การประเมินต้นน้ำ

Page 1

การประเมินตนน ้ ้า (Upstream evaluation) : เครือ ่ งมือ การพัฒนาคุณภาพแผนงาน/โครงการ รศ.ดร.ประภาพรรณ

อุนอบ ่

คณะสั งคมศาสตรและมนุ ษยศาสตร ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ์

เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบต ั ก ิ ารเสริมศั กยภาพเครือขายพหุ ่ ภาคีโดยการถอดบทเรียน การทางานรายพืน ้ ที่ ครัง้ ที่ ๑ ระหวางวั ่ นที่ ๑๑-๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรม ซีบรีส โฮ เท็ล พัทยา จังหวัดชลบุ 1 รี


ประเด็นการพูดคุย วันนี้ • การประเมินตนน ้ ้า(upstream evaluation) คืออะไร ?? • ทาไมตองมี การประเมินตนน ้ ้ ้า?? • หากจะประเมินตนน าอยางไร ้ ้าจะตองท ้ ่ บาง?? ้ • ตัวอยางการประเมิ นตนน ่ ้ ้าโดยประยุกตใช ์ ้ มาตรวัดคุณภาพขอเสนอโครงการเชิ งรุก ้ 2


โครงการพัฒนา กอนด าเนิน ่ โครงการ

วงจร

ดาเนินการ

หลังดาเนิน โครงการ 3


ช่วงกอนด าเนินการ (Pre-implementation ่ stage)  เป็ นช่วงเวลาของการพัฒนาโครงการ (Project formulation) จนไดมาซึ ่งขอเสนอ ้ ้ โครงการ (Project proposal) ทีด ่ ม ี ค ี ุณภาพ พร้อมทีจ ่ ะดาเนินงาน ช่วงเวลานีเ้ รียกวา่ “ตน ้ น้า” (Upstream)  การบริหารจัดการเพือ ่ ให้เกิดขอเสนอโครงการ ้ เรียกวา่ “การจัดการตนน ้ ้า” (Upstream management)  การประเมินโครงการในช่วงนี้ เรียกวา่ “การ

4


กับการประเมิน ประเมินกอนเริ ม ่ ่ ดาเนินโครงการ(ตน ้ น้า)

กอนด าเนิน ่

วงจรโครงการพัฒนา

ดาเนินการ

โครงการ

ประเมินระหวาง ่ ดาเนินการ (กลาง น้า)

หลังดาเนิน โครงการ ประเมินหลังการ ดาเนินโครงการ

5


การประเมินตนน ้ ้า (upstream evaluation) คืออะไร ??

• การประเมินสภาพบริบทและการวางแผน โครงการวา่ เป็ นไปอยางเหมาะสมเพี ยงใด ่ โดยพิจารณาจากความตองการจ าเป็ นในการ ้ พัฒนาโครงการ (needs assessment) ความ ความ เหมาะสมของวัตถุประสงคของโครงการ ์ เป็ นไปไดของการด าเนินงาน(การออกแบบ ้ กิจกรรม โครงสรางองค กร) และผลของ ้ ์ โครงการ ความเป็ นไปไดจริงของ

โครงการ

6


ทาไมตองมี การประเมิน ้ ตนน ้ ้า??

ไดข ่ ะทอนสภาพบริ บททีเ่ กิดขึน ้ ในชุมชน ซึง่ ้ อมู ้ ลทีส ้ จะเป็ นพืน ้ ฐานสาคัญทีน ่ าไปสู่การวางแผน กาหนด แนวทางในการพัฒนาให้สอดคลองกั บสภาพปัญหาและ ้ สนองความตองการที แ ่ ทจริ ้ ้ งของชุมชน มีขอมู ้ ฐานกอนด าเนินโครงการ (baseline data) ้ ลพืน ่ ทาให้สามารถเปรียบเทียบการเปลีย ่ นแปลงทีเ่ กิดขึน ้ ได้ เมือ ่ สิ้ นสุดโครงการ (endline data)  เป็ นเครือ ่ งมือบริหารโครงการทีม ่ ป ี ระสิ ทธิภาพ ทา ให้สามารถกาหนดแผนงาน/โครงการทีส ่ อดคลองกั บ ้ มชน/หน่วยงาน ป้องกันการ ความตองการของชุ ้ 7 สูญเสี ยทรัพยากรในการดาเนินงาน


