หลวงปู่ฝั้น อาจาโร พระผู้เมตตาอย่างไม่มีจำกัด

Page 1



อนุโมทนาธรรม ..............................................................

สิ่งทั้งหลายในโลกนี้ ไม่เที่ยงเป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ทั้งสิ้น

..............................................................



อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ชาติภูมิและค�ำสอน เล่ม ๙

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

ดร.ปฐม นิคมานนท์ เรียบเรียง


อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ชาติภูมิและค�ำสอน เล่ม ๙

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

เรียบเรียง ดร.ปฐม นิคมานนท์ บรรณาธิการบริหาร ดนัย จันทร์เจ้าฉาย บรรณาธิการเล่ม สุทธิชัย ปทุมล่องทอง ศิลปกรรม นันท์พสิษฐ์ โชติน้อย, สุรศักดิ์ ละสามา พิมพ์ที่ บริษัท พริ้นท์ซิตี้ จ�ำกัด พิมพ์ครั้งที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ ปฐม นิคมานนท์. หลวงปู่ฝั้น อาจาโร.-- กรุงเทพฯ : ดีเอ็มจี, ๒๕๕๙. ๑๖๐ หน้า. -- (อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน). ๑. หลวงปู่ฝั้น อาจาโร, ๒. ธรรมเทศนา. I. ชื่อเรื่อง. ๒๙๔.๓๐๙๒๒ ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๓๗๖-๐๓๕-๗

จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี ๔๙๖-๕๐๒ อาคารอัมรินทร์พลาซ่า ชั้น ๒๒ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ (สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสชิดลม) โทรศัพท์ 0 ๒๖๘๕ ๒๒๕๔-๕ โทรสาร ๐ ๒๖๘๕ ๒๒๙๘-๙ Website: www.dmgbooks.com จัดจ�ำหน่ายโดย บริษัท อมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์ จ�ำกัด โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๓ ๙๙๙๙ โทรสาร ๐ ๒๔๔๙ ๙๕๖๑-๓

ราคา ๑๕๙ บาท ในกรณีทที่ า่ นต้องการซือ้ หนังสือเป็นจ�ำนวนมากเพือ่ ใช้ในการสอน การศึกษา หรือเป็นของขวัญพิเศษ กรุณาสอบถามรายละเอียดและราคาพิเศษเพิ่มเติมได้ที่โทรศัพท์ 0 ๒๖๘๕ ๒๒๕๔


ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ พระป่าหรือพระธุดงคกรรมฐาน ที่ได้รับการยกย่องนับถือ ว่าเป็นพระบูรพาจารย์ใหญ่แห่งกองทัพธรรมพระกรรมฐาน ได้แก่ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตฺโต ที่บ�ำเพ็ญความเพียรจนบรรลุธรรม ชั้นสูงสุด และได้อบรมสั่งสมบารมีธรรม แก่พระภิกษุสามเณร จนมีศิษย์เป็นพระธุดงคกรรมฐาน ผู้ทรงคุณธรรม สัมมาปฏิบัติ ออกจาริกธุดงค์ เผยแพร่ธรรม เป็นสุปฏิปันโน ที่มีปฏิปทา คือ ข้อวัตรข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่น่าเลื่อมใสศรัทธา หนังสือชุด “พระอริยสงฆ์ แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” จัดพิมพ์ เพื่อเผยแพร่หลักค�ำสอนของพระอริยสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ น้อมน�ำระลึกถึงหลักค�ำสอนทีโ่ ดดเด่น เพือ่ น�ำมาขัดเกลาให้ชวี ติ ไม่ หลงยึดติดกับโลกของวัตถุ จนลืมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าสอนไม่ให้ประมาท ไม่ให้ลืมตัว ไม่ให้ลืมบุญ วาสนาของตน คือไม่ให้ลืมตัวในการสร้างคุณงามความดี ใจเราก็ ไม่มีพุทโธ ธัมโม สังโฆ อันเป็นเหตุให้ต่อภพต่อชาติเป็นมนุษย์ต่อ ไป เมื่อบารมีไม่แก่กล้า ไม่เชื่อมั่นในพระรัตนตรัย เราก็จะพากัน ไปสู่ภพที่ตำ�่ ลงได้


