Research
ðŘìĊęǰ ǰÞïĆïìĊęǰ ǰêčúćÙöǰ ǰ ÔöôýŞÚďýöćô×ċæóąñýćėÚĐúçøşĀô
ISSN : 1686-1612
สารบัญ
บรรณาธิการ
ชวนคุย ปญหาดานสิ่งแวดลอม ยังคงถูกหยิบยกมาตั้งเปนประเด็นในการ พูดคุยกันอยูอยางตอเนื่อง เรียกไดวาไมมีการตกยุคแตอยางใด ไมวา ตนเหตุของปญหานั้นจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากนํ้ามือมนุษย !!! จึงเปนอีกหนึง่ บทบาทของนักวิจยั ทีจ่ ะตองคนควา ทดลอง เพือ่ เผยแพร แกสาธารณะใหไดเห็นและตระหนักถึงความรายแรง รวมถึงแนวทาง การแกปญหานั้นๆ Green Research ฉบับนี้ นํางานวิจยั ใหมๆ ทีน่ า สนใจมาเผยแพร อีกเชนเคย จากเหตุการณนํ้าทวมชวงปลายปที่ผานมา หลายทานมีความเชื่อ และใช EM ชวยในการบําบัดนํา้ เสียจากการทวมขัง จุลนิ ทรียต วั นีท้ าํ งาน อยางไร และสามารถชวยบําบัดนํ้าเสียไดจริงหรือไม ? ฉบับนี้เราไดทราบคําตอบกัน จริงหรือที่การใชยายอมผมมีโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคมะเร็ง !!! ทําความรูจักและการพัฒนาพลังงานจากเซลลแสงอาทิตยเพื่อใช ประโยชนในชีวติ ประจําวัน การพัฒนาอยางตอเนือ่ งนีก้ า วไกลไปถึงไหนแลว รวมไปถึงการผสมผสานระหวางภูมปิ ญ ญาทองถิน่ กับหลักวิชาการ เขาดวยกันในการจัดการกับขยะทีม่ ปี ริมาณเพิม่ มากขึน้ ดวยการทํางาน ของระบบเตาเผาขยะชีวมวลไรควันของไทยและพัฒนาการของระบบ เตาเผาขยะที่ญี่ปุน ภายในเลม ยังมีบทความดานงานวิจัยเดนๆ ที่นาสนใจและมี ความสําคัญตอมนุษยและสิ่งแวดลอม ไมวาจะโดยตรงหรือทางออม เชิญรวมเดินทางไปกับเราไดเลย พบกันใหมฉบับหนา...
Contents เรื่องเดนประจําฉบับ 1 การศึกษาประสิทธิภาพ EM ของจุลินทรียในการบําบัด 7 9
นํ้าเสีย เตาเผาขยะชีวมวลไรควัน การจัดการขยะดวยระบบเตาเผาขยะ เมืองโตเกียว ประเทศ ญี่ปุน
ติดตามเฝาระวัง 11 ยายอมผมกับความเสี่ยงเปนโรคมะเร็ง 15 ผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมีทางการเกษตร 17 จากแหลงนํ้าดิบที่ปนเปอน 19
“สูนํ้าดื่ม กับสุขภาพที่ไมควรมองขาม” ซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส
กาวหนาพัฒนา 23 เซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) : พลังงานสะอาดเพื่อ 25 29
สิ่งแวดลอม การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ในการทํางาน (SHE) ในโรงงานผลิตนํา้ มันจากยางรถยนตเกา ไมใชแลว กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมกับการสงเสริมการศึกษา วิจัยดานสิ่งแวดลอมอยางมีสวนรวม
พึ่งพาธรรมชาติ 32 ชีวภาพ-ชีวมวล-ความหลากหลายทางชีวภาพ-เทคโนโลยี ชีวภาพสูการจัดตั้งสังคม Satoyama (Satoyama Initiative)
คณะผูจัดทํา
บรรณาธิการ
ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เทคโนธานี ตําบลคลองหา อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0-2577-4182-9 โทรสาร 0-2577-1138
วสุวดี ทองตระกูลทอง
ที่ปรึกษา
กองบรรณาธิการ
โสฬส ขันธเครือ มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย นิตยา นักระนาด มิลน ศิรินภา ศรีทองทิม หทัยรัตน การีเวทย รุจยา บุณยทุมานนท จินดารัตน เรืองโชติวิทย ณัญธิกานต ทะเสนฮด
จตุพร บุรุษพัฒน รัชนี เอมะรุจิ ภาวินี ปุณณกันต
บรรณาธิการบริหาร สุวรรณา เตียรถสุวรรณ
ติดตอขอเปนสมาชิก สวนความรวมมือและเครือขายนักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม โทรศัพท 0-2577-4182-9 ตอ 1226, 1215, 1121, 1102 โทรสาร 0-2577-1138 www.deqp.go.th/website/20/
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ
การศึกษาประสิทธิภาพ
EM
ในการบําบัดนํ้าเสีย
มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย ชวลา เสียงลํ้า อนุพงษ ปุณโณทก รุงอรุณ สุขสําราญ และ ชัชสกล ธนาดิลก
ปญหาและที่มาของงานวิจัย
สื
บเนื่องจากปญหาอุทกภัยของประเทศไทยในป พ.ศ. 2554 ทําใหประชาชนไดรับผลกระทบเปนจํานวนมากถึง 12.8 ลานคน ครอบคลุมพื้นที่ 63 จังหวัด คิดเปนพืน้ ทีก่ วา 150 ลานไร นิคมอุตสาหกรรมหลายแหงตองปดตัวลง สงผลเสียตอเศรษฐกิจของประเทศ มูลคาความเสียหายมากถึง 1.44 ลานลานบาท (1) สิง่ ทีต่ ามมาคือปญหาดานสาธารณสุข เนือ่ งจากนํา้ ทีท่ ว มขังไดชะเอาสิง่ ปฏิกลู และขยะจากหลายแหลงมารวมกัน ทําใหนาํ้ เนาเสีย โดยสาเหตุเกิดจากสารอินทรียใ นนํา้ มีปริมาณสูง เมือ่ เกิดการยอยสลายโดยจุลนิ ทรีย ทําใหนาํ้ มีปริมาณออกซิเจนลดลง และในทีส่ ดุ อาจกอใหเกิด สภาวะไรอากาศซึ่งสงกลิ่นเหม็นรบกวนการอยูอาศัยของประชาชนในบานเรือนที่มีนํ้าขัง และนอกจากนั้นยังสงผลเสียตอการดํารงชีพของปลาและ สัตวนาํ้ ตางๆ อีกดวย ปญหานี้ นอกจากจะสงผลตอสุขภาพของผูท ตี่ อ งสัมผัสกับแหลงนํา้ เปนเวลานานแลวยังสงผลตอสุขภาพจิตของผูป ระสบภัยอีกดวย จากปญหานํ้าเนาเสียดังกลาว รัฐบาลไดแกไขปญหาโดยการแจกจายกลุมจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพหรืออีเอ็ม (EM) เพื่อมาใชในการบําบัด นํ้าเสียที่ทวมขังตามบานเรือนและชุมชนจนเกิดความเขาใจในหมูประชาชนวาการใชอีเอ็ม สามารถนํามาใชในการปรับปรุงคุณภาพนํ้าได
อี เ อ็ ม มาจากคํ า ว า “Effective Microorganisms” เป น เครื่องหมายการคาของบริษัท EM Research Organization, Inc. มีสํานักงานใหญอยูที่เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุน โดยทั่วไป อีเอ็ม หมายถึง สวนผสมของเหลวที่มีจุลชีพแบบไมใชอากาศ (anaerobic Organisms) โดยจุลชีพเหลานี้สามารถอยูรวมกันไดและมีประโยชน กั บ สภาพแวดล อ ม จุ ล ชี พ เหล า นั้ น ได แ ก Lactobacillus casei (แบคทีเรียกรดแลคติค), Rhodopseudomonas palustris (แบคทีเรีย สังเคราะหแสง), Saccharomyces cerevisiae (ยีสต) และจุลชีพอื่นๆ ที่อยูในสภาพธรรมชาติของสวนผสมอีเอ็ม มีนกั วิชาการออกมาแสดงความเห็น ใหขอ มูล รวมถึงวิพากษวจิ ารณ เกี่ยวกับการใชอีเอ็มในการบําบัดนํ้าเสียกันอยางมาก เชน อาจารยจาก คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกลาววา การใชอีเอ็ม ในรูปแบบที่ไมเหมาะสม อาจสงผลทําใหเกิดปญหานํ้าเนาเสียจนทําให เกิดการขาดออกซิเจนที่รุนแรงขึ้นกวาเดิม และอีเอ็มที่ใสเขาไปไมมี ความสามารถในการสรางออกซิเจนแตอยางใด นอกจากนี้ องคประกอบของ อีเอ็มกอนที่รูจักกันในชื่อ EM ball หรือ Micro ball ซึ่งมีการปนโดยใช องคประกอบเปนสารอินทรียตางๆ เชน กากนํ้าตาล และ รําขาว จะยิ่ง สงผลใหเกิดการเนาเสียของแหลงนํา้ เพิม่ ขึน้ อีกดวย เพราะการเติมอีเอ็ม ลงในนํา้ เปนการเพิม่ สารอินทรียใ หกบั นํา้ นัน้ หรือพูดอีกนัยหนึง่ เปนการเติม ความสกปรกในรูปของบีโอดีใหกับนํ้านั่นเอง จากเหตุการณสึนามิใน ประเทศญี่ปุน หนวยงานของรัฐบาลญี่ปุนไดทําการทดลองเพื่อศึกษา ความสามารถของอี เ อ็ ม ในการบํ า บั ด นํ้ า เสี ย แล ว พบว า อี เ อ็ ม ที่ ใช
ไมไดชวยในการบําบัดนํ้าเสียแตอยางใด(2) ทําใหเกิดคําถามในสังคมวา EM สามารถปรับปรุงคุณภาพนํ้าทวมขังไดจริงหรือไม ประกอบกับใน ประเทศไทย ยังไมมีรายงานหรือหลักฐานยืนยันขอมูลเชิงวิจัยที่แนชัด เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ จากขอมูลดังกลาวจึงเปนทีม่ าของการศึกษาอีเอ็มตอการ ปรับปรุงคุณภาพนํ้าเสียในสภาวะนํ้าทวมขัง
จุดประสงคของงานวิจัย
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเสียของอีเอ็ม สูตรตางๆ โดยการเปรียบเทียบคุณสมบัติของอีเอ็ม 3 ชนิดดวยกัน โดยใช นํ้ า ที่ เ กิ ด จากการท ว มขั ง ของระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ของหอพั ก รักษสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม นานเปนเวลา 1 เดือน มาศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของนํา้ กอนและหลังบําบัดตามสูตร ของอีเอ็มแตละสูตร
ขอบเขตของงานวิจัย
คัดเลือกอีเอ็มที่มีการใชกันอยางแพรหลายในขณะนี้ 3 ชนิด มา ศึกษาประสิทธิภาพอันไดแก 1. อีเอ็มนํ้าสูตรกรมพัฒนาที่ดิน (พด. 6) 2. อีเอ็มกอนสูตรกสิกรรมธรรมชาติ (EM ball) 3. อีเอ็มนํ้าสูตรของบริษัท EM Research Organization, Inc. (EM นํ้า) ติดตามคุณภาพนํ้า เชน ความขุน คาออกซิเจนละลายนํ้า ปริมาณ ความสกปรกของสารอินทรีย คาสารอาหารพืช และจุลนิ ทรียท เี่ ปนดัชนี ชี้วัดของนํ้าเสียบางชนิด อยางตอเนื่องเปนระยะเวลา 1 สัปดาห No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
1
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ วิธีการทดลอง
นํา
อีเอ็มมาใชในการทดลองปรับปรุงคุณภาพนํา้ เสียตามวิธที เี่ หมาะสมดังทีร่ ะบุไวของแตละสูตร จําลองสภาวะนํา้ ทวมขังภายในถังพลาสติก โดยนํานํ้าเสียจากหอพักศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอมปริมาตร 100 ลิตร มาใสในถังพลาสติกขนาด 300 ลิตร ใหระดับนํ้าใน แตละถังลึก 30 เซนติเมตร จากนั้น แบงการทดลองออกเปน 4 ชุดทดลอง ชุดทดลองละ 3 ซํ้า คือ
1 2 3 4
ชุ ด ทดลองควบคุ ม ซึ่ ง เป น นํ้ า เสี ย จากหอพั ก ศู น ย วิ จั ย และ ฝกอบรมดานสิ่งแวดลอมซึ่งไมมีการบําบัดดวยอีเอ็มสูตรใดๆ (Control) ชุดทดลองซึ่งเปนนํ้าเสียจากหอพักศูนยวิจัยและฝกอบรม ดานสิ่งแวดลอมซึ่งบําบัดดวยอีเอ็มนํ้าสูตรกรมพัฒนาที่ดิน (พด. 6) ชุดทดลองซึ่งเปนนํ้าเสียจากหอพักศูนยวิจัยและฝกอบรม ดานสิง่ แวดลอมซึง่ บําบัดดวยอีเอ็มกอนสูตรกสิกรรมธรรมชาติ (EM ball) ชุดทดลองซึ่งเปนนํ้าเสียจากหอพักศูนยวิจัยและฝกอบรม ดานสิ่งแวดลอมซึ่งบําบัดดวยอีเอ็มนํ้าสูตรของบริษัท EM Research Organization, Inc. (EM นํ้า)
จากนั้นสุมตัวอยางนํ้ามาวิเคราะหคุณภาพนํ้าพื้นฐานอันไดแก คา DO, BOD, COD, ไอออนบวกและไอออนลบ, คาความขุน , ความเปน กรด-ดาง และจุลินทรียที่ปนเปอนในนํ้า และทําการสุมตัวอยางนํ้ามา วิเคราะหทกุ 1, 6, 12, 24 ชัว่ โมง ทุกวันจนครบ 7 วัน นําผลการทดลอง ที่ไดมาวิเคราะหและสรุปผล
วิธีการใชอีเอ็มของแตละสูตร
ผลการทดลอง
1 2 3
อีเอ็มนํา้ สูตรกรมพัฒนาทีด่ นิ (พด. 6) สัดสวนทีใ่ ชคอื 10 มิลลิลติ ร ตอนํ้าเสีย 100 ลิตร อีเอ็มกอนสูตรกสิกรรมธรรมชาติ (EM ball) สัดสวนที่ใช คือ 1 กอน ตอบอนํ้า 4 ตารางเมตร หรือ 1 กอน ตอ นํ้า 1 ลูกบาศกเมตร อีเอ็มนํ้าสูตรของบริษัท EM Research Organization, Inc. (EM นํ้า) สัดสวนที่ใชคือ 10 มิลลิลิตร ตอนํ้าเสีย 100 ลิตร
จากการทดลองพบวาคาคุณภาพนํ้าพื้นฐานจากพารามิเตอรตางๆ คือ BOD COD ไอออนบวก ไอออนลบ และปริมาณจุลินทรีย ของ ชุดทดลองแตละชุดซึง่ เกิดจากคาเฉลีย่ ของคาวิเคราะหทงั้ 3 ซํา้ พบวาสัมประสิทธิข์ องการกระจายของขอมูลระหวางซํา้ กับการกระจายของขอมูล ระหวาง treatment (อีเอ็ม 3 ชนิดและชุดทดลองควบคุม) มีคาไมแตกตางกันดังแสดงในตารางที่ 1
2
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
hr hr hr day day day day day day day
อุณหภูมิ (0C) Control EM Ball พด6 27.8 24.0 25.4 24.2 24.1 25.6 25.5 24.5 25.6 28.4 25.0 26.0 24.6 24.8 25.2 23.8 24.0 24.2 23.6 23.7 24.0 23.9 23.9 23.9 23.3 23.5 23.8 24.9 25.0 25.4 ความเปนกรด-ดาง ความขุน (NTU) EM นํ้า Control EM Ball พด6 EM นํ้า Control EM Ball พด6 28.7 7.2 7.3 7.2 7.2 64.6 62.2 39.8 28.7 7.3 7.3 7.3 7.2 60.8 57.4 36.6 27.8 7.2 7.3 7.2 7.2 38.1 62.9 37.9 27.7 7.2 7.2 7.3 7.3 70.8 70.8 47.2 25.4 7.3 7.3 7.3 7.2 71.3 63.8 68.8 24.8 7.3 7.3 7.3 7.3 62.6 57.4 63.4 24.9 7.2 7.3 7.3 7.3 52.5 51.0 56.5 24.3 7.3 7.3 7.3 7.3 45.3 42.2 46.7 24.8 7.3 7.3 7.3 7.3 27.3 27.8 31.4 26.5 7.3 7.3 7.3 7.3 23.1 16.4 18.1
1 6 12 1 2 3 4 5 6 7
เวลา
hr hr hr day day day day day day day
COD (mg/L) Control EM Ball พด6 161 150 169 156 141 137 154 137 159 165 176 156 135 178 156 122 116 139 114 114 116 114 167 106 94 85 101 84 69 96
NH4 (แอมโมเนีย) (mg/L) NO3- (mg/L) EM นํ้า Control EM Ball พด6 EM นํ้า Control EM Ball พด6 176 14.49 14.44 14.26 13.88 0.50 0.42 0.34 144 13.68 13.99 12.89 13.27 0.75 0.65 1.11 152 11.71 13.68 12.81 13.00 0.35 0.57 0.50 146 13.74 13.93 13.16 13.09 0.81 0.44 0.48 144 12.70 9.18 12.15 12.00 0.90 0.54 0.47 126 11.64 11.33 11.15 11.26 0.78 0.28 0.84 131 10.80 11.27 8.33 10.76 0.93 0.46 0.55 113 10.60 10.99 10.79 10.50 0.45 0.34 0.36 90 10.55 10.10 10.79 10.23 0.40 0.53 0.59 103 9.95 10.16 10.46 9.58 0.98 1.23 0.71
ตารางที่ 1 (ตอ) แสดงผลการวิเคราะหคาคุณภาพนํ้าเฉลี่ยดังนี้ คาCOD คาไอออนบวกและไอออนลบ
1 6 12 1 2 3 4 5 6 7
เวลา
ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะหคาคุณภาพนํ้าเฉลี่ย ดังนี้ คาอุณหภูมิ คาความเปนกรด-ดาง คาความขุน และคาออกซิเจนละลายนํ้า
NO2- (mg/L) EM นํ้า Control EM Ball พด6 1.11 ND ND 0.11 0.44 ND ND ND 0.49 ND 0.08 ND 0.52 ND ND ND 0.41 ND ND ND 0.83 ND 0.07 ND 0.68 ND ND ND 0.60 ND ND ND 1.45 ND ND ND 0.40 0.06 0.08 ND
EM นํ้า ND ND ND ND ND ND ND ND 0.08 ND
คาออกซิเจนละลายนํ้า (mg/L) EM นํ้า Control EM Ball พด6 EM นํ้า 67.1 2.2 0.8 0.7 2.1 73.5 0.8 0.8 1.1 1.2 71.9 0.9 0.7 0.8 0.8 74.4 1.4 1.0 0.7 0.5 80.9 0.8 0.7 0.6 1.2 70.5 0.7 0.8 0.9 1.1 61.0 0.7 0.8 0.7 0.8 55.7 0.7 0.8 0.7 0.7 45.1 1.0 0.9 0.8 0.7 32.7 0.5 1.3 0.7 0.6
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ
No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
3
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ ตารางที่ 1 (ตอ) แสดงผลการวิเคราะหคาคุณภาพนํ้าเฉลี่ย ดังนี้ ปริมาณจุลินทรียที่ปนเปอนในแหลงนํ้า
35.0 30.0
คาความเปนกรด-ดาง ในนํ้า
คาอุณหภูมิในนํ้า (องศาเซลเซียส)
Total Coliform (cfu/ml) E.Coli (cfu/ml) Enterococci (cfu/ml) เวลา EM EM Control EM EM Control EM EM Control Ball พด6 พด6 นํ้า Ball นํ้า Ball พด6 นํ้า 1 hr 161 150 169 176 14.49 14.44 14.26 13.88 0.50 0.42 0.34 1.11 6 hr 156 141 137 144 13.68 13.99 12.89 13.27 0.75 0.65 1.11 0.44 12 hr 154 137 159 152 11.71 13.68 12.81 13.00 0.35 0.57 0.50 0.49 1 day 165 176 156 146 13.74 13.93 13.16 13.09 0.81 0.44 0.48 0.52 2 day 135 178 156 144 12.70 9.18 12.15 12.00 0.90 0.54 0.47 0.41 3 day 122 116 139 126 11.64 11.33 11.15 11.26 0.78 0.28 0.84 0.83 4 day 114 114 116 131 10.80 11.27 8.33 10.76 0.93 0.46 0.55 0.68 5 day 114 167 106 113 10.60 10.99 10.79 10.50 0.45 0.34 0.36 0.60 6 day 94 85 101 90 10.55 10.10 10.79 10.23 0.40 0.53 0.59 1.45 7 day 84 69 96 103 9.95 10.16 10.46 9.58 0.98 1.23 0.71 0.40 เมื่อนําคาเฉลี่ยที่ไดจากผลการทดลองดังตารางที่ 1 มาสรางกราฟความสัมพันธระหวางเวลาที่ผานไปกับคาคุณภาพนํ้าพื้นฐานตางๆ จะพบ ความสัมพันธดังภาพ
25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0
7.3 7.2 7.2 7.1
6 12 1 2 3 4 5 6 7 hr hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball
1 hr
6 hr
พด6 EM นํ้า
ภาพที่ 1 แสดงผลการเปรียบเทียบคาอุณหภูมิในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด 90.0 80.0 70.0 60.0 50.0 40.0 30.0 20.0 10.0 0.0
12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball
