ISSN:1686-1612
Research
ปที่ 10 ฉบับที่ 24 กันยายน 2556
เร�องเดนประจำฉบับ
โครงการจัดทำฐานขอมูลเทคนิคใน การฟนฟูดินและน้ำใตดินที่ปนเปอน สารอันตราย 01 l แบบจำลองคาดการณ ระดับเสียงจากรถไฟ 12 l
ติดตามเฝาระวัง
โครงการวางระบบโครงขาย ตรวจสอบสารอินทรียระเหยในไอสารในดิน 17
กาวหนาพัฒนา
บานดิน บานลดการปลอย กาซคารบอนไดออกไซด 18
แนะนำ ฐานขอมูล
อรรถประโยชนงานวิจัย ดานสิ่งแวดลอม
2013
September
No.24
Content
GREEN Research Journal
www
deqp.go.th/website/20/
Editor’s Talk [บรรณาธิการ ชวนคุย]
Green Research กับการปรับโฉมใหม่ ก่อนอื่นขอสวัสดีผู้อ่านอย่างเป็นทางการกับการปรับโฉมอีกครั้งของ Green Research ค่ะ
ถ้าพูดถึงเรื่องธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทุกวันนี้ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายต่างให้ความสนใจเพราะเป็น สิง่ ทีใ่ กล้ตวั มากๆ มองเห็นได้เด่นชัด ไม่วา่ จะเป็นปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของทัว่ โลก ปัญหาหมอก ควันข้ามพรมแดน ที่ส่งผลให้พลเมืองโลกในทวีปต่างๆ ตื่นตัวมาทะนุถนอมและให้ความส�ำคัญต่อธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมบนโลกทรงกลมใบนีก้ นั มากขึน้ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยของเราทีส่ ถานการณ์ดา้ นสิง่ แวดล้อมก็มผี ล ให้เกิดผลกระทบได้อย่างชัดเจนในรอบหลายๆ ปีที่ผ่านมา ผูท้ มี่ หี น้าทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งดังกล่าวโดยเฉพาะนักวิจยั สิง่ แวดล้อมแบบเรานัน้ ต้องกลับมาให้ความ สนใจและติดตามอย่างใกล้ชิดกันมากขึ้น และหนึ่งในองค์ประกอบของการติดตามสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่ ต้องพูดถึงอีกเรือ่ งนัน้ คือ “ฐานข้อมูล” คนทัว่ ไปหลายๆ คนอาจมีความคิดว่าเป็นเรือ่ งทีไ่ กลตัวพอสมควร และ อาจปนสงสัยด้วยว่าคืออะไร แต่หากเป็นกลุม่ พวกเราทีเ่ ป็นนักวิจยั สิง่ แวดล้อมแล้ว “ฐานข้อมูล” มีความส�ำคัญ อย่างมากในการท�ำงานหรืองานวิจัยทั้งหมด เพราะนอกจากจะเป็นแหล่งอ้างอิงข้อมูลหรือแหล่งศึกษาค้นคว้า ก็ตามล้วนมีความส�ำคัญต่อผลลัพธ์ของงานวิจัยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ Green Research ฉบับนี้ จึงอยากน�ำทุกท่านมาท�ำความรู้จักกับฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อมในหลายๆ รูปแบบ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะน�ำข้อมูลดังกล่าวมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพกับสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของ เราในปัจจุบนั ไม่วา่ จะเป็นฐานข้อมูลเทคนิคในการฟืน้ ฟูดนิ และน�้ำใต้ดนิ ทีป่ นเปือ้ นสารอันตราย ซอฟต์แวร์ค�ำนวณ ปริมาณก๊าซเรือนกระจก (3R – Greenhouse Gas Calculation) ข้อมูลดิจิตอลและการน�ำไปใช้ในงานวิจัย และแบบจ�ำลองคาดการณ์ระดับเสียงจากรถไฟ ทัง้ หมดนีเ้ รารวบรวมมาให้แล้วในฉบับนี้ รวมถึงผูอ้ า่ นจะได้พบกับ คอลัมน์ที่หลากหลายเช่นเดิม และพบกันใหม่ฉบับหน้ากับประเด็นที่น่าสนใจอีกครั้งค่ะ
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ • โครงการจัดท�ำฐานข้อมูลเทคนิคในการฟื้นฟูดินและน�้ำใต้ดิน ที่ปนเปื้อนสารอันตราย • แนะน�ำ “ซอฟต์แวร์ค�ำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก” • ข้อมูลดิจิตอลและการน�ำไปใช้ในงานวิจัย • แบบจ�ำลองคาดการณ์ระดับเสียงจากรถไฟ
1 4 9 12
ติดตามเฝ้าระวัง • โครงการวางระบบโครงข่ายตรวจสอบสารอินทรีย์ระเหยในไอสารในดิน (soilgas monitoring system) โดยขุดเจาะชั้นดินโดยเครื่องขุดเจาะ แบบต่อเนื่อง (Geoprobe) และติดตั้งระบบ และทดสอบประสิทธิภาพ ในการบ�ำบัดสารอินทรีย์ระเหยในดิน โดยระบบ Soil Vapor Extraction (SVE) เคลื่อนที่
17
ก้าวหน้าพัฒนา
คณะผูจ้ ดั ท�ำ ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม
กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เทคโนธานี ต�ำบลคลองห้า อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 02-577-4182-9 โทรสาร 0-2577-1138 ที่ปรึกษา จตุพร บุรุษพัฒน์, รัชนี เอมะรุจิ, สากล ฐินะกุล บรรณาธิการบริหาร สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ บรรณาธิการ ณัฐพล ติยชิรวงศ์ กองบรรณาธิการ มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย, โสฬส ขันธ์เครือ, นิตยา นักระนาด มิลน์, ศิรินภา ศรีทองทิม, หทัยรัตน์ การีเวทย์, รุจยา บุณยทุมานนท์, ปัญจา ใยถาวร, จินดารัตน์ เรืองโชติวทิ ย์, อาทิตยา พามี
• บ้านดิน บ้านลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการก่อสร้างบ้าน ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สู่วิถีชีวิตเศรษฐกิจสีเขียว • สินค้าที่เป็น Eco label ตอบโจทย์การค้ายุคใหม่?
18 22
พึ่งพาธรรมชาติ • การพัฒนาศักยภาพบุคลากรของอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) • ทิศทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหมอกควัน และการเผาในที่โล่ง ปี 2555-2559
25 28
ERTC Management Update • รมว.ทส. ตรวจเยี่ยมพร้อมมอบนโยบายแก่ผู้บริหารกรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม
34
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ โครงการจัดทำ�ฐานข้อมูลเทคนิคในการฟื้นฟูดินและน้ำ�ใต้ดิน ที่ปนเปื้อนสารอันตราย แฟรดาซ์ มาเหล็ม* และพีรพงษ์ สุนทรเดชะ*
โครงการนีส้ บื เนือ่ งมาจากบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการแก้ ปัญหาวิกฤติดา้ นสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม ระหว่างกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และสมาคมนักวิชาชีพไทยในอเมริกาและแคนาดา (ลงนามวันที่ 13 กรกฎาคม 2553 ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล) และมีรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็น ประธานคณะกรรมการบริหารโครงการภายใต้บนั ทึกข้อตกลงความร่วม มือ (Steering Committee) ส่วนหนึง่ ในมติของคณะกรรมการได้กำ� หนด ให้มกี ารพัฒนากรอบนโยบายการจัดการพืน้ ทีป่ นเปือ้ นน�้ำใต้ดนิ และดิน ส�ำหรับประเทศไทย เพือ่ ทุกภาคส่วนจะได้มแี นวปฏิบตั ทิ เี่ หมาะสมและ ไปในทิศทางเดียวกัน และได้มอบหมายให้คณะท�ำงานย่อยที่ 3 ซึ่ง รับผิดชอบด้านระบบติดตามตรวจสอบ มลพิษน�้ำใต้ดนิ และเทคนิค และเทคโนโลยีการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อน (Groundwater Monitoring System, Site RemediationTechniques and Technologies) ด�ำเนินการ จัดท�ำแนวทางหรือเกณฑ์สำ� หรับประเทศไทย ในการด�ำเนินงานด้าน การติดตั้งระบบติดตามตรวจสอบคุณภาพน�้ำใต้ดิน (Groundwater Monitoring System) การตรวจสอบพื้ น ที่ ป นเปื ้ อ น (Site Characterization/Site Investigation) เกณฑ์การประเมินความเสีย่ ง ต่ อ สุ ข ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มในพื้ น ที่ ป นเปื ้ อ น (Risk Assessment) การศึกษาความเหมาะสมในการเลือกเทคนิคการบ�ำบัดฟืน้ ฟูดนิ และ น�ำ้ ใต้ดนิ (Feasibility Study) และการก�ำหนดเกณฑ์คณ ุ ภาพดินและ น�ำ้ ใต้ดนิ ทีย่ อมรับส�ำหรับการบ�ำบัดฟืน้ ฟู และใช้พนื้ ทีม่ าบตาพุดเป็น กรณีศึกษาในการทดสอบหลักเกณฑ์ดังกล่าว กรมส่งเสริมคุณภาพ
สิง่ แวดล้อม ได้รบั มอบหมายให้เป็นประธานคณะท�ำงานย่อยในขณะ นัน้ และมีหน่วยงานในคณะท�ำงาน ประกอบด้วย กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรน�ำ้ บาดาล กรมทรัพยากรธรณี กรมโรงงานอุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตัวแทนจากสถาบัอดุ มศึกษา ตั ว แทนจากภาคอุ ต สาหกรรม และตั ว แทนจากท้ อ งถิ่น เป็นต้น แต่เนื่องจากติดปัญหาทางด้านงบประมาณภายใต้บันทึกข้อตกลง ความร่วมมือดังกล่าว ทั้งนี้กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมเห็นว่า ประเทศไทยขาดแนวทางทีช่ ดั เจนและเหมาะสม ในการจัดการปัญหา การปนเปือ้ นสารอันตรายในสิง่ แวดล้อม ซึง่ ส่งผลให้การจัดการปัญหา
รูปที่ 1 เว็บไซต์ฐานข้อมูล http://www.ttigerr.org
*นักวิชาการสิง่ แวดล้อมช�ำนาญการ ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม No.24 September 2013 Green Research 1
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ การปนเปือ้ นไม่สามารถด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และปัญหาการปนเปือ้ นจะถูกค้นพบ และถูกให้ความส�ำคัญก็ตอ่ เมือ่ มีผลกระทบชัดเจนต่อสุขภาพของประชาชน และมักจะเกิดความ สับสนในการแก้ปญ ั หา กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม จึงได้จดั ท�ำฐานข้อมูลเทคนิคในการ ฟืน้ ฟูดนิ และน�ำ้ ใต้ดนิ และมีขนั้ ตอนการด�ำเนินงานทีส่ ามารถปฏิบตั ติ ามได้จริง เพือ่ ให้บรรลุเป้า หมายการจัดการ และการบ�ำบัดฟืน้ ฟูพนื้ ทีป่ นเปือ้ น และเพือ่ จะได้พฒ ั นาฐานข้อมูลดังกล่าวไป สู่กรอบนโยบายการจัดการพื้นที่ปนเปื้อนน�้ำใต้ดินและดินส�ำหรับประเทศไทย โครงการนี้ได้ ด�ำเนินงานร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรในฐานะทีป่ รึกษา กรอบแนวทางการจัดท�ำฐานข้อมูลเทคนิคครั้งนี้ได้ประยุกต์มาจากกรอบแนวทาง การจัดการพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตรายของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีกฎหมายเฉพาะ ส�ำหรับการจัดการพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตรายอันประกอบด้วยกฎหมาย Comprehensive Environmental Response, Compensation, and Liability Act (CERCLA) ส�ำหรับจัดการพืน้ ที่ ปนเปื้อนที่ถูกทิ้งร้าง หรือพื้นที่ที่ผู้มีส่วนรับผิดชอบต่อการปนเปื้อนเลิกกิจการไปแล้ว และ Corrective Action ของ Subtitle C ภายใต้กฎหมาย Resource Conservation and Recovery Act (RCRA) ส� ำ หรั บ จั ด การพื้ น ที่ ป นเปื ้ อ นที่ ผู ้ ที่ มี ส ่ ว นรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การปนเปื ้ อ นยั ง ด�ำเนินกิจการอยู่ การจัดท�ำระบบฐานข้อมูลเทคนิคในการฟื้นฟูดินและน�้ำใต้ดินที่ปนเปื้อนสาร อันตรายนี้ เป็นฐานข้อมูลที่มีเป้าหมายให้สามารถใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง ให้ข้อมูลที่ ครบถ้วนถูกต้องตามหลักวิชาการสากล และเหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องใน ระดับทีต่ า่ งกันไป ระบบฐานข้อมูลเทคนิคจะครอบคลุม 5 ระบบฐานข้อมูลย่อย (Module) โดย ประยุกต์มาจากฐานข้อมูลของนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบบฐาน ข้อมูลย่อยทัง้ 5 ประกอบด้วย
Module I: ภาพรวมแนวทางและเครื่องมือการบริหารจัดการดินและน�้ำใต้ดิน
ที่ปนเปื้อนสารอันตราย ซึ่งฐานข้อมูลนี้รวบรวมภาพรวมกรอบแนวทางการจัดการพื้นที่ ปนเปือ้ นสารอันตรายตามหลักวิชาการสากล นอกจากนีย้ งั รวบรวมกรอบทางกฎหมายแนวทาง และเครือ่ งมือการบริหารจัดการพืน้ ทีป่ นเปือ้ นสารอันตรายของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ พัฒนา มาจากกรอบแนวทางการจัดการพืน้ ทีป่ นเปือ้ นสารอันตรายตามหลักวิชาการสากล ฐานข้อมูลนี้ รวบรวมกรอบทางกฎหมาย แนวทางและเครือ่ งมือการบริหารจัดการพืน้ ทีป่ นเปือ้ นสารอันตราย ของประเทศไทย และชีใ้ ห้เห็นจุดอ่อนของระบบการจัดการของไทยเมื่อปรียบเทียบกับกรอบ แนวทางการจัดการของประเทศสหรัฐอเมริกา
Module II: ฐานข้อมูลเทคนิคการประเมินและส�ำรวจการปนเปื้อนและพื้นที่
ปนเปือ้ นสารอันตรายเบือ้ งต้น โดยฐานข้อมูลนีเ้ สนอรายละเอียดและเครือ่ งมือในการประเมิน และส�ำรวจพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตรายเบื้องต้นเพื่อประกอบการประเมินสภาวะคุกคามของ การปนเปื้อนสารอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยจะช่วยในการตัดสินใจว่าการ ปนเปื้อนนั้นจะก่อให้เกิดสภาวะคุกคามที่มีนัยส� ำคัญถึงขนาดที่ต้องท� ำการส�ำรวจและ วิ เ คราะห์ ก ารปนเปื ้ อ นและพื้ น ที่ ป นเปื ้ อ นสารอั น ตรายโดยละเอี ย ดเพื่ อ การฟื ้ น ฟู พื้ น ที่ ปนเปือ้ นต่อไปหรือไม่ 2 Green Research No.24 September 2013
Module III: ฐานข้อมูลเทคนิคการสร้างแบบจ�ำลองมโนทัศน์ การส�ำรวจ และวิเคราะห์ ส่วนที่ 4 ฐานข้อมูลวิธมี าตรฐาน (Method
การปนเปื้อนและพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตรายโดยละเอียด โดยฐานข้อมูลนี้น� ำเสนอแนว ทางและเครื่องมือในการส�ำรวจและวิเคราะห์การปนเปื้อนและพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตราย โดยละเอียด เพื่อสร้างแบบจ�ำลองเชิงมโนทัศน์ของการปนเปื้อนซึ่งเป็นขั้นตอนที่ส�ำคัญที่สุด เพราะจะน� ำไปสู่การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณเพื่อระบุผู้ได้รับผลกระทบจากการ ปนเปือ้ น การก�ำหนดวัตถุประสงค์การพืน้ ฟูและการเลือกเทคโนโลยีการฟืน้ ฟูทเี่ หมาะสม
Module IV: ฐานข้อมูลเทคนิคการประเมินความเสีย่ งต่อสุขภาพเชิงปริมาณ อันเนือ่ ง
มาจากพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตรายโดยฐานข้อมูลนี้น�ำเสนอแนวทางและเครื่องมือในใช้การ ประเมินความเสีย่ งต่อสุขภาพและระบบนิเวศอันเนือ่ งมาจากพืน้ ทีป่ นเปือ้ นสารอันตราย เพือ่ ที่ จะก�ำหนดวัตถุประสงค์การฟืน้ ฟูพนื้ ทีป่ นเปือ้ นเพือ่ การปกป้องผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากการปนเปือ้ น
