หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ทายาททางธรรมของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

Page 1

อริยสงฆแหงแผนดิน ชุดที่ ๑ ชาติภูมิและคําสอน เลมที่ ๗

หลวงปูเทสก เทสรังสี

ทายาททางธรรมของหลวงปูมั่น ภูริทัตโต ดร.ปฐม นิคมานนท : เรียบเรียง

ตนตํารับผูเรียบเรียงหนังสือสายพระปากรรมฐาน



อนุโมทนาธรรม ..............................................................

ธรรมที่เห็นได้ด้วยตนเอง

จึงจะเป็นอัศจรรย์และท�ำได้ด้วยยาก ..............................................................



อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ชาติภูมิและค�ำสอน เล่ม ๗

หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี

ดร.ปฐม นิคมานนท์ เรียบเรียง


อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ชาติภูมิและค�ำสอน เล่ม ๗

หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี

เรียบเรียง ดร.ปฐม นิคมานนท์ บรรณาธิการบริหาร ดนัย จันทร์เจ้าฉาย บรรณาธิการเล่ม สุทธิชัย ปทุมล่องทอง ศิลปกรรม นันท์พสิษฐ์ โชติน้อย, สุรศักดิ์ ละสามา พิมพ์ที่ บริษัท พริ้นท์ซิตี้ จ�ำกัด พิมพ์ครั้งที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ ปฐม นิคมานนท์. หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี.-- กรุงเทพฯ : ดีเอ็มจี, ๒๕๕๙. ๑๖๐ หน้า. -- (อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน). ๑. หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี. ๒. ธรรมเทศนา .I. ชื่อเรื่อง. ๒๙๔.๓๐๙๒๒ ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๓๗๖-๐๓๓-๓

จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี ๔๙๖-๕๐๒ อาคารอัมรินทร์พลาซ่า ชั้น ๒๒ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ (สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสชิดลม) โทรศัพท์ 0 ๒๖๘๕ ๒๒๕๔-๕ โทรสาร ๐ ๒๖๘๕ ๒๒๙๘-๙ Website: www.dmgbooks.com จัดจ�ำหน่ายโดย บริษัท อมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์ จ�ำกัด โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๓ ๙๙๙๙ โทรสาร ๐ ๒๔๔๙ ๙๕๖๑-๓

ราคา ๑๕๙ บาท ในกรณีทที่ า่ นต้องการซือ้ หนังสือเป็นจ�ำนวนมากเพือ่ ใช้ในการสอน การศึกษา หรือเป็นของขวัญพิเศษ กรุณาสอบถามรายละเอียดและราคาพิเศษเพิ่มเติมได้ที่โทรศัพท์ 0 ๒๖๘๕ ๒๒๕๔


ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ พระป่าหรือพระธุดงคกรรมฐาน ที่ได้รับการยกย่องนับถือ ว่าเป็นพระบูรพาจารย์ใหญ่แห่งกองทัพธรรมพระกรรมฐาน ได้แก่ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตฺโต ที่บ�ำเพ็ญความเพียรจนบรรลุธรรม ชั้นสูงสุด และได้อบรมสั่งสมบารมีธรรม แก่พระภิกษุสามเณร จนมีศิษย์เป็นพระธุดงคกรรมฐาน ผู้ทรงคุณธรรม สัมมาปฏิบัติ ออกจาริกธุดงค์ เผยแพร่ธรรม เป็นสุปฏิปันโน ที่มีปฏิปทา คือ ข้อวัตรข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่น่าเลื่อมใสศรัทธา หนังสือชุด “พระอริยสงฆ์ แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” จัดพิมพ์ เพื่อเผยแพร่หลักค�ำสอนของพระอริยสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ น้อมน�ำระลึกถึงหลักค�ำสอนทีโ่ ดดเด่น เพือ่ น�ำมาขัดเกลาให้ชวี ติ ไม่ หลงยึดติดกับโลกของวัตถุ จนลืมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าสอนไม่ให้ประมาท ไม่ให้ลืมตัว ไม่ให้ลืมบุญ วาสนาของตน คือไม่ให้ลืมตัวในการสร้างคุณงามความดี ใจเราก็ ไม่มีพุทโธ ธัมโม สังโฆ อันเป็นเหตุให้ต่อภพต่อชาติเป็นมนุษย์ต่อ ไป เมื่อบารมีไม่แก่กล้า ไม่เชื่อมั่นในพระรัตนตรัย เราก็จะพากัน ไปสู่ภพที่ตำ�่ ลงได้