พระอริยสงฆ์ผมู้ ปี ฏิปทา ปฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบ อยูใ่ นศีลาจาร วัตร มุง่ มัน่ เผยแพร่คำ� สอนเดินตามรอยพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด ไม่หลงโลก มุ่งแต่ธรรม ล้วนแต่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ ทุกท่าน ศรัทธาในบารมีและยึดเป็นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวิต หนังสือชุดอริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑ ได้นำ� ชาติภมู ิ และค�ำสอนพระเถระ ๑๔ รูป น้อมน�ำไปปฏิบตั เิ พือ่ ความเป็นมงคล อาทิ พระครูวเิ วกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) พระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม หลวงปูข่ าว อนาลโย หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร หลวงปูช่ อบ ฐานสโม หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี พระญาณวิศิษฏ์ สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร) หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ พระเทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสัมปันโน) หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” เรียบเรียงโดย ดร.ปฐม นิคมานนท์ ได้น�ำหลักค�ำสอน ปฏิปทา คุณงามความดี และแก่นธรรมมรดกความคิด ซึ่งเป็นแบบอย่าง “การไม่ยึดติด ไม่หลงโลก หลงกิเลส” น้อมคารวะทุกดวงจิตที่ดีงาม ส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี


ค�ำน�ำผู้เรียบเรียง หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” เรียบเรียงขึน้ เพือ่ เผยแพร่พระธรรมค�ำสอนของพระอริยสงฆ์ ผู้เจริญรอยตาม พระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั โฺ ต พระอาจารย์ใหญ่ฝา่ ยกรรมฐาน ทีม่ นั่ คง ในปฏิปทา และศีลาจารวัตรที่งดงามควรค่าแก่การยึดเหนี่ยว ปฏิบัติ ช�ำระล้างกิเลสอันเป็นสาเหตุของการเกิดทุกข์ ค�ำสอนของอริยสงฆ์ เปรียบเสมือนความสว่างที่คอยขจัด ความมืดให้หลุดพ้นไปจากจิตใจ ท�ำให้เกิดสติ มีปญ ั ญา รูจ้ กั แก้ปญ ั หา ซึ่งคนเราละเลยการปฏิบัติดี ขาดธรรมมะ เป็นความบกพร่องต่อ ศีลธรรม หนังสือชุดนีจ้ ดุ ประกายแสงแห่งธรรมให้คดิ พูด ท�ำ อย่างมีสติ หนังสือชุด “อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน ชุดที่ ๑” ได้รวบรวม เรียบเรียงพระอริยสงฆ์สายพระป่ากรรมฐาน ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และเป็นทีร่ จู้ กั กันเป็นอย่างดี ไม่วา่ จะเป็น พระครูวเิ วกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต หลวงปูต่ อื้ อจลธมฺโม หลวงปูข่ าว อนาลโย หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร หลวงปูช่ อบ ฐานสโม หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร) หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ พระเทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสัมปันโน)


การจัดท�ำหนังสือชุดนี้ เพื่อให้ผู้ใฝ่ธรรมได้รู้อีกแง่มุมหนึ่ง ของการธุดงควัตร ฝึกกรรมฐาน หลักค�ำสอน หลักปฏิบัติ ผ่านการ ขัดเกลา ทดสอบจิต อย่างเคร่งครัด เป็นแนวทางธรรมที่ช่วยผ่อน คลายความทุกข์ทางโลก ให้สงบสุขในทางธรรม ซึ่งเป็นขั้นแรกของ การฝึกกรรมฐาน ด้วยการส�ำรวจความพร้อมของจิตใจ ความสุขที่เกิดจากใจสงบ ย่อมน�ำมาซึ่งสติ ปัญญา สมาธิ คิดท�ำสิ่งใด พึงระลึกไว้ในค�ำสอน เพราะมนุษย์ล้วนแต่มีความ โกรธ ความโลภ ความหลง ซ่อนเร้นอยู่ในใจ หากท�ำอะไรโดยไม่คิด ไตร่ตรองอย่างมีสติ ความทุกข์ที่ขังอยู่ก็เป็นเพียงแค่ความว่างเปล่า เท่านั้นเอง ต้องขอขอบพระคุณ คุณดนัย จันทร์เจ้าฉายและทีมงาน กองบรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ดีเอ็มจี ที่เล็งเห็นคุณค่าของธรรมะ ค�ำสั่งสอนพระอริยสงฆ์ จัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ใฝ่ธรรมได้ศึกษา ปฏิบัติ สืบทอดแนวทางของพระป่า ฝ่ายกรรมฐาน ตามพ่อแม่ครูบา อาจารย์ทุก ๆ องค์

