Green Research ฉบับที่ 22

Page 1


สารบัญ

Contents เรื่องเดนประจําฉบับ 1

บรรณาธิการ

ชวนคุย ถ

าพูดถึงเรื่องธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทุกวันนี้ดูเหมือนจะเปน เรือ่ งทีห่ ลายฝายตางใหความสนใจ เพราะเปนสิง่ ทีใ่ กลตวั มาก มอง เห็นไดเดนชัด ไมวา จะเปนปญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของ ทัว่ โลก ปญหาหมอกควันขามพรมแดน ทีส่ ง ผลให พลเมืองโลก ตางตืน่ ตัว มาทะนุถนอมและใหความสําคัญตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอมบนโลก ทรงกลมใบนี้ Green Research ฉบับนี้ไดคนเรื่องราวที่นาสนใจมาใหติดตาม กันอีกครัง้ ดวยนวัตกรรมใหมจากบรรดานักวิจยั ทีท่ มุ เททัง้ แรงกายและ แรงใจเพื่อสรางสรรคผลงานเหลานี้ขึ้น อยางแรกที่อยากนําเสนอใหทุกคนไดหายสงสัย นั้นคือ เรื่องจมูก อิเล็กทรอนิกสคืออะไร....ใชงานอยางไร ตามดวยสิ่งที่หลายคนอยากรูถึง ทิศทางการบริโภคที่ยั่งยืนใน ปจจุบัน ติ ด ตามด ว ยเรื่ อ งการส ง เสริ ม การมี ส ว นร ว มในการศึ ก ษาวิ จั ย สิ่งแวดลอม จากเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม......สูสมัชชานักวิจัย ดานสิ่งแวดลอม เกาะติดกับ ผลงานวิจยั ทางดานสิง่ แวดลอมทีเ่ หมาะสมกับสภาพ ปจจุบันอีกมากมายภายในเลม พบกันใหมฉบับหนา...

การบําบัดนํ้าใตดินที่ปนเปอนสารอินทรียระเหยโดยการ ยอยสลายดวยจุลินทรีย

ติดตามเฝาระวัง 6

เหล็กประจุศูนยที่เหมาะสมใน PRB กับการบําบัดสาร DNAPL

10 หมอกควันกับปญหาที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง กาวหนาพัฒนา 14 จมูกอิเล็กทรอนิกสคืออะไร... ใชงานอยางไร 20 จากเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม....... สูสมัชชานักวิจัย ดานสิ่งแวดลอม

23 การบําบัดนํ้าเสียของหอพักรักษสิ่งแวดลอม พึ่งพาธรรมชาติ 30 ทิศทางการบริโภคที่ยั่งยืนในปจจุบัน ภาพขาวกิจกรรม 34 กิจกรรมความเคลื่อนไหวในศูนยวิจัยและฝกอบรมดาน สิ่งแวดลอม

คณะผูจัดทํา

บรรณาธิการ

ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เทคโนธานี ตําบลคลองหา อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0-2577-4182-9 โทรสาร 0-2577-1138

วสุวดี ทองตระกูลทอง

ที่ปรึกษา

กองบรรณาธิการ

มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย, โสฬส ขันธเครือ, นิตยา นักระนาด มิลน, ศิรินภา ศรีทองทิม, หทัยรัตน การีเวทย, รุจยา บุณยทุมานนท, ปญจา ใยถาวร, จินดารัตน เรืองโชติวิทย, อุไร เกษมศรี

จตุพร บุรุษพัฒน, รัชนี เอมะรุจิ, ภาวินี ปุณณกันต

บรรณาธิการบริหาร สุวรรณา เตียรถสุวรรณ

ติดตอขอเปนสมาชิก สวนความรวมมือและเครือขายนักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม โทรศัพท 0-2577-4182-9 ตอ 1102, 1121, 1125 โทรสาร 0-2577-1138 www.deqp.go.th/website/20/


เรื่อง เดนประจําฉบับ

GREEN RESEARCH

¡ÒúíҺѴ¹íéÒãμŒ´Ô¹·Õ軹ໄœÍ¹

จุลินทรีย สารอินทรียระเหยโดยการยอยสลายดวย

ศิริวรรณ พิมพออน* แฟรดาซ มาเหล็ม** พีรพงษ สุนทรเดชะ**

ารพัฒนาทางเศรษฐกิจและขยายตัวภาคอุตสาหกรรม โดยขาดการจัดการทีด่ ที างดานสิง่ แวดลอม เปนสาเหตุ สําคัญหนึง่ ทีส่ ง ผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอม และ สุขภาพประชาชน ตัวอยางปญหาเชน การตรวจพบการปนเปอ น สารอินทรียร ะเหยในดินและนํา้ ใตดนิ ในหลายพืน้ ที่ ซึง่ มีสาเหตุหลัก มาจากการจัดการของเสียอุตสาหกรรมที่ไมเหมาะสม อุบัติเหตุ การรั่วไหลในกระบวนการอุตสาหกรรม และจากการลักลอบทิ้ง เปนตน ทั้งนี้การปนเปอนสารอินทรียระเหยในนํ้าใตดินที่นั้น อาจสงผลกระทบตอเนือ่ งสูป ระชาชนเนือ่ งจากการใชนาํ้ ทีป่ นเปอ น ในการอุปโภคและบริโภค ซึ่งการบําบัดฟนฟูนํ้าใตดินที่ปนเปอน สารอินทรียระเหยเปนทางเลือกหนึ่งในการลดการปนเปอนของ สารอินทรียระเหยในนํ้าใตดิน สารอินทรียร ะเหย (Volatile Organic Compounds : VOCs) มีคุณสมบัติเปนสารประกอบที่ระเหยเปนไอไดในที่อุณหภูมิและ ความดันปกติ โมเลกุลสวนใหญมีคารบอนเปนองคประกอบหลัก และอาจมีออกซิเจน ไฮโดรเจน ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน ซัลเฟอร หรือไนโตรเจน ประกอบกันเปนอะลิเฟติกสายยาว (long chain aliphatic) หรือแอโรเมติก (aromatic) รวมถึงกลุมคารบอนิล (อัลดีไฮด และคีโตน) และกลุมแอลกอฮอล โดยทั่วไปสารอินทรีย ระเหยเปนสารประกอบทีม่ คี วามสามารถในการละลายนํา้ ไดนอ ย ซึง่

สารประกอบอินทรียร ะเหยถูกใชมากในหลายประเภทอุตสาหกรรม เชน สารอินทรียระเหยที่มีคลอรีนเปนองคประกอบ (Chlorinated Solvent) ใชเปนตัวทําละลาย เชน Trichloroethylene และ Tetrachloroethylene หรือ Perchloroethylene เปนตน โดยสาร ดังกลาวใชในการลางคราบไขมันในกระบวนการผลิตและการ ซอมบํารุง สารอินทรียร ะเหยกลุม ทีไ่ มมคี ลอรีนเปนองคประกอบ เชน Benzene, Xylene, Styrene, Toluene, Formaldehyde เปนตน เปนสวนประกอบในหลายผลิตภัณฑ เชน นํ้ามันเชื้อเพลิง สีทาบาน นํ้ายาฟอกสี พลาสติก เปนตน ปจจุบันมีหลายเทคนิคในการบําบัดฟนฟูนํ้าใตดินที่ปนเปอน สารอินทรียระเหย เชน การใชสารเคมีในการบําบัดฟนฟูในชั้นนํ้า ใตดนิ (in-situ chemical transformation reaction) ซึง่ รวมถึงเทคนิค permeable reactive barrier (PRB) ซึ่งมักใชเหล็กประจุศูนย (zero valence iron) เปนสารตัวกลาง สําหรับการใชสารเคมี ในการบําบัดฟนฟูในชั้นนํ้าใตดินยังรวมถึงเทคนิคที่มีการใชสาร เคมี เชน Permanganate, Fenton’s reagent, ozone เปนตน นอกจากนี้ยังมีการใชจุลินทรียในการบําบัดฟนฟูในชั้นนํ้าใตดิน (in-situ bioremediation) ที่ปนเปอนสารอินทรียระเหย ซึ่งใน กระบวนการสลายสารอินทรียร ะเหยโดยจุลนิ ทรียน นั้ ไดมกี ารศึกษา วามีจุลินทรียที่เกี่ยวของหลากหลายชนิดดวยกัน (ตารางที่ 1)

นักวิชาการสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

*

**

No. No.22 21February October 2013 2012

www.deqp.go.th

1


GREEN RESEARCH

เรื่อง เดนประจําฉบับ

ตาราง 1 จุลินทรียที่สามารถยอยสลาย และใชสารอินทรียระเหยในการเจริญ ชนิดของจุลินทรีย Achromobacter xylosoxidans Alcaligenes Bacillus spp. Brevibacterium Burkhoderai cepacia Chromomonas acidivorans Corynebacterium Desulfitobacterium hafniense Hyphomicrobiumfacilis Methylobacterium extorquens Pseudomonas spp. P.fluorescens P.putida Rhodococcus erythropolis Rhodococcus ruber Sphingomonas aromaticivurans Stenotrophomonas maltiphilia Variovorax paradoxus Xanthobacter

ชนิดของสารอินทรียระเหย Benzene Toluene DCB (di 1,2-chlorobenzene) CB (chlorobenzene) Toluene DCB isomer (cometabolism) PCBs TCE (dehalogination) toluene DCB isomer (cometabolism) Solvent containing chlorine Aromatic and alkylchlorinate cpd. MTBE (Methyl tert-Butyl Ether) TBA (tert-butanol) Ethanol ,methanol , formate formaldehyde Organic compound PCE TCE, TCA, DCE, VC, oil Chlorinated compoung (dehalogination) Brominated VOCs oil Toxic compound aromatichydrocarbon Toluene MTBE (Methyl tert-Butyl Ether) TBA (tert-butanol) DCB isomer (cometabolism)

ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม ซึ่งไดดําเนินการตรวจสอบการปนเปอนสารอินทรีย ระเหยในนํ้าใตดินบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด โดยพบการ ปนเปอนของสารอินทรียระเหยทั้งกลุมที่มีคลอรีนและไมมีคลอรีน เปนองคประกอบในนํ้าใตดินในพื้นที่ จึงไดมีการศึกษาการลดการ ปนเปอนของสารอินทรียระเหยกลุม Chlorinated Solvent ใน นํ้าใตดินโดยใชการบําบัดดวยเทคนิคการยอยสลายดวยจุลินทรีย

2

www.deqp.go.th No. 22 February 2013

เอกสารอางอิง Daugulis et al.2003 Boudrean and Daugulis, 2006 Guerin, 2008 Daugulid and Boudrean, 2008 Guerin, 2008 Whymam, 2005 Barth et al.,2002 Daugulid and Boudrean, 2008 Guerin, 2008 Christiansen and Ahring, 1996 Zaitsev et al.,2007 Zaitsev et al.,2007 Vandenbergh and Saul,2002 Guerin, 2008 Erable et al.,2009 Efremenko et al.,2005 Whyman,2005 Daugulid and Boudrean, 2008 Zaitsev et al.,2007 Guerin, 2008

(In-Situ Bioremediation) ซึ่งกระบวนการยอยสลายของสาร อินทรียร ะเหยชนิด Chlorinated Solvent ซึง่ เปนสารทีพ่ บในพืน้ ที่ มาบตาพุด โดยยอยสลายจาก Tetrachloroethylene (PCE)➟ Trichloroethylene (TCE)➟ 1,2-Dichloroethylene (DCE) ➟ Vinyl Chloride (VC)➟ Ethylene (ETH) ซึ่งเปนปฏิกิริยาการ ยอยสลายแบบ reductive dechlorination แสดงในรูปที่ 1


เรื่อง เดนประจําฉบับ

GREEN RESEARCH

รู ป ที่ 1 ปฏิกิริยาการสลายตัว ของสารประกอบอินทรียคลอรีน (ที่มา: Suthersan, 1997) การออกแบบระบบ In-Situ Bioremediation ใหมีประสิทธิภาพนั้น จะตองใหเหมาะสมกับลักษณะ โครงสร า งธรณี วิ ท ยา ลั ก ษณะทางอุ ท กธรณี วิ ท ยา ของพื้นที่ คาศักยไฟฟาเคมี (Oxidation-Reduction Potential, ORP) คุณสมบัติทางเคมีของนํ้าใตดิน ซึ่งรวมทั้งชนิดและปริมาณของสารปนเปอน (สาร อินทรียระเหย) ตัวรับอิเล็กตรอนในนํ้าใตดิน ไดแก NO3, SO4, Fe(III), Mn(IV) และ O2 เปนตน ซึ่งขอมูล ดังกลาวใชในการเลือกสารอาหารและตัวรับอิเล็กตรอน ที่จะใชเติมลงไปในนํ้าใตดินเพื่อกระตุนจุลินทรียให เจริญเติบโตมากขึ้น สําหรับการคัดเลือกสารอาหาร ที่ ใช เ ติ ม นั้ น ขึ้ น อยู  กั บ ชนิ ด ของจุ ลิ น ทรี ย  ใ นพื้ น ที่ นอกจากนี้การออกแบบระบบบําบัด ยังจําเปนตอง ทราบอั ต ราการไหลของนํ้ า ใต ดิ น และอั ต ราเร็ ว ของการสลายตัวของสารอินทรียระเหย ซึ่งเปนตัว บ ง บอกถึ ง ความถี่ ข องการเติ ม สารอาหารในระบบ (ITRC, 2002) หลั ก การทั่ ว ไปของระบบ In-Situ Bioremediation ใชการเติมสารอาหารทีเ่ หมาะสมลง ในนํ้าใตดินโดยเติมอาหารลงในบอ (Injection Well) เพื่อใหจุลินทรียมีการเจริญเติบโตเพื่อยอยสลายสาร อินทรียระเหย ทําใหนํ้าใตดินมีคุณภาพดีขึ้น และมี บอดึงนํา้ (Extraction Well) อยูท ที่ า ยนํา้ สําหรับดึงนํา้ ที่ผานการบําบัดแลว ลักษณะทั่วไปของระบบ In-Situ Bioremediation แสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2 ลักษณะทั่วไปของระบบ In-Situ Bioremediation (อางอิง: http:// www.usepa.gov)