การประเมินตนน ้ ้าจึงมีความสาคัญและ จาเป็ น

• องคกรกองทุ นสามารถสนับสนุนโครงการทีม่ ปี ระโยชน ์ กรเอง ชุมชน และสั งคมโดยรวม และคุ้มคาทั ์ ่ ่ ง้ ตอองค (ความรับผิดชอบตอสั ่ งคม)

• องคกรผู รั บ ้ ้ บทุน สามารถจัดทาโครงการทีส่ อดคลองกั ์

สภาพปัญหาและความตองการของพื น ้ ทีแ ่ ละหรือ ้ กลุมเป บยุทธศาสตรขององค กรกองทุ น ่ ้ าหมาย/สอดคลองกั ้ ์ ์ (ความรับผิดชอบตอองค กรกองทุ น) ่ ์ 8 บ พืน ้ ที/่ กลุมเป ได รั บ การพั ฒ นาที ส ่ อดคล าหมาย องกั ้ ้ ่ ้


ทาไมตองมี การประเมินต้นน้า?? ้ จากการสั งเคราะหเอกสารโครงการและผลการประเมิ น ์ โครงการภายใตการสนั บสนุ นของสสส. (ระหวางปี พ.ศ.2546่ ้ 2550)

• มากกวาครึ ง่ มีปญ ั หาเรือ ่ งการออกแบบโครงการ (Project ่ design) ทัง้ ในแงของความชั ดเจนของวัตถุประสงค ์ หรือ ่ ความเหมาะสม, ความเขมข จกรรม ้ นของกิ ้ • มีปญ ั หาโครงสราง, การบริหารโครงสราง ความสามารถ ้ ้ ในการปฏิบต ั งิ านไดจริ ้ งของคณะทางาน (Project management, Project personnel) • หลายโครงการมีปญ ั หาการบรรลุตามวัตถุประสงคและ ์ ่ ดาเนินการในปี แรก 9 เป้าหมายของโครงการตัง้ แตเริ ่ ม


• การทีโ่ ครงการทีผ ่ านมามี ลก ั ษณะ ่ ดังกลาวข างต น ส่วนหนึ่งน่าจะสื บ ่ ้ ้ เนื่องมาจากกระบวนการจัดการตนน ้ ้าที่ ไมดี ่ หรือไมเป็ ่ นระบบ (กระบวนการพัฒนาโครงการ)ทัง้ ในส่วน หน่วยงานกองทุน และองคกรผู ์ ้รับทุน จึงส่งผลตอคุ ่ ณภาพของโครงการ 10


หากจะประเมินตนน า ้ ้าจะตองท ้ อยางไรบ ่ ้าง??

องคกรผู รั ่ พัฒนาโครงการ) ้ บทุน (เพือ ์ • การประเมินความตองการจ าเป็ น (needs ้ assessment)

• พัฒนากรอบแนวคิดของโครงการ (conceptual model)

• จัดทาตารางเหตุผลตอเนื ่ ่อง (logical framework) องคกรกองทุ น (เพือ ่ พิจารณาสนับสนุ น ์ โครงการ) • กระบวนการพิจารณาโครงการ /กลัน ่ กรอง

11


องคกรผู รั ่ พัฒนาโค ้ บทุน (เพือ ์ ประเมินความตองการจ าเป็ น (need ้ assessment) เพือ ่ คนหาประเด็ นปัญหา/พัฒนา ้ และแนวทางแกไข/การด าเนินการ (จัดทาใหม่ ้ หรือจากการทบทวนเอกสารทีเ่ กีย ่ วของ) ้ พัฒนากรอบแนวคิดของโครงการ (conceptual model) ทีแ ่ สดงให้เห็ นถึงแนวทางใน การจัดทาโครงการให้บรรลุผลลัพธตามที ก ่ าหนด ์ ไวเชิ ที ้ งทฤษฎี (ตองใช ้ ้ความรูและประสบการณ ้ ์ ่ เกีย ่ วของที ผ ่ านมา, ประยุกตใช ้ ่ ์ ้เทคนิค Peer Review, แนวทางการพัฒนาโครงการเชิงรุก) 12


