อนุโมทนาธรรม ..............................................................
กิเลสแท้ ธรรมแท้ อยู่ที่ใจ
ส่วนเครื่องส่งเสริมและกดถ่วงกิเลส และธรรมนั้นมีอยู่ทั่วไปทั้งภายในและภายนอก ..............................................................
อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ชาติภูมิและค�ำสอน เล่ม ๓
หลวงปู่ขาว อนาลโย
ดร.ปฐม นิคมานนท์ เรียบเรียง
อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ชาติภูมิและค�ำสอน เล่ม ๓
หลวงปู่ขาว อนาลโย
เรียบเรียง ดร.ปฐม นิคมานนท์ บรรณาธิการบริหาร ดนัย จันทร์เจ้าฉาย บรรณาธิการเล่ม นิรันดร์ พวงสุข ศิลปกรรม นันท์พสิษฐ์ โชติน้อย, สุรศักดิ์ ละสามา พิมพ์ที่ บริษัท ฐานการพิมพ์ จ�ำกัด พิมพ์ครั้งที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๙ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ ปฐม นิคมานนท์. หลวงปู่ขาว อนาลโย.-- กรุงเทพฯ : ดีเอ็มจี, ๒๕๕๙. ๑๖๐ หน้า. -- (อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน). ๑. หลวงปู่ ขาว อนาลโย. ๒. สงฆ์--ชีวประวัติ. I. ชื่อเรื่อง. ๒๙๔.๓๐๙๒๒ ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๓๗๖-๐๓๑-๙
จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี ๔๙๖-๕๐๒ อาคารอัมรินทร์พลาซ่า ชั้น ๒๒ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ (สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสชิดลม) โทรศัพท์ ๐ ๒๖๘๕ ๒๒๕๔-๕ โทรสาร ๐ ๒๖๘๕ ๒๒๙๘-๙ Website: www.dmgbooks.com จัดจ�ำหน่ายโดย บริษัท อมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์ จ�ำกัด โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๓ ๙๙๙๙ โทรสาร ๐ ๒๔๔๙ ๙๕๖๑-๓
ราคา ๑๕๙ บาท
ในกรณีทที่ า่ นต้องการซือ้ หนังสือเป็นจ�ำนวนมากเพือ่ ใช้ในการสอน การศึกษา หรือเป็นของขวัญพิเศษ กรุณาสอบถามรายละเอียดและราคาพิเศษเพิ่มเติมได้ที่โทรศัพท์ ๐ ๒๖๘๕ ๒๒๕๔
ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ พระป่าหรือพระธุดงคกรรมฐาน ที่ได้รับการยกย่องนับถือ ว่าเป็นพระบูรพาจารย์ใหญ่แห่งกองทัพธรรมพระกรรมฐาน ได้แก่ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตฺโต ที่บ�ำเพ็ญความเพียรจนบรรลุธรรม ชั้นสูงสุด และได้อบรมสั่งสมบารมีธรรม แก่พระภิกษุสามเณร จนมีศิษย์เป็นพระธุดงคกรรมฐาน ผู้ทรงคุณธรรม สัมมาปฏิบัติ ออกจาริกธุดงค์ เผยแพร่ธรรม เป็นสุปฏิปันโน ที่มีปฏิปทา คือ ข้อวัตรข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่น่าเลื่อมใสศรัทธา หนังสือชุด “พระอริยสงฆ์ แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” จัดพิมพ์ เพื่อเผยแพร่หลักค�ำสอนของพระอริยสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ น้อมน�ำระลึกถึงหลักค�ำสอนทีโ่ ดดเด่น เพือ่ น�ำมาขัดเกลาให้ชวี ติ ไม่ หลงยึดติดกับโลกของวัตถุ จนลืมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าสอนไม่ให้ประมาท ไม่ให้ลืมตัว ไม่ให้ลืมบุญ วาสนาของตน คือไม่ให้ลืมตัวในการสร้างคุณงามความดี ใจเราก็ ไม่มีพุทโธ ธัมโม สังโฆ อันเป็นเหตุให้ต่อภพต่อชาติเป็นมนุษย์ต่อ ไป เมื่อบารมีไม่แก่กล้า ไม่เชื่อมั่นในพระรัตนตรัย เราก็จะพากัน ไปสู่ภพที่ตำ�่ ลงได้