ดร.ปฐม นิคมานนท์


สารบัญ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

พระผู้เมตตาอย่างไม่มีจ�ำกัด เรื่องของชาวภูไท เหตุอัศจรรย์ครั้งที่สอง เข้าเฝ้าพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต ปักหลักและเสี่ยงบุญวาสนา เหตุการณ์สมัย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เหตุการณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ตั้งเมืองพรรณา ตระกูล “สุวรรณรงค์” สกุล “สุวรรณรงค์” ที่ระลึกการปราบกบฏฮ่อ ต�ำแหน่งราชการกรมการเมือง

๑๒ ๒๕ ๒๘ ๓๑ ๓๓ ๓๘ ๔๐ ๔๒ ๔๖ ๔๙ ๕๔


วัยเด็กและการศึกษาขั้นต้น ใฝ่ฝันจะเข้ารับราชการ ขอลาพี่เขยและพี่สาว การบวชเป็นการตอบแทนคุณพ่อแม่ เดินทางกลับบ้านที่สกลนคร บรรพชาเป็นสามเณร เข้าพิธีอุปสมบท

๕๙ ๖๑ ๖๓ ๖๙ ๗๒ ๗๕ ๗๙

ฝึกกรรมฐานภาวนาครั้งแรก

๘๑

พบหลวงปู่มั่นครั้งแรก

๘๔

คุณของพระพุทธเจ้า

๘๘

คุณของพระธรรม

๙๔

คุณของพระสงฆ์

๙๙

เหตุใดต้องตั้ง นะโม ก่อนทุกครั้ง?

๑๐๓

ถวายตัวเป็นศิษย์หลวงปู่มั่น

๑๐๙

พบหลวงปู่ดูลย์ อตุโล

๑๑๓


เข้าปฏิบัติกับหลวงปู่ดูลย์

๑๑๗

หลวงปู่ดูลย์ พูดถึงหลวงปู่ฝั้น

๑๒๖

อยู่ปฏิบัติกับหลวงปู่มั่น

๑๒๘

ไป๊ – ไปผู้เดียวนั่นแหละ

๑๓๑

ผีเจ้าถ�้ำพระบด!

๑๓๔

อยู่ด้วยข้าวเหนียววันละปั้น

๑๓๘

มุ่งไปภูเขาควาย ฝั่งลาว

๑๔๑

ใช้ภาษิตข่มความกลัว

๑๔๓

หลวงปู่มั่นหยั่งรู้ใจศิษย์

๑๔๘

สามเณรพรหม แยกไปเรียนหนังสือ

๑๕๑

ได้อุบายธรรมจากหมาแทะกระดูก

๑๕๔


หลวงปู่ฝั้น อาจาโร พระผู้เมตตาอย่างไม่มีจ�ำกัด


หลวงปู่ฝั้น อาจาโร 15

หลวงปู ่ ฝ ั ้ น อาจาโร แห่ ง วั ด ป่ า อุ ด มสมพร อ� ำ เภอ พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร เป็นศิษย์รุ่นใหญ่องค์หนึ่งของ หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต พระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนากรรมฐาน หรื อ ที่ ทุ ก ท่ า นรู ้ จั ก กั น ในนาม พระป่ า ฝ่ า ยวิ ป ั ส สนา (ไม่ ใ ช่ เกจิอาจารย์ ตามที่สื่อและหลายท่านเข้าใจ) สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วา นมหาเถระ) สมเด็จ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ได้มีลิขิตถึงองค์หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ว่า “พระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร นับเป็นปูชนียภิกษุรปู หนึง่ การ บ�ำเพ็ญสมณธรรมตลอดถึงกรณียกิจน้อยใหญ่ ที่ท่านได้ปฏิบัติ มาแล้ว ล้วนแต่สมควรถือเป็นอนุสาวรีย์แห่งชีวิตของท่าน ที่ บรรดาศิษยานุศิษย์ ผู้มีน�้ำใจมั่นในกตัญญูกตเวทีตามธรรม จะ พึงบูชาด้วยการปฏิบัติตามเยี่ยงอย่าง ตลอดกาลทุกเมื่อ” หากกล่าวถึงวัตรปฏิบัติ ของ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร นั้น ท่านเคร่งครัดเหมือน หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต พระอาจารย์ใหญ่ ของ ท่านเลยทีเดียว ซึ่งเป็นมรดกธรรมที่ตกทอดสืบมาถึงพระ ลูก พระหลานสายพระป่าในปัจจุบัน