Module V: ฐานข้อมูลเทคนิคการเลือกเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการฟืน้ ฟูพนื้ ที่
Databases): เป็นฐานข้อมูลทีท่ ำ� หน้าทีค่ ล้าย กล่ อ งเครื่ อ งมื อ ทางเทคนิ ค (Technical Toolbox) แต่วา่ จะรวบรวมเฉพาะฐานข้อมูลที่ เป็นที่รู้จักกันดีสามารถตรวจค้นได้ง่าย และ/ หรือมีลิขสิทธิ์อยู่ท�ำให้ไม่สามารถถูกคัดลอก หรือสรุปมาใส่ในกล่องเครื่องมือทางเทคนิค (Technical Toolbox) เช่น ASTM method, AWWA method for water analysis ทีถ่ กู อ้าง ถึ ง ในกรอบการด� ำ เนิ น การทางเทคนิ ค (Technical Guideline)
ฐานข้อมูลเทคนิคในการฟืน้ ฟูดนิ และ ปนเปื้อนสารอันตรายโดยฐานข้อมูลนี้น�ำเสนอแนวทางและเครื่องมือในการเลือกเทคโนโลยี น�้ ำ ใต้ ดิ น ที่ ป นเปื ้ อ นสารอั น ตรายได้ ถู ก ทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการฟืน้ ฟูพนื้ ทีป่ นเปือ้ นสารอันตราย ฐานข้อมูลย่อยนีอ้ า้ งถึงระบบขัน้ ตอน น�ำเสนอใน website ภายใต้ชื่อ “ฐานข้อมูล มาตรฐานและฐานข้ อ มู ล ของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าซึ่งครอบคลุมเทคโนโลยีการฟื้นฟู เทคนิคในการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้อน แบบกายภาพ เทคโนโลยีการฟืน้ ฟูแบบเคมี และเทคโนโลยีการฟืน้ ฟูแบบชีวภาพ สารอันตรายส�ำหรับประเทศไทย” (Thailand’s Technical Initiatives and Guidelines for ในแต่ละโมดูลจะประกอบด้วยข้อมูล 4 ส่วนดังต่อไปนี้ Environmental Remediation and ส่วนที่ 1 กรอบแนวทางการจัดการ (Management Guideline): เป็นฐานข้อมูล Restoration (URL: ttigerr.org)) เพื่อให้ผู้ ที่ ก ล่ า วในภาพรวมเกี่ ย วกั บ การจั ด การการปนเปื ้ อ นในแต่ ล ะขั้ น ซึ่ ง จะมี ลั ก ษณะเป็ น สนใจสามารถเข้ า ถึ ง ได้ ง ่ า ย และน�ำ ไปใช้ กรอบแนวทางเชิงพรรณนาอย่างย่อ (Brief Descriptive Guideline) ทีใ่ ห้ความรูเ้ บือ้ งต้นและ ประโยชน์ ทัง้ นีก้ รมส่งเสิมคุณภาพสิง่ แวดล้อม ความเข้าใจในภาพรวม แต่ไม่สามารถใช้ในการประเมินการปนเปื้อนหรือการปฏิบัติงาน ขอรับข้อคิดเห็นจากผู้สนใจทุกท่าน เพื่อการ ฟื้นฟูการปนเปื้อนที่ต้องการรายละเอียดในการปฏิบัติได้ ซึ่งขั้นตอนรายละเอียดในการ พัฒนาฐานข้อมูลดังกล่าวให้เกิดประโยชน์ ปฏิบตั นิ จี้ ะถูกอ้างถึงในกรอบการด�ำเนินการทางเทคนิค (Technical Guideline) ฐานข้อมูล สูงสุดต่อไป กรอบแนวทางการจัดการ (Management Guideline) นี้เหมาะส�ำหรับประชาชน NGOs นักวิชาการ หรือผูท้ สี่ นใจจะศึกษาแนวทางหรือเกณฑ์ในการจัดการพืน้ ทีป่ นเปือ้ นอย่างเป็นระบบ www.ttigerr.org แต่ไม่ได้ทำ� หน้าทีป่ ระเมินการปนเปือ้ น หรือจัดการการปนเปือ้ น
ส่วนที่ 2 กรอบการด�ำเนินการทางเทคนิค (Technical Guideline): เป็นขัน้ ตอนทางเทคนิค
ที ล ะขั้ น ที ล ะตอน “Step-by-Step” ส� ำ หรั บ การประเมิ น หรื อ ปฏิ บั ติ ง านการจั ด การ พืน้ ทีป่ นเปือ้ นในแต่ละ Module โดยเน้นให้ผใู้ ช้ฐานข้อมูลสามารถปฏิบตั ติ ามได้จริง และอาจ จะมีการอ้างถึงกล่องเครือ่ งมือทางเทคนิค (Technical Toolbox)
ส่วนที่ 3 กล่องเครือ่ งมือทางเทคนิค (Technical Toolbox): เป็นฐานข้อมูลทีร่ วบรวมเครือ่ งมือ
ทางเทคนิคทีส่ ำ� คัญและถูกอ้างถึงในกรอบการด�ำเนินการทางเทคนิค (Technical Guideline) ซึง่ เป็นแหล่งข้อมูลและเครือ่ งมือส�ำคัญส�ำหรับผูป้ ฏิบตั งิ านในการปฏิบตั งิ านจริง โดยกล่องเครือ่ งมือ ทางเทคนิคนีป้ ระกอบด้วยโปรแกรม วิธกี ารใช้โปรแกรม แบบประเมิน หรือตัวอย่างรายงาน และ แบบฟอร์มทีถ่ กู อ้างถึงในกรอบการด�ำเนินการทางเทคนิค (Technical Guideline) เป็นต้น
No.24 September 2013 Green Research 3
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ
แนะนำ� “ซอฟต์แวร์คำ�นวณ
ปริมาณก๊าซเรือนกระจก”
อัศมน ลิ่มสกุล* วิมลรัตน์ลี กถาเสนีย์* วุฒิชัย แพงแก้ว** และอัศดร ค�ำเมือง**
“ลดขยะ ลดโลกร้อน”ขยะเกีย่ วข้อง กั บ โลกร้ อ นอย่ า งไร แล้ ว กระบวนการ รณรงค์เพื่อให้ประชาชนมีการลดและคัด แยกขยะทีแ่ หล่งก�ำเนิดช่วยลดโลกร้อนได้ ด้วยหรือ ประเด็นเหล่านีเ้ ป็นเรือ่ งน่าสนใจ เนื่องจากในปัจจุบันทิศทางการส่งเสริม ประชาชนมักให้ความส�ำคัญกับการลดโลก ร้อนเป็นหลัก
มากขึน้ จึงได้จดั ท�ำซอฟต์แวร์คำ� นวณปริมาณ ก๊าซเรือนกระจกเพื่อใช้ค�ำนวณปริมาณก๊าซ เรื อ นกระจกตามรายประเภทที่ น�ำ กลั บ มา ใช้ใหม่ ซึ่งเป็นการค�ำนวณปริมาณขยะที่น�ำ กลับมาใช้ใหม่และน�ำไปใช้ประโยชน์ให้อยูใ่ น รูปของคาร์บอน ซึ่งเป็นสินค้าที่มีการซื้อขาย ภายใต้กลไกของอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและ พิธีสารเกียวโต ตลอดจนกลไก Corporate Social Responsibility (CSR) ของบริษัท เอกชน โดยเชื่ อ มโยงการมี ส ่ ว นร่ ว มของ ประชาชนและการแก้ไขปัญหา ด้วยการเพิ่ม มูลค่าขยะที่น�ำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่และ ขยะอินทรียซ์ งึ่ เป็นการสนับสนุนภารกิจในการ รณรงค์ ส ร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และส่ ง เสริ ม การ มีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะ ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
ปี พ.ศ. 2553 ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรม ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม กรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อมร่วมกับศูนย์บริการเทคโนโลยี สาธารณสุขและสิง่ แวดล้อม คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จดั ท�ำฐาน ข้อมูลประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจก ที่ สามารถลดได้จากการด�ำเนินงานการคัดแยก และน�ำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ของชุมชน ด้วยวิธี 3R ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมให้ ภารกิจของกรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม ใน ด้านการรณรงค์ส่งเสริมการจัดการขยะครบ วงจร ภายใต้บริบท Zero waste community เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรม มากขึน้ และเพือ่ ให้การด�ำเนินงาน ด้านการลด ปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจกจากภาคของเสี ย ชุมชนมีความต่อเนือ่ งและมีชมุ ชนตัวอย่างทีด่ ี (www.tccnclimate.com) *นักวิชาการสิง่ แวดล้อมช�ำนาญการ **นักวิชาการสิง่ แวดล้อม ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม 4 Green Research No.24 September 2013
สถานการณ์ขยะมูลฝอยและก๊าซเรือนกระจก ของเสียชุมชน นับเป็นแหล่งก�ำเนิดและปลดปล่อยก๊าซเรือน กระจกที่ส�ำคัญอีกแหล่งหนึ่ง ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ หรือรูจ้ กั กันในนาม “ภาวะโลกร้อน” (IPCC, 1996) จากฐาน ข้อมูลบัญชีก๊าซเรือนกระจก พบว่าในปี พ.ศ. 2546 ประเทศไทยมี สถานการณ์การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคของเสีย เป็น สัดส่วน 3.9% (3.92 ล้านต้น CO2 เทียบเท่า) โดย 52.2% (4.86 ล้านตัน CO2 เทียบเท่า) เกิดจากกิจกรรมการจัดการขยะ ข้อมูลดังกล่าวนี้ สอดคล้องกับสถานการณ์และแนวโน้มของขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2536 ประเทศไทยมีขยะชุมชนเกิดขึน้ 30,640 ตัน ต่อวัน และเพิม่ ขึน้ เป็น 41,064 ตันต่อวัน ในปี พ.ศ. 2551 หรือ 34% (ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2552) ปริมาณขยะชุมชน ได้กอ่ ให้เกิดก๊าซเรือนกระจกออกสูบ่ รรยากาศ ในปริมาณทีค่ อ่ นข้างสูง เนือ่ งจากขยะมูลฝอยทีเ่ กิดขึน้ ถูกน�ำไปก�ำจัด อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลเพียง 14,373 ตันต่อวัน หรือประมาณ 35% ของปริมาณขยะมูลฝอยทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ ประเทศ โดยส่วนทีเ่ หลือถูก จัดการด้วยวิธกี ารเทกองกลางแจ้งหรือการเผา และในส่วนของชุมชนที่ อยูห่ า่ งไกลประชาชนจะก�ำจัดกันเองในครัวเรือน ในช่วงทีผ่ า่ นมา ทัง้ หน่วยงานของรัฐและเอกชน ได้รว่ มกันหา แนวทางในการแก้ไขปัญหาขยะชุมชน โดยได้ให้ความส�ำคัญต่อ การจัดการขยะชุมชนแบบครบวงจร เพื่อลดปริมาณขยะจากแหล่ง ก�ำเนิด ซึง่ ได้รณรงค์ให้คดั แยกขยะน�ำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ รวมทัง้ การน�ำขยะอินทรียม์ าใช้ประโยชน์ในรูปแบบการผลิตก๊าซชีวภาพและ การท�ำปุย๋ หมัก จากข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ พบว่าในปี พ.ศ. 2550 ได้มกี ารน�ำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ 22% ของขยะทัง้ หมด (3.25 ล้านตัน) และเพิม่ ขึน้ เป็น 23% (3.41 ล้านตัน) ในปี พ.ศ. 2551 การคัด แยกขยะและน�ำขยะมาผลิตก๊าซชีวภาพ นับเป็นแนวทางเชิงบรูณาการ ที่ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากของเสีย เพื่ออนุรักษ์และใช้ประโยชน์ ทรัพยากรอย่างชาญฉลาดและคุ้มค่า ซึ่งเป็นแนวทางที่ส่งเสริมการ บริโภคทีย่ งั่ ยืน อีกทัง้ ช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก อันเป็นต้น เหตุทสี่ ำ� คัญของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของโลก
No.24 September 2013 Green Research 5
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ สถานการณ์การน�ำกลับมาใช้ใหม่ ข้อมูลการส�ำรวจของกรมควบคุมมลพิษ พ.ศ.2547 ซึ่งได้ท�ำการส�ำรวจร้านค้ารับซื้อวัสดุรีไซเคิลที่ขึ้นทะเบียนในเขตพื้นที่เทศบาล รวมทั้งสิ้น 3,088 ร้าน จาก 76 จังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งข้อมูลประเภทวัสดุรีไซเคิลที่พบหลักๆ ได้แก่ กระดาษ พลาสติก แก้ว อลูมิเนียม ทองแดง ทองเหลือง เหล็ก และอื่นๆ ได้แก่ แบตเตอรี่เก่า สายยาง สังกะสี และ นุ่น เป็นต้น ทั้งนี้ในภาพรวมวัสดุรีไซเคิลของประเทศไทย พบว่า ประเภทวัสดุรีไซเคิลที่มีการรับซื้อรวมทั้งสิ้น 4,642.425 ตัน/วัน โดยวัสดุรีไซเคิลที่รับซื้อมากที่สุด คือ กระดาษ มีปริมาณการรับซื้อ 1,407.437 ตัน/วัน คิดเป็น 30.32 % รองลงมาคือ เหล็ก มีปริมาณการรับซือ้ 1,202.961ตัน/วัน คิดเป็น 25.91 % อันดับทีส่ าม คือ แก้ว มีปริมาณ การรับซือ้ 1,148.537 ตัน/วัน คิดเป็น 24.74 % ส่วนวัสดุรไี ซเคิลอืน่ ๆ ทีม่ กี ารรับซือ้ อาทิ พลาสติก อลูมเิ นียม ทองเหลือง ทองแดง และ อืน่ ๆ คิดเป็นประมาณการรับซือ้ 536.156 ตัน/วัน 126.698 ตัน/วัน 99.623 ตัน/วัน 90.630 ตัน/วัน และ 30.383 ตัน/วัน ซึง่ คิดเป็น 11.55 %, 2.73 %, 2.15 %, 1.95 % และ 0.65 % ตามล�ำดับ
อื่นๆ 0.65 เหล็ก 25.91
กระดาษ 30.32
พลาสติก 11.55 ทองเหลือง 2.15 ทองแดง 1.95 อลูมิเนียม 2.73
แกว 24.74 ร้อยละวัสดุรไี ซเคิลในประเทศไทย ทีม่ า : กรมควบคุมมลพิษ พ.ศ. 2547
ซอฟต์แวร์คำ� นวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก (3R – Greenhouse Gas Calculation) การใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทอี่ อกแบบมาเฉพาะเพือ่ การน�ำ เข้าข้อมูลการน�ำมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ในโครงการตั้งแต่เริ่มด�ำเนิน โครงการจะช่วยให้เกิดความสะดวกในการจัดการข้อมูล และสามารถ ประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกตามวิธีการค�ำนวณที่ศึกษาไว้แล้ว ลดความผิดพลาดในการค�ำนวณ ตลอดจนทราบถึงข้อมูลย้อนหลังใน การจัดการขยะมูลฝอย เช่น อัตราการน�ำกลับมาใช้ใหม่ของมูลฝอย แต่ละประเภท
6 Green Research No.24 September 2013
หลักการท�ำงานของซอฟต์แวร์ หลักการท�ำงานของซอฟต์แวร์เพือ่ ใช้คำ� นวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกจาก ขยะทีน่ ำ� กลับมาใช้ใหม่ คือ การใช้คา่ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีไ่ ด้จากผลการ ศึกษาปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากวัสดุที่กลายเป็นขยะแต่ละ ประเภท ทีไ่ ด้จากโครงการศึกษาปริมาณก๊าซเรือนกระจก ระยะที่ 1 มาใช้ในการ ค�ำนวณโดยเทียบกับปริมาณขยะทีไ่ ด้รบั การคัดแยกโดยแสดงค่าการค�ำนวณใน หน่วยตันหรือกิโลกรัม CO2-equivalence ต่อตันขยะแต่ละประเภท ทัง้ นีแ้ ล้วแต่ ความเหมาะสมของข้อมูลปริมาณขยะทีไ่ ด้รบั การคัดแยก โดยเน้นประเภทขยะที่ ได้รบั การจัดล�ำดับ 10 ประเภท ทีม่ กี ารคัดแยกและน�ำกลับมาใช้ใหม่ปริมาณมาก ที่สุดที่ได้ศึกษาไว้แล้ว เพื่อให้เกิดประโยชน์และเกิดประสิทธิภาพกับงาน คัดแยกขยะของพืน้ ทีน่ �ำร่อง ทีน่ อกจากเป็นการลดปริมาณขยะในพืน้ ทีแ่ ล้วยัง สามารถทราบได้วา่ สามารถลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากน้อยเพียง ใด ทัง้ นีน้ อกจากข้อมูลการคัดแยกขยะแล้ว ยังสามารถน�ำเข้าข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง อืน่ ๆ เช่น ปริมาณมูลฝอย และองค์ประกอบของขยะในพืน้ ทีเ่ พือ่ ใช้เปรียบเทียบ ประสิทธิภาพในการคัดแยกขยะ อัตราการเกิดขยะ ภาพรวมของปัญหาขยะ มูลฝอยในพืน้ ที่ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีค่ รอบคลุมและใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
