2014
March
No.26
Content
GREEN Research Journal
www
deqp.go.th/website/20/
Editor’s Talk [บรรณาธิการ ชวนคุย] สวัสดีค่ะ กลับมาพบกันอีกครั้งฉบับนี้กับการเริ่มต้นปี 2557 ซึ่งยังคงมีประเด็นด้านงานวิจัย สิ่งแวดล้อม และการติดตามเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยในหลายๆ เรื่องที่น่าสนใจ โดยในฉบับนี้ประเด็น เรื่อง “ขยะอิเล็กทรอนิกส์ กับปัญหาสิ่งแวดล้อมจากสังคมเทคโนโลยี” เป็นประเด็นที่ทางทีมงานจะน�ำมาเสนอให้ผู้ อ่านได้รบั ทราบข้อมูลเบือ้ งต้น ก่อนทีเ่ ราจะมีงานวิจยั ทีม่ รี ายละเอียดมากกว่านี้ กลับมาน�ำเสนออีกครัง้ ประเทศไทย จัดเป็นประเทศที่รับเทคโนโลยีมาจากทั่วโลก โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ LCD, LED คอมพิวเตอร์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ แต่เมือ่ เทคโนโลยีเหล่านัน้ หมด อายุการใช้งาน การทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ คือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นในอนาคตกับประเทศไทยอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ตัวอย่างล่าสุดที่สร้างผลกระทบชัดเจน คือ มลพิษทางน�้ำ กรณีปลาตายเป็นแพตามล�ำน�้ำเจ้าพระยา ซึ่งก่อผลกระทบต่อคนนับล้านคน ไม่ ใช่เฉพาะผู้เลี้ยงปลาแต่ผู้ที่จ�ำเป็นต้องบริโภคน�้ำจากแม่น�้ำไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อมและก็แน่นอนคงไม่พ้นโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นลักษณะอุตสาหกรรมเก่าไม่มีความตั้งใจจริงกับการ ลงทุนด้านการก�ำจัดของเสียและมลพิษทางอิเล็กทรอนิกส์ หรืออาจจะเกิดจากการทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์จาก ผู้ใช้งานด้วย ปัจจุบนั การลงทุนจากสิง่ เหล่านีป้ ระเทศไทยซึง่ ปัจจุบนั มีกฎหมายหรือระเบียบควบคุมทางสิง่ แวดล้อม อยูพ่ อสมควร จะมีการน�ำมาบังคับใช้หรือได้รบั ความร่วมมือจากผูผ้ ลิตและผูใ้ ช้มากน้อยแค่ไหนนัน้ นับเป็นประเด็น ทีน่ า่ ติดตามว่าทิศทางดังกล่าวจะส่งผลในอนาคตด้านสิง่ แวดล้อมย่างไรบ้าง ทัง้ หมดนีเ้ ป็นเพียงการหยิบยกตัวอย่าง บางส่วนหากมีรายงานวิจัยเรื่องดังกล่าวที่น่าสนใจ ทางบรรณาธิการจะน�ำเสนอให้ผู้อ่านได้รับทราบในโอกาสต่อไป นะค่ะ และนอกจากนีท้ มี งานได้รวบรวมบทความอืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจไว้ให้ได้ตดิ ตามกันเช่นเคย แล้วพบกันใหม่กบั การเกาะ ติดประเด็นที่น่าสนใจอีกครั้งค่ะ
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ • ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากสังคมเทคโนโลยี • ความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง • ต่างชาติสะดุดตางานวิจัยเด็กไทย มุ่งแก้ไขสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น • แนวคิด CSR ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมไทยได้จริงหรือไม่
1 5 9 11
ติดตามเฝ้าระวัง • การเฝ้าระวังโรคเหตุสิ่งแวดล้อม • การส�ำรวจการปนเปื้อนของสารพิษที่มากับน�้ำมันรั่วในอ่าวไทย
13 16
ก้าวหน้าพัฒนา • บทบาท AEC ต้องไม่ละเลยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • แนวคิดสื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนพัฒนาเด็กได้มากกว่าที่คิด • เศรษฐกิจ-สิ่งแวดล้อม ต้องพัฒนาคู่ขนาน • ทิศทางการวิจัยที่ตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อม • การเลือกใช้ Green technology
18 21 25 27 30
พึ่งพาธรรมชาติ • จริยธรรมกับสิ่งแวดล้อม
32
ERTC Focus • ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม
คณะผู้จัดท�ำ
34
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เทคโนธานี ต�ำบลคลองห้า อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 02-577-4182-9 โทรสาร 0-2577-1138 ที่ปรึกษา จตุพร บุรุษพัฒน์, เสริมยศ สมมั่น, สากล ฐินะกุล บรรณาธิการบริหาร สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ บรรณาธิการ ณัฐพล ติยชิรวงศ์ กองบรรณาธิการ โสฬส ขันธ์เครือ, นิตยา นักระนาด มิลน์, ศิรนิ ภา ศรีทองทิม, หทัยรัตน์ การีเวทย์, เจนวิทย์ วงษ์ศานูน, ปัญจา ใยถาวร, จินดารัตน์ เรืองโชติวทิ ย์, อาทิตยา พามี
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ “ขยะอิเล็กทรอนิกส์” ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากสังคมเทคโนโลยี
ด้วยความหลากหลายของเทคโนโลยีที่มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเหตุ ให้การบริโภคสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง และกระจายไปสู่ประชากรทุก ชนชั้น ทั้งโทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์รุ่นใหม่ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ประกอบกับการก้าวกระโดดของภาคอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่ท�ำให้การล้าสมัย ของ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายชนิดเป็นไปอย่างรวดเร็วเช่นกัน
การบริ โ ภคสิ น ค้ า อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั้ ง และ กระจายไปสู่ ป ระชากรทุ ก ชนชั้ น ทั้ งโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ โทรทั ศ น์ รุ่ น ใหม่ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต่ า งๆ ประกอบ กั บ การก้ า วกระโดดของภาค อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ทที่ �ำ ให้ การล้าสมัย
ในปีหนึ่งๆ เราบริโภคสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์กันมากน้อยเพียงใด บางคน อาจจะตอบว่า เปลีย่ นโทรศัพท์มอื ถือทุกปี เพราะรุน่ ใหม่ๆ ออกมาอยูต่ ลอด ถ้าไม่เปลีย่ น อาจจะตกเทรนด์ โดยเฉพาะโทรทัศน์จอแอลซีดีที่มีราคาต�่ำลงจนน่าตกใจ ยังไม่รวม คอมพิวเตอร์ที่หลายท่านมีไว้ในครอบครองทั้งพีซีและโน้ตบุ้ค ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เหล่านี้ หลายท่านก็ใช้ได้ไม่เต็มประสิทธิภาพหรือเต็มอายุสินค้านัก ก็อาจจะเปลี่ยนใหม่ เรามักจะหาซือ้ มาใช้กนั มากมาย โดยไม่ได้คำ� นึงถึงว่าผลิตภัณฑ์เหล่านีจ้ ะเสือ่ มสภาพการ ใช้งานเมื่อใดและจะน�ำไปก�ำจัดทิ้งอย่างไร เพื่อไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของ ประชาชน และผลเสียต่อสิง่ แวดล้อมนัน่ ท�ำให้เราเข้าไปมีสว่ นร่วมอย่างไม่ตงั้ ใจในการสร้าง กองภูเขาใหญ่ที่ชื่อ “ขยะอิเล็กทรอนิกส์” ในวิกิพีเดียสารานุกรมเสรี ให้ความหมายไว้ว่า ขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือ “อีเวสต์” (e-waste) เป็นของเสียทีป่ ระกอบด้วย เครือ่ งใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ทีเ่ สียหรือไม่มคี นต้องการแล้ว ขยะอิเล็กทรอนิกส์เป็นประเด็นวิตกกังวล เนือ่ งจากชิน้ ส่วน หลายชิ้นในอุปกรณ์เหล่านั้นถือว่าเป็นพิษ และไม่สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติได้ ความก้าวล�ำ้ ทางเทคโนโลยีทกุ วันนี้ ยังมีสว่ นเร่งให้สนิ ค้าอิเล็กทรอนิกส์ อยูใ่ นสภาพตกรุน่ เร็วยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและโทรศัพท์มือถือ ซึ่งมีอัตราการ เปลี่ยนเครื่องบ่อยที่สุด อายุการใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน อยู่ระหว่าง 3-5 ปี ขณะทีโ่ ทรศัพท์มอื ถือมีอายุใช้งานเฉลีย่ 18 เดือน อายุการใช้งานบวกกับจ�ำนวนผูใ้ ช้เครือ่ ง คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มอื ถือ ซึง่ ปัจจุบนั มีมากกว่า 1 พันล้านคนทั่วโลกนั้น ก�ำลังเป็น ปัจจัยที่เพิ่มขึ้นของขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปพร้อมๆ กัน No.26 March 2014 Green Research 1
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ ปัจจุบนั ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์มอี ตั ราการเพิม่ สูงขึน้ เป็น 3 เท่าของขยะมูลฝอยในชุมชน โดยเฉพาะขยะที่มาจากผลิตภัณฑ์ ด้านเทคโนโลยีตา่ งๆ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอื ถือ ทีม่ อี ตั ราการ เปลีย่ นแปลงรุน่ และตกรุน่ อยูต่ ลอดเวลา ท�ำให้มกี ารเลิกใช้และถูกทิง้ เป็ น ขยะสะสมเป็ น ปริ ม าณมากตามความต้ อ งการของตลาด นอกจากนี้ ป ระเทศไทยกลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของปลายทางขยะ อิเล็กทรอนิกส์จากทั่วโลก ซึ่งถูกแฝงมาในรูปของการน�ำเข้าสินค้า คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือที่ใช้แล้วจากต่างประเทศ ซึ่งมีอายุ การใช้งานสัน้ และพร้อมจะเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์สร้างปัญหามลพิษ ต่อไป
ที่ไต ท�ำลายระบบประสาท ส่งผลต่อพัฒนาการและการมีบุตร หรือ อาจมีผลกระทบต่อพันธุกรรม ปรอท มักพบในตัวตัดความร้อน สวิตซ์ และจอแบน โดย จะส่งผลในการท�ำลายอวัยวะต่างๆ รวมทัง้ สมอง ไต และเด็กในครรภ์ มารดาได้ และถ้าลงสูแ่ หล่งน�ำ้ จะเปลีย่ นรูปเป็น Methylated Mercury และตกตะกอน ซึง่ สะสมในสิง่ มีชวี ติ ได้งา่ ย และสะสมต่อไปตามห่วง โซ่อาหาร โครเมียมเฮกซาวาเลน ใช้ในการป้องกันการกัดกร่อนของ แผ่นโลหะเคลือบสังกะสี ซึง่ สามารถผ่านเข้าสูผ่ นังเซลล์ได้งา่ ย จะส่ง ผลในการท�ำลายดีเอ็นเอ และเป็นสารก่อมะเร็งส�ำหรับมนุษย์
ถ้าหากใครเคยไปเดินที่พันธ์ทิพย์ จะเห็นว่ามีคอมพิวเตอร์ เบริลเลียม ใช้ในแผนวงจรหลัก เป็นการก่อมะเร็งโดย มือสองวางขายเป็นจ�ำนวนมาก และคนก็ชอบซื้อเพราะราคาถูกกว่า เฉพาะมะเร็งปอด โดยผู้ที่ได้รับสารนี้อย่างต่อเนื่องจากการสูดดมจะ 50-70% เลยทีเดียว กลายเป็นโรค Beryllicosis ซึ่งมีผลกับปอด หากสัมผัสก็จะท�ำให้เกิด วงจรชีวิตของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ แผลที่ผิวหนังอย่างรุนแรง ผู ้ บ ริ โ ภคผลิ ต ภั ณ ฑ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส ่ ว นมากไม่ ท ราบถึ ง สารหนู ใช้ในแผงวงจร ซึ่งท�ำลายระบบประสาท ผิวหนัง มหันตภัยร้ายแรงที่มีต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากวงจร และระบบการย่อยอาหาร หากได้รบั ปริมาณมากอาจท�ำให้ถงึ ตายได้ ชีวิตของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การใช้สารพิษที่เป็นอันตราย แบเรียม ใช้ในแผ่นหน้าของหลอดรังสีแคโทด ซึ่งเป็นสาร อย่างสารปรอท ตะกัว่ และสารทนไฟในกระบวนการผลิต ทีส่ ามารถ ก่อให้เกิดการปนเปือ้ นสารพิษในสิง่ แวดล้อม และสุขภาพของคนงาน ทีม่ ผี ลต่อสมอง ท�ำให้สมองบวม กล้ามเนือ้ อ่อนล้า ท�ำลายหัวใจ ตับ อีกทั้งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างขั้นตอนการรีไซเคิล และการ และม้าม ก�ำจัดอีกด้วย ท�ำไมขยะอิเล็กทรอนิกส์จึงมีผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม? เนื่องจากส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ มีสาร โลหะหนักทีเ่ ป็นอันตรายต่อคุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อม ซึง่ สามารถ จ�ำแนกสารอันตรายที่อยู่ในผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ ไฟฟ้าไว้ได้ ดังนี้ ตะกั่ว เป็นส่วนประกอบในการบัดกรีแผ่นวงจรพิมพ์ และ หลอดภาพรังสีแคโทด (CRT) เป็นต้น โดยผลกระทบที่เกิดขึ้นจะไป ท�ำลายระบบประสาทส่วนกลาง ระบบโลหิต การท�ำงานของไต การ สืบพันธุ์ และมีผลต่อการพัฒนาสมองของเด็ก และท�ำลายระบบ ประสาท ระบบเลือด และระบบสืบพันธุใ์ นผูใ้ หญ่ นอกจากนี้ พิษยัง สามารถสะสมได้ในสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิดผลเฉียบพลัน หรือแบบ เรื้อรังได้ในพืชและสัตว์ แคดเมียม มักพบในแผ่นวงจรพิมพ์ ตัวต้านทาน และ หลอดภาพรังสีแคโทด เป็นต้น ซึง่ สารนีจ้ ะสะสมในร่างกายโดยเฉพาะ
2 Green Research No.26 March 2014
ตัวทนไฟท�ำจากโบรมีน ใช้ในกล่องพลาสติกของอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ แผงวงจร และตัวเชื่อมต่อ ซึ่งเป็นสารที่มีพิษและ สามารถสะสมได้ในสิง่ มีชวี ติ ถ้ามีทองแดงร่วมด้วยจะเพิม่ ความเสีย่ ง ในการเกิดไดออกซินและฟิวแรนระหว่างการเผา เนื่องจากตัวทนไฟ ท�ำจากโบรมีนมีอยู่หลายรูปแบบ แบบที่มีอันตรายมากจะเป็นโพลี โบรมิเต็ดไบฟีนีล (Polybrominated Biphenyls-PBBs) ซึ่งก่อให้เกิด ไดออกซิน สารก่อให้เกิดมะเร็งท�ำลายการท�ำงานของตับมีผลกระทบ ต่อระบบประสาทและภูมติ า้ นทาน ท�ำให้การท�ำงานของต่อมไทรอยด์ ผิดพลาด รวมถึงระบบต่อมไร้ท่อสามารถสะสมในน�ำ้ นมของมนุษย์ และกระแสเลือด สามารถถ่ายทอดในห่วงโซ่อาหาร ตัวอย่างสารพิษในขยะอิเล็กทรอนิกส์ ตะกัว่ ใช้มากในแบตเตอรี่ ผสมในฉนวนสายไฟ (PVC) แผ่น วงจรพิมพ์ (ตะกัว่ บัดกรี) ปรอท พบในเครือ่ งมือวัดสวิตซ์ หลอดไฟ Thermostat รีเลย์ แคดเมียม ใช้ในชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ IR Detector จอภาพ รังสีแคโทด ผสมในพีวีซี แคดเมียม 6 ผงสี ป้องกันการ กัดกร่อนใน Heat Exchange คลอรีน ฉนวนสายไฟ อาร์เซนิก (สารหนู) ในอุปกรณ์ความถี่สูง ในแผงวงจรไฟฟ้าของโทรศัพท์มือถือและ คอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยตัวเองเป็นสารพิษอันตราย และถ้าไปรวมกับ สิ่งแวดล้อม ทั้งการรีไซเคิลขยะในประเทศก�ำลังพัฒนายังมีต้นทุน วัสดุมีค่าอื่นๆ เช่น ทองแดง ก็จะท�ำให้ทองแดงปนเปื้อนอันตรายไป ถูกกว่า เช่น ต้นทุนการรีไซเคิลกระจกจากจอคอมพิวเตอร์ในสหรัฐฯ ด้วย คิดเป็น 0.5 เหรียญต่อน�้ำหนัก 1 ปอนด์ เทียบกับ 0.05 เหรียญใน ประเทศจี น และหลายครั้ ง การส่ ง ออกดั ง กล่ า วเป็ น การละเมิ ด การรับมือกับปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ อนุสญ ั ญาบาเซล (มาตรการสกัดกัน้ การลักลอบเคลือ่ นย้ายซากขยะ ขณะที่ทั่วโลกตื่นตัวการรับมือขยะอิเล็กทรอนิกส์ สหภาพ อิเล็กทรอนิกส์ไปทิ้งในประเทศอื่น) และจากการตรวจสอบท่าเรือ ยุโรปได้ออกระเบียบว่าด้วยเศษซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและ 18 แห่ง ในยุโรปเมือ่ ปี 2548 พบว่ามากถึงร้อยละ 47 ของขยะเหล่านี้ อิเล็กทรอนิกส์ (Waste Electrical and Electronic Equipment: WEEE) ซึ่งรวมทั้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ถูกส่งออกไปอย่างผิดกฎหมาย เฉพาะ และระเบี ย บว่ า ด้ ว ยการจ� ำ กั ด การใช้ ส ารอั น ตรายบางชนิ ด ใน ในอังกฤษ ขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 23,000 เมตริกตัน ถูกส่ง ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (The Restriction of the use of ออกอย่างผิดกฎหมายโดยไม่มีการระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด ในปี certain Hazardous Substance in electrical and electronic equipment: 2546 ที่ส่งไปยังตะวันออกไกล ไม่ว่าจะเป็นอินเดีย แอฟริกาและจีน RoHS) โดยใช้บงั คับกับผูน้ ำ� เข้าสินค้าดังกล่าว และมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่ ในสหรัฐฯ ประมาณกันว่าร้อยละ 50-80 ของขยะที่ถูกรวบรวมเพื่อ ปี 2549 ซึง่ ก�ำหนดให้ผผู้ ลิตอุปกรณ์ตอ้ งรับภาระค่าใช้จา่ ยในการเก็บ การรีไซเคิล ก็จะถูกส่งออกไปในลักษณะเดียวกัน แต่การกระท�ำเช่น รวบรวม กูค้ นื และก�ำจัดอุปกรณ์ทผี่ บู้ ริโภคไม่ใช้งานแล้ว เพือ่ รณรงค์ นีถ้ อื ว่าถูกกฎหมายเพราะว่าสหรัฐฯไม่ได้ให้สตั ยาบันรับรองอนุสญ ั ญา ให้ผู้บริโภคตระหนักถึงผลกระทบจากการทิ้งอุปกรณ์ที่ยังสามารถใช้ บาเซล เมือ่ ขยะอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลังเป็นปัญหาส�ำคัญกับสิง่ แวดล้อม งานได้ต่อไป หรืออุปกรณ์ที่ไม่สามารถใช้งานได้แล้วให้น�ำอุปกรณ์ องค์การสหประชาชาติจงึ ได้รเิ ริม่ “โครงการเพือ่ สิง่ แวดล้อมโครงการใหม่ เหล่านี้กลับไปใช้ใหม่ หรือน�ำไปรีไซเคิลอย่างถูกวิธี และการรณรงค์ เพือ่ แก้ปญ ั หาขยะอิเล็กทรอนิกส์” (Solving the E-Waste Problem : StEP) ให้บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้พิจารณาและปรับปรุงการ ขึน้ มาเพือ่ รณรงค์ลดปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ทเี่ กิดขึน้ ทัว่ โลกภายใต้ พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น ความร่วมมือทัง้ จากหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ด้วยเหตุดังกล่าวประเทศที่พัฒนาแล้วจึงมีการส่งออกขยะ อาทิ บริษัทไมโครซอฟท์ บริษัทอีริคสัน บริษัทฮิวเลตต์แพคการ์ด อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ไ ปยั ง ประเทศก�ำลังพัฒนาเป็นประจ�ำ ซึ่ ง ยั ง ไม่ มี (เอชพี) และบริษัทเดลล์ เป็นต้น กฎหมายหรือไม่มีการบังคับใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองคนงานและ No.26 March 2014 Green Research 3