16 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

ได้แก่ การหมั่นเพียรในการเจริญสมาธิภาวนา ฉันน้อย นอนน้อย ท�ำความเพียรมาก การออกบิณฑบาต ฉันหนเดียว ฉันในบาตร ปัดกวาดบริเวณ เดินจงกรม การอยู่ป่าอยู่ถำ�้ ที่สงัด วิเวก การถือผ้า ครองสามผืน เคร่งครัดละเอียดอ่อนในธรรมวินยั ปฏิบัติต่อครูบาอาจารย์ ด้วยความเคารพอย่างสูงสุด

พระป่าที่แท้จริง มีจริยาวัตรที่งดงามสงบเย็น มีความองอาจเช่นสมณะ

น่าเคารพเลื่อมใส แก่ผู้มีโอกาสไหว้กราบ

ชีวติ การปฏิบตั ธิ รรมของหลวงปู่ มีความวิรยิ ะเป็นพืน้ ฐาน ตั้งมั่นในพระพุทธศาสนา จริยาวัตรงดงามเสมอต้นเสมอปลาย ตลอดสาย ด�ำรงตนอยู่ด้วยความสันโดษและเรียบง่าย มีความ สะอาดสว่างสงบ และเปี่ยมด้วยเมตตาอย่างหาประมาณมิได้ ด้วยเกียรติคุณดังกล่าว จึงท�ำให้กิตติศัพท์ของท่าน ขจรขจายไปทุกสารทิศ เป็นแรงดึงดูดให้คนหลั่งไหลไปเคารพ สักการะและฟังธรรม จากท่านตลอดทุกวันเวลา


หลวงปู่ฝั้น อาจาโร 17

ดังนั้น หลวงปู่ฝั้น อาจาโร จึงมีศิษยานุศิษย์ที่เคารพ นับถือท่านอยู่ทุกหนทุกแห่งทั่วประเทศ ไม่แต่เท่านั้น ในขณะที่ หลวงปู่ ยังมีชีวิตอยู่ ได้มีชาวต่างประเทศทั้งชาวยุโรป อเมริกา และเอเชีย มาบรรพชาจ�ำพรรษา และมาขอพ�ำนักเพือ่ รับการอบรม ธรรมจากท่านเป็นประจ�ำ เมตตาธรรมและคุณความดีของหลวงปู่ ได้เป็นทีป่ ระจักษ์ แก่บรรดาสานุศิษย์และบรรดาสาธุชนโดยทั่วไป สุ ด ยอดคนของชาวไทย คื อ องค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และ พระบรมวงศานุวงศ์ ก็ยงั ทรงเลือ่ มใสในพระธรรม ของหลวงปู่ โดยเสด็จพระราชด�ำเนินไป ทรงทอดผ้ากฐินทีว่ ดั ป่าอุดมสมพร เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๑๕ และได้นิมนต์หลวงปู่ไป พักที่วัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลาถึงเดือนเศษ รวมทั้งได้เสด็จ พระราชด�ำเนินเป็นการส่วนพระองค์ไปสนทนาธรรม และรับ การอบรมธรรมจากองค์หลวงปู่ยัง วัดป่าอุดมสมพร จังหวัด สกลนคร อีกด้วย