ข้อมูลน�ำเข้า การออกแบบระบบข้อมูลของซอฟต์แวร์คำ� นวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก มี 2 กลุม่ หลักๆ ดังนี้ (1) ข้อมูลสถานการณ์การจัดการขยะ เป็นข้อมูลทีบ่ อกถึงสภาพปัญหา ของขยะมูลฝอยในพืน้ ที่ ประกอบด้วย - ข้อมูลปริมาณขยะทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ บ่งบอกถึงระดับของปัญหาขยะมูลฝอย ในพืน้ ที่ และท�ำให้ทราบถึงอัตราการเกิดขยะต่อคน นอกจากนัน้ ปริมาณขยะยัง เกี่ยวข้องกับการจัดการโดยท้องถิ่น เช่น การจัดการด้านบุคลากร เครื่องจักร รถเก็บขน แรงงาน งบประมาณ รวมทัง้ การจัดหาสถานทีก่ ำ� จัดทีเ่ หมาะสมด้วย - ข้อมูลองค์ประกอบของขยะ ข้อมูลส่วนนีจ้ ะอธิบายถึงประเภทของขยะ ที่เกิดขึ้นลักษณะการบริโภคของประชาชนในพื้นที่ สภาพเศรษฐกิจของชุมชน ศั ก ยภาพในการคั ด แยกและน�ำ กลั บ มาใช้ ใ หม่ ข องขยะ เนื่ อ งจากข้ อ มู ล องค์ประกอบของขยะทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละเส้นทางของการจัดการขยะ เช่น ณ แหล่ง ก�ำเนิด รถเก็บขน หรือสถานที่ก�ำจัดขยะ จะบอกได้ถึงลักษณะการด�ำเนินการ คัดแยกขยะของท้องถิน่ การให้ความส�ำคัญกับการลดและคัดแยกขยะ ตลอดจน ความร่วมมือของชุมชนในพืน้ ที่ (2) ข้อมูลการคัดแยกขยะ เป็นข้อมูลของปริมาณขยะแต่ละประเภททีไ่ ด้ รับการคัดแยกแล้ว เพือ่ เตรียมน�ำไปใช้ประโยชน์ในลักษณะต่างๆ เช่น การน�ำกลับ มาใช้ใหม่ (Reuse) หรือการน�ำไปรีไซเคิลผลิตเป็นสินค้าใหม่ (Recycle) ซึง่ ข้อมูล อาจจะสามารถตรวจสอบได้หากมีการด�ำเนินการอยูแ่ ล้วโดยอาจจะอยูท่ ชี่ มุ ชน หรือศูนย์รบั ซือ้ ขยะ No.24 September 2013 Green Research 7
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ ลักษณะการเก็บข้อมูลทั้งสองประเภทเพื่อน�ำเข้าสู่การประมวลผลของ ซอฟต์แวร์ค� ำนวณเป็นการศึกษาสภาพของการจัดการในขั้นแรกเรียกว่า ข้อมูลฐาน (Baseline) ซึง่ จะบอกถึงค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นค่าเริม่ ต้น และหลังจากด�ำเนินงานโครงการคัดแยกและน�ำขยะกลับมาใช้ใหม่แล้วจะได้ผล การค�ำนวณค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีส่ ามารถเปรียบเทียบกับ Baseline ได้ ว่าสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เท่าใด พร้อมกับการอธิบายถึงความ เชือ่ มโยงกับข้อมูลฐานและการจัดการขยะมูลฝอยในด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่าง ครอบคลุม
การรายงานผล ผลการค�ำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากขยะทีไ่ ด้รบั การคัดแยกและ น�ำกลับมาใช้ใหม่จะแสดงเป็นค่า CO2-equivalence ทีส่ ามารถลดได้ ทัง้ นีล้ กั ษณะ การรายงานผลสามารถแสดงเป็นผลการค�ำนวณตามช่วงเวลา เช่น รายวัน ราย สัปดาห์ หรือรายเดือน เป็นต้น โดยผู้ใช้งานสามารถเลือกแสดงผลตามความ ต้องการ ทั้งนี้ความถี่ในการน�ำเข้าข้อมูลต้องมีความสัมพันธ์กันกับระบบการ รายงานผล กล่าวคือหากสามารถน�ำเข้าข้อมูลได้ละเอียดมากเท่าใดก็สามารถ สร้างระบบการรายงานผลได้ละเอียดเช่นกัน โดยการออกแบบระบบข้อมูลจะ ออกแบบให้รองรับความถี่ของข้อมูลที่เหมาะสมและใช้งานได้สะดวกทั้งการ น�ำเข้า การสร้างเงือ่ นไขของการรายงานผล และการแสดงรายงานในรูปแบบต่างๆ เช่น กราฟ แผนภูมิ ตาราง รวมทัง้ สามารถพิมพ์รายงานได้
การใช้งาน เนื่องจากระบบซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้น เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้งานในระดับผู้ ปฏิบตั งิ านในท้องถิน่ ดังนัน้ หลักการทีจ่ ะท�ำให้ซอฟต์แวร์ใช้งานได้เกิดประโยชน์ และเกิดประสิทธิภาพ จึงต้องสร้างให้ซอฟต์แวร์ใช้งานได้งา่ ย สะดวก ลดความ ซ�ำ้ ซ้อนรวมทัง้ แก้ไขปรับปรุงได้งา่ ย เนือ่ งจากในช่วงของการทดสอบการท�ำงาน ของซอฟต์แวร์ทงั้ ในขัน้ ตอนการออกแบบ การทดสอบในพืน้ ทีซ่ งึ่ ได้รบั ข้อเสนอ แนะทั้งจากผู้ใช้งาน ผู้บริหาร และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อน�ำมาแก้ไขปรับปรุงจน สามารถใช้งานได้อย่างราบรืน่ ส�ำหรับเนือ้ หาสาระ “ซอฟต์แวร์คำ� นวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก” ในฉบับนีไ้ ด้กล่าวแนะน�ำภาพรวมของซอฟต์แวร์ดงั กล่าวในเบือ้ งต้น ซึง่ ในวารสาร Green Research ฉบับต่อไปจะน�ำเสนอรายละเอียดวิธกี ารใช้งาน “ซอฟต์แวร์ ค�ำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก” ต่อไปส�ำหรับท่านผูอ้ า่ นท่านใดทีม่ คี วามสนใจ หรือต้องการทดลองใช้งาน สามารถดาวน์โหลดซอฟต์แวร์พร้อมคูม่ อื การติดตัง้ และใช้งานได้ทเี่ ว็บไซต์เครือข่ายการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศไทย
www.ttigerr.org
8 Green Research No.24 September 2013
เริ่มตน แฟมขอมูลบรรทัดฐาน ขอมูลปริมาณขยะ นำเขาขอมูลปริมาณขยะ ที่เกิดขึ้น
ปริมาณขยะ
ขอมูลองคประกอบขยะ ขอมูลการนำกลับมาใชใหม
นำเขาขอมูล องคประกอบขยะ
องคประกอบขยะ
ขอมูลกาซเรือนกระจก นำเขาขอมูลปริมาณ การนำมูลฝอยกลับมาใชใหม
องคประกอบขยะ
กิจกรรมการนำกลับมาใชใหม พลาสติก, เหล็ก, อลูมิเนียม แกว, กระจก, กระดาษ
ผลการประเมิน ฐานขอมูลรวม สำหรับ การประเมินกาซเรือนกระจก จากขยะชุมชน ปริมาณขยะรีไซเคิล, GHG ที่ลดได
การรายงานผล การแสดงผล
กรอบแนวคิดการทำ�งานของซอฟต์แวร์ ประเมินก๊าซเรือนกระจก
ประโยชน์ จ ากของเสี ย เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ แ ละใช้ ประโยชน์ ท รั พ ยากรอย่ า งชาญฉลาดและ คุม้ ค่า ซึง่ เป็นแนวทางทีส่ ง่ เสริมการบริโภคที่ ยั่งยืน อีกทั้งช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจก อันเป็นต้นเหตุทสี่ ำ�คัญของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
ข้อมูลดิจิตอลและการนำ�ไปใช้ในงานวิจัย
ศิรพงศ์ สุขทวี*
ข้อมูลถือว่าเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับ การวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึง่ อาจได้ มาจากการตรวจวัดเองหรือได้มาจาก แหล่งอืน่ ส�ำหรับข้อมูลจากแหล่งอืน่ นัน้ มี ทั้งที่ต้องจัดซื้อหรือไม่เสียค่าใช้จ่าย ใน ปัจจุบนั มีการเผยแพร่ขอ้ มูลโดยไม่คดิ ค่า ใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก โดย เฉพาะข้อมูลทางด้าน บรรยากาศ ทะเล และพื้นดิน ทั้งกายภาพ และเคมี การเผย แพร่ข้อมูลโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายนั้นมีเป้า หมายเพื่ อ ให้ มี ก ารวิ จั ย วิ เ คราะห์ และ วินจิ ฉัยกระบวนการต่างๆ ทีจ่ ำ� เป็นในการ เพิม่ ความเข้าใจของสภาพแวดล้อมและน�ำ ไปใช้ในการจัดการบริหารบนพืน้ ฐานของ ข้อมูลและการวิจัย จากแหล่งข้อมูลจ�ำนวนมากมายที่ เผยแพร่ นั้ น ในส่ ว นนี้ จ ะเป็ น การน�ำ เสนอ ตัวอย่างดังตารางที่ 1 ข้อมูลที่มีการเผยแพร่ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย และแหล่งที่สามารถ ดาวน์โหลดได้ทางอินเตอร์เน็ต อย่างไรก็ตาม ในการน�ำข้อมูลไปใช้จะต้องเป็นไปตามที่ผู้ เผยแพร่ได้ระบุไว้ในข้อตกลง ส�ำหรับคุณภาพ ของข้อมูลนั้นโดยส่วนใหญ่ผู้เผยแพร่ได้มี เอกสารแสดงถึงรายละเอียดทีม่ าและคุณภาพ
ของข้อมูลไว้ครบถ้วนเช่นกัน ในส่วนของรูปแบบการจัดเก็บข้อมูล นั้น โดยส่วนใหญ่ถูกจัดเก็บโดยการบีบอัด ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ที่ ไม่ใช่ Text File หรือ Excel File เนื่องจากข้อมูลมีขนาดที่ใหญ่ ดังนั้นการน�ำข้อมูลไปใช้จึงจ�ำเป็นที่จะต้อง เข้าใจถึงลักษณะของ File ที่ผู้ใช้ดาวน์โหลด จากแหล่งข้อมูล ว่าประกอบด้วยตัวแปรอะไร ลักษณะเชิงพืน้ ทีแ่ ละเวลาของข้อมูล ทีถ่ กู บีบ อั ด เป็ น Meta Data รวมอยู ่ ใ น File นั้ น ๆ นอกจากนี้ผู้ใช้ต้องมีความรู้และศักยภาพใน การใช้ข้อมูลรูปแบบต่างๆ รวมถึงการสกัด และแปลงข้อมูลต่างๆ เพือ่ อ่านข้อมูลวิเคราะห์ แปรผลหรือน�ำเสนอต่อไป ตัวอย่างเช่น รูปที่ 1 ข้อมูลโดยส่วนใหญ่ถูกจัดเก็บในรูป แบบ NetCDF, Grib1, Grib2, และ HDF โดยเฉพาะ NetCDF เป็ น ชนิ ด ของข้ อ มู ล ถูกเริม่ พัฒนามาโดย University Corporation for Atmospheric Research (UCAR) และมี การเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบ NetCDF อย่าง แพร่หลาย ส�ำหรับ Utility ทางคอมพิวเตอร์ที่ ใช้ในการจัดการข้อมูลชนิดนีม้ มี ากมายขึน้ อยู่ กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละความถนั ด ของผู ้ ใ ช้ ตัวอย่างเช่น
• CDO (Climate Data Operators) • GrADS (Grid Analysis and Display System) • ncensemble (command line utility to do ensemble statistics) • NCL (NCAR Command Language) • NCO (NetCDF Operators) • ncview
*นักวิชาการสิง่ แวดล้อมปฏิบตั กิ าร ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม No.24 September 2013 Green Research 9
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ ตารางที่ 1 แสดงตัวอย่างของข้อมูลที่มีการเผยแพร่โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ชื่อข้อมูล
ความละเอียดเชิงพื้นที่
ความละเอียดเชิงเวลา
ตัวแปร
แหล่งดาวน์โหลด
NCEP/NCAR
2.5 x 2.5 degree
ราย 6 ชม, รายวัน,รายเดือน (01/01/1948– ปัจจุบัน)
ตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยา http://www.esrl.noaa.gov/psd/data/reanalysis/ เช่น ลม, อุณหภูม,ิ ความชืน้ reanalysis.shtml เป็นต้น
FNL
1.125 x 1.125 degree
ราย 6 ชม (30/07/1999 ปัจจุบัน)
http://rda.ucar.edu/datasets/ds083.2/#access
JRA-25
1.25 x 1.25 degree
ราย 6 ชม, รายเดือน (01/01/1979ปัจจุบัน)
http://jra.kishou.go.jp/ JRA-25/index_en.html
SRTM ETOPO
• 3 arc-sec (~90 m) • 30 arc-sec (~900 m) • 1 arc-min (~1.8 km) • 2 arc-min • 5 arc-min
UDel
0.5 x 0.5 degree
รายเดือน (01/01/1901-ปัจจุบัน)
อุณหภูมิ และปริมาณฝน
HadISST
1 x 1 degree
รายเดือน (01/01/1870-ปัจจุบัน)
อุณหภูมิ ผิวน�้ำทะเล
-
ลักษณะ ภูมิประเทศ
-
ลักษณะภูมิประเทศ
http://www2.jpl.nasa.gov/ srtm/cbanddataproducts.html http://www.ngdc.noaa.gov/mgg/global/
http://www.esrl.noaa.gov/psd/data/gridded/ data. UDel_AirT_Precip.html http://climatedataguide.ucar.edu/ guidance/sst-data-hadisst-v11
รูปที่ 1 แสดงภูมปิ ระเทศจากข้อมูล ETOPO5 ทีไ่ ด้วเิ คราะห์ขอ้ มูล และสร้างภาพโดย NCL (หน่วย: เมตร)
การน�ำข้อมูลต่างๆ ไปวิเคราะห์มีวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย เช่น การน�ำมาวิเคราะห์ทางด้านความแปรปรวนของภูมอิ ากาศดังรูปที่ 2 (ก) เป็นการน�ำข้อมูล SST มาใช้ในการศึกษาเกีย่ วกับปรากฏการณ์ ENSO (Dijkstra, 2006) และรูปที่ 2 (ข) แสดงการใช้ขอ้ มูลลมและความ กดอากาศมาใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับมรสุมฤดูหนาว (Sooktawee,2012) นอกจากการน�ำข้อมูลมาใช้วิเคราะห์แล้วนั้น ยังสามารถน�ำไปใช้ เป็นข้อมูลน�ำเข้าส�ำหรับแบบจ�ำลองเพื่อใช้ในการศึกษาทางด้านต่างๆ เช่นการจ�ำลองปริมาณฝน (รูปที่ 2 (ค) เป็นผลที่ได้จากแบบจ�ำลอง WRF ที่ใช้ข้อมูลน�ำเข้า เช่น ลักษณะความสูงของภูมิประเทศ การใช้ที่ดิน ตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยา และอื่นๆ ส�ำหรับผลของการจ�ำลองจะมี ความน่าเชือ่ ถือมากน้อยเพียงใดขึน้ อยูก่ บั หลายองค์ประกอบ ซึง่ การใช้ขอ้ มูลน�ำเข้าทีถ่ กู ต้อง ทีใ่ กล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงมากทีส่ ดุ เป็น สิ่งหนึ่งที่ท�ำให้ผลของการจ�ำลองมีความน่าเชื่อถือ 10 Green Research No.24 September 2013
(ก)
(ข)
(ค)
(ง)
รูปที่ 2 (ก) ความผิดปกติของอุณหภูมิน�้ำทะเลในเดือนธันวาคม 2540 (Dijkstra, 2006) (ข) ค่าเฉลี่ยทางภูมิอากาศของลมที่ระดับ 850 hPa (vector), ค่าความ กดอากาศ (shaded contour), และ geopotential height ที่ระดับ 850 hPa (contour line) ส�ำหรับช่วง 2522-2553 (Sooktawee, 2012) และภาพ แสดงปริมาณฝนรายวันจาก (ค) แบบจ�ำลอง WRF และ (ง) กรมอุตุนิยมวิทยา ในวันที่ 16 กันยายน 2555
โดยเฉพาะข้อมูลทางด้านบรรยากาศ ทะเล และพืน้ ดิน ทัง้ กายภาพ และเคมี การเผยแพร่ ข้ อ มู ลโดยไม่ เ สี ย ค่ า ใช้จ่ายนั้นมีเป้าหมายเพื่อให้มีการ วิจยั วิเคราะห์ และวินจิ ฉัยกระบวน การต่างๆ ทีจ่ �ำ เป็นในการเพิม่ ความ เข้าใจของสภาพแวดล้อม
การเลือก การใช้ และความเข้าใจถึงโครงสร้างของข้อมูลการใช้ส�ำหรับการวิเคราะห์ และการใช้ส�ำหรับแบบจ�ำลองเป็นสิ่งที่ส�ำคัญกว่าการที่ต้องการเพียงแค่ให้ผลการวิเคราะห์ และผลการจ�ำลองที่ออกมาตรงกับที่คาดการณ์ไว้หรือตรงกับค่าที่ตรวจวัด นอกจากนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้แบบจ�ำลองอาจเปรียบเสมือนได้กับของเล่นส�ำหรับเด็กหาก ใช้โดยปราศจากความเข้าใจถึงพื้นฐานของข้อมูลที่ใช้ ผลที่ได้จึงเป็นได้แค่ภาพกราฟฟิก สวยๆ เหมือนเด็กที่เล่นของเล่นเพื่อความสนุกสนานเพียงอย่างเดียวแต่หากเด็กนั้นได้เล่น ของเล่นที่มีคุณภาพเหมาะสมกับวัยจะท�ำให้มีความเข้าใจ มีพัฒนาการเพิ่มขึ้น เช่นเดียว กับการวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้แบบจ�ำลองที่เหมาะสม ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีและ องค์ความรูท้ มี่ ี ณ ปัจจุบนั ผลลัพธ์ทไี่ ด้นนั้ ก็จะน�ำไปสูก่ ารพัฒนาเพือ่ ให้มคี วามเข้าใจในกลไก ของธรรมชาติได้มากขึ้น
เอกสารอ้างอิง Dijkstra, H. A. (2006). The ENSO phenomenon: theory and mechanisms. Advances in Geosciences, 6, 3-15. Sooktawee, S., U. Humphries, A. Limsakul and P. Wongwises. (2012). Low-Level Wind Variability over the Indochina Peninsula during Boreal Winter. International Journal of Environmental Science and Development, 3, 130-135.