พระอริยสงฆ์ผมู้ ปี ฏิปทา ปฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบ อยูใ่ นศีลาจาร วัตร มุง่ มัน่ เผยแพร่คำ� สอนเดินตามรอยพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด ไม่หลงโลก มุ่งแต่ธรรม ล้วนแต่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ ทุกท่าน ศรัทธาในบารมีและยึดเป็นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวิต หนังสือชุดอริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ได้นำ� ชาติภมู ิ และค�ำสอนพระเถระ ๑๔ รูป น้อมน�ำไปปฏิบตั เิ พือ่ ความเป็นมงคล อาทิ พระครูวเิ วกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) พระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่หลุย จันทสาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี พระญาณวิศษิ ฏ์ สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร) หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ พระเทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสัมปันโน) หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” เรียบเรียงโดย ดร.ปฐม นิคมานนท์ ได้น�ำหลักค�ำสอน ปฏิปทา คุณงามความดี และแก่นธรรมมรดกความคิด ซึ่งเป็นแบบอย่าง “การไม่ยึดติด ไม่หลงโลก หลงกิเลส” น้อมคารวะทุกดวงจิตที่ดีงาม ส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี


ค�ำน�ำผู้เรียบเรียง หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” เรียบเรียงขึน้ เพือ่ เผยแพร่พระธรรมค�ำสอนของพระอริยสงฆ์ ผู้เจริญรอยตาม พระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั โฺ ต พระอาจารย์ใหญ่ฝา่ ยกรรมฐาน ทีม่ นั่ คง ในปฏิปทา และศีลาจารวัตรที่งดงามควรค่าแก่การยึดเหนี่ยว ปฏิบัติ ช�ำระล้างกิเลสอันเป็นสาเหตุของการเกิดทุกข์ ค�ำสอนของอริยสงฆ์ เปรียบเสมือนความสว่างที่คอยขจัด ความมืดให้หลุดพ้นไปจากจิตใจ ท�ำให้เกิดสติ มีปญ ั ญา รูจ้ กั แก้ปญ ั หา ซึ่งคนเราละเลยการปฏิบัติดี ขาดธรรมมะ เป็นความบกพร่องต่อ ศีลธรรม หนังสือชุดนีจ้ ดุ ประกายแสงแห่งธรรมให้คดิ พูด ท�ำ อย่างมีสติ หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” ได้รวบรวม เรียบเรียงพระอริยสงฆ์สายพระป่ากรรมฐาน ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และเป็นทีร่ จู้ กั กันเป็นอย่างดี ไม่วา่ จะเป็น พระครูวเิ วกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต หลวงปูต่ อื้ อจลธมฺโม หลวงปูข่ าว อนาลโย หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร หลวงปูช่ อบ ฐานสโม หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร) หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ พระเทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสัมปันโน)


การจัดท�ำหนังสือชุดนี้ เพื่อให้ผู้ใฝ่ธรรมได้รู้อีกแง่มุมหนึ่ง ของการธุดงควัตร ฝึกกรรมฐาน หลักค�ำสอน หลักปฏิบัติ ผ่านการ ขัดเกลา ทดสอบจิต อย่างเคร่งครัด เป็นแนวทางธรรมที่ช่วยผ่อน คลายความทุกข์ทางโลก ให้สงบสุขในทางธรรม ซึ่งเป็นขั้นแรกของ การฝึกกรรมฐาน ด้วยการส�ำรวจความพร้อมของจิตใจ ความสุขที่เกิดจากใจสงบ ย่อมน�ำมาซึ่งสติ ปัญญา สมาธิ คิดท�ำสิ่งใด พึงระลึกไว้ในค�ำสอน เพราะมนุษย์ล้วนแต่มีความ โกรธ ความโลภ ความหลง ซ่อนเร้นอยู่ในใจ หากท�ำอะไรโดยไม่คิด ไตร่ตรองอย่างมีสติ ความทุกข์ที่ขังอยู่ก็เป็นเพียงแค่ความว่างเปล่า เท่านั้นเอง ต้องขอขอบพระคุณ คุณดนัย จันทร์เจ้าฉายและทีมงาน กองบรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี ที่เล็งเห็นคุณค่าของธรรมะ ค�ำสั่งสอนพระอริยสงฆ์ จัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ใฝ่ธรรมได้ศึกษา ปฏิบัติ สืบทอดแนวทางของพระป่า ฝ่ายกรรมฐาน ตามพ่อแม่ครูบา อาจารย์ทุก ๆ องค์

