Pocketbook พพปญ รร ญสส

Page 1

รอยเรียงเรื่องรราว :

เพาะพันธุปปญญา ญสส.

“…… การศึ ก ษาเปนเครื่ อ งอั น สํ า คั ญ ในการพั ฒ นา ความรู ความคิ ด ความประพฤติ ทัศนคติ ค$านิยมและคุณธรรมของบุคคล เพื่อใหเปนพลเมืองดี มี คุ ณ ภาพและประสิ ท ธิ ภ าพ เมื่ อ บานเมื อ งประกอบไปดวยพลเมื อ งที่ มี คุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศชาติก็ย$อมทําใหไดโดยสะดวก ราบรื่น ไดผลที่แน$นอนและรวดเร็ว …”

+

ื " # $

ึ % &

! ึ $ '()$ *!

*",- .# 28

พระราชดํารัส พระราชทานแกครูใหญ และนักเรียน ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๒๐


คํ า นํ า สืบเนื่องจากโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ9 ไดเขาร$วม โครงการเพาะพันธุ9ป:ญญากับศูนย9พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตั้งแต$ป<การศึกษา 2557 จนถึงป<การศึกษา 2558 นี่ก็ 2 ป<ของการเขาร$วมโครงการฯ จากที่ครูไม$มีความรู อะไรเลยเกี่ยวกับทักษะเพาะพันธุ9ป:ญญาจนถึงกระทั่งป<นี้คิดว$าครูมีการเปลี่ยนแปลงและ ไดเรียนรูอย$างมากมายจากครูดวยกันเองและที่สําคัญจากนักเรียน บางครั้งการเรียนรู ของครูก็รูก$อนนักเรียนแค$ไม$กี่นาทีเพราะตองเตรียมและสืบคนขอมูลเพื่อไปสรางความ ตระหนักและความสนใจใหกับนักเรียน บางครั้งการเรียนรูก็เกิดพรอมๆกับนักเรียน..... ครูไดเรียนรูคน เรียนรูนักเรียน เรียนรูชีวิต ไดออกไปศึกษานอกสถานที่ ไดเรียนรูจาก ปราชญ9และภูมิป:ญญา ที่สําคัญไดออกไปเยี่ยมบานนักเรียน เยี่ยมผูปกครองนักเรียนเพื่อ สรางความเขาใจในการเรียนรูของนักเรียนนอกหองเรียน เพาะพันธุ9ป:ญญาไดใหพวกเรา เรียนรูอะไรต$างๆ อย$างมากมายโดยผลการเรียนรูไดสื่อผ$านไดอารี เฟรสบุEคของนักเรียน และครู ตองขอบคุณทางศูนย9พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีที่ไดมีแนวคิดในการให โรงเรียนไดจัดทําหนังสือ pocketbook นี้ขึ้นมา ดวยความจําเปนหนังสือเล$มนี้จึงเกิดขึ้น แต$ก็หนักใจเหมือนกันไม$รูจะทํายังไง ยิ่งเราไม$เคยมีประสบการณ9ในการเขียนหนังสือเลย ...เอาละจะเปนยังไงตองลองดู...นี่ก็คือการเปลี่ยนแปลงความทาทายที่เกิดขึ้นจากการจุด ประกายของโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญา โครงการที่จะทําใหทั้งครูและนักเรียนเกิดป:ญญา ที่ยั่งยืน สามารถอยู$กับโลกแห$งความเปนจริงที่นับวันตองพึ่งพาตนเองมากขึ้นทุกวัน สําหรับหนังสือเล$มนี้ขอกล$าวเปน 3 ตอนละกัน(แบบว$ามีตัวอย$างตามที่หนังสือ ครูสุธีระ ประเสริฐสรรพ9...ละกันครับ) ตอนที่ 1 จุดประกายครูเพาะพันธ+ โดยผมจะ เขียนถึงความรูสึกประสบการณ9ในการเขาโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญาป< 2558 ของครูและ การเปลี่ยนแปลงของครู ตอนที่ 2 ไดอารี่เปลี่ยนชีวิต จะกล$าวถึงนักเรียนในการทํางาน เพาะพันธุ9ป:ญญาที่มีทั้งป:ญหาและอุปสรรค โดยนําขอมูลจากไดอารี เรียงความของ นักเรียนมาขยายความ ตอนที่ 3 เพาะพันธุ+ป/ญญา ญสส. ในอนาคต ขอกล$าวถึงความ ยั่งยืนที่โรงเรียนของพวกเราจะทําหลังจากสิ้นสุดโครงการฯ และจะขยายผลอย$างไรใหครู ใ น โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ผู ที่ ส น ใ จ ศึ ก ษ า เ กี่ ย ว กั บ เ พ า ะ พั น ธ9 ป: ญ ญ า เ ด ช ม ณี เ น า ว โ ร จ น9 27 มกราคม 2559

