในการด�ำเนินชีวิต เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายสูงสุดของชีวิต คือ ความสุข
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
75
วัดกลางอารามหลวง
อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
76
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
วัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง
อำ�เภอลำ�ปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
77
วัดท่าสว่าง อำ�เภอกระสัง จังหวัดบุรรี มั ย์
พระสุนทรธรรมเมธี (สุเทพ อาสโภ ป.ธ.4 ,ดร.) รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง
78
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ความเป็นมา วัดท่าสว่าง ตัง้ อยุเ่ ลขที่ 226 หมูท่ ี่ 15 บ้านท่าสว่าง ถนนสุขาภิบาล 1 ต�ำบลกระสัง อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรรี มั ย์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วัดกระสัง” เพราะตัง้ อยูท่ หี่ มูบ่ า้ นกระสัง และมีเพียงวัดเดียวทีก่ อ่ ตัง้ ก่อน วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2486 ซึง่ เป็นวันทีก่ ฎกระทรวงออก ตามความในพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ.2484 มีผลบังคับ ใช้ ได้รับประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนาตามทะเบียน ที่ตรวจสอบได้จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2369 พระสุนทรธรรมเมธี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ปี พ.ศ.2525 จนถึงปัจจุบัน วัดท่าสว่างได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาครัง้ แรกไม่สามารถตรวจสอบหลักฐานได้วา่ เมือ่ ปีพ.ศ. ใด ภายหลังพระครูประสานสังฆกิจ (ประสาน กนต ธมโม) อดีตเจ้าอาวาส และอดีตเจ้าคณะอ�ำเภอได้สร้าง
โรงเรียนพระปริยัติธรรม
อุโบสถหลังใหม่ นอกเขตพัทธสีมาเดิมจึงได้ขอพระราชทาน ผูกพันธสีมาอุโบสถใหม่ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2516 เชตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 70 เมตร ตั้งอยู่ในเนื้อที่ทั้งสิ้นจ�ำนวน 27 ไร่ 25 ตารางวา มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ เป็นโฉนดเลขที่ 1859 เล่มที่ 59 อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ กรรมสิทธิ์ที่ดินเป็น ของวัดท่าสว่าง
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
79
วัดหนองไผ่น้อย อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
80
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
พระครูโสภณธรรมโฆสิต เจ้าอาวาสวัดหนองไผ่น้อย
ความเป็นมา
วัดหนองไผ่น้อย ตั้งอยู่เลขที่ 194 หมู่ 5 บ้านหนองไผ่น้อย ต�ำบลชุมเห็ด อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 5 โดยมีพระครูโสภณธรรมโฆสิต (เพล พานแก่น) เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
81
วัดโพธิ์ทองบ้านยาง อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
82
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
........ ความเป็นมา วัดโพธิ์ทองบ้านยาง ก่อตั้งมานานได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 ก.พ. 2586 มีเนื้อที่ 33 ไร่ 2 งาน 27 ตารางวา ชื่อเดิมคือ วัดโนนสูง เพราะว่าตั้งอยู่ที่เป็นเนิน โดย เมือ่ สมัยนัน้ เป็นพืน้ ทีม่ ตี น้ ไม้ปกคลุมมีเอกลักษณ์โดดเด่น จนมีคน แก่คนเฒ่าและน�ำให้สร้างวัด โดยนิมนต์พระสงฆ์มาจ�ำวัด และได้ เป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วพึ่ ง พาจิ ต ใจของชาวบ้ า นในสมั ย นั้ น ต่ อ มา เมื่อหลวงพ่อพาเป็นเจ้าอาวาส ได้เปลี่ยนชื่อวัดจากชื่อวัดโนนสูง มาเป็นชื่อ “วัดโพธิ์ทองบ้านยาง” ในปัจจุบัน วัดโพธิ์ทองบ้านยาง มีเจ้าอาวาสปกครองตามล�ำดับดังนี้ 1. หลวงพ่อศุกร์ 2. หลวงพ่อพุทธ 3. หลวงพ่อทูล 4. หลวงพ่อซ่อม 5. พระครูวิบูลย์ธรรมาภิรมย์ (หลวงพ่อพา ยโสธโร) 6. พระครูวุทฒิญาณประสุต 7. พระครูวิบูลธรรมมาพิมล 8. พระบุญร่วม กลฺยาณธมฺโม (เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน)
พระบุญร่วม กลฺยาณธมฺโม เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทองบ้านยาง
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
83
วัดตลาดชัย
อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
84
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ความเป็นมา
พระครูสุตกิจโสภณ เจ้าอาวาสวัดตลาดชัย
วัดตลาดชัยตั้งอยู่ที่บ้านตลาดชัย ต�ำบลสองห้อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ เริม่ ก่อสร้างเมือ่ พ.ศ. 2500 โดยชาวบ้านตลาดชัย เมือ่ จับจองที่เป็นที่อยู่อาศัย มีผู้อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์ จากอ�ำเภอ ท่าตูม อ�ำเภอชุมพลบุรี อ�ำเภอจอมพระ และจากบ้านสนวน อ�ำเภอ ห้วยราช จึงได้ตั้งหมู่บ้านและได้กันที่ส่วนหนึ่งเพื่อสร้างเป็นวัดและ โรงเรียน ส่วนที่เป็นโรงเรียนเนื้อที่ประมาณ 40 ไร่ ส่วนที่เป็นวัด จ�ำนวนเนือ้ ที่ 21 ไร่ วัดตลาดชัยเดิมเป็นทีพ่ กั สงฆ์มาก่อนทีจ่ ะด�ำเนิน การขอตั้งวัด เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2528 ได้รับประกาศตั้งวัด เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2533 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์นาค จนทูปโม พ.ศ.2500 -พ.ศ. 2510 2. พระอาจารย์หลอด พ.ศ.2510 - พ.ศ.2512 3. พระอาจารย์หลวงพ่อรือ พ.ศ.2512 - พ.ศ.2515 4. พระอาจารย์น้อย คงคปญโญ พ.ศ.2522 - พ.ศ.2524 5. หลวงพ่อเทือน กนตสีโล พ.ศ.2524 –พ.ศ. 2530 6. พระครูสุตกิจโสภณ พ.ศ.2530 – ปัจจุบัน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
85
วัดโนนดินแดงใต้ อำ�เภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์
86
วัดโนนดินแดงใต้ ตั้งอยู่ เลขที่ 1 บ้านโนนดินแดง หมู่ที่ 8 ต�ำบลโนนดินแดง อ�ำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีพื้นที่ 21 ไร่ โดยมีพ่อสัมฤทธิ์ แสนเจ๊ก ได้มอบถวายที่ดิน ให้ตั้งวัดและได้รับตราตั้ง เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2550 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 17 เมตร ยาว 27 เมตร เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
เปิ ด ท� ำ การเรี ย นการสอนระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น และชั้ น มัธยมศึกษาตอนปลายในคราวเดียวกัน อัตลักษณ์ของสถานศึกษา “ยิ้มแย้มแจ่มใส มีน�้ำใจ ใฝ่คุณธรรม” การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมโนนดินแดงวิทยาคม แบ่งโครงสร้าง การบริหาร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานทัว่ ไป ผู้บริหารยึดหลักการ บริหารและเทคนิคการบริหาร PDCA (P = Plan, D = Do, C = Check, A = Action) วิสัยทัศน์ มุง่ มัน่ จรรโลงพระพุทธศาสนา พัฒนาองค์ความรู้ ควบคูก่ าร สอนแบบพุทธวิธี สร้างศาสนทายาทที่ดีสู่สังคม ประวัติโรงเรียนพระปริยัติธรรมโนนดินแดงวิทยาคม โรงเรียนพระปริยัติธรรมโนนดินแดงวิทยาคม ตั้งขึ้น เมือ่ พ.ศ. 2537 ณ วัดโนนดินแดงใต้ โดยพระครูนเิ ทศก์ธรรมคุณ (วินัย ฐานิสฺสโร) เจ้าอาวาสวัดโนนดินแดงใต้เป็นผู้ก่อตั้งและ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้จัดการ เปิดสอนแผนกธรรม แผนกบาลี ส�ำหรับ ภิกษุ สามเณร ต่อมาทางคณะผู้บริหารโรงรียนพระปริยัติธรรม ได้พิจารณาถึงปัญหาและอุปสรรคของการศึกษาของคณะสงฆ์ ซึ่งไม่สอดคล้องกับสภาพสังคมที่แตกต่างกับการศึกษาของ ฝ่ายอาณาจักร และเพื่อยกระดับการศึกษาของคณะสงฆ์ ทาง พระครู นิ เ ทศก์ ธ รรมคุ ณ และคณะผู ้ บ ริ ห ารจึ ง ขออนุ มั ติ จ าก กรมการศาสนาจัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึ ก ษาขึ้ น อี ก แผนกหนึ่ ง ใช้ ชื่ อ ว่ า โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม โนนดินแดงวิทยาคม โดยน�ำชื่อวัดเป็นส�ำคัญและได้รับอนุญาต ให้จัดตั้งเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 จากกรมการศาสนาตามใบอนุญาต เลขที่ 49/2537
พระครูนิเทศก์ธรรมคุณ (วินัย ฐานิสฺสโร) เจ้าคณะอำ�เภอโนนดินแดง เจ้าอาวาสวัดโนนดินแดงใต้ เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
87
วัดหนองบัวทอง อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
ที่ตั้ง : วัดหนองบัวทอง เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 บ้านสวายสอ ต�ำบลบัวทอง อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
88
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ เจ้าอาวาสวัดหนองบัวทอง ความเป็นมา
วัดหนองบัวทอง เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งใน ต�ำบลบัวทอง ก่อสร้างขึน้ เมือ่ ใด ไม่มขี อ้ มูลทาง ประวัตศิ าสตร์ทพี่ อเป็นหลักฐานได้ แต่เนือ่ งจากการ บอกเล่าของคนรุ่นก่อนๆ สืบทอดกันมา โดยเฉพาะการบันทึก ประวัตสิ ว่ นตัวของ พ่อแดง ใหญ่เลิศ ท่านได้เล่าให้ฟงั ว่าท่านเกิด เมื่ อ ปี 2451 และ พ.ศ. 2473 ท่ า นได้ บ รรพชาอุ ส มบท ณ พัทธสีมา วัดโพธิ์ทองบ้านยาง ทราบว่าหมู่บ้านสวายสอ หมู่ ที่ 1 ต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีพ่อทองอยู่ วานิช ได้มอบที่ดินแปลงนี้ให้เป็นที่ก่อสร้างวัด ชาวบ้านจึง พร้อมใจกันก่อสร้างวัด เมื่อวันศุกร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2470 ขึ้น 6 ค�ำ่ เดือน 6 ปีเถาะ โดยมี พ่อทองอยู่ วานิช เป็นประธาน ในการด�ำเดินการก่อสร้างขึ้นจึงตั้งชื่อวัดว่า “วัดหนองบัวทอง” ซึ่งมีหนองบัวเป็นอาณาเขตติดต่อกับสถานที่ก่อสร้างวัด จึงน�ำ เอาชื่อหนองบัวขึ้นต้นและได้ปรึกษาหารือชาวบ้านไปหาหลวง พ่อพา (พระครูวิบูลธรรมาภิรม) เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทองบ้านยาง ขอความเมตตาจากหลวงพ่อพาช่วยจัดหาพระมาจ�ำพรรษา หลวงพ่อพาจึงมอบหมายอนุญาตให้ “พระภิกษุแดง ฉายาญาณ วีโร” พรรษา 7 วิทยฐานะนักธรรมชั้นตรีวัดโพธิ์ทองบ้านยาง ต�ำบลบ้านยาง เป็นพระลูกวัดมาจ�ำพรรษาที่วัดหนองบัวทอง พระภิกษุแดง ญาณวีโร รับนิมนต์มาจ�ำพรรษาในปีนั้น เมื่อวัน จันทร์ที่ 19 เดือนเมษายน พุทธศักราช 2480 จุลศักราช 1299 ตรงกับวันขึ้น 9 ค�ำ่ เดือน 6 ปีฉลู พระภิกษุแดง ญาณวีโร ได้ เป็นประธานสงฆ์นับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา แล้วน�ำชาวบ้าน พัฒนาวัดให้เจริญรุ่งเรื่องขึ้นตามล�ำดับ ชาวบ้านพร้อมใจกัน ก่อสร้างเสนาสนะเพื่อเป็นที่พักอาศัยของพระสงฆ์และเป็นที่ บ�ำเพ็ญบุญกุศลอย่างต่อเนือ่ งซึง่ มีพอ่ ทองอยู่ วานิช เป็นประธาน ในการด�ำเนินการก่อสร้างวัดหนองบัวทอง
ง วัดหนองบัวทอ ดบุรีรัมย์ ีรัมย์ จังหวั
อำเภอเมืองบุร
หมู่ที่ 1 ัวทอง เลขที่ 1 ที่ตั้ง : วัดหนองบ สอ ต�าบลบัวทอง บ้านสวาย ย์ ัมย์ จังหวัดบุรีรัม อ�าเภอเมืองบุรีร
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
89
วัดหนองไทร
ตำ�บลหนองไทร อำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรรี มั ย์
90
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ความเป็นมา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2574 มีเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบันจ�ำนวน 14 รูปตั้งอยู่ที่ ต�ำบลหนองไทร อ�ำเภอ นางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ จุดเด่นของวัด 1.มณฑปที่ประดิษฐานเจ้าอาวาส สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2557 2.มณฑปรอยพระพุทธบาท (ก�ำลังสร้าง) 3.รูปปั้นจ�ำลองพระสิวลีและพระสังกัจจายน์ และในเร็ว ๆ นี้จะมีการเริ่มสร้างโบสถ์รางน�้ำ
พระครูนโิ ครธ บุญประสิทธิ์ เจ้าอาวาสวัดหนองไทร
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
91
วัดเทพนรสิงห์ อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
ที่ตั้ง : เทพนรสิงห์ เลขที่ 181 หมู่ที่ 13 ต�ำบลสวายจีก อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31000
92
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
หลวงพ่อพวง ธมฺมสาโร
ที่ปรึกษาเจ้าอาวาสวัดเทพนรสิงห์
พระใบฎีการมย์ (หลวงพ่อรมย์ วิริยธมมฺโม) เจ้าอาวาสวัดเทพนรสิงห์
พระมหาเชษฐา ฐานจาโร
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเทพนรสิงห์
ความเป็นมา วัดเทพนรสิงห์ ตั้งอยู่ เลขที่ 182 หมู่ที่ 13 ต�ำบลสวายจีก อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คระสงฆ์ ม หานิ ก าย มีเนื้อที่ 25 ไร่ ใกล้อ่างเก็บน�้ำชลประทานบ้านโคกตาสิงห์ ซึ่งเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ และอุดมสมบูรณ์ไปด้วยของป่า ก่อตั้ง พ.ศ.2530 โดยหลวงปู่พวง ธมสาโร ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งประธาน สงฆ์และมีพระใบฎีการมย์ (หลวงพ่อรมย์ วิริยะธัมโม) ท่านเกิดเมื่อ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ.2509 อายุ 52 ปี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัด ตั้ ง แต่ พ.ศ.2530 จวบจนปั จ จุ บั น หลวงปู ่ พ วง ธมสาโร เป็ น เกจิ อ าจารย์ ชื่ อ ดั ง แห่ ง เมื อ งบุ รี รั ม ย์ ดิ น แดนถิ่ น ภู เ ขาไฟที่ ค ณะ ศิษยานุศษิ ย์ให้ความเลือ่ มใสศรัทธายิง่ เป็นพระเถระทีป่ ฏิบตั เิ คร่งครัด ในพระธรรมวินัยและมีความเชี่ยวชาญในการใช้สมุนไพรไทยบ�ำบัด รักษาอาการเจ็บป่วยต่างๆให้กับชาวบ้านในชุมชน เหตุการณ์ส�ำคัญของวัดเทพนรสิงห์ ด้ ว ยความที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ก ว่ า 350 คนใน 5 ประเทศ ซึ่งมาจากสิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย จีน และอินเดีย มีความเลื่อมใสศรัทธาในหลวงปู่พวง เป็นอย่างมาก ได้เดิมทางมา พร้อมกันเพื่อท�ำพิธีสะเดาะเคราะห์และเสริมดวง เมื่อกลับไปยัง ประเทศของตนก็ทำ� ให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง จึงได้เดินทางกลับมากราบ ไหว้บูชาในทุก ๆ ปี ท�ำให้ชื่อเสียงของท่านขจรขจายไม่เพียงใน ประเทศเท่านั้น หากยังไปไกลในหลายประเทศด้วย นอกจากนี้ยังมี นายทหารราชองครักษ์ได้เลื่อมใสศรัทธาในหลวงปู่พวง เดินทางมา ร่วมท�ำพิธีอยู่เป็นประจ�ำ หลักธรรมค�ำสอนที่หลวงปู่พวงมอบให้ก็คือ “คิดดีท�ำดี หมั่นสวดมนต์ รักษาศีล แล้วชีวิตจะดี” เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
93
วัดเขาพระอังคาร
ตำ�บลเจริญสุข อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ ปากปล่องภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้วกับใบเสมาหินโบราณ สมัยทวารวดี
วัดเขาอังคาร หรือ วัดเขาพระอังคาร
ก่อตัง้ มาในยุคสมัยทีข่ อมเรืองอ�ำนาจสันนิษฐานว่าสร้างในสมัย เดี ย วกั บ ปราสาทหิ น พนมรุ ้ ง เป็ น วั ด พุ ท ธศิ ล ป์ ที่ มี ค วามสวยงามตาม สถาปัตยกรรมแบบขอมโบราณ ปัจจุบันมีการบูรณะใหม่โดยการก่อสร้าง ใหม่ทบั สิง่ ปลูกสร้างเก่าแต่ยงั คงผสมผสานแนวศิลปะแบบเดิมไว้ สิง่ ต่าง ๆ ที่ท�ำให้วัดมีความโดดเด่น ได้แก่ โบสถ์ที่ประยุกต์จากสถาปัตยกรรม ร่วมสมัย ภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนังบอกเล่าเรื่องราวชาดก เป็นภาษาอังกฤษ พระพิฆเนศงาเดียว พระพุทธรูปที่เรียงรายอยู่ในวัด จ� ำ นวน 109 องค์ ใบเสมาพันปี พระต� ำหนักศักดิ์สิทธิ์ และเทวรูป เจ้าเมืองขอม บรรยากาศในบริเวณวัดจึงดูสวยงามแปลกตามีเอกลักษณ์
มีภูมิทัศน์ที่สวยงามเนื่องจากที่ตั้งอยู่บนยอดเขาอังคาร ซึ่งสูงจากระดับ น�้ำทะเลประมาณ 320 เมตร อยู่ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ประมาณ 71 กิโลเมตร เขาอังคารเป็นภูเขาไฟที่ดับแล้ว บริเวณที่ตั้งวัดเป็นปากปล่อง ภูเขาไฟ สันนิษฐานว่าเป็นที่ตั้งของโบราณสถานในสมัยทวารวดี เนื่องจาก พบเสมาหินแกะสลักเป็นจ�ำนวนมาก เขาอังคารมองจากที่สูงเป็นรูปคล้าย พญาครุฑก�ำลังกระพือปีกหรือคว�่ำหน้า โดยหันหัวไปทางทิศใต้ซึ่งเป็นที่ตั้ง ของบ้านถาวร ส่วนล�ำตัวต้นปีกซ้าย เป็นพระอังคารธาตุของพระพุทธเจ้า และโบราณวัตถุ ด้านปีกซ้ายเป็นเนินเขายื่นไปทางทิศตะวันออกด้านบ้าน เจริญสุข ส่วนหางหันไปทางทิศเหนือทางด้านบ้านสวายสอ เขาอังคาร ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 90 ตารางกิโลเมตร
ร้านดีจริงสมุนไพร ผู้จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์บำ� รุงร่างกายและสมุนไพรสกัดเพื่อฟื้นฟูสุขภาพ ลุงหนวด ยก 2 โป้ การันตีคุณภาพ
สอบถามสั่งซื้อ . . . ี ร ฟ ่ ง ส
06-1107-9760 08-0159-2259
ความเป็นมาของภูเขาพระอังคาร
ภูเขาพระอังคาร เดิมชือ่ ภูเขาลอย เหตุทเี่ รียก ว่าภูเขาพระอังคาร เพราะตามประวัติลายแทงธาตุพนม กล่าวไว้วา่ เมือ่ พ.ศ. 8 ได้มพี ญาทัง้ 5 ได้นำ� พระอุรงั คธาตุ ของพระพุทธเจ้าไปบรรจุทพี่ ระธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีพระมหากัสสปะเถระและพระอรหันต์ 500 องค์ เป็ น ประธาน อี ก พวกหนึ่ ง ได้ น� ำ พระอั ง คารธาตุ ข อง พระพุทธเจ้ามาประดิษฐานบรรจุไว้บนภูเขาลอยตาม ประวัติว่าตามที่พระพุทธเจ้าเสด็จเข้าสู่ปรินิพพานแล้วที่ เมืองกุสินารา หลังจากถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว โทณพราหมณ์ได้แจกพระธาตุไป 8 พระนครแล้ว อยู่มา มีเมือง เมืองหนึ่งไปขอพระธาตุทีหลังเขา พอดีพระธาตุ ได้แจกไปหมดแล้ว โทณพราห์มจึงเอาทะนานทองตวงเอา ธาตุพระอังคาร (ขี้เถ้า) ให้มา เมื่อได้พระอังคารธาตุจึงได้ เดินทางกลับมาทางทิศอิสานใต้ พอถึงภูเขาลูกนึงคือ ภูเขาลอย มีรปู ลักษณะสวยงามรูปร่างเหมือนรูปพญาครุฑ นอนคว�่ำหน้า จึงมีความคิดว่าน่าจะน�ำพระอังคารธาตุ บรรจุไว้ท่ีแห่งนี้ เมื่อลงความเห็นเป็นอันเดียวกันแล้วจึง ได้สร้างสถานทีบ่ รรจุพระอังคารธาตุไว้ทไี่ หล่ขา้ งซ้ายของ พญาครุฑและเปลี่ยนชื่อภูเขาลอยเป็น ภูเขาพระอังคาร ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
ชอบมั๊ย ... ชอบมั๊ย... พีร่าพัส ส�ำ หรับ ท่ า นที่ช อบใช้ส มุน ไพร ฟื้ นฟูสุข ภาพ....
่ ้อ ไทย ปรึกษาสุขภาพ – สังซื ั ว ่ ท ี ร ฟ ่ ง ส
06-1107-9760 08-0159-2259
ที่พักสงฆ์บ้านแสลงคง-โคกเพชร หมู่ที่ 12 ต.โคกเพชร อ.พลับพลาชัย จ.บุรีรัมย์ ท่านอาจารย์มหาเจษฎา ปลันฺโน หรือที่ ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า หลวงพ่อมหานะ ท่านเป็น หัวหน้าทีพ่ กั สงฆ์ ในปี พ.ศ. 2562 มีพระสงฆ์จำ� พรรษา จ�ำนวน 9 รูป ที่พักสงฆ์แห่งนี้เป็นที่ยึดเหนี่ยวศรัทธา ของชนสองหมูบ่ า้ น คือบ้านแสดงคง หมูท่ ี่ 1 และบ้าน โคกเพชร หมู่ที่ 12
96
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ประวัติที่พักสงฆ์บ้านแสลงคง-โคกเพชร
ที่พักสงฆ์แห่งนี้มีเนื้อที่ประมาณ 13 ไร่เศษ อยู่ติดกับ เขตโรงเรียนวัดบ้านแสลงคง เมื่อก่อนนั้นที่พักสงฆ์แห่งนี้สร้างขึ้น ในเขตโรงเรียนวัดบ้านแสลงคง ยังไม่มโี รงเรียนมีแต่ทพี่ กั สงฆ์ทแี่ ห่ง นี้ ทีพ่ กั สงฆ์จงึ กลายเป็นโรงเรียนสอนพระและญาติโยมไปด้วยกัน ต่ อ มามี นั ก เรี ย นมากขึ้ น ส่ ง ผลให้ พ ระสงฆ์ ไ ม่ ส ะดวกต่ อ การ ปฏิบตั ธิ รรม ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันให้ยา้ ยทีพ่ กั สงฆ์ออกจากทีเ่ ดิม มาตั้งอยู่ที่ถนนสาย อ.ประโคนชัย - อ.พลับพลาชัย - ไป อ.เมือง บุรีรัมย์
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
97
องค์การบริห ารส่วนตำ�บลบ้า นยาง อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
98
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
งานกิจกรรม
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านยาง อำ�เภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
99
สถานที่ท่องเที่ยว
วัดโพธิ์ทองบ้านยาง
สวนน้ำ�เพลย์พาร์ค บุรีรัมย์
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ข้าวหอมมะลิ พืชผัก ผลไม้ ขนมจีน ครกหิน ขนมไทยและดอกไม้
100
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านยาง เลขที่ ๔/๔ หมู่ ๔ ต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ๓๑๐๐๐ เบอร์โทรศัพท์ : ๐-๔๔๖๐-๐๕๐๑ เว็บไซต์ : www.banyangburiram.go.th
ต�ำบลบ้านยาง “แหล่งต้นยางที่มากมาย หลากหลายภูมิปัญญา ทางแห่งลาวา หลวงพ่อพาประกาศิต ยึดติดเกษตรกรรม วัฒนธรรมอันงดงาม” ต�ำบลบ้านยาง ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกของเมืองบุรรี มั ย์ ระยะ ห่างจากอ�ำเภอเมืองบุรรี มั ย์ ๕ กิโลเมตร ถนนสายบุรรี มั ย์-สตึก ทีท่ ำ� การ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลบ้ า นยาง ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ห มู ่ ๔ บ้านยางประจิม มีพื้นที่รับผิดชอบ ๑๙ หมู่บ้าน ประมาณ ๓๐.๒๔ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๘,๓๙๔ ไร่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ มีแหล่งเรียนรู้มากมาย ประชาชนให้ความส�ำคัญกับการพึ่งพาตัวเอง ตามหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็ จ พระมหาภู มิ พ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชการที่ ๙ มีการท�ำการเกษตร ผสมผสาน ปลูกผักปลอดสารพิษ, ปลูกข้าวอินทรีย์, การเลี้ยงสัตว์, การหาของป่า เช่น น�้ำผึ้งป่า, เห็ดต่าง ๆ ตามฤดูกาล, การหาผักหวาน, ดอกกระเจียว และไข่มดแดง ต�ำบลบ้านยาง ยังมีกลุ่มอาชีพที่มีชื่อเสียงอยู่หลายกลุ่ม เช่น กลุม่ ทอผ้าไหม หมู่ ๑๕, กลุม่ แม่บา้ นเกษตรกร หมู่ ๒, กลุม่ พัฒนาทีด่ นิ หมู่ ๖, กลุ่มไส้กรอก หมู่ ๖, กลุ่มท�ำครกหินหมู่ ๑, กลุ่มหาไข่มดแดง และของป่ า หมู ่ ๑๕ ประชาชนส่ ว นใหญ่ มี ร ายได้ จ ากการท� ำ เกษตรกรรม และมีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง องค์การบริหารส่วน ต�ำบลบ้านยาง มีตลาดนัดในวันอังคาร วันพฤหัสบดี และวันศุกร์ เพื่อ เป็นตลาดนัดของชุมชนในการสร้างรายได้สร้างอาชีพเสริมให้กับ ประชาชน ท�ำให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น มีการน�ำผลผลิตทางการเกษตร และการแปรรูปอาหารมาขาย เป็นการกระจายรายได้จากชุมชน สูช่ มุ ชนอย่างแท้จริง และการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนต�ำบล บ้านยางเป็นไปตามหลักธรรมภิบาล คือ “ซื่อสัตย์ จริงใจ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และประชาชนกินดีอยู่ดี”
นายสุรศักดิ์ สมบูรณ์รัมย์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านยาง
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
101
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองบัวโคก “ตำ�บลหนองบัวโคก เป็นเมืองน่าอยู่คู่คุณธรรม มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี ปราศจากมลพิษ เศรษฐกิจยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็ง”
102
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัวโคก เดิมเป็นการปกครองส่วน ท้องถิ่นรูปสภาต�ำบลมาก่อน “จัดตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2539 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ในราชกิจจานุเบกษาประกาศ ทั่วไป เล่ม 113 ตอนพิเศษ 52ง ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539” ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัวโคก มีอาคารส�ำนักงาน เป็นของตนเอง ส�ำหรับให้บริการประชาชนที่มาติดต่อราชการได้ด้วย ความสะดวก ซึ่งส�ำนักงานดังกล่าวตั้งอยู่ที่ ถนนบุรีรัมย์–ล�ำปลายมาศ หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองบัวโคก อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ ด้วยพื้นที่ 58 ตารางกิโลเมตรหรือเท่ากับ 36,562 ไร่ มีพื้นที่ครอบคลุม 12 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านห้วยศาลา, หมู่ที่ 2 บ้านหนองจานเกี้ยว, หมู ่ ที่ 3 บ้ า นสี่ เ หลี่ ย มใหญ่ , หมู ่ ที่ 4 บ้ า นสระตะโก, หมู ่ ที่ 5 บ้านหนองบัวโคก, หมู่ที่ 6 บ้านหนองตลาดควาย, หมู่ที่ 7 บ้านหนอง ตาดกง, หมู่ที่ 9 บ้านหนองอีม้า, หมู่ที่ 10 บ้านสี่เหลี่ยมประชามิตร, หมู่ที่ 11 บ้านหนองบัวหลวง, หมู่ที่ 12 บ้านห้วยศาลาใต้ และหมู่ที่ 13 บ้านหนองโก
นายพัสกร แกล้วกล้า นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองบัวโคก
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองบัวโคก หมู่ 5 บ้านหนองบัวโคก ตำ�บลหนองบัวโคก อำ�เภอลำ�ปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ 31130 โทรศัพพ์ : 0-4411-0621 แฟกซ์ : 0-4411-0621 Email : 6311011@dla.go.th Website : www.nongbuakhok.go.th เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
103
องค์การบริหารส่วนตำ�บลไพศาล “ ถิ่นหัตถกรรมจากไม้เก่า ชนสามเผ่าสามัคคี รสดีข้าวหลาม งดงามมรดกไทย ”
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล อําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 31140 โทร : 0-4466-6313 , โทรสาร : 0-4466-6313 Website : www.phaisarn.go.th
104
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ความเป็นมา ต�ำบลไพศาล เป็นหนึ่งใน 16 ต�ำบลของอ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออก จากอ�ำเภอประโคนชัย ห่างจากอ�ำเภอประโคนชัยประมาณ 16 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดประมาณ 60 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นไพศาล หมูท่ 1ี่ ต�ำบลไพศาล อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ พื้นที่ 59.01 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรทั้งหมด 11,836 คน โดยปัจจุบนั นายมงคล บุญประกอบ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลไพศาล องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลไพศาล ได้ ก� ำ หนดวิ สั ย ทั ศ น์ เพือ่ เป็นสภาพการณ์ในอุดมคติซงึ่ เป็นจุดหมายและปรารถนาทีจ่ ะให้เกิด ขึ้นหรือบรรลุในอนาคตข้างหน้า ต�ำบลไพศาลเป็นต�ำบลขนาดใหญ่ที่มี ถนนสายหลั ก พาดผ่ า น ประกอบกั บ มี ป ระชากรส่ ว นใหญ่ ท� ำ อาชี พ เกษตรกรรม โดยคาดว่าในอนาคตต้องเป็นต�ำบลที่สงบสุข น่าอยู่อาศัย เพราะสังคมดี เศรษฐกิจดี มีทศั นียภ์ าพและสิง่ แวดล้อมทีด่ ี ตามวิสยั ทัศน์ ที่ว่า “ต�ำบลไพศาลเมืองน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง คนมีคุณภาพ และการบริหารจัดการที่ดีแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี”
นายมงคล บุญประกอบ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลไพศาล
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
105
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองฝ้าย “เป็นเมืองน่าอยู่ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความรู้คู่คุณธรรม เศรษฐกิจมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง สิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์สวยงาม”
106
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ประวัติความเป็นมา ดินแดนแห่งนี้สันนิษฐานว่า เคยเป็นเมืองฝ่ายใน ของอาณาจักรศรีจนาศะ ต่อมาอาณาจักรแห่งนี้ได้เสื่อมลง คงเหลือเพียงซากสิง่ ก่อสร้างและวัตถุโบราณให้คนรุน่ หลังได้ ศึกษา มาต่ อ เมื่ อ ประมาณ 100 กว่ า ปี ที่ ผ ่ า นมา นายยิ น กฎมั จ ฉา เริ่ ม แรกท่ น เป็ น พระธุ ด งค์ จ ากเขมร (ประเทศกัมพูชาในปัจจุบนั ) ท่านมาจ�ำพรรษาทีว่ ดั ต�ำบลช�ำนิ ประมาณ 6 พรรษา วันหนึ่งท่านได้เดินธุดงค์มาพบบริเวณ แห่งหนึ่ง ที่มีปราสาทอยู่หลายหลังบนโนนเดินสูง ได้เกิด ความเลื่อมใส แล้วท่านก็รีบกลับไปยังเขรมแล้วลาสิกขาบท เพราะคิดจะกลับมาตั้งรกรากถิ่นฐานที่เมืองฝ้าย
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
107
108
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองฝ้าย 186 หมู่ 9 ตำ�บลเมืองฝ้าย อำ�เภอหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31240 Email : jaraspol_pol@hotmail.com โทรศัพท์ 062996159 ,044-666274-5 โทรสาร 044-666275
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
109
องค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกล่าม “ อาชีพมั่ น คง การศึ กษาก้ า วล�้ำ วัฒนธรรมน�ำ ใจ น้อมน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ยง ”
ที่ตั้ง : เลขที่ 207 บ้านโคกล่าม หมู่ 7 ถนนสายล�ำปลายมาศ – ชุมพวง อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ 31130 โทรศัพท์ : 0-4466-6288 โทรสาร : 0-4466-6289 www.khoklam.go.th
110
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
งานกิ จ กรรม ประเพณีบุญ โนนข้าวสารดำ�
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
111
เกษตรอิ น ทรี ย์ ว ิ ถ ีพอเพียง อ่างห้วยใหญ่ (0๙D)
กิจกรรมกลุ่มเลี้ยงวัว
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
นายผาย สร้อยสระกลาง เป็นบุคคลสำ�คัญที่ได้ ส่งเสริมให้ชุมชนและคนในชุมชนได้ปฏิบัติตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาโดยตลอดระยะเวลากว่า 20 ปี
112
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
นายบุญมา วังสนาม นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกล่าม ความเป็นมา
ต�ำบลโคกล่ามได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2539 ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรือ่ งการจัดตัง้ องค์การบริหารส่วนต�ำบล ลงวันที่ 10 มกราคม 2539 ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 113 ตอน 9 ง. ลงวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2539 ปั จ จุ บั น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลโคกล่ า ม เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดกลาง มีอาคารส�ำนักงาน เป็นของตนเองส�ำหรับให้บริการประชาชนทีม่ าติดต่อราชการ ได้ดว้ ยความสะดวก ส�ำนักงานตัง้ อยู่ เลขที่ 207 บ้านโคกล่าม หมู่ที่ 7 ถนนสายล�ำปลายมาศ – ชุมพวง อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ ต� ำ บลโคกล่ า ม ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของอ� ำ เภอ ล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ ล�ำปลายมาศ ประมาณ 9 กิโลเมตร พันธกิจ 1. เส้นทางคมนาคมมีความสะดวกปลอดภัยในการสัญจร ไป-มา 2. มีแหล่งน�้ำไว้รองรับปริมาณในหน้าฝน 3. เพื่อส่องสว่าง 4. ส่งเสริมให้ประชาชนในต�ำบลด�ำเนินชีวิตตามแนวทาง พระราชด�ำริ เศรษฐกิจพอเพียง 5. ส่งเสริมและสนับสนุนสร้างความเข้มแข็งแก่กลุม่ เกษตรกร และกลุ่มอาชีพต่างๆ ในท้องถิ่น 6. ส่งเสริมการศึกษาและสาธารณสุขแบบบูรณาการ 7. ส่งเสริม พัฒนาและรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิ่น ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติสงิ่ แวดล้อมและส่งเสริม ปลูกป่าชุมชน เพือ่ รักษาสมดุลระบบนิเวศอย่างยัง่ ยืน โดยการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 9. ส่งเสริมการบริหารจัดการภาครัฐเพือ่ การบริหารงานแบบ บูรณาการตามหลักธรรมาภิบาล เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
113
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองแฝก “เหนือสุดลำ�ปลายมาศ ธรรมชาติน่าอยู่ ผู้คนสามัคคี ถิ่นดีผ้าไหม ใส่ใจการศึกษา พัฒนาสิ่งแวดล้อม งามพร้อมสวนรักศรัทธา”
114
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
วันแม่แห่งชาติ ประจำ�ปี 2562 ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ
วันเด็ก 2562 ประเพณีลอยกระทง 2561 องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลเมื อ งแฝก ก�ำหนดจัดงานประเพณีลอยกระทงประจ�ำ ปี 2561 เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และอนุ รั ก ษ์ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย
การแข่งขันกีฬาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองแฝก วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 นางจุฑามาศ ซารัมย์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองแฝก รวมเปิดการแข่งขันกีฬาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองแฝก
นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล เมืองแฝก น�ำโดย นางจุฑามาศ ซารัมย์ คณะผู ้ บ ริ ห าร สมาชิ ก สภาองค์ ก าร วันปิยะมหาราช 2562 บริหารส่วนต�ำบลเมืองแฝก พนักงาน องค์การบริหาร ฯลฯ เข้าร่วมถวายพวง มาลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในวันปิยมหาราช ในวันที่ 23 ตุลาคม 2562 ณ หอประชุมอ�ำเภอ ล�ำปลายมาศ เพื่อเป็นการน้อมร�ำลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อปวงชน ชาวไทยนานัปการ
การจัดงานวันเด็ก ประจ�ำปี 2562 องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเมืองแฝก อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัด บุรีรัมย์ ร่วมกับโรงเรียนในเขตองค์การบริหารส่วน ต�ำบลเมืองแฝก ร่วมกันเป็นเจ้าภาพจัดงาน การจัด กิจกรรม การน�ำเสนอ การแสดง การจัดนิทรรศการ ของแต่ละโรงเรียนและแต่ละส่วนราชการ ท่ามกลาง บรรยากาศแห่งความสนุกสนาน ตืน่ เต้น ตระการตา และน�ำพาความประทับใจ
พิธีมอบใบรับรองและการจัดแสดง ผลงานของเด็กระดับปฐมภูม นางจุฑามาศ ซารัมย์ เป็นประธานในการมอบใบรับ รองให้แก่เด็กระดับปฐมภูมิ (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองแฝก)
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ (โรงเรียนผู้สูงอายุ) รุ่น 1/2561
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
115
“ความสุขง่ายๆ ที่คุณสัมผัสได้ Happiness you can feel พักกายสบายใจ ให้ธรรมชาติโอบกอดดูแล”
แหล่งเรียนรูเ้ ชิงเกษตรประณีต เกษตรอินทรีย์ แบบพอเพียง ตามค�ำพ่อสอน ทั้งปลูกพืชผัก ไม้ยืนต้น และไม้ผลแบบ ผสมผสานกว่า 20 ชนิด บนเนื้อที่ 70 ไร่ รวมทั้งสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยสร้างธารน�้ำตกจ�ำลองความยาว กว่า 100 เมตร
116
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองแฝกได้รับการยกฐานะ จากสภาต�ำบลเมืองแฝก จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วน ต�ำบลเมืองแฝก เมื่อ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2539 ตาม พระราชกฤษฎี ก าที่ ป ระกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 103 ตอนที่ 194 ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2539 ด้วยพื้นที่ 65.56 ตารางกิโลเมตร
วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองแฝก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองแฝก ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์(vision) เพื่อเป็นสภาพการในอุดมคติซึ่งเป็นจุดหมายและปรารถนาคาดหวังที่จะ เกิ ด ขึ้ น หรื อ บรรลุ ผ ลในอนาคตข้ า งหน้ า องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล เมืองแฝกเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดเล็กที่มีประชาชนส่วนใหญ่ พักอาศัยอยู่ไม่หนาแน่นแต่สงบสุขประกอบอาชีพการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้แนวทางเกษตรอินทรีย์ จึงได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ ดังนี้ “ เมืองแฝกน่าอยู่ คู่เกษตรอินทรีย์ ถิ่นดีผ้าไหม ใส่ใจการศึกษา พัฒนาสิ่งแวดล้อม พร้อมส่งเสริมวัฒนธรรม ”
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองแฝก 179 หมู่ที่ 7 ต�ำบลเมืองแฝก อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ Tel : 044-666263 Email : muangfak@hotmail.com เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
117
วนอุทยานเขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์
118
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
รอยพระพุทธบาท
ปากปล่องภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
119
ปราสาทหินเมืองต�่ำ
120
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ปราสาทหินเมืองต�่ำ อีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจไปเยือนอย่างยิ่งในจังหวัดบุรีรัมย์ เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
121
บันทึก... ความทรงจำ�ผ่านแผ่นฟิล์ม
ณ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง Photo By Apple Photo
“
เทคนิคการถ่าย เริ่มจากถ่ายภาพแนวตั้ง เพื่อน�ำมาต่อให้เป็นภาพพาโนราม่า การถ่ายภาพลักษณะนี้แนะน�ำให้ใช้ช่วงเลนส์ 50 mm
122
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
“
Pentax K1000 Film : Fuji 200 หากท่านใดสนใจหรือมีภาพถ่ายจากฟิล์มที่อยาก ถ่ายทอดความรู้สึกดี ๆ ผ่าน DeetravelThailand สามารถ ส่งภาพมาได้ที่ deetravellerthai@gmail.com เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
123
Mukdahan
Skyscraping Ho Kaeo Tower, Phu Pha Thoep and Kaeng Kabao, Eight Ethnic Minorities, Famous Sweet Tamarind, Large Ancient Kettledrum, Origin of Lam Phaya, Stunning View of the Mekong River, Gateway to Indochina.