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ การรณรงค์ลดปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์จะเริ่มตั้งแต่การ สร้างจิตส�ำนึกในการใช้งานเทคโนโลยี ทั้งในส่วนของผู้ผลิตและผู้ จัดการกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ การใช้ซ�้ำ บริโภค ไม่ว่าจะเป็นการซื้อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็ดี การเปลี่ยน โทรศัพท์มือถือตามแฟชั่นก็ดี การผลิตสินค้าไอทีที่ต�่ำกว่ามาตรฐาน (Reuse) และการน�ำไปใช้อีก (Recycle) ออกมาวางจ�ำหน่ายก็ดี ถ้าเป็นเช่นนีต้ อ่ ไปสักวันหนึง่ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ซ�้ำ (Reuse) เป็นการน�ำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ ก็คงจะล้นเมืองโปรดช่วยกันก่อนที่ประเทศไทยจะเต็มไปด้วยขยะ แล้ว และทีไ่ ม่ตอ้ งการใช้กลับมาใช้ใหม่อกี ครัง้ อาจจะน�ำมาซ่อมแซม อิเล็กทรอนิกส์ หรือน�ำไปบริจาคให้กบั ผูท้ ขี่ าดแคลน ซึง่ เป็นวิธที ใี่ ช้กนั อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกา ได้น�ำ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เลิกใช้แล้ว ไปบริจาคให้ประเทศที่กำ� ลังพัฒนา ในแถบแอฟริกาและเอเชีย การรีไซเคิล (Recycle) เป็นการน�ำส่วนทีย่ งั เป็นประโยชน์ ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกส่วนประกอบและวัตถุที่มีค่า ภายในออกมา อาทิ โลหะมีค่า เงิน ทองค�ำขาว และทองแดง เป็นต้น ซึ่งสามารถน�ำไปรีไซเคิลและน�ำไปผลิตอุปกรณ์อย่างอื่นได้ อีกทางหนึง่ ด้วยแม้วา่ จะเราจะมีวนั สิง่ แวดล้อมโลก (World Environment Day) ในวันที่ 5 มิถนุ ายน ของทุกปี เพือ่ รณรงค์ให้คนรักษ์สงิ่ แวดล้อม แต่ปัญหาเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์คงไม่สามารถจบลงได้ด้วยการ รณรงค์เพียงแค่ปีละ 1 วันเท่านั้น หากแต่สามารถแก้ไขได้ด้วยการ
อ้างอิง www.okanation.net
4 Green Research No.26 March 2014
ความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง: หนทางสู่ความสุขแห่งวิถีชีวิตคนเมืองอย่างยั่งยืน (1) จุฑาธิป อยู่เย็น นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช�ำนาญการ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม
ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ รวมถึ ง บริ ก ารจากระบบนิ เ วศ ขาดปริ ม าณ และคุ ณ ภาพของ แหล่ ง น้ำ � อาหาร โดยเฉพาะ ทรัพยากรชีวภาพ ได้ถูกคุกคาม ลดจำ�นวนลงจนทำ�ให้สิ่งมีชีวิต หลายชนิ ด สู ญ พั น ธุ์ บางชนิ ด อยูใ่ นภาวะอันตรายใกล้สญ ู พันธุ์
ในช่วง 10 ปีทผี่ า่ นมาโลกกล่าวขานร่วมกันในเรือ่ งการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก ซึง่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์ เกิดภัยพิบตั ใิ นทุกหลายแห่งในโลกทัง้ รุนแรง และต่อเนือ่ ง สาเหตุมาจากการพัฒนาขยายตัวของเมืองอย่างไร้ทศิ ทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างก้าว กระโดด การน�ำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโชน์ในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์อย่างฟุ่มเฟือย สาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก และอัตราการตายของประชากรลดลง ท�ำให้เกิด การท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติอย่างรุนแรง ผลกระทบต่อระบบนิเวศรวมถึงบริการจากระบบนิเวศ ขาดปริมาณ และคุณภาพของแหล่งน�้ำ อาหาร โดยเฉพาะทรัพยากรชีวภาพ ได้ถูกคุกคาม ลดจ�ำนวนลง จนท�ำให้สงิ่ มีชวี ติ หลายชนิดสูญพันธุ์ บางชนิดอยูใ่ นภาวะอันตรายใกล้สญ ู พันธุ์ ความหลากหลายทางชีวภาพที่เคยมีอย่างอุดมสมบูรณ์ถูกท� ำลายลง สิ่งเหล่านี้ส่งผล กระทบต่อชีวติ ความเป็นอยูแ่ ละสุขภาพของมนุษย์ เกิดมลพิษสิง่ แวดล้อมท�ำให้มนุษย์มชี วี ติ อยู่อย่างยากล�ำบาก จนมนุษย์ได้ตระหนักและเริ่มเกิดจิตส�ำนึกที่จะหวลกลับคืนสู่ธรรมชาติ เกิดเป็นกระแสสู่โลกสีเขียว การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ มากขึ้น ที่เรียกว่าความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง เมื่อกล่าวถึงความหลากหลายทางชีวภาพ สิ่งที่เข้าใจคือ การมีสิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิดในที่นี้คือ species (สปีชีส์) ในทางวิชาการความหลากหลายทางชีวภาพมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ 1. ความหลากหลายเรื่องชนิด (Species diversity) 2. ความหลากหลายของพันธุกรรม (Genetic diversity) 3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ (Ecosystem diversity) ที่มีการศึกษา ได้แก่ - ความหลากหลายทางชีวภาพทางการเกษตร - ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่แห้งแล้งกึ่งชื้น - ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งป่าไม้ No.26 March 2014 Green Research 5
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ การเข้ า ถึ ง พื้ น ที่ ธ รรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ แ ละ สั ต ว์ เ ลี้ ย งในเมื อ ง เป็ น ภั ย คุ ก คามหนึ่ ง ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด เจนในชุ ม ชนเมื อ ง และเป็ น สาเหตุที่รบกวนระบบนิเวศ การบดอัดดิน (soil compaction) และวัชพืชหรือโรคภัยสู่ พืน้ ทีธ่ รรมชาติ ส่งผลต่อการสูญพันธุข์ อง สิ่งมีชีวิตในศตวรรษนี้ จากข้อมูลรายงาน ฉบับที่ 4 ของ IPCC ระบุว่าประมาณร้อยละ 20-30 ของชนิดพันธุ์พืชและสัตว์มีความ เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์สูงขึ้น หากการปลด ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยังมีอัตราเท่ากับ หรือสูงขึ้นกว่าอัตราในปัจจุบัน
- ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งภูเขา - ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลและชายฝั่ง - ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งเกาะ - ความหลากหลายทางชีวภาพของแหล่งน�้ำในแผ่นดิน
ภาพที่1. แสดงตัวอย่างระบบนิเวศน์ในธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศน์ (ที่มา: www.google.com. 2014)
ในกรณีของความหลากหลายชีวภาพในเมืองส่วนมากมักจะเป็นเรื่อง ของความหลากหลายในเรื่องชนิดของสิ่งมีชีวิต ซึ่งหมายถึง ความหลากหลาย ของชนิดสิ่งมีชีวิต (species) ที่มีอยู่ในพื้นที่หนึ่งซึ่งมีความหมายอยู่สองอย่าง คือ 1. ความมากชนิด (species richness) 2. ความสม�ำ่ เสมอของชนิด (species evenness) พื้นที่เมืองที่มีความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง หมายถึง พื้นที่ ธรรมชาติและพืน้ ทีท่ ถี่ กู สร้างขึน้ โดยพืน้ ทีเ่ หล่านีเ้ ป็นแหล่งรวมของความหลาก หลายทางชีวภาพ ซึง่ แสดงบทบาทส�ำคัญต่อคุณภาพชีวติ ในเมือง ธรรมชาติให้ บริการจากระบบนิเวศซึ่งมีผลโดยตรงต่อมนุษย์ เช่น อาหาร ยารักษาโรค อากาศบริสุทธิ์ น�้ำสะอาด เพื่อการอุปโภคบริโภครวมไปถึงวัฒนธรรม การ นันทนาการและการเป็นศูนย์เรียนรู้การศึกษา การสูญเสียความหลากลายทางชีวภาพในเมืองมีสาเหตุมาจากหลาย ปัจจัย ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้
6 Green Research No.26 March 2014
• การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ในหลายรูปแบบ พืน้ ทีด่ นิ ป่าหลากหลายชนิดตามธรรมชาติ และแหล่งน�้ำได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย แหล่งเกษตรกรรม รองรับการเพิ่ม ขึ้ น ของประชากรและเป็ น แหล่ ง อาหาร การขยายตั ว ของเมื อ งและใช้ ป ระโยชน์ ด้ า นอุตสาหกรรม การน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อสร้างความสะดวกสบายต่อการด�ำรงชีวิต การค้าและการคมนาคม เช่น ถนน การประปา ไฟฟ้า และการสันทนาการของมนุษย์ ในเมืองกิจกรรมการท่องเทีย่ ว สิง่ เหล่านีเ้ ป็นสาเหตุของการสูญเสียความหลากหลายทาง ชีวภาพ การรุกล�ำ้ ของเมืองเข้าไปในพืน้ ทีธ่ รรมชาติ ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อการด�ำรงชีวติ ของทั้งมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น การลดลงของพืชพรรณแห่งผืนป่าและสัตว์ป่าซึ่งส่ง ผลกระทบทางอ้อม โดยการสร้างมลภาวะในเมือง
1
• การเกิดมลพิษ ชุมชนเมืองและพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม เป็นสาเหตุสำ� คัญทีท่ ำ� ให้เกิด มลพิ ษ ทั้ ง การเสื่ อ มของทรั พ ยากรธรรมชาติ ด ้ า นคุ ณ ภาพและปริ ม าณ โรงงาน อุตสาหกรรม เป็นแหล่งเกิดของมลพิษทางอากาศและมลพิษทางน�้ำ การปลดปล่อย สารพิษ สารเคมีตกค้างจากพื้นที่เกษตรกรรม มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของชนิดพันธุป์ ลาและนกน�้ำ ผลกระทบต่อ แม่น�้ำและน�้ำใต้ดิน ซึ่งส่งผลต่อห่วงโซ่อาหารของสัตว์น�้ำและมนุษย์อีกด้วย
2
• ชนิดพันธุเ์ ฉพาะท้องถิน่ ถูกรุกรานจากชนิดพันธุต์ า่ งถิน่ ซึง่ ชนิดพันธุต์ า่ งถิน่ ทีถ่ กู น�ำเข้ามาในท้องถิ่นในหลายรูปแบบ มีความสามารถในการเจริญเติบโตแย่งชิงพื้นที่ของ ชนิดพันธุท์ อ้ งถิน่ จนท�ำให้ระบบนิเวศธรรมชาติดงั้ เดิมเปลีย่ นแปลงโครงสร้างและลักษณะ ทางเคมีของระบบนิเวศ รวมถึงชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น
3
• การบริโภคทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนเมืองทีฟ่ มุ่ เฟือย พฤติกรรมการบริโภค ทรัพยากรของชุมชนเมืองของประเทศก�ำลังพัฒนาอย่างฟุ่มเฟือยจะส่งผลกระทบต่อการ ขาดแคลนของทรัพยากรในอนาคตและในระดับโลก ภัยคุกคามทีส่ ำ� คัญอย่างหนึง่ ส�ำหรับ ประเทศก�ำลังพัฒนาบางประเทศ คือ การค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย • การเปลีย่ นแปลงและใช้ประโยชน์ในพืน้ ทีธ่ รรมชาติโดยขาดการวางแผนทีด่ แี ละ มีประสิทธิภาพ ท�ำให้การสร้างชุมชนเมืองเพือ่ การอยูอ่ าศัยโดยไม่คำ� นึงถึงพืน้ ทีธ่ รรมชาติ ว่าเป็นส่วนหนึ่งของแหล่งที่อยู่อาศัย เพราะขาดข้อค�ำนึงที่ว่ามนุษย์ก็เป็นส่วนหนึ่งของ ธรรมชาติ ท�ำให้เกิดการแยกส่วนของแหล่งชุมชนเมืองและพื้นที่ธรรมชาติ การรบกวน พืน้ ทีธ่ รรมชาติของมนุษย์ในเมืองเป็นภัยคุกคามและท�ำลายระบบนิเวศ การเปลีย่ นแปลง พืน้ ทีธ่ รรมชาติเพือ่ สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย เช่น การบดอัดดิน (soil compaction) การเปลีย่ นแปลง พื้นที่ที่ท�ำให้เกิดวัชพืชและโรคต่างๆ
1 2 3
http://www.alienspecies-in-thai.blogspot. com/2012_01_01_archive.html http://www.sarakadee.com/feature/2001/01/ alien_species.html http://www.maehongson.prdnorth.in.th/ btong.html
• การปรับพื้นที่ธรรมชาติเพื่อสร้างที่อยู่อาศัยของชุมชนเมือง โดยปรับเป็นพื้นที่ เป็นพืน้ ทีเ่ ปิดโล่ง เป็นการสวนทางและอาจเกิดข้อขัดแย้งเกีย่ วกับนโยบายการรักษาพืน้ ที่ ให้คงสภาพธรรมชาติ เพื่อการรักษาระบบนิเวศและสภาพธรรมชาติเพื่อการบริการของ ระบบนิเวศที่มีคุณภาพ เช่น การรักษาคุณภาพน�้ำ รักษาแหล่งที่อยู่อาศัยของพืชและ สัตว์ การป้องกันและจัดการภัยพิบัติและอุทกภัย
No.26 March 2014 Green Research 7
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก เป็นที่ประจักษ์ชัดว่ากิจกรรมของ มนุษย์มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกซึ่งประมาณว่าเป็นสาเหตุหลัก อย่างหนึง่ ทีม่ ผี ลกระทบต่อการสูญพันธุข์ องสิง่ มีชวี ติ จากข้อมูลรายงานฉบับที่ 4 ของ IPCC ระบุว่าประมาณร้อยละ 20-30 ของชนิดพันธุ์พืชและสัตว์มีความเสี่ยงต่อการ สูญพันธุ์สูงขึ้น หากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยังมีอัตราเท่ากับหรือสูงขึ้นกว่า อัตราในปัจจุบัน ทั้งนี้ในรายงานโลกทรรศน์ ฉบับที่ 3 ระบุว่า “ผู้ตัดสินใจในระดับ นโยบายจะต้องให้ความส�ำคัญกับความเชือ่ มโยงระหว่างการสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพและการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ” (chm-thai.onep.go.th/chm/city/ threat and /ass.html) • การใช้ประโยชน์ของแหล่งน�้ำ โดยเฉพาะแหล่งน�้ำจืด การเพิ่มขึ้นของ ประชากรท�ำให้แหล่งน�ำ้ จืดเสือ่ มลงทัง้ คุณภาพและปริมาณ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก สบายแก่ประชากรโดยเฉพาะในชุมชนเมือง เพือ่ การอุปโภคบริโภค และความต้องการ พลังงานทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ตามจ�ำนวนประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ การสร้างเขือ่ นส�ำหรับผลิตพลังงาน มีผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศโลก
1
2
3
ที่มา: www.google.com
1 2 3
http://www.komchadluek.net http://www.dailynew.co.th http://www.facebook.com/note.php note_id = 178056372221625
เอกสารอ้างอิง รายงานการสัมมนาวิชาการภาคพื้นเอเซีย เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง ครั้งที่ 1 : การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในเมืองอย่างยั่งยืนเพื่อการ ปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (The 1st Urban Biodiversity Regional Seminar: “Sustaining Urban Biodiversity for Climate Change Adaptation and Mitigation” ณ โรงแรมดุสิต ไอส์แลนด์ รีสอร์ท อำ�เมืองเมือง จังหวัดเชียงราย, วันที่ 18-20 ธันวาคม 2556. สำ�นักความหลากหลายทางชีวภาพ สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2556) ภัยคุกคามและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ http://chm-thai.onep.go.th/chm/city/threat and /ass.html. 2013.