18 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

ครูบาอาจารย์เคยเล่าให้ฟังว่า ระหว่างที่ หลวงปู่ พัก อยู่ที่วัดบวรนิเวศวิหาร ตามที่ล้นเกล้าฯ ทรงอาราธนานิมนต์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๕ นั้น ล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมและสนทนาธรรมกับหลวงปู่เนือง ๆ รวมทั้งทรงนั่ง สมาธิภาวนาโดยมีหลวงปู่ถวายการแนะน�ำอยู่ด้วย หลวงปู่ ได้ถวายค�ำอธิบายถึงข้อแตกต่างระหว่างการฟัง เทศน์และการฟังธรรม เหมือนกับที่ท่านบอกเล่ากับสานุศิษย์ ทั่วไปว่า การฟั ง เทศน์ คนฟั ง มั ก นั่ ง ประนมมื อ ลื ม ตา และ ตั้งใจฟังเพื่อเก็บเนื้อหาธรรมให้ได้มากที่สุด ส่วน การฟังธรรม ตามแนวทางของพระสายป่านั้น ท่าน ให้ทำ� สมาธิภาวนาไปด้วย กระแสธรรมผ่านเข้าทางหู แล้วซึมซาบ เข้าสู่จิตใจ เกิดความรู้สึก สงบเย็น ชุ่มชื่น อิ่มเอิบในหัวใจ ส่วน เนือ้ หาธรรมจะเข้าใจ-ไม่เข้าใจ จ�ำได้-จ�ำไม่ได้ ไม่ใช่ประเด็นส�ำคัญ ที่สุด


หลวงปู่ฝั้น อาจาโร 19

เมื่อใจเราสงบ

เย็น บริสุทธิ์ แล้ว เนื้อหาธรรมก็จะตามมาเอง ทั้งหมดนี้สามารถพิสูจน์ตรวจสอบได้ด้วยตัวเราเอง ส�ำหรับผู้ท่ีไม่เคยมักจะวิจารณ์ว่า “ขนาดลืมตาฟัง ยัง ไม่ค่อยรู้เรื่อง แล้วหลับตาฟังจะไปรู้อะไร” ที่รุนแรงกว่านั้นถึง กับบอกว่า “นั่งหลับตาให้โง่” ก็มีเยอะไป ส� ำ หรั บ การแสดงธรรม ที่ ห ลวงปู ่ ไ ด้ แ สดงถวาย ล้นเกล้าฯ นั้น ท่านก็เริ่มด้วยการสอนให้รู้จักนั่งสมาธิภาวนา เช่นเดียวกับที่สอนพวกเรา ๆ ท่าน ๆ ทั้งหลาย โดยเริ่มต้นว่า “นั่งให้สบาย นั่งขัดสมาธิ เอาขาขวาทับขาซ้าย มือขวา ทับมือซ้าย ตั้งกายให้สบาย เราต้องการความสุขสบาย วางท่า วางทางให้สบาย สง่าผ่าเผย ยิ้มแย้มแจ่มใสไม่ต้องกดต้องตึง วางให้สบาย


20 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

พอกายเราสบายแล้ว วางดวงใจให้สบาย เมื่อใจเรา สบายแล้ว ให้ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อยู่ในใจ เชื่อมั่นอยู่ในนั้น จึงให้นึกบริกรรมภาวนาว่า พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ สามครั้ง แล้วให้นึก พุทโธ๊ - พุทโธ ค�ำเดียว หลับตาสงบปากเสีย ให้ระลึกอยู่ในใจ พุทโธ คือ ความรู้ ความรู้อยู่ตรงไหนล่ะ ตาก็เพ่งดูที่รู้ว่า พุทโธ ให้กำ� หนดดูที่เราอยากรู้ หูก็ลงไปฟังที่รู้อยู่นั้น สติของเรา ก็จดจ่อดูอันรู้นั้น อย่าส่งใจไปข้างหน้า มาข้างหลัง ข้างซ้ายข้างขวา ข้างบน ข้างล่าง ตั้งเฉพาะท่ามกลาง อันรู้อยู่ ความรู้อยู่ตรงไหนล่ะ เราก�ำหนดรู้อยู่ตรงนั้นไม่ต้องหา วางให้หมด ดูอันรู้นั้นอยู่ นี่แหละเราจึงรู้จักว่าที่พึ่งของเรา เมื่อจิตของเราสงบเป็นสมาธิ ตั้งตรงแน่วอยู่ ภายในใส รู้สึกเบาตนเบาตัว