หอแก้วสูงเสียดฟ้า ภูผาเทิบแก่งกะเบา แปดเผ่าชนพื้นเมือง
“
ลือเลื่องมะขามหวาน กลองโบราณล้ำ�เลิศ ถิ่นกำ�เนิดลำ�ผญา ตระการตาชายโขง เชื่อมโยงอินโดจีน”
จังหวัด มุกดาหาร
126
เจ้าจันทรสุริยวงษ์และพรรคพวก ได้ตั้งอยู่ที่บ้านหลวง โพนสิม ใกล้พระธาตุอิงฮังทางฝั่งซ้ายแม่นำ�้ โขง (ดินแดนลาว) ต่อมา อีกหลายสิบปี จนได้ถึงแก่กรรม เจ้าจันทกินรี ผู้เป็นบุตรได้เป็น หัวหน้าปกครองต่อมา จนถึง พ.ศ. 2310 ได้มีนายพรานคนหนึ่งข้าม โขงมาทางฝัง่ ขวาแม่นำ�้ โขงตรงปากห้วยบังมุก ได้พบเมืองร้าง วัดร้าง และพบต้นตาล 7 ยอดอยู่ริมฝั่งโขง เห็นว่าเป็นท�ำเลที่อุดมสมบูรณ์ กว่าดินแดนทางฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขง อีกทั้งในแม่น�้ำโขงตรงปากห้วย บังมุก มีปลาชุกชุมอีกด้วย จึงกลับไปรายงานให้เจ้าจันทกินรีหวั หน้า ทราบ เจ้าจันทกินรีได้พาพรรคพวกข้ามโขงมาดูก็เห็นว่าคงเป็นที่ตั้ง เมืองโบราณมาก่อน และเป็นท�ำเลที่อุดมสมบูรณ์กว่าทางฝั่งซ้าย แม่นำ�้ โขง จึงได้พากันอพยพจากบ้านหลวงโพนสิมมาตัง้ บ้านเรือนอยู่ ทางฝัง่ ขวาแม่นำ�้ โขงตรงปากห้วยบังมุก เมือ่ เริม่ ถากพงหักร้างพงเพือ่ ตั้งเมืองขึ้นใหม่ ได้พบพระพุทธรูป 2 องค์อยู่ใต้ต้นโพธิ์ริมฝั่งโขง พระพุทธรูปองค์ใหญ่เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน ส่วนพระพุทธรูป องค์เล็กเป็นพระพุทธรูปโลหะ หล่อด้วยเหล็กเนื้อดี จึงได้พร้อมกัน สร้างวัดขึ้นใหม่ในบริเวณวัดร้างริมฝั่งโขง และขนานนามวัดที่สร้าง ขึ้นใหม่นี้ว่า วัดศรีมุงคุณ (ศรีมงคล) และได้ก่อสร้างกุฏิวิหารขึ้นใน บริเวณวัดพร้อมกับได้อญ ั เชิญพระพุทธรูปทัง้ สององค์ทอี่ ยูใ่ ต้ตน้ โพธิ์ ริมฝั่งโขงขึ้นไปประดิษฐานบนพระวิหารของวัด ต่อมาปรากฎว่า พระพุทธรูปโลหะ (องค์เล็ก) เกิดปาฎิหาริยก์ ลับลงไปประดิษฐานอยู่ ใต้ต้นโพธิ์ที่ตั้งเดิมอีกถึง 3-4 ครั้ง ในที่สุดพระพุทธรูปองค์เล็กนั้นก็ ค่อย ๆ จมหายลงไปใต้ดิน คงเห็นแต่ยอดพระเกศโผล่ขึ้นมาให้เห็น อยู่ใต้ต้นโพธิ์ริมฝั่งโขง จึงได้พร้อมกันสร้างแท่นสักการะบูชาครอบ ปัจจุบันบริเวณที่พระหลุบเหล็กจมดินได้ถูกกระแสน�้ำ เซาะตลิง่ โขงพังลงไปหมดแล้ว (คงเหลือแต่แท่นสักการะบูชาทีย่ กเข้า มาเก็บรักษาไว้หน้าพระวิหารของวัดศรีมงคลใต้ในปัจจุบัน) ส่วน พระพุทธรูปองค์ใหญ่ทกี่ อ่ อิฐถือปูนและได้อญ ั เชิญขึน้ ไปประดิษฐาน อยูบ่ นพระวิหารของวัดศรีมงุ คุณ ชาวเมืองได้ขนานนามว่า “พระเจ้า องค์หลวง” เป็นพระประธานของวัดศรีมุงคุณ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยน นามเป็น วัดศรีมงคลใต้ ตลอดมาจนถึงปัจจุบัน เป็นพระพุทธรูปคู่ บ้านคูเ่ มืองตลอดมาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั เมือ่ ครัง้ ตัง้ เมืองขึน้ ใหม่ ในเวลากลางคืน ได้มีผู้พบเห็นแก้วดวงหนึ่งสีสดใสเปล่งแปลงเป็น ประกายแวววาวเสด็จ (ลอย) ออกจากต้นตาล 7 ยอดริม ฝั่งโขง ล่อง ลอยไปตามล�ำน�้ำโขงแทบทุกคืน จวบจนใกล้รุ่งสว่างแก้วดวงนั้นจึง เสด็จ(ลอย) กลับมาที่ต้นตาล 7 ยอด เจ้าจันทกินรีจึงได้ขนานนาม แก้วศุภนิมิตดวงนี้ว่า แก้วมุกดาหาร เพราะตั้งเมืองขึ้นริมฝั่งโขงตรง ปากห้วยบังมุกอีกทั้งได้มีผู้พบเห็น ไข่มุกอยู่ในหอยกาบ (หอยกี้) ใน ล�ำน�้ำโขงอีกด้วย เจ้าจันทกินรีจึงให้ขนานนามเมืองที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า เมืองมุกดาหาร ตั้งแต่เดือน 4 ปีกุน จุลศักราช 1132 (พ.ศ.2313) อาณาเขตเมืองมุกดาหารครอบคลุมทั้งสองฝั่งแม่น�้ำโขงจนจรดแดน ญวน (รวมเขตของแขวงสุวรรณเขตของดินแดนลาวด้วย) ครัน้ ถึงสมัย กรุงธนบุรีเมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชได้แผ่แสนยานุภาพขึ้นมาถึง แถบลุ่มแม่น�้ำโขง จนถึง พ.ศ. 2321 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกฯและเจ้าพระยาจักรียกกองทัพขึ้น มาตามล�ำน�้ำโขง เพื่อปราบปรามและรวบรวมหัวเมืองใหญ่น้อยใน สองฝั่งแม่น�้ำโขงให้รวมอยู่ในข้าขอบขัณฑสีมาของกรุงธนบุรีและได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้ เจ้าจันทกินรี เป็น พระยาจันทร ศรีสุราชอุปราชามันธาตุราช เจ้าเมืองมุกดาหารคนแรก และได้
“ เมืองแห่งวัฒนธรรม เลิศล�้ำประตูสู่อินโดจีน ”
พระราชทานนามเมืองว่า เมืองมุกดาหาร ไว้ในบริเวณนั้นและ ขนานนามพระพุทธรูปองค์นั้นว่า พระหลุบเหล็ก จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร เป็ น เมื อ งเก่ า แก่ โดยตาม ประวัตศิ าสตร์มกี ารก่อตัง้ เมืองขึน้ มาแล้ว 249 ปี และในปี 2563 เมืองมุกดาหารจะมีอายุครบ 250 ปี ปัจจุบนั ตามแผนพัฒนาการ ท่ อ งเที่ ย วภาคตะวั น ออกฉี ย งเหนื อ ให้ จั ง หวั ด มุ ก ดาหารจั ด เป็นการท่องเที่ยวลุ่มน�้ำโขง โดยมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวใน หลาย ๆ ด้าน คือ 1. การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรม ซึง่ จังหวัดมุกดาหารมีทงั้ วัดวาอารามทีเ่ ก่าแก่และเป็นทีเ่ ลือ่ มใส ยั ง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วตามความเชื่ อ ก็ คื อ การเที่ ย วตามรอย พญานาค และยังมีวัฒนธรรมต่าง ๆ ของ ชนเผ่าทั้ง 8 ชนเผ่า 2. การท่องเทีย่ วตามแหล่งธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภผู า เทิบ แก่งกะเบา และน�ำ้ ตก ซึง่ จังหวัดมุกดาหารมีความหนาแน่น ทางธรรมชาติเป็นอันดับต้น ๆ ของประเทศไทย 3. การท่องเทีย่ ว เชิงเศรษฐกิจ เช่น ตลาดอินโดจีน ให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติได้เลือกซื้อสินค้าพื้นเมืองและสินค้าน�ำเข้า ร่วมไปถึงการน�ำเช้าสินค้าข้ามแดนผ่านเข้ามาทางด่านศุลกากร มุกดาหารและการเดินทางเข้ามาของนักท่องเที่ยวจากประเทศ เพื่อนบ้าน ซึ่งผ่านเข้ามาทาง “สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2” อีกด้วย ทางจังหวัดมุกดาหารพร้อมต้อนรับและ อยากเชิญชวนนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ มาเทีย่ ว ตามรอยเมื อ งเก่ า ตามค� ำ ขวั ญ ที่ ว ่ า “หอแก้ ว สู ง เสี ย ดฟ้ า ภูผาเทิบแก่งกะเบา แปดเผ่าชนพืน้ เมือง ลือเลือ่ งมะขามหวาน กลองโบราณล�้ำเลิศ ถิ่นก�ำเนิดล�ำผญา ตระการตาชายโขง เชื่อมโยงอินโดจีน” วันนีผ้ ม ชยันต์ ศิรมิ าศ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมุกดาหาร ได้มีโอกาสมาเล่าถึงเรื่องราวดี ๆ และเป้าหมายในการพัฒนา ด้านการท่องเที่ยวของทางจังหวัดในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้าน เศรษฐกิจ ด้านการคมนาคม และการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ และหวังอย่างยิง่ ว่า ชาวมุกดาหารจะได้มโี อกาสต้อนรับนักท่อง เที่ยวทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
นายชยันต์ ศิริมาศ ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร
127
1
7 สถานที่ท่องเที่ยว 1
1
อุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ
เป็นอุทยานแห่งชาติล�ำดับที่ 59 ของประเทศไทย มีเนื้อที่ 48.5 ตารางกิโลเมตร หรือ 30,312.5 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อำ� เภอเมืองมุกดาหาร และอ�ำเภอดอนตาล ลักษณะภูมปิ ระเทศเป็นภูเขาหินทรายประกอบด้วย เทือกเขาน้อยใหญ่หลายลูกติดต่อกันแบบลูกคลื่นและเป็นส่วนปลายสุด ของเทือกเขาภูพาน เทือกเขาเหล่านีว้ างตัวในลักษณะแนวเหนือ-ใต้ขนาน และห่ า งจากชายฝั ่ ง แม่ น�้ ำ โขงประมาณ 4 กิ โ ลเมตร หลายบริ เ วณ เป็นหน้าผาสูง และลานหินกว้าง มีหินรูปร่างแปลก ๆ มากมาย
128
1
2
3
แก่งกระเบา
แก่งกะเบาเป็นแก่งหินยาวเหยียดตามล�ำน�ำ้ โขง บนฝัง่ ก็ยงั มีลานหินกว้างใหญ่เป็นที่พักผ่อนได้อย่างดี ในฤดูแล้งน�้ำลดจนเห็น เกาะแก่งกลางน�้ำและหาดทรายสวยกว่าฤดูอื่น ๆ ลักษณะเด่นของ แก่งกะเบา คือ มีแก่งหินและโขดหินที่ขวางกั้นแม่น�้ำโขง สายน�้ำโขง ที่ไหลมาจะมากระทบกับแก่งหินและมีการกัดเซาะท�ำให้เกิดรูปร่าง ทีส่ วยงาม ในบางพืน้ ทีจ่ ะมีลกั ษณะเหมือนกับหลุมลึก บางพืน้ ทีก่ จ็ ะ มีลกั ษณะเหมือนถ�ำ้ ใต้นำ�้ แนะน�ำว่าถ้าอยากเทีย่ วให้ได้ชนื่ ชมความงาม มากทีส่ ดุ ของแก่งกระเบาให้มาในช่วงฤดูนำ้� แล้งทีจ่ ะสวยกว่าฤดูอนื่ ๆ
น้ำ�ตกตาดโตน
น�้ำตกตาดโตน นั้นถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวตามแหล่ง ธรรรมชาติทสี่ ำ� คัญของจังหวัดมุกดาหารทีม่ คี วามสวยงามอย่างมาก ซึ่งถ้ามาท่องเที่ยวจังหวัดมุกดาหารไม่ควรพลาดที่จะมาชม โดยตัว น�้ำตกตาดโตนนั้นจะมีลักษณะเป็นน�ำ้ ตกชั้นเดียว มีน�้ำไหลลอดตาม โขดหินที่เรียงรายกันตลอดทั้งปี มีแนวราบยาวสวยงาม ความสูง น�้ำตกประมาณ 7 เมตร กว้าง 30 เมตร มีแอ่งน�้ำส�ำหรับเล่นน�้ำได้ ท่ามกลางธรรมชาติที่ร่มรื่น สวยงาม ในช่วงปลายฤดูฝนถึงฤดูร้อน น�้ำจะใสไหลเย็นยิ่งชวนให้น่าลงเล่นน�ำ้ เป็นอย่างมาก
2
3 3
129
4
5
วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมณ์
วัดนีม้ โี บราณสถานและโบราณวัตถุสำ� คัญ ได้แก่ พระธาตุ ภูมโนรมย์ พระอังคารเพ็ญ บันทึกการสร้างวัดจ�ำนวน 1 แผ่น ซึ่งติดอยู่หลังของพระอังคารเพ็ญ และรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง ขนาดเล็ก สร้างขึ้นจากหินทราย มีความกว้าง 80 เซนติเมตร ความยาว 1.8 เมตร เมื่อปี พ.ศ. 2525 ซึ่งถ้ามองจากบริเวณวัด นักท่องเที่ยวสามารถมองเห็นทัศนียภาพอันสวยงามของเมือง มุกดาหาร แม่น�้ำโขง สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 และ แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวได้
เป็นวัดธรรมยุตกิ นิกายทีส่ ำ� คัญทีต่ งั้ อยูบ่ นภูกอ้ จ้อ ซึง่ เป็น ภูเขาขนาดย่อมที่สงบสวยงาม มีลักษณะป่าเบญจพรรณทั้งแนว ก้อนหินน้อยใหญ่ วัดนี้มีความเป็นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2484 เริ่มแรก พระอาจารย์ขาวได้ธุดงค์มาปฏิบัติธรรมอยู่ที่ถ�้ำภูก้อจ้อแห่งนี้ แล้วชักชวนให้ชาวบ้านแวงพากันสร้างพระพุทธรูปปูนขาวไว้หน้าถ�ำ้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2500 ชาวบ้านแวงได้นิมนต์หลวงปู่หล้า เขมปัตโต ให้มาพ�ำนักที่ถ�้ำภูก้อจ้อแห่งนี้ หลวงปู่หล้าได้พัฒนาวัด แห่งนี้ให้เป็นศาสนสถานที่เจริญสติกรรมฐานอันเป็นมรดกทาง ศาสนาที่ส�ำคัญแห่งภาคอีสาน 5
4 4
130
วัดภูก้อจ้อ หรือ วัดบรรพตคีรี
6
ศาลองค์ปู่พญานาค และ จุดชมวิวใต้สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 ศาลองค์ ปู ่ พ ญานาค และจุ ด ชมวิ ว บริ เ วณใต้ ส ะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 เป็นจุดชมวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม มีศาล องค์ปู่พญานาคและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้นักท่องเที่ยวได้เคารพสักการะ ซึ่ งบริ เ วณโดยรอบนั้ นร่มรื่นด้วยต้นไม้นานาพันธ์ที่จัด ขึ้นเป็น สวนหย่อมและเต็มไปด้วยไม้ประดับทีใ่ ห้ความสดชืน่ บริเวณนีม้ ที งั้ ร้านอาหาร ร้านขายของ จุดจอดรถ และห้องน�ำ้ คอยให้บริการ เพือ่ ให้นักท่องเที่ยวได้แวะพักอย่างสะดวกสบาย
7
สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2
สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 นี้ ถือเป็นส่วนหนึ่ง ของการพัฒนาเส้นทางขนส่ง เชื่อมโยงจากตะวันออก คือ เมือง ดานัง (เวียดนาม) ข้ามแม่นำ�้ โขงที่ แขวงสะหวันนะเขต ต่อมายัง มุกดาหาร และผ่านไปยังตะวันตกที่ชายแดนไทย-พม่า ที่อ�ำเภอ แม่สอดและเมืองเมียวดี และไปสิ้นสุดที่เมืองมะละแหม่งของพม่า นอกจากจะมีประวัติความเป็นมาที่ส�ำคัญทางการทูต สะพาน มิ ต รภาพไทย-ลาว แห่ ง ที่ 2 นี้ ยั ง มี วิ ว ทิ ว ทั ศ น์ ที่ ส วยงามด้ ว ย ตัวสะพานที่ทอดยาวข้ามแดนระหว่างประเทศตัดกับแม่น�้ำโขงที่ กว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตา
6
7 7
131
Mukdahan
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�ห้องพักราคาสุดคุ้ม ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะนำ� ทีพ่ กั สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม สำ�หรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ าเยือนจังหวัดมุกดาหาร
โรงแรมเคียงโขง เรสซิเด้นซ์ โฮเทล KIANKHONG HOTEL
เลขที่ 388 ม.6 บ้านด่านค�ำ ถ.เลี่ยงเมือง ต.มุกดาหาร อ.เมืองมุกดาหาร จ.มุกดาหาร
kiangkhong2016@gmail.com
โรงแรมเคียงโขง เรสซิเด้นซ์ โฮเทล www.kiangkhonghotels.com
โรงแรม เวียงโขง
VIENG KHONG HOTEL
เลขที่ 189 ถ.ส�ำราญชายโขงใต้ ต.ศรีบุญเรือง อ.เมืองฯ จ.มุกดาหาร
โรงแรม เวียงโขง มุกดาหาร www.viengkhong.com 09-6686-0045
0-4267-2091
แนะนำ� ห้องพักราคาสุดคุ้ม
Mukdahan บ้านพักธนาวดี รีสอร์ท THANAWADEE RESORT
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2034 ต.ดอนตาล อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร
thanawadeehouse@gmail.com บ้านพักธนาวดี ดอนตาล 08-2737-6570
132
น�้ำตกตาดโตน จังหวัดมุกดาหาร
ร้านกาแฟ
Hungry Bear
มุกดาหาร
ร้านอาหาร รัตติยา แจ่วฮ้อน
สาขา 1 : หมู่ 18 พุทธเจริญ อ.เมืองฯ จ.มุกดาหาร สาขา 2 : 99/9 ถ.พิทักษ์พนม อ.เมืองฯ จ.มุกดาหาร รัตติยาแจ่วฮ้อน - จิ้มจุ่ม 081 260 7358 8.30 - 17.00 น.
ร้านอาหาร ศิริชัยหมูหัน
ร้านอาหาร ShareYes
เลขที่ 19/8 ถ.เมืองใหม่ อ.เมืองฯ จ.มุกดาหาร 49000 Hungry Bear Cafe’ 08-6229-5054 8.00 - 18.00 น. ทุกวัน
เลขที่ 121 ต.ป่งขาม อ.บ้านใหญ่ จ.มุกดาหาร 49150 08-1260-7358 8.30 - 17.00 น. ทุกวัน
เลขที่ 99/9ซอยพิทักษ์พนม อ.เมืองฯ จ.มุกดาหาร 49000 ShareYes Mukdahan 0981928965
18.30- 00.00น. ทุกวัน
133
“มุกดาหาร เมืองที่มีความหลากหลายของวัฒนธรรม”
134
วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์
135
การทำ�งานขอให้เน้นความรัก ความสามั ค คี ใ นองค์ ก รเพื่ อ ช่วยกันขับเคลื่อนการทำ�งาน ให้ ป ระสบผลสำ�เร็ จ โดยยึ ด ประชาชนเป็ น หลั ก และปฏิ บั ติ ตามระเบี ย บกฎหมายอย่ า ง เคร่งครัด
สารผู้ทรงคุณวุฒิ
ท้องถิ่นจังหวัดมุกดาหาร นางสาวณัฐชยา ช่างแกะ 136
การปฏิบัติงานในปัจจุบันขอให้เปลี่ยนแนวคิด ทัศนคติ ในการท�ำงานใหม่ โดยให้นึกถึงประชาชนเป็นเป้าหมายหลักในการ ท�ำงาน ยึดกฎหมายและระเบียบ เป็นเครื่องมือในการท�ำงาน หาก ไม่สามารถด�ำเนินการได้เพราะระเบียบอาจไม่ได้กำ� หนดแนวทางไว้ เราก็มที างออกในการขอยกเว้นการปฏิบตั ติ ามระเบียบ ต่อผูม้ อี ำ� นาจ เพือ่ ให้งานสามารถด�ำเนินต่อได้และเกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชนโดย รวม และทางราชการไม่เสียหายแต่ไม่ได้หมายความว่าให้ผดิ ระเบียบ เพียงหาทางออกว่าเมื่อการปฏิบัติงานบางอย่างเกิดปัญหาติดขัด ก็ต้องให้หาทางออกที่ถูกต้องต่อไป
137
เรื่องราวหลายวิถี
20 ถิน่ ดีอสี าน จังหวัดมุกดาหาร
รุจาภา วีสเพ็ญ ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดมุกดาหาร ส�ำนักงานการท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดมุกดาหาร เป็นหน่วยงาน ในสั ง กั ด ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา เป็นหน่วยงานหลักในการอ�ำนวยการบริหารราชการ ของกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา สนับสนุนการบริหารงานแบบบูรณาการ ในด้านการท่องเที่ยวและกีฬา โดยเฉพาะในด้านการท่องเที่ยวเป็นการ มุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งถือว่าเป็นส่วนส�ำคัญในการสร้าง รายได้เข้าสู่ประเทศเป็นจ�ำนวนมาก และด้านการกีฬาเป็นหน่วยงานหลักใน การบูรณาการบริหารจัดการ การส่งเสริม สนับสนุน ประสานแผนพัฒนา การกี ฬ าของจั ง หวั ด เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายของรั ฐ บาล ภายใต้ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการกีฬาจังหวัดมุกดาหาร ส�ำนักงานการท่องเที่ยว และกีฬาจังหวัดมุกดาหาร จึงถือเป็นตัวแทนของกระทรวงที่ตั้งอยู่ในส่วน ภูมิภาค ท�ำหน้าที่บูรณาการทุกหน่วยงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ประสานการก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่การปฏิบัติให้เป็นไปอย่างมี
138
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด และจังหวัดมุกดาหารได้ก�ำหนด ต�ำแหน่งด้านการท่องเทีย่ ว คือ การพัฒนาการท่องเทีย่ วตามวิถชี วี ติ ลุม่ น�ำ้ โขง ซึง่ ถือเป็นจังหวัดชายแดนทีม่ ศี กั ยภาพ โดยมีแม่นำ�้ โขงเป็นเส้นกัน้ พรมแดน ระหว่างราชอาณาจักรไทยกับแขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ที่ทั้งสองฝั่งมีความสัมพันธ์ดีต่อกันมายาวนาน มีประเพณี วัฒนธรรมใกล้เคียงกันและร่วมสืบต่อกัน เช่น ประเพณีแข่งเรือออกพรรษา พิธตี ชี า้ งน�ำ้ นอง ประเพณีสงกรานต์ไทย-ลาว กิจกรรมการแข่งขันมาราธอน นานาชาติเพื่อการท่องเที่ยว ปั่นจักรยาน 2 ล้อ 2 น่อง ท่อง 2 แผ่นดิน เป็นต้น และนอกจากนี้จังหวัดมุกดาหารยังมีความสัมพันธ์กับประเทศ เพื่อนบ้าน มีการจัดท�ำบันทึกด้านการท่องเที่ยวร่วมกันระหว่างแขวง สะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและจังหวัดกวางตรี สาธารรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และเมืองฉงจัว่ จีนตอนใต้ ซึง่ มีการแลกเปลีย่ น ข้อมูลในการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมด้านการท่องเทีย่ วมาโดยตลอด มีจดุ แข็งทางด้านโลจิสติกที่ตั้งอยู่เส้นทางเชื่อมโยงตามแนวเส้นทางระเบียง เศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก โดยมี สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 ข้ามแม่น�้ำโขงแห่งที่ 2 (มุกดาหาร – สะหวันนะเขต) เป็นจุดเชื่อมโยง การค้า การลงทุน การท่องเที่ยวและวัฒนธรรมกับประเทศในอนุภูมิภาค ถือเป็น “ประตูสู่อินโดจีน”
139
Second Thai–Lao Friendship Bridge
140
สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2
141
Loei
City of the Sea of Mountains, Coldest Place in Siam, and Beautiful Flowers of Three Seasons.
เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม ดอกไม้งามสามฤดู ถิ่นที่อยู่อริยสงฆ์ มั่นคงความสะอาด
จังหวัดเลย
“ เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม ” มีหลักฐานเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาว่า ก่อตั้งโดยชนเผ่าไทยที่ สืบเชือ้ สายมาจากบรรพบุรษุ ทีก่ อ่ ตัง้ อาณาจักรโยนกเชียงแสน โดยพ่อขุนบาง กลางหาวและพ่อขุนผาเมือง (เชื่อถือกันว่าเป็นเชื้อสายราชวงศ์สิงหนวัติ) ได้มีผู้คนอพยพจากอาณาจักรโยนกเชียงแสนที่ล่มสลายแล้ว ผ่านดินแดน ล้านช้าง ข้ามล�ำน�ำ้ เหืองขึน้ ไปทางฝัง่ ขวาของล�ำน�ำ้ หมันถึงบริเวณทีร่ าบ พ่อขุน ผาเมืองได้ตงั้ บ้านด่านขวา (ปัจจุบนั อยูใ่ นบริเวณชายเนินนาด่านขวา ซึง่ มีซาก วัดเก่าอยู่ในแปลงนาของเอกชน ระหว่างหมู่บ้านหัวแหลมกับหมู่บ้านนาเบี้ย อ�ำเภอด่านซ้าย) ส่วนพ่อขุนบางกลางหาวได้แบ่งไพร่พลข้ามล�ำน�ำ้ หมันไปทาง ฝัง่ ซ้าย สร้างบ้านด่านซ้าย (สันนิษฐานว่าอยูใ่ นบริเวณหมูบ่ า้ นเก่า อ�ำเภอด่านซ้าย ในปัจจุบัน) ต่อมาจึงได้อพยพเลื่อนขึ้นไปตามล�ำน�้ำไปสร้างบ้านหนองคู และได้ น�ำ นามหมู ่ บ้ า นด่ านซ้ายมาขนานนามหมู่บ ้านหนองคูใหม่ เป็น “เมืองด่านซ้าย” และอพยพไปอยูท่ เี่ มืองบางยางในทีส่ ดุ โดยมีพอ่ ขุนผาเมือง อพยพผูค้ นติดตามไปตัง้ เมืองราด (เชือ่ ว่าเป็นเมืองศรีเทพ อยูใ่ นท้องทีอ่ ำ� เภอ ศรีเทพและอ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์) และตัง้ เมืองด่านซ้ายเป็นเมือง หน้าด่านทางตะวันออกของเมืองบางยาง นอกจากนี้แล้วยังมีชาวโยนกอีก กลุม่ หนึง่ ได้อพยพมาตัง้ บ้านเรือนระหว่างชายแดนตอนใต้ของอาณาเขตล้าน นาต่อแดนล้านช้างอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง ก่อนที่จะอพยพหนีภัยสงครามข้าม ล�ำน�้ำเหืองมาตั้งเมืองเซไลขึ้น (สันนิษฐานว่าอยู่ในท้องที่หมู่บ้านทรายขาว ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง) จากหลักฐานในสมุดข่อยทีม่ กี ารค้นพบ เมือง เซไลอยู่ด้วยความสงบร่มเย็น มาจนกระทั่งถึงสมัยเจ้าเมืองคนที่ 5 เกิดทุพภิกขภัย ข้าวยาก หมากแพง ฝนฟ้าไม่ตก จึงได้พาผู้คนอพยพไปตามล�ำแม่น�้ำเซไลถึงบริเวณ ทีร่ าบระหว่างปากล�ำห้วยไหลตกแม่เซไล จึงได้ตงั้ บ้านเรือนขึน้ ขนานนามว่า “บ้านแห่” (บ้านแฮ่) ส่วนล�ำห้วยให้ชื่อว่า “ห้วยหมาน” ในปี พ.ศ. 2396
144
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพิจารณาเห็นว่าหมู่บ้านแฮ่ ซึ่ง ตั้งอยู่ริมฝั่งห้วยน�้ำหมานและอยู่ใกล้กับแม่น�้ำเลยมีผู้คนเพิ่มมากขึ้น สมควร จะได้ตั้งเป็นเมือง เพื่อประโยชน์ในการปกครองอย่างใกล้ชิด จึงได้ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งเป็นเมือง เรียกชื่อตามนามของแม่น�้ำเลยว่า เมืองเลย ขึ้นตือเมืองเพชรบูรณ์อีกทีหนึ่ง ต่อมา พ.ศ. 2440 ได้มีประกาศใช้ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองพื้นที่ ร.ศ.116 แบ่งการปกครองเมืองเลย ออกเป็น 3 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอกุดป่อง อ�ำเภอท่าลี่ (เดิมต�ำบลอาฮีเป็นอ�ำเภอ แต่ถกู ลดบทบาทลงเป็นต�ำบลเพราะอยูใ่ กล้กบั แม่นำ�้ เหือง เป็นผลมาจากการ เสียดินแดนให้ลาวโดยประเทศฝรัง่ เศส) อ�ำเภอนากอก (ปัจจุบนั อยูใ่ นประเทศลาว) อ�ำเภอที่ตั้งเมืองคือ อ�ำเภอกุดป่อง ต่อมา พ.ศ. 2442-2449 ได้เปลี่ยนชื่อ เมืองเลย เป็นบริเวณล�ำน�ำ้ เลย พ.ศ. 2449-2450 เปลีย่ นชือ่ บริเวณล�ำน�ำ้ เลย เป็นบริเวณล�ำน�้ำเหือง และใน พ.ศ. 2450 ได้มีประกาศของกระทรวง
มหาดไทยลงวั น ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2450 ยกเลิ ก บริ เ วณ ล�ำน�้ำเหืองให้คงเหลือไว้เฉพาะ “เมืองเลย” โดยให้เปลี่ยนชื่อ อ�ำเภอกุดป่อง เป็น “อ�ำเภอเมืองเลย” หากจะกล่าวถึงจังหวัดเลยแล้วนั้นจะมีอยู่ 3 เรื่อง ที่เป็นจุดเด่นของของเมืองเลย คือ 1. ธรรมชาติ เมืองเลยเป็น เมืองที่มีความหลากหลายทางธรรมชาติ โดยเฉพาะภูต่าง ๆ เช่น ภูกระดึง ภูเรือ ภูลมโล ภูปา่ เปาะ เป็นต้น จึงเป็นสิง่ ทีน่ กั ท่องเทีย่ ว สามารถมาเที่ ย วและมาสั ม ผั ส ได้ ถึ ง เสน่ ห ์ ข องเมื อ งเลย 2. วัฒนธรรมประเพณี ที่ค่อนข้างจะแตกต่างจากทั่วไป เพราะ มีอารยธรรมล้านช้างมาปรากฏอยู่ที่นี่ ทั้งด้านการละเล่นและ ความเชื่อต่าง ๆ เช่น งานประเพณีบุญหลวงและการละเล่น ผีตาโขน หรือ ประเพณีผีขนน�ำ้ เป็นต้น 3. วิถีชีวิต เป็นการใช้ ชีวิตประจ�ำวันที่นักท่องเที่ยวชื่นชอบและประทับใจ ไม่ว่าจะเป็น ทางที่ อ�ำเภอด่านซ้าย หรือ อ�ำเภอเชียงคาน ซึ่งมีวิถีชีวิตที่ คอนข้างเรียบง่าย ส่วนในด้านของความสัมพันธ์ระหว่างพี่น้อง สองฝั่งไทยลาว เป็นความสัมพันธ์อันดีและท�ำให้เกิดผลหลาย อย่างตามมา เช่น การท�ำการค้าขายและการท่องเที่ยว ส่งผลให้ เกิดความสัมพันธ์ดีขึ้น เศรษฐกิจดีขึ้น จึงท�ำให้การท่องเที่ยวของ เมืองเลยมีการยกระดับทีด่ ขี นึ้ อีกด้วย เหนือสิง่ อืน่ ใดเมือ่ เศรษฐกิจ ดี ขึ้ น พี่ น ้ อ งประชาชนมาจั บ จ่ า ยใช้ ส อย มี ค วามเป็ น มิ ต รมี ความเอือ้ อารียต์ อ่ กัน ท�ำให้เรามีความภาคภูมใิ จร่วมกันว่าบ้านเรา มีสิ่งที่น่าดูน่าชมนักท่องเที่ยวจึงมา เพราะฉะนั้นความภาคภูมิใจ ร่วมกันนี้จึงเป็นเสน่ห์ที่จะต้อนรับนักท่องเที่ยวอย่างดี ดั่งค�ำว่า “มาแล้วมาอีก มาแล้วมาเลย เที่ยวแล้วเที่ยวอีก เที่ยวแล้ว เที่ยวเลย” กระผม นายชัยวัฒน์ ชืน่ โกสุม ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเลย และพีน่ อ้ งชาวจังหวัดเลย มีความยินดียงิ่ ทีไ่ ด้ตอ้ นรับนักท่องเทีย่ ว ที่จะมาเที่ยวชม มาทักมาทาย มาใช้ชีวิตที่จังหวัดเลย เราถือว่า นักท่องเทีย่ วทุกคนมีความส�ำคัญต่อการท่องเทีย่ ว ชีวติ ความเป็น อยู ่ และมี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ความภาคภู มิ ใ จร่ ว มกั น ของพี่ น ้ อ ง เมืองเลยทุกคน
นายชัยวัฒน์ ชื่นโกสุม ผู้ว่าราชการจังหวัดเลย
145
1
อุทยานแห่งชาติภูกระดึง เป็นภูเขาหินทราย ยอดตัด โดยมีที่ราบบนยอด ภู ก ระดึ ง ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร บนภูเต็มไป ด้ ว ยต้ น ไม้ แ ละสั ต ว์ น านา พั น ธุ ์ สภาพอากาศเย็ น สบาย ซึ่ ง ในช่ ว งฤดู ห นาว อุณหภูมิอาจลดต�่ำจนถึง 0 องศา บนภู ก ระดึ ง มี ผ า ส�ำคัญ ๆ 2 ผา คือ ผานก แอ่นกับผาหล่มสัก
1 3
15 สถานทีท ่ ่องเทีย ่ ว
2
2
ทะเลหมอกภูทอก (เชียงคาน)
เป็ น หนึ่ ง สถานที่ ที่ ไ ม่ ค วรพลาดอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ มาเที่ ย ว เชียงคาน ถือเป็นจุดชมวิวบรรยากาศยามเช้าที่จัดได้ว่าสวยที่สุดใน เชียงคาน เป็นเขาสูงระดับประมาณสัก 400 - 500 เมตร จากระดับ น�้ำทะเล เป็นเขาที่ไม่สงู นัก แต่ววิ ทิวทัศน์สวยงามมาก ในหน้าหนาว จะเห็นทะเลหมอก ในหน้าฝนจะได้เห็นหมอกลอย อากาศในช่วงเช้า จะดีมาก ๆ เป็นจุดชมพระอาทิตย์ขนึ้ ทีส่ วยมากจุดหนึง่ ของเชียงคาน
146
3
ภูลมโล
ในเขตอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ภูลมโลเป็นภูเขาที่ตั้ง อยู่บนรอยต่อของสามจังหวัดคือ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และเลย ซึ่ง สิ่งที่ท�ำให้ ภูลมโล เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความสนใจจากนัก ท่องเที่ยวในเวลานี้ คือ เป็นจุดชมดอกนางพญาเสือโคร่งที่มีพื้นที่ กว้างขวางนับ 1000 ไร่ ที่มีดอกนางพญาเสือโคร่งขึ้นแทรกตามตัว อยู่ตามหุบเขามากมาย และมีสภาพอากาศที่หนาวเย็น บรรยากาศ สบาย ๆ สดชื่น
4
ภูป่าเป่าะ (ฟูจิเมืองไทย)
ยอดภูป่าเปาะอยู่สูงจากระดับน�้ำทะเล 910 เมตร เป็นจุด ชมวิวที่สามารถมองเห็น ภูหอ ซึ่งมีลักษณะเหมือนภูเขาไฟฟูจิของ ประเทศญี่ปุ่นได้อย่างชัดเจน และเป็นจุดชมพระอาทิตย์ขึ้นและ พระอาทิ ต ย์ ต ก ในช่ วงฤดูหนาวสามารถมองเห็นทะเลหมอกที่ สวยงามได้โดยรอบซึ่งนอกจากนี้ยังจะมองเห็นภูกระดึง ภูหลวง ภูยอง ภูผาขวาง ภูคอ้ -ภูกระแต สวนหินผางาม ภูผาม่าน จึงได้ชอื่ ว่า “พาโนราม่าเมืองเลย”
5
เมืองเชียงคาน
เมืองเล็กๆที่ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำโขงสุดชายแดนไทย ที่ยังคงไว้ ซึ่งวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมซึ่งหา ดูได้ยากในปัจจุบนั และภาพบ้านเก่า ๆ ทีเ่ รียงรายกันอยูร่ มิ ถนนชาย โขงดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวหลายต่อหลายรุ่นต่างหลั่งไหลเดินทาง กันมาที่นี่ บ้านเรือนที่เมืองเชียงคานจะแบ่งออกเป็นซอยเล็ก ๆ เรียกว่า ถนนศรีเชียงคาน ขนานคู่กันไปไปกับถนนใหญ่ซึ่งเป็นถนน สายหลัก
4 6 5 7
6
สวนหินผางาม หรือคุนหมิงเมืองเลย
เป็นแนวผาหินปูนสูงใหญ่ทอดตัวเป็นแนวยาวโดดเด่น ท่ามกลางทุง่ หญ้าทีเ่ ขียวขจี พืน้ ทีบ่ ริเวณนีค้ อื ทีต่ งั้ ของสวนหินผางาม เมืองเลย ภายในมีเส้นทางเดินสลับซับซ้อนคล้ายกับเขาวงกต บาง ช่วงต้องปีนป่ายเพิงหิน หรืออาจต้องมุดลอดโพรงถ�้ำ นอกจากนี้ ตลอดเส้นทางยังมีโอกาสพบเห็นต้นไม้หายาก และต้นไม้ยักษ์อย่าง ปรงเขาที่มีอายุหลายร้อยปี สวนหินแห่งนี้จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า “คุนหมิงเมืองเลย”
7
อ่างเก็บน้ำ�ห้วยน้ำ�หมาน (ห้วยกระทิง)
เป็นสถานที่ชมพระอาทิตย์ตกอันสวยงามและแหล่งรับ ประทานอาหารจากปลาสดรสเลิศ นอกจากนี้มีการล่องแพในยาม เช้าเพื่อชมทิวทัศน์รอบอ่างเก็บน�้ำขณะพระอาทิตย์ขึ้น โดยเฉพาะ ในช่วงฤดูหนาวที่คุณจะสามารถเห็นไอหมอกบาง ๆ ซึ่งเกิดจากแสง ของดวงอาทิตย์สอ่ งกระทบกับผืนน�ำ้ ทีเ่ ย็นเฉียบก่อ ให้เกิดไอน�ำ้ ลอย ในอากาศกลายเป็นหมอกจาง ๆ สีขาวนวลปกคลุมไปทั่วพื้นผิวน�้ำ ในยามเช้า
147
8
แก่งคุดคู้
เป็นแก่งขนาดใหญ่แห่งหนึ่งที่เกิดจากการทอดตัวของแนว หินต่าง ๆ ลงในแม่น�้ำโขง จากการที่หินเหล่านี้อยู่ใต้นำ�้ เป็นเวลานาน ท�ำให้มีสีสันมากมาย ตัวแก่งกว้างใหญ่เกือบจรดสองฝั่งแม่น�้ำโขง ซึ่ง มีกระแสน�ำ้ ที่เชี่ยวกราก เวลาที่เหมาะจะชมแก่งคุดคู้ที่สุดคือ เดือน กุมภาพันธ์ - เดือนพฤษภาคม ซึง่ เป็นเวลาทีน่ ำ�้ แห้ง สามารถทีจ่ ะมอง เห็นเกาะแก่งชัดเจน และสามารถเดินลงไปเพือ่ สัมผัสบรรยากาศของ ริมน�ำ้ โขงได้อย่างใกล้ชิดได้ 8
10
9
เทศกาลผีตาโขน
9 เทศกาลนี้ จั ด ขึ้ น ใน อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เป็น เทศกาลที่เกิดขึ้นในเดือน 7 ซึ่ง มั ก จั ด มากกว่ า สามวั น ในช่ ว ง ระหว่ า งเดื อ นมี น าคมและ กรกฎาคม โดยจัดขึ้นในวันที่ได้ รับเลือกให้จัดขึ้นในแต่ละปีโดย
คนทรงประจ�ำเมือง ซึ่งงานบุญ ประเพณีพื้นบ้านนี้มีชื่อเรียกว่า บุ ญ หลวง โดยแบ่ ง ออกเป็ น เทศกาลผีตาโขน,ประเพณีบุญ บั้งไฟ และงานบุญหลวง (หรือ บุญผะเหวด)
11
วัดโพธิ์ชัย 10
เป็นวัดเก่าที่มีมาก่อน การตัง้ หมูบ่ า้ น สร้างขึน้ ราวพุทธ ศตวรรษที่ 22 - 23 ภายในวัดมี วิหารเก่าแก่ที่มีภาพจิตรกรรม ฝาผนังฝีมือช่างพื้นถิ่นที่งดงาม เนื้อที่ประมาณ 4 ไร่ 1 งาน 73 ตารางวา วิหารเป็นอาคารรูป สีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ผนังก่ออิฐถือปูน
10
148
11
ประตูทางเข้าทั้งสามทิศมีสัตว์ หิมพานต์หมอบอยู่ด้านละ 1 คู่ หลั ง คาทรงจั่ ว มุ ง ด้ ว ยไม้ แ ป้ น เกล็ด มีชายคาปีกนก รับด้วย เสาไม้ หลังคาคลุมต�ำ่ ซึ่งเป็นรูป แบบเฉพาะของอาคารท้องถิ่น จังหวัดเลย
อุทยานแห่งชาติภูเรือ
ภูเรือมีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อ�ำเภอภูเรือและอ�ำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย อาณาเขตทิศเหนืออยู่ติดกับประเทศลาว เป็นภูผาสีสัน สะดุดตา โดยรอบ ๆ จะเห็นยอดดอยเป็นขุนเขาน้อยใหญ่ มีพันธุ์ไม้ ปกคลุมทั่วป่า มีความอุดมสมบูรณ์ มีเนื้อที่ประมาณ 120.84 ตาราง กิโลเมตร และสาเหตุที่ขนานนามว่า “ภูเรือ”คือมีภูเขาลูกหนึ่งมี ชะโงกผายื่นออกมาดูคล้ายส�ำเภาเรือ และที่ราบบนยอดเขา มี ลักษณะคล้ายท้องเรือ
8
9
11
12
13
วัดพระธาตุศรีสองรัก
เดิ ม คื อ ส� ำ นั ก สงฆ์ ห ้ ว ยลาด ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น โดยหลวงปู ่ ช อบ ฐานสโม ต่อมาพระอาจารย์อุทัย ฌานุตตโม ได้เป็นผู้น�ำพาชาวบ้าน ห้วยลาดพัฒนาส�ำนักสงฆ์ ภายในบริเวณวัดมีศาลาเฉลิมพระเกียรติ ที่ใหญ่โตและสง่างาม ซึ่งประดิษฐานพระประธานสีขาวบริสุทธิ์ ความพิเศษคือสร้างด้วยแร่แคลไซด์ มีนามว่า พระสัพพัญญูรู้แจ้ง สามแดนโลกธาตุ ถือเป็นองค์ใหญ่ที่สุดและศักดิ์สิทธิ์มาก 13
12 เป็นเจดีย์ที่ก่อด้วยอิฐ ถือปูนมีฐานเป็นเหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างด้านละประมาณ 8 เมตร สูงประมาณ 32 เมตร โดย สร้ า งขึ้ น ในสมั ย สมเด็ จ พระ ม ห า จั ก ร พ ร ร ดิ์ แ ห ่ ง ก รุ ง ศรีอยุธยา ช่วง พ.ศ.2103 - พ.ศ.
