Greenline 28 : 50 Years On National Parks At a Turning Piont

Page 1


2

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

บรรณาธิการที่ปรึกษา:

ฉบับที่ 28 กันยายน – ธันวาคม 2553 No. 28 September - December 2010

บรรณาธิการอํานวยการ: บรรณาธิการบริหาร: กองบรรณาธิการ:

ผูพิมพผูโฆษณา กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 49 พระราม 6 ซอย 30 ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-298-5628 โทรสาร 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th PUBLISHER

บรรณาธิการภาษาอังกฤษ: ผูชวยบรรณาธิการ: เลขานุการกองบรรณาธิการ: ผูจัดทํา:

Department of Environmental Quality Promotion Ministry of Natural Resources and Environment 49 Rama VI Soi 30, Rama VI Rd., Bangkok 10400 Tel. 02-298-5628 Fax. 02-298-5629 www.deqp.go.th, www.environnet.in.th

อรพินท วงศชุมพิศ, ธเนศ ดาวาสุวรรณ, รัชนี เอมะรุจิ สากล ฐินะกุล สาวิตรี ศรีสุข ศรชัย มูลคํา, ภาวินี ณ สายบุรี, จงรักษ ฐินะกุล, จริยา ชื่นใจชน, นันทวรรณ เหลาฤทธิ์, ผกาภรณ ยอดปลอบ, นุชนารถ ไกรสุวรรณสาร วสันต เตชะวงศธรรม แมนวาด กุญชร ณ อยุธยา ศิริรัตน ศิวิลัย หจก.สํานักพิมพทางชางเผือก 63/123 ซอยราษฎรพัฒนา 5 แยก 23 แขวง/เขตสะพานสูง กทม 10240 โทรศัพท 02-917-2533, 02-517-2319 โทรสาร 02-517-2319 E-mail: milkywaypress@gmail.com

Editorial Advisers:

Orapin Wongchumpit, Thanate Davasuwan, Ratchanee Emaruchi

Editorial Director:

Sakol Thinagul

Executive Editor:

Savitree Srisuk

Editorial Staff:

Sornchai Moonkham, Pavinee Na Saiburi, Chongrak Thinagul, Jariya Chuenjaichon, Nantawan Lourith, Pagaporn Yodplob, Nuchanard Kraisuwansan

English Edition Editor:

Wasant Techawongtham

Text copyright by the Department of Environmental Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and Environment.

Assistant Editor:

Maenwad Kunjara Na Ayuttaya

Editorial Secretary:

Sirirat Siwilai

Photographs copyright by photographers or right owners.

Producer:

Milky Way Press Limited Partnership 63/123 Soi Rat Pattana 5, Sub-soi 23, Saphan Sung, Bangkok 10240 Tel: 02-917-2533, 02-517-2319 Fax: 02-517-2319 e-mail: milkywaypress@gmail.com

ลิขสิทธิ์บทความ สงวนสิทธิ์โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลิขสิทธิ์ภาพถาย สงวนสิทธิ์โดยผูถายภาพหรือเจาของภาพ การพิมพหรือเผยแพรบทความซํ้าโดยไมใชเพื่อการพาณิชย สามารถทําไดโดยอางอิงถึงกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม การพิมพเพื่อเผยแพรภาพถายซํ้า ตองไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ กอนเทานั้น บทความที่ตีพิมพในวารสารนี้ เปนความคิดเห็นของผูเขียน เพื่อเผยแพร การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่หลากหลาย

Aricles may be reproduced or disseminated for noncommercial purposes with cited credit to the Department of Environmental Quality Promotion. Reproduction of photographs must be by permission of right owners only. Opinions expressed in the articles in this journal are the authors’ to promote the exchange of diverse points of view.

GL28F-va.indd 2

11/19/10 8:29 PM


บทบรรณาธิการ

ในบทความเรื่อง “อุทยานที่ดีที่สุดในโลก” เมื่อ เดือนธันวาคมปกลาย ไซมอน บารนส นักขาว หนังสือพิมพเดอะไทมสของอังกฤษ กลาววา “อุทยานแหงชาติไมใชเปนเพียงพื้นที่ (แต)มันเปน พื้นที่ที่ถูกรับรองโดยหนวยงานที่มีอํานาจสูงสุด ของรัฐ สถานะของอุทยานแหงชาตินั้นโตแยงไมได เปลีย่ นแปลงไมได ถอดถอนไมได มันเกือบจะเหมือน กับวาพระเจาไดเขาควบคุมโดยตรง”

นั่นอาจจะเปนจริงสําหรับอุทยานแหงชาติในโลกตะวันตก แต คงจะไมจริงสําหรับประเทศไทย แมจะยังไมมีอุทยานแหงชาติใดถูก ถอดถอน แตกม็ กี ารโตแยงในหลายๆ พืน้ ทีว่ า อุทยานไปทับทีอ่ ยูอ าศัย และทํากินของชาวบาน และความเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและรอบๆ อุทยานจากการพัฒนาก็เกิดขึน้ อยูเ สมอๆ จนทําใหการบริหารจัดการ อุทยานแหงชาติกลายเปนเรื่องที่ซับซอนและละเอียดออน เอกชนอาจจะมีสวนใหเกิดความเปลี่ยนแปลงบาง แตสวนใหญ มักจะเปนความริเริ่มของของภาครัฐ เปนตนวา เคยมีแนวคิดที่จะให เอกชนเขาไปบริหารจัดการเรื่องที่พักสําหรับนักทองเที่ยว หรือสราง กระเชาลอยฟาขึ้นภูเขาที่อยูในอุทยาน หรือสรางถนนผาอุทยานเพื่อ เปนทางสัญจรไปสูจุดดึงดูดภายในอุทยานหรือเพื่อการขนสงสินคา หรือการเสนอใหเพิกถอนพื้นที่อุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา ถึง 4,737 ไร เพื่อกอสรางทาเรือนํ้าลึกปากบาราในจังหวัดสตูล ที่ จะสงผลกระทบตออุทยานแหงชาติเกาะตะรุเตาที่อยูใกลกันนั้นดวย

n his article “The World’s Best National Parks” published in The Times of London in December last year, Simon Barnes says: “A national park is not just a space. It is a space that is guaranteed by the highest competent authority of the country in which it lies. A national park is irrefutable, immutable, irrevocable. It’s almost as if God had taken direct control.” That may be true for national parks in the western world but certainly not in Thailand. While no national park has so far been revoked, many people have refuted national park status, claiming that the parks have unfairly or illegally incorporated the land on which they have lived and farmed. And many national parks have suffered changes from development, making park management a complicated and complex issue. The private sector may have caused some changes. But it was state action that is mostly responsible. For instance, there had been initiatives to allow the private sector to develop upscale accommodations for tourists or build cable car systems on mountains within national parks, or to build thoroughfares for taking tourists to attractions within the parks or for freight transport. Or take a plan to revoke 4,737 rai (758 ha) of the Mu Ko Phetra Marine National Park for the construction of a deep-sea port at Pak Bara in the southern prov-

I

EDITORIAL ป ญ หาหลั ก ของการบริ ห ารจั ด การอุ ท ยานแห ง ชาติ ก็ คื อ ประชาชนในพื้นที่หรือผูที่มีความหวงใยตอระบบนิเวศไมมีสวนรวม ในการบริหารจัดการหรือแมกระทั่งวางแผนพัฒนาอุทยานใหเปนไป ตามเจตนารมณของการกอตั้งอุทยานแหงชาติ นั่นคือ การเปนแหลง อนุรักษระบบนิเวศ แหลงศึกษาวิจัยธรรมชาติหรือใหการศึกษาแก ประชาชน และแหลงนันทนาการเชิงนิเวศ แมวาแนวคิดที่จะใหประชาชนมีสวนรวมในการวางแผนการ บริหารจัดการอุทยานแหงชาติไดเริ่มถูกนํามาใช แตการดําเนินการ ยังคงเปนไปอยางเชื่องชา ไมทันการโดยสิ้นเชิงกับการพัฒนาทาง เศรษฐกิจที่รุกคืบไปอยางรวดเร็ว จนหลายครั้งสงผลกระทบรุนแรง ตอพื้นที่ปาที่เหลืออยูนอยนิด ความขั ด แย ง ระหว า งการอนุ รั ก ษ ธ รรมชาติ แ ละการพั ฒ นา เศรษฐกิจมีแนวโนมจะทวีความรุนแรงขึน้ เรือ่ ยๆ ดวยเหตุทวี่ า อุทยาน และพื้นที่ปาอื่นๆ ยังถูกมองเปนเพียงทรัพยากรที่มีไวเพื่อสงเสริม กิจกรรมทางเศรษฐกิจ แทนทีจ่ ะเปนสินทรัพยทีต่ อ งอนุรกั ษและบํารุง รักษาเพื่อความมั่นคงของชาติและประชาชนในอนาคต ■

ince of Satun. The plan will also have adverse impacts on the nearby Tarutao Marine National Park. The main problem concerning national park management is that local and conservation-minded citizens have not been involved in the management or development planning of national parks to ensure that the intent of the establishment of national parks is observed, that is, to serve as areas for conservation, research and public education, and ecological recreation. While the process to involve citizens in the planning of park management has started, it is slow going and utterly unable to keep pace with the rapidly-advancing economic development which, in many cases, poses severe threats to what little forest lands that remain. Conflicts between natural conservation and economic development are likely to intensify as long as national parks and other forests are regarded as resources for economic exploitation rather than treasure that should be conserved and maintained for the security of the nation and its people. ■

ปก: ชาวบานคูหนึ่งกําลังยกถุงปลาที่เพิ่งจับไดจากในบึงบัวที่อุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอดลงจากเรือ – วสันต เตชะวงศธรรม Cover: A couple are unloading the sacks of fish they just caught in the lagoon in Khao Sam Roi Yot National Park. – Wasant Techawongtham

GL28F-va.indd 3

11/19/10 8:29 PM


4

สารบั ญ CONTENTS กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ลอดรั้วริมทาง: สันทรายและปาพรุ กับชุมชมผูอารักษ ON AN UNBEATEN PATH:

A Sand Dune and a Peat Swamp and Their Community Protectors

6

ยาง 50 ป อุทยานแหงชาติ ณ จุดเปลี่ยน

12

ธรรมชาติสื่อความหมาย

24

50 Years On National Parks At a Turning Point

Messages Conveyed in Nature

12

เสนทางสายใหม: มรดกโลกอันดามัน หรือทาเรืออุตสาหกรรมปากปารา ON A NEW PATH: Andaman

World Heritage vs Pak Bara Industrial Port

29

เสนทางสีเขียว: เขาปู-เขายา ปาผืนสุดทาย ของพัทลุงกับการจัดการทองเที่ยว เชิงนิเวศ GREEN LINE: Khao Pu-Khao Ya

Eco-tourism and Phattalung’s Last Forest

เสนทางเดียวกัน: จอมปา ON THE SAME PATH: JoMPA

สัมภาษณพิเศษ: ผศ.ดร. ดรรชนี เอมพันธุ 43

SPECIAL INTERVIEW:

Asst Prof Dr Dachanee Emphandhu

38 43 50


กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

58

สี่แยกไฟเขียว: การจัดการอุทยานแหงชาติ ภายใตสถานการณโลก GREEN INTERSECTION:

National Park Management in the Global Context

58 64

ขามฟา: อุทยานแหงชาติทางทะเลบูนาเกน: เมื่อรัฐและประชาชนรวมดวยชวยกัน ACROSS THE SKY:

Bunaken National Marine Park: When the State and the Public Join Hands

64

มหิงสา: มัคคุเทศกนอยแหงภูวัว

LITTLE MAHINGSA...YOUNG RESEARCHERS

Junior Guides of Phu Wua

70

70

กิจกรรมกรม: ปาใหญคายลูกเสือ DEPARTMENT ACTIVITIES

Scout Camps in the Big Woods

เรื่องจากผูอาน: อุทยานแหงชาติ ในทรรศนะของนักทองเที่ยว FROM THE READERS

National Parks and I

ลอมกรอบ: เจาปา เจาเขา VIEWFINDERS

Chao Pa Chao Khao

73

73 76 78

5


6

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

สันทราย และปาพรุ กับชุมชน ผูอารักษ เรื่อง/ภาพ นักเขียนเสนทางสีเขียว

กลาวกันวาทีแ่ หงนีเ้ ปนหนึง่ เดียวในประเทศไทย คือมหัศจรรยของธรรมชาติที่หาสมบูรณ กวานี้ไมไดอีกแลว และที่นี่มีชุมชนอนุรักษที่ มองการณไกลและหัวใจเขมแข็ง

สันทรายสูงกวา 30 เมตร ทอดตัวยาว 10 กิโลเมตร คูขนาน กับหาดรูปจันทรเสี้ยว ประดับประดาหนาแนนไปดวยดอกผลของ พรรณพืชแหงปาชายหาด แทรกสลับดวยพืชปาพรุ ปาดิบชื้น ปาดิบ แลง กวา 150 ชนิด บางชนิดพบยากในทองที่อื่น และบางชนิดพบ ไดบนสันทรายแหงนี้เทานั้น จากบ า นบางเบิ ด ต.ทรายทอง อ.บางสะพานน อ ย จ.ประจวบคีรีขันธ ถึงพื้นที่รอยตอบานถํ้าธง ต.ปากคลอง อ.ปะทิว จ.ชุมพร ที่นี่คือ “สันทรายบางเบิด” แนวสันทรายใหญที่สุดใน ประเทศไทยที่คอยๆ ทับถมมาทีละเล็กทีละนอยจนครอบคลุมพื้นที่ กวา 2,000 ไร เปนความมหัศจรรยจากปรากฏการณทางธรรมชาติที่ คอยๆ อวดโฉมมาแตหลังปลายยุคนํ้าแข็ง จากหนาทะเลเปดกวางซึ่ง มีกระแสนํา้ และลมทีพ่ ดั พามาดวยแรงสมํา่ เสมอและตอเนือ่ งยาวนาน กวา 1,500 ป

สันทรายบางเบิด ทอดยาว 10 กิโลเมตร เปนแนวสันทรายใหญที่สุดในประเทศไทย The Bang Boed sand dune, the largest in Thailand, stretches for 10 km.

GL28F-va.indd 6

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

A Sand Dune and a Peat Swamp and Their Community Protectors Story/Photos Green Line Staff Writers

GL28F-va.indd 7

7

September - December 2010

t is said this is the one and only place in Thailand where a natural wonder of unparalleled perfection wed a visionary and determined conservation community. A sand dune, 30 m high, spans 10 km along the crescent moon-shaped beach densely decorated with diverse flora species of a beach forest, intermingled with well over 150 tree species of peat swamp forest, tropical rain forest and dry evergreen forest. Some species are hard to find elsewhere and some are only found here. From Bang Boed village in Sai Thong subdistrict of Bang Saphan Noi district in Prachuap Khiri Khan province to the border of Tham Thong village in Pak Khlong subdistrict of Pathieu district in Chumphon province lies the “Bang Boed San Dune”, the largest of its kind in the Kingdom. Inch by inch over 1,500 years, the landscape was slowly transformed by the sea tides that washed in sand at a constant glacial pace. Covering over 2,000 rai, the natural wonder gradually came into view at the end of the ice age. On May 19, 1971, Bang Boed villagers who have enjoyed, cherished and conserved the dune for so long decided to propose the precious plot of over 448 rai to His Majesty the King for development under the Royal Initiative Project in Chumphon Province. They hoped this dune would become a protected area where the environment would be kept in its original state to serve as an outdoor classroom and recreation place of all Thais. For nearly 40 years, the nature study trail on the dune has wowed visitors with a wide variety of plants which have bred and grown in step with each seasonal change. Herbs, big trees, bushes, vines and fragrant flower trees – some of them can be found nowhere else. Each species has an interpretive sign telling its name, a nature’s educator ready to let visitors observe and learn. The Bang Boed dune is still healthy as if time had not gone by. The Chumphon people are proud of their ability to preserve the dune through the test of time, particularly when the country’s shorelines have been turned into a best-seller of the tourism industry and targeted for large-scale industrial development. “If the locals were not strong and serious about conservation, Bang Boed dune would have been long gone,” said Saowakhon Rodsukhon. The search for prospective sites for the Southern Seaboard Development Project has prompted Chumphon people to once again band together to protect the Bang Boed dune. They have petitioned the Ministry of Natural Resources and Environment to declare the dune an environmental protection zone under the category of rare natural site deserving conservation. More conservation tools and measures will be rolled out to protect the dune so that it may be conserved with minimal intervention, leaving nature in its original state. For people of Khanthulee, the main thrust in nature conservation expresses itself in a different way.

I

11/19/10 8:29 PM


8

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ชุมชนประมงเรือเล็กบริเวณหาดทรายหนาสันทรายบางเบิด Fishing boats lie on a beach where the Bang Boed sand dune is situated.

สันทรายบางเบิดเปนแหลงเรียนรูระบบนิเวศสันทรายที่นาตื่นเตนสําหรับคนใน ทองถิ่นและนักทองเที่ยวทั่วไป The Bang Boed sand dune offers its ecology as a source of learning excitement for locals as well as tourists.

เมื่อวันที่ 19 พ.ค.2514 หลังจากชาวบางเบิดไดชื่นชม หวงแหน และเฝาอนุรักษที่ดินของพวกเขาซึ่งเปนสันทรายแหงนี้มาเนิ่นนาน พวกเขาตัดสินใจดวยศรัทธารวมกันนอมเกลาถวายโฉนดที่ดินแด พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทําใหพื้นที่ของสันทราย ทั้งหมด 448 ไร 3 งาน 17 ตรว. ตั้งอยูที่ หมู 5 ต.ปากคลอง อ.ปะทิว จ.ชุมพร ได รับการพัฒนาภายใตโครงการพัฒนาสวนพระองค จ.ชุมพร เพื่อให สันทรายแหงนีเ้ ปนพืน้ ทีอ่ นุรกั ษทสี่ ามารถคงสภาพแวดลอมดัง้ เดิมไว ชั่วกาลนาน เปนหองเรียนธรรมชาติ เปนที่ศึกษา และเปนที่พักผอน หยอนใจของคนไทยทั้งแผนดิน เกือบ 40 ปใหหลัง เสนทางเดินศึกษาธรรมชาติบนสันทรายยาว ยังคงสรางความตื่นตาตื่นใจ พรรณไมปานานาชนิดขางทางเดินแพร พันธุ เติบใหญ เปนวงจรไปตามฤดู สมุนไพร ไมใหญ ไมพุม-เลื้อย หรือไมดอกบานหอม บางชนิด สามารถพบไดที่นี่เพียงแหงเดียวเทานั้น แตละชนิดจะไดรับการ แนะนําตัวดวยปายบอกชื่อพันธุ เปนวิทยากรธรรมชาติที่พรอมจะให ผูมาเยือนไดสังเกต เรียนรู และศึกษา สันทรายบางเบิดที่ยังสมบูรณไปตามธรรมชาติ ราวกับไมมีวัน เปลี่ยนแปลง คือความภาคภูมิใจของชาวชุมพรที่สามารถอนุรักษ ความเปนเอกของสันทรายแหงนี้ไวไดผานกาลเวลาอันยาวนาน ใน ขณะที่ทรัพยากรชายฝงของประเทศกําลังถูกแปรรูปไปเปนสินคา เพื่ออุตสาหกรรมทองเที่ยว และเปนพื้นที่เปาหมายของการพัฒนา อุตสาหกรรมขนาดใหญ “ถาชาวบานไมเขมแข็ง ไมมกี ารอนุรกั ษทจี่ ริงจังมานาน สันทราย บางเบิดคงหมดไปนานแลว” เสาวคนธ รสสุคนธ ลูกหลานชาวชุมพร กลาวถอยคําอันเปนหัวใจสําคัญ ยิ่งอยูทามกลางกระแสของการสํารวจและระบุพื้นที่โครงการ

GL28F-va.indd 8

ทางเดินศึกษาธรรมชาติพรุคันธุลี Entrance to the nature study trail of Kanthulee peat swamp forest.

พัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต หรือ เซาเทิรนซีบอรด ชาวชุมพร ไดเคลื่อนไหวเพื่อปกปองสันทรายบางเบิดอีกครั้ง โดยยื่นเรื่องถึง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ขอใหประกาศสันทราย บางเบิดเปนเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม ประเภทแหลงธรรมชาติที่ หายากและควรอนุรักษ อนาคตเครือ่ งมือและมาตรการอนุรกั ษรปู แบบตางๆ คงยังถูกนํา มาใชอยางตอเนือ่ ง เพียงเพือ่ ตองการทีจ่ ะรักษาสันทรายแหงนีไ้ วในรูป แบบของการจัดการโดยแทบไมจดั การ และปกปองดูแลโดยปลอยให ธรรมชาติเหมือนเดิมใหไดมากที่สุด สําหรับหลักการใหญในการรักษาธรรมชาติใหคงสภาพไว ชาว คันธุลีมีประสบการณอีกรูปแบบหนึ่ง ทางเดินศึกษาธรรมชาติปกคลุมดวยซากของใบไมทที่ บั ถมทัว่ จน มองไมเห็นผืนดิน ไมใหญแผกิ่งใบคลุมคลึ้ม พวกมันมีรากหายใจเปน พิเศษ และมีพูพอนพยุงลําตนไมใหลม หวาย ระกํา กก เบียดแทรกหาแสงแดดจนแนนขนัด สวนไมพื้น ลางแผใบใหญเพื่อเก็บแสงแดดที่ลอดลงมาไดเพียงเล็กนอย ที่นี่คือ ปาพรุคันธุลี แหงอําเภอทาชนะ จ.สุราษฎรธานี ปาพรุที่ ฟนตัวจากความเสื่อมโทรมยุคสัมปทานทําไมหมอนและไมฟนรถไฟ แหงประเทศไทย ในชวงป 2470–2495 จันทโชติ ภูศิลป ประธานกลุมอนุรักษพรุคันธุลี เลาเหตุการณ หลังยุคสัมปทานที่ชาวบานในรุนบุกเบิกเริ่มมองเห็นคุณคาแหงความ สมบูรณที่หายไปของปาพรุ พวกเขาเริ่มมีแนวคิดถึงการอนุรักษใน ลักษณะของการตกลงกันวาจะไมทําลายปาเพิ่ม พยายามปลอยให ปาไดฟนตัวจากความเสียหายที่เกิดขึ้น

11/20/10 12:07 AM


กักนย นยยายน นยาย ายน - ธัธนนวววาคม าย าคคม 25 22553 553 53

A nature re study trail iiss covered with dead d leaves so thick yyou yo u barely see the ground. Under the canopy of big trees, roots shoot up from the ground and lobes give the trees firm support. Rattans, Rakham (Cathormion umbellatum kosterm) and sedges fight for sunlight while ground-level plants extend their big leaves to collect the little ray of sunlight that comes through. This is Khanthulee peat swamp forest of Tha Chana district in the southern province of Surat Thani. The forest has survived the logging concession for railroad sleepers and wood fuel production during 1927-1932 and has just recovered. Janthachote Phusilp, chairman of Khanthulee peat swamp forest conservation group, said villagers realized the value of the forest only after the end of the logging concession and discussed the need to prevent any more abuse and allow the forest to recover. In 1982, a fire triggered by drought severely torched the forest, whilst farmers from other provinces occupied and turned some parts of the forest into farm land. They abandoned the forest when the soil was exhausted. The forest revived again to the benefits of locals.

9

September Sep S Se epttem ember b -D De Dec December ec ece em emb mb m ber er 2010 201 0 0

Another threat loomed in 1990 as investors bought up the land for rubber and oil palm plantation. It gave the villagers a reason to form the conservation group to resist the investors’ plan. Battered by a series of incidents, the fertile peat swamp forest now covers an area of only about 350 rai. Another 400 rai is under restoration to be a source of biological, genetic and inorganic diversity that has been accumulating under the surface. In the peat swamp ecosystem, trees and animals adapt themselves to survive in a forest which is flooded for a certain period of the year and where water remains to nurture tree roots almost year round.

ดอกรักทะเลบานสพรั่งอยูบนสันทราย Half flowers bloom at the sand dune. A survey conducted in 1997 by the Wildlife Fund Thailand identified 36 tree species, 29 fish species, 98 wildlife species and 50 bird species. Two snail species have never been found elsewhere in Thailand. Most importantly, this peat swamp forest is under full-scale community care. Describing the geographical terrain of the forest, Janthachote said grass meadows and scrub forests are found in the North next to a limestone mountain further north. Fruit orchards and rubber plantations populate the South. Next to them is Tae Mountain from where water flows down its slope to collect in the peat swamp covering an area of around 5,000 rai. Each year 1,957.6

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path

GL28F-va.indd 9

11/19/10 8:29 PM


10

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

บอนํ้าที่ชาวบานขุดขึ้นรอบๆ พรุ เพื่อนํานํ้ามาใชอุปโภค-บริโภคไดตลอดทั้งป One of the wells dug by local villagers around the peat swamp provides water for consumption year round.

แตมาในป 2525 เกิดไฟไหมรุนแรงในพรุคันธุลีจากปญหาภัย แลง ในชวงนัน้ มีชาวบานจากจังหวัดอืน่ เขาไปจับจองพืน้ ทีเ่ พือ่ ทําการ เกษตรระยะหนึ่ง จนดินหมดความอุดมสมบูรณ พื้นที่จึงถูกทิ้งราง จนฟนตัวกลับคืนสภาพเปนปาที่มีความอุดมสมบูรณ ชาวบานก็ไดใช ประโยชนจากปาอีกครั้ง ในป 2533 ปาพรุคันธุลีถูกคุกคามอีกครั้ง จากการเขามากวาน ซือ้ ทีด่ นิ ของนายทุน เพือ่ ปลูกยางและปาลมนํา้ มัน ชาวบานจึงรวมตัว กันตัง้ เปนกลุม อนุรกั ษพรุคนั ธุลี ตอสูย บั ยัง้ อิทธิพลของนายทุนเรือ่ ยมา หลังจากผานเหตุการณตา งๆ จากปาพรุทสี่ มบูรณผนื ใหญ เหลือ พื้นที่ปาพรุสมบูรณประมาณ 350 ไร เปนพื้นที่ปาฟนฟูอีกกวา 400 ไร ไวเปนแหลงรวบรวมความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรม และ สารอนินทรีย ทีเ่ กิดการสะสมเอาไวในพืน้ ทีป่ า ลุม มีนเิ วศปาพรุทสี่ งั คม พืชและสัตวสามารถปรับตัวเพื่อยังชีพอยูไดในสภาพปาธรรมชาติที่มี นํ้าทวมขังในระยะหนึ่งของป และมีนํ้าหลอเลี้ยงบริเวณรากตอนลาง เกือบตลอดป การสํารวจในป 2540 โดยมูลนิธคิ มุ ครองสัตวปา และพันธุพ ชื แหง ประเทศไทย พบพรรณพืช 36 ชนิด พรรณปลา 29 ชนิด สัตวปา 98 ชนิด นกประเภทตางๆ มากถึง 50 ชนิด พบหอยทาก 2 ชนิด ที่ไมมี รายงานพบในประเทศไทยมากอน ทีส่ าํ คัญปาพรุแหงนีไ้ ดรบั การดูแล รักษาโดยชุมชนอยางเต็มรูปแบบ ลุงจันทโชติ อธิบายวา ดวยสภาพภูมิประเทศของปาพรุ ที่ทิศ เหนือจะเปนทุงหญาปาละเมาะ เหนือขึ้นไปเปนภูเขาชวาลา (เขา หินปูน) สวนทิศใตมภี ูเขาเตะ พืน้ ทีร่ าบเชิงเขาเปนสวนผลไมและสวน ยางพารา นํา้ ไหลจากเขามารวมในพืน้ ทีป่ า พรุทงั้ หมด แองกระทะของ พรุคันธุลีจึงเปนที่รับนํ้าไดถึง 5,000 ไร สามารถรองรับนํ้าฝนเฉลี่ย รายปประมาณ 1,957.6 มิลลิเมตร มีลาํ หวยสายเล็กๆ เปนแนวระบาย นํ้าลงสูอาวไทย และเกษตรกรมีนํ้าใชตลอดทั้งป ปจจุบัน ปาพรุคันธุลีเปนแหลงศึกษาดานธรรมชาติวิทยา ใน ฐานะเปนหนึง่ ในพืน้ ทีช่ มุ นํา้ ของภาคใตตอนบน มีหลักสูตรสิง่ แวดลอม ศึกษา เรื่องปาพรุคันธุลี ในโรงเรียนทาชนะ และเยาวชนในทองถิ่น ของตนเอง

GL28F-va.indd 10

พรุคันธุลีเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศที่มีนักทองเที่ยวแวะเวียนเขามาเพื่อเรียนรู ศึกษาปาพรุอยูเสมอ Kanthulee peat swamp forest has become an ecotourist destination for those interested in learning about nature.

ป ติ กั น ตั ง กุ ล สาขาเทคโนโลยี ก ารบริ ห ารสิ่ ง แวดล อ ม มหาวิทยาลัยมหิดล ระบุผลการศึกษาเรื่องการใชประโยชนทาง ตรงจากความหลากหลายทางชีวภาพในพรุคันธุลี วา ประชาชนใน ทองถิ่นใชประโยชนในดานการจับสัตวปา จับสัตวนํ้า เก็บพรรณพืช และใชนํ้าเพื่อการเกษตรและอุปโภคภายในครัวเรือน โดยมีการใชนํ้า มากที่สุด รองลงมาคือ จับสัตวปา และเก็บพรรณพืช คิดเปนมูลคา เกือบ 2.2 ลานบาท ตอป การศึกษาของปติพบวา ชาวบานเต็มใจจายเพื่อการคงอยูของ ความหลากหลายทางชีวภาพในพรุคนั ธุลี โดยเฉลีย่ เทากับ 29.37 บาท ตอครัวเรือนตอป และมูลคาจากการคงอยูของความหลากหลายทาง ชีวภาพในพรุคันธุลีอยูที่ประมาณ 70 ลานบาทตอป “บริเวณนีไ้ มมแี หลงนํา้ ถาไมมพี รุเราก็อยูไ มได เราขุดบอไวรอบๆ พรุ เรามีนํ้าใชตลอดป นํ้าที่นี่ใชได รดกลวยไมได ดื่มได พรุคันธุลีเปน เขื่อนธรรมชาติที่นํ้าไมมีวันแหง เพราะอยูใตดิน มีใบไมตนไมขางบน ทับไวหมด ถึงพืน้ ทีจ่ ะเล็กแตเราก็ปกปองไวใหลกู หลาน แลวก็ปกปอง ไวเปนปาพรุผืนหนึ่งของภาคใต “พื้นที่ภาคใตกําลังเปนเปาสายตาของกลุมผลประโยชน มี โครงการสรางโรงไฟฟาถานหิน อุตสาหกรรมถลุงเหล็ก โรงไฟฟา นิวเคลียร ทาเรือนํ้าลึกชุมพร ตอนนี้กําลังขอประกาศเปนพื้นที่ คุมครองสิ่งแวดลอม เราตองใชกฎหมาย ใชทุกอยางที่จะรักษาปาพรุ ไวใหได” ลุงจันทโชติ พูด สันทรายบางเบิด และพรุคันธุลี เปนตัวอยางของการจัดการปา ไมโดยชุมชนทีร่ สู กึ เต็มเปย มถึงความเปนเจาของ และไดแสดงออกถึง รูปธรรมเรือ่ งสิทธิขนั้ พืน้ ฐานในการจัดการทรัพยากรในพืน้ ทีต่ นเอง ที่ ปรากฏชัดเจนในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และ 2550 แมวันนี้ทรัพยากรปาไมยังคงอยูในความเสี่ยงที่จะไดรับผล กระทบจากการพัฒนาเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การทองเที่ยว เกษตร เชิงเดีย่ ว การสรางเขือ่ น การตัดถนน หรือโครงการขนาดใหญ หากแต จิตใจทีม่ งุ มัน่ ของผูอ นุรกั ษไมยอ ทอ พวกเขายังคงเชือ่ วา “ชุมชน” จะ เปนคําตอบของการรักษาปาไวเปนมรดกใหลูกหลาน ■

11/20/10 12:09 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

11

September - December 2010

บนสันทรายบางเบิดเต็มไปดวยพืชพรรณไมนานาชนิดที่มีเอกลักษณ ไมเหมือนปาชนิดอื่นๆ Diverse plant species on the sand dune are uniquely different from those in other forests.

millimeters of rain falls here. Little creeks feed water to farmers throughout the year before draining into the Gulf of Thailand. At present, the forest serves natural history studies as one of the wetlands in the upper South. Environmental education courses on Khanthulee peat swamp forest are taught in schools in Tha Chana district and to local youths. Piti Gunthungul, of Mahidol University’s Program in Technology of Environmental Management, who studied direct benefits from biodiversity of the forest, said the locals depend on water from the peat swamp for farming and household consumption. They also earn income from catching wild animals and collecting plants valued at about 2.2 million baht a year. Piti found that each household is willing to chip in 29.37 baht a year to sustain forest biodiversity, while the biodiversity benefits are valued at over 70 million baht per year. “This area has no other source of water. Without the peat swamp forest, we cannot survive. We dug up wells around the forest to ensure year-long water supply. The water is good for drinking as well as growing orchids. It’s like a natural dam. The water never runs dry because it stays underground under heaps of leaves. Even though it’s small, we are determined to protect it and keep it as a peat swamp forest in the South for our children and their children. “The southern region has been targeted by many interest groups. They want to build coal-fired power plants, iron smelting plants, nuclear power plants and a deep-sea port in Chumphon. We are now demand-

เตยทะเลกําลังออกลูกสีแดงสุกปลั่ง Seashore screw pine. ing that it be declared an environmental protected zone. We’ll use the law and every other avenue to preserve the forest,” said Janthachote. The Bang Boed dune and the Khanthulee peat swamp forest are examples of forest management by local communities through a strong sense of ownership. It is a concrete manifestation of basic rights to manage resources in their own localities as guaranteed by the 1997 and 2007 constitutions. Forest resources today are under constant threat by economic, industrial and tourism development, monoculture farming, dam and road construction, and mega development projects. However, the conservationminded locals firmly believe that “community” is the answer to preserve forests as heritage for the future generations. ■

ลอดรั้วริมทาง on an unbeaten path

GL28F-va.indd 11

11/20/10 12:10 AM


ยาง 50 ป

อุทยานแหงชาติ ณ จุดเปลี่ยน แมนวาด กุญชร ณ อยุธยา

เดินปา ดูนก ดูผีเสื้อ ชมดอกไมพรรณพืช-สัตว ชมทะเลหมอก ดูดาว ถายภาพ … สองสัตว เที่ยวถํ้า เลนนํ้าตก ลองเรือ ลองแพ ลองแกง พายเรือแคนู-คายัค อาบนํ้าแร … อาบแดด ดํานํ้าชมโลกใตทะเล ปนจักรยาน ปนหนาผา โรยตัว … ปจจุบัน กิจกรรมนันทนาการเหลานี้ ลวนเสกสรรคขึ้นไดใน อุทยานแหงชาติ “เที่ยวอุทยานฯ” ดวยคํานิยมนี้หรือที่กําลังทําใหอุทยานแหง ชาติเปลีย่ นรูปไปเปนสินคาทีม่ มี ลู คาสูง แตคณ ุ คาทีส่ าํ คัญไมยงิ่ หยอน ไปกวานัน้ ทีก่ ลับไมคอ ยถูกกลาวถึง คือ การเปนแหลงอนุรกั ษ และการ เปนสถานที่แหงการสรางองคความรูจากธรรมชาติ และหากยอนตามความเดิมไปในยุคตนของการอนุรักษพื้นที่ ปา ผานยุคสมัยจากอดีตสูปจจุบัน อุทยานฯ สามารถภาพสะทอน เจตนารมณในการจัดตั้งอุทยานฯ ไดหรือไม หรืออยางไร ยอนกลับ ไปในป 2502 มีการสํารวจที่ระบุวา “ทุงแสลงหลวง... ปาหลายชนิด และธรรมชาติที่ใกลจะหมดไปเพราะเขาถึงไดงาย ทุงหญาทางตอน ใตมีสัตวปาชุกชุมแตกําลังเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วเพราะมีการ ลาสัตวอยางหนัก... ปาสองขางทางทางหลวงสายพิษณุโลก-หลมสัก ยังเปนตัวแทนปาดงดิบ (virgin jungle) ที่จะเปนแมเหล็กดึงดูดนัก ทองเที่ยวจากทั่วโลก”

GL28F-va.indd 12

อุทยานแหงชาติถํ้าปลา-นํ้าตกผาเสื่อ-อุทยานฯ กับชาวบานในทองถิ่น รวมกัน จัดการบริการลองแพและใหชาวบานมาเปนไกด ใหนักทองเที่ยวเปนการกระจาย รายไดสูชุมชนรายรอบ Tham Pla-Nam Tok Pha Sua National Park – Villagers jointly manage rafting service with the park authority and serve as tour guides, a form of income distribution to surrounding communities.

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

13

September - December 2010

50 Years On

NATIONAL PARKS AT A TURNING POINT Maenwad Kunjara Na Ayuttaya orest trekking, bird watching, flora and fauna admiring, sea of fog watching, star gazing, photo taking… Wildlife watching, cave and waterfall visiting, boating, rafting, canoeing, kayaking, mineral water bathing… Sun bathing, scuba diving and snorkeling, bicycling, cliff climbing, abseiling. All the above activities can now be seen taking place in national parks.

F

The increasingly popular “park visiting” has turned national parks into a high-value product. But the no less valuable aspects of the parks as conservation sources and places to generate knowledge from Nature have often been overlooked. Looking back to the beginning of forest conservation, can we say that national parks have fulfilled the intent of their establishment? And how? Back in the year 1959, a survey report stated Thung Salaeng Luang was fast losing its diverse forest ecosystems

อุทยานแหงชาติเขานัน-นักทองเที่ยวกําลังชมทะเลหมอกบนยอดเขาเหล็ก พื้นที่ที่เคยมีการทําเหมืองแรเหล็กในอดีต Khao Nan National Park – Tourists are admiring the sea of fog on the peak of Lek Mountain, an area where iron ore was once mined.

GL28F-va.indd 13

11/19/10 8:29 PM


14

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

…ไมตางจากภาพรวมของสถิติ นักทองเที่ยวที่เขาไปในอุทยานฯ ในป 2552 มีจํานวนทั้งสิ้น 11,288,893 คน มียานพาหนะที่เขาไปในอุทยานฯ 2,139,621 คัน นี่คือความเปนไปใน หลายๆ ป ที่ภาพของการทอง เที่ยวในพื้นที่อุทยานเดนชัดขึ้น…

อุทยานแหงชาติเขาใหญ-อนุสรณสถานของการลาสัตว ตั้งอยูในศูนยบริการนัก ทองเที่ยวเพื่อรําลึกถึงความโหดรายของมนุษยและภารกิจของอุทยานแหงชาติ Khao Yai National Park - An exhibition of wildlife hunting in the visitor service center is a reminder of man’s inhumanity and the park’s mission.

“เทือกเขาสลอบ (เขตรักษาพันธุสัตวปาสลักพระ และอุทยาน แหงชาติเอราวัณ) เปนเทือกเขาหินปูนเกาแกที่มีชื่อเสียงในระดับ นานาชาติ และหินแกรนิตยุคไทรแอสสิค (Triassic Age) มีการทํา เหมืองเหล็กขนาดเล็กบริเวณเขาอึมครึม เหมืองสังกะสีที่หนองไผ ในอําเภอศรีสวัสดิ์ และมีนํ้าตกเอราวัณที่สวยงาม สัตวปาของพื้นที่ ไดแก ชาง วัวแดง เลียงผา เสือโครง เสือดาว และหมี ละอง ละมั่ง...” “ดอยอินทนนท... เปนตัวแทนของทิวเขาในแนวเหนือใตที่เปน เอกลักษณของภาคเหนือ เปนสวนใตสุดของแนวเขาหิมาลัย ยอด ดอยและพืน้ ทีใ่ กลเคียงยังไมถกู ทําลาย ประกอบดวยทิวทัศนสวยงาม นํา้ ตก ลําธาร และปาเต็งรัง มีปา ฝนกึง่ เขตรอนทีม่ พี ชื จําพวก gentian (ดอกหรีด ดอกไมปาสีนํ้าเงิน) และ parnassio ที่ไมพบในที่อื่นของ โลก มีนาํ้ ตกสวยงามทีส่ งู ทีส่ ดุ ในประเทศไทยอยูท างตอนลางของดอย เสือมูบ ปาดิบเขาสวนใหญยังไมถูกรบกวนและนาสนใจยังคงมีอยูที่ ระดับสูงขึ้นไป... จะตองสงวนรักษาดอยอินทนนทที่เปนดอยสูงที่สุด ในประเทศไทยไวเปนอุทยานแหงชาติ ทั้งนี้ไมมีเหตุผลอื่นใดมากไป กวาความภูมิใจของชาติ” “ออบหลวงเปนชองแคบที่สวยงามของแมนํ้าแมแจม ไมพบ ที่ไหนในประเทศไทย แตนาตกใจเมื่อไดทราบวา ผูรับสัมปทานทําไม

GL28F-va.indd 14

วางแผนที่จะระเบิดชองแคบดวยระเบิดไดนาไมท เพื่อความสะดวก แกการลองซุงไมสักไปยังแมนํ้าปง... ออบหลวงเปนแหลงนํ้าสําคัญ ของเขื่อนภูมิพล การคุมครองและสงวนรักษาลุมนํ้าเปนความสําคัญ อันดับแรก ควรพิจารณาจัดพื้นที่ออบหลวงบางสวนเปนเขตรักษา พันธุสัตวปา (wildlife refuge) เพื่อใหสัตวปา เชน กระทิง และกวาง เพิม่ มากขึน้ และควรคุม ครองออบหลวงไวเปนอนุสรณสถานแหงชาติ (national monument)” “ภูก ระดึ ง เป น ที่ ร าบสู ง ประกอบด ว ยหนา ผาสู ง ชัน โดยรอบ นํา้ ตก ปาสน ทุง หญาทีส่ วยงาม ดงกุหลาบพันป และพืชเมืองหนาว อื่นๆ อากาศเย็นสบาย เปนพื้นที่เกาแกดั้งเดิมของเอเชียตะวันออก เฉียงใตที่เหลืออยูเพียงเล็กนอย ...มีคุณคาอยางใหญหลวงในดาน ตนนํ้าลําธาร จุดเดนที่ยิ่งใหญคือความวิเวก (solitude) และความ โดดเดี่ยว (isolation) ซึ่งควรใชเปนกรอบพัฒนาภูกระดึง...จะเปน ความผิดพลาดถาจะสรางสนามบินบนยอดภู เพราะพื้นที่มีขนาดเล็ก เกินไปแกการยินยอมใหมกี ารบุกรุกเชนนัน้ ถนนทีจ่ ะขึน้ ไปบนภูกเ็ ปน สิง่ ทีน่ า เสียใจดวยเหตุผลเดียวกัน เพราะจะสรางรองรอยทีไ่ มนา ชืน่ ชม และเสียคาใชจายสูงเกินไป ควรจะปลอยพื้นที่นี้ไวตามสภาพเดิม ให ไปถึงไดก็แตนักปนปายผูพากเพียรในการพิชิตยอดสูง...” “ดอยเชียงดาวเปนเทือกเขาสูงชันโผลขึ้นมาอยางโดดเดน ยาก แกการปนปาย สูงเปนที่สองของไทย มีภูมิประเทศแบบคราสท (karst) (หินปูน) ที่นาสนใจ ซึ่งเปนที่เคารพยําเกรงของประชาชน ใกลเคียง เนื่องจากเชื่อวาเปนที่อยูของผี (evil spirits) ที่จะนํา โชครายแกผูปนปายขึ้นไป ความเชื่อในเรื่องนี้ไดชวยสงวนรักษา ลักษณะเดนทางธรรมชาติที่นาสนใจ ดอยเชียงดาวยังมีสัตวปาพื้น เมืองที่นาสนใจ พื้นที่บนดอยมีพืชที่พบเฉพาะบนยอดดอยสูงเทานั้น ควรจะมีการศึกษาดอยเชียงดาวตอไปอีก” ขอมูลและขอเสนอแนะเหลานี้ เกิดจากการสํารวจ โดย ดร. ยอช ซี. รูเล นักธรรมชาติวิทยา (park naturalist) ซึ่งเคยปฏิบัติงาน ในอุทยานแหงชาติของสหรัฐอเมริกา เพื่อเสนอรายงาน “การใหคํา แนะนําเกี่ยวกับระบบอุทยานแหงชาติสําหรับประเทศไทย 25022503” (Advisory Report on a National Park System for Thailand 1959-1960) ตอกรมปาไม คณะกรรมการอุทยานแหง ชาติของสหภาพสากลวาดวยการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม หรือ IUCN (The World Conservation Union) และ คณะกรรมการชาวอเมริกันเพื่อการคุมครองสัตวปาระหวางประเทศ (The American Committee for International Wildlife Protection) (ตีพิมพเผยแพรในป 2507)

11/20/10 12:12 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

15

September - December 2010

...Statistics show that, in 2009, a total of 11,288,893 tourists visited Kaoyai with 2,139,621 vehicles entering the park...