ดร.ปฐม นิคมานนท์


สารบัญ ทายาททางธรรมของหลวงปู่มั่น ภูริทตั โต ครอบครัว “เรี่ยวแรง” การศึกษาขั้นต้น ปฏิบัติหน้าที่กุลบุตร ชอบผู้หญิงแบบไหน? ความฝันที่ชี้อนาคต ศุภนิมิตอีกครั้งหนึ่ง ศุภนิมิตประการที่สาม ความกดดันท�ำให้ใจหันเห ถูกพระหลอก โชคดี เลิกเชื่อเรื่องเครื่องรางของขลัง อยู่วัด ๖ ปี ไม่เคยมีพระสอนให้รักษาศีล พบหลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม ติดตามหลวงปู่สิงห์ จากบ้านครั้งที่สอง บรรพชาเป็นสามเณร อาลัยอาวรณ์หลวงปู่สิงห์ ตั้งใจเรียนหนังสือและบาลี ถูกลอตเตอรี่รางวัลที่หนึ่ง ต�ำแหน่งเศรษฐี ได้ตำ� แหน่งเศรษฐีในพริบตา ความมี ความจน ความสุข

๑๓ ๑๙ ๒๑ ๒๓ ๒๕ ๒๗ ๒๙ ๓๑ ๓๖ ๓๘ ๔๐ ๔๒ ๔๔ ๔๖ ๔๘ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๔ ๕๖ ๕๘ ๖๐


อุปสมบท ณ วัดสุทัศนาราม มหาองค์แรกที่ออกธุดงค์ รู้รสชาติของความอาลัย ทุกข์จากความห่วงอาลัย รสชาติการออกธุดงค์ ธุดงค์ไปจังหวัดอุดรธานี พบหลวงปู่มั่นครั้งแรก ออกเดินทางไปจังหวัดสกลนคร บ�ำเพ็ญเพียรที่ถ�้ำพวงบนภูเหล็ก จ�ำพรรษาบ้านหนองลาด หลวงปู่มั่นสั่งให้ไปพบ จ�ำพรรษาที่บ้านนาช้างน�้ำ สัญญาวิปลาสพระอาจารย์ทา ต้องไม่ห่างไกลผู้รู้ กลับไปสงเคราะห์โยมแม่ ไปปฏิบัติหลวงปู่มั่น ชาวบ้านเกิดโรคฝีดาษ ถูกหลวงปู่สิงห์เทศน์กระเทือนใจ หาความจริงเกี่ยวกับผีอ�ำ ต�ำรานอนหลับ – ไม่หลับ พูดถึงการเข้านิโรธสมาบัต ิ หลวงปู่พูดออกตัว เล่าเรื่องถวายครูอาจารย์ ติดตามหลวงปู่มั่นไปบ้านข่าโนนแดง