14
วัดป่าห้วยลาด
2106 เพื่ อ ให้ เ ป็ น สั ก ขี พ ยาน แสดงความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ง าม ระหว่ า งกั น กั บ กรุ ง ศรี สั ต นาค นหุต หรือเวียงจันทร์ ซึ่งมีการ จารึกต�ำนานการสร้างพระธาตุ ด้วยอักษรธรรมที่แผ่นศิลา
15
วัดพระพุทธบาทภูควายเงิน 14
วัดเนรมิตรวิปัสสนา
วัดตั้งอยู่สูงเด่นอยู่บน เนินเขา ห่างจากพระธาตุศรีสอง รักเพียงเล็กน้อย พระอุโบสถและ เจดีย์ภายในวัดก่อสร้างด้วยศิลา แลงทั้ ง หลั ง และมี พ ระอุ โ บสถ ขนาดใหญ่ ที่ ต กแต่ ง ไว้ วิ จิ ต ร งดงามอย่างมาก ภายในมีภาพ
จิตรกรรมที่สวยงามประดับอยู่ โดยรอบ มีพระพุทธชินราชองค์ จ�ำลองและหุ่นขี้ผึ้งของหลวงพ่อ พระมหาพันธ์ สีลวิสทุ โธ ซึง่ เป็นผู้ ริเริ่มสร้างวัด รอบ ๆ วัดจัดสวน ไว้อย่างร่มรื่นสวยงาม
15 มีรอยพระพุทธบาทยาวประมาณ 120 เซนติเมตร กว้าง ประมาณ 65 เซนติเมตร ประดิษฐานบนหินลับมีด รอยพระพุทธบาท ภูควายเงินเป็นทีเ่ คารพสักการะของชาวบ้านมาก เชือ่ กันว่าคนทีม่ บี ญ ุ วาสนาเท่านั้นจึงจะเดินทางมากราบไหว้ได้ คนที่วาสนาไม่ถึงจะต้อง มีเหตุให้มาไม่ได้ทั้งที่ตั้งใจไว้อย่างเต็มที่ก็ตาม หรือบางคนก็หลงทาง ทุกปีในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 ทางวัดจะจัดงานสมโภชประจ�ำปี
14
13
15
12
149
มาใช้ชีวิต Slow life สักครั้ง แล้วคุณจะหลงรัก "เลย"
150
การละเล่นผีตาโขน
151
Loei
ดีทราเวลไทยแลนด์ แนะนำ�ห้องพักราคาสุดคุ้ม ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะนำ�ทีพ่ กั สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม สำ�หรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ าเยือนจังหวัดเลย
ฟอร์ร่า ฮิลล์ รีสอร์ท FORRA HILL RESORT เลขที่ 150 ถ.เลย-ด่านซ้าย ต.เสีย้ ว อ.เมืองฯ จ.เลย 42000 www.resort-hotel-2514.business.site Forra Hill Resort 06-2892-6223
โรงแรมเลยพาวิลเลี่ยน LOEI PAVILION HOTEL
เลขที่ 111/1 ถ.เลย - ด่านซ้าย ต.กุดป่อง อ.เมืองฯ จ.เลย 42000 loeipavilion@hotmail.com เลยพาวิลเลี่ยน Loei Pavilion loeipavilion 0-4281-5552
152
พนิดากู๊ดวิลล์
PANIDA GOODWILL HOTEL เลขที่ 368 ม. 5 ต.หนองหิน อ.หนองหิน จ.เลย 42190 panidataew@hotmail.com Panida Goodwill พนิดากู๊ดวิลล์ 08-3328-8474
โรงแรมนอนนับดาวริมโขง
NORNNABDAO RIMKHONG RESORT เลขที่ 48 ม.1 ถ.ชายโขง ซ. 3 ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน จ.เลย 42110 nornnabdao@gmail.com www.norn-nab-dao.com นอนนับดาว ริมโขง @nabdao 09-9638-0988
ร้านกาแฟ
เลขที่ 539 ม. 2 ถ.เชียงคานปากชม ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน จ.เลย 42110 The Seasons Cafe’ 08-9622-9149 9.00 - 18.00 น. ทุกวัน
ร้านกาแฟ กาแฟนัว @เลย
79/1 ม.2 ถ.เลย-ด่านซ้าย ต.เมือง อ.เมืองเลย จ.เลย 42000 (ซอยเล็ก ๆ ตรงข้าม วัดชลธาราราม) coffeenualoei 08-2704-1943 09.00 - 18.00 น. ทุกวัน
ร้านอาหาร
เลขที่ 23/3 ม.1 ถ.ชายโขง ซ.2 ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน จ.เลย 42000 smile at chiangkhan 08-8563-6377 11.00 - 22.00น. ทุกวัน
The Seasons Cafe’
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�
ร้านกาแฟ
&
ร้านอาหาร
เลย
ร้านอาหาร ดีเลย
D-LoeiFood & Drinks
เลขที่ 30/1 ถ.เลย-ด่านซ้าย ต.กุดป่อง อ.เมืองเลย จ.เลย 42000 ร้านอาหารดีเลย D-Loei อ.เมือง จ.เลย ถืกคัก แซบอีหลี คาวหวานครบจบม่องเดียว 099 245 2556 11.00 - 23.00 น. ทุกวัน
Smile @ Chaingkhan
153
นายจรัสพงศ์ คำ�ดอกรับ ท้องถิ่นจังหวัดเลย
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดบริการสาธารณะ ตามมาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ได้อย่างทั่วถึง เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีภายในปี 2565
154
ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเลย ได้จัดกิจกรรม/โครงการในการขับเคลื่อนภารกิจของรัฐบาล กระทรวง กรม และจังหวัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาค เอกชน และประชาชน ดังนี้ 1. โครงการ “ส�ำนักงานปลอดขยะ” จังหวัดเลย (Zero Waste Office) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุน การด�ำเนินงานตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ประจ�ำปี พ.ศ.2562 โดยให้ส่วนราชการ หน่วยงานทีม่ ที ตี่ งั้ ของส�ำนักงานอยูบ่ ริเวณศาลากลางจังหวัดเลย มีการคัดแยกขยะ โดยจัดหาภาชนะรวบรวมขยะรีไซเคิลหรือ ขยะขายได้ น�ำมาจ�ำหน่ายทุกสองเดือนในวันพุธทีส่ องของเดือน และรายงานผลการด�ำเนินการในการประชุมคณะกรมการ จังหวัดทราบ ท�ำให้ปริมาณขยะของส่วนราชการ หน่วยงาน ดังกล่าว ลดลง อาคารสถานที่มีความ 2. การรับบริจาคของเล่นมือสองที่สะอาด ใช้งานได้ และน�ำไปมอบให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เพื่อเสริมพัฒนาการของเด็ก 3. จัดกิจกรรมทอดป่าการกุศลเพื่อจัดหาวัสดุหรือ อุปกรณ์การเรียนการสอน ตลอดจนสิง่ อ�ำนวยความสะดวกมอบ ให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน พื้นที่ที่ขาดแคลน ในวันท้องถิ่นไทย เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2561 โดยได้ด�ำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปแล้ว จ�ำนวน 11 ศูนย์ ได้แก่ ศพด.บ้านปากแดง อบต.วังยาว, ศพด.วัดศรีบุญเรือง อบต.โป่ง, ศพด.บ้านน�ำ้ เย็น อบต.กกสะทอน, ศพด.บ้านขอนแก่นและศพด. บ้านปากห้วย อบต.หนองผือ ศพด.บ้านห้วยน�้ำผักและบ้านบ่อ เหมืองน้อย อบต.แสงภา ศพด.บ้านห้วยเทียน อบต.ปากชม, ศพด.บ้านโป่งส�ำราญ อบต.ห้วยพิชยั , ศพด.บ้านโพนและศพด. บ้านแก่งมี้ อบต.นาซ่าว ศพด.วัดทรายค�ำ อบต.ปากชม, ศพด. วัดศรีชมภูและศพด.วัดเวฬุวัณ อบต.ศรีฐาน และศพด.วัดสงป่า เปือย อบต.ห้วยส้ม
155
วัดศรีสุทธาวาส (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองเลย จังหวัดเลย
วัดศรีบุญเรือง อำ�เภอเมืองเลย จังหวัดเลย
156
พระธาตุศรีสองรัก อำ�เภอด่านซ้าย จังหวัดเลย
157
158
159
ษ ก เ ะ ส ี ร ศ ัจงหวัด isaket S
The land of ancient Khmer castles, Good onions and garlics
are cultivated,The Princess Mother Park with “Lamduan” flowers for us to honour,The province is famous for love and unity among folks of various cultures.
หลวงพ่อโตคู่บ้าน ถิ่นฐานปราสาทขอม
ข้าว หอม กระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำ�ดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำ�สามัคคี
จังหวัด
ศรีสะเกษ
“มหัศจรรย์วิถีศรีสะเกษ”
“มหัศจรรย์วิถีศรีสะเกษ” ดินแดนอารยธรรม อีสานใต้ที่ผสมผสานหลอมรวมวิถีชีวิตของผู้คน 4 ชนเผ่า ได้แก่ ขแมร์ ลาว ส่วย (กูย) เยอ ทั้งยังมีอาณาเขตติดต่อกับ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศกัมพูชาและใกล้เคียงกับ ประเทศลาว ท�ำให้ดินแดนแห่งนี้มีมนต์เสน่ห์แห่งวัฒนธรรม ที่งดงาม หลากหลาย และน่าค้นหา หั ว ใจส� ำ คั ญ ที่ อ าจถื อ ได้ ว ่ า เป็ น จุ ด แข็ ง ของ จังหวัด 3 ประการคือ ความมีศักยภาพด้านผลผลิตทางการ เกษตร ความมีศักยภาพและความพร้อมด้านการท่องเที่ยว และความมีศักยภาพของการเป็นเมืองกีฬาน�ำร่อง SPORT CITY 1 ใน 6 ระดับประเทศ 7 เส้นทางการท่องเที่ยวนวัตวิถี พร้อมต้อนรับ นักท่องเที่ยวให้มาสัมผัส เส้นทางตามรอยอารยธรรมขอม
162
นายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ
เส้นทางวิถีชนเผ่า เส้นทางธรรมชาติ เส้นทางผลไม้ดินภูเขาไฟ เส้นทางสายไหม เส้นทางตามรอยพระพุทธศาสนา เส้นทางวิถี เกษตรปลอดภั ย ทั้ ง ยั ง มี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว Unseen ไฮไลท์ เช่น ผามออีแดง ทุ่งกบาลกระไบ ปราสาทขอมโบราณ สวนทุเรียน และผลไม้ดินภูเขาไฟที่อร่อยที่สุด วัดไทยผสมศิลปะอีสาน ศิลปะ ขอมโบราณ เช่น วัดศรีบึงบูรพ์ วัดสุพรรณหงส์ วัดสระก�ำแพงใหญ่ ฯลฯ คื อ เครื่ อ งสะท้ อ นยื น ยั น ความหลากหลายทางทรั พ ยากร การท่องเทีย่ ว การพัฒนาการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน พร้อมสูก่ ารเป็น เจ้าบ้านที่ดี ทีน่ ศี่ รีสะเกษ จึงเป็นมหัศจรรย์วถิ ี ทีไ่ ม่ควรพลาดอย่างยิง่ โอกาสนี้ขอขอบคุณทีมผู้จัดท�ำหนังสือ “DeeTravel เที่ยวไทย หลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน” ที่ได้รวบรวมข้อมูล เรื่องราววิถีชีวิต ของคนดินแดนอีสานใต้ รวมถึงเรื่องราวน่ารู้ของจังหวัดศรีสะเกษ ผ่านหนังสือ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชาวศรีสะเกษจะได้มีโอกาส ต้อนรับท่านผู้อ่านทุกท่านด้วยมิตรไมตรีที่ยินดียิ่งครับ
163
9
สถานที่ท่่องเที่ยว
จังหวัดศรีสะเกษ
1
ศาลหลักเมืองศรีสะเกษ
“ศาลหลังเมืองศรีสะเกษ” ถูก สร้ า งและตั้ง อยู่ท่ี ใจกลางเมื อ งศรี ส ะเกษ อยู่บริเวณถนนเทพาตัดกับถนนหลักเมือง ศาลหลักเมืองศรีสะเกษนั้นถูกสร้างขึ้นมา ในสมัยทีน่ ายจำ�ลอง ราษฎร์ประเสริฐ เป็นผู้ ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ซึง่ ก็ได้ชอ่ื ว่าการ ก่อสร้างศาลหลักเมืองในครั้งนี้ใช้เวลาที่ค่อน ข้างยาวนานมากทีเดียว เพราะเริม่ สร้างตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2519 และสร้างเสร็จสิน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2531 ศาลหลั ก เมื อ งศรี ส ะเกษใช้ เวลา ยาวนานมากในการสร้าง แต่กเ็ ป็นทีร่ วมจิตใจ ของชาวจังหวัดศรีสะเกษด้วยเหมือนกัน หลัง จากทำ�การสร้างเสร็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 (ซึง่ ในขณะนัน้ คือสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร) ได้ทรงเสด็จ มาเปิดศาลหลักเมืองด้วยพระองค์เอง สร้าง ความปลาบปลืม้ ใจให้กบั ชาวจังหวัดศรีสะเกษ ยิง่ นัก
164
2 วัดไพรพัฒนา
“วั ด ไพรพั ฒ นา” เดิ ม ที เ ป็ น ที่ พำ�นักของหลวงปู่สรวง นักบุญแห่งดินแดน อีสานใต้ พระผู้บำ�เพ็ญเพียรตามแนวเขต ชายแดนไทย - กัมพูชา อันมีเมตตาบารมี ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากจนเป็นที่รักและ ศรัทธาของผู้คน รวมถึงลูกศิษย์ลูกหาทั่วไป จนเป็นที่เรียกขานกันว่า “เทวดาเดินดิน” ภายหลังจากที่หลวงปู่ละสังขารเมื่อปี 2543 สรี ร ะสั ง ขารของหลวงปู่ ไ ม่ เ ปื่ อ ยไม่ เ น่ า ลูกศิษย์ได้นำ�ไปบรรจุไว้ในโลงแก้วเพื่อที่จะ ให้ประชาชนทั่วไปและนักท่อนักท่องเที่ยว ได้ ม ากราบไหว้ ข อพรและลอดใต้ โ ลงแก้ ว เพื่อความเป็นสิริมงคล
3
ปราสาท สระกำ�แพงน้อย
“ปราสาทสระก� ำ แพงน้ อ ย” โบราณสถานแห่งนี้ เป็นอโรคยาศาลหรือ อโรคยศาลา (โรงพยาบาล) หนึ่งในจ�ำนวน 102 แห่ง ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่ง อาณาจักรขอมโบราณ โปรดให้สร้างขี้นทั่ว ราชอาณาจักรในราวพุทธศตวรรษที่ 18 (พ.ศ. 1724 - พ.ศ. 1761) ก่อด้วยศิลาแลง และหินทราย ตัวปรางค์ประธานยังค่อนข้าง สมบูรณ์ แต่ขาดการบูรณะ ส่วนโคปุระหรือ ก�ำแพงแก้วพังทลาย แต่ยังมีองค์ประกอบ ครบถ้วนทัง้ ทับหลังและโครงสร้างอืน่ ๆ แต่ ยังไม่ได้รับบูรณะและปรับแต่ง ในปัจจุบนั น�ำ้ ในสระอโนดาตนีถ้ กู ใช้ในท�ำ น�้ำ พระพุ ทธมนต์ศัก ดิ์สิทธิ์ในพิธี ส�ำคัญของจังหวัดศรีสะเกษ
165
4
น้ําตกห้วยจันทร์
้ “น้ำ�ตกห้วยจันทร์” หรือ นำ�ตก ้ กั น ทรอม ตั้ ง อยู่ ที่ บ้ า นนำ�ตกห้ ว ยจั น ทร์ ตำ�บลห้วยจันทร์ อำ�เภอขุนหาญ จังหวัด ศรีสะเกษ อยู่ห่างจากตัวอำ�เภอขุนหาญ 24 กิโลเมตร หรือห่างจากตัวจังหวัด 85 กิโลเมตร แต่เดิมนั้นภายในบริเวณน้ำ�ตกมี ต้นจันทน์แดงและจันทร์ขาวขึน้ อยูห่ นาแน่น จึงได้ชอื่ ว่า “น้ำ�ตกห้วยจันทร์” น้ำ�ตกแห่งนี้ ถือเป็นอีกหนึง่ แหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจของ จังหวัดศรีสะเกษ เนือ่ งจากสามารถเข้าถึงได้ ง่าย เพราะตั้งอยู่ริมถนนทางหลวงแผ่นดิน
วันและเวลาทำ�การ: ทุกวัน ตัง้ แต่เวลา 8.30 – 16.30 น. ค่าเข้าชม: ฟรี สอบถามข้อมูลเพิม่ เติม โทร. 0 4451 4447
5น้ําตกห้วยใหญ่
“น�้ำตกห้วยใหญ่” มีพื้นที่โดย รอบเป็ น ต้ น ไม้ ใ หญ่ แ ละพั น ธุ ์ ไ ม้ ห ายาก ปกคลุมอยู่อย่างหนาแน่น ต้นก�ำเนิดของ สายน�้ำมาจากเทือกเขาพนมดงรักซึ่งความ สูงประมาณ 5 เมตร กระแสน�ำ้ ทีไ่ หลมาจาก ชั้นบนจะตกกระทบสู่พื้นน�้ำด้านล่างความ แรงไม่มากท�ำให้เป็นไม่อันตราย นักท่อง เทีย่ วสามารถนัง่ ชมความงามและเล่นน�ำ้ ได้
6 วัดเขียนบูรพาราม
“วัดเขียนบูรพาราม” เดิมชื่อ “วัด เขมร” แต่คนทัว่ ไปนิยมเรียกวัดนีว้ า่ “วัดเขียน” ซึ่งเป็นส�ำเนียงที่เพี้ยนไปจากค�ำว่า “เขมร” นั่นเอง เนื่องจากวัดนี้ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออก ของเมืองขุขนั ธ์ หรืออ�ำเภอขุขนั ธ์ในปัจจุบนั เมือ่ มีการตั้งชื่อวัดเป็นทางราชการ จึงเปลี่ยนเป็น “วัดเขียนบูรพาราม” เป็นวัดเก่าแก่คบู่ า้ นคูเ่ มือง มาแต่โบราณ สัณนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยต้น รัตนโกสินทร แ์ ต่ไม่ปรากฎนามผูส้ ร้าง หลวงพ่อ โตวัดเขียนบูรพารามเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปิด ทองปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง 3.50 เมตร สูง 6.80 เมตร นับเป็นพระพุทธรูปทีใ่ หญ่โตและ ศักดิส์ ทิ ธิม์ ากองค์หนึง่ ของจังหวัดศรีสะเกษ เป็น พระคู่บ้านคู่เมืองของชาวขุขันธ์ที่สืบทอดเป็น มรดกมานับร้อยปี ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วัด เขียนบูรพาราม อ�ำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ กิตติ ศั พ ท์ ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข ององค์ หลวงพ่ อ โตนั้ น เป็ น ที่ ร�่ ำ ลื อ มาแต่ โ บราณ ประชาชนทัว่ ไปทัง้ ใกล้ไกลทีม่ ปี ญ ั หามีความทุกข์ หรือปราถนา สิง่ ใดทีเ่ กินก�ำลังความสามารถของ
166
ตนเองจะจัดท�ำให้เป็นผลส�ำเร็จได้ ก็จะหัน มาพึ่งพระบารมีองค์หลวงพ่อโต ขอพรให้ ท่านช่วยบ�ำบัดปัดเป่าให้ ในกรณีทปี่ ระสบ เคราะห์กรรม ความยุ่งยาก หรือเจ็บไข้ ได้ป่วย หรือบางรายก็จะขอให้ท่านช่วย ดลบั น ดาลให้ ไ ด้ สั ม ฤทธิ์ ผ ลในการต่ อ สู ้ กับฝ่ายตรงข้ามในรูปแบบต่าง ๆ หรือ บางท่านก็จะขอบุตรบุตรีที่ต้องการ และ เมื่ อ สั ม ฤทธิ์ ผ ลตามที่ ตั้ ง จิ ต ถวายสั จ จะ ขอพรแล้ว ก็จะพากันไปกราบไหว้เพือ่ บูชา พระคุณตามที่ได้ตั้งเงื่อนไขถวายสัจจะไว้ เป็นการแก้บนเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลต่อไป
7 น้ําตกสําโรงเกียรติ
“น�้ำตกส�ำโรงเกียรติ” (น�้ำตกปีศาจ) เป็ น น�้ ำ ตกที่ มี ชื่ อ เสี ย งแห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตรั ก ษาพั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า พนมดงรัก ในท้องทีต่ ำ� บลบักดอง อ�ำเภอขุนหาญ ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 81 กิโลเมตร น�ำ้ ตก ส�ำโรงเกียรติ เดิมชื่อว่า “น�้ำตกปีศาจ” ซึ่งตั้ง ตามชื่ อ หน่ ว ยทหารพรานที่ มี ส มญานามว่ า “หน่วยปีศาจ” ซึ่งได้ใช้น�้ำตกแห่งนี้เป็นที่ตั้ง หน่วยปฏิบัติการ กระทั่งถึงปี พ.ศ. 2549 เมื่อมี การปรับปรุงพืน้ ทีใ่ ห้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว น�ำ้ ตก ปีศาจก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “น�ำ้ ตกส�ำโรงเกียรติ” ตามชื่อหมู่บ้านนับแต่บัดนั้น น�้ำตกส�ำโรงเกียรติมีต้นก�ำเนิดจาก ภูเขากันทุง บนเทือกเขาบรรทัด เป็นน�้ำตก ขนาดกลาง ตกจากหน้าผาสูง 8 เมตร ลักษณะ อันโดดเด่นของน�้ำตกแห่งนี้คือ ที่ด้านบนของ น�้ำตกจะเป็นธารน�้ำซึ่งไหล ไปตามลานหินดู สวยงามมากโดยเฉพาะช่ ว งฤดู ฝ น ส� ำ หรั บ บรรยากาศโดยรอบน�้ำตกนั้นร่มรื่นไปด้วยพันธุ์
ไม้น้อยใหญ่ เหมาะแก่การท�ำกิจกรรมพักผ่อน หย่ อ นใจไม่ ว ่ า จะเป็ น การปู เ สื่ อ นั่ ง รั บ ประทาน อาหาร การลงเล่นน�้ำ หรือการถ่ายภาพทิวทัศน์ อันสวยงาม ของน�ำ้ ตกตามจุดต่างๆ เช่นเดียวกับ น�้ำตกหลายๆ แห่ง น�ำ้ ตกส�ำโรงเกียรติจะมีสายน�้ำ ไหลชุ่มฉ�่ ำให้ สัมผั ส กั น อย่ า งจุ ใ จในช่ ว งหน้ า น�้ำ โดยช่วงเวลาที่เหมาะแก่การมาเที่ยวคือ ตั้งแต่ เดือนกันยายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
8
สวนทุเรียนภูเขาไฟ อรุณศรี
“สวนทุเรียนอรุณศรี” (ตาเติม) ศรีสะเกษ สวนทุ เรี ย นหมอนทองขนาด 30 กว่ า ไร่ ข อง ตาเติ ม และครอบครั ว ชื่ อ สวนอรุ ณ ศรี แต่ คนรู้ จั ก ตาเติ ม กั น เยอะก็ เ รี ย กติ ด ปากว่ า สวนตาเติม ทุเรียนหมอนทองปลูกในศรีสะเกษ จะมี เ อกลั ก ษณ์ คื อ กลิ่ น อ่ อ นกว่ า ทุ เรี ย นทั่ ว ไป แล้วยังจะมีก้นแหลมๆ เห็นได้ชัดเจนกว่าด้วย มาศรีสะเกษต้องมาชิมทุเรียนภูเขาไฟ
“สวนอรุณศรี”
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 06 2996 1728
167
9
สะพานไม้ไผ่ “ทุ่งบัวแดง บุ่งกระแซง”
สะพานไม้ไผ่ “ทุง่ บัวแดง บุง่ กระแซง” สะพานไม้ไผ่ทผี่ สานสายใย ความรักและความสามัคคีของคนในชุมชนบ้านบก เป็นแลนด์มาร์กสถานที่ ท่องเที่ยวแห่งใหม่ที่มีความสวยงามมาก ระยะทางห่างจากจังหวัดเพียง 45 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ชุมชนบ้านบก ตำ�บลบก อำ�เภอโนนคูณ มีความยาว ประมาณ 300 เมตร กว้าง 1 เมตร ทอดยาวลงไปกลางบึงบุ่งกระแซง เพื่ อ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ใหม่ ข องบ้ า นบก ได้ เ ปิ ด ให้ ป ระชาชน และนักท่องเที่ยวได้เข้ามาเที่ยวชมเดินข้ามสะพานไม้ไผ่เยี่มมชมทุ่งบัวแดง บุ่งกระแซงแห่งนี้ นอกจากนี้บริเวณดังกล่าวยังเป็นศูนย์รวมจัดกิจกรรม ตลาดชุ มชน ทำ�บุ ญตั ก รบาตร และกิ จ กรรมต้ อ นรั บคณะนั กท่องเที่ยว รวมถึงสินค้า OTOP จัดจำ�หน่ายอีกด้วย ทั้งนี้ในเวลาช่วงเช้าและช่วงเย็นของทุกวัน โดยเฉพาะวันหยุด เสาร์ - อาทิตย์ จะมีประชาชนและนักท่องเที่ยวเดินทางมายังสะพานไม้ บ้านบกแห่งนี้กันอย่างคึกคัก เพื่อมาชมธรรมชาติและความสวยงาม หรือมา นั่งพักผ่อนหย่อนใจให้หายเหนื่อย
168
ผามออีแดง
อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร
169
170
171
172
173
174
175
เลขที่ 1325/202 ถ.ราชการรถไฟ 2 ซ.ประชาราษฎร์บำ�รุง ต.เมืองเหนือ อ.เมืองฯ จ.ศรีสะเกษ 33000 Unity Hotel 0-4561-4040
เลขที่ 369 ม. 14 ต.หนองหญ้าลาด อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 33110 laklada_hotel@hotmail.com โรงแรมลักษ์ลดา
0-4566-1266, 09-9207-5441, 09-9207-5441
176
เลขที่ 075 ต.ขุนหาญ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 33150 ptc193@hotmail.com เลลาวดี รีสอร์ต & สปา www.Rerawadiresort.com 08-2203-1926
เลขที่ 96 ม. 8 ต.สระกำ�แพงใหญ่ อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ 33120 08-9227-2213
เลขที่ 2111 ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 33150 โรงแรมกระดังงา บูติก อินน์ 0-4596-2607, 08-1321-4163
เลขที่ 70 ซอยสามัคคี ต.หญ้าปล้อง อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ 33000 (ซอยตรงข้ามบิ๊กซีศรีสะเกษ) apichat404@hotmail.com นาครินทร์ 404 รีสอร์ท 09-7934-7199
177
ร้านอาหาร หาดสุขสำ�ราญ ร้านอาหารเด็ดที่คุณต้องยกนิ้วให้ ร้านอาหารหาดสุขส�ำราญ อยูร่ มิ อ่างเก็บน�ำ้ ห้วยส�ำราญ มีเมนูอาหารมากมายให้เลือกชิมมาลิม้ ลองกับ ความอร่อยของอาหารพื้นบ้าน เมนูปลา อาหารแปลก แวะชมบรรยากาศ จนท�ำให้คุณรู้สึกฟินเวอร์ หรือจะสั่งเป็นอาหารกินเล่นอาหารอีสานของเขา ก็แซ่บถึงใจ
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�
ร้านอาหาร
เลขที่ 207 ต.ไพรพัฒนา อ.ภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ 33140 nuipalee21@gmail.com
ร้านอาหารหาดสุขสำ�ราญ 08-8086-6201 09.00 - 17.00 น. ทุกวัน
ศรีีสะเกษ ร้านอาหาร นายเฮงดี ไก่ยา่ ง
เลขที่ 271 ม. 1 ตรงข้ามโรงสีโตมี ต.ห้วยทับทัน อ.ห้วยทับทัน จ.ศรีสะเกษ 33210
นายเฮงดีไก่ย่างไม้มะดัน สาขาห้วยทับทัน 08-7961-1198 (Line) 07.30 - 18.00 น. ทุกวัน
178
ร้านอาหาร ครัวไทยลาว
เลขที่ 1420/11 ถ.อุบล ต.เมืองใต้ อ.เมือง ศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ 33000
ครัว ไทย ลาว 08-6490-0876
06-2228-5265 เปิด 11.00 - 20.00 น. ทุกวัน
ร้านอาหาร ร้านปูเป็น
เลขที่ 1214 ถ.ขุขันธ์ ต.เมืองใต้ อ.เมืองฯ จ.ศรีสะเกษ 33000
ร้านปูเป็น ศรีสะเกษ 06-2426-4926 11.00 - 21.00 น. ทุกวัน
179
วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม อำ�เภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
เหตุได้นามว่า “วัดเจียงอี” เพราะตั้งอยู่ในคุ้มวัดหมู่บ้านวัดเจียงอี การตั้งชื่อบ้าน ชื่อวัดในสมัยก่อนนั้น นิยมตั้งไปตามชื่อสิ่งของต่าง ๆ ที่เกิดเป็นนิมิตขึ้น ได้ทราบว่าบ้านเจียงอี ประชาชนผู้เป็นของถิ่นเดิมเป็นชนชาติไทยเผ่าส่วย ไทยเผ่าส่วยนี้มีสำ�เนียงการพูดเพี้ยนจาก เผ่าอื่น ๆ “เจียงอี” เป็นภาษาพื้นบ้าน แยกออกได้สองศัพท์คือ เจียง เป็นภาษา ที่แปลว่า ช้าง อี ที่แปลว่า ป่วย รวมกันเรียกว่า เจียงอี แปลว่า “ช้างป่วย”
ที่อยู่ : 1549 ถนนศรีสุมังค์ ตำ�บลเมืองใต้ อำ�เภอเมืองศรีสะเกษ ศรีสะเกษ โทรศัพท์: 04-5612-542
180
วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม เป็นพระอารามหลวง ตั้งชื่อตามชื่อบ้านเจียงอี มีความหมายว่าช้างป่วย เป็นภาษาส่วย ช้างดังกล่าว เป็ น ช้ า งมงคลของราชอาณาจั ก รอยุ ธ ยา ที่ ท หารเอก สองพี่น้องมาตามจับคืนไป เมื่อปี พ.ศ. 2302 แล้วช้าง มงคลป่วยมาพักให้หายป่วยที่บริเวณบ้านเจียงอีแห่งนี้ วัดเจียงอีได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ ปี พ.ศ. 2494 ผูกพัทธสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2500 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เมือ่ ปี พ.ศ. 2509 ยกเป็นพระอารามหลวงเมือ่ ปี พ.ศ. 2513 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เมื่อปี พ.ศ. 2514 ในวัดเจียงอี มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ ประดิษฐานอยู่ทาง ด้านทิศเหนือของพระวิหาร เป็นที่เคารพสักการะของ ชาวศรีสะเกษ
181
วัดมหาพุทธาราม
อำ�เภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
182
วัดพระธาตุศรีโสภณ
อำ�เภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
183
ไหว้พระ
5 วัด
จังหวัดศรีสะเกษ
1(วัดหลวงปู่สรวง)
วัดไพรพัฒนา
อำ�เภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ วัดไพรพัฒนา คือวัดชือ่ ดังของจังหวัด ศรี ส ะเกษ เพราะด้ ว ยความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละ พลังศรัทธาที่ชาวบ้านนับถือ และที่ส�ำคัญคือ เป็ น ที่ พ� ำ นั ก ของนั ก บุ ญ ที่ ช าวบ้ า นเรี ย กขาน กันว่า “เทวดาเดินดิน” ซึง่ ก็คอื “หลวงปูส่ รวง” นั้นเอง
2 วัดสระกำ�แพงใหญ่ อำ�เภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ
เป็นวัดที่สร้างขึ้นในพื้นที่ของปราสาทหินเก่าแก่ ซึ่งเป็นปราสาทหินขนาดใหญ่ที่สุดและสมบูรณ์ที่สุดของ จังหวัดศรีสะเกษ ถือเป็นโบราณสถานของชาติ และมีอดีต เจ้าอาวาส หลวงปู่เครื่อง สุภัทโท ผู้ละสังขารไปแล้วแต่ ยังคงเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวบ้าน วัดสระก�ำแพงใหญ่ นอกจากจะเป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด ศรีสะเกษแล้ว ยังคงเป็นวัดที่ท�ำหน้าที่เผยแผ่พระพุทธ ศาสนาให้แก่พุทธศาสนิกชนได้อย่างดีเยี่ยมมายาวนาน
184
3
วัดหนอง ตะเคียน
อำ�เภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ วัดหนองตะเคียนเป็นวัดที่สร้างตามแบบ ผสมผสานศิลปะขอม – ล้านนา โดยช่างฝีมือระดับ ประเทศ วัดหนองตะเคียนเป็นวัดเก่าแก่ สร้างประมาณ สมัยกรุงศรีอยุธยา ภายในพระอุโบสถประดิษฐาน พระศรี อ ริ ย เมตตรั ย บริ เวณข้ า งพระอุ โ บสถมี ลานพระพุทธรูปปาง สมาธิ 28 องค์ เป็นแนว รูปสีเ่ หลีย่ ม นอกจากนีย้ งั ประดิษฐานพระบรมราชา นุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชด้วย