สารบัญ คํานํา ตอนที่ 1 จุดประกายครูเพาะพันธุ9 ตอนที่ 2 ไดอารี่เปลี่ยนชีวิต ตอนที่ 3 เพาะพันธุ9ป:ญญา ญสส. ในอนาคต

2 10 14


ตอนที่ 1 จุดประกายครูเพาะพันธ+

“ สรางเด็กกลาคิด ครูกลาเปลีย ่ น ดวยหองเรียนเพาะพันธุป  ญ  ญา ”

หลัง จากกลั บจากการปUดประชุมโครงการเพาะพัน ธุ9ป: ญญาที่ม หาวิ ทยาลั ย อุบลราชธานี ในวันที่ 25 มกราคม 2559 ความหนักอกหนักใจก็เกิดขึ้นอีกครั้ง ทางศูนย9 ไดมอบการบานใหแต$ละโรงเรียนทํา pocket book เรื่องราวเพาะพันธุ9ป:ญญาของ โรงเรียนเราจะเขียนอะไร จะเขียนยังไง จะเอาอะไรมาเขียนไม$เขียนเขียนเปนเรื่องราวสัก ที แต$ใจก็เกิดแรงบันดาลใจใหเขียนจนได คือถือเปนเรื่องดีที่จะเปนการฝbกหรือเปนการ เริ่มเรื่องราวการเขีขียนที่เปนรูปประธรรมนี่ก็ถือเปนการเปลี่ยนแปลงของครูอีกอย$างตั้งแต$ ร$วมโครงการมาทางโครงการใหเขียนไดอารี่เรื่องราวเพาะพันธุ9ป:ญญา นี่เปนอีกกาวของ การเขียน pocket book เชาวัน นี้ อ ากาศเย็ น ตลอดทั้ งวั น สองสามวั นที่ ผ$ า นมาอากาศเปลี่ ย นแปลง อุณ หภู มิ ล ดลงอย$ า งรวดเร็ ว จนร$ า งกายปรั บ ตั ว แทบไม$ ทั น แต$ เ ราจะมี ชี วิ ต อยู$ ต$ อ ไป ร$างกายก็ตองปรับตัวเหมือนการศึกษาในป:จจุบัน คนเปนครูก็ตองมีการปรับตัวจะใชการ สอนอย$างเดียวไม$ไดแลว มันใหทักษะกระบวนการ ทักษะชีวิต ควบคู$กับการใหความรูแก$ เด็ด็ก ถาถามว$ารูสึกอย$างไรกับโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญา เขาร$วมโครงการใหม$ๆก็สบายใจ นะ กลัวการเปลี่ยนแปลงกลัวไม$ทันเพื่อน กลัวเด็กทําไม$ไดกลัวครูในโรงเรียนไม$ใหความ ร$วมมือ กลัว ไม$ มีเ วลาและอื่นๆสารพั ดความกลัว แต$เ ราก็ สามารถผ$า นอป:ญ หาและ อุปสรรคมาไดอย$างภาคภูมใิ นป<ที่ผ$านมา แต$ พ อมายอนคิ ด นึก ถึ ง การเขาร$ ว ม โครงการเพาะพันธุ9ป:ญญา ป<ที่ 2 โรงเรียนของ เราก็ทําใหเกิดความเสียดายเพราะไม$ไดเขาร$วม กิ จ ก ร ร ม ข องศู น ย9 พี่ เ ลี้ ย งม ห า วิ ทย า ลั ย อุ บ ลราชธานี ถึ ง 2 กิ จ กรรม คื อ กิ จ กรรม workshop System Thinking และกิจกรรม workshop จิตป:ญญา สาเหตุเพราะว$าพวก เราไม$มีความพรอมในการที่จะเขาร$วมโครงการ เปนป<ที่ 2 แต$เมื่อทางศูนย9พี่เลี้ยงตองการหนังสือตอบรับของการหยุ ของกา ดเขาร$วมโครงการ