8 Green Research No.26 March 2014
ต่างชาติสะดุดตางานวิจัยเด็กไทย มุ่งแก้ไขสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น ดุษฎี อุทัยยะ
น�้ำท่วมขัง กับดินที่ชื้นแฉะใต้ทางเดินยกพื้นไม้นั้น เด็กๆ ต้องขุดดิน และท�ำการทดลองจริงโดยใช้อุปกรณ์ที่เตรียมไป เพื่อเปรียบเทียบ ศึกษาคุณสมบัติของดินในจุดที่มีความลึกแตกต่างกันโดยสังเกต สี ของดิน อุณหภูมิ ความชื้น โครงสร้างของดิน ความเป็นกรด-ด่าง ซึง่ พบว่าดินจากสองจุดให้ผลทางกายภาพที่ต่างกัน งานนี้ปรากฏว่า เด็กไทยสามารถตอบค�ำถามของวิทยากรประจ�ำจุดได้ดี เช่น สาเหตุ ที่ดิน ในย่านนี้มีโพแทสเซียมและไนโตรเจนต�่ำ เพราะเป็นดินริมฝั่งอยู่ เงียบและลึกเข้าไป ผ่านทางเดินไม้แข็งแรงทอดตัวฝ่าแนว ใกล้ ท ะเลท� ำ ให้ มี เ กลื อ (โซเดี ย ม) มาก ซึ่ ง ดิ น ที่ มี ไ นโตรเจน พฤกษ์พันธุ์หน้าตาแปลกๆ ที่ยืนต้นห้อมล้อมใกล้จนสัมผัสกิ่งใบได้ โพแทสเซียม และฟอสฟอรัสต�ำ่ ย่อม หมายถึง ดินขาดสารอาหารไม่ พืน้ เบือ้ งล่างของเสาทางเดินตรึงอยูใ่ นพืน้ ชายฝัง่ สูง ขนาดเท่าผูใ้ หญ่ เหมาะแก่การเพาะปลูก ตัวโตๆ แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคที่คณะจะไต่ลงไปส�ำรวจได้ งานของ นอกจากนี้เด็กๆ ยังได้สนุกกับการทดลองเก็บตัวอย่าง นักวิทยาศาสตร์ นักเรียน และครูของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ GLOBE เริม่ เปิดฉากภาคสนามกันในเขตอุทยานแห่งชาติสริ นิ าถ โดย น�้ ำ ทะเลที่ท่วมขังอยู่ในพื้นที่ ซึ่งเป็นป่าชายเลนมาท�ำการศึกษา แบ่งเป็น 3 กลุม่ เพือ่ ศึกษาวิจยั ระบบนิเวศต่างกันไป คือ กลุม่ ป่าพรุ คุณสมบัติของน�้ำและฝึกปฏิบัติการ เรื่องสิ่งปกคลุมดินในบริเวณ ป่าชายเลน และป่าริมชายหาด โดยในส่วนของป่าชายเลน มีศูนย์ เดียวกันด้วย ทุกจุดมีนกั วิทยาศาสตร์โครงการ GLOBE ท�ำหน้าทีเ่ ป็น ศึกษาธรรมชาติอุทยานแห่งชาติทางทะเล จัวหวัดภูเก็ต เป็นพื้นที่ วิ ท ยากรหลั ก ฝึ ก ให้ เ ด็ ก ๆ ได้ ท� ำ การทดลองอย่ า งมี ทั ก ษะและ ศึกษาสามเรื่องหลัก ได้แก่ ดิน น�้ำ และสิ่งปกคลุมดิน ทุกจุดมี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คอยกระตุ้นให้ตอบค�ำถามโดยใช้การ นักวิทยาศาสตร์ของ GLOBE ประจ�ำการ ท�ำหน้าที่เป็นวิทยากรน�ำ สังเกต ประสบการณ์และความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์โลกทัง้ ระบบ (Earth ฝึกปฏิบัติการให้เด็กๆ ได้ทดลองทางวิทยาศาสตร์จากตัวอย่างของ System Science) จริง แล้วคอยกระตุ้นโดยใช้ค�ำถาม ข้อสงสัยต่างๆ เพื่อให้นักเรียน ภายหลั ง จากฝึ ก ภาคสนามทั้ ง สามจุ ด แล้ ว เด็ ก ๆ ต่ า ง รู้จักสังเกต คิด วิเคราะห์ ซึ่งเด็กๆ ก็สามารถหาค�ำตอบและอธิบาย จดบันทึกข้อมูลข้อสังเกตต่างๆ และสรุปรวบรวมน�ำเสนอผลงานใน ได้อย่างมีเหตุผล ตอนท้ายอีกด้วย ท�ำเอาผูใ้ หญ่ทที่ มุ่ เทขุดดิน ตากแดดท�ำการทดลอง ในจุดปฏิบัติการแรกที่เด็กๆ ต้องลงไปเก็บตัวอย่างดินของ มาตลอดบ่ายแอบยิ้มในความสามารถของนักวิทยาศาสตร์น้อยด้วย จริงเปรียบเทียบระหว่างดินที่อยู่ในที่โปร่งสัมผัสแสงแดดและไม่ถูก ความชื่นใจ ละอองฝนโปรยมาบางเบาก่อนจะจางหายไปเหมือนรู้ใจ นักวิทยาศาสตร์ ครูและนักเรียนกลุม่ ใหญ่จากนานาประเทศ ทีก่ ำ� ลัง มุง่ เข็มบ่ายหน้าไปยังอุทยานแห่งชาติสริ นิ าถ จังหวัดภูเก็ต เมืองทีไ่ ด้ ฉายาว่าเป็นไข่มุกเม็ดงามของไทย แต่ละกลุ่มพร้อมด้วยอุปกรณ์ หน้าตาแปลกๆ ที่มองปราดเดียวก็รู้ว่าไม่ใช่ของนักท่องเที่ยวแน่ๆ ไม่นานนักฟ้าชอุ่มเมฆก็เปิดทางให้จ้าวแห่งแสงตะวันสาดแสงแดด ยามบ่ายสว่างใสอาบทั่วอาณาบริเวณกว้าง
No.26 March 2014 Green Research 9
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ โครงการ GLOBE (Global Learning and Observations to Benefit the Environment) เป็นโครงการวิทยาศาสตร์โลกทัง้ ระบบเพือ่ สิ่งแวดล้อมโลก บริหารโดยองค์กรแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้แก่ National Oceanic and Atmospheric Administration, National Aeronautics and Space Administration , National Science Foundation ,Department of Education and State เพือ่ ให้นกั เรียน ครู และชุมชน ทั่ ว โลกสามารถพั ฒ นาศั ก ยภาพในการศึ ก ษาค้ น คว้ า เกี่ ย วกั บ สิง่ แวดล้อมในธรรมชาติดว้ ย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพือ่ ทีจ่ ะ เข้าใจความสัมพันธ์ของระบบต่างๆของโลก และตระหนักถึงสภาพ และปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อมในระดับท้องถิ่นและระดับโลกซึ่ ง มาจาก องค์ประกอบที่ส�ำคัญ คือ อากาศ น�้ำ ดิน สิ่งปกคลุมดิน/ชีววิทยา ดังนั้นจึงได้น�ำกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทาง GLOBE เข้ามาสู่ชั้น เรียนวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมให้เด็กๆ ได้ฝึกฝนการท�ำงานแบบ นักวิทยาศาสตร์มคี ณ ุ ครูเป็นพีเ่ ลีย้ งกระตุน้ ให้ลกู ศิษย์ คิดและปฏิบตั ิ อย่างมีทกั ษะ กระบวนการสามารถท�ำงานวิจยั สิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ ตนได้
น.ส.สาบารียะ อาลี โรงเรียนบ้านเจาะไอร้อง จ.นราธิวาส เล่าว่า ได้น�ำเสนอผลงานวิจัยเรื่องลักษณะทางกายภาพของล�ำน�้ำ ไอตันหยงมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างไร สาเหตุที่เลือกท�ำ หัวข้อนี้ เ พราะพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ห่ ว งใยประชาชนที่นี่ให้มีน�้ำกินน�้ำใช้ ในการเกษตรอย่างเพียงพอ งานนี้มีนักเรียนชั้น ม.1 - ม.3 ร่วมกันท�ำ 6 เดือน ศึกษาความลึก ความเร็ว และความกว้างของล�ำน�้ำ เป็นงานวิจัยที่มีคุณค่าสามารถ ใช้ประโยชน์ได้ในท้องถิ่นต่อไปจะช่วยกันรณรงค์ไม่ให้ตัดไม้ท�ำลาย ป่าเพราะป่าไม้ คือ ต้นน�้ำและความอุดม Miss Clemencia Andres ผูจ้ ดั การฝ่ายการศึกษาสิง่ แวดล้อม ชุ ม ชนของกรุ ง มาดริ ด ประเทศสเปน เผยว่ า ได้ ช มงานวิ จั ย สิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ ของเด็กไทยแล้ว รูส้ กึ ทึง่ มากเพราะท�ำได้ดจี ริงๆ แสดงถึงความเข้าใจวิทยาศาสตร์ของนักเรียน งานวิจัยที่สนใจเป็น พิเศษ คือ เรื่องดินและการหาวิธีปรับปรุงคุณภาพดิน เพื่อให้ใช้ ประโยชน์ทางการเกษตรได้ ซึง่ เป็นงานของนักเรียน จ.ยโสธร เพราะ แตกต่างจากเรื่องอื่นๆ ซึ่งเคยพบมาบ้างแล้ว ได้เห็นการท�ำงานของ เด็กไทยในโครงการ GLBOE แล้วรู้สึกว่าท�ำงานหนักและตั้งใจจริง ไทยเป็นเจ้าภาพจัดงานครั้งนี้ได้ดีมาก ท�ำให้ผู้มาร่วมประชุมรู้สึก อบอุน่ เหมือนบ้าน ชอบงานนีแ้ ละขอแสดงความยินดีกบั ประเทศไทย ในฐานะเจ้าภาพที่จัดประชุมระดับโลกได้ผลส�ำเร็จดียิ่ง
ที่นี่ยังเป็นเวทีให้เด็กไทยได้น�ำเสนอโปสเตอร์ผลงานวิจัย สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของแต่ละคน โดยใช้ความรู้ตามกระบวนการ วิทยาศาสตร์ศึกษาของ GLOBE ซึ่งบรรดานักวิทยาศาสตร์รุ่นใหญ่ และนักวิชาการจากทั่วโลกที่มาร่วมงานนี้ ต่างทึ่งในความสามารถที่ สะท้ อ นจากงานวิ จั ย ของเด็ ก ไทยจนอดไม่ ไ ด้ ต ้ อ งออกปากชม แล้ววันนี้ “นักวิทยาศาสตร์นอ้ ยของไทย” ก็กา้ วหน้าไปอีกขัน้ น.ส.จุรีพร โมรา นักเรียนโรงเรียนป่าติ้ววิทยา จ.ยโสธร เล่าว่า ดีใจ มากทีไ่ ด้นำ� ผลงานของโรงเรียน คือ การศึกษาลักษณะดินในนาข้าว เมือ่ ชนะใจผูใ้ หญ่ดว้ ยผลงานวิจยั ระดับฐานราก แม้ตอ้ งใช้เวลาหลาย ของโรงเรียนป่าติ้ววิทยามาอธิบายให้ผู้ชมชาวต่างประเทศ ซึ่งก็ได้ เดือนหรือต่อเนือ่ งแรมปี แต่ความพยายามทีเ่ ด็กไทยทุม่ เทให้กับงาน ข้อคิดเห็นน�ำไปปรับปรุงแก้ไขได้เลือกท�ำงานวิจัยหัวข้อนี้ เพราะเห็น ศึกษาวิจยั วิทยาศาสตร์สงิ่ แวดล้อมในท้องถิน่ ของตนนัน้ มาจนถึงวันนี้ ว่านาข้าวของโรงเรียนผลผลิตต�ำ ่ ข้าวลีบ รวงเล็กทัง้ ๆ ทีใ่ ช้พนั ธุข์ า้ วดี เริ่มบ่งชัดถึงความรู้และแนวทางแก้ปัญหาที่จะเชื่อมโยง กลับคืนสู่ จึงสงสัยว่าต้นเหตุต้องมาจากดิน เมื่อศึกษาวิจัยแล้วพบว่าดินขาด ชุมชนและท้องถิ่นแล้ว สารอาหารจริงๆ เพราะมีไนโตรเจน โพแทสเซียมและฟอสฟอรัสต�่ำ เลยท�ำให้คิดโครงการวิจัยต่อเนื่องแก้ปัญหานี้ คือ ผลิตปุ๋ยชีวภาพ เพื่อปรับปรุงนาข้าว ชอบที่โรงเรียนน�ำ GLBOE เข้าห้องเรียนเพราะ ได้ฝึกปฏิบัติจริงเรียนสนุกและท�ำให้คิดเป็น น.ส.สุภารักษ์ วงศ์แก้ว เพือ่ นร่วมทีมโรงเรียนเดียวกันเสริม ให้ฟังว่าปกติเรียนและปฏิบัติการตามแนว GLOBE ในนาข้าวที่ โรงเรียนอยูแ่ ล้ว แต่วนั นีส้ นุกกว่าเพราะมีเพือ่ นโรงเรียนอืน่ ร่วมท�ำการ ทดลองด้วยกัน ได้ตอบค�ำถามของวิทยากรเป็นภาษาอังกฤษและได้ ช่วยวิทยากรท�ำการทดลองเรื่องดิน โดยขุดดินทั้งสองหลุม คือ แห้ง และเปียกวัดเปรียบเทียบสีดนิ จากคูม่ อื ทดสอบความเป็นกรดเบสของ ดินสองจุดพบว่าหลุมดินซึ่งเคยมีน�้ำทะเลท่วมถึงมีความเป็นกรด มากกว่า ประทับใจและสนุกมาก 10 Green Research No.26 March 2014
เอกสารอ้างอิง ต่างชาติสะดุดตางานวิจัยเด็กไทย มุ่งแก้ไขสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น [ออนไลน์] เข้าถึงได้ http://www.oknation.net/blog/print.php?id=204627
แนวคิด CSR ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมไทยได้จริงหรือไม่?
Corporate Social Responsibility (CSR) ในปัจจุบันเป็นแนวความคิดที่บริษัทและ องค์กรธุรกิจแสดงความตระหนักถึงความรับผิดชอบและมีส ่วนร่วมทางด้านสังคมและ สิง่ แวดล้อมควบคูไ่ ปกับการดำ�เนินการทางธุรกิจบนพืน้ ฐานของความสมัครใจ แนวคิด CSR โดยส่วนใหญ่จะเน้นความรับผิดชอบของบริษัทและองค์กรธุรกิจต่อประเด็นด้านสังคม อาทิ สวัสดิภาพแรงงาน ความเท่าเทียมกัน การคุม้ ครองแรงงานเด็ก สิทธิมนุษยชน และประเด็น ด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆ นอกเหนือไปจากการมอง CSR เป็นเพียงการจัดกิจกรรมเพื่อคืนกำ�ไร แก่สังคมของบริษัทเท่านั้น
ประเด็ น ด้ า นสิ่ง แวดล้ อ มยิ่งเด่ น ชัดขึ้ นในปั จ จุ บั น ภาคองค์ ก ร ธุรกิจและหน่วยงานภาครัฐต่าง ก็เร่งส่งเสริมความตระหนักและ การมี ส่ ว นร่ ว มทางสั ง คมและ สิ่ ง แวดล้ อ มของตั ว เอง ตาม แนวคิด CSR ในการดำ�เนินธุรกิจ มากขึ้น เราจะเห็นได้จากการสื่อ โฆษณาประชาสัมพันธ์
กระแสความสนใจด้าน CSR โดยเฉพาะประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมยิ่งเด่นชัดขึ้น ในปัจจุบัน ภาคองค์กรธุรกิจและหน่วยงานภาครัฐต่างก็เร่งส่งเสริมความตระหนักและการมี ส่วนร่วมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของตัวเอง ตามแนวคิด CSR ในการดำ�เนินธุรกิจมากขึ้น เราจะเห็นได้จากการสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ในลักษณะของการสื่อสารกับผู้บริโภคในเชิง การมีส่วนร่วมในการสนับสนุน หรือแสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์ของตนเองมีส่วนช่วยลดผล กระทบด้านสิง่ แวดล้อมต่างๆ และในทุกวันนีใ้ นสือ่ โทรทัศน์ เราจะได้เห็นการโฆษณาทีห่ ลาก หลายรูปแบบ แต่มีการโฆษณาสินค้าอยู่รูปแบบหนึ่งที่เป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับตัว สินค้าหรือองค์กร ไม่ว่าจะเป็นการบริจาคเงินเพื่อเด็กด้อยโอกาส สนับสนุนทุนการศึกษา สนับสนุนการกีฬา หรืออีกรูปแบบหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันแพร่หลายในปัจจุบันนี้คือ เรื่องของ การรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อลดปัญหาโลกร้อน การปลูกป่า การสร้างชุมชนอนุรักษ์ในหมู่บ้าน ต่างๆ เป็นต้น แม้ว่าสินค้าหรือบริการนั้นจะไม่มีประโยชน์ต่อผู้บริโภคเลยก็ตาม เช่น สินค้า ประเภทแอลกอฮอล์ทกุ ชนิด บุหรีท่ กุ ยีห่ อ้ หรือแม้แต่สนิ ค้าธุรกิจทีท่ ำ�ลายสิง่ แวดล้อมก็ตาม จากการนำ�เสนอโฆษณาดังกล่าว เป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสินค้าและองค์กรขึ้นได้ มากเช่นกัน
No.26 March 2014 Green Research 11
เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ ความหมายอีกประการ คือ ลักษณะการดำ�เนินกิจการใน รูปแบบนี้จะเน้นหนักในการสื่อสารว่าบริษัทหรือองค์กรนั้นๆ จะมี การดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและการกำ�กับที่ดีควบคู่ไปกับ การใส่ใจและดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมเพือ่ นำ�ไปสูก่ ารพัฒนาธุรกิจอย่าง ยั่งยืน (คณะกรรมการการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ กลต.) ตามความหมายตามทีก่ ล่าวมานัน้ เราจะสังเกตเห็นได้วา่ บริษัทต่างๆ ก็พยายามมุ่งเน้นเพื่อแสดงให้ผู้ถือหุ้นหรือผู้สนใจลงทุน ในธุรกิจได้มีความเชื่อมั่นว่าภาพลักษณ์ขององค์กรหรือบริษัทนัน้ มี ความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น จากที่กล่าวมาแล้วว่าการดำ�เนินกิจกรรมดังกล่าวของ องค์กรนั้นทำ�ให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีของสินค้าและองค์กร แต่บางที ผูบ้ ริโภคอย่างเราๆ ก็หลงใหลไปกับสิง่ ทีเ่ ห็นทางหน้าจอ โดยไม่ได้คำ�นึง ถึงองค์ประกอบอืน่ ๆ ด้วยว่า สินค้านัน้ มีประโยชน์มโี ทษอย่างไร ทำ�ลาย สิ่งแวดล้อมหรือไม่ เพราะองค์กรหลายแห่งในปัจจุบัน ได้นำ� CSR มาเป็นประเด็นและพยายามสือ่ สารทางการตลาดหรือมีลกั ษณะเป็น รูปแบบในการกีดกันการแข่งขันทางการค้า จนทำ�ให้ CSR กลาย เป็นเครื่องมือทางธุรกิจที่สนองประโยชน์ต่อองค์กร แทนที่จะเป็น กิจกรรมที่ให้ประโยชน์ต่อสังคม ในวงการภาคธุรกิจทุกวันนี้จึงมีทั้ง CSR แท้ และ CSR เทียม ดังจะเห็นได้วา่ เมือ่ การประชาสัมพันธ์หรือ การให้การสนับสนุนต่างๆ ในด้านสิ่งแวดล้อมสิ้นสุดลงในช่วงระยะ เวลาหนึ่ง หรือเรียกง่ายๆ ว่าตามงบการตลาดที่วางเอาไว้ โครงการ หรือการสนับสนุนในรูปแบบดังกล่าวส่วนใหญ่ก็มักจะหยุดลงไปด้วย เนือ่ งจากขาดการสนับสนุนอย่างต่อเนือ่ ง ทำ�ให้โครงการหยุดชะงักลง การที่เราจำ�แนกว่ากิจการใดเป็น CSR แท้ หรือ เทียม ให้ พิจารณาถึงประโยชน์ของกิจกรรมที่ได้รับว่าตกอยู่กับสังคมหรือ องค์กรมากกว่ากัน และควรจะสนับสนุนกิจกรรมนี้หรือไม่ เพียงใด และอีกประการหนึ่ง CSR ที่แท้นั้น จะต้องเกิดขึ้นจากความสมัครใจ ยินดีในการดำ�เนินกิจกรรมนั้นด้วยตนเอง มิใช่เกิดจากความจำ�เป็น ที่จะต้องปฏิบัติตามหน้าที่ ตามระเบียบข้อบังคับทางกฏหมาย ตาม จารีตหรือบรรทัดฐานของสังคมนั้นๆ กิจกรรมใดที่ต้องเป็นไปตาม หน้าที่ (duty) ตามกฏหมาย (law) หรือตามมาตรฐาน (standard) กิจกรรมนั้นไม่ถือว่าเป็น CSR แท้ ดังนั้นการที่จะบอกว่า CSR อันไหนแท้อันไหนเทียม และ แนวคิด CSR ช่วยแก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อมไทยได้จริงหรือไม่ นัน้ ไม่มสี งิ่ ใดมาวัดได้ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้บริโภคเองว่าสิ่งที่ได้รับจาก การทีเ่ ราใช้สนิ ค้าหรือบริการนัน้ ๆ สามารถช่วยแก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อม ไทยได้จริงหรือไม่
12 Green Research No.26 March 2014
เอกสารอ้างอิง สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (CSRi) และ โสภณ พรโชคชัย. CSR ช่วยแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อมไม่ได้. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่ : www.prachatai.com. CSR คือ ? ความหมายของ CSR “Corporate Social Responsibility (CSR). [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่ : www.csrcom.com. สาระดีด.ี คอม. CSR กับองค์กรในประเทศไทย (Corporate Social Responsibility in Thai Companies. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่ : ww.sara-dd.com.
ติดตามเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังโรคเหตุสิ่งแวดล้อม นฤมล ศิลารักษ์
ปั จ จุ บั น ความเป็ น อยู ่ ข องมนุ ษ ย์ มี โ อกาสที่ จ ะสั ม ผั ส สารต่ า งๆ ที่ อ ยู ่ ใ น สิง่ แวดล้อมมากขึน้ ซึง่ มีผลกระทบต่อสุขภาพโรคต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ อาจเป็นผลมาจากการ ปนเปือ้ นในบรรยากาศ น�ำ ้ และดิน จากสารเคมีตา่ งๆ หรือกากของเสียจากอุตสาหกรรม ในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังทางด้านสิ่งแวดล้อมนั้น ต้องพิจารณาถึงปัจจัยหลายอย่าง เช่น ในสภาพแวดล้อมนั้นมีการปนเปื้อนของสารเคมีหรือไม่ และจ�ำนวนของการเจ็บ ป่วย การเฝ้าระวังจะต้องพิจารณาถึงการสัมผัสสาร ทิศทางที่ได้รับสารนั้น ขนาดของ ปัญหาที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านสุขภาพ และทางด้านสิ่ง แวดล้อม ในบทนีจ้ ะกล่าวถึงการเฝ้าระวังทางด้านเวชศาสตร์สงิ่ แวดล้อมในแง่มมุ ต่างๆ นิยาม
การเฝ้ า ระวั ง ทางวิ ท ยาการระบาด หมายถึง กิจกรรมทีด่ �ำ เนินการอย่าง เป็นระบบและต่อเนือ่ งอย่างสม่�ำ เสมอ ในการเก็ บ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บโรคภั ย ไข้ เ จ็ บ ตลอดจนองค์ ป ระกอบที่ มี อิทธิพลต่อสุขภาพอนามัย มีการ วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล และกระจายข้ อ มู ล ข่าวสารเพื่อนำ�ไปใช้ในการวางแผน และการให้บริการสาธารณสุข
การเฝ้าระวังโรค (disease surveillance) ตามค�ำนิยามของศูนย์ควบคุมและ ป้องกันโรคแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา หมายถึง กระบวนการซึง่ ประกอบด้วยการรวบรวม วิเคราะห์และตีความข้อมูลด้านสุขภาพ เพื่อน�ำไปวางแผนประยุกต์ใช้และประเมิน โครงการและการด�ำเนินการด้านสาธารณสุข การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด หมายถึง กิจกรรมที่ด�ำเนินการอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่องอย่างสม�่ำเสมอ ในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บตลอดจน องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพอนามัย มีการวิเคราะห์ข้อมูลและกระจายข้อมูล ข่าวสารเพือ่ น�ำไปใช้ในการวางแผนและการให้บริการสาธารณสุข ส�ำหรับข้อมูลการเฝ้า ระวังโรคจากการประกอบอาชีพจะช่วยบอกถึงการกระจายของการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บ จากการประกอบอาชีพรวมทัง้ องค์ประกอบทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการเกิดโรคและการเปลีย่ นแปลง นั้นๆ ในเชิงปฏิบัติ การเฝ้าระวังโรคมีส่วนช่วยในการลดอุบัติการของการเกิดโรค ช่วย ในการป้องกันโรคก่อนที่จะมีโรคเกิดขึ้น และการตรวจคัดกรองโรคช่วยในการลดความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคและการค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มแรกของโรค
No.26 March 2014 Green Research 13
ติดตามเฝ้าระวัง การเฝ้ า ระวั ง ทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม (environmental surveillance) เป็นกิจกรรมการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีระบบวิเคราะห์ข้อมูล แปลผล และการกระจายข้อมูลข่าวสารให้ผู้ เกี่ยวข้องทราบ เพื่อน�ำไปสู่การควบคุมป้องกันโรคต่อไป อาจกล่าว ได้วา่ การเฝ้าระวังครอบคลุมถึงการเก็บข้อมูลทีไ่ ด้จากการตรวจติดตาม ทางด้านสิ่งแวดล้อม (environmental monitoring) หรือด้านชีวภาพ (biological monitoring) รวมทั้งผลที่ได้จากการส�ำรวจ และการตรวจ คัดกรองด้วย การตรวจติดตาม (monitoring) เป็นกิจกรรมการติดตามผล หลังมีการด�ำเนินการหรือขณะทีม่ กี ารด�ำเนินการ รวมถึงการวิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และทั้งการบริหารจัดการ การติดตาม การด�ำเนินงานเพือ่ ให้เป็นไปตามแนวทีก่ ำ� หนดไว้ในบางกรณีจะกล่าว ย่อลงไปถึงการตรวจคัดกรองทางการแพทย์ (medical screening) และ ทางชีววิทยา (biological screening) การควบคุมก�ำกับ (monitoring trends) การเฝ้าระวังด้าน สิ่งแวดล้อมในชุมชนสามารถน�ำข้อมูลมาใช้ในการควบคุมก�ำกับ ประวัตกิ ารสัมผัสกับสิง่ คุกคามในชุมชน ทัง้ นีก้ ารด�ำเนินการเฝ้าระวัง นัน้ ขึน้ อยูก่ บั ความแตกต่างของประเภทของกลุม่ อุตสาหกรรม ความ แตกต่างของพื้นที่และระยะเวลา การส�ำรวจ (survey) เป็นกิจกรรมค้นหาข้อมูลอย่างเป็น ระบบจากประชากรทีเ่ กีย่ วข้อง การส�ำรวจมีการเริม่ ต้นและจบลงเป็น งานๆ ไม่ต่อเนื่องเหมือนการเฝ้าระวัง การตรวจคัดกรอง (screening) เป็นการตรวจเพื่อคัดผู้ที่มี ความผิดปรกติที่มีสภาพภายนอกเหมือนคนปรกติ โดยใช้เครื่องมือ ทดสอบหรือการตรวจพิเศษ การตรวจระบุผปู้ ว่ ย (identifying cases) วัตถุประสงค์ของ การตรวจระบุผู้ป่วยในชุมชน เพื่อที่จะได้น�ำผลมาใช้ในการควบคุม ป้องกันโรค โดยทั่วไปการค้นหาผู้ป่วยมี 2 วิธีด้วยกัน คือ การตรวจ คัดกรองทางการแพทย์ (medical screening) และดูจากบันทึกรายงาน ของการบริการสาธารณสุข (health care provider reporting) วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังทางด้านวิทยาการระบาดสิง่ แวดล้อม การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดมีความมุ่งหมายที่จะ ทราบถึงแนวโน้มของการเกิดโรค เพือ่ ทีจ่ ะได้นำ� ไปสูก่ ารสอบสวนโรค และการหาแนวทางการควบคุมและป้องกันมิให้เกิดโรคต่อไป ซึ่งจะ ช่วยให้ทราบถึงลักษณะการด�ำเนินของโรค (natural history of disease) ลักษณะทางวิทยาการระบาดของโรค นอกจากนี้ระบบการ 14 Green Research No.26 March 2014
เฝ้าระวังโรคยังช่วยในการประเมินผลการควบคุมและป้องกันโรค ที่ ได้ดำ� เนินการไปแล้ว และยังช่วยให้ทราบถึงประชากรกลุม่ เสีย่ ง หรือ ช่วยให้ทราบถึงสารที่ก่อให้เกิดโรคซึ่งจะได้หลีกเลี่ยงจากการสัมผัส กับสารนั้น อย่างไรก็ตาม การที่ร่างกายได้รับสารเคมีในปริมาณที่ มากผิ ด ปรกติ แ ม้ จ ะเป็ น ครั้ ง คราว เชื่ อ ว่ า อาจจะมี ผ ลต่ อ การ เปลี่ยนแปลงทางชีวภาพสามารถตรวจระบุได้ทางห้องปฏิบัติการ ชีววิทยา (biomarker) ซึ่งถือว่าเป็นการเฝ้าระวังโรคเช่นกัน การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดยังช่วยในการค้นหาโรค ในระยะเริม่ แรก การรวบรวมข้อมูลของสารเคมีอนั ตราย รวมทัง้ กาก ของเสียจะช่วยให้ทราบว่า ผลกระทบต่อสุขภาพน่าจะท�ำอย่างไร จึงจะช่วยในการป้องกันล่วงหน้าได้ การด�ำเนินการเฝ้าระวังอาจจะ เริ่มด�ำเนินการในรายที่มีการสัมผัสกับสารเคมีหรือหลังจากนั้น เช่น เหตุการณ์ของระเบิดนิวเคลียร์ที่เมืองฮิโรชิมา และเมืองนางาซากิ ประเทศญีป่ นุ่ ได้มกี ารด�ำเนินการท�ำการเฝ้าระวังทัว่ ทัง้ เมือง เพือ่ ทีจ่ ะ ให้ทราบถึงภาวะการบาดเจ็บและการเสียชีวิตในระยะที่มีการระเบิด และผลกระทบที่ตามมาจากการที่ประชาชนได้รับสารรังสีจากการ ระเบิดครั้งนี้
นอกจากนี้ การเฝ้าระวังในกลุ่มที่ได้รับการสัมผัสกับสาร เคมี การได้รับความรู้เกี่ยวกับชีวิต ความเป็นอยู่ และพฤติกรรมที่ สามารถลดความเสี่ยงของการสัมผัสสารเคมีได้ อาจกล่าวได้ว่าการ เฝ้าระวังสุขภาพและการเฝ้าระวังสารอันตรายนัน้ มีความส�ำคัญ เช่น เดียวกัน ซึง่ อาจจะเกีย่ วข้องตัง้ แต่การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล ชนิด ปริมาณ และระยะเวลาของการได้รับสารนั้นๆ
อย่างไร ต้องค�ำนึงถึงขนาดของประชากร ในการศึกษา (sample size) ต้องมากพอเพื่อสามารถค้นหาปัญหานั้นๆ
การค้นหาผูป้ ว่ ยโรคเหตุสงิ่ แวดล้อม โดยทัว่ ไปอาจท�ำได้โดย การตรวจคัดกรองผูป้ ว่ ย (screening program) ในสถานประกอบการ หรือในชุมชน ซึง่ อาจเป็นการตรวจร่างกายครัง้ แรกทีพ่ บผูป้ ว่ ย ตรวจ ร่างกายเป็นระยะ หรือการส�ำรวจสุขภาพโดยหน่วยบริการสาธารณสุข การเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมช่วยกระตุ้นให้สังคมให้ความ เช่น การส�ำรวจโรงงาน การส�ำรวจชุมชนและตรวจสุขภาพประชาชน สนใจในปัญหาสิง่ แวดล้อมมากขึน้ เช่น เหตุการณ์ของ “Love Canal” ที่เสี่ยงต่อโรคซิลิโคสิส หรือพิษตะกั่ว โดยส�ำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ในเมืองนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา และเหตุการณ์ทเี่ มือง Bhopal เป็นต้น ประเทศอินเดีย เป็นตัวอย่างที่ดีของการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม การ การค้นหาผูป้ ว่ ยยังอาจท�ำได้จากการทีผ่ ปู้ ว่ ยมาพบแพทย์ที่ สัมผัสกับสารเคมี พบว่าในสิ่งแวดล้อมน�ำไปเปรียบเทียบกับการ สถานพยาบาล และแพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็นโรคเกี่ยวเนื่องจาก สัมผัสของสารเคมีในทางอาชีวอนามัย จะพบว่าระดับความเข้มของ สิง่ แวดล้อม ซึง่ การตรวจพบผูป้ ว่ ยด้วยวิธใี ดก็ตามแล้วมีการรายงาน สารนัน้ แตกต่างกัน คือ ถ้าเป็นแง่ของอาชีวอนามัยนัน้ จะมีหน่วยเป็น และจัดระบบประมวลข้อมูลจากสถานพยาบาลหลายๆ แห่งเข้าสู่ ส่วนในล้าน (parts per million) แต่ขณะทีแ่ ง่ของสิง่ แวดล้อมจะมีหน่วย ศูนย์กลางรวบรวมข้อมูล เช่น เมือ่ มีการพบผูป้ ว่ ยภายในจังหวัดก็จะ เป็นส่วนในพันล้าน (parts per billion) นั่นคือ การสัมผัสกับสารเคมี มีระบบรายงานเข้าสู่ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อการประมวล ในสิ่งแวดล้อมทั่วไปจะมีระดับความเข้มน้อยกว่าการสัมผัสกับสาร และวิเคราะห์แปลผล จากนั้นก็จะน�ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน เคมี ในกรณีของอาชีวอนามัย 1,0000 เท่า ดังนัน้ หากต้องการศึกษา และน�ำไปสูก่ ารส�ำรวจชุมชนเพือ่ หามาตรการป้องกันมิให้มผี ปู้ ว่ ยเพิม่ ผลกระทบของสารเคมีตา่ งๆ ว่ามีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ขึ้น
เอกสารอ้างอิง ระบบการเฝ้าระวังโรคจากสิ่งแวดล้อม [ออนไลน์] เข้าถึงได้ http://www.envocc.org/Budget56/presentkan/02.enk2.pdf การเฝ้าระวังโรคเหตุสิ่งแวดล้อม [ออนไลน์] เข้าถึงได้ http:http://www.healthcarethai.com/การเฝ้าระวังโรคเหตุสิ่งแวดล้อม
No.26 March 2014 Green Research 15
ติดตามเฝ้าระวัง การสำ�รวจการปนเปื้อนของสารพิษที่มากับน้ำ�มันรั่วในอ่าวไทย
ประเด็นความเป็นห่วงปัญหาสิ่งแวดล้อม จากการปนเปื้อนของ สารพิษที่มากับน้ำ�มันรั่วในอ่าวไทยเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการรั่วไหลของ น้ำ�มันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมายหลายด้าน หน่วยงานต่างๆ ที่ รับผิดชอบจำ�เป็นต้องติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ�ทะเลและชายฝั่ง รวม ถึงสารพิษชนิดต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ในแต่ละวัน จะมีการเก็บตัวอย่างน้ำ�ไปตรวจสอบสารปิโตรเลียมไฮไดรคาร์บอน โลหะ หนัก สารก่อมะเร็งโพลีอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) โดยจุดที่เก็บ ตัวอย่าง ได้แก่ แหลมน้อยหน่า กลางช่องปลายตีน ปากคลองแกรง กลาง ช่องเสม็ด-บ้านเพ และอ่าวกิ่วหน้านอก ซึ่งเป็นจุดอ้างอิง เพราะห่างจาก พืน้ ทีอ่ า่ วพร้าวและน้ำ�มันอาจจะกระจายไปถึงพืน้ ทีซ่ งึ่ พบมีฟลิ ม์ บางๆ ลอย อยู่ โดยผลการตรวจสอบสารปนเปื้อนต้องใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์
การสำ�รวจติดตามผลระยะยาวเป็นระยะเวลา อย่ า งน้ อ ย 3 ปี หรื อ กรณี น้ำ � มั น รั่ วในต่ า ง ประเทศนั้นการติดตามต้องดำ�เนินการเป็นระยะ เวลา 3-5 ปี ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำ�มันที่รั่ว
16 Green Research No.26 March 2014
นอกจากนีผ้ ลกระทบต่อระบบนิเวศทีส่ ำ�รวจพบหลายด้าน ทีเ่ ห็น ได้ชัด คือ คราบน้ำ�มันที่ติดบริเวณชายหาด เมื่อเกาะติดอยู่นานจะส่งผล กระทบกับสัตว์น้ำ�ประเภทหอยเป็นอันดับแรกที่ต้องเร่งให้มีการฟื้นฟู ส่วน คุณภาพของน้ำ�หากภายใน 1 สัปดาห์ ยังไม่สามารถกลับคืนสูส่ ภาพเดิมได้ สัตว์น้ำ�อย่าง ปู ปลา และกุง้ จะได้รบั ผลกระทบตามมาเป็นลำ�ดับ เพราะ การขาดออกซิเจน ส่วนปะการังที่ต้องการแสงในการเจริญเติบโต เมื่อน้ำ� มีสีดำ�ปกคลุมก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน สารเคมีทอี่ ยูใ่ นน้ำ�มันจะส่งผลให้สตั ว์ทะเลเจริญเติบโตช้าลง และ เป็นหมัน ซึง่ ต้องมีการสำ�รวจติดตามผลระยะยาวเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 ปี หรือกรณีน้ำ�มันรั่วในต่างประเทศนั้นการติดตามต้องดำ�เนินการเป็น ระยะเวลา 3-5 ปี ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำ�มันที่รั่ว ส่วนในบริเวณอ่าวไทย ระบบนิเวศจะกลับมาฟื้นตัวได้เหมือนเดิมหรือไม่นั้น ต้องมีการติดตาม
เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องและต้องใช้เวลาในการฟื้นตัว ส่วนการสำ�รวจ และการติดตามผลกระทบนั้นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบ ยังต้อง มีการดำ�เนินการอยู่ตลอดเวลาแม้ไม่มีน้ำ�มันแล้วก็ตาม จากที่กล่าวมาข้างต้น จากการที่หน่วยงานต่างๆ ได้เริ่มมี การสำ�รวจสารพิษและปริมาณตกค้าง จากน้ำ�มันรั่วในอ่าวไทยนั้น จะพบสารพิษตกค้างชนิดต่างๆ ที่พอจะอธิบายได้ เช่น ในน้ำ�มัน ดิบทีร่ วั่ ไหลมีสารโพลีอะโรมาติคาร์บอนบางชนิดทีก่ อ่ มะเร็งในมนุษย์ รวมถึงสารไฮโดรคาร์บอนที่ถึงแม้จะมีปริมาณไม่สูง แต่เมื่อมีการสะ สมเรื่อยๆ จะทำ�ให้ก่อมะเร็งด้วย ซึ่งจะอยู่ในน้ำ�มันที่รั่วไหล และมี สารโลหะหนักบางชนิดทีเ่ คลือ่ นย้ายได้ในห่วงโซ่อาหาร ห่วงโซ่สดุ ท้าย คือ มนุษย์ ปลาตัวเล็กกินสัตว์หน้าดินที่ได้รับสารพิษจากน้ำ�มันที่ ละลายน้ำ� ปลาใหญ่กนิ ปลาเล็ก เมือ่ ย่อยสลายไม่ได้จะสะสมเพิม่ ฤทธิ์ มากขึน้ คนกินปลาเป็นการสะสมสารพิษผ่านห่วงโซ่อาหาร สุดท้าย คนจะได้รับพิษสูงสุด นอกจากนี้สารเคมีที่บริษัทผู้กำ�จัดยังไม่มีการ เปิดเผย ซึง่ คาดว่าเป็นคลอรีน 10 ทีม่ พี ษิ กว่าน้ำ�มันถึง 52 เท่า ขณะ เดียวกันจะมีสารตกค้างประมาณร้อยละ 30 ของน้ำ�มันที่รั่วทั้งหมด ที่จะอยู่ในดิน แนวปะการัง พืชน้ำ� สัตว์น้ำ� โดยเฉพาะกุ้ง รวมถึง พืน้ ทีว่ างไข่ของสัตว์น้ำ�ตลอดจนป่าโกงกางทีร่ ากจะไม่สามารถหายใจ ได้ตามระบบปกติอีกด้วย สารพิษที่กล่าวนั้นเป็นเพียงตัวอย่างหลักที่หน่วยงานผู้รับ ผิดชอบต่างๆ สำ�รวจพบ แต่ในปัจจุบนั สือ่ ประชาสัมพันธ์ทอี่ อกมาส่วน ใหญ่กับภาพการนำ�เสนอที่ดูเหมือนไม่มีอันตรายจากกรณีน้ำ�มันรั่ว ในอ่าวไทย ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วไม่อยากให้รัฐบอกว่าตอนนี้ สถานการณ์ดา้ นสิง่ แวดล้อมและผลกระทบจากสารพิษตกค้างปลอดภัย แล้ว เพราะว่าปลาและหอย รวมถึงสัตว์นำ�้ ชนิดต่างๆ ทีเ่ ราบริโภคนัน้ หากโดนน้ำ�มันเคลือบตัวแล้วตับของสัตว์น้ำ�ก็จะถูกทำ�ลายอย่าง รวดเร็ว ยกตัวอย่างน้ำ�มันรัว่ ทีป่ ระเทศเม็กซิโก ปัจจุบนั สัตว์น้ำ�เกิดมา ใหม่ก็มีความผิดปกติมีสารหลายตัวติดค้าง คราบน้ำ�มัน และสารที่ ฉีดพ่นทีก่ อ่ มะเร็ง และมีสารปรอทปนปนเปือ้ นอยูใ่ นการสำ�รวจล่าสุด หลังจากนี้ หน่วยงานของรัฐยังจำ�เป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการ ติดตามผลอย่างใกล้ชดิ ในการตรวจสารพิษตกค้างในสัตว์นำ� ้ พืชน้ำ� และคุณภาพน้ำ�อย่างสม่ำ�เสมอ ให้มคี วามปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภคสูงสุด ตลอดจนชาวบ้านทีเ่ ลีย้ งสัตว์นำ�้ ก็ตอ้ งเฝ้าระวังอย่างใกล้ชดิ ด้วยเช่นกัน
ภาพจากเว็บไซต์ คมชัดลึก
เอกสารอ้างอิง จับตาสารพิษตกค้าง “ทะเลเสม็ด”. ไทยโพสต์. Momypedia. น้ำ�มันดิบรัว่ ไหล คราบน้ำ�มันในทะเล อันตรายต่อสุขภาพ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ท่ี : http://www.momypedia.com ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ น้ำ�มันดิบรั่วทะเลระยอง สู่กรณีศึกษาอ่าวเม็กซิโก พบสารก่อมะเร็งในสัตว์ทะเลเพิ่ม 10 เท่า. สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส Thai PBS. นักชีววิทยา หวั่นสารเคมีตกค้าง หลังขจัดคราบน้ำ�มันในทะเล.
No.26 March 2014 Green Research 17
ก้าวหน้าพัฒนา บทบาท AEC ต้องไม่ละเลยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Creative H.N.INNOVATION Team.