No. 22 February 2013

www.deqp.go.th

3


GREEN RESEARCH

เรื่อง เดนประจําฉบับ

เนื่องจากการเคลื่อนที่ของนํ้าใตดินในพื้นที่ทดสอบคอนขาง ชาประมาณ 10 เมตรตอป ดังนั้นระบบบําบัดฟนฟูนํ้าใตดินที่ ปนเปอนสารอินทรียระเหยโดยใชจุลินทรียในการยอยสลายสาร อินทรียร ะเหยในนํา้ ใตดนิ ในพืน้ ทีม่ าบตาพุด จึงใชการเติมสารอาหาร ที่เหมาะสมลงในนํ้าใตดินโดยเติมลงในบอเติมอาหาร (Injection Well) ทําใหจุลินทรียมีการเจริญเติบโตเพื่อยอยสลายสารอินทรีย ระเหย และทํ า การตรวจวั ด การลดลงของปริ ม าณสารอิ น ทรี ย  ระเหยในบอเติมสารอาหาร โดยในพื้นที่ศึกษาพบการปนเปอนของ สารอินทรียระเหยกลุม Chlorinated Solvent ในระดับที่เกินคา มาตรฐานนํ้าใตดินในบอสังเกตการณบางบอที่ติดตั้งอยูโดยรอบ ประกอบดวย cis-Dichloroethylene (cis-DCE) และ Vinyl Chloride (VC) ซึ่งพบการปนเปอนของ cis-DCE และ VC ในปริมาณที่สูงกวา คามาตรฐานในนํ้าใตดินประมาณ 5 และ 300 เทา ตามลําดับ 4

www.deqp.go.th No. 22 February 2013

ดังนั้นระบบ In-Situ Bioremediation ในพื้นที่ศึกษาจึงเปนการ ทดสอบการลดลงของสารดังกลาว โดยการออกแบบระบบบําบัด ในพื้นที่ทดสอบ เปนระบบบําบัดแบบ plume treatment (บําบัด นํ้าเสียที่ไหลมาจากแหลงกําเนิด) เนื่องจากติดขัดตรงที่ไมสามารถ เขาถึงแหลงกําเนิดไดโดยตรง และในการเติมสารอาหารใชวิธีการ circulate เพื่อใหเกิด zone of mixing และ bioreactive barrier โดยในการเติมสารอาหารครัง้ นีเ้ ลือกใช glucose เปนแหลงคารบอน และสารละลายบัฟเฟอร (phosphate buffer) เนื่องจากนํ้าใตดิน ในพืน้ ทีท่ ดสอบมีสภาพความเปนกรดออนๆ (PHประมาณ 5-6) จาก การเก็บตัวอยางนํ้าแบบ multi-level sampling โดยใช diffusion sampler เพื่อวิเคราะหความเขมขนของสารปนเปอนที่ความลึก ตางๆ ในบอเติมอาหาร ทั้งนี้จากการตรวจสอบการลดลงของสาร cis-DCE และ VC ตั้งแตเดือนเมษายน 2554 - เดือนมีนาคม 2555


เรื่อง เดนประจําฉบับ

GREEN RESEARCH

เอกสารอางอิง

หลังจากการเติมสารอาหาร ผลการศึกษาเบื้องตนสรุปไดวาระบบ บําบัดฟนฟูนํ้าใตดินโดยการยอยสลายโดยจุลินทรียสามารถลดการ ปนเปอนสารอินทรียระเหย cis-DCE และ VC ในพื้นที่ทดสอบ โดยสาร cis-DCE ลดลงตํ่ากวาคามาตรฐานนํ้าใตดิน และ VC ลดลง ถึง 97 % ถึงแมวาจุลินทรียสามารถยอยสลายสารอินทรียระเหย ในพื้นที่ทดสอบไดแตเนื่องจากไมสามารถกําจัดและจัดการแหลง กําเนิด (source) ของการปนเปอนในพื้นที่ศึกษาได จึงมีโอกาส ที่การปนเปอนจากแหลงกําเนิดจะมีการปลดปลอยสารปนเปอน ซึ่งในระยะยาวระบบบําบัดฟนฟูนํ้าใตดินที่ปนเปอนสารอินทรีย ระเหยในพื้นที่ศึกษานี้ไมสามารถรองรับการปนเปอนที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตได

กรมส ง เสริ มคุณ ภาพสิ่ ง แวดลอ ม 2553 รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาความเหมาะสมและติดตั้งระบบบําบัดการ ยอยสลายสารอินทรียระเหยในนํ้าใตดินและการจําลองการ เคลื่อนที่ของมวลสารในชั้นดินอุมนํ้าและไมอุมนํ้า (ศึกษาโดย ภาควิชาธรณีวทิ ยา คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม). ประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 20 (พ.ศ. 2543) ออกตามความใน พ.ร.บ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดลอม แหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าใตดิน ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา เลม 117 ตอนพิเศษ 95 ง ลงวันที่ 15 กันยายน 2543. Suthersan S., 1997, Remediation Engineers: Design Concepts. CRC-Lewis Publishers. ITRC (Interstate Technology and Regulator Council), 2002, Technical/Regulatory Guidelines: A Systematic Ap proach to In Situ Bioremediation in Groundwater, In Situ Bioremediation Team. No. 22 February 2013

www.deqp.go.th

5


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

โดย : ศิริลักษณ สุคะตะ* พีรพงษ สุนทรเดชะ** แฟรดาซ มาเหล็ม**

ารกลุม DNAPL (Dense Non-Aqueous Phase Liquid) เปนกลุมสารอินทรียระเหยชนิดที่มีความหนา แนนมากกวานํ้า ตัวอยางสารกลุม DNAPL ไดแก ไตรคลอโรเอทธิลีน (trichloroethylene, TCE) ซิส-1,2-ไคคลอโรเอทธิลีน (cis-1,2dichloroethylene, cis-DCE) ทรานส -1,2-ไดคลอโรเอทธิลีน (trans-1,2-dichloroethylene, trans-DCE) และ 1,1-ไดคลอโรเอ ทธิลนี (1,1-dichloroethylene ,1,1-DCE) เปนตนซึง่ สารเคมีเหลานี้ มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษสามารถลางคราบไขมันไดดเี ยีย่ ม สวนใหญนยิ มใช ในอุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิคส อุตสาหกรรมผลิตชิน้ สวนเครือ่ งยนต อุตสาหกรรมซักแหง รวมทั้งอุตสาหกรรมผลิตสีและแลคเกอร ซึ่งหากไดรับการจัดการที่ไมเหมาะสม จะสงผลใหเกิดการปนเปอน ในดิน และนํา้ ใตดนิ ซึง่ พบไดทวั่ ไปทัง้ ในและตางประเทศ อาทิเชน ป 2540 กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม พบการปนเปอ นสารอินทรีย ระเหยในดินและนํา้ ใตดนิ บริเวณนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัด ลําพูน ตอมาป 2547 พบการปนเปอนสารอินทรียระเหยในดินและ 6

www.deqp.go.th No. 22 February 2013

นํ้าใตดินบริเวณปางอโศก ต.กลางดง อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา และป 2550 พบการปนเปอนสารอินทรียระเหยในดินและนํ้าใตดิน บริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จากปญหาดังกลาวขางตน ไดมี การพัฒนาเทคนิคตางๆในการบําบัดฟน ฟูการปนเปอ นของสารเหลา นี้เชนการใชจุลินทรีย หรือการใชสารเคมีในการบําบัดฟนฟูเปนตน เทคนิค Permeable Reactive Barrier, PRB จัดเปนเทคนิค หนึง่ ซึง่ ไดรบั การพัฒนาอยางตอเนือ่ ง ซึง่ เทคนิคดังกลาว เปนเทคนิค การพัฒนาฟนฟูที่ดําเนินการในภาคสนาม โดยประกอบดวย พื้นที่ บําบัดซึง่ ประกอบดวยสารทีส่ ามารถกําจัดสารปนเปอ นออกจากนํา้ ใตดิน ในการบําบัดฟนฟูนํ้าใตดิน ติดตั้งระบบบําบัดบริเวณทายนํ้า ของแหลงกําเนิดของการปนเปอน (plume) และอยูในทิศทางที่ ตัง้ ฉากกับการไหลของนํา้ ใตดนิ เพือ่ จับ (immobilize) หรือ ทําลาย (degrade) สารปนเปอนที่ละลาย กระบวนการในการทําลายสาร อินทรียระเหย และสารที่เกิดจากการสลายตัว ใชเหล็กประจุศูนย (zero valent metal Iron)


ติดตามเฝาระวัง

GREEN RESEARCH

กลไกการสลายตัวของสารไตรคลอโรเอทธิลนี โดยเหล็กประจุศนู ย (zero valent iron C2VI9) ใชหลักการของขบวนการสลายตัวของ สาร chlorinated ethylene เปนขบวนการทีเ่ กิดขึน้ ทีผ่ วิ ของเหล็ก ประจุศนู ย โดยเกิดขบวนการ abiotic reductive dechlorination (U.S.EPA, 1998) ซึ่งเกิดจากการกัดกรอนของเหล็กประจุศูนย โดยสาร chlorinated solvent ซึ่งเหล็กประจุศูนยถูกออกซิไดซ และสาร chlorinated solvent ถูกรีดิวซ โดยปฏิกิริยารวมของ reduction dechlorination ของผงเหล็กประจุศนู ยซงึ่ มีการถายเท อิเลคตรอน 2 ตัว ตามสมการที่ 3 เกิดจากผลรวมของปฏิกิริยา anodic และ cathodic reaction ตามสมการที่ 1 และ 2

เหล็กประจุศูนยที่เหมาะสมใน

PRB กับการบําบัดสาร



Fe0 Fe+2+ 2e- Anodic reaction (๑) Fe+2 + RH + CI- Cathodic reaction (๒) Fe+2 + RH + CI- Net reaction (๓)

RCI + 2e- H+ Fe0 + RCI + H+

เมื่อ R เปนโมเลกุลของสารไฮโดรคารบอน อยางไรก็ตามขบวนการ reductive dechlorination สามารถ แบงออกเปน 2 วิถีการสลายตัว (Roberts et al.,1966) คือ (A) วิถี sequential hydrogenolysis และ (B) วิถี reductive--elimination ซึ่ ง ทั้ ง สองวิ ถี เกิ ด ควบคู กั น ในระหว า งการย อ ยสลาย โดยวิ ถี reductive--elimination มีการปลอยคลอไรด 2 อิออนจาก 1 โมเลกุล ในขณะทีว่ ถิ ี sequential hydrogenolysis เปนการแทนที่ คลอไรด 1 อิออน ดวย ไฮโดรเจน 1 อะตอม ดังนั้นในการเปลี่ยน สารไตรคลอโรเอทธิลีน 1 โมเลกุล เปนสาร ethene อยางสมบูรณ จะตองมีการถายเทอิเลคตรอน จํานวน 6 ตัว สมมุติฐานขั้นตอน ขบวนการยอยสลาย TCE แสดงในรูปที่ 2 TCE B

H C1 2e-

A

C1- H C1 2e- + H+ C1 C1

2C1Chloroacetylene H - C C - C1 2e- + H+ Acetylene H-C C-H

C1-

H

C1 2e- + H+ C1- 2e + 2H+ H

C1

cis-1,2-DCE C1 2e- + H+ C1 Vinyl chloride C1 H

C1-

H H + 2e + 2H H HH H H H

รูปที่ 1 Permeable Reactive Barrier

Ethene

Ethane

รูปที่ 2 สมมุติฐานขั้นตอนขบวนการยอยสลาย TCE No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

7


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

เมื่อพิจารณา TCE ซึ่งเปนสารเริ่มตนของขบวนการสลายตัว จะเกิดสารขั้นกลางของขบวนการยอยสลาย ไดแก ไอโซเมอรของ ไดคลอโรเอทธิลีนทั้ง 3 ชนิด (cis-DCE, trans-DCE และ 1,1-DCE) โดยมี csi-DCE เปนองคประกอบหลัก และ VC ซึ่งเกิดจากวิถี sequential hydrogenolysis โดยสารทั้งสองชนิดสลายตัวได ชากวา TCE สําหรับวิถี reductive - elimination เกิดสารขั้นกลาง คือ chloroaectylene ซึง่ มีความเปนพิษสูง แตสารชนิดนีไ้ มเสถียร และสลายตัวไดเร็วกลายเปน ethane สําหรับวิถี reductive elimination เปลีย่ น TCE เปน ethene และ ethane อยางรวดเร็ว และเกิดสารขั้นกลางของขบวนการยอยสลายนอยมาก สําหรับ ethene เปนผลผลิตขัน้ สุดทาย สารนีไ้ มมคี วามเปนพิษ และสลายตัวไดงาย โดยสามารถสลายตัวตอไปเปน ethane ไดอีก นอกจาก ethene และ ethane ซึง่ เปนผลผลิตหลักขัน้ สุดทาย แลว อาจเกิดสารอืน่ เชน methane propene propane 1-butene และ butane ดวย โดยสารเหลานีอ้ าจเกิดจากปฏิกริ ยิ าอืน่ เชนขบวนการ

รีดกั ซชนั่ ของคารบอนไดออกไซดทลี่ ะลายนํา้ (Hardy and Gillham, 1996) ในการบําบัดสาร DNAPL ปนเปอนในนํ้าใตดินดวย PRB จะประกอบดวยปจจัยตางๆ อาทิเชน สภาพพื้นที่ปนเปอน ลักษณะ ทางดานธรณีและอุทกธรณีวิทยา ทิศทางการไหลนํ้าใตดิน เคมีของ นํ้าใตดินโดยเฉพาะอยางยิ่งชนิดและขนาดของเหล็กประจุศูนยจะ มีผลโดยตรงตอประสิทธิภาพการบําบัด ศวฝ. ไดดําเนินการวิจัย คุณภาพและประสิทธิภาพของผงเหล็กที่มีจําหนายสําหรับบําบัด ฟนฟูนํ้าใตดินที่ปนเปอนสารไตรคลอโรเอทธิลีน โดยนําผงเหล็ก จํานวน...6....ชนิด ประกอบดวยผงเหล็กที่ผลิตดวยบริษัท Hepure Technologies จํานวน 4 ชนิด และผงเหล็กที่ผลิตดวยบริษัท H2O MET. จํานวน 2 ชนิด โดยในขัน้ ตอนแรกจะดําเนินการศึกษาพืน้ ทีผ่ วิ และความสามารถในการปลดปลอยอิเลคตรอนของเหล็กประจุศนู ย ที่แตกตางกันจํานวน 6 ชนิด ซึ่งผลการศึกษาดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงการศึกษาโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพและการปลดปลอยอิเล็คตรอนของผงเหล็กประจุศูนย ลําดับที่

ชนิดของเหล็ก

Surface Area [m2/g]

1 2 3 4 5 6

HCA-150 Cast Iron Powder HCA-150 N Cast Iron Powder HCA-150 N Iron Powder H-200 Plus Iron Powder H2O MET58 H2O MET56

2.438 1.142 1.921 3.093 0.528 0.285

จากผลการศึ ก ษาการศึ ก ษาโครงสร า งพื้ น ฐานทาง กายภาพและการปลดปลอยอิเล็คตรอนของผงเหล็กประจุศนู ย พบวาเหล็กประจุศูนยชนิด H-200 Plus Iron Powder HCA-150 Cast Iron Powder , HCA-150 N Cast Iron Powder และHC-15 Iron Powder มีพื้นที่ผิวสําหรับการ ทําปฏิกิริยามากตามลําดับ และพบวาเหล็กประจุศูนยทั้ง 4 ชนิดนี้มีคาความเขมขนของอิเลคตรอนอิสระในนํ้าสูง ซึ่ง แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการปลดปลอยอิเลคตรอน เหล็กประจุศูนยเพื่อทําปฏิกิริยากับสาร TCE ดังนั้นจึงเลือก เหล็กประจุศูนยทั้ง 4 ชนิดนี้มาศึกษาประสิทธิภาพของ ผงเหล็กสําหรับการบําบัดฟน นํา้ ใตดนิ ทีป่ นเปอ นสารไตรคลอโร เอธิลีนแบบ Batch scale

รู ป ที่ 3 ขวดทดสอบที่ บรรจุผงเหล็กแตละชนิด

รูปที่ 4 อุปกรณสําหรับ หมุ น เหวี่ ย ง โดยการ ทดลองแบบ Batch scale 8

www.deqp.go.th No. 22 February 2013

ORP (mv) (เหล็กประจุศูนยเขมขน 500g/l) -146 -380 -323 -289 -58 68


ติดตามเฝาระวัง

GREEN RESEARCH

5,000 4,500 4,000 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0

9.00 8.00

H 200 plus H 150 N

7.00 6.00 In.

