กฎหมายและร่างกฎหมาย ที่ส่งผลกระทบต่อบุคลากร ทางด้านสาธารณสุข โดย นายแพทย์อนันต์ อริยะชัยพาณิชย์ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุรินทร์ ประธานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 80 (2) ผู้มีหน้าที่ (ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข) ที่ได้ปฏิบัติ หน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพจริยธรรมย่อมได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมาย
กฎหมายที่มีผลกระทบต่อบุคลากรทางด้านสาธารณสุข 1. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 2554 มาตรา 12 สาระสําคัญ การแสดงเจตนาไม่ ป ระสงค์ จ ะรั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข เพี ย งเพื่ อ ยื ด การตาย ในวาระสุดท้ายของชีวิต ผลกระทบและข้อกังวล - การวินิจฉัยวาระสุดท้ายของชีวิต - การทําหนังสือแสดงเจตนา - สถานที่เก็บหนังสือ - การตรวจสอบเอกสารแสดงเจตนา
2. พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 41 สาระสําคัญ การกันเงินไม่น้อยกว่าร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วยบริการไว้เป็นเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้บริการ ผลกระทบและข้อกังวล - การขยายสิทธิโดยแก้ไขมาตรา 41 ให้ครอบคลุมบุคคลต่างๆ ต้องใช้เวลานาน - ถ้าจะเยียวยาให้ครบและสอดคล้องกับภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน ต้องมีการทบทวนอัตราการจ่ายเงินใหม่
3. พระราชบั ญ ญั ติ ค วามรั บ ผิ ด ต่ อ ความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น จากสิ น ค้ า ที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 สาระสําคัญ กฎหมายฉบั บ นี้ จ ะส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความเปลี่ ย นแปลง ในวงการแพทย์ ใ น ส่วนที่เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ เครื่องมือแพทย์ การจ่ายยา การขายยา การผลิตยา ทั้งในสถานพยาบาลเอกชน คลินิกรักษาโรค สถานเสริมความงาม รวมไปถึง ผู้ประกอบธุรกิจ ร้านยาและเภสัชกร ซึ่งต้องปรับรูปแบบการดําเนินงาน มิฉะนั้นอาจ ถูกฟ้องอย่างง่ายดาย ผลกระทบและข้อกังวล - ต้องมีมาตรการหรือแนวทางที่เป็นมาตรฐาน - กระบวนการตัดสินพิจารณาของศาล - ต้องมีการหามาตรการในการแก้ไขความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
4. พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 สาระสําคัญ ให้มีระบบวิธี พิจารณาคดีที่ เอื้อต่ อการใช้สิทธิ เรียกร้องของผู้บริโภค เพื่อให้ ผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหายได้รับการแก้ไขเยียวยาด้วยความรวดเร็ว ประหยัดและ มีประสิทธิภาพ อันเป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค ขณะเดียวกัน เป็นการส่งเสริม ให้ผู้ประกอบธุรกิจหันมาให้ความสําคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของสินค้าและบริการให้ดี ยิ่งขึ้น ผลกระทบและข้อกังวล -
5. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน พ.ศ. 2554 สาระสําคัญ เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการวางมาตรการควบคุ ม กํ า กั บ ดู แ ล และบริ ห ารจั ด การ ด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการทํ า งานอย่ า งเหมาะสม สําหรับป้องกัน สงวนรักษาบุคคลอันเป็นกําลังสําคัญของชาติ ผลกระทบและข้อกังวล - ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ฯ ฉบั บ นี้ มุ่ ง เน้ น ในเรื่ อ งการส่ ง เสริ ม และดู แ ลความ ปลอดภัยฯ ในการทํางาน แต่ไม่ได้มุ่งเน้นในเรื่องของการรักษาพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ดั ง นั้ น ควรมี ห น่ ว ยงานที่ ทํ า หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการดู แ ลผู้ ที่ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ จากการ ประกอบอาชีพ - ข้อมูลเกี่ยวกับการประสบอันตรายจากการทํางานนั้นอาจเป็นข้อมูลที่ไม่ ถูกต้องตามความเป็นจริง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสําคัญกับการได้มาซึ่งข้อมูล ที่ถูกต้อง เพื่อให้การดําเนินงานด้านความปลอดภัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ร่างกฎหมายที่คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อบุคลากรทางด้านสาธารณสุข 1. ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... สาระสําคัญ เพื่อให้ผู้ได้รับความเสียหายจากบริการสาธารณสุขได้รับการแก้ไขเยียวยา โดยรวดเร็วและ เป็นธรรม โดยการจัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข ทั้งให้ศาลอาจใช้ ดุลพินิจในการลงโทษหรือไม่ลงโทษผู้ให้บริการสาธารณสุขในกรณีที่ถูกฟ้องคดีอาญาข้อหากระทําการ โดยประมาทด้วย ผลกระทบและข้อกังวล - ขอให้พิจารณาทบทวนการเสนอร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... ให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายซึ่งยังไม่รบั ทราบ - ขอให้พิจารณาขยายสิทธิในการได้รับการ “ช่วยเหลือเยียวยา” ตามมาตรา 41 - กรณี “เงิ น ชดเชย” ควรใช้ ก ลไกของศาลยุ ติ ธ รรมตามกฎหมายปกติ ใ นการพิ จ ารณา คําฟ้องร้องหรือร้องเรียนซึ่งอยู่ในดุลพินิจของศาลยุติธรรมเป็นหลัก
2. ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุข พ.ศ. .... สาระสําคัญ เนื่องจากการปฏิบัติการให้บริการด้านสุขภาพและป้องกันโรคยังไม่มี
มาตรฐานวิชาชีพ และจริยธรรมแห่งวิชาชีพ รวมถึงมาตรฐานของงานส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรคซึ่งต้องเป็นที่ยอมรับของสังคมสาธารณะ และมีการตรา กฎหมายรับรองเป็นการเฉพาะ จึงจําเป็นต้องตราตามพระราชบัญญัตินี้ ผลกระทบและข้อกังวล - ควรมีการศึกษาร่างพระราชบัญญัตินี้ใหม่อย่างรอบคอบอีกครั้ง
3. ร่างพระราชบัญญัติแพทย์แผนไทย พ.ศ. .... สาระสําคัญ กําหนดให้มีสภาแพทย์แผนไทยขึ้น โดยมีฐานะเป็นนิติบุคคล ผลกระทบและข้อกังวล - ประเด็ น หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนของสถาบั น ด้ า นการแพทย์ แผนไทย ต้องมีมาตรฐานที่เท่าเทียมกัน - ค ว ร มี ก า ร พิ จ า ร ณ า อ ย่ า ง ล ะ เ อี ย ด ร อ บ ค อ บ เ นื่ อ ง จ า ก ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวถือเป็นโอกาสที่จะช่วยพัฒนายกระดับและส่งเสริม ภูมิปัญญาของประเทศต่อไปในอนาคต - การแพทย์ไทยมีความเชื่อมโยงโดยตรงกับสมุนไพร ซึ่งใช้เป็นยาใน การรักษาตามกระบวนการของแพทย์แผนไทย ต้องมีการพัฒนา วิจัย ส่งเสริม อย่างจริงใจ
4. ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองอนามัยเจริญพันธุ์ พ.ศ. .... สาระสําคัญ วางกรอบและแนวทางในการคุ้มครองสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ การกําหนด นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการดําเนินงานที่ดีอย่างต่อเนื่องโดยมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย อันจะนําสู่เป้าหมายอนามัยการเจริญพันธุ์ของประชากรทุกกลุ่มวัยและเพื่อเป็นการ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลด้านอนามัยการเจริญพันธุ์และเพื่อเป็นการรองรับสิทธิ ของประชาชนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และเพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 รวมทั้ ง เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ ตกลงระหว่ า งประเทศที่ รั ฐ บาลได้ ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก ภาคีโลกด้วย
ผลกระทบและข้อกังวล - การคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ด้ า นอนามั ย เจริ ญ พั น ธุ์ นั้ น กระทรวงต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ เป็นต้น ได้มีการดําเนินการตามนโยบายและ อํานาจหน้าที่ของแต่ละกระทรวงอยู่แล้วเพียงแต่ขาดการบูรณาการร่วมกันระหว่าง กระทรวงต่างๆ - บทนิยามของคําว่า “อนามัยการเจริญพันธุ์” ควรมีการพิจารณาตั้งแต่วัยเกิด จนถึงตาย ไม่ควรพิจารณาแต่เฉพาะเรื่องการมีบุตรหรือการสืบพันธุ์ เท่านั้น