อุทยานแหงชาติเขาใหญ-แหลงธรรมชาติที่กลายเปนศูนยกลางของการทองเที่ยว Khao Yai National Park - Numerous natural attractions for tourists has turned the park and adjacent areas into a tourist town.

due to its easy public access. The southern meadow was teeming with wildlife but was undergoing rapid changes because of intensive hunting. However, the virgin forest along both sides of the Phitsanulok-Lomsak highway continued to attract tourists from all over the world. On the Salop Range in Salak Phra Wildlife Sanctuary and the Erawan National Park, the report said it was known internationally as a limestone mountain range with granite from the Triassic Age. There were some small iron mines around Umkhrum Mountain, zinc mines in Nong Phai of Srisawat District, and the beautiful Erawan waterfall. Wildlife found in the forest included elephants, bantengs, serows, tigers, leopards, bears, and eld’s deer. Doi Inthanon was said to represent the north-south mountain range that was unique in the north of Thailand. It lied at the southernmost end of the Himalaya range. According to the report, the natural conditions at the summit and its surrounding area remained untouched with scenic beauty, waterfalls, streams, dipterocarp forest and tropical rainforest with plants in the genera Gentian and Parnassio that could be found nowhere else in the world. The most beautiful and highest waterfall of the country was located at the lower end of Doi Sua Moob. Most montane rain forests were undisturbed and found at a higher elevation. Doi Inthanon, which was Thailand’s

highest peak, should be preserved as a national park for no other reason than that it was the nation’s pride. Ob Luang was described as a beautiful pass of Mae Chaem River that was found nowhere else in Thailand. The report author expressed shock that a logging concessionaire planned to blast this pass to facilitate teak transportation to the Ping River. He said Ob Luang was a major water source for the Bhumiphol Dam. The preservation and management of this watershed should be regarded as top priority, and certain areas should be set aside as a wildlife refuge to facilitate the propagation of wildlife such as gaurs and deer. The entire Ob Laung area should be kept as a national monument. Phu Kradung was described as a high plateau with tall cliffs on all sides, waterfalls, coniferous forests, savannas, rhododendron and other temperate plants. The weather was comfortable. It was one of the few places of original geographical terrain left in Southeast Asia. It was enormously valuable as a source of rivers and streams. Its greatest attraction lied in its isolation and solitude that should be used as the basis for its development framework. Building an airport on the mountaintop would be a big mistake as the area was way too small for such intrusion. An access road to the mountaintop was also regrettable for the same reason as it would leave less than admirable scars and demanded excessive investment. The place should be left in its original condition and could be reached only by persistent mountain climbers. Meanwhile, Doi Chiangdao was reported as a steep mountain range that stood out and was hard to reach. It was Thailand’s second highest mountain with karst as its outstanding geographical feature. It was highly revered by local residents who believed the residing “evil spirits” would bring bad luck upon those who tried to climb it. Such beliefs had probably helped to protect its outstanding natural features. Doi Chiangdao also had interesting endemic species of wildlife. Certain plant species could only be found on the summit. The author concluded that Doi Chiangdao was worth further study. The above information was contained in the report “Advisory Report on a National Park System for Thailand, 1959-1960” by Dr George C Ruhle, a park naturalist of the US National Park Service, who conducted the survey for the Royal Forest Department on behalf of the World Conservation Union (IUCN) and the American Committee for International Wildlife Protection. The report was published in 1964. The report was a study that identified the unique-

ยาง 50 ป – อุทยานแหงชาติ ณ จุดเปลี่ยน 50 Years On: National Parks At a Turning Point

GL28F-va.indd 15

11/20/10 12:12 AM


16

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

…อุทยานมีศักยภาพที่จะสงเสริม พัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่ง ตองมองในภาพรวม เชน ใกลๆ เขาใหญมี รีสอรทเทาไหร แตละปคนเขาเทาไหร เราจะ ดึงคนเขามา ไม ใชเขามาคางในอุทยาน เพราะ วามันไม ใชปญหาเฉพาะเรื่องที่พัก นํ้าเสีย ขยะ ในการจัดการเราตองยอมรับเรื่อง พวกนี้ยังเปนปญหาอยู – มาโนช การพนักงาน

มาโนช การพนักงาน หัวหนาอุทยานแหงชาติเขาใหญ Manote Karnpanakngarn, chief of Khao Yai National Park

รายงานทีท่ าํ ใหเห็นเอกลักษณ คุณคาของทรัพยากรธรรมชาติใน พื้นที่ตางๆ ทั้งในมิติดานการศึกษา วิจัย จิตวิญญาณชนเผา และการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืน รวมถึงวิกฤตความเปลีย่ นแปลงทีก่ าํ ลังเกิดขึน้ ตอพืน้ ที่ ปาในยุคนั้น รวมถึงการผลักดันจากหลายฝายที่มีบทบาทสําคัญ โดย เฉพาะ นิยมไพรสมาคม โดยนายแพทยบุญสง เลขะกุล ไดนําไปสูการ จัดการพื้นทีอ่ นุรักษในประเทศไทยในรูปแบบ “อุทยานแหงชาติ” ใน สมัยที่ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี ในป 2504 มีการประกาศใชพระราชบัญญัตอิ ทุ ยานแหงชาติเปน ครั้งแรก มาถึงป 2553 ประเทศไทยมีพื้นที่ที่ไดรับการประกาศเปน อุทยานแหงชาติแลว 123 แหง กําลังอยูระหวางดําเนินการประกาศ อีก 25 แหง วี ร วั ธ น ธี ร ประสาธน อดี ต หั ว หน า เขตรั ก ษาพั น ธุ  สั ต ว ป  า ทุงใหญนเรศวร ประธานมูลนิธิฟนฟูชีวิตและธรรมชาติ ยอนอธิบาย เจตนารมณตงั้ ตน และความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ วา อุทยานเกือบทัว่ โลกมีตน แบบมาจากอุทยานฯ แหงแรกของโลก คือ อุทยานฯ เยลโลส โตน ในอเมริกา เพื่อรักษาความเปนปาดั้งเดิม หรือปาบริสุทธิ์ไว โดย หามคนอาศัยอยู แตแทจริงคือการหาพื้นที่อันเปนแหลงทรัพยากรไว ใหกับกลุมคนในภาคอุตสาหกรรม สวนประเทศไทยรับการจัดตั้งอุทยานฯ ในรูปแบบเยลโลสโตน มาใชเปนเครือ่ งมือในการชวงชิงพืน้ ทีป่ า ในยุคสัมปทานปา หลังยกเลิก สัมปทานในป 2532 อุทยานฯ ยังเปนเครื่องมือในการรักษาพื้นที่ปา จากการบุกรุกรูปแบบอื่น วีรวัธน มองวา ที่ผานมาการจัดการพื้นที่อนุรักษดวยการจัดตั้ง อุทยานฯ หรือเขตรักษาพันธุสัตวปา เปนเพียงการประกาศถึงการ มีพัฒนาการในการจัดการปาไม กฎหมายซึ่งเปนอํานาจก็กลายเปน ปญหาเพราะไปละเมิดสิทธิ์ผูที่อยูมากอน จนเกิดเปนความขัดแยงที่ ชุมชนไมไดมีสวนรวมและขาดความรูสึกในการเปนเจาของ ทั้งๆ ที่

GL28F-va.indd 16

พื้นที่ปาในประเทศไทยมีความเหมาะสมที่จะเปนพื้นที่อนุรักษอยาง มากมายอยูแลว แตคุณคาของทรัพยากร วิถีชีวิต ภูมิปญญาดั้งเดิม ของชุมชนในปา รวมถึงวิทยาการทีแ่ ทจริงในพืน้ ทีเ่ หลานีก้ ลับถูกมอง ขามไปอยางนาเสียดาย “ถาเราอยากมีพื้นที่ปาไมวาตรงไหนก็ตาม มันจะเปนพื้นที่ ที่รักษาระบบนิเวศของมันไดถาเราจัดการดี และสามารถศึกษา ธรรมชาติไดดวย เชน การตั้งเปนศูนยศึกษาธรรมชาติ ในยุโรปมีศูนย แบบนี้เยอะมาก หนอง บึง ปา ที่ไหนก็ประกาศได แตเรายังติดกับพื้น ที่กวางๆ (ตามหลักสากลของการจัดการอุทยานแหงชาติ ไดกําหนด มาตรฐานพื้นที่ไวไมนอยกวา 10 ตารางกิโลเมตร) การศึกษามันเลย เปนไปไดยากมาก มันสะทอนวา การจัดตั้งอุทยานในสังคมไทยเนน ปริมาณมากกวาคุณภาพ เนนการทองเทีย่ วมากกวาการศึกษา เพราะ ประโยชนที่จะไดคือรายไดจากการทองเที่ยวมากกวาการดูแลรักษา ปา” วีรวัธน พูด เจตนารมยลําดับสุดทาย ถนนคอนกรีตตัดฝาปาทอดเลื้อยไปตามเทือกเขาดงพญาเย็น อาณาจักรของพืชปาและสัตวปา อันอุดมสมบูรณ เพือ่ นํานักทองเทีย่ ว มุง หนาสูอ ทุ ยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานฯ แหงแรกของประเทศไทย ที่มีอายุเกือบ 50 ปแลว อุทยานฯ เขาใหญเปดรับนักทองเที่ยวอยางเต็มรูปแบบ ดวย บานพัก 32 หลัง รองรับผูเขาพักได 565 คน สถานที่กางเต็นท 2 แหง รองรับนักทองเที่ยวไดมากถึง 2,700 คน หากในชวงเทศกาล สามารถจัดหาสถานที่กางเต็นทเพิ่มขึ้นไดอีก 5,000 คน ประมาณ โดยรวมจะมีนักทองเที่ยวขึ้นมาบนเขาใหญไมตํ่ากวา 8,000 คน และ เกือบ 200,000 คนในชวงเดือนธันวาคม ในชวงหนึ่งของปอุทยาน คือชุมสายปลายทางของนักทองเที่ยว จนเปนชุมชนเมืองกลางปาที่ คละเคลาไปดวยความตองการ รสนิยม และวิธีการเสพสุขธรรมชาติ ที่แตกตางกันไป ไมตา งจากภาพรวมของสถิตนิ กั ทองเทีย่ วทีเ่ ขาไปในอุทยานแหงชาติ ในป 2552 มีจาํ นวนทัง้ สิน้ 11,288,893 คน มียานพาหนะทีเ่ ขาไปในอุท ยานฯ 2,139,621 คัน นีค่ อื ความเปนไปในหลายๆ ป ทีภ่ าพของการทอง เที่ยวในพื้นที่อุทยานเดนชัดขึ้น และกอใหเกิดคําถามวา เจตนารมณ ซึง่ สะทอนอยูใ น พระราชบัญญัตอิ ทุ ยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 ประการ แรก คือ การอนุรกั ษปกปองพืน้ ทีป่ า ใหกบั ทุกสายพันธุธ รรมชาติ ตนนํา้

If we look a overall pict concerning number of resorts in K vicinity and number of per year, w see that Kh Yai attracts number of The issue is about lodg about pollu waste man

11/20/10 12:17 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

17

September - December 2010

...If we look at the overall picture concerning the number of private resorts in Khao Yai vicinity and the number of visitors per year, we will see that Khao Yai attracts a fair number of visitors. The issue is not about lodgings but about pollution and waste management. – Manote Karnpanakngarn ness and values of natural resources in various areas as well as other dimensions including ethnic minority’s spiritual beliefs, sustainable development, and critical changes affecting forest areas at that time. Coupled with efforts from various parties, particularly that of Dr Boonok at the song Lekhakul of the Association for the Conservation picture of Wildlife, it helped create a model of protected area ing the management in the form of national parks during the of private premiership of Field Marshall Sarit Thanarat. 1961 the first National Park Bill took effect. Since n Khao Yai then,InThailand has established a total of 123 national and the parks with 25 more protected areas in the process of being declared as such. of visitors Explaining the original intent of the national park r, we will system and subsequent changes, Veerawat Dheerat Khao prasart, a former chief of Thung Yai-Naresuan Wildlife Sanctuary and now president of Foundation for Ecologiacts a fair Recovery, said the Yellowstone National Park in the of visitors. cal US had been a model for almost all national parks in the e is not world. The idea then was to preserve pristine forests by odgings but excluding human inhabitants. But it turned out that the real intent was to preserve ollution and resources for industrial exploitation, he said. management. Thailand adopted the Yellowstone model as a means to secure forest areas for logging concession. After the concession was ended in 1989, the national park system became a mechanism to protect forest areas against all forms of encroachment. Veerawat viewed national parks and wildlife sanctuaries as a tool to manage protected forests and as a mere expression of development in forest management. Laws, a powerful tool, have become a problem because they have infringed on the rights of people living in the areas declared as national parks, leading to conflicts with local communities which were denied participation and sense of ownership. While many forest areas are worth protected, the true value of natural resources, local ways of life, indigenous knowledge and local technologies have been overlooked. “If we want to keep any forestland, we could ensure the sustenance of its ecosystem with good management. We could also study nature by way of setting up nature

อุทยานแหงชาติเขาแหลม-ธารนํ้าที่ไหลผานผืนปาตะวันตก กลายเปนทางหฤโหดให ออฟโรดไดเขามาพิชิต Khao Laem National Park - A shallow stream running through the Western Forest Complex offers a challenge for off-road vehicles.

study centers. There are many of these in Europe – swamps, ponds, or woods can all be declared protected areas. But we are stuck with the notion of a vast area (international national park standard requires an area of at least 10 sq km), which makes studying it a difficult endeavor. We focus more on quantity rather than quality, tourism more than education, because we gain more revenue from tourism than forest protection,” Veerawat said. The Final Intent The concrete road meanders through the pristine forest along the mountain of Dong Phaya Yen taking tourists to Khao Yai National Park – Thailand’s first national park of about 50 years. On a regular day, Khao Yai National Park can accommodate tourists with 32 sleeping facilities that can house 565 guests and two campsites with a capacity of up to 2,700 campers. During important festivals, additional campsites can be set up to take in 5,000 more visitors. At its highest carrying capacity, Khao Yai can have up to 8,000 tourists. However, in December, the park can see nearly 200,000 visitors. During this period, Khao Yai

ยาง 50 ป – อุทยานแหงชาติ ณ จุดเปลี่ยน 50 Years On: National Parks At a Turning Point

GL28F-va.indd 17

11/20/10 12:19 AM


18

กันยายน - ธัธนว นวาคม าคคม 2553

September Sep Se S ep e ptem mber be err - D Dec De December ec ece emb em mb m ber er 2010

ลําธาร ความ หลากหลาย ทางชีวภาพ แรธาตุมีคาที่ยังบริสุทธิ์ สมบูรณ เพื่อเปนมรดกของลูกหลาน ประการที่สอง คื อ เปนสถานทีอ่ าํ นวยความสะดวกแกการศึกษาคนควาวิจยั ไมวา จะเปน ดานพฤกษศาสตร สังคมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร นิเวศวิทยา หรือธรณีวิทยา เพื่อนําคุณคา คุณประโยชน อันเปนความรูทาง ธรรมชาติทมี่ อี ยูใ นอุทยานมาสูก ารรับรูข องสังคม และมวลมนุษยชาติ รวมถึงการเปนทั้งแหลงอนุรักษโบราณวัตถุและโบราณสถานใหคง อยูเพื่อเรียนรูเตือนใจในบทเรียนตางๆ ที่เกิดขึ้นในอดีต และการเปน แหลงนันทนาการสําหรับประชาชนทั่วไป ซึ่งถือเปนผลพลอยไดใน อันดับสุดทาย แตเมื่อกลาวถึงคุณคาของอุทยานในฐานะของแหลงศึกษาวิจัย แมแตในอุทยานแหงชาติเขาใหญ ซึ่งถือเปนอุทยานอายุมากที่สุด มี นักวิชาการนักศึกษาเขามาทํางานคนควาวิจัยมากที่สุด ในระบบฐาน ขอมูลเพียงปรากฎรายชื่อของงานวิจัย เพียง 190 เรื่องเทานั้น เจตนารมณแหง “การอนุรกั ษ” ทีใ่ หความสําคัญตออุทยานแหง ชาติ รากฐานแหงความมั่นคงทางทรัพยากรอันมิอาจประเมินคา ที่ ไดรับการคุมครองภายใตกฎหมายที่เขมงวด ถูกแปรเปลี่ยนมาเปน “การสงเสริมการทองเที่ยว หรือการพัฒนาเศรษฐกิจ” เจตนารมณหลัก 3 ประการ ที่เปนภารกิจของอุทยาน จะเรียง ลําดับความสําคัญอยางไร และจะมีทิศทางอยางไรในอนาคต มาโนช การพนักงาน หัวหนาอุทยานแหงชาติเขาใหญ ยังยืนยัน วา สําหรับผูปฏิบัติงานในพื้นที่สามภารกิจหลักยังคงถูกลําดับความ สําคัญดวยการปฏิบัติงานเชนเดิม แมจะมีแรงกดดันจากนโยบายการ ทองเที่ยวที่ตองการใหอุทยานเปนฐานรองรับ แตก็มองขามงานทาง วิชาการไมได “ภารกิจทั้งสามลําดับตองมี การทองเที่ยวมีได แตตองมีความ สมดุลยไมทําลายซึ่งกันและกันเอง” มาโนช อธิบายรายละเอียดในเนื้องาน ที่ผานมาเจาหนาที่ อุทยานฯ ตองทําภารกิจหลัก คือ ปกปอง ปราบปราม และดูแลรักษา ทรัพยากร โดยอุทยานฯ เขาใหญจะมีหนวยพิทักษอุทยานฯ อยู 21 หนวย รอบแนวเขต ใชวิธีลาดตระเวนโดยการสนธิกําลังกันเปนสวน ใหญ ใชระบบนําทาง GPRS เดินไปตามจุดพิกัดตางๆ มีการปองกัน การตัดไมหอม ตัดไมทําลายปา ลาสัตว เปนตน รวมทั้งเจาหนาที่ทุก คนจะมีแผนที่ มีคูมือ กลองถายรูปพกติดตัว เพื่อเก็บขอมูลในพรรณ พืชและสัตวปา ทีพ่ บเห็นระหวางทาง แลวลงคาพิกดั ไวในระบบแผนที่ เพื่อใหสามารถประเมินสถานการณของพื้นที่ไดตลอด ภารกิจในขอที่ 2 แมการทํางานในลักษณะโครงการวิจัยจะเปน ขอจํากัดตามศักยภาพของเจาหนาที่ และงบประมาณ แตที่มาโนช

GL28F-va.indd 18

จตุพร บุรุษพัฒน Jatuporn Buruspat

…การจะรักษาทรัพยากรในอุทยาน ตองอาศัยการจัดการที่มีประสิทธิภาพ เชน การจัดโซนนิ่งพื้นที่ และมีแผนแมบท ในอุทยานฯ แตละแหง โดยชี้ชัดไววาจุด ใดเพื่อการบริการนักทองเที่ยว หรือเพื่อ การอนุรักษ – จตุพร บุรุษพัฒน คิดจะปรับปรุงในอุทยานแหงชาติเขาใหญ เพื่อทําใหภารกิจดานนี้ เดนชัดขึ้น คือ การสรางสารบบงานวิจัยที่มีอยูแลวนํามาตอยอด โดย การตั้งศูนยวิจัยอุทยาน จะมีปรับปรุงศูนยบริการนักทองเที่ยวซึ่ง เปนหัวใจสําคัญของอุทยานฯ ในการสรางองคความรูใหเกิดขึ้น คน ที่เขามาใชพื้นที่อนุรักษ ตอไปจะตองซึมซับไดรับองคความรูในเรื่อง ธรรมชาติทั้งหมดในอุทยานฯ มีหองสมุด มีนิทรรศการที่ปลดปลอย จินตนาการและกอใหเกิดความสรางสรรค มีหองบรรยายในหอ ประชุม ซึ่งการนําเสนอทั้งหมดนี้จะเชื่อมโยงใหนักทองเที่ยวเขาใจไป ถึงพื้นที่ปา ปรับปรุงเสนทางศึกษาธรรมชาติ มีสถานีที่เนนวาตองมี สื่อความหมายธรรมชาติ สวนเรื่องสุดทาย คือ นันทนาการและการทองเที่ยว อุทยาน ยังคงเนนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การพักแรมสวนใหญจะจัดไวในรูป แบบลานกางเต็นท มีบานพักไวบริการในจํานวนที่เหมาะสม มีคาย พักสําหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา สวนขอปฏิบัตของนักทองเที่ยว เปนไปตามกฎหมาย และการจํากัดนักทองเที่ยวซึ่งมีนโยบายอยูแลว ยังคงปฏิบัติกนั ตอไป และนี่ควรจะเปนกรอบการทํางานของอุทยาน แหงชาติทั่วประเทศ “อุทยานมีศักยภาพที่จะสงเสริมพัฒนาระบบเศรษฐกิจของ ประเทศ ซึ่งตองมองในภาพรวม เชน ใกลๆ เขาใหญมีรีสอรทเทาไหร แตละปคนเขาเทาไหร เราจะดึงคนเขามา ไมใชเขามาคางในอุทยาน เพราะวามันไมใชปญ  หาเฉพาะเรือ่ งทีพ่ กั นํา้ เสีย ขยะ ในการจัดการเรา ตองยอมรับเรื่องพวกนี้ยังเปนปญหาอยู เราจะเนนใหนักทองเที่ยวไป คางรอบๆ พืน้ ที่ ก็คอื ผูป ระกอบการนอกพืน้ ทีท่ มี่ อี ยูแ ลว มีหลายระดับ รับไดทกุ ระดับ แตสงิ่ อํานวยความสะดวกในอุทยานตองครบถวน เชน หองนํ้าสะอาด รานอาหารอรอย ที่นอนนอยหนอย มีศูนยบริการ

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

...To preserve the resources in the national park, we need effective management such as a good land-use zoning and a master plan of each national park that clearly specifies which location is for tourists and which for conservation. – Jatuporn Buruspat turns into a tourist mecca, a town in the midst of a forest filled with demands for foods and services to satisfy different tastes and myriad ways of consumption. Statistics show that, in 2009, a total of 11,288,893 tourists visited national parks with 2,139,621 vehicles entering the parks. These figures indicate the tourist-oriented emphasis of national parks and raise the question of how much the parks really fulfills the stated objectives cited in the National Park Act of 1961. According to that Act, the primary objective of a national park is to preserve and protect the forest area with all its flora and fauna, rivers and streams, biodiversity and minerals for the next generations. The second objective is to facilitate nature studies and research in botany, biology, social science, architecture, ecology and geology so that the knowledge can be transferred from nature to society and to humanity. This also includes the preservation of antiquities and ancient relics for further study of the past. The provision of public recreation as a by-product is the third and last objective. However, the value of national parks as a source of studies and research seems to have missed its goal. Khao Yai, the oldest national park in the country and the most popular location among university faculty members and students to conduct field research, accounts for only 190 articles in its academic database. Preservation of invaluable natural resources as the first priority of national parks under strict laws has given way to “tourism promotion” under the banner of economic development. Of the three objectives that form the core mission of the national park, what should be their priority and future direction? Khao Yai chief Manote Karnpanakngarn insists that the three objectives are still followed by field officials despite tremendous pressure from tourism policy from upper management. Technical work in the field could not be neglected, he said. “The three objectives must be upheld. Tourism can be promoted, but a balance must be achieved so that not

19

September - December 2010

one or the other is completely ignored.” Mr. Manote explained that in the past the main duty of park officials was law enforcement, protection and preservation of natural resources. Khao Yai has 21 park ranger units scattered around the park boundaries. They do surveillance in an integrated manner using GPS to plot the coordinates. They guard against illegal logging, particularly that of aloewood, hunting, etc. All rangers are equipped with maps, manuals and cameras. They collect information of flora and fauna encountered on the trails and record the coordinates in their logbooks so that the overall situation can be assessed. For the second objective concerning research, there are problems of budget limitation and staff capacity. However, Mr. Manote plans to compile the existing researches and upscale them into the core materials of Khao Yai National Park Research Center. The Visitor Information Center, a key unit of the park, will be renovated to house the body of knowledge so that visitors can gain information about nature within the park. A library and an exhibition hall will be built to spur the imagination and creativity of the visitors. There will be lecture rooms and meeting rooms with presentations and displays to enhance the visitors’ understanding of Khao Yai forest. The nature trails will be improved with interpretation signs. As for the last objective concerning recreation and sight-seeing, the national park stresses eco-tourism. Most of the overnight stays for visitors will be in the camp sites. There are some lodgings and dormitories for students. Rules for tourists and visitors will be enforced and a limit will be placed on the number of tourists allowed in the park during each period. This is the operation framework in Khao Yai National Park and should be for other parks throughout the country. “National parks have the potential to play an important role in the country’s economic development. If we look at the overall picture concerning the number of private resorts in Khao Yai vicinity and the number of visitors per year, we will see that Khao Yai attracts a fair number of visitors. The issue is not about lodgings but about pollution and waste management. Although we encourage visitors to stay at accommodations outside the park which can take in various levels of visitors, the amenity inside the park must be kept up such as clean toilets and good restaurants. We may have few sleeping facilities, but visitors should gain knowledge from our information center. We’ll build a transportation system and a network that links the park with other tourist attractions in the area,” said Manote. At the policy level, Jatuporn Buruspat, former director-general of the Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation (DNP), had suggested while still the department head that the service standard in every national park be raised under an initiative titled “Five-Star National Park Project”. It would lead to improvement of landscape, accommodations, restau-

ยาง 50 ป – อุทยานแหงชาติ ณ จุดเปลี่ยน 50 Years On: National Parks At a Turning Point

GL28F-va.indd 19

11/20/10 12:23 AM


20

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

…พื้นที่อนุรักษบางแหงอาจยกเลิก แลวเปลี่ยนเปนปาชุมชน หรือมีการ จัดการรูปแบบอื่นที่สอดคลอง บางพื้นที่ ของอุทยานแหงชาติอาจปรับไปเปน เขตรักษาพันธุสัตวปา… ทองเที่ยวที่เขามาแลวไดรับความรู แลวสรางระบบขนสง สรางเครือ ขายทีจ่ ะเชือ่ มโยงจากอุทยาน ไปยังแหลงทองเทีย่ วอืน่ ๆ” มาโนช พูด ในระดับผูวางนโยบาย จตุพร บุรุษพัฒน อธิบดีกรมอุทยาน แหงชาติ สัตวปา และพรรณพืช (ปจจุบันดํารงตําแหนงอธิบดีกรม ทรัพยากรนํา้ ) ทีเ่ พิง่ ดําริ จะยกระดับมาตรฐานการทองเทีย่ วในอุทยาน แหงชาติทั่วประเทศ ในโครงการอุทยานแหงชาติ 5 ดาว ซึ่งจะมีการ ปรับปรุงภูมิทัศน บานพัก รานอาหาร สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ นํารองในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท อุทยานแหงชาติเขาใหญ และอุทยานแหงชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล จตุพร เชื่อวา การทองเที่ยวในอุทยานสามารถพัฒนาใหมี มาตรฐานระดับเดียวกับโรงแรม 5 ดาวได โดยคงภารกิจหลัก 3 ขอ ของอุทยาน คือ เปนการพัฒนาที่ยังไมทําลายระบบนิเวศ และสภาพ แวดลอม ซึ่งจะมีแนวทางใหชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวม เพื่อรวม กันศึกษา ประเมิน และพัฒนาพื้นที่วาสมควรปรับปรุงอยางไรดวย “การจะรักษาทรัพยากรในอุทยานตองอาศัยการจัดการที่มี ประสิทธิภาพ เชน การจัดโซนนิ่งพื้นที่ และมีแผนแมบทในอุทยานฯ แตละแหง โดยชี้ชัดไววาจุดใดเพื่อการบริการนักทองเที่ยว หรือเพื่อ การอนุรกั ษ แตยทุ ธศาสตรตอ งยึดตามหลักใหญของภารกิจ 3 ขอ ทุก หนวยงานของอุทยานตองมีแผนแมบทระยะสัน้ ระยะยาว หนึง่ ป สาม ป หาป ทุกอุทยาน ซึง่ กรรมการจะมาจากภาคประชาชนดวย เปนการ คิดจากขางลางขึ้นมาขางบน เพราะเจาหนาที่เปลี่ยนแปลงตลอด แต

GL28F-va.indd 20

อุทยานแหงชาติเขาใหญ-นักทองเที่ยวกําลังถายภาพฝูงกวางหากินอยางอิสระ ในทุงกวาง Khao Yai National Park - A tourist takes pictures of a herd of deer feeding at a grass meadow.

ถาเรามีกรอบดําเนินงานมันจะเปนไปตามนั้น สวนการจํากัดนักทอง เทีย่ วยังเหมือนเดิม เปนมาตรการทีไ่ ดผล ตอนนีแ้ ผนแมบททุกอุทยาน สงเขามาหมดแลว เขาครม.แลว” อยางไรก็ตาม กรมอุทยานแหงชาติฯ ตองดูแลพื้นที่ปาทั่ว ประเทศจํานวน 73 ลานไร โดยมีเจาหนาที่พิทักษปาทั้งหมด 30,000 คน เฉลี่ยแลวเจาหนาที่แตละคนตองดูแลพื้นที่ปามากกวา 2,400 ไร แตเปนทีย่ อมรับจากทุกฝายวา ปญหาในอุทยานเวลานีเ้ กิดจากระดับ หัวหนาอุทยานที่ขาดมุมมองในเรื่องการบริหารจัดการพื้นที่ หรือให ความสําคัญตอนโยบายของรัฐบาลหรือผูบริหารที่ขาดความเขาใจ ในการจัดการพื้นที่อนุรักษ ทําใหการทองเที่ยวและการหารายได เขาอุทยานกลายเปนภารกิจสําคัญจนผูปฏิบัติงานในพื้นที่มองขาม ภารกิจอื่นๆ ในขณะที่ปญหา เชน จํานวนนักทองเที่ยวและรถยนตที่ มากเกินกวาระบบนิเวศจะรองรับ ปญหาขยะ นํา้ เสีย ไดสง ผลกระทบ ตอระบบนิเวศโดยรวมอยางเลี่ยงไมได แนวคิดที่มีการหยิบยกขึ้นมากลาวเพื่อคลี่คลายปญหา คือ การ โซนนิ่งพื้นที่ใหม โดยแยกพื้นที่เพื่อการทองเที่ยว กับพื้นที่อนุรักษ ประเภทตางๆ ออกจากกันใหชัดเจนขึ้น กลุมปา พื้นที่อนุรักษ เขตอภัยทาน – แนวคิดใหมในการจัดการปา ตามคํานิยามของสหภาพการอนุรักษโลก หรือ IUCN และคณะ กรรมาธิการวาดวยอุทยานแหงชาติและพื้นที่อนุรักษ (Commission on National Parks and Protected Areas - CNPPA) “พื้นที่อนุรักษ คือ พื้นที่ซึ่งกันไวเพื่อคุมครองความหลากหลาย ทางชีวภาพและทรัพยากรทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมทีม่ อี ยูใ นพืน้ ที่ นั้น ซึ่งมีการจัดการโดยวิธีทางกฎหมายและวิธีอื่นๆ” นิยามนี้ชี้ใหเห็นวา การจัดการพื้นที่อนุรักษไมไดใชกฎหมายแต เพียงอยางเดียว

11/20/10 12:24 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

21

September - December 2010

...Some protected areas may have to be annulled and switched to community forest or other forest management model with more people participation...

อุทยานแหงชาติทับลาน-ขางๆ นํ้าตกมานฟา ขยะเกลื่อนกราดกองอยูหนาปาย กฎระเบียบที่เตือนใหนักทองเที่ยวควรปฎิบัติตัวเชนไรเมื่ออยูในอุทยานฯ Thap Lan National Park – Garbage piles up at the entrance to Man Fa Waterfall beside a sign of rules of conduct in park areas.

อุทยานแหงชาติไทรโยค-ชาวตางชาติกําลังสนุกสนานกับสายนํ้าใสของ นํ้าตกไทรโยค Sai Yok National Park – Foreign tourists enjoy the cool water of Sai Yok Waterfall.

rants, and other amenity in pilot national parks of Doi Inthanon, Khao Yai and Tarutao in Satun. Jatuporn said tourism development in national parks can be improved to the same standard as any 5-star hotel while still fulfilling the three objectives of the national parks. In his opinion, development can be implemented without destroying the eco-system or the environment and with participation of the local communities in studying, monitoring and evaluating development projects. “To preserve park resources, we need effective management such as good land-use zoning and a master plan for each park that clearly specifies which location is for tourists and which for conservation. Any development strategy must uphold the three main objectives. Every unit under each national park must have its own short, medium and long-term master plans for one, three and five years respectively. The planning committee must include local community representatives so that it is a bottom-up process. We constantly have personnel changes, but if we have an operating framework, everybody will have to follow that. We will continue to have visitor quota which works well. Right now, all the master plans from every national park have been submitted for review by the cabinet,” said the former director-general. The DNP oversees altogether 73 million rai of forest lands and has about 30,000 forest protection officials. On average, each official is responsible for taking care of over 2,400 rai. A problem that is widely acknowledged is that most national park chiefs lack the skills in area-based management and they feel the need to respond to policies from government policymakers who lack the understanding of conservation area management. The result

is that tourism and revenue generating activities become the main focus overriding other objectives. Meanwhile, the problems of park overcrowdedness, high traffic volume, water pollution and waste management have been overlooked. These problems continue to put tremendous strain on the park eco-system. A solution will soon be proposed to solve the various problems. That is rezoning of national parks to clearly separate area for tourism from the protected area. Forest Complexes, Protected Areas, Non-Hunting Zones: The New Concept in Forest Management. According to IUCN and the Commission on National Parks and Protected Areas (CNPPA), “Protected Area is a clearly defined geographical space, recognised, dedicated and managed, through legal or other effective means, to achieve the long-term conservation of nature with associated ecosystem services and cultural values.” This definition indicates that management of protected areas does not solely rely on law enforcement. In 1993, IUCN defined a series of six protected area management categories. They are Strict Nature Reserve & Wilderness Area; National Park; National Monument; Habitat/Species Managemetn Area; Protected Landscape/Seascape and Managed Resource Protected Area. Another idea that will be proposed as part of the strategic plan for national park management and is being studied by the Faculty of Forestry, Kasetsart University, is “ecosystem management”. It is a conservation practice that is achieved through linking forest lands of various sizes that are located near one another. The key is to connect the physical, social and biological attributes of the individual forests into “forest complexes”. Asst Prof Dr Dachanee Emphandhu, head of Department of Conservation, Faculty of Forestry, Kasetsart University, explained that forest areas in Thailand currently can be divided into 19 forest complexes. There is a need to build corridors among these complexes to allow wildlife and plants to cross forest bound-

ยาง 50 ป – อุทยานแหงชาติ ณ จุดเปลี่ยน 50 Years On: National Parks At a Turning Point

GL28F-va.indd 21

11/19/10 8:29 PM


22

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

…แตอยูที่ความตระหนักวา อุทยานแหงชาติเปนของประชาชนทุก คนที่ตองชวยกันดูแลและปกปอง …ใชหรือไม

อุทยานแหงชาติผาแตม-พระกําลังทําทานั่งวิปสสนาเพื่อใหพระอีกรูปบันทึกภาพ จากกลองในโทรศัพทมือถือ Pha Taem National Park – A monk assumes a meditation posture as a fellow monk takes his picture with a mobile phone.