Concentration

การศึกษาในขั้นตอนนี้คือ การนําเหล็กประจุศูนย ปริมาณ 1 กรัม มาทําการบําบัดในนํ้าใตดินที่ปนเปอนสารไตรคลอโรเอทธิลีน สังเคราะห โดยใชนํ้าใตดินจากพื้นที่จังหวัดลําพูน เติมสารไตรคลอโรเอทธิลีนที่ความเขมขน 4.5 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาตร 10 มิลลิลิตร (รูปที่ 3) โดยใชความเร็วรอบในการหมุน 35 รอบตอนาที ที่อุณหภูมิหองเปนเวลา 0,2,4,6,12,24 และ 48 นาที (รูปที่ 4) กราฟผลการ ศึกษาแสดงในรูปที่ 5

H 150 N Cast H 150 Cast

5.00 4.00 3.00 2.00

Time. (hr) 0

20

40

60

1.00 Time. (hr)

0.00 0

5

10

15

รูปที่ 5 การทดลองประสิทธิภาพการสลายสาร TCE ในนํ้าใตดิน โดยเหล็กประจุศูนย จากรูปที่ 5 ผลทดลองประสิทธิภาพการสลายสาร TCE ใน เอกสารอางอิง นํ้าใตดิน โดยเหล็กประจุศูนยชนิด H-200 Plus Iron Powder HCA-150 Cast Iron Powder , HCA-150 N Cast Iron Pow- มีศกั ดิ์ มิลนิ ทวิสมัย, สีหนาถ ชาญณรงค, พีรพงษ สุนทรเดชะ, วาลิกา เศวตโยธิน der และHCA-150 Iron Powder ซึ่งพบวาเหล็กประจุศูนยชนิด และจีรนันท พันธจักร. 2544. การปนเปอนของสาร chlorinated HCA-150 N Cast Iron Powder และHCA-150 Iron Powder มี ethylene ในดิ น และนํ า ใต ดิ น และกรณี ศึ ก ษาของประเทศไทย. ศู น ย วิ จั ย และฝ ก อบรมด า นสิ่ ง แวดล อ ม. กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพ ประสิทธิภาพในการสลายสาร TCE ไดรอ ยละ 90 ในเวลา 10 ชัว่ โมง สิ่งแวดลอม. กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม. และเมือ่ พิจารณาถึงคาคงทีข่ องการทําปฏิกริ ยิ าลําดับที่ 1 (1st order Alexandra J. Salter et al.,2010 “Degrasation of 1,2,3-Trichloropropane reaction rate) จะพบวาเหล็กประจุศูนยทั้งสองชนิดมีคาคงที่ของ by Zero-Valent Zinc:Laboratory Assessment for field Application” การทําปฏิกิริยาสูงที่สุด ซึ่งสอดคลองกับพื้นที่ผิวในการทําปฏิกิริยา International Conference on Remediation of Chlorinated และคาความเขมขนของอิเลคตรอนอิสระในนํ้า และนี้เปนขั้นตอน and Recalcritrant Comounds แรก ซึ่งเปนขั้นตอนที่สําคัญในการหาชนิดผงเหล็กประจุศูนยที่มี Elizabert L. Cohen and Bradley M Patterson,(2009), “Zero Valent ประสิทธิภาพจะนําไปเปน Permeable Iron Wall ของเทคนิคการ iron remediation of a mixed brominated ethane contaminated groundwater”Journal of Contaminant Hydrology Volume บําบัด Permeable Reactive Barrier ตอไป

103 Issues 3-4,Pages 109-118 Hardy, L.L and Gillham, R.W. (1996). “Formation of Hydrocarbons from the Reduction of Aqueous CO2 by Zero-Valent Iron.” Environmental Science and Technology 30(1) : 57-65. Jim Mueller.et al.,(2004)”Reductive dechlorination of solvents in groundwater using controlled-release carbon with microscale ZVI” International Conference of Remediation Cholorinated and Recalcritrant organics” Paul G. tratnyek .et al,.(2008) “Fate and Remediation of 1,2,3-Trichloropropane” International Conference on Remediation of Chlorinated and Recalcritrant Compounds No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

9


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

หมอกควั น กับปญหาที่เกิดขึ้น Í‹ҧμ‹Íà¹×่ͧ พนมพร วงษปาน*

ถานการณเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอม ระบบเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศตางๆ ทัว่ โลก อันเนือ่ งมาจากการพัฒนาและ กระแสโลกาภิวัฒนสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงไมได ทําใหเกิดการใชทรัพยากรธรรมชาติ อยางรวดเร็ว และสงผลกระทบตอความแปรปรวนของสภาพภูมอิ ากาศ และเกิดปญหาสิง่ แวดลอมเพิม่ ขึน้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) มีวตั ถุประสงคใหประเทศไทยยกระดับมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดลอมใหดขี นึ้ กวาเดิม โดยการ ปกปอง ฐานทรัพยากร เพือ่ รักษาความอุดมสมบูรณของฐานทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะการดูแลทรัพยากร หลัก ไดแก ดิน นํา้ ปาไม การปองกันภัยพิบตั ิ รวมทัง้ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ เพือ่ ลดมลพิษและควบคุมกิจกรรมทีจ่ ะสงผล กระทบตอคุณภาพชีวิต สถานการณหมอกควันในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน พบวาในป 2555 ปญหาหมอกควันรุนแรงที่สุดนับจากป 2550 ที่ อําเภอ แมสาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งมีคา PM10 สูงถึง 470.8 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2555 และพบวาในปที่ผานมาจังหวัด แพร คา PM10 ไมเคยสูงเกิน 120 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร แตในป 2555 นี้ พบวาสูงเกินคามาตรฐานเปนอยางมาก จนไมสามารถ ควบคุมได และเปนที่นาสังเกตวาเริ่มมีการเผาตั้งแตเดือนกุมภาพันธ ในขณะที่ปผานๆ มาจะเริ่มเผาในเดือนมีนาคม เนื่องจากผลกระทบ ของลานีญาซึ่งจะทําใหฤดูฝนมาเร็ว ชาวบานจึงเรงทําการเผากอน *

นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

10

www.deqp.go.th No. 22 February 2013


ติดตามเฝาระวัง

GREEN RESEARCH

การศึกษาผลกระทบของปญหาหมอกควันตอสุขภาพ ยัง ทําการศึกษาไดไมเต็มที่เพราะมีสารหลายชนิดมากและยังขาดการ ประเมินทางดานเศรษฐศาสตร ใหกับผูกําหนดนโยบายเพื่อศึกษา วาการลงทุนในการกําจัดหมอกควันตองลงทุนเทาใดและการลงทุน นั้นสามารถปองกันการเจ็บปวยของประชาชน ความเสียหายตอ สิ่งแวดลอม ความเสียหายตอการทองเที่ยวอยางไรและศึกษาวามี ความคุม คากับการลงทุนมากนอยเพียงใดและการวิจยั เพือ่ ศึกษาวา ปญหาหมอกควันสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอะไรบาง สรางความ เสียหายใหกบั ระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพอยางไร และ ประเด็นการมีสวนรวมของประชาชนก็มีความสําคัญจะตองทําให ประชาชนรูสึกวาชุมชนเปนเจาของปาจะไดชวยดูแลรักษาปา เชน การออกโฉนดปาชุมชนทีต่ อ งการการผลักดันตอไป การวิเคราะหถงึ สาเหตุของการเผาประเด็นตางๆ นอกจากการปลูกขาวโพดซึง่ มีการ วิจัยอยูพอสมควร เชนการเผาเพื่อตองการลาสัตว เพื่อตองการเห็ด เผาะหรือผักหวานซึง่ ตองการการวิจยั เพือ่ องคความรูเ พือ่ การแกไข ปญหาไดตรงประเด็น

ผลกระทบของหมอกควันที่มีตอระบบรางกายนั้น แบงได 2 ระยะ คือ ระยะเฉียบพลัน โดยจะมีผลตอตาและผิวหนัง และ ระยะเรื้อรัง จะมีผลตอระบบทางเดินหายใจและระบบหัวใจและ หลอดเลือดแดง ดังจะเห็นไดจากมีจํานวนผูปวยโรคหัวใจและปอด ทีเ่ ขารับการรักษาในโรงพยาบาลสารภีโดยปกติจาํ นวน 3-4 ราย แต เมือ่ เกิดวิกฤตหมอกควัน จํานวนผูป ว ยดังกลาวสูงขึน้ เปน 10 ราย ใน แผนกฉุกเฉินและจะสงผลในระยาว ทําใหอัตราการปวยดวยมะเร็ง ปอดสูงขึน้ และยังพบผูป ว ยดวยโรคตางๆ ดังนี้ ตอเนือ้ ตากุง ยิง แสบ คอ ถุงลมโปงพองกําเริบ และมีอาการไอ เปนตน จากสถิตกิ ารปวยใน ชวงวิกฤตหมอกควัจะพบวามีผูปวย ทางเดินหายใจเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือระบบหัวใจและตา ตามลําดับ และในป 2555 นีม้ ผี ปู ว ย ดวยระบบทางเดินหายใจสูงมาก

No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

11


GREEN RESEARCH

ติดตามเฝาระวัง

ถานการณหมอกควันในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน พบวาในป 2555 ปญหาหมอกควันรุนแรงที่สุดนับ จากป 2550 ที่ อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งมีคา PM10 สูงถึง 470.8 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร เมื่อ วันที่ 21 มีนาคม 2555 และพบวาในปที่ผานมาจังหวัดแพรคา PM10 ไมเคยสูงเกิน 120 ไมโครกรัม/ลูกบาศก เมตร แตในป 2555 นี้ พบวาสูงเกินคามาตรฐานเปนอยางมาก จนไมสามารถควบคุมได ”

การเผาในทีโ่ ลง เปนแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศหลัก แหลง หนึง่ ทีก่ อ ใหเกิดสารมลพิษทางอากาศไดแก กาซตางๆ ทีเ่ กิดจากการ เผาไหม เชน กาซคารบอนมอนนอกไซด กาซไนโตรเจนไดออกไซด สารอินทรียระเหย รวมทั้งฝุนละออง ควัน เถา เขมา ซึ่งลวนแตมีผล กระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชนทัง้ สิน้ กอใหเกิด ความเดือดรอน รําคาญและเปนสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ โดยเฉพาะการเผาหญา ขยะ ริมทางหลวง นอกจากนีก้ ารเผาในทีโ่ ลงเปนสาเหตุหนึง่ ทีท่ าํ ให เกิดไฟปาเผาไหม แหลงทรัพยากรธรรมชาติ การเผาในทีโ่ ลงเกิดจาก กิจกรรมหลัก คือการเผาในชุมชน การเผาเศษวัสดุ ซากพืช เศษพืช ในทางการเกษตร การเผาปา ซึง่ ไฟปา เปนปญหาสําคัญทีส่ รางความ 12

www.deqp.go.th No. 22 February 2013

เสียหายใหกบั พืชในปา ซึง่ ไฟปาเปนปญหาสําคัญทีส่ รางความเสียหาย ตอสภาพแวดลอม แลวยังคงนําความสูญเสียตอเศรษฐกิจและระบบ นิเวศโดยรวมของโลกอีกดวย และยังนําไปสูความแปรปรวนของ ภูมิอากาศในรูปแบบของความแหงแลง ฝนและความหนาวเย็น และเกิดพายุหมุนเขตรอน ในปที่ผานมาประเทศไทยและประเทศ ในภูมิภาคอาเซียนไดเผชิญกับปรากฏการณดังกลาวทําใหเกิด ปญหา นํ้าทวม เกิดสถานการณความแหงแลง อุณหภูมิสูงขึ้นสงผล ใหเกิดไฟปารุนแรงตามมา และในป 2556 นี้ เปนชวงของการเกิด ปรากฏการณเอลนิโญ (EL Nino) ดังนั้นควรมีการเฝาระวังและ ติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอยางตอเนื่อง


ติดตามเฝาระวัง

GREEN RESEARCH

ถึงแมวา ปญหาหมอกควันจะเปนปญหาระดับภูมภิ าค แตควร แกไขปญหาดังกลาวที่ประเทศไทยกอน ซึ่งสามารถจะใชแนวทาง การแกไขปญหาของประเทศไทยไปเปนตัวอยางที่ดีใหกับประเทศ เพื่อนบานนําไปแกไขปญหาที่ประเทศของเขาได ปจจุบันองค ความรูในการแกไขปญหาหมอกควันยังคงมีชองวางอีกหลายๆ ประเด็น ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อเติมเต็มในสวนที่ขาดหายเพื่อที่ จะสามารถนําองคความรูนั้นๆ ไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพและ ควรมีการกําหนดนโยบายเพื่อการแกไขปญหาหมอกควันในระดับ ยอยๆ ดวย เพื่อใหการขับเคลื่อนนโยบายในระดับประเทศดําเนิน ไปไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การกําหนดให อบต. ตองรายงาน การแกไขปญหาหมอกควันสงใหจงั หวัดทุกๆ เดือน เพือ่ ทีจ่ ะไดเปน ขอมูลเชิงประจักษและเปนขอมูลพื้นฐานของชุมชน ทั้งการจัดสรร งบประมาณเพื่อจัดทํากิจกรรมเพื่อการแกไขปญหาหมอกควัน ของชุมชนหรือการลด การเผา เพื่อเปนทางเลือกใหกับชุมชนที่มี ความพรอมสามารถดําเนินกิจกรรมในการแกไขปญหาหมอกควัน โดยการมีสวนรวมของชุมชน โดยนักวิชาการอาจจะทําหนาที่เปน พีเ่ ลีย้ ง เพือ่ กระตุน ในเรือ่ งการมีจติ สํานึกซึง่ จะทําใหไดขอ มูลพืน้ ฐาน ในการดํ า เนิ น กิ จ กรรมการลดการเผาในระดั บ ชุ ม ชนและอาจ ถายทอดไปใหชมุ ชนอืน่ ๆ ทีส่ นใจนําไปใชในการพัฒนาชุมชนตอไป และในสวนของภาครัฐจึงจําเปนตอการมีบทบาทสําคัญในการแกไข ปองกันปญหาดังกลาวและตองอาศัยความรวมมือของชุมชนทองถิน่ ใหมีสวนรวมในการแกไขปญหา เนื่องจากพื้นที่แตละพื้นที่มีปญหา ที่แตกตางกัน การแกไขปญหา จึงตองปรับใหมีความเหมาะสมกับ พื้นที่ นั้นๆ อาศัยภูมิปญญาทองถิ่น ขอระเบียบ กฎระเบียบชุมชน และนําขอเสนอแนะของชุมชน นัน้ ๆ มาปรับใช หากชุมชนตระหนัก และรวมแรงรวมใจกันแกไขปญหาที่เหมาะสมกับชุมชนของตนเอง การแกไขปญหายอมประสบความสําเร็จและมีความมั่นคงยั่งยืน No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