กรอบแนวคิดของ โครงการ

เป้าประสงค ์

วัตถุประสงค ์

ผลลัพธ/เป ์ ้ าหมายของ โครงการ

ตัวชีว้ ด ั ความสาเร็จ ของโครงการ

กิจกรรม 13


เป้าประสงคของโครงการ (Goals) ์ สิ่ งทีโ่ ครงการคาดหวังวาจะเกิ ดขึน ้ หรือมี ่ การเปลีย ่ นแปลงในอนาคต เป็ นการระบุ สภาพการณของสิ ่ งทีต ่ องการให ์ ้ ้เกิดหรือ เปลีย ่ นแปลงโดยกวางๆหรื อโดยทัว่ ไป ้ ตัวอยางเป สสส. ่ ้ าประสงคของ ์

เป้าประสงค ์ 3: พัฒนากระบวนการ ตนแบบ ้ และกลไกขยายผลสาหรับการพัฒนาสุขภาวะ องครวมในองค การ พืน ้ ทีแ ่ ละกลุมเยาวชนเพื อ ่ ่ ์ ์ มุงพั ่ ใี นระยะยาว ่ ฒนาสั งคมสุขภาวะทีด 14


วัตถุประสงคของโครงการ (Objectives) ์

ผลลัพธหรื ่ นแปลงทีค ่ าดวาจะเกิ ดขึน ้ กับ ์ อการเปลีย ่ กลุมเป ่ สิ้ นสุดโครงการ วัตถุประสงคจึ ่ ้ าหมายเมือ ์ งมี ความเฉพาะเจาะจงกับโครงการมากกวาเป ่ ้ าประสงค ์ (วัตถุประสงคจึ ์ งเป็ นผลลัพธหรื ์ อแนวทางการ ่ ะทาใน ดาเนินงานของโครงการมิใช่กิจกรรมทีจ โครงการ)

สสส.(สานัก ตัวอยางวั ์ ่ ตถุประสงคของ 3) 1. สนับสนุ นการสรางเสริ มสุขภาวะแบบบูรณาการ ้ ในทุกระดับอยางยั ง่ ยืน โดยมีพน ื้ ทีเ่ ป็ นตัวตัง้ ่ ประชาชนและทองถิ น ่ มีบทบาทสาคัญในการ ้ ดาเนินการ 2. สนับสนุ นกลไกภาคีความรวมมือของภาครัฐ

15


เป้าหมายของโครงการ (Target)  การกาหนดถึงจานวน, ปริมาณหรือคุณภาพของ สิ่ งทีค ่ าดวาจะเกิ ดขึน ้ หรือผลลัพธที ่ าดวาจะท าให้ ่ ์ ค ่ เกิดขึน ้ ในระยะเวลาทีก ่ าหนด  การระบุเป้าหมายของโครงการทีช ่ ด ั เจนจะช่วย ให้องคกรผู รั ั ความสาเร็จ ์ ้ บทุนสามารถระบุตวั ชีว้ ด ของโครงการไดพร น รวมทัง้ กาหนดกิจกรรม ้ อมๆกั ้ ทีจ ่ ะดาเนินการ บางโครงการจะเขียนไวในลั กษณะของผลลัพธ ์ หรือ ้ ผลทีค ่ าดวาจะได รั ่ ้ บ แตไม ่ ใช ่ ่ กลุมเป ่ ้ าหมายใน โครงการ 16


ตัวอยางเป ั ของ สสส.(สานัก3) ่ ้ าหมายและตัวชีว้ ด

1. เกิดการพัฒนาศักยภาพแกนนาบุคลากรแกนนาทัง้ ใน ภาครัฐและภาคประชาชน ทีจ ่ ะเป็ นผูน ่ นแปลงหรือ ้ าการเปลีย น ่ ทีม ่ ค ี ุณภาพสูงอยางน เป็ นนักจัดการความรูท ้ อย 2,000 ่ ้ ้ องถิ คนและมีอาสาสมัครเพียงพอในการขับเคลือ ่ นงานสรางเสริ มสุข ้ ภาวะในพืน ้ ทีแ ่ ละชุมชน ครอบคลุมในพืน ้ ทีไ่ มน ่ ้ อยกวา่ 20,000 คนทัว่ ประเทศ 2. เกิดพืน ้ ทีร่ ป ู ธรรมเป็ นแหลงเรี ้ ทีก ่ รณีศึกษาถึง ่ ยนรูหรื ้ อพืน วิธก ี ารสรางเสริ มสุขภาวะองครวมระดั บยอย เช่น ในระดับ ้ ์ ่ โครงการ ระดับหมูบ อชุมชน โดยเน้นให้เกิดความ ่ านหรื ้ หลากหลายในการดาเนินการอยางน ก ่ ้ อย 2,000 แหงในทุ ่ ภูมภ ิ าคทัว่ ประเทศและเกิดพืน ้ ทีร่ ะดับชุมชนหรือหมูบ าง ่ านอย ้ ่ น้อย 10,000 แหงที ยนรู้ และมีศักยภาพในการ ่ ไ่ ดเข ้ าร ้ วมเรี ่ 17 ขยายผลในอนาคต