เพาะพันธุ9ป:ญญา พวกเราก็เลยไดมีโอกาสทํา AAR กันเกี่ยวกับโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญา พูดถึงขอดีขอเสีย สิ่งที่เด็กจะไดสิ่งที่ครูจะได จากการทํา AAR พบว$าโครงการเพาะพันธ9 เปนโครงการที่เกิดผลต$อนักเรียนเปนเชิงประจักษ9 นักเรียนมีผลงาน ครูมีผลงาน จนสามารถส$ง เ ป น น วั ต ก ร ร ม ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ใ น ฝ: น ใ น กระบวนการทํางานของนักเรียนไดเปนอย$างดี มติที่ประชุมเลยไดใหผมเปนผูประสานในการ เขาร$วมโครงการอีกครั้ง..... .....เดชะบุญที่ทางศูนย9พี่ เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีใหโอกาสและยินดี ตอนรับโรงเรียนของเราเขาร$วมโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญาอีกครั้ง.... เรื่องราวการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเพาะพันธุ9ป:ญญาของโร ญาของโรงเรียนเราจึงไดมีสีสัน ขึ้นมาอีกครั้ง ความตื่นเตน ความเราใจ ความผิดหวัง การสรางแรงจูงใจทุกวิธีการที่จะมา ผลั ก ดั น ใหโครงการสํ า เร็ จ อี ก ป< จึ ง เกิ ด ขึ้ น อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ....เริ เริ่ ม ตนจากศู น ย9 พี่ เ ลี้ ย ง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจัดประชุม อบรม การทําวิจัยเพาะพันธุ9ป:ญญา โโดยมี รศ.ดร. โยธิน แสวงดี เปนวิทยากร ทางโรงเรี งเรียนก็ส$งครูผม ครูยาใจ ครูกิตติพงษ9 ครูกิตติมา เขา ร$ ว มกิ จ กรรม เปนความโชคดี ข องผมที่ ไ ดมี โ อกาสเพิ่ ม เติ ม ความรู จากวิ ท ยากรมาก ความสามารถทําใหเกิดแรงจูงใจ แรงบันดาลใจในการทํางาน รูแนวทางการทําวิจัยมาก ขึ้น เชาวันที่ 21 กรกฎาคม 58 ซึ่งเปนกิจกรรมชุมนุมเพาะพั พาะพันธุ9ป:ญญาวันแรก ผมใน ฐานะหั ว หนาโครงการตามที่ ไ ดรั บ มอบหมายจากเพื่ อ นใหดู แ ลนั ก เรี ย นในการนํ า กระบวนการเพาะพันธุ9ป:ญญา ก็ไดมานั่งรอลูกลูกๆ ไดทบทวนการทําเพาะพันธุ9ป:ญญป<ที่ ผ$านมาและวางแผนสิ่งที่จะทําในป<นี้ ก็รูสึกดีใจกับเพื่อนๆครูทุกคนที่ยังไม$ทิ้งกันยังร$วม อุดมการณ9กันต$อ ทั้งที่รูว$าตองเสียสละเวลาและทุ$มเททั้งในงานปกติและงานที่เราทํา สิ่ง ก็เพื่ อใหการทํา งานไม$ มีป:ญ หาเราตองมีก ารวางแผน.....นีนี่คือ สิ่ง ที่ไ ดการ ดการทํา กิจกรรม พพปญ. ผมรูจักการวางแผนการทํางานที่เปนระบบมีลายลัก ษณ9อักษร สิ่งแต$ก$อนก็ วางแผนนะไม$ไดมีการบันทึก แต$กิจกรรมพพปญ.ฝbฝbกใหมีการบันทึกไดอารีของครู ทั้งๆที่ ไม$อยากทําแต$เมื่อทําแลวปรากฏว$ามันดีนี่น$า ถึงจะเปนการบังคับแบบ แบบกรายๆ....อีกอย$าง ของโครงการนี้คือจะตองมีการเลือก Theme หรือประเด็นหลักในการทําโครงการ ทีมครู