13


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

จมูกอิเล็กทรอนิกส คืออะไร.... ใชงานอยางไร วรรณา เลาวกุล* และ สิรพัฒน ประโทนเทพ**

การรับรูกลิ่นของมนุษย

มูกอิเล็กทรอนิกสสามารถวิเคราะหกลิ่นในสิ่งแวดลอม ไดคลายเซลลประสาทรับกลิ่นในจมูกมนุษย โดยมี มอเตอรพดั ลมดูดไอระเหยใหเขาไปจับกับตัวแผงเซ็นเซอร รับกลิ่นซึ่งทํามาจากสารกึ่งตัวนําโลหะออกไซด เพื่อดูคา ความตานทานของเซ็นเซอรแตละชนิดที่เปลี่ยนแปลงไป ระหวางกอนและหลังดมกลิ่น คาความตานทานจะถูก ประมวลผลตอดวยระบบสถิติ หรือระบบใยประสาทเทียม เปรียบไดกับสมองของมนุษย เพื่อแยกประเภทของกลิ่น ในรูปแบบกราฟแทงเปนรูปแบบจํากัดความทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ เชน กลิ่นจากบอบําบัดนําเสีย กลิ่นจากฟารมหมู เปนตน

จมูกเปนอวัยวะรับความรูสึกเกี่ยวกับกลิ่น การรับกลิ่นเปนการรับรู สัญญาณทางเคมีแลวเปลี่ยนเปนสัญญาณประสาทสงเขาสูระบบประสาท สวนกลาง บริเวณรับกลิน่ เปนบริเวณทีม่ กี ารดมกลิน่ อยูท สี่ ว นบนและดาน หลังของจมูกทั้งซายและขวา บริเวณรับกลิ่นดานบนจะมีเยื่อบุซ่ึงมีเซลล ประสาทรับกลิน่ ฝงอยูป ระมาณ 60 ลานเซลล การรับกลิน่ เปนการทํางาน ที่ซับซอนระหวางจมูกและสมองสวนหนาบริเวณที่เรียกวา ออลแฟกทอรี่ บัลบ (Olfactory bulb) เพือ่ สงตอสัญญาณไปยังสมองสวนซีรบี รัมใหแปล ขอมูลวาเปนกลิ่นอะไร หอมหรือเหม็น กลาวโดยสรุป ระบบรับรูกลิ่นของ มนุษยประกอบดวย (1) สวนรับกลิ่นรวมถึงตัวรับกลิ่นและระบบนํากลิ่น เขามา (2) ระบบนําสัญญาณประสาทรวมถึงระบบสงและขยายสัญญาณ (3) ระบบประมวลผลจะสามารถแยกแยะและจดจํากลิ่นได

นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม ภาควิชานาโนเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

*

**

14

www.deqp.go.th No. 22 February 2013


กาวหนาพัฒนา

GREEN RESEARCH

ออลแฟกทอรีบัลบ โพรงจมูก

อากาศ เสนประสาทรับกลิ่น

เบซัลเซลล

ใยประสาท

กระดูกกระโหลกศรีษะ

เซลลประสาทรับกลิ่น เยื่อบุโพรงจมูก เซลลคํ้าจุน ขน ชั้นเมือก

โมเลกุลของสาร

การตรวจวัดกลิ่น กระทรวงอุตสาหกรรม ไดมกี ฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานและ วิธีการตรวจสอบกลิ่นในอากาศจากโรงงาน พ.ศ. 2548 โดยวิธีการ แตงตั้งคณะกรรมการทดสอบกลิ่นดําเนินการตรวจวัดคาความเขม กลิน่ ดวยวิธกี ารดมกลิน่ ซึง่ เปนการหาคา Threshold หรือคาความ เขมขนตํา่ สุดของสารมีกลิน่ ทีท่ าํ ใหคนในกลุม ประชาชนจํานวนรอย ละ 50 รูสึกเริ่มไดกลิ่น แบงออกเปน 2 ชนิด (1) ความเขมขนตํ่าสุด ของสารมีกลิ่นที่ทําใหรอยละ 50 ของกลุมตัวอยางที่ทดสอบมีการ ตอบสนองของประสาทการรับกลิน่ (2) คาความเขมขนตํา่ สุดทีผ่ รู บั กลิ่นจะมีความรูสึกจํากลิ่นที่มีลักษณะเฉพาะตัวในเชิงคุณภาพได โดยปกติจะใชคาที่ทําใหรอยละ 50 ของกลุมตัวอยางสามารถรูสึก จดจํากลิ่นเฉพาะตัวได อยางไรก็ตามโรงงานที่กําหนดภายใตกฎ กระทรวงสวนใหญเปนโรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับอาหาร สัตว ผลิตภัณฑทางการเกษตรและกิจการเกี่ยวกับสัตวนํ้า เปนตน ไมมีโรงงานประเภทปโตรเคมีหรือโรงงานผลิตสารเคมี เนื่องจากมี ขอจํากัดเรื่องความเสี่ยงตอสุขภาพของผูดมกลิ่น

ขอจํากัดของวิธีดมกลิ่น การตรวจวัดโดยวิธีการดมกลิ่น มีขอจํากัดในเรื่องจมูกของ แตละบุคคลมีความไวตอการรับรูกลิ่นแตกตางกัน ความสามารถ ในการบงบอกชนิดของกลิ่นไมคงที่และการเลือกคุณสมบัติของคน ทดสอบที่จะตัดสินวาไดรับกลิ่นหรือไม จะตองเปนคนที่มีประสาท รับกลิน่ เปนปกติ จะตองไมเปนคนทีม่ คี วามไวตอกลิน่ เปนพิเศษ หรือ ขาดความสามารถในการดมกลิน่ สุขภาพของผูท ดสอบจะตองแข็งแรง ไมเปนภูมิแพหรือไมมีปญหาเรื่องระบบทางเดินหายใจ ตองไม สระผมดวยแชมพูที่มีกลิ่นแรง ตองไมใชนํ้าหอม ไมใชแปงที่มีกลิ่น หรือเครื่องประทินผิวที่มีกลิ่นหอม ตองไมสูบบุหรี่ในขณะทดสอบ กลิ่น ตองไมรับประทานอาหารที่มีรสจัด ตองไมสวมใสเสื้อผาทํา จากวัสดุที่มีกลิ่น เชน หนังสัตว เปนตน และมีขอจํากัดจากปจจัย กระตุนภายนอก เชน สภาพอากาศ อารมณของผูทดสอบ นอกจากนี้ จมูกมนุษยมขี อ จํากัดทีไ่ มสามารถดมกลิน่ ทีม่ นี าํ้ หนักโมเลกุลสูง รวม ทั้งกาซพิษหลายๆ ชนิด เชน คารบอนมอนนอกไซด เปนตน อีกทั้ง การระบุกลิ่นก็ไมเที่ยงตรง ที่สําคัญที่สุดคือ ไมสามารถระบุกลิ่นใน เชิงปริมาณได รูเพียงวากลิ่นแรงหรือออนๆ เทานั้น ดังนั้นจึงเกิด แนวคิดเชิงวิศวกรรม สรางอุปกรณที่เรียกวา จมูกอิเล็กทรอนิกส (Electronic Nose) ขึ้นมา โดยการเลียนแบบระบบรับรูกลิ่นของ จมูกมนุษย No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

15


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

จมูกอิเล็กทรอนิกส (Electronic nose, E-Nose) จมูกอิเล็กทรอนิกส หรือ Electronic nose หรือ E-nose นักวิจัยบางทานเรียกวา จมูกประดิษฐ หรือ อุปกรณตรวจวัดกลิ่น แบบอัตโนมัติ ประกอบดวย (1) สวนรับกลิ่น ประกอบดวย มอเตอรดูดอากาศ และ เซ็นเซอรรับกลิ่นจํานวนมาก ตั้งแต 4 ตัวขึ้นไป ซึ่งเซ็นเซอรแตละ ตัวมีความไวหรือการตอบสนองตอสารเคมีระเหยไมเทากัน เมือ่ การ ตอบสนองไมเหมือนกัน เซ็นเซอรแตละชนิดจึงสงสัญญาณไฟฟา ออกไปตางกัน ความแตกตางของสัญญาณไฟฟาทําใหเกิดรูปแบบ สัญญาณไฟฟาเฉพาะ เมื่อเปลี่ยนชนิดสารเคมีที่ใหกลิ่นใหมก็จะได ชุดสัญญาณไฟฟาเฉพาะอีกแบบทีต่ า งกัน โดยสามารถใชซอฟตแวร

บันทึกและจัดเก็บรูปแบบสัญญาณไฟฟาตางๆไวในหนวยความจํา เพือ่ ใชเปนขอมูลอางอิงในการประมวลเพือ่ จําแนกกลิน่ ตอไป (Scott Vu, 2006, Nectec, บุญรักษ) (2) สวนรวบรวมสัญญาณ ทําการแปรสัญญาณจากเซ็นเซอร (Transducing) และทําการจัดการสัญญาณ (Signal Conditioning) เชน ลดสัญญาณรบกวน จากนัน้ ก็จะแปลงสัญญาณจากอนาล็อกให เปนดิจิตอล (3) สวนประมวลผล เลียนแบบการทํางานของสมองอาศัย ระบบวิเคราะหทางสถิติ เชน Principal Component Analysis หรือ PCA เพื่อจําแนกลักษณะรูปแบบหรือแพทเทิรนของกลิ่นที่ ตองการวัด

ตัวอยางเซ็นเซอรรับกลิ่นประเภท Metal Oxide Semiconductor ที่มีขายในทองตลาด แหลงที่มา : http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/ เมื่ อ ป ค.ศ. 1982 ได เริ่ ม มี ก ารพั ฒ นาจมู ก อิเล็กทรอนิกส เพื่อตรวจสอบและจดจํากลิ่นหรือกาซ ตางๆ ไดคลายการทํางานของจมูกมนุษย และมีการพัฒนา จมูกอิเล็กทรอนิกสอยางตอเนื่อง เชนพัฒนารูปแบบของ เซ็นเซอร (Sensor design) ปรับปรุงวัสดุที่ใช พัฒนา ซอฟตแวร (Software innovation) เพื่อนําไปใชใน อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมผลิตยา อุตสาหกรรมผลิตเครือ่ งสําอาง นํา้ หอม อุตสาหกรรมเครือ่ ง หนัง นอกจากนีน้ าํ ไปใชทางดานการเกษตร ดานการแพทย ดานการทหาร และดานสิง่ แวดลอม เปนตน (Alphus D.W. แหล ง ที่ ม า: http://www.nanotec.or.th/th/wp-content/ และคณะ, 2009, Lav R. K. และคณะ, 2010) จุดเดนของ การใชจมูกอิเล็กทรอนิกสเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีวิเคราะห uploads/2010/12/pic-1.jpg องคประกอบทางเคมีวิธีอื่น คือ เปนอุปกรณใชงาย รูผล การตรวจเร็ว และบอกขอมูลเชิงคุณภาพของกลิ่นที่สนใจ ไดถูกตอง (Fuchs S.และคณะ, 2008) 16

www.deqp.go.th No. 22 February 2013


กาวหนาพัฒนา

หัวใจของจมูกอิเล็กทรอนิกส คือ การประมวลผลจําแนกกลิ่น ที่มีชนิดตางๆกันไป โดยการวัดซํ้าเพื่อใหครอบคลุมการกระจายตัว ของขอมูล การวิเคราะหเชนนีเ้ ปนการเลียนแบบสมองมนุษยในการ วิเคราะหกลิ่น โดยการจําแนกตามความแตกตางของรูปแบบหรือ แพทเทิรนการตอบสนองของเซ็นเซอรที่ตางกันไป เทคนิคที่นิยมใช กันมาก คือ เทคนิค Principal Component Analysis ซึ่งสามารถ ใชจําแนกกลุมขอมูลโดยการลดจํานวนตัวแปรการตอบสนองจาก เซ็นเซอรหลายชนิด โดยผลการตอบสนองของเซ็นเซอรชนิดตางๆ ประมวลรวมเปนดัชนีใหม โดยอาศัยการคํานวณเชิงเมตริกซ การ ที่จมูกอิเล็กทรอนิกสจะจําแนกกลิ่นวาเปนประเภทใดได จะตองมี การฝกโดยการเก็บรูปแบบหรือแพทเทิรน การตอบสนองของระบบ จมูกอิเล็กทรอนิกสตอไอสารระเหยนั้นๆ เพื่อเปนการจดจํากลิ่นใน ลักษณะฐานขอมูล อยางไรก็ตามฐานขอมูลจะแตกตางจากฐาน ขอมูลของเทคนิคอื่น คือ การเก็บฐานขอมูลของจมูกอิเล็กทรอนิกส จะเปนฐานขอมูลเฉพาะเครือ่ งนัน้ เนือ่ งจากเซ็นเซอรแตละตัวอาจจะ ตอบสนองตอไอระเหยไดไมเทากัน ทําใหเกิดรูปแบบการตอบสนอง แตกตางกันไป ไมสามารถนําฐานขอมูลขามใชระหวางเครื่อง ซึ่งจะ ตองมีการพัฒนาในสวนนี้ตอไป ในภาพรวม จมูกอิเล็กทรอนิกสจะพยายามเลียนแบบธรรมชาติ ในแทบทุกดาน ยกตัวอยาง เวลาที่เราดมกลิ่นอะไรนานๆ จะเกิด ความเคยชินและอาจไมรูสึกถึงกลิ่นนั้นๆในระยะเวลาหนึ่ง เชน ถา เราเดินเขาไปในหองทีม่ กี ลิน่ สีแลวนัง่ อยูส กั พัก เพือ่ นทีเ่ ดินเขามามัก จะถามวา นั่งอยูไดยังไงเหม็นสีจะตาย ทั้งๆที่เราก็ไมไดกลิ่นเลย แต ถาเราเดินออกมาสูดอากาศขางนอกสักพักแลวเดินกลับเขาไปใหม เราก็จะไดกลิน่ สีอกี จมูกอิเล็กทรอนิกสกจ็ ะมีอาการเชนเดียวกัน ถา

GREEN RESEARCH

เราเอาจมูกอิเล็กทรอนิกสมาดมกลิ่นทุเรียนแลวเอาไปดมกลิ่นไวน ทันที จมูกอิเล็กทรอนิกสกอ็ าจจะไมสามารถรับรูก ลิน่ ไวนไดดี เนือ่ ง มาจากโมเลกุลกลิน่ ทุเรียนไดเขาไปจับตัวเซ็นเซอรทาํ ใหเซ็นเซอรไม สามารถจับกับโมเลกุลกลิ่นอื่นๆที่เขามาใหมได จึงตองมีวิธีการไล กลิ่นเดิมออกไปดวยการเปาอากาศเขาไปที่ตัวเซ็นเซอร นอกจาก นัน้ จมูกอิเล็กทรอนิกสกเ็ หมือนจมูกมนุษยทตี่ อ งการการเรียนรูห รือ จดจํากลิ่น ตอนที่เราเกิดมานั้นเราแทบไมมีขอมูลของกลิ่นอยูเลย ในสมองของเรา เราตองเรียนรูตั้งแตเด็กๆวาทุเรียนมีกลิ่นอยางไร สตรอเบอรีมกี ลิน่ อยางไร จมูกอิเล็กทรอนิกสกเ็ ชนเดียวกันทีต่ อ งการ การฝกฝน เพื่อใหสามารถจดจําแยกแยะกลิ่นได (ธีรเกียรติ์, 2005)