หลวงปู่ฝั้น อาจาโร 21

เมื่อจิตสงบแล้ว หายทุกข์หายยาก หายความล�ำบาก ร�ำคาญ มีแต่ความเบา มีแต่ความสบาย นั่นแหละที่อยู่ของตน ที่เรียกว่า กุศลธรรม” ต่อจากนัน้ หลวงปู่ จึงเริม่ แสดงธรรมตามทีป่ รากฏขึน้ ใน ใจท่าน ซึ่งตรงกับจริต ภาวะ และอารมณ์ ของผู้ฟังในขณะนั้น จึงไม่ต้องแปลกใจว่า ฟังธรรมะจากพระป่าแล้วเข้าถึง จิตใจได้ เป็นอย่างดี ดีกว่าการจดจ�ำจากหนังสือมาเทศน์ให้ฟัง ซึ่งต่างกันอย่าง ไกลลิบทีเดียว หลวงปู่ฝั้น อาจาโร มีพลังจิตแรงกล้า มีอยู่ครัง้ หนึง่ เมือ่ ท่านโดยสารรถยนต์ครัง้ แรก ท่านส่งจิตไปพิจารณาการท�ำงานของ เครื่องยนต์ ปรากฏว่าเครื่องยนต์ดับ รถหยุดกึกทันทีทันใด ท่าน ท�ำได้ถึง ๓ ครั้ง จนกระทั่งแน่ใจ จึงได้หยุดพิจารณา อีกครั้งหนึ่ง ท่านส่งจิตขึ้นไปพิจารณานกที่ก�ำลังบินอยู่ ท�ำให้เขาตกลงมาต่อหน้าท่านในทันที แม้แต่ร�ำพึงถึงกิ่งไม้ตายอยู่บนต้น เกรงจะหล่นลงมาทับ ผู้คนให้เป็นอันตราย เพียงครู่เดียวกิง่ ไม้นนั้ ก็หล่นโครมลงมาต่อ หน้าต่อตาท่านอย่างน่าอัศจรรย์!


22 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

และอีกครัง้ หนึง่ ท่านออกจากสมาธิ เห็นมดก�ำลังเดินทาง เป็นสายอย่างขยันขันแข็งตามธรรมชาติของเขา ท่านได้แต่รำ� พึงใน ใจว่า “เดินกันทั้งวันทั้งคืน ไม่หยุดพักกันบ้างหรือ ?” เท่านั้นแหละ มดทั้งสายหยุดกึกกลายเป็นภาพนิ่งทันที หลวงปู่รู้สึกผิดที่ไปขัดขวางการท�ำมาหากินของเขา ท่านกล่าว ค�ำขอโทษ แล้วบอกให้พวกเขาท�ำหน้าที่ต่อไป กล่าวจบบรรดามดทั้งสายก็เคลื่อนไหวตามปกติ อย่าว่า แต่พวกเราจะงงเลย แม้แต่บรรดามดก็คงงงเหมือนกัน ! อย่างไรก็ตาม คุณธรรมทีเ่ ด่นสุดของหลวงปู่ฝั้น อาจาโร ได้แก่ คุณธรรมด้านเมตตา ดังที่ขึ้นหัวเรื่องไว้แต่ต้นว่า “พระผู้ เมตตาอย่างไม่มีจ�ำกัด” เรื่องนี้ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์ ศิษย์ผู้ ใกล้ชิด และนายแพทย์ประจ�ำองค์หลวงปู่ ได้เขียนเรื่องนี้ภายใต้ ชื่อหัวข้อว่า “กรุณามหัณณโว” หมายถึง ความกรุณาที่ยิ่งใหญ่ ดุจดังห้วงมหรรณพ โดยมีข้อความตอนหนึ่งว่า