จะตองมีการทํา AAR ใชความคิดระดมความคิด ตรงนี้ประทับใจครูอย$างมาก ครูทุกคน ไดมีบทบาท ไดแสดงความคิดเห็นอย$างเปนกั งเปน นเอง สนุกสนาน ไดความรูไดแง$คิดการ ทํางานของครูแต$ละคน พวกเราคิดประเด็นตั้งแต$ป<ที่แลวเปน ข$า ป<นี้เราจะเอาอะไร ครู เสนอมามี มะกรู ด ขาวโพด ไก$ บ านแคน บั ว วิ เ คราะห9 วิ พ ากษ9 ทั้ ง ทางวิ ทาง ท ยาศาสตร9 เศรษฐศาสตร9 สังคมศาสตร9 จนไดขอสรุปประเด็นหลักของพวกเรา คือ บัว......ไดแง$คิด จากเรื่องยากๆจะกลายเปนเรื่องง$ายๆ ถาพวกเราเปUดใจรับสิ่งใหม$ ไม$คิดจะเอาชนะ แต$มี เหตุผล.....มันสุดยอดจริง ๆ เมื่อพวกเราไดประเด็นหลักแลว ผมก็มานั่งคิดทําไงดีนะ ว$าสิ่งที่พวกเราคิด พวกเราทําจะส$งผลไปยังเด็กๆของพวกเราไดรวดเร็ว จะไดไม$หลงลืมเมื่อเวลานานไป อย$ากะนั้นเลย เทคโนโลยีป:จจุบันมันทําไดอยู$แลวก็เลยตั้งกลุ$มไลน9เพาะพันธุ9ป:ญญา โดย ใชชื่อว$า “พพปญ. ญสส. ป< 2 ” เพื่อใชในการติดต$อสื่อ ข$าว และประชาสัมพันธ9 แลกเปลี่ยนเรียนรูกันตลอด 24 ชั่วโมง ป:จจุบันมีสมาชิกกลุ$มอยู$จํานวน 51 คน สิ่งที่เห็น จากการใชสื่อ นี้ทํา ใหเห็ นการเปลี่ย นแปลง ของครูเพาะพันธ9 ที่พยายามจะสอนลูกศิษย9 เห็ นความกระตื อรื อ รนทั้ง ครู ที่ ปรึ กษาและ นั ก เรี ย นในการแลกเปลี่ ย นความรู ความ คิดเห็นกัน อย$างเห$นครูแสงเดือน บกนอย เปนครูที่มีความมุ$งมั่น มีหลักการ และเปน คนที่ ใ หกํ า ลั ง นั ก เรี ย นเปนอย$ า งดี ใ นการ ทํางานในป<นี้ แมบางครั้งในการทํางานจะมี ป:ญหา และอุปสรรคบางแต$ทุกครั้งพวกเรา และครูทุกคนก็สามารถผ$านพนอุปสรรคไปได ทุก ครั้ ง เพราะความรั ก ความสามัค คี ความ เขาใจซึ่งกันละกัน “ อุปสรรค มีไวกาวขาม ป:ญหา มีไวแกไข ” เชาวันที่ 22 กรกฎาคม 58 หลังกิจกรรมหนาเสาธงไดนําข$าวที่ครูไดประชุมกันก$อน หนานั้นไปแจงนักเรียนว$า หอง 4/2 ไดเปนตัวแทนของโรงเรียนในการดําเนินการ โครงการเพาะพันธุ9ป:ญญา ป<นี้นักเรียนส$วนใหญ$ทําหนางงๆ แต$ครูกไ็ ม$ไดอธิบายอะไร


มากปล$อยใหเด็กเกิดความสงสัย และตองการคนคําตอบแต$ครูไดมอบใหนักเรียน แบ$งกลุ$มจํานวน 10 กลุ$ม โดยแบ$งกันเอง สิ่งที่ไดในกระบวนการนี้ คือ ครูไม$ควรรีบ บอกคําตอบในทันที ควรเปUดโอกาสใหนักเรียนไดคนคําตอบของตั ของตัวเองบาง ทุกวันพฤหัสบดีผมจะเปนตัวแทนของโรงเรียนในการเขาพบปะกับนักเรียน เพาะพันธุ9ป:ญญาในชั่วโมง ที่ 1 ซึ่งเปนชั่วโมงสวดมนต9 และชั่ววโมงที โมงที่ 2 เปนคาบชุมนุมต$ ทางโรงเรี ย นจั ด ใหเปนกิ จ กรรมเพาะพั น ธุ9 ป: ญ ญา โดยจะมี ค รู ที่ ป รึ ก ษาท$ า นอื่ น ๆ หมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันมา แลกเปลี่ยนพูดคุยกับนักเรียน อย$างนอยรวมทั้งผมก็จะ ประมาณ 3 คน นี่ก็เปนภาพการจัดกิจกรรมที่น$าสนใจ ครูทุกคนมามีส$วนร$วมกับนักเรียน พรอมกันช$วยกันคิดช$วยกันแชร9ปราบการณ9กับนักเรียน ทําใหเห็นความแตกต$างการการ เรียนการสอนโดยทั่วไป หลังจากที่ ครูไไดประเด็ ดประเด็นหลักแลว ในเรื่ อง บัว เหตุ ผลก็เ ผื่อไวว$าถานัก เรีย น ไม$สามารถเลือกประเด็นหลักไดก็จะนําประเด็นนี้ใหนักเรียนคิดคนโครงงานต$อไป โดยใน วันที่ 28 กรกฎาคม 2558 ชั่วโมงที่ 6 มีครูเดชมณี ครูนุชนาฎ ครูยาใจ ไดนําประเด็น หลักไปใหนักเรียนไดแสดงความคิ ไดแสดงความคิดเห็น เปนการเปUดโอกาสใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น ในขณะเดี ย วกั น ก็ สื บ คนขอมู ล โดยใชโทรศั พ ท9 ทํ า ใหนั ก เรี ย นไดตระหนั ก และเห็ น ความสําคัญในการใชสื่อ มือถือใหเกิดประโยชน9 ภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจมาก โดยครูใหนักเรียนช$วยกันแตกประเด็นโครงงานในเรื่องของบัว ขาวโพด มะกรูด ไก$ย$าง บานแคน แต$ประเด็นของบัว นักเรียนสามารถแตกเปนโครงงานไดเยอะมาก 10 กว$า โครงงาน ครูก็เลยโหวตนักเรียนเพื่อความเปนประชาธิปไตย ปรากฏว$า นักเรียนส$วนใ นใหญ$ ไดเลือกบัวเปนประเด็นหลักของโรงเรียนกระบวนการทําโครงงานเกี่ยวกับบัวจึงเกิดขึ้น อย$างจริงจัง ตั้งแต$วินานั้นเปนตนมา เชาวันที่ 3 สิงหาคม 2558 ชั่วโมงครูยาใจ ก็เลยไดมีโอกาสเขาพบกลุ$มนักเรียน ชั้นม.4/2 ซี่งเปฯกลุ$มเพาะพันธุ9ป:ญญาพูดคุยถึงการส$งเคาโครง RBL ทั้ง 10 กลุ$ม โดยนัด ส$งภายในวันศุกร9นี้ และมานั่งดึงนักเรียนเขากลุ$มไลน9 พพปญ.ญสส ญสส. ป< 2 ครั้งนี้ไดมีความ ปลื้มใจเปนอย$างมากที่ ม.5/1 ที่เปนกลุ$มเพาะพันธุ9ป:ญญาป<ที่แลวขอเขาร$วมกลุ$มดวย และขอตั้งกลุ$มโครงงาน จํานวน 3 กลุ$ม ครูก็ยินดี....บอกกับตัววเองว$ เองว$า “ พวกนาย เยี่ยม มาก นี่แหละคือสิ่งที่ครูตองการใหเกิด ”