พด6 EM นํ้า
ภาพที่ 2 แสดงผลการเปรียบเทียบคาความเปนกรด-ดางในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด 2.5 คาออกซิเจนละลายนํ้า (mg/L)
คาความขุนของนํ้า (NTUs)
7.3
7.1 1 hr
2.0 1.5 1.0 0.5 0.0
1 hr
6 hr
12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball
4
7.4 7.4
พด6 EM นํ้า
ภาพที่ 3 แสดงผลการเปรียบเทียบคาความขุนของนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด www.deqp.go.th No. 21 October 2012
1 hr
6 hr
12 hr
1 2 3 4 5 6 7 Day Days Days Days Days Days Days
Control EM Ball
พด6 EM นํ้า
ภาพที่ 4 แสดงผลการเปรียบเทียบคาออกซิเจนละลายในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ ปริมาณ NH4 ในนํ้า mg/L
คา COD mg/L
200 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0
16.00 14.00 12.00 10.00 8.00 6.00 4.00 2.00 0.00
1 6 12 1 2 3 4 5 6 7 hr hr hr Day Days Days Days Days Days Days Control พด6 EM Ball EM นํ้า
1.60 1.40 1.20 1.00 0.80
12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control พด6 EM Ball EM นํา้
3.0E+04
0.60 0.40 0.20
2.5E+04 2.0E+04 1.5E+04 1.0E+04 0.5E+03 0.0E+04
0.00 1 hr
6 12 1 2 3 4 5 6 7 hr hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball
1 hr
6 hr
พด6 EM นํ้า
ภาพที่ 7 แสดงผลการเปรียบเทียบคา NO3นํ้าที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด 4.5E+02 4.0E+02 3.5E+02 3.0E+02 2.5E+02 2.0E+02 1.5E+02 1.0E+02 0.5E+02
12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball
พด6 EM นํ้า
ภาพที่ 8 แสดงผลการเปรียบเทียบปริมาณ total coliform ในนํ้าที่ ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด จํานวน E-Coil ในนํ้า (CFU/ml)
จํานวน Enterococcus (CFU/ml)
6 hr
ภาพที่ 6 แสดงผลการเปรียบเทียบคา NH4 นํ้าที่ผานการบําบัด ดวยอีเอ็ม 3 ชนิด คาออกซิเจนละลายนํ้า (mg/L)
ปริมาณ NO3 ในนํ้า mg/L
ภาพที่ 5 แสดงผลการเปรียบเทียบคา COD นํ้าที่ผานการบําบัด ดวยอีเอ็ม 3 ชนิด
1 hr
2.0E+04 1.8E+04 1.6E+04 1.4E+04 1.2E+04 1.0E+04 0.8E+04 0.6E+04 0.4E+04 0.2E+04 0.0E+04
0.0E+02 1 hr
6 hr
12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball
พด6 EM นํ้า
ภาพที่ 9 แสดงผลการเปรียบเทียบปริมาณ Enterococcus ในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด
1 hr
6 hr
12 1 2 3 4 5 6 7 hr Day Days Days Days Days Days Days Control EM Ball
พด6 EM นํ้า
ภาพที่ 10 แสดงผลการเปรียบเทียบปริมาณ Escherichia coli ในนํ้า ที่ผานการบําบัดดวยอีเอ็ม 3 ชนิด No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
5
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ เมือ่ นําคาความขุน คาออกซิเจนละลายนํา้ คาความสกปรกของสารอินทรียใ นรูปของซีโอดี คาความเขมขนของแอมโมเนีย ปริมาณจุลนิ ทรีย ปนเปอนทั้ง 3 ชนิด ของชุดทดลองทั้ง 3 ซํ้า กับชุดควบคุม มาทดสอบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แบบ 2 tailed T score test ทีค่ วามเชือ่ มัน่ ทางสถิติ 90 % พบวาไมพบความแตกตางระหวางคาเฉลีย่ ระหวางคุณภาพนํา้ ทีเ่ ติมสารอีเอ็มทัง้ 3 ชนิด กับชุดควบคุม หรือกลาวอีก นัยหนึง่ คือสารอีเอ็มทัง้ 3 ชนิดทีเ่ ติมลงไปในนํา้ เสีย ไมทาํ ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงคุณภาพนํา้ ทีท่ าํ การวิเคราะหทงั้ 6 พารามิเตอรแตอยางใด การที่ นํ้ามีคาออกซิเจนละลายนํ้าที่สูงขึ้นและคาความสกปรกของนํ้าในรูปของซีโอดีลดลงอยางตอเนื่องในแตละวัน และปริมาณจุลินทรียทั้งสามชนิด คือ total coliform, Enterococcus, Escherichia coli ในนํ้าที่ใชเปนดัซนีชี้วัดของจุลินทรียชนิดอื่นๆ ที่ลดลงประมาณวันที่ 3 ของการทดลอง เนื่องมาจากการบําบัดที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ การบําบัดนํ้าเสียจากการทวมขัง อาจชวยโดยการใหนํ้าสัมผัสอากาศ และแสงแดดซึ่งสาหรายที่ อยูในนํ้าเสียจะเปนตัวสรางออกซิเจนใหเพิ่มขึ้นในนํ้าไดจากกระบวนการสังเคราะหแสง อยางไรก็ตาม การทดลองนี้ดําเนินการในอาคารซึ่งไมมี แสงแดดสองถึงถังทดลองโดยตรง จึงไมสามารถประเมินอิทธิพลของแสงแดดที่สามารถชวยในการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเสียได
เอกสารอางอิง 1. http://www.time.com/time/world/article/0,8599,2101273,00.html 2. http://www.eng.chula.ac.th/?q=node/3915
6
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ
เตาเผา ขยะชีวมวลไรควัน นิตยา นักระนาด มิลน
หมอกควัน...ปญหาที่มีทางปองกัน
ใ
นประเทศไทย ป ญ หาหมอกควั น เป น ป ญ หาที่ ท วี ค วาม รุ น แรงขึ้ น เป น ลํ า ดั บ ทั้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เองโดยธรรมชาติ แ ละ จากการกระทํ า ของมนุ ษ ย โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบนที่ มี ส ภาพภู มิ ป ระเทศเป น แอ ง กะทะ มี ทิ ว เขาล อ มรอบ ก อ ให เ กิ ด สารมลพิ ษ ทางอากาศจํ า นวนมาก เช น ก า ซคาร บ อน มอนนอกไซต ก า ซไนโตรเจนไดออกไซต สารอิ น ทรี ย ร ะเหย ไดออกซิน รวมทั้งฝุนละออง เถา เขมาควัน จากรายงานการตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษพบวา ในหลายจังหวัดทางภาคเหนือ ไดแก เชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน พะเยา ลําปาง ลําพูน แพร และ นาน ตรวจพบคาเฉลี่ยของฝุนละออง รวมหรือฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (พีเอ็ม 10) ในเวลา 24 ชั่วโมง มีคาเกินมาตรฐานในหลายพื้นที่ (ซึ่งคามาตรฐานไมเกิน 120 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร) ซึ่งสรุปในภาพรวมพบวาคุณภาพอากาศ
จัดอยูในระดับปานกลางถึงระดับที่มีผลกระทบตอสุขภาพมาก ซึ่งมี ความสัมพันธสอดคลองกับอัตราการเจ็บปวยดวยโรคทางเดินหายใจ ที่เพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด รวมถึงกลุมโรคหัวใจและหลอดเลือดทุกชนิด กลุมโรคตาอักเสบ และโรคผิวหนังอักเสบ นอกจากนี้ยังสงผลกระทบ ตอเศรษฐกิจ สังคม และการทองเที่ยว กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ไดตระหนักถึงปญหามลพิษ หมอกควันจากการเผาในทีโ่ ลง จึงไดรเิ ริม่ ดําเนินการโครงการพัฒนาเตาเผา ขยะชีวมวลสําหรับชุมชน โดยมีเปาหมายการนําไปใชกาํ จัดของเหลือทิง้ จากการเกษตรแทนการเผาในที่โลง การออกแบบเตาเผานี้ จะเป น การผสมผสานภู มิ ป ญ ญา ทองถิ่นกับหลักวิชาการเขาดวยกัน เพื่อสรางนวัตกรรมที่เปนตนแบบ เตาเผาขยะชีวมวลอยางงายที่กอมลพิษนอยถึงนอยที่สุดเปนการใช หลักวิชาการการเผาไหมแบบใชออกซิเจน หรือ Combustion เพื่อให ความรอนที่ชั้นบนของเชื้อเพลิงชีวมวล เหนี่ยวนําใหเกิดกระบวนการ ไพโรไลซีส ลงไปดานลางของเตา ทําใหไดถา นชีวมวลสําหรับใชเปนแหลง พลังงาน นอกจากนั้น ทําใหอากาศไหลผานบริเวณชองวางระหวางเตา ชั้นในกับชั้นนอก เมื่อถูกเผาใหรอนดวยอุณหภูมิของไพโรไลซีส ก็จะ ลอยขึ้นไปเหนือชั้นเชื้อเพลิงชีวมวล ชวยใหเกิดปฏิกริยาการแตกตัว ขั้นที่สองหรือแกสซิฟเคชันของกาซไฮโดรคารบอนจากกระบวนการ ไพโรไลซีสเชือ้ เพลิงชีวมวล กลายเปนไอนํา้ และกาซคารบอนไดออกไซด
No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
7
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ
ปฏิกริยาการเผาชีวมวลในเตาเผามี ๓ ขั้นตอน คือ 1. ใหความรอนขั้นตน จนถึง 200°C เพื่อไลความชื้น 2. อากาศไหลเขา (primary air) เชื้อเพลิงชีวมวลเผาไหมอุณหภูมิระหวาง 200 ถึง 500°C ได hydrocarbon gases และถาน หากมี ออกซิเจนมากในเตา ถานจะถูกเผาไหมที่ 300 ถึง 500°C ได CO2 และเถา (ที่จุดนี้หากตองการถาน เราจะตองจํากัดปริมาณอากาศไหลเขาดวย ขนาดรูของเตาชั้นในหรือการปดเปดประตูเตา) 3. อากาศไหลเขาผานทอนําอากาศเขาไปในเตา และปลอยสูช ว งบนของเปลวไฟจากการเผาชีวมวล ทําใหไดอากาศรอนทีเ่ รียกวา secondary hot air ซึ่งจะเติมออกซิเจนรอน ทําใหกาซที่เกิดจากการเผาไหมตอนแรกถูกเผาอีกครั้งและแตกเปน CO2 และไอนํ้า
การออกแบบเตาเผาขยะชีวมวลประสิทธิภาพสูงและราคาถูก
ใชหลักวิชาการของการไหลของอากาศแบบธรรมชาติ-draft flow และการให secondary hot air ที่ชั้นบนของเชื้อเพลิง แบบที่คิดคนขึ้น จะยึดหลักการนําของเหลือใชจาํ พวกถังนํา้ มัน กระปอง มาประกอบเปนตัวเตา โดยนวัตกรรมการคิดคนจะอยูท กี่ ารออกแบบชองเติมอากาศ การให อากาศ สรางเงื่อนไขใหเกิด thermochemical reactions ทั้ง 3 รูปแบบคือ pyrolysis, combustion และ gasification ในเตาเผา สิ่งประดิษฐนี้จะนําไปจดสิทธิบัตรเมื่อพัฒนาใหไดตนแบบที่ดีที่สุดแลว โดยจะตองผานการทดสอบประสิทธิภาพการเผา ดูระยะเวลาเผา ชนิดเชือ้ เพลิง และกาซทีป่ ลดปลอยออกมาโดยใชเครือ่ งมือทีเ่ รียกวา Flue Gas Analyser หรือ Combustion Efficiency Tester วิเคราะหคณ ุ สมบัติ เชื้อเพลิงของถานที่ผลิตได รวมทั้งคุณสมบัติการดูดซับและความบริสุทธิ์หากนําไปผลิตถานกัมมันตตอไป
แบบจําลอง 8
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ
การจัดการขยะดวยระบบเตาเผา สุดา อิทธิสุภรณรัตน
เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุน
โ
ตเกียว เปนเมืองหลวงของญี่ปุน และเปนพื้นที่ศูนยกลางทางการเมือง และเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศ มีพื้นที่ทั้งหมด 2,187 ตาราง กิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยูทั้งสิ้น 13,187,000 คน โดยพื้นที่ทางฝงตะวันออกติดกับอาวโตเกียว มีทั้งหมด 23 เมือง ในพื้นที่ 621 ตารางกิโลเมตร ซึง่ ประมาณเกือบหนึง่ ในสีข่ องพืน้ ทีใ่ นโตเกียว แตมพี ลเมืองอาศัยอยูจ าํ นวน 8,970,000 คน ซึง่ มากกวาครึง่ หนึง่ ของจํานวน พลเมืองที่อาศัยอยูในโตเกียว ไดรวมกันจัดตั้งและดําเนินการจัดการขยะภายใตการทํางานของหนวยงาน Clean Association of TOKYO 23 ซึ่งเปนหนวยงานพิเศษของรัฐบาลทองถิ่น ภายใตพระราชบัญญัติขององคการปกครองสวนทองถิ่น (Local Autonomy Act) ในการเปนสวนหนึ่ง เพื่อรวมกันจัดการขยะที่เกิดขึ้น ภารกิจของแตละหนวยงาน การจัดการขยะจากบานเรือน ในระยะตนนั้น แตละเมืองมีหนาที่ จั ด การขยะอย า งเป น อิ ส ระ ในการรวบรวม คั ด แยะขยะที่ เ ผาได (combustible wastes) เผาไมได ( incombustible wastes) และ ขยะทีม่ ขี นาดใหญ (large sized wastes) รวมทัง้ การขนสง เพือ่ สงตอให หนวยงาน Clean Association of TOKYO 23 เปนผูด าํ เนินงานจัดการ ตอไป ในการจัดการของ Clean Association of TOKYO 23 ทําหนาที่ ในการจัดการขยะระยะกลาง ในการรวบรวมขยะจากแตละเมืองมาผาน กระบวนการตางๆ กอนเขาเตาเผาขยะ (incinerator) ประกอบไปดวย ศูนยจดั การขยะทีเ่ ผาไมได (Incombustible waste processing center) 2 แหง หนวยงานจัดการขยะขนาดใหญ (Pulverization processing plant for large-sized wastes) 1 แหง และเตาเผาขยะ (Incinerator) จํานวน แหง 20 แหง สุดทายขยะที่ถูกจัดการอยางเปนระบบแลว จะ ถูกนําไปทิง้ ทีห่ ลุมฝงกลบขยะ โดยการสงมอบภาระหนาทีน่ ใี้ หหนวยงาน รัฐบาลของเมืองโตเกียวเปนผูดูแลรับผิดชอบตอไป
ขั้นตอนการจัดการขยะ ในขั้นตอนแรก ขยะตองถูกทําการคัดแยกตั้งแตบานเรือน เปน 4 ประเภท ไดแก ขยะทีเ่ ผาได เชน เศษอาหาร กระดาษ และขยะพลาสติก เปนตน ขยะทีเ่ ผาไมได ไดแก แกว กระเบือ้ ง และโลหะ เปนตน ขยะทีม่ ี ขนาดใหญ เชน โตะ ตู เตียง ที่นอน และ จักรยาน เปนตน และสุดทาย เปนขยะที่สามารถรีไซเคิลได เชน กระดาษ ขวดพลาสติก ขวดแกว กระปองอลูมเิ นียม เปนตน แตละเมืองจะทําการขนสงขยะแตละประเภท ใหหนวยงาน Clean Association of TOKYO 23 เปนผูดําเนินการตอ โดยขนขยะที่เผาไดเขาระบบเตาเผาขยะ ขยะที่เผาไมได ถูกสงไปที่ ศูนยจัดการขยะที่เผาไมได เพื่อทําการคัดแยกเอาสวนที่เปนโลหะ และ อลูมิเนียมออกมา สวนที่เหลือทําการบดเปนชิ้นเล็กๆ กอนขนสงไปทิ้งที่ หลุมฝงกลบขยะ สวนขยะที่มีขนาดใหญ จะถูกนํามาคัดแยกเชนเดียวกับ ศูนยจัดการขยะที่เผาไมได แตจะมีบางสวนที่เปนขยะที่เผาได ซึ่งจะ ถูกขนสงไปยังเตาเผาขยะตอไป ในขณะที่ขยะรีไซเคิลได แตละเมืองจะ บริหารจัดการขยะสวนนี้ดวยตนเอง No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
9
GREEN RESEARCH เรื่องเดนประจําฉบับ ระบบเตาเผาขยะ ขยะเผาไดจะถูกรวบรวมสงเขาระบบเตาเผาขยะ ซึ่งมีอยูจํานวน 20 แหง ที่อยูในความดูแลของหนวยงาน Clean Association of TOKYO 23 โดยจะขอยกตัวอยางระบบเตาเผาขยะของเมือง Chuo ซึ่งเปนหนึ่งในความดูแลของหนวยงานดังกลาวขางตน ระบบเตาเผาในเมือง Chuo มี 2 เตา สามารถรับปริมาณขยะรวมไดถึง 600 ตัน/วัน ซึ่งนอกจากสามารถทําการเผาขยะใหเหลือเปนเถาเพียงปริมาณรอยละ 5 จากขยะทั้งหมดแลว ยังสามารถผลิตกระแสไฟฟาจากการเผาขยะจํานวน 15,000 กิโลวัตต เพื่อนําไปใชในกระบวนการเผาขยะ และนําไปขายเปนรายไดอีกดวย โรงเก็บขยะกอนเผา จะมีแขนคีบทําการผสมขยะ กองพักไวเพือ่ ระบายนํา้ ออกกอนทีจ่ ะตักขยะ เขาเตาเผา
ระบบเตาเผาขยะจะถูกควบคุมการทํางานแบบอัติโนมัติ เมื่อขยะถูกลําเลียงเขาสูท่ีเก็็บขยะ ขนาด 2,500 ตัน เครนจะทําการตักขยะเขาสูเ ตาเผา และเผาทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู กวา 850 องศาเซลเซียส เพือ่ ปองการไมใหเกิดสารพิษไดออกซินขึน้ หรือเกิดขึน้ มานอยทีส่ ดุ สวนไอสารพิษทีป่ นเปอ นจากการ เผาขยะตางๆ จะถูกบําบัดผานผงถานกัมมันต (activated carbon) ปูนขาว (lime) ถุงกรอง (bag filter) ระบบ gas scrubber และระบบปฏิกรณบําบัดไนโตรเจนออกไซด (NOx) กอนที่จะ ระบายออกสูบ รรยากาศ นํา้ เสียทีเ่ กิดจากกระบวนการบําบัดไอของสารพิษ จะผานการบําบัดขัน้ ตน ขยะเผาได กอนที่จะระบายลงระบบบําบัดนํ้าเสียของเมือง สวนเถาที่ไดจากการเผาขยะจะถูกนําไปหลอมตอที่ อุณหภูมสิ งู กวา 1,200 องศาเซลเซียส และทําใหเย็นลงอยางรวดเร็ว จะทําใหเถากลายเปน slag ซึ่งเปนวัสดุที่มีความแข็งมาก สําหรับใชผสมเปนองคประกอบสําหรับทําเปนวัสดุเพื่อใชในการ กอสรางอาคารและถนน จะเห็นวาลักษณะการทํางานของหนวยงานที่ดําเนินการมีหนาที่รับผิดชอบอยางชัดเจน มีการทํางานอยางเปนขั้นตอนและเปนระบบ ประชาชนใหความรวมมือในการจัดการขยะใน ขั้นตอนแรก โดยการคัดแยกขยะถือวาเปนกระบวนการสําคัญที่สุด ที่จะทําใหการดําเนินการ กําจัดขยะงายขึน้ และเปนการลดปริมาณขยะลงตัง้ แตตน ทาง ทัง้ 23 เมือง ไดรว มมือกัน เพือ่ ทําการ จัดตั้งหนวยงานพิเศษเฉพาะดาน เพื่อดูแลรับผิดชอบระบบการจัดการขยะในระยะกลางใหมี การเก็บขยะเผาได ประสิทธิภาพ โดยอาศัยเครื่องมือ และสถานที่รวมกัน เนื่องจากบางเมืองไมมีพื้นที่หรือเครื่องมือ เปนของตนเอง นอกจากนี้หนวยงานพิเศษนี้ ยังคํานึงถึงสุขภาพอนามัยของประชาชน และ สิ่งแวดลอม ในการปองการสารพิษที่ปนเปอนมาจากกระบวนการใชเตาเผาขยะ ทั้งทางอากาศ และนํา้ เสียเปนอยางดี และยังมีการพัฒนาแปรรูปจากของเสียใหกลายเปนทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชน อยาง slag และพลังงานไฟฟาไดอีกดวย
แผนผังแสดงขั้นตอนการเผา และการบําบัดหลังการเผา
การเก็บขยะที่มีขนาดใหญ
อางอิง: Waste report 2012: Towards a recycling society, Clean Association of TOKYO 23 10
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