4 วัดสุวรรณาราม
อำ�เภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ
ในอดีตวัดบ้านค�ำเนียมเป็นสถานที่ให้การศึกษาแก่ ลูกหลานชาวบ้านที่เข้ามาบวชเรียน ซึ่งจะได้รับการศึกษา ธรรมวินัยและข้อควรปฏิบัติในการเป็นฆราวาสที่ดี เพื่อให้ ที่ผ่านการบวชและศึกออกไปได้มีธรรมในการด�ำเนินชีวิต มากขึ้น ต่อมาในปี 2464 มีการจัดตั้งโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกธรรม ซึ่งท�ำการสอนโดยเจ้าอาวาสและผู้มีคุณวุฒิ ปัจจุบันมีการจัดตั้งศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์ เมื่อ พ.ศ. 2536
5
วัดเบญจพุทธาราม
อำ�เภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 พระอาจารย์ มหาสัณฐ์ สุริณฺโณ (บุญวันท์) และคณะกรรมการ หมู ่ บ ้ า นหนองโนได้ พ ากั น มาส� ำ รวจพื้ น ที่ บ ริ เ วณ พระธาตุเก่าแก่ของหมูบ่ า้ น จึงปรารภและได้อธิษฐาน จิ ต ว่ า “ถ้ า บริ เ วณที่ เ ป็ น พระธาตุ เ ก่ า แก่ นี้ เ ป็ น ที่ ทีข่ า้ พเจ้าเคยได้สร้างบารมีมาก่อน ก็ขอให้ทแี่ ห่งนีไ้ ด้ สร้างวัดขึ้นมา อย่าได้มีอุปสรรคใด ๆ มาขัดขวางใน การสร้างวัด ขอเหล่าเทพเทวดาที่สถิต ณ สถานที่ แห่งนี้จงรับทราบและเป็นสักขีพยาน”
185
วัดป่าศรีมงคลรัตนาราม อำ�เภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ
186
วัดป่าศรีมงคลรัตนาราม พระครูวิจิตรวินัยคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีมงคลรัตนาราม เล่าให้รับฟังว่า ขณะนี้ ก�ำลังมีการก่อสร้างให้เป็นแหล่งเรียนรูเ้ ชิงพระพุทธศาสนา สร้างเป็นพระมหาเจดีย์ เพือ่ น้อมถวาย เป็นพระราชกุศล ในรัชกาลที่ 10 โดยที่ผ่านมาได้รับพระเมตตาจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ ได้เสด็จมาวางศิลาฤกษ์ในการเริ่มก่อสร้าง พระมหาเจดีย์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2556 โดยชั้นแรกจะก่อสร้างตกแต่งเป็นถ�้ำ เป็นวัง บาดาล ชัน้ ที่ 2 จะเป็นสวรรค์ตอ่ มนุษย์เป็นการสร้างแสดงการท�ำคุณงามความดีของมนุษย์ จนได้มาเกิดเป็นเทวดาต่าง ๆ ชั้นที่ 3 เป็นการเล่าเรื่องพระมหากษัตริย์ ที่ทรงท�ำนุบ�ำรุง พระพุทธศาสนาจากอดีตจนถึงปัจจุบันที่มีคุณต่อประเทศไทย
ที่อยู่ : หมู่ 8 ตําบลโคกจาน อําเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ 33120 โทรศัพท์: 09-4879-8129
187
188
ส่วนชั้นที่ 4 – 5 จะเป็นองค์พระมหาเจดีย์ เหมือนที่ตั้งอยู่ บนเขาพระสุเมรุโดยการตบแต่งจะด�ำเนินงานไปเรื่อย ๆ ตามก�ำลัง ศรัทธา ปัจจุบันเปิดให้ประชาชน ญาติโยมได้เข้ามากราบไหว้ขอพร เยี่ยมชมได้แล้วบางส่วน คือ ชั้นที่ 1 ในส่วนนี้ก็คือการจ�ำลองให้เป็น ถ�้ำวังบาดาลและรวบรวมรูปปั้นนาคาธิบดี ขนาดใหญ่ ทั้ง 4 ตระกูล 9 นาคาธิบดี และพญานาคราชที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เคยเสวยพระชาติเป็นพญานาคพร้อมรายละเอียดต่าง ๆ ที่ทุกคน สามารถเข้ามาศึกษา เรียนรูไ้ ด้ โดยจะรวบรวมไว้ภายในถ�ำ้ วังบาดาล ในชั้นที่ 1 แห่งนี้
สภาพแวดล้ อ มทางธรรมชาติ ร ่ ม รื่ น ล้ อ มรอบไปด้ ว ย พรรณไม้น้อยใหญ่นานาชนิด และสัตว์ต่าง ๆ ได้เข้ามาอาศัยยัง เขตอภัยทาน เหมาะส�ำหรับเป็นสถานที่ ท�ำบุญ พักผ่อนหย่อนใจ ให้อาหารปลา และถือว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางศาสนาและ ธรรมชาติทสี่ ำ� คัญของเทศบาลต�ำบลโคกจาน โดยมีพระครูวจิ ติ รวินยั คุณ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีมงคลรัตนาราม พร้อมด้วยคณะกรรมการวัด ประชาชน ญาติโยม ร่วมจิตศรัทธาในการก่อสร้างขึน้ มาอย่างต่อเนือ่ ง
189
องค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งไชย “ รู้หน้าที่ มีวินัย ใจสะอาด ”
ความเป็นมา สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ในประเทศไทยถือเป็นช่วงทีม่ นุษย์ยงั ไม่มกี าร คิดค้นประดิษฐ์ตัวอักษร ซึ่งจ�ำแนกเป็นยุคที่สังคมมนุษย์แสวงหาอาหารจาก ธรรมชาติ ยุคต่อมามนุษย์เริ่มท�ำการเพาะปลูก ต่อมาคือยุคส�ำริด มนุษย์เริ่มรู้จัก การน�ำเอาแร่ธาตุ เช่นทองแดงและดีบุกมาหลอมเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ส�ำริด ยุคประวัติศาสตร์ยุคสุดท้ายคือยุคเหล็ก ที่มนุษย์น�ำเหล็กมาถลุงเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้และส�ำริด มีบทบาทเป็นเครื่องประดับบ้านทุ่งไชย ต�ำบลทุ่งไชย อ�ำเภอ อุทมุ พรพิสยั จังหวัดศรีสะเกษ เป็นดินแดนทีม่ พี ฒ ั นาการทางวัฒนธรรมติดต่อกัน มายาวนานเป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ จากการ ศึ ก ษาค้ น คว้ า ทางโบราณคดี ไ ด้ พ บร่ อ งรอยของชุ ม ชนโบราณสมั ย ก่ อ น ประวัติศาสตร์และสมัยต้นประวัติศาสตร์ การขุดค้นระยะต่อมาได้พบแหล่ง วัฒนธรรมพื้นบ้านรวมทั้งแหล่งโบราณคดีในหลายหมู่บ้าน มีร่องรอยของชุมชน โบราณทีม่ ขี นบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างจากกลุม่ บ้านเชียง กล่าวคือ พบว่าใน ดินต�่ำสุดของชุมชนมีการฝังศพคนตายแบบยาวเหยียดและมีภาชนะดินเผาที่ใช้ ในพิธีการฝังศพซึ่งมีลักษณะหยาบ มีลายเขียนสีและเคลือบน�้ำโคลนสีแดงพร้อม เครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับ ส่วนในชั้นดินที่อยู่เหนือขึ้นมาอันถือว่าเป็น ชุมชนระยะหลังพบว่า มีการฝังศพครัง้ ที่ 2 คือการน�ำกระดูกมาบรรจุลงในภาชนะ เช่น ไหหรือหม้อ ที่ทำ� มาจากดินสีขาวหรือสีเหลืองที่พบทั่วไปในท้องถิ่น ซึ่งเขียน เป็นลายขาวด�ำ บางอันเขียนลายน�้ำตาลขาว บางอันเป็นลายเชือกทาบแต่ทาสี แดง จากหลักฐานดังกล่าวคณะผูศ้ กึ ษาค้นคว้าประวัตติ ำ� บลทุง่ ไชยได้ทำ� การ ศึกษาเพิม่ เติมจากพืน้ ทีจ่ ริงและจากการเล่าต่อกันมาของผูเ้ ฒ่า (พ่อใหญ่-แม่ใหญ่) ในต�ำบลทุ่งไชยสรุปได้ 2 ต�ำนาน คือ ต�ำนานที่ 1 คือบ้านทุ่งไชยหมู่ 1,2,3,8,9 ต�ำบลทุ่งไชย อ�ำเภอ อุทมุ พรพิสยั จังหวัดศรีสะเกษ แต่กอ่ นนัน้ ชาวบ้านเป็นชาวพืน้ เมืองส่วยตัง้ ถิน่ ฐาน อยู่ก่อน ต่อมามีชนกลุ่มหนึ่งอพยพมาจากเวียงจันทร์มาตั้งถิ่นฐานครั้งแรกที่บ้าน หนองเวียง (หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลทุง่ ไชย) ค�ำว่า “เวียง” ก็ได้มาจากเวียงจันทร์ ในรัชกาล ที่1-2 เจ้านครจ�ำปาสักได้กระด้างกระเดื่อง(แข็งข้อ) ต่อเมืองหลวง(กรุงเทพ) ทาง เมืองหลวงจึงได้ส่งกองทัพมาปราบและได้มาพักทัพอยู่ที่บ้านทุ่งไชย ได้จัดท�ำ สนามเพาะรอบ (หลุมเพาะ) หมู่บ้านกองทัพเมืองหลวงได้ต่อสู้กับกองทัพนคร จ�ำปาสักครั้งใหญ่ที่บริเวณทุ่ง และได้ชัยชนะตีข้าศึกแตกพ่ายกลับไป ต่อมาจึง
190
เรียกชือ่ หมูบ่ า้ นนีว้ า่ บ้านธงชัยและกลายเป็นบ้านทุง่ ไชยจนถึงปัจจุบนั ต� ำ นานที่ 2 คื อ จากการเล่ า ต่ อ กั น มาว่ า บ้ า นทุ ่ ง ไชย หมูท่ ี่ 1,2,3,8,9 ต�ำบลทุง่ ไชยได้ปล่อยให้เป็นทีร่ กร้างว่างเปล่ามาหลาย ยุคหลายสมัยด้วยสาเหตุใดไม่ทราบอาจเป็นเพราะโรคไข้ป่า โรคฝีห่า ภัยแล้งหรือเป็นปัญหาโจรผู้ร้าย ในปี พ.ศ.2256 มีผู้อพยพมาจาก เวี ย งจั น ทร์ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว จ� ำ นวน 5 ครอบครัว อพยพมาพบเห็นว่ามีท�ำเล(พื้นที่) ที่เหมาะสม มีแหล่งน�้ำ อุดมสมบูรณ์ คิดอยากปักหลักอยู่ที่นี่แต่ไม่สามารถเข้าอยู่บริเวณ ดิ น แดนแห่ ง นี้ ไ ด้ เ นื่ อ งจากผี เ จ้ า ที่ ดุ ม ากจึ ง พากั น ไปพั ก อยู ่ บ ริ เ วณ หนองน�้ำแห่งหนึ่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเชื่อว่าเป็นหนองเวียง ในปัจจุบัน ด้วยเป็นชัยภูมิที่เหมาะสมมีเนินดินสูงมีคูดินคูน�้ำล้อมรอบ มีทางเข้าออกสีท่ างท�ำให้ชาวลาวอพยพอยากอยูม่ ากยิง่ ขึน้ ในทีส่ ดุ ก็ไป
ลานพญานาค
วัดทุ่งไชย
เชิญนายถาวรที่อยู่บ้านโคกทม ซึ่งเป็นส่วยที่มีความสามารถหลายด้านรวมทั้ง การปราบผี เพือ่ มาปัดรังควาน จึงสามารถขึน้ อยูบ่ ริเวณนีไ้ ด้แล้วให้ชาวลาวอพยพ อยู่ทางด้านเหนือ ส่วนชาวส่วยที่มาพร้อมนายถาวรนั้นให้อยู่ทางใต้จ�ำนวน 6 ครอบครัว รวมเป็น 11 ครอบครัวในตอนแรกมีนายถาวรเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน ในสมัยนั้นเรียกว่า กวานบ้าน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก นายสมมาศ ถาวร รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีชาวมอญเชื้อสายพม่าสองพี่น้องมาค้าขายที่ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งไชย เมืองไทยอาศัยอยู่ที่เมืองสระก�ำแพงใหญ่ การค้าขายร�่ำรวยมีโภคทรัพย์สมบัติ มากมาย คิดอยากมีอ�ำนาจ จึงขอเข้าเฝ้าทูลเกล้าขอพระราชทานต่อเจ้าเมือง สระก�ำแพงใหญ่ เจ้าเมืองสระก�ำแพงใหญ่ทรงอนุญาต โดยผู้เป็นพี่ไปตั้งแขวง ของตนเองอยู่ที่บ้านเมืองหลวง ส่วนผู้เป็นน้องไปตั้งอยู่ที่บ้านเมืองน้อย ต่อมา การค้าขายของสองพี่น้องไม่ราบรื่นเท่าใดนัก เพราะถูกกีดกันจากแขวงอื่นๆ ประกอบกับในช่วงเวลานั้นแห้งแล้งติดต่อกันมาหลายปี ท�ำให้การปกครองเป็น ไปด้วยความยากล�ำบาก เป็นสาเหตุให้ผู้เป็นน้องชาย คือเจ้าแขวงเมืองน้อยเกิด ความกระหายอยากขยายอ�ำนาจเพิ่มขอบเขตแผ่อิทธิพลให้เป็นที่รู้จักอย่าง กว้างขวางมากยิ่งขึ้น จึงพาสมัครพรรคพวกไปขอแบ่งปันเขตแดนกับเจ้าแขวง ปรางค์กู่ แต่ไม่ประสบความส�ำเสร็จ จึงย้อนกลับมาขอแบ่งปันกับพีช่ าย ผูเ้ ป็นพี่ ชายไม่ยอมจึงเกิดมีปากเสียงกัน ผู้เป็นน้องชายโกรธมากจึงประกาศท�ำสงคราม กับผู้เป็นพี่ โดยนัดหมายให้ใช้บริเวณที่ตนต้องการเป็นที่ท�ำสงคราม การต่อสู้ แย่งชิงดินแดนระหว่างสองพี่น้องในครั้งนี้ ฝ่ายพี่ชายเป็นผู้ชนะ ความทราบถึง เจ้าเมืองสระก�ำแพงใหญ่ จึงเรียกเจ้าแขวงเมืองทั้งสองเข้าเฝ้าแล้วมีบัญชาให้ ทั้งสองอยู่ในความสงบ มิฉะนั้นจะเนรเทศออกจากเมืองไทย พร้อมมอบหมาย ให้ราชเลขาออกรังวัดปักเขตเพื่อไม่ให้ผู้ใดเข้ามาแย่งชิงเอาพื้นที่นี้อีก พร้อมปัก ธงขนาดใหญ่ไว้บริเวณทุง่ และกลางหมูบ่ า้ นจึงเรียกชือ่ หมูบ่ า้ นนีว้ า่ “บ้านธงชัย” และเรียกชื่อทุ่งแห่งนี้ว่า “ทุ่งธงชัย” ดังที่มาของบ้านธงชัยหรือบ้านทุ่งไชย ในปัจจุบัน
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งไชย ต.ทุ่งไชย อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ 33120 โทรศัพท์ : 08-8357-9869 Website : www.thungchai.go.th
191
ท้องถิ่นน้ำ�อ้อม
ตำ�บลน�ำ้ อ้อม อำ�เภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เขตปลอดสารเคมี ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ทุกด้าน มุ่งสานความสามัคคี ประชาชนมีรายได้และพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืน
192
สวนทุเรียน ในเขตตำ�บลนำ�้อ้อม
193
ปราสาทโดนตรวน
194
อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร
195
Surin Surin’s the city of big elephants, Special quality silk is woven in this land, Famous for sweet beet roots and fragrant rice, Together with many castles and cultures from many tribes.
ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมงาม ประคำ�สวย ร�ำ่ รวยปราสาท ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม งามพร้อมวัฒนธรรม
จังหวัด
สุรินทร์
“ ตำ�นานเมืองช้าง สุรินทร์ถิ่นช้างใหญ่ ” จังหวัดสุรนิ ทร์ ได้รบั การสันนิษฐานจากนักประวัตศิ าสตร์วา่ พืน้ ทีอ่ นั เป็นทีต่ งั้ เมืองสุรนิ ทร์มชี มุ ชนอาศัยอยูเ่ มือ่ ประมาณ 2,000 ปีล่วงมาแล้วในสมัยที่พวกขอมเรืองอ�ำนาจ เมื่อขอมเสื่อมอ�ำนาจลง เมืองสุรินทร์ได้ถูกทิ้งร้างจนกลายเป็นป่าดงอยู่นาน จนกระทั่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2260 ชาวพื้นเมืองกลุ่มหนึ่งที่เรียกตัวเองว่าส่วยหรือกูย ซึ่งอาศัยอยู่แถบ เมืองอัตตะปือแสนแป แคว้นจ�ำปาศักดิ์ ซึ่งขณะนั้นเป็นดินแดนของไทยและเป็นผู้ที่มีความสามารถในการจับช้างป่ามาเลี้ยงไว้ ใช้งาน ได้พากันอพยพข้ามล�ำน�้ำโขงมาสู่ฝั่งขวา โดยได้แยกย้ายกันไปตั้งชุมชนที่เมืองลีง (อ�ำเภอจอมพระ) บ้านโคกล�ำดวน (อ�ำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ) บ้านอัจจะปะนึ่ง (อ�ำเภอสังขะ) และบ้านกุดปะไท (อ�ำเภอศีขรภูมิ) แต่ละบ้านจะมีหัวหน้าควบคุม อยู่ ในปี พ.ศ. 2306 หลวงสุรินทรภักดีหรือเชียงปุม หัวหน้าหมู่บ้านเมืองทีได้ขอให้เจ้าเมืองพิมายกราบบังคมทูลขอพระกรุณา โปรดเกล้าฯ จากพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยามรินทร์ ย้ายหมู่บ้านจากบ้านเมืองที มาตั้งอยู่ที่บริเวณบ้านคูประทาย บริเวณซึ่งเป็น ที่ตั้งเมืองสุรินทร์ในปัจจุบันนี้ เนื่องจากเห็นว่าเป็นบริเวณที่มีชัยภูมิเหมาะสม มีก�ำแพงค่ายคูล้อมรอบ 2 ชั้น มีน�้ำอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การ ประกอบอาชีพและอยู่อาศัย ต่อมาหลวงสุรินทร์ภักดีได้กระท�ำความดีความชอบเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่ง สุ ริ ย ามริ น ทร์ จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ย กบ้ า นคู ป ระทายเป็ น เมื อ งประทายสมั น ต์ และเลื่ อ นบรรดาศั ก ดิ์ หลวงสุรินทรภักดี เป็น พระยาสุรินทรภักดีศรีณรงค์จางวาง ให้เป็นเจ้าเมืองปกครอง
198
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ในปี พ.ศ. 2329 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อจากเมืองประทายสมันต์เป็น เมืองสุรินทร์ตามสร้อยบรรดาศักดิ์เจ้าเมืองสุรินทร์ มีเจ้าเมืองปกครองสืบ เชื้อสายกันมารวม 11 คน จนถึงปี พ.ศ. 2451 ได้มีการปรับปรุงระบบบริหาร ราชการแผ่นดินเป็นแบบเทศาภิบาลส่วนกลาง จึงได้แต่งตัง้ พระกรุงศรีบรุ รี กั ษ์ (สุ ม สุ ม านนท์ ) มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น ข้ า หลวงประจ� ำ จั ง หวั ด หรื อ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นคนแรก จังหวัดสุรินทร์ เป็นจังหวัดหนึ่งในเขตแดนอีสานใต้ที่เต็มไปด้วย วั ฒ นธรรมและความเป็ น มาเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ มี ค วามหลากหลายทาง วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของทั้ง 3 ชนเผ่า คือ เขมร กูย ลาว โดยประชากร ทั้งหมดมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย กลมกลืน มีการรักษาวัฒนธรรม ประเพณี ภาษาของตนไว้เป็นอย่างดี และเป็นเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่น จึงท�ำให้จงั หวัดสุรนิ ทร์ มีชื่อเสียงในด้านการท่องเที่ยววิถีถิ่น ที่ไม่มีใครเหมือนและไม่เหมือนใคร เช่น 1. หมู่บ้านช้างตากลาง ซึ่งเป็นวิถีชีวิตระหว่างคนกับช้าง ที่ใช้ชีวิตร่วมกันมา อย่างยาวนาน จึงเป็นทีก่ ล่าวขานว่า “ต�ำนานเมืองช้าง” 2. หมูบ่ า้ นทอผ้าไหม ท่าสว่าง เป็นหมู่บ้านที่มีชื่อเสียงและโดดเด่นเรื่องการทอ “ผ้าไหมยกทอง” สร้างชื่อเสียงไปทั่วโลก 3. หมู่บ้านหัตถกรรมเครื่องเงินเขวาสินรินทร์ ที่มี การถ่ายทอดการท�ำเครื่องเงิน (ประเกือม) จากรุ่นสู่รุ่นยาวนานกว่า 500 ปี นอกจากนี้จังหวัดสุรินทร์ยังเป็นเมืองแห่งอารยธรรมและปราสาทโบราณ เป็น ศูนย์กลางการเชือ่ มโยงอารยธรรมขอมโบราณ มีปราสาททีเ่ ก่าแก่กว่า 32 แห่ง เช่น ปราสาทภูมโิ ปน ซึง่ เป็นปราสาททีม่ อี ายุเก่าแก่ทสี่ ดุ ทีค่ น้ พบในประเทศไทย ปราสาทศีขรภูมิ และกลุม่ ปราสาทตาเมือน อีกทัง้ ยังมีแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญ ที่น่าสนใจอีกมากมาย และสิ่งหนึ่งที่ไม่พูดถึงไม่ได้เลย คือ ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ สุรินทร์ เป็นเมืองแห่งเกษตรกรรม โดยเฉพาะการท�ำนาข้าวหอมมะลิ ผลผลิตจากข้าว ของสุรินทร์มีคุณภาพ ซึ่งมีลักษณะ “กลิ่นหอม เมล็ดเรียวยาว ขาวเป็นมัน หุงแล้วนุ่ม เก็บไว้ได้นาน” มีชื่อเสียงติดอันดับต้น ๆ ของประเทศ โดยเรา ได้น้อมน�ำแนวพระราชด�ำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็น
แนวทางและหลักการในการพัฒนาทุกพื้นที่ในจังหวัดสุรินทร์ให้เข้มแข็ง และยั่งยืนอีกด้วย ท้ายสุดนี้กระผม นายประภัสสร์ มาลากาญจน์ ผู้ว่าราชการ จังหวัดสุรินทร์ ขอเชิญชวนนักท่องเที่ยวมาสัมผัสสถานที่ท่องเที่ยวและ วัฒนธรรม ดังค�ำขวัญของจังหวัดสุรินทร์ที่ว่า “สุรินทร์ ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมงาม ประค�ำสวย ร�่ำรวยปราสาท ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม งามพร้อมวัฒนธรรม” ชาวสุรินทร์ทุกคนพร้อมต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วย ความยินดียิ่ง นายประภัสสร์ มาลากาญจน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
199
9 สถานที่ ท่องเที่ยว 1 1
1
1
1
200
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
หมู่บ้านช้างบ้านตากลาง
เป็นสถานที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินชมวิถี ความเป็นอยู่ ความผูกพัน ของคนในชุมชนและช้าง รวมทั้งประเพณี และวัฒนธรรมที่น่าชื่นชมอย่างใกล้ ชิด ชาวบ้านตากลาง แต่ละครัวเรือนจะมีช้างที่เลี้ยง ไว้อาศัยอยู่รวมกัน จนช้างที่พวกตนเลี้ยงไว้เปรียบ เสมือนเป็นส่วนหนึ่งในครอบครัวของตน ก่อให้เกิด สายใยความผูกพันที่แน่นเฟ้นขึ้น ระหว่างคนกับช้าง ณ บ้านตากลาง จ. สุรินทร์ ได้ชื่อว่าเป็นหมู่บ้านช้าง เลี้ยงใหญ่ที่สุดในโลก
2
2
ศาลหลักเมือง
เป็ น สถานที่ ส� ำ คั ญ คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ งของชาวสุ ริ น ทร์ ศาลหลักเมืองสุรินทร์เป็นอาคารสวยงาม กะทัดรัด มั่นคง เป็น เทวสถานที่สถิตของเจ้าพ่อหลักเมือง ซึ่งเดิมเป็นศาลที่ยัง ไม่มเี สาหลักเมือง และต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. 2511 ทางกรมศิลปากร ได้ออกแบบสร้างศาลหลักเมืองใหม่ โดยเสาหลักเมืองเป็นไม้ ชัยพฤกษ์
3
3
วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร
ถือเป็นพุทธอุทยานของจังหวัดสุรนิ ทร์ ตัง้ อยูใ่ นสภาพ แวดล้อมที่มีป่าและภูเขาล้อมรอบ มีเนื้อที่ครอบคลุมประมาณ 10,865 ไร่ ซึ่งอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุ์ไม้และสมุนไพรหายาก รวมทั้งสัตว์ป่านานาชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นแหล่งก�ำเนิด ต้นน�้ำล�ำธาร มีทัศนียภาพที่งดงาม สภาพแวดล้อมเงียบสงบ ร่มเย็น เหมาะกับการศึกษาปฏิบัติธ รรมและท่องเที่ ย วเชิ ง อนุรักษ์ที่ส�ำคัญยิ่ง 3
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
201
4
6
ตลาดการค้าช่องจอม
ช่องจอมเป็นเส้นทางข้ามแดนทีใ่ หญ่และสะดวกทีส่ ดุ ของ จังหวัดสุรินทร์ที่จะไปยังกัมพูชา ท�ำให้มีการติดต่อสัญจรไปมาและ ซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างชาวไทยและกัมพูชามาเป็นเวลา ช้านาน และเป็นที่มาของแนวความคิดในการเปิดจุดผ่านแดนเพื่อ ประโยชน์ของประชาชนทั้งสองประเทศ ตลาดแห่งนี้เปิดท�ำการ ค้าขายและสัญจรไปมาทุกวัน ระหว่างเวลา 8.00-17.00 น.
6
รอภาพ
ตั้งอยู่ข้างวัดบ้านปราสาท ปราสาทศีขรภูมิหลังนี้เป็น ปราสาททีง่ ดงามทีส่ ดุ ในจังหวัดสุรนิ ทร์ จากลักษณะทางศิลปกรรม สันนิษฐานว่าสร้างราวพุทธศตวรรษที่ 17 เป็นศาสนสถานในลัทธิ ไศวนิกาย และในพุทธศตวรรษที่ 22 มีการบูรณะเพิ่มเติมที่องค์ ปราสาทแถวหลังฝั่งทิศใต้ เป็นแบบศิลปะล้านช้าง และยังมีจารึก อักษรธรรมปรากฏอยู่ ณ ปราสาทหลังนี้
4
5
5
ปราสาทศีขรภูมิ
5
5
5
หมู่บ้านทอผ้าไหมยกทองโบราณบ้านท่าสว่าง
เป็นสินค้าประจ�ำจังหวัดชือ่ ดังของจังหวัดสุรนิ ทร์ทมี่ นี กั ท่องเทีย่ ว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติให้ความสนใจเข้าชมกระบวนการผลิตเป็น จ�ำนวนมาก การมาชมการทอผ้าไหมยกทองที่นี่จึงเป็นความเพลิดเพลินที่ น่าตื่นตาตื่นใจมาก ๆ ปัจจุบันบ้านท่าสว่างจึงเป็นทั้งแหล่งท่องเที่ยวและ แหล่งซื้อผ้าไหมขึ้นชื่อของจังหวัดสุรินทร์ ที่ไม่ว่าจะเป็นนักเดินทางจาก ที่ไหนต้องไม่พลาดหาโอกาสมาชมสักครั้ง
4
202
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
5
6
6
7
8
อนุสาวรีย์พระยาสุรินทรภักดี ศรีณรงค์จางวาง
เจ้าเมืองผู้ก่อตั้งเมืองสุรินทร์ แม้จะเป็นเพียงบุคคล ธรรมดาแต่ประวัติของเขา และด้วยความสามารถและความดี ท�ำให้ได้กลายเป็นเจ้าเมืองสุรินทร์เชียงปุม ซึ่งเป็นชื่อเดิมของ พระยาศรีสุรินทรภักดีศรีณรงค์จางวาง และมีความรู้ในเรื่องของ การเลี้ยงช้าง ซึ่งชื่อเมืองว่า สุรินทร์ เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นใหม่ตามสร้อย พระนามของเจ้าเมืองอย่างพระยาสุรินทรภักดีนั่นเอง 7
8
หมู่บ้านทำ�เครื่องเงินเขวาสินรินทร์
สินค้าท�ำมือจากหมูบ่ า้ นทีม่ ที งั้ ชือ่ เสียงและเอกลักษณ์คอื ปะเกือม นิยมน�ำมาท�ำเป็นเครือ่ งประดับจนเป็นงานหัตถศิลป์ขนึ้ ชือ่ และเป็นทีน่ ยิ มของนักท่องเทีย่ ว เช่น ก�ำไลข้อมือ สร้อยประค�ำ ต่างหู แหวน และเพิ่มความหลากหลายด้วยการผสมกับวัสดุชนิด อื่น เช่น มุก นิล ลูกปัดหินจนกลายเป็นสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์จ�ำหน่ายเป็นของที่ระลึก 8
9
9
เขื่อนห้วยเสนง
เขื่อนห้วยเสนงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาและมีสถานที่ พักผ่อนหย่อนใจด้วย จึงได้ชื่อว่าทะเลสุรินทร์ ซึ่งเปรียบเสมือน เป็นสวรรค์ชายหาดของคนชาวสุรินทร์ นอกจากนี้บนสันเขื่อนมี สันทีก่ ว้างออกคล้ายแหลมไปซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของพระต�ำหนักประทับ แรมของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ให้นกั ท่องเทีย่ วได้ ชม ซึ่งมีเขตพระราชฐานอยู่ด้านใน และมีจุดชมวิวให้ชมอีกด้วย
7
7
8 เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
9
203
Surin
ดีทราเวลไทยแลนด์ แนะน�ำห้องพักราคาสุดคุ้ม ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะน�ำ 6 ที่พักราคาสุดคุ้ม สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม ส�ำหรับนักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนจังหวัดสุรินทร์
โรงแรมโซริน บูติค
โรงแรมสลีฟ
โรงแรมสุรินทร์มาเจสติก
SORIN BOUTIQUE HOTEL เลขที่ 22/88 ถ.เทศบาล 3 ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.สุรนิ ทร์ 32000 sorin_boutiquehotel@hotmail.com Sorin Hotel www.sorinhotel.com 0-4406-0188
SLIVE HOTEL
SURIN MAJESTIC HOTEL เลขที่ 99 ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.สุรินทร์ 32000
ริมระวี รีสอร์ท
โรงแรมศรีทองกุล ริเวอร์ไซด์
RIMRAWEE RESORT เลขที่ 57 ม. 10 ต.บึง อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรนิ ทร์ 32000 ริมระวีรีสอร์ท 08-4605-7363
204
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
เลขที่ 169 ถ.หลักเมือง ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.สุรินทร์ 32000 slivehotelsurin@gmail.com Slive Hotel Surin www.slivehotel.com
0-4406-0323
SRITHONGKUL RIVERSIDE HOTEL
เลขที่ 135 ถ.สนิทนิคมรัฐ ต.ท่าตูม อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ 32120 srithongkulriversidehotel@gmail.com โรงแรมศรีทองกุลริเวอร์ไซด์ 08-5479-9259 08-6828-9559
reservemajestic@surinmajestic.com reservemajestic@gmail.com Surin Majestic Hotel www.surinmajestic.com 09-4290-9569, 0-447139-8083
ห้วยแสงจันทร์ รีสอร์ท HUAYSANGCHAN RESORT
เลขที่ 436 ถ.สุรินทร์-ศรีสะเกษ ต.สำ�โรงทาบ อ.สำ�โรงทาบ จ.สุรินทร์ 32170 รีสอร์ท ส�ำโรงทาบ ห้วยแสงจันทร์ รีสอร์ท 0-4456-9375
ร้านกาแฟ Cafe Khunchai ร้านกาแฟเล็กๆ ตกแต่งสไตล์โมเดิร์น บรรยากาศเงียบสงบ พร้อมให้ บริการกับทุกๆ ท่านได้มาสัมผัสกับรสชาติของเครื่องดื่ม อาหารคาว อาหารหวานต่างๆ และบรรยากาศของร้าน
เลขที่ 123 ม. 5 ถ.ปัทมานนท์ ต.แกใหญ่ อ.เมืองฯ จ.สุรนิ ทร์ 32000 Cafe Khunchai 09-2987-4615 จ - ศ 7:30 - 18:00 น. ส - อา 8:30 - 19:00 น.