ประโยชนของจมูกอิเล็กทรอนิกส ประโยชนของจมูกอิเล็กทรอนิกส ใชเปนอุปกรณในการจดจํา และแยกแยะกลิ่น สามารถนําไปใชประโยชนในหลายวงการ ดังนี้ (1) ใชในอุตสาหกรรมอาหาร โดยมีผลงานตีพิมพในวารสาร นานาชาติ จํ า นวนมากที่ ร ะบุ ก ารนํ า จมู ก อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ไ ปใช ประโยชน ซึ่งถือเปนงานประยุกตที่ใชกันมากที่สุดในขณะนี้ โดย ตรวจวิเคราะหคุณภาพ การจําแนกชนิด ของแท/ของปลอมของ อาหารและเครื่องดื่ม ใชตรวจสอบไดทั้งอาหารสดและอาหารแหง เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการบริโภค เชน การวัดความสดของปลา และเนื้อ การตรวจสิ่งปนเปอนในเนื้อไก การวัดความสุกและตรวจ คุณภาพของมะเขือเทศ แอปเปล กลวย สตรอเบอรี พีช บลูเบอรรี การตรวจคุณภาพของนํา้ มันพืช การตรวจคุณภาพไวน การวิเคราะห รสชาติไวนปตางๆ การตรวจคุณภาพนม การวิเคราะหกาแฟ และ เครื่องดื่ม ใชในอุตสาหกรรมอาหาร ทั้งกอน ระหวาง และหลัง กระบวนการแปรรูป ยกตัวอยางเชน ความสดของผัก ผลไม หรือเนือ้ No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

17


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

สัตว หรือความสุกดิบของผลไม ก็จะมีกลิน่ ตางกัน ชนิดหรือสายพันธุ ของผัก ผลไม ก็มีกลิ่นตางกัน เชน ขาวหอมมะลิจะมีกลิ่นเฉพาะตัว ใชในอุตสาหกรรมการสงออกอาหารทะเล โดยการนําไปตรวจสอบ ความสดของกุงหรืออาหารทะเลชนิดตางๆ ใชวัดการบูดหรือเนา เสียในอาหาร เชน ใชในอุตสาหกรรมขนมขบเคี้ยว ดวยการตรวจ หากลิ่นที่ไมตองการ เชน กลิ่นหืน กลิ่นเนาเสียที่อาจเกิดระหวาง กระบวนการเก็บรักษา หรือแมแตการใชติดตามดูการเปลี่ยนแปลง ระหวางกระบวนการหมัก เปนตน (NECTEC และบุญรักษ) (2) การติดตามควบคุมคุณภาพระบบผลิตอาหาร โดยจมูก อิเล็กทรอนิกสสามารถนําไปติดตัง้ ในกระบวนการผลิต เชน ถังหมัก ถังผสม เปนตน ซึ่งจะทําใหสามารถควบคุมคุณภาพแบบออนไลน โดยขณะนี้อุตสาหกรรมอาหารในยุโรปเริ่มมีการนําไปใชแลว (3) การควบคุมคุณภาพนํ้าหอม ปจจุบันเริ่มมีการนําจมูก อิเล็กทรอนิกสเขามาใชควบคูก บั นักดมนํา้ หอมเพือ่ ควบคุมสูตรและ กระบวนการผลิตนํ้าหอมของบริษัทในยุโรปแลว (4) การวินิจฉัยโรค เชน การใชจมูกอิเล็กทรอนิกสวิเคราะห กลิ่นปสสาวะของผูปวยโดยตรง หรืออาจใชดมกลิ่นลมหายใจ นอกจากนั้นยังสามารถทําเปนเครือขายเฝาระวังเชื้อโรคในฟารม ปศุสัตวขนาดใหญ (5) เปนระบบสัมผัสของหุนยนต ในขณะนี้ไดมีความสนใจใน เรือ่ งหุน ยนตเปนอยางมาก จมูกอิเล็กทรอนิกสจะเปนระบบสัมผัสอีกอยาง ที่หุนยนตตองมี ปจจุบันมีผูวิจัยใหหุนยนตลองเดินตามกลิ่นไดแลว

(6) การตรวจและเก็ บ กู  วั ต ถุ ร ะเบิ ด จมู ก อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส สามารถฝกใหตรวจจับวัตถุระเบิดได เชนเดียวกับสุนัขดมกลิ่น โดย ปจจุบันมีกลุมวิจัยและบริษัทรวมทั้งสถาบันวิจัยกองทัพเรือสหรัฐ ใหความสนใจในการนําจมูกอิเล็กทรอนิกสไปเก็บกูท นุ ระเบิดสังหาร บุคคล (Land mines) หลักการในการตรวจวัตถุระเบิดก็คือการหา กลิ่นของสารที่ระเหยออกมาจากระเบิด เชน สารทีเอ็นที (Trinitrotoluene) สารอารดีเอ็กซ (Trinitrotriazocyclohexane) (7) การหาตรวจยาเสพติด (8) การตรวจสอบสิ่ ง แวดล อ ม โดยการติ ด ตั้ ง จมู ก อิเล็กทรอนิกสเปนเครือขายในอาคารเพื่อตรวจวัดคุณภาพอากาศ การติดตั้งใกลแหลงขยะและฟารมปศุสัตวเพื่อควบคุมกลิ่น หรือใช เปนเครือขายเซ็นเซอรตรวจวัดคุณภาพแหลงนํ้า สําหรับงานดาน สิ่งแวดลอม ภาควิชานาโนเทคโนโลยี พระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังไดพัฒนา จมูกอิเล็กทรอนิกสสําหรับตรวจวัดสารพิษในสิ่งแวดลอม ตรวจวัด โลหะหนัก เปนตน นอกจากนี้ ศูนยวจิ ยั และฝกอบรมดานสิง่ แวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมไดรวมกับภาควิชานาโนเทคโนโลยี พระจอมเกลาลาดกระบัง นําจมูกอิเล็กทรอนิกสมาประยุกตใชใน โครงการศึกษาปญหากลิน่ บริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และ ปญหากรณีรองเรียนการลักลอบนํากากของเสียมาทิ้งในบริเวณ ตําบลหนองแหนและเกาะขนุน จังหวัดฉะเชิงเทรา

ตรวจวัดกลิน่ ดวยจมูกอิเล็กทรอนิกสแบบ Real-timeควบคูก บั ชุดตรวจ วัดสารอินทรียระเหยงายแบบอัตโนมัติและตามวิธีมาตรฐาน จมูกอิเล็กทรอนิกส 18

www.deqp.go.th No. 22 February 2013


กาวหนาพัฒนา

GREEN RESEARCH

หมายเหตุ : ชวงที่ 1 สาร 1-2 Dichloroethane ชวงที่ 2 สาร Dicrhloromethane ชวงที่ 3 สาร Benzene ชวงที่ 4 สาร Toluene Ref คือชวง Reference รูปแบบกลิ่นสารอินทรียระเหยงาย

เอกสารอางอิง [1] บุญรักษ กาญจนวรวณิชย ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. รูจัก กับจมูกอิเล็กทรอนิกส. (ออนไลน) Available from http://www. neutron. rmutphysics.com [2] NECTEC. จมูกอิเล็กทรอนิกส. (ออนไลน) Available from http://www. nectec.or.th [3] Scott Vu. 2006. Electronic Noses What, How, and Why? [4] ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ ภาควิชาฟสิกส และ หนวยสรางเสริมศักยภาพทาง นาโนศาสตร คณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล (ออนไลน ) Available from http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/ [5] Alphus D.Wilson and Manuela Baietto. 2009. Applications and Advances in Electronic- Nose Technologies. Sensors 9, 50995148; doi:10.3390/s90705099. [6] Lav R.K., Suranjan P. and Partha S. 2010. Development and Evaluation of Chemoresistive Polymer Sensors for Low Concentration Detection of Volatile Organic Compounds Related to Food Safety Applications. Sens.&Instrumen. Food Qual. 4: 20-34. [7] Fuchs S., Strobel P., Siadat M. and Lumbreras M. 2008. Evaluation of Unpleasant Odor with a Portable Electronic Nose. Materails Science &Engineering C. 28:949-953.

No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

19


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

¨Ò¡à¤Ã×Í¢‹Ò¹ѡÇÔ¨ÑÂÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ................

ÊÙ‹ÊÁѪªÒ¹Ñ¡ÇԨѴŒÒ¹ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ จินดารัตน เรืองโชติวิทย* พีรายุ หงษกําเนิด**

ากกระแสการเปลีย่ นแปลงของโลกรวมถึงประเทศไทยทีม่ กี ารพัฒนาอยางกาวกระโดด มีอตั ราการเติบโตของอุตสาหกรรม เพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็ว ควบคูไ ปกับอัตราการขยายตัวของชุมชนเมืองทีเ่ พิม่ ขึน้ เปนเงาตามตัว ตางมุง พัฒนาไปในทิศทางทีจ่ ะ เอาชนะธรรมชาติเพื่อใชประโยชนสุขในระยะสั้น และสนองตอบความตองการอยางไรขอบเขต เกิดการใชสอยทรัพยากรธรรมชาติที่ โหมกระหนํา่ อยางขาดความรับผิดชอบ สงผลกระทบตอระบบนิเวศกอใหเกิดความเสือ่ มโทรมทางสิง่ แวดลอมอยางรุนแรง เกิดปญหา ความขาดแคลนของทรัพยากรธรรมชาติ และขยายวงกวางขึ้นกลายเปนปญหาไรพรมแดน มีความซับซอนมากขึ้นทั้งสาเหตุและ ผลกระทบดังเชนทีป่ รากฏอยูใ นปจจุบนั ไมวา จะเปนปญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ปญหาขยะมูลฝอยลนเมือง ปญหาหมอกควัน เปนตน ถึงแมวาปญหาเหลานี้จะไดรับการยอมรับจากภาคีสมาชิกทั่วโลกวาเปนปญหาระดับชาติ และมีการจัดทําอนุสัญญาและพิธี สารตางๆ เพื่อบรรเทาปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น แตดวยสาเหตุของปญหาที่สลับซับซอน และตองอาศัยการแกไขที่หลากหลายมิติ จึงตองมีการบูรณาการจากหลายภาคสวน เพื่อการแกไขปญหาในระยะยาว ควบคูไปกับการพัฒนาที่มีความยั่งยืน นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม นักวิชาการสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

*

**

20

www.deqp.go.th No. 22 February 2013


กาวหนาพัฒนา การศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวม เปนแนวคิด การดําเนินโครงการวิจัยที่มุงเนนกระบวนการศึกษาวิจัยเพื่อการ แกไขปญหาดานสิ่งแวดลอม โดยเปดโอกาสใหทุกๆ ฝายที่มีสวน เกี่ ย วข อ งเข า มามี ส  ว นร ว มในการดํ า เนิ น โครงการวิ จั ย ซึ่ ง ต า ง จากในอดีตที่การดําเนินงานวิจัยนักวิจัยเจาของโครงการเพียง ผูเดียวที่มีบทบาทสําคัญ ดังนั้นกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม จึ ง ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การศึ ก ษาวิ จั ย ด า น สิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวม โดยเปดโอกาสใหมีการรวมตัวกัน ของภาคี เ ครื อ ข า ยที่ เ กี่ ย วข อ ง อาทิ เช น ภาคประชาสั ง คม ภาควิชาการ ภาคการเมือง และองคกรภาครัฐ และใหเขามามี บทบาทสําคัญในการคิดริเริ่มจัดทําโครงการวิจัย รวมกันคนหา ปญหาและสาเหตุที่แทจริงของปญหาสิ่งแวดลอมภายในชุมชน หรือในระดับพื้นที่ รวมตัดสินใจกําหนดความตองการและ รวมใน การดําเนินโครงการวิจยั และ/หรือเอือ้ เฟอ ประโยชนใหแกโครงการ และทายที่สุดตองรวมนําผลการศึกษาวิจัยไปใชประโยชนดวย ดังนั้น การศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวมจะเปนการพิจารณา ตัดสินใจ และรับผิดชอบในการแกไขปญหาสิง่ แวดลอมโดยชุมชนเอง ซึ่งยอมจะสามารถแกไขปญหาสิ่งแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดเปนรูปธรรมที่ชัดเจน สอดคลองกับบริบทของชุมชน โดยความ ตองการของชุมชน ทั้งยังเปนการเพิ่มศักยภาพใหแกชุมชนในการ เรียนรูผานกระบวนการวิจัยเพื่อที่จะใชเปนกลไกในการขับเคลื่อน การดูแลรักษาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ อยางยั่งยืนตอไป

GREEN RESEARCH

จากเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมสูสมัชชานักวิจัย ดานสิ่งแวดลอม

ในป 2556 กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม ไดมกี ารขับเคลือ่ น การส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การศึ ก ษาวิ จั ย ด า นสิ่ ง แวดล อ ม แบบมีสวนรวม ในชื่อของสมัชชานักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ทั้งนี้เพื่อ ใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีความคลองตัวมากขึน้ และขยายขอบเขตการดําเนินงานใหเปนรูปธรรมที่ชัดเจน โดย กลไกการดําเนินงานของสมัชชานักวิจัยสิ่งแวดลอมเปนไปเพื่อ สงเสริมการมีสวนรวมในการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่ เหมาะสมดานสิง่ แวดลอม โดยการสนับสนุนการจัดทําโครงการวิจยั แบบ บูรณาการ และการเปดพืน้ ทีส่ าธารณะในการแลกเปลีย่ นเรียนรูข อง นักวิจยั และนักวิชาการจากภาคสวนตางๆ ในสังคมเพือ่ ใหทกุ ฝายที่ เกีย่ วของไดมาแลกเปลีย่ นประสบการณ และคนหาทางออกรวมกัน อยางสมานฉันท ในประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมรวมที่แตละฝายให ความสําคัญ เพือ่ นําไปสูข อ เสนอเชิงนโยบายดานสิง่ แวดลอม อีกทัง้ ยังมีการจัดประชุมอยางเปนระบบและอยางมีสวนรวม ซึ่งเปน ชองทางหนึง่ ในการถายทอดองคความรู ขอมูลทางวิชาการ ผลการวิจยั ใหกบั ภาคประชาสังคมไดรบั ทราบขอมูลและนําไปใชประโยชน รวมทัง้ ใหภาคประชาสังคมมีสว นรวมในการแสดงความคิดเห็น อันจะนําไป สูการปองกันแกไขปญหามลพิษ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและเอื้อตอ การกอตั้งเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยศูนยวิจัยและฝกอบรม การพัฒนาในดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอยางยัง่ ยืนตอไป ดานสิ่งแวดลอม ในฐานะที่เปนหนวยงานหลักดานการวิจัยและ หลักการสําคัญของสมัชชานักวิจย ั ดานสิง่ แวดลอม พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการปองกันและควบคุมมลพิษ “กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ องคความรู และ รวมทั้งการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ไดจัดตั้งเครือขายนักวิจัย เทคโนโลยีในการจัดการสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวมของภาค สิ่งแวดลอมขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2552 โดยมีสมาชิกเครือขายประมาณ สวนตางๆ ในสังคม” ซึ่งเปนการเปดพื้นที่สาธารณะทางสังคม 900 คนกระจายอยูทั่วภูมิภาคของประเทศไทย รวมทั้งมีการจัดทํา อยางกวางขวางและหลากหลายภายใตประเด็นสิ่งแวดลอม เพื่อให โครงการวิจยั แบบบูรณาการภายใตเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอมกวา ทุกฝายมาพบปะ พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ และศึกษาวิจัย 17 โครงการ ตลอดจนมีการจัดเวทีใหสมาชิกเครือขายไดมีโอกาส ดานสิ่งแวดลอมรวมกัน ในประเด็นปญหารวมที่แตละฝายใหความ มาแลกเปลี่ยนองคความรู แลกเปลี่ยนประสบการณวิจัยซึ่งกันและ สําคัญและนําไปสูขอเสนอเชิงนโยบายและขอเสนอตอฝายตางๆ ที่ กันอยางสมํ่าเสมอ เกี่ยวของ ซึ่งขอเสนอนั้นอาจดําเนินการไดทันทีในระดับทองถิ่น No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