ทั้งนี้ ในป 2536 IUCN แบงพื้นที่อนุรักษออกเปน 6 ประเภท ไดแก พื้นที่อนุรักษ ประเภทที่สงวนทางธรรมชาติอยางเขมงวด หรือ พื้นที่ดั้งเดิมที่รักษาความเปนปาไว, อุทยานแหงชาติ, บริเวณที่มี ลักษณะเดนเฉพาะในทางธรรมชาติ รวมถึงวัฒนธรรม, พืน้ ทีซ่ งึ่ จัดการ ถิน่ ทีอ่ ยู และสิง่ มีชวี ติ หรือเขตรักษาพันธุส ตั วปา , พืน้ ทีอ่ นุรกั ษภมู ทิ ศั น และพื้นที่อนุรักษที่มีการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน อีกแนวคิดหนึง่ ทีจ่ ะปรากฎในแผนยุทธศาสตรการจัดการอุทยาน แหงชาติ ซึ่งกําลังศึกษาโดยนักวิชาการคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร คือ การจัดการอนุรักษพื้นที่เชิงระบบนิเวศ (Ecosystem Management) หรืออนุรักษผืนปาขนาดใหญ ผืนปาขนาดเล็ก หรือหยอมปาทีอ่ ยูห า งกันไมมากนัก ซึง่ เปนการจัดการทีอ่ ยูบ นแนวคิด ของการเชื่อมโยงความสัมพันธทางกายภาพ สังคม และชีวภาพ ใน ภาพของ “กลุมปา หรือผืนปา” (Forest Complex) ผศ.ดร.ดรรชนี เอมพันธุ หัวหนาภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะ วนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อธิบายถึงความคืบหนาสําหรับ แนวคิดนี้วา ปจจุบันพื้นที่ปาในประเทศไทยมีการจัดแบงกลุมปาที่ สําคัญทั้งสิ้น 19 กลุมปา และในกลุมปาเหลานี้จําเปนตองหาวิธีการ สรางแนวเชื่อมตอทางนิเวศวิทยาเพื่อใหสัตวปาและพันธุพืชกระจาย ระหวางกันใหได เชน จัดสรางแนวเชือ่ มตอ (Corridor) บริเวณรอยตอ ผืนปา รวมถึงเชือ่ มโยงกับชุมชนทีอ่ ยูอ าศัยรอบๆ และภายในผืนปาเขา มามีสวนรวมในการดูแลผืนปาดวย เพื่อใหการดําเนินการสอดคลอง กับทุกฝาย และกอประโยชนตอการอนุรักษปาและสัตวปามากที่สุด ซึ่งอนาคตการจําแนกการจัดการพื้นที่อนุรักษในประเทศไทย อาจจะไมตองใชการแบงเขตในลักษณะ อุทยานแหงชาติ และเขต รักษาพันธุสัตวปา เทานั้น ถาสามารถผลักดันใหมีการดําเนินการ ตามหลักการสากลของ IUCN ได การบริหารจัดการพื้นที่ปาอนุรักษ ก็จะทําไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ชวยแกปญหาผลกระทบจาก การทองเที่ยว ปญหาการประกาศพื้นที่อนุรักษทับที่ทํากินของชุมชน ดั้งเดิมได และยังสามารถรักษาปาบริสุทธิ์ไวไดดวย และหากมองประวั ติ ศ าสตร ก ารจั ด การพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ ข อง ประเทศไทยโดยใชกฎหมาย สถิติพื้นที่ปาไม ของกรมปาไม ที่ระบุวา ในป 2504 ประเทศไทยมีพนื้ ทีป่ า ไมเหลืออยู 171.02 ลานไร หรือรอย ละ 53.33 ของพืน้ ทีป่ ระเทศ และในป 2547 ลดลงเหลือ 104.74 ลาน ไร หรือรอยละ 32.66 ของพืน้ ทีป่ ระเทศ และยังลดจํานวนลงอยางตอ

GL28F-va.indd 22

เนื่อง การจัดการปาในรูปแบบนี้จึงอาจจะไมเพียงพอที่จะเปนหลัก ประกันวาจะรักษาปาไวได ที่ ผ  า นมาจึ ง มี ข  อ เสนอจากกลุ  ม อนุ รั ก ษ ม าอย า งต อ เนื่ อ งว า กฎหมายการจั ด การป า ที่ รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจากฝ  ง ยุ โรปไม มี ค วาม สอดคลองกับสังคมไทย ดังนัน้ การจัดการปาควรจะมีรปู แบบทีห่ ลาก หลาย สรางการมีสวนรวมในการจัดการอุทยานที่ประกอบดวยคณะ กรรมการอยางนอยสี่ฝาย คือ เจาหนาที่อุทยาน องคกรปกครองสวน ทองถิ่น ชุมชน นักวิชาการ ฯลฯ โดยหัวหนาอุทยานควรจะมาจาก การเลือกตั้ง โดยแนวคิดใหมในการจัดการปาทีเ่ คยมีการศึกษา คือการสํารวจ พืน้ ทีอ่ นุรกั ษใหมเพือ่ ปรับสภาพ หรือเปลีย่ นสถานะ พืน้ ทีอ่ นุรกั ษบาง แหงอาจยกเลิก แลวเปลีย่ นเปนปาชุมชน หรือมีการจัดการรูปแบบอืน่ ที่สอดคลอง บางพื้นที่ของอุทยานแหงชาติอาจปรับไปเปนเขตรักษา พันธุสัตวปา เชน เขาใหญ หรือจะปรับโดยไมติดกับชื่อเรียก เชน เขต อภัยทาน เพราะสอดคลองกับวิถชี วี ติ และสังคมไทยทีเ่ คยใชประโยชน ปาอยางยั่งยืน ประชาชนทุกกลุมเหลาตองเขามามีสวนรวมในการ ั ญัตทิ อ งถิน่ หรือใชการจัดการรวมกัน จัดการปามากขึน้ เชน การใชบญ หลายๆ ฝาย ซึ่งหมายถึงใชฐานทรัพยากรในการกระจายอํานาจ โดย เฉพาะเมื่อปาเปนทีพ่ ึ่งของคนชนบท เปนสังคมสวัสดิการ จึงมีการนํา ความรูท อ งถิน่ มาใชในการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทัง้ สรางกระบวนการในการผลิตอาหารปลอดภัย เปนตน อยางไรก็ตาม นักวิชาการและองคกรสิ่งแวดลอมยํ้าวา อุทยาน ตองเปนหลักในการทํางานศึกษา วิจัย เพื่อนําความรูที่ไดมา บริหาร จั ด การพื้ น ที่ ในขณะเดี ย วกั น การเป น แหล ง นั น ทนาการซึ่ ง เป น วัตถุประสงคหนึ่งในสามขอของอุทยานแหงชาติ โดยมีการสงเสริม การทองเที่ยวเปนหลัก ตองไมกระทบกับการอนุรักษและการศึกษา วิจัยดวย แตในทายที่สุด การใชประโยชนจากอุทยานแหงชาติอยางรูคา และยั่งยืนยังคงตองฝากความหวังตอการปรับเปลี่ยนทัศนคติและ ความรับผิดชอบของนักทองเที่ยวที่มาเยือนเพียงครั้งคราว เพราะ เขาเหลานัน้ คือประชาชนคนไทยทีก่ ลาวไดวา เปนเจาของอุทยานแหง ชาติที่แทจริง วันนี้ การดูแลพืน้ ทีป่ า หรืออุทยานแหงชาติ ซึง่ สรางสมดุลระบบ นิเวศ เปนแหลงกักเก็บนํ้า เปนแหลงขุมทรัพยของพันธุกรรมทาง ชีวภาพ ที่สรางความมั่นคงใหสภาพอากาศ สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อ อํานวยใหทุกคนมีชีวิตที่ดี คําตอบคงไมไดอยูที่การใชกฎหมาย การ แบงเขต การดูแลของเจาหนาที่รัฐ การศึกษาของนักวิชาการ หรือ การดูแลจากชุมชนใดหรือกลุมใดกลุมหนึ่ง แตอยูท คี่ วามตระหนักวา อุทยานแหงชาติเปนของประชาชนทุก คนที่ตองชวยกันดูแลและปกปอง ...ใชหรือไม ■

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

23

September - December 2010

ปายประชาสัมพันธการทองเที่ยวแกงหินเพิง ระหวางทางขึ้นอุทยานแหงชาติเขาใหญ A billboard along a road to Khao Yai National Park promotes rafting at Kaeng Hin Phoeng rapids.

aries. These corridors must also include the linkages of local communties inside and around the forest areas so that they can take part in caring for the forest. All stakeholdres must work together to make it beneficial for the forest and wildlife. In the future, protected area management may not need the conventional method of zoning into national park and wildlife sanctuary. Instead, IUCN’s set of international standard practice can be adopted. Protected area management will become more effective and negative impacts from tourism can be mitigated. Problems of protected areas overlapping local villagers’ land will be less severe. At the same time, the pristine forests can be preserved more effectively. The history of protected area management in Thailand, which relied heavily on law enforcement, shows that the forest cover in 1961 was 171.02 million rai or 53.33% of the country’s area. But by 2003 it dropped to 104.74 million rai or 32.66% of the country’s area, and it continues to drop. It is obvious that legal tools are not adequate to protect the forests. This has led environmental organizations to conclude that forest protection laws adapted from the western model is not concordant with the Thai society. They propose that there should be diverse ways of forest management with public participation in the form of a committee from at least four stakeholder groups, including park officials, local administrative organizations, local communities and academics. Park chiefs should come from election. The new concept in protected area management under study proposes that a new land survey be undertaken. Some protected areas may have to be turned into community forests or come under a different, more appropriate management model. Some national parks may be changed into wildlife sanctuaries, such as Khao Yai. Or another form of area could be created to be called Khet Aphaiyathan or “the safety zone” to

...it depends on the public realization that national parks belong to the people who must help protect and take care of them … doesn’t it? be in accord with the existing way of life that has long depended on sustainable use of forests. People of all stripes should play a role in the management of forest land through local ordinances or multi-stakeholder management, which is a form of power decentralization. As forests provide sustenance to rural communities which is a form of social welfare, local knowledge is generated which can be beneficial to such important functions as biodiversity conservation and safe food production. However, environmental organizations and academics emphasized that national parks must be the mainstay for research and study activities so that knowledge gained could be used for protected area management. At the same time, providing recreation, which is one of the national park system’s three key objectives, in the form of tourism promotion must not be allowed to infringe on its other objectives of conservation and research and study. In the end, it is hoped that tourists could be encouraged to change their attitude and become more responsible visitors so that national parks may keep on yielding its benefits. After all, most of them are Thai citizens who are the true owners of national parks. National parks provide ecological equilibrium, water storage and biological and genetic treasure. They help boost climatic, social and economic stability that enhances people’s living conditions. The management of these protected areas cannot rely on legal enforcement, zoning, state officials, academics, communities or any other groups alone. In the final analysis, it depends on the public realization that national parks belong to the people who must help protect and take care of them … doesn’t it? ■

ยาง 50 ป – อุทยานแหงชาติ ณ จุดเปลี่ยน 50 Years On: National Parks At a Turning Point

GL28F-va.indd 23

11/19/10 8:29 PM


24

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ธรรมชาติสื่อความหมาย เรื่อง/ภาพ รัญจวน ทวีวัฒน

ในพ ในพื พื้นทีท่ีอุทยานแห ยานแหหงชาติ​ิของไทย องไทย ที่ประกาศ ครอบคลุมพืน้ ทีก่ ระจายอยูท กุ ภาค จากยอด เขาสูงสุดของประเทศ ปาไม ตนนํ้า ไตระดับ ลงไปถึงปากแมนํ้า ชายทะเล หมูเกาะ จนถึง ทองทะเลกววาง มีเสนทางที ทางทเต ่เตรียมไวสําหรับ ปายปน เดินนปปา ทองนํ้าตก ชมหาด โต โตคลน คลื่น ดํานํ้า อยูททุ​ุกแหงหน

หลายคนรู นรู  จั ก แล ว หนทางสายนี้ เรี ย กว า “เส น ทางศึ ก ษา ธรรมชาติ” นรูจู ักเสนทางศึกษาธรรมชาติไปมากกวานั้นวา เสนทาง หลายคนรู ารถสื่อความหมายของธรรมชาติไดดวย แตความหมาย เหลานี้สามารถสื รมชาติบนเสนทางสายนี้เปนอยางไรนั้นเปนอีกเรื่องหนึ่ง ที่สื่อโดยธรรมชาติ ปา ดอกหญา แมลง ผีเสื้อ เห็ด มอส เฟน ใบไมใหญนอย ไทร เถาวัลย ธารนํ้า เปลือกหอย โขดหิน หญาทะเล ...และอีกคณานับ สิ่ง ละปฎิมากรรมธรรมชาติเหลานี้ มีคําเรียกใหญๆ ตามภาษาา มีชีวิตและปฎิ รวา เปนองคประกอบของธรรมชาติ ความหลากหล ลายทาง วิชาการว ความหลากหลายทาง ชีวภาพพ และความหลากหลายดานระบบนิเวศ

GL28F-va.indd 24

คําวา ธรรมชาติ ประกอบคําวา ธรรมะ หมายถึง ความจริง กับ ชาตะ หมายถึง การเกิด ดังนัน้ ธรรมชาติ คือ วิถหี รือวัฏจักรของความ จริงที่เกิดและดับเปนวัฏจักรแหงทุกสรรพสิ่งในจักรวาล และในธรรมชาติ ระบบนิเวศทีเ่ วียนวายไปดวยวิถชี วี ติ ของผูผ ลิต ผูบริโภค และผูยอยสลาย ผานหวงโซอาหารจนเกิดเปนวัฏจักร คือ ประตูบานใหญที่ทําใหเรียนรูอยางเขาใจเรื่องหวงโซสัมพันธระหวาง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ซึ่งประตูบานนี้สามารถกาวเขาไปเรียนรูได บนเสนทางศึกษาธรรมชาติในอุทยานแหงชาติ บนเสนทางศึกษาธรรมชาติ มักมีสถานีสื่อความหมายหนึ่งที่จะ ขาดไปเสียไมได คือ “ผูยอยสลายในธรรมชาติ” ที่สถานีนี้อาจจะมี จอมปลวก ดงเห็ด หรือ รา ชนิดตางๆ ผูทํา หนาที่ยอยสลายไมใหญที่ลมใหผุพัง แลวนําสารอาหารและพลังงาน หมุนเวียนกลับคืนสูด นิ สูป า อีกครัง้ เพือ่ สรางความสมดุลในระบบนิเวศ สวนภาพเบื้องหลังแหงชีวิตที่สามารถจิตนาการตอได เชน เมื่อ ตนไมใบไมถกู ยอยสลายจะเปนอาหารใหใสเดือน หรือสัตวหนาดินอีก นับไมถว นทีเ่ ปนอาหารของสัตวอนื่ ๆ ปลวกเปนอาหารของคางคก กบ เขียด กิ้งกา หรือนกอีกหลายชนิด เห็ดบางชนิดก็เปนอาหาร เหลานี้ คือสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ ยูใ นลําดับของการกินเปนทอดๆ ไปอีกหลายทอด ทําให สสารและแรธาตุมีการหมุนเวียนนําไปใชในระบบ จนเกิดเปนวัฏจักร นีค่ อื ธรรมชาติ หรือ ความจริง ทีค่ นสวนใหญอาจโยงไมถงึ ความ สัมพันธ มองไมเห็นความสําคัญ หรือแมแตไมไดสังเกต ที่ผานมา รสนิยม หรือพฤติกรรมของนักทองเที่ยวในอุทยาน แหงชาติทําใหหลายคนไมเชื่อวาการทองเที่ยวจะไปดวยกันไดกับ การอนุรักษ แตในสายตาของนักสื่อความหมายธรรมชาติ พวกเขามองวา แทจริงแลวการอนุรักษเปนหัวใจสําคัญของการทองเที่ยวในทุกพื้นที่ และการทองเที่ยวสามารถเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการ อนุรักษได หากมีการจัดการที่เหมาะสม และสามารถสรางจิตสํานึก ที่ดีขึ้นมาได โดยเฉพาะในยุคที่ผูคนกําลังโหยหาความเปนธรรมชาติ จากการดิ้นรนอยูในระบบทุนนิยมและเศรษฐกิจที่บีบคั้น รูปู แบบที่ไดรับการกลาวถึง คือ การสื่อสารขอมูลที่ถูกตองดวย กระบวนการและเทคนควิธีการตางๆ โดยใชกระบวนการ “การสื่อ กระบวนการและเทคนิ Interpretation) เพื่อโยงสายใย ความหมายธรรมชาติ” (Nature Interpre ระหวางผู​ูเยือน กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหเปน ใหเปนหนึ่ง เดียวกันอีกครั้ง

11/19/10 8:29 PM


MESSAGES

Conveyed in Nature Story/photos Ranjuan Taweewat hailand’s national parks scatter in all regions, ranging from mountain tops, forests, headwaters, down to river mouths, coasts, archipelagos, to wide seas. Paths were paved for climbing, forest trekking, waterfall enjoyment, windsurfing and diving. Many may have known these paths to be “nature study trails”. Still many understand that these trails convey the meanings of Nature although how Nature is interpreted is a different story.

T

Forests, grass flowers, insects, butterflies, mushrooms, moss, ferns, leaves, ficuses, vines, streams, shells, rocks, sea grass, and many more. These living creatures and natural sculptures are given academic terms as natural elements, biodiversity and ecosystem diversity. The term “Thammachart” or Nature in Thai was coined from a combination of “Dharma” or truth and “Chata” or birth. “Thammachart” thus refers to a way or cycle of truth relating to the cycle of birth and death which affects all things in the universe. In the natural ecosystem, the life cycle of producers, consumers and decomposers through a food chain becomes a big open door to understand the chain of relationships of living things and the environment. This door swings open once we set foot on a nature study traill iin n a national park.

GL28F-va.indd 25

A study trail usually has a “natural decomposer” station. At the station, there may be an anthill, or patches of mushrooms or fungi, whose duty is to decompose fallen trees and recycle nutrients and energy back to the soil and forest bringing about natural equilibrium. We may continue to imagine subsequent living scenes, such as earthworms and countless animals living on the soil feeding on decomposed trees and leaves. Termites will become food of toads, frogs, chameleons, or birds, while some mushrooms are edible. Living creatures feed on one another in a chain, circulating matters and minerals in the system and thus creating a cycle. This is Nature or truth the relationship of which many people are unable to conceptualize, appreciate or even notice. National park visitors’ behaviors and tastes in the past have caused many concerned people to be skeptical that tourism can go hand in hand with conservation. For nature interpreters, however, they see conservation as the heart of tourism anywhere. In turn, if tourism is well-managed and capable of instilling good conscience, it can be a powerful tool for conservation, particularly in times when people are yearning to be in touch with nature to free themselves of stress caused by life in the capitalistic system amid economic crunch. Nature interpretation is a tool for conservation to convey correct information through various processes and techniques to

11/20/10 12:25 AM


26

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

อุทยานแหงชาติปางสีดา-แหลงที่นักทองเที่ยวนิยมมาชมผีเสื้อ Pang Sida National Park – Butterflies are a big draw for tourists.

เห็ดปาอันงดงาม แต คุณคายิ่งใหญมักไมมี ใครเห็น Beautiful mushrooms whose valuable service in nature often goes unnoticed.

สุรชัย ทวมสมบูรณ ผูเชี่ยวชาญดานสื่อความหมายธรรมชาติ เริ่มตนจัดกิจกรรมคายอนุรักษธรรมชาติ มาตั้งแตป 2522 และกลาย เปนตนแบบของ คายอนุรักษธรรมชาติที่แพรหลาย โดยเฉพาะใน หนวยงานที่สังกัด กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เขาใหนิยามวา การสื่อความหมายธรรมชาติหมายถึง การ ถายทอดขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติไปสูนักทองเที่ยว ที่แฝง การสรางจิตสํานึก ไปกับเทคนิคการนําเสนอหรือการถายทอด นักสือ่ ความหมายบางกลุม ใหคาํ จํากัดความทีก่ ระชับขึน้ วา เปน “ศิลปะการเลาเรื่องธรรมชาติ โดยผสมผสานระหวางความรู และ ความรูสึก” โดยศิลปะการเลาเรือ่ งรูปแบบนี้ สรางสรรคขนึ้ เพือ่ สือ่ ใหผคู นได รูจักธรรมชาติอยางลึกซึ้งมากกวาที่ตาเห็น หรือเขาใจดวยสมอง แต ตระหนักถองแทไปถึงความจริงในธรรมชาติดวยหัวใจ นั่นจึงจะเปน ความสําเร็จของการสื่อความหมายธรรมชาติ อยางไรก็ตาม การสือ่ ความหมายธรรมชาติ เปนการศึกษาเรียนรู ทีไ่ มใชการบังคับ ดังนั้นในกิจกรรมตองสามารถดึงดูดใหนกั ทองเที่ยว สมัครใจทีจ่ ะเรียนรู ชีแ้ นะใหมองเห็น สังเกตความจริงในธรรมชาติ ให ความสําคัญกับเรือ่ งราวเล็กๆ ทีอ่ าจอธิบายภาพรวมทั้งหมด สามารถ กระตุนจินตนาการใหนักทองเที่ยวสามารถตอโยงภาพความจริงที่ ปรากฏอยูกับขอเท็จจริงที่ไมสามารถมองเห็น เพื่อใหเกิดการหยั่งรู ในเรื่องธรรมชาติ จากนั้นจะเกิดความตระหนักรูไดดวยตนเอง โดยมี ธรรมชาติเปนผูสอน หรือเปนผูแสดงใหเห็น

GL28F-va.indd 26

การเรียนรูความหมายธรรมชาติอาจกระทําไดเปน 2 ลักษณะ ลักษณะหนึ่งโดยนักสื่อความหมาย ที่ทําหนาที่ใหคําแนะนําและ บรรยายเกี่ยวกับธรรมชาติตามเสนทาง สวนอีกวิธีหนึ่งที่ทาทาย และเขาถึงไดในอุทยานแหงชาติทั่ว ประเทศ คือ เสนทางเดินศึกษาดวยตนเอง (Self-Guided Interpretive Trail) โดยนักทองเที่ยวสามารถใชเครื่องมือประกอบเพื่อ เรียนรูเบื้องตน เชน การฉายไสลดมัลติมีเดีย นิทรรศการกลางแจง นิทรรศการในศูนยบริการนักทองเที่ยว หรือดูคูมือ หรือแผนปายสื่อ ความหมายตามเสนทาง เปนตน และหากทุกคนสามารถใชหัวใจมองความเปนไปของธรรมชาติ สัมผัสถึงความเปนหนึ่งเดียวกันกับธรรมชาติ ก็คงไมยากที่จะพบวา ในความงามมีความรู ในธรรมชาติมีสัจจะแหงชีวิต และการทองเที่ยว นักทองเที่ยว ก็สามารถอยูรวมกับการเรียน รู และการอนุรักษได ■

ประวัติเสนทางศึกษา ธรรมชาติและการ แปลความธรรมชาติ

ชวงศตวรรษที่ 19 กอนที่มีการประกาศอุทยานแหงชาติ ในอเมริกา มีนักผจญภัยที่พบแรงบันดาลใจจากความสวยงาม ของธรรมชาติ และพยายามทําความเขาใจและแปลความหมาย ของปรากฎการณทางธรรมชาติที่พบเห็น คนแรกที่ ใชคําวา “แปลความหมาย (interpret)” คือ จอหน เมอร (John Muir) เมื่อป ค.ศ.1871 ที่เขียนไว ใน สมุดบันทึกวา “ผมแปลความหมายของหิน ศึกษาภาษาของ นํ้าทวม พายุและหิมะถลม ผมทําความคุนเคยกับภูเขานํ้าแข็งและ สวนปา และเขาใกลกับหัวใจของโลกใหมากที่สุดเทาที่จะทําได” ในชวงเวลาใกลๆ กันก็มีหนังสือเกี่ยวกับการแปลความ หมายธรรมชาติออกมา เปนตนวา “หนังสือนําเที่ยวโยซีมิติ” และ “ในหัวใจของเทือกเขาเซียรรา” หลังจากมีการกอตั้งอุทยานแหงชาติแยลโลสโตน (Yellowstone National Park) เปนแหงแรกเมื่อป ค.ศ. 1886 ก็มีผู ใหความรูแกนักทองเที่ยวซึ่งมักจะเปนคนขับรถมา หรือไกดของโรงแรม ซึ่งก็ใหแบบงูงูปลาปลา เติมสีสันลงไปใน

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

27

September - December 2010

อุทยานแหงชาติปางสีดา-นักทองเที่ยวกําลังถายรูปฝูงผีเสื้อ Pang Sida National Park – A tourist is taking pictures of butterflies. forge a link between visitors and natural resources and the environment so that they become one. Surachai Tuamsomboon, an expert in nature interpretation, initiated a nature conservation camp since 1979, which has become a model for other similar camps, especially those organized by the Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation. He defined nature interpretation as the dissemination of information about natural resources to visitors through presentation or delivery techniques that indirectly instill conservation consciousness. Some guided trail interpreters provide a more concise definition as “the art of narrating nature with a mix of knowledge and feelings.” This art of story telling aims to guide the people to learn about nature in greater depth than their eyes can see or their brains can comprehend, but to become aware of truth in nature with their hearts. That then is the success of nature interpretation. However, because learning by nature interpretation is voluntary, the activities must be able to draw tourists to learn, guide them to observe and see the truth in nature and pay attention to little stories which may illuminate the big picture. In such a way, tourists would be stimulated to imagine the linkage of the facts in front of them with those that they could not see, leading to self realization with nature as a coach or a performer. Learning by nature interpretation may be under-

อุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร-ตัวนี้เรียกวากระสุนพระอินทร Sri Nakarindra Dam National Park – Pill millipedes can be found feeding in the morning.

taken in two ways. One involves an interpreter to explain and narrate about nature along a trail. The other which is challenging and accessible in all national parks is by taking a self-guided interpretive trail, where tourists learn from basic tools, such as multimedia slide shows, outdoor exhibitions, exhibitions at tourist centers, guide books or interpretive signs put up along a trail. If all of us can see nature from our hearts and feel that we are one with nature, it is within our reach to see knowledge in beauty and life truth in nature. Then, tourism and tourists can get along with learning and conservation. ■

ธรรมชาติสื่อความหมาย

GL28F-va.indd 27

Messages Conveyed in Nature

11/20/10 12:26 AM


28

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

คําบรรยาย โดยไดคาทิป สําหรับบริการ ตอมาตน ศตวรรษที่ 20 มีผู เก็บวัตถุโบราณมาจัด แสดง ซึ่งกลายเปนตน แบบสําหรับพิพิธภัณฑ ในอุทยาน อุทยาน แหงชาติโยซีมิติตั้ง พิพิธภัณฑเปนครั้ง แรกป ค.ศ.1915 โดยแสดงพันธุพืชและ สัตว โดยกระทรวงมหาดไทย ซึ่งดูแลอุทยานแหงชาติ มีนโยบาย สนับสนุนการเผยแพรความรู ใหประชาชน โดยผานสื่อตางๆ เชน วารสารและหนังสือ แตก็มีนักการเมืองที่คิดวาอุทยานไมมีหนาที่ ใหการศึกษาแกประชาชน นอกเหนือไปจากใหขอมูลพื้นฐานแกนัก ทองเที่ยว อยางไรก็ดี การใหการศึกษายังคงดําเนินตอไป และเริ่มมีนัก วิชาการและองคกรอนุรักษเขามารวมมือและสนับสนุนมากขึ้น ผูหญิงก็มีบทบาท โดยป ค.ศ.1917 อุทยานแหงชาติร็อคกี้ เมาเทนไดออกใบอนุญาตใหผูหญิงเปนไกด ผูหญิงเหลานี้เปน ลูกจางของโรงแรมทองถิ่น หลังจากนั้นมีการจัดตั้งพิพิธภัณฑธรรมชาติ ในอุทยาน ตางๆ มากขึ้น มีโปรแกรมใหความรู มีการบรรยายโดยนัก วิชาการ จัดการเดินปาศึกษาธรรมชาติ วงเสวนารอบกองไฟ

อุทยานแหงชาติปางสีดา-ปาย แผนที่เสนทางศึกษาธรรมชาติ ผานนํ้าตกตางๆ ในอุทยานฯ Pang Sida National Park – A bulletin board shows nature study trails at various waterfalls in the park.

ฉายหนังสารคดี สง เสริมการศึกษาทาง วิทยาศาสตร ตั้งหอง สมุด เปนตน ตอมามีการ กอสรางจุดสังเกตการณธรรมชาติขึ้น ดวยความเชื่อวา การ ใหการศึกษาแกประชาชนตองใหประชาชนไดสัมผัสกับ “สิ่ง ประดิษฐของธรรมชาติ” โดยตรง ไมใชเพียงภายในพิพิธภัณฑ ซึ่ง ไมสอดคลองกับเจตนารมณของการใหการศึกษาแกประชาชน ป ค.ศ.1925 มีการยกฐานะของสวนการศึกษาของอุทยาน ใหเทียบเทาสวนวิศวกรรมและสถาปตยกรรมภูมิทัศน และมีการ จางงานเจาหนาที่ธรรมชาติวิทยาเพื่อใหการศึกษาแกประชาชน ชวงทศวรรษ 1950-1960 มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ แนวคิดใหความรูเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ในธรรมชาติที่ ใหกับประชาชน จะไมจํากัดเฉพาะที่เกี่ยวกับอุทยานแหงใดแหงหนึ่งเปนการเฉพาะ แตแปรเปลี่ยนเปนการใหความรูเกี่ยวกับระบบนิเวศ และความ สัมพันธ ในธรรมชาติ เพื่อเปนการยกระดับจิตสํานึกของประชาชน ในเรื่องสิ่งแวดลอม ■

History of nature study trails and nature interpretation During the 19th century prior to the declaration of the first national park in the United States, there were adventurers who were so inspired by natural beauty that they tried to understand and interpret the meaning of natural phenomena that they encountered. The term “Interpret” was first adopted by John Muir in 1871 in his journal, which reads: “I’ll interpret the rocks, learn the language of flood, storm and the avalanche. I will acquaint myself with the glaciers and wild gardens, and get near the heart of the world as I can.” At the same time, books on the same subject matter, such as “Yosemite Guide” and “In the Heart of Sierra Mountain Range,” hit stores. After the establishment of Yellowstone National Park as the first national park in the US in 1886, visitors got their enlightenment from stagecoach drivers or guides working out of hotels, who earned tips for their smattering of knowledge and spiced-up narrations. In the early 20th century, some people collected and displayed artifacts, which became a model for park museums. The Yosemite National Park set up its museum in 1915 to display plant and wildlife species. The Department of the Interior, which oversaw national parks, provided policy support to the dissemination of knowledge to the public through various media, including journals and books. But politicians dismissed this, saying national parks had no

GL28F-va.indd 28

duty to educate the public beyond providing general information to visitors. However, the educating process continued with academics and conservation organizations providing cooperation and support. Women also played a role when, in 1917, the Rocky Mountain National Park licensed women employed by local hotels to natureguide. Nature museums sprouted up in parks with programs to disseminate knowledge, lectures by academics, nature study trekking, camp fire discussions, documentary screening, promotion of science study, library, etc. Nature observation towers were built based on the belief that to educate the public, they must be allowed to come in direct contact with “natural creations”, not only in the museum which went against the intent of the objective of public education. In 1925, the national parks’ education units were upgraded to the same level as engineering and landscape architecture units. Natural science officers were employed to educate the public. A major shift took place during the 1950s–1960s. Nature interpretation through a “cataloguing” approach stressing giving of facts of things in nature to the public gave way to an ecological approach emphasizing their interrelationships, intended to raise the public awareness of the environment. ■

11/20/10 12:29 AM


เสนทางสายใหม ON A NEW PATH กันยายน - ธันวาคม 2553

29

September - December 2010

มรดกโลกอันดามัน หรือ ทาเรืออุตสาหกรรมปากบารา เรื่อง/ภาพ สมยศ โตะหลัง

Andaman World Heritage vs Pak Bara Industrial Port Story/photos: Somyos Tohlang ตะวันตกดินที่อุทยานแหงชาติหมูเกาะตะรุเตา Sun sets at Mu Ko Tarutao National Park.

GL28F-va.indd 29

11/19/10 8:29 PM


30

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

อุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา-นักทองเที่ยวกําลังเดินทางเขาที่พักของอุทยานฯ Mu Ko Phetra National Park – A group of tourists walk to their lodgings in the park.

หากฝนถึงนํ้าทะเลใส หาดทรายขาว ปะการังสวย ความสงบสุข อุทยานแหง ชาติหมูเกาะตะรุเตาและอุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา คือ ความปรารถนาของ นักเดินทาง อุทยานทั้งสองแหงตั้งอยูทางใตสุดของชายฝงอันดามัน ติดกับ ชายแดนมาเลเซีย ครอบคลุมอาณาเขตทางทะเลและชายฝง ในจังหวัด ตรังและสตูลกวา 100 เกาะ อาทิ เกาะตะรุเตา อาดัง ราวี ลิเปะ หินงาม บุโหลน เกาะเหลาเหรียง เกาะไผ เกาะลิดี ฯลฯ หมูเกาะและ ชายฝง เหลานีเ้ ปนแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติทสี่ มบูรณ สงบสุข และ ยังไมบอบชํ้าจากการถูกรบกวนเชนแหลงทองเที่ยวอื่น ความบริสุทธิ์นี้เองที่ทําใหนักทองเที่ยวเดินทางมาเพื่อเสพและ ดื่มดํ่ากับสุนทรียของบรรยากาศธรรมชาติที่นับวันจะหาสถานที่เชน นี้ไดยากเย็นขึ้น แตดานกลับกันของการแสวงหาธรรมชาติที่สมบูรณ ยังมีแนวทางที่สวนทางกันในตัวของมันเอง

1

อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและ ธรรมชาติถกู กําหนดขึน้ จากความพยายามของนานาชาติ เพือ่ คุม ครอง อนุรกั ษ และหยุดยัง้ ความสูญสลายของแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและ ธรรมชาติที่มีคุณคาโดดเดนของมวลมนุษยชาติ

GL28F-va.indd 30

ตามมาตรา 2 แหงอนุสญ ั ญากลาวถึงการคุม ครองมรดกโลกทาง ธรรมชาติไววา สภาพธรรมชาติที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพ อันมีคุณคาเดนชัดในดานสุนทรียศาสตรหรือวิทยาศาสตร สถานที่ ซึ่งมีสภาพทางธรณีวิทยาและภูมิประเทศที่ไดรับการศึกษาวิเคราะห แลววาเปนถิ่นที่อยูของพันธุพืชและพันธุสัตวที่ถูกคุกคาม มีคุณคา ทางวิทยาศาสตรหรือความงามตามธรรมชาติ ซึง่ จะไดรบั การพิจารณา ใหอยูในบัญชีของมรดกโลกทางธรรมชาติไดในกรณีที่มีคุณลักษณะ โดดเดนตามหลักเกณฑขอใดขอหนึ่งหรือหลายขอก็ตาม และทะเล อันดามันก็เขาในหลักเกณฑไดอยางเดนชัด แนวคิดการผลักดันพื้นที่อนุรักษทะเลอันดามันใหขึ้นทะเบียน เปนมรดกโลกเปนนโยบายเสริมสรางความแข็งแกรงในการบริหาร จัดการพื้นที่แหลงอนุรักษทะเลอันดามันของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื โดยมอบหมายใหมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรจดั ทําขอมูล เพื่อเสนอเปนมรดกโลกทางทะเล ไวทั้งหมดมี 17 อุทยาน แหงชาติคือ ลํานํ้ากระบุรี หมูเกาะพยาม แหลมสน เขาหลัก-ลํารู เขาลําป-หาดทายเหมือง หมูเกาะสุรินทร หมูเกาะสิมิลัน สิรินารถ

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

31

September - December 2010

สัตวนํ้า ที่ชาวประมง เรือเล็กไดจากการ ออกหาปลาชวงเชา Part of the marine life caught by small-scale fishermen in a morning.

f you dream about crystal-clear sea, white sandy beaches, stunning coral reefs and tranquility, then dream of Tarutao and Phetra National Marine Parks. These two parks sit at the far tip of the Andaman coastline right on the border with Malaysia, covering more than 1,000 islands in the sea and along the coast of Trang and Satun provinces, including Koh Tarutao, Adang, Rawi, Lipe, Hin Ngam, Bu Lone, Lao Riang, Phai, and Li Dee islands. All these islands and coastlines remain pristine and serene and have not been severely abused and disturbed like other tourist destinations. Such virgin landscape has been a great crowd-puller. But our thirst for pure nature comes at a hefty price.

I 1

The Convention Concerning the Protection of World Cultural and Natural Heritage was adopted globally in an effort to protect, conserve and prevent the fall of cultural and natural heritage that are of outstanding universal value. Section 2 of the Convention defines natural heritage as: “Natural features consisting of physical and biological formations or groups of such formations, which are of outstanding universal value from the aesthetic or scientific point of view; “Geological and physiographical formations and precisely delineated areas which constitute the habitat of threatened species of animals and plants of outstanding universal value from the point of view of science or conservation;

ความงดงามของเกาะหลีเปะ Beautiful water off the island of Lipe. “Natural sites or precisely delineated natural areas of outstanding universal value from the point of view of science, conservation or natural beauty.” The sea of Andaman obviously fits the definition. A bid to propose the Andaman Sea to be registered as a natural world heritage site is the Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation’s policy to strengthen the management of the Andaman protected area. The Prince of Songkhla University is in the process of compiling data of 17 national parks and one non-hunting area for the proposal. They are Kra Buri River, Mu Ko (Archipelago) Payam, Laem Son, Khao Lak-Lam Ru, Khao Lampi-Hat Thai Muang, Mu Ko Surin, Mu Ko Similan, Sirinat, Hat Chao Mai, Hat Noppharat Thara-Phi Phi, Mu Ko Lanta, Mu Ko Phetra, Tarutao, Than Bok Khorani, and Mu Ko Ra-Ko Phra Thong, and Mu Ko Li Bong Non-Hunting Area. According to an initial report, Tarutao and Phetra National Parks are the best representation of complete Andaman Sea biomes in Thailand. The parks are noted for biological diversity of marine and coastal ecosystems. They are historically significant and their biodiversity is invaluable to the lives of a large number of people who depend on natural resources. The report recommends that the parks of such high value be conserved as natural heritage for the future generations. Speaking about the merits of World Heritage registration, Teerasak Musigjia-ranan, assistant chief of Tarutao National Park, said: “Tarutao has faced person-

เสนทางสายใหม On a new path

GL28F-va.indd 31

11/20/10 12:30 AM


32

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

บริเวณอาวดานในของอุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตราเปนที่จอดเรือประมง และ แหลงทําประมงของชาวบานในหมูบานละแวกนั้น An inner bay of Mu Ko Phetra National Park accommodates local fishing boats and provides a fishing ground for the fisher folks.

หาดเจาไหม หาดนพรัตนธารา-หมูเกาะพีพี หมูเกาะลันตา หมูเกาะ เภตรา หมูเกาะตะรุเตา ธารโบกธรณี และหมูเกาะระ-เกาะพระทอง และเขตหามลาสัตวปาหมูเกาะลิบง รายงานเบื้องตนระบุถึงอุทยานแหงชาติหมูเกาะตะรุเตา และ อุทยานฯ เภตรา วามีความสําคัญที่เปนตัวแทนที่ดีที่สุดและควรเก็บ รักษาเรือ่ งราวของชีวภูมภิ าคอันดามันแหงประเทศไทยไวใหครบถวน มากที่สุด มีความโดดเดนในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพของ ระบบนิเวศทะเลและชายฝง มีความสําคัญทางประวัติศาสตร รวม ถึงความหลากหลายโดดเดนที่มีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนจํานวนมากที่ตองพึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติจากพื้นที่แหง นี้ ควรคาตอการสงวนรักษาไวเพื่อใหเปนมรดกทางธรรมชาติของลูก หลานสืบตอไป ธี ร ศั ก ดิ์ มุ สิ ก เจี ย รนั น ท ผู  ช  ว ยหั ว หน า อุ ท ยานแห ง ชาติ ห มู  เกาะตะรุเตา กลาวถึงประโยชนจากการประกาศเปนพื้นที่มรดกโลก วา “ที่ผานมาอุทยานแหงชาติตะรุเตามีปญหาเจาหนาที่นอยและงบ ประมาณไมเพียงพอ จึงขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอก เชน องคการบริหารสวนจังหวัดสตูลและจังหวัดสตูลในการกอสราง สาธารณูปโภครวมถึงบริหารจัดการพื้นที่บางอยาง เชน การตอเติม ทาเรือลอย การบริหารจัดการขยะ “ถาหากไดรับการประกาศใหเปนมรดกโลก ปญหาการบริหาร จัดการเหลานี้จะลดลง จะไดรับงบประมาณและเจาหนาที่เพิ่มขึ้นใน การตรวจตรารวมถึงดูแลความปลอดภัยนักทองเที่ยว รณรงคทํางาน เชิงรุกกับนักทองเทีย่ วทีด่ าํ ปะการังนํา้ ตืน้ ใหสง ผลกระทบกับนอยทีส่ ดุ

GL28F-va.indd 32

“อุทยานฯ มีหนาที่ 2 อยางคือดูแลทรัพยากรธรรมชาติใหมี ความยั่งยืนและบริการนักทองเที่ยว อนาคตตองทํางานเชิงรุกกับ นักทองเทีย่ วและกลุม ผูป ระกอบการ ในการทําความเขาใจรวมกันเพือ่ ลดขยะและดูแลไมใหมกี ารทําลายปะการัง ใหนาํ กลับไปเพียงภาพถาย ใหความสวยงามคงไวเคียงคูทองทะเลอันดามันตอไป” ธีรศักดิ์ยังกลาวถึงจุดออนและขอเสนอของการทองเที่ยวใน ปจจุบันไววา “ธรรมชาติไดกําหนดใหชายฝงในพื้นที่จังหวัดสตูลมี มรสุมปละ 6 เดือนทําใหทรัพยากรมีโอกาสพักฟนตัวในชวงเวลาดัง กลาว แตหลายฝายพยายามผลักดันใหมีการเปดการทองเที่ยวทั้งป ทําใหปะการังในทองทะเลมีเวลาสั้นลงในการฟนตัว อนาคตอยาก ใหมีการจํากัดนักทองเที่ยวในชวงเทศกาลโดยเฉพาะชวงสงกรานต เพราะนักทองเที่ยวมีจํานวนมากเกินไปในชวงดังกลาวแตก็เปนเรื่อง ยากเพราะมันคือรายไดที่จะหายไป” ดาน เทิดไท ขวัญทอง หัวหนาอุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา มี ความคิดเห็นสอดคลองกันวา “ถาประกาศพื้นที่อุทยานชายฝงอันดามันเปนมรดกโลกคงจะ ใชพื้นที่อุทยานเดิม ไมมีการขยายพื้นที่เพิ่ม และจะเปนผลดีในการ ดูแลการจัดการพื้นที่ ทุกฝายจะใหความสําคัญเพิ่มขึ้นเพราะไดรับ การรับรองตามหลักเกณฑเหมือนเปนตราสินคาที่ไดรับการรับรอง มาตรฐาน ทุกฝายและคนทั่วไปจะยกระดับในการใหความสําคัญ ทําใหคนทัว่ โลกอยากมาสัมผัสและอยากมาเทีย่ วสิง่ ทีไ่ ดรบั การยกยอง วาเปนมรดกโลก” หากไดรับการประกาศเปนพื้นที่มรดกโลก จะมีการแบงพื้นที่

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

อุทยานแหงชาติหมูเกาะตะรุเตา-เกาะหินงาม Mu Ko Tarutao National Park – Hin Ngam Island.

33

September - December 2010

nel and budget shortage. We had to seek help from external parties, such as Satun provincial administration organization and Satun provincial office, to construct public utilities and perform certain tasks, such as expanding a floating pier and managing garbage. “The World Heritage status will alleviate these problems and provide us with more budget and staff to do patrol duties and take care of tourists and actively campaign to educate snorkelers so as to minimize impacts on coral reefs. “The park has two duties: ensuring sustainability of natural resources and serving tourists. We hope to work proactively to raise tourists’ and operators’ awareness of the need to reduce garbage and preserve coral reefs. Holiday makers should return home with only photographs and leave the Andaman sea as beautiful as when they came.” Teerasak expressed dismay that several state agencies try to promote year-round tourism in the Andaman. “The monsoon season which sweeps Satun’s coastline for half a year gives natural resources the needed recovery period. [Year-round tourism] will give coral reefs less time to heal.” He also would like to see a cap on the number of tourists during major holidays, particularly the Songkran festival. However, he admitted it was a difficult goal to achieve because fewer tourists meant “our revenue would fall.”