พระอริยสงฆ์ผมู้ ปี ฏิปทา ปฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบ อยูใ่ นศีลาจาร วัตร มุง่ มัน่ เผยแพร่คำ� สอนเดินตามรอยพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด ไม่หลงโลก มุ่งแต่ธรรม ล้วนแต่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ ทุกท่าน ศรัทธาในบารมีและยึดเป็นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวิต หนังสือชุดอริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ได้น�ำชาติภูมิ และค�ำสอนพระเถระ ๑๔ รูป น้อมน�ำไปปฏิบตั เิ พือ่ ความเป็นมงคล อาทิ พระครูวเิ วกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) พระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่หลุย จันทสาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี พระญาณวิศษิ ฏ์ สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร) หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ พระเทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสัมปันโน) หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” เรียบเรียงโดย ดร.ปฐม นิคมานนท์ ได้น�ำหลักค�ำสอน ปฏิปทา คุณงามความดี และแก่นธรรมมรดกความคิด ซึ่งเป็นแบบอย่าง “การไม่ยึดติด ไม่หลงโลก หลงกิเลส” น้อมคารวะทุกดวงจิตที่ดีงาม ส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี
ค�ำน�ำผู้เรียบเรียง หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” เรียบเรียงขึน้ เพือ่ เผยแพร่พระธรรมค�ำสอนของพระอริยสงฆ์ ผู้เจริญรอยตาม พระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั โฺ ต พระอาจารย์ใหญ่ฝา่ ยกรรมฐาน ทีม่ นั่ คง ในปฏิปทา และศีลาจารวัตรที่งดงามควรค่าแก่การยึดเหนี่ยว ปฏิบัติ ช�ำระล้างกิเลสอันเป็นสาเหตุของการเกิดทุกข์ ค�ำสอนของอริยสงฆ์ เปรียบเสมือนความสว่างที่คอยขจัด ความมืดให้หลุดพ้นไปจากจิตใจ ท�ำให้เกิดสติ มีปญ ั ญา รูจ้ กั แก้ปญ ั หา ซึ่งคนเราละเลยการปฏิบัติดี ขาดธรรมมะ เป็นความบกพร่องต่อ ศีลธรรม หนังสือชุดนีจ้ ดุ ประกายแสงแห่งธรรมให้คดิ พูด ท�ำ อย่างมีสติ หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” ได้รวบรวม เรียบเรียงพระอริยสงฆ์สายพระป่ากรรมฐาน ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และเป็นทีร่ จู้ กั กันเป็นอย่างดี ไม่วา่ จะเป็น พระครูวเิ วกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต หลวงปูต่ อื้ อจลธมฺโม หลวงปูข่ าว อนาลโย หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร หลวงปูช่ อบ ฐานสโม หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร) หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ พระเทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสัมปันโน)