21


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

“ศูนยกลางการแลกเปลีย่ นเรียนรู และเชือ่ มโยงองคความรู งานวิจยั ดานสิง่ แวดลอม” โดยการเปดเวทีใหนกั วิจยั และผูท มี่ สี ว น เกี่ยวของไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน รวมทั้งการรวบรวม สนับสนุนขอมูลทางวิชาการและผลงานวิจัย “ผู  ถ  า ยทอดและเผยแพร ค วามรู  แ ละผลงานวิ จั ย ด า น สิ่ ง แวดล อ ม” เพื่ อ ให ป ระชาชนได รั บ รู  ป ระเด็ น ป ญ หาด า น สิ่งแวดลอมและแนวทางการแกไขปญหา รวมทั้งใหขอคิดเห็นและ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยดานสิ่งแวดลอม “ผูชวยเหลือและสนับสนุนการดําเนินงาน” โดยสนับสนุน ดานวิชาการ จัดหาแหลงทุนวิจยั ตลอดจนสนับสนุนผูเ ชีย่ วชาญดาน สิง่ แวดลอมเพือ่ ใหคาํ ปรึกษาทางวิชาการในการดําเนินโครงการวิจยั อยางมีประสิทธิภาพ สําเร็จลุลวงดวยดี และสามารถแกไขปญหา สิ่งแวดลอมอยางเปนรูปธรรม

ยุทธศาสตรการทํางาน การทํางานของสมัชชานักวิจัยสิ่งแวดลอมใชยุทธศาสตรเนน การมีสวนรวมทุกภาคสวน เพื่อขับเคลื่อนกระบวนการ และกลไก การดําเนินโครงการและกิจกรรมตางๆ รวมกันอยางสรางสรรค โดย ภาคสวนที่เกี่ยวของประกอบดวย ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ และภาคการเมือง/องคกรภาครัฐ กลไกการขับเคลื่อนสมัชชานักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ประกอบดวย 1. การเปดเวทีสาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูใหกับภาค สวนตางๆ ในสังคม ภายใตประเด็นสิ่งแวดลอมที่เปนปญหารวม ทีแ่ ตละฝายใหความสําคัญและนําไปสูข อ เสนอเชิงนโยบายและขอเสนอ ตอฝายตางๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งนําไปสูการกําหนดประเด็นปญหา งานวิจัย ซึ่งอาจมาจากสถานการณปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นใน พืน้ ที่ หรือระดับชาติ นอกจากนีป้ ระเด็นอาจมาจากความสนใจของ สังคม หรือนโยบายของรัฐ และแผนการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ แหงชาติ ในประเด็นดานสิ่งแวดลอม 2. การจัดทําโครงการวิจัยแบบบูรณาการภายใตสมัชชา นักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ทั้งนี้สมัชชานักวิจัยสิ่งแวดลอมจะใหการ สนับสนุนการดําเนินโครงการวิจยั ทัง้ ในดานวิชาการ จัดหาแหลงทุน และการใหคําปรึกษาทางวิชาการ ทั้งนี้ ในขั้นตน กรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอมไดประสานความรวมมือกับสํานักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ในการใหการสงเสริม สนับสนุน กระบวนการพัฒนาขอเสนอโครงการดานการจัดการ สิ่งแวดลอม และขอเสนอโครงการวิจัยของสมาชิกสมัชชานักวิจัย ดานสิ่งแวดลอม เพื่อที่จะนําไปใชขอรับการอุดหนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดลอมรวมทั้งในอนาคต กรมสงเสริมคุณภาพ สิง่ แวดลอม จะทําหนาทีก่ ลัน่ กรองโครงการวิจยั ทีจ่ ะขอรับการอุดหนุน งบประมาณวิจัยจากกองทุนสิ่งแวดลอม เพื่อที่จะสามารถพิจารณา ภาพรวมโครงการวิจัยไดอยางมีเอกภาพ ลดการซํ้าซอน และกอให เกิดการบูรณาการ โครงการวิจัยไดอยางแทจริง 3. การถายทอดองคความรู ผลงานวิจัย เพื่อใหภาคประชา สังคมและผูม สี ว นไดสว นเสียรวมรับทราบขอมูลแนวทางแกไขปญหา 22

www.deqp.go.th No. 22 February 2013

สิง่ แวดลอม และเพือ่ เปนการเผยแพรผลงานวิจยั ขอมูลทางวิชาการ และผลักดันใหมกี ารนําผลการวิจยั ไปใชประโยชนอยางเปนรูปธรรม 4. การติดตามประเมินผลการดําเนินโครงการ และกิจกรรม ของสมั ช ชานั ก วิ จั ย ด า นสิ่ ง แวดล อ ม ทั้ ง ในระหว า งการดํ า เนิ น โครงการและภายหลังการดําเนินโครงการ

ประโยชน ที่ ไ ด รั บ จากการดํ า เนิ น งานของสมั ช ชา นักวิจัยดานสิ่งแวดลอม 1. นโยบายสาธารณะด า นสิ่ ง แวดล อ มที่ พั ฒ นาจาก กระบวนการมีสวนรวมของภาคสวนที่เกี่ยวของ 2. องคความรู และเทคโนโลยีสงิ่ แวดลอมทีส่ ามารถนําไปใช ในการจัดการปญหาสิ่งแวดลอมในพื้นที่ไดจริง 3. กระบวนการพัฒนาศักยภาพนักวิจยั ดานสิง่ แวดลอมอยาง มีระบบ

การสมัครเขารวมเปนสมาชิกสมัชชานักวิจัยดาน สิง่ แวดลอม/เขารวมกิจกรรมภายใตสมัชชานักวิจยั ดานสิ่งแวดลอม สามารถดาวน โ หลดใบสมั ค รได ที่ www.deqp.go.th/ website/20/ และสงใบสมัครมาไดทางอีเมลล pr.ertc872@ gmail.com หรือ สงทางไปรษณียตามที่อยู: สวนความรวมมือ และเครือขายนักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดาน สิง่ แวดลอม เทคโนธานี ต.คลองหา อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 ทัง้ นี้ สมาชิกสามารถติดตามขาวความเคลือ่ นไหวของสมัชชา นักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ไดที่ www.deqp.go.th/website/20/


กาวหนาพัฒนา

GREEN RESEARCH

การบําบัดนํา้ เสีย ของหอพักรักษสงิ่ แวดลอม สุเทียบ ศรีลาชัย*, ชวลา เสียงลํ้า**, อนุพงษ ปุณโณทก**, กรณิการ ยิ่งยวด**, รุงอรุณ สุขสําราญ***, ชัชสกล ธนาดิลก*** และณชัย ชัยพงษนเรศ***

ความเปนมา หอพักรักษสงิ่ แวดลอมของศูนยวจิ ยั และฝกอบรมดานสิง่ แวดลอม มีการกอสรางมาแลวประมาณ 20 ป โดยมีจาํ นวน 2 หอ คือหอพัก รักษสิ่งแวดลอม 1 ที่มีจํานวนหองพักทั้งหมด 16 หอง เปนหองขนาดใหญ 8 หองและมีหองขนาดเล็กอีก 8 หอง ขณะนี้มีผูพักอาศัยอยู จํานวน 25 คน สวนหอพักรักษสิ่งแวดลอม 2 มีหองพักแบบขนาดเล็กทั้งหมด จํานวน 30 หองและมีผูพักอาศัยจํานวน 35 คน ซึ่งผูพัก อาศัยสวนมากจะอยูอาศัยในชวงวันทํางานปกติ และในชวงวันหยุดทําการ จะมีเจาหนาที่อาศัยอยูเพียงกึ่งหนึ่งของจํานวนทั้งหมด

หอพักรักษสิ่งแวดลอม 1

หอพักรักษสิ่งแวดลอม 2

นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม นักวิชาการสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม ***ผูชวยนักวิจัย ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

*

**

No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

23


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

การใชนํ้า ปริมาณการใชนํ้าเฉลี่ยของทั้งสองหอจะแตกตางกันเล็กนอย โดยหอพักรักษสิ่งแวดลอม 1 จะมีการใชนํ้าเฉลี่ยประมาณ 4 ลูกบาศกเมตรตอวันหรือประมาณ 160 ลิตรตอคนตอวัน ในขณะที่ หอพักรักษสิ่งแวดลอม 2 จะมีการใชนํ้าเฉลี่ยประมาณ 6 ลูกบาศก เมตรตอวันหรือประมาณ 170 ลิตรตอคนตอวัน โดยคาเฉลีย่ ดังกลาว อาจจะคอนขางตํ่ากวาคาเฉลี่ย 200 ลิตรตอคนตอวัน เนื่องจากจะ มีเจาหนาที่บางสวนไมอยูในชวงวันทําการ (กลางวัน) และวันหยุด ตามที่ไดกลาวมาแลวซึ่งโดยปกติตามเกณฑมาตรฐานอัตราการใช นํ้าประปามีคาเฉลี่ยปริมาณนํ้าประปาที่ประชากร 1 คน ใชใน 1 วันคือ 180 - 200 ลิตรตอคนตอวัน

รูปที่ 3 แผนผังระบบรวบรวมและ บําบัดนํ้าเสียของหอพักรักษสิ่งแวดลอม

การจัดการนํ้าเสีย นํ้าเสียที่เกิดจากหอพักรักษสิ่งแวดลอมทั้งสองแหง เกิดจาก กิจกรรมตางๆ ของผูพักอาศัย โดยนํ้าเสียในสวนนี้จะมีทอรวบรวม แยกจากแหลงแบงเปน 2 ประเภทคือ นํ้าสวม (Black water) และ นํา้ ใชทวั่ ไป (Grey water) โดยในอดีตทีผ่ า นมา หอพักทัง้ สองใชการ บําบัดโดยการใชถังบําบัดนํ้าเสียสําเร็จรูป (On-site) ซึ่งในบางครั้ง พบวาประสิทธิภาพในการบําบัดไมคอยดีเทาที่ควรเนื่องจากบาง สวนของระบบเกิดการชํารุดจากการใชงานที่ยาวนานและการทรุด ของดินที่ทําใหโครงสรางของระบบไมเหมาะสมที่จะบําบัด ดังนั้น ในป พ.ศ. 2554 หอพักทั้งสองแหงจึงไดปรับปรุงระบบบําบัดนํ้า เสียใหมเพื่อใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการบําบัดนํ้าเสียที่ เกิดขึ้นในแตละวัน โดยหอพักรักษสิ่งแวดลอม 1 ไดกอสรางระบบบําบัดนํ้าเสีย แบบบึงประดิษฐ (Constructed wetland) ป พ.ศ.2553 ซึ่งไดรับ งบประมาณสนับสนุนภายใตโครงการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีการ นํานํา้ กลับมาใชใหมในภูมภิ าคเขตรอน (Research and Development for Water Reuse Technology in Tropical Regions) สวนหอพักรักษสิ่งแวดลอม 2 ไดตดิ ตั้งระบบบําบัดนํ้าเสียชนิดเติม อากาศแบบมีตัวกลางยึดเกาะภายใตการสนับสนุนของโครงการ The project for capacity building of government authorities on decentralized wastewater treatment in Mekong region โดยในการดําเนินงานในสวนของทอรวบรวมนํา้ เสียนัน้ มีขอ กําหนด วาระบบรวบรวมนํ้าเสียจะตองอยูตํ่ากวาระบบรวบรวมนํ้าดี ซึ่งใน กรณีนคี้ อื ตองเดินระบบรวบรวมนํา้ เสียไวดา นลางรางรวบรวมนํา้ ฝน 24

www.deqp.go.th No. 22 February 2013

รูปที่ 4 หอพักรักษสิ่งแวดลอม 1 และ บอทดสอบเดินระบบบึงประดิษฐ

รูปที่ 5 ทดสอบเดินระบบแบบติดกับที่


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบบึงประดิษฐ ในการกอสรางระบบบึงประดิษฐไดมกี ารแบงการบําบัดนํา้ เสียขนานกัน 3 บอ โดยในแตละบอจะแบงเปนการไหลแบบใตดนิ สลับกับ ผิวดิน ซึ่งการไหลใตดินนั้นจะมีการปลูกพืชที่เหมาะสมสําหรับการบําบัดนํ้าเสียที่จะเขาสูระบบในบอที่ 1 มีพืชกกกลม และพืชอียิปต บอที่ 3 มีพชื ธูปฤาษี และพืชอเมซอน สวนบอที่ 2 จะเปนบอควบคุมโดยไมมกี ารปลูกพืช นํา้ ทีเ่ ขาระบบก็จะแบงเปน 3 สวน (สวนละประมาณ 1.0-1.5 ลูกบาศกเมตรตอวัน) ไหลเขาไปในระบบตามบอ 1-3 โดยขนาดของบอแตละบอจะมีขนาด 3 x 20 x 0.5 เมตร และเมื่อมีการ ใสดินและปลูกพืชบางสวนเขาไป จะทําใหแตละบอมีปริมาตรจริงประมาณ 12 ลูกบาศกเมตร ดังนั้น ระยะเวลาในการเก็บกักนํ้าในระบบ เพื่อการบําบัดนํ้าเสียจะมีเวลาประมาณ 8-10 วัน

รูปที่ 7 บอทดสอบเดินระบบบึงประดิษฐ

รูปที่ 6 บึงประดิษฐแบงเปน 3 บอ และจะไหลสลับบนดินกับใตดิน

ในการดูแลระบบบําบัดดังกลาว จะมีการตัดพืชที่ปลูกไวประมาณ 2 – 3 เดือนตอครั้ง ซึ่งจะขึ้นอยูกับความเหมาะสมและการเจริญ เติบโตของพืช ซึ่งจากการทดสอบเดินระบบและทําการเก็บและวิเคราะหคุณภาพนํ้าที่ผานการบําบัดแลว ผลการวิเคราะหดังแสดงใน แผนภูมิที่ 1 - 4 Suspended Solids 80 INF CH 01 CH 02 CH 03 Average Standard