สุรินทร์ ร้านกาแฟ
ร้านกาแฟ
C-Space Coworking & Coffee
รศ.235
เลขที่ 6/8 ถ.สุริยกานต์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 buahom235@gmail.com ร.ศ.235 235rattanakosin 09-1151-6265 11.00 - 19.00 น. ปิดทุกวันจันทร์
เลขที่ 345 ม.18 ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 www.cspace345.blog
C-Space : Coworking & Coffee - Surin
09-8181-0224 9.00 - 19.00 น. ทุกวัน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
205
วัดศาลาลอย
อำ�เภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
206
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
พระธรรมโมลี
ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
207
สารผู้ทรงคุณวุฒิ ท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์
นายปัญญา ปานแก้ว
208
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
จังหวัดสุรินทร์เป็นจังหวัดหนึ่ง ซึง่ มีอารยธรรมและวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย เ รื่ อ ง ร า ว ข อ ง จั ง ห วั ด สุ ริ น ท ร ์ นั้ น มีในหลายวิถี ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมบูรณาการกับ ชุมชน ในปัจจุบันกิจกรรมที่โดดเด่นแบ่ง ออกได้เป็น 3 ส่วนที่ใช้ในการขับเคลื่อน ส่วนที่ 1 คือ เรื่องการศึกษา เทศบาลต�ำบล ท่าตูม อ�ำเภอท่าตูม ซึ่งนายกเทศมนตรีให้ ความส�ำคัญกับการศึกษาเป็นอย่างยิ่ง โดย การจัดตั้งโรงเรียนเทศบาลต�ำบลขึ้น ใน ระดับตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงประถมศึกษา ซึ่งทางโรงเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสอนที่ดี ส่วนที่ 2 คือ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเมืองลีง อ�ำเภอจอมพระ เรียกว่า “เมืองลีงโมเดล” ซึ่งเป็นต้นแบบในเรื่อง การสืบสานการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และ ก่อให้เกิดรายได้กับประชาชนในพื้นที่อัน เป็ น แบบอย่ า งในการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ที่ ดี อย่างยิ่ง ส่วนที่ 3 คือ องค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนองแวง อ�ำเภอศรีณรงค์ มีผลงาน ในการป้ อ งกั น โรคไข้ เ ลื อ ดออก ซึ่ ง เป็ น สาเหตุหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ประชาชนเสียชีวติ นายก องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลหนองแวงได้ ท�ำการประชาสัมพันธ์ให้เกิดความร่วมมือ กันในเรื่องการก�ำจัดลูกน�้ำยุงลาย โดยการ รณรงค์ ใ ห้ ป ลู ก ตะไคร้ ห อมในพื้ น ที่ เ พื่ อ เป็นการไล่ยงุ ท�ำให้ปจั จุบนั ต�ำบลหนองแวง เป็นพื้นที่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
209
เรื่องราวหลายวิถี
20 ถิน่ ดีอสี าน จังหวัดสุรินทร์
นายศานิต ปรากฎมาก นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการพิเศษ รักษาราชการแทนท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์ เป็นหนึง่ ในจังหวัดชายแดนของภาคอีสานตอนล่าง หรือ “อีสานใต้” ที่นอกจากจะเต็มไปด้วยเรื่องราวทางด้านประวัติศาสตร์ อารยธรรมและศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะวัฒนธรรมขอมโบราณทีห่ ล่อหลอม และผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมไทยถิ่นอีสานจนมีความเป็นเอกลักษณ์และ โดดเด่น เมืองสุรินทร์ยังมีชื่อเสียงเป็นพิเศษในด้านการเลี้ยงช้าง จนได้ชื่อว่า เมือง “สุรินทร์ถิ่นช้างใหญ่” ที่มีความเกี่ยวพันกับเรื่องราวของช้างมาอย่าง ยาวนาน มีการจัดงานช้างอันยิ่งใหญ่เป็นประจ�ำทุก ๆ ปี ชาวกวยหรือกูย เป็นกลุ่มชนพื้นเมืองสุรินทร์ที่มีความเชี่ยวชาญในการจับช้างป่าเพื่อน�ำมา ฝึกหัดให้เป็นช้างบ้านและจะปฏิบัติต่อช้างเสมือนหนึ่งว่าเป็นสมาชิกใน ครอบครัวและกลายเป็นวิถีความผูกพันระหว่างช้างและคนที่สืบสานมาจน ปัจจุบัน นอกจากนี้พิธีกรรมและความเชื่อของชาวกูยในเรื่อง “ศาลปะก�ำ” ทีเ่ ปรียบเสมือนเทวาลัยเป็นทีส่ งิ สถิตของวิญญาณ บรรพบุรษุ และผีปะก�ำ ซึง่ ต้องท�ำพิธเี ซ่นไหว้ขอพรให้เป็นสิรมิ งคลทุกครัง้ เมือ่ จะเริม่ ท�ำกิจการอันใด อีก หนึ่งเอกลักษณ์ของสุรินทร์ก็คือ “ผ้าไหม” ที่มีลวดลายงดงาม คนสุรินทร์ได้ รับการสืบทอดวัฒนธรรมการทอผ้าไหมมาอย่างช้านาน อีกทั้งยังมีลวดลาย ผ้าและกรรมวิธีการทอผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ลวดลายที่สร้างขึ้นมา ล้วนแต่มคี วามหมายมงคล สีสนั ก็จะไม่ฉดู ฉาดเพราะใช้สธี รรมชาติในการทอ
210
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
“ประค�ำ” นัน้ เป็นเม็ดเงินหรือเม็ดทองชนิดกลมทีน่ ำ� มาร้อยเป็น เครื่ อ งประดั บ จะเป็ น สร้ อ ยคอ สร้ อ ยข้ อ มื อ เข็ ม ขั ด ก� ำ ไล ต่ า งหู หรืออื่น ๆ ก็ได้ “ผักกาดหวาน” หรือ “หัวไชโป๊ว” ทีเ่ ดิมนัน้ เริม่ มาจากเทคนิค การถนอมอาหารแต่รสชาติความอร่อยนั้นเป็ที่ถูกใจจนกลายเป็นของฝาก ยอดฮิต ส่วน “ข้าวหอมมะลิสุรินทร์” นั้นมีลักษณะเด่น คือ หอม ยาว ขาว นุ่ม จนท�ำให้มีชื่อเสียงในระดับสากล อีกทั้งข้าวหอมมะลิยังเป็นพืชหลักที่ สร้างรายได้ให้แก่จังหวัดสุรินทร์ที่มีการผลิตข้าวหอมมะลิมากที่สุดใน ประเทศไทย และได้รับการยอมรับว่าเป็นข้าวที่มีคุณภาพสูงอีกด้วย สิ่งที่ยังหลงเหลือร่องรอยให้เห็นถึงการเข้ามามีอิทธิพลของ วัฒนธรรมอืน่ ๆ ก็คอื ปราสาทขอมทีม่ อี ยูม่ ากมายหลายแห่งในพืน้ ทีจ่ งั หวัด สุรินทร์ อย่างเช่นที่ “ปราสาทศีขรภูมิ” หรือจะเรียกว่า ปราสาทระแงง ที่ ถือว่าเป็นปราสาททีง่ ดงามทีส่ ดุ ในสุรนิ ทร์ อีกหนึง่ ปราสาททีไ่ ด้ยนิ ชือ่ เสียง กันอยู่บ้างก็คือ “กลุ่มปราสาทตาเมือน” เป็นปราสาทหินสามหลังรวมกัน เป็นกลุ่ม เรียงล�ำดับจากขนาดใหญ่ไปหาเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน จังหวัดสุรนิ ทร์มพี นื้ ทีช่ ายแดนติดต่อกับประเทศกัมพูชาจึงได้รบั การถ่ายทอดทางวัฒนธรรมมาก็ที่หลอมรวมทั้งวัฒนธรรมลาว วัฒนธรรม ชาวกูย และวัฒนธรรมเขมร ผสมผสานกันกลายมาเป็นสุรินทร์ในทุกวันนี้ ซึ่งวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาจนถึงทุกวันนี้ของชาวสุรินทร์และเป็นที่รู้จัก ของคนทัว่ ไป อย่างเช่น ประเพณีการบวชนาคแห่ชา้ ง ประเพณีบญ ุ วันสารท (แซนโฎนตา) ประเพณีเซ่นผีปะก�ำ เป็นต้น
สารผู้ทรงคุณวุฒิ
อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
สุรินทร์ของเราเป็นเมืองแห่ง วัฒนธรรมที่ดีที่สุดแห่งหนึ่ง เราเชื่อว่าที่ นี่ยังมีความสัมพันธ์ที่พิเศษของคนกับ สัตว์ที่ใหญ่ คนกับช้าง
“หมู่บ้านเลี้ยงช้างที่ใหญ่แล้วก็น่า สนใจทีส่ ดุ ในโลกแห่งหนึง่ ภูมปิ ญ ั ญา เรือ่ งผ้าไหมกับลวดลายทีม่ เี ราเชือ่ ว่า นีค่ อื จุดทีด่ ที สี่ ดุ ในโลก”
อาจารย์อคั รเดช สุพรรณฝ่าย จังหวัดสุรินทร์ของเราในวันนี้ เป็นจังหวัดที่น่าสนใจ จังหวัดหนึ่งและผมอยากจะชี้ชวนเชิญชวนว่า ถ้าใครสนใจ ‘เรื่องของวิถีชีวิตของคนกับวัฒนธรรม ที่ยังด�ำรงและรักษาไว้จากอดีตจนถึงปัจจุบัน’ ให้มาสัมผัสและศึกษาเรื่องราวที่น่าสนใจได้ที่นี่
และอยากจะฝากทิง้ ท้ายด้วยว่า จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ข องเรามี ศิ ล ปะแม่ ไ ม้ มวยไทยทีด่ ที มี่ สี ญ ั ลักษณ์ของนักมวยคือ “บัวขาว บัญชาเมฆ” ดังนั้น นี่คือสิ่งที่ อยากจะเชิญชวนคนทั่วไปที่สนใจเรื่อง ของวิถคี นกับช้าง เรือ่ งอาหาร เรือ่ งเสน่ห์ ของข้าวหอมมะลิ เรื่องความหมายและ เรื่องของศิลปะการต่อสู้ที่ดีที่สุด มาได้ ที่ นี่ ค รั บ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ข องเราวั น นี้ น่ า สนใจ อย่ า ลื ม อย่ า พลาดมาเยี่ ย ม มาชมกัน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
211
สารผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานสภาวัฒนธรรม จังหวัดสุรินทร์
อาจารย์สดุ ใจ สะอาดยิง่ บริหารจัดการสร้างละครเพื่อแสดงประกอบแสงสีเสียง เริ่มต้นต้องมีเรื่องราวจากต�ำนาน จากนิทาน หรือเรื่องราวจากจารึก ในประวัติศาสตร์ หรือจากศิลาจารึก น�ำมาสร้างเป็นจิตนาการที่จะสื่อ ให้ผู้ชมคล้อยตามการแสดงละครประกอบแสงสีเสียงเป็นการน�ำ สารส�ำคัญจากเรื่องราวในอดีตมาผสมผสานกับระบสารสนเทศที่ ทันสมัยในเทคโนโลยี นวัตกรรม ท�ำให้สามารถสื่อสาร ถึงเยาวชนรุ่นใหม่ได้เป็นอย่างดี
212
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ที่สำ� คัญ คือ ต้องมีตัวละคร ตัวเอกพระเอก นางเอก นางร้าย หรือตัวประกอบอื่น ๆ ที่จะน�ำผู้ชม ได้ตื่นตากับการแสดง มีบทบรรยาย บทสนทนา การน� ำ เสนอความวิ จิ ต ร งดงามของเครื่ อ งแต่ ง กาย บท การสนทนาแทรกกับเสียงซาวนด์ ดนตรีพนื้ บ้านในยุคสมัยนัน้ และการ สอดแทรกซาวนด์ ส ากลในฉาก ที่ ต ้ อ งการปล่ อ ยแสงสี เสี ย งและ เทคนิคต่าง ๆ เช่น Dry ice และ Smoke เพื่อย้อมแสงสีให้สวยงาม จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งน� ำ ศาสตร์ ต่าง ๆ มาจัดให้กลมกลืนกับเนื้อหา เช่ น นาฎยศาสตร์ คี ต ศาสตร์ ภาษาศาสตร์ พัสตราภรณ์ เครื่อง ประดับต่าง ๆ มารวมเข้ากับเทคนิค แสงสีเสียง จึงเป็นการจัดการแสดง ที่มีความละเอียดอ่อน ต้องวางแผน ร่วมกันหลายฝ่าย มีการซ้อมจนถึง วันแสดง จึงจะเป็นค�ำตอบที่ส�ำคัญ ว่ า ผู ้ ช มยอมรั บ ซาบซึ้ ง ไปตาม บทการแสดงเพี ย งใดผู ้ ก� ำ กั บ การแสดงและทีมงานจะยิ่งมีความ ภูมิใจและถือเป็นความท้าทายที่จะ ต้องคิดสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามเหล่านี้ ให้มีพัฒนาการที่ดียิ่งขึ้น เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
213
องค์การบริหารส่วนตำ�บลช่างปี่
“ ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สืบสานตำ�นานปราสาทช่างปี่ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ”
รำ�บวงสรวงปราสาทช่างปี่
วัตถุโบราณ 1.ประติมากรรมหินทรายลอยองค์พระพิฆเณศ 2.ประติมากรรมบุรุษที่ 1 พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคต 3.ประติมากรรมหินทรายลอยองค์พระโพธิสัตว์
214
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ความเป็นมา
พันธกิจ 1. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคนครอบครัวและชุมชนในการพึง่ ตนเอง 2. พัฒนาระบบศึกษาและสธารณสุข ตลอดจนอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม อันดีงามของท้องถิ่น 3. พัฒนาระบบสาธารณูปโภค เพื่อรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจและ ชุมชน 4. สร้างระบบบริหารจัดการที่ดี โดยให้ประชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ตรวจสอบ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความโปร่งใสในการบริห าร และมีส่ว นร่วมจาก ทุกภาคส่วน กลุ่มอาชีพโดดเด่น 1. กลุ่มทอผ้าไหมและแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าไหม บ้านโคกอาโพน 2. กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าไหม บ้านข่า 3. กลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมพื้นเมืองต�ำบลช่างปี่ 4. กลุ่มอาชีพสานเส้นพลาสติก บ้านหนองผือ อบต.ชวนเที่ยว โบราณสถานปราสาทช่างปี่ ปราสาทช่างปี่ ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 1 บ้านช่างปี่ ต�ำบลช่างปี่ อ�ำเภอศีขรภูมิ จังหวัด สุรินทร์ ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอไปทางตะวันตกเฉียงใต้ บนถนนสุรินทร์ศีขรภูมิ ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร
ชุมชนแห่งนี้เรียกว่า หมู่บ้านช่างปี่ เป็นการตั้งชื่อ ตามชื่อของช่างปั้นหม้อที่มีชื่อเสียง มีชื่อว่า “ปี่” เป็นช่างที่มี ฝีมอื จนได้รบั ค�ำชมเชย ชาวบ้านถือเป็นเกียรติจงึ เรียกหมูบ่ า้ นนีว้ า่ บ้านช่างปี่ แต่ชาวบ้านบางคนเล่าว่าชื่อหมู่บ้านมาจากค�ำว่า “จ�ำเป็ย” แปล ว่า ต้นจ�ำปี ภาษาถิ่นที่ชาวต�ำบลช่างปี่ใช้สื่อสารคือ ภาษาเขมรและลาว องค์การบริหารส่วนต�ำบลช่างปี่ ได้มีการยกฐานะจากสภาต�ำบล เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อปี พ.ศ. 2539 ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วน ต�ำบล โดยที่มาตรา 40 และ มาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและ องค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 บัญญัติให้จัดตั้งองค์การบริหารส่วน ต�ำบล และให้โอนบรรดางบประมาณ ทรัพย์สนิ สิทธิ สิทธิเรียกร้อง หนี้ และ เจ้าหน้าที่ของสภาต�ำบลไปเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล โดยยกฐานะจาก สภาต�ำบลเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลช่างปี่ ตามประกาศราชกิจจานุ เบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม 113 ตอน พิเศษ 52 ง ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2537 องค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) จึงเป็นองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งของไทยที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและ องค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 โดยมีวตั ถุประสงค์ของการจัดตัง้ เพือ่ กระจายอ�ำนาจการปกครองให้ประชาชนในท้องถิ่นระดับต�ำบล ซึ่งเป็นเขต ชนบทอันเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศได้มีโอกาสเรียนรู้การแก้ไขปัญหา และการสนองตอบความต้องการของตนเอง โดยการเข้าไปมีบทบาทหรือมี ส่วนร่วมทางการเมือง การปกครองหรือที่เรียกกันว่าปกครองตนเองตาม ระบอบประชาธิปไตย
นายสุธี บูรณ์เจริญ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลช่างปี่
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลช่างปี่ หมู่ 1 ต�ำบลช่างปี่ อ�ำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 32100 โทร. 0-445-8765 Website : www.changpi.go.th เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
215
องค์การบริหารส่วนตำ�บลสะกาด “บ้านเมืองน่าอยู่ ยกชูวัฒนธรรม มุ่งมั่นเกษตรกรรมพึ่งตนเอง พร้อมเปลี่ยนแปลงสู่อาเซียน”
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลสะกาด อ�ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ 32150 โทรศัพท์ 0-4471-2229 โทรสาร 0-4471-2229 www.sakad.go.th
216
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
งานประเพณสู ่ ข วั ญ ข้ า ว องค์การบริหารส่วนตำ�บลสะกาด
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
217
งานประเพณี กวนข้ า วทิ พ ย์
218
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ที่รองนั่งและพรมเช็ดเท้า กลุ่มแม่บ้านหมู่ ๖ บ้านอำ�ปึล
นายเมธา ขอชัย ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บล ปฏิบตั ิหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วน ตำ�บลสะกาด ความเป็นมา
ต� ำ บลสะกาด เป็ น หนึ่ ง ใน ๑๒ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นของอ�ำเภอสังขะ ตั้งอยู่ทาง ทิศตะวันออกของจังหวัดสุรนิ ทร์ระยะทาง ๔๘ กิโลเมตรและทิศ ตะวันตกของอ�ำเภอสังขะ ระยะทาง ๑๓ กิโลเมตร พื้นที่ ๖๒ ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านในเขตปกครอง ๑๖ หมู่บ้าน มี ทางหลวงแผ่นดิน ๒๔ เป็นเส้นทางหลักในการสัญจร อาชีพหลัก คือการท�ำนา ภาษาที่ใช้เป็นภาษาส่วย ตั้งแต่วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๙ เรือ่ ยมา บริหารงานองค์กรโดย นายเมธา ขอชัย ต�ำแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลสะกาด วัฒนธรรมประเพณีทนี่ า่ สนใจ คือ งาน ประเพณีกวนข้าวทิพย์ประจ�ำต�ำบล วัดสนสัทธาราม หมู่ ๘ บ้าน สนจั ด หลั ง วั น ออกพรรษาของทุ ก ปี เป็ น ประเพณี ก วน ข้าวทิพย์ตามขนบและวัตถุดิบแบบโบราณดั้งเดิม ๒๖ กระทะ ใหญ่ งานประเพณีสู่ขวัญข้าวประจ�ำต�ำบล จัดขึ้นที่ท�ำการ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสะกาด สัปดาห์สุดท้ายของเดือน ธันวาคมของทุกปี และประเพณีวันสารทส่วย สถานที่ส�ำคัญ ได้แก่ ปราสาทเต่าทอง หมู่ ๓ บ้านตาโมม เป็นปราสาทเก่าแก่ ทีล่ ม่ สลายไปแล้ว แต่มที รัพย์สมบัตโิ บราณทุกชิน้ ซ่อนอยูใ่ ต้ฐาน องค์พระใหญ่ตามวิธีการแก้ปัญหาของชาวบ้านในยุคการล่า สมบัติ พระปื้ดหรือหลวงพ่อโต วัดเต่าทอง หมู่ ๑๒ บ้านตาโมม พัฒนา เป็นพระโบราณเก่าแก่มสี ายตา ๓๖๐ องศา เป็นทีเ่ คารพ นับถือของคนเชื้อสายส่วย และวัดสนสัทธาราม วัดที่หลวงปู่ สรวงเทวดาเดินดินเคยใช้เป็นที่หาความสงบจากความวุ่นวาย ของศานุศิษย์ที่มีแต่ขอโชคขอเลข
ผ้าไหมกลุ่มแม่บ้าน
รฐาน สะกาดฟาร์มอาหารมาต สำ�นักงานอบต.สะกาด เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
219
องค์การบริหารส่วนตำ�บลสลักได
ความเป็นมา
ต�ำบลสลักได เป็นต�ำบลเก่าแก่หนึ่งในหลาย ชุมชนพร้อมต�ำนานเมืองสุรินทร์ ประมาณปี พ.ศ. 2350 ดูจากลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นที่สูง มีคูเมืองล้อมรอบ หมู่บ้านสลักได ซึ่งเป็นที่ดอนน�้ำไม่ท่วมมีก�ำแพงเก่ารอบ หมู ่ บ ้ า น บางส่ ว นได้ ขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น ที่ ร าชพั ส ดุ แ ล้ ว ประมาณปี พ.ศ. 2410 ทางการได้แต่งตั้ง พระภิเบสวงศา (เพชร) มาเป็นผู้ปกครองหมู่บ้านคนแรก ต่อมามีการตั้ง หมู่บ้านเพิ่มโดยขึ้นตรงกับบ้านสลักไดและได้ยกฐานะขึ้น เป็นต�ำบลสลักไดมีหลวงราษฎร์สมบัติ (เกณฑ์ ผลินธร) เป็นก�ำนันต�ำบลสลักไดคนแรก
ทีต่ ง้ั องค์การบริหารส่วนตำ�บลสลักได ตำ�บลสลักได อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์ 32000 โทรศัพท์ 0-4455-8830 โทรสาร 0-4455-8831
220
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
นายมานพ แสงคำ� นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลสลักได
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
221
กิจกรรมทางศาสนา
กิจกรรมต่าง ๆ ของ องค์การบริหารส่วนตำ�บลสลักได กิจกรรมทางการกีฬา
กิจกรรมทางการศึกษา
222
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปบ้านโคกกระชาย หมู่ 13
ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง องค์การบริหารส่วนตำ�บลสลักได
การทอดหมูกระจก
ขนมมันรังนก โคกกระชาย
ปลาส้มปลาตะเพียน สวนเห็ดสุนันทา บ้านบุตาดี หมู่ 12 ฟาร์มกบ บ้านโคกเพชร หมู่ 14
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านเสม็ดน้อย หมู่ที่ 6 เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
223
องค์การบริหารส่วนตำ�บลแจนแวน “ข้าวมะลิลือเลื่อง เมืองเกษตรอินทรีย์ มากมีผ้าไหมไทยกวย งามด้วยวัฒนธรรม”
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลแจนแวน เลขที่ 137 หมู่ที่ 4 ต�ำบลแจนแวน อ�ำเภอศรีณรงค์ จ.สุรินทร์ 32150 โทรศัพท์ : 0-4414-8442 เว็บไซต์ : www.chaenwaen.go.th อีเมลล์ : 632150@dla.go.th
224
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
งานกิ จ กรรม ตำ�บลแจนแวน สนับสนุนกลุ่มแม่บ้าน ทอผ้าพื้นเมือง
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
225
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
องค์การบริหารส่วนตำ�บลแจนแวน
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
226
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
นายวีระชัย มีสติ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลแจนแวน ความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลแจนแวน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 137 บ้าน พราน หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลแจนแวน อ�ำเภอศรีณรงค์ จังหวัดสุรนิ ทร์ เป็น ต�ำบล 1 ใน 5 ของต�ำบล ในเขตอ�ำเภอศรีณรงค์ ซึ่งตั้งอยู่ห่างจาก ตัวอ�ำเภอศรีณรงค์ 8 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดสุรินทร์ 70 กิโลเมตร พิกัด ต�ำแหน่ง (GPS) 14˚46’ 56.10˝ เหนือ และ103˚ 55’ 59.39 ˝ตะวันออก เดิมพืน้ ทีต่ ำ� บลแจนแวนขึน้ กับต�ำบลขอนแตก อ�ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ต่อมาได้แบ่งเขตจากการปกครองตามกฎหมาย ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2475 จึงได้แยกตัวมาเป็นต�ำบล แจนแวนและได้รับการยกฐานะจากสภาต�ำบลเป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วน ต�ำบล พ.ศ. 2537 ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา มี พื้นที่ทั้งหมด 34.52 ตารางกิโลเมตร หรือ 21,575 ไร่ ครอบคลุม 13 หมู่บ้าน การตั้งชื่อ ต�ำบล “แจนแวน” เป็นการลงมติตั้งชื่อตามชื่อ หมู่บ้านที่อยู่กึ่งกลางต�ำบล คือ บ้านแจนแวน ความหมายของค�ำ ว่า “แจนแวน” มาจากชื่อของนกชนิดหนึ่ง ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า นก แจนแวน อาศัยอยู่จ�ำนวนมากในพื้นที่ ที่มีลักษณะป่าหรือโคก ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์คือบริเวณบ้านแจนแวน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
227
องค์การบริหารส่วนตำ�บลยาง เศรษฐกิจพอเพียง หล่อเลี้ยงชุมชน การศึกษาก้าวหน้า ล้ำ�ค่าเกษตรอินทรีย์ มีดีแหล่งท่องเที่ยว
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลยาง ต�ำบลยาง อ�ำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 32110 โทร. / โทรสาร. : 0-4415-1069 Website : www.orbotor-yang.go.th
228
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
งานกิจกรรมตำ�บลยาง
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
229
ดอกไม้แห้ง
ผลิตภัณฑ์จากไม้ตาล
กระเป๋าใบตาล
พวงสวรรค์ กระเป๋าเศษริปบิ้น
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
องค์การบริหารส่วนตำ�บลยาง
โครงการชีววิถี
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
230
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
นายศักดินันท์ สุภัควรางกูร นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลยาง
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
231
ท้องถิ่นเมืองลีง
ตำ�บลเมืองลีง อำ�เภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์
ส่งมอบระบบสูบน�ำ้ เพื่อการเกษตรด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
เมืองลีงถิ่นข้าวหอม เพียบพร้อมหัตถกรรม นำ�ร่องเกษตรอินทรีย์ ลำ�ชีมีทิวทัศน์ มหัศจรรย์โพนเรียง เคียงค่ายลูกเสือ งามเหลืองานศิลป์ ถิ่นหมูหันเลื่องลือ
232
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ท้องถิ่นบักได
ตำ�บลบักได อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์
โรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลบักได
ตำ�บลน่าอยู่ คู่คุณธรรม นำ�เศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ เกษตรอินทรีย์เป็นหลัก รักษาสิ่งแวดล้อม
พ่อเอี๊ยะสายกระสุน ภูมิปัญญาการรักษาพิษงูด้วยสมุนไพรโลดทะนงแดง
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
233
เครื่องเงินบ้านโชค
หมู่บ้านทอผ้าไหมท่าสว่าง
234
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ปราสาทตาเมือนธม เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
235
ย า ค ง อ น ห Khai หวัด
จัง
Nong
The town to commemorate the victory over the Haw tribe, The city of the sacred Buddha image named “ Luang Pho Phra Sai”, The province of Thai-Laos Friendship bridge.
มหาประตูสู่อิโดจีน ถิ่นวีรกรรมปราบฮ่อ
หลวงพ่อพระใส บั้งไฟพระยานาคาราช สะพาน ๒ ชาติไทย ลาว ฝั่งโขงยาวที่สุดในสยาม วัฒนธรรมอันล้ำ�ค่า ธานีพระอรหันต์
จังหวัดหนองคาย เมืองหนองคาย มีชอื่ ปรากฏอยูใ่ นพงศาวดารล้านช้างตลอดยุคสมัย ดั ง เช่ น ปรากฏเป็ น ชื่ อ เมื อ งเวี ย งคุ ก เมื อ งปะโค เมื อ งปากห้ ว ยหลวง (อ�ำเภอโพนพิสยั ในปัจจุบนั ) และนอกจากนีย้ งั ปรากฏในศิลาจารึกจ�ำนวนมาก ที่กษัตริย์แห่งเวียงจันทน์ได้สร้างไว้ในบริเวณจังหวัดหนองคาย โดยเฉพาะ เมืองปากห้วยหลวงเป็นเมืองลูกหลวง นอกจากนีใ้ นรัชสมัยพระเจ้าวรรัตนธรรม ประโชติฯ พระราชโอรสในพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้ตั้งสมเด็จพระสังฆราช วัดมุจลินทรอารามอยูท่ เี่ มืองห้วยหลวงและยังพบจารึกทีว่ ดั จอมมณี ลงศักราช พ.ศ. 2098 จารึกวัดศรีเมือง พ.ศ. 2109 จารึกวัดศรีบญ ุ เรือง พ.ศ. 2151 เป็นต้น นอกจากนีย้ งั พบโบราณสถานอิทธิพลล้านช้างจ�ำนวนมาก เช่น พระธาตุตา่ ง ๆ โดยเฉพาะพระธาตุบังพวน สร้างก่อน พ.ศ. 2106 จารึกวัดถ�้ำสุวรรณคูหา (อ�ำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวล�ำภู) ลงศักราช พ.ศ. 2106 กล่าวถึง พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชได้อุทิศข้าทาสและที่ดินแก่วัดถ�้ำสุวรรณคูหา และได้ สร้างพระพุทธรูปไว้ที่พระธาตุบังพวนอีกด้วย เมื่อ พ.ศ. 2322 กองทัพสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ชัยชนะกรุงศรี สัตนาคนหุตเวียงจันทน์แล้ว หัวเมืองหนองคายยังอยู่ใต้ความควบคุมของ เวียงจันทน์เช่นเดิม หลังกรณีเจ้าอนุวงศ์ พ.ศ. 2369 – 2370 ฝ่ายกรุงเทพฯ มีนโยบายอพยพผู้คนมาฝั่งภาคอีสาน จึงยุบเมืองเวียงจันทน์ปล่อยให้เป็น เมืองร้าง ชาวเมืองเวียงจันทน์บางส่วนก็อพยพมาภาคกลางและบางส่วน ก็อยู่ที่บริเวณเมืองเวียงคุก เมืองปะโค เมื่อจัดการบ้านเมืองเรียบร้อยแล้ว เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) อัครมหาเสนาบดีสมุหนายก จึงกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ ท้าวสุวอ (บุญมา) เป็นเจ้าเมือง ยกบ้านไผ่ (ละแวกเดี ย วกั บ เมื อ งปะโคและเมื อ งเวี ย งคุ ก ) เป็ น เมื อ งหนองคาย ท้าวสุวอ เป็น “พระปทุมเทวาภิบาล” เจ้าเมืองคนแรก มีเจ้าเมืองต่อมาอีก 2 คน คือ พระปทุมเทวาภิบาล (เคน ณ หนองคาย) ผู้เป็นบุตร และ พระยาปทุมเทวาภิบาล (เสือ ณ หนองคาย) ผู้เป็นหลาน เมื่อ พ.ศ. 2428 เกิด สงครามปราบฮ่อครั้งที่สอง ในบริเวณ ทุ่งไหหิน (ทุ่งเชียงค�ำ) พวกฮ่อก�ำเริบตีมาจนถึงเวียงจันทน์ เมื่อพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบข่าวศึกฮ่อ จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศลิ ปาคม ขณะด�ำรงพระอิสริยศเป็น กรมหมืน่ ประจักษ์ ศิลปาคม เป็นแม่ทพั ปราบฮ่อครัง้ นัน้ จนพวกฮ่อแตกหนีและสร้างอนุสาวรีย์ ปราบฮ่อไว้ทเี่ มืองหนองคาย เมือ่ พ.ศ. 2429 ต่อมาใน พ.ศ. 2434 พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระเจ้า น้องยาเธอ กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม ด�ำรงต�ำแหน่ง ข้าหลวงมณฑล ลาวพวน (ภายหลังเปลีย่ นเป็นมณฑลอุดร) ได้ตงั้ ทีท่ ำ� การทีเ่ มืองหนองคาย ครั้นเกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ไทยถูกก�ำหนดเขตปลอดทหารภายในรัศมี 50 กิโลเมตรจากชายแดน จึงย้ายกองบัญชาการมลฑลลาวพวนมาตั้งที่ ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติปกครอง พื้นที่ขึ้น โดยให้ยกเลิกระบอบเจ้าปกครองทั่วประเทศ ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ 2458 กระทรวงมหาดไทยจึงได้มคี ำ� สัง่ สถาปนาเมืองข้าหลวงปกครอง ซึ่งต่อมาเรียกว่า ผู้ว่าราชการจังหวัด และในปี พ.ศ. 2476 ได้มีการจัด ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็นจังหวัด อ�ำเภอหนองคายจึงได้รับ การยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด
238
“ วีรกรรมปราบฮ่อ หลวงพ่อพระใส สะพานไทย-ลาว “
จังหวัดหนองคาย เมืองชายแดนริมฝั่งแม่นำ�้ โขงและ ยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ติดแม่น�้ำโขงมากที่สุดอีกด้วย พร้อมทั้งยัง เป็ น ประตู สู ่ เ มื อ งเวี ย งจั น ทน์ เมื อ งหลวงของสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมี สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 1 เชื่อมระหว่างสองประเทศ ซึ่งจุดนี้เองที่สามารถสร้าง ความสัมพันธ์อันดีและช่วยส่งเสริมทางด้านเศรษฐกิจอีกด้วย จังหวัดหนองคายโดดเด่นในเรือ่ งสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทาง ธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย เช่น ด้านศาสนา หนองคายมี วั ด ที่ เ ก่ า แก่ แ ละมี ค วามส� ำ คั ญ คื อ วั ด โพธิ์ ชั ย เนือ่ งจากเป็นทีป่ ระดิษฐาน หลวงพ่อพระใส อันศักดิส์ ทิ ธิ์ ถือเป็น พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองที่มีต�ำนานผูกพันกับทั้งชาวไทยและ ชาวลาวในประวัตศิ าสตร์ ซึง่ เป็นทีเ่ คารพสักการะอย่างสูงสุดของ ชาวหนองคายและผู้คนลุ่มน�้ำโขง ส่วนด้านประเพณีวัฒนธรรม และความเชื่อ ก็จะมี งานบั้งไฟพญานาค ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ ความมหัศจรรย์ทลี่ กู ไฟสีแดงอมชมพูพวยพุง่ ขึน้ จากล�ำแม่นำ�้ โขง จะเริม่ ปรากฏให้เห็นตัง้ แต่พระอาทิตย์ตกดินจนถึงเวลาประมาณ เที่ยงคืนของวันออกพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค�ำ่ เดือน 11 ของทุกปี โดยจัดทัง้ หมด 3 พืน้ ที่ คือ เขตเทศบาลเมืองหนองคาย เขตเทศบาลโพนพิสัย และ ในเขตอ�ำเภอรัตนวาปี ด้านการท่อง เทีย่ วทางธรรมชาติ จะเรียกว่าเป็น Unseen แห่งใหม่ของจังหวัด หนองคายก็วา่ ได้ คือภูหว้ ยอีสนั เป็นจุดซึง่ สามารถชมพระอาทิตย์ ขึ้นและทะเลหมอกได้ไกลสุดสายตา สามารถมองเห็นธรรมชาติ ทัง้ สองฟากฝัง่ และถือเป็นจุดชมทะเลหมอกทีส่ วยงามอีกจุดหนึง่ ของจังหวัดหนองคาย
239
11 สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดหนองคาย
1
2
วัดผาตากเสื้อ
พันโขด แสนไคร้
(แกรนด์แคนยอนหนองคาย)
“พันโขด แสนไคร์ หรือ แกรนด์แคนยอน หนองคาย” เป็นแหล่งท่องเทีย่ วบนล�ำน�ำ้ โขง ยามแม่นำ�้ โขงลดระดับลงโขดหินกลางล�ำน�้ำจะโผล่ขึ้นมาให้เห็น ซึ่งมีขนาดและรูปทรงที่แปลกตาแตกต่างกันออกไป
3
น้ำ�ตกธารทอง
“น�้ำตกธารทอง” มีลักษณะ เป็นธารน�ำ้ ไหลไปตามลานหิน มีแอ่งน�ำ้ ให้เล่นน�้ำได้ก่อนจะลดระดับเกิดเป็น ชั้นน�้ำตกเล็กๆ เป็นระยะลดหลั่นกันไป ประมาณ 30 เมตรและไหลลงสูล่ ำ� น�ำ้ โขง ในที่สุด ช่วงเวลาที่มีน�้ำมาก เหมาะ แก่ ก ารมาเที่ ย วชมคื อ ระหว่ า งเดื อ น มิถุนายนถึงเดือนตุลาคม บริเวณโดย รอบเป็ น สวนรุ ก ขชาติ มี ป ่ า ไม้ ขึ้ น อยู ่ หนาแน่น
240
“วัดผาตากเสื้อ” เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม แล้ ว ยั ง เป็ น จุ ด ชมวิ ว ที่ ส วยงามอี ก ด้ ว ย เนือ่ งจากวัดตัง้ อยูท่ สี่ งู บนยอดเขา หากขึน้ ไป บนผาจะเห็นว่ามีวิวที่สวยงาม สามารถที่จะ มองเห็ น ด้ า นล่ า งทั้ ง ฝั ่ ง ไทยซึ่ ง เป็ น อ� ำ เภอ สังคมและทางฝัง่ ลาวทีม่ แี ม่นำ้ โขงกัน้ อยู่ หาก ไปช่วงฤดูหนาวทีว่ ดั ผาตากเสือ้ แห่งนี้ เป็นอีก จุดหนึ่งที่มีทะเลหมอกด้วย และจะพบกับ เขาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ สลับซับซ้อนและมีแม่นำ�้ โขง ข้างบนจะเป็นวัดเหมาะส�ำหรับปฏิบตั ธิ รรมด้วย เพราะว่าเป็นวันทีร่ ม่ รืน่ และมีความเงียบสงบ
ตามโขดหินมีต้นไคร้สีเขียวสดขึ้นปกคลุม มองแล้วดูสวยงามสร้างความประทับใจให้ แก่ผู้พบเห็น การเดินทางไปชมต้องล่องเรือ ชมในช่ ว งฤดู แ ล้ ง เท่ า นั้ น นอกจากนี้ ยั ง มี “แก่งพาล” เป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกกลาง แม่น�้ำโขงทีสวยงามอีกแห่งหนึ่ง
4
5 พระธาตุบังพวน
ภูหว้ ยอีสนั
“ภูห้วยอีสัน” เป็นจุดชมทิวทัศน์บนเนินเขาเล็ก ๆ ที่สามารถมองเห็น บ้านเรือนในพื้นที่อ�ำเภอสังคมและเกาะแก่งกลางแม่น�้ำโขง ทั้งยังเป็นจุดชม พระอาทิตย์ขนึ้ ทีส่ วยงามอีกแห่งของจังหวัดหนองคาย โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว มีโอกาสพบเห็นทะเลหมอกลอยปกคลุมเหนือแม่นำ�้ โขงเป็นทัศนียภาพที่สวยงาม การชมพระอาทิตย์ขึ้นและทะเลหมอกบนภูห้วยอีสันสามารถขึ้นชมได้เฉพาะใน ช่วงเดือนตุลาคม - พฤษภาคม ของทุกปี
“พระธาตุบังพวน” เดิมเป็นเจดียเ์ ก่าแก่ เป็นทีเ่ คารพ สักการะของชาวหนองคายมาช้านาน ตัวองค์พระธาตุเดิมเป็น เจดีย์สร้างด้วยอิฐเผา มีรูปทรงแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ลักษณะเจดีย์เป็นรูปสถูปแบบอินเดียรุ่นเดียวกับองค์พระปฐม เจดีย์ เจดียอ์ งค์ปจั จุบนั บูรณะขึน้ ใหม่โดยกรมศิลปากรในระหว่าง ปี พ.ศ. 2519 - 2521 หลังจากทีอ่ งค์เดิมได้พงั ทลายลงเมือ่ เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2513 เนื่องจากฐานทรุด พระธาตุองค์ปจั จุบนั มีฐานทักษิณ 5 ชัน้ กว้าง 17.20 เมตร สูงถึงยอดฉัตร 34.25 เมตร รูปปรางค์สเ่ี หลีย่ มต่อกันเป็นบัวปากระฆัง ชัน้ ที่ 6 เป็นรูประฆังควำ�่ ชัน้ ที่ 7 เป็นรูปดาวปลี และเหนือชั้นไปเป็นที่ตั้งฉัตรและบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุไว้
6 วัดโพธิ์ชัย
“วัดโพธิช์ ยั ” นับเป็นอีกหนึง่ ศาสนสถานทีย่ งั คงไว้ซง่ึ ความ ศักดิ์สิทธิ์และความงดงามของศิลปวัฒนธรรมที่สืบทอดเรื่องราว อันช้านานมาแต่ประวัตศิ าสตร์ครัง้ ก่อน สำ�หรับวัดโพธิช์ ยั นัน้ เป็น พระอารามหลวง มีหลวงพ่อพระใสเป็นพระพุทธรูปขัดสมาธิราบ ปางมารวิชยั หล่อด้วยทองสีสุก หน้าตักกว้าง 2 คืบ 8 นิ้ว ส่วนสูง จากพระชงฆ์เบื้องล่างถึงยอดพระเกศ 4 คืบ 1 นิ้วของช่างไม้ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองที่ชาวเมืองหนองคาย นับถือกันมาก ตำ�นานเล่าว่าพระธิดา 3 องค์ของกษัตริย์ล้านช้าง ได้หล่อพระพุทธรูปขึ้น 3 องค์และขนานนามพระพุทธรูปตาม พระนามของตนเอง คือ พระเสริมประจำ�พี่ใหญ่พระสุกประจำ� คนกลาง และพระใสประจำ�น้องสุดท้อง เดิมประดิษฐานที่กรุง เวียงจันทน์
241
7 พระธาตุหนองคาย
8
“พระธาตุหนองคาย” หรือ พระธาตุกลาง น�ำ้ อีกชือ่ พระธาตุหล้าหนอง เป็นพระธาตุทมี่ ขี นาด ใหญ่อยู่ริมฝั่งแม่น�้ำโขงเนื่องจากแม่น�้ำเชี่ยวกราก จึงกัดเซาะตลิ่งจนพระธาตุพังลงในแม่น�้ำ ท�ำให้ ปัจจุบนั องค์พระธาตุจมอยูก่ ลางแม่นำ�้ โขงห่างจาก ฝั่งไทย 180 เมตร องค์พระธาตุก่อด้วยอิฐถือปูน ล้มตะแคงไปตามกระแสน�้ำทางทิศตะวันออกเฉียง เหนือ มีฐานเหลีย่ มมุมฉาก โดยด้านหนึง่ โผล่ขนึ้ มา เหนือน�ำ้ เพียงครึ่งฐาน
องค์ พ ระธาตุ มี รู ป ทรงทาง สถาปัตยกรรมเท่าที่ยังเหลืออยู่เป็นชั้น ฐานเขี ย ง 2 ชั้ น ฐานสี่ เ หลี่ ย มย่ อ เก็ จ ต่อขึ้นมาอีก 4 ชั้น จึงเป็นเรือนธาตุ ต่อด้วยบัวลูกแก้วอีก 2 ชัน้ ความสูงของ เจดีย์ เฉพาะส่วนทีส่ มั ผัสได้ 12.20 เมตร ความกว้างของฐานองค์พระธาตุชนั้ ล่าง สุด 15.80 เมตร พระธาตุ ห นองคายเป็ น ที่ เคารพสักการะของชาวหนองคายและ ชาวบ้านได้จดั งานประเพณีเกีย่ วกับพระ ธาตุ ใ นทุ ก ปี คื อ ประเพณี บุ ญ บั้ ง ไฟ เดือน 6 เพือ่ จุดถวายองค์พระธาตุ ในวัน แรม 1 ค�ำ่ เดือน 6 พิธบี วงสรวงองค์พระธาตุ วันขึ้น 14 ค�่ำ เดือน 11 ถวายปราสาท ผึ้ง วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 และการแข่ง เรือยาววันออกพรรษาทุกปีเพื่อถวาย เป็นพุทธบูชา
วัดหินหมากเป้ง
“วั ด หิ น หมากเป้ ง ” นั บ เป็ น อีกหนึ่งศาสนสถานที่อยู่คู่กับชาวเมือง หนองคาย บริเวณวัดมีพื้นที่กว้างขวาง ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ สะอาด เรียบร้อย และเงียบสงบเหมาะแก่การมาพักผ่อน ทั้ ง ทางกายและใจ ด้ ว ยบรรยากาศที่ สงบนั้น จึงเป็นสถานที่ที่เหมาะอย่างยิ่ง โดยเฉพาะแก่ผู้ที่ต้องการจะมาบำ�เพ็ญ เพียรฝึกจิตนั่งวิปัสสนา ทำ�สมาธิ หรือ เดินจงกรมอีกด้วย พื้นที่ด้านหนึ่งติดกับ ลำ�น้ำ�โขงซึง่ มองเห็นทัศนียภาพสวยงาม เพื่ อ บรรจุ อั ฐิ ข องท่ า นภายในมี รู ป ปั้ น ของหลวงปู่เทสก์พร้อมจัดแสดงเครื่อง อั ฐ บริ ข ารและชี ว ประวั ติ ข องท่ า นอี ก ด้วย คำ�ว่า “หินหมากเป้ง” นั้นเป็น ชื่อหินสามก้อนซึ่งตั้งเรียงรายกันอยู่ริม ฝั่งโขงที่หน้าวัดนี้เอง อันมีรูปลักษณะ คล้ า ยลู ก ตุ้ ม เครื่ อ งชั่ ง ทองคำ�สมั ย เก่ า คนพื้นที่นี้เขาเรียกว่า เต็งหรือเป้งยอย คำ�ว่ า “หมากเป้ ง ” เป็ น ภาษาภาค แต่เดิมเคยเป็นที่ปฏิบัติธรรมของหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ของภาคอีสาน ผลไม้หรืออะไรก็ตาม เกจิอาจารย์ชอื่ ดังของภาคอีสาน ซึง่ เป็นผูร้ เิ ริม่ จัดตัง้ ให้ ถ้าเป็นลูกแล้วเขาเรียกหมากขึ้นหน้า เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรมของ ภิกษุสงฆ์ แม่ชี และผูแ้ สวง เช่น หมากม่วง หมากพร้าว เป็นต้น บุญทัง้ หลาย หลังจากท่านมรณภาพ มีการก่อสร้างเจดีย์
242
9
ศาลหลักเมืองหนองคาย
“ศาลหลักเมืองหนองคาย” ได้ก่อสร้างขึ้นจากความ ร่วมมือร่วมใจของบรรดาข้าราชการ พ่อค้าคหบดี ประชาชน จั ง หวั ด หนองคาย เป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจและเป็ น อนุ ส รณ แห่งความสามัคคี โดยเริ่มทำ�พิธีพลีไม้เสาหลักเมือง เมื่อวันที่ 8 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2542 ตรงกับวันแรม 11 คำ�่ เดือน 8 ปีเถาะ ฤกษ์เวลา 09 นาฬิกา 39 นาที องค์ศาลจะแบ่งเป็นชัน้ ล่าง เก็บของและส่วนบำ�รุงรักษา ชัน้ บนเป็นส่วนทีต่ ดิ ตัง้ ศาลหลักเมือง มีเครือ่ งยอดของอาคารเป็นสถาปัตยกรรมไทยแบบจตุรมุข และ เรือนยอดเป็นพระธาตุมีระเบียงล้อมรอบ 4 ทิศ
10
ศาลาแก้วกู่
แรงบันดาลใจของหลวงปู่บุญเหลือ สุรีรัตน์ ซึง่ ได้สร้างสถานทีแ่ ห่งนีเ้ มือ่ ราวปี พ.ศ. 2521 ตามความเชื่ อ ว่ า หลั ก ค� ำ สอนทุ ก ศาสนา “ศาลาแก้วกู่ หรือ วัดแขก” ปัจจุบันอยู่ในความดูแล สามารถน�ำมาผสมผสานได้ มีทงั้ พระพุทธรูป ของพุทธมามกะสมาคมจังหวัดหนองคายสถานที่ซึ่ง ปางต่างๆ รูปเทพฮินดูต่าง ๆ รูปปั้นเกี่ยวกับ คล้ายพิพธิ ภัณฑ์กลางแจ้งแสดงรูปปัน้ ทางศาสนาแห่งนี้ ศาสนาคริสต์ รูปปั้นเล่าเรื่องรามเกียรติ์และ ต�ำนานพื้นบ้าน โดยเกิดจาก
11
สะพานมิตรภาพไทย - ลาว
“สะพานมิตรภาพไทย - ลาว” เป็นสะพานข้ามแม่นำ�้ โขงจาก อ�ำเภอเมืองหนองคายไปเมืองท่าเดื่อของ สปป.ลาว ซึ่งอยู่ห่างจาก ตัวเมืองเวียงจันทร์ ประมาณ 20 กิโลเมตร สร้างขึ้นด้วยความร่วมมือ ของ 3 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย ลาว และไทย นับว่าเป็นสะพานทีส่ ร้าง ความสัมพันธ์ไทย - ลาว ให้กระชับแน่นแฟ้นยิง่ ขึน้ ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตัวสะพานมีความยาว 1,174 เมตร กว้าง 12.70 เมตร มีชอ่ งส�ำหรับเดินรถ 2 ช่องทาง ซึง่ ตรงช่วงกลางสะพานออกแบบ ไว้ส�ำหรับสร้างทางรถไฟเชิงสะพานมีด่านตรวจคนเข้าเมืองและศูนย์ ให้บริการข่าวสารท่องเที่ยวของ ททท.ตั้งอยู่
243
Nong Khai
ดีทราเวลไทยแลนด์ แนะนำ�ห้องพักราคาสุดคุ้ม ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะนำ�ทีพ่ กั สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม สำ�หรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ าเยือนจังหวัดหนองคาย
โรงแรมไอยรา หนองคาย
บัวลินน์ รีสอร์ท หนองคาย
IYARA HOTEL NONGKHAI
BUALINN RESORT NONGKHAI
เลขที่ 72 ถ.มิตรภาพ ต.หนองคาย อ.เมืองฯ จ.หนองคาย 43000 โรงแรมไอยรา หนองคาย - Iyara Hotel Nongkhai
06-3801-8218 0-4241-3994
บ้านพักริมโขง รีสอร์ท
BAAN PAK RIM KHONG RESORT เลขที่ 123 ม.9 ต.ท่าบ่อ อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย 43110
บ้านพักริมโขงรีสอร์ท ทีพ่ กั หนองคาย ท่าบ่อ Baan Pak Rim Khong Resort phauy 08-2737-6171
244
เลขที่ 225 ม. 2 ต.หนองกอมเกาะ อ.เมืองฯ จ.หนองคาย 43000 www.bualinnresort.com บัวลินน์ รีสอร์ท หนองคาย @bualinn 09-1867-0056
สองรัก รีสอร์ท SONGRAK RESORT
เลขที่ 118 ม.6 บ้านยอยไฮ ซอย.4 ต.พานพร้าว อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย 43130
สองรักรีสอร์ท Songrak Resort Si Chiang Mai 09-2624-0006
ร้านกาแฟ
Natit coffee
เลขที่ 9 ม.1 ถ.พนังชลประทาน ต.กวนวัน อ.เมืองฯ จ.หนองคาย 43000 Natit coffee and crafts 08-8066-3690 เปิด 08.30 - 19.00 น. ทุกวัน
ร้านกาแฟ Baan Tuad coffee house เลจที่ 026-480 ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.หนองคาย 43000 บ้านทวด Baan Tuad coffee house 09-1492-6969 09.00 - 18.00 น. ทุกวัน
หนองคาย
ร้านอาหาร บางรัก
เลขที่ 83 ม.13 ถ.ริมโขง ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.หนองคาย 43000 บางรัก หนองคาย @bang_rak 09-6924-4245 18.00 - 24.00 น.