หน า จอเตาเผา ขยะที่ อุ ณ หภู มิ สูงกวา 8500c
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
ยายอมผม กับความเสี่ยงเปนโรค
ใน
มะเร็ง
นิตยา นักระนาด มิลน
โลกทุกวันนี้ แฟชั่นการเปลี่ยนสีผมไดเขามามีบทบาทอยางมากทั้งในกลุม วัยรุน วัยกลางคน และผูสูงวัย แตกอนคนจะยอมผมก็ตอเมื่อ ผมหงอก หรืออาจจะยอมเพราะมีอาชีพนางแบบหรือนักแสดง จากสถิติการตายของประชากรไทย โรคที่คราชีวิตคนไทยอันดับหนึ่งในปจจุบันคือ โรคมะเร็ง สาเหตุจากพฤติกรรมการบริโภค การใชชีวิต ทีม่ คี วามเสีย่ งตอการเกิดโรคมากขึน้ รวมทัง้ ปจจัยสภาวะแวดลอมทีม่ มี ลพิษ ลวนเปนคําตอบของสาเหตุการกอโรคมะเร็งในสิง่ มีชวี ติ ทีไ่ มเวนแมแต สัตวเลี้ยงของเราเอง ขณะนี้โรคมะเร็งกําลังเปนปญหาสาธารณสุขที่รุนแรงระดับโลก เปนภัยเงียบที่คุกคามชีวิตประชาชนที่อยูในวัยแรงงาน และผูสูงอายุมาก ที่สุด โดยมีรายงานพบผูปวยโรคมะเร็งทั่วโลกปละ 13.7 ลานคน เสียชีวิตปละ 7.6 ลานคน แนวโนมจํานวนผูปวยและเสียชีวิตเพิ่มขึ้นทุกประเทศ องคการอนามัยโลกคาดการณวา ในอีก 18 ปขา งหนา คือ ในป 2573 จะมีผเู สียชีวติ จากโรคนีท้ วั่ โลกประมาณ 17 ลานคน ถือวาเปนตัวเลขทีส่ งู มาก องคการอนามัยโลกไดเรียกรองใหทุกประเทศ เรงปองกัน ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งใหเร็วที่สุด และกําหนดใหวันที่ 4 กุมภาพันธทุกปเปนวันมะเร็งโลก (World Cancer Day) เพื่อกระตุนใหทุกประเทศรณรงคใหความรูประชาชนเพื่อปองกันการปวย โดยกําหนดใหทุกประเทศลดอัตราการตายโรคมะเร็ง ใหไดรอยละ 25 ภายในป 2568 สําหรับประเทศไทย พบวาโรคมะเร็งเปนสาเหตุการตายสูงอันดับ 1 ของคนไทยตอเนือ่ งมานานกวา 10 ป ตัง้ แตป 2543 ประมาณรอยละ 20 ของผูเสียชีวิตทุกสาเหตุ คาดอีก 3 ปขางหนาประเทศไทยจะมีผูปวย มะเร็งรายใหม 133,767 คน และมีผูเสียชีวิตจากมะเร็ง 84,662 คน อัตราสวนชาย-หญิงใกลเคียงกัน ทัง้ นี้ การกอตัวของโรคมะเร็งจะคอยเปนคอยไป ไมรตู วั กระทรวง สาธารณสุขแนะนําผูที่มีอายุ 30 ปขึ้นไป ควรตรวจสุขภาพคนหาความ ผิดปกติอยางนอยปละ 1 ครัง้ หากตรวจพบเร็วโอกาสรักษาหายจะมีสงู สัญญาณผิดปกติที่สงสัยวาอาจเปนมะเร็งมี 7 ประการ ไดแก 1. มีเลือดออกหรือมีสิ่งขับออกจากรางกายผิดปกติ เชน ตกขาว มากเกินไป
2. มีกอ นเนือ้ หรือตุม เกิดขึน้ ทีใ่ ดทีห่ นึง่ ของรางกายและกอนนัน้ โตเร็ว 3. มีแผลเรื้อรังรักษาหายยาก 4. ถายอุจจาระหรือปสสาวะผิดปกติ หรือเปลี่ยนไปจากเดิม 5. เสียงแหบหรือไอเรื้อรัง 6. กลืนอาหารลําบากหรือทานอาหารแลวไมยอย และ 7. มีการเปลี่ยนแปลงของหูดหรือไฝ วิธีการปฏิบัติตัวที่จะทําใหโรคมะเร็งไมมาใกลตัวเรา มีกิจกรรมที่ ควรทํา 5 ประการ คือ ออกกําลังกายเปนนิจ ทําจิตแจมใส กินผักผลไม อาหารหลากหลาย ตรวจรางกายเปนประจํา และสิ่งที่ไมควรทําเลย มี 5 ประการ คือ ไมสูบบุหรี่ ไมมีเซ็กซมั่ว ไมมัวเมาสุรา ไมตากแดดจา และไมกินปลานํ้าจืดดิบ No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
11
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
ก็ยังไมมีการแนะนําวา ไมควรยอมผม กัดสีผม ดัดผม เพราะหลักฐานยืนยันทางการวิจัยยังไมเพียงพอที่จะฟนธงไปวา ยายอมผมทําใหคน เปนโรคมะเร็ง มีเพียงการทดลองในสัตวทดลองแลวพบวากอมะเร็งจริง ไมตางอะไรกับขอสงสัยเกี่ยวกับอันตรายจากคลื่นความถี่ตํ่า สัญญาณ โทรศัพทมือถือ ที่ผูบริโภคมีความตองการใชสูงขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งเทคโนโลยีและธุรกิจประเภทนี้ก็ไปไกลเกินกวาจะหยุดยั้งได
เรามาทําความเขาใจกับชนิดของยายอมผมกันกอน ชนิดของยายอมผม ยายอมผมที่มีขายในปจจุบัน มี 3 ชนิด 1. ยายอมผมแบบชั่วคราว (Temporary hair dyes) - ปดผิวดานนอกของเสนผม แตไมซึมผานเขาไปขางในเสนผม - คงทนอยูแคหลังการสระ 1 ถึง 2 ครั้ง 2. ยายอมผมแบบกึ่งถาวร (Semi-permanent hair dyes) - ซึมผานเขาไปขางในเสนผม - สวนใหญคงทนอยูหลังการสระ 5 ถึง 10 ครั้ง 3. ยายอมผมแบบถาวร (Permanent hair dyes)
ยายอมผมแบบถาวรมี 2 ชนิด
- ซึมผานเขาไปขางในเซลลเสนผม และทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลง ทางเคมีในเสนผม ทําใหสีผมเปลี่ยน เปนชนิดที่ไดรับความนิยมสูงสุด เพราะสีผมคงทนอยูจนกวาจะงอกใหม เราจึงเห็นผมหงอกขาวออกมา ชัดเจนกรณียอมผมหงอก หรือเห็นสีผมเดิมของผูที่ยอมเปลี่ยนสีผม • ชนิดออกซิเดทีฟ (Oxidative hair dyes) มีสว นประกอบทีเ่ ปน สียอม (เชน p-phenylenediamine หรือ 2-nitro-p-phenylenediamine) และ hydrogen peroxide สารเคมีเหลานีจ้ ะเขาไปทําปฏิกริยา ในเสนผมเกิดสีออกมา ยายอมผมชนิดนี้จะตองผสมใหมๆ กอนใช • ชนิดโพรเกสสีฟ (Progressive hair dyes) มีสว นประกอบหลัก ที่เปนเกลือของโลหะ (metal salts เชน lead acetate หรือ bismuth citrate) ซึ่งจะคอยๆ เปลี่ยนสีผมตอเนื่องอยางชาๆ โดยทําปฏิกริยากับ ซัลเฟอร (กํามะถัน) ในเสนผม ผูบริโภคสวนใหญมักรับรูและสนใจแควาอะไรเขาไปในรางกาย เราแลวจะมีคุณมีโทษอยางไร? มากนอยแคไหน? แตไมคอยไดใสใจวา สารเคมีที่เราใชบนรางกายเรา โดยเฉพาะในยายอมผม เครื่องสําอาง ครีม และเครื่องประทินโฉมตางๆ เหลานี้สามารถซึมแทรกผานรูขุมขน 12
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
เขาสูร ะบบนํา้ เหลืองและเลือดได นัน่ หมายความวารางกายเรามีความเสีย่ ง ทีจ่ ะรับพิษจากสารเคมีอนั ตรายเหลานัน้ ได และเมือ่ ปริมาณและความถี่ การรับพิษจากสารเคมีกลุมเดิมๆ ถึงระดับที่กออันตรายตอรางกาย สัญญาณการเกิดโรคมะเร็ง ก็จะเริ่มขึ้น บางคนกวาจะรูตัว ก็สายเกิน เยียวยา เพื่อนๆ ของผูเขียนหลายคนบอกทําใจไมไดที่จะปลอยให ผมหงอกขาว ดูแกเกินวัย แกกวาเพื่อน บางคนพูดวายอมเปนมะเร็ง ดีกวาไมสวย มีรายงานวิจัยในตางประเทศหลายแหลงระบุวา การยอมผม ทําใหเสี่ยงตอโรคมะเร็ง โดยเฉพาะอยางยิ่งมะเร็งในถุงนํ้าดี (Bladder cancer) มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) และอื่นๆ อีกมากมาย ไดแก มะเร็งเลือดชนิด multiple myeloma, Hodgkin disease, non-Hodgkin lymphoma, มะเร็งปอด lung cancer, มะเร็งเตานม breast cancer, มะเร็งรังไข oral cancer, และมะเร็งปากมดลูก cervical cancer กลุม ประเทศในสหภาพยุโรปมีการตืน่ ตัวเรือ่ งอันตรายจากสารเคมี ในเครือ่ งสําอางคและผลิตภัณฑบาํ รุงผิวมากกวาสหรัฐอเมริกา เมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม ปที่แลว กฎหมายหามใช สารเคมี 22 ชนิดในยายอมผม มีผลบังคับใชในกลุม ประเทศสหภาพยุโรป นอกจากนัน้ EU ยังมีกฎเหล็ก ใหผูผลิตยายอมผมตองสง safety files สําหรับสารเคมีทุกตัวที่ใชเปน สวนผสมในยายอมผม จากผลการวิจัยของ University of Southern California เมื่อป 2001 พบวาสารเคมีอันตรายทั้ง 22 ชนิดนั้น มีความสัมพันธเชื่อมโยง กับการเกิดมะเร็งในถุงนํ้าดี สารเคมีอนั ตราย 22 ชนิดทีถ่ กู หามใชในยายอมผมในกลุม ประเทศ ในสหภาพยุโรป ไดแก
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
* 6-Methoxy-2,3-Pyridinediamine and its HCl salt * 2,3-Naphthalenediol * 2,4-Diaminodiphenylamine * 2,6-Bis(2-Hydroxyethoxy)-3,5-Pyridinediamine * 2-Methoxymethyl-p-Aminophenol * 4,5-Diamino-1-Methylpyrazole and its HCl salt * 4,5-Diamino-1-((4-Chlorophenyl)Methyl)-1H-Pyrazole Sulfate * 4-Chloro-2-Aminophenol * 4-Hydroxyindole * 4-Methoxytoluene-2,5-Diamine and its HCl salt * 5-Amino-4-Fluoro-2-Methylphenol Sulfate * N,N-Diethyl-m-Aminophenol * N,N-Dimethyl-2,6-Pyridinediamine and its HCl salt * N-Cyclopentyl-m-Aminophenol * N-(2-Methoxyethyl)-p-phenylenediamine and its HCl salt * 2,4-Diamino-5-methylphenetol and its HCl salt * 1,7-Naphthalenediol * 3,4-Diaminobenzoic acid * 2-Aminomethyl-p-aminophenol and its HCl salt * Solvent Red 1 (CI 12150) * Acid Orange 24 (CI 20170) * Acid Red 73 (CI 27290) ลองตรวจดู ซิ ว า ในยาย อ มผมที่ คุ ณ ใช มี ส ารก อ มะเร็ ง / สารอันตรายเหลานัน้ อยูห รือไม ถามี คุณกําลังเพิม่ ความเสีย่ งการเปน มะเร็งใหตัวเองอยูนะ...จะบอกให สารเคมีกลุม ทีเ่ ปนทีย่ อมรับกันในวงการวิทยาศาสตรวา มีอนั ตราย และมีความเชื่อมโยงกับการเกิดมะเร็งถุงนํ้าดี มะเร็งตอมนํ้าเหลือง และมะเร็งเม็ดเลือดประเภทตางๆ คือ Arylamines. ซึ่ง Arylamines ถูกพิสูจนวากอมะเร็งในสัตวทดลอง Arylamine ตัวหนึ่งที่สําคัญคือ p-phenylenediamine (PPD) ซึง่ พบวาใชกนั อยางแพรหลายในยายอมผม แมในกลุม non-permanent "natural" products เจา Arylamine นี้ เปนทีน่ ยิ มใชเปนสวนผสมของยายอมผมเพราะคุณสมบัตกิ ารติดทนนาน PPD hair dyes มักเปนแบบมี 2 ขวด ขวดหนึ่งมี PPD dye preparation อีกขวดเปน developer หรือ oxidizer ตัว PPD เองเปนสารไรสที ตี่ อ งการ ออกซิเจนทําใหเกิดสี ซึง่ ขณะเปลีย่ นสี ตัวกลางทีก่ าํ ลังถูกออกซิไดสมกั กอ ใหเกิดการแพขนึ้ สวน PPD ทีถ่ กู ออกซิไดซอยางสมบูรณแลวจะไมใชสาร ที่ทําใหเกิดการแพ ดังนั้นคนที่แพ PPD สามารถใสวิกผมที่ยอมจาก PPD ไดอยางปลอดภัย อีกปจจัยของการแพและเกิดมะเร็งคือ การผสม hydrogen peroxide กับ ammonia ซึง่ อาจกอใหเกิดสารกอมะเร็ง ทัง้ ๆ ทีส่ ารทัง้ สองตัวไมใช สารกอมะเร็ง ปจจัยทีส่ ามคือ ยิง่ ยายอมผมสีเขม ยิง่ มีอนั ตรายเพราะมีสว นประกอบ ที่เปนสารเคมีหลากหลายมากขึ้น จึงมีการแนะนําวาใหหลีกเลี่ยง การสัมผัสยายอมผมโดยตรงขณะยอมและพยายามอยาใหถูกหนังศีรษะ “Skin contact with PPD should be prevented in order to avoid the allergic reactions.” ซึ่งเปนไปไดยากมากที่จะไมใหเปอน หนังศีรษะ
งานวิจัยในสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับความเสี่ยงการเกิดมะเร็งใน ถุงนํ้าดี ในกลมผูที่ใชยายอมผมแบบถาวร (permanent hair dyes) เดือนละครัง้ หรือมากกวา ติดตอกันนานหนึง่ ปขนึ้ ไป และกลุม ชางเสริม สวยทีท่ าํ งานและสัมผัสกับยายอมผมมานาน 10 ปขนึ้ ไป พบวา ผูท ใี่ ชยา ยอมผมแบบถาวรติดตอกันนาน 15 ป หรือมากกวา มีความเสีย่ งตอโรค มะเร็งในถุงนํา้ ดีเพิม่ เปน 3 เทา ทีน่ า สนใจสําหรับคนไทย คือ ยายอมผม ยิง่ สีเขม ยิง่ เพิม่ ความเสีย่ ง เนือ่ งจากเฉดสียงิ่ เขมยิง่ มีปริมาณ PPD สูงขึน้ อยางไรก็ตาม ยังมีขอโตแยงผลการวิจัยดังกลาวในเรื่องของความ แตกตางของอัตราการขับสารกอมะเร็งในรางกายของแตละคนและ แตละเผาพันธุ รวมทัง้ มะเร็งในถุงนํา้ ดีมกั แสดงอาการหลังจากไดรบั สาร กอมะเร็งยาวนานถึง 30 ป ตางจากมะเร็งชนิดอื่นที่มักปรากฏอาการ หลังไดรับสารกอมะเร็งติดตอกันเพียง 15-20 ป ผลการวิจยั ในสหรัฐอเมริกาจากหลายสถาบัน พบวา เกิดโรคมะเร็ง ในหนูทดลองทีไ่ ดรบั coal tars ทีใ่ ชในยายอมผมเฉดสีเขม นอกจากนัน้ National Cancer Institute, USA ยังพบวา มีความสัมพันธเชื่อมโยง ระหวางยายอมผมโดยเฉพาะอยางยิง่ กลุม เฉดสีเขมกับการเกิดโรคมะเร็ง ที่เกี่ยวกับเลือดและตอมนํ้าเหลือง เชน non-Hodgkin's lymphoma และ multiple myeloma นอกจาก PPD และสารตองหามตามที่กลาวขางตนแลว ตัวที่ตอง ระวัง คือ methyl paraben ที่มักใชเปนสารกันหืน และ resorcinol (หรือ Resorcin หรือ m-dihydroxybenzene; 1,3-benzenediol; 1,3-Dihydroxybenzene; 3-Hydroxyphenol; m-hydroquinone; m-benzenediol; 3-hydroxycyclohexadien-1-one) ซึ่งเปน dihydroxybenzene ที่ใชเปนสวนผสมหลักในยายอมผม ซึ่งเมื่อทํา ปฏิกริยากับ hydrogen peroxide จะทําใหเกิดการติดสีคงทน resorcinol ออกฤทธิ์ทางยาเปนสารตานการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา มักใชเปน สวนผสมในยาทาแกสิว รักษาโรคผิวหนัง แชมพูขจัดรังแค ผลิตภัณฑ ที่มีแบรนด Resinol, Vagisil และ Clearasil มี resorcinol เปน องคประกอบหลัก ปจจุบันประเทศในแถบยุโรปกําลังใหความสนใจกัน มากวา resorcinol มีความปลอดภัยตอผูใชหรือไม เพียงใด เนื่องจาก resorcinol เปนสารทีม่ กั ทําใหเกิดการแพยายอมผมในผูใ ช และกําลังเปน ทีส่ นใจหาคําตอบวา resorcinol มีความเชือ่ มโยงกับการเกิดมะเร็งจาก การยอมผมหรือไม นอกจากนั้นยังมีสารพิษตัวอื่นๆ อีกมากมายที่เปนสวนประกอบ ในยายอมผม ไดแก phthalates, cobalt salts, formaldehyde releasing preservatives, lead acetate, nickel salts, 1,4-dioxane, diethanolamine/triethanolamine
อ
านแลว จะยอมผมตอไป ก็ลองๆ หาชนิดทีพ่ อจะลดความเสีย่ ง มะเร็งใหเราไดบาง หรือหาสูตรสมุนไพรที่ปลอดภัยกวา มาลองใชดู เชน เฮนนา บางแหลงขอมูลแนะนําใหดื่มนําสัก 1-1.5 ลิตร หลังยอมผม เปนการชวยลางและขับสารพิษออกจากรางกาย บางก็ แนะนําใหทานสมุนไพรตัวนั้นตัวนี้เปนการแกพิษ ถาสนใจลองหาอานดูได จากหลายๆ websites แตผเู ขียนคิดวา ปลอยใหธรรมชาติเขากําหนดและ ยอมรับสีขาวบนหัว ถือวาเปน highlight ก็แลวกัน
No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
13
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
Structure of hair Follicle
Scanning electron micrographs of hair samples demonstrated damaged cuticle and cortex structures with various severities of changes adjacent to pathological cavities within hair shafts. ภาพจาก Scanning electron microscope (SEM) แสดง เสนผมที่แตกเสียและถูกทําลาย องคประกอบของเสนผม ที่มา: http://www.ijtrichology.com/viewimage.asp?img=I ที่มา: http://www.colourwell.com/index2php?p=24&s= ntJTrichol_2012_4_2_89_96909_u5.jpg 3&taal=0&taal=1
ลักษณะการติดสีของยายอมผมเคมี ที่มา: http://www.back2myroots.co.uk/2012/05/28/haircolouring-dye-shade-and-tone/ ผงเฮนนา ที่มา: http://www.howtomakeyourhairgrowfast.net/wpcontent/uploads/2012/07/henna_20powder.jpg
เอกสารอางอิง http://www.organiccolorsystems.com/dangers-of-resorcinolin-hair-color/ http://www.who.int/ipcs/publications/cicad/cicad71.pdf http://www.manager.co.th/qol/viewnews. aspx?NewsID=9550000015532 http://cancerhelp.cancerresearchuk.org/about-cancer/ cancer-questions/does-hair-dye-cause-cancer ลั ก ษณะการย อ มติ ด สี ข องเฮนน า บนเส น ผม จะเป น ลั ก ษณะ การเคลือบทีผ่ วิ ดานนอกของเสนผม ไมซมึ ลึกเขาไปในเนือ้ เซลลผม ตางกับ http://www.healthiertalk.com/what-your-grey-hair-saysabout-you-0408 การยอมดวยยายอมผมเคมี ทีม่ า: http://www.surviving-hairloss.com/images/henna_ http://www.beautedemaman.com/category/environmentalissues-pregnancy/ hair_dye.jpg 14
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
ผลกระทบ ทางการเกษตร
ที่เกิดจากการใชสารเคมี