60

mg/L

mg/L

BOD 140 120 100 80 60 40 20 0

40 20 0

8-SEP-11 8-OCT-11 8-NOV-11 8-DEC-11

8-JAN-12

8-FEB-12

8-SEP-11 8-OCT-11 8-NOV-11 8-DEC-11

แผนภูมิที่ 1 คุณภาพการบําบัด BOD ของบึงประดิษฐ TKN

100000 INF CH 01 CH 02 CH 03 Average Standard

60 40 20 0 8-SEP-11 8-OCT-11 8-NOV-11 8-DEC-11

8-FEB-12

Total Coliform Bacteria

10000

mg/L

80

8-JAN-12

แผนภูมทิ ี่ 2 คุณภาพการบําบัด Suspended Solids ของบึงประดิษฐ

100

mg/L

INF CH 01 CH 02 CH 03 Average Standard

INF CH 01 CH 02 CH 03 Average

1000 100 10 1

8-JAN-12

8-FEB-12

แผนภูมิที่ 3 คุณภาพการบําบัด TKN ของบึงประดิษฐ

8-SEP-11 8-OCT-11 8-NOV-11 8-DEC-11

8-JAN-12

8-FEB-12

แผนภูมิที่ 4 คุณภาพการบําบัด Total Coliform ของบึงประดิษฐ

No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

25


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

ผลการวิ เ คราะห คุ ณ ภาพนํ้ า ของบึ ง ประดิ ษ ฐ พบว า สําหรับคาไฟฟาทีใ่ ชในการเดินระบบมีคา ประมาณ 0.5 กิโลวัตตตอ ประสิทธิภาพในการบําบัดนํ้าเสียในสวนของพารามิเตอรหลัก เชน วัน ซึ่งจะเปนคาไฟฟาในการสูบนํ้าเขาสูระบบอยางเดียว BOD มีคา นํา้ เขาระหวาง 37 – 115 มิลลิกรัมตอลิตร นํา้ ออกระหวาง ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบติดกับที่ 1 – 18 มิลลิกรัมตอลิตร โดยคาเฉลีย่ นํา้ เขาและออกเทากับ 64 และ ในการออกแบบระบบดังกลาวนี้ ในเบื้องตน มีการออกแบบ 6 มิลลิกรัมตอลิตรตามลําดับ ซึ่งคิดเปนประสิทธิภาพในการบําบัด สําหรับรองรับการบําบัดนํ้าเสียจากทั้งสองหอที่มีปริมาณประมาณ ไดประมาณรอยละ 90 ในขณะที่คาสารแขวนลอย (Suspended 10 ลูกบาศกเมตรตอวัน โดยใชถังที่สามารถจะรองรับนํ้าเสียเขาสู Solids) และ ไนโตรเจนในรูป TKN มีคา เฉลีย่ นํา้ เขาเทากับ 53 และ ระบบไดวันละ 15 ลูกบาศกเมตร ซึ่งถังดังกลาวสามารถจะรองรับ 55 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยนํ้าออกเทากับ 16 และ 9 มิลลิกรัม คาสกปรกในรูปของบีโอดีได 250 มิลลิกรัมตอลิตร โดยสวนประกอบ ตอลิตร ตามลําดับ โดย Suspended Solids มีประสิทธิภาพใน ของถังประกอบไปดวยสวนตางๆ ดังรูปดานลาง การบําบัดประมาณรอยละ 70 และ TKN มีประสิทธิภาพในการ บําบัดประมาณรอยละ 85 ซึ่งทุกคาของ คุ ณ ภาพนํ้ าออกอยู  ในเกณฑ ม าตรฐาน นํ้าทิ้งจากอาคาร นอกจากนี้ ยังไดทําการ ตรวจวัด Total Coliform Bacteria พบวา ระบบดังกลาวนี้สามารถที่จะลด ไดเกือบทั้งหมด โดยสามารถลดไดจาก ประมาณ 15,000 – 84,000 โคโลนีตอ มิลลิลติ ร ในนํา้ เขาสูร ะบบเหลือประมาณ 15 – 282 โคโลนีตอมิลลิลิตร ในนํ้าออก จากระบบบําบัดนํ้าเสียจากอาคาร ใน ประเทศไทยขณะนี้ยังไมมีการกําหนด รูปที่ 8 แสดงลักษณะถังบําบัดนํ้าเสียชนิดเติมอากาศแบบมีตัวกลางยึดเกาะ คาดังกลาวในมาตรฐานนํ้าทิ้งแตอยางใด

รูปที่ 9การติดตั้งระบบ แบบติดกับที่

รูปที่ 12 ถังกรองไรอากาศ (Anaerobic Filter Tank) 26

รูปที่ 10 ทดสอบเดินระบบ แบบติดกับที่

สวนที่ 1 ถังแยกตะกอน (Solid Separation Tank) ทํา รูปที่ 11 ถังแยกตะกอน หนาที่แยกกากของเสียออกจากนํ้าเสียกอนที่จะไหลมาบําบัดยัง (Solid Separation Tank) บอบําบัดนํ้าเสียสวนตอไป สิ่งสกปรกในนํ้าเสียบางสวนจะถูกเชื้อ จุลินทรียชนิดไมใชออกซิเจนยอยสลายทําใหคาบีโอดีลดลง โดย ปริมาตรของถังในสวนนี้ที่ทําการติดตั้งมีปริมาตร 8.48 ลูกบาศก เมตร ถาหากนํ้าเขาวันละ 15 ลูกบาศกเมตรตอวัน จะมีเวลาเก็บ กัก 13.57 ชั่วโมง ซึ่งมากกวาคาแนะนําที่ 12 ชั่วโมง ในขณะที่ใน ปจจุบันมีนํ้าเสียเขาสูระบบเพียงวันละประมาณ 6 ลูกบาศกเมตร ทําใหระยะเวลาเก็บกักในปจจุบันนี้มากกวา 24 ชั่วโมง ดังนั้น ใน สวนนี้จึงสามารถที่จะลดคาความสกปรกในรูปบีโอดีไดมาก

www.deqp.go.th No. 22 February 2013


กาวหนาพัฒนา

GREEN RESEARCH

สวนที่ 2 ถังกรองไรอากาศ (Anaerobic Filter Tank) เปน รูปที่ 13 ถังแบบเติมอากาศ สวนบําบัดนํ้าเสียแบบไมใชออกซิเจน โดยภายในระบบมีตัวกลาง (Fixed Film Aeration Tank) พลาสติก (Plastic Media) บรรจุอยูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ การบําบัด สวนนํ้าที่ถูกบําบัดใหคาความสกปรกลดลงและไหลลงสู ระบบบําบัดเติมอากาศตอไป โดยระบบที่ติดตั้งมีพื้นที่สวนนี้ 4.84 ลูกบาศกเมตร สวนที่ 3 ถังแบบเติมอากาศ (Fixed Film Aeration Tank) เปนสวนบําบัดนํ้าเสียชนิดเติมอากาศแบบมีตัวกลางยึดเกาะเปน รูปที่ 14 ถังตกตะกอนและ ระบบบําบัดทางชีวภาพโดยทําการเลี้ยงเชื้อจุลินทรียใหเกาะเปน ระบบฆาเชื้อโรค (Sediment Tank) แผนฟลม บางอยูท ตี่ วั กลางพลาสติก (Plastic Media) เมือ่ นํา้ เสียผาน ตัวกลางจะถูกเชือ้ จุลนิ ทรียย อ ยสลายสิง่ สกปรกตางๆ ทีป่ นมากับนํา้ เสียโดยการใชอากาศจากเครือ่ งเปาอากาศ (Air Blower) เครือ่ งเปา อากาศจะจายอากาศไปตามทอจายอากาศซึ่งสามารถลดความสกปรกของนํ้าเสียกอนจะไหลเขาถังตกตะกอนตอไป โดยระบบที่ติดตั้งมี พื้นที่สวนนี้ 6.17 ลูกบาศกเมตร ซึ่งมีปริมาตรที่เพียงพอสําหรับบําบัดนํ้าเสียปริมาตรวันละ 6 ลูกบาศกเมตร การทดสอบเดินระบบบําบัดนํา้ เสียแบบติดกับทีห่ ลังจากวิกฤตนํา้ ทวมเมือ่ ปลายป 2554 พบวาประสิทธิภาพในการบําบัดของความ สกปรกในรูปตางๆ ดังแสดงในแผนภูมิที่ 5 – 8 Suspended Solids 120 100 INF EFF Standard

mg/L

mg/L

BOD 140 120 100 80 60 40 20 0 11-JAN-12

80 INF EFF Standard

60 40 20

25-JAN-12

8-FEB-12

0 11-JAN-12

22-FEB-12

แผนภูมิที่ 5 คุณภาพการบําบัด BOD แบบติดกับที่

22-FEB-12

Total Coliform Bacteria 300000 250000 INF EFF Standard

mg/L

mg/L

8-FEB-12

แผนภูมิที่ 6 คุณภาพการบําบัด Suspended Solids แบบติดที่

TKN 70 60 50 40 30 20 10 0 11-JAN-12

25-JAN-12

200000 INF EFF

150000 100000 50000 0

25-JAN-12

8-FEB-12

22-FEB-12

11-JAN-12

25-JAN-12

8-FEB-12

22-FEB-12

แผนภูมิที่ 7 คุณภาพการบําบัด TKN แบบติดกับที่ แผนภูมิที่ 8 คุณภาพการบําบัด Total Coliform แบบติดกับที่ จากผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าของระบบบําบัดติดกับที่ ซึ่งเริ่มหลังจากนํ้าทวมครั้งใหญและระบบดังกลาวก็ไดรับผลกระทบดวย พบวา ประสิทธิภาพในการบําบัดนํ้าเสียในสวนของพารามิเตอรหลัก เชน BOD มีคานํ้าเขาระหวาง 61 – 127 มิลลิกรัมตอลิตร คุณภาพ นํ้าออกจากระบบมีคาระหวาง 3 – 6 มิลลิกรัมตอลิตร โดยมีคาเฉลี่ยนํ้าเขาและออกเทากับ 103 และ 4 มิลลิกรัมตอลิตรตามลําดับ ซึ่ง คิดเปนประสิทธิภาพในการบําบัดไดประมาณรอยละ 95 โดยทุกคาของคุณภาพนํ้าออกอยูในเกณฑมาตรฐาน ซึ่งคลายกับ Suspended Solids ทีม่ คี า เฉลีย่ นํา้ เขาเทากับ 64 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลีย่ นํา้ ออกเทากับ 6 มิลลิกรัมตอลิตร โดยมีประสิทธิภาพในการบําบัดประมาณ รอยละ 90 ในสวนของ TKN มีประสิทธิภาพในการบําบัดคอนขางตํ่าคือประมาณรอยละ 30 เทานั้น โดยมีบางคาที่เกินคามาตรฐานของ คุณภาพนํ้าทิ้ง และในการตรวจวัด Total Coliform Bacteria ซึ่งพบวา ระบบดังกลาวนี้สามารถที่จะลดไดคอนขางมากเหมือนกันคือ จากประมาณ 200,000 โคโลนีตอมิลลิลิตรเหลือประมาณ 4000 โคโลนีตอมิลลิลิตร ยกเวนในกรณีของการเก็บในครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2555 ที่พบวาในนํ้าออกจากระบบมีสูงกวานํ้าเขา ซึ่งอาจจะมีผลกระทบจากกรณีของนํ้าทวมและพึ่งเริ่มเดินระบบ สําหรับคา ไฟฟาที่ใชในการเดินระบบมีคาประมาณ 8.0 กิโลวัตตตอวัน ซึ่งจะเปนคาไฟฟาในการเติมอากาศและสูบนํ้าออกจากระบบสูภายนอก No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

27


GREEN RESEARCH

กาวหนาพัฒนา

สรุปผลการดําเนินงาน จากผลการเดินระบบบําบัดนํา้ เสียจากหอพักรักษสงิ่ แวดลอมทัง้ สองแหงโดยการใชระบบทีแ่ ตกตางกันและการวิเคราะหคณ ุ ภาพนํา้ ของทั้งสองระบบ ดังแสดงในตารางที่ 1 แผนภูมิที่ 9 และแผนภูมิที่ 9 .1 พบวา ระบบทั้งสองมีประสิทธิภาพในการบําบัดดีมาก สามารถ ลดปริมาณสารอินทรีย ของแข็งแขวนลอย สารอาหารไนโตรเจนในรูป ที เค เอ็น รวมทั้งโคลิฟอรมแบคทีเรียไดอยางมีประสิทธิภาพทําให คุณภาพแหลงรองรับนํ้าทิ้งดีขึ้น ซึ่งทุกคาของคุณภาพนํ้าทิ้งที่ผานการบําบัดอยูในเกณฑมาตรฐาน โดยขอเดนของระบบบึงประดิษฐคือ ดูแลและบํารุงรักษาไดงาย เสียคาใชจายนอย แตอาจจะใชพื้นที่มาก ในขณะที่ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบติดกับที่ใชพื้นที่ในการติดตั้งนอย แตคาใชจายในการบํารุงรักษาอาจสูงกวาซึ่งระบบดังกลาวทั้งสองนี้นาจะสามารถนําไปประยุกตใชใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่แตละแหง ตอไป ตารางที่ 1 แสดงประสิทธิภาพการบําบัดนํ้าเสียของระบบบําบัดแบบบึงประดิษฐ และระบบแบบติดกับที่

ประสิทธิภาพ

นํ้าทิ้งกอน การบําบัด

นํ้าทิ้งหลัง การบําบัด

ประสิทธิภาพ

คามาตรฐานควบคุมการ ระบายนํ้าทิ้งจากอาคาร บางประเภทและบางขนาด (ประเภท ง)

90.21 %

61 – 127

3.0 – 5.7

95.63 %

ไมเกิน 50

69.88 %

44 – 95

4.5 – 9.0

90.72 %

ไมเกิน 50

84.47 %

33 – 58

22.5 – 45.1

30.38 %

ไมเกิน 40

99.72%

200,000

4,000

97.92 %

ไมมีกําหนด

ระบบบําบัดแบบบึงประดิษฐ ดัชนีคุณภาพนํ้า

นํ้าทิ้งกอน การบําบัด

นํ้าทิ้งหลัง การบําบัด

บีโอดี (BOD) มิลลิกรัมตอลิตร 37 – 115 3.4 – 10.5 ปริมาณของแข็ง คาสารแขวนลอย (Suspended Solids) มิลลิกรัมตอลิตร 38 – 70 13.5 – 17.2 ไนโตรเจนในรูป ที เค เอ็น (TKN) มิลลิกรัมตอลิตร 31 – 90 2.1 – 17.7 โคลิฟอรมแบคทีเรีย (Total Coliform Bacteria) โคโลนีตอ มิลลิลิตร 15,000 - 84,000 15 – 282

ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบติดกับที่

แผนภูมิที่ 9 แสดงคุณภาพนํ้าทิ้งกอนและหลังบําบัดของระบบบําบัดทั้ง 2 ระบบ 120

ระบบบําบัดแบบบึงประดิษฐ ระบบบําบัดแบบเติมอากาศ

ปริมาณ (มิลลิกรัมตอลิตร)

100

คามาตรฐาน บีโอดี, สารแขวนลอย ไมเกิน 50 ม.ล.