ร้านอาหาร มะละกอ
เลขที่ 957 ม.9 ถ.มีชัย ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.หนองคาย 43000 มะ-ละ-กอ Jariya199102 09-5949-9340
11.00 - 21.00น. ทุกวัน
245
เที่ยวเมืองหนองคาย เมืองที่โอบล้อมด้วยความเชื่อศักดิ์สิทธิ์และธรรมชาติที่สวยงาม
246
วัดโพธิ์คำ�
247
วัดเนินพะเนาวนาราม
248
ลานพญานาค
249
ญ ิ ร จ เ จ า น � ำ อ n e ด ั o r ว a ห h จัง nat C Am
Phra Mongkhon, Seven River basils, Sacred caves,
Phra Lao, Beautiful islands and mountain, precious silk and religious people.
พระมงคลมิ่งเมือง แหล่งรุ่งเรืองเจ็ดลุ่มน�้ำ
งามล�้ำถ�้ำศักดิ์สิทธิ์ เทพนิมิตพระเหลา เกาะแก่งเขาแสนสวย เลอค่าด้วยผ้าไหม ราษฎร์เลื่อมใสใฝ่ธรรม
จังหวัด อ�ำนาจเจริญ
“ เต็มอิ่มกับธรรมะ อิ่มใจกับวัฒนธรรม พร้อมดื่มด�่ำกับธรรมชาติ ” เมืองอ�ำนาจเจริญ ตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2393 โดย ท้าวอุปราชเจ้าเมือง จ�ำพร แขวงสะหวันนะเขต ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในปัจจุบันได้อพยพครอบครัวมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นค้อใหญ่ ซึง่ ก็คอื บ้านอ�ำนาจ ต�ำบลอ�ำนาจ อ�ำเภอลืออ�ำนาจปัจจุบนั ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ เป็นเมืองลืออ�ำนาจ มีฐานะเป็น เมื อ งในความปกครองของนครเขมราฐ พ.ศ. 2410 พระอมรอ� ำ นาจ (เสือ อมรสิน) ผู้ครองเมืองอ�ำนาจเห็นว่า ถ้าย้ายเมืองอ�ำนาจมาขึ้นต่อเมือง อุบลราชธานีจะสะดวกในการติดต่อราชการมาก จึงได้มีใบบอกกราบทูล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งพระองค์ได้โปรดเกล้า ตามที่ขอ ให้เมืองอ�ำนาจขึ้นต่อเจ้าผู้ปกครองเมืองอุบลราชธานีตั้งแต่นั้นมา สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิรูป บริหาร ราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามแบบอย่างยุโรป เมืองอ�ำนาจ ได้เปลีย่ น ฐานะเป็นเมืองอ�ำนาจเจริญ อยู่ในความปกครองของมณฑลเทศาภิบาล ปกครองท้องที่อุบลราชธานี ทางราชการได้แต่งตั้งท้าวพระยาในราชวงศ์
252
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
มาปกครองเมืองอ�ำนาจเจริญติดต่อกันมาโดยตลอด จนถึงปี พ.ศ. 2455 ได้มกี ารแต่งตัง้ นายอ�ำเภอขึน้ ปกครองอ�ำเภอ อ�ำนาจเจริญ นายอ�ำเภอคนแรก คือ รองอ�ำมาตย์โทหลวงเอนกอ�ำนาจ (เป้ย สุวรรณกูฎ) ต่อมานายอ�ำเภอท่านนีไ้ ด้ยา้ ยอ�ำเภออ�ำนาจเจริญตามค�ำแนะน�ำ ของพระยาสุนทรพิพธิ เมือ่ ครัง้ ด�ำรงต�ำแหน่งเลขามณฑลอีสาน ซึง่ พิจารณา เห็นว่าที่ตั้งใหม่เป็นชุมทางสี่แยกระหว่างเมืองเขมราฐ เมืองอุบล เมืองมุก และเมืองยศ (ยโสธร) ท�ำให้การคมนาคมสะดวกและคาดว่าจะมีความเจริญ ยิ่ง ๆ ขึ้น โดยย้ายจากบ้านอ�ำนาจ ต�ำบลอ�ำนาจ ไปตั้งที่บ้านบุ่ง ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภออ�ำนาจเจริญ จนถึงปัจจุบัน อ�ำนาจเจริญ เป็นจังหวัดทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร์มายาวนานหลายร้อยปี และมีความเกี่ยวเนื่องกับอ�ำเภอเขมราฐ เมืองที่เคยรุ่งเรืองมาแต่ครั้งอดีต อ�ำนาจเจริญเป็นเมืองเล็ก ๆ ที่เงียบสงบ แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวให้ได้ชม มากมายทั้งแหล่งท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม เช่น พระมงคลมิง่ เมือง วัดพระเหลาเทพนิมติ พระธาตุนาป่าแซง พระเจ้าใหญ่ลอื ชัย
วัดภูพนมดี เชิงนิเวศและธรรมชาติ เช่น วนอุทยานภูสิงห์ภูผาผึ้ง อ่างเก็บน�้ำห้วยสีโท แก่งคันสูง เกาะจิตรกูฏ เชิง การเกษตร เชน โฮมสเตย์บ้าน นาภูค�ำ ศูนย์เรียนรู้เกษตร อินทรีย์บ้านหนองเม็ก ภูอีรี่ออแกนิคอ�ำนาจเจริญ และยังมี งานประเพณี ที่ โ ดดเด่ น เช่ น งานประเพณี ฮี ต สิ บ สอง งานนมั ส การพระมงคลมิ่ ง เมื อ ง เทศกาลเที่ ย วชานุ ม าน แห่ยักษ์คุ เป็นต้น ผูว้ า่ ราชการจังหวัดได้รว่ มกับผูบ้ ริหารภายในจังหวัด ได้วางแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ใน ช่วง 4 ปี ตั้งแต่ปี 2562– 2565 ได้แก่ โครงการอ�ำนาจเจริญ 3D คือ คนดี สุขภาพดี รายได้ดี โดยส่งเสริมให้คนในจังหวัด อ�ำนาจเจริญจะต้องเป็นคนดี ยึดหลักคุณธรรม ประกอบอาชีพ แบบธรรมเกษตร ยกระดับผลผลิตให้เป็นเกษตรอินทรีย์ ไม่เอา เปรียบผู้อื่น และจะต้องดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้ชุมชนและ ครอบครัวให้มีสุขภาพที่ดีด้วย เพื่อจะได้มีกำ� ลังและสติปัญญา ในการไปสร้างอาชีพ สร้างรายได้ในการด�ำรงชีพโดยไม่ต้อง พึ่งพาความช่วยเหลือจากราชการ ซึ่งจะน�ำไปสู่การสร้างความ ผาสุกของสังคมอ�ำนาจเจริญ เป็นต้นแบบการพัฒนาจังหวัด “Amnatcharoen Happiness Model” ด้วยแนวทางการ พัฒนาเศรษฐกิจดังกล่าว โดยความร่วมมือจากทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน จะท�ำให้เศรษฐกิจของจังหวัดอ�ำนาจเจริญมุ่งไปสู่ การบรรลุวิสัยทัศน์ของจังหวัดที่วางไว้ คือ “เมืองธรรมเกษตร เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พอเพียงเส้นทางการค้าสู่อาเซียน” สุดท้ายนี้ กระผมนายสุริยะ อมรโรจน์วรวุฒิ ผู้ว่า ราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ขอขอบคุณสื่อประชาพันธ์ที่ให้ ความส�ำคัญและสนใจทั้งแหล่งท่องเที่ยวและแนวทางการ พัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ชาวอ�ำนาจเจริญ พร้อมและยินดีตอ้ นรับนักท่องเทีย่ ว ทีต่ อ้ งการมาสัมผัสวิถชี วี ติ และเที่ยวชมสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ด้วยความยินดียิ่ง
นายสุริยะ อมรโรจน์วรวุฒิ ผู้วา่ ราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
253
8
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดอำ�นาจเจริญ
1 พระมงคลมิ่งเมือง
“พระมงคลมิง่ เมือง”เป็นพระพุทธรูปทีม่ พี ทุ ธ ลักษณะงดงามประจาํ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทางด้าน หลังของพระมงคลมิ่งเมืองมีพระพุทธรูปลักษณะแปลก อีก 2 องค์ห่มจีวรเหลืองลออตามีนามว่า “พระละฮาย” หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “พระขี่ล่าย” หมายถึงไม่สวย ไม่ งาม โดยเรียกตามรูปลักษณ์ขององค์พระพุทธรูปโบราณ พบในหนองน�้ำเมื่อปี พ.ศ. 2505 ครั้งที่มีการปรับปรุง บริเวณโดยรอบเพือ่ ทาํ ฝายกัน้ น�ำ้ เชือ่ กันว่าเป็นพระทีใ่ ห้ โชคลาภ
2 วนอุทยานภูสิงห์-ภูผาผึ้ง
“วนอุทยานภูสิงห์ - ภูผาผึ้ง” มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหินอยู่ในเขต ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงหัวกอง - ป่าดงบังอี่ มีพื้นที่ประมาณ 16 ตารางกิโลเมตร สภาพป่าเป็นป่าเต็งรังผสมกับป่าเบญจพรรณและเป็นแหล่งต้นน�้ำของห้วยสีโท โดยมี สถานที่ส�ำคัญ คือ “ลานควายตู้” เป็นประติมากรรมหินทรายจากธรรมชาติมีรูปทรง แปลกตาตั้ ง อยู ่ บ นลานหิ น ขนาดใหญ่ เนื้ อ หิ น เกิ ด จากการกั ด เซาะของแสงแดด กระแสลมและสายน�้ำ ตะพาบหินเป็นลานหินกว้างประมาณ 10 เมตร รูปร่างคล้าย ตะพาบน�้ำตั้งอยู่บนลานหิน
254
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
3 วัดถ้ำ�แสงเพชร
“วัดถ�้ำแสงเพชร” เป็นวัดที่มีบริเวณกว้างขวาง ประกอบด้วย วิหารอยู่บนยอดเขา สูงทางด้านทิศเหนือของวิหารมีถ�้ำขนาดใหญ่ ภายใน ถ�้ำมีพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงาม เหตุที่ได้ชื่อว่า “ถ�้ำแสงเพชร” เนื่องมาจากประกายวาววับของเกล็ดหินยามเมื่อต้องกับแสงตะวันจะ วาววับคล้ายกับแสงเพชร วัดนี้ยังเป็นที่ปฏิบัติธรรมสายพระอาจารย์ชา สุภัทโท สาขาที่ 5 ของวัดหนองป่าพง
4
วัดปากแซง
(วัดพระใหญ่ พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ)
“วัดพระใหญ่ พระเจ้าใหญ่องค์ตอื้ ” ชาวบ้านจะ เรียกกันว่าวัดปากแซง พระเจ้าใหญ่องค์ตอื้ เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย สร้างด้วยอิฐผสมปูนขาว ขนาดหน้าตักกว้าง 2.90 เมตร สูง 4.36 เมตร มีอายุเก่าแก่และเป็นที่เคารพ นับถือของประชาชนฝั่งไทยและฝั่งลาว ข้ามเรือจากฝั่งลาว มาได้จะมีสะพานเดินขึ้นจากริมน�้ำ
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
255
5
พระเจ้าใหญ่ลือชัย
(วัดอำ�นาจ)
“พระเจ้าใหญ่ลือชัย” หรือพระฤทธิลือชัย ประดิษฐานอยู่ ในโบสถ์วัดอ�ำนาจเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยก่ออิฐถือปูนและลงรัก ปิ ด ทอง มี พุ ท ธลั ก ษณะแบบศิ ล ปะล้ า นช้ า ง สร้ า งเมื่ อ ประมาณ ปี พ.ศ. 2398 - 2404 ด้วยแต่เดิมบริเวณวัดอ�ำนาจซึง่ เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระเจ้าใหญ่ลือชัยนั้น มีลักษณะเป็นชุมชนเก่าแก่และเป็นที่ตั้งเมือง อ�ำนาจเจริญมาก่อน จึงมีเรือ่ งเล่าเกีย่ วกับความศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละปาฏิหาริย์ ของพระเจ้าใหญ่ลอื ชัยมากมายจากผูค้ นทีม่ ากราบไหว้บชู าแล้วประสบ ความเจริญรุง่ เรือง มีชอื่ เสียงเลือ่ งลือ โดยตามความเชือ่ และศรัทธาเล่า ลือกันว่า ใครที่ได้มากราบไหว้ขอพรจะได้รับความส�ำเร็จได้รับชัยชนะ จากศัตรูหมู่มาร มีอ�ำนาจบารมีเป็นที่ย�ำเกรง ชีวิตผ่านพ้นปัญหา อุปสรรคนานาประการได้อย่างน่าอัศจรรย์
6 วัดพระเหลาเทพนิมิตร
“วัดพระเหลาเทพนิมติ ร” เดิม ชือ่ วัดศรีโพธิช์ ยารามคามวดี พระอุโบสถของวัดมีรปู ทรงสถาปัตยกรรมแบบล้านนา มีพระประธาน คือ “พระเหลาเทพนิมติ ร” เป็นพระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มือง ประดิษฐานใน พระอุโบสถ “พระเหลาเทพนิมิต” เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับขัดสมาธิราบ มีขนาดหน้าตักกว้าง 2.85 เมตร สูง 2.70 เมตร ถือได้ว่าเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดอำ�นาจเจริญ ประดิษฐานเป็นพระประธานอยู่ภายในพระอุโบสถ
256
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
7 อ่างเก็บน้ำ�ห้วยสีโท
“อ่างเก็บน�้ำห้วยสีโท” เป็นอ่างเก็บ น�้ ำ ขนาดเล็ ก สร้ า งขึ้ น เพื่ อ การเกษตรและ การชลประทานกั้นล�ำน�้ำห้วยสีโทเป็นสถาน ทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของชาวอ�ำนาจเจริญ บริเวณ ริมอ่างเก็บน�้ำมีหาดทรายสามารถลงเล่นน�้ำได้ และมีร้านอาหารกับร้านเช่าห่วงยางให้บริการ
8
วัดภูพนมดี
(เจดีย์ล้านก้อน)
“วัดพนมดี” เป็นภูเขาดินขนาดเล็ก และเป็นที่ตั้งของวัดภูพนมดี มีเจดีย์ก่อด้วยหินศิลาแลง สูง 39 เมตร และพระพุทธรูปก่อด้วยปูน ตั้งอยู่บนเขาหน้าผาสูงและมีบันไดทางขึ้นสะดวก ใกล้ถนนดอนหวาย ชานุมานและยังมีพระพุทธรูปไม้แกะสลักที่สวยงาม
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
257
Ammat Charoen ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�ห้องพักราคาสุดคุ้ม ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะน�ำ 4 ทีพ่ กั สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ าเยือนจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
โรงแรมระเมียรดาว RAMIARNDAO HOTEL เลขที่ 151-153 ม.18 ต.บุง่ อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 www.ramiarndao.com โรงแรมระเมียรดาว จ.อำ�นาจเจริญ @ramiarndao 09-2271-6553
9K การ์เด้น รีสอร์ท 9K GARDEN RESORT เลขที่ 215 ม.8 ต.นาหว้า อ.ปทุมราชวงศา จ.อ�ำนาจเจริญ 37110 โรงแรม9kการ์เด้นรีสอร์ท ในอำ�เภอปทุมราช โทร091-6614099 09-1661-4099
258
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ซิกแซ็ก บูติก รีสอร์ท ZIGZAG BOUTIQUE RESORT เลขที่ 525 ม.12 ซ.นพเก้า ถ.อรุณประเสริฐ ต.บุ่ง อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000
ซิกแซกรีสอร์ทอำ�นาจเจริญ 08-6777-7328
โรงแรมบ้านสวนฟ้าใส BAANSUANFAHSAI HOTEL เลขที่ 479 ม.12 ต.บุ่ง อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000
Baansuanfahsai 0-4551-2022 08-6668-7073
ร้านกาแฟ Follow up Coffee เลขที่ 172/1 หมู่ 9 ต.บุง่ อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 Follow Up coffee 08-3739-0316 9.00 - 21.00 น. ทุกวัน
ร้านกาแฟ มะลิลา คาเฟ่ เลขที่ 530 หมู่ 6 ต.บุง่ อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 Malila Cafe & Restaurant 09-3965-4741 9.00 - 21.00 น. ทุกวัน
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�
ร้านกาแฟ
ร้านกาแฟ The Colony Club and Café
&
ร้านอาหาร
อำ�นาจเจริญ ร้านอาหาร บ้านปิ่นโต
เลขที่ 188/3 หมู่ 13 ถ.ชยางกูร ต.บุง่ อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 Baan Pin To 06-1463-4497 7.30 - 18.00 น. ทุกวัน
ร้านอาหาร สวนอาหารริมธาร
เลขที่ 81 หมูท่ ี่ 10 ต.บุง่ อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 สวนอาหารอิม่ ริมธาร Aimrimtan99 097 323 2462 11.00 - 22.00 น. ทุกวัน
เลขที่ 212 หมู่ 10 ถ.เลีย่ งเมือง ต.บุง่ อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 The Colony Club & Cafe 09-0242-4741 8.00 - 17.00 น. ทุกวัน
ร้านอาหาร รวมมิตร
ต.บุง่ อ.เมืองฯ จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 รวมมิตร อำ�นาจเจริญ 06-5272-2827 18.00 - 00.00 น. ทุกวัน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
259
วัดบ่อชะเนง
อำ�เภอหัวตะพาน จังหวัดอำ�นาจเจริญ
260
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
วัดอำ�นาจ
อำ�เภอลืออำ�นาจ จังหวัดอำ�นาจเจริญ เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
261
สารผู้ทรงคุณวุฒิ
นายวิชิต ทองปาน
ท้องถิ่นจังหวัดอำ�นาจเจริญ 262
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
“
ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด เป็น หน่วยงานส่วนภูมิภาคของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย มีบทบาทภารกิจส�ำคัญในการส่งเสริม สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการพัฒนาและ ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านการ จัดท�ำแผนพัฒนาท้องถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงิน การคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให้องค์กรปกครองส่วน ท้ อ งถิ่ น มี ค วามเข้ ม แข็ ง และมี ศั ก ยภาพในการให้ บ ริ ก าร สาธารณะ เพือ่ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ด�ำเนินการตาม วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น คือ
“ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จั ด บริ ก ารสาธารณะตามมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ได้อย่างทั่วถึง เพื่ อ ให้ ป ระชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ภายในปี 2565 ”
ศั กยภาพที่ โ ดดเด่นขององค์กรปกครองท้องถิ่น ในจังหวัดอำ�นาจเจริญ ด้วยส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปฏิบัติราชการโดย ยึดหลักธรรมาภิบาล เห็นได้จากมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเขตพื้นได้รับรางวัลธรรมาภิบาลดีเด่นและรางวัลต่าง ๆ มากมาย คือ เทศบาลต�ำบลพนา อ�ำเภอพนา
”
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
263
วัดพระเหลาเทพนิมิต
เทศบาลต� ำ บลพนา “อารยธรรมเมืองเก่า น่ า อยู ่ ดอนเจ้ าปู ่ ว นอุ ท ยานสวนลิ ง งดงามยิ่งพระเหลาเทพนิ มิ ต สวยศั กดิ์ สิ ท ธิ์ ศ าลหลั กเมื อ งพนา ผ้าลือเลื่องจุบ ครามมั ด มี่ เมื อ งคนดี นั กปราชญ์ ”
264
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
สถานที่ท่องเที่ยว
ศาลหลักเมืองอำ�เภอพนา
วัดพระเหลาเทพนิมิต
วนอุทยานดอนเจ้าปู่
ศูนย์แพทย์แผนไทยพนา โรงพยาบาลพนา
วัดดอนขวัญ
ผ้ามัดหมี่จุบคราม
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
265
266
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ว่าที่พันตรีเผชิญลาภ อินทรจันทร์ นายกเทศมนตรีตำ�บลพนา
เทศบาลต�ำบลพนา 222 หมู่ 1 ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37180 โทรศัพท์ : 0-4546-3635 แฟกส์ 0-4546-3635 Email : tessabanphana@hotmail.com Website : http://tessabanphana.go.th/ Facebook : www.facebook.com/tessabanpana
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
267
องค์การบริหารส่วนตำ�บลดงบัง “ชุมชนน่าอยู่ เศรษฐกิจพัฒนา ส่งเสริมการศึกษา ร่วมรักษาธรรมชาติป่าชุมชน”
268
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
บุญปราสาทผึ้ง มีเรื่องราวเล่าว่า เมื่อพระอาจารย์ผุก ได้มาจ�ำพรรษาอยู่ใกล้ กับหมูบ่ า้ นดอนชี ครัง้ หนึง่ ได้นงั่ วิปสั สนาอยู่ ที่ วั ด บ้ า นสว่ า ง เข้ า ฌานได้ นิ มิ ต เห็ น ว่ า มี กระดูกพระอรหันต์ (พระสารีริกธาตุ) อยู่ บนยอดเขาภูสระดอกบัว ปัจจุบนั คือ อุทยาน แห่ ง ชาติ ภู ส ระดอกบั ว อ� ำ เภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร จึงให้เหล่าลูกศิษย์ไปค้นหา จนวั น ที่ ส องจึ ง ได้ พ บและได้ ท� ำ การ สักการะเก็บรักษาอยู่ที่วัดบ้านสว่าง อ�ำเภอ สืบต่อไป ซึง่ เป็นเวลายาวนานเกือบร้อยปีและจะยังคงสืบทอดต่อกันไปชัว่ ลูกชัว่ หลานเพือ่ บ่งบอก เสนางคนิคม จากนัน้ ได้สร้างพระพุทธรูปและ ความเป็นปึกแผ่นและวัฒนธรรมอันงดงาม ความเป็นสิริมงคลให้ลูกหลานชาวบ้านดอนชีสืบไป ได้น�ำ พระสารีริกธาตุไว้ด้านใน แล้วน�ำมา ประดิษฐานไว้ในสิม (อุโบสถ) วัดบ้านดอนชี เพื่ อ ให้ ช าวบ้ า นกราบสั ก การะและขอพร โดยมี ข ้ อ แม้ ว ่ า ชาวบ้ า นดอนชี จ ะต้ อ งเลิ ก นั บ ถื อปู ่ ต าและให้ ท�ำ บุญ ปราสาทผึ้งปีละ สองหน โดยท�ำปราสาทผึ้งทอดถวายและ ท� ำ พิ ธี ส รงน�้ ำ พระพุ ท ธรู ป ในวั น เพ็ ญ เดือน 5 และวันเพ็ญเดือน 12 ของทุก ๆ ปี
บุ ญ ปราสาทผึ ้ ง ศูนย์การเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ศิลปะพื้นบ้าน อีสานบ้านพิณงาม โดยครูน้อย พิณงาม
ปราญช์ ช าวบ้ า น พ่อน้อย พิณงาม
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
269
กลุ่มแม่บ้าน ทอผ้าสไบขิต
ผลิตภัณฑ์ ชุมชน
ตำ�บลดงบัง อำ�เภอลืออำ�นาจ จังหวัดอำ�นาจเจริญ
กลุ่มสาน ตะกร้าไม้ไผ่ 270
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ความเป็นมา
จากการบอกเล่าสืบต่อกันมา มีการตั้งถิ่นฐานของ ราษฎรในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณ พ.ศ. 2360 โดยราษฎรอพยพม่าจากหมู่บ้านลืออ�ำนาจ (ในเขตเทศบาลต�ำบลลืออ�ำนาจปัจจุบัน) โดยทางเกวียน แบกหามสัมภาระต่าง ๆ และสัตว์เลีย้ งไปทิศตะวันออก เดินทาง ประมาณ 2 กิโลเมตร โดยเกวียน (พาหนะที่ใช้วัวลาก จูง 2 ตัว) แอกทีค่ อเกิดหักจึงไม่สามารถเดินทางต่อไปได้ จึง พักแรมบริเวณนัน้ และตัง้ เป็นหมูบ่ า้ นชือ่ บ้านกุดแอก (ตาม ต�ำนานแอกหัก) อยูม่ าหลายสิบปี เกิดโรคอหิวาระบาดหรือ ชาวบ้านเรียกโรคห่า ชาวบ้านจึงอพยพไปทางทิศตะวันออก อีกครัง้ โดยตัง้ ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า บ้านขามป้อม ต่อมาเปลีย่ นชือ่ เป็นบ้านโนนจาน และราษฎรอีกกลุ่มหนึ่งอพยพไปทางทิศ ตะวันตกตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านดงบัง” จนถึงปัจจุบัน และ ปัจจุบันชาวบ้านเรียกบ้านกุดแกว่า โนนบ้านเก่า หลักฐาน ยืนยันว่ามีการตั้งถิ่นฐานของราษฎรในรัชกาลที่ 2 ซึ่ง สันนิษฐานจากโบราณสถาน – โบราณวัตถุ คือ ใบเสมาทีด่ ง บ้านยางหนองกุดสิม ต้นศรีมหาโพธิ์โนนบ้านเก่าต�ำบลดง บังเดิม ที่อยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภออ�ำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมาอ�ำเภออ�ำนาจเจริญ ได้รบั การยก ฐานะเป็นจังหวัดอ�ำนาจเจริญ เมือ่ ปี พ.ศ. 2536 ต�ำบลดงบัง จึงอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัด อ�ำนาจเจริญ แบ่งการปกครองออกเป็น 16 หมู่บ้าน
นายอุเทน กาเผือก นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดงบัง
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลดงบัง ต� ำ บลดงบั ง อ� ำ เภอลื อ อ� ำ นาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37120 โทรศัพท์ : 0-4552-5900 Website : www.tdb.go.th
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
271
ศาลหลักเมืองอำ�นาจเจริญ
บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์(เกาะจิตกูฏ)
272
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ผาชื่นวาริน เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
273
Ubon Ratchathani
Ubon city, means the land of beautiful lotuses,
The river of two-color water’s full of all nice kind of fish, The river banks lined with attraction sand and rock, The city where scholars and religious devotees come in flocks, The color Candle Festival is the province’s fame, Prehistoric paintings on the cliff, “Pha Taem” is its name.