พวกเราไว เวลาในส$วนนี้ ทั้ ง นั ก เรี ย น แ ล ะ ค รู ใ น การปรั บ เคา โครงโครงงาน พอใจ เวลานี้ไดเห็นการทํางานของนักเรียน ถึง 4 ครั้งจนกระทั่งทางศูนย9พี่เลี้ยงพึงพอใจ...ณ การสื บ คนขอมู ล การจั บ เข$ า คุ ย กั น ของครู ที่ ป รึ ก ษา เปนภาพบรรยากาศที่ ไ ม$ มี ใ น หองเรียนปกติ เพราะนักเรียนตองมาพบครูเวลาว$างจากการเรียน เปนวันหยุด เห็นการ เสียสละของครูที่ปรึกษาและนักเรียน เปนภาพที่ประทับและอบอุ$น ภูมิใจเปนอย$างมาก .... และแลวทางศูนย9พี่เลี้ยงก็นันัดนําเสนอเคาโครงงานวิจัยที่ โรงเรียนคํ น าเขื่อนแกวชนูป ถัมภ9 ......11 กันยายน 2559 เสนอเคาโครงวิจัย ถึงตอนนี้ไดเห็นอะไร เห็นนักเรียนใช สื่อเทคโนโลยีอย$างชัดเจน นักเรียนโปรแกรมนําเสนอ Poweroint รวมทั้งโปรแกรมใน การตั ด ต$ อ ภาพ การจั บ ภาพหนาจอ บรรยากาศการซอมการเตรีย มนํ าเสนอ และนั ก เรี ย นไดฝb ก การนํ า เสนอเพื่ อ ให คณะกรรมการไดเห็ น ศั ก ยภาพในการ ทํางาน เห็นบรรยากาศความตื่นเตนของ นั ก เรี ย น และการแกป: ญ หาเฉพาะหนา ข อ ง นั ก เ รี ย น ใ น ก า ร ต อ บ คํ า ถ า ม คณะกรรมการ เห็นภาพของครูที่คอยใหกําลังใจนักเรียน....อยากบอกว$ น ามันสุดยอดมาก…นักเรียน คนหนึ่งหลังลงจากเวลานําเสนอบอกกลับครูว$า “ ครู หนูตื่นเตนมากๆ คณะกรรมการซักถาม แบบละเอียด บางคําถามหนูก็ตอบไม$ได แต$ครู เขาก็ใหพวกเราไปคิดต$อยอดต$อไป...” ไป หลังจากนั้ นไม$กี่ สัปดาห9พวกเราก็ไ ด ข$าวดีจากศูนย9พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีว$าโครงงานของเรา ผ$านทุกโครงงาน ผม ผ