จัดทาตารางเหตุผล เป้าประสงค ของโครงการ (goals) ตอเนื ่ อ ง ์ ่

วัตถุประสงค ์ (objectives) ผลลัพธและตั วชีว้ ด ั (ทัง้ process ์ indicators, results indicators) กิจกรรม แหลงข ่ ตรวจสอบตัวชีว้ ด ั ่ อมู ้ ลเพือ ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขอมู ้ ล บุคคลทีร่ บ ั ผิดชอบ ซึง่ ในแตละหั วขอต ความสอดคลองเชื อ ่ มโยง ่ ้ องมี ้ ้ เป็ นเหตุเป็ นผลกันภายในโครงการ และตอง ้ สอดคลองเชื อ ่ มโยงกับเป้าหมาย ยุทธศาสตร ์ ้ แนวทางการดาเนินงานขององคกรหรื อองคกร ์ ์

18


กระบวนการพิจารณาโครงการ/การ กลัน ่ กรองทางวิชาการ (program/project review) กรกองทุ น (เช่น สสส. • เกณฑขององค ์ ์ สกว. หรือ วช. เป็ นตน) ้

• เกณฑตามบรรทั ดฐานโครงการทัว่ ไป ์ (วาลั ่ ข ี องโครงการควรจะ ่ กษณะทีด ประกอบดวยโครงสร างอะไรบ าง) ้ ้ ้ 19


คุณลักษณะสาคัญของโครงการ ทีม ่ ค ี ุณภาพ • อยางไรก็ ตามเกณฑการพิ จารณาคุณภาพของ ่ ์ โครงการทีม ่ อ ี ยูยั ่ งไมเป็ ่ นระบบ • คณะผูด ั เชิง ้ าเนินงานโครงการการวิจย ปฏิบต ั ก ิ ารเพือ ่ สนับสนุ นทางวิชาการฯ ได้ พัฒนามาตรฐานโครงการเชิงรุก เรียกวา่ Star model • และจัดทาเป็ นมาตรวัดคุณภาพขอเสนอ ้ โครงการเชิงรุก 20


คุณลักษณะสาคัญของโครงการเชิงรุก “Star model” ประสิ ทธิ ผล ความเกีย ่ วของของ ้ ชุมชน

ขอเสน ้ อ โครงกา รเชิงรุก

ความ เขมข ้ น ้

ความสอดคลอง ้ เชือ ่ มโยง

การยึดมัน ่ ในสิ่ งที่ จะตองท า ้

21


มิตท ิ ี่ 1 ความเข้มข้นของโค ความเป็ นไปไดสู ้ งสุดทีโ่ ครงการนั้นจะ บรรลุตามผลลัพธที ่ ง้ั ใจไว้ ์ ต • ระยะเวลา/ความยาวของโครงการที่ สั มพันธกั ์ บเป้าหมายของโครงการ • ความหลากหลายและเขมข ทธ ์ ้ นของกลยุ ้ ทีใ่ ช้ในโครงการ • การมีฐานคิดทางทฤษฎีทส ี่ มเหตุสมผล ของคณะ • ความรูและประสบการณ ์ ้

22


มิตท ิ ี่ 2 การยึดมัน ่ ในสิ่ งทีต ่ องก ้ ระดับของความสามารถทีโ่ ครงการจะเดินไปตาม แผนทีก ่ าหนดไว้ ความเป็ นทีต ่ องการของโครงการ ้

 ความชัดเจนของเอกสารโครงการ างปริ มาณกิจกรรมและทรัพยากร  ความสอดคลองระหว ่ ้ ทีใ่ ช้ในโครงการ  การมีโครงสรางการบริ หารทีด ่ รี องรับ ้  บุคลากรในโครงการทัง้ ในดานปริ มาณและคุณภาพ ้  ความชัดเจนของระบบติดตามประเมินผลภายใน