ประเทศไทยมี ผ ลผลิ ต ทางการเกษตร มากมายหลายชนิดตามฤดูกาลอยางตอเนื่อง ตลอดป ไมวาจะเปนพืชผัก ผลไม ผลผลิต ดังกลาวใชบริโภคทัง้ ภายในประเทศและสงออก ตางประเทศ การสงออกผลผลิตทาง การเกษตร และอาหารสําเร็จรูปนั้นมีมูลคาที่เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง นํามาซึ่งการใชสารเคมีตางๆ เพื่อ ชวยในการเพิ่มผลผลิตและการรักษาคุณภาพ ของผลิตภัณฑทมี่ ากขึน้ ดวยและหากมีการใชไม ถูกตองและไมเหมาะสม จะทําใหมกี ารปนเปอ น ของสารเคมีในอาหาร ซึง่ มีผลโดยตรงตอผูบ ริโภค นอกจากนี้ผลิตผลดานการเกษตรก็จะไดรับ ผลกระทบจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่ ไมเหมาะสมและถูกตองดวยเชนกัน พิษภัยที่เกิดจากการกินอาหารนั้นมาจาก สาเหตุตางๆ มากมาย การเจ็บปวยที่เกิดขึ้น หลายครั้ ง อาจเกิ ด จากสาเหตุ ร ว มกั น หลาย ประการ การที่จะบงชี้ใหชัดเจนวาการเจ็บปวย เกิดจากการบริโภคหรือไมนั้น หากไมไดรับใน ปริมาณที่มากเกินไป ก็จะทําใหรับรูไมได และ หากการเจ็ บ ป ว ยนั้ น ไม ไ ด เ กิ ด ขึ้ น ทั น ที ห ลั ง รับประทานอาหาร แตเปนการเจ็บปวยแบบ ค อ ยเป น ค อ ยไป จะทํ า ให ค นเรามองข า ม อันตรายนี้ การเกิดสารพิษในอาหาร มีสาเหตุ มาจากพิ ษ ที่ มี อ ยู ต ามธรรมชาติ ข องอาหาร และพิษที่เกิดจากการปนเปอนในอาหาร ซึ่ง พิษภัยที่เกิดจากการปนเปอนนั้น เกิดจากการ ปนเปอนจากธรรมชาติซึ่งอาจปนเปอนจาก จุลินทรีย หรือโลหะหนักบางชนิดที่มีอยูมาก ในพืน้ ดินบางแหง และเกิดจากการกระทําของ มนุษย รวมทัง้ จากการนําเทคโนโลยีใหมๆ มาใช ในกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการ เกษตร ซึ่งนับวาจะมีแนวโนมที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และไดมีสวนสรางมลภาวะควบคูกันไปดวย สงผลใหมีการแพรกระจายของสารเคมีตางๆ อยางกวางขวาง โดยสารเคมีเหลานัน้ จะเขาไป ปะปนหรือตกคางและสะสมในอาหารอันจะมี ผลกระทบมายังมนุษยในที่สุด
พนมพร วงษปาน ดานการเกษตรในสาขาตางๆ ในปจจุบนั มีการนําสารเคมีทเี่ ปนพิษมาใชกนั อยางแพรหลาย การใชไมถูกตอง การใชในประมาณที่มากเกินกําหนด และการใชอยางไมระมัดระวังยอมเกิด ผลกระทบตอตัวเกษตรกรเองและยังเปนอันตรายตอผูบ ริโภคเปนอยางมาก ดวยสารเคมีเหลานัน้ จะตกคางอยูใ นอาหารซึง่ จะมากหรือนอยขึน้ อยูก บั ปริมาณทีใ่ ชหรือปริมาณทีเ่ กษตรกรใชวา ถูกตอง หรือไม ผลกระทบทีเ่ กิดจากสารเคมีเหลานัน้ นอกจากจะสงผลกระทบโดยตรงผูบ ริโภคแลวยังสง ผลกระทบตอการพัฒนาประเทศในแงเศรษฐกิจและสังคมอีกดวย โดยเฉพาะในดานเศรษฐกิจ เนื่องจากประเทศไทยตองอาศัยรายไดหลักจากการสงออกผลผลิตทางการเกษตรปญหาการ ปนเปอนหรือสารพิษตกคางของวัตถุมีพิษทางการเกษตรที่กลาวมาขางตนนับเปนเรื่องสําคัญ เพราะอาจทําใหสินคาที่มีสารตกคางไมเปนที่ยอมรับของประเทศผูซื้อ และยอมเกิดผลเสียทาง เศรษฐกิจของประเทศชาติโดยตรง
สารเคมีกําจัดศัตรูพืชเขาสูรางกายไดอยางไร 1. ทางผิวหนัง สารเคมีกําจัดศัตรูพืชจะเขาสูรางกายผานทางผิวหนังโดยตรง เชน เกษตรกร สัมผัสกับพืชผลที่เพิ่งจะฉีดพนสารเคมีกําจัดศัตรูพืช สารเคมีกําจัดศัตรูพืชสัมผัสผิวหนัง หรือ เสื้อผาที่เปยกชุมดวยสารเคมีกําจัดศัตรูพืช เกษตรกรผสมสารเคมีกําจัดศัตรูพืชดวยมือเปลา สมาชิกในครอบครัวซักเสื้อผาที่ปนเปอนสารเคมีกําจัดศัตรูพืช 2. ทางการหายใจ เกษตรกรที่ฉีดพนสารเคมีกําจัดศัตรูพืช หรือผูคนที่อยูใกลกับผูฉีดพน สารเคมีกําจัดศัตรูพืชจะไดรับสารเคมีกําจัดศัตรูพืชผานทางการหายใจไดงายที่สุด โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ที่อันตรายที่สุดคือสารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่ไมมีกลิ่น เพราะเกษตรกรจะไมรูสึกตัวเลยวาได สูดดมสารเคมีกําจัดศัตรูพืชเขาไป 3. การกลืนกิน เกิดขึ้นไดเมื่อคนเราดื่มกินสารพิษโดยบังเอิญหรือโดยเจตนา เมื่อคนเรากิน อาหารหรือดื่มนํ้าที่ปนเปอนสารเคมีกําจัดศัตรูพืชเขาไป No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
15
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
4. ไพรีทรอยต สรางความระคายเคืองตอตา ผิวหนัง และทางเดิน หายใจ หากไดรบั สารเคมีในภาวะปกติ จะชา เจ็บคอ หายใจถี่ แสบจมูก คอแหง และคัน หากเขาสูระบบการยอยอาหาร จะหมดสติ/ช็อก เกร็ง ชัก หากไดรับสารเคมีในปริมาณสูง จะอาเจียน หนังตากระตุก ทองรวง เดินโซเซ นํ้าลายไหลผิดปกติ และหงุดหงิด 5. ไธโอคารบาเมต สงผลลักษณะเดียวกับไพรีธรอยด กลาวคือ สรางความระคายเคืองตอผิวหนัง ตา และระบบการหายใจ โดยจะมี อาการตางๆ เชน คอแหง แสบจมูก เจ็บคอ ไอ เคืองตา ตาแดง คัน ผิวหนัง ตกสะเก็ด ผื่นแดง เปนตน 6. พาราควอท เปนสารกําจัดวัชพืช เปนพิษอยางมากตอผิวหนังและ เยื่อบุ ซึ่งอยูในปาก จมูกและตา ทําให ผิวหนังแหง แตก พุพอง เปนผื่นแดง แผลมีหนอง เล็บซีด เล็บหลุด หักงาย ไอ เจ็บคอ เลือดกําเดาไหล เยื่อบุ ตาอักเสบ และตาบอด หากเขาสูร ะบบการไหลเวียนของโลหิต ผานทาง ผิวหนังหรือบาดแผล จะสงผลรุนแรงตอการทํางานของอวัยวะสําคัญ ภายในรางกาย เชน ตับ และไต ทําใหตับวาย และไตวายได
ปจจัยที่ทําใหสารเคมีมีผลตอสุขภาพของคน
ปจจัยที่มีความเสี่ยงของสุขภาพของคนอันดับตนๆ คือ 1. เกษตรกรใชสารเคมีชนิดที่มีพิษรายแรงยิ่งและมีพิษรายแรงมาก ซึง่ มีความเสีย่ งสูงทําใหเกิดการเจ็บปวยแกเกษตรกรทีใ่ ชสารพิษ โดยเฉพาะ สารทั้งสองกลุมดังกลาว 2. การผสมสารเคมีหลายชนิดฉีดพนในครั้งเดียว ซึ่งเปนลักษณะ ที่ทําใหเกิดความเขมขนสูง เกิดการแปรสภาพโครงสรางของสารเคมี เมื่อเกิดการเจ็บปวยแพทยไมสามารถรักษาคนไขไดเนื่องจากไมมียา รักษาโดยตรง ทําใหคนไขมีโอกาสเสียชีวิตสูง 3. ความถี่ของการฉีดพนสารเคมี หมายถึง จํานวนครั้งที่เกษตรกร ฉีดพน เมือ่ ฉีดพนบอยโอกาสทีจ่ ะสัมผัสสารเคมีกเ็ ปนไปตามจํานวนครัง้ ที่ฉีดพน ทําใหผูฉีดพนไดรับสารเคมีในปริมาณที่มากและสะสมใน รางกายและผลผลิต 4. การสัมผัสสารเคมีของรางกายผูฉีดพน หากผูฉีดพนสารเคมีไมมี การปองกัน หรือเสือ้ ผาทีส่ วมใสเปยกสารเคมี จะมีความเสีย่ งสูง ทัง้ นีเ้ พราะ สารเคมีปอ งกันและกําจัดศัตรูพชื ถูกผลิตมาใหทาํ ลายแมลงโดยการทะลุ ทะลวง หรือดูดซึมเขาทางผิวหนังของแมลง รวมทัง้ ใหแมลงกินแลวตาย ดังนั้น ผิวหนังของคนซึ่งมีความออนนุมกวาผิวหนังของแมลงจึงงาย ตอการดูดซึมเขาไปทางตอมเหงื่อ นอกเหนือจากการสูดละอองเขาทาง จมูกโดยตรง จึงทําใหมีความเสี่ยงและอันตรายมากกวาแมลงมาก 5. พฤติกรรมการเก็บสารเคมี และทําลายภาชนะบรรจุไมถูกตอง ทําใหอันตรายตอผูอยูอาศัย โดยเฉพาะเด็กๆ และสัตวเลี้ยง ขอปฏิบัติสําหรับเกษตรกรหรือผูที่ใชสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช เกษตรกรหรือผูท ใี่ ชสารเคมีปอ งกันกําจัดศัตรูพชื ถือวาเปนผูท สี่ มั ผัส สารเคมีโดยตรง เนือ่ งจากเปนผูท ที่ าํ การฉีดพนสารเคมี ดังนัน้ เพือ่ ใหเกิด ความปลอดภัยกับตัวผูใ ชเอง ควรมีปฏิบตั ติ ามคําแนะนําอยางเครงครัด ดังนี้ 1. กอนทําการฉีดพนควรสวมเสือ้ ผาใหมดิ ชิด เชน สวมเสือ้ แขนยาว กางเกงขายาว ปดปาก ปดจมูก สวมถุงมือ รองเทาบูท เพือ่ ปองกันสารเคมี 2. อยาฉีดพนสารเคมีในขณะที่มีลมแรง หรือฝนตก 3. ขณะทําการฉีดพนสารเคมี ควรยืนอยูเหนือลมเสมอเพื่อปองกัน สารเคมีพัดเขาหาตัวเอง 16
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
4. เก็บภาชนะบรรจุที่ใชหมดแลวไปทําลายอยางปลอดภัย 5. ควร ลางมือ ลางตัว อาบนํ้า กอนถอดเสื้อผาออกและใหรีบซัก เสื้อผาที่ใสฉีดพนสารเคมีโดยเร็ว ขอปฏิบัติสําหรับประชาชนในการบริโภคพืชผักผลไม เพือ่ ใหเกิดความปลอดภัยตอการบริโภคผัก ผลไม ประชาชนทีซ่ อื้ ผัก หรือผลไมมาจากตลาด ควรลางผักหรือผลไมใหสะอาดกอน เพื่อไมให มีสารพิษตกคาง ซึ่งมีวิธีการดังนี้ 1. ลางผักหรือผลไมดวยนํ้าสะอาดหลายๆ ครั้ง เพื่อชะลางสารเคมี กําจัดศัตรูพืช ซึ่งตกคางอยูบนผิวของผักหรือผลไมใหหมดไป 2. แชผักหรือผลไมในนํ้ายาลางผัก แลวลางนํ้ายาใหหมดดวย นํ้าสะอาดหลายๆ ครั้ง 3. ผักหรือผลไมทปี่ อกเปลือกได ควรลางดวยนํา้ ใหสะอาดกอนปอกเปลือก 4. การตมผักแลวเทนํ้าทิ้งไปจะชวยลดปริมาณยาฆาแมลงในผักลง ไดบาง
เอกสารอางอิง กรมควบคุมมลพิษ. (2555). พิษภัยของสารเคมีทางการเกษตร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://webhost.cpd.go.th/nikomcbd/ download/1.%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0 %B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B 8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0% B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8 %B5%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81 %E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E 0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3.pdf. 10 กันยายน 2555 ภัทรานิษฐ เปลี่ยนไธสง. (2555). มหันตภัยจากสารเคมีปองกันกําจัด ศัตรูพชื . กรมควบคุมมลพิษ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://wqm. pcd.go.th/water/images/stories/agriculture/pr/toxiceffects. pdf. 24 กันยายน 2555 ศักดา ศรีนิเวศน. (2555). ผลกระทบของสารเคมีที่มีตอสุขภาพ. กรมสงเสริมการเกษตร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://previously. doae.go.th/report/sukda/pol/page01.html. 24 กันยายน 2555.
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
จากแหลงนํ้าดิบที่ปนเปอน
“สู
นํ้าดื่ม กับสุขภาพ ที่ไมควรมองขาม”
นันทธีรา ศรีบุรินทร ศิริลักษณ สุคะตะ
“นํ้าคือชีวิต”
พระราชดํ า รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2529 แสดงใหเห็นวาพระองค ทรงใหความสําคัญกับทรัพยากรนํ้าเปนอยางยิ่ง เนื่องจากนํ้าเปนสิ่งสําคัญตอการดําเนินชีวิต ของมนุษย มนุษยจะขาดนํ้าไมได ถึงแมวานํ้าจะมีวันหมดไป แตนํ้าที่สะอาด และมีคุณภาพที่ดี กําลังจะหาไดยาก ดวยอัตราการเพิม่ ขึน้ ของประชากร อีกทัง้ อัตราการปลอยสารเคมีออกสูส งิ่ แวดลอม ไมเวนในแตละวัน ปญหาที่เกิดขึ้นเหลานี้ สงผลใหแนวโนมปญหาการขาดแคลนนํ้าดื่มที่สะอาด อาจจะทวีความรุนแรงขึ้นในอนาคตอยางนาเปนหวง ซึ่งจะเห็นไดจากขาวการลักลอบทิ้งกาก อุตสาหกรรมทีน่ คิ มอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ ทําใหชาวบานลมปวยโดยไมทราบ สาเหตุ ทั้งนี้กรีนพีซไดเขามาตรวจสอบ พบโลหะหนักอันตรายและสารอินทรียระเหยกอมะเร็ง หลายชนิดปนเปอนในพื้นที่ลักลอบทิ้งสารเคมีและนํ้าเสียอุตสาหกรรมจากนิคมอุตสาหกรรม บางปู (หนังสือพิมพแนวหนา : 5 กรกฎาคม 2555) และในสหรัฐอเมริกา พบวามีสงิ่ ตางๆ ปนเปอ น ในนํ้าดื่มมากกวา 2,100 ชนิด มี 190 ชนิด ที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และ 97 ชนิด เปนสาร กอมะเร็ง (ศ.ดร.นพ.สมศักดิ์, 2549) โดยการปนเปอนดังกลาวจะสงผลกระทบตอประชาชน ผานการอุปโภคและบริโภคนํ้าดื่มที่ไดรับการปนเปอน และจะเปนอันตรายอยางยิ่งตอสุขภาพ ของประชาชน
การลักลอบทิ้งสารเคมีชนิดโลหะหนักและสารอินทรียระเหยงาย ที่มา : http://www.toonne.com/news.php?idpage=4037:
สารอินทรียระเหย (Volatile organic compound : VOCs) ประกอบดวยอะตอม ของคาร บ อนและไฮโดรเจน และอาจมี ออกซิเจน หรือธาตุฮาโลเจน เชน คลอรีน โบรมีน รวมอยูดวย สามารถระเหยกลายเปน ไอในอากาศไดงา ยทีอ่ ณ ุ หภูมแิ ละความดันปกติ ไอสารเหลานี้สามารถจะเปลี่ยนรูปกลับเปน ของเหลวหรือของแข็งตามสภาวะเดิมได โดย การเพิม่ อุณหภูมหิ รือลดความดัน นอกจากนัน้ สาร VOCs ยังจัดอยูในกลุมของสารกอมะเร็ง ที่มีความคงทนในสิ่งแวดลอม ซึ่งกิจกรรมตางๆ ของมนุษย เปนแหลงกําเนิดที่สําคัญของสาร VOCs และเปนสาเหตุหลักของการปนเปอน สาร VOCs ในนํ้าใตดิน กลาวคือบอยครั้ง ที่มีการรายงานการปนเปอนสาร VOCs ใน นํ้าใตดิน ซึ่งเปนแหลงนํ้าดิบที่สําคัญในการ ผลิตนํ้าดื่ม ดังการรายงานของกรมสงเสริม คุณภาพสิง่ แวดลอม เมือ่ ป พ.ศ. 2552 ตรวจพบ การปนเปอนสารกลุม VOCs ในพื้นที่นิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง และยัง
No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
17
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
พบการปนเปอ นดังกลาวในบอนํา้ ใตดนิ ของชาวบาน รวมถึงมีการรายงานวามีการปนเปอ น ของสารไตรคลอโรเอทธิลีน (TCE) และสารเตรตะคลอโรเอทธิลีน (PCE) ในดินและนํ้า ใตดินในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลําพูน (มีศักดิ์และคณะ , 2547) นอกจากนั้นยังมีการรายงานของกรมควบคุมมลพิษ ป พ.ศ. 2554 รายงานวา มีการปนเปอนของสารกลุม VOCs บริเวณตําบลกลางดง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา และมีการรายงานวาบอยครัง้ ทีพ่ บการปนเปอ นของ สารกลุม VOCs เชน คารบอนเตตระคลอไรด (CCl4) ในนํ้าประปา ที่เกิดจากการใชคลอรีนในการฆาเชื้อโรค (ศูนยขอมูลพิษวิทยา, กระทรวงสาธารณสุข) ซึง่ การปนเปอ นของแหลงนํา้ ดิบทีส่ าํ คัญ เหลานีอ้ าจจะสงผลใหเกิดการปนเปอ นของสารกลุม VOCs ในนํ้าดื่มที่ผลิตจากบริเวณดังกลาว ที่มีความสัมพันธ เชือ่ มโยงกับสุขภาพของประชาชนในพืน้ ทีโ่ ดยตรง
มาตรฐานคุ ณ ภาพนํ้ า ใต ดิ น (เพื่ อ การ บริโภค) สําหรับสาร VOCs เปนระดับสาร อินทรียระเหยงายที่กําหนดขึ้นเพื่อปกปอง สุขภาพจากการบริโภคตลอดชวงชีวิต โดย กําหนดขึ้นมาจากระดับความเขมขนสูงสุดที่ พบวาที่ไมกอใหเกิดผลกระทบ (no-effect level) ที่ เ ป น พิ ษ /อั น ตรายต อ สั ต ว ท ดลอง และลดให ตํ่ า ลงไปอี ก โดยการคู ณ ค า ป จ จั ย เพื่อความปลอดภัยซึ่งอาจเริ่ม ตั้งแต 1/10 ถึง 1/1000 ขึ้นกับความนาเชื่อถือของขอมูลทาง วิทยาศาสตร กรณีทพี่ บวาสารอินทรียร ะเหยงาย ในนํ้าใตดินนอยกวาคามาตรฐานนํ้าใตดินเพื่อ การบริ โ ภค (Maximum Contaminant Level: MCLs) ถือวานํ้ามีความปลอดภัยเพียง พอ สําหรับดื่ม “แตสําหรับสารกอมะเร็งซึ่ง ถือวาไมมคี า ตํา่ สุดทีป่ ลอดภัย” (ประยงคและ ไมตรี, 2544) แตทายที่สุดแลว นํ้าดื่มยอมเปน ปจจัย 4 ซึ่งมนุษยขาดไมได ดังนั้น ทางแก ที่ดีที่สุดในตอนนี้ก็คือ สรางจิตสํานึกที่ดีใหกับ ทุ ก คน โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ผู ป ระกอบการ อุตสาหกรรมในการดูแลแหลงนํา้ ดิบ และสราง ความเชือ่ มัน่ ในแหลงนํา้ ดิบทีป่ ราศจากการปนเปอ น ได ดังคําขวัญที่วา “โลกสวยดวยมือเรา” 18
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
เอกสารอางอิง กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. (2554). รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาความเหมาะสมและติดตั้ง ระบบบําบัดการยอยสลายสารอินทรียร ะเหยในนํา้ ใตดนิ และแบบจําลองการเคลือ่ นทีข่ องมวลสารในชัน้ ดิน อุมนํ้าและไมอุมนํ้า. แฟรดาห มาเหล็ม พีรพงษ สุนทรเดชะ สีหนาถ ชาญณรงค และออนจันทร โคตรพงษ. (2550). โครงการศึกษา การปนเปอ นของสารประกอบอินทรียร ะเหยงายในนํา้ ใตดนิ บริเวณนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลําพูน. ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย สีหนาถ ชาญณรงค พีรพงษ สุนทรเดชะ วาลิกา เศวตโยธิน และจีรนันท พันธจักร (2544). การปนเปอนของสาร Chlorinated Ethylene ในดินและนํ้าใตดิน และกรณีศึกษาของประเทศไทย. ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม. สจริต คูณธนกุลวงและคณะ. (2549). โครงการศึกษาวิจยั การประเมินความเสีย่ งของการปนเปอ นของสารเคมี ในนํา้ ใตดนิ บริเวณ ต.กลางดง อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา. คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. John S. Zogorski, Janet M. Carter, Tamara Ivahnenko, Wayne W. Lapham, Michael J. Moran, Barbara L. Rowe, Paul J. Squillace, and Patricia L. Toccalino. (2006). The Quality of Our Nation’s Waters Volatile Organic Compounds in the Nation’s Ground Water and Drinking-Water Supply Wells.