ประเทศไทยเป็นสมาชิกชาติแรกๆ ที่เข้าร่วมก่อตั้งอาเซียน ขึ้นมา อาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสันติภาพใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนำ�มาซึ่งเสถียรภาพทางการ เมือง และความเจริญก้าวหน้าทางทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม โดยการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community:AC) ที่ประกอบด้วย 3 เสาหลัก อันได้แก่ ประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community – ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) ประชาคมสั ง คม-วั ฒ นธรรมอาเซี ย น (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)
และภาคอุตสาหกรรมต้องติดตามและเตรียมตั้งรับ เพราะ AEC คือ ตลาดขนาดใหญ่ที่มีประชากรรวมกว่า 600 ล้านคน มีจำ�นวน แรงงานมากกว่า 310 ล้านคน มีพื้นที่เพาะปลูกรวม 429 ล้านไร่ ซึ่งดูจะเป็นโอกาสที่ยิ่งใหญ่ แต่การเติบโตทั้งด้านการใช้พลังงานของ ประเทศในกลุ่ม AEC จะมีสถิติสูงขึ้นเรื่อยๆ ไม่ต่างจากปริมาณการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในปัจจุบนั การปล่อยก๊าซเรือนกระจก สิ่งแวดล้อม และการเติบโตทางเศรษฐกิจได้กลายเป็นเรื่องเดียวกัน ดังนั้นประเทศในกลุ่ม AEC จึงจำ�เป็นที่ต้องร่วมมือกันสร้างความ สมดุลระหว่างการเติบโตของเศรษฐกิจไปพร้อมๆ กับการดูแลเรื่อง ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
หากมองให้ลึกลงไปประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเป้า หมายหลักทางด้านเศรษฐกิจที่สำ�คัญในการขับเคลื่อนให้เกิดความ ร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียนมากที่สุด มีองค์ประกอบสำ�คัญ คือ การเป็นตลาดและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน โดยมุ่งสร้างความเท่า เทียมในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศอาเซียน ซึ่งปัจจัย หลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภูมิภาค คือ ความร่วมมือด้าน พลังงาน อย่างไรก็ตามการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนไม่ใช่หนทางหรือ โอกาสทางเศรษฐกิจเท่านัน้ หากแต่ยงั มีความท้าทายอืน่ โดยเฉพาะ เรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความสำ�คัญมากในภาคธุรกิจ
AEC มีความจำ�เป็นทีจ่ ะต้องคำ�นึงถึงประเด็นในหลายๆ มิติ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมด้วย เพราะประเทศในกลุ่ม สมาชิกแต่ละประเทศต่างมีโครงสร้างทางเศรษฐกิจและทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทีไ่ ม่เหมือนกัน และแตกต่างกันอยูพ่ อสมควร ไม่ว่าจะเป็นความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ความ หลากหลายทางระบบนิเวศ ความเข้มงวดและความยืดหยุน่ ของนโยบาย และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมการจัด การของหน่วยงานรัฐทีร่ บั ผิดชอบแตกต่างกัน รูปแบบการค้าทีป่ ระเทศ สมาชิกจะนำ�เข้าหรือส่งออกสุทธิทรัพยากรธรรมชาติและสินค้าอื่นๆ ทีม่ ผี ลต่อสิง่ แวดล้อม การนำ�เทคโนโลยีการผลิตมาใช้ความเข้มข้นใน
18 Green Research No.26 March 2014
การใช้ปัจจัยการผลิตจำ�นวนมหาศาลและความสามารถในการใช้ ทรัพยากรทดแทนกันได้ของปัจจัยทีน่ ำ�ไปใช้ในการผลิตต่างๆ พฤติกรรม การบริโภคของประชาชน อีกทัง้ ทัศนคติและความเข้าใจของประชาชน ในประเทศทีม่ ตี อ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมและประเด็นอืน่ ๆ อีกมากมาย จากที่กล่าวนั้นเป็นเพียงตัวอย่างบางส่วนของปัจจัยสำ�คัญ บางประการที ่ อ าจทำ�ให้ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจั ด ตั ้ ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเกิดความแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สมาชิก เพราะโดยหลักการแล้วเราจะต้องนำ�เอาต้นทุนทางทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเข้ามาคิดคำ�นวณเป็นส่วนหนึง่ ของผลกระทบ ทางเศรษฐกิ จ จากการจั ด ตั้ ง ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นด้ ว ย เสมอนั่ น ก็ คื อ ผลกระทบต่ อ กรี น จี ดี พี (Green GDP) หรื อ ผล ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหักด้วยต้นทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งผลกระทบต่อสวัสดิการความเป็นอยู่ของ ประชาชน ความยากจนการกระจายรายได้และเพือ่ ให้เห็นภาพชัดเจน
เราอาจยกตัวอย่าง เช่น กรณีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (พม่า) ซึ่งอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติจำ�นวนมากมาย ทัง้ ทีย่ งั ไม่นำ�มาใช้และเปิดให้เอกชนจากต่างประเทศเข้ามาทำ�ประโยชน์ ทัง้ ดิน ป่าไม้ อัญมณี น้ำ�มัน และก๊าซธรรมชาติ ยังไม่รวมทรัพยากร แร่ในดินชนิดอื่นๆ ที่พบมากในประเทศ หากแต่การจัดตั้งประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนจะส่งผลกระตุน้ ให้ประเทศพม่ามุง่ เน้นทีจ่ ะใช้ความ ได้เปรียบจากความมั่งคั่งเหล่านี้ เป็นความเชี่ยวชาญหลักในการ แข่งขันทางการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ปัจจุบันเราจะดูได้ จากการทีพ่ ม่าได้มกี ารเปิดรับการลงทุนจากต่างประเทศในช่วง 1-2 ปี ทีผ่ า่ นมาเป็นจำ�นวนมหาศาลอย่างทีไ่ ม่เคยมีในประวัตศิ าสตร์มาก่อน และหากพม่าไม่มีมาตรการควบคุมดูแลการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ความกังวลในด้านการเกิดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม เราก็สามารถคาดการณ์ได้ว่าอัตราการเก็บเกี่ยวผล ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศพม่าจะสูงขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งอาจจะมากกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นตามปกติของทรัพยากร ธรรมชาติ หากมองย้ อ ยกลั บ มาที่ ป ระเทศไทยในช่ ว งบุ ก เบิ ก อุตสาหกรรมที่เราผ่านมาก็แสดงให้เห็นถึงการใช้ทรัพยากรอย่าง มากมายมหาศาล จนนำ�มาซึ่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมต่อเนื่อง มาจนถึงในปัจจุบัน เมื่อเป็นเช่นนี้ทรัพยากรธรรมชาติจะร่อยหรอลงไปอย่าง รวดเร็ว ผลประโยชน์ที่ประเทศพม่าจะได้รับจากการเปิดการค้าและ การลงทุนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนย่อมจะเป็นเพียงระยะ สั้น เท่า นั้น หรือกรณีการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว ส่งผลกระตุ้นให้พืชพันธุ์ธัญญาหารมีราคาที่ดีขึ้นกว่าเดิม เกษตรกร และผู้ผลิตสินค้าเกษตร เพื่อการส่งออกย่อมจะทำ�การปรับเปลี่ยน ที่ ดิ น เพื่อ ขยายการเพาะปลู กพื ชที่ ให้ ผลตอบแทนสูงมากยิ่งขึ้น ประเทศที่มีเนื้อที่ในการเพาะปลูกที่จำ�กัด เช่น ฟิลิปปินส์ ก็อาจจะ ถางป่าเพือ่ ทำ�การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจนี้ การใช้เทคโนโลยีการผลิต ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อีกทั้งปัจจัยแรงงานและทุนก็จะมีการ โยกย้ายมาจากภาคส่วนอืน่ ๆ ในกรณีนหี้ ากเกษตรกรและผูผ้ ลิตสินค้า เกษตรต่างสามารถเข้าใช้ผนื ป่าได้อย่างเปิดกว้างเสรี (Open Access) หรือไม่มีมาตรการดูแลการขยายพื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ แล้ว ในระยะยาวฟิลิปปินส์จะสูญเสียป่าไม้และดินอันอุดมสมบูรณ์ มากกว่าผลประโยชน์ที่จะได้รับ
No.26 March 2014 Green Research 19
ก้าวหน้าพัฒนา นอกจากนี้ ยังชี้ให้เห็นว่าผลกระทบดังกล่าวของประเทศ หากมองกรณีการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่จะ ส่งผลกระตุ้นให้ปัจจัยการผลิตต่างๆ เช่น เทคโนโลยีแรงงานและทุน สมาชิกต่างๆ สามารถเข้ามาควบคุมดูแลได้อย่างใกล้ชิด ถ้าหาก สามารถเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศสมาชิกได้อย่างเสรี และรวดเร็ว มีการประยุกต์ใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อประกอบขึ้นมา มากยิ่งขึ้น เราก็สามารถคาดการณ์ได้ว่าการขยายตัวของปัจจัยการ เป็นนโยบายและมาตรการบังคับของรัฐ หรือการขอความร่วมมือที่ ผลิตที่ใช้อย่างเข้มข้นในอุตสาหกรรมการผลิตหนึ่งๆ ย่อมจะกระตุ้น เหมาะสม ซึง่ ไม่เพียงแต่การควบคุมและกำ�กับโดยการออกกฎหมาย ให้การผลิตของอุตสาหกรรมนั้นๆ มีการเติบโตมากยิ่งขึ้น หาก บังคับหรือการกำ�หนดให้ปล่อยมลพิษในระดับเกณฑ์มาตรฐานแล้ว อุตสาหกรรมนั้นเป็นกิจกรรมการผลิตที่สร้างผลกระทบทางลบต่อ เรายังสามารถใช้ภาษีสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย เช่น สิ่งแวดล้อม เช่น ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศหรือทางน้ำ� โดยที่ ภาษีมลพิษหรือค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ที่ก่อมลพิษ ค่าธรรมเนียม ประเทศสมาชิกนั้นๆ ไม่ได้มีการปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิตให้มี การอนุญาตปล่อยมลพิษ ค่าธรรมเนียมการจัดการมลพิษ การ ประสิทธิภาพในการลดภาระด้านสิ่งแวดล้อมลง และไม่มีการใช้ ซื้อขายหรือโอนสิทธิใบอนุญาตการปล่อยมลพิษ การวางประกัน เทคโนโลยี ที่ ส ะอาดเพี ย งพอ หรื อไม่ มี เ ครื่ อ งมื อ ของรั ฐ ทางด้ า น ความเสี่ยงหรือความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม หรือมาตรการอุดหนุน เศรษฐศาสตร์มาใช้เพื่อกำ�กับดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ภาษี เทคโนโลยีสะอาด เป็นต้น เครือ่ งมือเหล่านีเ้ มือ่ นำ�มาใช้อย่างเหมาะสม สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ่งแวดล้อม (Optimum) ก็จะช่วยกระตุ้นให้ผู้ผลิตพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด ลด การใช้ระบบโควต้าการผลิต หรือการซือ้ ขายสิทธิการปล่อยมลพิษตาม การทำ�ลายทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งประชาชนก็จะมีพฤติกรรม จำ�นวนทีไ่ ด้รบั อนุญาตแล้ว ก็สามารถคาดการณ์ได้วา่ สวัสดิการความ การบริโภคที่มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้นอีกด้วย เป็นอยู่ของประชาชนจะเลวร้ายลงในระยะยาว หากเรามองกลับมาทีห่ ลักคิดในการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจ ตัวอย่างข้างต้นเป็นเพียงการชี้ให้เห็นถึงความสำ�คัญของ อาเซียนที่เป้าหมายใหญ่มุ่งหวังให้เหล่าประเทศสมาชิกต่างๆ มี ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นในวงกว้างต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พั ฒ นาการทางเศรษฐกิ จ ที่ ดี มี ร ายได้ ม ากขึ้ น แต่ ก ารที่ เ ราจะไป และการทำ�ลายสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจ ฝากความหวังว่า เมื่อใดที่รายได้ของประเทศสมาชิกดีขึ้นเรื่อยๆ อาเซียน อีกทัง้ ชีใ้ ห้เห็นว่าตัวแปรภายนอกอย่างเช่น การเปลีย่ นแปลง แล้วค่อยกลับมาใส่ใจดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในภาย ราคาสินค้าและบริการ การเปลี่ยนแปลงปริมาณปัจจัยการผลิต หลังนัน้ อาจจะเป็นความคิดทีส่ ายเกินแล้ว เพราะทรัพยากรธรรมชาติ ต่ า งๆ ก็ ส ามารถสร้ า งผลกระทบต่ อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ และสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่นั้นยากเกินกว่าที่จะแก้ไขให้ย้อนกลับคืน สิ่ ง แวดล้ อ มได้ โ ดยตรง ในขณะที่ ป ระเทศสมาชิ ก ยั ง ต้ อ งพึ่ ง พา มาในสภาพดังเดิมได้ (Irreversible) ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติและ อาศัยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระยะยาวการสูญเสีย สิ่งแวดล้อมจึงเป็นประเด็นสำ�คัญที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไม่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมย่อมกระทบต่อชีวติ ความเป็นอยู่ ควรที่จะละเลย แต่กลับต้องคำ�นึงถึงตลอดเวลาและให้ความสำ�คัญ มากเป็นอันดับหนึ่งเช่นกัน ของประชาชนในประเทศสมาชิกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
เอกสารอ้างอิง : กฤษรัตน์ ศรีสว่าง. AEC กับกฎหมายภาษีการปล่อยก๊าซคาร์บอน. จับตาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ภายใต้กรอบเศรษฐกิจอาเซียนใน สถานการณ์สิ่งแวดล้อม. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่ : www.ngosthailand.com. ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่ : http://www.thai-aec.com. พัชรี คงตระกูลเทียน. การปรับตัวของภาคธุรกิจเพือ่ ก้าวสู่ AEC โอกาส ความท้าทายและผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม. สำ�นักพัฒนาความยัง่ ยืนองค์กร เครือเจริญโภคภัณฑ์.
20 Green Research No.26 March 2014
แนวคิดสื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนพัฒนาเด็กได้มากกว่าที่คิด
หากเรามองย้อนกลับไปในตอนวัยเด็ก นอกเหนือจากภาระ หน้าที่ในการไปเรียนในโรงเรียน และช่วยงานบ้านเล็กๆ น้อยๆ แล้ว พวกเราเด็กๆ ก็มักจะมีเวลาว่างมากเพียงพอที่จะสำ�รวจธรรมชาติ ที่อยู่รอบๆ บ้าน หรือบริเวณหมู่บ้านไม่ว่าจะเป็น ต้นไม้ ทุ่งหญ้า ทุ่งนา ป่าหญ้าคา และอื่นๆ เราสนุกสนานกับการที่ได้ปีนป่ายต้นไม้ ใหญ่ นั่งเล่นอยู่บนต้นไม้นั้นเป็นเวลานานๆ ได้เห็นความเป็นอยู่ของ เหล่านกใหญ่น้อยทั้งหลาย ที่อาศัยกิ่งก้านสาขาของไม้ใหญ่นี้เป็นที่ กำ�บังจากภัยต่างๆ บ้างก็สร้างรังอยูบ่ นต้นไม้ใหญ่นี้ หลายครัง้ ทีพ่ วก เราก็แกล้งมัน พอพวกเราส่งเสียงดัง หรือขว้างปาวัตถุเข้าไปใส่ตน้ ไม้ ฝูงนกก็แตกฮือบินหนีไปคนละทิศคนละทางด้วยความตกใจ แต่พวก เรากลับหัวเราะอย่างสนุกสนาน บางครั้งเราก็ปีนต้นไม้เพื่อที่จะ ไปให้ถึงรังของนก เราอยากจะเห็นบ้านที่อยู่ของนก อยากจะเห็น ไข่ หรือลูกเล็กๆ ของมัน ในขณะที่เราใกล้จะถึงเราจะได้ยินเสียง พ่อแม่ของลูกนกส่งเสียงร้องอย่างดังราวกับจะบอกให้เรารู้ว่าอย่า เข้าใกล้หรือทำ�อันตรายสิ่งที่เขารักและหวงแหนมากที่สุด ในทุ่งนาที่ เราเดินหรือบางครั้งก็วิ่งผ่าน เราก็จะเห็นที่อยู่อาศัยของสัตว์หลาก หลายชนิด เช่น หนู มด บางครั้งเราก็เห็น คราบของงู เรามอง เห็นการทำ�งานของมด เห็นการหาอาหารของบรรดาแมลงต่างๆ เห็นผีเสื้อ แมลงตัวเล็ก และผึ้ง ที่มาดอมดมน้ำ�หวานในดอกไม้ บางครัง้ เราก็ไปเด็ดดอกไม้เหล่านัน้ เพือ่ เปิดหาน้ำ�หวานในดอกไม้นนั้ พวกเราก็พบว่าในดอกไม้ชนิดหนึง่ ทีเ่ ราเด็ดมามีน้ำ�หวานอยูจ่ ริง พวก เราสนุกสนานกับการได้ลิ้มรสความหวานของน้ำ�ใสๆ ในดอกไม้นั้น ตัวผมเองไม่เคยสงสัยแต่กลับรู้สึกคุ้นเคย เวลาคุณครูวิทยาศาสตร์ ทีโ่ รงเรียนอธิบายถึงส่วนประกอบของดอกไม้ หรือการขยายพันธุข์ อง ต้นไม้ หรือในข้อสอบที่ถามถึงรั้วกินได้ และประโยชน์หรือลักษณะ
การใช้งานของเครื่องมือที่ใช้ในการทำ�สวนครัว ผมได้เรียนแล้วผ่าน ประสาทสัมผัสทั้งห้ากับธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เวลาที่ผมวิ่งไปหาพ่อแม่ที่เกี่ยวข้าวอยู่กลางทุ่ง พ่อก็จะใช้ เคียวทีพ่ อ่ ใช้เกีย่ วข้าวตัดต้นข้าวแล้วทำ�เป็นปี่ ให้ผมเป่าเล่น พวกเรา เด็กๆ ก็เป่าให้มีเสียงดังต่างๆ กันเป็นที่สนุกสนาน ผมให้พ่อเจาะรู เพิม่ เพือ่ ให้ปตี่ น้ ข้าวของผมทำ�ได้มากกว่าหนึง่ เสียง และแกล้งทำ�เป็น ว่าเรากำ�ลังบรรเลงดนตรีทแ่ี สนไพเราะ ด้วยเครือ่ งดนตรีสากลทีเ่ รียกว่า คาริเน็ต เราได้เรียนรูอ้ ะไรต่อมิอะไรมากมาย เราได้พฒ ั นาส่วนต่างๆ ของร่างกาย พัฒนาจิตใจ อารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์ และการได้ มีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ เรียนรู้วัฒนธรรมของบุคคลและสังคม ได้ สื่อสารโดยกระบวนการของภาษา โดยที่ไม่มีทฤษฎีการเรียนรู้ใดๆ มาบอกเรา หรือบอกพ่อแม่ของเราเลย