No.24 September 2013 Green Research 11
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ แบบจำ�ลองคาดการณ์ระดับเสียงจากรถไฟ อ�ำนวยชัย คงดี*
ขณะที่ ร ถไฟวิ่ ง ผ่ า นเราแม้ จ ะไม่ ใ ช่ รถไฟความเร็วสูงเหมือนของต่าง ประเทศแต่เสียงที่ ได้ยินก็สร้างความ รำ�คาญพอสมควรทีเดียว โดยแต่ละ ขบวนให้กำ�เนิดเสียงที่ความดังไม่เท่า กันขึ้นกับหลายปัจจัยซึ่งหากได้รับ เสียงเหล่านี้บ่อยๆ อาจส่งผลให้เกิด ความรำ�คาญ และหากว่าเสียงที่เกิด ขึ้ น ดั ง เกิ น มาตรฐานที่ กำ � หนดอาจ ทำ�ให้เกิดการสูญเสียการได้ยินด้วย เหตุนี้ กระบวนการ เครื่องมือในการ ป้องกัน แก้ไขปัญหาที่เกิดจากเสียง รถไฟ จึ ง เป็ น สิ่ ง จำ � เป็ น ที่ ต้ อ งมี เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยองค์ ประกอบหลักๆ ดังต่อไปนี้
ข้อมูลที่ส�ำคัญส�ำหรับใช้ ในการควบคุม แหล่งก�ำเนิดของเสียงจากรถไฟ เสียงของรถไฟ เสี ย งที่ เ กิ ด จากรถไฟมี ลั ก ษณะไม่ กระบวนการจัดการแก้ไขปัญหาด้าน คงที่ แ ต่ จ ะแปรเปลี่ ย นไปตามคุ ณ สมบั ติ เสียงจากแหล่งก�ำเนิดมีองค์ประกอบหลักที่ ทางกายภาพของรถไฟและรางรถไฟ เช่ น ต้องควบคุมอยู่ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ความเร็วรถไฟ ชนิดรถไฟ สภาพราง เป็นต้น 1. ควบคุมเสียงทีแ่ หล่งก�ำเนิด (source path) ซึ่ ง คุ ณ สมบั ติ เ หล่ า นี้ เกี่ ย วของโดยตรงกั บ 2. ควบคุ ม เสี ย งที่ เ ส้ น ทางผ่ า นเสี ย ง ความดันเสียงในหน่วยเดซิเบลและความถี่ (propagation path) เสียงในหน่วยเฮิร์ตซ์ โดยที่ทั้งความดันเสียง 3. ควบคุมเสียงทีผ่ รู้ บั เสียง (receiver path) และความถี่เสียงนี้ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความ ร�ำคาญและการสูญเสียการได้ยินเป็นอย่าง ซึ่ ง เครื่ อ งมื อ ที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งหนึ่ ง ที่ ใ ช้ มาก ส� ำ หรั บ รถไฟโดยทั่ ว ไปสามารถแบ่ ง ส�ำหรับใช้ในการควบคุมเสียงของรถไฟ ทั้ง 3 แหล่งก�ำเนิดเสียงจากรถไฟได้ 5 แหล่งหลัก องค์ประกอบ คือ แบบจ�ำลองคาดการณ์ระดับ ดังนี้ เสียงจากรถไฟ ส�ำหรับในบทความนี้จะขอ กล่าวถึง ความรู้ส�ำคัญซึ่งในการพัฒนาแบบ จ� ำ ลองคาดการณ์ ร ะดั บ เสี ย งจากรถไฟ ประกอบด้วย กลไกการเกิดเสียง และที่มา ของเสียงรถไฟ และความสัมพันธ์ระหว่างค่า ระดับเสียงกับปริมาณทางกายภาพของรถไฟ เช่น ความเร็วรถไฟ ความยาวขบวนรถไฟ รวม ทั้งองค์ประกอบโดยทั่วไป ของแบบจ�ำลอง ทางคณิตศาสตร์สำ� หรับคาดการณ์ระดับเสียง จากรถไฟ
*นักวิชาการสิง่ แวดล้อม ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม 12 Green Research No.24 September 2013
1. เสี ย งจากล้ อ และรางเกิ ด จากความ เรียบไม่สม�ำ่ เสมอของราง และล้อทีม่ ลี กั ษณะ ไม่เป็นทรงกลมอย่างสมบูรณ์ (มีลักษณะ คล้ายวงรี) ท�ำให้เกิดการสั่นสะเทือนของล้อ และราง เกิดเสียงแพร่กระจายในอากาศ โดย ท� ำ ให้ ก� ำ เนิ ด เสี ย งที่ มี ค วามถี่ สั ม พั น ธ์ กั บ ความเร็วในรูปแบบ ดังสมการที่ (1)
2. เสี ย งจากเครื่ อ งยนต์ ข องหั ว รถจั ก ร เครื่องยนต์ที่ใช้จะเป็นเครื่องยนต์ดีเซลท�ำ หน้าทีใ่ นการผลิตกระแสไฟฟ้าเพือ่ จ่ายให้กบั มอเตอร์ ขั บ เคลื่ อ นล้ อ หั ว รถจั ก รโดย เครื่องยนต์แต่ละรุ่น ยี่ห้อ อาจจะให้ก�ำเนิด เสียงที่ความดันเสียงและความถี่เสียงที่แตก ต่างกันโดยค่าความดันเสียงจะเพิ่มขึ้นตาม ความเร็วทีเ่ พิม่ ขึน้ ของรถไฟและเมือ่ พิจารณา V=fl ……สมการที่ (1) เสี ย งที่ เ กิ ด จากระบบล้ อ และรางร่ ว มด้ ว ย โดย V คือความเร็วรถไฟมีหน่วยเป็น เมตร สามารถเขี ย นสมการสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ต่อวินาที ความเร็วรถไฟกับระดับความดันเสียงที่เกิด f คือความถีข่ องเสียงมีหน่วยเป็นรอบ ในรูปแบบอย่างง่าย ดังสมการที่ (2) ต่อวินาที (เฮิร์ตซ์) ….สมการที่ (2) l คือความยาวคลื่นเสียงมีหน่วยเป็น LP= LPo + N log V VO เมตร โดยค่าความยาวคลืน่ ทีเ่ กิดจะมีลกั ษณะ เฉพาะขึ้นอยู่กับสภาพพื้นผิวของแต่ละราง โดย L คือ ระดับความดันเสียงในหน่วย P รถไฟซึ่งมีความเรียบไม่เท่ากัน ในแต่ละราง เดซิเบลที่ความเร็วรถไฟ V มีหน่วยเป็นกิโลเมตรต่อชั่วโมง
LPo คื อ ระดั บ ความดั น เสี ย งในหน่ ว ย เดซิเบลที่ความเร็วรถไฟ LO โดยท�ำการวัด ณ ต�ำแหน่งเดียวกัน
รูปที่ 1 แสดงกลไกการแพร่กระจายของเสียงเนื่องจาก ความสั่นสะเทื่อนของล้อและรางรถไฟ
(a)
เครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลทำ � หน้ า ที่ ใ นการ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า เพื่ อ จ่ า ยให้ กั บ มอเตอร์ ขั บ เคลื่ อ นล้ อ หั ว รถจั ก ร โดยเครือ่ งยนต์แต่ละรุน่ ยีห่ อ้ อาจจะ ให้กำ�เนิดเสียงที่ความดันเสียงและ ความถี่ เ สี ย งที่ แ ตกต่ า งกั นโดย ค่ า ความดั น เสี ย งจะเพิ่ ม ขึ้ น ตาม ความเร็วที่เพิ่มขึ้นของรถไฟ
(b) รูปที่ 2 ตัวอย่างหัวรถจักรดีเซลที่ใช้ในประเทศไทย (a) ยี่ห้อ Alsthom รุ่น 4406 และ (b) ยีห่ ้อ GEA. รุ่น 4523-456
No.24 September 2013 Green Research 13
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ 1. เสียงจากความปัน่ ป่วนของอากาศ บริเวณรอบตัวรถไฟ เกิดขึน้ ขณะรถไฟวิง่ ด้วย ความเร็วสูง เสียงทีเ่ กิดมีลกั ษณะเสียงความถี่ ต�่ำกว่า 500 เฮิร์ตซ์ และความดันเสียงใน หน่วยเดซิเบลสัมพันธ์กับความเร็วรถไฟใน หน่วยกิโลเมตรต่อชัว่ โมงในลักษณะลอการิทมึ 2. เสียงจากระบบเบรค ซึ่งเกิดจาก การเสียดสีระหว่างล้อและตัวระบบเบรค เสียง ที่ เ กิ ด มี ลั ก ษณะเสี ย งความถี่ สู ง ระหว่ า ง 1000 - 2000 เฮิร์ตซ์
แบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ส�ำหรับคาด การณ์ระดับเสียงจากรถไฟ Adiv = 20 log d + 11 ..สมการที่ (4) dO ในการวางแผนป้องกันแก้ไขปัญหา เสียงที่เกิดจากรถไฟในหลายๆ สถานการณ์ d …..สมการที่ (5) จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ข ้ อ มู ล ข่ า วสาร ส� ำ หรั บ Adiv = 10 log 25 ตัดสินใจก่อนเหตุกาณ์จริงเกิดขึ้น เนื่องจาก หากรอให้สถานการณ์จริงเกิดขึ้นอาจแก้ไข ปัญหาได้ยาก หรือสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ดังนั้นแบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ส�ำหรับ คาดการณ์ระดับเสียงจากรถไฟจึงเป็นเครื่อง มื อ ที่ ส� ำ คั ญ และมี ป ระโยชน์ ใ นการค้ น หา ข้ อ มู ล ข่ า วสารเหล่ า นั้ น แบบจ� ำ ลองทาง คณิตศาสตร์สำ� หรับคาดการณ์ระดับเสียงจาก รถไฟ โดยทั่ ว ไปอยู ่ ใ นรู ป ความสั ม พั น ธ์ ระหว่าง ค่าความดันเสียงของรถไฟ ณ ระยะ ใดๆ กับ ปริมาณทางกายภาพต่างๆ ในรูป แบบ ดังสมการที่ (3) LP= LO + S Ai เดซิเบล หรือเดซิเบลเอ
…….สมการที่ (3)
3. เสียงขณะรถไฟวิง่ บนสะพาน เกิด จากการสั่นของโครงสร้างสะพานขณะรถไฟ วิ่งบนสะพาน และขณะรถไฟวิ่งผ่านสะพาน ระดั บ เสี ย งจะกว้ า งกว่ า รางรถไฟทั่ ว ไป ประมาณ 10 – 20 เดซิเบล ขึน้ อยูก่ บั โครงสร้าง สะพานแต่ละแห่ง 4. เสียงขณะรถไฟวิ่งผ่านทางโค้ง เกิดจากการเสียดสีระหว่างล้อและรางขณะ รถไฟวิง่ บนทางโค้ง โดยความดังและความถี่ เสี ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น ๆ อยู ่ กั บหลายปัจจัย ได้แก่ สภาพราง ความโค้งของราง ความเร็วรถไฟ เป็นต้น
14 Green Research No.24 September 2013
โดยที่ LO คือ ระดับเสียง ณ จุดอ้างอิง ซึง่ อาจ อยูใ่ นรูปของก�ำลังเสียง (sound power level) ในหน่วยวัตต์ หรือความดันเสียง (sound pressure level) ในหน่ ว ยเดซิ เ บลหรื อ เดซิเบลเอ หาได้จากการวัดในสถานที่จริง มีค่าแปรไปตามชนิดของรถไฟ ( สินค้า หรือ โดยสาร) ชนิดของหัวรถจักรความเร็วของ รถไฟ (กิ โ ลเมตรต่ อ ชั่ ว โมง) ชนิ ด ของราง เป็นต้น มีหน่วยเป็น เดซิเบล หรือเดซิเบลเอ ส่วนเทอม Ai ประกอบด้วยค่าต่างๆ ดังนี้ M
รูปที่ 3 ส่วนต่างๆ ของระบบเบรครถไฟประกอบ ด้วย จานเบรค (Brake Discs) และตัว ห้ามล้อ (Brake calipers)
1. A div ค่ า การลดลงของเสี ย ง เนือ่ งจากระยะห่างจากแหล่งก�ำเนิดกับจุดรับ เสียงเพิ่มขึ้น (Geometrical divergence) มี ผลท� ำ ให้ พ ลั ง งานเสี ย งเกิ ด การกระจาย สามารถหาได้จากสมการที่สัมพันธ์กับระยะ ทาง ดังตัวอย่างก�ำหนดโดย ISO 9613-2 ใน สมการที่ (4) และสมการที่ใช้ในแบบจ�ำลอง คาดการณ์ระดับเสียงรถไฟของสหราชอาณา จักร (CRN model) ในสมการที่ (5)
แหล่งกำ�เนิดถึงจุดรับเสียงและความสูงของจุด รับเสียงแต่ในบางแบบจำ�ลองฯ รวมเอาผลจาก สภาพพื้นผิวเข้ามาไว้ในแบบจำ�ลองด้วย โดยที่ d oและ 25 คือ ระยะทาง ระหว่างแหล่งก�ำเนิดถึงจุดวัดเสียงอ้างอิง มี หน่วยเป็นเมตร d คือ ระยะทางระหว่างแหล่ง ก�ำเนิดถึงจุดวัดเสียงที่สนใจ
3. Aair ค่าการดูดกลืนเนือ่ งจากสภาพ บรรยากาศ (Atmospheric absorption) มีค่า ขึ้นอยู่กับระยะทางระหว่างแหล่งก�ำเนิดกับ จุดรับเสียง และความถี่เสียง โดยเสียงที่มี ความถี่ต�่ำสูงถูกดูดกลืน พลังงานมากกว่า เสียงความถี่ ตัวอย่างสมการที่ (7) แสดง สมการหาค่ า การดู ด กลื น เสี ย งของอากาศ แนะน�ำโดย ISO 9613-2 ad Aair = - 1000 h
….สมการที่ (7)
รูปที่ 3 ที่ระยะ r1 พลังงานเสียงกระจายอยู่ในพื้นที่ โดย d คือ ระยะห่างจากรางรถไฟ หน่วยเป็นเมตร a ที่ระยะ r2 พลังงานเสียงแพร่กระจายอยู่ a เป็นค่าคงที่ ในพื้นที่ 4a ทำ�ให้ความเข้มเสียงมีค่าลดลง
2. Ag ค่าการดูดกลืน เนื่องจาก ค่า สัมประสิทธ์การดูดกลืนของพื้นที่ที่เสียงเดิน ทางผ่าน (Ground effect) มีคา่ ขึน้ อยูก่ บั ระยะ ทางระหว่างแหล่งก�ำเนิดถึงจุดรับเสียงและ ความสู ง ของจุ ด รั บ เสี ย ง แต่ ใ นบางแบบ จ�ำลองฯ รวมเอาผลจากสภาพพื้นผิวเข้ามา ไว้ในแบบจ�ำลองด้วย เ ช่ น พื้ น คอนกรี ต มี สัมประสิทธิก์ ารดูดกลืนน้อยกว่าพืน้ สนามหญ้า เป็นต้น ดังตัวอย่างสมการที่ (6) แสดงสมการ ค่ า การดู ด กลื น เสี ย งของพื้ น ที่ ใช้ ใ นแบบ จ�ำลองของสหราชอาณาจักร d Ag = - 130 h
….สมการที่ (6)
โดย d คือ ระยะห่างจากรางรถไฟ หน่วยเป็นเมตร h คือ ความสูงของจุดรับเสียงจากพื้น หน่วย เป็นเมตร
No.24 September 2013 Green Research 15
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ
4. Ab ค่าแก้เนื่องจากสิ่งกีดขวาง (Screening) เมื่อเสียงเดินทางมาประทะกับ สิง่ กีดขวางซึง่ อาจจะเป็นก�ำแพงกัน้ เสียง เนิน ดิน ฯลฯ จะเกิดการสูญเสียพลังงานเนือ่ งจาก การเลี้ยวเบน โดยขนาดระดับเสียงระดับที่ ลดลง ขึน้ อยูก่ บั ความยาวและความสูงของสิง่ กีดขวาง รวมทั้งความถี่ของเสียงดังตัวอย่าง สมการที่ (8) สมการค่ า แก้ เ นื่ อ งจากสิ่ ง กีดขวางที่ใช้ในยุโรปบางประเทศ Adiv = - 10 log
1 20 N+3
….สมการที่ (8)
โดยที่ คือค่า Fresnel number แนะนำ�โดย Makeawa
5. Ar ค่าแก้เนื่องจากการสะท้อน (Reflection) ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก คือ มุม ระหว่างแหล่งก�ำเนิดและจุดรับเสียง และ ขนาดของตัวสะท้อน 6. A m ค่ า แก้ เ นื่ อ งจากสภาพ อากาศ (Meteorological correction) ขึ้นกับ ปัจจัยต่างๆ ทางอุตุนิยมวิทยา เช่น ความเร็ว ลม อุณหภูมิ เป็นต้น นอกจากนี้ ในตัวแบบจ�ำลองฯ อาจ เพิ่มเติมเทอมที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยแวดล้อม อื่นๆ อีกเช่น ต้นไม้ อาคารบ้านเรือน ริมราง รถไฟ เป็นต้น และจากปัจจัยทั้งหมดที่กล่าว มาจะเห็นได้ว่า แบบจ�ำลองฯ ที่เหมาะกับ พื้นที่หนึ่งอาจไม่เหมาะกับอีกพื้นที่หนึ่งก็ได้ ดั ง นั้ น จึ ง ควรมี ก ารพั ฒ นาแบบจ� ำ ลองฯที่ เหมาะสมกับพื้นที่โดยเฉพาะ รวมทั้งมีการ ตรวจสอบและปรับปรุงแบบจ�ำลองก่อนใช้งาน
16 Green Research No.24 September 2013
การคำ�นวณหาระยะห่างระหว่างรางรถไฟกับจุดรับเสียงหรือการ คำ�นวณหาความสู ง กำ�แพงกั้ น เสี ย งที่ เ หมาะสมในการลดระดับ เสียงจากรถไฟ
บทบาทของแบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ส�ำหรับคาดการณ์ระดับเสียง ในการแก้ไข ปัญหาเสียงจากรถไฟ เราสามารถแบ่งบทบาทในการแก้ไขปัญหาของแบบจ�ำลองคาดการณ์ระดับเสียงฯ ตาม กระบวนการจัดการแก้ไขปัญหาด้านเสียงทั้ง 3 องค์ประกอบได้ดังนี้ 1. บทบาทในการควบคุมเสียงที่แหล่งก�ำเนิด (source path) เช่น การค�ำนวณหา อัตราเร็วที่เหมาะสมของรถไฟที่ท�ำให้ระดับเสียงไม่เกินระดับที่เหมาะสม 2. บทบาทในการควบคุมเสียงทีท่ างผ่าน (propagation path) เช่น การค�ำนวณหาระยะ ห่ า งระหว่ า งรางรถไฟกั บ จุ ด รั บ เสี ย ง หรื อ การค�ำ นวณหาความสู ง ก� ำ แพงกั้ น เสี ย งที่ เหมาะสมในการลดระดับเสียงจากรถไฟ 3. บทบาทในการควบคุมเสียงที่ผู้รับเสียง (receiver path) ในการออกแบบอาคาร เพื่อลดผลกระทบด้านเสียงจ�ำเป็นต้องทราบข้อมูลระดับเสียง ณ บริเวณอาคาร ซึ่งในบาง กรณี ข ้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการตรวจวั ด จริ ง ไม่ เ พี ย งพอ จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ข ้ อ มู ล จากการ ค�ำนวณจากแบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ช่วยในการออกแบบ เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง Cowan, James P. (1994). Handbook of Environmental Acoustics. ISO 9613-2 : 1996-Acoustic-Attenuation of Sound During Propagation Outdoor. István L vér and Leo L. Baranek. (2005). Noise and Vibration Control Engineering. Thompson, David. (2008). Railway Noise and Vibration Mechanisms, Modelling and Means of Control. Van Leeuwen, Hans J.A. Railway Noise Prediction Models a Comparision. http://www.railway.co.th http://www.railway-technical.com http://www.rtri.or.jp
ติดตามเฝ้าระวัง โครงการวางระบบโครงข่ายตรวจสอบสารอินทรียร์ ะเหยในไอสารในดิน (soilgas monitoring system) โดยขุด เจาะชัน้ ดินโดยเครือ่ งขุดเจาะแบบต่อเนือ่ ง (Geoprobe) และติดตัง้ ระบบ และทดสอบประสิทธิภาพในการบำ�บัด สารอินทรียร์ ะเหยในดิน โดยระบบ Soil Vapor Extraction (SVE) เคลือ่ นที่ แฟรดาซ์ มาเหล็ม* และพีรพงษ์ สุนทรเดชะ*
เทคนิค SVE มักถูกน�ำมาใช้ก�ำจัดสารอินทรีย์ระเหยที่ ปนเปื้อนในชั้นดินไม่อิ่มน�้ำ ซึ่งอยู่ในระดับความลึกไม่มาก เทคนิคนี้ส่วนใหญ่น�ำมาใช้กับพื้นที่ปนเปื้อนที่ทราบแหล่ง ก�ำเนิด (source zone) หรือต�ำแหน่งปนเปื้อนความเข้ม ข้นสูง (hot spot) ที่แน่นอน
รูปที่ 1 หลักการบ�ำบัดฟื้นฟูชั้นดิน/น�้ำใต้ดินด้วยเทคนิค SVE (Suthersan, 1997)