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
ซ(Waste from Electrical
ากผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า
และอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส
and Electronic Equipments: WEEE) พีรายุ หงษกําเนิด
ซ
ากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส (Waste from Electrical and Electronic Equipments: WEEE) หมายถึง1 ซากเครื่องใชหรืออุปกรณซึ่งใชกระแสไฟฟาหรือสนามแมเหล็กในการ ทํางานที่ไมไดตามมาตรฐาน (off-spec) หรือหมดอายุการใชงาน หรือ ลาสมัย ซึ่งแบงเปน 10 ประเภท ไดแก เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า และอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ นครั ว เรื อ น ขนาดใหญ เชน ตูเย็น เครื่องทําความเย็น เครื่องซักผา เครื่องลางจาน ฯลฯ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
เครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสในครัวเรือนขนาดเล็ก เชน เครื่องดูดฝุน เตารีด เครื่องปงขนมปง มีดโกนไฟฟา ฯลฯ
อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน คอมพิวเตอร เมนเฟรม โนตบุค เครื่องสแกนภาพ เครื่องโทรสาร/โทรศัพท โทรศัพท เคลื่อนที่ ฯลฯ เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสําหรับผูบริโภค เชน วิทยุ โทรทัศน กลองถายรูป และเครื่องบันทึกภาพและ เสียง เครื่องดนตรีที่ใชไฟฟา ฯลฯ
อุปกรณใหแสงสวาง เชน หลอดไฟฟลูออเรสเซนต หลอด โซเดียม ฯลฯ ระบบอุปกรณเครื่องมือการแพทย
เครื่องมือวัดหรือควบคุมตางๆ เชน เครื่องจับควัน เครื่อง ควบคุมอุณหภูมิ ฯลฯ ของเลน เชน เกมสบอยส ของเลนทีใ่ ชไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ เครื่องมือไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เชน สวาน เลื่อยไฟฟา หรืออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ เครือ่ งจําหนายสินคาอัตโนมัติ เชน เครือ่ งจําหนายเครือ่ ง ดื่มอัตโนมัติ ฯลฯ
No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
19
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
ผลการสํารวจขอมูลปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑที่กอใหเกิดของเสียประเภทเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสภายในประเทศไทย ในป พ.ศ.2550 พบวา เครื่องปรับอากาศมีปริมาณการบริโภคมากที่สุด คือ 86,685 ตัน รองลงมาไดแก โทรทัศน เครื่องบันทึกภาพและเสียง เครื่องซักผาและตูเย็น เทากับ 84,188 ตัน 64,653 ตัน 39,717 ตัน และ 39,520 ตัน ตามลําดับ (ภาพที่ 1) โดยในปเดียวกันพบวาแหลงกําเนิด ซากผลิตภัณฑเครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสมาจากชุมชนมากทีส่ ดุ ประมาณ 308,844.72 ตัน สวนใหญอยูใ นเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ซึ่งมีประมาณเทากับ 108,168.84 ตัน รองลงมาไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (57,715.82 ตัน) ภาคใต (40,664.19 ตัน) ภาคกลาง (31,019.87 ตัน) ภาคตะวันออก (30,762.76 ตัน) ภาคเหนือ (26,714.82 ตัน) และภาคตะวันตก (13,798.42 ตัน) ตามลําดับ 2
ปริมาณ (ตัน)
ภาพที่ 1 ปริ ม าณ ซากผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ ง ใช ไ ฟฟ า และอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส จ าก ชุมชนในป พ.ศ. 2550 ที่ ม า: กรมควบคุ ม มลพิษ (2551, หนา 33)
นท องถ ่ี ายร ูปด ิจิต อล
กล
ทเค ลื่อ
อร โทร
ศัพ
มพ ิวเต
็น ตูเย
ักผ า ื่องซ
เคร
คอ
ึกภ
าพแ
ละเ
สียง
ทัศ น โทร
ันท เคร
ื่องบ
เคร
ื่องป
รับ
อาก าศ
100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0
การคาดการณปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส องคการสหประชาชาติหรือ UN คาดการณวา ในอนาคตอันใกลปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสทั้งโลก จะเพิ่มขึ้นรวม 40 ลานตันตอป หรือเทียบไดกับปริมาณขยะในรถบรรทุกที่นํามาเรียงตอกันเปนความยาวถึงครึ่งรอบโลก ที่เปนเชนนี้เพราะ ความตองการในการใชงานผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ราคาของผลิตภัณฑประเภทนี้ถูกลงและ เทคโนโลยีมกี ารพัฒนาอยางรวดเร็วทําใหมผี ลิตภัณฑรนุ ใหม ทดแทนในตลาดอยางรวดเร็วและตอเนือ่ ง เกิดรูปแบบการตลาดเปลีย่ นแปลงจากการ ซอมผลิตภัณฑที่ชํารุดเพื่อนําไปใชใหมมาเปนการทิ้งซากผลิตภัณฑที่ชํารุดหรือทิ้งเนื่องจากผลิตภัณฑตกรุน แลวหันมาซื้อผลิตภัณฑใหมทดแทน เหลานี้ลวนเปนปจจัยที่กระตุนใหซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้นอยางไมรูจบ3 สําหรับประเทศไทยไดมีการคาดการณปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสในระหวางป พ.ศ. 2551 – 2560 พบวามีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นทุกปในทุกภูมิภาค ดังขอมูลที่แสดงใหเห็นในภาพที่ 2 ปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส (ตัน-ป) 160,000 140,000 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0
ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต กรุงเทพและปริมณฑล ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 ป พ.ศ.
ภาพที่ 2 การคาดการณปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส (ป พ.ศ. 2551-2560) 20
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
การจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสในประเทศไทย สําหรับประเทศไทยยังขาดการจัดการซากผลิตภัณฑเครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส ทีม่ คี วามเหมาะสมและเปนระบบ เนือ่ งจาก ยังไมมีการรวบรวม การคัดแยก การรีไซเคิล และการกําจัดที่ถูกตอง อีกทั้งยังขาดแคลนบุคลากรผูชํานาญการและองคความรูหรือเทคโนโลยี การจัดการทีเ่ หมาะสมทําใหปริมาณซากผลิตภัณฑ สวนใหญถกู ทิง้ รวมไปกับขยะมูลฝอยของชุมชน การฝงกลบในพืน้ ทีไ่ มไดรบั การออกแบบหลุมฝงกลบ ไวเพื่อรองรับของเสียอันตราย นอกจากนี้ยังพบวามีการลักลอบทิ้งซากผลิตภัณฑ ในที่สาธารณะตางๆ อันกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพอนามัย ของมนุษยและสิ่งแวดลอมตามมา ดวยเหตุนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยกรมควบคุมมลพิษ (2551)4 จึงไดพัฒนาแนวทาง การจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการขึ้น โดยมีสาระสําคัญที่จะมุงเนนใหมีการจัดการซากผลิตภัณฑ เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง ดังนี้
1
การใชหลักการเชิงปองกัน (Precautionary Principle) และหลักผูกอมลพิษเปนผูจาย (Polluter Pays Principle) โดยผูผลิต และผูนําเขาผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและ อุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสตอ งรวมกันรับผิดชอบ ในการจัดการซากผลิตภัณฑ ดวยการจาย คาธรรมเนียมหรือภาษีผลิตภัณฑ สําหรับ นําไปจายในการซื้อซากผลิตภัณฑ คืนจาก ผูบริโภคและจัดการซากผลิตภัณฑ อยาง ถูกตองตามหลักวิชาการ เพื่อลดการเกิด ซากผลิ ต ภั ณ ฑ และการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ภายในประเทศไทยโดยใชวตั ถุดบิ ทีส่ ามารถ นํากลับมาใชซํ้าหรือหมุนเวียนใชใหม และ ลดการนําเขาผลิตภัณฑที่มีคุณภาพตํ่าเพื่อ ลดปริมาณการเกิดของเสีย และสงเสริม การผลิตผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม (Green Product)
3
การสรางกลไกทางเศรษฐศาสตรและการ เงินการคลัง รวมทัง้ กลไกตลาด สําหรับเปน แรงจูงใจหรือแรงกระตุน ในการจัดการซาก ผลิตภัณฑ โดยกําหนดใหมีกองทุน องคกร บริหารจัดการกองทุน และระบบการรับซือ้ ซากผลิตภัณฑ คืนจากผูบริโภค ซึ่งทําให เกิดการคัดแยกและรวบรวมซากผลิตภัณฑ จากขยะมูลฝอยทั่วไป การสงเสริมการแยก ชิ้นสวนของซากผลิตภัณฑอยางถูกตอง และการขายซากผลิตภัณฑที่มีมูลคาใหแก โรงงานรีไซเคิลหรือโรงงานที่มีการนําซาก ผลิตภัณฑไปใชซํ้า หมุนเวียนใชประโยชน หรือบําบัดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ
2
การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง กฎระเบี ย บเพื่ อ ลด ปริมาณของเสียจากซากผลิตภัณฑเครื่องใช ไฟฟา และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสภายใน ประเทศ และเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข ง ขั น และลดป ญ หาการกี ด กั น ทางการคาระหวางประเทศ โดยการแกไข ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบที่มีอยูแลว ใหรองรับการใชวัสดุที่สามารถนําเขามา ใชซํ้าหรือหมุนเวียนใชใหมได ตลอดจน การลดของเสียอันตรายในผลิตภัณฑทงั้ ทีผ่ ลิต ภายในประเทศและทีน่ าํ เขาจากตางประเทศ รวมทั้งการกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ
5
ในระยะแรกใหสรางระบบบริหารจัดการ ซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส ในรูปโครงการนํารองใน เขตพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพและมีความพรอม ในการดําเนินการโดยใหเอกชนเขามามี สวนรวมในการดําเนินการ สวนในระยะยาว จะต อ งมี ก ฎหมายซึ่ ง ครอบคลุ ม เนื้ อ หา เรื่องการกําหนดความรับผิดชอบในการ จัดการซากผลิตภัณฑ การจัดเก็บคาเนียม หรือภาษีผลิตภัณฑจากผูผลิตและผูนําเขา มาใชสนับสนุนระบบการจัดการซากผลิตภัณฑ โดยกํ า หนดให มี ก องทุ น เพื่ อ เก็ บ รั ก ษา และจัดสรรเงินที่จัดเก็บมาได การสราง ระบบการรั บ ซื้ อ ซากและการจั ด การ ซากผลิตภัณฑ โดยอาศัยมาตรการทาง เศรษฐศาสตรผา นทางกองทุน การกําหนด บทบาทองคกรการบริหารจัดการทั้งระดับ ประเทศและทองถิ่น ทั้งนี้ ตองไมกาวลวง กฎหมายเดิมที่มีอยูแลว
6 4
การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ โดยการวิจัยและพัฒนาการออกแบบ และ ปรับปรุงกระบวนการผลิตผลิตภัณฑเครือ่ งใช ไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสทเี่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม (Eco Design) และเปนไป ตามขอกําหนดของคูคา
การสงเสริมสนับสนุนอืน่ ๆ เชน การเสริมสราง ขีดความสามารถขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น ในการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่อง ใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสจาก ชุ ม ชน โดยคํ า นึ ง ถึ ง สุ ข ภาพอนามั ย ของ ประชาชนและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น การ ศึกษาวิจยั การออกแบบผลิตภัณฑเชิงนิเวศน การรณรงคประชาสัมพันธการสนับสนุน การเลือกซื้อผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและ อุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอม ฯลฯ
ฉ
ะนั้นเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว จึงกําหนดยุทธศาสตรการจัดการ ซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการที่จะสามารถ รองรับการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในวงจรการจัดการ WEEE ตั้งแตจุดกําเนิดจนถึงการกําจัด ขั้นสุดทาย ซึ่งประกอบดวยยุทธศาสตรยอย 5 ดาน ดังนี้ No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
21
GREEN RESEARCH
ติดตามเฝาระวัง
ยุทธศาสตรที่ 1 การพั ฒ นาเทคโนโลยี และวิ ธี ก ารที่ เหมาะสมในการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่อง ใช ไ ฟฟ า และอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละ สรุปการปองกันตั้งแตตนทางและการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและ การผลิตผลิตภัณฑเครือ่ งใชไฟฟาและอุปกรณ อุปกรณอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การปองกันตั้งแตตนทางและการจัดการ E-waste ที่เกิดขึ้น สามารถทําไดดวยหลัก 3R คือ ยุทธศาสตรที่ 2 การลด (Reduce) การใชซํ้า (Reuse) และการรีไซเคิล (Recycle) การเสริ ม สร า งขี ด ความสามารถ การลด (Reduce) หมายถึง ลดการบริโภคตั้งแตแรก ไมซื้อของฟุมเฟอยและหากจําเปน กระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของ ตองซือ้ ใหเลือกผลิตภัณฑทปี่ ลอดภัยไมมสี ารอันตรายหรือมีในปริมาณทีต่ าํ่ ประหยัดพลังงานและ ทุ ก ภาคส ว นในการจั ด การซากผลิ ต ภั ณ ฑ สามารถรีไซเคิลไดงา ยเมือ่ ผลิตภัณฑกลายเปนซาก โดยอาจพิจารณาเลือกซือ้ สินคาทีม่ ฉี ลาก มอก. เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส หรือฉลากเขียว หรือฉลากสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรที่ 3 การใชซํ้า (Reuse) เปนการชวยยืดอายุการใชงานผลิตภัณฑ โดยอาจซอมแซม (Repair) การเสริมสรางประสิทธิภาพการบังคับ หรือปรับปรุงใหทันสมัย (Upgrade) โดยระมัดระวังไมใหสารอันตรายจากชิ้นสวนเกาปนเปอนสู ใชกฎหมายและพัฒนาระบบกฎหมายที่เอื้อ สิ่งแวดลอม อํานวยตอการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใช การรีไซเคิล E-waste ที่มีผูรับซื้อคืนควรพิจารณาความสามารถในการจัดการหรือรีไซเคิล ไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส E-waste อยางถูกตองปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม จึงควรพิจารณาขายใหเฉพาะผูประกอบการที่ ยุทธศาสตรที่ 4 ขึน้ ทะเบียนและไดรบั อนุญาตจากหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ และหากเปน E-waste ทีไ่ มมกี ารรับซือ้ คืน การใชมาตรการทางการเงิน การคลัง ควรแยกทิ้งออกจากขยะทั่วไป เพื่อใหหนวยงานทองถิ่นนําไปกําจัดหรือรีไซเคิล และสงเสริมการลงทุนเพื่อสนับสนุนการผลิต แมวาซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสามารถนําเขาสูกระบวนการ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า และอุ ป กรณ เพื่อใหไดทรัพยากรกลับมาใชใหม ไมวาจะเปนพลาสติก เหล็ก ทองแดง หรือแมแตทองคําในแผง อิเล็กทรอนิกสที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและ วงจร ซึ่งชิ้นสวนเหลานี้ลวนมีมูลคา แตหากมีการคัดแยกชิ้นสวนที่ไมถูกวิธีหรือผูแยกขาดความรู การจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและ ในการแยกชิน้ สวน หรือทีเ่ รียกวา “สุกเอาเผากิน” เพือ่ เอาวัสดุมมี ลู คา สรางรายไดเปนกอบเปนกํา อุปกรณอิเล็กทรอนิกส ใหแกเจาของกิจการแยกชิ้นสวนของซากผลิตภัณฑ เนื่องดวยมีตนทุนตํ่า (นับเฉพาะตนทุนของ ยุทธศาสตรที่ 5 เอกชน ไมรวมตนทุนของสังคมดานสุขภาวะและดานสิ่งแวดลอม) อาทิเชน การเผาชิ้นสวนเพื่อ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการซาก แยกเอาวัสดุมีคา เชน การเผาสายไฟ เพื่อเอาทองแดง การเผาชิ้นสวนพลาสติกใหเหลือแตนอต ผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนโลหะ การเผายางรถยนตเพื่อเอาเสนลวด เปนตน การเผาชิ้นสวนของซากผลิตภัณฑ ดังกลาว อยางมีประสิทธิภาพและครบวงจร สงผลใหเกิดสารเคมีที่มีพิษฟุงกระจายไปในชั้นบรรยากาศ อันไดแก กาซซัลเฟอรไดออกไซด คารบอนมอนออกไซด สารอินทรียระเหยงาย โลหะหนักและสารไดออกซินและฟูรัน ซึ่งเปนสาร กอมะเร็งที่รายแรง นอกจากนี้การใชนํ้ากรดกัดแผงวงจรแลวใชปรอทจับกับทองสามารถสกัดทอง ไดรอยละ 30 ของปริมาณทองที่มีอยูในแผงวงจร ในขณะที่ทองอีกกวารอยละ 70 และโลหะมีคาอื่นๆ จะถูกทิ้งไปกับนํ้ากรดดวยการเทลงพื้นดิน หรือจัดเก็บนํ้ากรดดังกลาวไมถูกวิธี การคัดแยกชิ้นสวน ที่ ไ ม ถู ก วิ ธี ข า งต น เป น สาเหตุ ทํ า ให ส ารพิ ษ ต า งๆ เข า สู ร า งกายได โ ดยตรงหรื อ ปนเป อ นใน ระบบนิเวศ ซึ่งสุดทายก็จะยอนกลับมาทํารายสิ่งมีชีวิตผานหวงโซอาหาร ดิน นํ้าและอากาศ โดยผูที่ไดรับผลกระทบมากที่สุดก็คือคนงานและลูกหลานที่อยูอาศัยในชุมชนใกลกับแหลงคัดแยก ชิ้นสวนซากเหลานั้นนั่นเอง
เอกสารอางอิง 1. พรรรัตน เพชรภักดี และกฤษฎา จันทรเสนา. (2551). เทคโนโลยีการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส. สถาบันสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย. หนา 1. 2. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม. (2551). รายงานสถานการณมลพิษของประเทศไทย, ฉบับคณะกรรมการ สิ่งแวดลอมแหงชาติรับทราบ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 [ออนไลน] เขาถึงไดจาก http://www.pcd.go.th/download/pollution. cfm?task=s22 สิงหาคม 2555. 3. . (2550.) คูมือการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ไทยเอฟเฟคทสตูดิโอ. 4. . (2551). ยุทธศาสตรการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการ, ฉบับที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2550. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก http://www.pcd.go.th/info_serv/haz_battery.htm. 17 ธันวาคม 2554. 5. สุจิตรา วาสนาดํารงดี และ ปเนต มโนมัยวิบูลย. (2555). ชุดความรู เรื่องการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส (E-waste). [ออนไลน] เขาถึงไดจาก www.ehwm.chula.ac.th/e-wate.../e-wate_management_1.pdf 20 กุมภาพันธ 2555. 22