No.26 March 2014 Green Research 21
ก้าวหน้าพัฒนา
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติให้ประโยชน์อย่างไรกับพัฒนาการของเด็ก เมื่อพิจารณาถึงผลระยะยาวที่มีต่อเด็ก ทางด้านสุขภาพทางอารมณ์ที่ดี สุขภาพ กายที่ดี ความสามารถในการเรียน และความเข้าใจในสิ่งแวดล้อมแล้วเราไม่ควรที่จะให้เด็ก ใช้เวลาส่วนมากอยู่แต่ในห้องเรียนหรือในบ้าน เด็กจะมีพัฒนาการในทุกๆ ด้านเพียงขอให้ เราสนับสนุนให้เด็กได้มเี วลาให้กบั ธรรมชาติ (Green Hours) ให้มากในแต่ละวัน (Washington Post, June, 2007) นักการศึกษาและนักวิจัยที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับเด็กและพัฒนาการของเด็กได้ให้ ความสำ�คัญอย่างมากกับสื่อที่อยู่ล้อมรอบตัวเด็ก อันได้แก่ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Stephen Kellert, 2005 in Children&Nature Network, 2008) ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัย Yale ได้กล่าวว่า การที่สภาพแวดล้อมของบ้านที่เป็นสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ จะส่งผลที่ดีกับ เด็กในการพัฒนาสมอง ความคิด รวมถึงการพัฒนาศักยภาพในการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินผล ซึ่งเป็นการพัฒนาการของสมองขั้นสูง นอกจากนี้ ในบทความเดียวกัน ยังเพิ่มเติมถึงประโยชน์ของการที่ได้มีปฏิสัมพันธ์กับธรรมชาติอีกด้วยว่า เด็กๆ จะมีร่างกาย ที่สมบูรณ์ และกระตือรือร้น ไม่เป็นโรคอ้วน ซึ่งจะมีโอกาสเสี่ยงสูงในการเป็นโรคหัวใจและ ความดันโลหิตสูง ในส่วนของการจัดการศึกษา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูทั่วโลกได้ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอย่างมาก วิธีการสอนแบบเก่าที่เรียกว่า Chalk – and – Talk ได้ถูกลืมเลือนไปในภาคส่วนการศึกษา ครูในยุคปัจจุบันได้รับการเสริมสร้างให้มีความรู้ใน เรือ่ งสือ่ นวัตกรรมการสอนทีส่ ง่ ผลโดยตรงให้กระบวนการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ และมี ประสิทธิภาพมากขึน้ (Singh, 2007) แต่เมือ่ พูดถึงสือ่ นวัตกรรมการสอน คนโดยทัว่ ไปมักเข้าใจว่า หมายถึง เทคโนโลยีขอ้ มูลข่าวสาร (Information Communication Technologies (ICT) โดยเฉพาะ อย่างยิ่งคนในประเทศที่ได้รับการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรม แต่ในประเทศที่กำ�ลังพัฒนา กลับมาให้ความสนใจในนวัตกรรมการเรียนการสอนที่มีต้นทุนต่ำ� (Low-Cost Teaching Aids) หรือไม่ต้องลงทุนและหาได้ในท้องถิ่น สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนเหล่านี้ ผลิต ได้อย่างง่ายๆ จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นหรือหยิบใช้ได้โดยตรงจากธรรมชาติรอบๆ ตัว และยังทำ�ให้เป็นโรงเรียนที่พึ่งตนเองได้ ลดค่าใช้จ่ายทางด้านการจัดการศึกษาของโรงเรียน การเลือกสรร การให้ความสนใจกับชุมชนและการนำ�ธรรมชาติไปประยุกต์ใช้ในโรงเรียน จะทำ�ให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีความหลากหลาย ความน่าสนใจ และเกิดผล ประโยชน์สูงสุดกับโรงเรียนในท้องถิ่นนั้นๆ ต้ น กล้ ว ยน้ำ� ว้ า ต้ น หนึ่ ง ไม่ ใ ช่ ใ ห้ เ พี ย งผลกล้ ว ยที่ มี คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการ กั บ ทุ ก คนเท่ า นั้ น การเกิ ด เจริ ญ เติ บโต ให้ ผ ล และตายไปของต้ น กล้ ว ยต้ น หนึ่ ง ทำ�ให้ เ ด็ ก ๆ ได้ เ รี ย นรู้ ว งจรชี วิ ต ของมั น เด็ ก ได้ พั ฒ นาทั ก ษะการสั ง เกต เรี ย นรู้ ก าร เปลี่ยนแปลง จดบันทึก เรียนรู้ที่จะรักธรรมชาติ เด็กบางคนนำ�ก้านกล้วยมาประดิษฐ์ เป็ น ม้ า ก้ า นกล้ ว ย วิ่ ง เล่ น กั น อย่ า งสนุ ก สนาน เรื อใบที่ ไ ด้ รั บ การสร้ า งสรรค์ จ ากกาบ กล้ ว ย ถึ ง แม้ จ ะดู ไ ม่ มี ม าตรฐานนั ก แต่ ก็ ใ ห้ ค วามสุ ข ในจิ ต ใจของเด็ ก ๆ เหล่ า นั้ น
22 Green Research No.26 March 2014
ความคิดสร้างสรรค์ อารมณ์และจิตใจ ได้รบั การพัฒนาไป อย่างเสรีกับธรรมชาติจะเป็นสิ่งที่น่ารื่นรมย์และน่าดึงดูดใจสำ�หรับ ุ ภาพ พร้อมๆ กับร่างกายโดยทีต่ วั เด็กๆ เองอาจจะไม่ได้คดิ ถึงสิง่ ดีๆ เหล่านี้ เด็ก เด็กเกิดจินตนาการ ความอยากรูอ้ ยากเห็น การเล่นทีม่ คี ณ นัน้ จะพัฒนาเด็กในทุกๆ ด้าน ทัง้ ร่างกาย การรับความรูส้ กึ อารมณ์ ที่เกิดขึ้นกับตัวเขาเองด้วยซ้ำ�ไป สติปัญญา และปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Haas, 1996) ธรรมชาติ ล้ อ มรอบตั ว เด็ ก นั้ น จั ดได้ ว่ า เป็ น การขยาย ห้องเรียนให้กับนักเรียนของเรา นักเรียนจะได้มีโอกาสเรียนรู้โดย เกิดอะไรขึ้นกับเด็ก ๆ ในทุกวันนี้ ผ่านประสาทสัมผัสในทุกๆ ด้าน และครอบคลุมทุกๆ แขนงของ ในอดีตเด็กๆ เคยได้รับความสุขสนุกสนานกับการที่ได้มี หลักสูตร ธรรมชาติทอี่ ยูร่ อบตัวเด็กทัง้ ทีบ่ า้ น ทีโ่ รงเรียน และสถานที่ ท่องเทีย่ วต่างๆ ล้วนเป็นบทเรียนและแบบฝึกหัดทีม่ ปี ระโยชน์โดยตรง โอกาสเรียนรู้และสัมผัสกับธรรมชาติมากกว่าในปัจจุบัน ไม่ว่าจะ ต่อทั้งตัวเด็กและครูผู้สอน (http://www.workingwithwildlife.co.uk/ เป็นการเดินบนทางเดินเท้า ถนนหนทาง พื้นที่ว่าง สวนสาธารณะ learning/default.asp) เด็กนักเรียนในระดับปฐมวัยสามารถใช้เวลานอก ทุ่งนา ป่าเขา ลำ�ธาร พวกเขาเคยได้สำ�รวจเคยเล่น และสัมผัสกับ ห้องเรียนในการเรียนรูธ้ รรมชาติ ในโรงเรียนและชุมชน ได้ถงึ 1 ใน 4 โลกธรรมชาติ โดยปราศจากข้อห้ามหรือการตรวจสอบใดๆ หรือจะ ของเวลาที่ต้องใช้ที่โรงเรียน นอกจากนักเรียนจะได้ความรูจ้ ากหลาก มีบ้างก็เพียงเล็กน้อย แต่เด็กๆ ในปัจจุบันแทบจะไม่มีโอกาสเช่นนั้น หลายกิจกรรมทีค่ รูสามารถให้นกั เรียนเข้าไปมีสว่ นร่วมแล้ว กิจกรรม เลย โดยเฉพาะเด็กๆ ในชุมชนเมืองการเล่นกับธรรมชาติอย่างเสรีจะ เหล่านี้จะช่วยพัฒนาให้นักเรียนมีความรู้สึกรัก รับผิดชอบและเป็น มีแต่ขอ้ ห้าม หรือมีโอกาสก็เพียงเล็กน้อยเท่านัน้ ขอบเขตการพัฒนา เจ้าของธรรมชาตินั้นๆ เป็นการพัฒนาในระดับปัจเจกบุคคล ที่มีผล ทัง้ ทางด้านร่างกายและจิตใจถูกจำ�กัดและลดลง (Francis, 1991) จาก ต่อการพัฒนาในระดับชุมชน ระดับชาติ และระดับโลกต่อไป และ งานวิจัยชิ้นหนึ่ง พบว่า จากผู้ปกครองที่ตอบแบบสอบถามร้อยละ ยังส่งผลในเรื่องสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนในชุมชนอีก 94 กล่าวว่า เรื่องความปลอดภัยเป็นประเด็นสำ�คัญในการที่จะ ด้วย เด็กได้พัฒนาและเรียนรู้ทักษะเพื่อการดำ�รงชีพของตนเองไป อนุญาตให้เด็กๆ ออกเล่นนอกบ้านได้อย่างเสรี (Bagley, Ball and ตลอดชีวติ (Life-Long Skills) เช่น การปลูกและทำ�นุบำ�รุงรักษาต้นไม้ Salmon, 2006 in Children&Nature Network, 2008) เช่นเดียวกันกับ การปลูกดอกไม้ ผัก และผลไม้ตา่ งๆ เด็กได้เรียนรูก้ ารทำ�งานเป็นกลุม่ นักวิจยั ของมหาวิทยาลัย Hofstra ทีส่ อบถามคุณแม่ จำ�นวน 800 คน ใช้ภาษาที่เหมาะสมในการสื่อสารกับสมาชิกในกลุ่มพัฒนาความ ร้อยละ 82 ไม่อนุญาตให้ลูกๆ เล่นนอกบ้านเนื่องจากความกังวล เรือ่ งอาชญากรรมและความปลอดภัย (Clements, 2004 in Children & เชื่อมั่นและความศรัทธาในตนเอง Nature Network, 2008) จากการวิจยั พบว่า เมือ่ เด็กๆ ได้มสี ว่ นร่วมกับการสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อมของบ้าน โรงเรียน หรือชุมชน งานสร้างสรรค์ของเด็กจะ แตกต่างจากงานของผู้ใหญ่เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในความเป็น มืออาชีพ แต่เด็กจะได้รบั การพัฒนาในด้านจินตนาการ และการมีสว่ น ร่วมสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการของตัวเขา (White & Vicki, online) ข้อมูลที่ได้จากการสำ�รวจทั่วประเทศใน ประเทศ Holland พบว่า คนที่อยู่ในบริเวณหรือห่างจากพื้นที่สีเขียว ประมาณ 1 ถึ ง 3 กิ โ ลเมตร มี สุ ข ภาพที่ ดี ก ว่ า คนที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ในบริ เ วณดั ง กล่ า ว (Haas et al., 2006 in Children&Nature Network, online) ต้ น ไม้ แ ละธรรมชาติ สี เ ขี ย วมี ผ ลในการลด ความเครียดของกลุ่มเด็กที่มีความเครียดสูง และผลดีที่สุดจะมี ความสัมพันธ์กับจำ�นวนพืชสีเขียว พื้นที่สีเขียว และการได้เล่นกับ ธรรมชาติ ประสบการณ์ที่เด็กๆ ได้ลงมือปฏิบัติจากการได้สัมผัสกับ สิ่งแวดล้อมจะหล่อหลอมสติปัญญาและทักษะที่เป็นที่ยอมรับใน หลักการของการจัดการศึกษาปฐมวัยที่ว่า เด็กจะเรียนได้ดีที่สุดโดย ผ่านกระบวนการเล่นและการค้นพบอย่างเสรี (Hughes, 1991) การเล่น No.26 March 2014 Green Research 23
ก้าวหน้าพัฒนา เด็กเล่นน้ำ�ตามลำ�คลองอย่างสนุกสนาน เรียนรู้ที่จะว่าย น้ำ�เพื่อการเอาตัวรอด ว่ายน้ำ�เป็นโดยที่ไม่ต้องเสียสตางค์ไปเรียนที่ โรงเรียนสอนว่ายน้ำ� เด็กหลายคนในทุกวันนีว้ า่ ยน้ำ�ไม่เป็น หลายคน ไม่เคยเห็นทะเล หลายคนไม่เคยขึน้ ภูเขา ไม่รวู้ า่ หน่อไม้คอื อะไร เกิด ขึ้นได้อย่างไร หลายคนกลัวป่า กลัวต้นไม้ หลายคนเดินได้เพียงไม่กี่ ร้อยเมตรก็เหนื่อยมากจนไม่สามารถเดินต่อไปได้ มันเกิดอะไรขึน้ กับ เด็กเหล่านี้ Hofstra University ได้สำ�รวจคุณแม่ 800 คน ที่มีลูกอายุ ระหว่าง 3 ถึง 12 ปี พบว่า คุณแม่ร้อยละ 85 ยอมรับว่าเด็กเล่น นอกบ้านน้อยลงกว่าแต่กอ่ น และคุณแม่รอ้ ยละ 70 เล่นนอกบ้านทุก วันเมื่อตอนเป็นเด็ก แต่เพียงร้อยละ 31 ของเด็กในปัจจุบันเท่านั้นที่ เล่นนอกบ้านอยู่เป็นประจำ� (Clements, 2004 in Children&Nature Network) ความไม่ปลอดภัยสำ�หรับเด็กเมือ่ ถูกปล่อยอยูต่ ามลำ�พังเพือ่ การเล่นกับธรรมชาติอย่างเสรี ความทีต่ อ้ งดิน้ รนเพือ่ ความอยูร่ อดหรือ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของพ่อแม่ และการเพิ่มขึ้นของสื่อเทคโนโลยี เช่น การดูโทรทัศน์และการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ มีส่วนทำ�ให้การ เล่นกับธรรมชาติของเด็กลดลงหรือหายไป เช่น เด็กอายุ 8 ขวบ กลุ่มหนึ่งสามารถบอกลักษณะของ Pokemon ได้มากกว่าพันธุ์ของ สัตว์ป่าถึง ร้อยละ 25 (Balmfold, Clegg, Coulson and Taylor, 2002 in Children&Nature Network, 2008) จากการสำ�รวจของ Kaiser Family Foundation ในปี ค.ศ. 2005 ถึง 2006 พบว่า เด็กอายุระหว่าง 6 เดือนถึง 6 ปี ใช้เวลากับสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ เฉลี่ยวันละ 1 ชั่วโมง 30 นาที ในขณะที่เด็กอายุระหว่าง 8 ปี ถึง 18 ใช้เวลาใน เรื่องเดียวกันนี้ถึงเฉลี่ยวันละ 6 ชั่วโมงครึ่ง ซึ่งมากกว่า 45 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ (Children&Nature Network, 2008 online) เหล่ า นี้ เ ป็ น อุ ปสรรคต่ อ พั ฒนาการที่ ดี ข องเด็ ก ทั้ ง เรื่ อ ง สุขภาพกายและจิตใจที่แย่ลง พัฒนาการด้านอื่นๆ ก็ไม่ได้รับการ พัฒนาให้เต็มตามศักยภาพที่ควรจะเป็นของเด็ก เรากำ�ลังจะปลูกไม้ พันธุใ์ หญ่ลงในกระถางทีม่ ขี อบเขตจำ�กัด ซึง่ ผลทีไ่ ด้มาก็อาจจะดูสวย และแปลกตาอาจเป็นที่นิยมนั่นก็เพราะมันเป็นเพียงต้นไม้ เราจะช่วยเด็กกันได้อย่างไร เนือ่ งจากการมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างเด็กกับธรรมชาติสง่ิ แวดล้อม เป็นสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ พัฒนาการของเด็กในทุกๆ ด้านทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว เราก็ควรทีจ่ ะดำ�เนินการใดๆ ทีจ่ ะก่อให้เกิดผลดังกล่าว ในต่างประเทศมีองค์กรเครือข่ายที่ใช้ชื่อว่า The Children & Nature Network (C&NN) ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการเป็นสื่อกลาง ระหว่างเด็กกับธรรมชาติ ให้ข้อมูล ข่าวสารและรายงานผลการ วิจัย เพื่อกระตุ้นและสนับสนุน พร้อมทั้งเป็นเครือข่ายให้ประชาชน และองค์กรต่างๆ พัฒนากิจกรรมให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับ 24 Green Research No.26 March 2014
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ นอกจากนั้น ยังได้ทำ�งานร่วมกับนักวิจัย นักการศึกษา และองค์กรอื่นๆ ที่อุทิศตนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพและ ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น C&NN ได้รเิ ริม่ โครงการระดับชาติทมี่ ชี อื่ ว่า “Leave No Child Inside” ทีม่ งุ่ เน้นให้ทกุ คน โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรงเรียนและผูป้ กครอง ได้ตระหนักและใช้ธรรมชาติเป็นสือ่ ให้เด็กได้เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง สื่อธรรมชาติเหล่านี้หาได้ในทุกๆ พื้นที่ ไม่ต้องลงทุน สอดคล้องกับ สภาพท้องถิ่น และมีให้ได้ใช้ในทุกๆ โอกาส ทุกโรงเรียนควรจัดให้มี ธรรมชาติในบริเวณโรงเรียน หรืออาศัยธรรมชาติจากชุมชน การจัด ธรรมชาติควรให้เด็กได้มสี ว่ นร่วม ให้เด็กได้มโี อกาสได้แสดงความคิดเห็น ได้ลงมือปฏิบตั จิ ริง เปิดโอกาสให้เด็กได้เล่นกับธรรมชาติอย่างเสรีมากขึน้ ภายใต้สถานการณ์ที่ปลอดภัย วิถกี ารดำ�เนินชีวติ ของมนุษย์ในยุคปัจจุบนั ล้วนมีผลกระทบ ต่อเด็กๆ ทั้งสิ้น โดยเฉพาะผลกระทบทางด้านจิตใจ อิทธิพลของสื่อ เทคโนโลยีที่ยากแก่การควบคุม อันมีผลมาจากการแข่งขัน ความ ต้องการให้เป็นที่นิยมในหมู่ประชาชน และผลกำ�ไรที่จะตามมา สื่อ ดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ และโทรทัศน์ มีอยู่และหาได้ใน แทบจะทุกครัวเรือน พ่อแม่ของเด็กหลายต่อหลายคนได้ใช้สื่อนี้เป็น พี่เลี้ยงและสอนลูกของตนเองอยู่วันละเป็นเวลานานๆ การเพิ่มขึ้น ของการบ้านที่เด็กได้มาจากโรงเรียน ความไม่ปลอดภัยของชีวิต ภายนอกบ้าน และการดำ�เนินชีวิตของคนบางคนได้เปลี่ยนแปลงไป สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการเด็กอันเป็นผลเนื่องมาจาก การได้สมั ผัสธรรมชาติ อย่างไรก็ตามหากเราหาทางป้องกัน และเปิด ช่องทางธรรมชาติให้กว้างขึ้น เพื่อที่เด็กๆ จะได้เดินไปสัมผัสได้ง่าย และสะดวกขึน้ จะช่วยให้ธรรมชาติเป็นสือ่ ทีจ่ ะพัฒนาเด็กให้มคี วามรู้ มีจิตใจอ่อนโยน ก่อให้เกิดความรักในธรรมชาติ รักชุมชน ได้เรียนรู้ เพิ่มพูนทักษะ กระบวนการทางความคิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์และ เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมต่อไป เอกสารอ้างอิง Children&Nature Network. (2008). Children and Nature. Retrieved December 28, 2008. Available from : http://www.childrenandnature.org/ uploads/CN movement. pdf. Francis, M. (1991). Children of nature. U.C. David Magazine, v 9 n 6 Haas, M. (1996). Children in the junkyard. Children Education,v 72 n 6 Hirsh-Pasek, K. & Golinkoff, R. M. (2003). How our children learn and why they need to play more and memorize less. Retrieved December 27, 2008. Available from : http://www.buzzle.com/editorials/10-4-2003-46152.asp. Hughes, F. P. (1991). Children play and development. Massachusetts, Allyn & Bacon. Learning through nature. Retrieved December 29, 2008. Available from : http://www.workingwithwildlife.co.uk/learning/default.asp. Singh, H. P. (2007). Low cost teaching aids for rural schools in India. Retrieved December 30, 2008. Available from : http://knol.google.com/k/ hareshwar-singh/low-cost-teaching-aids-for-riral/s. White, R. & Vicki, S. Children’s outdoor play & learning environments: Returning to nature .Retrieved December 30, 2008. Available from : http:// www.whitehutchinson.com/ children/articles/outdoor.html.