23


มิตท ิ ี่ 3 ความสอดคลองของ ้ โครงการสามารถไปเชือ ่ มตอกั ่ บระบบยอย ่ อืน ่ ๆในสั งคม • ความสอดคลองของโครงการกั บทิศทางของ ้ นและของประเทศ องคกรกองทุ ์ • ความสอดคลองกั บงานประจาของหน่วยงาน ้ ตางๆที เ่ กีย ่ วของในพื น ้ ที่ ่ ้ • ความสอดคลองกั บนโยบายสาธารณะของ ้ น ่ ทองถิ ้

24


มิตท ิ ี่ 4 ความเกีย ่ วข้องของ การให้ชุมชนเขามาร วมรั บผิดชอบโครงการ ้ ่ เป็ นการเพิม ่ โอกาสให้เกิดการเปลีย ่ นแปลงที่ ยัง่ ยืน  ระดับของการมีส่วนรวม ่  ความหลากหลายขององคประกอบของ ์ ชุมชนทีเ่ กีย ่ วของในโครงการ ้  สั มพันธภาพระหวางคณะผู รั ่ ้ บผิดชอบ โครงการกับชุมชน

25


มิตท ิ ี่ 5 ประสิ ทธิผลของโครง ผลทีค ่ วรจะเกิดขึน ้ เมือ ่ โครงการได้ ดาเนินการอยางเต็ มที่ ่ • การประเมินไดของประสิ ทธิผล ้ • ความเป็ นไปไดในการบรรลุ ผลของ ้ โครงการ • การกาหนดประสิ ทธิผลแบบบันได ความกาวหน ้ ้า

(ผลขัน ้ ตน ผลขัน ้ กลาง และผลขัน ้ สุดทาย)

26


โครงสรางของมาตรวั ดคุณภาพขอเสนอ ้ ้ โครงการเชิงรุก ประสิ ทธิ ผล ขอเส ้ นอ โครงก ารเชิง รุก

ประเด็น ยอย ่ ประเด็น ยอย ่ ประเด็ น

จุด ตรวจสอบ จุด ตรวจสอบ

ยอย ่

27


ตัวอยางประเด็ นยอยและจุ ดตรวจสอบของมิตท ิ ี่ ่ ่ 5: ประสิ ทธิผลของโครงการ

ประเด็นยอย ่

ความหมาย

จุดตรวจสอบ

5.1 การประเมินได้ จริงของประสิ ทธิผล

ความเป็ นไปไดที ่ ะ ้ จ วัดผลการดาเนินงาน ของโครงการไมว่ าจะ ่ ดวยวิ ธก ี ารเชิงปริมาณ ้ หรือเชิงคุณภาพก็ตาม

5.1.1 วัตถุประสงค ์ เป้าหมายของโครงการ มีความชัดเจน สามารถวัดผลไดจริ ้ ง 5.1.2 ผลลัพธและ ์ ตัวชีว้ ด ั ในโครงการ สามารถวัดผลไดจริ ้ ง ไมว่ าจะใช ี ารเชิง ่ ้วิธก ปริมาณหรือวิธก ี ารเชิง คุณภาพ

5.2 ............

..................

.............................. 28


มิตท ิ ี่ 1 ความเขมข ้ นของ ้ โครงการ 1. ระยะเวลาดาเนินงานของโครงการพอเพียงทีจ ่ ะบรรลุวต ั ถุประสงคและ ์ เป้าหมายของโครงการได้ 2. ระยะเวลาการดาเนินงานของกิจกรรมตางๆ มีความเหมาะสมตอการ ่ ่ เกิดการเปลีย ่ นแปลง 3. ความถีใ่ นการดาเนินงานบางกิจกรรมเพียงพอทีจ ่ ะทาให้เกิดการ เปลีย ่ นแปลง 4. โครงการมีการใช้กลยุทธ/์ แนวทางทีห ่ ลากหลาย 5. กลยุทธ/์ แนวทางทีใ่ ช้ สามารถทาใหเกิ ่ นแปลงไดจริ ้ ดการเปลีย ้ ง 6. โครงการมุงสร างกระบวนการเรี ยนรูให ่ ้ ้ ้กับชุมชน 7. โครงการมุงสร าง/ใช บเคลือ ่ นขบวนการทางสั งคม ่ ้ ้ ความรูในการขั ้ 8. โครงการไดแสดงให ้ ้เห็นวามี ่ การวิเคราะหปั ์ ญหาและสาเหตุของปัญหา อยางชั ดเจน ่ 9. โครงการไดแสดงให เ่ สนอนั้น สอดคลอง ้ ้เห็นวา่ กลยุทธ/แนวทางที ์ ้ กับสาเหตุของปัญหา 10. โครงการไดแสดงให 29 ้ ้เห็นวา่ กลยุทธ/์ แนวทางทีเ่ สนอนั้น มพันธกั สอดคลองสั ์ น ้