ไดนําข$าวไปบอกครู...สัสังเกตหนาตาละรอบยิ้มของครูที่แสดงความยินดี ผมคิดในใจนี่ ขนาดครูนะนี่ ถาเปนนักเรียนจะดีใจขนาดไหน... เมื่อทุกโครงงานไดผ$านการอนุมัติ กระบวนการทํางานการทดลองการเก็บ ....เมื ขอมูลก็เกิดขึ้น ภาพที่เห็นบ$อยขึ้นก็คือการออกพื้นที่ การพบปะของครูกับนักเรียนถี่ขึ้น ความสุขความสนุกสนานมีมากขึ้น .... หนั ก อกหนั ก ใจก็ เ กิ ด ขึ้ น อี ก เมื่ อ ครู บ อกนั ก เรี ย นว$ า วั น ที่ 19 และแลวความหนั พฤศจิกายน 2558 ศูนย9พี่เลี้ยงจะเขามา ตรวจเยี่ ย มการดํ า เนิ น งานของนั ก เรี ย น ดังนั้นเพื่อความเรียบรอยผมก็เลยนักเรียน เตรี ย มความพรอมก$ อ นในวั น ที่ 12 พฤศจิกายน 58 โดยใหแต$ละกลุ$มเตรียม นําเสนอ พรอมขอมูลที่เก็บไดมานําเสนอ แลวใหครู วิ พ ากษ9 เ กี่ ย วกั บ โครงงานที่ นักเรียนคน วันนั้นมีผม ครูยาใจ ครูกิตติมา ครูกิตติพงษ9 ครูณัฐ ไดเขามาใหกําลังใจ นักเรียน คอยซักถามป:ญหาและโครงงานของนักเรียน เพื่อใหเกิดกการเรียนรูและรูจัก แกป:ญหา...ตองขอบคุณครูทุกท$านที่มาร$วมในครั้งนี้ วันที่ 19 พฤศจิกายน 58 เปนวันนัดของศูนย9พี่เลี้ยง ช$วงบ$ายทุกคนมารอที่ หองประชุมพอคณะพี่เลี้ยงมาถึง นางสาวเบญวลี พิธีกรของกลุ$มก็ไดนําคณะไปชมสวน บัวที่นักเรียนไดปลูกทดลองโดยมีนักเรียนเดินตาม เปนภาพที ภาพที่ประทับใจมาก ช$วงการ นําเสนอแต$ละกลุ$มก็นําเสนอไดดี มีพัฒนาการอย$างมาก จนไดรับคําชมจากศูนย9พี่เลี้ยง ถึงกระบวนการทํางาน ครูที่ปรึกษาทุกคนแทบยิ้มแกมปริ.....นีนี่ไหนไดผมนี่ยิ้มจนแกมจะ ฉีกเลย (เวอร9ไปไหม...ไม$นะ..จริงๆ) เชาวันนหนึ หนึ่งหลังจากมีนักเรียนกลุ$มหนึ่งไดไปอบรมคิดวิเคราะห9ที่ศูนย9พี่เลี้ยงได จั ด ที่ ม.อุ บ ลฯ ไดมาเล$ า ใหฟ: ง ว$ า “ เปนการอบรมที่ ดี ม ากๆ ค$ ะ ครู พวกหนู ไ ดรู กระบวนการคิดวิเคราะห9จากเรื่องยากใหเปนเรื่องง$าย อาจารย9สุธีระ อธิบายไดเขาใจง$าย มากค$ะ...พวกหนูอยากครูที่โรงเรียนเปนแบบอาจารย9สุธีระ” ครูยิ้มแลวบอกว$า “ ขนาด นั้นเลยเหรอ ” และไดเดินไปสนทนากับครูแสงเดือนที่นํานักเรียนไป ครูบอกว$า “