เศรษฐกิจ-สิ่งแวดล้อม” ต้องพัฒนาคู่ขนาน”
ประเทศไทย ณ ปัจจุบนั ปัญหาสิ่งแวดล้อมถือเป็นปัญหา สำ�คัญที่มักเกิดควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม และการ เจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจะพบได้ในเกือบทุก ประเทศ โดยประเทศไทยเองก็เป็นประเทศหนึง่ ทีก่ ำ�ลังประสบปัญหา ดังกล่าวอยู่ในขณะนี้ เนื่องจากประเทศไทยได้ให้ความสำ�คัญกับ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 ปี พ.ศ. 2555-2559 ด้วยการนำ�เอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์ ซึ่งหากไม่มีแผนการดำ�เนินงานที่เหมาะสมแล้ว จะ ทำ�ให้ทรัพยากรธรรมชาติที่เหลืออยู่มีสภาพเสื่อมโทรมลง และยัง ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ เพิ่มมากขึ้นด้วย ซึ่งย่อมจะส่ง ผลกระทบต่อความเป็นอยูข่ องประชาชนและระบบนิเวศด้านสิง่ แวดล้อม ได้ในที่สุด นอกจากนี้เมื่อเรามองถึงการตื่นตัวต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม ของประชาคมโลกทีไ่ ด้เพิม่ ความสนใจมากขึน้ ทุกที ชาวโลกก็ได้เรียน รูถ้ ึงปัญหาสภาวะโลกร้อน (Climate Change) ที่สง่ ผลกระทบต่อผูค้ น สิ่งมีชีวิตต่างๆ บ่อยครั้งขึ้น กระทั่งกลายมาเป็นปัญหาของประเทศ ซึ่งเชื่อกันว่า หากชาวโลกละเลยไม่ให้ความสำ�คัญกับสิ่งแวดล้อม อย่างจริงจัง เราก็จะยิ่งประสบภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น ทัง้ นีท้ ผี่ า่ นมาความรับผิดชอบต่อการรักษาสิง่ แวดล้อมทาง ธรรมชาติ ได้เพิ่มความสำ�คัญจากประเทศพัฒนาแล้วไปยังประเทศ กำ�ลังพัฒนาและไปสู่ประเทศด้อยพัฒนา ซึ่งถือว่าทั้งหมดต้องมี ส่วนร่วมกันประคับประคอง โดยไม่ทำ�ลายสิ่งแวดล้อมมากขึ้นไปอีก ทั้งนี้ก็เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา ประเด็นที่มีการพูดกันมากในเวทีระหว่าง ประเทศก็คือนโยบายสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดขึ้น ซึ่งอาจมีผลกระทบ
ต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้ เพราจะทำ�ให้ตน้ ทุนการค้า การผลิตและการบริการสูงขึ้น จนกระทั่งประเทศอาจสูญเสียความ สามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะประเทศที่กำ�ลังเติบโตและมีเป้า หมายหลักในการขยายตัวของ GDP ในช่วงเวลาที่เศรษฐกิจโลก แข็งแรงและเติบโตอย่างต่อเนื่อง ประเทศในกลุ่มมหาอำ�นาจทาง เศรษฐกิจอย่า งสหรัฐอเมริกาและอียู ต่า งก็มีนโยบายที่ส่งเสริม การรักษาสิง่ แวดล้อมอย่างจริงจัง โดยหลายมาตรการทีอ่ อกมาได้กอ่ ให้เกิดผลกระทบกับการค้าและการบริการของหลายประเทศที่ผลิต สินค้าไม่ได้มาตรฐานที่กำ�หนด หรืออีกนัยหนึ่ง อาจเรียกได้ว่าเป็น มาตรการกีดกันทางการค้าอย่างหนึ่ง ทำ�ให้ไม่สามารถส่งออกสินค้า ไปยังสหรัฐอเมริกาและอียูได้ ทั้งที่ประเทศยักษ์ใหญ่ทางเศรษฐกิจ อย่างสหรัฐอเมริกา ก็ไม่ได้ให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโตที่กำ�หนด พันธกรณีผูกพันต่อประเทศอุตสาหกรรมให้ลดการปล่อยแก๊สเรือน กระจกแต่อย่างใด และหากมองผิวเผินถึงสถานการณ์ที่ประเทศ ต่างๆ ยังประสบกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและยังไม่ฟื้นตัวดี ในขณะนี้ อาจคาดหมายกันว่าเพราะประเทศทีป่ ระสบปัญหาเศรษฐกิจ คงให้ความสำ�คัญกับนโยบายสิง่ แวดล้อมเบาบางลง เพราะย่อมจะมุง่ ให้ความสำ�คัญกับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจมากกว่าเรื่องสิ่งแวดล้อม แต่ความจริง กลับตรงกันข้ามเพราะประเทศส่วนใหญ่ต่างให้ความ สำ�คัญต่อการรักษาสิง่ แวดล้อมากยิง่ ขึน้ นัน่ คงเป็นเพราะภัยธรรมชาติ ที่รุนแรงขึ้น ได้เริ่มเข้ามาประชิดตัวมากขึ้นดังจะเห็นได้จากหลายๆ ประเทศในภูมิภาคโลก ต่างประสบกับภัยธรรมชาติที่ร้ายแรงมาก ยิ่งขึ้น เช่น พายุไซโคลนนาร์กีส ที่มีความเร็วลม 190 กิโลเมตรต่อ ชัว่ โมง พัดถล่มพม่าทำ�ให้เกิดความเสียหายทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ เป็น จำ�นวนมาก พายุไต้ฝุ่นไหเหยี่ยน เป็นพายุไต้ฝุ่นระดับ 5 โดยได้พัด ถล่มภาคกลางของฟิลิปปินส์ทำ�ให้มีผู้เสียชีวิตจำ�นวนมากเช่นกัน No.26 March 2014 Green Research 25
ก้าวหน้าพัฒนา ปัจจุบนั หลายประเทศได้ยกระดับความสำ�คัญของนโยบายการรักษาสิง่ แวดล้อมให้ สูงเท่าเทียมกับระดับปัญหาเศรษฐกิจของชาติ จนเป็นทีม่ าของนโยบายทีห่ ลายๆ ประเทศทัว่ โลก กำ�ลังดำ�เนินการอยูค่ อื “เศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อมจะเติบโตไปพร้อมกัน” ซึง่ ก็หมายความว่า เรื่องสิ่งแวดล้อมถูกยกระดับความสำ�คัญขึ้นไปเทียบเท่ากับเรื่องเศรษฐกิจ และต้องพัฒนา คู่ขนานกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม้กระทั่งประเทศจีนที่ขึ้นชื่อว่า ปล่อยมลพิษทางอากาศ มากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้กล่าวต่อที่ประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ เมือ่ วันที่ 24 พฤษภาคม 2556 ไว้วา่ “การทีเ่ ศรษฐกิจจีนเติบโตช้าลง ก็เพือ่ ลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม” ชี้ให้เห็นว่า แม้กระทั่งประเทศมหาอำ�นาจอย่างจีนก็ตระหนักถึงความสำ�คัญ ของการรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น สำ�หรับประเทศไทย ซึ่งได้ร่วมลงนามในพิธีสารเกียวโตด้วย อีกทั้งออกกฎหมาย และระเบียบวิธีปฏิบัติต่างๆ ที่เป็นมาตรฐานสากลในด้านสิ่งแวดล้อม ก็ถือได้ว่าเรามีกฎ กติกาทีเ่ กีย่ วกับการรักษาสิง่ แวดล้อมทีอ่ ยูใ่ นมาตรฐานทีด่ พี อสมควร เพียงแต่ดา้ นการปฏิบตั ิ อาจด้อยไปบ้าง โดยเฉพาะภาครัฐทีบ่ งั คับใช้กฎหมายสิง่ แวดล้อมยังไม่เข้มงวดพอ นอกจากนีห้ ลาย ฝ่ายยังมองว่าการรักษาสิง่ แวดล้อมอย่างเข้มงวดเกินไปและต่อต้านการทำ�ลายสิง่ แวดล้อมจะ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งเป็นไปได้ว่าอาจมีมุมมองที่แยกส่วน เศรษฐกิจกับสิง่ แวดล้อมออกจากกัน เราจึงพบว่าบ่อยครัง้ ได้เกิดการกระทบกระทัง่ ทางความ คิดและหลายกรณีก็มีการนำ�ประเด็นนี้ไปฟ้องร้องกันในศาล จากนีไ้ ปประเทศไทยควรมีนโยบายทีใ่ ห้ทงั้ เศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อมสามารถเดินคู่ กันไปอย่างไม่แยกส่วนเหมือนในอดีตทีผ่ า่ นมา โดยทีภ่ าครัฐควรมีกลไกและนโยบายทีช่ ดั เจน มากขึน้ เกีย่ วกับเรือ่ งนีท้ งั้ ในระยะสัน้ และระยะยาว เพราะในอนาคตจะทำ�ให้ไทยเป็นประเทศ ทีม่ คี วามพร้อมเหนือกว่าหลายประเทศในภูมภิ าค ในการรองรับกับมาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อม ใหม่ๆ ที่จะมีผลกระทบต่อการค้า การลงทุน และบริการ ดังนั้นการปรับทิศทางในนโยบาย เศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อมให้เดินคูก่ นั ไปแบบไม่แยกส่วนจะมีสว่ นสำ�คัญทีจ่ ะพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศไทยให้มีความยั่งยืนต่อไปได้
เอกสารอ้างอิง : ปานปรีย์ พหิทธานุกร. พูดคุยเหตุบ้านการเมือง : เศรษฐกิจเรื่องราวต่างๆ วิเคราะห์อย่างเป็นกลาง. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่ : http://www.oknation.net/blog. สมดุล เศรษฐกิจ-สังคม-สิ่งแวดล้อม-สุขภาพ การเติบโตที่ยั่งยืนของอาเซียน. กรุงเทพธุรกิจ.
26 Green Research No.26 March 2014
ทิศทางการวิจัยที่ตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การลงทุนขนาด ใหญ่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมที่นับวันจะทวีความรุนแรงและบ่อยครั้งขึ้น ซึ่งการแก้ไข และเยียวยาไม่สามารถทำ�ได้ทันท่วงที การวิจัยและการพัฒนาจะช่วยตอบโจทย์ปัญหา สิ่งแวดล้อมในหลายๆ ด้านได้ทั้งด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสังคม ดังนั้นการวิจัย สิง่ แวดล้อมในปัจจุบนั ต้องเป็นการต่อยอดพัฒนาแนวคิดของนักวิจยั จากงานวิจยั ตามความ ถนัดหรือความสนใจที่มักถูกเรียกว่า “งานวิจัยขึ้นหิ้ง” ให้สามารถใช้งานได้จริง ต้องมีการ ปรับเปลี่ยนแนวคิด มีกระบวนการทำ�งานอย่างเป็นระบบและทันต่อสถานการณ์ในขณะนั้น
การวิ จั ย ที่ ทำ � การศึ ก ษาอยู่ นั้ น เป็ น การแสดงสถานภาพของ ปัญหาของสถานการณ์ เช่น การ วิจัยมาตรฐานการติดตามตรวจ สอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้าน ต่างๆ
ปัญหาสิง่ แวดล้อมมักเป็นปัญหาทีไ่ ด้รบั การแก้ไขเฉพาะหน้าเสียเป็นส่วนใหญ่ เช่น กรณีน้ำ�มันรัว่ ไหล มีนกั วิจยั นำ�เสนอประเด็นเพือ่ การศึกษาทัง้ บทเรียนและการหาองค์ความรู้ เพื่อตอบปัญหาให้ครอบคลุมที่สุด การได้มาของโจทย์วิจัยเป็นเรื่องที่ต้องหยิบยกมาคิดกัน ว่าทีม่ าของโจทย์วจิ ยั โดยเฉพาะประเด็นต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เคยมีการศึกษามาก่อนหน้านีห้ รือไม่ การทบทวนความรูใ้ นอดีตเป็นสิง่ สำ�คัญ เช่น การรัว่ ไหลของน้ำ�มัน มีเทคโนโลยีอะไรบ้างในการ กำ�จัดคราบน้ำ�มัน การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมและในกรณีที่เคยเกิดขึ้น เช่น ที่อ่าวเม็กซิโกมี การลงมือแก้ไขอย่างไรบ้าง จะเห็นได้วา่ การทบทวนวรรณกรรมเป็นสิง่ ทีส่ ำ�คัญมาก ในทีน่ ไี้ ม่ ได้ตอ้ งการหยิบยกประเด็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั มาวิพากษ์ แต่ตอ้ งการกระตุน้ ให้เห็นว่า โจทย์งานวิจยั องค์ความรูท้ ยี่ งั ไปไม่ถงึ ไหน เห็นได้จากภาคนิพนธ์วทิ ยานิพนธ์ของนักศึกษาใน ระดับปริญญาตรีและโท ที่มักต่อยอดจากงานวิจัยเดิมๆ ซึ่งง่ายต่อการทำ�การศึกษาให้เสร็จ ตามกำ�หนดเวลา ซึ่งตัวสถาบันการศึกษาเองคงต้องพยายามผลักดันสนับสนุนองค์ความรู้ ใหม่ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อสังคมมากกว่าที่เป็นอยู่ ซึ่งประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่กำ�หนดเป็นหัวข้อการวิจัยที่พบมาก คือ การวิจัย ที่ทำ�การศึกษาอยู่นั้น เป็นการแสดงสถานภาพของปัญหาของสถานการณ์ เช่น การวิจัย มาตรฐานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อมในด้านต่างๆ การทดสอบวิธกี ารตรวจวัด คุณภาพสิ่งแวดล้อม การวิจัยแสดงสถานภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร การทำ�ลาย ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งก็เป็นส่วนที่ดีที่ทำ�ให้รับทราบสถานการณ์ในปัจจุบัน No.26 March 2014 Green Research 27
ก้าวหน้าพัฒนา แต่ที่น่าเป็นห่วง คือ การวิจัยเพื่อเสนอเทคโนโลยีในการจัดการ การเยียวยา หรือบำ�บัด ฟื้นฟูจากการทำ�ลายหรือการจัดการมลพิษอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน หรือการนำ�เสนอ มาตรการทางสังคมเพือ่ การเยียวยาประชาชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ การฟืน้ ฟูสภาพแวดล้อมและ ระบบนิเวศทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป หรืองานวิจยั การปรับตัวของประชาชนในอนาคต ขอเน้นย้ำ�ว่า การวิจยั ปัญหาสิง่ แวดล้อมต้องตอบโจทย์ให้ครบวงจรมากขึน้ จากทีผ่ า่ นมา การวิจยั เพือ่ ตอบ โจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อมมักเป็นลักษณะของการทดลอง pilot scale มากกว่าจะทำ�จริง หาก นำ�มาปฏิบตั เิ พือ่ แก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมอาจต้องใช้เวลาและงบประมาณจำ�นวนมาก ซึง่ การ วิจยั คงเป็นแค่จดุ เริม่ ดังนัน้ งานวิจยั จึงควรมีลกั ษณะเป็นข้อเสนอแนะทีใ่ นตอนท้ายของผล การศึกษาต้องครอบคลุมในประเด็นต่างๆ ที่จะลงมือกระทำ�จริง จากการวิจัยที่ตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อม มีการแบ่งปัญหาออกเป็น 2 ด้าน คือ การจัดการกับปัญหาและการเยียวยากับการวิจยั เพือ่ การป้องกันปัญหา หรือนำ�เสนอแนวทาง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการจัดการป้องกันผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ในบทความนีไ้ ม่ได้ตอ้ งการโจมตี สิง่ ทีน่ กั วิจยั ทำ�อยูใ่ นปัจจุบนั แต่อยากนำ�เสนอมุมมองหรือแนวทางเสริมให้คดิ ถึงโจทย์วจิ ยั ที่ จะตอบโจทย์ปญ ั หาสิง่ แวดล้อมอย่างมีเหตุผลและได้ประโยชน์มากขึน้ ซึง่ ประเด็นทีจ่ ะกล่าว ถึงต่อไปนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ จากประสบการณ์การสอนนักศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ในฐานะผูท้ รงคุณวุฒวิ พิ ากษ์ขอ้ เสนองานวิจยั ซึง่ น่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็นอ้ ยสำ�หรับการ ปรับตัวของนักวิจัย เพื่อตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ดังนี้ 1. ปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นปัญหาที่มีความหลากหลาย การวิเคราะห์ การทบทวน องค์ความรู้เป็นสิ่งสำ�คัญ ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยในเชิงตอบโจทย์ปัญหาเฉพาะด้านความ เชี่ยวชาญเพียงบางด้าน ดังนั้น ข้อเสนอแนะงานวิจัยแนวใหม่คงต้องทบทวนให้รอบด้าน ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และสังคม และกำ�หนดหัวข้อการศึกษาที่บูรณาการองค์วามรู้ใน หลายๆ ด้านเข้าด้วยกัน โดยคำ�นึงถึงคำ�ตอบเพื่อการนำ�ไปใช้ประโยชน์ที่แท้จริง 2. การวิจยั เพือ่ ทำ�นายผลกระทบในอนาคต หรือทีเ่ รียกว่า การใช้แบบจำ�ลอง (Model) ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมต่อสภาพพืน้ ที่ การพัฒนาแบบจำ�ลองเพือ่ ทำ�นายผลการแพร่ กระจายมลพิษทางอากาศ น้ำ�เสีย หรือการรัว่ ไหลของสารเคมี ทีจ่ ำ�เป็นต้องใช้ขอ้ มูลพืน้ ฐาน ในพืน้ ทีจ่ ริงมากกว่าการนำ�ข้อมูลทีเ่ ป็นค่าคาดการณ์จากพืน้ ทีอ่ นื่ มาใช้ การพัฒนาแบบจำ�ลอง ต้องปรับใช้ให้เหมาะกับพื้นที่ศึกษาจริง บ่อยครั้งที่งานวิจัยตอบโจทย์การคาดการณ์ผล กระทบสิง่ แวดล้อมจากปัญหามลพิษค่อนข้างคลาดเคลือ่ นไปมาก ทัง้ ข้อมูลทีไ่ ม่เป็นปัจจุบนั และข้อมูลที่เป็นค่าประมาณการซึ่งต้องพิจารณาเลือกใช้สมการให้เหมาะสม 3. การวิจัยที่คาดการณ์ปัญหาหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ต้องมีข้อเสนอแนะในการ จัดการอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปได้ โดยต้องคำ�นึงถึงความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ ความเหมาะสมและความคุ้มค่าในการลงทุน เช่น กรณีของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ นำ�เสนอเทคโนโลยีบำ�บัดของเสียในกลุม่ อุตสาหกรรมปิโตรเลียมมากมายและใช้เงินลงทุนสูง หากพิจารณาจากเทคโนโลยีเหล่านั้นอาจไม่เหมาะสมกับประเทศไทย ทางที่ดีควรพิจารณา ต้นทุนทางเทคโนโลยีร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่ได้ประสิทธิภาพและผลลัพธ์เป็นไปตาม มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของไทย
28 Green Research No.26 March 2014
การพัฒนาแบบจำ�ลองต้องปรับ ใช้ ใ ห้ เ หมาะกั บ พื้ น ที่ ศึ ก ษาจริ ง บ่อยครัง้ ทีง่ านวิจยั ตอบโจทย์การ คาดการณ์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม จากปั ญ หามลพิ ษ ค่ อ นข้ า ง คลาดเคลื่ อ นไปมากทั้ ง ข้ อ มู ล ที่ไม่เป็นปัจจุบัน และข้อมูลที่เป็น ค่าประมาณการซึ่งต้องพิจารณา เลือกใช้สมการให้เหมาะสม
4. ประเด็นของโจทย์วิจัยที่ตอบปัญหาสิ่งแวดล้อมควรพิจารณาถึงเทคโนโลยีในการ ศึกษาทีแ่ สดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์เทคโนโลยีทจี่ ะใช้ในการบำ�บัด และมีความเหมาะสมกับ ประเทศของเราหลายๆ ประเทศให้ความสำ�คัญในการนำ�เข้าเทคโนโลยี การพิสจู น์เทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสม (verify Technology) ปัจจุบนั มีความหลากหลายในการใช้เทคโนโลยีนำ�เข้าทีต่ อ้ ง เลือกให้เหมาะสมกับสถานการณ์มากที่สุด 5. การพัฒนาคน องค์ความรู้ ในการวิจัยเป็นเรื่องสำ�คัญอย่างที่กล่าวมาข้างต้น งบประมาณในการวิจัยของประเทศมีจำ�กัด กำ�ลังคนในสาขาวิชาต่างๆ ความเชี่ยวชาญ เฉพาะทาง ล้วนเป็นตัวแปรสำ�คัญในการพัฒนางานวิจัย การพัฒนาในส่วนนี้จะเป็นตัวแปร สำ�คัญต่อคุณภาพงานวิจยั ทัง้ นีภ้ าครัฐต้องมีนโยบายสนับสนุนในการพัฒนาคนและองค์กร วิจัยให้มีประสิทธิภาพและมีศักยภาพในการจัดการงานวิจัยมากขึ้น
ปัญหาสิง่ แวดล้อมมีความจำ�เป็น ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นแนวคิ ด การ ตอบโจทย์ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเน้ น การพัฒนาองค์ความรู้การเรียน รูท้ คี่ รอบคลุมปัญหามากขึน้ การ บู ร ณาการงานวิ จั ย อย่ า งเป็ น ระบบ
จากการนำ�เสนอการวิจัยเพื่อตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อมมีความจำ�เป็นต้องปรับ เปลี่ยนแนวคิด การตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ และเน้นการพัฒนา องค์ความรู้การเรียนรู้ท่คี รอบคลุมปัญหามากขึ้น การบูรณาการงานวิจัยอย่างเป็นระบบ มี เครือข่ายความร่วมมือมากขึ้น และต้องหลุดพ้นจากข้อจำ�กัดของเวลาและงบประมาณ บุคลากรในการวิจัยต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น การวิจัยและ พัฒนาจะเป็นตัวช่วยสำ�คัญและเป็นส่วนหนึ่งที่จะพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าทัดเทียมกับ ชาติอื่นๆ ที่มีการพัฒนาด้านนี้อย่างจริงจัง ที่มา : http://www.energysavingmedia.com