มิตท ิ ี่ 2 การยึดมัน ่ ในสิ่ งที่ ตองการจะท า ้ 13.โครงการมีการเตรียมการโดยศึ กษาความตองการของ ้ ชุมชน 14. มีขอมู นทีต ่ องการของชุ มชน ้ ลสนับสนุ นวาโครงการเป็ ่ ้ 15. มีตวั แทนชุมชน (ปัจเจก/ กลุม/ รวมในโครงการ ่ องคกร) ่ ์ อยางเหมาะสม ่ 16. วัตถุประสงคของโครงการมี ความชัดเจน จาเพาะเจาะจง ์ วาโครงการต องการบรรลุ อะไร ่ ้ 17. มีการให้ความหมายของคาบางคาให้เกิดความเขาใจ ้ ตรงกัน 18. เอกสารโครงการใช้ภาษาทีเ่ ขาใจง าย ้ ่ 19. ภาระงานและปริมาณงาน (Workload) ของบุคลากรมี ความเหมาะสม 30 20. งบประมาณทีใ่ ช้สอดคลองกั บ ภาระงานและกิ จ กรรมใน ้


มิตท ิ ี่ 2 การยึดมัน ่ ในสิ่ งที่ ตองการจะท า ้ 22. มีการแบงบทบาทหน ่ องบุคลากรฝ่ายตางๆ อยาง ่ ้ าทีข ่ ่ สอดคลองกั บกลยุทธ/์ แนวทางการดาเนินงานของโครงการ ้ 23. มีโครงสรางที เ่ ปิ ดโอกาสให้ทีมงานไดพั ้ ้ ฒนาศักยภาพหรือ ไดแลกเปลี ย ่ นเรียนรูจากการท างานอยางสม า่ เสมอ ้ ้ ่ 24. จานวนบุคลากรทีร่ บ ั ผิดชอบกิจกรรมตางๆ มีความ ่ เหมาะสม 25. ทีมงานมีประสบการณท ์ างานพัฒนาพอเพียงจะทา โครงการได้ 26. ทีมงานไมมี ่ มากจนจะมี ่ บทบาทซา้ ซ้อนกับโครงการอืน ผลเสี ยตอโครงการ ่ 27. โครงการไดแสดงรายละเอี ยดของการติดตามและ ้ ประเมินผลภายในอยางชั ดเจน ่ 28. โครงการกาหนดตัวชีว้ ด ั ความสาเร็จไวอย ดเจนตัง้ 31แต่ ้ างชั ่ เริม ่


มิตท ิ ี่ 3 ความสอดคลองของ ้ โครงการ 31. วัตถุประสงคของโครงการมี ความสอดคลองกั บวัตถุประสงค ์ ์ ้ ของโครงการ LA 21 32. แนวทางการดาเนินงานของโครงการสอดคลองกั บโครงการ ้ พัฒนาของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่ งแวดลอม ้ 33. แนวคิดและแนวทางดาเนินงานของโครงการ สอดคลองกั บ ้ แนวทางสากลของการพัฒนาอยางยั ง่ ยืน ่ 34. มีการอธิบายบริบท ทีร่ ะบุถงึ ความตองการโครงการของ ้ หน่วยงานในพืน ้ ทีอ ่ ยางชั ดเจน ่ 35. หน่วยงานตางๆ ในพืน ้ ทีเ่ ขามามี ส่วนรวมในโครงการ ่ ้ ่ 36. ความเป็ นไปไดที ่ ะมีหน่วยงานมารองรับ เมือ ่ สิ้ นสุด ้ จ โครงการ 37. การออกแบบโครงการให้ความสาคัญกับการขับเคลือ ่ น 32 นโยบายสาธารณะของทองถิ น ่ ้