เสนทางสายใหม On a new path

GL28F-va.indd 33

11/19/10 8:29 PM


34

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ในการดูแลเปน 8 เขต คือ เขตหวงหาม เขตสงวนสภาพ เขตฟนฟู สภาพธรรมชาติ เขตนันทนาการและศึกษาหาความรู เขตบริการ เขต กิจกรรมพิเศษ เขตใชประโยชนทั่วไปและเขตกันชนรอบรัศมีอุทยาน 3 กิโลเมตร

2

ที่ผานมากรมเจาทาและกระทรวงคมนาคมไดยื่นขอเพิกถอน พื้นที่อุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตราบางสวน (4,700 ไร) เพื่อนําไป กอสรางทาเทียบเรือนํ้าลึก ทําใหหลายฝายตั้งคําถามกับหนวยงาน ระดับนโยบาย ทั้งจากเจาหนาที่ระดับปฏิบัติและคนในพื้นที่ ภาค การเมือง สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม คณะกรรมการอุทยานแหงชาติ โดยเฉพาะการพัฒนาการทองเทีย่ วที่ เกินศักยภาพของพืน้ ที่ รวมถึงการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานเพือ่ รองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึง่ จะทําใหเกิดปญหาความเสือ่ มโทรมและ สูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะการผลักดันการกอสรางทา เทียบเรือนํ้าลึกปากบาราเพื่อกระตุนกระแสการพัฒนาอุตสาหกรรม ตางๆ ในพื้นที่ชายฝงทะเลของภาคใต เทิดไทกลาววา “การวางแผนการพัฒนาพื้นที่อุทยานแหงชาติ หมูเกาะเภตราขึ้นอยูกับวา ใครทําหนาที่อะไร เจาหนาที่อุทยานแหง ชาติมหี นาทีด่ แู ลทรัพยากรใหอดุ มสมบูรณ และเกิดประโยชนตอ สวน รวมมากที่สุด กรมเจาทามีหนาที่ในการอํานวยความสะดวกในการ เดินเรือ ตางคนตางหนาทีแ่ ละตางมุมมองกันไป จนมาถึงการเสนอขอ เพิกถอนพืน้ ทีอ่ ทุ ยานก็เปนมุมมองของฝายบริหารประเทศทีใ่ ชมมุ มอง และเทคนิคในการบริหาร วันนี้ฝายบริหารคิดวาหากมีการกอสราง ทาเรือนํ้าลึกปากบารา จะเกิดประโยชน แตอีก 20 ปขางหนาอาจจะ ไมใชก็ได เปนไปไดทั้งสองดาน แตสิ่งที่สําคัญที่สุดคือผลประโยชนที่ ไดรับตองเปนของคนทั้งประเทศ”

เทิดไทย ขวัญทอง Therdthai Kwanthong

สวนธีรศักดิ์ ผูชวยหัวหนาอุทยานหมูเกาะตะรุเตา มีความเห็น วา “อุทยานแหงชาติหมูเกาะตะรุเตาคงไดรับผลกระทบดวยเพราะ เปนเสนทางการเดินเรือและพื้นที่จอดเรืออยูใกลกับพื้นที่อุทยาน ไม สามารถวิ่งเสนทางอื่นได รายงานการสํารวจออกแบบและศึกษาผล กระทบทางดานสิ่งแวดลอมยังไมไดศึกษาใหครอบคลุมพื้นที่อุทยาน แหงชาติหมูเกาะตะรุเตาดวย” สุดทายที่สังคมไทยตองพิจารณาเพื่อการตัดสินใจ คือ การ กอสรางทาเรือนํา้ ลึกปากบาราในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติหมูเ กาะเภตรา ซึง่ อยูในพื้นที่ใกลเคียงกับอุทยานแหงชาติหมูเกาะตะรุเตา จะนําไปสู การพัฒนาเศรษฐกิจอยางทีค่ ดิ จะเปนอุปสรรคในการขอขึน้ ทะเบียน มรดกโลกของชายฝงอันดามัน หรือจะสงเสริมหรือทําลายแหลงทอง เที่ยวและทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ ■

ทางที่ตองเลือก “จังหวัดสตูล ถาไมตั้งใจมาก็จะมาไมถึง” นี่เปนคํากลาวที่ คนในจังหวัดเล็กๆ แหงนี้เขาใจดี หากแตเมื่อใครไดสัมผัสกับ บรรยากาศ วิถี วัฒนธรรม ก็จะเขาใจวานี่คือดินแดนที่มีเสนห ชวนหลงใหลใหหวนกลับมาเยี่ยมเยือนอีกครั้ง ดั่งสมญานามวา เปนมรกตแหงอันดามันแดนใต มีอุทยานซึ่งเปนแหลงทองเที่ยว สําคัญถึง 3 แหงดวยกัน คือ อุทยานแหงชาติหมูเกาะตะรุเตา อุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา อุทยานแหงชาติทะเลบัน ในแตละ พื้นที่มีความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศ ครอบคลุมตั้งแตเทือก เขาติดชายแดนมาเลเซีย ลงมาถึงแนวชายฝง จนถึงทองทะเล สหรัฐ ยายาหมัน นักวิชาการฝายเผยแพร ผูทําหนาที่ ใน การดูแลเฝาระวังทรัพยากร รวมถึงใหคําแนะนําแกนักทองเที่ยว ประจําอุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา อธิบายวา “ชายฝงจังหวัด สตูลมีความเหมาะสมสําหรับการทองเที่ยวเพียงแค 6 เดือน คือ ชวงระหวางเดือนพฤศจิกายน - เมษายน ของทุกป เพราะคลื่น ลมสงบ นํ้าจะใส เหมาะสําหรับเปนฤดูกาลทองเที่ยวในแถบนี้ สวน ชวงเดือนธันวาคม – ตุลาคมของทุกป จะเปนชวงที่มรสุมตะวัน ตกเฉียงใตพัดเขาฝงนํ้าทะเลจะขุนและคลื่นแรงซัดเขาชายฝง ทําให ไมเหมาะสําหรับกิจกรรมการทองเที่ยว “จากสาเหตุทางธรรมชาติทําใหทะเลแถบสตูลเที่ยวไดแค

GL28F-va.indd 34

สหรัฐ ยายาหมัน Saharat Yayaman

6 เดือน เปนผลใหทรัพยากรไดพักฟนตัวจากกิจกรรมตางๆ ที่ เขาไปรบกวน ทําใหธรรมชาติชายฝงสตูลมีความอุดมสมบูรณและ สวยงามอยูเสมอ” เขาบอกวาการทองเที่ยวนํามาซึ่งปญหา เชน ขยะที่มากขึ้น การเก็บปะการังหรือจับสัตวนํ้าสวยงาม การลักลอบทําประมงผิด กฎหมาย และอุปสรรคคือเจาหนาที่และงบประมาณไมเพียงพอใน การดูแลทรัพยากรและนักทองเที่ยวที่เพิ่มจํานวนมากขึ้นในทุกป” ไกรวุฒิ ชูสกุล ผูจัดการฝายการตลาดบริษัท ลิเปะเฟอรรี แอน สปดโบท บริษัทที่คนในชุมชนไดรวมกันบริหารงาน ได ให ขอคิดเห็นวา

11/20/10 12:31 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553 Therdthai Kwanthong, chief of Mu Ko Phetra National Park, also believes the World Heritage status would be a boon. “The World Heritage status probably will not lead to park expansion, but it would strengthen the management of the areas. All concerned will realize the importance of the area because the status is like a certificate of standard. People around the world would want to come and experience a World Heritage.” If inscribed in the World Heritage list, the site will be divided into eight zones: restricted, conservation, natural restoration, recreation and learning, service, special activity, general use, and buffer. The buffer zone surrounding the site will extend to a 3km radius.

2

Recently, the Marine Department and the Ministry of Transport have requested that the status of part of Phetra National Park, totaling 4,700 rai, be revoked to allow a deep-sea port to be built there. The move has caused many parties to question the decision by highlevel public agencies. The parties concerned range from field government officers, local people, people in the political sector, the Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, to the National Park Committee. They raise particular concern about excessive tourism promotion and the development of infrastructures to support economic expansion which has brought about degradation and loss of natural resources, particularly the push for Pak Bara deep-sea port for the sake of industrial development on the southern coast. Therdthai said: “Different agencies have different roles to play in the development planning for Phetra National Park. Park officials are duty-bound to ensure rich natural resources for the public’s maximum benefits. The Marine Department is responsible for facilitating sea transport. The proposal to revoke the national park status sprung from the national administration which envisions economic values of Pak Bara deep-sea port. It might be the case now but may not be so in 20 years’ time. There are two sides of a coin. The most important thing is all Thais must benefit.”

35

September - December 2010

ชาวบานกําลังมองดูแนวพื้นที่บริเวณหมูเกาะเภตราใกลเกาะเขาใหญที่ขอเพิกถอน จากพื้นที่อุทยานหมูเกาะเภตราเพื่อกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมปากบารา A group of villagers look at an area in the Phetra archipelago which is targeted as the site of the deep-sea port construction.

Teerasak, Tarutao’s assistant chief, added: “Tarutao National Park cannot escape unscathed because it lies in the path of shipping route and nearby mooring areas. The report on the project design and its environmental impact has not covered us.” In the end, the Thai people will have to consider this: Would the construction of Pak Bara deep-sea port in the area of Phetra National Park and near Tarutao National Park lead to economic prosperity as planned? Would it obstruct the inscription of the Andaman protected area in the World Heritage list? Or would it promote or sacrifice tourist destinations and rich natural resources? ■

A PATH TO CHOOSE “Only those who set their mind to visit Satun will arrive.” This is a saying that residents in this small southern province of Satun well understand. But once visitors indulge in its ambience and culture, they will keep coming back to the province that is full of charm and known as “the emerald of southern Andaman”. Satun’s three major tourist attractions are Tarutao, Phetra, and Thalae Ban National Parks. The rich ecosystem stretches from mountain ranges bordering Malaysia to coastlines and into the sea. Saharat Yayaman, an information officer at Phetra National Park, said: “Satun coastlines can accommodate visitors only six months a year from November to April when the sea is calm and water is clear. Between May and October, it is monsoon season with southwesterly wind. Strong waves turn water murky, not suitable for tourism. “Natural constraints on tourism activities for six months

เสนทางสายใหม On a new path

GL28F-va.indd 35

11/19/10 8:29 PM


36

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

สมบูรณ คําแหง Somboon Khamhaeng

“แนวโนมตัวเลขนักทองเที่ยวมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกปโดย เฉพาะชวงเทศกาล หลายคนที่ทําหนาเกี่ยวกับการทองเที่ยว ทั้ง มัคคุเทศกและเจาหนาที่อุทยานพูดตรงกันวา ทรัพยากรในพื้นที่ อุทยานแหงชาติหมูเกาะตะรุเตาและเภตรามีเจาของคือคนไทยทั้ง ประเทศ คนที่มีหนาที่ดูแลในพื้นที่เปนเพียงผูดูแลและรักษาความ หลากหลายทางชีวภาพชายฝงใหมีความอุดมสมบูรณที่สุด รอให เจาของที่แทจริงมาเยี่ยมชม หากเจาของมาดูแลวสิ่งตางๆ อยูใน สภาพเสื่อมโทรมก็จะถูกตําหนิได” ไกรวุติเสนอแนะวา “หนวยงานที่เกี่ยวของตองคนศักยภาพ ในพื้นที่วามีจุดเดนอะไรบาง เพื่อสนับสนุนใหจังหวัดสตูลเปน ศูนยกลางการทองเที่ยว มีที่พักบนฝงที่ไดมาตรฐาน ตองมีการ ทองเที่ยวเชิงวิถีเกษตรธรรมชาติหรือวัฒนธรรมดวย “ควรจะสนับสนุนใหจังหวัดสตูลมีรายไดเกิดขึ้นจาก กิจกรรมดานการทองเที่ยว เพราะนักทองเที่ยวสวนใหญลง เครื่องบินที่ภูเก็ตและกระบี่ ลงเรือที่ภูเก็ต เกาะลันตาและเกาะพีพี แตเดินทางมาเที่ยวชายฝงในจังหวัดสตูล สวนที่มาเที่ยวและลง เรือที่สตูลจริงๆ สวนใหญเปนนักทองเที่ยวที่มาเสนทางสนามบิน หาดใหญเทานั้น ทําใหสัดสวนรายไดที่สตูลไดรับยังนอยอยู” ไกรวุติ พูด ดาน สมบูรณ คําแหง เจาหนาที่มูลนิธิอันดามัน มองการ ทองเที่ยวจังหวัดสตูลวา “การทองเที่ยวของจังหวัดสตูลไม เหมือนกับจังหวัดอื่นๆ ในฝงอันดามัน เพราะที่นี่ยังมีความสะอาด บริสุทธิ์ของธรรมชาติอยูมาก อีกทั้งวิถีชีวิต สังคมวัฒนธรรม ก็มีการหลอหลอมอยูรวมกันทามกลางสังคมที่มีความหลากหลาย แตคงไวซึ่งความสุข สงบ สมดังคําขวัญของจังหวัด” สมบูรณยังขยายภาพตอไปวา “เราอยากเห็นผูปกครอง หรือรัฐบาลที่เขาใจบริบทเหลานี้ และชวยกันสรางกระบวนการ คิดของคนในพื้นที่ รวมถึงกลุมผูเกี่ยวของตางๆ ไดมีเวทีรวม กันกําหนดอนาคตของคนในพื้นที่ โดยเฉพาะเรื่องการวางแผน พัฒนาการทองเที่ยวในระยะยาว หรือจะเรียกวาแผนแมบทก็แลว แตเขาใจ แตนั่นหมายถึงการเคารพในสิ่งที่คนในพื้นที่เห็นชอบรวม กัน ภาครัฐทําหนาที่สนับสนุน สงเสริม เพราะเราเชื่อวาวันนี้ยัง มีแนวทางที่จะพัฒนาการทองเที่ยวของจังหวัดสตูล ใหนักทอง เที่ยวภายใน และนักทองเที่ยวจากตางประเทศไดรูจักมากกวานี้” อยางไรก็ตาม แมอุทยานทั้งสองแหงยังอุดมสมบูรณพรอม พรั่งเพื่อการทองเที่ยว การศึกษาธรรมชาติ รวมทั้งเปนแหลงพึ่ง พิงที่ยั่งยืนของวิถีชีวิตของชาวสตูล แตมาในวันนี้มีโครงการการ สรางทาเรือนํ้าลึกปากบารา ซึ่งจะตองเปลี่ยนสภาพพื้นที่บางสวน

GL28F-va.indd 36

ของอุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา เพื่อตอบสนองตอบตอการ ขนสงใหภาคอุตสาหกรรมของประเทศ สมบูรณคิดวานี่คือสิ่งแปลกปลอมที่จะเขามาทําลาย ทัศนียภาพความงามของทรัพยากรธรรมชาติ และทําใหแหลงทอง เที่ยวของเมืองสตูลสูญหายไป “คงไมมีนักทองเที่ยวตางชาติคนไหนอยากมาเที่ยวเมืองที่มี สิ่งปลูกสรางรุกลํ้าอยูกลางทะเล อนาคตหากจังหวัดสตูลเต็มไป ดวยวัตถุ อุตสาหกรรม และกิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวเนื่อง สิ่งเหลานี้ จะเขามาแทนที่ และจะพลิกบานแปลงเมืองแหงนี้ ใหเปนอีกโลกหนึ่ง อยางแนนอน “นี่คือทางสองแพรงที่คนสตูล และคนไทยทั้งประเทศ ตองชวยกันตัดสินใจ วาเราจะคงอยูกับธรรมชาติที่หลากหลาย สวยงาม มีการทองเที่ยวเปนเศรษฐกิจที่หลอเลี้ยงใหคนในพื้นที่ ดํารงอยูไดอยางปกติสุข หรือเราจะยอมสูญเสียและยอมรับกับ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในโลกทุนนิยมที่คนในพื้นที่จะตอง เสียสละ โดยไมสนใจวาจะมีผลกระทบกับคนพืน้ ที่ ไมวาดานสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม อาชญากรรม และอื่นๆ อีกมากมาย “เราอยากเห็นการทองเที่ยวภายใตความอุดมสมบูรณของ ทรัพยากรธรรมชาติ ในเมืองเล็กๆ แหงนี้ เปนเศรษฐกิจสําคัญที่จะ หลอเลี้ยงใหคนสตูล และคนไทยทั่วประเทศไดรับผลประโยชนอยาง แทจริงในระยะยาว” สมบูรณ พูด สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนพัฒนาพื้นที่ สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ระบุไว ใน หนา 33 ของแผนแมบทการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจภาคใตอยาง ยั่งยืน วา “ทะเลที่ปากบาราเปนบริเวณที่มีนํ้าลึกพอสมควร และได รับความสนใจจากภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาเปนทาเรือหลัก อยางไรก็ตามพื้นที่นี้มีโอกาสและภัยคุกคาม เนื่องจากเปนหมูเกาะที่ สวยงาม รวมถึงอุทยานแหงชาติ ดังนั้นหากการพัฒนาทาเรือและ อุตสาหกรรมตอเนื่องไมไดรับการวางแผนและจัดการที่ดี จะนําไป สูการขยายตัวอยางไมเปนระเบียบ และการพัฒนาที่เกินขีดรองรับ ซึ่งจะเปนภัยคุกคามตอความอยูเย็นเปนสุขของประชาชน สภาพ แวดลอมและศักยภาพการทองเที่ยวของพื้นที่” การกอสรางทาเรือนํ้าลึกปากบาราจําเปนตองใชทรายมากถึง 10 ลานลูกบาศกเมตรจากหาดบอเจ็ดลูก ซึ่งจะสรางผลกระทบ อยางรุนแรงตอชาวบานที่ตองพึ่งพาทรัพยากรทะเล จําปา มังละกู ชาวประมง บานบอเจ็ดลูก กลาววา ทะเล บริเวณบานบอเจ็ดลูกอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรกุงหอยปูปลา เปนที่ทํามาหากินของชาวบานรวมสิบหมูบาน โดยเฉพาะหอยตะเภา หรือหอยทายเภา ที่ขายไดกิโลละ 200 บาท ทํารายได ใหชาวบาน แถบนี้เปนกอบเปนกํา “ทาเรือนํ้าลึกจะทําใหชาวบาน 9 ชุมชน เฉพาะที่อาวบอเจ็ด ลูกสูญเสียรายได สรุปคราวๆ เฉพาะหาหอยตะเภาวันละ 400 บาทตอคน ปลาทรายหาไดตลอดปวันละ 500 บาทตอคน ไซปูหา ไดตลอดป 400 บาทตอวันตอคน อวนกุงหาได 4 เดือน รวม ทั้งหมด 18 ลานบาท โปะหาได 5 เดือน รวมทั้งหมด 36 ลาน บาท หมายถึงรายได 168 ลานบาทตอปจะหายไปเริ่มตั้งแตการ กอสรางที่จะมีการขุดทราย เกิดการฟุงของตะกอน กระแสนํ้า เปลี่ยนทิศ” จําปาพูด สวนหนาอาวบานมาลัย บริเวณกอสรางทาเรือนํ้าลึกเปน แหลงประมงชวงฤดูมรสุมของชาวบาน 2,984 รายในจังหวัด สตูล รวมทั้งยังเปนแหลงหญาทะเลของพะยูนฝูงสุดทายใน ประเทศ และมีแนวปะการังที่สมบูรณตลอดทั้งแนว ■

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

of a year give natural resources a break from manmade disturbances, enabling them to replenish and restore themselves.” Saharat said tourism brought with it numerous problems, such as increasing garbage, illegal poaching of corals and attractive sea animals, and illegal fishing. This is compounded by the shortage of officials and fund for conservation as tourists arrive in increasing numbers. Kraiwut Chusakul, marketing manager of Lipe Ferry and Speedboat Co. which is jointly run by members of the local communities, commented: “The number of tourists has been on the rise, particularly during the long festive seasons. Tour guides and park officials share the view that resources in Tarutao and Phetra National Parks belong to the Thai people and their jobs are to care for and maintain the fertile coastal biodiversity. If the real owners find the resources deteriorating, the caretakers would be at fault.” He then suggested: “Concerned local agencies should identify the strengths in their respective areas to see what potentials exist to make Satun a tourist magnet. Accommodations in the province must be good quality. Agricultural and cultural tours must be added on the menu. “Tourism can be Satun’s income earner. At present, most visitors fly to Phuket or Krabi where they travel by boat to the island of Lanta or Phi Phi just so they can visit Satun beaches. Most direct visitors to Satun arrive by plane to Hat Yai. So Satun shares only a small slice of tourism pie,” he said. Somboon Khamhaeng, an officer at the Andaman Foundation that monitors provincial tourism, said: “Satun is unlike other Andaman coastal provinces because nature here is still pristine. The local way of life, society and culture are based on diversity, yet remain peaceful.” He further commented that: “We hope the government understands the local context and promotes a process whereby the locals and related parties could jointly design their future, particularly the drafting of a long-term tourism master plan. The government should respect, promote and support the local people’s opinions. There is still plenty of room to promote Satun to domestic and overseas holidaymakers.” The two pristine parks are ready to welcome travelers, serve nature studies and be a sustainable pillar of local livelihood. But a project to construct a deep-sea port at Pak Bara which will claim part of the Phetra National Park has cast a shadow on Satun’s future. Somboon said the port will be an alien structure that will spoil the province’s natural beauty and tourism draw. “No foreign visitors would want to visit a place that has buildings and structures in mid sea. The city will be transformed completely into an industrial town. “This is a crossroad for Satun residents and

37

September - December 2010

ไกรวุฒิ ชูสกุล Kraiwut Chusakul all Thais to decide whether we will live in beautiful diverse nature with tourism as our main bloodline or make sacrifices in pursuit of capitalistic gains regardless of social, cultural, moral, crime and other impacts. “We wish to see the pristine nature of this quiet town remain a key economic driver that brings about true benefits to Satun and all Thai people in the long run,” he said. The National Economic and Social Development Board’s Social Development Strategy and Planning Office states on page 33 of the Sustainable Southern Economic Development Roadmap: “The sea at Pak Bara has adequate navigable depth and thus has drawn the public and private sectors’ interest in developing a main port. Nevertheless, development in the beautiful islands, which are part of the national park, spells both opportunities and threats. Without sound planning and management, the port and downstream industries can lead to haphazard expansion and over development, which will threaten the public peace, environment and tourism potentials of the areas.” The deep-sea port construction will require huge volume of sand, estimated at 10 million cubic meters. The sand will be taken from the bay of Bo Jet Look Village. The impact will be severe on villagers who depend on fishing for their living. Jampa Manglakoo, a fisherman, said the sea of the village is teeming with marine life. “The deep-sea port will deprive people from nine villages of steady income. Each of us normally earn 400 baht a day from catching Hoy Taphao (Donax scortum: a type of mollusk), 500 baht a day from ornate threadfin bream, and 400 baht a day from crabs. Catching shrimps for four months earns us 18 million baht. Fishing for five months another 36 million baht. Altogether 168 million baht will be lost once construction begins and sand is mined,” he said. Meanwhile, the bay of Malai Village, which is the target site of the port construction, is the fishing ground for 2,984 villagers as well as home to sea grass meadows where dugongs come to feed and some of the most pristine coral reefs. ■

เสนทางสายใหม On a new path

GL28F-va.indd 37

11/20/10 12:33 AM


เสนทางสีเขียว GREEN LINE

เขาปู-เขายา: รูปแบบการจัดสวนที่ ใหนักทองเที่ยวไดศึกษาดานธรณีวิทยา A rock garden for tourists to learn about geology.

ปาผืนสุดทายของพัทลุงกับ การจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เรื่อง ดร.เจษฎา นกนอย

เขาปู-เขายา อุทยานแหงชาติซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุม 3 จังหวัด คือ นครศรีธรรมราช ตรัง และพัทลุง ตั้งชื่อตาม “เขาปู” ซึ่งคนพัทลุงถือวาเปนภูเขา ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เป น ที่ สิ ง สถิ ต ของดวงวิ ญ ญาณ “ตาปู” เทพกึ่งธรรพ ซึ่งเปนที่นับถือเคารพกราบ ไหวของชาวตําบลเขาปูและประชาชนทั่วไป อุทยาน

GL28F-va.indd 38

แหงชาติเขาปู- เขายาตัง้ อยูใ นเทือกเขาบรรทัด สลับ ซับซอนปกคลุมดวยปาดงดิบชื้นเขียวสะพรั่งทุก ฤดูกาล จนไดรับสมญาวา “ปาพรหมจรรย” มี เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 433,750 ไร หรือ 694 ตารางกิโลเมตร ด ว ยเอกลั ก ษณ แ ละความโดดเดน ของของ

11/19/10 8:29 PM


Khao Pu-Khao Ya: Eco-tourism and Phattalung’s Last Forest By Dr Chetsada Noknoi hao Pu-Khao Ya National Park covers an area adjoining three provinces of Nakhon Si Thammarat, Trang and Phattalung. The name “Khao Pu” (or Grandfather Mountain) was taken after the mountain where the people of Phattalung believe it to be the residing place of the spirit of “Ta Pu”, an ancient genie well-respected by the local people of Khao Pu subdistrict. Khao Pu-Khao Ya National Park is situated in the Banthat range that is lush and green with tropical rainforest year round and is thus known locally as the “Virgin Forest”. It covers an area of 433,750 rai or 694 sq km. Khao Pu-Khao Ya National Park is located next to the Banthat Wildlife Sanctuary. Its outstanding features are caves and waterfalls. Its abundant flora and fauna attract various kinds of animals such as serow, tapir, Malayan sun bear, fishing cats, barking deer, greater mosue deer, etc. About 15 species of fishes have been found in the rivers and streams such as true eel, forestwalking catfish, Pla Huad, spotted spiny eel and silver rasbora. About 286 species of birds and 67 reptiles have been recorded. For amphibians, various kinds of frogs such as the Rhinoceros frog, Cliff frog, Tenesserim cascade frog and Rough sided frog have been found. There are more than 70 kinds of insects, for example, honey bees, five-horned scarab beetles, lanternflies and butterflies (rhinopalpa spp.). The abundant wildlife and beautiful scenery attract increasing numbers of tourists to Khao Pu-Khao Ya National Park every year. Consequently, the park administration is compelled to accord equally high priority to tourism as it does to its main function of guarding the park’s natural resources. Its responsibility is to ensure that tourism in the national park is conducted according to its eco-tourism guidelines and that tourism activities are carried out in an environmentally responsible manner. To this end, a research on “Eco-tourism Manage-

K

บานพักในอุทยานฯ ที่ออกแบบอยางเรียบงายมีความกลมกลืนกับธรรมชาติ A bungalow on stilts plainly built with materials from the park is harmonious with nature.

ment: A Case Study of Khao Pu-Khao Ya National Park” was launched with funding support from the Economics and Business Administration Faculty, Thaksin University. The research team consisted of Chetsada Noknoi, Wannaporn Boripunt, Sutee Ngowsiri and Saranya Itsararuk. They surveyed the geographical terrain and collected data on biodiversity in the national park. Performance of the national park staff, degree of tourists’ satisfaction and feedback from the surrounding communities were also assessed. Data was analyzed to identify strengths and weaknesses of the park, which, it is hoped, would lead to improved management of ecotourism in the park. According to the site survey, the park is rich in biodiversity and has a high potential for eco-tourism. The research team made an inventory of the park facilities for tourists and found that there are 12 bungalows, two dormitories, 28 tents and one campsite with the capacity to accommodate approximately 100 campers, two meeting rooms, a tourist service center, an exhibition/information center and one restaurant. The park owns 35 pairs

เสนทางสีเขียว Green Line

GL28F-va.indd 39

11/19/10 8:29 PM


40

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ถํ้ามัจฉาปลาวน อยูหางจากที่ทําการอุทยานแหงชาติประมาณ 2 กิโลเมตร เปนที่อยูอาศัยของคางคาวหลายชนิด Matcha Pla Won Cave, about two km from the park office, is home to various species of bats.

อุทยานทีป่ ระกอบไปดวยบรรดาถํา้ และนํา้ ตกตางๆ ความสมบูรณของ ระบบนิเวศ พันธุพ ชื และสัตวหลายชนิด เนือ่ งจากอุทยานมีอาณาเขต ติดตอกับเขตรักษาพันธุส ตั วปา เทือกเขาบรรทัด จึงมีสตั วปา อพยพไป มาอยูเ สมอ เชน เลียงผา สมเสร็จ หมีคน เสือปลา เกง กระจงควาย ฯลฯ พบปลาในแหลงนํา้ ประมาณ 15 ชนิด ไดแก ปลาตูหนา ปลามัด ปลาหวด ปลาหลด ปลาซิวควาย พบนกประมาณ 286 ชนิด สัตว เลื้อยคลานประมาณ 67 ชนิด สวนสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกพบ กบ หงอนมลายู กบชะงอนหินเมืองใต กบเขาหลังตอง กบตะนาวศรี กบ วาก และพบแมลง ประมาณ 70 ชนิด อาทิ ผึ้งหลวง ดวงดีดหนวดไผ ดวงกวางหาเขา จักจั่นงวงมวนแดง ผีเสื้อพอมด เปนตน องคประกอบเหลานี้พรอมดวยความสวยงามของพื้นที่ ทําให จํานวนนักทองเที่ยวมาเยือนอุทยานแหงชาติเขาปู-เขายาเพิ่มมาก ขึ้นทุกป สงผลใหอุทยานตองใหความสําคัญกับการทองเที่ยวมากขึ้น ควบคูไปกับการดูแลรักษาความสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติใน พื้นที่ เพื่อใหการทองเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยานเปนไปอยางสอดคลอง กับแนวทางการจัดการอุทยานแหงชาติ และควบคุมดูแลใหกิจกรรม การทองเที่ยวในอุทยานเปนการทองเที่ยวที่มีความรับผิดชอบตอ ธรรมชาติตามหลักการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางแทจริง คณะวิจัย โดย เจษฎา นกนอย, วรรณภรณ บริพันธ, สุธี โงวศิริ และศรัณยา อิสรรักษ ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจากคณะเศรษฐศาสตร และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ จึงเขามาทํางานวิจัยเรื่อง การ จัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแหงชาติเขาปู-เขายา เพื่อ รวบรวมขอมูลสภาพพื้นที่ ชนิดพันธุ ความหลากหลายทางชีวภาพ และติดตามการทํางานของเจาหนาที่อุทยาน ความพอใจของนักทอง เที่ยว และชุมชนรายรอบอุทยาน เพื่อหาจุดแข็ง จุดออน อันจะนําไป สูการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแหงชาติเขาปู-เขายา ใหเกิดผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้นในอนาคต จากการสํารวจสภาพพื้นที่ซึ่งมีทั้งความสมบูรณของธรรมชาติ และศักยภาพในการทองเที่ยวเชิงนิเวศ คณะวิจัยไดสํารวจสิ่งอํานวย

GL28F-va.indd 40

ความสะดวกภายในอุทยานซึ่งมีไวใหบริการแกนักทองเที่ยว โดย อุทยานมีบานพักนักทองเที่ยว 12 หลัง คายพักเยาวชน 2 หลัง เต็นท 28 หลัง สถานที่กลางเต็นท ขนาดจุได 100 คน หองประชุม 2 หอง ศูนยบริการนักทองเทีย่ ว ศูนยนทิ รรศการและขอมูล รานอาหาร กลอง ดูนก 35 ตัว และจักรยานเสือภูเขา 20 คัน นอกจากนี้ยังมีเจาหนาที่ คอยใหคําแนะนําทางวิชาการ และคอยอํานวยความสะดวกตางๆ บริการรับจองบานพัก และสถานที่สําหรับจัดประชุม สัมมนา มีลาน กิจกรรมสันทนาการ หองสุขาชาย-หญิง ระบบไฟฟา และลานจอดรถ อยางไรก็ตาม เจาหนาทีอ่ ทุ ยานระบุวา “ในบางชวงเวลาปริมาณ นักทองเทีย่ วมีจาํ นวนมาก ทําใหสงิ่ อํานวยความสะดวกและเจาหนาที่ ทีม่ อี ยูไ มสามารถใหบริการแกนกั ทองเทีย่ วไดอยางเพียงพอและทัว่ ถึง” ในดานกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยาน ซึ่งประกอบ ดวยกิจกรรมดูนก มีเสนทางศึกษาธรรมชาติ 2 เสนทาง คือ เสน ทางผาผึ้งและเสนทางถํ้ามัจฉา อุทยานไดจัดทําคูมือศึกษาธรรมชาติ ในรูปแบบตางๆ เชน หนังสือ แผนพับ ใบปลิว จัดทําปายบอกเสน ทางและปายสื่อความหมายธรรมชาติไวที่บริเวณที่ทําการอุทยาน มีศูนยนิทรรศการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งจะใหความรูเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศและสิง่ มีชวี ติ ตางๆ ทีพ่ บไดในอุทยาน นอกจากนั้น อุทยานไดกําหนดขอปฏิบัติสําหรับนักทองเที่ยว และผูป ระกอบการเอกชน โดยมีการสือ่ สาร และประชาสัมพันธไวโดย รอบพืน้ ทีข่ องอุทยาน แตกม็ ปี ญ  หาเกิดขึน้ เสมอ ดังคําใหสมั ภาษณของ สมชัย แสงแกว หัวหนาอุทยานแหงชาติเขาปู- เขายา วา “นักทองเทีย่ ว ชอบทิง้ ขยะในพืน้ ทีอ่ ทุ ยาน เชน พืน้ ทีน่ าํ้ ตก ชอบขีดเขียนตามสถานที่ ตางๆ เชน ในถํ้า ตามปาย ไมทําตามกฎระเบียบของอุทยาน ชอบทํา ตามใจตัวเอง ชอบความสะดวกสบายเปนหลัก มักสงเสียงดังรบกวน เจาหนาที่ที่ทํางานในอุทยาน และรบกวนสัตว” ในสวนของนักทองเที่ยวเห็นวากิจกรรมการทองเที่ยวในพื้นที่ อุทยานมีความหลากหลาย ชวยเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยว กับทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศ และเสริมสรางใหนักทอง เที่ยวเกิดจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สวนมาตรการ รักษาความปลอดภัยในอุทยานแหงชาติเขาปู-เขายาเปนไปอยาง รัดกุมและเหมาะสม สําหรับมาตรการในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและระบบ นิเวศของอุทยานแหงชาติเขาปู- เขายานัน้ มีจดั ตัง้ หนวยพิทกั ษ อุทยาน 9 หนวย เพื่อดูแลความเรียบรอย สมชัย กลาวถึงปญหาที่เกิดขึ้น ประการแรกเนื่องจากพื้นที่ของ อุทยานไปทับพื้นที่ทํากินของชาวบาน ในพื้นที่ที่มีปญหา เชน อําเภอ ศรีบรรพต อําเภอศรีนครินทร อําเภอหวยยอด อําเภอเมือง จังหวัด ตรัง และอําเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ประการที่สอง มีปญหาการบุกรุกปาในพื้นที่อุทยาน เชน การ ตัดไมทําลายปา การลักลอบหาของปา เชน การขโมยพันธุกลวยไม หมวกแดง จันทนผา ดงพญาเย็น ฯลฯ ซึง่ สอดคลองกับความเห็นของ เจาหนาที่อุทยานที่วา ปญหาความขัดแยงสําคัญระหวางอุทยานและ ชุมชนในพื้นที่ คือการที่พื้นที่ของอุทยานทับพื้นที่ทํากินของชาวบาน ที่ผานมาแมอุทยานจะมีการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ โดยการ ทําการสํารวจขอมูลการปลูกไมยางพาราในเขตอุทยาน และเริ่มให ชุมชนรอบขางเขามามีสวนรวมในการใชพื้นที่อุทยานมากขึ้น แต มาตรการดานการปองกันรักษาปา ยังใชวิธีการจับกุมดําเนินคดีแพง ฟองเรียกรองคาเสียหายจากผูบุกรุกทําลายปาในเขตอุทยาน และมี

11/20/10 12:37 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

41

September - December 2010

of binoculars and 20 mountain bikes. There are trained personnel to provide technical advice and other support to visitors such as taking reservations, meeting room arrangements and recreation lawn activities in addition to other services such as the maintenance of toilets, electricity and parking areas. Park officials have said: “There were too many visitors at times and there is a shortage of both amenities and personnel to take care of them all.” Eco-tourism activities within the park include birdwatching and nature study along the two nature trails of Pha Phueng and Matcha Cave. The park has published a variety of nature study guides in the form of booklets, brochures and pamphlets. There are information plaques located at various points along the trails and bulletin boards in front of the main office. An eco-tourism

Khao Pu-Khao Ya National Park, nine park protection units have been established around the park area. Somchai said that the main problem of park management is land dispute involving local villagers in several districts such as Si Banphot, Srinakarin, Huai Yot and Muang of Trang province and Cha-uad district of Nakhon Si Thammarat province. Another problem is illegal logging and poaching of forest products such as wild orchid, Muak Daeng, Chan Pha (Dracaena louriri Gagnep) and Dong Phaya Yen. Other park officers have confirmed that the main conflict between the park management and the local communities was the villagers’ complaints that the park boundaries overlapped their land. Although the park administration has initiated many attempts to solve the land dispute problems, the conflicts still remain. Community representatives have been

exhibition disseminates exhi hibi biti tion on ccenter ente en terr di diss ssem emiin inat ates tes iinformation nfor nf forma mati tion ion aabout boutt tthe bo he he natural and the parkk t l resources, ecosystems t d wildlife ildlif iin th area. The park administration has established rules and regulations for visitors and business operators, which have been publicized on bulletin boards around the park. Nevertheless, violations often occur. Somchai Saengkaew, the park chief, said: “Visitors often litter and vandalize the park such as throwing rubbish around the waterfalls and writing graffiti on cave walls. Most tourists are wont to do as they please for their own convenience’s sake. They also often make loud noises that disturb animals and other people.” On the other hand, visitors reported that the activities available within the park are well thought-out. They helped to increase their knowledge and understanding of the environment and the ecosystems. In general, they became more aware of nature conservation. The safety measures in the park were considered appropriate as well. To protect the natural resources and ecosystem of

invited part management park iin nvi vit ited ted to to ttake ake ak ke pa rtt iin n th the he ma mana nage geme mentt ooff pa rkk lland and an d th that hat the villagers’ iincludes l d demarcation d ti off th ill ’ plantation l t ti areas. However, park officers continue to depend on legal measures to protect the forest. Such measures include taking legal action against alleged park encroachers and demolition of structures erected illegally by the villagers in the park land. Bounhai Thongnoon, the head of the Youth and Summer Camp Section, said legal measures were necessary because “the villagers continue to fell trees, so we need to impose strict protective measures.” The park administration has engaged in public information campaigns to raise environmental awareness through several radio programs, including three programs on the National Broadcasting Services of Thailand (NBT) stations in Phattalung and Trang provinces. The programs are called “Utthayan Samphan” (Park Interface) on 98.0 MHz in Phattalung and 91.25 MHz in Trang. The third program “Khon Rak Pa” (Forest-loving People) is broadcast through Community

เสนทางสีเขียว Green Line

GL28F-va.indd 41

11/19/10 8:29 PM


42

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

การทําลายรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสรางทีผ่ กู ระทําผิดปลูกไวในพืน้ ทีบ่ กุ รุกแผว ถางออกไปใหพนอุทยาน บุญให ทองนุน หัวหนางานคายเยาวชนและคายพักแรม กลาว ถึงความจําเปนที่ตองใชมาตรการทางกฎหมายวา “ชาวบานมีการ ลักลอบตัดไมทําลายปาอยูเสมอ จึงควรมีมาตรการในการปองกัน อยางเขมงวด” ในด า นการประชาสั ม พั น ธ เ พื่ อ รณรงค ส ร า งจิ ต สํ า นึ ก แก ป ระชาชนให ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ และประโยชน ข อง ทรั พ ยากรธรรมชาติ รวมทั้ ง สร า งกระบวนการมี ส  ว นร ว มของ ประชาชน อุทยานมีการดําเนินการผานทางสถานีวิทยุกระจายเสียง แหงประเทศไทย จังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรัง รวม 3 รายการ คือ รายการ “อุทยานสัมพันธ” ณ สวท.จังหวัดพัทลุง คลื่นความถี่ 98.0 MHz รายการ “อุทยานสัมพันธ” ณ สวท.จังหวัดตรัง คลื่นความถี่ 91.25 MHz และรายการ “คนรักษปา” ณ สถานีวิทยุชุมชน คลื่น ความถี่ 91.0 MHz ลานขอยเรดิโอ อ.ปาพะยอม จังหวัดพัทลุง ซึ่ง นับวาเปนการริเริ่มที่ดีที่สามารถนําขอมูลขาวสารเกี่ยวกับอุทยาน ไปสูภายนอก และนําไปสูการมีสวนรวมของชุมชนในกิจกรรมหลาย รูปแบบที่อุทยานจัดขึ้น เชน การรวมกิจกรรมการปลูกปา การรวม

กิจกรรมรวมกันเก็บขยะ ใหประชาชนชวยกันสอดสองดูแลความสงบ เรียบรอยและปลอดภัยใหเกิดขึ้นแกนักทองเที่ยวในเขตอุทยาน อยางไรก็ตาม แมอุทยานจะเปดโอกาสใหชุมชนในพื้นที่เขามามี สวนรวมในการจัดการอุทยานในหลากหลายรูปแบบ แตเมือ่ สอบถาม ประชาชนซึง่ อาศัยอยูใ นชุมชนโดยรอบพืน้ ทีอ่ ทุ ยาน ไดแก ชุมชนบาน ในวัง ชุมชนควนขนุน ชุมชนตะแพน ชุมชนบานเหนือ ชุมชนบานไส ปลาดู ชุมชนบานเขาปู และชุมชนบานเหรียงงาม พบวา ประชาชน สวนใหญยงั ไมมสี ว นรวมในการจัดการการทองเทีย่ วในเขตอุทยานแหง ชาติเขาปู- เขายา ทัง้ ในขัน้ ของการวางแผน ขัน้ การดําเนินงาน และขัน้ การประเมินผลและการตรวจสอบ สําหรับงานวิจยั ในครัง้ นี้ คณะวิจยั พบวา เจาหนาทีข่ องอุทยานไม เพียงพอ ทําใหไมสามารถดูแลและใหบริการแกนักทองเที่ยวไดอยาง ทั่วถึง และภาครัฐควรเพิ่มจํานวนบุคลากรดูแลพื้นที่อุทยานแหงชาติ เขาปู-เขายาใหมากขึ้น ตอปญหาพื้นที่ของอุทยานบางสวนทับซอนกับพื้นที่ทํากินของ ชาวบานซึ่งอาศัยอยูในชุมชนโดยรอบ ซึ่งเปนอุปสรรคในการจัดการ พื้นที่ของอุทยาน รัฐบาลควรเริ่มจากการเจรจาเพื่อหาทางออกใน การแกปญหาดังกลาว รวมทั้งควรมีมาตรการทีเ่ ขมงวดกับผูที่กระทํา ผิดในเขตพื้นที่อุทยาน ทั้งในสวนของการลักลอบขโมยพืชพรรณ และทรัพยสิน หรือแมแตการสรางมลพิษทางขยะ มีการเผยแพรบท ลงโทษที่ผูกระทําผิดจะไดรับ ทั้งนี้ก็เพื่อคงสภาพความอุดมสมบูรณ ของทรัพยากรธรรมชาติ และควรมีการศึกษาศักยภาพของอุทยาน ในดานตางๆ มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อสรางความแตกตางจากอุทยาน แหงชาติหรือแหลงทองเที่ยวอื่นๆ โดยการชูเอกลักษณที่โดดเดนให บุคคลภายนอกไดรบั รู ทัง้ ยังชวยกระตุนใหนักทองเทีย่ วกลุมทีเ่ คยมา เที่ยวอุทยานแลวใหเกิดความตองการเที่ยวซํ้ามากยิ่งขึ้น และประเด็นสุดทาย ทางอุทยานควรมีการจัดกิจกรรมที่เปด โอกาสใหประชาชนซึ่งอาศัยอยูในชุมชนโดยรอบพื้นที่ไดมีสวนรวม มากยิ่งขึ้น เพื่อสรางความรูสึกเปนเจาของ อันจะทําใหเกิดความรัก และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ อีกทั้งจะทําใหการจัดการ การทองเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานสอดคลองกับความตองการของ ประชาชนอยางแทจริงดวย ■

Radio Station at 91.0 MHz of Laan Khoy Radio in Pa Phayom District, Phattalung Province. These programs serve as good initiatives of park information dissemination and are medium for community participation in various activities such as tree planting, garbage collection and a neighborhood watch for tourist safety in the park. Despite the fact that the national park claims to have implemented many participatory initiatives, people in the surrounding communities of Nai Wang, Khuan Khanoon, Ta-phaen, Baan Nua, Sai Pladoo, Baan Khao Pu and Riang Ngaam reported that they have not really taken part in the park’s tourism management be it planning, implementation, monitoring or evaluation of any kind. The research team found that there is a problem of staff shortages that prevented park officials from providing adequate services to visitors. This calls for an increase in the number of park personnel.