นักเรียนของเราก็โอเคนะ เสียอย$างเดีย วพูด นอยไปหน$อย ไม$ ค$อยกลาแสดงออก ” ผมยิ้มแลวบอกครูว$า “ ผมว$าแค$นี้มันก็สดยอดแลวนะครั ุดยอดแลวนะครับ สําหรับนักเรียนเรา ” จากวันนั้นถึงวันนี้ก็เกือบครบป<แลวที่พวกเราไดทํากิจกรรมเพาะพันธุ9ป:ญญา ถาถามผมว$าครูไดอะไรครูเปลี่ยนแปลงอะไร ผมก็ขอบอกว$า ถาไม$มีโครงการนี้ ครูก็ไม$ได ทํากิจกรรมนี้ ครูไม$มีผลงานเช$นนี้ ครูไม$ไดเกียรติบัตรจากการอบรมจากผู รจากการอบร เชี่ยวชาญ ครู ไม$ไดคลุกคลีกับนักเรียนจิงจังแบบนี้....แต$ แต$โครงการนี้มันทําใหพวกเรามี พวกเราได...ที พวกเราได ่ สํ า คั ญ ไดความภาคภู มิ ใ จในตั ว นั ก เรี ย น ภู มิ ใ จกั บ เพื่ อ นครู ที่ พ านั ก เรี ย นของเราทํ า โครงการนี้สําเร็จ แมจะเปนเด็กไม$เก$ง...แต$ แต$พวกเขาเหล$านั้นก็ทําได แลวครูคนอื่นละ ครู นุ ช นาฎ โชติ สุ ว รรณ ครู ฟU สิ ก ส9 ครู ที่ ป รึ ก ษากลุ$ ม ศึกษาความเหนียวของเสนใยบั วของ ว ไดบอกไวในเรียงความของ ครูว$า “ จากการที่ไดมาร$วมโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญา พบว$า ตัวเองมีการเปลี่ยนแปลงคือ ใจเย็น ลง ก$อ นจะพูด อะไรกั บ นักเรียนคิดไตรตรองก$อน ไม$ผลักไสนักเรียนคนที่ไม$ใหความ ร$ว มมื อ ในการทํ า กิ จ กรรมต$ า ง ๆ รู จั ก ใชกลยุ ท ธิ์ ใ นการดึ ง ศักยภาพของนักเรียนแต$ละคนออกมา และใหนักเรียนไดรูจักศักยภาพของตนเองไม$ใช$ การเปลี่ยนแปลง 100 เปอร9เซ็นต9 แต$เปนการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดในเวลา 1 ป< ที่ไม$คิด ว$าตัวเองจะทําได นอกจากนี ากนี้ไดเห็นนักเรียนกลุ$มที่เปนมดงานของกลุ ปน $ม ไดสัมผัสกับคําว$า ปลง เมื่อทําอะไรไม$ได ขอใหเพื่อนมาช$วยงานไม$ไดก็ปลง ไม$ไปทะเลาะกัน ไม$เถียงกันไม$ ทําคือไม$ทํา เดี๋ยวกลุ$มมดงานจัดการเอง รเอง ไดพบว$าแลวกลุ$มที่ไม$ทําเขาคิ เข ดยังไง ก็ไดคนพบ ว$าความเฉยของนักเรียนที่ไม$ช$วยงาน สมาชิกในกลุ$มบางครั้งก็มีความคิดอยากจะช$วย แต$ไม$รูจะเริ่มยังไง อันนี้ครูก็ตองเขาไปมีบทบาทเพราะแต$ละ คนก็มีศักยภาพที่แตกต$างกัน ” ครูกิต ติพงษ9 บุญ สาร ครู ที่ปรึ กษาโครงงานกลุ ษ $ม เทียนหอมจากกลิ่นบัว บอกในเรี บอ ยงความของครูว$า “ เปน กิจกรรมที่ครูไดเขาไปมีบทบาทในการกระตุนการทํางานของ นักเรียน ไดคลุกคลีกับนักเรียนทําใหนักเรียนไดรับโอกาสที่ มากกว$าคนอื่นในทางวิชาการของโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญา :ซึ่งเปนภาพที่ไม$ปรากฏใน หองเรียนปกติ ”