๖๓ ๖๔ ๖๗ ๖๙ ๗๑ ๗๓ ๗๕ ๗๘ ๘๐ ๘๓ ๘๕ ๘๗ ๘๘ ๙๑ ๙๒ ๙๔ ๙๖ ๙๙ ๑๐๒ ๑๐๕ ๑๐๗ ๑๑๐ ๑๑๓ ๑๑๔


มิใช่กลัวตาย แต่อยากตายหลายหน หลวงปู่มั่นพาหมู่คณะลงไปจังหวัดอุบลราชธานี ไปจังหวัดอุบลราชธานี มีทั้งดีและเสีย กลับมาจ�ำพรรษาที่บ้านนาช้างน�้ำ โปรดโยมพ่อ โยมพ่อถึงแก่กรรม ปรารภความเพียรอย่างแรงกล้า เดินจงกรมจนเท้าทะลุ ไปกราบหลวงปู่เสาร์ที่จงั หวัดนครพนม เรื่องของหลวงตามั่น ตัดสินอธิกรณ์ ผลสุดท้ายตอนสึก เรื่องของหลวงเตี่ยทองอินทร์ เรื่องมหัศจรรย์ของหลวงเตี่ย หลวงเตี่ยจะสึกแล้ว! ขอให้หลวงปู่เสาร์ถ่ายรูป ตามหลวงปู่เสาร์ไปฝั่งลาว วิตกกังวลถึงอนาคตภัย ร่วมกองทัพธรรม ตั้งวัดและจ�ำพรรษา ที่บ้านพระครือ จังหวัดขอนแก่น ออกวิเวกไปทางจังหวัดมหาสารคาม สอนหมอผีให้ถือพระรัตนตรัย สามีก็เลิกไสยศาสตร์

๑๑๕ ๑๑๖ ๑๑๗ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๒ ๑๒๔ ๑๒๗ ๑๒๙ ๑๓๐ ๑๓๒ ๑๓๔ ๑๓๖ ๑๓๘ ๑๔๐ ๑๔๒ ๑๔๔ ๑๔๖ ๑๔๙ ๑๕๑ ๑๕๒ ๑๕๔ ๑๕๗


หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ทายาททางธรรมของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต


หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี 15

ทายาททางธรรม ของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ในการเริ่มต้นเรียบเรียงประวัติของ พระราชนิโรธรังสี คัมภีรปัญญาวิศิษฎ์ หรือที่พวกเราเอ่ยนามท่าน ในฐานะที่เป็น ลูกหลานของท่านว่า หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี นี้ ขอเริ่มต้นด้วยข้อ เขียนของ ท่านหลวงตาพระมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน ที่ ก ล่ า วถึ ง องค์ ห ลวงปู ่ เ ทสก์ ในหนั ง สื อ ประวั ติ ท ่ า น พระอาจารย์มั่น ภูริทัตเตเถระ “พระทีเ่ ป็นลูกศิษย์รนุ่ แรกของท่าน (หลวงปูม่ นั่ ) คือ ท่าน พระอาจารย์สวุ รรณ (สุจณ ิ โฺ ณ) ทีเ่ คยเป็นเจ้าอาวาสวัดอรัญญิกาวาส อ�ำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม เจ้าอาวาสวัดป่าสาลวัน จังหวัดนครราชสีมา พระอาจารย์มหาปิน่ ปญฺ ญ าพโล เคยเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ป่ า ศรั ท ธารวม จั ง หวั ด นครราชสีมา ทั้ง ๓ องค์นี้ท่านเป็นชาวอุบลราชธานี และท่าน มรณภาพไปหมดแล้ว ซึง่ ล้วนเป็นลูกศิษย์ผสู้ ำ� คัญ ที่ให้การอบรม พระ เณร ญาติโยม สืบทอดจากพระอาจารย์มั่น มาเป็นล�ำดับ


16 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

ถึงสมัยปัจจุบัน พระอาจารย์หสิงห์ กับ พระอาจารย์มหาปิ่น ทั้ง สององค์นี้ท่านเป็นพี่น้องร่วมอุทรเดียวกัน และเป็นผู้ได้รับการ ศึกษาทางปริยัติมามากพอสมควร ทั้งสององค์นี้ ท่านเกิดความเลื่อมใสพอใจ ยอมสละ ทิฏฐิมานะและภาระหน้าที่ออกปฏิบัติตามท่านพระอาจารย์มั่น ตลอดมา และได้ท�ำประโยชน์แก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง รองลงมาก็พระอาจารย์เทสก์ เทสรังสี ท่านเป็นพระ ราชาคณะปัจจุบัน (พ.ศ.๒๕๑๔ ปีที่หลวงตาฯ เขียนหนังสือ เล่มนี้) ท่านจ�ำพรรษาอยู่วัดหินหมากเป้ง อ�ำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ท่านเป็นลูกศิษย์ผู้ใหญ่ของพระอาจารย์มั่น รูปหนึ่ง ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเป็นที่น่าเคารพเลื่อมใสอยู่มาก และเป็นที่ เคารพเลื่อมใสของพระเณรและประชาชนทั่วไปแทบทุกภาค ปฎิปทาของท่านเป็นไปอย่างเรียบ ๆ สม�ำ่ เสมอ สมกับทีม่ ี อัธยาศัยคล่องแคล่วอ่อนโยนและสงบเสงี่ยม ยากที่จะหาได้แต่ ละองค์ ค�ำพูดจาปราศรัยเป็นที่จับใจไพเราะต่อคนทุกชั้น ท่าน มีมารยาทสวยงามมาก ผู้ยึดไปเป็นคติและปฏิบัติตาม ย่อม เป็นผู้สวยงามและเย็นตาเย็นใจแก่ผู้ได้เห็นได้ยิน ตลอดผู้มา


หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี 17

เกี่ยวข้องทั่วไปอย่างไม่มีประมาณ เพราะมารยาทอัธยาศัยของ ครูอาจารย์แต่ละองค์ไม่เหมือนกัน คือมารยาทบางองค์ ใครน�ำ ไปใช้ก็งดงามหมด ไม่แสลงใจแก่ผู้มาเกี่ยวข้อง และเป็นความ งามตาเย็นใจในคนทุกชั้น แต่มารยาทของพระอาจารย์ ย่อมเป็นสมบัติที่เหมาะสม และสวยงามเฉพาะองค์ท่านเท่านั้น ผู้อื่นยึดเอาไปใช้ย่อมกลาย เป็นสิ่งที่ปลอมแปลงและแสลงใจผู้อื่น ที่ได้เห็นได้ยินขึ้นมาทันที ดังนั้นมารยาทของอาจารย์จึงไม่สะดวกที่จะยึดไปใช้ทั่ว ๆ ไป

ท่านอาจารย์เทสก์ เทสรังสี ท่านมีอัธยาศัยนุ่มนวลควรเป็นคติ และเป็นสิรมิ งคลแก่ผรู้ บั ไปปฏิบตั ติ ามทัว่  ๆ ไป โดยไม่มีปัญหาว่าจะขัดต่อสายตาและจิตใจ ของผู้มาเกี่ยวข้องแต่อย่างใด และเหมาะกับเพศนักบวช ผู้ควรมีมารยาท

อัธยาศัยสงบเสงียมเย็นใจโดยแท้


18 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

ที่คือลูกศิษย์ของท่าน (หลวงปู่มั่น) รูปหนึ่ง ที่ควรกราบ ไหว้ บูชาอย่างสนิทใจ ตามความรูส้ กึ ของผูเ้ ขียน (ท่านหลวงตาฯ) ทีไ่ ด้เคยสมาคมและกราบไว้บชู าท่าน โดยถือเป็นครูอาจารย์อย่าง สนิทใจตลอดมา ท่านมีลกู ศิษย์ลกู หามากในภาคต่าง ๆ และท�ำประโยชน์แก่ หมู่ชนอย่างกว้างขวาง จัดว่าเป็นพระอาจารย์ที่หาได้ยากรูปหนึ่ง ท่านหลวงตาพระมหาบัวฯ ได้เขียนถึงพระมหาเถระหลวง ปู่มั่น องค์ต่อไป เรียงล�ำดับอาวุโสพรรษา ได้แก่ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร แล้วก็ หลวงปู่ขาว อนาลโย ด้วยอาวุโสพรรษา ในบรรดาบูรพาจารย์ร่วมยุคสมัยกัน จึงถือว่า หลวงปู่เทสก์ ท่านเป็นประธาน หรือเป็น “พีใ่ หญ่” ของ บรรดาพระกรรมฐานศิษย์สายหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่เทสก์ ถือเป็นศิษย์ผู้หนึ่งที่ หลวงปู่มั่น ให้ความ เชื่อถือและรับฟังข้อทักท้วงต่าง ๆ เหตุการณ์ส�ำคัญที่เป็นที่รับทราบกันทั่วไป ได้แก่ การที่ หลวงปู่เทสก์ได้นิมนต์และชี้แจงเหตุผลให้หลวงปู่มั่นกลับจาก เชียงใหม่ไปโปรดศิษย์ที่อยู่ทางภาคอิสานได้ส�ำเร็จ หลังจากที่ หลวงปูม่ นั่ ปลีกออกจากหมูค่ ณะไปวิเวกทีเ่ ชียงใหม่นานถึง ๑๒ ปี


หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี 19

อีกครัง้ หนึง่ ก็ตอนทีห่ ลวงปูม่ นั่ ท่านป่วยหนักก่อนมรณภาพ หลวงปู่เทสก์ เป็นผู้นิมนต์ให้หลวงปู่มั่นออกจาก บ้านหนองผือ ไปมรณภาพทีว่ ดั ป่าสุธาวาส ทีอ่ ยูใ่ นตัวเมืองสกลนคร ซึง่ หลวงปูม่ นั่ ท่านก็ตกลงตาม ในกรณีข้างต้น หลวงปู่เทสก์ ได้บอกลูกศิษย์ลูกหาว่า

“บรรดาพระเล็กพระน้อยผู้เป็นศิษย์

ถ้าเรารู้จักฉลาด

ก็จะช่วยเหลือครูบาอาจารย์ได้” หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ท่านเป็นพระอรหันต์ที่มีฤทธิ์ บาง ครัง้ การแสดงออกของท่านอาจจะโลดโผนไปบ้าง ไม่มใี ครกล้าเตือน องค์หลวงปู่มั่น ได้มอบหมายให้ หลวงปู่เทสก์ เป็น ผู้ไปห้ามปรามตักเตือน ซึ่งหลวงปู่ตื้อ ท่านก็รับฟังและปฏิบัติ ตามโดยดี


20 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

แม้ในระยะหลัง ๆ ครูบาอาจารย์บางท่านได้เปิดโอกาส หรือเอื้อเฟื้อให้มีการสร้างพระเครื่อง และเครื่องลางของขลัง ออกจะมากไปส�ำหรับพระสายปฏิบัติ ท�ำให้หลวงปู่เทสก์ต้องส่ง สัญญาณเตือน เป็นการปราม ท�ำให้ได้รบั การเชือ่ ฟังโดยดีเช่นกัน

หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ท่านเป็นบูรพาจารย์สายกรรมฐาน

ทีม่ คี วามบริสทุ ธิ์ มีความงดงาม ตลอดสาย เปี่ยมด้วยความเมตตา และฉลาดในการสอนเป็นอย่างยิ่ง

ผู้มีโอกาสกราบไหว้ได้รับการสอน และมีโอกาสศึกษา เรื่องราวและค�ำสอนของท่าน จะสามารถตระหนักในคุณธรรม ของท่านได้เป็นอย่างดี


หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี 21

ครอบครัว “เรี่ยวแรง” หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี เป็นชาวอ�ำเภอบ้านผือ จังหวัด อุดรธานี จากประวัติท่านได้บนั ทึกเกี่ยวกับครอบครัวดังนี้ “เดิมชื่อ เทสก์ สกุล เรี่ยวแรง เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๕ เวลาประมาณ ๑๙.๐๐ น. (อ่านว่า วันเสาร์ แรมสีค่ ำ�่ เดือนห้า) ปีขาล ณ บ้านนาสีดา ต�ำบลกลางใหญ่ อ�ำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี บิดาชื่อ อุส่าห์ มารดาชื่อ ครั่ง อาชีพท�ำนา ทั้งสองเป็น ก�ำพร้าพ่อด้วยกัน ซึ่งได้อพยพมาจากอ�ำเภอด่านซ้าย จังวัดเลย มารดาอพยพมาจากเมืองฝาง (บัดนี้เป็นต�ำบล) อ�ำเภอ ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ แล้วได้มาแต่งงานกัน ณ บ้านนาสีดา ตัง้ หลักฐานท�ำมาหากินจนกระทัง่ บัดนี้ มีบตุ รธิดาร่วมกัน ๑๐ คน คือ


ธรรมทั้งหลาย มีอยูในตัวเราทุกคน ผูรูธรรมคือ ใจ ที่จะรูมากนอย หยาบ ละเอียด ก็แลวแตความสามารถ บุญบารมี หรือการอบรมของแตละบุคคล

ISBN 978-616-376-033-3

9 786163 760333

ราคา ๑๕๙ บาท หนั ง สื อ คุณภาพ หมวดธรรมะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.