On the land dispute problems between the park and the surrounding communities which present obstacles for the park operation, it is advised that the government initiate discussion with the locals to arrive at appropriate solutions as well as impose strict legal measures against park violators, including poachers and polluters. These measures should be widely disseminated to deter violations. The park should also conduct further studies on its natural assets to distinguish itself from other national parks to attract visitors. Lastly, Khao Pu-Khao Ya National Park should put more emphasis on active participation from the surrounding communities so that they develop a sense of ownership of the park. The key to a successful ecotourism program is the active involvement of the local residents who truly love and care for their natural environment. ■

GL28F-va.indd 42

11/19/10 8:29 PM


เสนทางเดียวกัน

ON THE SAME PATH

จอมปา JoMPA เรื่อง/ ภาพ ทีมงานเสนทางสีเขียว

Story/Photos: Green Line Staff Writers

สองแมลูกในหมูบานกองมองทะ ในเขตรักษาพันธุ สัตวปาทุงใหญนเรศวร กําลังจะไปไรขาวและหา อาหารมื้อเย็นสําหรับครอบครัว Mother and child in Kong Mong Tha Village in Thung Yai-Naresuan Wildlife Sanctuary are on their way to their rice field. They will return home with food for the whole family.

GL28F-va.indd 43

11/20/10 12:41 AM


44

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

“คนอยูได ปาอยูได เสือก็อยูได” เปนคําขวัญของโครงการ “จอมปา” ที่ ดร.เสกสรรค ประเสริฐกุล นํามากลาวในปาฐกถา ครบรอบ 20 ปการจากไปของ สืบ นาคะ เสถียร เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2553 วา โครงการนี้ “นับวาจับประเด็น ใจกลางความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติไดอยางคมชัด และ งดงาม มันมีความหมายลึกซึ้งของการอยูรอดรวมกัน และสะทอน ใหเห็นความหลากหลายของสรรพชีวิตที่เกี่ยวรอยกันในฐานะบุตร หลานของจักรวาล” จอมปาเปนโครงการที่จุดประกายขึ้นในผืนปาตะวันตก ผืนปา อนุรักษแหงสุดทายของประเทศไทยที่นับไดวาใหญที่สุดในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต ดวยเนื้อที่ราว 466,800 ไร ครอบคลุมพื้นที่

ในจังหวัดกําแพงเพชรและจังหวัดตาก อุดมสมบูรณไปดวยปาดิบ แลง ปาเบญจพรรณ ปาสน เปนถิ่นอาศัยของสรรพสัตวนอยใหญ ตั้งแตกระทิง หมาปา หมูปา เลียงผา หมีควาย ฯลฯ และยังเปน แหลงตนนํา้ ของแมนาํ้ ปงทีห่ ลอเลีย้ งผูค นบนพืน้ ที่ 11,706,586 ไร ใน พื้นที่ 6 จังหวัด ไดแก กาญจนบุรี กําแพงเพชร อุทัยธานี นครสวรรค สุพรรณบุรี และตาก ดวยความอุดมสมบูรณนี้เองที่ทําใหผืนปาตะวันตกถูกประกาศ เปนอุทยานแหงชาติ 11 แหง และเขตรักษาพันธุสัตวปา 6 แหง และ กลายเปนพื้นที่อนุรักษที่มีชาวบานอาศัยอยูในปามากกวา 4 แสน ครัวเรือน ในขณะที่มีการประเมินกันในภาพรวมวา ประเทศไทยมี ปาอนุรักษ รวมพื้นที่ปาชายเลน ประมาณ 90.6 ลานไร หรือรอยละ 17.66 ของพืน้ ทีป่ ระเทศ ขณะทีพ่ นื้ ทีป่ า ยังลดจํานวนลงอยางตอเนือ่ ง ดร.เสกสรรค มองสถานการณที่เกิดขึ้นวาเปนผลพวงมาจาก ระบบทุนนิยมที่ครอบงําการพัฒนาของชาติ และเริ่มบอนทําลาย ภูมิปญญาทองถิ่นในการอยูรวมกับปา ที่สําคัญคือ เปนตนเหตุแหง ปญหาความยากจนทีเ่ กิดจากความเหลือ่ มลํา้ ทางเศรษฐกิจและสังคม ทําใหคนจํานวนมากขาดแคลนที่ดินทํากิน เขาไมถึงฐานทรัพยากรที่ จําเปนตอการเลี้ยงชีพ การเขามาของกลุมทุนขามชาติและกลุมทุน ใหญในประเทศไทยยิ่งทําใหที่ดินทํากินและฐานทรัพยากรอื่นๆ ถูก นํามาไวภายใตกลไกตลาดมากขึ้น ที่ดินเปลี่ยนมือไดโดยงาย และ กรรมสิทธิใ์ นการถือครองทีด่ นิ กระจุกตัวเพือ่ การพาณิชยและเก็งกําไร การรุกเขาไปหาทีท่ าํ กินใหมในผืนปาหรือการรับจางนายทุนบุกรุกผืน ปาโดยผูยากไรจึงเปนปรากฏการณที่จะเกิดขึ้นตอไปไมจบสิ้น “ทิศทางของอนาคตนัน้ การรักษาผืนปา ตลอดจนฐานทรัพยากร ธรรมชาติอนื่ ๆ ไมวา จะเปนปาชายเลน ชายฝง ทะเล หรือแมนาํ้ ลําธาร ฯลฯ ลวนแลวแตตองอาศัยการมีสวนรวมของภาคประชาชน

หมูบานชาวกะเหรี่ยง อาศัยอยูในเขตอุทยานแหงชาติสาละวิน เปนหมูบานที่จะไดรับผลกระทบถามีการสรางเขื่อนฮัตจี ในแมนํ้าสาละวิน A Karen tribe village in Salawin National Park is expected to suffer negative impact from the planned construction of a dam across Salween River in Myanmar.

GL28F-va.indd 44

11/20/10 12:42 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

“Man survives. Forest survives. Tiger will also survive.” The above was a slogan of “JoMPA” (Joint Management of Protected Areas) Project spoken by Seksan Prasertkul during a keynote speech on September 1 this year in commemoration of Seub Nakhasathien’s death 20 years ago. This project “clearly and beautifully captures the heart of the man-nature relationship. It represents the meaning of interdependent survival and the diversity of all-related living creatures as the children of the universe,” he said. JoMPA was originated in the Western Forest Complex, the last protected forest in Thailand that is the largest in South-east Asia. It spans an area of 466,800 rai across Kamphaengphet and Tak provinces. With abundantly rich dry evergreen forests, mixed forests, and pine forests, it is home to diverse wildlife including gaur, wild dogs, boars, serow, and Asiatic black bears. It is the source of Ping River feeding people in the area of 11,706,586 rai in Kanchanaburi, Kamphaengphet, Uthai Thani, Nakhon Sawan, Suphanburi and Tak provinces. With such abundance, 11 national parks and six wildlife sanctuaries have been established in this western complex which is also home to more than 400,000 households. Meanwhile, it has been estimated that Thailand’s protected forest land including mangrove forests covers only about 90.6 million rai or 17.66% of the country’s area as forest land overall continues to decrease. Seksan, a former academic and student activ-

45

September - December 2010

ist, views the situation as a result of a nation mired in capitalistic development which has destroyed the local wisdom of co-existence with forests. It is the cause of poverty resulting from economic and social inequality as a large number of people are deprived of land for farming and living. The arrival of multinational and domestic investment groups has compounded the problem by putting land and other resources under the market system. Land becomes easily transferable and land ownerships are accumulated for commercial and speculation purposes. As a result, forest encroachment has become a never-ending phenomenon. “In the future, protection of forests as well as other natural resources such as mangrove forests, coastal areas, rivers or streams requires participation of the civil society. “Lessons learned from Seub Nakhasathien Foundation’s work with local communities in applying local wisdom to set guidelines for living with Nature or establish a balanced relationship between man and Nature will be beneficial in ridding poisons that come from developmental inequity,” said Seksan.

ชาวบานในหมูบานบะไห เดินเขาปาไปหาเห็ดปาในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม Villagers of Ba Hai walk to a forest in Pha Taem National Park in search of mushrooms.

เสนทางเดียวกัน ON THE SAME PATH

GL28F-va.indd 45

11/20/10 12:51 AM


46

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

“บทเรียนของมูลนิธิสืบฯ ในการทํางานรวมกับชุมชนทองถิ่น อาศัยภูมิปญญาทองถิ่นมาชวยกําหนดแบบแผนของการอยูรวมกับ ธรรมชาติ หรือจัดความสัมพันธที่สมดุลระหวางมนุษยกับธรรมชาติ ตอไปจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการชําระลางพิษภัยจากการพัฒนา ที่ไมสมดุล” ดร.เสกสรรค กลาว ขอเท็จจริงทีป่ า อนุรกั ษยงั คงถูกรบกวนและถูกคุกคาม เริม่ มีการ ยอมรับมากขึน้ วา ชุมชนจะเปนคําตอบในการรักษาและธํารงพืน้ ทีป่ า ไวไดในอนาคต “ตองยอมรับวาหัวใจในการดูแลทรัพยากรปาไมอยูที่คนจริงๆ ทุกวันนี้คนดูแลปาคือคนชายขอบ โครงการจอมปาคือการเปลี่ยน ทัศนคติจากผูทําลายมาเปนผูดูแล” จตุพร บุรุษพัฒน อดีตอธิบดี กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช กลาว (ปจจุบัน จตุพร ดํารง ตําแหนงอธิบดีกรมทรัพยากรนํ้า) ลาสุดมีการบันทึกความรวมมือระหวางกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช และมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ในโครงการจัดการ พื้นที่คุมครองอยางมีสวนรวมในผืนปาตะวันตก ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2553-2557) หลังจากสิ้นสุดโครงการในระยะแรก ระหวางป 25472552 โดยการสนับสนุนจากโครงการความรวมมือดานการพัฒนาแหง ประเทศเดนมารค (DANIDA) เพื่อเปดมิติแหงโอกาสที่ทุกฝายจะได เขาไปมีสวนรวมในการจัดการพื้นที่อนุรักษรวมกัน ปจจุบันโครงการจอมปาดําเนินงานรวมกับ 129 ชุมชนในผืน ปาตะวันตก ทั้งกลุมชาติพันธุกะเหรี่ยงและกลุมอื่นๆ เพื่อผลักดันให เกิดการยอมรับในแนวเขตสํารวจรวมกันของชาวบานและเจาหนาที่ ในระดับพื้นที่กวา 100 ชุมชน รวมทั้งการยอมรับในวิถีชวี ิตการทําไร หมุนเวียนที่สามารถอยูรวมกับปามาไดอยางเนิ่นนาน และยังมีการ ขยายผลไปสูห มูบ า นขอบนอกพืน้ ทีค่ มุ ครอง ในรูปแบบของการจัดตัง้ ปาชุมชน 135 ชุมชน ที่กําลังสานเครือขายการทํางานรวมกันภายใต ชื่อ “เครือขายภูมินิเวศปาตะวันตก” เครือขายนี้จะมีเครือขายยอยที่ ทํางานในหลายดาน ไดแก เครือขายเฝาระวังทรัพยากร เครือขายปา ชุมชน เครือขายชาติพันธุ ภูมิปญญา และศิลปวัฒนธรรม เครือขาย ศูนยกสิกรรมธรรมชาติ เครือขายบานเรียนรู เครือขายพัฒนาอาชีพ และระบบสวัสดิการ เครือขายเยาวชน เครือขายวิทยากรกระบวนการ และเครือขายอื่นๆ รวม 9 ขายหลักๆ และกระจายเปนกลุมกิจกรรม ในแตละพื้นที่ประมาณ 100 เครือขาย ตลอด 6 ปของการดําเนินการ โครงการจอมปาไดสรางแนว ทางใหมๆ ในการอนุรักษปาควบคูไปกับการรักษาความเปนชุมชน สามารถแกไขปญหาความขัดแยงในเรื่องการประกาศเขตอนุรักษทับ พืน้ ทีช่ มุ ชน ความขัดแยงประเด็นการทําไรหมุนเวียนของชาวกะเหรีย่ ง และความขัดแยงในเรื่องการขยายพื้นที่เกษตรกรรมของชุมชนบน พื้นที่ตนนํ้า ตลอดจนเปนตัวอยางการจัดตั้งปาชุมชนที่เกิดจากความ รวมมือระหวางชุมชนและภาครัฐ สวนความกาวหนาในระดับนโยบาย เมือ่ เดือนกุมภาพันธ 2553 ทีผ่ า นมา คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามทีก่ ระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) เสนอ แนวนโยบายในการฟนฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง สาระสําคัญคือยุติการ จับกุมและใหความคุมครองกับชุมชนกลุมชาติพันธุกะเหรี่ยงที่เปน ชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมที่อยูในพื้นที่ที่มีขอพิพาทเรื่องที่ทํากิน, ใหมีการ เพิกถอนพื้นที่ที่รัฐประกาศเปนพื้นที่ปาไมอนุรักษและปาสงวน ซึ่ง ทับซอนกับที่ทํากินและที่อยูอาศัย, ดําเนินชีวิต และใชประโยชนใน พืน้ ทีม่ าเปนเวลานาน หรือกอนทีร่ ฐั จะประกาศกฎหมาย หรือนโยบาย

GL28F-va.indd 46

อุทยานแหงชาติเขาแหลม-หญิงสาวในหมูบานไลโวกําลังฟดขาวที่ ใชครกกระเดี่ยง ตําเอง เปนวิธีชีวิตของชาวไลโวที่อาศัยอยูในผืนปาแหงนี้มาหลายชั่วอายุคน Khao Laem National Park – A woman in Lai Wo, a Karen village which has existed in this forest for generations, uses traditional method to remove husks from rice.

แมลูกกะเหรี่ยงคอยาวในหมูบานหวยปูแกงติดชายแดนพมาในจังหวัดแมฮองสอน Mother and child in the Pa Laung tribe village of Huay Poo Kaeng in the northern province of Mae Hong Son on the border with Burma.

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

47

September - December 2010

การทําประมงทายเขื่อนเขาแหลมใน อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี วิถีชีวิตที่ปรับตัวหลังจากพื้นที่ถูกนํ้าทวมเพราะการสรางเขื่อน Life after the permanent flood: Fishing tools are scattered about in the reservoir of Khao Laem Dam in Sangkhaburi of Kanchanaburi province.

As protected forests continue to be under threat, it has become increasingly accepted that community will be an answer to protect and conserve forests in the future. “We must admit that the key to take care of forests is man himself. Nowadays, the people who take care of forests are marginalized people. JoMPA changes their behavior from ones who destroy to ones who protect,” said Jatuporn Buruspat, former director-general of the National Parks, Wildlife and Plant Conservation Department. Recently, a memorandum of understanding (MoU) was signed by the National Parks, Wildlife and Plant Conservation Department and Seub Nakhasathien Foundation to extend the JoMPA project to 2014 following the expiration of the first six-year phase with support from the Danish International Development Agency (DANIDA). The project aims at promoting participation of all concerned parties in the forest conservation. Currently, the project has been carried out in 129 communities of Karen and other ethnic groups to promote joint undertaking between the villagers and forest officials to demarcate forest and community areas. It would also work to promote acceptance of rotational farming method that has been practiced sustainably for a long time. The project has also reached out to 135 more communities outside the forest complex to establish community forests under the “Western Forest Complex Ecology Network”. Within the network are about 100 sub-networks including Resource Watch Network, Com-

munity Forest Network, Ethnicity, Local Wisdom, Art and Cultural Network, National Agriculture Network, Home Learning Network, Vocational Development and Welfare Network, Youth Network and Process Trainer Network. Throughout the first six-year phase, JoMPA has created various models of forest conservation in conjunction with conservation of community identity. It has managed to resolve conflicts over the overlapping of protected forest and community areas, the Karen’s rotational farming practice, and the expansion of plantations in watershed areas. It has also become a model of cooperative community forest establishment between the communities and state authorities. At the policy level, Cabinet in February this year has approved a policy guideline on the revival of the Karen’s way of life as proposed by the Ministry of Culture. The salient points of the guideline are to provide protection to and cease the arrest of Karen tribe villagers who are indigenous people on forest encroachment charges, revoke protected areas that overlap the villagers original land, and promote or accept rotational farming system and the use of land managed by local communities by such ways as the issuance of community land title deeds. In addition, the guideline also encourage the establishment of a special cultural zone for the Karen tribe with pilot areas including several villages in Wiang Pa Pao district, Chiang Rai province; Sangkhlaburi district, Kanchanaburi province; Mae Wang district, Chiang Mai province; and Um Phang district, Tak province.

เสนทางเดียวกัน ON THE SAME PATH

GL28F-va.indd 47

11/19/10 8:29 PM


48

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

สืบในความทรงจํา ไฟมา เขนฆา ปาโคน เขื่อนทวมนอง ผองสัตว กูกอง ระสํ่ารอง ตะเกียกตะกาย เขาตะโกน ดิ้นรน โอบกอดชวย ใจสลาย นํ้าตา เหงื่อเปนสาย รดรินไหล รวดราว ที่เปนอยู คือรัก หวัง พลัง ศรัทธา หากยินยอมปลิดชีวา ใหวางวาย สูญสิ้นกาย เพื่อสถิต ในพงไพร มอดมลาย เพื่อปาอยู ในใจ ชั่วนิรันดร อุทยานแหงชาติทับลาน-ตนลานกําลังออกดอกบานสพรั่ง ในฤดูกาลที่ชาวบาน กําลังดํานาบนที่นาดั้งเดิมซึ่งปจจุบันถูกอุทยานแหงชาติประกาศทับที่ทํากิน Thap Lan National Park – Fan palm trees in bloom is the backdrop of farmers at work in their paddy field which has been incorporated into the park land.

ทับซอนพื้นที่, สงเสริมและยอมรับระบบไรหมุนเวียน, สงเสริม สนับสนุนและยอมรับการใชประโยชนในพื้นที่และการจัดการของ ชุมชนทองถิ่นดั้งเดิม เชน การออกโฉนดชุมชน รวมทั้ง กําหนดพื้นที่เขตวัฒนธรรมพิเศษสําหรับกลุมชาติพันธุ กะเหรี่ ย งโดยมี พื้ น ที่ นํ า ร อ งคื อ บ า นห ว ยหิ น ลาดใน ต.บ า นโป ง อ.เวียงปาเปา จ.เชียงราย, ต.ไลโว อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี, บาน หนองมณฑา (มอวาคี) ต.แมวิ อ.แมวาง จ.เชียงใหม, และบานเลต องคุ ต.แมจัน อ.อุมผาง จ.ตาก นอกจากนี้ยังมีการเสนอแนวนโยบายวาดวยเรื่องการฟนฟูวิถี ชีวิตชาวเล พื้นที่ที่ระบุคือ จังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ ระนอง และ สตูล โดยสรางความมั่นคงดานที่อยูอาศัยดวยการจัดทําโฉนดชุมชน และพิจารณากําหนดพืน้ ทีเ่ ขตวัฒนธรรมพิเศษทีเ่ อือ้ ตอกลุม ชาติพนั ธุ ที่มีลักษณะสังคมวัฒนธรรมจําเพาะ อีกทั้งชาวเลสามารถประกอบ อาชีพประมงหาทรัพยากรตามเกาะตางๆ ได และผอนปรนพิเศษใน การประกอบอาชีพประมงที่ใชอุปกรณดั้งเดิมดวย ทิศทางในการจัดการพื้นที่อนุรักษ ซึ่งเคยถูกจัดการภายใต อํานาจรัฐ ดวยหลักการเพื่อรักษาระบบนิเวศธรรมชาติ ความหลาก หลายทางนิเวศวิทยา ทรัพยากรพันธุกรรม อนุรกั ษดนิ และนํา้ เพือ่ การ ศึกษาวิจยั และนันทนาการ ดังทีก่ ลาวกันมานาน กําลังตองการความ รวมมือสนับสนุนจากชุมชนมากกวาทีเ่ ปนมา และกําลังพัฒนาไปสูก าร เคารพตอวัฒนธรรม วิถชี วี ติ และภูมปิ ญ  ญาของชุมชนดัง้ เดิม ดวยการ แสวงหาการมีสวนรวมทีแ่ ทจริงจากชุมชนในการจัดการพืน้ ที่อนุรักษ ดังนั้น รูปแบบของ “จอมปา” หรือ “ปาชุมชน” ก็ตาม จะเปน ฐานในการสรางสัมพันธระหวางธรรมชาติ ชุมชน และรัฐ ซึ่งแนวทาง นี้จะทําใหมรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ เผาพันธุดั้งเดิมที่มี ภาษาและวัฒนธรรมของตนเอง ไดรับการยอมรับวาเปนมรดกทาง วัฒนธรรมที่ทรงคุณคา ซึ่งควรอนุรักษไวในผืนปา หรือพื้นที่อนุรักษ อื่นๆ ดวย ■

GL28F-va.indd 48

1 กันยายน เสียงปนหนึ่งนัดจากกลางปาอัน หางไกล ปาที่กลายเปนมรดกโลกในเวลาตอมา วันนั้น สืบ นาคะเสถียร นักวิชาการกรม ปาไม ขณะดํารงตําแหนงหัวหนาเขตรักษาพันธุ สัตวปาหวยขาแขง เลือกที่จะตะโกนกองดวย เสียงปนในการปลิดชีวิตของตนเอง 20 ปตอมา ความตายของเขายังคงบอกเลา ความทุกข และเรียกรองความเปนธรรมใหปา และสัตวปา ที่ถูกโคนลมเขนฆาไมสิ้นสุด “การอนุรักษ คือการรักษาโดยไมทําใหมัน เปลี่ยนสภาพ แตมีคําจํากัดความในอีกความ หมายวา การอนุรักษคือการรักษาและนําบางสวน มาใช แตการใชประโยชนนั้น ตัวมันเองจะตอง คงอยู “สิ่งที่ผมมักพูดอยูเสมอคือ ปาเราเก็บไว เฉยๆ ก็เปนการอนุรักษที่เราไดประโยชน โดยที่ เราไมจําเปนตองตัดมาใช ตนไมใหอากาศ ให นํ้า... นี่ก็เปนการใชใชไหม ใชโดยที่เราไมตองไป ตัดสวนของมันออกมาใช… “สิ่งไหนที่ผมชวยสังคมได ผมจะชวย ที่ผม ตองตะโกนเพราะผมอยากเห็นสังคมมันดีขึ้น ผม อยากเห็นคนที่มีโอกาส สละโอกาสใหกับคนที่ไมมี โอกาสบาง” – ปณิธาน สืบ นาคะเสถียร รวมคาราวะ สืบ นาคะเสถียร ผูมอบหัวใจใหปา สัตวปา ธรรมชาติ และชุมชน ปณิธานที่คนรุนหลังควรสืบทอด

11/20/10 12:52 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

49

เด็กๆ ชาวกะเหรี่ยงที่อยูอาศัยในผืนปาตะวันตกจะมีอนาคตเชนไร ถาไมไดรับการ ยอมรับเรื่องสิทธิทํากินในเขตปาอนุรักษ The fate of these Karen children in the Western Forest Complex hangs in balance as long as their parents’ right to livelihood in the protected area is not accepted by the authorities.

In Memory of Seub แมฮองสอน-ชาวบานลีซูมัดหญาไมกวาดที่เก็บมาจากปา เพื่อขายให ใหพอคาที่จะนํา ไปทําไมกวาด เปนรายไดเสริมของครอบครัว Lisu tribe villagers in Mae Hong Son province are making blooms from bamboo grass that they collect from a nearby forest as a way to make extra income.

Furthermore, there is also a proposed policy on the revival of the sea gypsies’ way of life in Phang Nga, Phuket, Krabi, Ranong and Satun to create habitat security with the issuance of community land title deeds. Special cultural zones will be established for ethnic groups with unique social and cultural heritage. The sea gypsies (Chao Leh) will be able to fish around various islands with the use of indigenous fishing tools. The management of protected areas had long been under the state authority with an eye toward protecting the natural ecosystem, biodiversity, genetic resources, land and water for study, research and recreation. Now it needs cooperation and support from communities more than ever before which should lead to the respect for the culture, way of life and local wisdom of indigenous communities. New models of protected area management, whether it is that of JoMPA or community forest, will be a foundation for strengthening the relationship between Nature, communities and the state. It will promote the recognition of humanity’s cultural heritage, indigenous ethnic tribes with unique languages and cultures being one, as valuable cultural heritage worthy of being conserved in the Western Forest Complex and other protected areas. ■

September 1. The sound of a single gunshot rang out deep in a jungle, a jungle that was soon to become a World Natural Heritage. On that day, Seub Nakhasathien, a technical forestry official and at the time the chief of Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary, chose to shout with a gun that took his life away. Twenty years later, his death continues to tell the tale of sorrow and to demand justice for forests and wildlife that continue to be decimated. “Conservation is to preserve without changing the original state. Another definition is to preserve and allow some parts to be used. But the usage must leave that state of being to live on. “I have often said that even if we leave a forest untouched, it is conservation which we derive benefits from without having to cut it down. Trees give us air to breathe and water … isn’t this usage? We use trees without slicing off any part of them.… “Whatever I can do to help society, I will do it. The reason I shout is because I want to see a better society. I want to see people given opportunities. Let’s sacrifice for those who have no opportunities.” — Seub Nakasathien’s aspiration. Let’s salute Seub Nakasathien, the man who gave his heart to the forest, wildlife, Nature and community. Let’s hope that the future generations live by his aspiration.

เสนทางเดียวกัน ON THE SAME PATH

GL28F-va.indd 49

11/19/10 8:29 PM


สัมภาษณพิเศษ

SPECIAL INTERVIEW

ผศ.ดร. ดรรชนี เอมพันธุ แมนวาด กุญชร ณ อยุธยา

ผศ.ดร.ดรรชนี เอมพันธุ Asst Prof Dachanee Emphandhu

เกือบ 50 ปที่ประเทศไทยใชกฎหมาย ในการจัดการปา มาถึงวันนี้มีความ พยายามในการแสวงหาแนวทางใหม ในการจั ด การอนุ รั ก ษ สั ต ว ป  า และ ทรัพยากรธรรมชาติใหมปี ระสิทธิภาพ ขึ้น

การจัดการผืนปาเชิงระบบนิเวศ (Ecosystem Management) คือ แนวทางใหมที่นักวิชาการวนศาสตรยอมรับถึงความเหมาะสม ผศ.ดร.ดรรชนี เอมพันธุ หัวหนาภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะ วนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่พวงตําแหนงในฐานะที่ ปรึกษากรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ พรรณพืช เปนหัวหนา โครงการจัดทําแผนการจัดการพื้นที่กลุมปาตะวันออก และโครงการ ศึกษาความเหมาะสมในการจัดทําแนวเชื่อมตอทางนิเวศวิทยาของ ผืนปาในกลุมปาที่มีความสําคัญของประเทศไทย เธอสะทอนภาพของการจัดการอุทยานแหงชาติจากอดีตถึง ปจจุบนั และพยายามผลักดันใหมกี ารมองผืนปาทัง้ ผืนเปนระบบนิเวศ หนึ่งเดียว และมีความเชื่อมโยงทั้งทางชีวภาพ กายภาพ โดยการนํา หลักวิทยาศาสตร โดยเฉพาะนิเวศวิทยามาจัดการวางแผน

GL28F-va.indd 50

■ ภารกิจของอุทยานแหงชาติ ปจจุบน ั มีการจัดลําดับความสําคัญ

และทิศทางอยางไร ตอนนี้ความสําคัญที่เขามองโดยเฉพาะอุทยานแหงชาติที่ใหญๆ ที่เปนที่นิยม เขาจะมองเรื่องของนันทนาการและการทองเที่ยวเปน เรื่องแรก ซึ่งตางจากแตกอนที่มีปญหาเรื่องการบุกรุกพื้นที่ เรื่องของ การดูแลรักษาปา เพราะฉะนั้นอยางแรกที่เขาทําคือมุงการตรึงพื้นที่ ปาไวใหไดกอน เมื่อ 40-50 ปกอน อุทยานเปนที่รูจักนอยมากสําหรับ สาธารณชน เพราะคนจะเขาไมถึง นอยมากที่คนจะมีโอกาสไดเขาไป สัมผัส ยกเวนอุทยานที่มีการทองเที่ยวแตเดิมมาแลวอยางภูกระดึง แตปจจุบันนี้คนเขาไปเที่ยวธรรมชาติในอุทยานเยอะ การทองเที่ยว อาจจะเปนอุบายในการดึงนักทองเที่ยวใหเกิดความรักปา แตวาสิ่ง ที่ทําปจจุบันมันยังไมสุด มันแคแบบเปดพื้นที่ใหเปนแหลงทองเที่ยว นันทนาการ แตเรายังไมทําจนกระทั่งใหคนที่เขาไปเที่ยวแลวกลับมา เขามีจติ ใจ หรือวาอยากชวยในการอนุรกั ษอยางจริงจัง แตมนั มีโอกาส ที่จะเปนไปไดที่เราจะใชชองทางนั้น การจัดการอุทยานแหงชาติระดับคนในพืน้ ที่ ผูป ฏิบตั งิ านจะคาด หวังวา การทองเที่ยวจะปลุกกระแสการอนุรักษในสังคม แตกลุมผู บริหารจะมองอุทยานแหงชาติวาเปนแหลงสรางรายได ถามวาเขา คิดผิดไหมในยุคเศรษฐกิจกําลังยํ่าแย เขามีสิทธิ์ที่จะคิดได แตวาควร จะทําขนาดไหน นี่เปนอีกเรื่องหนึ่งที่ตองระมัดระวัง ถามวาเราจะใช อุทยานแหงชาติในเรื่องของการกระจายรายได ไดไหม ได เพราะวา มันก็เปนแหลงที่เรามุงวาจะชวยกระจายรายไดใหกับคนทองถิ่น ซึ่ง

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

51

Asst Prof Dr Dachanee Emphandhu By Maenwad Kunjara Na Ayuttaya or nearly half a century, Thailand has depended on legal tools to manage its forests. Today, there have been attempts to seek new and better solutions in the conservation of wildlife and natural resources. Many forestry experts have now subscribed to “ecosystem management” as a new model of forest management. Asst Prof Dr Dachanee Emphandhu, head of the Department of Conservation, Faculaty of Forestry, Kasetsart University, and an adviser to the Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation (DNP), is heading a project to draft a management plan for the eastern forest complex and another project to study corridors to provide ecological bridge for important forest complexes in Thailand. Here, she shares her perspective on national park management from past to present which looks at forests in ecological terms and the need to provide physical as well as biological bridge for segmented forests by employing scientific principles, particularly ecological studies, to assist planning.

F

■ What are the current priority and direction of DNP’s mission? Right now, priority is being given to recreation and tourism in the national parks, particularly the large and popular ones among visitors. This is different from the past when the issues of concern were encroachment and forest maintenance. The first priority then was to stake out the forest lands. Forty to fifty years ago, the public knew very little about national parks. Few people had access to them, except for some parks already well-known among visitors like Phu Kradueng. But nowadays, a lot of people visit national parks. I think tourism could be a way to get people to care for the forest. But that has not yet happened. The national parks are operated as recreation areas to attract tourists and nothing has been done

GL28F-va.indd 51

นํ้าตกทีลอซู ตั้งอยูในเขตรักษาพันธุสัตวปาอุมผาง พื้นที่ที่ควรจะไดรับการสงวน ไวเพื่อสัตวปา แตกลับเปดเปนสถานที่ทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมเรื่อยมาจนถึง ทุกวันนี้ Thi Lo Su Waterfall each year draws a large number of tourists although it is situated in Umphang Wildlife Sanctuary, a protected area where no human activities are supposedly allowed.

11/19/10 8:29 PM


52

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

…ภาควิชาเราสอนทางดานอุทยาน นันทนาการ และการทองเที่ยว เราผลิต เด็กหรือบัณฑิตที่จะตองผานการเรียน วิชาการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติ การ จัดการพื้นที่อนุรักษ การจัดการในเรื่อง ของนันทนาการ ถาเด็ก ๆ เหลานี้มีโอกาส ไดเขาไปทํางานสายตรง พูดงายๆ ถาได เขาไปทําในกรมอุทยาน ในสํานักอุทยาน ใน พื้นที่อุทยานแหงชาติ มันนาจะมีความรู พื้นฐาน มีแนวคิด หรือใชหลักการที่ ถูกตองได เปนแนวคิดที่ดี เพียงแตวาเราเนนเรื่องของการกระจายรายไดหรือ เปลาเปนอีกอยางหนึ่ง และก็ตองมองในแงการทองเที่ยวที่มันกลาย เปนภัยคุกคามไปแลวดวย ■ พื้นที่อนุรักษหลายๆ แหงกลายเปนแหลงทองเที่ยว ควรจะ

มีการทบทวนหรือปรับเปลี่ยนประเภทพื้นที่อนุรักษใหเหมาะสม ใหมหรือไม ยกตัวอยาง ทีลอซู โตนงาชาง ซึ่งเปดใหนักทองเที่ยวเขานาน มาแลว ตรงนี้เคยมีความพยายามที่จะเปลี่ยนจากเขตรักษาพันธุสัตว ปามาเปนอุทยาน แตมันก็ตกไป แมจะเปนแนวคิดที่ดี แตวายากใน เชิงปฏิบัติที่คนจะยอมรับ แตสิ่งหนึ่งที่ทําไดโดยไมจําเปนตองเปลี่ยน รูปแบบการจัดการพื้นที่ คือปรับ พ.ร.บ. เขตรักษาพันธุสัตวปา และ พ.ร.บ. อุทยานแหงชาติ ใหม ซึ่งเคยเสนอใหแกไขไปหลายครั้งแลว ก็ยังไมไดรับการปรับเสียที ประเทศอื่นๆ หลายสิบประเทศเขาไมได บอกเลยวาพื้นที่ไหนเปนเขตรักษาพันธุฯ หรือเปนอุทยาน แตมอง เปนกลุมปา ตอนนี้เราแบงกลุมปาทั้งหมดในประเทศเปน 19 กลุม ถาเปนพื้นที่ที่มีการใชประโยชนก็ใหอยูริมตะเข็บปา พื้นที่ที่เปราะ บางก็ควรจะรักษาไวเปน core zone หรือเปนพื้นที่อนุรักษ และก็ ไมควรจะเขาไปใชประโยชน ปลอยใหเปนกระบวนการตามธรรมชาติ สมมุติ เชน อุมผาง มีเรื่องของการทองเที่ยว และไมไดกระทบกับสัตว ปา และความหลากหลายทางชีวภาพ เราก็ประกาศใหตรงนัน้ เปนเขต การจัดการเพื่อการทองเที่ยว ในขณะเดียวกันถาเปนพื้นที่อุทยานที่ ไมมีเรื่องการทองเที่ยวเลย ก็ประกาศเปนเขตการจัดการที่สงวน เชน พืน้ ทีส่ งวนอยางเขมขน เพราะฉะนัน้ ลบคําวาอุทยานแหงชาติ และเขต รักษาพันธุส ตั วปา ไป เหลือแตพนื้ ที่ core zone ทีส่ าํ คัญคือเมือ่ ไหรเรา ประกาศเปน core zone ก็ขอใหเปน core zone จริงๆ ไมใชวนั ดีคนื ดี นักทองเที่ยวเจอวามีแหลงทองเที่ยว มีนํ้าตกสวย ฉันจะขอเขาไปเดิน วันนี้อุทยานแหงชาติจําเปนที่จะตองทํางานรวมกับชุมชนที่อยู รอบๆ เพราะเขาจะชวยดูแล ชวยเปนปากเปนเสียง แตถามวาการ บุกรุกหมดไป 100% ไหม ก็ยังมีบางที่คนยังตองการที่ดินทํากิน เราตองทํางานตอไปในเชิงรุก แตปญหาเรื่องลาสัตว ลักลอบตัดไม ลักลอบเอาของปายังมีเยอะ และก็เยอะมาก นี่คือสิ่งที่นาเปนหวง

GL28F-va.indd 52

เกาะภูเก็ต-ทาเรือมารีนา รูปแบบของการพัฒนาการทองเที่ยวที่จะทําลาย ทรัพยากรหนาบานของชาวมอแกน ซึ่งดํารงอาชีพดวยการทําประมงเรือเล็กและ ประมงริมฝง A marina in Phuket seen in the background represents a form of tourism development in this tourist heaven. It is blamed for destroying fishing grounds on which the Moken sea gypsies and small-scale fisher folks depend.

เพราะบางครั้งเราทํางานในฉากของการทองเที่ยว นันทนาการ การ บริการ เนื่องจากมันเห็นผลกับคนกลุมใหญ แตการดูแลรักษาปา การลาดตระเวนพวกนี้เปนงานเบื้องหลัง คนมองไมคอยเห็นความ สําคัญ ก็จะละเลยไปทําเรื่องอื่น แลวบางทีนักทองเที่ยวมาจอรออยู แลว ไมทําก็ไมได เพราะฉะนั้นอาจจะตองหยุดเอาไวหนอย มันควร จะจัดสรรใหชัดเจน มีการวางแผนเปนงานประจําที่บอกไวเลยวาใน เดือนหนึ่งจะออกสํารวจปาออกตรวจตรากี่ครั้ง ครั้งละกี่วัน ทําเปน แผน แตขณะนี้คนก็มองเห็นแลว เริ่มเคาะถามแลววาเกิดอะไรขึ้น ทําไมเดี๋ยวนี้การปองกันปราบปรามของอุทยาน มันดูออนดูดอยลง ตอนนี้เขาก็เริ่มทําแลว ■ ภาควิชาการเขาไปมีบทบาทในระดับนโยบายหรือการสนับสนุน

ทางวิชาการตออุทยานแหงชาติมากนอยแคไหน ภาควิชาเราสอนทางดานอุทยาน นันทนาการ และการทอง เที่ยว เราผลิตเด็กหรือบัณฑิตที่จะตองผานการเรียนวิชาการจัดการ พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติ การจัดการพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ การจัดการในเรือ่ งของ นันทนาการ การทองเทีย่ วในพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ ถาเด็ก ๆ เหลานีม้ โี อกาสได

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

to change their mindset or their behavior concerning forest conservation, during or after their visit. However, there is still hope. In terms of national park management, the field staff hopes that tourism would galvanize the conservation movement in society. But the upper management tends to see national parks as instruments to generate revenue, which is understandable considering the current economic downturn. Whether it is appropriate is a different matter. Should national parks play a role in income distribution to localities? It’s a good idea but the question is how much we should be committed to that objective. We should not forget that tourism has become a threat. ■ With many protected areas turned into tourist attractions, do we need to review or change their classifications? Let’s take a look at Thi Lo Su and Toan Nga Chang that have been opened to visitors for a while. There used to be an effort to re-classify them from wildlife sanctuaries to national parks. It was a good initiative, but proven to be difficult in practice to get public approval. Nevertheless, there is one thing we can do without changing the forest classification, that is to revise the Wildlife Sanctuary Act and the National Park Act. There had been proposals to amend them but nothing had happened. Many other countries do not have classification like ours. They simply group them as forest complexes. We now divide our forests into 19 complexes. Areas which have already exploited would be place around the perimeters. Sensitive areas would be preserved as Core or Conservation Zones where no exploitation would be allowed. Take Umphang for example. Tourism already exists there and it has little impact on wildlife and biodiversity. We can declare it as Tourist Management Zone. At the same time, areas in national parks that see no tourism activities can be declared Reservation Management Zone for intensive conservation. We can then do away with the terms National Park and Wildlife Sanctuary. What we have left would be Core Zone. The important thing is that when we declare a Core Zone, it has to be treated as such. We cannot make it wide open to tourists, say, after somebody discovers a nice waterfall in there. Nowadays, national parks must work with surrounding communities because they can help take care of the parks and speak up for them. But has encroachment stopped? Well, some villagers still need land to make a living. So the parks need to take a pro-active approach. But illegal hunting, logging and harvesting of forest products are more worrying because park officials sometimes immerse themselves in providing tourism and recreation services which yield more immediate results with large numbers of people. On the contrary, forest patrol is a job done behind the scene. Its significance is often overlooked and therefore they tend to drop their routine works and divert their attention to something else. When

สัมภาษณพิเศษ: ผศ.ดร.ดรรชนี เอมพันธุ

GL28F-va.indd 53

53

September - December 2010

อุทยานแหงชาติผาแตม-ดวงหนวดยาวเกาะอยูบนหนาผาสูง Pha Taem National Park -- A stem boring grub rests on top of a cliff.