*นักวิชาการสิง่ แวดล้อมช�ำนาญการ ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม
การปนเปือ้ นสารอินทรียร์ ะเหย ในชัน้ ดินและชัน้ น�้ำใต้ดนิ ทีก่ อ่ ให้เกิด ความเสีย่ งต่อสุขภาพของประชาชนในพืน้ ที่ (health risk) จ�ำเป็นต้องมีการ บ�ำบัดฟื้นฟูให้คืนสู่สภาพเดิมโดยเร็ว หรืออย่างน้อย ต้องฟื้นฟูให้อยู่ใน ระดับที่ไม่เป็นอันตราย ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้ในการบ�ำบัดฟื้นฟูนั้นมีหลาย เทคนิค การเลือกใช้เทคโนโลยีในการบ�ำบัดฟืน้ ฟูนนั้ ขึน้ อยูก่ บั ชนิดของสาร ปนเปื้อนและสภาวะแวดล้อมที่เกิดการปนเปื้อน ในบางครั้งอาจมีการใช้ มากกว่าหนึ่งเทคโนโลยีร่วมกัน ซึ่งเทคนิค SVE มักถูกน�ำมาใช้ก�ำจัดสาร อินทรีย์ระเหยที่ปนเปื้อนในชั้นดินไม่อิ่มน�้ำ ซึ่งอยู่ในระดับความลึกไม่มาก เทคนิคนี้ส่วนใหญ่นำ� มาใช้กับพื้นที่ปนเปื้อนที่ทราบแหล่งก�ำเนิด (source zone) หรือต�ำแหน่งปนเปื้อนความเข้มข้นสูง (hot spot) ที่แน่นอน โดยจะ ท�ำการอัดอากาศอุณหภูมิปกติหรืออากาศร้อนลงไปในชั้นดิน แล้วสูบ อากาศดังกล่าวทีม่ ไี อของสารอินทรียร์ ะเหยกลับขึน้ มาบ�ำบัด ซึง่ อาจบ�ำบัด โดยใช้การเผา (incineration) หรือควบแน่นแล้วเก็บใส่ถงั บรรจุ ดังแสดงใน รูปที่ 1 กลไกการเคลื่อนที่ของแก๊สในดินในขณะที่ท�ำการบ�ำบัดโดยเทคนิค Soil Vapor Extraction (SVE) ค่อนข้างซับซ้อน ซึง่ โดยทัว่ ไปแล้ว การเคลือ่ น ตัวของ soilgas ในดินประกอบด้วยสองกระบวนการ ได้แก่ กระบวนการพา (advection) และกระบวนการแพร่ (diffusion) กระบวนการพาเป็นกระบวน การเคลื่อนที่ของไอ VOCs ไหลผ่านชั้นดิน โดยอาศัยกลไกที่ไหลตามกัน และมีทิศทางไปทิศทางหนึ่ง ซึ่งในชั้นดินต้องเป็นแบบไม่อิ่มน�้ำ และมีการ ยอมให้ไอของ VOCs ไหลผ่านได้งา่ ย เป็นทิศทางเดียวกันอย่างชัดเจนตาม ทิศทางการลดลงของความดัน (pressure gradient) เสมือนหนึง่ ว่า ไอของ VOCs ไหลผ่านช่องอุโมงค์ขึ้นมายังผิวดิน ส่วนกระบวนการแพร่นั้นเป็น No.24 September 2013 Green Research 17
ติดตามเฝ้าระวัง
การเคลื่อนที่ของไอ VOCs ไหลผ่านชั้นดิน โดยอาศัยกลไกการไหล กระจัดกระจายไปทัว่ บริเวณ ซึง่ อาศัยความแตกต่างของความเข้มข้น ของ VOCs ระหว่างจุดสองจุดใดๆ (concentration gradient) ตาม กฎของฟิกซ์ (Fick’s law) ซึ่งชั้นดินที่จะท�ำให้การเคลื่อนที่โดยการ แพร่จะเป็นดินทีม่ เี นือ้ แน่นและมีการยอมให้ซมึ ผ่านได้นอ้ ย และเมือ่ เปรียบเทียบระหว่างกระบวนการพาและกระบวนการแพร่ พบว่า โดย ทั่วไปประมาณร้อยละ 40-60 จะเคลื่อนที่โดยกระบวนการพา ส่วนที่ เหลือจะเคลื่อนที่โดยกระบวนการแพร่ การตรวจพบการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ระเหยทั้งในดินและ ในน�ำ้ ใต้ดนิ ในพืน้ ทีเ่ ขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยองบ่งชีถ้ งึ ความเป็น ไปได้ว่าการปนเปื้อนในชั้นดินท�ำให้เกิดการปนเปื้อนในชั้นน�้ำใต้ดิน เนือ่ งจากการชะสารอินทรียร์ ะเหยจากดินสูน่ ำ�้ ใต้ดนิ ดังนัน้ การบ�ำบัด ฟืน้ ฟูนำ�้ ใต้ดนิ ทีม่ กี ารปนเปือ้ นสารอินทรียร์ ะเหยให้มปี ระสิทธิภาพนัน้ จ�ำเป็นต้องมีการบ�ำบัดฟื้นฟูดินที่มีการปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหย ด้วย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม จึงได้คัดเลือกพื้นที่ที่พบการ ปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยในดินเพื่อท�ำการติดตั้งระบบ Soil Vapor Extraction (SVE) พร้อมการวางระบบโครงข่ายตรวจสอบสารอินทรีย์ ระเหยในไอสารในดิน (soilgas monitoring system) ในการทดสอบ ประสิทธิภาพของระบบ SVE ในการบ�ำบัดสารอินทรีย์ระเหยในดิน โครงการนี้ด�ำเนินการในพื้นที่ทดสอบที่มีการปนเปื้อนของสาร อิ น ทรี ย ์ ร ะเหยในดิ น โดยด� ำเนินงานร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะทีป่ รึกษา โครงการ ซึ่งการด�ำเนินงานได้มีการศึกษาหลายด้านส�ำหรับการ ออกแบบและติดตัง้ ระบบ เช่น การศึกษาคุณสมบัตขิ องดิน การศึกษา คุณสมบัตขิ องสารปนเปือ้ น การศึกษาคุณสมบัตขิ องสภาวะแวดล้อม จากข้อมูลการวิเคราะห์ดินทั้งหมดโดยเฉพาะข้อมูลการปนเปื้อน น�ำมาใช้เป็นตัวบ่งชี้ว่าขอบเขตและศูนย์กลางการปนเปื้อน ซึ่งเป็น ข้อมูลส�ำคัญในการออกแบบต�ำแหน่งของหลุมในระบบโครงข่าย ตรวจสอบไอดิน ข้อมูลข้างต้นใช้ในการจัดท�ำแบบจ�ำลองคณิตศาสตร์ เพื่ อ จ� ำ ลองลั ก ษณะและทิ ศ ทางการไหลของอากาศในดิ น ทั้ ง นี้ ประสิทธิภาพการบ�ำบัดสารอินทรีย์ระเหยในดินโดยใช้ระบบ Soil Vapor Extraction (SVE) ในพื้นที่ทดสอบนี้ สามารถบ�ำบัดไอสาร อินทรียร์ ะเหยทีอ่ ยูใ่ นดิน มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ในระยะเวลา 6 เดือน รายละเอียดแสดงดังรูปที่ 2-5
18 Green Research No.24 September 2013
รูปที่ 2 ระบบ Soil Vapor Extraction (SVE) เคลื่อนที่
รูปที่ 3 แผนภาพแสดงตำ�แหน่งโครงข่ายบ่อตรวจสอบไอดิน
รูปที่ 4-5 การเปลี่ยนแปลงปริมาณ VOCs หลังจากเดินระบบ 4 และ 12 ชั่วโมง ตามลำ�ดับ
ก้าวหน้าพัฒนา บ้านดิน บ้านลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการก่อสร้าง บ้านที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม สู่วิถีชีวิตเศรษฐกิจสีเขียว
ธงชัย สีฟ้า*
บ้านดินเก่าแก่ที่มีอายุราว 100 ปี พบทั้งในภาคอีสานและภาคเหนือ ยกตัวอย่างเช่น บ้านแบบเก่าของ ชาวลีซู และอาข่า
ปัจจุบันคนส่วนใหญ่เริ่มหันมาสนใจ ในการสร้างบ้านดินมากขึน้ เนือ่ งจากเล็งเห็นว่า บ้านดินสามารถสร้างได้ด้วยตัวเอง และงบ ประมาณในการก่อสร้างไม่สูงมากนักและ ที่ส�ำคัญคือ วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างบ้านนั้น ไม่กอ่ ให้เกิดผลเสียต่อธรรมชาติ1 ส�ำหรับอายุ การใช้งานของบ้านดินก็อาจมีอายุมากกว่า 100 ปี โดยบ้านดินเก่าแก่ที่มีอายุราว 100 ปี พบทัง้ ในภาคอีสานและภาคเหนือยกตัวอย่าง เช่น บ้านแบบเก่าของชาวลีซู และอาข่า ซึ่ง เป็นบ้านที่มีส่วนผสมของดินในการก่อสร้าง บ้ า นดิ น ของชาวเวี ย ดนามที่ อ พยพเข้ า มา บ้ า นดิ น ที่ ก ่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ดิ น ดิ บ แถบเมื อ งอุ บ ล ราชธานีและศรีสะเกษ2 นอกจากนี้เนื่องจาก บ้านดินสร้างด้วยอิฐดินดิบ ซึง่ จะมีความหนา กว่าอิฐปกติ และไม่ได้เผา ท�ำให้เป็นฉนวนกัน ความร้ อ นที่ ดี เ ยี่ ย มบ้ า นดิ น จะมี อุ ณ หภู มิ ภายในบ้าน 24-26 องศาเซลเซียสตลอดทั้ง ปี3 เป็นระดับอุณหภูมิที่เย็นสบายในการพัก อาศัยโดยไม่ต้องติดเครื่องปรับอากาศ ดังนั้น ในระยะหลังมานี้จึงมีผู้สนใจสร้างบ้านดิน มากขึ้ น โดยเฉพาะผู ้ ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การเลือกสร้างบ้านที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสนใจในวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง
ประโยชน์ที่ส�ำคัญที่ยังไม่ค่อยมีผู้พูดถึงคือ บ้านดินเป็นบ้านทีล่ ดการปล่อยก๊าซคาร์บอน จากการก่อสร้าง ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลก ร้อนได้ เมื่อเปรียบเทียบกับบ้านที่ก่อสร้าง จากวัสดุอื่น โดยในประเทศนิ ว ซี แ ลนด์ มี ก าร แนะน�ำการค�ำนวณปริมาณก๊าซคาร์บอนได ออกไซด์ จ ากการเลื อ กซื้ อ วั ส ดุ ส ร้ า งบ้ า น (carbon calculator for houses) โดยเชื่อว่า วิธนี จี้ ะสามารถลดปริมาณก๊าซคาร์บอนลงได้ ถึงประมาณ 50 ตัน ซึง่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จ�ำนวน 50 ตันนี้เอง มีค่าเทียบเท่ากับก๊าซ คาร์บอนที่ปล่อยจากท่อไอเสียรถยนต์ตลอด วงจรชีวิตที่รถยนต์คันหนึ่งสามารถใช้งานได้ หรือมีคา่ เทียบเท่ากับการปล่อยก๊าซคาร์บอน จากการบินซึ่งเทียบระยะทางการบินได้เป็น ระยะประมาณ 500,000 ไมล์
*นักวิชาการสิง่ แวดล้อม ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม No.24 September 2013 Green Research 19
ก้าวหน้าพัฒนา ความประหยัดซึ่งก่อให้เกิดภาพลักษณ์ของสถาปัตยกรรมที่มาจาก ความเรียบง่าย สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ทั้งนี้ผู้จัดการระบบโปรแกรมการคิด ค�ำนวณ Mr. Geoff Henley ได้บอกว่าการ ค�ำนวณมีขั้นตอนธรรมดา แต่สามารถแสดง ให้เห็นได้วา่ จากการเลือกวัสดุแต่ละชนิดจะมี ผลต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรง เนื่องจากงานก่อ สร้ า งมี ห ลายแบบ โดยวิ ธี ก ารค� ำ นวณจะ แสดงให้เห็นถึงวัสดุที่เลือกใช้แต่ละชนิดว่า จะมี ค ่ า การปล่ อ ยก๊ า ซคาร์ บ อนมากน้ อ ย เพี ย งใด เช่ น วั ส ดุ จ� ำ พวกไม้ ชนิ ด Pinus radiate สามารถดูดซึมก๊าซคาร์บอนได้ถึง 1.7 ตัน ในกรณีทใี่ นบ้านใช้แต่วสั ดุจำ� พวกไม้ Pinus radiate ส่วนวัสดุจ�ำพวกอลูมิเนียมจะ ก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนประมาณ 9 ตัน ต่อ หนึ่งผลิตภัณฑ์ Mr. Geoff Henley เสริมว่า โปรแกรมการออกแบบนี้เองเหมาะส�ำหรับ ค�ำนวณบ้านแบบชัน้ เดียว ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ หากผู ้ บ ริ โ ภคเลื อ กใช้ วั ส ดุ จ�ำ พวกไม้ แ ทน อลูมเิ นียมจะสามารถลดก๊าซคาร์บอนได้สงู ถึง ประมาณ 20-25 ตันจากอากาศ โปรแกรมนี้ จึงเป็นทางเลือกหนึ่งของผู้บริโภคที่สามารถ เลือกซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม4 นอกจากนี้ บ้ า นดิ น ยั ง มี ป ระโยชน์ ในแง่ของการเป็น Carbon Banking ด้วย เนื่ อ งจากบ้ า นดิ น สามารถลด Carbon emission จากการสร้างบ้านได้ โดยเฉพาะ ในปัจจุบันประเทศไทยถูกเพ่งเล็งว่า ปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอัตราเพิ่มขึ้นมาก ดั ง นั้ น การก่ อ สร้ า งบ้ า นดิ น ซึ่ ง วั ต ถุ สร้างบ้านส่วนใหญ่มาจากธรรมชาติ เช่น ดิน แกลบ และฟางข้าว จึงมีความสามารถ ในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนได้ดีกว่า การสร้างบ้านด้วยวัสดุสร้างบ้านอื่นๆ ซึ่ง กรอบแนวความคิ ด สามารถสรุ ป ได้ ดังภาพต่อไปนี้
บานดิน ใชวัสดุจากธรรมชาติ เชน ดิน แกลบ ฟางขาว ซึ่งไมตองผานกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม ชวยลดการเกิด CO2 จากการสรางบาน
คำนวณเปร�ยบเทียบระหวาง ปร�มาณการใชคารบอน ในวัสดุกอสรางบานดิน และบานประเภทอื่นๆ
- บานดินลดโลกรอน - CO2 ตอตารางเมตร - Carbon Banking - สงเสร�มการปลูกบานดิน
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยลดการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยน�ำฟางอัด เข้าไปในโครงไม้ของบ้านจนเต็ม เกิดเป็น ผนังหนา 60 เซนติเมตร เมื่อฉาบด้วยปูนแล้ว ฟางจะเป็ น ฉนวน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ประหยัดพลังงานมากกว่าวัสดุกอ่ สร้างทีน่ ยิ ม ทั่วไปราวสองถึงสามเท่า5 สำ�หรับบ้านดินในประเทศไทยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นการสร้างด้วยเทคนิคอิฐดินดิบ (Adobe) 6 เนื่ อ งจากสามารถสร้ า งได้ เ ร็ ว และยังมีการศึกษาถึงวิธีเพิ่มประสิทธิภาพ ของบ้ า นดิ น โดยศึ ก ษาการประยุ ก ต์ ใ ช้ วัตถุดบิ ทางธรรมชาติในการเพิม่ ประสิทธิภาพ ของก้ อ นอิ ฐ ดิ น ดิ บ เพื่ อ ใช้ ใ นการก่ อ สร้ า ง บ้านดิน โดยผลการทดสอบ พบว่า แกลบ และขุ ย มะพร้ า วสามารถเพิ่ ม กำ�ลั ง รั บ แรงอัด และลดการหดตัวของก้อนอิฐดินดิบ แต่ ใ นส่ ว นผสมที่ มี แ กลบแทนที่ เ กิ น กว่ า ในทวีปอเมริกาได้คำ� นึงถึงสิง่ แวดล้อม ร้อยละ 3 นัน้ ส่งผลให้กำ�ลังรับแรงอัดมีคา่ ลด เช่นเดียวกัน โดยในการสร้างบ้านมีการน�ำ ลง และการอบก้อ1นอิฐในตูอ้ บ ทำ�ให้คา่ กำ�ลัง มัดฟางมาแทนอิฐบล็อกส�ำหรับก่อสร้างบ้าน รับแรงอัดเพิ่มขึ้น 20 Green Research No.24 September 2013
บานประเภทอื่นๆ ใชวัสดุที่ตองผานกระบวนการผลิตทางอุตสหกรรม เชน อลูมิเนียม เหล็ก กระเบื้อง สงผลใหเกิด CO2 จากการสรางบานสูง
นอกจากนี้ยังมีการศึกษาบ้านดินตามแนวทางสถาปัตยกรรมที่ยั่งยืนกรณีศึกษาบ้านดิน หมู่บ้านศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร โดยผลการศึกษาพบว่าบ้านดินไม่ใช่สงิ่ ใหม่ทเี่ กิดขึน้ มาในประเทศไทย บ้านดินทีห่ มูบ่ า้ นศรีฐานเกิดขึน้ จากความคิดทีจ่ ะฟืน้ ฟูวธิ ชี วี ติ ดัง้ เดิม หลังจากประสบปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมซึ่งเป็นวิถีชีวิตแบบพอเพียงและพึ่งพาอาศัยกัน บ้านดินจึงเกิดขึ้นในฐานะตัวแทนทาง สถาปัตยกรรมตามแนวความคิดแบบพอเพียงรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของบ้านดินมุ่งเน้นที่จะตอบสนองการใช้สอยแบบตรงไปตรงมา แสดงให้เห็นถึงความเหมาะสมในการใช้งานปัจจัยแวดล้อมที่เด่นชัดของบ้านดินในการเป็นสถาปัตยกรรมที่ยั่งยืน คือ ความสอดคล้อง กับแนวความคิดในการพึ่งพาตนเองและพึ่งกันเองของชุมชนความยั่งยืนของอายุการใช้งานของบ้านดินและธรรมชาติ ความประหยัดซึ่งก่อ ให้ เ กิ ด ภาพลั ก ษณ์ ข องสถาปั ต ยกรรมที่ ม าจากความเรี ย บง่ า ย สั ม พั น ธ์ กั บ สภาพแวดล้ อ มที่ ทำ�ให้ บ้ า นดิ น เกิ ด ภาวะความสบายใน การอาศัยบ้านดินจึงมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตที่พึ่งพาและพออยู่พอกินของชาวบ้านรวมถึงความสอดคล้องในองค์รวมของงาน สถาปัตยกรรมที่ยั่งยืน7 เอกสารอ้างอิง 1 จตุพร ตั้งศิริสกุล (2550) การประยุกต์ใช้วัตถุดิบ ทางธรรมชาติ ใ นการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ของก้อนอิฐดินดิบเพื่อใช้ในการก่อสร้าง บ้านดิน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรสถาปัตยกรรม ศาสตร์มหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมืองมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อภิชาต ไสวดี (ม.ป.ป.). ก่อนนัน้ ...บ้านดิน [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http : www.b aandin.org 2
พัชนิจ เนาวพันธ์ (2553). การลดต้นทุนการก่อสร้าง และการสร้างธุรกิจรีสอร์ทแนวใหม่ด้วย “บ้านดิน” [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http:// w w w . b a a n d i n t h a i . c o m / i n d e x 2 . p h p ? o p t i o n = c o m _ c o n t e n t & d o _ pdf=1&id=114 3
Henley, Geoff. (อ้างถึงใน www.tgo.or.th). Carbon calculator for houses. 4
รอธส์ไซลด์, เดวิด เดอ. (2551). คู่มือใช้ชีวิตในยุค โลกร้อน. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ 5
การสร้างบ้านดิน
นิทรรศการบ้านดิน (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้จาก : http : www.baandin.org 6