No.26 March 2014 Green Research 29
ก้าวหน้าพัฒนา การเลือกใช้ Green technology
เทคโนโลยีสีเขียว (Green technology) คือ แนวคิดในการบริหารจัดการและเลือก ใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการการใช้พลังงาน ลดการใช้ พ ลั ง งาน ลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก ลดการสร้ า ง รวมถึ ง การน� ำ ขยะ อิเล็กทรอนิกส์มารีไซเคิลใหม่ ซึ่งเป้าหมายสูงสุด คือ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ต้องถูกน�ำกลับมา ใช้ใหม่ได้ทั้งหมด และไม่มีส่วนประกอบที่ท�ำจากสารพิษ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต้องใช้ พลังงานน้อยลงแต่ความสามารถมากขึน้ ตามแนวคิด “Maximum Megabytes for Minimum Kilowatts” โดยหากจะพูดถึง Green technology ให้ครอบคลุมทัง้ หมดคงต้องมองตัง้ แต่การ ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การเลือกใช้งาน และการทิ้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งทั้ง 3 ขั้น ตอนนั้นถือเป็นวัฏจักรของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มาท�ำความรู้จักเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ Green technology กันครับ Energy Saving Software คือ Software ที่ช่วยในการบริหารจัดการการท�ำงานภายใน Data Center โดยไม่ จ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ใดๆ เพิ่มเติม Software ดังกล่าวสามารถแสดงสถานะการท�ำงานของ อุปกรณ์ภายใน Data Center ได้ทั้งหมด พร้อมทั้งสามารถวิเคราะห์แนวโน้มของอุปกรณ์ ต่างๆ เพื่อการแก้ไข ซ่อมแซมหรือจัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ อย่างทันท่วงที Software นี้ จะช่วยเพิ่มอายุการใช้งานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน Data Center และช่วยลดค่าใช้จ่ายใน การจ้างผู้เชี่ยวชาญมาดูแลโดยตรง Software as a Service (SaaS) หรือ ODS (On Demand Software) คือ Software บนเว็บที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้บริการได้ โดย Software ประเภทนี้ จะไม่ถูกจัดเก็บเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ หรือพูดง่ายๆ ก็คือ Software ดังกล่าว นัน้ ไม่ถกู ติดตัง้ ลงใน Harddisk ของเครือ่ งทีใ่ ช้งานและสามารถเรียกใช้งานได้เมือ่ ท�ำการเชือ่ ม ต่ออินเทอร์เนต โดยท�ำการเรียกผ่าน Browser ซึ่งท�ำให้ผู้ใช้งานได้รับความสะดวกมากยิ่ง ขึ้น ผู้ให้บริการ SaaS สามารถเลือกท�ำการติดตั้ง Software ลงบน Web Server หรือท�ำการ ติดตัง้ ลงบนอุปกรณ์ของลูกค้า Software ดังกล่าวจะหมดอายุลงหลังจากใช้งานหรือหลังจาก สัญญาทีผ่ ใู้ ช้งานซือ้ หมดอายุ Software นีจ้ ะช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดซือ้ Software 30 Green Research No.26 March 2014
ลิขสิทธิ์ พร้อมทั้งช่วยให้การบริหารจัดการเกี่ยวกับ Software ท�ำได้ สะดวกสบายยิ่งขึ้นเพราะเจ้าของลิขสิทธิ์จะปรับปรุงเพื่อแก้ไขจุด บกพร่องของ Software ให้เองโดยอัตโนมัติท�ำให้ผู้ใช้งานได้ใช้ Software ที่ใหม่อยู่เสมอ
Blade Server เป็นเทคโนโลยีใหม่ของ Server ซึ่งเป็นการน�ำแนวคิดของ Mainframe เดิมมาประยุกต์ใช้กับ PC ในปัจจุบัน โดยแต่ละหน่วย จะเรียกว่า “Blade” และประกอบด้วย Mainboard, CPU, Memory, Disk Storage และอุปกรณ์ในการติดต่อกับเครือข่ายเท่านัน้ ซึง่ แต่ละ Cloud Computing Blade จะใช้อุปกรณ์จ่ายพลังงาน (Power Supply) และระบบระบาย เป็นนวัตกรรมทางด้าน Data Center รูปแบบใหม่แห่ง ความร้อนร่วมกัน องค์ประกอบหลักๆ ของ Blade Server ได้แก่ อนาคต เกิดจากแนวคิดการให้บริการโดยใช้ประโยชน์จากโครงสร้าง พืน้ ฐาน IT ทีท่ ำ� งานเชือ่ มโยงกัน โดยมี Server มากมายท�ำงานสอด Chassis คือ อุปกรณ์ที่เป็นเหมือนห้อง Data Center ขนาดย่อมที่ ประสานเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อให้บริการ Software ต่างๆ โดย จะคอยจ่ายไฟและท�ำความเย็นให้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ทั้งหมดในกลุ่ม Cloud อาจไม่จ�ำเป็นมี Hardware และ Server ทีอ่ ยูภ่ ายในรวมไปถึงอุปกรณ์เครือข่ายทีอ่ ยูภ่ ายในตูเ้ ดียวกัน ระบบปฏิบัติการเหมือนกันไปทั้งหมด และอาจไม่จ�ำเป็นต้องติดตั้ง Blade Server คือ เครือ่ ง Server ขนาดเล็ก ทีม่ สี ว่ นประกอบภายใน อยู่ในสถานที่เดียวกัน แต่อาจมีการเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายสื่อสาร ได้แก่ CPU, Memory หรือ Harddisk โดยขนาดของมันจะนับเป็น ความเร็วสูง Blade Bay การประมวลผลแบบ Cloud สามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ Switch Modules คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อกับโลกภายนอกไม่ 1. Private Cloud Computing เป็นการใช้งานภายในองค์กร ว่าจะเป็น Data network หรือ Storage Network โดยเป็นการใช้สมรรถนะของ Data Center ภายในองค์กร เทคโนโลยีเสมือน (Virtualization) นั้นๆ คือ เทคโนโลยีที่ช่วยให้สามารถใช้ Resource ร่วมกัน เช่น 2. Public Cloud Computing เป็นการใช้บริการการเข้าถึงข้อมูล รูปแบบต่างๆ ผ่านทาง Internet ผ่านการให้บริการของผู้ CPU, Memory, Hard disk เป็นต้น ของคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องหรือ มากกว่านัน้ ให้สามารถใช้งาน Software และ Application ในจ�ำนวน ให้บริการสาธารณะ 3. Hybrid Cloud Computing เป็นการผสมผสานกันระหว่าง มากๆ หรือแม้แต่ใช้งานหลายระบบปฏิบัติการพร้อมกันได้ แม้ว่าจะ การใช้งานภายในองค์กร (Private Cloud Computing) และ เป็น Platform ที่แตกต่างกัน การท�ำ Virtualization แบ่งออกเป็น 2 การใช้ บ ริ ก ารการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล รู ป แบบต่ า งๆ ผ่ า นทาง ลักษณะ คือ Internet ผ่านการให้บริการของผูใ้ ห้บริการสาธารณะ (Public 1. การแบ่งย่อยทรัพยากรโดยเฉพาะบน Hardware ขนาดใหญ่ ให้เป็นอุปกรณ์เสมือนขนาดเล็กให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด Cloud Computing) เช่น การรวมศูนย์การท�ำงานของระบบเครือ่ งแม่ขา่ ย (Server Thin Client Consolidation) แล้วน�ำมาติดตั้งบนเครื่องเสมือน (Virtual คือ เทคโนโลยีการท�ำงานของระบบ Terminal Service Machine) หลายเครื่อง โดยใช้เครื่องหลักหนึ่งเครื่องที่มี ของเครื่อง Server ที่มีประสิทธิภาพในปัจจุบัน ซึ่งมีจุดเด่น คือ สมรรถนะของเครื่องสูง ตัวโปรแกรมที่ใช้งานและการประมวลผลส่วนใหญ่จะอยู่ที่เครื่อง 2. การน�ำอุปกรณ์ขนาดเล็ก มาท�ำงานร่วมกันเสมือนเป็น Server ส่วนตัวเครื่อง Thin Client จะท�ำหน้าที่เสมือน Terminal และ Hardware ขนาดใหญ่ เช่น การท�ำ High performance จะมี Hardware ทีซ่ บั ซ้อนน้อยกว่า โดยหลังจากเข้าสูร่ ะบบแล้ว ระบบ Computing เครื่องคอมพิวเตอร์ร่วมกันประมวล จะส่งหน้าจอให้กับผู้ใช้งานแต่ละคนโดยผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถ ท�ำงานกับโปรแกรมต่างๆ ของตนได้อย่างอิสระต่อกัน Thin Client ประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ 1. เครื่อง Thin Client 2. ระบบ Server ที่รองรับการท�ำงานของเครื่อง Thin Client 3. ระบบเครือข่าย No.26 March 2014 Green Research 31
พึ่งพาธรรมชาติ จริยธรรมกับสิ่งแวดล้อม
“มนุษย์ควรมีจริยธรรมในการมองสิง่ แวดล้อมและธรรมชาติอย่างไร โดยเฉพาะโลก สมัยใหม่การเปิดเสรียึดเศรษฐกิจบนฐานความรู้ ทำ�ทุกวิถีทางเพื่อหาเงินเข้ากระเป๋า สนอง สังคมปัจเจกสุดขัว้ แต่ละเลยการมีสว่ นร่วม ส่งผลกระทบต่อส่วนรวมกระทัง่ ละเลยและละเมิด ต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลายเป็นภัยพิบัติที่ย้อนกลับมาลงโทษมนุษย์เสียเอง เป็นบท เรียนที่ไม่หลาบจำ�” (ทิพย์พาพร ตันติสุนทร, สถาบันนโยบายศึกษา)
จริ ย ธรรมทางสิ่ ง แวดล้ อ ม Miller ได้เสนอในโลกทัศน์แนว “Sustainable-Earth Worldview” ในคำ�สอนของศาสนาที่ สำ � คั ญ บางคนอาจจะบอกว่ า เป็นอุดมคติมากเกินไปเป็นเรื่อง ที่ปฏิบัติได้ยากในความเป็นจริง จริยธรรมต้องการจะตักเตือนใจ เราว่ า วิ ถี ท างที่ กำ � ลั ง ดำ � เนิ น อยู่ นัน้ เป็นสิง่ ทีผ่ ดิ เป็นหนทางทีน่ �ำ ไป สู่การล่มสลายของสิ่งแวดล้อม 32 Green Research No.26 March 2014
จริ ย ธรรมสิ่ ง แวดล้ อ ม (environmental ethics) มนุ ษ ย์ ไ ม่ เ คยประสบปั ญ หา สิ่งแวดล้อม แต่หากในปัจจุบันมนุษย์ต้องประสบกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็วทรัพยากรธรรมชาติที่นับวันจะเหลือน้อยลง การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในทางที่ผิดและกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การทดลองระเบิดปรมาณู การทำ�ลาย ป่าไม้ การทำ�เขื่อนเพื่อกักเก็บน้ำ� ฯลฯ ทำ�ให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงและเสียสมดุล ส่งผล กระทบต่อชีวิตของมนุษย์เอง ปัจจุบันสังคมไทยมีปัญหาสิ่งแวดล้อมมากมายหลายด้าน จึงจำ�เป็นต้องมีการนำ�จริยธรรมสิ่งแวดล้อมมาศึกษาให้ครบทุกด้าน ทุกกิจกรรม เช่น การ รู้จักประมาณในการบริโภคหรือทางสายกลางในการใช้สอย การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร อย่างพอเพียง การกตัญญูกตเวทีรคู้ ณ ุ ค่าของสิง่ แวดล้อม การเห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม และ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งนี้หลักการของนำ�จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อม Miller ได้เสนอในโลกทัศน์แนว “Sustainable-Earth Worldview” ในคำ�สอนของศาสนาที่สำ�คัญ บางคนอาจจะบอกว่าเป็น อุดมคติมากเกินไปเป็นเรือ่ งที่ปฏิบตั ไิ ด้ยากในความเป็นจริง จริยธรรมต้องการจะตักเตือนใจ เราว่าวิถที างทีก่ ำ�ลังดำ�เนินอยูน่ นั้ เป็นสิง่ ทีผ่ ดิ เป็นหนทางทีน่ ำ�ไปสูก่ ารล่มสลายของสิง่ แวดล้อม และเป็นอันตรายต่อชีวติ ของสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมดในโลกธรรมชาติ เชือ่ ว่าเราควรสร้างสรรค์สงั คม ใหม่ทตี่ งั้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความรัก เมตตาธรรม ความร่วมมือกัน ความยุตธิ รรม และความ ห่วงใยต่อเพื่อนมนุษย์และสรรพสัตว์ในโลกธรรมชาติ สังคมใหม่แบบนี้จะเป็นสังคมที่ยั่งยืน ผู้คนมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพ ส่วนสังคมอุตสาหกรรมนิยมที่เรากำ�ลังพบเห็นอยู่ในขณะนี้ นั้นเป็นสังคมที่เน้นความเห็นแก่ตัว การแข่งขัน ความก้าวร้าว การแสวงหาวัตถุและความ เจริญสูงสุด และการขูดรีดธรรมชาติ สังคมแบบนี้มีแต่จะทำ�ลายสิ่งแวดล้อม และชีวิตจิตใจ ของมนุษย์ โลกทัศน์ ต้องการให้มี “การปฏิวัติสังคม” ที่เน้นการเปลี่ยนแปลงทางจิตสำ�นึก นั่นเอง
จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อมใหม่ชี้ให้เราเห็นว่า มนุษย์เรามี ความต้องการ 2 แบบ ความต้องการที่ไม่จำ�เป็น กับความต้องการ ทีแ่ ท้จริง ระบบอุตสาหกรรมนิยมมุง่ เน้นแต่เรือ่ งกระตุน้ ความต้องการ ที่ไม่จำ�เป็นซึ่งใช้ทรัพยากรมาก สิ่งที่ถูกต้อง คือ เราสนองความ ต้องการแบบที่แท้จริงเท่านั้น ซึ่งวิถีชีวิตแบบใหม่จะต้องมีลักษณะ เรียบง่าย ปฏิเสธบริโภคนิยม ไม่ลุ่มหลงในวัตถุ และใช้ชีวิตอย่างมี ความหมาย
แห่งโลกธรรมชาติที่ตั้งอยู่บนหลักการของ ความรัก ความศรัทธา ความจริงใจ และความร่วมมือกัน
หลักแห่งความประพฤติของสิง่ แวดล้อมเป็นการกระทำ�ของ มนุษย์ทุกคนที่ปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งพวกเขาอาศัยอยู่บนพื้นฐาน แห่งการพึ่งพาอาศัยกันอย่างสมดุล เราเชื่อว่าความประพฤติหรือ พฤติกรรมของมนุษย์นั้น เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม โดย มีองค์ประกอบทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ อาทิ ความตระหนัก ค่านิยม ทัศนคติ ความรู้ ทักษะ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทำ�ให้มนุษย์แสดงความ ความตื่นตัวทางสิ่งแวดล้อม ประพฤติหรือพฤติกรรมต่อสิง่ แวดล้อมทีแ่ ตกต่างกัน ดังนัน้ จริยธรรม เราเริม่ มองเห็นปรากฏการณ์และรับรูป้ ญ ั หา เราเริม่ รูส้ กึ ว่า ทางสิ่งแวดล้อม จึงเป็นหลักการหรือแนวทางที่มนุษย์พึงปฏิบัติต่อ กำ�ลังมีบางสิ่งบางอย่างเกิดขึ้น เช่น ปัญหามลภาวะ เรายังมองไม่ สิง่ แวดล้อม โดยคำ�นึงถึงความยัง่ ยืนของสิง่ แวดล้อมนัน่ คือ จิตสำ�นึก เป็นระบบ เราคิดแต่เพียงว่าเมื่อมีปัญหามลภาวะ เราก็ต้องเข้าไป สีเขียว แก้ไขโดยการควบคุม เราเริ่มมองเห็นความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่ เ ชื่ อ มโยงเกี่ ย วพั น ธ์ กั น อย่ า งเป็ น ระบบ เช่ น เรารู้ ว่ า ปั ญ หา ตัวอย่างบุคคลหรือชุมชน องค์กร ทีท่ ำ�งานด้านสิง่ แวดล้อม แล้ว มลภาวะ ความเสื่อมโทรมทางสิ่งแวดล้อม และการหมดสิ้นของ จะสามารถนำ�ไปใช้ได้อย่างไร ทรัพยากรธรรมชาติเป็นเรื่องที่เกี่ยวพันกับปัญหาประชากร การ ดาบวิชยั ปลูกต้นไม้ “การปลูกต้นไม้เป็นการทำ�บุญทีย่ งั่ ยืน พัฒนาอุตสาหกรรม ลัทธิบริโภคนิยมและความยากจนในสังคม เรียก กว่า และช่วยเหลือทุกคนได้ชั่วลูกชั่วหลาน…เราจะคืนธรรมชาติสู่ ร้องให้เราแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เรามองความเชื่อมโยงทาง แผ่นดิน เกื้อกูลอาศัยซึ่งกันและกัน ความสุขที่แท้จริง คือ การอยู่ สิง่ แวดล้อมอย่างเป็นระบบมากขึน้ และมีการแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ ร่วมและรู้จักเคารพธรรมชาติ ต้นไม้ผมเป็นคนปลูก ปลูกไปเรื่อยๆ ในการจัดการทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น มองหาแนวทางการ ปลูกไปจนกว่าจะตาย…” ส่งผลให้นายดาบวิชัย ได้รับการยกย่อง พัฒนาเศรษฐกิจแบบใหม่ที่เรียกกันว่า “การพัฒนาแบบยั่งยืน” ใน เชิดชูและกำ�ลังใจเป็นผู้หนึ่งที่ได้รับ “รางวัลลูกโลกสีเขียว” ประจำ�ปี ขณะเดียวกันก็พฒ ั นาวิธกี ารจัดการทางสิ่งแวดล้อมทีม่ ีลกั ษณะสลับ พ.ศ. 2545 ซับซ้อนและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เราแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม โดย สามารถนำ�มาปรับใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ โดยเห็นการมี มีเป้าหมายเพื่อความสุขสมบูรณ์ของมนุษย์ วิธีการแบบนี้อยู่ตรง กันข้ามกับ life-centered โลกทัศน์กระแสหลักยังคงเป็นโลกทัศน์ที่ จิตสาธารณะ โดยเห็นประโยชน์ส่วนร่วมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เน้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มนุษย์ยังคงมีฐานะที่สำ�คัญกว่า ปลูกจิตสำ�นึกที่ดี ถ้าคนเรายังมองไม่เห็นความงดงามของธรรมชาติ ทำ�ดีแล้วย่อมเกิดผลก็ทำ�ส่งผลให้เราทำ�ต่อไปอย่าไปท้อแท้ อาจมี ธรรมชาติและอยู่เหนือธรรมชาติ บ้างที่ท้อแท้แต่ก็จงสู้และยึดมั่นในสิ่งที่ทำ�จะทำ�ให้เรามีความสุขใน ความอยู่รอดของมนุษย์ หากแต่เป็นความอยู่รอดของ สิ่งที่ทำ� และในด้านการเกษตรสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ในการ ธรรมชาติ โลกทัศน์โลกธรรมชาติยั่งยืน ไม่อาจได้มาโดยการอ่าน ทำ�นาปีลกั ษณะของไร่นาส่วนผสมเก็บผลผลิตกินได้ตลอดทัง้ ปี ส่งผล หนังสือ หรือนั่งคิดนั่งฝัน จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อมจะเกิดขึ้นได้ ให้ เ กษตรกรมี ร ายได้ มี ชี วิ ต แบบพอเพี ย ง นำ�ทฤษฎี เ ศรษฐกิ จ ก็ต่อเมื่อเรามีความสัมพันธ์กับธรรมชาติ โดยการเห็น โดยการ พอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ ในการที่จะพัฒนาใครเรา รู้สึกสัมผัส โดยการเข้าใจ โดยความรักและห่วงใย ที่สำ�คัญคือเกิด ต้องพัฒนาตัวเราก่อน พึ่งตนเอง ไม่เบียดเบียนใคร ขอให้มีความ ความเชื่อศรัทธาขึ้นมา โลกทัศน์ใหม่ คือ วิถีการคิดแบบใหม่และ ขยันอดทน ซือ่ ตรงไม่ยงุ่ เกีย่ วกับยาเสพติด อยูใ่ นหลักศีลธรรมอันดีงาม วิถีแห่งความรู้สึกแบบใหม่ อันเกิดจากการฟังเสียงของธรรมชาติ จะส่งผลทำ�ให้เรามีความสุขในชีวิตและดำ�เนินชีวิตไปโดยพึ่งพา ปรัชญาเชนที่บ่งว่า “เรามองภูเขา ภูเขามองเรา ภูเขาและเรา อาศัยกัน “คนรักป่า ป่ารักคน” เป็นหนึ่งเดียว” สะท้อนให้เราเห็นถึงภาพแบบใหม่ของประชาคม เอกสารอ้างอิง การพัฒนาแนวความคิดเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อมของมนุษย์. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ที่ : http://www.rmuti.ac.th ทิพย์พาพร ตันติสุนทร. จริยธรรมกับสิ่งแวดล้อม. สถาบันนโยบายศึกษา. อัญชลี ชัยศรี. จริยธรรมทางธุรกิจกับสิ่งแวดล้อมและสังคม.
No.26 March 2014 Green Research 33