อุบลเมืองดอกบัวงาม แม่น�้ำสองสี มีปลาแซ่บหลาย หาดทรายแก่งหิน
ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามล�้ำเทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์ ฉลาดภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล
จังหวัดอุบลราชธานี “ ชมพระอาทิตย์ขึ้น ก่อนใครในสยาม “ อุบลราชธานี เป็นเมืองใหญ่ทมี่ ปี ระวัตศิ าสตร์ยาวนานกว่า 200 ปี ในอดีตบริเวณพืน้ ทีแ่ ถบ นีอ้ ยูภ่ ายใต้การปกครองของอาณาจักรเขมรหรือขอมโบราณ ต่อมาอาณาจักรขอมเสือ่ มอ�ำนาจไป จนถึง สมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระรามาธิบดีได้ทรงรวบรวมดินแดนแถบนีเ้ ข้าอยูภ่ ายใต้การปกครอง แต่ตอ่ มาชุ ม ชนดั ง กล่ า วก็ เ กิ ด การแตกแยก แบ่ ง เป็ น ฝั ก ฝ่ า ยอยู ่ เ ป็ น เวลานั บ สิ บ ปี จนกระทั่ ง สมเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรงรวบรวมดินแดนแถบนี้เป็นอาณาจักรได้ส�ำเร็จอีกครั้ง และได้สถาปนา อาณาจักรกรุงธนบุรขี นึ้ ตรงกับทีท่ า้ วค�ำผง (พระประทุมวรราชสุรยิ วงศ์) แห่งเมืองเวียงจันทน์ ได้อพยพ จากหนองบัวล�ำภูมาตัง้ เมืองขึน้ ใหม่ทบี่ ริเวณดงอูผ่ งึ้ ริมฝัง่ แม่นำ�้ มูล บริเวณอ�ำเภอดอนมดแดงในปัจจุบนั และต่อมาได้เกิดอุทกภัยขึน้ จึงได้ยา้ ยชุมชนมาตัง้ อยูท่ บี่ ริเวณตัวจังหวัดในปัจจุบนั สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามเมืองใหม่นวี้ า่ “อุบลราชธานี” ขึน้ ตรงต่อกรุงเทพมหานคร และ ให้ท้าวค�ำผงเป็นเจ้าเมืองคนแรก โดยพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็น “พระปทุมวงศา” ต่อมาในปี พ.ศ. 2335 ได้เปลี่ยน ชื่อเมืองเป็น “มณฑลอุบลราชธานี” เป็นศูนย์กลางการบริหารของมณฑลอีสาน และในปี พ.ศ. 2468 มณฑลอุบลราชธานีก็ได้ถูกยุบโอนมาขึ้นกับมณฑลนครราชสีมา จนถึงปี พ.ศ. 2476 ได้มีการยกเลิก ระบบมณฑล เมืองอุบลราชธานีแยกตัวออกมาตั้งเป็น “จังหวัดอุบลราชธานี” เป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุด ของประเทศไทย ถึงปี พ.ศ. 2515 อ�ำเภอยโสธรและอ�ำเภอใกล้เคียงที่อยู่ในเขตปกครองของจังหวัด อุบลราชธานีได้ถูกแบ่งออกไปตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และต่อมาในปี พ.ศ. 2536 อุบลราชธานีได้ถูกแบ่ง พื้นที่อีกครั้ง โดยแยกอ�ำเภออ�ำนาจเจริญและอ�ำเภอใกล้เคียงออกไปตั้งเป็นจังหวัดอ�ำนาจเจริญ อุบลราชธานี มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพือ่ นบ้านถึง 2 ประเทศ คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว และ ราชอาณาจักรกัมพูชา นอกจากนีย้ งั มีชมุ ชนดัง้ เดิมได้แก่ สมาคมเชือ้ สายเวียดนามที่ อาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี ท�ำให้จงั หวัดอุบลราชธานีความหลากหลายทางเชือ้ ชาติ อาหาร และ ศิลปวัฒนธรรม
276
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
จังหวัดอุบลราชธานีได้กำ� หนดยุทธศาสตร์สำ� คัญเพือ่ เชือ่ มโยงเส้นทางการท่องเทีย่ วของจังหวัดลุม่ แม่นำ้� โขง โดยจัดท�ำ ปฏิทนิ การท่องเทีย่ วของหมูบ่ า้ นนวัตวิถแี ละส่งเสริมศักยภาพของ ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน เดิมนักท่องเทีย่ วจะเดินทางมาเยีย่ มชมเฉพาะ งานประเพณีแห่เทียนพรรษา แต่ตอนนีส้ ามารถเดินทางมาเทีย่ ว อุบลราชธานีได้ตลอดทัง้ ปี และจะได้สมั ผัสการท่องเทีย่ วภายใต้ แนวคิด 3 อิม่ พลัส ได้แก่ อิม่ แรก คือ จังหวัดอุบลราชธานีมแี ม่นำ�้ ส�ำคัญ 3 สาย ทีไ่ หลผ่าน ได้แก่ แม่นำ�้ โขง ชี มูล จึงมีปลาหลากหลายในการ รังสรรค์เมนูให้นกั ท่องเทีย่ วได้ลมิ้ ลอง รวมถึงอาหารพืน้ เมือง และ ของฝากทีข่ นึ้ ชือ่ ของจังหวัดอุบลราชธานีคอื หมูยอ ซึง่ นักท่องเทีย่ ว ทีเ่ ดินทางมาจังหวัดอุบลราชธานีตอ้ ง “อิม่ ท้อง” กลับไปทุกคน อิม่ ทีส่ อง คือ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติยงั มีความ สวยงาม เช่น การชมพระอาทิตย์ขนึ้ ก่อนใครในสยาม ณ อุทยาน แห่งชาติผาแต้ม หรือกิจกรรมเยีย่ มชมแหล่งท่องเทีย่ วสามพันโบก ท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วได้ยลความงามธรรมชาติ ทีเ่ รียกว่า “อิม่ ตา” ส่วนอิ่มที่สามนั้น เหมาะกับนักแสวงบุญและชอบ ปฏิบัติธรรม เพราะจังหวัดอุบลราชธานีเป็นต้นก�ำเนิดของพระ อริยสงฆ์ ได้แก่ หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และ หลวงปู่ชา สุภัทโท และยังสามารถชมปรากฏการณ์ต้นไม้เรือง แสงได้ที่ วัดสิรินธรวราราม ซึ่งพุทธศาสนิกชนสามารถเดินทาง มาสัมผัสเส้นทางสายธรรมและร่วมท�ำบุญที่วัดต่าง ๆ ได้อย่าง “อิ่มใจ” สุดท้ายนี้ จังหวัดอุบลราชธานีพร้อมด้วยชาวอุบลราชธานี พร้อมทีจ่ ะเสิรฟ์ ความสุขให้แก่นกั ท่องเทีย่ วตลอดทัง้ ปี ท่านสามารถ เดินทางมาเทีย่ วทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานีอย่างสะดวกสบาย ทัง้ ทาง รถยนต์ รถไฟ และเครือ่ งบิน ผมจึงขอเชิญชวนนักท่องเทีย่ วมา สัมผัสเสน่หข์ องเมืองอุบล ตามค�ำขวัญทีว่ า่
นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
“อุบลเมืองดอกบัวงาม แม่นำ�้ สองสี มีปลาแซ่บหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิน่ ไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามล�ำ้ เทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัตศิ าสตร์ ฉลาดภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ดินแดนอนุสาวรียค์ นดีศรีอบุ ล”
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
277
1
.ผาชะนะได (เสาเฉลียงคู่)
เป็นจุดที่สามารถมองเห็นพระอาทิตย์ขึ้น ก่อนจุดใดในประเทศไทย และสามารถมอง เห็นทิวทัศน์แม่น�้ำโขง รวมถึงเทือกเขาแดน ลาวที่มีความสลับซับซ้อน ซึ่งในฤดูหนาวยัง มีความงามของทะเลหมอกเหนือล�ำน�้ำโขง
15
2
สถานที่ท่องเที่ยว
2
น้ำ�ตกสร้อยสวรรค์
เป็นน�้ำตกขนาดใหญ่ที่เกิดจากล�ำธารทั้ง 2 สาย คือ ห้วย สร้อยและ ห้วยไผ่ ที่ไหลจากหน้าผาคนละด้านมาบรรจบกันซึ่งสูง ประมาณ 20 เมตร มองดูคล้ายสร้อยที่แขวนคอ บริเวณน�้ำตกเต็มไป ด้วยต้นไม้และดอกไม้นานาพรรณในช่วงปลายฝนต้นหนาว น�้ำตก สร้อยสวรรค์จะสวยงามมากในช่วงปลายฤดูฝน
278
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
3
3
หาดชมดาว
มีลกั ษณะคล้ายกับสามพันโบก แต่มพี นื้ ทีก่ ว้างกว่า รวมถึง มีริ้วลายหินและรูปทรงแปลก ๆ ให้เห็นชมเยอะกว่า บางพื้นที่เป็นรู เว้าแหว่ง บางพื้นที่ก็ซ้อนกันเป็นชั้น และที่ส�ำคัญหาดชมดาวมีจุด ไฮไลท์ที่สวยที่สุด ซึ่งมีลักษณะเป็นผาหินสูงใหญ่และเว้าแหว่งยาว คล้ายช่องแคบมีสายน�้ำไหลผ่าน
4
5
สามพันโบก
ถือเป็นความมหัศจรรย์ทางธรรมชาติสดุ อลังการกลางล�ำน�ำ้ โขง ที่สวยงามและแปลกตา ชาวบ้านมักจะเรียกว่า “แกรนด์แคน ยอนแห่งล�ำน�ำ้ โขง” เป็นแก่งหินมากมายทีอ่ ยูใ่ ต้ลำ� น�ำ้ โขง ซึง่ เกิดจาก ในช่วงฤดูนำ�้ หลากมีแรงน�ำ้ วน กัดเซาะกลายเป็นแอ่งมากกว่า 3,000 แอ่ง หรือ 3,000 โบก ค�ำว่า “โบก” เป็นภาษาของลาวทีม่ กั นิยมเรียก กัน และจะปรากฏให้เห็นช่วงฤดูแล้งที่นำ�้ แห้งขอด
เขื่อนสิรินธร
มีทัศนียภาพสวยงาม ภายในเขื่อนยังมี “สวนสิรินธร” ตั้ง อยู่ฝั่งซ้ายของสันเขื่อน ริมอ่างเก็บน�้ำบรรยากาศทั่วไปร่มรื่นไปด้วย พันธุ์ไม้น้อยใหญ่ และยังมี “หาดพัทยาน้อย” เป็นลักษณะของพื้นที่ บริเวณริมอ่างเก็บน�ำ้ ทีเ่ ป็นพืน้ ทรายกว้างและยาวเข้าไปกลางน�ำ้ ใน ฤดูน�้ำน้อยระดับน�้ำเหนือเขื่อนสิรินธรต�่ำลงมากๆ จะเห็นเป็นหาด ทรายขาว สามารถที่จะลงเล่นน�้ำได้
3
6
3
5
6
7
วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว
หรือเรียกว่าวัดเรืองแสง เป็นวัดที่ตั้งอยู่บนเนินเขาสูง โดย จ�ำลองสภาพแวดล้อมให้คล้ายกับป่าหิมพานต์ บริเวณบนยอดเขาจะ มองเห็นพระอุโบสถสีปัดทองตั้งเด่นเป็นสง่า จุดเด่นของวัด คือ การ ได้ ม าชมภาพเรื อ งแสงเป็ น สี เ ขี ย วของของต้ น กั ล ปพฤกษ์ ที่ เ ป็ น จิตรกรรมทีอ่ ยูบ่ นผนังด้านหลังของอุโบสถในยามค�ำ่ คืน ซึง่ ช่วงเวลา ที่เหมาะส�ำหรับการมาชมและถ่ายภาพ คือ เวลา 18.00-20.00 น.
7
วัดหนองบัว (เจดีย์ศรีมหาโพธิ์)
มีสถาปัตยกรรมที่งดงามคือ “พระธาตุเจดีย์ศรีมหาโพธิ์” ถือว่าน่าสนใจอย่างมาก เจดียน์ สี้ ร้างขึน้ เพือ่ เป็นสัญลักษณ์ครบรอบ 25 ศตวรรษของพุทธศาสนาในปี พ.ศ. 2500 ซึ่งได้จ�ำลองแบบ มาจากเจดียท์ พี่ ทุ ธคยา ประเทศอินเดีย โดยภายในยังได้ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุ หลังจากนั้นได้มีการบูรณะและสร้างพระธาตุ เจดีย์ศรีมหาโพธิ์องค์ปัจจุบันครอบองค์พระธาตุเดิมไว้ เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
279
8
เดิ ม ชื่ อ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ด งหิ น กอง ซึ่ ง ที่ ม าของค� ำ ว่ า “ตะนะ” มาจากการเล่าขานตามความเชือ่ ของชาวบ้าน ทีเ่ ดิมมาจาก ค�ำว่า “มรณะ” เนือ่ งจากบริเวณนี้ มีกระแสน�ำ้ ไหลทีเ่ ชีย่ วกรากและ มีโขดหินใหญ่นอ้ ย ตลอดจนมีถำ�้ ใต้นำ�้ ต่าง ๆอยูห่ ลายแห่ง ท�ำให้ชาว บ้านที่ผ่านไปผ่านมามักจะประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตอยู่เป็นประจ�ำ ชาวบ้านในพื้นที่จึงเรียกแก่งนี้ว่า “แก่งมรณะ” ซึ่งต่อมาเรียกว่า “แก่งตะนะ” จึงน�ำมาตั้งเป็นชื่ออุทยานแห่งชาติ
10
9
10
11
เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่ ก่อตั้ง โดย “หลวงปู่ค�ำคนิง จุลมณี” ซึ่งใช้เป็นที่ปฏิบัติธรรมจ�ำพรรษา ปัจจุบนั ท่านได้มรณภาพแล้ว แต่รา่ งกายไม่เน่าเปือ่ ย และทีต่ งั้ ของวัด อยู่บนที่ราบสูงริมฝั่งแม่น�้ำโขง ท�ำให้สามารถมองเห็นทัศนียภาพที่ งดงามของแม่น�้ำโขงกับแม่น�้ำมูลที่ไหลรวมกันเรียกว่า “แม่น�้ำสอง สี”และทิวทัศน์ของประเทศเพื่อนบ้านอย่างชัดเจน
280
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
8
แก่งตะพือ
แก่ ง สะพื อ นั้ น เป็ น แก่ ง ที่ ส วยงามที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นแก่งที่อยู่ในแม่น�้ำมูล ในเขตอ�ำเภอ พิบูลมังสาหาร “แก่งสะพือ” เป็นค�ำที่เพี้ยนมาจากค�ำว่า “ซ�ำ พืด” หรือ “ซ�ำปื้ด” ซึ่งเป็นภาษาส่วย ที่แปลว่า งูใหญ่ หรืองู เหลือม แก่งสะพือจะมีหนิ น้อยใหญ่สลับซับซ้อน และเมือ่ กระแส น�้ำไหลผ่านกระทบหินแล้วเกิดเป็นฟองขาวและมีเสียงดังตลอด เวลาด้วยสายน�้ำที่ไหลแรง
8
วัดถ้ำ�คูหาสวรรค์
10
9
แก่งตะนะ
11
น้ำ�ตกแสงจันทร์
หรือเรียกอีกชื่อว่าน�้ำตกลงรู หนึ่งเดียวในเมืองไทย ชื่อ ของน�ำ้ ตกเรียกตามลักษณะของสายน�ำ้ ทีต่ กผ่านลงรูหนิ และส่วน ที่มาของชื่อน�้ำตกแสงจันทร์นั้นเรียกตามสายธารน�้ำตกที่โปรย ละอองผ่านช่องหินลงมาเป็นสีขาวนวลคล้ายแสงจันทร์ โดยเฉพาะ ในวันเพ็ญทีแ่ สงจันทร์จะสาดส่องมาตรงรูหนิ พอดี ซึง่ ทัง้ หมดนีค้ อื ที่มาของชื่อและเสน่ห์ของน�้ำตกแห่งนี้ ถือว่าน่าสนใจอย่างมาก 11
9
12
12
13
วัดทุ่งศรีเมือง
13
น้ำ�ตกห้วยหลวง
เป็นวัดเก่าแก่ที่ส�ำคัญของเมืองอุบล ได้รับการยกย่องว่า มี “หอไตร” ที่มีทรวดทรงสวยงามที่สุดในภาคอีสาน จัดเป็นหนึ่ง ในของดีประจ�ำจังหวัด ดังมีคำ� กล่าวที่ว่า “พระบาทวัดกลาง พระ บางวัดใต้ หอไตรวัดทุ่ง”อีกด้วย นอกจากหอไตร ยังมีหอพระบาท หรือโบสถ์ซึ่งสร้างในยุคสมัยเดียวกัน และภายในยังมีจิตรกรรมฝา ผนังที่สวยงามให้ประชาชนได้เข้าชม
น�้ำตกห้วยหลวงตั้งอยู่ในเขตของอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย คนในท้องถิน่ เรียกน�้ำตกนีว้ า่ “น�ำ้ ตกบักเตว” น�ำ้ ตกขนาด ใหญ่นเี้ กิดจากล�ำธารห้วยหลวง น�ำ้ ตกห้วยหลวงเป็นน�ำ้ ตกทีม่ คี วาม สูง ประมาณ 45 เมตร ไหลผ่านหน้าผาสูงลงสู่เบื้องล่างมีลักษณะ เป็นแอ่งน�ำ้ ขนาดใหญ่ พืน้ น�ำ้ เป็นสีเขียวมรกตและมีหาดทรายขาว สะอาดคล้ายทะเล เหมาะส�ำหรับการลงเล่นน�ำ้
วัดถ้ำ�เหวสินธุ์ชัย
ผาแต้ม
14
วัดนีต้ งั้ อยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ ภายในวัดจะ มีทางเดินไปยังถ�ำ้ เล็กๆ หรือทีเ่ รียกกันว่า ถ�ำ้ เหวสินธุช์ ยั ภายในนัน้ ได้ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ รูปหล่อพระฤๅษี พระแม่ธรณี และ ยังมีพระพุทธรูปอีกหลายองค์ และทีบ่ ริเวณของเพิงถ�ำ้ มีนำ�้ ตกจาก ล�ำธารเล็กไหลผ่านลงมาเป็นน�้ำตก การมาวัดนี้จึงเป็นการมา นมัสการพระพุทธไสยาสน์ในถ�้ำหลังน�้ำตก 14
14
15
ผาแต้ม เป็นจุดท่องเที่ยวหลักของอุทยานฯ ซึ่งได้รับ ความนิยมอย่างมาก บริเวณด้านล่างของหน้าผามีภาพเขียนสีกอ่ น ประวัติศาสตร์ปรากฏเรียงรายอยู่ มีอายุเก่าแก่มากซึ่งไม่ต�่ำกว่า สามพั น ถึ ง สี่ พั น ปี ถื อ เป็ น ภาพเขี ย นสี ที่ มี ร ะยะยาวที่ สุ ด ใน ประเทศไทย ทางอุทยานฯได้ท�ำทางเดินจากหน้าผาด้านบนลงไป เพือ่ ให้ความสะดวกในการชมภาพเขียนสีเหล่านี้ โดยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ สัตว์ เครื่องมือเครื่องใช้ สัญลักษณ์ และคน 15
13
15 เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
12
281
Ubonratchathani ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�ห้องพักราคาสุดคุ้ม ดีทราเวลไทยแลนด์ขอแนะน�ำ 7 ทีพ่ กั ราคาสุดคุม้ สุดประทับใจ สุดสบาย สุดสวยงาม ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ าเยือนจังหวัดอุบลราชธานี
โรงแรม สะบายดี บูติค เฮาส์
น�ำ้ แซบ วิลล่า รีสอร์ท
NAMSAP VILLA RESORT เลขที่ 229 ม.6 ถ.เขมราฐ-ตระการ ต.เขมราฐ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี 34170 namsapvilla https://www.namsapvillaresort. com 08-1835-4755
บ้านเรือนบัว รีสอร์ท
BANRUENBUA RESORT
เลขที่ 104 ม. 12 ต.แสนสุข อ.วารินชำ�ราบ จ.อุบลราชธานี 34190 08-6256-3119
282
เรือนบัว เรสซิเดนท์
SABAIDEE BOUTIQUE HOUSE HOTEL RUENBUA REDIDENCE
เลขที่ 396 ม.3 ต.เมืองศรีไค อ.วารินชำ�ราบ จ.อุบลราชธานี 34190 sabaidee99964@gmail.com sabaidee249 08-7626-1615
ห้วยโหมน รีสอร์ท
HUAY MOHN RESORT
เลขที่ 100 ม.6 ถ.2134 ต.นาพิน อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี 34130 ห้วยโหมนรีสอร์ท - Huay Mohn Resort http://huaymohnresort. weebly.com/ 08-0091-5917
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
เลขที่ 486 ม.10 ต.แสนสุข อ.วารินชำ�ราบ จ.อุบลราชธานี 34190
โรงแรมเรือนบัว เรสซิเดนท์ - Ruenbua Residence 08-6256-3119 , 09-1352-9116 08-0010-8236
ปทุมพร รีสอร์ท
PATHUMPHON RESORT
เลขที่ ถ.ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2409 ต.ม่วงสามสิบ อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี 34140 ปทุมพร รีสอร์ท 09-9495-0330 08-1321-2969
ทวีรัชต์ รีสอร์ท
THAWEERAT RESORT
เลขที่ 43/3 หมู่ 7 ต.สีวิเชียร อ.น�้ำยืน จ.อุบลราชธานี 34260 ห้องพักทวีรัชต์ รีสอร์ท 08-9947-5933 09-8256-4114
ชามาเลย์ By Daeng เลขที่ 451 ถ.พรหมราช ต.ในเมือง อ�ำเภอเมืองฯ จ.อุบลราชธานี 34000 ร้านกาแฟสด กับ ชามาเลย์ 09-2546-4364 8.00 - 18.00 น. ทุกวัน
ดีทราเวลไทยแลนด์แนะนำ�
เดอะซิกเนเจอร์ By เฮียอั๋ง
ร้านกาแฟ
เลขที่ 29/1-2 ถ.เทศบาล6 ต.วารินช�ำราบ อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี 34190 เดอะซิกเนเจอร์byเฮียอั๋ง 09-2239-4694 9.00 - 21.00 น. ทุกวัน
อุบลราชธานี โครงการม่วงสามสิบ ออร์แกนิค ฟาร์ม
เลขที่ ต.ม่วงสามสิบ อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี 34140 ม่วงสามสิบ ออร์แกนิคฟาร์ม 09-4542-6960 8.00 - 18.00 น. ทุกวัน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
283
วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว
วัดปากน�้ำ (บุ่งสระพัง)
284
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
วัดทุ่งศรีเมือง
วัดพระธาตุหนองบัว
วัดมณีวนาราม
อำ�เภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี พระแก้วโกเมน
286
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ
อำ�เภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
287
วัดหนองหลัก อำ�เภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี
วั ด หนองหลั ก เป็ น วั ด พั ฒ นาตาม โครงการของกรมศาสนา พ.ศ. 2535 ได้รับเป็น วัดพัฒนาตัวอย่าง และเจ้าอาวาสได้รับสมณศักดิ์ ที่พระครูศรีธรรมวิบูล พ.ศ.2539 ได้รับคัดเลือก เป็นวัดพัฒนาดีเด่น
288
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
พระครูศรีธรรมวิบูล เจ้าอาวาสวัดหนองหลัก
ความเป็นมา
วัดหนองหลัก ตั้งอยู่เลขที่ 135 หมู่ที่ 9 บ้านหนองหลัก ต�ำบลเหล่าบก อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี เดิมชื่อ ว่า “วัดธรรมรังสี” ต่อมา เปลี่ยนเป็น วัดหนองหลัก ตามชื่อ ของหมู่บ้าน สังกัดมหานิกายเขตปกครองคณะสงฆ์ ต�ำบล เหล่าบก อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ภาค 10 จาก หลักฐานหนังสือ เอกสารการส�ำรวจของกรมศาสนา พ.ศ. 2521 วัดหนองหลักตั้งประมาณ พ.ศ. 2350 พัทธสีมา พ.ศ. 2380 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 2550 ปูชนียวัตถุ พระพุทธรูปประธาน ประจ�ำศาลาการเปรียญ ซึ่งได้บรรจุ พระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์คู่วัดมาตลอดไว้ภายใน โดยหลวงพ่อ พระครูอรรคธรรมวิจารณ์ ได้นำ� มาบรรจุไว้ พ.ศ. 2513 หลวง พ่อพระโพธิญาณเถระวัดหนองป่าพง ได้น�ำพระเกศามาบรรจุ ไว้ในคราวงานวางศิลาฤกษ์ พ.ศ. 2531 ได้ท�ำการบูรณะพระ พักตร์ใหม่ให้สวยงามขึ้น โดยพระมงคลกิตติธาดาได้เมตตาน�ำ “พระบรมสารีรกิ ธาตุ” มาบรรจุไว้ดว้ ย ซึง่ ได้เป็นทีป่ ระจักษ์แก่ ผู้พบเห็นในคราวบูรณะศาลาการเปรียญ พ.ศ. 2534
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
289
วัดน้ำ�ยืน
อำ�เภอน้ำ�ยืน จังหวัดอุบลราชธานี
290
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
พระครูวีรกิจชลธาร เจ้าอาวาสวัดน�้ำยืน รองเจ้าคณะอำ�เภอน�้ำยืน
ความเป็นมา
วัดน�้ำยืน ตั้งอยู่เลขที่ 151 หมู่ 6 บ้านน�้ำยืน ต�ำบลโซง อ� ำ เภอน�้ ำ ยื น จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ก่อตั้งประมาณปี พ.ศ. ๒๓๕๐ ซึ่งสถานที่ก่อตั้งวัดมีต้นไม้ใหญ่เป็น ป่าไม้ธรรมชาติ มีหนองน�้ำซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ของ หมู่บ้าน เรียกตามภาษาเขมรของท้องถิ่นว่า ตะเปียงตากก และตะ เปียงตึกเขมา ส่วนตะเปียงตากกในสมัยนัน้ มีนกกระยางขาวมาอยูใ่ น หนองตากกจ�ำนวนมากในช่วงเข้าพรรษา (หนอง เขมรเรียกว่า ตะเปียง ตา เขมรเรียกว่า ตาหรือคุณตาหรือเป็นชือ่ คน และ กก เขมร เรียกว่า นกกระยาง หรือ กก เรียกอีกอย่างว่า ต้นไม้ชนิดหนึ่งน�ำมา สานเป็นเสือ่ จึงเรียกว่า หนองตากก หรือ ตะเปียงตากก) (ตะเปียงตึก เขมา ภาษาไทยเรียกว่า หนองน�ำ้ ด�ำ ตะเปียง เรียกว่า หนอง ตึก เรียก ว่า น�้ำ และเขมา เรียกว่า ด�ำ จึงเรียกว่าตะเปียงตึกเขมาหรือหนอง น�ำ้ ด�ำ) ทิศเหนือหนองหัวช้าง (หนอง เรียกว่า ตะเปียง , หัว เรียกว่า กะบาล , ช้าง เรียกว่า ต�ำเรย (อย่าอ่านว่า “เรย” ให้อา่ นว่า ไร เหมือน ภาษาบาลีที่อ่านว่า อา-หุ-ไน-โย) ฉะนั้น ต�ำเรย ก็คือ ช้าง) ทิศตะวัน ตกหนองโกนกะเปอร์ (หนอง เรียกว่า ตะเปียง , โกน เรียกว่า ลูก , กะเปอร์ เรียกว่า จระเข้) เพราะเหตุนี้น�้ำที่อยู่ล้อมรอบจึงไหลออก มาซึมซับท�ำให้พื้นที่ดินชุ่มชื่นอยู่ตลอดเวลา จึงได้ตั้งชื่อวัดว่า วัด บ้านน�้ำยืน ตามหมู่บ้าน ตั้งแต่เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2395 จนถึงปัจจุบัน บนพื้นที่ประมาณ 195 ไร่ รวมระยะเวลา 167 ปี
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
291
วัดหนองสองห้อง อำ�เภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี
292
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
พระครูวิบูลปุญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดหนองสองห้อง เจ้าคณะตำ�บลยางโยภาพ เขต 1
ความเป็นมา
วั ด หนองสองห้ อ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ บ ้ า นหนองสองห้ อ ง หมู่ที่ 5 ต.ยางโยภาพ อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี ตั้งเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2376 ได้รบั วิสงุ คามสีมา ในปี พ.ศ. 2470 เดิมชือ่ “วัดบ้านหนองสอง” มีเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 4 ตารางวา เป็นวัดเกิดของ ท่านพ่อลี ธมฺมธโร อดีต เจ้าอาวาสวัดอโศการาม ต.ท้ายบ้าน อ.ปากน�ำ้ จ.สมุทรปราการ ปัจจุบันอยู่ในเขตของหมู่ที่ 10 ต.ยางโยภาพ เพราะหมู่บ้าน หนองสองห้อง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 หมู่บ้าน ตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ. 2482 ต่อมาโรงเรียนได้ยา้ ยออกไปตัง้ อยูข่ า้ งวัดทางทิศใต้ในปี พ.ศ. 2489 มีพระครูวิบูลปุญญาภรณ์ (ไพบูลย์ ปิยธฺมโม) เจ้าคณะต�ำบลยาง โยภาพ เขต 1 เป็นเจ้าอาวาสวัดในปัจจุบัน วัดหนองสองห้องมีการพัฒนามาตามล�ำดับ ตามแรงศรัทธา ของชาวบ้านในชุมชนและจากผู้มีจิตศรัทธาทางภายนอก ในการบูรณ ปฏิสังขรณ์ ทั้งเสนาสนะและสถานที่ในปัจจุบันนี้ มีการจัดลานวัดเป็น พื้นที่คอนกรีตปลูกต้นไม้ร่มรื่นและสะอาด เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของ พุทธศาสนิกชน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
293
วัดหนองดุม อำ�เภอน้ำ�ขุน่ จังหวัดอุบลราชธานี
294
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
พ ร ะ ค รู สุ ท ธิ พั ฒ น กิ จ เจ้าอาวาสวัดหนองดุม
ความเป็นมา วั ด หนองดุ ม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 86 บ้านหนองดุม หมู่ 4 ต�ำบลไพบูลย์ อ�ำเภอน�ำ้ ขุ่น จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ฐานะเป็ น วั ด ราษฎร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งขึ้นเมื่อวันพุธ ขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 3 ปีระกา พ.ศ. 2476 โดยมีคุณพ่อเบ้า–คุณแม่ที ประจญ พร้อมด้วย ครอบครัวได้มอบที่ดินให้ตั้งวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตรอุโบสถสร้างเสร็จแล้วผูกพัทธสีมา เมื่อวัน จันทร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2557 โดยมีพระเทพวิสุทธิโมลี รองเจ้าคณะภาค 10 วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพมหานคร เป็นประธานสงฆ์ในการผูกพัทธสีมา มีคณะสงฆ์ร่วมสังฆกรรม ทั้งหมด 46 รูป เสนาสนะที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ เช่น กุฏิ ศาลา การเปรียญ อุโบสถ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ศาลาโรงครัว เมรุ ศาลา พักญาติ เป็นสิ่งที่ปลูกสร้างขึ้นมาหลังปี พ.ศ. 2524 ส่วน เสนาสนะที่ปลูกสร้างสมัยตั้งวัดช�ำรุดผุพังรื้อถอนไปหมดแล้ว
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
295
ม ร ร ธ ง า ท ย า ส ญ ุ บ ง า ท เส้น ี น า ธ ์ ร ฎ ษ า ร ม ข เ ด ั ว 0 1
วัดโพธิ์ - วัดชัยภูมิการาม (วัดกลาง) - วัดเหนือ - วัดอูบมุง วัดบุ่งขี้เหล็ก - วัดนาเจริญ (ปทุมพัฒนาราม) - วัดสนมหมากหญ้า วัดถ�้ำพระศิลาทอง - วัดพระธาตุภูเขาเงิน - วัดสว่างอารมณ์
296
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
วั ด โพธิ์
ตําบลเขมราฐ อําเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ความเป็นมา วัดโพธิ์ ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2331 โดยแม่ชี (แม่ขาว) ได้หนีภัยสงคราม น�ำผู้คนอพยพลงมาจากเวียงจันทน์ พร้อมด้วยลูกหลานญาติโยมลงมาตามล�ำน�ำ้ โขง มายึด ชั ย ภู มิ แ ห ่ ง นี้ ตั้ ง ห มู ่ บ ้ า น แ ล ะ วั ด ขึ้ น ใ น ส มั ย พระเจ้าตากสินมหาราชแห่งกรุงธนบุรี เดิมวัดตั้งอยู่ที่ ทําการศุลกากรและสถานีอนามัยในปัจจุบนั ต่อมาชาว บ้านได้พบพระพุทธรูปที่กลางป่ามีต้นโพธิ์ใหญ่อยู่ด้วย จึงย้ายวัดมาตัง้ อยูใ่ นทีป่ จั จุบนั และตัง้ ชือ่ ว่า วัดโพธิ์ ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2516 เขต วิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร การบริหาร และการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือรูปที่ 1 พระหนูสิน รูปที่ 2 พระทา รูปที่ 3 พระพรหมา รูป ที่ 4 พระอุย รูปที่ 5 พระแดง รูปที่ 6 พระประภัส ปญญาพโล รูปที่ 7 พระครูวรกิจโกวิท พ.ศ. 2505 ซึ่ง เป็นทั้งเจ้าอาวาสวัดโพธิ์และเจ้าคณะอ�ำเภอเขมราฐ
พระเจ้าใหญ่องค์แสน
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ
สักการะพระเจ้าใหญ่องค์แสน, พระพุทธเขมรัฐวรมงคล, พระหยก มรกต, พญานาคราช
พระพุทธเขมรัฐวรมงคล
พระหยกมรกตวัดโพธิ์
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
297
วัดชัยภูมิการาม (วัดกลาง) ตำ�บลเขมราฐ อำ�เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ความเป็นมา
วัดชัยภูมกิ ารามหรือทีช่ าวบ้านเรียกกันว่า “วัดกลาง” เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่และเป็นทีเ่ คารพของชาวบ้านในเมืองเขมราฐอีก หนึ่งแห่ง ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2317 ในเมืองเขมราฐซึ่งเป็นเมืองหน้า ด่าน เมื่อตั้งวัดขึ้นจึงตั้งชื่อว่า วัดชัยภูมิ อาจารย์พิบูล ใจแก้ว อดีตผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนบ้านเหนือ ให้ขอ้ มูลว่า การสร้างวัดนัน้ สันนิษฐานว่ารับเอาวัฒนธรรมพุทธศาสนามาจากเวียงจันทน์ หลวงพระบาง ช่วงเวลาการสร้างวัดเป็นช่วงการครองราชย์ของ พระเจ้าสุริยวงศาธรรมาธิราชแห่งลาว ราชอาณาจักรล้านช้าง ตรงกับไทยในสมัยพระเจ้าประสาททอง พระเทพราชาแห่ง กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2180-2237 บ้านกงพะเนียงก็รบั เอาวัฒนธรรมมาสร้างวัดเช่นกัน นับจากวัดกลางเป็นวัดทีเ่ ก่าแก่ แต่โบราณ ก่อนทีจ่ ะมายกฐานะเป็นเมือง เขมราษฎร์ธานี ต่อมา ได้รบั การบูรณะอุปถัมภ์ทา่ นเจ้าเมืองเจ้าคณะเมืองและเจ้าแขวง เจ้าคณะอ�ำเภอ ตามล�ำดับและเป็นส�ำนักเรียนพระปริยตั ธิ รรมที่ มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 3 ญาท่านสา เจ้าคณะเมืองได้เข้าเฝ้า ในรัชกาลที่ 3 ที่กรุงเทพได้รับพระราชทานโปรดเกล้าตั้งชื่อว่า วัดชัยภูมิการาม
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ สักการะพระแก้วบุษราคัม, พระสิทธิมงคล, ชมอุโบสถศิลปะเวียดนาม-ภาพผาผนังเก่าแก่
298
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
วัดเหนือ ตำ�บลเขมราฐ อำ�เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
ความเป็นมา
วัดเหนือตั้งเมื่อ พ.ศ. 2330 โดยมีพระเทพวงศา เจ้าเมือง เขมราษฎร์ธานีได้ตั้งวัดขึ้นทางทิศตะวันตกของเมืองด้านเหนือน�้ำให้ นามว่า วัดศรีมงคล ต่อมาทางราชการและชาวบ้านเรียกว่า วัดเหนือ โดยถือเอาเหนือน�้ำเป็นหลัก ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2553
พระนอนจำ�ลอง ศาลาพระนอนหรือ วิหารพุทธไสยาสน์
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ สักการะพระนอนพุทธไสยาสน์ หนึ่งเดียวในเขมราฐ หอพระศีลวิทธาจารย์
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
299
วัดอูบมุง ตําบลเขมราฐ อําเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี พระเจ้าใหญ่องค์หมื่น
ความเป็นมา
ในดินแดนแห่งนีแ้ ต่กอ่ นยังเป็นทีร่ กร้างว่างเปล่าไม่มผี คู้ นเข้า มาอาศัยอยู่ ต่อมาเมื่อประมาณปี พ.ศ.2349 มีท้าวศรีจันทร์ ศรีสุราช เป็นชาวอ�ำเภอเขมราฐได้อพยพมาพร้อมกับพรรคพวกจ�ำนวนหนึ่งมา ตั้งแหล่งท�ำมาหากินในบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านอูบมุงแห่งนี้ และในครั้งนั้น มีการค้นพบพระพุทธรูปองค์นี้อยู่ในป่ารกชันประดิษฐานอยู่ในวัดร้าง เป็นพระพุทธรูปปางนาคปรก และมีอบู มุงก่อด้วยอิฐครอบองค์พระเอา ไว้ ส่วนองค์พระมีปลวกขึน้ พอกจนถึงพระอุระและเรียกว่า “อูบมุง” ซึง่ สันนิฐานว่าคงจะมาจากค�ำว่า สถูป หรือ อูบ จึงได้พากันเรียกว่าพระ อูบมุง หรือพระเจ้าใหญ่อูบมุงตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และท้าวศรีจันทร์ ศรีสุราช พร้อมด้วยคณะได้ตั้งหมู่บ้านขึ้นมาชื่อว่า บ้านอูบมุง โดยเรียก ตามชื่อพระพุทธรูปที่ค้นพบสืบมาจนทุกวันนี้ ด้วยความเชื่อและความ ศรัทธาของชาวบ้านซึ่งมีความเคารพสักการะในความศักดิ์สิทธิ์ของ พระพุทธรูปองค์นี้ จึงเรียกได้ว่าเป็นพระพุทธรูป คู่บ้าน คู่เมืองของชาว อ�ำเภอเขมราฐอีกองค์ ซึ่งคู่กับพระเจ้าใหญ่องค์แสนที่ประดิษฐานที่ วัดโพธิเ์ ขมราฐ และมีความเชือ่ กันว่ามีสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิส์ งิ สถิตอยูจ่ งึ ไม่มใี คร กล้าเข้าไปบูรณะวัดร้างแห่งนี้ ใครจะมาท�ำอะไรไม่ได้โดยเด็ดขาดถ้าไม่ เชื่อและขืนท�ำไปก็จะมีอันเป็นไปในทางที่ไม่ดีอย่างแน่นอน ดังนั้น วัดร้างแห่งนี้จึงถูกปล่อยทิ้งไว้เรื่อยมาจนถึงประมาณปี พ.ศ.2460 ได้มี พระธุดงค์องค์หนึ่งมาพบและพ�ำนักในวัดพระเจ้าใหญ่อูบมุงและได้ บ�ำเพ็ญเพียรภาวนา พระธุดงค์รูปนี้ชื่อว่าพระอาจารย์บุญมา เป็นชาว เวียงจันทร์ พระรูปนี้มีญาติโยมให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก ต่อมาพระอาจารย์บญ ุ มาได้พาชาวบ้านบูรณะวัดร้างแห่งนีใ้ ห้เป็นวัดขึน้ ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งมีการยกแท่นพระเจ้าใหญ่แล้วซ่อมแซมอุโมงค์
300
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ สักการะพระเจ้าใหญ่องค์หมื่น ชมศาลาเสาต้นไม้
ครอบองค์พระขึ้นมาใหม่เป็นรูปสถูปหรือเจดีย์ เสร็จเรียบร้อยแล้วต่อ จากนั้นเป็นต้นมามีผู้คนรู้จักและให้ความเคารพศรัทธาพระเจ้าใหญ่ อูบมุงเป็นอย่างมากเนื่องมาจากมีความเลื่อมใสศรัทธากันว่า พระเจ้า ใหญ่อูบมุงเป็นพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งในท้องถิ่นนี้
วัดบุ่งขี้เหล็ก ตําบลนาแวง อําเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ความเป็นมา
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ เจดีย์พระศรีอริยะเมตตรัย, ลานพระขาว 84 องค์ บันไดวนขึ้นเจดีย์ 119 ขั้น ชมวิวสองฝั่งโขง