ดัมพ์ ผดุงวิเชียร. (2545). การศึกษาบ้านดินตาม แนวทางสถาปัตยกรรมที่ยั่งยืน กรณีศึกษา บ้านดินหมู่บ้านศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร. วิ ท ยานิ พ นธ์ ห ลั ก สู ต รปริ ญ ญา สถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิจยั สภาพแวดล้อมภายในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง. 7
บ้านดิน ณ ศูนย์การเรียนรู้ พันพรรณ อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
No.24 September 2013 Green Research 21
ก้าวหน้าพัฒนา สินค้าที่เป็น Eco label ตอบโจทย์การค้ายุคใหม่? รัฐ เรืองโชติวิทย์*
การค้าในโลกปัจจุบันมีการแข่งขัน ค่ อ นข้ า งสู ง โดยเฉพาะการตกลงในเรื่ อ ง การค้าเสรี ท�ำให้ก�ำแพงภาษีที่เคยเป็นตัว กีดกันทางการค้าหายไป การผลิตทีต่ อ้ งค�ำนึง ถึ ง การแข่ ง ขั น ดั ง กล่ า ว จึ ง ต้ อ งการเพิ่ ม คุณภาพสินค้าและสร้างการยอมรับของการ บริ โ ภคมากขึ้ น กว่ า เดิ ม แม้ ก ระทั่ ง สิ น ค้ า แบรนด์เนมที่ต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เกิด ความนิยมใหม่ๆ ในลักษณะการค้าของโลก ยุคใหม่นี้ พบว่าเกิดประเด็นปัญหา ขึ้นมา 5 ประการ ซึ่ ง เป็ น ผลจากการศึ ก ษาของ สหภาพยุ โ รป มองการแข่ ง ขั น ทางการค้ า ยุคใหม่ ดังนี้
1. การท�ำลายดุลธรรมชาติ เป็นผล จากการเปลี่ ย นแปลงการผลิ ต ใน ระบบข้ามชาติที่ทรัพยากรธรรมชาติ ถูกถลุงโดยระบบการลงทุนของบริษทั ใหญ่จากต่างประเทศทีม่ ที นุ หนา เช่น การใช้ทรัพยากรพลังงาน ทรัพยากร แร่ธาตุ เป็นต้น ซึ่งจากการแข่งขัน ทางการค้าทีเ่ น้นการผลิตให้ได้ผลผลิต มากๆ จนละเลยผลกระทบด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ ม ทรั พ ยากรธรรมชาติ
*นักวิชาการสิง่ แวดล้อมช�ำนาญการพิเศษ ศูนย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม 22 Green Research No.24 September 2013
ถูกท�ำลาย เกิดภาวะมลพิษจากของ เสี ย อุ ต สาหกรรมการขนส่ ง ภาวะ ขยะพิษ โลกร้อน ตลอดจนคุณภาพ ชีวิตของประชาชนได้รับผลกระทบ จากพิษของมลภาวะต่างๆ จนธรรมชาติ เสี ย สมดุ ล และยากแก่ ก ารเยียวยา กลับคืน
2. ช่องว่างระหว่างความร�่ ำรวยกับ ความยากจนเกิ ด จากการพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมภายใต้กฎกติกา การค้าใหม่ ที่เปิดโอกาสให้ทุนข้าม ชาติเข้ามาใช้ทรัพยากรและลงทุนใน การผลิตอย่างเสรี ท� ำให้มีผลก�ำไร ค่อนข้างสูงมากจนมีช่องว่างระหว่าง รายได้ของนักลงทุนกับประชาชนใน ท้องถิน่ อย่างมากพบว่าในโลกการค้า ยุคใหม่ จะมีรายได้รวมของประชาชน ทั้งโลก 83% ตกอยู่ในมือของนายทุน คนรวยสุด 20% ประชาชนในระดับ ล่างมีรายได้เพียง 1.4% (ทีม่ า: จากผลส�ำรวจรายได้ประชากรโลก: Word Bank Report 2012)
3. เกิดระบบการพึ่งพาจากภายนอก มากขึ้น จากหนังสือ world system theory,ของอิมมานูเอล วอเรนสเตน ได้แยกกลุ่มประเทศออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแกนกลางระบบทุน กลุ่ม กึง่ ทุนนิยม และกลุม่ ประเทศชายขอบ เช่น เอเชีย แอฟริกา ที่จ�ำเป็นต้อง พึ่งพาการค้าและการลงทุนจากกลุ่ม ประเทศแกนกลางระบบทุน โดยกลุ่ม ประเทศที่ อ ยู ่ ช ายขอบ มี ก ารพึ่ ง พา การป้ อ นสิ น ค้ า เข้ า สู ่ ต ลาดโลกใน ราคาถูก คุณภาพต�่ำ เช่น สินค้าเลียน แบบที่มีการปนเปื้อนสารเคมีหรือใช้ สารพิษในการผลิตซึง่ เป็นอันตรายต่อ ผู้บริโภคของเล่นที่มีคุณภาพต�่ำ
4. การเกิดการสร้างวัฒนธรรมบริโภค นิยมใหม่ มีการวัดความมั่งคั่งทาง เศรษฐกิ จ ด้ ว ยการสร้ า งความ เติ บ โตการบริ โ ภค สร้ า งความเชื่ อ การบริโภคนิยมตอบสนองต่อความสุข ของผู ้ ค นในสั ง คม โดยไม่ ค� ำ นึ ง ถึงความจ�ำเป็นขั้นพื้นฐาน หรือการ บริ โ ภคสารพิ ษ ที่ มี ผ ลต่ อ สุ ข ภาพ และที่ส�ำคัญ คือ การไม่ได้ค�ำนวณ ถึ ง ต้ น ทุ น จากการบริ โ ภคเกิ น ตั ว เช่ น การลงทุ น โฆษณาเกิ น จริ ง ใน สิ น ค้ า ฟุ ่ ม เฟื อ ย กลุ ่ ม อาหารและ เครื่ อ งดี่ ม ที่ เ ป็ น อาหารขยะ ที่ มี ผ ล ต ่ อ สุ ข ภ า พ ป ร ะ ช า ช น ใ น บ า ง ประเทศใช้นโยบายประชานิยม เน้น การซื้อสินค้าราคาถูกหรือแจกแถม สินค้า เพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายให้มาก ขึ้ น ก่ อ ให้ เ กิ ด ภาวะหนี้ สิ น โดยไม่ จ�ำเป็น
5. การตอบโจทย์ ความต้องการความสุข จากการบริ โ ภคนิ ย ม เพื่ อ ตอบ คำ�ถามของความต้องการหารายได้ ให้มากขึ้นเพื่อซื้อสินค้าและบริการ ความสุขจากการบริโภคสินค้าและ บริการ ที่ทำ�ให้ภาวะหนี้สินที่เพิ่มขึ้น จากการซื้อสินค้าเงินผ่อน บริการการ ใช้บัตรเครดิตหรือการใช้นโยบายลด ราคาสินค้าเพื่อจูงใจในการซื้อสินค้า ราคาแพง เช่น การซือ้ บ้าน รถราคาถูก แต่เกิดภาวะหนีส้ นิ ในชนชัน้ กลางของ บางประเทศที่ใกล้จะล้มละลาย
จากที่ ก ล่ า วมาแล้ ว ทั้ ง 5 ประเด็ น คงจะเป็ น ประเด็ น ที่ ต้ อ งนำ�มาพิ จ ารณา ในแต่ ล ะประเทศที่ อ ยู่ ช ายขอบ ต้ อ งปรั บ นโยบายที่ ต อบสนองต่ อ การค้ า ยุ ค ใหม่ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ข้ อ แรก คื อ การทำ�ลาย ดุลธรรมชาติ ที่มีผลต่อทรัพยากรและสภาพ แวดล้ อ มของประเทศชายขอบ เช่ น กลุ่ ม เอเชี ย ละติ น อเมริ ก า หรื อ แอฟริ ก า ต้ อ ง ปรั บ ตั ว อย่ า งมาก และเพื่ อ การดำ�รงอยู่ ของทรั พ ยากรที่ มี จำ�กั ด และการลดผล กระทบสิ่งแวดล้อม สุขภาพประชาชนทาง หนึ่ ง คื อ การจำ�กั ด การเติ บ โตของระบบ ทุนข้ามชาติที่ก่อให้เกิดมลพิษที่มีการย้าย ฐานผลิตมาลงทุนในประเทศกลุ่มที่ 3 ด้วย มาตรฐานต่างๆ เท่าที่จะทำ�ได้ ทางหนึ่งคือ การกำ�หนดมาตรฐาน การผลิตสินค้า Eco label หมายถึง สินค้าที่ได้การรับรองหรือ ประกาศตนเองว่าเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่ง ตอบโจทย์ทั้ง 5 ประเด็นดังกล่าวข้างต้น ทั้ง ด้านการตลาดจนถึงการผลิตที่สอดคล้องกัน กล่าวคือ
การผลิตที่ต้องคำ�นึงถึงการแข่งขัน จึงต้องการเพิ่มคุณภาพ สินค้า
No.24 September 2013 Green Research 23
ก้าวหน้าพัฒนา 24 Green Research No.24 September 2013
1. เป็นการใช้ทรัพยากรที่เหมาะสม และไม่เกิดเป็นภาระในการทดแทน ทรั พ ยากรธรรมชาติ ก ารฟื้ น ฟู ที่ เหมาะสม หรือเรียกว่า มีขดี จำ�กัดการ รองรับการใช้ทรัพยากร (Carrying Capacity) มีการควบคุมการลงทุน ทีก่ อ่ ให้เกิดมลพิษ และการรับผิดชอบ ต่ อ มลพิ ษ ที่ เ กิ ด จากการผลิ ต อย่ า ง จริ ง จั ง ในส่ ว นของระบบพึ่ ง พา ทรัพยากรจากภายนอกต้องมีระบบ การจัดสรรอย่างเหมาะสมโดยเฉพาะ ทรัพยากรพลังงานที่นับวันจะหมดไป โดยไม่ อ าจทดแทน จำ�เป็ น ต้ อ งหา แหล่งพลังงานหมุนเวียนใอุตสาหกรรม การผลิต หรือพลังงานทางเลือกอื่นๆ เพื่อทดแทนพลังงานที่หมดไป
ประสบปัญหามลพิษอย่างรุนแรงใน ขณะนี้ ที่เน้นนโยบายประชานิยมใน การบริโภคมากเกินความจำ�เป็น
3. ควรให้ความรู้แก่ประชาชนใน การเลือกซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับวิถชี วี ติ ให้บริโภคอย่างพอเพียงตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและรักษาสภาพ แวดล้อมให้ยั่งยืน
สินค้าทีเ่ ป็น Eco label จะอยูห่ รือจะไป ขึน้ กับการตอบรับของกระแสของสังคมทีเ่ ริม่ มองปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการบริโภค ทรัพยากร การรับผิดชอบต่อสังคม และทุก คนมีสว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม สินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมถึงแม้จะไม่ เป็นทีน่ ยิ มในขณะนี้ ด้วยการผลิตทีต่ น้ ทุนอาจ สูงกว่า แต่ในอนาคตน่าจะเป็นคำ�ตอบที่ดี 2. เป็นการพัฒนาทีม่ แี ผนทีเ่ หมาะสม สำ�หรับผู้บริโภคและประชาชนที่ต้องช่วยกัน และสร้างจิตสำ�นึกในการรับผิดชอบ รักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ต่อสังคม ต่อชุมชนและโลกใบนีอ้ ย่าง จริงจัง ผู้ประกอบการหรือนักลงทุน เอกสารอ้างอิง ต้องคำ�นึงถึงผลกระทบย้อนกลับสูก่ าร รัฐ เรืองโชติวทิ ย์ ทุนนิยมกับสิง่ แวดล้อม เอกสาร ผลิตทีไ่ ปลงทุนในทีต่ า่ งๆ ของโลก เช่น ประกอบการสอนนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย กระแสการต่อต้านการสร้างโรงงาน อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์,ปทุมธานี มลพิษสูง การใช้พลังงานก๊าซธรรมชาติ 2555 ในทะเลที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ชุ ม ชนใน เอกสาร World Bank Report World Bank, 2012 ประเทศนัน้ ๆ อย่างมีวนิ ยั และรับผิดชอบ แม้จะมีกติกาของการค้าเสรีเป็นตัว หนุ น ก็ ต าม การประกอบการที่ มี จิ ต สำ�นึ ก ที่ ดี ต่ อ การรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิง่ แวดล้อม สุขภาพของชุมชน ย่อมจะ เป็นการลงทุนที่ยั่งยืนและเป็นมิตร ต่อการอยูร่ ว่ มกันในสังคมโลก ซึง่ อาจ หมายถึ ง กำ�ไรจากการผลิ ต ที่ อ าจ ลดน้ อ ยลงแต่ ส ร้ า งความยั่ ง ยื น ใน การผลิต ให้กับโลกใบนี้ มากกว่าการ ทำ�ลายโดยไมยั้งคิด ลดการโฆษณา เพื่อการบริโภคนิยมสินค้าฟุ่มเฟือย สินค้าที่มีพิษต่อประชาชนในประเทศ ชายขอบ เช่น ที่บางประเทศที่กำ�ลัง
พึ่งพาธรรมชาติ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรของอาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) บุษบา อบอาย*
อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน/เมือง (ทสม.) คือ บุคคลในท้องถิ่น หรือหมู่บ้าน หรือชุมชนที่ได้สมัครใจเป็นอาสาสมัคร โดยมีบทบาทส�ำคัญ ในฐานะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แบบบู ร ณาการ การเฝ้ า ระวั ง ปั ญ หาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง มี กระบวนการสร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้กับ ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายได้อย่างต่อเนื่อง สร้างความเป็นเจ้าของให้เกิดความรู้สึก หวงแหน ซึ่งจะน�ำไปสู่การดูแลและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ตนให้คงอยู่ในสภาพสมบูรณ์ได้อย่างยั่งยืน ทสม. เป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ ยึ ด คนเป็ น ศู น ย์ ก ลางในการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่เป็นรูปแบบให้ประชาชนมีส่วนร่วมในลักษณะการเป็นตัวแทนชุมชน เป็นผู้น�ำและเป็นผู้ ประสานงานระหว่างประชาชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเป็นเจ้าของและได้รับ ผลประโยชน์รว่ มกันในลักษณะการบริหารจัดการในรูปแบบคณะกรรมการ และมีการเชือ่ มโยง เป็นเครือข่าย ทสม. จึงเป็นแนวทางหนึง่ ในการเชือ่ มโยงกระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกันของคนใน สังคม เชือ่ มโยงการท�ำงานด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ระหว่าง ระดับนโยบายและระดับชุมชน อันจะน�ำไปสู่การบริหารจัดการ และการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน โดยมีปรัชญาพืน้ ฐานในการด�ำเนินการ ดังนี้ 1. การด�ำเนินการที่อยู่บนพื้นฐานความต้องการของชุมชน 2. ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทุกขั้นตอน 3. ชุมชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของ 4. เพิ่ ม มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ จากการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ของชุมชน 5. ยึดหลักธรรมาภิบาลในการด�ำเนินงาน *นักวิชาการสิง่ แวดล้อมช�ำนาญการ สถาบันฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีดา้ นสิง่ แวดล้อม No.24 September 2013 Green Research 25
พึ่งพาธรรมชาติ ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมและพัฒนาขีดความสามารถ ของ ทสม. ส�ำนักอาสาสมัครและเครือข่าย (สอข.) และสถาบันฝึกอบรมและ ถ่ายทอดเทคโนโลยีดา้ นสิ่งแวดล้อม (สอท.) กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม จึงก�ำหนดให้มกี ารจัดฝึกอบรมหลักสูตร การพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครพิทกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) ภายใต้โครงการพัฒนา ศักยภาพอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) ในปีงบประมาณ 2556 ครอบคลุม ทสม. ทุกจังหวัดทั่วประเทศ ในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และ ภาคใต้จ�ำนวน 8 รุ่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิก ทสม. ที่เป็นคณะ กรรมการเครือข่าย ทสม. ตัง้ แต่ระดับหมูบ่ า้ น ระดับต�ำบล ระดับอ�ำเภอ ระดับ จังหวัด รวมทั้งเจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัด (ทสจ.) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรให้เกิดความเข้มแข็ง เกิด กระบวนการเรี ย นรู ้ แ ละการพึ่งพาตนเองของชุมชนในการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน ในท้องถิน่ ของตนเองเป็นการ เชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากระดับ ชุมชนไปสู่ระดับนโยบายของประเทศ และเป็นการเชื่อมโยงกับแนวคิดด้าน เศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ เป็นหลักปรัชญาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ มีพระ ราชด�ำรัสไว้ ส่งผลให้สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนให้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอาชีพเพียงพอที่จะพึ่งพาตนเอง และสามารถ ยกระดับคุณภาพความเป็นอยูไ่ ด้ โดยการด�ำเนินชีวติ ในแบบเรียบง่าย ภายใต้ กระแสโลกาภิวฒ ั น์ ตลอดจนความเปลีย่ นแปลงต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ แสดงดังภาพที่ 1
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุมกัน ในตัวที่ดี
มีเหตุผล
ความรู
คุณธรรม
รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง
ซื่อสัตยสุจริต ขยันอดทน สติปญญา แบงปน
นำไปสู เศรษฐกิจ / สังคม /สิ่งแวดลอม /วัฒนธรรม สมดุล /พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลง
ภาพที่ 1 แสดงการเชื่อมโยงแนวคิด ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ทสม. ในหลักสูตร การพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมูบ่ า้ น (ทสม.) ขณะนีไ้ ด้ดำ�เนินการเสร็จสิน้ แล้ว มีผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมทัง้ สิน้ 615 คน จาก 76 จังหวัด โดยมีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 สรุปผลการจัดฝึกอบรมหลักสูตร การพัฒนาเครือข่าย ทสม.ประจำ�ปีงบประมาณ 2556 รุ่นที่