การจัดท�ำหนังสือชุดนี้ เพื่อให้ผู้ใฝ่ธรรมได้รู้อีกแง่มุมหนึ่ง ของการธุดงควัตร ฝึกกรรมฐาน หลักค�ำสอน หลักปฏิบัติ ผ่านการ ขัดเกลา ทดสอบจิต อย่างเคร่งครัด เป็นแนวทางธรรมที่ช่วยผ่อน คลายความทุกข์ทางโลก ให้สงบสุขในทางธรรม ซึ่งเป็นขั้นแรกของ การฝึกกรรมฐาน ด้วยการส�ำรวจความพร้อมของจิตใจ ความสุขที่เกิดจากใจสงบ ย่อมน�ำมาซึ่งสติ ปัญญา สมาธิ คิดท�ำสิ่งใด พึงระลึกไว้ในค�ำสอน เพราะมนุษย์ล้วนแต่มีความ โกรธ ความโลภ ความหลง ซ่อนเร้นอยู่ในใจ หากท�ำอะไรโดยไม่คิด ไตร่ตรองอย่างมีสติ ความทุกข์ที่ขังอยู่ก็เป็นเพียงแค่ความว่างเปล่า เท่านั้นเอง ต้องขอขอบพระคุณ คุณดนัย จันทร์เจ้าฉายและทีมงาน กองบรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี ที่เล็งเห็นคุณค่าของธรรมะ ค�ำสั่งสอนพระอริยสงฆ์ จัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ใฝ่ธรรมได้ศึกษา ปฏิบัติ สืบทอดแนวทางของพระป่า ฝ่ายกรรมฐาน ตามพ่อแม่ครูบา อาจารย์ทุก ๆ องค์
ดร.ปฐม นิคมานนท์
สารบัญ หลวงปู่ขาว อนาลโย หนึ่งในบูรพาจารย์ วัดป่าอาจารย์มั่น บ้านแม่กอย ชาติภูมิ บารมีธรรมเก่าในอดีตชาติ ออกธุดงค์ เสาะหาหลวงปู่ม่นั อธิษฐานจิตที่พระธาตุพนม พบพระอาจารย์ใหญ่ เสาร์ กนฺตสีโล ปรารภญัติกรรมเป็นพระธรรมยุต ญัตติพร้อมกันกับหลวงปู่หลุย ผจญกับสัตว์ท่ชี ื่อมนุษย์ ยกหญิงนั้นเป็นอาจารย์สอนใจ ถูกสั่งให้เรียนหนังสือ แก่นแท้ - เนื้อล�้ำหัวใจ หลวงปู่พูดถึงการท่องธุดงค์ การอยู่ในที่วิเวกสงัด เพื่อก�ำจัดกิเลส ปลอดภัยจากพายุใหญ่ ออกธุดงค์คู่กบั หลวงปู่ชอบ พญานาคบันดาลน�้ำมาให้ พบกับหลวงปู่หลุย ออกติดตามค้นหาพระอาจารย์ใหญ่ สนทนาธรรมกับหลวงปู่พรหม
๑๒ ๑๖ ๒๑ ๒๓ ๒๕ ๒๗ ๒๙ ๓๐ ๓๒ ๓๔ ๓๗ ๓๙ ๔๑ ๔๓ ๔๖ ๔๙ ๕๑ ๕๓ ๕๖ ๕๘ ๖๐
ช้างใหญ่เข้ามาหากลางดึก ออกไปพูดกับช้างให้รู้เรื่อง ให้ช้างรับศีลห้า น่าอัศจรรย์ท้งั สองฝ่าย ทางจงกรมสามสาย หมดหวังที่จะพบพระอาจารย์ใหญ่ พบหลวงปู่แหวน สุจณ ิ ฺโณ จิตยอมเมื่อถึงยามคับขัน ความกลัวเป็นศัตรูที่มาในรูปมิตร กิเลสต้องแก้ด้วยธรรม กิเลสแท้ ธรรมแท้ อยู่ท่ใี จ จึงต้องอยู่ท่วี ิเวกสงัด ต้องมีสติ ไม่พลั้งเผลอ เมื่อธรรมเจริญกิเลสย่อมดับสูญ พบหลวงปู่ม่นั ที่ป่าเมี่ยงห้วยทราย รับการอบรมจากพระอาจารย์ใหญ่ จ�ำพรรษากับหลวงปู่แหวน ได้จ�ำพรรษากับหลวงปู่มั่น สมัยพุทธกาล ท�ำไมจึงบรรลุธรรมได้ง่าย ขึ้นกับผู้สอนและพื้นเพนิสัยแต่ละคน กิเลสเท่ามหาสมุทร - ความเพียรเท่าฝ่ามือ ลงทุนน้อย - ต้องการก�ำไรล้นโลก โรคกิเลสต้องรักษาด้วยธรรม
๖๒ ๖๔ ๖๖ ๖๙ ๗๓ ๗๕ ๗๗ ๗๙ ๘๑ ๘๔ ๘๖ ๘๘ ๙๐ ๙๒ ๙๔ ๙๖ ๙๘ ๑๐๐ ๑๐๓ ๑๐๕ ๑๐๗ ๑๐๙ ๑๑๑