...Our faculty (forestry) teaches park management, recreation and tourism. We produce graduates who are welltrained in national park, protected area, recreation and tourism in protected areas management. If these graduates have the opportunity to work with the National Parks Department or the national park division, they would be able to apply the basic concepts and principles to their works in the real world... tourists wait at the doorstep, they cannot be ignored. It will be best if they can pause for a moment and get their priority straightened out. They may need help on better planning on how to accomplish their routine duties such as the number of times they need to conduct forest patrol per month and the amount of time it takes. Once they have this plan set up, people will see that they are serious about their work. ■ What role does the academia play at the policy level and what sort of support it gives to national parks? Our faculty (forestry) teaches park management, recreation and tourism. We produce graduates who are well-trained in national park, protected area, recreation and tourism in protected areas management. If these graduates have the opportunity to work with the National Parks Department or the national park division, they would be able to apply the basic concepts and

Special interview: Asst Prof Dr Dachanee Emphandhu

11/19/10 8:29 PM


54

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

…ใน 19 กลุมปา ไมนับกลุมปาที่เปน กลุมทางทะเล ทั้งหมดจะมีชาง มีเสือ เพราะ ฉะนั้นสองตัวนี้คอนขางที่จะครอบคลุมทุก กลุมปา ขั้นที่เราจะทําคือจะมีการศึกษา ทํา แผน วาเราควรจะเชื่อมปาตรงไหนบาง เพื่อรักษา landscape species ตัวนี้ แตอยาลืมวา 2 ตัวนี้จะอยูไดจะตองมีสัตว ผูลาหนวยอื่นๆ และสัตวอาหารของพวกนี้ ดวย แตจะเชื่อมดวยวิธีการอะไรเปน อีกเรื่องหนึ่ง… เขาไปทํางานสายตรง พูดงายๆ ถาไดเขาไปทําในกรมอุทยาน ในสํานัก อุทยาน ในพื้นที่อุทยานแหงชาติ มันนาจะมีความรูพื้นฐาน มีแนวคิด หรือใชหลักการที่ถูกตองได ปญหาอยูที่ระบบการรับของกรมอุทยาน ไมไดรับตามความชํานาญ เขาอาจจะรับเด็กที่จบจากสาขาอื่นๆ ไปทํางานได อันนี้เปนขอจํากัดอยางหนึ่ง อีกเรื่องที่เปนปญหามานาน คือ อุทยานแหงชาติขาดนโยบายที่ ชัดเจน คือมีนโยบายที่ออกมาดวยวาจาจากทุกผูบริหาร ผูบริหารคน หนึ่งจะมีนโยบายออกมาหนึ่งชุด กรมนี้ก็เปนกรมที่เปลี่ยนผูบริหาร บอยมาก พอเปลีย่ น นโยบายก็ไมคอ ยตอเนือ่ ง อันนีต้ อ งยอมรับ มันปก ธงตามผูบ ริหารทีเ่ ปลีย่ นไป ปจจุบนั ถามวาไมมนี โยบาย แลวทํางานกัน ยังไง เจาหนาทีจ่ ะใช พ.ร.บ. อุทยานฯ เปนหลัก คือใชกฎหมายในการ ตัดสินใจ และถาผิดกฎหมายก็ไมทาํ แตวา ในรายละเอียดทีเ่ ปนกรอบ ทิศทางการดําเนินงาน อยางทิศทางการดําเนินงานในเรื่องการทอง เที่ยว การจํากัดจํานวนนักทองเที่ยว มันไมใชกฎหมาย มันตองออก มาเปนนโยบาย ซึ่งตองถือปฏิบัติ และตองไดรับการยอมรับ เพื่อใหมี กรอบทิศทางทีจ่ ะเดินอยางชัดเจน โดยไมปรับเปลีย่ นไปตามผูบ ริหาร ทีเ่ ปลีย่ นตัวบุคคลไปตามวาระ นีเ่ ปนอยางหนึง่ ทีเ่ ราบอกวาจะตองทํา ขณะนีเ้ รากําลังทําแผนยุทธศาสตร (โครงการศึกษาความเหมาะ สมในการจัดทําแนวเชื่อมตอทางนิเวศวิทยาของผืนปาในกลุมปาที่มี ความสําคัญของประเทศไทย) ที่ผานมาพอทําแผนยุทธศาสตรขึ้นไป ถึงระดับผูบริหารก็นิ่ง มันนิ่งดวย 2 ประเด็น ประเด็นแรกก็คือถาเมื่อ ไหรประกาศใชยทุ ธศาสตร อํานาจในการสัง่ การอาจจะสูญเสียไป นีไ่ ม ไดพดู ถึงระดับแคหนวยงานกรม อันนีก้ ลาพูดไดเลย เพราะเมือ่ ไหรทมี่ ี กรอบการดําเนินงาน อะไรทีเ่ คยทํากันตามอําเภอใจก็ไมสามารถทําได แลว ซึ่งเดี๋ยวนี้การทําตามอําเภอใจก็เยอะมาก มีไมนอยเลยทีเดียว ถาเปนนโยบายแลว มันจะมีนโยบายในเรื่องของการจัดการ ทรัพยากร ในเรื่องของการพัฒนาพื้นที่ การใชประโยชน ตอนนี้ใน ระดับพืน้ ทีเ่ องไมมนี โยบายคลุม ในอดีตเราทําแผนแตละพืน้ ทีอ่ ทุ ยาน 148 แหง ตอนนี้อุทยานที่มีการทําแผนยังไมถึงครึ่ง นอกจากจะไม ถึงครึ่งแลว อีกครึ่งที่ทําก็หมดอายุไปนานแลว เพราะฉะนั้นอุทยาน มีแผนอยูบางพื้นที่เทานั้นเอง ปญหาคือไมมีคนที่มีความสามารถใน ทางวิชาการที่จะมาขับแผนตรงนี้ไดทัน จะหวังพึ่งคณะวนศาสตรก็มี อาจารยอยูแคนี้เอง เราก็อาจจะไปชวยเขาไมไดมาก ผูทรงคุณวุฒิมี

GL28F-va.indd 54

อุทยานแหงชาติเขาใหญ-เกงเล็มหญาอยูริมถนนในอุทยาน โดยไมรูถึงอันตราย จากรถราที่วิ่งไปมา เปนภาพที่สรางความนาตื่นเตนใหกับนักทองเที่ยว Khao Yai National Park – A barking deer grazing along a road in the park, oblivious of danger from vehicles wheezing by, is an exciting sight for tourists.

อยูไมกี่คน ถามองแลวก็มีอยู 1-2 คนเอง แลวก็ลมหายตายจากไป แตอันนี้เปนสิ่งที่เราพยายามที่จะชวยทําขึ้นมา นอกจากนั้นตอนนี้ที่คณะชวยก็คือศึกษา corridor ในเรื่องของ การศึกษาแนวเชื่อมตอของผืนปาทั้งประเทศ มันเปนสิ่งที่เราคุยกัน มานานแลววา ถาเราอยากจะใหพนื้ ทีอ่ นุรกั ษของเราเขมแข็ง แข็งแรง เรื่องนี้ตองเปนแผนในระดับประเทศ พอมีกรอบทิศทางชัดเจน เวลา เราประกาศอุทยานหรือวาจะดําเนินการในการพัฒนาตอไปมันจะได ชัดวาจะตองเดินไปในลักษณะนี้ มันถึงเวลาแลว เพราะ 20 ป ทีผ่ า นมาไมเคยมีใครมานัง่ วิจยั ปรับ กระบวนการในการวางแผน อยางการวางแผนอยางมีสวนรวม สมัย นั้นใครมาพูดเรื่องการมีสวนรวมคนหัวเราะใสหนา ในเรื่องการมีสวน รวมนีเ่ ปนศูนย ติดลบดวยซํา้ คนมองไมเห็นภาพดวย และการปกครอง สมัยกอนรัฐธรรมนูญเรายังไมเอือ้ ขนาดนัน้ แตพอถึงตอนนีม้ นั เปลีย่ น ไปแลว และจะทําใหงานของเราไดรบั การยอมรับ มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น เพราะเราทําฝายเดียวไมได ■ แนวทางการดํ า เนิ น งาน ในเรื่ อ งการเชื่ อ มต อ ผื น ป า หรื อ

corridor ในเรื่องของการศึกษา เราจะทําแนวเชื่อมตอทางนิเวศ คือไม ไดทําเฉพาะเรื่องสัตวปา หรือการอนุรักษพันธุกรรม แตจะมองกวาง ถึงเรื่องของความหลากหลายทางชีวภาพ การเชื่อมตอในแงของการ ถายเทสารอาหาร พลังงาน จากตนนํ้าไปจนถึงทะเล ถึงมหาสมุทร ฉะนั้นในความหมายของ corridor จะมีเปาหมายหลักๆ อยู 3 ดาน อันแรก คือแนวเชื่อมตอเพื่อใหสัตวปาสามารถอยูอาศัยแบบมีสุข

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

...Our first step is to study the terrain and plan the location of corridors in order to preserve these “landscape species”. We must keep in mind that these two animals survive only when there are other predators and preys around the forest too. The construction of the physical corridor is the next step.... principles to their work in the real world. The problem is the National Parks Department does not recruit people based on their expertise, but take graduates from all disciplines. This is one limitation. Another long-standing problem is that the National Parks Department lacks a clear policy. Their policy is usually verbally stated by its director general, so it keeps changing as the department head changes and this department changes its head very often. So how do officials work without a clear policy, you may ask? They simply rely on the National Park Act as their reference. In other words, they use the law as the basis for decision making. If it is against the law, they will not do it. But details of operating framework and direction, such as guidelines regarding tourism management and limit on tourist number, are not law. It is a policy issue that needs to be accepted and implemented so that there will be a clear direction without subject to executive changes. Right now, we are in the process of formulating a strategic plan (derived from the project to study corridors to provide ecological bridge for important forest complexes in Thailand). In the past, once a strategic plan was submitted to the director general, it went no further. There were two reasons for this. First, if the strategic plan was approved, the director general would lose a certain degree of authority to command. This would happen not just at the departmental level (but also at higher levels). When you agree on an operating framework, you can no longer call the shots with your own lo agenda. And there is a lot of “calling one’s own shots” going on.

สัมภาษณพิเศษ: ผศ.ดร.ดรรชนี เอมพันธุ

GL28F-va.indd 55

55

September - December 2010

Once [the strategic plan] becomes a policy, there will be a policy in natural resources management, land development and utilization. As of now, there is no policy governing the field level. In the past, we used to have an operating plan for each of the 148 national parks. Now, not even half of them have a plan. For the rest, their plans had mostly expired a long time ago. Only a few national parks have any plan at all. The problem is a lack of competent personnel to implement the plans effectively. You can’t expect the Faculty of Forestry to assist in this area because there are only so many of us and there are only a few experts available. Nevertheless, we are trying our best to help in whatever way we can. What our faculty is doing to help is to conduct a study on “corridors” to link the forest complexes nation-wide. This is something we have discussed for a long time. If we want our protected areas to be healthy and strong, we must implement this initiative at the national level. Once we have an agreed-upon operating framework, it will be clear on how to proceed when a new national park is to be declared or a development plan implemented. Now is the time for change. During the past 20 years, nobody really sat down to analyze the plannning process. It used to be when somebody mentioned “participatory approach”, everybody laughed. The level of participation was zero or even negative. People just could not understand and governance before the previous constitution was in force was not conducive to change. But now things have changed and what we are doing is more acceptable and effective because we cannot do it alone. ■ What is the idea behind the ‘corridor’ concept to link forest complexes? In our study, we want to build ecological linkages – not only for wildlife or genetic preservation. But it will look more broadly to include biodiversity and linkages in terms of the transfer of nutrients and energy from watershed to the sea and all the way to the ocean. There are three types of corridor. The first is one which must allow wild animals to live more comfortably. The forest areas that we have today are quite constrictive for most animals. Because we aim for a nation-wide implementation, our work will predictably be quite complicated, so we select key animals for conservations which are elephants and tigers. We will also keep track of other animals, particularly those in their food chain, food sources and their reproduction pattern to determine the specification of rep the corridor. The 19 forest complexes, excluding marine national parks, all have elephants and tigers. Therefore, na these two animals are well represented. Our first step is th to sstudy the terrain and plan the location of corridors to preserve these “landscape species”. We must in order o keep in mind that these two animals survive only when kee there are other predators and preys around the forest ther too. The construction of the physical corridor is the next too step. For example, if a road goes through the forest, st

Special interview: Asst Prof Dr Dachanee Emphandhu

11/20/10 12:53 AM


56

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ทางหลวง 304 ถนนสายเศรษฐกิจเชื่อมภาคอีสานกับตะวันออกที่ผากลางผืนปาดงพญาเย็นที่เปนสวนหนึ่งของมรดกโลกออกจากกัน ในอนาคตอันใกลจะมีโครงการทําถนน เชื่อมปา หรือ corridor โดยหวังจะเปนการเปดทางใหสัตวปาเดินทางขามไปมาไดอีกครั้ง Highway 304, an economic lifeline connecting the northeastern to the eastern region, runs through the Dong Phaya Yen forest, which is part of a World Heritage. A “corridor” is in the making to re-connect the forest to allow wildlife to cross to the other side that has been denied them for a long time.

ได เพราะปจจุบันพื้นที่ปามันคอนขางจํากัดสําหรับสัตวบางชนิด แต เนื่องจากเราทําทั้งประเทศซึ่งเปนงานหนัก เราจะเลือกสัตวที่สําคัญ ที่เปนเปาอนุรักษ คือ ชางและเสือโครง กลุมเสือจะเปนสายพันธุ หลัก ในขณะเดียวกันเราก็ศึกษาตัวอื่นๆ เพิ่มไปดวย สัตวในหวงโซ อาหาร แหลงอาหาร การสืบตอเผาพันธุ แลวลองหาดูวาแนวเชื่อม ตอจะเปนอยางไร ใน 19 กลุมปา ไมนับกลุมปาที่เปนกลุมทางทะเล ทั้งหมดจะมี ชาง มีเสือ เพราะฉะนั้นสองตัวนี้คอนขางที่จะครอบคลุมทุกกลุมปา ขั้นที่เราจะทําคือจะมีการศึกษา ทําแผน วาเราควรจะเชื่อมปาตรง ไหนบาง เพื่อรักษา landscape species ตัวนี้ แตอยาลืมวา 2 ตัวนี้ จะอยูไดจะตองมีสัตวผูลาหนวยอื่นๆ และสัตวอาหารของพวกนี้ดวย แตจะเชื่อมดวยวิธีการอะไรเปนอีกเรื่องหนึ่ง อยางเชน ถาเปนถนน ผากลาง อาจจะตองเชือ่ มดวย corridor ทางวิศวกรรมในการสรางมัน ขึ้นมา เชน สะพานลอยฟา หรืออุโมงค อยางที่มีการศึกษาที่เขาใหญ แตถา บางแหงปาถูกตัดขาดดวยการใชประโยชนทดี่ นิ เชน พืน้ ทีเ่ กษตร ก็อาจจะเชื่อมดวยการใชพื้นที่เดิมที่มีอยู แตคุยกับชาวบานวาเขาจะ ยอมปลอยพื้นที่บางสวนใหชางเดินผานไดหรือเปลา พื้นที่ก็ยังเปน ของชาวบานอยู ซึ่งอาจจะมีขอแลกเปลี่ยน เชน มีการชดเชยสําหรับ ทรัพยสนิ ทีเ่ สียหาย หรือจะเปนการเชาที่ เราตองศึกษาในรายละเอียด ตอนนี้ปาตะวันออกก็ทําอยูอยางโครงการพระราชดําริ ระหวาง เขาชะเมา เขาวง กับเขาอางฤๅไน กําลังทดลองวาเปนไปไดไหม corridor อีกประเภทหนึง่ คือ การเชือ่ มตอผืนปาเพือ่ ระบบนิเวศ ความสัมพันธในระบบนิเวศอืน่ ๆ เราจะดูวา มีปา อยูต รงไหนบาง ถึงจะ มีปญหาในเรื่องพื้นที่อนุรักษ เพราะมีสองพื้นที่ที่เปนของกรมอุทยาน กับกรมปาไม บางทีคุยกันลําบาก แตปา-สัตวปาไมรูหรอกวาปาไหน เปนของกรมไหน เราก็พยายามทีจ่ ะดูวา ถามีการเชือ่ มตอทําใหปา ผืน เล็กๆ เปนผืนใหญขึ้น โดยที่ไมจําเปนตองเปลี่ยนสถานะภาพจากปา สงวนของกรมปาไมมาเปนปาอนุรกั ษของกรมอุทยานจะทําไดอยางไร corridor ประเภทที่ 3 จะเชื่อมระบบนํ้า ระบบลํานํ้าที่สําคัญ จากพื้นที่ตนนํ้ามาปลายนํ้า เพื่อใหสัตวนํ้าอยูได ในลุมนํ้าสําคัญๆ สิ่งที่เราจะดูก็คือ อุปสรรค เชน เขื่อนที่สรางกั้นระบบนํ้า รื้ออาจจะ

GL28F-va.indd 56

ไมได แตอาจจะปรับ อยางเชนอาจจะมีบันไดปลา ซึ่งสามารถเลือก เทคโนโลยีที่กาวหนามาใชได อันนี้เปนแนวคิด เพราะฉะนั้นในภาพ รวมคือความพยายามที่จะมองในเชิงการอนุรักษทั้งประเทศในภาพ ใหญ คณะวนศาสตรมีบทบาทในการชี้นําทางดานการอนุรักษ ถา เรายังนิ่งๆ เฉยๆ อยูอยางนี้ เดี๋ยวถนนก็จะขยาย เดี๋ยวก็จะตัดเขา พื้นที่อนุรักษ เราตองวางแผนเชิงรุกแลววา เรามีแนวคิดในเรื่องของ การจัดการพื้นที่ปาของพวกเราเปนแบบนี้ เราจะไดมีอะไรที่มาตอ รองเจรจากันบนโตะได เพราะตอนนี้สิ่งที่กรมขาดคือเรื่องของขอมูล ปญหาอุทยานแหงชาติที่เห็นชัดเจน คือไมมีขอมูลทางวิชาการ มารองรับ แตจะมีขอมูลแหลงทองเที่ยวไหนสวย รายไดที่ได แตถาม วาสถานภาพระบบนิเวศเปนอยางไร มีการติดตามการเปลี่ยนแปลง ไหม อันนี้ขาดมากเลย แลวถาเราไมรูวาเกิดอะไรขึ้นในพื้นที่ของเรา บาง มีความเปลีย่ นแปลงอยางไรบาง อีกหนอยอุทยานแหงชาติจะตาย ■ ขั้นตอนเปนอยางไร หลังจากทําแผนยุทธศาตรเสร็จแลว

แผนยุทธศาสตรจะเสร็จสิ้นปหนา ในความตั้งใจคือเสนอเขา ครม. เพื่อใหเปนวาระแหงชาติ เพราะวาพื้นที่ corridor เปนพื้นที่ ที่เกี่ยวของกับหลายกรม ถาเราไมไปจนกระทั่งสุด มันก็นิ่ง แลวก็ จะทําไดเฉพาะพื้นที่อนุรักษของกรมอุทยาน หรือกรมปาไมเทานั้น

■ ปจจุบันคุณคาของอุทยานแหงชาติในความรับรูของสังคมเปน อยางไรบาง เปนคําถามสําคัญที่จะทําอยางไรใหคนที่เขามาในอุทยานรับ รูวาอุทยานแตกตางจากพื้นที่อื่น เราไมใชรีสอรท เราไมใชโรงแรม เรามีพันธุพืชพันธุสัตว ความหลากหลายทางชีวภาพมหาศาล แต คนสวนใหญยังไมรูจักคุณคาของอุทยาน เขามองอุทยานเปนที่ปลด ปลอย เปนที่สวยงาม เปนที่พักผอน ฉะนั้นอุทยานแหงชาติจะตอง ทําอยางไร เพราะอุทยานจะตองเปนตนแบบในการอนุรักษ เปนที่ ศึกษาเรียนรูธรรมชาติ แตคุณคาของอุทยาน ตัวอุทยานเองใหความ หมายตัวเองอยางไร นี่คือสิ่งที่อุทยานแหงชาติตองทําใหได และตอง สื่อสารกับสังคมใหได ■

11/20/10 12:54 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

57

September - December 2010

ตนไมถูกทําเครื่องหมายเพื่อโคนลม และสภาพของการขยายถนนสี่เลนไปหนาอุทยานแหงชาติเขาใหญ กรณีที่ถูกคัดคานอยางหนักจากสังคมไทย เนื่องจากเปนรูปแบบของ การพัฒนาที่ไมสอดคลองกับความยั่งยืนในการจัดการผืนปาซึ่งเปนมรดกโลก Trees marked for felling to give way to the construction of a four-lane road to the entrance of Khao Yai National Park which has come under strong protests because it represents a development model that is not consonant with sustainable management of a forest complex that is a World Heritage.

we may need engineering solutions to build it, such as an overpass or a tunnel, like that being studied in Khao Yai. Some forests are segmented by other land uses such as farming. Then we may need to negotiate with the farm owners to allow some part of their land for the elephants to go through. We may compensate them for any damages that may result or we may rent their land. This, we need to study in details. The Royal Projects in the eastern forest complex have been conducting such feasibility studies in Khao Chamao, Khao Wong and Khao Ang Lue Nai. Another type of corridor serves to connect the ecological systems among forests. First we have to identify the forests to see under whose jurisdiction they belong to between that of the National Parks Department and the Royal Forest Department. Sometimes it could be difficult to sort things out, but the animals do not know which forest belongs to whom. Our job is to find ways to connect small forest parcels into a larger forest complex without affecting the status of forest protected areas under the two concerned departments. The third type of corridor links water systems from upstream to downstream so that fishes and marine life can survive in important watersheds. We will study obstacles to water flow such as dams. It may not be possible to demolish these structures, but we may be able to modify them, for example by adding fish ladders or employing other modern technologies. In general, we are trying to look at conservation at the national level. The Faculty of Forestry has played an active role in guiding the national conservation effort. If we sit idly, a lot of things will be pushed ahead, such as road widening and highway construction in the middle of the protected areas. Therefore, we must plan pro-actively by presenting our idea of for-

สัมภาษณพิเศษ: ผศ.ดร.ดรรชนี เอมพันธุ

GL28F-va.indd 57

est management. What the National Parks Department sorely lacks is good information. The department’s obvious problem is the lack of technical information. They may have tourism-related information such as which park is the most scenic or which park generates the most revenue. But they can’t tell you about the ecological status of or the impact assessment on parks. If they do not know what is going on in their area of responsibility and how it is changing, national parks will soon become insignificant. ■ What are the steps involved after completing the strategic plan? The strategic plan will be completed next year. We intend to submit it to the cabinet to be declared as a part of the national agenda. The fact that the corridor establishment involves multiple agencies dictates that we have to do it this way. Otherwise, it will only apply to protected areas under the National Parks and Royal Forest departments. ■ What is the current public perception of the values of national parks? This is an important question. How can we make people realize that national parks are different from other attractions? We are not resorts or hotels. We have abundant floras and faunas and enormous biodiversity. But the majority of the public still do not appreciate the values of national parks. They see the parks as scenic places for relaxation and stress relief. Therefore, national parks must become a model of conservation, places for nature learning. But first, the national parks must define their own values and then communicate effectively with the society at large. ■

Special interview: Asst Prof Dr Dachanee Emphandhu

11/19/10 8:29 PM


สี่แยกไฟเขียว GREEN INTERSECTION

58

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

นักทองเที่ยวเดินในสวนรุกขชาติสกุโณทยาน จ.พิษณุโลก ภาพสะทอน ของการปรับตัวในการจัดการไมโดยใหสัมปทานมาเปนการพัฒนาใน ดานการทองเที่ยว A tourist walks in the Sakunothayan forest park in Phitsanulok province which has recovered from past logging concessions and is now developed for tourism.

GL28F-va.indd 58

11/19/10 8:29 PM


การจัดการอุทยานแหงชาติ ภายใตสถานการณโลก

ณ อํานวย อินทรักษ

พ.ศ. 2553 นี้ “อุทยานแหงชาติ” ใน ประเทศไทยก็อายุเกือบหาสิบปเขาไป แลว ถาเปนคนก็วัยฉกรรจ กําลังกลา แกรง มีประสบการณตามวัย ปูมของอุทยานแหงชาติเริ่มจากชื่อ คําวาอุทยานแหงชาติแปลตรงๆ จาก national park ซึง่ เปน “การจัดการปา” แบบหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ ตามความ จําเปนอนุรักษปาในอเมริกา ในขณะที่มีการทําลายปาอยางมหาศาล สวนในประเทศไทย กอนที่จะมีอุทยานแหงชาตินั้น การจัดการ ปาไมมแี มแบบ หรือครู เปนอังกฤษ ซึง่ ครอบมาตัง้ แตยคุ ลาอาณานิคม แลว โดยตั้งกรมปาไมขึ้นมาเพื่อจัดการปาหรือ “ทําไม” มีหัวใจอยูที่ ใหไดเงินจากทรัพยากรไม โดยเฉพาะไมสัก ใหมากที่สุด เพราะมีปา ไมไมนอยกวาครึ่งของประเทศ สัตวปาชุกชุม ตํานานการลาสัตวมี ทั่วไป มีเสือกัดคนหลายแหงในประเทศไทย นํ้าทาอุดมสมบูรณ ใน นํ้ามีปลาในนามีขาว หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองเปนตนมา ปาไมเมืองไทยก็ วายวอดพรอมกับการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยม โดยเปลีย่ นเอาปา ทีอ่ ดุ มสมบูรณทสี่ ดุ ในโลกไปเปนไรมนั สําปะหลัง ปอ ฝาย และไรออ ย ในเวลาชัว่ พริบตาเดียว เพือ่ ทําเงินสรางกําไรเอามาพัฒนาประเทศภาย ใตคําขวัญ “งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข” เพราะคนแหกันไป แผวถางยึดครองพื้นที่ปา ตามเสนทางชักลากไมซึ่งมีอยูเกือบทุกปา เมือ่ มีการใหสมั ปทานทําไมทไี่ หน ปาก็มลายตามเสนทางชักลากไมนนั้ อุทยานแหงชาติในประเทศไทยก็ไดเกิดขึ้นมาในเวลาเดียวกับ การทําลายปาครั้งอภิมหามโหฬารนี้ ในขณะที่สถิติการขยายพื้นที่ เพาะปลูกพืชผลการเกษตรเพิ่มขึ้นในอัตราเดียวกับการดิ่งลงของ พื้นที่ปาไม

National Park Management in the Global Context Amnuay Intarak

GL28F-va.indd 59

ตอจากนัน้ มาเปนระยะสงครามเย็น ยุทธศาสตรของชาติไทยคือ การปลอยปละละเลยอยางจงใจ โดยอะลุมอลวยเอาใจประชาหนา หมอง เพื่อไมใหไปเปนพวกของคอมมิวนิสต ผลที่เกิดขึ้น ปาสมบูรณ ทัว่ ถิน่ ไทยมีผยู ดึ ครองเปนเจาของเกือบจะสิน้ เชิง แทบจะทุกหัวระแหง จากคนทุกระดับ การจัดการปาแบบอุทยานแหงชาติในระยะตัง้ ไขจงึ พบกับปญหา มากมาย ปญหาที่ดินสวนบุคคล หรือหนวยงานซอนทับกับปาเขาอยาง จัง การลักลอบทําไมเหมือนที่เคยทํามาตั้งแตบรรพบุรุษ จนเปน ปกติ วิ สั ย ไปแล ว และวั ฒ นธรรมการล า สั ต ว ป  า ก็ ยั ง เป น ไปแบบ

อุทยานแหงชาติทับลาน-ปายหยุดตรวจหนาอุทยานแหงชาติ ปายเอกลักษณของสถานที่ ราชการที่สะทอนภาพการจัดการพื้นที่ปาอนุรักษภายใตกฎหมายรัฐ Thap Lan National Park – A stop sign on the bar at the park entrance reflect the use of legal tools in the management of protected areas by the state.

hailand’s national park system has been in existence for nearly 50 years. If it were a man, it would have been an experienced and strong, young man. The system is a form of forest management. It was born out of an urgent need to preserve woodlands in the US at the time of massive deforestation. Prior to the adoption of the national park system, Thai forest management had followed in the footsteps of the British Empire in its colonial days. The Royal Forest Department was established primarily for “forestry” purposes with the aim of cashing in on the forest resource, specifically logging of teak wood, as half of the country then was blanketed by forests that were also rich in wild-

T

11/19/10 8:29 PM


60

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

อึกทึกครึกโครม จนมีเฮลิคอปเตอรตก เพราะขนซากกระทิงจากปา ทุงใหญนเรศวร ในจังหวัดกาญจนบุรี อันเปนฟางเสนสุดทายที่นําไป สูเหตุการณสิบสี่ตุลา วัตถุประสงคขอที่หนึ่ง ซึ่งเปนขอหลัก และสําคัญที่สุดของการ จัดการปาแบบอุทยานแหงชาติ คือ การคุมครองพื้นที่ธรรมชาติและ ทุกสิง่ ทุกชีวติ ในอุทยานฯ นัน้ มีกฎหมายอุทยานฯ เปนเครือ่ งมือ สํานึก ของเจาหนาที่ คือทําทุกวิถที างเพือ่ เอาปาใหอยู อยางอืน่ ยังไมตอ งพูด ถึง สํานึกนีท้ าํ ใหเกิดวัฒนธรรมการปฏิบตั ติ ามกฎหมายอยางเครงครัด ซึง่ ถูกถายแบบจากรุน สูร นุ มีอทุ ยานแหงชาติเขาใหญ โดยนายไพโรจน สุวรรณกร (อธิบดีกรมปาไมในขณะนั้น) เปนตนแบบ พอสิน้ สุดสงครามเย็น บานเมืองสงบ กระแสการอนุรกั ษปา ก็แรง ขึน้ ผูร บั ผิดชอบพูดถึงการปองกันทางออมมากขึน้ คือทําใหเยาวชนรัก ปา ดวยเหตุนั้น คายธรรมชาติศึกษาจึงเกิดขึ้นแทบทุกอุทยานฯ เพื่อ เผยแพรความรูแ ละปลูกฝงจิตสํานึกอนุรกั ษธรรมชาติ ซึง่ ไดดาํ เนินการ มาอยางกวางขวางและยาวนาน มีนกั เรียนนักศึกษาผานคายธรรมชาติ ศึกษานับแสนนับลาน การจัดฝกอบรมฝกฝนเจาหนาที่ทํางานคายศึกษาธรรมชาติ ของอุทยานฯ ทั่วประเทศนั้น เปนไปตามวัตถุประสงคขอ ที่สอง คือ เปนสถานศึกษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของนักเรียนนักศึกษาและ ประชาชนทัว่ ไป และสนับสนุนการคนควาศึกษาวิจยั ทางวิชาการตางๆ พรอมกับกระแสอนุรักษนั้น ความตองการเที่ยวปา อยากรูจัก อยากใกลชิดปา ก็เกิดขึ้นอยางกวางขวาง ปาเขตรอน ปาดงปาดํา ปา ลึกศึกใหญ ทุกถิ่นที่ทั่วไปใครๆ ก็อยากไปเที่ยว ทั้งไทยและเทศ ไป พักผอนหยอนใจ ไปพักคางแรมคืนในปาใหญ บานพักตามอุทยานฯ แนนเอียดเกือบตลอดป ใครๆ ก็อยากไปพัก แตไมรูจะจองบาน (ให ได) ไดอยางไร ระยะนี้การจัดการอุทยานฯ จึงมีโจทยใหญที่การบริการ ซึ่งเปน วัตถุประสงคขอที่สาม ตั้งแตวันนี้ไปการจัดการอุทยานแหงชาติก็นาจะขึ้นกับปจจัย ภายนอกอีกเชนเคย ที่เปนกระแสโลก ทั้งทางการอนุรักษ เชนโลก รอน ซึ่งนับวันที่จะรุนแรงยิ่งขึ้นๆ เปนตน กระแสการเที่ยวปาก็จะแรงขึ้น เพราะคนโหยหาธรรมชาติ อัน เนือ่ งมาจากความเครียด สับสน อึดอัด และรอนรุม เพราะปญหาจาก เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม และความตองการใชประโยชนจากปาเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ก็จะมากขึ้น เชน สารเคมีบางอยางในพืช ซึ่งจะเกิดการตื่นตัวก็ตอ เมื่อมีตางชาติจดสิทธิบัตรที่มีสารจากพืชพรรณเห็ดราในปาไทยเปน สวนผสม คลายกรณีเปลานอย และจะนําไปสูการศึกษาพื้นฐานทาง วิทยาศาสตร เพื่อใชทรัพยากรชีวภาพใหเกิดประโยชนสูงสุด ทั้ง ทางเศรษฐกิจและสังคม ตามแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ นิยามหรือความหมายที่แทจริงของ “การอนุรักษ” นั้น คือการ รักษาไวและใชใหเกิดประโยชนอยางชาญฉลาด ไดผลตอบแทนอยาง ยั่งยืนยาวนาน โดยไมทําใหทรัพยากรนั้นเสียหาย จะไดรับการพูดถึง และทบทวนมากขึ้น กระแสของโลกตองการยารักษาโรค ยาบํารุง และสารเคมี ชีวภาพ เพื่อการตางๆ มีสารอาหารและเครื่องสําอางเปนตัวอยาง สิทธิบัตรจะไดรับการพูดถึงอยางกวางขวาง กระแสนีน้ า จะฉุดดึงและหนุนสงใหเกิดการศึกษาวิจยั ได บทบาท

GL28F-va.indd 60

อุทยานแหงชาติถํ้าปลา-นํ้าตกผาเสื่อ-ขยะจากนักทองเที่ยวเปนปญหาใหญของ อุทยานฯ ที่หาทางแกไขไมได Tham Pla-Nam Tok Pha Sua National Park – Tourists-generated garbage is an unsolvable problem for national parks.

life. Hunting legends of man-eating tigers abounded. The country was known as the land of fish and rice. The end of Second World War saw the decimation of forests with the arrival of the capitalistic model of economic development as fertile forests were turned into tapioca, jute, cotton and sugarcane plantations. The government of the day’s motto was “Work is money and money is work and both bring happiness” as people scrambled to take over forest lands, clearing them of trees. Wherever logging concessions went, more forests along the transport routes fell by the wayside. The Thai national park system took root during this time of mega deforestation. The rate of agricultural area expansion rose as trees fell. Then came the Cold War. Thailand’s strategy then was that of deliberate negligence, allowing people to exploit forest lands to prevent them from being lured by Communism. The result was that almost every square meter of lush forests was claimed by people from all walks of life. The Thai national-park style of forest management in its infancy stage was dogged with many problems. Problems arose as forest lands gave way to both public and private concerns. Illegal and destructive logging practices became a norm and blatant wildlife poaching reached a climax with the discovery of gaur carcasses in a government helicopter which crashed as it left Thung Yai-Naresuan Wildlife Sanctuary in Kanchanaburi province. The incident was the last straw which gave rise to the student-led October 14 popular uprising which toppled the government of the day.

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

อุทยานแหงชาติเขาใหญ-ชาวตางชาติกําลังสนใจสินคาที่เธอซื้อมาจากรานขายของ ที่ระลึกในอุทยานฯ Khao Yai National Park – A foreign tourist examines a souvenir she just bought.

ของอุทยานแหงชาติกน็ าจะอํานวยความสะดวกเพือ่ ใหเกิดการศึกษา วิจัยมากขึ้น เพื่อใหไดประโยชนจากทรัพยากรอยางยั่งยืนที่แทจริง ตางไปจากแกวในมือลิง สําหรับการศึกษาวิจัยเพื่อการจัดการอุทยานแหงชาตินั้น ดู เหมือนเรื่องหลักนาจะเกี่ยวกับการจัดการทองเที่ยว เพราะขึ้นชื่อ วาการทองเที่ยวแลว มันจะตองเกี่ยวของกับคนจํานวนมากอยาง แนนอน และคนเหลานัน้ มีพนื้ ฐาน ความคิด คานิยม วัฒนธรรม ความ ตองการ เกี่ยวกับธรรมชาติปาไมตางกันไป และสิ่งที่มีอยูในธรรมชาตินั้น ก็เปนสิ่งที่คนตองการในรูปแบบ ตางๆ การเอาประโยชนจากปา เชน การลักของปาจะเกิดขึน้ อยางไมมี ทางหลีกเลีย่ งไปได เชน กลวยไมปา เฟน ไมผุ แมลง ผีเสือ้ สวยงาม นก เห็ด-รา พืชพรรณ และสัตวปาหายากหรือแปลก เปนตน การทําลายปาเปลี่ยนเนื้อหาหลักไป จากการทําลายเชิงปริมาณ มาเปนทําลายเชิงคุณภาพ เชน การกอเกิดขยะ การสรางถนน เปนตน แลวยังปญหาการทําลายธรรมชาติอยางไมรูตัว เชน การให อาหารลิงปา ซึ่งจะทําใหลิงปาเปลี่ยนพฤติกรรมไป หรือชางปา กวาง เขามาคุยหากินอาหารจากถังขยะ เปนตน สิ่งเหลานี้จะแกไขไดโดยมีพื้นฐานของขอมูล จากการศึกษา วิจัยทั้งสิ้น The first and foremost objective of forest management under the national park concept is to protect natural areas and all living creatures, with the National Park Act as a tool. Park officials’ mindset was to save forests first before all else, resulting in strict law enforcement, which was a legacy of Phairote Suwannakorn, former Royal Forest Department chief, who imposed the model on Khao Yai National Park. As peace prevailed following the end of the Cold War, forest conservation trend gained momentum. Prevention became a catchword. Youth nature study camps sprung up in all national parks to educate and instill environmental consciousness among millions of young people. With training programs offered to officials responsible for the study camps across the country, the second objective of forest management is met. That is forests serve as a classroom on nature and environment for students and the general public as well as support academic studies and researches.

61

September - December 2010

อุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร-นํ้าตกหวยแมขมิ้น-ปายหามทิ้งขยะหรือหามนํา ขยะยอยสลายยากเขามาในอุทยานฯ แทบจะไมมีความหมายถานักทองเที่ยวขาด จิตสํานึก Sri Nakarindra Dam National Park – A sign stands at the path to Huai Mae Khamin Fall warning visitors not to bring food and nondegradable containers into the fall. Signs like this are useless for tourists without environmental awareness.

จึงอาจสรุปไดวา การบริหารจัดการอุทยานแหงชาติที่ผาน มา ตามเหตุปจจัยเงื่อนไขกระแสนโยบายและแผนตางๆ นั้น ถือได วาประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค ซึ่งแตละพื้นที่อาจจะมีราย ละเอียดตางกันไปในระดับของวัตถุประสงค อนาคตนั้น เปนสิ่งที่จําเปนตองคาดการณใหถูกตอง กระแสโลก เชน โลกรอน วิบัติภัยจากธรรมชาติ เคมีชีวภาพ จะทําใหมีการพูดถึงปาธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การ เขาถึงทรัพยากร สิทธิบัตรมากขึ้น ตามขาวสารที่รับรูกันไดทั่วโลก และรวดเร็ว การจัดการอุทยานแหงชาติจะถูกกําหนดใหดําเนินการเกี่ยวกับ การปองกันรักษาของปา สัตวปา ที่เปนการทําลายปาเชิงคุณภาพ มากขึ้น ความตองการเทีย่ วปาทีม่ ากขึน้ ๆ จะกําหนดใหอทุ ยานแหงชาติ แตละพืน้ ทีส่ รุปบทเรียน และศึกษาวิจยั ประเด็นตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับการ ทองเทีย่ ว เพือ่ พัฒนาการบริหารจัดการอุทยานฯ ใหเปนไปดวยดี ไม นอยไปกวาผลงานทีผ่ า นมา เพราะประวัตศิ าสตรไดตงั้ มาตรฐานไวแลว บทบาทการเปนแหลงวัตถุดิบของการศึกษา หรือเปนหองสมุด ธรรมชาติ ควรที่จะไดขยายตัวกวางขวางยิ่งขึ้น การเผยแพรคุณคาปาจะเปนสิ่งหนึ่งที่ละเวนไมไดเลย ■

อุทยานแหงชาติเขาใหญ-เจาหนาที่อุทยานฯ พยายามเก็บกิ่งไมที่มีเห็ดแชมเปญมา วางไวริมทางเขานํ้าตกเหวนรกเพื่อใหนักทองเที่ยวไดชื่นชมงายๆ โดยไมตองเดิน ออกนอกเสนทาง Khao Yai National Park – A park official collect branches on which various kinds of mushrooms grow and place them by the path leading to Haew Narok Fall for tourists to admire without having to venture off the path.

สี่แยกไฟเขียว Green Intersection

GL28F-va.indd 61

11/19/10 8:29 PM


62

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ลําดับเหตุการณของการจัดการปาไมในประเทศไทย

Chronology of forest management in Thailand พ.ศ. 2383 ชาวจีน พมา และเงีย้ ว (ไทยใหญ) ขออนุญาตจากเจาผูค รองนครตางๆ ในหัวเมืองทางเหนือ ไดแก เชียงใหม ลําพูน และลําปาง ใหเขาไปตัดฟนไมสกั จากปา โดยเสียเงินคา “ตอไม” ใหแกเจาผูค รองนคร 1840 – Chinese, Burmese and Shan loggers obtain permission from rulers of northern provinces of Chiang Mai, Lamphun and Lampang to fell teak trees in exchange for “stump fees”.

พ.ศ. 2398 รัฐบาลไทยตกลงทําสนธิสญ ั ญาเบาวรงิ (Bowring Treaty) พมา เงีย้ ว และมอญเขามารวมดําเนินกิจการ ทําไมสกั มากขึน้

1855 – Thailand signs the Bowring Treaty. More Burmese, Shan and Mon loggers enter the business.

พ.ศ. 2407 บริษทั บริตชิ บอรเนียว (British Borneo Co., Ltd.) เริม่ เขามาดําเนินกิจการปาไม ในประเทศไทย 1864 – British Borneo Company begins logging operations in Thailand.

พ.ศ. 2426 รัฐบาลไทยเริม่ อนุญาตใหชาวยุโรปเขารับสัมปทานทําไมสกั ในประเทศไทยได

1883 – Thailand begins to grant teak logging concessions to European firms.

พ.ศ. 2428 พมาปดปาสัก เนือ่ งจากสภาพปาสักเสือ่ มโทรมจากการทําไมของบริษทั ตางชาติ ทําใหบริษทั ตางชาติเริม่ เขามาลงทุนทําไมสกั ในไทย เพิม่ ขึน้ การทําไมสกั จึงไดขยายออกไปถึงจังหวัดอืน่ ๆ ทีม่ ีไมสกั ดวย

1885 – Burma ends logging concession due to increasing deterioration of teak forests, leading to more foreign logging firms to set up operations in Thailand. Logging thus spreads to other teak-rich provinces.