หลวงปู่ฝั้น อาจาโร 23

“คุณธรรมที่เด่นที่สุดของท่านอาจารย์ (หลวงปู่ฝั้น) คือ กรุณาคุณ ความกรุณาของท่านนี้แหละเป็นตัวดึงดูดให้คนทั้ง หลายพากันไปหาท่าน แล้วก็รักและนับถือท่าน และเมื่อจากไป ก็เฝ้าระลึกถึงท่าน เพราะเหตุนนั้ เมือ่ ท่านถึงแก่มรณภาพจึงมีคนหัวบ้านหัว เมืองต่าง ๆ ทั่วประเทศ ไปเคารพศพนับเป็นจ�ำนวนแสน” ในการสรงน�ำ้ ศพของ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ในครั้งนั้น (ปี พ.ศ. ๒๕๒๐) เป็นครัง้ แรกของเมืองไทย ไม่วา่ ในกรณีของบุคคล ใดก็ตาม ถ้าพระมหากษัตริยพ ์ ระราชทานอาบน�ำ้ ศพแล้วจะไม่มี การรดน�ำ้ ศพอีก แต่กรณีศพของหลวงปู่ฝั้น อาจาโร ครั้งนั้น พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ด้ ว ย พระกระแสรับสั่งของพระองค์เองว่า


24 อริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

“ขออย่าได้ห้ามประชาชน

สรงน�้ำศพท่านอาจารย์

จงให้เขาได้สรงน�้ำกันต่อไปตามแต่ศรัทธา” สาธุ ! นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ เป็นล้นพ้น แก่พสกนิกร ชาวไทย สาธุ ! เป็นที่ทราบกันว่า ด้วยความเมตตาของหลวงปู่นี้เอง คือ มีอะไรหรือใครขออะไรให้หมด ใครใช้อะไรก็ท�ำให้หมด นี้เอง เป็นเหตุให้ท่านต้องเสียอะไรต่อไป ตลอดจนกระทั่งชีวิต เมือ่ ครัง้ หลวงปู่ ออกจากการรักษาอาพาธจากโรงพยาบาล ท่านได้มาพักสุขภาพที่วดั พระศรีมหาธาตุ บางเขน กรุงเทพฯ เป็น เวลาเดือนกว่า ได้มญ ี าติโยมผู้เคารพศรัทธา เข้าถวายอาหารท่าน อย่างเนืองแน่นทุกเช้า หลวงปู่กเ็ มตตาฉันให้อย่างละค�ำสองค�ำ นอกจากให้ศีล ให้พรตามธรรมเนียมแล้ว ท่านก็ยังเมตตาอบรมธรรม พานั่ง สมาธิภาวนาทุกเช้าอีกด้วย


หลวงปู่ฝั้น อาจาโร 25

กลางวันต้องรับแขกทั้งวัน ตอนค�่ำยังต้องแสดงธรรม อบรมสมาธิภาวนาอีกรอบหนึ่ง แม้ท่านจะอยู่ในอาการเจ็บป่วยท่านก็ยัง “ให้” ญาติโยม และ ลูกศิษย์ลกู หาอย่างไม่รจู้ กั เหน็ดจักเหนือ่ ย ท�ำเอาบรรดาคุณ หมอต่างรู้สึกไม่สบายใจ แต่ไม่รู้จะท�ำอย่างไร เพราะไม่สามารถ ขัดเมตตาของท่านได้ หน�ำซ�้ำ เมื่อหลวงปู่กลับถึงวัดที่จังหวัดสกลนครแล้ว ผู้คนก็ยังหลั่งไหลไปกราบท่าน และขอฟังธรรมจากท่านอย่าง ล้นหลามทุกวัน แม้คณะแพทย์และลูกศิษย์ จะขอร้องให้ทา่ นหยุดรับแขก แต่ หลวงปู่ก็ไม่ยอม ท่านบอกว่า สงสารพวกที่อุตส่าห์เดินทางมาแต่ไกล ไม่อยากให้พวก เขาต้องผิดหวังกลับไป หลวงปู่ ผู้ที่เป็นที่เคารพรักยิ่งของพวกเรา


เห็นธรรมในจิต เห็นจิตในธรรม เห็นธรรมเปนจิต เห็นจิตเปนธรรม ปราศจากตัวตนสัตว บุคคล เรา เขา จึงเปนจิตวาง จิตสูญ จิตวางแบบนี้ใชวางเปลา แตวางจากกิเลสอาสวะ จิตสูญ แบบนี้ ไมใชสูญเปลา แตจิตสูญจากสัตว บุคคล จากตัว จากตน จากเขา จากเรา

ISBN 978-616-376-035-7

9 786163 760357

ราคา ๑๕๙ บาท หนั ง สื อ คุณภาพ หมวดธรรมะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.