เหตุที่คนบรรลุธรรมทีละมากๆ ในพุทธสมัย ธรรมอยู่ท่ไี หน ตั้งหลักใจได้ม่นั การสอนตนก็ได้อุบายปัญญา จิตใจก้าวหน้า – ปัญญาแตกแขนง อย่านอนดูไข้เฉยๆ การพิจารณาทุกขสัจ ท�ำด้วยตนเอง แล้วจึงน�ำมาสอน พิจารณาทุกขเวทนา ยกขึ้นสู่สติปัญญา พิจารณาแยกทุกข์เป็นขันธ์ๆ พิจารณาทุกข์ให้รู้แจ้ง ใจมีทางต่อสู่กบั ทุกขเวทนา ธรรมโอสถรักษาไข้ได้จริง แม้จิตสงบก็ไม่พ้นอ�ำนาจเพลงกล่อมของกิเลส ไฟราคะจากใต้ถุนกุฏี กระแสภายใน ภายนอกจิต สงครามขั้นแตกหัก เผด็จศึกที่สมรภูมบิ ้านโหล่งขอด โหล่งขอด – สถานที่นี้มีความหมาย หายสงสัยในพระรัตนตรัย เป็นสุขทุกอริยาบถ ถึงอุปาทิเสนิพพาน
๑๑๓ ๑๑๕ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๒๐ ๑๒๒ ๑๒๔ ๑๒๖ ๑๒๘ ๑๓๐ ๑๓๒ ๑๓๔ ๑๓๖ ๑๓๘ ๑๔๐ ๑๔๓ ๑๔๕ ๑๔๗ ๑๕๐ ๑๕๒ ๑๕๔ ๑๕๖
หลวงปู่ขาว อนาลโย เพชรน�้ำเอกแห่งวงพระกรรมฐาน
พระคุณเจ้าหลวงปู่ขาว อนาลโย แห่งส�ำนักวัดถ�้ำกลอง เพล จังหวัดหนองบัวล�ำภู ได้ชอื่ ว่าเพชรน�ำ้ เอกแห่งวงพระกรรม ฐานสาย พระอาจารย์ใหญ่มั่น ภูริทตฺโต ท่านเป็นพระธุดงคกรรมฐานทีม่ จี ติ ใจแข็งแกร่ง เด็ดเดีย่ ว มุ่งมั่น มีเมตตาธรรมเป็นเลิศ มีปัญญาธรรมที่เฉียบคม และ เป็นพระอริยะเจ้า ที่ทรงคุณธรรมอันบริสุทธิ์ดุจดังเพชรเม็ดงาม ประดับไว้ในพระพุทธศาสนา ทีห่ าจุดต�ำหนิหรือรอยมัวหมองไม่มี นับตัง้ แต่ทา่ นสละเพศฆราวาส ออกบวช ตราบจนวาระสุดท้ายใน ชีวิต เมื่อท่านละทิ้งขันธ์ใน พ.ศ. ๒๕๒๖ เมื่อท่านอายุได้ ๙๖ ปี คุณธรรมของหลวงปู่ยังยืนหยัด โดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ ใจ แก่ผไู้ ด้พบ ได้เห็น ได้ยนิ อยูต่ ราบนานแสนนาน ไม่มวี นั เสือ่ ม คลาย นึกถึงพระคุณท่านทีไรก็เกิดก�ำลังใจสุขใจ และเลื่อมใส ศรัทธาอย่างไม่รู้ลืม
16 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ได้ประทาน พระลิขิตถึงคุณธรรมของหลวงปู่ขาว อนาลโย ดังนี้
“เมื่อระลึกถึงหลวงปู่ขาว อนาลโย ก็อดมิได้ที่จะระลึกถึงพระสังฆคุณว่า สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ญายปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน
หลวงปู่ขาว อนาลโย 17
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว ปฏิบัติตรงแล้ว ปฏิบัติถูกต้องแล้ว ปฏิบัติชอบเหมาะแล้ว จึงเกิดความเลื่อมใสเคารพ ในสุปฏิบัติ อุชุปฏิบัติ ญายปฏิบัติ สามีจิปฏิบัติ ของท่าน ตั้งแต่ได้ไปกราบนมัสการท่านเป็นครั้งแรก ได้เห็น ได้เข้าไปนั่งใกล้ ได้ฟังธรรมจากถ้อยค�ำของท่าน พร้อมกับด้วยรู้สึกสัมผัสจิตใจของท่าน อันเปี่ยมด้วย เมตตากรุณา จากสายตา สีหน้า กาย วาจา ที่ต้อนรับด้วยธรรม ปฏิสนั ถาร อันบริสทุ ธิ์ เป็นทีป่ ระทับใจให้ไประลึกถึงและไปกราบ นมัสการได้เห็น ได้ดับธรรมรสจากท่านอีกโดยล�ำดับมา แม้ขันธ์ของท่านจะแตกดับไป ตามธรรมดาของสังขาร คุณของท่านอันพึงกล่าวได้ว่า อนาลโย คุโณ ย่อมด�ำรงอยู่เป็นที่ ระลึกถึง และเคารพกราบไหว้ตลอดไป”