พ.ศ. 2439 รัฐบาลจัดตัง้ กรมปาไมขนึ้ เพือ่ คุม ครองปาไม และจัดวางโครงการการจัดการปาไมตามหลักวิชาการทีถ่ กู ตอง

1896 – The government establishes the Royal Forest Department to protect and ensure technically appropriate management of Thai forests.

พ.ศ. 2440-2443 รัฐบาลโอนกรรมสิทธิพ์ นื้ ทีแ่ ละการอนุญาตใหสมั ปทานทําไมจากเจาเมืองตางๆ มาเปนสมบัตขิ องแผนดิน เพือ่ ดําเนินกิจการ ปาไมสกั เอง เริม่ ดวยโครงการตัดฟน 30 ป ใน พ.ศ. 2451 1897-1900 – The government takes over logging areas and authority to grant logging concessions from northern provincial rulers and begins its own logging operations starting with the 30-years’ logging project in 1908.

พ.ศ.2468 เริม่ มีการสํารวจพืน้ ทีเ่ พือ่ ตัง้ สวนรุกขชาติ วนอุทยาน และอุทยานแหงชาติขนึ้ โดยมีการจัดตัง้ ปาภูกระดึงขึน้ เปนวนอุทยานแหงแรก

1925 – Surveys of forest areas to be sites of arboretums, forest parks and national parks, leading to the Phu Kradung forest becoming the first forest park.

พ.ศ. 2484 ระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลไทยไดเพิกถอนสัมปทานการทําไมสักจากบริษัทอังกฤษ และจัดตั้งบริษัทไม ไทย จํากัดขึ้นรับชวง การทําไมแทน 1941 – As World War II rages on, the Thai government revokes concessions granted to British firms and sets up Thai Wood Company to take over the concessions.

พ.ศ. 2489 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลคืนสัมปทานปาสักใหแกบริษัททําไมตางๆ ที่ยึดคืนมา และไดจัดตั้งองคการอุตสาหกรรมปาไม (อ.อ.ป.) ขึ้นแทนบริษัทไม ไทยจํากัด ใน พ.ศ. 2490 เพื่อดําเนินกิจการดานปาไม ใหแกรัฐบาล 1946 – The end of World War II sees the Thai government returning concessions to the original foreign concessionaires and setting up the Forest Industry Organization (FIO) to take over operation of the Thai Wood Company.

พ.ศ. 2497-2498 สัมปทานปาสักของบริษัทตางๆ สิ้นสุดลง และไมไดรับตอสัญญา รัฐบาลไดจัดตั้งบริษัทปาไมรวมทุนขึ้น โดยรวมทุนจาก บริษัททําไมที่หมดสัมปทานทั้ง 5 บริษัทเขาดวยกัน โดยรัฐบาลไทยถือหุนรอยละ 20 นอกจากนี้ยังไดจัดตั้งบริษัทปาไมจังหวัดขึ้นเพื่อรับทําไม ใน ทองที่จังหวัดนั้นๆ 1954-1955 – Foreign firms’ concessions expire and fail to win renewal. The government sets up a joint venture with five firms whose concessions have expired with the government taking a 20% holding. It also sets up provincial logging firms to operate concessions in their respective provinces.

พ.ศ. 2503 รัฐบาลมอบให อ.อ.ป. เปนผูดําเนินกิจการทําไมสักทั้งหมดในแปลงสัมปทานที่หมดอายุลง

1960 – The government empowers the FIO as the sole operator in areas where concessions have expired.

พ.ศ. 2503 มีพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา 1960 – The Wildlife Protection Act is promulgated. พ.ศ. 2504 มีพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ ประเทศไทยมีพื้นที่ปาประมาณ 171 ลานไร หรือรอยละ 53.3 ของพื้นที่ประเทศ มีการประกาศ ใหผืนปาขนาดใหญ เชนปาเขาใหญ เปนอุทยานแหงชาติ ปาสลักพระ จังหวัดกาญจนบุรี เปนเขตรักษาพันธุสัตวปา รวมทั้งผืนปาอีกหลายแหงให เปนพื้นที่อนุรักษตามกฎหมายนี้ 1961 – The National Park Act is promulgated. Forest areas cover 171 million rai or 53.3% of the country’s area. Many large forest areas are declared national parks such as Khao Yai and wildlife sanctuaries such as Salak Phra in Kanchanaburi. Many other areas are declared protected areas under this Act.

พ.ศ. 2532 ยกเลิกสัมปทานการทําไม หรือ ปดปาทั้งหมด ประเทศไทยเหลือพื้นที่ปาประมาณ 90 ลานไร หรือรอยละ 27.95 ของพื้นที่ประเทศ 1989 – All logging concessions are revoked. Forest areas stand at 90 million rai or 27.95% of the country’s area.

พ.ศ. 2532 เกิดแนวทางดําเนินการจัดการทรัพยากรปาไมที่สงเสริมแนวคิดให “คนอยูรวมกับปา” ได จนมีการเรียกรองใหตราพระราชบัญญัติ ปาชุมชนขึ้น เนนการใหชุมชนเปนผูดูแลปองกันและใชประโยชนจากปา เพื่อสรางจิตสํานึกของความรักและหวงแหนปา

1989 – Debate rages on about a new model of forest management which promotes the idea that man can co-exist with the forest. This leads to a campaign to pass a community forest bill which will enable communities to help protect and preserve as well as make use of forests as a way to instill a sense of love and ownership of the forests.

พ.ศ. 2537 รัฐบาลเริ่มนโยบายการปลูกปา 1994 – The government starts implementing its reforestation policy. พ.ศ. 2547 ประเทศไทยมีพื้นที่ปาประมาณ 104.74 ลานไร หรือรอยละ 32.66 ของพื้นที่ประเทศ 2004 – Thailand has 104.74 million rai of forest areas or 32.66% of the country’s area.

GL28F-va.indd 62

11/20/10 12:54 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

63

September - December 2010

Regarding studies on national park management, it appears that the main topic should focus on tourism management because it involves a large number of people who have different backgrounds, ideas, values, cultural upbringing and needs for nature. And in Nature are a variety of things that people want. So forest exploitation, including poaching of rare or unique wild orchids, ferns, old timbers, insects, butterflies, birds, mushrooms, fungi, plants and rare wildlife, is inevitable. But deforestation has shifted from quantitative destruction to qualitative destruction, such as garbage generation and road construction. This is not to mention threats from our negligence, such as feeding wild monkeys which leads to alteration of their behaviors or allowing wild elephants and deer to raid garbage bins. These problems can be solved with researches and studies. อุทยานแหงชาติเขาใหญ-ผีเสื้อกําลังกลุมรุมอยูกับกระดาษชําระที่นักทองเที่ยวทิ้ง ไวริมนํ้าตกกองแกว Khao Yai National Park – A group of butterflies are attracted to a piece of used tissue paper at Kong Kaew Fall.

Thai and foreigners inspired by conservation trend were eager to explore and spend time in forests. All types of forests have become objects of desire. Park accommodations were usually fully booked throughout the year. Service and recreation, the third objective, thus became a main concern for national parks. From now on, forest management will be influenced by external and even global factors. Global warming in particular is becoming an increasingly important issue. Forest visitation trend will rise as people increasingly long to get in touch with Nature as a relief from stress and chaos of modern life full of economic, social and environmental problems. At the same time, forest exploitation will also increase to make use of biological resources for social and economic development as outlined in the national economic and social development plan. Interests in the beneficial properties of plants have recently been heightened after some foreign concerns successfully patented products with ingredients derived from plants, mushrooms and fungi in Thai forests. This development, however, should lead to increased learning of basic science. The true definition of “conservation” as the preservation and wise use of natural resources for sustainable benefits without damaging them will be more widely discussed and contemplated. As global demand for organic medicine, nutritional supplements and chemicals grows, interest and competition over patents for them will also grow in scope and intensity. National parks could play a role in facilitating extensive researches and studies to ensure that natural resources yield sustainable benefits.

เห็ดถวย พบเห็นไดทั่วไปในผืนปาของอุทยานแหงชาติ Pink burn cup mushrooms can be seen in many national parks.

It may be said, then, that national park management had in the past achieved set objectives in accordance with prevailing policies and plans although achievement at each park varies in details. As for the future, accurate anticipation is needed. Global trends, such as global warming, natural disasters and biochemical technology will turn spotlight on natural forests, biodiversity and access to bio-resources and patents. National park management will be geared more toward protection of forest resources and wildlife which are subjects of qualitative destruction. Popular demands for forest tours will prompt each national park to learn from past lessons and conduct tourism-related studies in order to improve management above the standard set in the past. The role of forests as outdoor classrooms or libraries should be emphasized because cementing and spreading the foundation of forest appreciation cannot be overlooked. ■

สี่แยกไฟเขียว Green Intersection

GL28F-va.indd 63

11/19/10 8:29 PM


ขามฟา ACROSS THE SKY

64

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

อุทยานแหงชาติทางทะเล บูนาเกน: เมื่อรัฐและประชาชน

รวมดวยชวยกัน วสันต เตชะวงศธรรม

มุมหนึ่งของอุทยานแหงชาติทางทะเลบูนาเกน A view of Bunaken Marine National Park.

GL28F-va.indd 64

11/19/10 8:29 PM


Bunaken National Marine Park: When the State and the Public Join Hands Wasant Techawongtham

GL28F-va.indd 65

หลายๆ คนอาจจะไมรูจักอินโดนีเซียมากไป กวาที่วาประเทศนี้เปนเพื่อนบานของไทยใน แถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต บางคน อาจจะรูเพิ่มไปอีกนิดวาเปนประเทศที่มีเกาะ มากมาย (17,508 เกาะ) แตเหตุการณเมื่อ 6 ปกอนนาจะทําใหชื่อ ประเทศอินโดนีเซียเปนที่รูจักของคนไทยโดย ไมรูลืม นั่นคือ คลื่นสึนามิที่โหมกระหนํ่าทะเล อันดามันและมหาสมุทรอินเดียเมื่อวันหลัง คริสตมาสของป พ.ศ. 2547 อันมีสาเหตุจาก แผนดินไหวรุนแรงใตทะเลทีเ่ กาะสุมาตรา จนมี ผูเสียชีวิตกวา 230,000 คนใน 14 ประเทศ อินโดนีเซียเปนประเทศที่กวางใหญไพศาล มีประชากรถึง 230 ลานคน มากเปนอันดับ สีข่ องโลก นอกจากนัน้ ยังอุดมสมบูรณดว ย ทรัพยากรธรรมชาติที่นาอัศจรรยมากมาย

any people may not know Indonesia more than that it is Thailand’s neighbor in Southeast Asia. Others may know a bit more that this country has many islands, 17,508 to be exact. But a phenomenon six years ago has stamped Indonesia in our collective memory. What has become known as the 2004 Boxer Day tsunami triggered by a massive undersea quake in Sumatra swept over the Andaman Sea and the Indian Ocean, killing more than 230,000 people in 14 countries. With a population of around 230 million people, Indonesia is the world’s fourth most populous country and has a great wealth of natural resources. Although Indonesia covers only 1.3% of Earth’s land surface, this island nation is home to 10% of Earth’s flora species, 12% of global mammal species, 25% of global reptile and amphibian species, 17% of global bird species and over 25% of global fish species. The many islands contribute to Indonesia’s 81,000 kilometers of coastline and 18% of the world’s coral reefs. Relatively new to the concept of natural conservation, the country has 50 national parks including only nine national marine parks, compared with 148 national parks including 26 national marine parks in Thailand.

M

11/19/10 8:29 PM


66

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ชาวบานและนักทองเที่ยวลงจากเรือที่เกาะบูนาเกน Local residents and tourists disembark at Bunaken from a boat that take them from Manado.

BRUNEI

MALAYSIA SINGAPORE

แมจะมีพื้นที่เพียง 1.3% ของโลก แตประเทศนี้มีพันธุไมดอกถึง 10% พันธุส ตั วเลีย้ งลูกดวยนม 12% พันธุส ตั วเลือ้ ยคลานและสะเทิน นํ้าสะเทินบกถึง 25% พันธุนก 17% และมากกวา 25% ของพันธุ ปลาบนโลกนี้ ความที่มีเกาะมากมายทําใหอินโดนีเซียมีชายฝงทะเล ยาวรวมกันถึง 81,000 กม. และ 18% ของปะการังทั้งหมดของโลก แต ด  ว ยสาเหตุ ที่ อิ น โดนี เซี ย เพิ่ ง ตื่ น ตั ว ในเรื่ อ งการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติไดไมนานนัก จึงมีอุทยานแหงชาติเพียง 50 แหง รวมทั้งอุทยานแหงชาติทางทะเลเพียง 9 แหงเทานั้น ในขณะที่ไทยมี อุทยานแหงชาติทั้งหมด 148 แหง รวมทั้งอุทยานแหงชาติทางทะเล 26 แหง อยางไรก็ตาม ความตืน่ ตัวของกระแสอนุรกั ษในอินโดนีเซียกําลัง เพิม่ มากขึน้ อยางรวดเร็ว โดยเฉพาะดานการจัดการอุทยานแหงชาติ ดู เหมือนอินโดนีเซียไดกาวลํ้านําหนาประเทศไทยไปแลว บางอุทยาน เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการวางแผน และรวมบริหาร จัดการโดยตรงอีกดวย แหงหนึ่งในนั้นคืออุทยานแหงชาติบูนาเกน (Bunaken) บน เกาะสุลาเวสี (Sulawesi) ซึ่งกอตั้งขึ้นเปนอุทยานแหงชาติทางทะเล แหงแรกของประเทศเมื่อป พ.ศ. 2534 อุทยานนี้กินเนื้อที่ 89,000 เฮกตาร (556,000 ไร) ที่มีความอุดมสมบูรณสูง การสํารวจทะเลพบ

GL28F-va.indd 66

Sumatra

MALAYSIA

Kalimantan

Bunaken

Manado

Sulawesi

Jakarta I N D O N E S I A EAST TIMOR

Java Bali

วามีพันธุปะการังอยูประมาณ 400 ชนิดและปลาปะการังกวา 1,000 ชนิด ดานสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจนั้นมีสวนคลายคลึงกับไทย มากทีเดียว ประชากรกวา 30,000 คนบนเกาะนี้สวนใหญยากจน มีอาชีพทําเกษตรและประมง และอาศัยอยูในเขตอุทยานโดยไมมี กรรมสิทธิ์ในที่ดิน ขณะเดียวกัน ความอุดมสมบูรณและความสวยงามของทะเล ทําใหอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเติบโตขึ้นเรื่อยๆ ในชวงตนของการกอตั้งอุทยาน กระทรวงการปาไม ซึ่งดูแล อุทยานแหงชาติ จัดงบประมาณใหนอยมาก เจาหนาที่อุทยานขาด การอบรม ขาดอุปกรณที่เพียงพอ และสําคัญที่สุดคือขาดกําลังใจ ทําใหอุทยานอยูในสภาพที่เรียกไดวาแทบจะไมมีการจัดการเลย โดย เฉพาะอยางยิง่ ไมมกี ารปฏิสมั พันธใดๆ ระหวางเจาหนาทีก่ บั ภาคสวน อื่นๆ ของสังคมในพื้นที่

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553 However, natural conservation awareness has quickly built up. Indonesia has already left Thailand behind when it comes to national park management with some parks open for public participation in direct planning and management. Bunaken National Park on Sulawesi Island was formally established in 1991 and is among the first of Indonesia’s growing system of marine parks. The park covers a total surface area of 89,000 hectares (or 556,000 rai), which harbors a highly diverse ecosystem, including some 400 coral species and 1,000 fish species. On social and economic front, the park provides livelihood to a population of about 30,000 people who, similar to their Thai counterparts, are mostly poor farmers and fishermen without land ownership. Meanwhile, the pristine and beautiful sea is a key driver of the growing tourism industry. At the outset, the park under the care of the Ministry of Forestry was short on budget, trained staff, equipment and most importantly morale. The park had been poorly managed, and the worst part was there was practically no communications between park officials and local stakeholders. The park’s management hit rock bottom in 1997 during the global financial meltdown. Its already low budget was slashed down even further while the government added another pressure by declaring the park an

67

September - december 2010

“independent management unit” under its decentralization plan. The park was in dire need of extra budget for infrastructure development and equipment procurement, apart from normal operation expenses. Meanwhile, the local stakeholders felt disconcerted with the situation. The local administrative agencies refused to shoulder the burden of managing the degraded and budget-stricken park. The villagers were fearful of being evicted. Tourism operators were concerned about ongoing marine resource degradation due to tourist activities and destructive fishing methods such as use of explosives and cyanide. Fortunately, the US Agency for International Development (USAID) had stepped in to spearhead collaboration among tourism operators, non-governmental organizations (NGOs) and the locals as the only means to bring the park back on track. Thus, a network of local groups was formed. The aim was to form a board to take over park administration from the Department of Forest Protection and Nature Conservation. Success would turn a new page in administration framework in so far as public participation goes. The path to participatory management was strewn with obstacles, however. Tourism operators who were by nature competitors needed a middleman to steer them toward shared goals and benefits and away from com-

ชุมชนบนฝงเมืองมานาโด ในจังหวัดสุลาเวสีเหนือ ที่นักทองเที่ยวขึ้นเรือไปบูนาเกน A coastal community in Manado, capital of North Sulawesi province, where tourists board boats to Bunaken.

ขามฟา Across the Sky

GL28F-va.indd 67

11/20/10 2:29 AM


68

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

…ทุกวันนี้รัฐบาลอินโดนีเซียไดยอมรับบูนาเกนเปนตนแบบหนึ่งในการ บริหารจัดการอุทยาน แตความจริงก็คือวาการปฏิรูปการบริหาร จัดการอุทยานจะสําเร็จไมไดเลยหากภาครัฐขาดความความจริงใจใน การกระจายอํานาจการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ใหกับทองถิ่น… การจัดการอุทยานบูนาเกนตกตํ่าถึงขีดสุดชวงป พ.ศ. 2540 ซึ่ง เปนชวงที่โลกประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจครั้งรุนแรง งบประมาณที่ นอยอยูแลวยิ่งถูกลดทอนไปอีก ในขณะเดียวกัน รัฐบาลก็ประกาศให อุทยานแหงชาติบนู าเกนเปน “หนวยจัดการอิสระ” ตามแผนกระจาย อํานาจ ซึ่งหมายความวาอุทยานจําตองมีงบประมาณเพิ่มเพื่อพัฒนา โครงสรางพืน้ ฐานและซือ้ อุปกรณตา งๆ นอกเหนือไปจากคาใชจา ยใน การปฏิบัติงานตามปกติทั่วไป ระหวางนี้กลุมตางๆ ในพื้นที่ตางรูสึกอึดอัดคับของใจกับสภาพ การณที่เกิดขึ้น องคกรปกครองสวนทองถิ่นตางปฏิเสธที่จะรับภาระ การจัดการอุทยานทีอ่ ยูใ นสภาพเสือ่ มโทรมและขาดงบประมาณ ชาว บานรูสึกไมมั่นคงเพราะไมแนใจวาทางการจะขับไลออกจากที่ดินทํา กินหรือไมและเมือ่ ไร สวนผูป ระกอบการทองเทีย่ วก็เปนหวงสภาพของ ทรัพยากรในทะเลทีถ่ กู ทําลายไปเรือ่ ยๆ ทัง้ จากกิจกรรมการทองเทีย่ ว เองและการจับปลาดวยวิธีทําลายลาง เชน การใชระเบิดหรือยาเบื่อ โชคดี ที่ ไ ด อ งค ก รเพื่ อ การพั ฒ นาระหว า งประเทศของ สหรัฐอเมริกา (USAID) ชวยสนับสนุนใหประชาชนกลุมตางๆ ทั้ง ผูประกอบการการทองเที่ยว กลุมองคกรพัฒนาเอกชน (เอ็นจีโอ) และกลุมชาวบานใหรวมตัวกัน ดวยเล็งเห็นวามีแตการรวมมือของ ประชาชนในพื้นที่เทานั้นที่จะชวยจัดการอุทยานใหฝาพนความ เสื่อมโทรมไปได ในที่สุดก็เกิดการรวมกลุมผูประกอบการทองเที่ยว และเครือขายของชาวบานขึ้นมา จุดหมายปลายทางของการรวมตัวของกลุม ตางๆ นัน้ อยูท กี่ ารตัง้ คณะกรรมการที่จะทําหนาที่บริหารจัดการอุทยานแทนกรมอนุรักษ ธรรมชาติและปองกันปาไม ซึ่งหากสําเร็จก็จะนับไดวาเปนการพลิก ประวัติศาสตรในการมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารราชการ แผนดินเลยทีเดียว แตกวาจะไปถึงจุดหมายปลายทางนั้นได ก็ตองผานอุปสรรค มากมาย เริ่มตั้งแตการรวมตัวของแตละกลุม ผูประกอบการการทอง เที่ยว ซึ่งโดยธรรมชาติของการทําธุรกิจ ก็เปนคูแขงขันกันเองอยูแลว ดังนั้นการรวมกลุมจึงตองอาศัยคนกลางที่คอยชักจูงใหสมาชิกมอง เปาหมายและผลประโยชนรวม แทนที่จะมุงมองแตเรื่องการแขงขัน ในเชิงธุรกิจ กลุมชาวบานเองนั้นก็มักถูกรองเรียนวาไมไดเปนตัวแทน ของชาวบานทั้งหมด ในขณะที่กลุมเอ็นจีโอก็มีแนวโนมไมวางใจการ ทํางานกับภาครัฐ แมวาวิกฤตเศรษฐกิจโลกชวงเวลานั้นจะทําใหรัฐบาลขาดงบ ประมาณสําหรับการอนุรักษในขณะที่การทําลายลางทรัพยากรเพิ่ม ขึ้น แตในอีกดานหนึ่งก็นําไปสูการปฏิรูปการเมืองครั้งใหญ รวมทั้ง การกระจายอํานาจการบริหารจัดการและทางการเงินลงไปสูทองถิ่น ซึ่งทั้งหมดเอื้อใหประชาชนมีการรวมตัวเขมแข็งยิ่งขึ้น ในที่สุด องคกรประชาชนภาคสวนตางๆ ก็ฟนฝาอุปสรรค สําเร็จจนสามารถเจรจากับกรมอนุรักษธรรมชาติและปองกันปาไม

GL28F-va.indd 68

ไดอยางเสมอภาค และกอตัง้ “คณะกรรมการจัดการอุทยานแหงชาติ บูนาเกน” ขึน้ โดยมีกรรมการ 15 คนจากกลุม ชาวบาน กลุม ผูป ระกอบ การ ภาครัฐทั้งจากสวนกลางและสวนทองถิ่น และกลุมเอ็นจีโอ ทั้งนี้ กลุมชาวบานมีตัวแทนเปนกรรมการถึงหาคนหรือหนึ่งในสามของ จํานวนกรรมการทัง้ หมด ดวยทุกฝายเห็นพองกันวาความรวมมือจาก ชาวบานจะเปนแรงสําคัญใหแนวคิดบริหารจัดการแบบใหมประสบ ความสําเร็จ ดังนั้นจึงควรไดรับแรงจูงใจใหเขามามีสวนรวมมากที่สุด ภาระกิจแรกของคณะกรรมการชุดนี้คือการกําหนดการจัดเก็บ คาธรรมเนียมอุทยานที่แตกตางไปจากอุทยานภายใตความควบคุม ของรัฐ เพื่อเปนคาใชจายในการบํารุงรักษาอุทยานและอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ คณะกรรมการประสบความสําเร็จในการเจรจา กับภาครัฐในการแบงรายไดจากคาธรรมเนียมนี้ โดย 80% ของราย ไดจะเปนสวนของอุทยานเอง ที่เหลือ 20% แบงกันระหวางภาครัฐ ในสวนกลางและสวนทองถิ่น ค า ธรรมเนี ย มที่ จั ด เก็ บ ได ทํ า ให ก ารอนุ รั ก ษ แ ละปกป อ ง ทรัพยากรธรรมชาติมีประสิทธิภาพมากขึ้น ชวยใหมีการจัดตั้งฝาย ลาดตระเวณทางทะเลเพื่อปองกันการจับปลาดวยเครื่องมือทําลาย ลาง โดยไดรบั ความสนับสนุนอยางเต็มทีจ่ ากผูป ระกอบการทองเทีย่ ว และภาครัฐ อีกภาระกิจหลักของคณะกรรมการคือการจัดโซนอุทยาน เพื่อ ใหการอนุรักษและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติเปนไปอยาง สมดุลและยั่งยืน ทุกวันนีร้ ฐั บาลอินโดนีเซียไดยอมรับบูนาเกนเปนตนแบบหนึง่ ใน การบริหารจัดการอุทยาน แตความจริงก็คือวาการปฏิรูปการบริหาร จัดการอุทยานจะสําเร็จไมไดเลยหากภาครัฐขาดความความจริงใจ ในการกระจายอํานาจการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหกับทองถิ่น และไมใจกวางพอที่จะรับฟงความคิดเห็นของกลุมประชาชนและให บทบาทในการรวมบริหารจัดการอยางเสมอภาค องคกรประชาชนเองนั้นก็ตองสรางความเขมแข็งใหตัวเองเพื่อ สรางศักยภาพใหเปนทีไ่ ววางใจวาจะสามารถรับภาระกิจทีส่ าํ คัญนีไ้ ด ขณะเดียวกันผูเ กีย่ วของตองใหคณ ุ คาทางนิเวศ สังคมและเศรษฐกิจที่ สมดุล เพื่อดึงกําลังจากทุกกลุมเหลาของสังคมมารวมในงานอนุรักษ แตแรงขับเคลือ่ นสําคัญทีจ่ ะทําใหการบริหารจัดการรวมระหวาง รัฐและประชาชนยั่งยืนไดอยูที่กลไกในการสรางรายไดใหกับทองถิ่น ซึ่งจะทําใหผูมีสวนไดเสียสามารถดําเนินโครงการเพื่อการอนุรักษได นักทองเทีย่ วเองยินดีจา ยคาธรรมเนียมทีส่ งู ขึน้ เมือ่ ไดเห็นวาเงินทีจ่ า ย ไปถูกนําไปใชในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอยางแทจริง ความสํ า เร็ จ ของอุ ท ยานแห ง ชาติ บู น าเกนได รั บ การยกย อ ง สรรเสริญจากองคกรนานาชาติหลายตอหลายแหง คําถามที่ตามมา คือ แลวไทยเราพรอมหรือยังที่จะใหโอกาสกับประชาชนรวมบริหาร จัดการพื้นที่อนุรักษของเราอยางแทจริง ■

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

69

September - December 2010

ชายหนุมกับหญิงสาวถายรูปหนารีสอรทแหงหนึ่งบนเกาะบูนาเกน A young couple have their photo taken in front of a holiday resort in Bunaken Island.

petitive focus. The local villagers group was seen as not representing the entire local population while the NGOs found it hard to trust government agencies. While the global economic crisis at the time shrank conservation budget just as natural resource destruction was on the rise, the crisis did lead to political reform and decentralization of administration and finance which were a catalyst to the strengthening of the civil sector.

fees, quite different from other state-controlled parks, which would fund park maintenance and conservation programs. The board was able to convince the state agencies to allow it to keep 80% of the entrance fee revenues while the central and local government bodies shared the reminder. The entrance revenues have helped strengthen natural conservation and protection efforts. A joint patrol team, fully backed by tourism operators and the public sector, led to significant reduction in destructive fishing practices. Another mission of the board was to zone the park for balanced and sustainable conservation and use of natural resources. The Indonesian government has since recognized Bunaken as a model for park management. The fact is the new management framework could not have succeeded were the government not sincere in decentralizing power of natural resources management, listening to local input, and entrusting the locals with equal partnership in management. At the same time, the people’s sector must build up its own capacity to assume this responsibility. A balance

...The Indonesian government has since recognized Bunaken as a model for park management. The fact is the new management framework could not have succeeded were the government not sincere in decentralizing power of natural resources management, listening to local input, and entrusting the locals with equal partnership in management... In the end, all hurdles were crossed and the civic network was able to negotiate with the Department of Forest Protection and Nature Conservation on an equal basis, leading to the establishment of the “Bunaken National Park Management Advisory Board”. The 15-man board represented local communities, entrepreneurs, central and local authorities and NGOs. Five locals’ representatives sat on the board, representing a full one-third of the body as it was agreed that the success of the new collaborative administration framework depended upon garnering the support and participation of local villagers. The board’s first mission is to fix its own entrance

must also be struck in terms of ecological, social and economic valuation of natural resources. This is necessary so that all societal groups could be induced to take part in conservation endeavors. The Bunaken entrance fee system has guaranteed sustainable joint public and private sectors’ management. Tourists have no reservation to paying higher entrance fees when they see that the money goes directly toward preserving natural resources they come to enjoy. Bunaken National Park’s success story has been praised by many international organizations. The question is whether Thailand is ready for such transition to collaborative management. ■

ขามฟา Across the Sky

GL28F-va.indd 69

11/19/10 8:29 PM


มหิงสานอย LITTLE MAHINGSA

70

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

นักสืบมหิงสา จากโรงเรียนบุงคลานคร กําลังเรียนรูธรรมชาติในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว Young Mahingsa detectives of Bung Khla Nakhon School take a field trip to learn about nature in Phu Wua Wildlife Sanctuary.

มัคคุเทศกนอย แหงภูวัว เรื่อง/ภาพ วิษณุ สุดาทิพย ครูชํานาญการ /โรงเรียนบุงคลานคร ธรรมชาติเปรียบเสมือนหนังสือเลมใหญที่มีเรื่อง ราวความหลากหลายและความสัมพันธของสรรพ ชีวิตตางๆ บนโลก ใหทุกคนไดคนพบคนหาและ เรียนรูอ ยางไมมที สี่ นิ้ สุด หองเรียนสําหรับเยาวชน จึงไมไดจํากัดอยูเฉพาะหองสี่เหลี่ยมในโรงเรียน เทานั้น หากแตคือโลกกวางรอบตัว โรงเรียนบุงคลานคร อําเภอบุงคลา จังหวัดหนองคาย เปน โรงเรียนขนาดกลางมีนักเรียน 7,658 คน ครู 33 คน ดูแลวการ เรียนการสอนก็คงไมแตกตางไปจากโรงเรียนอืน่ ๆ เทาไรนัก แมวา

GL28F-va.indd 70

โรงเรียนจะอยูไกลจากตัวจังหวัดกวา 180 กิโลเมตร แตความหาง ไกลไมไดเปนอุปสรรคกับการเรียนในโลกยุคปจจุบันเลย การเรียนการสอนของทุกโรงเรียนกาวหนาขึน้ มากเพราะระบบ การสื่อสารที่ไรพรมแดน แตสิ่งหนึ่งที่เราไดพัฒนาขึ้นในโรงเรียน ของเรา คือการที่เราไดใชธรรมชาติเปนครู ซึ่งเกิดจากการจัดการ ศึกษาที่เรียกวา “โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ ยัง่ ยืน” เปนการตอบโจทยปญ  หาของนักการศึกษาอีกรูปแบบทีน่ า จะเกิดขึ้นกับประเทศไทยที่สวนใหญยังคงเรียกรองเอามาตรฐาน กลางทุกอยางใหเหมือนกันหมด เพือ่ การกระจายอํานาจแบบไทยๆ ใหคนยุคใหมมีสวนรวม

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

71

September - December 2010

Junior Guides of Phu Wua Story/Photos by Wissanu Sudathip Expert Teacher at Bung Khla Nakhon School

Nature is like a thick book that tells story of diversity and relationship of living creatures on Earth for everyone to seek and learn endlessly. Class room for youth is in fact not limited by a square room at school but in the wide world outside.

Bung Khla Nakhon School, situated in Bung Khla district, Nong Khai Province, is a mediumsized school comprising 7,658 students and 33 teachers. Learning modules here are no different from that of other schools. Though it is located 180 kilometers from the provincial town, distance is not a barrier for learning in the current world. Education in every school now is more advanced

มหิงสานอย Little Mahingsa

GL28F-va.indd 71

11/19/10 8:29 PM


72

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

เริ่มตนจากการที่เราไดรับการคัดเลือกใหเขาเปนศูนยสิ่ง แวดลอมจังหวัดหนองคาย โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม และจัดทําโครงการมหิงสาสายสืบ หลังจากนั้นมีการเปดอบรม นักเรียนทีม่ คี วามสนใจในเรือ่ งของธรรมชาติ และคัดเลือกนักเรียน 8 คน มาเปนแกนนําในการศึกษาตามกระบวนการมหิงสาสายสืบ เราไดรวมคิดรวมทํารวมกิจกรรม รวมแกไขปญหา ผานกาลเวลา หนึ่งปไดสรุปบทเรียนขึ้นเปนขั้นตอนดังตอไปนี้ 1 ขั้นคนหา เราไดเลือกเอาเขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัวเปน สถานที่ในการศึกษา 2 ขั้นการสํารวจ เราไดใชบทปฎิบัติการเรียนรูการอนุรักษ ธรรมชาติเปนเครื่องมือ 3 ขั้นอนุรักษ เราไดจัดทําโครงการมัคคุเทศกนอยภูวัวเปน โครงการหลักในการทํางานอนุรักษ 4 ขั้นแบงบัน เราไดจัดทํานิทรรศการในการเผยแพรการ ทํางานของเราในกิจกรรมตางๆ ของโรงเรียนและชุมชน โดย นักเรียนยังมีโอกาสไดเปนวิทยากรรวมกับเจาหนาทีเ่ ขตรักษาพันธุ สัตวปาภูวัวดวย บทปฏิบัติการที่มุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูความเปนหนึ่ง เดียวกันในโลก ณ เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว เราไดพบกับกิ้งกา ภูวัว และสิรินธรวัลลี ที่เปนพืชพันธุใหมของโลก และมีสรรพคุณ ทางยาสมุนไพร ทั้งสองสิ่งที่เราไดคนหา คนพบ อนุรักษ และแบงปน ทําให นักเรียนของเราไดรูจักทรัพยากรที่มีคาในทองถิ่นของตนเอง และ เกิดความภาคภูมใิ จในทองถิน่ ของตนเองอยางไมเคยเปนมากอน...

GL28F-va.indd 72

than before due to communication without border. Yet a new progress in our school is to have Nature as a teacher by developing what we call “environmental education for sustainable development”. It is considered a learning alternative to serve students as a Thai-style decentralization model to allow the young generation an opportunity for participation. It should be available in Thailand where most people still demand standardized education. It started after we were selected by the Department of Environmental Quality Promotion to be an environmental education center of Nong Khai Province and to launch the Mahingsa Detectives Project. We provided training to students interested in Nature and eight students were chosen as leaders in the learning process of the Mahingsa Detectives Project. After one year of collaborative activities, we have concluded our learning efforts as follows: 1. DISCOVER. We have selected Phu Wua Wildlife Sanctuary as our learning place. 2. EXPLORE. We have used learning activities to explore plants and wildlife and their connection. 3. CONSERVE. We have initiated Phu Wua Little Guide Project in our conservation work. 4. SHARE. We have organized various exhibitions to disseminate the results of our school and community activities as well as provided students opportunities to be co-guides with Phu Wua Wildlife Sanctuary officials. Based on action-oriented learning, students learn how to co-exist with all living things on Earth at Phu Wua Wildlife Sanctuary where they have seen Phu Wua lizard (Ptyctolaemus phuwuaensis) and Sirindhorn Valley (Bauhinia sirindhorniae K. & S. S. Larsencattle), a new plant species with herbal medicinal properties. These two things we have sought, found, conserved and shared help our students to appreciate the precious resources available on their native soil and make them proud of their own locality more than ever.

11/20/10 1:01 AM


กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

73

กิจกรรมกรม

Activities of the Department

ปาใหญ คายลูกเสือ Scout Camps in the Big Woods GL28F-va.indd 73

11/19/10 8:29 PM


74

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ถ า สามารถเลื อ กห อ งเรี ย นธรรมชาติ ที่ เ พี ย บ พร อ มที่ สุ ด ได อุ ท ยานแห ง ชาติ ควรจะเป น หองเรียนทีด่ เี ยีย่ ม และถาพูดถึงกิจกรรมการเรียน ทีส่ นุกสนาน หลายคนคงคิดถึง การเขาคายลูกเสือ จากขอความในขางตนมีผลสํารวจระบุดวยวา การจัดกิจกรรม สิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียน 17,229 แหง ทั่วประเทศ ในป 2550 พบวา รอยละ 80 จัดกิจกรรมดานสิ่งแวดลอม ผานกิจกรรมลูกเสือ และเนตรนารี และเปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดการลงนามในบันทึกความรวมมือ สถาปนา ‘กองลูกเสืออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม’ หรือ Green Scout Project ไปเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 โดยกรม สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ไดเริ่มดําเนินงานโครงการระยะแรก ใน การสรางจิตสํานึกใหแกเยาวชนดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล อ ม โดยร ว มมือ กับ สํ า นั ก งานลูก เสื อ แห ง ชาติ และ สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาในแต ล ะจั ง หวั ด รวมทั้ ง โรงเรี ย น ตางๆ จัดการฝกอบรมคายลูกเสืออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมขึ้นในพื้นที่อุทยานแหงชาติ และเขตรักษาพันธสัตวปา ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศ รวมจํานวน 7 รุน มีลูกเสือและเนตร นารีเขารับการฝกอบรม และผานการอบรม เปนลูกเสืออนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแลวจํานวนรวม 1,460 คน พรอมกันนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมได ประกาศใหอุทยานแหงชาติ 110 แหง ทั่วประเทศ พัฒนาเปนคาย ลูกเสืออนุรักษทรัพยกรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหลูกเสือและ เนตรนารีไดเขาไปฝกและทํากิจกรรม สามารถพัฒนาความรูความ

GL28F-va.indd 74

ational parks are the ideal outdoor classrooms and nothing beats a scout summer camp for unforgettable learning experiences. A survey confirmed that boy scout and girl guide activities accounted for 80% of environmental education activities held by 17,229 schools across the country in 2007. Such popularity led to the signing of a Memorandum of Understanding on “the Green Scout Project” on 29 January 2009 by the Department of Environmental Quality Promotion (DEQP). It aims to instill awareness of natural resources and environmental conservation among youths through cooperation with the National Scout Organization of Thailand, provincial education offices and schools. So far, seven camps involving 1,460 boy scouts and girl guides have been organized in national parks and wildlife sanctuaries. In a related move, the Ministry of Natural Resources and Environment instructed 110 national parks to set up a green camp to train boy scouts and girl guides with activities which would develop their knowledge and understanding in environmental conservation and promote their role in conservation efforts in their respective communities. For effective implementation of these integrated activities, related officials underwent scout leader training to learn the way of scouts. Participants in three camps have earned two-bead wood badge insignias while those in another one earned the three-bead.