จัดระหว่างวันที่
จำ�นวนผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม(คน)
รุน่ ที่ 1 จัดฝึกอบรมให้กบั ทสม. ในพืน้ ทีภ่ าคเหนือ
29 - 30 มกราคม 2556
54
รุ่นที่ 2 จัดฝึกอบรมให้กับ ทสม. ในพื้นที่ภาคเหนือ
31 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2556
42
รุ่นที่ 3 จัดฝึกอบรมให้กับ ทสม. ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
26 - 27 มีนาคม 2556
98
รุ่นที่ 4 จัดฝึกอบรมให้กับ ทสม. ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
28 - 29 มีนาคม 2556
85
รุ่นที่ 5 จัดฝึกอบรมให้กับ ทสม. ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก
20 - 21 พฤษภาคม 2556
106
รุ่นที่ 6 จัดฝึกอบรมให้กับ ทสม. ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก
22 - 23 พฤษภาคม 2556
92
รุน่ ที่ 7 จัดฝึกอบรมให้กบั ทสม. ในพืน้ ทีภ่ าคใต้
11 - 12 มิถนุ ายน 2556
66
รุน่ ที่ 8 จัดฝึกอบรมให้กบั ทสม. ในพืน้ ทีภ่ าคใต้
13 - 14 มิถนุ ายน 2556
72
รวม
*ทั้ง 8 รุ่น จัด ณ ชลพฤกษ์รีสอร์ท จ. นครนายก 26 Green Research No.24 September 2013
มกราคม - มิถุนายน 2556
615 คน
จากการประเมิ น ผลเบื้ อ งต้ น ของ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน ประจ�ำปี 2556 โดยผู้จัดการฝึกอบรมของ สอข. และ สอท. พบว่าการจัดฝึกอบรมให้กบั ทสม. ประสบผลส�ำเร็จด้วยดี ทั้งในด้านการ บริหารจัดการ โดยมีความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับ การฝึกอบรม คิดเป็น 85 % และด้านวิชาการ โดยมีความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับการฝึก อบรมเพิ่มขึ้น คิดเป็น 85%ในภาพรวมของ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่พึงพอใจต่อ การฝึกอบรมทั้ง 8 รุ่นเนื่องจากได้เรียนรู้ถึง หลักการเรียนรู้ร่วมกันทั้ง 3 ส. ได้แก่ สาระ ส่ ว นร่ ว ม และสนุ ก สนาน เรี ย นรู ้ ห ลั ก การ ท�ำงานเชิงระบบ 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) วินิจฉัย และวิ เ คราะห์ ป ระเด็ น ทางสิ่ ง แวดล้ อ ม 2) ก�ำหนดยุทธศาสตร์ของแผนงานโครงการ 3) การสื่อสารสร้างการยอมรับ 4) น�ำแผนไป สู ่ ก ารปฏิ บั ติ 5) ติ ด ตามประเมิ น ผลและ ปรับปรุงแก้ไข และน�ำไปสู่เทคนิคการเขียน โครงการด้านสิ่งแวดล้อม จากการวิเคราะห์ จากปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตนเอง โดยภาพรวมการปฏิ บั ติ ง านด้ า นการดู แ ล รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของ ทสม. ในพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบจะประสบ ผลส�ำเร็จได้ ต้องอาศัยการร่วมคิด ร่วมท�ำ และร่วมตรวจสอบจากทุ ก คนในชุ ม ชนให้ สามารถขั บ เคลื่ อ นงาน ด้านการดูแลรักษา คุณภาพสิง่ แวดล้อม ซึง่ ทสม. ส่วนใหญ่ทเี่ ข้ารับการ ฝึ ก อบรมมี ค วามต้ อ งการให้ มี ก ารศึ ก ษา ดู ง านในพื้ น ที่ ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ด้ า น การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเพื่อน� ำความรู้ที่ได้รับจากการ ศึกษาดูงานไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ในท้ อ งถิ่ น ของตนเองได้ ส� ำ หรั บ ผู ้ จั ด การ ฝึกอบรมเห็นว่าโครงการนี้ เป็นการบูรณาการ ร่ ว มกั น ของทั้ ง 2 หน่ ว ยงาน ภายในกรม ส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม ได้แก่ สอท.และ สอข. ได้เรี ย นรู ้ วิ ธี ก ารท�ำ งานร่ ว มกั น เกิ ด
ความผูกพันและความสามัคคีระหว่างเจ้า หน้าที่ภายในหน่วยงานร่วมจัด รวมทั้งได้ เรียนรู้เทคนิควิธีการท�ำงานร่วมกับวิทยากร จากสถาบันการศึกษา ในบทบาทของการเป็น วิทยากรที่ดีทางด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งผู้จัดการ ฝึกอบรมหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าจะน�ำประสบการณ์ ที่ได้รับจากการร่วมจัดฝึกอบรมในครั้งนี้ไป ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ ต่อไป เอกสารอ้างอิง การประชุ ม อาสาสมั ค รพิ ทั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ระดับชาติ ครั้งที่ 3 ปี 2547 กรุงเทพฯ : ส.ไพบูลย์การพิมพ์ คนหลั ง เลนส์ (2556) “พอเพี ย งเยี่ ย งพ่ อ ” สหกรณ์ป่าไม้. 2556(156), 2.
No.24 September 2013 Green Research 27
พึ่งพาธรรมชาติ ทิศทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหมอกควัน และการเผาในที่โล่ง ปี 2555-2559 สุภาพันธ์ สังข์คร*
ที่มาของแผนปฏิบัติการฯ สืบเนื่องจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2552 เห็นชอบมาตรการเร่งด่วน ในการแก้ไขปัญหามลพิษหมอกควันในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ (ตอนบน) ได้แก่ 1) แพร่ 2) น่าน 3) พะเยา 4) เชียงราย 5) ล�ำพูน 6) แม่ฮ่องสอน 7)เชียงใหม่ และ 8) ล�ำปาง ในพื้นที่ 8 จังหวัดนี้ ต้องประสบกับปัญหามลพิษทางอากาศโดยเฉพาะปัญหาหมอกควันใน ขั้นรุนแรงนอกจากนี้ยังมีข้อมูลจากหน่วยควบคุมไฟป่า กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและ พันธุ์พืชในปี 2550 พบว่า มีการเผาป่าในพื้นที่ภาคเหนือ จ�ำนวน 54,469 ไร่ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ จ�ำนวน 37,929 ไร่ ภาคกลาง จ�ำนวน 18,704 ไร่ และภาคใต้ จ�ำนวน 3,838.5 ไร่ ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากการเผาป่า และเผาวัสดุอื่นในชุมชน การเผาในพื้นที่เกษตร การเผา วัชพืชริมทางขยะมูลฝอย และไฟป่าก่อให้เกิดหมอกควันฝุ่นละออง เถ้า เขม่าควัน ที่ระบาย ออกสู่บรรยากาศ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัยของประชาชน ทั้งก่อให้เกิดความร�ำคาญ บดบังทัศนวิสัยการจราจรทั้งทางบก ทางอากาศ ส่งผลกระทบต่อ การท่องเที่ยว และระบบเศรษฐกิจโดยรวมน�ำมาซึ่งการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ในเชิงบูรณาการ
บทบาทของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาพที่ 1-2 ไฟป่าที่ภาคเหนือ
กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้จดั ท�ำแผนแม่บทแห่งชาติวา่ ด้วยการเผาในทีโ่ ล่งซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคม 2546 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องมีการน�ำนโยบาย และมาตรการควบคุมการเผาในทีโ่ ล่ง ไปใช้เป็นยุทธศาสตร์และแนวปฏิบตั ใิ นการป้องกัน ลด และแก้ไขปัญหามลพิษหมอกควันจากการเผาในที่โล่งและไฟป่า ตลอดจนการเตรียมความ พร้อมรองรับการด�ำเนินงานตามข้อตกลงอาเซียนเรื่อง มลพิษจากหมอกควันข้ามแดนโดยมี ยุทธศาสตร์การด�ำเนินงาน 7 ด้านประกอบด้วย
*นักวิชาการสิง่ แวดล้อมช�ำนาญการ สถาบันฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีดา้ นสิง่ แวดล้อม 28 Green Research No.24 September 2013
ภาพที่ 3 สภาพการจราจรภาคเหนือ
1. การรองรับข้อตกลงอาเซียน เรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน 2. การจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ภาคการเกษตร 3. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน 4. การจัดการไฟป่า 5. การส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน 6. การส่งเสริมประชาสัมพันธ์ 7. การใช้มาตรการด้านกฎหมาย
บทบาทกรมควบคุมมลพิษ กรมควบคุมมลพิษ ในฐานะฝ่ายเลขานุการได้จดั ท�ำแผนปฏิบตั กิ ารตามแผนแม่บท
แห่งชาติ ว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม การเผาในที่ โ ล่ ง (พ.ศ.2547-2551) เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทาง การด�ำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการน�ำยุทธศาสตร์ตามแผนแม่บทแห่งชาติ ไปใช้ให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติ โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ 7/2547 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2547 และได้มีการด�ำเนินการ ในรูปแบบของการจัดท�ำแผนปฏิบตั กิ ารแบบต่อเนือ่ งตามรอบปีงบประมาณซึง่ ปัจจุบนั อยูใ่ น ช่วงของแผนปฏิบัติการ ปี 2555-2559 โดยได้ร่วมมือกับหน่วยงาน 3 กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวง มหาดไทย และยังมีอีกหลายหน่วยงานได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ซึ่งได้ด�ำเนินการตามมาตรการที่ก�ำหนดไว้ เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2556 มติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการ เรื่องมาตรการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันในพืน้ ทีภ่ าคเหนือ 9 จังหวัด (เดิม 8 จังหวัด) เพิม่ อีก 1 จังหวัด คือ จังหวัดตาก และนายกรัฐมนตรีมอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี (ดร.ปลอดประสพ สุรัสวดี) เป็นผู้รับผิดชอบการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันปี 2556 โดยมีการแต่งตั้ง นายมาโนช การพนักงาน ทีป่ รึกษารองนายกรัฐมนตรี เป็นผูอ้ �ำนวยการศูนย์อำ� นวยการป้องกัน ไฟป่าและหมอกควัน ให้มีผลตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 เป็นต้นไป
โดยภารกิจที่กรมควบคุมมลพิษในฐานะหน่วยงานหลักและเป็นฝ่ายเลขานุการนั้น นับเป็นภารกิจที่ต้องด�ำเนินการทั้งทางรุกและ ประสานงาน เพื่อขับเคลื่อนโครงการเมื่อต้องด�ำเนินโครงการในพื้นที่ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค และสถาบันการศึกษาในพื้นที่ โดยด�ำเนินการในรูปของ กลุ่มชุมชนคอยเฝ้าระวังไม่ให้มีการเผา และเมื่อมีการเผาเกิดขึ้นจะด�ำเนินการอย่างไร มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อประกอบอาชีพเสริม และคอยเป็นพีเ่ ลีย้ งให้ชมุ ชน ในขณะเดียวกันในบางชุมชนก็มผี นู้ ำ� และ ทสม.ทีเ่ ข้มแข็งซึง่ จะเป็นชุมชนต้นแบบในการรักษาป่าได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาพที่ 4 การประชุมระดมความคิดเห็น จากหลายหน่วยงาน
ภาพที่ 5 ผู้บริหารของ ทส.ร่วมกันแถลงข่าว รณรงค์ลดการเผาในที่โล่ง
No.24 September 2013 Green Research 29
พึ่งพาธรรมชาติ นอกจากนี้ กรมควบคุมมลพิษ ยังได้มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศตามจุดที่มี ความร้อนและความเสี่ยงในการเกิดหมอกควันที่เกินมาตรฐาน และสามารถตรวจวัดด้วย เครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย และแจ้ ง ข่ า วสารให้ ป ระชาชนในพื้ น ที่ ตลอดจนแจ้ ง เวี ย นไปยั ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไปได้รับทราบด้วย ดังตัวอย่างสถานีตรวจวัดและ ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในภาพที่ 6 จากรายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศในพื้นที่ภาคเหนือ ในวันที่ 18 มีนาคม 2556 พบปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าระหว่าง 40-185 ไมโครกรั ม ต่ อ ลู ก บาศก์ เ มตร คุ ณ ภาพอากาศโดยรวมอยู่ ใ นระดั บ ดี ถึ ง มี ผ ลกระทบต่ อ สุขภาพปริมาณฝุ่นละอองลดลงกว่าก่อนหน้านี้เกือบทุกสถานี แสดงค่าดังตารางที่ 1
ภาพที่ 6 สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ของกรมควบคุมมลพิษ
ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมงของ PM10 และ AQI ในภาคเหนือ ณ เวลา 09.00 น วันที่ 18 มีนาคม 2556 PM10
AQI**
คุณภาพอากาศ
สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง
115
97
ปานกลาง
สนง.สาธารณสุขแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย
110
94
ปานกลาง
ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
97
86
ปานกลาง
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
107
92
ปานกลาง
พระตำ�หนักภูพิงคราชนิเวศน์ (Mobile)***
27
34
ดี
สนามกีฬา อบจ. อ.เมือง จ.ลำ�พูน
90
81
ปานกลาง
สถานีอุตุนิยมวิทยาลำ�ปาง อ.เมือง จ.ลำ�ปาง
95
84
ปานกลาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านสบป้าด อ.แม่เมาะ
97
86
ปานกลาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านท่าสี อ.แม่เมาะ
112
95
ปานกลาง
การประปาส่วนภูมิภาคแม่เมาะ อ.แม่เมาะ
69
68
สนง. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง
185
129
น่าน
สำ�นักงานเทศบาลเมืองน่าน อ.เมือง จ.น่าน
119
99
ปานกลาง มีผลกระทบ ต่อสุขภาพ ปานกลาง
แพร่
สถานีอุตุนิยมวิทยาแพร่ อ.เมือง จ.แพร่
98
86
ปานกลาง
พะเยา
อุทยานการเรียนรู้กว๊านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา
112
95
ปานกลาง
ตาก
สถานีอุตุนิยมวิทยาแม่สอด อ.แม่สอด (Mobile)
40
50
ดี
สถานี เชียงราย
เชียงใหม่ ลำ�พูน
ลำ�ปาง
แม่ฮ่องสอน
หมายเหตุ : ค่ามาตรฐาน PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง จะต้องไม่เกิน 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร * PM10 มีหน่วยเป็นไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (ug/m3) ** ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index) *** พระตำ�หนักภูพงิ คราชนิเวศน์ จ.เชียงใหม่ มีตำ�แหน่งทีต่ รวจวัดอยูบ่ นภูเขาสูง อยูเ่ หนือระดับ ชัน้ อุณหภูมผิ กผัน (Inversion) ส่งผลให้ปริมาณฝุน่ ละอองทีต่ รวจวัดได้ไม่ได้รบั ผลกระทบ จากแหล่งกำ�เนิดในแอ่งเชียงใหม่-ลำ�พูน จึงละเว้นจากการรายงานในภาพรวม
30 Green Research No.24 September 2013
บทบาทกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนได้ดำ�เนินการตาม ยุทธศาสตร์ที่ 3 ข้อที่ 6 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่องค์ความรู้ การมีส่วนร่วมและ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน ข้อ 7 มาตรการมีส่วนร่วมของภาค ประชาชน และข้อที่ 8 จัดให้มีหลักสูตรการเรียนการสอนด้านมลพิษหมอกควันและไฟป่า ในพื้นที่เป้าหมาย 64 จังหวัด ซึ่งกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้ดำ�เนินการตามแผน มาตรการป้องกันและแก้ไขต่างๆ มาเป็นระยะ โดยมีการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ การปลูกจิตสำ�นึกซึ่งได้ดำ�เนินการ ดังนี้ 1. การฝึกอบรม การถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยี 2. การจัดกิจกรรมรณรงค์ ลดการเผาต่างๆ 3. การส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันปัญหา 4. การสร้างเครือข่ายงานวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านการฝึกอบรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดย สถาบันฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ด้านสิ่งแวดล้อม ได้รับมอบหมายจากอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เมื่อปลาย ปีงบประมาณ 2554 ให้มีการบรรจุหลักสูตรสัมมนาวิชาการ การถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อลด การเผาในที่โล่ง ให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบูรณาการ ร่ ว มกั น ในการเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการขั บ เคลื่ อ นแผนปฏิ บั ติ ก าร โดยให้ อ ยู ่ ใ นแผนการ ฝึกอบรมประจ�ำปี 2555-2559 สถาบันฝึกอบรมฯ ได้หารือกับผู้ที่รับผิดชอบโครงการ ของกรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และกรมส่งเสริมการเกษตร กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช จึงได้ข้อสรุปว่า สถาบันฝึกอบรมฯ ควรด�ำเนิน การในรูปแบบของการจัดสัมมนารายภาค (ปี 2555 ภาคเหนือ ปี 2556 ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ปี 2557 ภาคกลาง ปี 2558 ภาคใต้ และ ปี 2559 เป็นการประเมินผลในพื้นที่ ภาคเหนือ) เป็นการให้องค์ความรู้ในภาพรวม เนื่องจากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยกองส่งเสริมและเผยแพร่ และกรมควบคุมมลพิษ ได้มีการบูรณาการร่วมกันในการ ด�ำเนินโครงการฯ เชิงรุกในพื้นที่ภาคเหนือโดยได้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ดั ง นั้ น ในปี ง บประมาณ 2555 และ2556 จึ ง ได้ มี ก ารจั ด สั ม มนาวิ ช าการ เรื่ อ ง การเสริมสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมในการลดมลพิษจากหมอกควันและการเผาใน ที่โล่งขึ้น ณ จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดขอนแก่น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้ ความ เข้าใจ ปลูกจิตส�ำนึก และการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ซึ่งเป็นภาค ธุรกิจอ้อยและน�ำ้ ตาล (บริษทั รวมเกษตรกร อุตสาหกรรม จ�ำกัด ผลิตน�ำ้ ตาลทรายขาว น�ำ้ ตาล ทรายแดง ตรามิตรผล) สถาบันการศึกษาเกษตรกร และประชาชนทั่วไป (ทสม.) ในการลด การเผาในที่โล่ง และในปีงบประมาณ 2557 สถาบันฝึกอบรมฯ มีแผนจะจัดการสัมมนาทาง วิชาการ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดกระบวนการ การทบทวนและน�ำผลการระดมความคิดเห็น ไปสู่การ พัฒนาบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันและการ เผาในที่โล่ง ตลอดจนการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของปัญหาและนโยบายของรัฐต่อไป
ภาพที่ 7 การสัมมนาวิชาการการเสริมสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วมในการลดมลพิษจาก หมอกควันและการเผาในที่โล่ง จ.เชียงใหม่
ภาพที่ 8 การสัมมนาวิชาการการเสริมสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วมในการลดมลพิษจาก หมอกควันและการเผาในที่โล่ง จ.ขอนแก่น
No.24 September 2013 Green Research 31
พึ่งพาธรรมชาติ ด้านการจัดกิจกรรมรณรงค์ลดการเผาต่างๆ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยกองส่งเสริมและเผยแพร่ ได้ด�ำเนินการวาง ระบบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยได้กำ� หนดมาตรการควบคุมการเผาขยะมูลฝอย ในชุมชน ดังนี้ - การลดปริมาณขยะ - การลดคัดแยกขยะเพื่อน�ำกลับมาใช้ใหม่ - ชุมชนที่มีการจัดการขยะ เช่น ชุมชนสระสองห้อง ของเทศบาลนครพิษณุโลก ได้ รับรางวัล Zero Waste ขอนแก่น พังโคน และสกลนคร - จัดอบรมให้มีการสื่อสารผ่านสื่อวิทยุชุมชน เพื่อรณรงค์ไม่ให้มีการเผา - จัดท�ำสื่อซีดีเป็นภาษาภาคเหนือเพื่อให้มีการสื่อสารได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันปัญหา
ภาพที่ 9 สื่อประชาสัมพันธ์ประเภทต่างๆ
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยกองส่งเสริมและเผยแพร่ จะเน้นบทบาท การมีสว่ นร่วมของภาคีเครือข่ายในเชิงลึกโดย จัดตัง้ คณะกรรมการชุมชนและจัดท�ำแผนชุมชน โดยให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เป็ น ผู ้ จั ด ตั้ ง และมี ค ณะท� ำ งานในการติ ด ตาม ประเมินผล ในการออกกฎระเบียบต่างๆ มีกฎหมาย และต้องมีการสร้างแรงจูงใจ ให้มกี ารรับ รางวัล เช่น การประกวดหมู่บ้านปลอดการเผา การให้งบประมาณบางส่วนเพื่อสนับสนุนให้ กับชุมชนที่สนใจร่วมเขียนแผนและด�ำเนินการตามแผน เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ชุมชนสามารถ จัดการแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งสามารถสร้างเครือข่ายในชุมชนอย่างดียิ่งและเป็นการเฝ้าระวัง ภายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
การสร้างเครือข่ายงานวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ได้ ด�ำเนินการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาวิจัยแบบบูรณาการ เพื่อให้สามารถน�ำผลการศึกษา วิจัยไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งพื้นที่ ภาคเหนือได้ยกประเด็นการลดการเผาในที่โล่งเป็นประเด็นส�ำคัญในการส่งเสริมการศึกษา ภาพที่ 9 ภาพโครงการประกวดหมูบ่ า้ นปลอดการเผา วิจยั เพือ่ การจัดการปัญหาหมอกควันในพืน้ ทีภ่ าคเหนือตอนบน ในปีงบประมาณ 2556 ได้มี การจัดเวทีภายใต้สมัชชานักวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมขึ้น 3 เวที ณ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้เชิญ ภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาควิชาการ ภาคเอกชน และภาคชุมชน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ พัฒนายุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ส�ำหรับปัญหาการเผาในทีโ่ ล่งภาคเหนือ ตลอดจนการพัฒนา ข้อเสนอโครงการวิจยั เพือ่ น�ำไปสูก่ ารขอรับการสนับสนุนงบประมาณงานวิจยั จากส�ำนักงาน กองทุนสิ่งแวดล้อมต่อไป
บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายใต้กลไกการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย หน่วยงานหลัก ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาทีด่ นิ กรมส่งเสริมการเกษตร ได้เน้นภาค ภาพที่ 10 การสัมมนาการสร้างเครือข่ายนักวิจัย เกษตรกรรม ส่งเสริมเผยแพร่องค์ความรู้เกษตรอินทรีย์ปลอดการเผา สนับสนุนการด�ำเนิน มาตรการควบคุมการเผาในพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมและปฏิบตั กิ ารฝนหลวง จัดให้มแี ผนการจัดการ 32 Green Research No.24 September 2013
ภาพที่ 11 เครื่องบินฝนหลวง
และควบคุ ม การเผาหลั ง การเก็ บ เกี่ ย ว และพั ฒ นาศั ก ยภาพศู น ย์ บ ริ ก ารและถ่ า ยทอด เทคโนโลยีการเกษตรประจ�ำต�ำบล ให้มีความรู้ความสามารถในการเผยแพร่องค์ความรู้ เกษตรปลอดการเผา คือ ท�ำอย่างไรไม่ให้มีการเผาตอซัง และผลิตเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อ มารองรับ เช่น น�้ำหมักชีวภาพเพื่อย่อยสลายฟางข้าว หรือการน�ำรถบดอัดขนาดเล็กให้ เกษตรกร เป็นต้น ทัง้ นีใ้ นเบือ้ งต้นในส่วนของภาคเกษตรกรรมหากจะบ�ำรุงดินจะเน้นการปลูก ถัว่ และปล่อยให้เป็นปุย๋ การปลูกพืชแบบไม่ไถ-ไม่เผา การไถกลบตอซังขุดหลุมฝังและสุดท้าย จะไม่มีการเผาในพื้นที่เกษตร เป็นต้น และอีกบทบาทส�ำคัญในการดับไฟป่าขั้นสุดท้าย คือ การปฏิบัติการฝนหลวง ซึ่งเมื่อทุกอย่างยังไม่อาจหยุดพฤติกรรมการเผาได้ ก็ไม่พ้นเอื้อม พระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ทีพ่ ระราชทานโครงการฝนหลวง ในยามหน้าแล้งแม้กระทั่งการดับไฟป่า โดยส�ำนักฝนหลวงและการบินเกษตร ซึ่งปัจจุบันได้ รับการยกฐานะเป็นกรมฝนหลวงและการบินเกษตร ได้ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม ดับไฟป่า เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนได้เป็นอย่างดี ซึ่งนับเป็นความร่วมมือของทุกภาคส่วน ที่ด�ำเนินการจนส�ำเร็จ
สรุป
ผลการด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมาสะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญของการให้การสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ทีต่ อบสนองต่อความ ต้องการของสังคมทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา แนวทางที่สอดคล้องกับนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว คือ การยกระดับบทบาทของชุมชนและภาคส่วนต่างๆ ในสังคมให้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาให้มาก ยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะการสร้างความรูท้ ศั นคติ ทีน่ ำ� ไปสูก่ ารปรับเปลีย่ นพฤติกรรมทีเ่ หมาะสมกับการอนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟูและใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน ทัง้ นีต้ อ้ งอาศัยการพัฒนาองค์ความรูท้ เี่ หมาะสมกับสถานการณ์และความต้องการในการน�ำความรูเ้ หล่านัน้ ไปปรับใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน การประกอบอาชีพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทางสังคมผ่านกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งต้อง อาศัยความร่วมมือจากทุกภาคีเครือข่ายโดยเฉพาะบทบาทของ ทสม. ทั้งนีเ้ พื่อขับเคลือ่ นแผนปฏิบตั ิการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเผาใน ที่โล่ง ปี 2555-2559 ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีของทุกคน
เอกสารอ้างอิง กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2550. แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่า 2551-2554 กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2556. แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่า 2555-2558 บรรพต อมราภิบาล. เอกสารประกอบการบรรยายการเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการลดมลพิษจากหมอกควันและการเผาในที่โล่ง จ.เชียงใหม่ วันที่ 18-20 สิงหาคม 2554. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. กรมควบคุมมลพิษ. สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย วันที่ 18 มีนาคม 2556 (สำ�เนา).
No.24 September 2013 Green Research 33
ERTC Management Update รมว.ทส. ตรวจเยี่ยมพร้อมมอบนโยบายแก่ผู้บริหารกรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2556 นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เดินทางไปตรวจเยี่ยมกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม พร้อม มอบนโยบายแก่ ผู้ บ ริ ห ารให้ ดำ � เนิ น งานด้ ว ยความโปร่ ง ใสและตรวจสอบได้ เน้ น ส่ ง เสริ ม งานวิ จั ย ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ ในเชิงเศรษฐกิจ และสังคม สามารถตอบโจทย์ปัญหาชุมชนได้อย่างแท้จริงรณรงค์ ปลูกฝังความรูแ้ ละสร้างจิตสำ�นึกด้านสิง่ แวดล้อมตัง้ แต่วยั เยาว์ สร้างเครือข่ายอาสาสมัครและจัดตัง้ ชุมชน ตัวอย่างในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รวมถึงมีการวางแผนการติดตามและ ประเมินผลพร้อมกับการวางแผนปฏิบัติการเชิงบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่ายและผู้เกี่ยวข้อง โดยมี นายจตุพร บุรุษพัฒน์ อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม นำ�คณะผู้บริหารกรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อมประกอบด้วย นางรัชนี เอมะรุจิ นายสากล ฐินะกุล รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม และเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ร่วมให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุม อารีย์สัมพันธ์ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประยุกต์ใช้ถังบำ�บัดน้ำ�เสียสำ�เร็จรูปเพื่อการนำ�น้ำ�ใช้ (Grey water) กลับมาใช้ใหม่ ส่วนน�้ำและขยะ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประยุกต์ ใช้ถัง บ�ำบัดน�้ำเสียส�ำเร็จรูปเพื่อการน�ำน�้ำใช้ (Grey water) กลับมาใช้ใหม่ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2556 ณ ห้องรวยเพชร โรงแรมมารวย การ์เด้นท์ เพื่อน�ำเสนอ เทคโนโลยีในการประยุกต์ ใช้ถังบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำเร็จรูป เพื่อการน�ำน�้ำใช้ (Grey water) กลับมาใช้ใหม่ และเป็นการส่งเสริมให้มีการน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ส�ำหรับภาค ชุมชน โดยมี นางสุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม เป็นผู้กล่าวรายงาน และนางรัชนี เอมะรุจิ รองอธิบดีกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และ Mr. Tomoyuki Kawabata ผู้แทนองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของประเทศญี่ปุ่น ร่วมให้เกียรติเป็นประธานในการ จัดสัมมนา ซึง่ ในการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารดังกล่าว มีการบรรยายในหัวข้อ ความเป็นมาของระบบ Johkasou ในประเทศญีป่ นุ่ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญจาก Ritsumeikan University หัวข้อการพัฒนาเทคโนโลยีของถัง Johkasou ของประเทศญี่ปุ่น โดยผู้แทนจากบริษัท อาควา นิชิฮาร่า คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด หัวข้อ การพัฒนา เทคโนโลยีของถังบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำเร็จรูปของประเทศไทย โดยผู้แทนจากบริษัท ธรรมสรณ์ จ�ำกัด และหัวข้อการประยุกต์ ใช้ถังบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำเร็จรูปเพื่อการน�ำ น�้ำใช้ (Greywater) กลับมาใช้ใหม่ในประเทศไทย โดยผู้แทนจากส่วนน�้ำและขยะ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง รูปแบบการใช้ประโยช์ทดี่ นิ เพือ่ ลดปัญหาทางเสียงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ นางรั ช นี เอมะรุ จิ รองอธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด การ สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องรูปแบบการใช้ที่ดินเพื่อลดปัญหาทางเสียงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2556 34 Green Research No.24 September 2013