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา
เซลล
แสงอาทิตย (Solar Cell)
พลังงานสะอาดเพื่อสิ่งแวดลอม ประภัสสร มีเคลือบ เซลลแสงอาทิตยที่ทําจากสาร กึ่งตัวนําประเภทซิลิคอน แบบผลึกเดี่ยว (Single Crystal) แบบผลึกรวม (Poly Crystal) แบบอะมอรฟส (Amorphous)
ประเภทของเซลลแสงอาทิตย 1. กลุม เซลลแสงอาทิตยทที่ าํ จากสารกึง่ ตัวนําประเภทซิลคิ อน จะแบง ตามลักษณะของผลึกที่เกิดขึ้น คือ แบบที่เปน รูปผลึก (Crystal) และ แบบที่ไมเปนรูปผลึก (Amorphous) แบบที่เปนรูปผลึก จะแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ชนิดผลึกเดี่ยวซิลิคอน (Single Crystalline Silicon Solar Cell) และชนิดผลึกรวมซิลคิ อน (Poly Crystalline Silicon Solar Cell) แบบทีไ่ มเปนรูปผลึก คือ ชนิดฟลม บางอะมอรฟส ซิลคิ อน (Amorphous Silicon Solar Cell) 2. กลุมเซลลแสงอาทิตยที่ทําจากสารประกอบที่ไมใชซิลิคอน ซึง่ ประเภทนี้ จะเปนเซลลแสงอาทิตยทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูงถึง 25% ขึน้ ไป แตมีราคาสูงมาก ไมนิยมนํามาใชบนพื้นโลก จึงใชงานสําหรับดาวเทียม และระบบรวมแสงเปนสวนใหญ แตการพัฒนาขบวนการผลิตสมัยใหม จะทําใหมรี าคาถูกลง และนํามาใชมากขึน้ ในอนาคต (ปจจุบนั นํามาใชเพียง 7% ของปริมาณที่มีใชทั้งหมด) แรงเคลื่อนไฟฟาที่ผลิตขึ้นจากเซลลแสงอาทิตยเพียงเซลลเดียว จะมีคาตํ่ามาก การนํามาใชงานจะตองนําเซลลหลายๆ เซลล มาตอกัน แบบอนุกรมเพื่อเพิ่มคาแรงเคลื่อนไฟฟาใหสูงขึ้น เซลลที่นํามาตอกัน ในจํานวนและขนาดที่เหมาะสมเรียกวา แผงเซลลแสงอาทิตย (Solar Module หรือ Solar Panel) การทําเซลลแสงอาทิตยใหเปนแผงเพื่อความสะดวกในการนําไป ใชงาน ดานหนาของแผงเซลล ประกอบดวย แผนกระจกที่ มีสวนผสม ของเหล็กตํา่ ซึง่ มีคณ ุ สมบัตใิ นการยอมใหแสงผานไดดี และยังเปนเกราะ ปองกันแผนเซลลอกี ดวย แผงเซลลจะตองมีการปองกันความชืน้ ทีด่ มี าก เพราะจะตองอยูก ลางแดดกลางฝนเปนเวลายาวนาน ในการประกอบจะ ตองใชวสั ดุทมี่ คี วามคงทนและปองกันความชืน้ ทีด่ ี เชน ซิลโิ คนและ อีวเี อ (Ethelele Vinyl Acetate) เปนตน เพื่อเปนการปองกันแผนกระจก ดานบนของแผงเซลล จึงตองมีการทํากรอบดวยวัสดุทมี่ คี วามแข็งแรงแต บางครั้งก็ไมมีความจําเปน ถามีการเสริมความแข็งแรงของแผนกระจก ใหเพียงพอ ซึง่ ก็สามารถทดแทนการทํากรอบไดเชนกัน ดังนัน้ แผงเซลล จึงมีลักษณะเปนแผนเรียบ (laminate) ซึ่งสะดวกในการติดตั้ง
สวนประกอบของเซลลแสงอาทิตย
คุณสมบัติและตัวแปรที่สําคัญของเซลลแสงอาทิตย 1. ความเขมของแสง กระแสไฟ (Current) จะเปนสัดสวนโดยตรงกับความเขมของแสง หมายความวาเมือ่ ความเขมของแสงสูง กระแสทีไ่ ดจากเซลลแสงอาทิตย ก็จะสูงขึน้ ความเขมของแสงทีใ่ ชวดั เปนมาตรฐานคือ ความเขมของแสง ทีว่ ดั บนพืน้ โลกในสภาพอากาศปลอดโปรง ปราศจากเมฆหมอกและวัด ที่ระดับนํ้าทะเลในสภาพที่แสงอาทิตยตั้งฉากกับพื้นโลก ซึ่งความเขม ของแสงจะมีคาเทากับ 100 เมกะวัตต ตอ ตารางเซนติเมตร หรือ 1,000 วัตต ตอ ตารางเมตร 2. อุณหภูมิ ในขณะที่แรงดันไฟฟา (โวลต) จะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งโดย เฉลีย่ แลวทุกๆ 1 องศาทีเ่ พิม่ ขึน้ จะทําใหแรงดันไฟฟาลดลง 0.5% และ ในกรณีของแผงเซลลแสงอาทิตยมาตรฐานที่ใชกําหนดประสิทธิภาพ ของแผงแสงอาทิตยคือ ณ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส สรุปไดวา เมื่อ อุณหภูมิสูงขึ้น แรงดันไฟฟาก็จะลดลง ซึ่งมีผลทําใหกําลังไฟฟาสูงสุดของ แผงแสงอาทิตยลดลงดวย No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
23
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา
ดังนัน้ กอนทีผ่ ใู ชจะเลือกใชแผงแสงอาทิตยจะตองคํานึงถึงคุณสมบัตขิ องแผงทีร่ ะบุไวในแผงแตละชนิดดวยวา ใชมาตรฐานอะไร หรือมาตรฐาน ที่ใชวัดแตกตางกันหรือไม ผูที่จะใชแผงตองคํานึงถึงขอกําหนดในการเลือกใชแผงแตละชนิด เชน แผงชนิดหนึ่งระบุวา ใหกําลังไฟฟาสูงสุดได 80 วัตต ที่ความเขมแสง 1,200 วัตต ตอ ตารางเมตร ณ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส
แนวโนมการใชเซลลแสงอาทิตยในอนาคต
ดานเทคโนโลยี จะมุงเนนไปทางฟลมบางมากขึ้น เนื่องจากตนทุนวัสดุจะถูกกวา และไมตองแยงตลาดกับอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอื่นๆ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร ซึ่งตองใช Crystalline Silicon เปนหลัก ดานการตลาด ตลาดใหมสาํ หรับเซลลแสงอาทิตยโดยทัว่ ไปนาจะเปนในกลุม ประเทศทีก่ าํ ลังพัฒนา เพราะยังมีระบบไฟฟาชนบททีต่ อ งพัฒนา อีกจํานวนมาก แตมีขอจํากัดที่ตองอาศัยการลงทุนจากตางประเทศเปนหลัก ดังนั้นหากรัฐยังคงเปนเจาของกิจการไฟฟา และยังตองรับผิดชอบ ระบบไฟฟาในชนบทในหลายกรณี การเลือกใชระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย เพือ่ ขยายระบบจําหนายไปสูช นบทจะเปนทางเลือกทีด่ กี วา ระบบสายสง สําหรับตลาดเซลลแสงอาทิตยของประเทศไทยในอนาคต มีการเติบโตมากขึ้น ทั้งในดานผูใชและผูประกอบการซึ่งจากผลผลสําเร็จของ โครงการตางๆ ทีผ่ า นมา นักวิชาการไทยไดมโี อกาสเพิม่ ประสบการณมากขึน้ ทัง้ ในเรือ่ งการติดตัง้ ใชงานและการพัฒนาระบบ ดวยตนเอง ตลอดจน ความรวมมือที่เขมแข็งของกลุมนักวิชาการพลังงานแสงอาทิตยทั้งในประเทศและตางประเทศ จึงทําใหเชื่อมั่นไดวาหากนโยบายจากภาครัฐ ยังคงมีความชัดเจน และใหการสนับสนุนอยางจริงจัง โดยเฉพาะกรณีไฟฟาชนบท (Off Grid) ซึ่งเปนพื้นที่ทุรกันดาร และไมมีสายไฟฟาเขาถึง ยังมีอยูเปนจํานวนมากในทุกภูมิภาคของประเทศไทย จึงเปนเรื่องที่เปนไปไดไมยาก ในการกาวไปสูการดําเนินธุรกิจเซลลแสงอาทิตยในระดับ อุตสาหกรรมทําใหประเทศไทยเปนที่สนใจ ของนักลงทุนตางประเทศ ที่จะเขามาทําตลาดของไทยใหเติบโตขึ้น
การประยุกตใชงานเซลลแสงอาทิตยในดานตางๆ
การนําพลังงานแสงอาทิตยซึ่งเปนพลังงานจากธรรมชาติมาทดแทนพลังงานรูปแบบอื่นๆ สามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนอยางมากมาย ในการดํารงชีวิต รวมถึงไมเปนการทําลายสิ่งแวดลอม บานพักอาศัย
ระบบแสงสวางภายในบาน ระบบแสงสวางนอกบาน (ไฟสนาม ไฟโรงจอดรถ และโคมไฟรั้วบาน ฯลฯ) อุปกรณไฟฟาชนิดตางๆ ระบบเปด-ปดประตูบาน ระบบรักษาความปลอดภัย เครื่องสูบนํ้า และเครื่องกรองนํ้า ฯลฯ
ระบบสูบนํ้า ระบบแสงสวาง ระบบประจุ แบตเตอรี่ ทําการเกษตร เลี้ยงสัตว อนามัย
อุปโภค สาธารณูปโภค ฟารมเลี้ยงสัตว เพาะปลูก ทําสวน-ไร เหมืองแร และชลประทาน ฯลฯ
โคมไฟปายรถเมล ตูโทรศัพท ปายประกาศ สถานที่จอดรถ แสงสวางภายนอกอาคาร และไฟถนนสาธารณะ ฯลฯ ไฟสํารองไวใชยามฉุกเฉิน ศูนยประจุแบตเตอรี่ประจําหมูบานในชนบทที่ไมมีไฟฟาใช แหลงจายไฟสําหรับใชในครัวเรือนและระบบ แสงสวางในพื้นที่หางไกล ฯลฯ ระบบสูบนํ้า พัดลมอบผลผลิตทางการเกษตร และเครื่องนวดขาว ฯลฯ ระบบสูบนํ้า ระบบเติมออกซิเจนในบอนํ้า (บอกุงและบอปลา) และแสงไฟดักจับแมลง ฯลฯ ตูเย็น/กลองทําความเย็นเพื่อเก็บยาและวัคซีน อุปกรณไฟฟาทางการแพทย สําหรับหนวยอนามัย หนวยแพทยเคลื่อนที่ และสถานี อนามัย ฯลฯ สัญญาณเตือนทางอากาศ ไฟนํารองทางขึ้น-ลงเครื่องบิน ไฟประภาคาร ไฟนํารองเดินเรือ ไฟสัญญาณขามถนน สัญญาณจราจร คมนาคม โคมไฟถนน และโทรศัพทฉุกเฉิน ฯลฯ สถานีทวนสัญญาณไมโครเวฟ อุปกรณโทรคมนาคม อุปกรณสื่อสารแบบพกพา (วิทยุสนามของหนวยงานบริการและทหาร) และ สื่อสาร สถานีตรวจสอบอากาศ ฯลฯ บันเทิงและพักผอน แหลงจายไฟฟาสําหรับบานพักตากอากาศในพื้นที่หางไกล ระบบประจุแบตเตอรี่แบบพกพาติดตัวไปได และอุปกรณไฟฟาที่ให ความบันเทิง ฯลฯ หยอนใจ ภูเขา เกาะ ปาลึก และพื้นที่สายสงการไฟฟาเขาไมถึง ฯลฯ พื้นที่หางไกล ดาวเทียม อวกาศ
เอกสารอางอิง กองพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน ฝ า ยแผนงานพั ฒ นาโรงไฟฟ า การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (2555). เซลล แ สงอาทิ ต ย (Solar Cell). [ออนไลน ] . เขาถึงไดจาก http://www2.egat.co.th/re/solarcell/solarcell.htm. 9 สิงหาคม 2555. ชาย ชี ว ะเกตุ แ ละชนานั ญ บั ว เขี ย ว. (2555). การผลิ ต ไฟฟ า โดยเซลล แ สงอาทิ ต ย . [ออนไลน ] . เข า ถึ ง ได จ าก http://www.eppo.go.th/vrs/ VRS49-09-Solar.html. 31 สิงหาคม 2555. บริษทั ลีโอนิคส จํากัด. (2555). การผลิตไฟฟาโดยเซลลแสงอาทิตย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.leonics.co.th/html/th/aboutpower/solar_knowledge. php. 3 กันยายน 2555. แหลงพลังงานหมุนเวียน หรือพลังงานทดแทน. .[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www2.udru.ac.th/~sci102/Data/Unit4/Unit43.htm. 3 กันยายน 2555. 24
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา
การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ในการทํางานในโรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลว
ป
(SHE)
จันทิราพร ทั่งสุวรรณ บุญจง ขาวสิทธิวงษ
จจุบันการประกอบกิจการอุตสาหกรรมอาจสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยของผูปฏิบัติงานและประชาชนในชุมชน ใกลเคียงได ภาครัฐไดใหความสําคัญกับการจัดการมลพิษและบริหารความปลอดภัยเปนอยางยิ่ง แตละหนวยงานที่เกี่ยวของได พยายามใหผูประกอบการจัดใหมีบุคลากรที่มีความรูเฉพาะดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยของโรงงาน เชน กระทรวงแรงงานไดกําหนด ให โรงงานต อ งจั ด ให มี เจ า หน า ที่ ค วามปลอดภั ย (จป) ประจํ า โรงงาน ตามกฎกระทรวงกํ า หนดมาตรฐานในการบริ ห ารและจั ด การ ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ. 2549 (บุญจง ขาวสิทธิวงษ, 2552:354) การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) สามารถชวยปองกันการบาดเจ็บและเจ็บปวยของคนงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โรงงานผลิตนํา้ มันจากยางรถยนตเกาไมใชแลวสหกรณการเกษตร วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ไดเล็งเห็นวาพลังงานเปนสิ่งจําเปนดาน พืน้ ฐานของชีวติ พลังงานสวนใหญทใี่ ชกนั ในปจจุบนั จะเปนพลังงานชนิด สิน้ เปลือง และพลังงานของประเทศไทยนับวันจะมีราคาเพิม่ สูงขึน้ ซึง่ เปน ตนทุนหลักในการผลิตของสมาชิกสหกรณซึ่งสวนใหญเปนเกษตรกร ที่คอนขางยากจน จึงไดมีความคิดที่จะผลิตพลังงานเองและราคาถูกที่ สามารถนํามาทดแทนเชื้อเพลิงสิ้นเปลืองที่นําเขามาจากตางประเทศ ซึ่งเปนวิธีการจัดการพลังงานระดับชุมชนขนาดเล็กที่มีความมั่นคงและ ชวยประเทศชาติลดการนําเขานํา้ มัน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภายในชุมชน (สหกรณการเกษตรวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร, 2554) จากการกอตั้งโรงงาน ดังกลาว ลูกจางในโรงงานฯ ก็มีโอกาสที่จะ สัมผัสมลพิษขณะปฏิบัติงานได เชน อนุภาคฝุนจากเตาเผา ไอระเหย จากการกลั่นนํ้ามัน กาซ ละออง หรือควัน ที่ฟุงกระจายในบรรยากาศ
ขณะปฏิบตั งิ าน นอกจากนีก้ ระบวนการผลิตภายในโรงงานผลิตเชือ้ เพลิง จากยางรถยนตเกา ยังมีอันตรายอื่นๆ แฝงอยูอีกมาก เชน เสียงดังจาก การทํางานของเครื่องจักร อุณหภูมิความรอนจากเตาเผายางรถยนต เกา เปนตน ทีส่ าํ คัญลูกจางอาจจะมีพฤติกรรมการทํางานทีไ่ มปลอดภัย (Unsafe act) รวมทัง้ มีทา ทางการทํางานทีไ่ มถกู ตอง หรือทํางานซํา้ ๆ ซากๆ (Ergonomic problem) ก็จะมีโอกาสไดรบั อันตรายจากการปฏิบตั งิ านได เชนเดียวกัน ซึ่งหากลูกจางไมไดสวมอุปกรณปองกันอันตรายที่ถูกตอง และไมมรี ะบบการควบคุมสภาพแวดลอมทีเ่ หมาะสม ลูกจางจะมีโอกาส ไดรับอันตรายจากสภาพแวดลอมในการทํางานมากขึ้น การวิจัยนี้ จึงตองการตอบโจทยวา การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิง่ แวดลอมในการทํางาน (SHE) ของโรงงานทีศ่ กึ ษามีสถานภาพอยางไร มีปญหาและอุปสรรคประการใดบาง และจะมีแนวทางการพัฒนาใหดี ยิ่งขึ้นไดอยางไรในอนาคต No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
25
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา ผลการวิเคราะหขอมูล
ลักษณะสภาพแวดลอมของโรงงานที่อาจ เปนอันตราย (Unsafe Condition) การจัดการ ดานสภาพแวดลอมในการทํางานยังคงมีการ จัดการที่ยังไมดีเทาที่ควรแตยังพอรับไดเพราะ โรงงานกํ า ลั ง มี ก ารพั ฒ นาไปในทางที่ ดี ขึ้ น ในดานความสะอาด พบวา โรงงานผลิตนํ้ามัน จากยางรถยนตเกาไมใชแลวซึง่ ใชฟน และเศษไม เปนเชื้อเพลิงสําหรับการเผาไหมจะมีฝุนละออง ที่เกิดจากกระบวนการเผาไหม ซึ่งฝุนละออง ทีเ่ กิดขึน้ จากการตรวจวัดมลพิษทางอากาศ ยังอยู ภาพที่ 1 ลักษณะโรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลว ในเกณฑมาตรฐาน ลักษณะบุคคลและพฤติกรรมการทํางาน กรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัย ของลูกจางที่อาจเสี่ยงตออุบัติเหตุและโรคที่ เกิดจากการทํางาน (Unsafe Act.) นายจางใหความสําคัญดานสุขภาพของ ปญหาความปลอดภัย อาชีวอนามัย กลไกและกระบวนการจั ด การ พนักงานดีพอสมควรและมีกฎระเบียบในการ ลักษณะการทํางานของคนงาน อาชีว อนามัย ความปลอดภัย - วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง านภายใน และสิ่งแวดลอม ทํางานที่ทําใหลูกจางทํางานอยางปลอดภัย มีการ - ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ และสิ่งแวดลอมในการทํางาน โรงงาน - นโยบายและการวางแผน - การใช อุ ป กรณ ป อ งกั น ส ว น SHE ดําเนินการดานสงเสริมสุขภาพ และควบคุม - มลพิษดานสิ่งแวดลอมและ - การนําไปปฏิบัติ บุคคล พฤติกรรมการใชอปุ กรณปอ งกันอันตรายสวนบุคคล - การจัดทําระบบ BSC เพื่อนํา แนวทางการปองกัน ของลูกจาง ไดแกหมวกนิรภัย หนากากกันฝุน มาประยุกตใชภายในโรงงานฯ และกลิน่ ถุงมือปองกันความรอน จากการสังเกต การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) พบวาลูกจางสวนใหญใสอปุ กรณปอ งกันสวนบุคคล ของคนงานในโรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลว เมื่ อ เข า สู ภ ายในโรงงาน และให มี ก ารตรวจ สุขภาพประจําปแกลกู จางทุกคน มีการฝกอบรม ปญหา/อุปสรรคในการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย ด า นความปลอดภั ย และอาชี ว อนามั ย ในการ และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) ทํางาน พรอมทั้งฝกอบรมการปองกันการเกิด แนวทางการพัฒนาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย อัคคีภยั ในโรงงานทุกป แตยงั ขาดบุคลากรทางดาน และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) ความปลอดภัย (เจาหนาทีค่ วามปลอดภัยในการ ทํางาน จป) ประจําโรงงาน สถานภาพการจัดการ SHE ลูกจางยังไมมีความรู ความเขาใจในดาน การจัดการระบบ SHE เทาที่ควร แตลูกจาง ยินดีใหความรวมมือกับนายจางในการนําระบบ การบริหารจัดการ SHE เขามาใช นายจางไดมี ความคิดที่จะใหความรู ความเขาใจในเรื่องของ สภาพการจัดการ SHE แกลกู จาง ซึง่ ตองอธิบาย ใหลูกจางเขาใจไดงาย ชัดเจน ไมซํ้าซอน และ ตองใหความรูค วามเขาใจในเรือ่ ง SHE ประโยชน และโทษที่ จ ะได รั บ หากไม ป ฏิ บั ติ ห รื อ ละเลย การปองกันตนเองจากการทํางาน และนายจาง มีแผนการกําหนดนโยบายอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดลอม ในอนาคตตอไป เพือ่ ลดอุบตั เิ หตุ อุบตั กิ ารณ โรคจากการทํางาน และความสูญเสีย ตอชีวิต ทรัพยสิน และสภาพแวดลอม พรอมทั้ง มีแผนการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ SHE ใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง ภาพที่ 2 ลักษณะสภาพแวดลอมของโรงงาน 26
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา
กลไกและกระบวนการในการจัดการ SHE โรงงานฯ มีการเตรียมความพรอมที่จะนําระบบ SHE เขามาใช กําหนดการบริหารจัดการภายในโรงงานฯ พรอมทั้งกําหนดทิศทาง การจัดทําเรื่อง SHE ซึ่งจะตองชัดเจนและสอดคลองกับลักษณะของ โรงงานฯ นอกจากนีต้ อ งใหลกู จางเขามามีสว นรวมในการวางกลไกและ กระบวนการจัดการ SHE ของ โรงงานฯ ดวย ผลกระทบสิ่งแวดลอมตอคนในชุมชนใกลเคียงโรงงาน จากกระบวนการผลิตของโรงงานยังไมกอใหเกิดมลพิษที่สงผล กระทบตอชุมชนใกลเคียง เนื่องจากโรงงานฯ อยูหางจากแหลงชุมชน พอสมควร ทางโรงงานฯ มีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ สิ่งแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมอยาง สมํา่ เสมอ และหากการบําบัดมลพิษจากกระบวนการผลิตเริม่ กอใหเกิด มลพิ ษ ต อ งรี บ ดํ า เนิ น การแก ไขปรั บ ปรุ ง ระบบบํ า บั ด มลพิ ษ ให มี ประสิทธิภาพในการบําบัดมลพิษอยางสมํ่าเสมอ แนวทางในการพัฒนา SHE ของโรงงาน ตองมีการใหความรู และจัดฝกอบรมแกนายจาง ลูกจางและผูที่เกี่ยวของไดเขาใจในเรื่อง การพัฒนา SHE และควรมีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน (จป.) ประจําโรงงาน พรอมเฝาระวังทางดานสิง่ แวดลอม และดานความ ปลอดภัยในการทํางาน และเมือ่ เกิดปญหาดานมลพิษตองรีบดําเนินการ แกไขโดยทันที พรอมทัง้ ตองมีการพัฒนา SHE อยางตอเนือ่ งใหเหมาะสม กับกระบวนการผลิตและการดําเนินงานภายในโรงงานฯ ใหมีความ ทันสมัยอยูเสมอ การมีสวนรวมของประชาชนลักษณะตางๆ เชน การไดงานทํา ในโรงงาน รวมทํากิจกรรมเปนครั้งคราวและการนํายางรถยนตเกามา ขายใหแกโรงงาน ชาวบานบริเวณใกลเคียงโรงงานจะสามารถสรางรายได จากการนํายางรถยนตเกามาขายใหแกโรงงาน ลูกหลานของสมาชิกและ ชุมชนไดมงี านทําเพิม่ ขึน้ และสมาชิกสหกรณมรี ายไดจากเงินปนผลมากขึน้ อีกทัง้ ชุมชนก็ไดรบั เงินสนับสนุนในการทํากิจกรรมตางๆ ของชุมชนจาก โรงงาน เปดใหบคุ คลภายนอกเขาเยีย่ มชมโรงงานฯ เพือ่ ศึกษาดูงานขัน้ ตอน กระบวนการผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิง โรงงานไดใหความสนใจและรับผิดชอบเกี่ยวกับผลกระทบของ มลพิษตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของคนในชุมชนอยางไร ไดมีการ เปดโรงงานใหชาวบานใกลเคียงหรือผูที่สนใจไดเขามาดูกระบวนการ การผลิตภายในโรงงาน เพื่อใหเกิดความแนใจในกระบวนการผลิตวา ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม สุขภาพและความเปนอยู ของชาวบาน ในบริเวณใกลเคียง นอกจากนี้ชาวบานในชุมชนใกลเคียงไดขอใหทาง สหกรณไดปฏิบัติตามคํามั่นสัญญาครั้งที่ไดทําประชาคมกับชาวบานวา ถ า ปรากฏว า โรงงานส ง ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มและชุ ม ชนได รั บ ความเดือดรอนทางโรงงานจะหยุดดําเนินการเพื่อแกไขปรับปรุงใหได มาตรฐานตามที่ทางราชการกําหนด แตถาไมสามารถปรับปรุงแกไขให ดีขึ้นได ตองปดกิจการทันที ชุมชนและโรงงานจะอยูรวมกันอยางสันติและยั่งยืนไดโดย ผูบ ริหารโรงงานและสหกรณ ตองใหความสําคัญในดานสิง่ แวดลอมและ สุขภาพ ของประชากรในชุมชน ควรใหประชาชนในชุมชนมีสวนรวม ในการเขาตรวจสอบดานมลพิษของโรงงาน อีกทั้งโรงงานและชุมชน ควรใหความเอื้ออาทรเกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน ไดแก โรงงานผลิตเชื้อเพลิงเกา จากยางรถยนตไมใชแลว เปนโครงการที่นําวัสดุทิ้งแลวมาผลิตเปน
ภาพที่ 3 การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ พลังงานทดแทนและชวยรักษาสิง่ แวดลอม ซึง่ สามารถผลิตนํา้ มันเชือ้ เพลิง พอเพียงแกเกษตรกร ที่เปนสมาชิกของสหกรณได เปนวิธีการจัดการ พลังงานระดับชุมชนขนาดเล็กที่มีความมั่นคงและยั่งยืน นอกจากนี้ ชุมชนยังสามารถสรางรายไดจากการนํายางรถยนตเกาไมใชแลวมาขาย ใหแกโรงงานเพื่อเปนวัตถุดิบในการผลิต และเปนการสรางงานใหลูก หลานในชุมชนมีงานทํา โรงงานควรใหการสนับสนุนงบประมาณในการ จัดทํากิจกรรมตางๆ ของชุมชนอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง
ผลดี/ผลเสียของการมีโรงงานผลิตนํ้ามันจาก ยางรถยนตเกาไมใชแลว ผลดี คือ สามารถผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิงที่พอเพียงสําหรับกลุม เกษตรกรที่เปนสมาชิกของสหกรณ เปนวิธีการจัดการพลังงานระดับ ชุมชนขนาดเล็กที่มีความมั่นคงและลดการนําเขานํ้ามันเชื้อเพลิงจาก แหลงอื่น ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน เปนการลด ตนทุนในการผลิตดานการเกษตรของสมาชิกสหกรณและเกษตรกรใน ชุมชนและทําใหชาวบานในชุมชนมีงานทําและมีรายได ลดปญหาดาน การกําจัดทําลายขยะในชุมชน ผลเสีย คือ หากมีการขยายขนาดของโรงงานฯ ชาวบานกลัว ผลกระทบจากกระบวนการผลิตทีอ่ าจเกิดปญหามลพิษดานตางๆ ซึง่ จะ สงผลตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพ ถาไมมีการจัดการสิ่งแวดลอมภายใน และภายนอกโรงงานใหมคี วามเหมาะสม และมีแนวทางการแกไข คือให ทางผูบริหารโรงงานและทางสหกรณ มีการปองกันและแจงชุมชน หากกระบวนการผลิตของโรงงานเกิดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและสุขภาพ ของประชากรในชุมชนและตองการใหโรงงานเห็นความสําคัญในเรือ่ งนี้ มากที่สุด นอกจากนี้โรงงานตองมีระบบบําบัดมลพิษที่มีประสิทธิภาพ ตองมีการบํารุงรักษาอยางสมํ่าเสมอ เพื่อปองกันมลพิษไมใหรั่วไหล ออกสูภายนอกโรงงานและควรมีการตรวจวัดมลพิษเปนประจําทุกป
No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
27
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา
Safety Health and Environment
สรุป
28
“การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอมในการทํางาน (SHE) ใน โรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลว” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการจัดการ SHE ของโรงงานผลิตนํ้ามันจากยางรถยนตเกาไมใชแลวและมลพิษที่อาจสงผลกระทบตอคนในชุมชน รวมทัง้ กลไกและกระบวนการ SHE ของนายจาง กลุม ทีท่ าํ การวิจยั ครัง้ นีค้ อื นายจาง ลูกจาง คนในชุมชน ใกลเคียงโรงงานและเจาหนาที่ทองถิ่น ซึ่งสามารถสรุปผลได ดังนี้ 1. ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย นายจางและลูกจางในโรงงาน ยังขาดความรูค วามเขาใจในกระบวนการจัดการ SHE เนือ่ งจาก ใหความสําคัญในกระบวนการผลิตเชือ้ เพลิงของโรงงานมากกวา และลูกจางยังไมมคี วามเขาใจใน เรื่องการจัดการ SHE เทาที่ควร ในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลเปนการปฏิบัติตาม กฎระเบียบที่ทางโรงงานกําหนดไว แตขาดความเขาใจอยางแทจริง การพัฒนาการจัดการ SHE และการสงเสริมการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และทางโรงงานมีนโยบายที่จะใหมี การจัดฝกอบรมเกีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย เปนประจําทุกปเพือ่ ปลูกฝงความเชือ่ คานิยม และทัศนคติเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยใหถูกตอง นอกจากนี้ ไดสนับสนุนใหเกิด การเปลีย่ นแปลงทางความคิดทัง้ วิธกี ารคิดการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งความปลอดภัย อาชีวอนามัยใหถกู ตอง ดีขนึ้ รวมทัง้ การรับรู และความรูเ กีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยประกอบกันไป เพือ่ ใหลกู จาง ตระหนักถึงความสําคัญของกระบวนการจัดการ SHE ซึง่ กอใหเกิดประโยชนแกตวั ของลูกจางเอง 2. ดานสิ่งแวดลอม กระบวนการผลิตยางรถยนต จะมีเศษยางเหลือทิง้ โดยวิธกี ารกําจัดเศษยางเหลานีค้ อื การเผา ซึ่งปลอยกาซที่ทําลายสิ่งแวดลอม หากมีวิธีการกําจัดเศษยางที่ถูกตองจะชวยลดคาใชจายในการ กําจัดใหกบั อุตสาหกรรม และไมกอ ใหเกิดปญหาตอสิง่ แวดลอม ทางสหกรณการเกษตรวานรนิวาส ไดเล็งเห็นถึงปริมาณขยะจากยางรถยนตทเี่ พิม่ มากขึน้ ในแตละป จึงไดกอ ตัง้ โรงงานผลิตเชือ้ เพลิง จากยางรถยนตเกาทีไ่ มใชแลวขึน้ และโรงงานฯ ไดตระหนักถึงปญหาดานสิง่ แวดลอมทีอ่ าจเกิดขึน้ จากกระบวนการผลิต จึงไดมีการตรวจวัดปญหามลพิษดานสิ่งแวดลอม ไดแก ตรวจสอบคุณภาพ อากาศในบรรยากาศของโรงงานตรวจสอบคุณภาพอากาศในพื้นที่ทํางานของโรงงานตรวจสอบ ระดับเสียงในพื้นที่ทํางานของโรงงานตรวจสอบระดับเสียงทั่วไปของโรงงานตรวจสอบคุณภาพ นํ้าทิ้งของโรงงาน ตรวจสอบขี้เถาจากการเผายางรถยนตของโรงงาน เพื่อนําขอมูลมาใชในการ ปรับปรุง และพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพสิง่ แวดลอม ผลการตรวจวัดมีคา อยูใ นเกณฑมาตรฐาน ทั้งหมด ซึ่งเปนการสรางความมั่นใจแกชาวบานในชุมชนใกลเคียงโรงงานฯ วากระบวนการผลิต เชือ้ เพลิงจากยางรถยนตเกาไมใชแลวไมกอ ใหเกิดมลพิษทีส่ ง ผลกระทบตอสุขภาพและสิง่ แวดลอม ของชาวบานในชุมชน อีกทั้งทางโรงงานฯไดเปดโอกาสใหผูที่สนใจในกระบวนการผลิตและ การจัดการดานสิ่งแวดลอมของโรงงานฯไดเขาเยี่ยมชมภายในโรงงานฯ เพื่อสรางความนาเชื่อถือ และความมั่นใจ 3. ดานการวิเคราะห Balanced Scorecard (BSC) การนํามาประยุกตใชรว มกับการจัดการ SHE ภายในโรงงานฯ จะทําใหทราบถึงประสิทธิภาพ และขั้นตอนในกระบวนการผลิต สงผลกระทบดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม อยางไรบาง เพื่อนําไปสูแนวทางการแกไขปรับปรุงไปในทางที่ดีขึ้น อีกทั้งเปนการแกไขปญหาที่ ตรงจุด ทําใหการจัดการดาน SHE ภายในโรงงานฯ มีประสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ การทําความเขาใจ ของคนงานใหมคี วามเขาใจตรงกัน และเปนการสรางแนวทางการจัดการ SHE รวมกันภายในโรงงานฯ จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ พบวาการพัฒนาการจัดการ SHE และการสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ของโรงงานฯ ยังไมมีการพัฒนาและการจัดการที่ถูกตอง เนื่องจาก ไดเนนแตประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ ในการควบคุมใหเปน โรงงานฯ ที่ไมมีอันตรายหรือเอื้อตอความปลอดภัย ควรปลูกฝงความเชื่อ คานิยม และทัศนคติ เกี่ยวกับความปลอดภัยใหถูกตอง นอกจากนี้ควรไดรับการสนับสนุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง ความคิด ทั้งวิธีการคิดการปฏิบัติในเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอมใหถูกตอง ยิ่งขึ้น เพื่อใหลูกจางตระหนักถึงความสําคัญของกระบวนการจัดการ SHE ซึ่งกอใหเกิดประโยชน แกตัวของลูกจางเอง
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
กับการสงเสริมการศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมอยางมีสวนรวม
ต
จินดารัตน เรืองโชติวิทย
ามที่ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม ในฐานะที่เปนหนวยงานหลักดานการวิจัย และ พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการปองกันและควบคุมมลพิษ รวมทั้ง การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ไดตระหนักถึงความสําคัญของ การมีสวนรวมในการศึกษาวิจัยทางวิชาการของหนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ ทั้งจากหนวยงานภาครัฐ เอกชน รัฐวิสาหกิจ องคกรเอกชน ชุมชน และประชาชน ซึ่งเปนไปตามนโยบายของรัฐบาลที่ไดใหความสําคัญกับการสงเสริมและสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน และภาคี ที่เกี่ยวของ มีสวนรวมในการวิจัยและพัฒนา เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลงานวิจัยที่จะนําไปสูการพัฒนาเทคโนโลยีหรือองคความรู เพื่อการสงเสริมและ รักษาคุณภาพสิง่ แวดลอม การปองกัน และควบคุมมลพิษ ตลอดจนการบําบัดฟน ฟูคณ ุ ภาพสิง่ แวดลอมของประเทศ ดังนัน้ กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม จึงไดเห็นความสําคัญของการสรางเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมขึ้น เพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการศึกษาวิจัย ดานสิ่งแวดลอม โดยมุงเนนการสงเสริมการมีสวนรวมในการศึกษาวิจัยทางวิชาการของนักวิจัยจากหนวยงานและภาคีที่เกี่ยวของ ซึ่งปจจุบันมี สมาชิกเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม จํานวนประมาณ 700 คน กระจายอยูทั่วประเทศ กิจกรรมหลักในการขับเคลื่อนการดําเนินงานของ เครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ประกอบดวย 2 กิจกรรมหลัก ไดแก การจัดทําโครงการสงเสริมการศึกษาวิจยั แบบบูรณาการ ภายใตเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม เพือ่ ใหสมาชิกเครือขายไดมโี อกาสศึกษาวิจยั รวมกัน ตัง้ แตกระบวนการศึกษาวิจยั ไปจนถึงการนําผลงานวิจยั ไปใชประโยชน และการ จัดทําเวทีแลกเปลียนเรียนรูงานวิจัย ภายใตเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม เพื่อใหสมาชิกเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู ขอมูลทางวิชาการ และประสบการณตางๆ ซึ่งกันและกัน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ไดขับเคลื่อนการดําเนินกิจกรรมภายใตเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมใน 2 กิจกรรมหลักอยางตอเนื่อง มาตัง้ แตป พ.ศ. 2553 ซึง่ ในป พ.ศ. 2555 การดําเนินโครงการพัฒนาและสงเสริมความรวมมือเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ประกอบดวย โครงการ วิจัยที่ไดจากการคัดเลือกขอเสนอโครงการวิจัยที่มีผูแจงความประสงคสงเขารวมศึกษาภายใตโครงการดังกลาว จํานวน 5 โครงการ ไดแก 1. โครงการศึกษาแนวทางการจัดการนํ้าเสียจากกิจกรรมฆาสัตว โดยการมีสวนรวมของชุมชน: กรณีศึกษาบานชะไว อําเภอไชโย จังหวัด อางทอง โดย นางอรอนงค อุทัยหงษ ตําแหนงนักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ สังกัดสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษารูปแบบการบําบัดนํ้าเสียที่เหมาะสมกับพื้นที่และสอดคลองกับความตองการของชุมชน โดยการศึกษาพฤติกรรมและการมีสวนรวม ของชุมชนที่มีผลตอการจัดการนํ้าเสียที่แหลงกําเนิด และนําผลการศึกษาใชเปนแนวทางการจัดการนํ้าเสียจากกิจการฆาสัตวในชุมชนโดยการมี สวนรวมของประชาชน No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
29
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา
2. โครงการเรือ่ ง การศึกษาเพือ่ จัดทําโครงการนํารองชุมชนตนแบบการเรียนรูแ นวทาง การใชวัสดุทางเลือกในการกอสรางอาคาร กรณีศึกษากระบวนการใชวัสดุดินและวัสดุเหลือใช จากการเกษตรในการกอสรางอาคารชุมชนบานปรางคเกา ตําบลบานหัน อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา โดย นายนราธิป ทับทัน ตําแหนงอาจารย สังกัดสาขาวิชาเทคโนโลยี สถาปตยกรรม คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ พัฒนากระบวนการกอสราง อาคารดวยอิฐดินโดยใชทรัพยากรในทองถิน่ เพือ่ ใหไดแนวทางการใชวสั ดุทางเลือกทีเ่ หมาะสม กับการใชงานในพื้นที่ โดยมีกระบวนการผลิตและกอสรางที่ไมซับซอน และใชตนทุนในการ ผลิตตํ่า และเปรียบเทียบอิฐดินที่ผลิตจากวัสดุทองถิ่นชนิดตางๆ กับวัสดุอุตสาหกรรม เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ในการพึง่ พาตนเองของชุมชนและเปนแนวทางในการเลือกใชงานตอไป 3. โครงการศึกษาการปรับตัวของวิถีชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศในพื้นที่ลุมนํ้าชี: กรณีศึกษาลุมนํ้าสาขาลํานํ้าชีสวนที่ 2 โดย นายชัยรัตน ศรีโนนทอง ตําแหนงนักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สังกัดสํานักงานทรัพยากรนํ้าภาค โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานภาพ สถานการณปจจุบันของวิถีชุมชน กลุมเสี่ยง กลุมเปราะบาง ของชุมชนที่เกิดจาก สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการศึกษา รูปแบบ วิธี การ กระบวนการปรับตัวของชุมชนและครัวเรือนและถอดบทเรียนบุคคล ตนแบบในการปรับตัวจากการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ ในพืน้ ทีล่ มุ นํา้ สาขาลํานํ้าชีสวนที่ ๒ บานนาฮี หมู ๙ ตําบลศรีสําราญ อําเภอคอนสวรรค จังหวัดชัยภูมิ 4. โครงการเรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะแบบ ครบวงจร โดย นายธนาวุธ โนราช ตําแหนงนักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ สังกัดสํานักงานสิง่ แวดลอมภาคที่ 10 โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ ใหทราบสถานการณ และความรุนแรงของมลพิษทางอากาศในสวนของฝุนละอองจากการเผาขยะ และกระตุนใหประชาชนและชุมชนไดตระหนักและรับรูถึงความจําเปนในการ คัดแยกขยะ และการใชประโยชนจากขยะมูลฝอย เพื่อเปนการลดปริมาณขยะ จากแหลงกําเนิด และลดภาระการกําจัดขยะที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการลด ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการกําจัดขยะ
5. โครงการศึกษารูปแบบการจัดการปาชุมชนในการอนุรักษแหลงอาหารเพื่อการบริโภคอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาปาแดนสงฆ ตําบลสํานัก ตะครอ อําเภอเทพารักษ จังหวัดนครราชสีมา โดย นายกอง เค็มกระโทก ตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สังกัดสํานักงานสาธารณสุข จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อหารูปแบบการจัดการปาชุมชนในการอนุรักษแหลงอาหารเพื่อการบริโภคอยางยั่งยืน โดยการศึกษา บริบทของปาแดนสงฆ และชุมชนที่อาศัยอยูรอบบริเวณปาแดนสงฆ ตลอดจนสถานการณ การใชประโยชนจากปาแดนสงฆของชุมชนรอบปา 30
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
GREEN RESEARCH
กาวหนาพัฒนา