80 60

คามาตรฐาน ไนโตรเจนในรูป ทีเคเอ็น ไมเกิน 40 มก.ล

40 20 0

กอนบําบัด บีโอดี

28

หลังบําบัด

กอนบําบัด

หลังบําบัด

ของแข็งสารแขวนลอย

www.deqp.go.th No. 22 February 2013

กอนบําบัด

หลังบําบัด

ไนโตรเจนในรูป ที เค เอ็น


กาวหนาพัฒนา

GREEN RESEARCH

แผนภูมิที่ 9.1 แสดงคุณภาพนํ้าทิ้งกอนและหลังบําบัดของระบบบําบัดทั้ง 2 ระบบ 220,000 200,000

ระบบบําบัดแบบบึงประดิษฐ

180,000

ระบบบําบัดแบบเติมอากาศ

โคโลนีตอมิลลิลิตร

160,000 140,000

ไมมีกําหนดคามาตรฐานในนํ้าทิ้ง

120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0

กอนบําบัด

หลังบําบัด โคลิฟอรมแบคทีเรีย

ขอเสนอแนะและปญหา ระบบบึงประดิษฐ : ควรเลือกใชชนิดของพืช สภาพดินให เหมาะสมกับพื้นที่ ถาใชพืชที่นํามาปลูกไมเจริญเติบโต อาจจะถูก รบกวนจากสัตวทกี่ นิ พืชเปนอาหาร อาจจะตองใชเวลาเริม่ ตนบําบัดชา (start-up) เพราะตองใชเวลาในการเพาะปลูกพืชใหมีขนาดที่ เหมาะสมกอน และอาจเปนแหลงเพาะพันธุยุง ระบบแบบติดกับที่ : ควรเลือกพืน้ ทีท่ ไี่ มมนี าํ้ ทวมขัง ชนิดของ ดินในบริเวณกอสรางระบบมีการซึมนํา้ ไดดี มีความสะดวกสบายและ ปลอดภัยในการเขาถึงอาคารจากพืน้ ทีโ่ ดยรอบรวมทัง้ ความสะดวก ในการเขาไปดูแลบํารุงรักษาระบบดวย และเพื่อยืดอายุการใชงาน ของระบบและการบําบัดนํ้าทิ้งอยางมีประสิทธิภาพ ไมควรทิ้งสาร อินทรียหรือสารยอยยาก เชน พลาสติก ผาอนามัย ฯลฯ อาจเกิด การอุดตันในทอระบายได หรือสารทีเ่ ปนพิษตอจุลนิ ทรีย เชน นํา้ ยา ลางหองนํ้าเขมขน เพราะนํ้าทิ้งไมไดคุณภาพตามตองการ

เอกสารอางอิง กรมควบคุมมลพิษ. 2548.มาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบาง ประเภทและบางขนาด (ประเภท ง). http://www. pcd.go.th/ Info_serv/reg_std_water.html กรมควบคุมมลพิษ. ระบบบําบัดนํา้ เสีย. http://www.pcd.go.th/info_serv/ water_wt.html บริษัทอาควา นิชิฮารา คอปอเรชั่น จํากัด. 2553. คูมือการดูแลระบบบําบัด นํา้ เสียชนิดเติมอากาศแบบมีตวั กลางยึดเกาะ. htt://www.aqua.co.th ศูนยสารสนเทศสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมกับสํานัก สิง่ แวดลอมภาค. 2555. คําอธิบายตัวชีว้ ดั อัตราการใชนาํ้ ประปา. http:// local.environnet.in.th/explain_detail.php?id=161 No. 22 February 2013 www.deqp.go.th

29


GREEN RESEARCH

พึ่งพาธรรมชาติ

·ÔÈ·Ò§¡ÒúÃÔâÀ¤ ·Õ่ÂÑ่§Â׹㹻˜¨¨ØºÑ¹ รัฐ เรืองโชติวิทย*

ากการดํ า เนิ น การของศู น ย วิ จั ย และฝ ก อบรม ดานสิง่ แวดลอม ในระยะเวลา 3 ป ระหวาง พ.ศ. 2550-2552 ไดศกึ ษารูปแบบการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนภายใตบริบท การบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยการใชแบบจําลอง REAP หรือ Resource Energy Assessment Program เปน แบบจําลองที่ไดรับการสนับสนุนจาก สถาบันสิ่งแวดลอม แหงสตอกโฮมส (SEI) ประเทศสวีเดน ที่ใชประเมินการ บริโภคของเมืองจากดัชนีการใชทรัพยากรธรรมชาติ การ ใชพลังงาน แสดงผลออกเปนของเสียในรูปของนํ้าเสีย อากาศเสียและขยะมูลฝอยของเมือง โดยดัชนีดังกลาวใช สมการคณิตศาสตรและการประเมินทางเศรษฐศาสตรที่ แสดงใหเห็นถึงการบริโภคของประชาชนในเขตเมืองที่ใช ทรัพยากรตามความตองการของการดํารงชีวิตแลวยังกอ ใหเกิดมลพิษ ซึ่งแบบจําลองดังกลาวไดคาดการณจาก ฐานการเพิ่มประชากรกับดัชนีการบริโภค ซึ่งมีความหมาย ตอการวางแผนการจัดการสิ่งแวดลอมในอนาคตของเมือง โดยทํ า การศึ ก ษาในเทศบาลระยอง และเทศบาลเมื อ ง แกลง จ.ระยอง ผลการศึกษาจึงเปนการแสดงปริมาณการ เกิดของเสียจากการบริโภค การเพิ่มของประชากร ซึ่งตอง ทบทวนทิศทางการบริโภคในปจจุบันที่จะสงผลถึงอนาคต ซึ่งในบทความนี้จะเปนมุมมอง สังเคราะหจากแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 ที่ใชหลักเศรษฐกิจ สีเขียว (Green Economy) เพื่อตอบสนองตอทิศทางการ พัฒนาในอนาคต กับการบริโภคที่ยั่งยืน

นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

*

30

www.deqp.go.th No. 22 February 2013


GREEN GREEN RESEARCH

พึ่งพาธรรมชาติ

ทิศทางการบริโภคทีย่ งั่ ยืน ในทีน่ มี้ าจากกรอบแนวคิดในบริบทของไทย ทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (NESDB) จัดทําเปนแผนยุทธศาสตรไวจากความหมายของการบริโภค การผลิตกับการเกิดของเสียที่สงผลตอระบบนิเวศ

Ãкº¹ÔàÇÈ ของเสีย/มลพิษ ฐานทรัพยากร แหลงเรียนรู

โฆษณา ประชา

ทรัพยากร

ผ ลติ ภ ณั ฑ บริการ

สัม พนั ธ

การบริโภค

แหลงสันทนาการ

ทรัพยากร

การผลิต

ของเสีย/มลพิษ แผนภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธการผลิต การบริโภคตอการเกิดของเสียและผลกระทบตอระบบนิเวศ ที่มา แผนยุทธศาสตรการบริโภคที่ยั่งยืน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2552 จากแผนภาพที่ 1 จะเห็นทิศทางการใชทรัพยากรเพื่อการผลิต และการบริโภค การบริการ ที่กอใหเกิดของเสียและมลพิษที่ สงผลกระทบทั้งระบบนิเวศ อีกทั้งการโฆษณาประชาสัมพันธ ผลิตภัณฑ การบริการ เปนตัวเรงการบริโภคอยางมากยิ่งกอใหเกิดมลพิษ

No. 22 February 2013

www.deqp.go.th

31


GREEN RESEARCH

พึ่งพาธรรมชาติ

กรอบแนวคิดทิศทางการบริโภคที่ยั่งยืน คํานึงถึงปจจัยสําคัญในการผลิตและการ บริโภคทีต่ อบสนองตอคุณภาพชีวติ ที่ ระบบ นิเวศที่สมดุล ดังนั้นที่ผานมา ชุมชนเมือง หลายเมืองเชน ที่นครเชียงใหม หรือจังหวัด ระยอง ตางใหความสําคัญของการจัดการ สิ่งแวดลอม การจัดการทรัพยากรใหคุมคา และเพียงพอตอการดํารงชีวิต การจัดการ ของเสียที่ตนทาง ซึ่งจากกรอบแนวคิด การบริโภคทีย่ งั่ ยืนมีหลักการ 3 ประการ คือ 1. การปรับพฤติกรรมการบริโภคให เปนการบริโภคอยางพอดี พอประมาณ เป น การกํ า หนดทิ ศ ทางการสร า ง จิตสํานึก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ ประชาชนในเขตเมือง ในการใชทรัพยากร อยางคุมคา การนําระบบการใชประโยชน จากของเสีย การลดการใชถุงพลาสติก การ ประหยัดพลังงาน ลวนแลวแตเปนการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคใหพอเหมาะ เปนทิศทางที่ตองอาศัยการมีสวนรวมของ ทุกภาคสวนใหการสนับสนุน

32

2. การสงเสริมใหเกิดการตลาดที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ในเรื่องนี้การตลาดที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ตามความเขาใจของประชาชน เปนการ ตลาดทีข่ ายผักปลอดสารพิษ เกษตรอินทรีย ซึง่ คงตองทบทวนการตลาดทีแ่ ทจริงทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม กลไกตลาดเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่ง และกลไกตลาดที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จะเปนการ สนับสนุนใหเกิดสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น ตอบรับตอกระแสการ ตืน่ ตัวของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ หรือทีเ่ รียกวาภาวะโลกรอน ใหความสําคัญตอ สินคาทีแ่ สดงการปลอยกาซเรือนกระจกทีแ่ สดงถึงความรับผิดชอบตอสังคมและสิง่ แวดลอม เชน ฉลากสินคา คารบอนฟุตพริ้นท เปนตน ทั้งนี้ภาครัฐและเอกชนตองรวมมือเพื่อใหเกิด การขับเคลื่อนตลาดที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น

www.deqp.go.th No. 22 February 2013


พึ่งพาธรรมชาติ

GREEN RESEARCH

reduce reuse recycle 3. การสงเสริมการผลิตใหมีประสิทธิภาพและเกิดการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหม จากประเด็นแนวคิดที่ 3 นี้ใหความสําคัญของการผลิตที่มีประสิทธิภาพ และการหมุนเวียนทรัพยากรนั้น โดยทั่วไปเปนเปาหมาย สําคัญของผูผ ลิตอยูแ ลว เพราะหมายถึงการลดคาใชจา ย ตนทุนอยางเปนรูปธรรม และยิง่ ในภาวะคาใชจา ยพลังงานสูงขึน้ เชน การปลอย ลอยตัวของคากาซ เชื้อเพลิง ทําใหผูประกอบการตองหาทางลดตนทุน ในชวงเวลานี้ จึงเปนโอกาสทองสําหรับการใชเครื่องมือทางดาน สิง่ แวดลอมเชน เทคโนโลยีสะอาดมาใชในการปรับปรุงการผลิตใหเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ควบคูไ ปกับการลดตนทุนการผลิตอยางมีนยั สําคัญ จากทัง้ 3 ขอทีเ่ ปนแนวคิดการบริโภคทีย่ งั่ ยืนในบริบทไทยทีเ่ ปนหลักในการขับเคลือ่ นและเชือ่ มโยงกับขีดจํากัดของทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู ทิศทางในอนาคตจึงเปนการกําหนดรูปแบบการบริโภคในระดับชุมชนและทองถิ่น ที่คํานึงถึงอนาคต และพัฒนากิจกรรมที่ดีตอบ สนองตอการบริโภคที่ยั่งยืน เชนกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการขนสงมวลชนเพื่อลดการใชพลังงาน พัฒนารูปแบบการประหยัดพลังงาน การใชพลังงานทางเลือกทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมมากขึน้ การลดของเสียในชุมชนโดยอาศัยหลักการ การลดของเสีย การใชซาํ้ และการนํา กลับมาใชใหม ประเด็นทีถ่ กู หยิบยกนี้ หากเมือง ชุมชน รวมกันปรับตัว ตระหนักถึงรูปแบบทีเ่ หมาะสมในการบริโภคซึง่ ทิศทางสอดคลองกับการผลิต ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และมีการเลือกใชอยางเหมาะสม นอกจากนี้ทิศทางในการเลือกซื้อสินคาในการบริโภคจะเนนการบริโภคสินคา ที่แสดงปริมาณปลอยกาซเรือนกระจก ในรูป ของผลิตภัณฑที่มีฉลากคารบอนฟรุตพริ้นท มากขึ้ น ด ว ย ซึ่ ง การปล อ ยก า ซ CO 2 อยู  ใ น ปริมาณที่คาดการณไวจะแสดงกับตัวสินคา และที่สําคัญผูผลิตควรสื่อสารถึงผูบริโภคถึงวิธี การใชผลิตภัณฑอยางถูกวิธีและเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม และมีการจัดการความสัมพันธกับ ลูกคาที่เหมาะสม (Customer Relationship Management; CRM) เพื่อการขับเคลื่อน การบริ โ ภคที่ ยั่ ง ยื น อย า งเป น ระบบและมี ประสิทธิภาพ

เอกสารอางอิง ยุทธศาสตรการบริโภคที่ยั่งยืน สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ 2552 กรุงเทพฯ

No. 22 February 2013

www.deqp.go.th

33


กิจกรรมความเคลื่อนไหว

ของศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

นายจตุพร บุรุษพัฒน อธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม เปน ประธานในพิธีเปดสัมมนา เรื่อง ผลกระทบดานเสียงและแผนที่ เสนเทาระดับเสียงจากทาอากาศยานสุวรรณภูมใิ นปจจุบนั และอนาคต ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2556 นางรั ช นี เอมะรุ จิ รองอธิ บ ดี ก รมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม เปนประธานในพิธีเปดสัมมนาวิชาการ เรื่องการนําเสนอผลการ ศึกษาวิจัยภายใตโครงการพัฒนาและสงเสริมความรวมมือสมัชชา นั ก วิ จั ย ด า นสิ่ ง แวดล อ ม ประจํ า ป 2555 เพื่ อ นํ า เสนอผลการ ดําเนินงานโครงการวิจัย ที่อยูภายใตโครงการพัฒนาและสงเสริม ความรวมมือสมัชชานักวิจัยดานสิ่งแวดลอม จํานวน 5 โครงการ ณ หองแกรนบอลรูม 2 โรงแรมรามา การเดนส กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2556 นางสุวรรณา เตียรถสุวรรณ ผูอํานวยการศูนยวิจัยและฝกอบรม ดานสิง่ แวดลอม ตอนรับคณะศึกษาดูงานจากคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เขาเยี่ยมชมหองปฏิบัติการวิจัยและรับฟง บรรยายเกีย่ วกับบทบาทของศูนยวจิ ยั และฝกอบรมดานสิง่ แวดลอม เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2556

เมือ่ วันที่ 12 มกราคม 2556 ศูนยวจิ ยั และฝกอบรมดานสิง่ แวดลอม ไดจัดกิจกรรมวันเด็กแหงชาติขึ้น ณ บริเวณลานดานหนาอาคาร ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม โดยในวันงานมีกิจกรรม และซุมตางๆ มากมายใหเด็กๆ ไดรวมกิจกรรม

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ สวนความรวมมือและเครือขายนักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม โทร 0 2577 4182-9 ตอ 1102, 1121 โทรสาร 0 2577 1138 www.deqp.go.th/website/20/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.