วัดบุง่ ขีเ้ หล็ก ตัง้ อยูฝ่ ง่ั ตรงข้ามของหมูบ่ า้ นบุง่ ขีเ้ หล็ก ประกาศตัง้ เป็นวัดเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2543 เดิมชื่อวัดสังวรวนาราม อยู่ห่าง จากอําเภอเขมราฐไปทางอําเภอโขงเจียมประมาณ 13 กิโลเมตร ภายหลัง หลวงปู่จันทร์หอมได้มาสร้างและบูรณะใหม่ และให้ชื่อว่า วัดบุ่งขี้เหล็ก ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2550 มีเจ้า อาวาสเท่าที่ทราบนาม คือรูปที่ 1 พระครูสุนทรพัฒโนดม (จันทร์หอม สุภาทโร) ตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2543 วัดนี้เคยได้รับเกียรติบัตร รางวัลเป็นวัดที่มีความสะอาดดีมากตามโครงการ “อุบลเมืองสะอาด ราชธานีอสี าน” ประจ�ำปี 2553 พระครูสนุ ทรพัฒโนดม หรือ หลวงปูจ่ นั ทร์ หอม สุภาทโร พระคณาจารย์ผสู้ บื สานวิทยาคมจากพระเถราจารย์แห่งราช อาณาจักรลาว ศิษย์ยุคสุดท้ายจากสมเด็จลุน แห่งประเทศลาว หลวงปู่ จั น ทร์ ห อม เกิ ด เมื่ อ เดื อ น 5 ปี ม ะโรง พ.ศ. 2459 ที่ บ ้ า นนาเอื อ ด อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี เนือ่ งจากสมัยนัน้ ไม่มกี ารจดบันทึกวันเดือน เกิดทางคณะศิษย์จงึ ขอให้วนั ที่ 1 มีนาคมของทุกปีเป็นวันคล้ายวันเกิด เพือ่ ร่วมแสดงมุทิตาจิตต่อท่าน ท่านเป็นคนไทยแท้เกิดที่เมืองไทยแต่ไปโตที่ ประเทศลาว เพราะครอบครัวย้ายถิน่ ฐานไปท�ำมาหากินทีน่ นั่ จนได้มโี อกาส ร�่ำเรียนวิชากับปรมาจารย์ใหญ่ อย่าง “ส�ำเร็จลุน” ผ่านทาง “ส�ำเร็จตัน” พระสังฆราชแห่งราชอาณาจักรลาวองค์ตอ่ จากสมเด็จลุน หลวงปูจ่ นั ทร์หอม ด�ำริสร้างมหาเจดีย์ขึ้นเพื่อสืบพระพุทธศาสนาให้อยู่คู่บ้านคู่เมือง ให้ชื่อว่า “เจดีย์ศรีอริยะเมตตรัย” มีรูปทรงที่แปลกตาไม่เหมือนกับเจดีย์ที่พบเห็น ทั่วไป มีความสูงจากพื้น 97 เมตร ทาผนังด้านนอกด้วยสีทอง ตั้งโดดเด่น อยู่กลางวัด มหาเจดีย์นี้สร้างส�ำเร็จภายในระยะเวลาเพียง 1 ปี 4 เดือน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
301
วัดนาเจริญ (ปทุมพัฒนาราม) ตำ�บลขามป้อม อำ�เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
ความเป็นมา
เริ่มก่อสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๗ โดยชาวบ้านหนองบัวบ้านนาเจริญ ได้ขอรับบริจาคที่ดินจากพ่อใหญ่ค�ำ พิมเทศ เนื้อที่ 4 ไร่เศษ และจากแม่ใหญ่หนูบาง เหล่าหลง เนือ้ ที่ 2 ไร่เศษ รวมเป็นเนือ้ ที่ 6 ไร่ 3 งาน 72 ตารางวา และได้พากันสร้างกุฏิหลังเล็ก ๆ ส�ำหรับให้ พระสงฆ์ ในปีแรกมีพระจ�ำนวน 6 รูปอยู่จำ� พรรษา คือหลวงปู่มา หลวง ปู่เคน หลวงปู่ใหม่ หลวงปู่หอม หลวงปู่พล และหลวงปู่จันทร์ ต่อมาปี พ.ศ. 2518 หลวงพ่อบุญเรือง สารโท (พระราชปริยตั ยากร) จากวัดบ้าน แก้งเหนือได้นำ� พาชาวบ้านหนองบัว-นาเจริญ ก่อสร้างศาลาการเปรียญ ขึน้ และใช้ชอื่ วัดว่า “วัดปทุมพัฒนาราม” และปี พ.ศ. 2523 บ้านนาเจริญ ได้แยกหมู่บ้านออกจากบ้านหนองบัว หมู่ที่ 11 ตั้งเป็นหมู่บ้านนาเจริญ หมู่ที่ 5 มี นายสมพงษ์ ทีรวม เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ปี พ.ศ. 2534 ได้ ด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัดและได้รบั อนุญาตให้สร้างวัด เมือ่ วันที่ 26 เมษายน 2534 ปี พ.ศ. 2538 ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัดที่ถูกต้อง เมื่อ วันที่ 20 มิถุนายน 2538 โดยให้ชื่อว่า “วัดนาเจริญ” แต่ตามเอกสาร ทะเบียนวัดของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ใช้ชอื่ ว่า “วัดนาเจริญ (ปทุมพัฒนาราม)” รหัสวัดเลขที่ 04340503005 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา
302
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ สักการะพระเจ้าใหญ่องค์ลา้ น (เนือ้ ทองสัมฤทธิล์ ว้ น) ทำ�บุญตักบาตรพระเณรตอนเช้าทุกวัน
วัดสนมหมากหญ้า ตําบลแก้งเหนือ อําเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ความเป็นมา
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ สถานทีธ่ รรมชาติรม่ รืน่ มีเจริญจิตวิปสั สนาภาวนาตลอดปี
วัดสนมหมากหญ้า ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นสนมหมากหญ้า หมูท่ ี่ 4 ต�ำบล แก้งเหนือ อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ระยะห่างของวัดจาก หมูบ่ า้ น 560 ม. เริม่ ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2536 (ตรงกับวัน ศุกร์ ขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 7 อธิกมาศ) โดยที่หลวงปู่จันทร์มี จนฺทโชโต กับ คุณแม่คำ� พันธ์ โทนผุย ได้มอบถวายทีด่ นิ ติดล�ำห้วย (ห้วยกลอย) จ�ำนวน 6 ไร่ ให้แก่หลวงพ่อพระครูวิศาลเขมคุณ (พระราชปริยัตยากร) เจ้าอา วาสวัดพิชโสภาราม ในสมัยนั้นและหลวงพ่อพระครูวิศาลเขมคุณ ท่าน ได้สร้างเป็นทีพ่ กั สงฆ์ โดยมอบให้พระบุญถัน ปุญณ ฺ วฑฺฒโน ซึง่ เป็นพระ ลูกชายของหลวงปูจ่ นั ทร์มี จนฺทโชโต และคุณแม่คำ� พันธ์ โทนผุย เป็นประธาน สงฆ์ดแู ลและน�ำพาชาวบ้านก่อสร้างเสนาสนะ ศาลา กุฎทิ พี่ กั ตลอดถึง ปลู ก ต้ น ไม้ น านาพั น ธุ ์ ใ นบริ เ วณที่ พั ก สงฆ์ พ.ศ. 2547 พระปลั ด บุ ญ ถั น (ฐานานุ ก รมในพระบวรปริ ยั ติ วิ ธ าน) หั ว หน้ า ที่ พั ก สงฆ์ ได้ ล าสิ ก ขา หลวงพ่ อ พระบวรปริ ยั ติ วิ ธ านได้ แ ต่ ง ตั้ ง ให้ พ ระปลั ด ส�ำเริง กตปุญฺโญ (ฐานานุกรม) เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ดูแลแทน พ.ศ. 2549 พระปลัดส�ำเริงได้ลาสิกขา หลวงพ่อพระบวรปริยัติธาน จึงได้ส่ง พระมหาฤทธิ เ ดช สุ เ มธี (ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาสวั ด พิ ช โสภาราม) พระมหาสมพินิจ สมสีโล และพระประนมไพร ปสนฺโน เข้ามาดูแลและ ได้ จั ด ตั้ ง ให้ เ ป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม เครื อ ข่ า ยวั ด พิ ช โสภาราม แห่งที่ 2 (แห่งที่ 1 คือวัดเก่าบ่อ อ.หัวตะพาน จ.อ�ำนาจเจริญ ของหลวง พ่อพระครูภาวนากิจจาทร) โดยที่หลวงพ่อได้ปรารภว่า “เราอยากมี สถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ทีส่ งบๆ ใกล้ๆ วัดพิชฯ เผือ่ ไว้รองรับพระภิกษุตลอด ถึงญาติโยมทีม่ าปฏิบตั ธิ รรมนอกพรรษา วัดพิชฯเราอึกทึกเพราะมีทงั้ ผู้ เรียนและงานก่อสร้าง” ในต้นปี 2550 นี้ ทางวัดสนมหมากหญ้า ร่วม กับญาติโยมชาวบ้านสนมหมากหญ้าและคุ้มนาห้วยกลอย โดยมีหลวง พ่อพระบวรปริยัติวิธาน เป็นประธานมีพระครูสมุห์สุทัศน์ จิรธมฺโม วัด สวนส้มและครอบครัวโชติวิเชียร เป็นผู้อุปถัมภ์ ได้ท�ำการก่อสร้างหอ น�้ำประปาและกุฏิกรรมฐาน (ก่ออิฐถือปูน) ขนาด 5x2 ม. ขึ้นจ�ำนวน 26 หลัง และได้จัดให้มีการปฏิบัติธรรมขึ้นตลอดทั้งปีทั้งในพรรษาและ นอกพรรษา ซึ่งในแต่ละปีได้มีพระภิกษุสามเณร ตลอดถึงอุบาสกอุบาสิกาเข้ามาอยู่ปฏิบัติธรรมเป็นจ�ำนวนมาก ด้วยบรรยากาศของวัด ที่สงบ เงียบ ร่มรื่นด้วยล�ำห้วยและต้นไม้นานาชนิด ห่างไกลผู้คน ห่าง ไกลจากเสียงรบกวน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
303
วัดถ�้ำพระศิลาทอง ตําบลเจียด อําเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
ความเป็นมา พิพธิ ภัณฑ์ชมุ ชนวัดถ�ำ้ พระศิลาทอง เกิดจากการร่วมด้วย ช่วยกันระหว่าคนในชุมชนต�ำบลเจียดและกรมศิลปากร เพือ่ อนุรกั ษ์ วัตถุหลักฐานทางวัฒนธรรมจากแหล่งโบราณคดีดอนไร่และวัตถุพนื้ บ้านของชุมชนเจียดไว้เป็นมรดกของชาติสืบไป โดยเริ่มจากการขุดพบวัตถุหลักฐานทางโบราณคดีโดย บังเอิญ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2550 ในพื้นที่นาของนายบัวผัน ชิณกะธรรม ซึง่ บริจาคดินให้กบั ทางวัดเพือ่ น�ำไปถมปรับพืน้ ทีส่ ำ� หรับ ก่อสร้างศาลาหลังใหม่ วัตถุหลักฐานส�ำคัญได้แก่ ภาชนะดินเผา บรรจุโครงกระดูกมนุษย์โบราณขนาดใหญ่ เครื่องมือเหล็ก เครื่อง ประดับส�ำริด เครื่องประดับหินและแก้ว เป็นต้น ด้วยความส�ำคัญของวัตถุหลักฐานดังกล่าว พระอาจารย์ คารามย์ โอภาโส เจ้าอาวาส จึงร่วมกับผู้ศรัทธาวัดได้เก็บรวบรวม มาจัดแสดงไว้ภายในวัด เมื่อส�ำนักศิลปากรที่ 11 อุบลราชธานี ได้ รั บ แจ้ ง จึ ง เข้ า มาด� ำ เนิ น การตรวจสอบและทราบว่ า ทางชุ ม ชน ต้องการเก็บรักษาวัตถุหลักฐานดังกล่าวไว้ในรูปแบบพิพิธภัณฑ์ ชุมชนท้องถิ่น จึงให้การสนับสนุนและส่งเสริมด้วยกระบวนการมี ส่วนร่วมในการพัฒนา
304
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ ชมพิพธิ ภัณฑ์ไหโบราณ โครงมนุษย์ 2000 กว่าปี
วัดพระธาตุภูเขาเงิน ตําบลเจียด อําเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
ความเป็นมา
จุดสำ�คัญที่น่าสนใจ เจดียพ ์ ระธาตุภเู ขาเงิน บันไดนาคทางขึน้ เจดีย์ 108 ขัน้
พระธาตุ ภู เ ขาเงิ น เป็ น ศิ ล ปะประยุ ก ต์ ไ ด้ ต ้ น แบบมาจาก พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม และพระธาตุอิงยั้ง แขวงสุวรรณเขต จาก ส.ป.ป.ลาว มีขนาด กว้าง 5 เมตร สูง 16 เมตร มีลักษณะ 4 เหลี่ยม เป็น 3 ชั้น มีพระพุทธ รูปยืนปางเสด็จจากดาวดึงส์ และปางพระธรรมเทศนาโปรดพระมารดา บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ วัตถุประสงค์เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่ ง ได้ รั บ การถวายจากประเทศศรี ลั ง กา ประเทศเมี ย นมาร์ และ ประเทศไทยด้วย ก�ำหนดการงานก่อสร้าง วางศิลาฤกษ์ตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ซึ่งต่อ กับปีทอี่ งค์การสหประชาชาติรบั รองวันวิสาขบูชาปีนน้ั เป็นวันส�ำคัญของ โลกของชาวพุทธ โดยก�ำหนดเจดียพ์ ทุ ธคยา เป็นสัญลักษณ์ ก�ำหนดลงมือ ก่อสร้างพระธาตุภเู ขาเงิน ตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายน 2543 ซึง่ ตรงกับ วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12 วันลอยกระทง) และวันเดียว กับนั้น ท่านพระครูธรรมธรสัมฤทธิ์ ชิณคะธรรม ยังได้ก�ำหนดยกเสาเอก หลักเมืองเขมราษฎร์ธานีตรงกัน เป็นวันเพ็ญเดือน 12
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
305
วัดบ้านนาขนัน (สว่างอารมณ์) ตำ�บลแก้งเหนือ อำ�เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
ความเป็นมา วัดสว่างอารมณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 71 บ้านนาขนั้น หมู่ 5 ต�ำบล แก้งเหนือ อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ล�ำดับที่ 20 รหัส 3405032 เป็นวัดราษฎร์ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2459 โดย มี ห ลวงปู ่ แ ก้ ว พร้ อ มด้ ว ยชาวบ้ า นได้ ร ่ ว มกั น สร้ า งวั ด ขึ้ น ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2480 เขต วิสุงคามสีมากว้าง 10 เมตร ยาว 15 เมตร ในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ วัดสว่างอารมณ์ได้เปิดการเรียนกานสอน วิชามูลกัจจยะนะ มีพระภิกษุสามเณรมาเข้าศึกษา ทัง้ พระภิกษุสามเณร ไทยและจากประเทศลาวเป็นจ�ำนวนมาก เป็นวัดทีม่ ชี อื่ เสียงในด้านการ ศึกษาปริยัติธรรมด้านมูลกัจจายะนะ และมีอาจารย์สอนตามประวัติ ดังนี้ ๑. พ่อจารย์ใบ ศรีสอน ๒. พ่อจารย์บุญ ศรีสอน ๓. พ่อจารย์งาม ศรีสอน ๔. พ่อจารย์ช่วย ศรีสอน
306
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
สิ่งก่อสร้างที่เป็นถาวรวัตถุภายในวัดสว่างอารมณ์ 1. อุโบสถ 1 หลัง 2. ศาลาการเปรียญ 1 หลัง 3. ศาลาปฏิบัติธรรม 1 หลัง 4. กุฎีสงฆ์ จ�ำนวน 1 หลัง 5. โรงเรียนพระปริยัติธรรม 1 หลัง 6. หอสวรรค์ 1 หลัง 7. ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ 1 หลัง 8. โรงครัว 1 หลัง 9. หอน�้ำประปาสาธารณประโยชน์ประจ�ำวัดและหมู่บ้าน 1 แห่ง
บ้ า นนาขนั น หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลแก้ ง เหนื อ อ� ำ เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี บ้านนาขนันมีประชากร จ�ำนวน 215 ครัวเรือน มีจ�ำนวนประชากร จ�ำนวน 729 คน ได้เป็นสมาชิกโครงการหมู่บ้าน รักษาศีล 5 จ�ำนวน 668 คน คิดเป็นร้อยละ 91.63 % ได้มีวัดบ้านนา ขนัน (สว่างอารมณ์) เป็นสถานที่เข้าวัดมาสมาทานศีล 5 ทุกวันพระ 8 ค�่ำ และ 15 ค�ำ่ วันพระมีผู้เข้าวัดวันพระละ 70 ถึง 100 คน ปัจจุบัน มีพระครูศรีสุตาลังการ ดร.เป็นเจ้าอาวาส ตั้งปี พ.ศ. 2546 ถึงปัจจุบัน มีการเปิดเรียนเปิดสอน นักธรรมและธรรมศึกษา ตรี โท เอก เปิดสอน บาลีประโยค 1-2 ถึงประโยค ป.ธ. 3 และเปิดเรียนเปิดสอนปริยตั สิ ามัญ ม.1 ถึง ม.6 ประวัติความเป็นมาโรงเรียนศรีสุตาวิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2552 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พระครูศรีสุตาลัง การ ได้ประชุมคณะสงฆ์อ�ำเภอเขมราฐ คณะกรรมการหมู่บ้าน ทายก ทายิกาบ้านนาขนัน เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2552 มีมติให้เปิดเป็นโรงเรียน พระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา บริการการศึกษาระดับมัธยมศึกษา (ม. 1– ม. 6) แก่พระภิกษุสามเณร เพือ่ ให้เด็กและเยาวชนทีพ่ ลาดโอกาส ทางการศึกษา ได้เข้ามาบวชเรียนมีความรู้และทักษะในวิชาพระ ปริยัติธรรมและวิชาสามัญศึกษาจะได้มีความรู้ความสามารถในการ บ�ำเพ็ญประโยชน์แก่ประชาชนได้อย่างกว้างขวาง และเป็นก�ำลังส�ำคัญ ในการจรรโลงสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และเพือ่ รักษา เอกลักษณ์ความเป็นศาสนทายาท จึงได้ตงั้ ชือ่ โรงเรียนว่า “โรงเรียนศรี สุตาวิทยา” ในปีการศึกษา 2552 ด�ำเนินการจัดการเรียนการสอนในนาม ห้องเรียนโรงเรียนศรีศาสนวิทยา (บ้านด้ามพร้า) ต�ำบลขามใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2559 ได้รับใบ อนุญาตจัดตั้งเป็นโรงเรียนอย่างถูกต้อง เป็นเอกเทศ ตามใบอนุญาต (แบบ ปส.2)ตามมติมหาเถระสมาคม เลขที่ 2/2559 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2559 ปัจจุบนั มี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พระครูศรีสตุ าลังการ เป็นผูจ้ ดั การ มีพระมหาบันทอน สุธโี ร เป็นผูอ้ ำ� นวยการ มีครู/บุคลากร 16 รูป/คน มีนักเรียน 132 รูป (พ.ศ.2560)
10. 11. 12. 13. 14. 15.
ห้องน�้ำห้องสุขา จ�ำนวน 32 ห้อง หอกระจายข่าวภายในวัด 1 แห่ง กุฏิเจ้าที่พักพระภิกษุ 1 หลัง กุฏิเจ้าอาวาส 1 หลัง กุฏิที่พักสามเณร 1 หลัง ส�ำนักงานเจ้าคณะอ�ำเภอเขมราฐ
พระครูศรีสุตาลังการ ผศ.ดร. (ป.ธ.6,Ph.D) เจ้าคณะอำ�เภอเขมราฐ เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
307
สารผู้ทรงคุณวุฒิ
ท้องถิน่ จังหวัดอุบลราชธานี นายชำ�นาญ ศรีพารา
308
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
เป็นนักวิชาการ เป็นนักปฏิบัติ ภายใต้หลักการทีด่ ี หลักกฎหมาย และหลักคุณธรรม
ท้องถิ่น จังหวัด อุบลราชธานี
เป้าหมายคือ จะใช้ตำ� แหน่งหน้าที่ ของตนในทางทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ประชาชน มุ่งเน้นร่วมพัฒนาท้องถิ่น บ้านเมืองและ สั ง คมให้ เ ป็ น ท้ อ งถิ่ น ที่ ส งบร่ ม เย็ น เป็ น ท้องถิน่ ทีพ่ งึ่ พาอาศัยกัน ทีส่ ำ� คัญ
“อยู่ที่ไหนต้องยึดมั่นเสมอ ว่าท�ำงานเพื่อตอบแทน คุณแผ่นดิน” ภารกิจส�ำคัญทีป่ ฏิบตั นิ อกเหนือจาก หน้าทีป่ กติ ทีเ่ ร่งรัดด�ำเนินการอยูใ่ นขณะนี้ ตามวาระแห่งชาติ คือ การบริหารจัดการ ขยะ ภารกิจส�ำคัญอีกหนึง่ คือ สนามเด็กเล่น สร้างปัญญา และอีกโครงการหนึง่ ทีส่ ำ� คัญ คื อ ธนาคารน�้ ำ ใต้ ดิ น ซึ่ ง มี ต ้ น แบบอยู ่ ที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเก่าข่าม
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
309
นายกริชชัย ศิลปรายะ ผู้อำ�นวยการกลุ่มงานส่งเสริม และพัฒนาท้องถิ่น สำ�นักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี
310
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
นายกริชชัย ศิลปรายะ ผู้อำ� นวย
การกลุ ่ ม งานส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด อุบลราชธานี ถือว่าเป็นหน่วยงานหลักในการ ส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เกิดการพัฒนา ก�ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นตามค่านิยมกรมที่ว่า
‘มืออาชีพ คิดสร้างสรรค์ ยึดมั่นธรรมาภิบาล’
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ กับการมีสว่ นร่วมของประชาชนทีเ่ ป็นอยูท่ กุ วันนี้ ด้วยความร่วมมือทัง้ สือ่ กระแสหลัก สือ่ กระแสรอง ท�ำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เกิดการตืน่ ตัว ที่จะเรียนรู้และรับรู้ให้เท่าทันกับสิ่งที่จะเกิดขึ้น นวัตกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในจังหวัดอุบลราชธานี มีอย่างทีเ่ ห็นเด่นชัดเชิงประจักษ์ในหลายกิจกรรม สมดังที่ว่า
‘เมืองนักปราชญ์อบุ ลราชธานี’
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
311
5
ท้องถิ่น วิถีพัฒนา
จังหวัดอุบลราชธานี
1กุดชมภู
เทศบาลตำ�บล
วิสัยทัศน์ ท้องถิ่นน่าอยู่ อาชีพมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง
2 เขมราฐ
เทศบาลตำ�บล
วิสัยทัศน์ ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มเข็ง ร่วมแรงประสาน ความคิด เศรษฐกิจรุจหน้า ชาวประชามีคุณภาพ ชีวิตที่ดี มีการศึกษาทั่วถึงก้าวไกล มีจิตใจเมตตา เอื้ออาทร ช่วยกันสะื้อนความคิดเห็นให้เป็นความ ร่วมมือในการพัฒนาเมืองเขมราฐให้เป็นเมืองที่ น่าอยู่และคู่กับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ที่ทรง คุณค่าทางประวัตศิ าสตร์และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ทีไ่ ด้ รับการสืบสานอย่างต่อเนื่อง เป็นเมืองศูนย์กลาง แห่งพระพุทธศาสนา มีบริการสาธารณะพร้อมสรรพ ขานรับประชาธิปไตย
312
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
3 วารินชำ�ราบ เทศบาลเมือง
วิสัยทัศน์
วารินเมืองน่าอยู่ ด้วยโครงสร้าง พิ้ น ฐานที่ ส มบู ร ณ์ เพิ่ ม พู น ฐาน เศรษฐกิจ สภาพสิ่งแวดล้อมดี ประชาชนมีคุณธรรม นำ�ชุมชนให้ เข้มเเข็ง ร่วมแรงรักษา ภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่น
4 สีวิเชียร
เทศบาลตำ�บล
วิสัยทัศน์ ชุมชนเข้มแข็ง เส้นทางคมนาคมดี ระบบบริ ก ารสาธารณู ป โภคทั่ ว ถึ ง ส่งเสริมการเรียนรู้ ใส่ใจคุณภาพชีวติ ส่งเสริมเกษตร ปลอดสารพิษ พัฒนา เศรษฐกิจการค้าชายแดน ยึดหลัก ธรรมาภิบาล
5 เขื่องใน
เทศบาลตำ�บล
วิสัยทัศน์ ชุมชนน่าอยู่ บริหารจัดการดี ประชาชนมีสุข
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
313
องค์การบริหารส่วนตำ�บลยาง เมืองแห่งผลไม้ พืชไร่เศรษฐกิจ แหล่งผลิตพันธุ์ข้าวหอม ลำ�ซอมน�้ำใส งานใหญ่สงกรานต์ อุทยานธรรมะ ศิลปะลายไทย น�้ำใจอารี ประเพณีงดงาม
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอนุรักษ์ภาพเขียนไทย บ้านปลาขาว ตำ�บลยาง อำ�เภอน�ำ้ ยืน จังหวัดอุบลราชธานี
314
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ความเป็นมา
ต�ำบลยาง จัดตัง้ เป็นหมูบ่ า้ นเมือ่ ประมาณ พ.ศ.2420 โดย มีนายพืน้ ไชยนาถ อพยพมาจากบ้านม่วง อ�ำเภอพิบลู มังสาหาร ก่อ ตั้งบ้านเรือน มีผู้นำ� หมู่บ้าน คือ นายจูม สุทธัง ปี พ.ศ. 2540 ได้จัด ตัง้ เป็น ต�ำบล ขณะนัน้ เขตการปกครองของอ�ำเภอขึน้ อยูก่ บั จังหวัด ศรีสะเกษ ต่อมาขึน้ อยูก่ บั อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2512 แยกจาก อ�ำเภอเดชอุดม ขึ้นกับ อ�ำเภอน�้ำยืน เป็นกิ่งอ�ำเภอ น�้ำยืน และ ต�ำบลยางได้แยกไปอีก 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลเก่าขาม และ ต�ำบลบุเปือย
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
พืชเศรษฐกิจ มันสำ�ปะหลัง และ ทุเรียน
นายสังคม สุทธัง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลยาง องค์การบริหารส่วนต�ำบลยาง ต�ำบลยาง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี 34260 โทรศัพท์ 0-4585-9456 แฟกซ์ 0-4585-9456 E-mail : palad@tambonyang.go.th เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
315
องค์การบริหารส่วนตำ�บลพังเคน “ประตูสู่อำ�เภอนาตาล ตำ�นานช้างพังถวาย สายธารแห่งวัฒนธรรม งามลำ�้น้ำ�ใจคน ชุมชนเกษตรอินทรีย์ ประเพณีลอยกระทง”
ที่ตั้ง : องค์การบริหารส่วนต�ำบลพังเคน อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี 34170 เบอร์โทรศัพท์ / โทรสาร เบอร์ 0-4542-9533 E-mail : info@phungken.go.th www.phungken.go.th
316
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพตำ�บลพังเคน สระว่านน้ำ� & ฟิตเนส
งานกิ จ กรรม อบต.พั ง เคน
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
317
สถานที่ท่องเที่ยวและ ผลิตภัณฑ์ชุมชน
318
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
นายพิ นิ จ ศักดิ์ ค�ำวัน นายกองค์การบริหารส่วน ตำ�บลพังเคน
นายอั ษ ฎางค์ บุ ญ เอก ประธานสภา องค์การบริหารส่วนตำ�บลพังเคน
จ่ า เอกปฐมพงศ์ ชาตรี ปลั ด องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น ต� ำบลพั ง เคน
ความเป็นมา
เหตุทไี่ ด้ชอื่ “พังเคน” เพราะเมือ่ สมัยก่อนเป็นบริเวณพืน้ ทีเ่ ป็นป่าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ มีหนองน�ำ้ ชือ่ หนองกะเหล่ง เป็นที่หาอาหารของสัตว์ต่าง ๆ ในจ�ำนวนนี้มีช้างอยู่หนึ่งเชือกชื่อ “พังเคน” ซึ่งชาวบ้านมีความเชื่อว่าเป็นช้างคู่บ้าน คู่เมืองช่วยดูแลปกปักหมู่บ้าน ซึ่งเดิมขึ้นกับต�ำบลเจียด อ�ำเภอเขมราฐ และเมื่อมีการจัดระเบียบการปกครองท้องที่ขึ้น ซึ่งได้ตั้งกิ่งอ�ำเภอนาตาลขึ้นและแยกบ้านพังเคนออกมาจากต�ำบลเจียด และได้รวบรวมเอาหมู่บ้านต่าง ๆ ขึ้นเป็นต�ำบล “พังเคน” ในปัจจุบันต�ำบลพังเคนเป็นต�ำบลหนึ่งใน 4 ต�ำบลของอ�ำเภอนาตาล ซึ่งแยกจากต�ำบลเจียด อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดอุบลราชธานี ระหว่างละติดจูดที่ 26 องศาเหนือ และลองจิจูดที่ 59 องศาตะวันออก มีอาณาเขตพื้นที่อยู่ติดกับท้องถิ่นใกล้เคียง 6 ส่วน คือ ต�ำบลกองโพน ต�ำบลขามป้อม ต�ำบลเจียด ต�ำบลหัวนา ต�ำบลแก้งเหนือ และต�ำบลนาตาล เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
319
เทศบาลตำ�บลโพธิ์ไทร “สร้างภูมิทัศน์ พัฒนามีส่วนร่วม ผดุงความเป็นธรรม นำ�โพธิ์ไทรก้าวหน้า มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน”
320
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ประวัติความเป็นมา
เทศบาลต�ำบลโพธิไ์ ทร เดิมเป็นสุขาภิบาลโพธิไ์ ทร อ� ำ เภอโพธิ์ ไ ทร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ได้ มี ก ารจั้ ง ตั้ ง ขึ้ น ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย และประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 109 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2535 ต่อมา ตามพระราชบัญญัตเิ ปลีย่ นแปลง ฐานะสุขาภิบาล เป็นเทศบาล เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 โดยเทศบาลต�ำบลโพธิ์ไทร ตั้งอยู่เลขที่ 299 หมู่ที่ 11 บ้านโนนทัน ถนนเทิดพระเกียรติ ต�ำบลโพธิ์ไทร อ�ำเภอ โพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นพื้นที่อ�ำเภอชายแดน ติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทางตอนล่างของภาค ซึ่งอยู่ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี 98 กิโลเมตร โดยมีพื้นที่ รับผิดชอบ 7.17 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยหมู่บ้าน 4 หมู่บ้าน โดยแบ่งออกได้เป็น 7 ชุมชน ดังนี้ ชุมชนโพธิ์ไทร ชุ ม ชนหนองคู ณ ชุ ม ชนโนนเจริ ญ ชุ ม ชนโนนทั น ชุมชนเพลินจิต ชุมชนอ�ำนวยผล ชุมชนศรีสว่าง จ�ำนวนหมู่บ้าน ได้แก่ บ้านโพธิ์ไทร หมู่ที่ 2 บ้านโนนทัน หมู่ที่11 บ้านอ�ำนวยผล หมู่ที่ 13 บ้านศรีสว่าง หมู่ที่ 15
อาณาเขต
- ทิศเหนือ ติดสะพานห้วยขัดไหล่ บ้านสร้างสะแบงและ บ้านนาหิน - ทิศใต้ ติดริมห้วยกุดจอ บ้านนาขาม ริมห้วยสร้างจั่น หลักเขตที่ 4 และหลักเขตที่ 5 - ทิศตะวันออก ติดริมห้วยสุ บ้านนาขาม และหลักเขตที่ 3 - ทิศตะวันตก ติดริมร่องสร้างจั่น
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
321
ศาสนสถาน
1. วัดศรีบุญเรือง 2. ส�ำนักสงฆ์วัดป่าศรีโพธิ์ไทร
วัฒนธรรม (ประเพณี)
ได้แก่ 1. บุญส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ 2. บุญข้าวจี่ 3. บุญผะเหวด (เทศน์ มหาชาติชาดก) 4. งานตรุษสงกรานต์ 5. งานบุญเดือนหก (บุญบั้งไฟ) 6. งานบุญเข้าพรรษา 7. งานบุญข้าวประดับดิน 8. งานบุญข้าวสาก (จับฉลาก) 9. งานบุญออกพรรษา 10. งานบุญทอดกฐิน 11. งานบุญทอดผ้าป่า 12. งานวันลอยกระทง
ศูนย์การเรียนรู้
- กลุ่มผ้าทอมือลายดอกผักแว่น - กลุ่มจักสานโนนทัน - กลุ่มธนาคารขยะรีไซเคิล ชุมชนศรีสว่าง - กลุ่มปุ๋ยอินทรีท�ำน�้ำหมักชีวภาพ อีเอม (EM) - โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลต�ำบลโพธิ์ไทร
322
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
ว่าที่พันตรี จรูญ เจริญสุข นายกเทศมนตรีตำ�บลโพธิ์ไทร
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
323
องค์การบริหารส่วนตำ�บลโพธิ์ไทร “คมนาคมสะดวก การบริการและสาธารณูปโภคทั่วถึง เกษตรกรรมยั่งยืน พัฒนาการศึกษา เศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยว สร้างชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ สูตรตำ�บลสร้างเสริมสุขภาวะ”
วัดภูป้อม
นายพิทักษ์ โสดา
นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลโพธิ์ไทร ประวัติความเป็นมา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ไทร เป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ๑ ใน ๖ องค์การบริหารส่วนต�ำบลและ ๑ เทศบาล ของอ�ำเภอโพธิ์ไทร ปัจจุบันเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ขนาดกลาง ได้รับการยกฐานะจากสภาต�ำบลเป็นองค์การ บริ ห ารส่ ว นต� ำ บล และปรับ เป็นขนาดกลางตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย และมีผลบังคับใช้ เมือ่ วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ ทีท่ ำ� การองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิไ์ ทร ตัง้ อยูท่ บี่ า้ น ดอนเย็ น ใต้ หมู ่ ที่ ๓ อยู ่ ห่างจากที่ว ่าการอ�ำเภอโพธิ์ไ ทร ประมาณ ๖ กิโลเมตร ห่างจากศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ ๙๘ กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ไทร มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น ๖๙.๘๔ ตารางกิโลเมตรหรือ ๕๑,๒๕๐ ไร่ อยูห่ า่ งจากทีว่ า่ การ อ�ำเภอโพธิ์ไทรประมาณ ๖ กิโลเมตร และศาลากลางจังหวัด อุบลราชธานี ทางทิศเหนือ ประมาณ ๙๘ กิโลเมตร และอยู่ ห่างจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถไฟ ๖๓๗ กิโลเมตร โดย ทางรถยนต์ ๗๓๖ กิโลเมตร
พื้นที่
เป็นพื้นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การประกอบอาชีพด้าน เกษตรกรรม
เขตพื้นที่
ทิศเหนือ ติดต่อ ต.ม่วงใหญ่ อ.โพธิ์ไทร และ ต.เจียด อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี ทิศใต้ ติดต่อ ต.สารภี อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.สองคอน อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.แก่งเค็ง อ.กุดข้าวปุ้น จ.อุบลราชธานี
วัดภูคำ�มณี
ค�้ำโพธิ์ ค�้ำไทร
อาชีพ
อาชีพหลัก ท�ำนา อาชีพเสริม ปลูกพืช และเลีย้ งสัตว์
สาธารณูปโภค
มี ร ะบบไฟฟ้ า ประปา สถานี อนามัย โรงพยาบาล ที่ทำ� การไปรษณีย์ และบริการโทรศัพท์ ใกล้-ไกล
การเดินทาง
เริม่ ต้นจากจังหวัดอุบลราชธานีไป ตามเส้นทางสายอุบล-เขมราฐ ถึงทาง แยกกิโลเมตรที่ 95 บ้านห้วยยาง เลี้ยว ขวาไปตามเส้นทางบ้านห้วยยาง-อ.โพธิ์ ไทร ระยะทาง 12 กม. เป็นถนนลาดยาง ตลอดเส้นทาง
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
325
วันสงกรานต์
พิธีมอบใบประกาศปริญญาชีวิต
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงเรียนผู้สูงอายุ
“คมนาคมสะดวก การ บริการและสาธารณูปโภคทั่วถึง เกษตรกรรมยั่งยืน พัฒนาการ ศึกษา เศรษฐกิจและแหล่งท่อง เที่ ย ว สร้ า งชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง พึ่ ง ตนเองได้ สู ต รต� ำ บลสร้ า ง เสริมสุขภาวะ”
กู้ชีพ 1669
กิจกรรมสภาเด็ก มอบกระเป๋ายา
กิจกรรมส่งเสริมความเป็นเลิศ ด้านกีฬา(ฟุตบอล)
326
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
กีฬาต้านภัยยาเสพติด
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
• กลุ่มทอผ้าบ้านเกาะแกด วิสาหกิจชุมชนทอผ้าพื้นเมือง บ้านเกาะแกด สถานที่ตั้ง 85 หมู่ที่ 8 ต�ำบลโพธิ์ไทร อ�ำเภอ โพธิไ์ ทร จังหวัดอุบลราชธานี เบอร์โทรติดต่อ 08-9283-2321 (นางอรสุชา วงค์ราษฏร์) • กลุ่มทอเสื่อบ้านพะไล ประธานกลุ่ม คือ นางบัวลี มีเลิศ สถานที่ตั้ง หมู่ 4 ต�ำบลโพธิ์ไทร อ�ำเภอโพธิ์ไทร โทร 09-8186-4500 • ช่างตีเหล็ก “การตีเหล็ก” เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน โดย นายสุพรรณ สาสีดา สถานที่ตั้ง เลขที่ 116 หมู่ 4 ต�ำบล โพธิ์ไทร อ�ำเภอโพธิ์ไทร เบอร์โทรติดต่อ 09-1767-5685 • กลุ่มสตรีทอผ้าพื้นเมืองบ้านค�ำมณี สถานที่ตั้ง เลขที่ 40 หมู่ 7 ต�ำบลโพธิ์ไทร อ�ำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ประธานกลุ่ม คือ นางหนูปิ่น อ่อนพันธ์ เบอร์โทรติดต่อ 08-6056-3644 • กลุ่มบ้านนาขาม สถานที่ตั้ง เลขที่ 14 หมู่ 1 ต�ำบลโพธิ์ไทร อ� ำ เภอโพธิ์ ไ ทร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ประธานกลุ ่ ม คื อ นางโสพัฒน์ สังขะวรรณ เบอร์โทรติดต่อ 08-9865-0069
ผ้าลายดอกผักแว่นกลุ่มทอผ้าบ้านนาขามและ กลุ่มทอผ้าบ้านเกาะแกด
กลุ่มทอเสื่อบ้านพะไล ขนมทองม้วนบ้านวังแซ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลโพธิ์ไทร หมู่ 3 ต�ำบลโพธิ์ไทร อ�ำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี โทร. 045429546 E-mail. info@phosai.go.th
ช่างตีเหล็ก
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
327
น�้ำตกห้วยหลวง
328
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
329
วัดรัชฎาธิษฐานราชวรวิหาร วัดรัชฎาธิษฐานหรือวัดเงิน เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดราชวรวิหาร ริมคลองบางพรมฝั่งใต้ ตรงข้ามฝั่งคลองกับวัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหารที่ตั้งอยู่ทางฝั่งหนือ ตั้งอยู่เลขที่ 692 แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
พระอุโบสถหลังใหม่
พระเทพวิมลโมลี ธนปญฺโญ
เจ้าอาวาสวัดรัชฎาธิษฐานราชวรวิหาร
330
เที่ยวไทยหลายวิถี 10 ถิ่นดี ณ อีสาน
เราแนะนำสถานที่ทองเที่ยวที่จะทำใหคุณไดพบประสบการณสุดพิเศษ จากหลากหลายสถานที่ ไดซึมซับวิถีชุมชนและวัฒนธรรมทองถิ่น พบความสุข จากการทองเที่ยวจนตกหลุมรักการเดินทาง มีโอกาสตองไปลองสัมผัส แลวคุณจะไดพบกับความสุขที่แทจริง
www
issuu
youtube