N

11/19/10 8:29 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

เขาใจ และสงเสริมบทบาทของลูกเสือในการบําเพ็ญประโยชนดาน การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เพือ่ ชุมชนของตนเอง อยางตอเนื่อง รวมทั้งไดพัฒนาบุคลากรในสังกัด เพื่อใหมีความรูแบบอยาง ธรรมเนียมของการลูกเสือ โดยจัดการฝกอบรมหลักสูตรผูบ งั คับบัญชา ลูกเสือระดับผูน าํ ขัน้ ความรูส งู เครือ่ งหมายวูดแบดจสองทอน จํานวน 3 รุน และเครื่องหมายวูดแบดจสามทอน จํานวน 1 รุน ทั้งนี้เพื่อให บุคลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติสงิ่ แวดลอมเหลานีส้ ามารถ ทํางานเชิงบูรณาการไดอยางมีประสิทธิภาพ ชลธิรา เกลี้ยงหนามเตย เนตรนารีโรงเรียนวัดมูลจินดาราม จ.ปทุมธานี แสดงความคิดเห็นหลังจากเขารับการอบรมวา เธอได เห็นธรรมชาติที่แทจริง เห็นการพึ่งพาอาศัยของสัตวกับตนไม ถือวา มีประโยชนมาก โดยขณะนี้ไดรวมกับเพื่อนๆ อีก 6 คน จัดกิจกรรม อนุรักษนกบางชนิดที่เริ่มจะสูญพันธุในชุมชนของตนเอง “ขณะนีก้ าํ ลังเลือกเฟนอยูว า จะเริม่ อนุรกั ษนกชนิดไหน โดยเริม่ โครงการนี้มาไดประมาณ 1 เดือนแลว คาดวาหากไดดําเนินโครงการ จนแลวเสร็จ อาจจะทําใหระบบนิเวศของเรามีความมั่นคงมากขึ้น เพราะไมใชแคการอนุรักษนกชนิดนั้นๆ เพียงอยางเดียว แตจะตอง เฟนหาตนไมที่นกชนิดดังกลาวอาศัยอยูดวย ซึ่งผลพลอยไดที่จะ ไดรับคือจะทําใหตนไมสามารถขยายพันธุตอเนื่องตอไปไดอีกดวย” เนตรนารีชลธิรากลาวหลังจากรวมฝกอบรม ดาน ปรียาพร พรหมพิทักษ ผูอํานวยการสํานักกิจการเยาวชน และลูกเสือ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม เปดเผยถึงผลในการ ดําเนินโครงการวา “โครงการนี้กําหนดไวประมาณ 5 ป จากนั้นจะใหมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครเขามาดําเนินการประเมินผลโครงการ เพื่อตอยอด โครงการเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด สวนวาถามี การเปลีย่ นแปลงรัฐบาลก็ไมนา จะมีผลกระทบตอโครงการ เพราะเปน กิจกรรมทีด่ าํ เนินการกับเยาวชน แตอาจจะมีการเปลีย่ นแปลงนโยบาย บางเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล” ป จ จุ บั น ในป ง บประมาณ 2553 กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิ่งแวดลอมไดประสานความรวมมือกับหนวยงานในสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อดําเนินการจัดการฝกอบรม ลูกเสืออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหครอบคลุม พื้นที่ทั่วทั้งประเทศ โดยมีเปาหมายผูเขารับการฝกอบรมอยางนอยป ละ 2,000 – 3,000 คน ซึ่งคาดหวังวาจะครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ ภายใน 4 ป เพื่อจะทําใหไดลูกเสืออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอมเปนกําลังสําคัญในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและรักษา สิง่ แวดลอมตัง้ แตระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และขยายไปสูร ะดับ ประเทศและระดับโลกในที่สุด รวมทั้งดําเนินการจัดอบรมพัฒนาบุคลากรการจัดคายลูกเสือ อนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม (Training for the Trainers) ใหแกบุคลากรในสังกัดและหนวยงาน ที่เกี่ยวของรวมถึงผูบังคับ บัญชาลูกเสืออีกจํานวน 4 รุนๆ ละ 65 คน ในพื้นที่เปาหมาย 4 ภาค ทัว่ ประเทศ โดยจะจัดอบรมทีจ่ งั หวัดสุพรรณบุร,ี เชียงใหม, ขอนแกน และสุราษฎรธานี ทั้งนี้ เพื่อใหผูผา นการอบรมมีความรูความเขาใจใน แนวคิดโครงการลูกเสืออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และสามารถดําเนินการจัดคายลูกเสืออนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ ■

75

September - December 2010

Chonthira Gliangnamtoey, a girl guide from Wat Muljindaram School in Pathum Thani province, said the training was an eye-opening for her. She had seen Nature and witnessed the symbiosis of wildlife and plants up close. It has inspired her and six of her friends to launch a campaign to protect some bird species that are on the brink of extinction in their community. “We have started the project about a month ago and we are in the process of selecting a species for conservation. We believe the project will help secure our ecosystem. It is not just conservation of a bird species. What we’ll also gain is that trees on which they live, which we will have to identify, will increase in number,” she said. Preeyaporn Prompitak, director of the youth and scout activities office under the DEQP, said:

“The project will be assessed after five years by the Phra Nakhon Rajabhat University for needed improvements. A change in government should not affect the project as it involves youths. The scope might be adjusted to conform with the new government’s policy.” In the current fiscal year, the DEQP has sought cooperation from other ministerial agencies to open green camps throughout the country with a goal of covering between 2,000-3,000 youngsters a year. A nationwide coverage is expected in four years. The participants will play a part in conservation at the family, school and community levels which will eventually snowball to national and global levels. “Training for the Trainers” programs will also be offered to ministerial and related officials as well as four classes of 65 scout leaders each in the country’s four regions. The classes will take place in Suphan Buri, Chiang Mai, Khon Kaen and Surat Thani. Participants are expected to gain a better understanding of the project’s objectives and be able to run the camps more effectively. ■

กิจกรรมกรม Activities of the Department

GL28F-va.indd 75

11/20/10 1:04 AM


76

กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

เรื่องจากผูอาน FROM THE READERS

อุทยานแหงชาติ ในทัศนะของ นักทองเที่ยว มนตรี อัจฉริยสกุลชัย

ผมไมรวู า อุทยานคืออะไร ถามีคนมาถามก็คงจะตอบเขาไมได วาองคประกอบของอุทยานมีอะไรบาง นอกจากคนเก็บเงิน คาผานทางเทานั้นกระมังที่พอจะนึกออก ผมไมรูวาทําไมถึง จะตองประกาศใหที่นี่เปนเขตอุทยาน มันอาจจะมีความพิเศษ อะไรบางอยาง หรืออาจจะไมมีเลยก็ ได การจายเงินเขาชมก็ คือการเขาไปคนหาวาทําไมทีน่ ถี่ งึ แตกตางจากทีอ่ นื่ ซึง่ ไมไดถกู ประกาศเปนอุทยาน ผมเคยไปเทีย่ วเกาะเสม็ด เดิมทีผมไมรวู า ทีน่ คี่ อื อุทยานแหง ชาติ ผมแคอยากจะมาเที่ยวทะเลและอยากเปลี่ยนบรรยากาศ มาลองสัมผัสกับทะเลที่ติดกับเกาะบางก็เทานั้น ไมไดคิดวาจะมา อุทยานแหงชาติ เกาะเสม็ดเปนเหมือนกับแหลงทองเทีย่ วมากกวา

National Parks and I Montri Atchariyasakulchai have no idea what a national park is and what it is made of. I can only think of the guys collecting fees at the entrance. I often wonder why a national park is a national park. It must have something special or nothing at all. The only way to find out is to pay to get in and see if it’s any different from other tourist spots. I used to visit Koh Samet. I was not aware then that it was a national park. I just wanted to enjoy a different ambiance of the sea on an island without knowing I would be going to a national park. Koh Samet is just another tourist attraction where a lot of people go to enjoy the blue sea, white sandy beaches, sizzling sun and fresh seafood. Frankly, I don’t know the difference between Koh Samet and beaches in Cha-am district of Phetchaburi. Do we have special responsibility for national parks? Shouldn’t we be responsible for all places that we visit? Is the declaration of a national park a way to make people aware that the place needs protection due to its special conditions such as its fragile environment or natural

I

GL28F-va.indd 76

(บน) อุทยานแหงชาติแกงกระจาน-หญิงสาวกําลังนั่งชื่นชมกับ สายนํ้าเชี่ยวกรากของนํ้าตกปาละอู (Top) Kaeng Krachan National Park – A woman is admiring the rushing current from Pa La-oo Fall.

(ลาง) อุทยานแหงชาติเขาคิชฌกูฏ-เด็กหนุมนอนใหกระแสนํ้าฉํ่าเย็น ของนํ้าตกกระทิงไหลผานตัวไป (Bottom) Khao Khitchakut National Park – A youngster lies on stream bed, letting the cool water from Krathing Fall wash over him.

11/19/10 8:29 PM


77

อุทยานแหงชาติเขาเเหลมหญา-หมูเกาะเสม็ด-รองรอยของนํ้าเสียจากบานพักและ รีสอรทที่กําลังไหลลงสูทองทะเล Khao Laem Ya-Mu Ko Samet National Park – Wastewater from holiday resorts on the island makes its way to the sea.

อุทยานแหงชาติ คนมากมายมาทีน่ เี่ พือ่ เทีย่ วชมทะเล นํา้ ใส หาดทราย แสงแดดและอาหารทะเล ผมนึกถึงสิ่งเหลานี้เวลาที่นึกถึงเกาะเสม็ด แตถานึกถึงอุทยานแหงชาติเกาะเสม็ด ผมก็ไมรูวามันแตกตางจาก ทะเลที่อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรีอยางไร หรือเพราะวาจะตองมีหนาที่รับผิดชอบตออุทยานแหงชาติเปน พิเศษมากกวาที่อื่นๆ ทั้งๆ ที่ความรับผิดชอบนี้ก็สมควรจะตองมีตอ ทุกๆ สถานทีม่ ใิ ชหรือ ราวกับวาการประกาศเขตอุทยานแหงชาติขนึ้ มา จะเปนการทําใหตระหนักวาทีน่ จี่ ะตองไดรบั ความคุม ครองเปนพิเศษ เนื่องจากขอจํากัดอะไรบางอยาง เชน สภาพแวดลอมที่ละเอียดออน ความสวยงามตามธรรมชาติทไี่ มควรจะตองถูกเปลีย่ นแปลงไป เพราะ ยากตอการฟนฟูสภาพกลับคืน เปนตน โดยการคุมครองเหลานั้น ตราขึ้นเปนกฎระเบียบที่มีสภาพบังคับเขมงวดกวาปกติ เพื่อปกปอง ธรรมชาติจากมนุษย แยกมนุษยออกจากธรรมชาติดวยกฎระเบียบที่ มนุษยตราขึน้ จากนัน้ ก็หลอกลวงตัวเองดวยกฎระเบียบเหลานัน้ อีกที วาเราไดคุมครองธรรมชาติแลว ผมไมคดิ วาการการคุม ครองธรรมชาติโดยสงวนใหเจริญเติบโตใน พืน้ ทีน่ นั้ จะเปนการคุม ครอง ตราบใดทีโ่ ลกใบนีย้ งั มีมนุษยและมนุษย ยังตองอยูร ว มกับธรรมชาติ ซึง่ จําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองเรียนรูแ ละเจริญ เติบโตไปพรอมๆ กัน เพราะมนุษยจะชวยรักษาธรรมชาติใหสมบูรณ ไดดว ยจิตสํานึกของการรับผิดชอบ ซึง่ สําคัญทีว่ า จะทําอยางไรใหเกิด ความรูสึกวาเราอยากจะเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยอาจจะเริ่มจาก สิ่งเล็กนอยใกลตัวของเรา เชน ความงามของลายเสนจากใบไมตางๆ ทีเ่ ปนแขนงราวดัง่ เสนเลือดฝอยในรางกายของมนุษย เปนผลงานการ สรางสรรคจากธรรมชาติอันแสนวิเศษ เปนตน หากเปนเชนนี้ การที่จะไปเที่ยวตามแหลงธรรมชาติในแตละ ครั้งก็จะเปนมากกวาการเที่ยวเลนเที่ยวชม แตจะเปนการเรียนรูและ ชื่นชมอยางเขาใจ ก็จะทําใหตอไปเวลานึกถึงอุทธยานแหงชาติก็จะมี อะไรมากกวาคนเก็บคาเขาชม … อยางแนนอน ■

เจาหนาที่อุทยานฯ กําลังเก็บคาธรรมเนียมเหยียบอุทยานฯ จากนักทองเที่ยวที่ ขึ้นมาเที่ยวบนเกาะเสม็ด A park official collects an entrance fee from visitors to Samet Island.

beauty that should be left untouched as they take ages to restore. Laws have been drawn up to protect nature from mankind, separating man from nature. Is it just our attempt to fool ourselves that nature has been well guarded? I don’t think protecting Nature by providing it a place to grow is the right kind of protection so long as man exists on this Earth and man must co-exist with Nature. Man must learn from Nature and grow with it. Only with a sense of responsibility can man help keep nature in its natural state. So it is important to find way to make people want to learn about Nature. It can start from little things close to us, for example, the beauty of leaf designs that resemble veins and arteries in human body which is a wonderful creation of Nature. If this can be achieved, each visit to a natural attraction would be more than a sightseeing experience but a learning experience and appreciation of Nature with true understanding. As we learn to appreciate Nature, the next time we think about national parks, we will think of many other things than the guys at the entrance booths … for sure. ■

เรื่องจากผูอาน From the Readers

GL28F-va.indd 77

11/19/10 8:29 PM


ลอมกรอบ VIEWFINDER

อุทยานแหงชาติแมยม - ชาวบานแกงเสือเตนกําลังบูชาเจาปาเจาเขากอนจะทําพิธีบวชปา – ประสิทธิพร กาฬออนศรี Mae Yom National Park – Villagers around Kaeng Sua Ten (Dancing Tiger Rapids) perform a ritual to pay respect to Chao Pa Chao Khao before a “forest ordination” ceremony. – Prasittiporn Kan-onsri

GL28F-va.indd 78

11/19/10 8:29 PM


เจาปาเจาเขา

“ไมเชื่ออยาลบหลู” วลีที่คนไทยใชกันแพรหลาย อาจกลาวเพื่อสรางสันติในวงสนทนาที่หลากหลายไป ดวยความเชื่อ ในมิติที่ไมสามารถพิสูจนไดทางวิทยาศาสตร

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ วิญญาณ ภูตผี ศรัทธา ความเชื่อ ความกลัว ตอธรรมชาติ จึงฝงรากแนบแนนอยูในสังคมไทยมาชานาน หนึ่งในความเชื่อที่แฝงไวดวยจิตวิญญาณแหงปา และภูมิปญญาทองถิ่น คือ “เจาปาเจาเขา” ดังคําเตือนที่มักไดยินกันอยู เสมอวา เวลาเขาปา ใหบอกกลาวถึงการมาเยือน และแสดงความเคารพทั้งใจ วาจา กิริยา ตอเจาปาเจาเขา เพื่อใหทานปกปก คุมครองใหอยูดีมีสุขตลอดเวลาที่อยูในปา หากทําอะไรที่ไมเปนการเคารพ เชน ลาสัตว ตัดไมตามอําเภอใจ ก็อาจเกิดเภทภัย ขึ้นกับตัวเองได พรานปาในอดีตตองเซนไหวขอเจาปาเจาเขากอนเขาปา เพื่อขอใชของปา โดยจะใชอยางมีศีลธรรมพอประมาณ เชน สัตว ปาที่ยิงตองเปนสัตวที่หมดกรรม ไมลาสัตวที่กําลังทอง หรือสัตวที่มีลูกออน ไมยิงสัตวที่บาดเจ็บอยูกอนหรือที่ไมมีทางตอสู เมื่อลาไดแลวตองขออโหสิตอสัตวที่ตาย และลาเพื่อประทังชีพหรือพอเลี้ยงครอบครัวเทานั้น และหากใครจําเปนตองตัดไมมา ใชสอย ก็ตองขอเจาปาเจาเขากอน และตัดเทาที่จําเปนเพื่อนําไปปลูกบาน ซอมเรือน หรือทําคอกสัตว แมสังคมกาวเขาสูโลกาภิวัตนและทุนนิยมแลวก็ตาม ความเชื่อนั้นก็ยังคงดํารงอยู โดยเฉพาะในชุมชนชนบทยังคงมีการ เซนสรวงบูชาเจาปาเจาเขา รวมถึง ผีปา ผีเขา ผีขุนนํ้า ผีฟา ผีประจําตนไม ใหพิทักษรักษาปา ตนนํ้า หรือระบบนิเวศ ใหคง ความอุดมสมบูรณเพื่อหลอเลี้ยงวิถีชีวิตของชาวบานปา ชาวนา ชาวสวน ซึ่งเปนวัฒนธรรมประเพณีที่ดํารงอยูรวมกับปามาได จนถึงทุกวันนี้

Chao Pa Chao Khao “Don’t mock it even if you don’t believe it” is a popular Thai phrase designed to pacify the qualms among conversation partners when it comes to different beliefs in things that cannot be scientifically verified. Sacred objects, spirits, ghosts, faiths, beliefs and fears of natural phenomena have been deep-rooted in the Thai society since ancient times. One of such beliefs which is based on jungle instinct mingled with local wisdom is the existence of the “Chao Pa Chao Khao (Guardian Spirit of the Forest Mountain)”. A frequent reminder is that before one enters the forest, he or she must ask for permission, state his or her objective and always be mindful of his or her thoughts, speech and actions. The Guardian Spirit will then protect him or her from all the dangers of the forest. But if that person shows no respect, such as hunting animals or felling trees capriciously, then calamity will strike. Hunters of the old days performed a ritual before entering the forest. They would promise the Chao Pa Chao Khao that they would take things from the forest for what they needed and would do so with moral consideration. For example, they would only shoot animals that were deemed to be at the end of their karmic cycle. They would refrain from killing pregnant animals or animals nursing their young. They would not kill injured animals or cornered animals with no way to fight back. After the kill, they would ask for forgiveness and would use the meat for food to feed themselves and their families. If they needed to repair their houses or build corrals, they asked the Guardian Spirit before cutting down trees and only enough for the purpose. Although modern society has moved to a period of globalized capitalism, that belief still holds true, particularly among the rural population. They continue to pay respect not only to the Guardian Spirit of the forest mountain, but also to water, trees, rivers and the sky to help protect the forests, water sources and ecosystems so that these resources would remain abundant and continue to provide sustenance to the forest folks and farmers. Such is a customary practice that has co-existed with the forest to this day.

GL28F-va.indd 79

11/19/10 8:29 PM


อาจกลาวไดวา เครื่องอุปโภค วัสดุ อุปกรณตางๆ เกือบทั้งหมดในชีวิต ประจําวันของคนเรา มีแรเปน วัตถุดิบเบื้องตนในการผลิต แตการทําเหมืองเพื่อใหไดมาซึ่งแรนั้น มักทําลาย ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางหลีกเลี่ยงไมได รวมทั้ง สรางความเดือดรอนตอชุมชนรายรอบ

การใชชีวิตของเรา เกี่ยวของกับแรอะไร ชนิดไหนบาง กิจกรรมเหมืองแร ทําอยางไร เกิดอะไรขึ้นเมื่อมีการ ทําเหมือง

ติดตามไดใน เสนทางสีเขียว ฉบับหนา Read about these issues and more in the next edition of Green Line. It can be said that practically all consumer products, materials and equipment that we use in our daily life require mineral ores as the basic raw materials in their production processes. However, the mining for ores inevitably causes environmental damage as well as suffering for surrounding communities.

GL28F-va.indd 80

What types of minerals do we use in our daily life? How is mining done? What are the consequences of mining?

11/19/10 8:29 PM


สวมวิญญาณนักสื่อความหมาย อธิบายรายละเอียดสถานีต่างๆ ที่ร้อยเรียง เรื่องราวอยู่บนเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 1. การเกิดหิน ................................................ ท้าทายหัวใจธรรมชาติ ว่าคุณรู้จักวิถีแห่งป่าและ ........................................................................ 2. ไลเคนส์ มอส ............................................. เป็นนักสื่อความหมายได้มากน้อยแค่ไหน ........................................................................ 3. ไทร นักบุญและนักฆ่า ............................... ........................................................................ 4. ปลวก สุดยอดสถาปนิก ............................. ........................................................................ 5. เถาวัลย์เกี่ยวเลี้ยวลด ................................. ........................................................................ 6. ป่าเขตร้อน ................................................. ........................................................................ 7. หวาย พืชเอนกประสงค์ ............................. ........................................................................ 8. ไผ่ พืชมหัศจรรย์ ........................................ ........................................................................ 9. เห็ด ผู้ย่อยสลายแห่งผืนป่า ........................ ........................................................................ 10. การเดินทางของสายน�้ำ ........................... ........................................................................ 11. พูพอน รากฐานที่มั่นคง ........................... ........................................................................ 12. ทาก สัญลักษณ์ของป่าสมบูรณ์ ............... ........................................................................

6

5

C

7

8

4

9

3 10

11 B

2

D

12

1 A

A ป้ายห้าม...................................................... B ป้าย? .......................................................... C ป้าย? ......................................................... D ป้าย? .........................................................

***พิเศษมั๊กๆ 15 รางวัล ส�ำหรับกิจกรรมส�ำรวจและค้นหาความหมาย บนเส้นทางศึกษาธรรมชาติเขียวขจี ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ***จับรางวัลจากผู้ที่ตอบเกมถูกทุกข้อ และส่งบทความเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติ จ�ำนวนไม่เกิน 1 หน้า โดยเนื้อหาสามารถสะท้อนภาพของการจัดการอุทยานฯ ที่ประชาชนทุกคนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วม เกิดความตระหนัก รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสามารถปฏิบัติได้จริง *จับรางวัล วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 *ก�ำหนดนัดหมายในการลงพื้นที่ วันที่ 26-27 กุมภาพันธ์ 2554

ส่งแฟ็กค�ำตอบกลับมาที่ 02-5172319, 02-2985629 หรือ ส่งไปรษณีย์มาตามที่อยู่ด้านหลัง ชื่อ-นามสกุล......................................... ที่อยู่.................................................... .......................................................... .......................................................... .......................................................... เบอร์โทร..............................................

กรุณาแสดงตัวด้วยคร๊าบบบบ .......ต้องการร่วมกิจกรรมนี้ .......ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมนี้ได้

“ตอบเกมเข้ามามีของที่ระลึก ส่งให้ถึงมือคร๊าบ”


Why do wild animals mingle with human beings? Nonn Panitwong

ทําไมสัตวปา มาปฏิสัมพันธกับคน นณณ ผาณิตวงศ

กวางใหญตัวหนึ่งในอุทยานฯเขาใหญดอมๆ มองๆ หาอาหารที่ที่พักแหงหนึ่ง A deer in Khao Yai National Park visits a lodging looking for food.

เจามิ่งนั่งอยู ใต โตะในสวนหลังบาน มิ่งเปนหมาพันธุ โกลเดน รีทรีฟเวอร อายุสบิ ป ทีย่ งั แข็งแรงดีตามสมควร

ผลการศึกษา DNA ระบุวาบรรพบุรุษของหมามิ่งเปนหมาปาและเริ่มเขามามี ปฏิสัมพันธกับมนุษยเมื่อสักประมาณ 100,000 ป กอน อาจจะเปนมนุษย ไป เอาลูกหมาปามาเลี้ยง อาจจะเปนหมาปาที่โตแลว เขามาเลียบๆ เคียงๆ คอย เก็บเศษอาหารของมนุษยแลวเกิดความคุนเคย ไมวา จะดวยเหตุใดก็ตาม ความสัมพันธดงั กลาวไดพฒ ั นาขึน้ จนหมาถูก ยกยองใหเปนเพื่อนที่ดีที่สุดของมนุษย จะวาไปแลวสัตวเลี้ยงทั้งหมดที่มีอยู ของมนุษยก็เกิดจากสัตวปาทั้งสิ้น ไมวาจะเปนบรรพบุรุษของวัวบานที่มีถิ่น กําเนิดในแถบทวีปยุโรป บรรพบุรุษของไกบานทั้งหลายที่คาดวาจะเปนไกปา ของบานเรา หรือปลาทองที่มีรูปรางหนาตาแปลกประหลาดผิดปลาทั้งหลาย บรรพบุรุษของมันที่อาศัยอยู ในประเทศจีนก็ ไมไดมีรูปรางลักษณะแตกตางไป จากปลาไนเทาใดนัก จากตัวอยางบางสวนขางบน จะเห็นวามนุษยมปี ฏิสมั พันธกบั สัตวปา และ ธรรมชาติเสมอมา จนไมอาจหลีกเลี่ยงไดวาในสวนหนึ่งของจิตใตสํานึกของ เราทุกคนไดเรียนรูที่จะอยูและใชชีวิตรวมกับธรรมชาติ จนกระทั่งวันหนึ่งที่เรา ตีตวั ออกหางจากการเปนสวนหนึง่ ของธรรมชาติ เราสวนใหญเลิกลาแลวเลีย้ ง สัตวแทน เราปลูกพืช และอาศัยอยูในเมือง แตในที่สุดแลว ก็ดูเหมือนกับวา สิ่งเล็กๆ สวนหนึ่งของเราเรียกรองใหเรากลับไปเยื่ยมเยียนและมีปฏิสัมพันธ

supplement28-va.indd 1

M

ing, my Golden Retriever, is sitting under the table on the back porch. At the age of 10, he is still relatively strong. A DNA study has revealed that Ming’s ancestor was a wolf that came into contact with human beings about 100,000 years ago. It might have happened when someone took a young wolf as pet. Or perhaps a grown wolf entered an area occupied by humans to pick up leftover food and became used to the presence of human beings. However it happened, the relationship has since developed until dogs are now praised as man’s best friend. In fact, all pets were once wild animals. For instance, the cows’ ancestors had lived in Europe, the Thai roosters’ ancestors came from a Thai forest, or the forebears of goldfish with their funny face in China bore uncanny resemblance to the Thai carp. As you can see, man has had relationship with wild animals and nature since time immemorial to the point that a part ลิงฝูงหนึ่งนั่งเลน เดินเลนบนถนนสายหนึ่งในอุทยาน แหงชาติเขาใหญ โดยไมเกรงกลัวผูคนหรือรถรา A group of monkeys spend an afternoon on a road in Khao Yai National Park showing no fear of humans or traffic.

11/18/10 10:45 PM


2

หนึ่งในเรือประมงหลายๆ ลําที่พานักทองเที่ยวออกไปดูปลาวาฬกําลังวิ่งไลปลาวาฬตัวหนึ่ง เพื่อเขาให ใกลตัวที่สุด – สมิทธ สุติบุตร One of the many fishing boats that take tourists to see whales is running after a whale to try to get as close to it as possible. – Smith Sutibut

กับธรรมชาติบาง ดวยเหตุนี้ เราจึงเห็นปรากฏการณอยางคนลนเขาใหญ ลาน กางเตนทบนภูกระดึงกลายเปนแหลงสลัมในชวงวันหยุดยาว หรือ รถติดเปน ทางยาวบนยอดดอยอินทนนท ในชวงวันปใหม เมื่อปาลดลง แตคนกลับเพิ่มขึ้น เมื่อมีคนเขาไปเยี่ยมชมอุทยานแหงชาติ และสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติประเภทตางๆ เพิ่มขึ้น หรือรุกคืบเขาไป ทํามาหากิน ปลูกพืชใกลปา ใกลบานของสัตวยิ่งขึ้น จึงหลีกเลี่ยงไมไดเลย ที่จะ เกิดปฏิสัมพันธกันขึ้นระหวางคนกับสัตวปา ที่อุทยานแหงชาติเขาชะเมา-เขาวง ยอดไมกําลังรวงหลนลงมาอยาง ผิดธรรมชาติ ใบเขียวๆ กานแข็งๆ รวงหลนลงมาทางนั้นทีทางนูนที เปนไป ไมไดที่ลมจะพัดยอดไมเหลานี้ตกลงมา ไมนานผมก็สังเกตเห็นหางยาวๆ ของ ลิงแสมตัวหนึ่ง มันนั่งอยูที่คบไม มือเอื้อมออกไปปลิดยอดออนที่มีลูกไม งอกอยูที่ปลาย มันกินลูกไมบางสวน พรอมทั้งแทะเล็มเอาใส ในของกานไม ไป หนอยหนึ่งกอนที่จะทิ้งสวนที่เหลือลงมา ลิงหลายสิบตัว หากินอยูบนตนไม ตนนัน้ ชวยกันปลิดลูกไมและยอดไมลงสูพ นื้ ดิน อาจารยผมเคยเลาใหฟง วาลิง หากินแบบนี้ กินทิ้งกินขวางและซน ถาเปนเด็กๆ คงถูกตี แตนี่ ในปา ไมมีอะไร สูญเปลา เกง กวาง และ เมน จะออกมาเก็บสิ่งเหลานี้กินเปนอาหาร สวนที่ เหลือจะถูกยอยสลายโดยปลวก รา และแบคทีเรีย กลับกลายไปเปนปุย ใหตน ไม เติบโต เมล็ดพันธุที่ลิงและสัตวปาตางๆ กิน ก็จะถูกเคลื่อนยายออกจากใตตน แม ไปเติบใหญสรางปาตอไป ทีนลี้ องนึกภาพลิงทัง้ ฝูงนี้ ออกมานัง่ รอขนมขบเคีย้ วจากนักทองเทีย่ วอยู ริมถนน อาจจะเปนอาหารที่งายสําหรับลิง และเปนความเพลิดเพลินของมนุษย แตในระยะยาวแลว ลิงและเหลาสัตวปา จะเปนอยางไร อาหารทีม่ นุษยหยิบยืน่ ให ดีตอสุขภาพลิงแคไหน? ความปลอดภัยของลิงที่มานั่งๆ นอนๆ อยูริมถนน หละ? หรือแมแตความปลอดภัยของมนุษยเอง เมื่อสัตวปาเกิดความคุนเคย กับมนุษยจนเกินไป? การใหอาหารลิงในเขตอุทยานแหงชาติจริงๆ แลวผิดกฏหมายและมีปาย หามอยู แต ในบางกรณีกลับกลายเปนอุทยานเสียเองที่กลายเปนเจามือ ลองดู ที่อุทยานแหงชาติหลายแหงที่มีลําธารและปลาพลวง กลายเปนวาอุทยานเปน ผูขายอาหารปลาเสียเอง จากการสํารวจของผมที่นํ้าตกพลิ้ว พบวาแตละป แมประชากรของ ปลาพลวงจะไมเคยลดลง แตปลาชนิดอืน่ ๆ กลับหายไปจากลําธารในเขตอุทยาน จนเกือบหมด ปลาจาดทอง และปลาเลียหิน แทบจะหายไปจากลําธาร หลังจากที่

supplement28-va.indd 2

มีการใหอาหารและดูแลปกปองปลาพลวงจนมันเพิม่ จํานวนขึน้ มหาศาล ปลาเล็ก ปลานอยอื่นๆ ที่ควรจะพบในลําธารในเขตดังกลาวก็พลอยหายไปเกือบหมด หรือที่แมฮองสอน ก็พบวาปลอยใหมีการใหอาหารจนมีอาหารเหลือตกคางใน ลําธารมากมาย และปลาที่ไดรับอาหารมากไปก็อวนกลม พิการ ผิดรูปรางไป ผมเขาใจวาการใหอาหารปลาเปนความสุขอยางหนึง่ แตการใหควรจะมีขอบเขต จํากัดจํานวนอาหาร ใหพอเหมาะพอดี ชางปาบุกทําลายเตนทนักทองเที่ยวที่เขาใหญ เปนอีกปรากฏการณที่ นาสนใจ ตามขาวระบุวา ชางตัวนี้หากินปวนเปยนอยูแถวผากลวยไม จนเริ่ม คุนเคยกับมนุษย ตกคํ่าปลอดคน จึงแอบยองมาในลานกางเตนทเพื่อหาขนม กิน แตปรากฏวาคนที่อยู ในเตนทเกิดตกใจโวยวายทําใหชางปาตกใจไปดวย ก็ เลยตกใจลุยเตนทลุยคนเกิดบาดเจ็บกันขึ้น กรณีแบบนี้ ใครผิดกันแน เราเขา ใกลชางเกินไป หรือชางเขาใกลเราเกินไป? สัตวปาอยางลิง ชาง หรือกวางอาจจะพอใจหลงผิดและเขามาหามนุษยที่ มีอาหารใหกนิ แตอกี หลายกรณี การรบกวนทีเ่ กิดจากมนุษยกก็ อ ใหเกิดปญหา กับสัตวปา อยางทีเ่ ปนเรือ่ งเปนราวกันเมือ่ หลายปกอ น อยางกรณีการถายภาพ นกในระหวางที่เลี้ยงลูกทํารัง เขาใกล ไดแคไหน มีกฏอะไรบาง ทําอยางไรถึงจะ รบกวนนกนอยทีส่ ดุ กลายเปนเรือ่ งทีถ่ กเถียงกันจนเกิดกติกาทีย่ อมรับรวมกัน กรณีลาสุดที่เพิ่งเกิดขึ้น คือกองทัพลาปลาวาฬบรูดาแหงอาวไทย ตอนใน จากที่มีเพียงเรือประมงพื้นบานไมกี่ลํารับจางพานักทองเที่ยวไมกี่กลุม ออกไปดู ตอนนี้กลับกลายเปนมหกรรมใหญกลางอาว เรือลําหนึ่งที่เจอ ปลาวาฬจะวิทยุบอกพวกพองใหรมุ กันเขามา วันหนึง่ ๆ มีเรือหลายสิบลําขับวิง่ ไลตอนฝูงวาฬ จนไมเปนอันตองหากิน เพื่อนที่ไปตามถายภาพอยูหางๆ บอก วาไมมกี ารขึน้ ฮุบเหยือ่ ใหเห็นเลย มีแตการวายหนี เพราะเรือตางหอมลอมวาฬ ราวกับมันไม ใชสัตวปา ผมเพิ่ ง ไปดู ป ลาวาฬหลั ง ค อ มที่ อ อสเตรเลี ย มา ที่ นั่ น บนเรื อ มี ก าร ติดกฏไวชัดเจน กอนออกเรือกัปตันจะชี้แจงขอบังคับตางๆ ใหนักทองเที่ยว ไดทราบ ตัง้ แตการหามดักหนา หามตามหลัง หามเขาใกลเกิน 100 เมตร หาม รุมลอมวาฬเกิน 3 ลํา การเปดโอกาสใหคนไดมีปฏิสัมพันธกับสัตวบางเปนเรื่องดี แตบางครั้ง เราอาจจะตองเจียมเนื้อเจียมตัวยอมรับวาเราเปนสวนเกินของธรรมชาติ และ ถอยหางออกมาจากเหลาสัตวปา อยางเคารพในสิทธิท์ จี่ ะดํารงอยูต ามธรรมชาติ โดยปราศจากมนุษยของพวกเขา ■

11/18/10 10:45 PM


กันยายน - ธันวาคม 2553

of our sub-consciousness has learned to live and co-exist with nature. Then, one day we find ourselves apart from nature. We have stopped hunting and instead raised domestic animals. We grow crops and live in the city. But eventually, it seems there is an inner call for us to re-visit and interact with nature. That is why we see Khao Yai overflowing with people, Phu Kradung becoming a slum of campers on long weekends and Doi Inthanon clogged up with traffic during the New Year holidays. As the forest areas decrease and the population increases, more visitors converge in national parks and other natural attractions, or more people encroaching on forests to open up farmland, farming near the forest and wildlife habitat. It is inevitable that man comes into contact with wild animals again. One day in Khao Chamao-Khao Wong National Park, I noticed an unordinary amount of leaves and branches falling left and right. It certainly was not the wind that blew them off. It did not take me long to notice the long tail of a Long-tailed Crab-eating macaque who was sitting in the crotch of a branch reaching out to grab young branches that bore fruits at the end. He would chew on the fruits and inside of the branches and throw the remaining to the ground. About 10 macaques were on the tree doing the same thing. My professor once said, if kids wasted food like this, they would have been spanked. But in the forest, nothing goes to waste as deer, muntjac and porcupine would scavenge on the leftovers. Whatever is left would be further degraded by termites, fungi and bacteria, and soon everything would become fertilizer for trees to grow. The seeds that the monkeys and other wild animals eat would be dispersed to grow as new trees that help build up the forest. Now, imagine that a whole bunch of monkeys sitting by a roadside waiting for tourists to give them food. It would be easy food for the monkeys and a source of entertainment for tourists. But how would these monkeys and other animals be in the long run? What would the human food do to the animals’ health? What about their safety while lingering on the road? What about people’s safety when wild animals become too used to human presence? Feeding wild animals in national parks is in fact prohibited by law, made plain on warning signs. In some cases, it is the national parks themselves that encourage animal feeding. Take those parks with running streams and brook carp in them. They have stands selling food for fish. I did my own survey of the waterfall at Nam Tok Plieu National Park and found that, although the population of brook carp never decreased, other fish species have almost totally disappeared. These include Gold-fin Tinfoil barb and Nibble fish. While the park nurtures the brook carp to the point of a population explosion, the other species big and small that should share the stream were gone. In Mae Hong Son, I noticed that there was so much food leftover in the stream and the fish were so overfed that they became round and fat, even disfigured. I understand that feeding fish can be a joyful activity for some people, but there should be a reasonable limit nevertheless. The case of a wild elephant demolishing tourist camps in Khao Yai National Park is another interesting phenomenon. According to the news, this particular elephant roamed around the Pha Klauy Mai camping area until it became used to people. One night, it sneaked into the campground to search for food.

ปายที่ติดอยูหนาที่พักในอุทยานฯเขาใหญ ปายลักษณะเดียวกันมี ใหเห็นตามถนน A sign at a group of lodgings in Khao Yai National Park. Similar signs may be seen on roadside.

Some campers were startled and yelled out, which caused the elephant to panic and run amok, damaging tents and hurting people. Who is to blame in this case? Did we get too close to the elephant or the elephant too close to us? Wild animals such as monkeys, elephants and deer may be mistaken when they regularly get food from people. But in many cases, it is this kind of human interference that causes problems to the animals. Some years ago a hot debate ensued about people trying to take close-up pictures of birds feeding their young. How close could one get to the nest? What were the rules? What was the best way to take pictures that causes minimum disturbance to the birds? Subsequently, a set of guidelines were agreed upon for photographing birds. The latest incident of the Bryde’s whale sighting in the inner Gulf of Thailand is similarly disturbing. It all began when a few local fishing boats started taking small groups of tourists to view the whales. Now it has ballooned into a major festival in mid-sea. One boat would radio the others of the location of the sighting and all of a sudden a flotilla would converge on the school of whales. The whales got rounded up and chased around until they have no time to feed or rest. A friend of mine who took pictures from a distance said that none of the whales surfaced to feed even once. They were too busy trying to evade the surrounding boats. I just got back from a trip to see Humpback whales in Australia where a sign on the boat is posted in plain view announcing a clear set of rules. Before departing, the boat captain reiterated all the rules for the tourists on board – no cutting in front of or trailing behind the whales; boats cannot get closer than 100 meters from the whale; no more than three boats may surround the whales at one time. Encouraging human interface with wildlife has its benefits. But sometimes we must humbly accept the fact that we are extraneous to nature and it is best to keep a certain distance from the wild animals with respect for their right to live naturally without human interference. ■

ทําไมสัตวปามาปฏิสัมพันธกับคน

supplement28-va.indd 3

3

September - December 2010

Why do wild animals mingle with human beings?

11/18/10 10:45 PM


4 กันยายน - ธันวาคม 2553

September - December 2010

ระเบียบกรมปาไมวาดวยการเขาไปใน เขตอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2533 1. ห า มมิ ใ ห นํ า ยานพาหนะที่ ใ ช เ ครื่ อ งยนต มี เ สี ย งดั ง หรื อ ควั น ดํ า ผิดปกติวิสัยเขาไป 2. การขับขี่ยานพาหนะตองปฏิบัติตามกฎ หรือเครื่องหมายจราจรที่ พนักงานเจาหนาที่กําหนดไว การจอดยานพาหนะตองไมกีดขวางทาง จราจร 3. การเขาออกใหกระทําไดเฉพาะตามเสนทางที่พนักงานเจาหนาที่ กํ า หนดไว แ ละเมื่ อ ถึ ง ด า นตรวจต อ งหยุ ด ให พ นั ก งานเจ า หน า ที่ ประจําดานทําการตรวจกอน 4. หามนําสารเคมีที่มีพิษตกคางตามบัญชีสารเคมีทายระเบียบนี้เขาไป ในเขตอุทยานแหงชาติ ทั้งนี้ตองไดรับการตรวจสอบจากพนัก งาน เจาหนาที่กอน 5. การอาบนํ้าหรือลงไปในลํานํ้า ใหกระทําไดเฉพาะบริเวณที่พนักงาน เจาหนาที่กําหนดไว 6. การเลนกีฬา ใหกระทําได ในบริเวณที่พนักงานเจาหนาที่กําหนดไว 7. การพักแรมคางคืนโดยการจอดยานพาหนะนอน ใชเต็นท กระโจม รถพวง หรือโดยวิธีอื่นๆ ใหกระทําได ในบริเวณที่พนักงานเจาหนาที่ กําหนดไว 8. การก อ ไฟเพื่ อ การใดๆ ให ก ระทํ า ได เ ฉพาะในเขตที่ พ นั ก งาน เจาหนาที่กําหนดไวและตองกระทําดวยความระมัดระวัง เมื่อเลิกใชแลว ตองดับไฟใหเรียบรอย 9. การใชสถานที่เพื่อการใดๆ ตองมิ ใหเปนการเสื่อมเสียศีลธรรม และวัฒนธรรมอันดีงาม และตองไมสงเสียงอื้อฉาว หรือกระทําการ อันเปนการรบกวนหรือเปนที่เดือดรอนรําคาญแกคนหรือสัตว 10. การเดินเที่ยวชมธรรมชาตินอกทางถาวร ให ใชเสนทางที่พนักงาน เจาหนาที่กําหนดหรือทําเครื่องหมายไว

ขอหามบางสวนตามพระราชบัญญัติ อุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 1. ยึดถือ ครอบครอง แผวถาง เผาปา กอสราง ในเขตอุทยานแหงชาติ 2. เก็บหาของปา หรือนําของปาออกไป หรือทําใหเสื่อมสภาพซึ่ง ยางไม ไม นํ้ามันยาง นํ้ามันสน แร และทรัพยากรธรรมชาติ เวนแตจะ ไดรับอนุญาต 3. นําสัตวปาออกไป หรือทําอันตรายแกสัตว หรือดิน หิน กรวด หรือทราย 4. ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของทางนํ้า หรือทําใหทางนํ้าเหือด แหง หรือทวม 5. เก็บหรือทําอันตรายตอดอกไม ใบไม หรือผลไม 6. นําสัตวเลีย้ ง หรือสัตวพาหนะเขามา นํายานพาหนะ หรืออากาศยาน เขามา เวนแตจะไดรบั อนุญาตจากเจาพนักงาน หรือปลอยปศุสตั วเขามา 7. ทิ้งขยะมูลฝอย 8. ยิงปน ทําใหเกิดระเบิด นําเชื้อเพลิงที่อาจทําใหเกิดเพลิงไหม สงเสียงอื้อฉาว 9. นําเครื่องมือลาสัตวหรือจับสัตว หรืออาวุธใดๆ เขามา เวนแตจะ ไดรับอนุญาตจากเจาหนาที่

supplement28-va.indd 4

The Royal Forest Department’s regulations on conduct in national parks, issued in 1990 ■ Vehicles emitting excessive noise or exhaust fumes are prohibited; ■ All vehicles must obey the rules and follow the traffic signs posted by park officers, and parking must not block traffic; ■ Entering and exiting national parks must follow the designated route and vehicles must stop at checkpoints for inspection; ■ All chemicals that leave residues according to the list at the end of this announcement are not allowed inside national parks without permission from park officers; ■ Bathing or entering the waterways may be done only at designated areas; ■ Sport activities may be carried out only at designated areas; ■ Overnight stays with parked vehicles, tents, camp, RVs or other means of accommodation may be done only at designated areas; ■ Camp fires may be built only at designated areas, and caution must be taken to extinguish them afterward; ■ Use of any area must be done in a manner that does not violate any moral codes or cultural practices. Any activity must not create excessive noise or cause disturbance to other people or animals. ■ Nature hiking may be done only on designated trails.

A partial list of prohibitions as prescribed by the National Park Act of Thailand B.E 2504: ■ Hold or possess land, clear, burn or build within national park area; ■ Collect, take out, or do by any means whatsoever things that endanger or deteriorate woody plants, gum, yan wood oil, turpentine, minerals or other natural resources; ■ Take out animals or do by any means whatsoever things that endanger or deteriorate the animals, soil, rocks, gravel or sand; ■ Change a water-way or cause the water in a river, creek, swamp or marsh to overflow or dry up; ■ Collect, or do by any means whatsoever things that endanger flowers, leaves or fruits; ■ Take in any domestic animal, cattle or beast of burden; take cattle in or allow them to enter; take in or take out any vehicle or aircraft, unless permission is obtained from the competent official; ■ Dispose of rubbish or other things at places that are not provided for such purposes; ■ Fire any gun, cause any explosive article to explode, bring in fuel that may cause fire or make a noisy disturbance or do other acts that cause trouble or nuisance to any person or animal; ■ Take in any gear for hunting or catching animals or any weapon, unless permission is obtained from the competent official.

11/18/10 10:45 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.