มิตท ิ ี่ 4 ความเกีย ่ วข้อง ของชุมชน 39. รายละเอียดการดาเนินงานแสดงให้เห็นระดับการมี ส่วนรวมของชุ มชนในโครงการนี้สูง ่ 40. โครงการไดออกแบบการให ส่วน ้ ้ชุมชนเขามามี ้ รวมกั บโครงการตามโอกาสตางๆ อยางเหมาะสม ่ ่ ่ 41. องคประกอบของชุ มชนทีเ่ ขามาเกี ย ่ วของในโครงการ ์ ้ ้ มีหลายภาคส่วน 42. การออกแบบกิจกรรมตางในโครงการนี ้ ไมปิ ่ ่ ด โอกาสทีภ ่ าคส่วนตางๆ จะเขามาร วมในโครงการ ่ ้ ่ 43. ทีมงานเคยมีประสบการณท ้ ทีใ่ นโครงการ ์ างานกับพืน 33 เป็ นอยางดี ่


มิตท ิ ี่ 5 ประสิ ทธิผลของ โครงการ 44. วัตถุประสงค ์ เป้าหมายของโครงการมีความชัดเจน สามารถวัดผลไดจริ ้ ง วชีว้ ด ั ในโครงการ สามารถวัดผลได้ 45. ผลลัพธและตั ์ จริงไมว ี ารเชิงปริมาณหรือวิธก ี ารเชิง ่ าจะใช ่ ้วิธก คุณภาพ 46. เป้าหมายของโครงการสามารถบรรลุไดจริ ้ งตาม แผนงานโครงการนี้ 47. การระบุเป้าหมายของโครงการ ใช้ภาษาทีเ่ หมาะสม งายต อการเข าใจ ่ ่ ้ 34 48. การกาหนดเป้าหมายหรือผลลัพธของโครงการ มี ์


โครงสรางของมาตรวั ดคุณภาพขอเสนอ ้ ้ โครงการเชิงรุก มิต ิ

จานวนจุด ตรวจสอบ

ความเขมข ้ นของโครงการ ้

จานวน ประเด็น ยอย ่ 4

การยึดมัน ่ ในสิ่ งทีจ ่ ะตองท า ้

6

18

ความสอดคลองของ ้ โครงการ ความเกีย ่ วของของชุ มชน ้

3

8

3

5

ประสิ ทธิผลของโครงการ

3

5

12

35


1.

2.

3.

เกณฑการให ์ ้คะแนนมาตรวัดคุณภาพ ขอเสนอฯ ้

ประเมินแตละจุ ดตรวจสอบทัง้ 48 จุด โดยให้คะแนนแต่ ่ ละจุดตรวจสอบ ตัง้ แต่ 0-5 คะแนน โดยเรียงลาดับจาก คุณภาพน้อยทีส ่ ุด ไปจนถึงคุณภาพมากทีส ่ ุดตามลาดับ จุดตรวจสอบใดไมสามารถประเมิ นได้ เพราะเอกสารไม่ ่ ครบถวน ให้เลือกประเมินในหัวขอ น ้ ่ ้ “ไมสามารถประเมิ ได”้ เมือ ่ ประเมินไดครบทุ กจุดตรวจสอบ รวมคะแนนของจุด ้ ตรวจสอบในแตละมิ ตเิ ขาด น และทาการตัดสิ น ่ ้ วยกั ้ คุณภาพของแตละมิ ตอ ิ อกเป็ น 5 ระดับคือ ่ 5 หมายถึง ดีมาก 4 หมายถึง ดี 36 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง


4. นาคะแนนรวมของทุกมิตม ิ ารวมกันเป็ นดัชนีคุณภาพ ขอเสนอโครงการ (คะแนนเต็ม 240 คะแนน) และทา ้ การตัดสิ นคุณภาพของขอเสนอโครงการเป็ น 5 ระดับคือ ้

5 หมายถึง เห็ นสมควรอนุ มต ั ิ 4 หมายถึง เห็ นสมควรอนุ มต ั แ ิ ตมี ่ การปรับปรุง เล็กน้อย 3 หมายถึง เห็ นสมควรอนุ มต ั แ ิ ตมี ่ การปรับปรุง หลายจุด 2 หมายถึง เห็ นสมควรให้ปรับปรุงทัง้ โครงการ และนาเสนอใหม่ 1 หมายถึง ไมสมควรให ่ ้ดาเนินงานโครงการนี้ 37


ศึ กษารายละเอียดไดใน ้ มาตรวัดคุณภาพขอเสนอโครงการเชิ งรุก ้ (ฉบับราง) ่ (The Plan Quality Index Scale: Beta version)

38


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.