ทัง้ นี้ รูปแบบการดําเนินโครงการวิจยั ภายใตโครงการพัฒนาและสงเสริมความรวมมือเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ทีใ่ ชในการดําเนินโครงการ ดังกลาว ในระยะเวลา 3 ปที่ผานมา พบวามีสวนชวยในการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมของภาคีเครือขายที่เกี่ยวของได เปนอยางดี และมีสวนกระตุนใหหนวยงานที่เกี่ยวของใหความสนใจและใหความสําคัญของการศึกษาวิจัย เพื่อที่จะไดมาซึ่งขอมูลที่สามารถนําไป ใชในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในพื้นที่ไดอยางแทจริง สําหรับการจัดทําโครงการจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูง านวิจยั ดานสิง่ แวดลอม ภายใตเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ในป พ.ศ. 2555 ประกอบดวย การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู จํานวน 3 หัวขอ ดังนี้ 1. หัวขอ หมอกควัน ไฟปา และการเผาในทีโ่ ลง ไดจดั ขึน้ เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2555 ณ จังหวัดเชียงใหม มีผูเขารวมเวที ทั้งหมด จํานวน 120 คน วิทยากรที่เปนผูนําเสนอองคความรู ประกอบดวย นายอภิวัฒน คุณารักษ ผูอํานวยการสํานักงาน สิ่งแวดลอมภาคที่ 1 รศ.ดร.นพ.พงศเทพ วิวรรธนะเดช หัวหนา ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม นายแพทยจรัส สิงหแกว ผูอ าํ นวยการโรงพยาบาลสารภี นายสันตณรงค วีระชาติ ผูใหญบานปาจั่น อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ดร.หทัยรัตน การีเวทย ศูนยวิจัยและฝกอบรม ด า นสิ่ ง แวดล อ ม ผศ.ดร.สมพร จั น ทระ คณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และนายสุรศักดิ์ นุมมีศรี มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม 2. หั ว ข อ การปรั บ ตั ว ของชุ ม ชนเพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศโลก ไดจัดขึ้น เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ณ จังหวัด ขอนแกน มีผูเขารวมเวทีทั้งหมด จํานวน 90 คน วิทยากรที่เปนผูนําเสนอ องค ค วามรู ป ระกอบด ว ย ดร.อั ศ มน ลิ่ ม สกุ ล ศู น ย วิ จั ย และฝ ก อบรม ดานสิ่งแวดลอม ดร.วิเชียร เกิดสุข สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ขอนแกน ผศ.ดร.เกริก ปนเหนงเพ็ชร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน นายหาญชัย นนทะแสน นายกเทศมนตรีตําบลโนนทอง นายรัฐพล พิทักษเทพสมบัติ องคการกองทุนสัตวปาโลกสากล (WWF) ประเทศไทย 3. หัวขอการฟน ฟูนาํ้ ใตดนิ และดินทีป่ นเปอ นสารอันตราย ไดจดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 20 มิถนุ ายน 2555 ณ จังหวัดพิษณุโลก มีผเู ขารวม เวทีทั้งหมดจํานวน 150 วิทยากรที่เปนผูนําเสนอองคความรู ประกอบดวย ดร.แฟรดาซ มาเหล็ม และนายพีรพงษ สุนทรเดชะ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม ดร.วิสาข สุพรรณไพบูลย คณะวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยนเรศวร นายสมาน แสงสวาง ตัวแทนผูไดรับผลกระทบจากการปนเปอนสารอันตรายในพื้นที่ จังหวัดพิจติ ร นายญาณพัฒน ไพรมีทรัพย ตัวแทนผูไ ดรบั ผลกระทบ จากการปนเปอ นสารอันตรายในพืน้ ทีจ่ งั หวัดตาก นางอารมณ คําจริง และนายวิม สารณชาวนา ตัวแทนผูไ ดรบั ผลกระทบจากการปนเปอ น สารอันตรายในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และนายอาวีระ ภัคมาตร สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 3 จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งทานที่สนใจขอมูลการสรุปองคความรู และขอสรุปที่ไดจากการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูทั้ง 3 หัวขอดังกลาว สามารถดาวนโหลดขอมูล ไดที่ www.deqp.go.th/website/20/ ทั้งนี้ สมาชิกเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม หรือนักวิจัยจากภาคีเครือขายตางๆที่เกี่ยวของ สามารถใหขอคิดเห็น ขอเสนอแนะตอการดําเนิน โครงการวิจัยภายใตโครงการพัฒนาและสงเสริมความรวมมือเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม หรือโครงการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูงานวิจัย ดานสิ่งแวดลอม ไดที่ สวนความรวมมือและเครือขายนักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม หรือที่ e-mail : jindaratr@ hotmail.com เพื่อใหการสงเสริมการศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมอยางมีสวนรวมของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมสามารถขับเคลื่อนใหเกิด การมีสว นรวมในการศึกษาวิจยั อยางแทจริง และขอมูลทีไ่ ดจากการศึกษาวิจยั สามารถนําไปใชในการแกไขปญหาสิง่ แวดลอมไดอยางเปนรูปธรรม มากยิ่งขึ้น No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
31
GREEN RESEARCH
พึ่งพาธรรมชาติ
ชีวภาพ-ชีวมวล-ความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ สู การจัดตั้งสังคม
Satoyama
จุฑาธิป อยูเย็น
(Satoyama Initiative)
นั
บจากมหาอุทกภัยป 2554 เกิดนํา้ ทวมครัง้ ใหญ ในประเทศไทย สภาพการเปลีย่ นแปลงของง สภาวะภูมิอากาศโลก และภัยพิบัติในทั่วโลก ประชาชนเริ่มตระหนักและหันกลับมามองถึง สาเหตุและวิธีการปองกัน แกไขปญหา สิ่งสําคัญคือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ถู ก ทํ า ลายอย า งรุ น แรงเพื่ อ การใช ป ระโยชน ข องมนุ ษ ย ช าติ อ ย า งไร ขี ด จํ า กั ด เป น ผลใหห ความหลากหลายทางชีวภาพลดลงอยางรุนแรง เปนที่ทราบกันดีวากลจักรของโลกควบคุม ดวยสิ่งมีชีวิต เมื่อสมดุลชีวภาพถูกทําลาย สมดุลของโลกก็ถูกทําลายเชนกัน สงผลตอชีวิต ของมนุษยตกอยูในอันตรายจากการเสียสมดุลนั่นเอง กอนอื่นเรามาทําความเขาใจ คําศัพท/ นิยามที่เกี่ยวของ/เกี่ยวเนื่องดวยสิ่งมีชีวิตกันกอน
ชีวภาพ หมายถึง เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต นักชีววิทยาจําแนกสิ่งมีชีวิตเปน 5 กลุมใหญ หรือ อาณาจักร รายละเอียดปรากฏตามม แผนภูมิดานลาง
สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้มีจํานวนระหวาง 2 - 30 ลานสปชสี โดยทีบ่ นั ทึกอยางเปนทางการ แลว 1.4 ลาน สปชีสแบงออกเปนกลุมใหญๆ 5 อาณาจักร ดังนี้ 1. อาณาจั ก รโมเนอรา (Kingdom Monera) ประกอบดวยจุลนิ ทรียพ วกโพรคาริโอต ในกลุมนี้ ไดแก แบคทีเรียและสาหรายสีเขียว แกมนํ้าเงิน (blue green algae) มีสมาชิก ประมาณ 6,000 สปชีส 2. อาณาจั ก รโพรติ ส ตา (Kingdom Protista) เปนอาณาจักรของยูคาริโอตเซลเดีย่ ว มีสมาชิกประมาณ 60,000 สปชสี เซลลถกู พัฒนา ใหมนี วิ เคลียสหอหุม โครโมโซม และสรางอวัยวะ ซึ่งทําหนาที่เฉพาะทาง ไดแก คลอโรพลาสต ซึ่งมีหนาที่สังเคราะหอาหารดวยแสง โดยการ เปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซดใหเปนอาหาร และคายกาซออกซิเจน ไมโทคอนเดรียน มีหนาที่ นํากาซออกซิเจนมาเผาผลาญอาหารใหเกิด พลังงานและคายกาซคารบอนไดออกไซดออกมา ซึง่ วิวฒ ั นาการในยุคตอมาไดแยกเปน พืช เห็ดรา และสัตว สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพติสตา ไดแก สาหราย โปรตัวซัว แพลงตอน 3. อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) มีสมาชิกประมาณ 250,000 สปชีส 4. อาณาจักรเห็ดรา (Kingdom Fungi) มีสมาชิกประมาณ 70,000 สปชีส 5. อาณาจักรสัตว (Kingdom Animalia) มีสมาชิกประมาณ 1,000,000 สปชีส
ค ภาพที่ 1 แสดงอาณาจักรสิ่งมีชีวิต แบงเปน 5 อาณาจักร 32
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
วามหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity; Biological diversity) หมายถึง การมี สิง่ มีชวี ติ นานาชนิดพันธุอ ยูร ว มกันในสถานทีห่ นึง่ หรือเรียกวาระบบนิเวศ สิง่ มีชวี ติ หลายชนิดพันธุ อยูร ว มกันในรูปแบบตางๆ กัน โดยการจัดสรร ของธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ระดับ คือ 1. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ (species diversity) 2. ความหลากหลาย ทางพั นธุ ก รรม (genetic diversity) และ 3. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา (ecosystem diversity)
GREEN RESEARCH
พึ่งพาธรรมชาติ
พลังงานชีวภาพ หรือ พลังงานชีวมวล ทรัพยากรชีวมวล คือมวลสารของสิง่ มีชวี ติ ไดแก พืชพรรณ ปาไม ผลผลิตการเกษตร และของเหลือ จากการแปรรูปสินคาเกษตร เชน แกลบ ฟางขาว ชานออย กะลาปาลม กะลามะพราว หรือของเสีย อินทรียจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร ฯลฯ รวมทั้งมูลสัตว เชน ไก หมู วัว เปนตน ทรัพยากรที่นาสนใจ ในการนํามาพัฒนาเปนพลังงานในอนาคตก็คอื กากของเหลือทางการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร รวมถึงมูลสัตวตา งๆ เนือ่ งจากหางายและราคาถูก พลังงานชีวภาพ (พลังงานชีวมวล) ใชวสั ดุอนิ ทรียเ หลานี้ เปนเชือ้ เพลิง โดยใชเทคโนโลยี เชน การสะสมกาซ การเปลีย่ นเปนกาซ (การเปลีย่ นแปลงวัสดุแข็งเปนกาซ) การเผาไหม และการยอยสลาย (สําหรับของเสียเปยก) เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotecnology) เปนความรู และวิชาการที่นําสิ่งมีชีวิต และ/หรือผลผลิตจาก สิง่ มีชวี ติ มาใช และ/หรือมาประยุกตโดยการเติมแตงหรือปรับเปลีย่ นเพือ่ นํามาใชประโยชน ตัวอยางการใช เทคโนโลยีชีวภาพ ไดแก การขยายและการปรับปรุงพันธุสิ่งมีชีวิต การนําผลผลิตจากสิ่งมีชีวิตไปแปรรูป เปนอาหารหรือยา การแปรรูปผลผลิตในระดับโรงงาน การใชจุลินทรียที่เหมาะสมในการบําบัดนํ้าเสีย การนําของเหลือใช ของเสียไปใชประโยชน เชน การทําปุยชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพที่มีประโยชน ไดแก การตัดตอยีน (genetic engineering) เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) เทคโนโลยี โมเลกุลเครื่องหมาย (molecular markers)
ความหลากหลายทางชีวภาพสําคัญอยางไร ความหลากหลายทางชีวภาพระหวางสายพันธุ ทีเ่ ห็นไดชดั เจนทีส่ ดุ คือ ความแตกตางระหวางพันธุพ ชื และสัตวตา งๆ ทีใ่ ชในการเกษตร ความแตกตางหลากหลาย ระหวางสายพันธุ ทําใหสามารถเลือกบริโภคพันธุพืช ตางๆ เปนอาหารเลีย้ งชีวติ มนุษย ความแตกตางทีม่ อี ยู ในสายพันธุต า งๆ ยังชวยใหเกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ ตางๆ เพื่อการเกษตรกรรมที่เหมาะสมได เปนตน ความหลากหลายระหว า งชนิ ด พั น ธุ พื้ น ที่ ธรรมชาติเปนแหลงที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกตาง หลากหลาย มนุษยไดนําเอาสิ่งมีชีวิตมาใชประโยชน ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม นอยกวารอยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเปนจริงพบวามนุษย ไดใชพืชเปนอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชที่มีทอ ลําเลียง (vascular plant) ที่มีอยูทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณรอยละ 25 ของพืชที่มี ทอลําเลียงนี้สามารถนํามาบริโภคได สําหรับชนิดพันธุ สัตวนั้น มนุษยไดนําเอาสัตวเลี้ยงมาเพื่อใชประโยชน เพียง 30 ชนิด จากสัตวที่มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มี ในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP, 1995) ความหลากหลายระหวางระบบนิเวศ เปนความ แตกตางระหวางระบบนิเวศประเภทตางๆ เชน ปาดงดิบ ทุงหญา ปาชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศทีม่ นุษยสรางขึน้ เชน ทุงนา อางเก็บนํ้า หรือแมกระทั่งชุมชนเมืองเพื่อการ อยูอาศัย ในระบบนิเวศเหลานี้ สิ่งมีชีวิตก็ตางชนิดกัน และมีโครงสรางหนาที่ในระบบนิเวศแตกตางกัน
ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย ประเทศไทยเปนประเทศที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่อุดมสมบูรณดวยความหลากหลายทาง ชีวภาพ ตั้งแตอดีตจวบจนปจจุบัน ความหลากหลายทางชีวภาพไดคํ้าจุนใหวิถีชีวิตของ คนไทยดําเนินไปโดยสมบูรณพนู สุข ความหลากหลายทางชีวภาพทําใหอาหารไทยมีความ หลากหลาย ในรูปแบบ กลิ่น และรส ความหลากหลายทางชีวภาพปรากฏในสมุนไพร ยาพืน้ บาน ทัง้ ทีใ่ ชรกั ษาโรคภัยไขเจ็บ และใชบาํ รุงรักษาสุขภาพอนามัย ความหลากหลาย ทางชีวภาพยังทําใหคนไทยไมขาดเครือ่ งใชไมสอยทีจ่ าํ เปนสําหรับการดํารงชีวติ นอกจากนี้ ความหลากหลายทางชีวภาพยังสะทอนในประเพณีไทยที่งดงามยังคงสืบทอดมาจน ปจจุบัน ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยสามารถแบงไดเปน 1. ความหลากหลายทางชีวภาพในวัฒนธรรมและประเพณีไทย 2. ความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งแวดลอม ไดแก ปาดิบชนิดตางๆ ปาดงดิบ ปาชายเลน บึง พรุ ทะเลสาบ ทะเล ฯลฯ 3. ความหลากหลายทางชีวภาพในยาและการรักษาโรค ประเทศไทยมีพืชสมุนไพรที่เคยใชผลิตเปนยาแผนโบราณกวา 1,000 ชนิด การแพทยพนื้ บานและการใชพชื สมุนไพรไดสบื ทอดและสัง่ สมอยูใ นสังคมไทยนานนับพันป คนไทยทัว่ ไปมีความรูพ นื้ บานในการรักษาโรคและอาการตางๆ สมุนไพรทีใ่ ชมากในตํารับ ยาสมุนไพรไทย เชน เหงาขิง (Zingiber officinale Roscoe) เปราะหอม (Kaempferia galaga L.) รากระยอม (Rauvolfia serpentina Benth. ex Kurz) เมล็ดพุงทะลาย (Scaphium macropodum Beaumee) เกสรบัวหลวง(Nelumbo nuciferaGaertn.) เปนตน No. 21 October 2012 www.deqp.go.th
33
GREEN RESEARCH
พึ่งพาธรรมชาติ
ดังนัน้ หากชีวภาพยิง่ คงความหลากหลายของชนิดพันธุแ ละระบบนิเวศมากเทาใดก็เปนแหลงการันตีถงึ ความอุดมสมบูรณและความมัน่ คงของ มวลมนุษยชาติเทานั้น แตในภาวะปจจุบันพบวามีการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยางรุนแรงจากการพัฒนาโดยไมคํานึงถึงการทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพเปนประเด็นทีน่ า วิตกอยางยิง่ เนือ่ งจากความหลากหลายทางชีวภาพ เปนรากฐานบนบทบาทหนาทีข่ องระบบนิเวศ ซึง่ ชวยสนับสนุนการดํารงอยูข องสังคมมนุษย การลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพอยางตอเนือ่ ง จะสงผลสะทอนอยางมีนัยสําคัญตอความเปนอยูของมนุษย จากการประชุมวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพของสหประชาชาติหรือ COP 10 ณ เมืองนาโกยา ประเทศญี่ปุน ไดมีการเสนอ แผนกลยุทธไอจิ (The Strategic Plan, 2011-2020; Aichi Target) ซึ่งประเทศสมาชิกรวมกันเห็นชอบกับแผนกลยุทธฉบับปรับปรุงโดย วางแนวทางและตัง้ เปาหมายเพือ่ ใหนานาประเทศ มีแนวทางทีช่ ดั เจนและเปนรูปธรรมในการดําเนินงานเพือ่ ใหบรรลุถงึ วัตถุประสงคในการอนุรกั ษ และการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยัง่ ยืน และลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยางมีนยั สําคัญ (สิรกิ ลุ บรรพพงศ, 2554) และมีขอตกลงในเรื่อง "Satoyama Initiative" หรือการริเริ่มทางภูมิทัศน ซาโตยามา เพื่อเสริมสรางความตระหนักถึงความสําคัญ และลดการสูญเสีย พื้นที่ภูมิทัศนซาโตยามา ภู มิ ทั ศ น Satoyama เป น ชื่ อ เรี ย ก ภู มิ ทั ศ น ใ นภาษาญี่ ปุ น มี ก ารริ เริ่ ม ศึ ก ษา ครั้ ง แรกสื บ เนื่ อ งจากกระทรวงสิ่ ง แวดล อ ม ประเทศญี่ปุน และสถาบันการศึกษาชั้นสูงของ มหาวิทยาลัยแหงสหประชาชาติ (UNU-IAS) รวมกับสํานักเลขาธิการอนุสัญญาวาดวยความ หลากหลายทางชีวภาพไดรวบรวมระบบนิเวศ จากหลายแหงที่ใหความสําคัญกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ระบบนิเวศนั้น ประกอบดวยถิ่นฐานหลายประเภทอยูรวมกัน อยางกลมกลืนและเกื้อหนุนกัน เชน พื้นที่ เกษตรกรรม ปาไม พื้นที่หากินของปศุสัตว พื้นที่แหลงนํ้าตื้น และอางเก็บนํ้า จนถึงการ ตั้งถิ่นฐานของมนุษยในระบบ สําหรับภูมิทัศน คลายคลึงกันนีก้ ม็ ปี รากฏในหลายประเทศทัว่ โลก และแตละประเทศก็มีชื่อเรียกของตัวเอง อาจกลาวไดวาการศึกษาภูมิทัศนสังคม “Satoyama initiative” เปนกลไกหนึง่ ของการ รวมมือระหวางนานาชาติ เพื่อศึกษากิจกรรม ภายในสังคมซึ่งรวมถึงการเก็บรวบรวมขอมูล และการสังเคราะหระบบนิเวศที่คัดเลือก การ ทําวิจัยหลากหลายในรูปของการใชทรัพยากร ชีวภาพอยางยั่งยืน และสนับสนุนโครงการ ของการมีจิตสํานึกและกิจกรรมของชุมชนที่ คุม ครองธรรมชาติ รวมถึงการสนับสนุนองคกร ที่เกี่ยวของ และรัฐบาลมีสวนรวมในการเปน สมาชิกในการหาแนวทางคุม ครองระบบนิเวศนัน้ ๆ Satoyama สามารถสรุปความหมายไดวา เปนการจัดการระบบนิเวศปา ปาหญา แปลง เพาะปลูก แหลงนํ้า และการตั้งถิ่นฐานภายใน ระบบนิ เวศอย า งเกื้ อ กู ล ต อ ธรรมชาติ เป น ประเพณีสบื ทอดภูมปิ ญ ญากันมาหลายชัว่ อายุ โดยคํานึงถึงการใชทรัพยากรชีวภาพอยางยัง่ ยืน เพื่อรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ
34
www.deqp.go.th No. 21 October 2012
การศึกษาภูมิทัศนสังคม “Satoyama intiative” ของแต ล ะประเทศเป น กลวิ ธี ที่จะชวยรักษาระบบนิเวศที่อุดมดวยความ หลากหลายทางชี ว ภาพ มี ก ารถ า ยทอด ภูมิปญญาในการอยูรวมกับธรรมชาติอยาง ยั่งยืนหลายรอยปใหอยูคูโลกนี้ตอไป
ภาพที่ 2 แสดงตัวอยางของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพในแบบตางๆ
เอกสารอางอิง สิริกุล บรรพพงศ. (2554). แผนกลยุทธไอจิ (The strategic plan, 2011-2020); Aichi Target). สํานักความหลากหลายทางชีวภาพ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. Postlehwait, J.H. & Hopson,J.I. (1995). The Nature of Life International Edition, USA, McGraw Hill Inc, UNEP. (1995). State of the Environment and Policy Retrospective: 1972-2002. United Nation.