ครู อี ก คนที่ ผ มเห็ น การเปลี่ ย นแปลงมากที่ สุ ด ใน โครงการเพาะพันธุ9ป:ญญาของโรงเรียนเราในป<นี้ คือครูแสง เดือน บกนอย ครูที่ปรึกษาโครงงาน ชาบัว ครูเขาไปมีบทบาท ในการทํางานกับนัก เรียนแทบทุกกลุ$ม เปนคนที่เสียสละทั้ ง เวลาและทรั พ ย9 ส$ ว นตั ว ในการสนั บ สนุ น นั ก เรี ย นในการทํ า โครงงาน เปนครูที่สอนกระกระบวนการทํางานใหกับนักเรียน ทั้งในกลุ$ม ไลน9 แ ละนอกกลุ$ม ไลน9 เปนครู ต ลอด 24 ชั่ วโมง บางครั้งเห็นครูทอในการทํางานที่เด็กๆทําไม$ไดดั่งใจ แต$ทุกครั้งครูก็ปรับตัวไดรวดเร็วเมื่อ เห็นผลงานของเด็กถึงจะชาไปบางในบางโอกาสเห็นการเปลี่ยนแปลงของครูจากคนใจ รอน เปนคนใจเย็นขึ้น เห็นกระบวนการเรียนการสอนของครูเปลี่ยนไปจากการใชคําถาม ของครูกระตุนใหนักเรียนกระตือรือรนในการที่จะคนหาคําตอบดวยตัวเอง ไม$ตองรอ คําตอบจากครูเหมือนแต$ก$อน....จนกระทั จนกระทั่งเด็ก ๆ เพาะพันธุ9ป:ญญาใหฉา ญาใหฉายาครูแสงเดือน ว$า “ เจEตุqย สั่งลุย ” แลวมุมมองของผูบริหารละ คิดอย$างไรกับเพาะพันธุ9ป:ญญา ของโรงเรียน ท$านรองผูอํานวยการเชิดชัย สิงห9คิบุตร บอกว$า “ใน นามของฝr า ยบริ ห าร ขอขอบคุ ณ ครู พี่ เ ลี้ ย ง นั ก เรี ย นในโครงการ เพาะพันธุ9ป:ญญาที่ไดดูแลใหขอคิดในการจัดการเรียนรู โดยใชการวิจัย เปนฐาน ลูกๆนักเรียนในโครงการทุกคน ไดแลกเปลี่ยนเรียนรู มีทักษะกระบวนการใน การเรียนรูอย$างมีวิจารณญาณ สามารถเชื่อมต$อการเรียนรูตลอดชีวิต หวังเปนอย$างยิ่งว$า โครงการเพาะพันธุ9ป:ญญาจะสรางกระบวนการในการคิดวิเคราะห9และเปนพื้นฐานของ นักวิจัยในระดับชาติต$อไป ” อย$ากระนั้นเลยเดีดี๋ยวจะหาว$าผมชมกันเอง มุมมองของปราชญ9ชาวบานที่ มองกลุ$มนักเรียนเพาะพันธุ9ป:ญญาที่ไปคลุกคลีทํางานกับท$านนในเรื่องการ ทําขนมสายบัว นางพรรณี สิงห9คิบุตร บอกว$า “ก็ก็สงสัยนะว$าเด็กๆ กลุ$ม นี้ทําโครงการอะไร พอเด็กๆเล$าใหฟ:งก็ถึงบางออ ดีนะโครงการนี้เด็กกลา คิด กลาถาม ถาม ไดลงมือทําดวยตนเอง อีกอย$างมันรูสึกว$าภูมิใจในตนเองที่ ส$วนทําใหเด็กๆ เกิดการเรียนรู และเห็นความสําคัญของคนแก$ ”

จากคํากล$าวที่ผมไดยกมาทั้งหมดทั หมด ้งจากครูที่ร$วมโครงการ นักเรียน ผูบริหาร และปราชญ9ชุมชน แสดงใหเห็นว$าโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญาสามารถเปลี่ยนแปลงไดจริ นแ ง


ตอนที่ 2 ไดอารี่เปลี่ยนชีวิต ผมอาจจะตั้งชื่อซะเวอร9ใช$ปะ...แต$ แต$กิจกรรมที่เด็กทํามันมากกว$านี้จริงๆขอบอก มาถึงบทบาทของนักเรียนบางว$าเขาทําอะไรบางในโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญาในเรื่องของ บัว ซึ่งเปนประเด็นหลักของโรงเรียน ผมมานั่งทบทวนการทํางานของนักเรียนตลอดป< การศึกษาที่ผ$านมาพบว$านักเรียนส$วนใหญ$ใหความร$วมมือในการทํากิจกรรมเปนอย$างดี แต$ยังมีนักเรียนส$วนนอย หรือว$านอยมากในกลุ$มที่ไ ม$ไดลงมือทําอย$างจริงจังเหมือน สมาชิกภายในกลุ$ม แต$พอไดสัมผัสนักเรียนกลุ$มนั้นก็พบว$า พวกเ พวกเขาก็พยายามจะทํา เหมือนกัน แต$ดวยศักยภาพของพวกเขา ทําไดไม$มากเหมือนเพื่อนจึงมองว$าเด็กกลุ$มนี้ ไม$ไดทํา แต$หารูไม$ว$าเคาทําเต็มที่แลว แต$เขาทําไดแค$นี้จริงๆ.... ....ผมและครูที่ปรึกษาก็ ช$วยกันพยายามสอนเด็กกลุ$มนอยนี้ใหเห็นคุณค$าของตนเอง ในสังคมก็แบบนี้แหละไม$มี ใครเก$งรูดีเท$ากันหมดหรอก...ใช$ไหม..แลวเด็ แลวเด็กกลุ$มส$วนใหญ$เขาทําแลวรูสึกยังเกี่ยวกับ โครงการการนี้ โชคดีที่ศูนย9พี่เลี้ยงไดแจงใหทางโรงเรียนที่ร$วมโครงการทุกโรงเรียนตอง เขียนไดอารี่หรือบันทึกประจําวัน ผมก็เลยไดมีโอกาสนําเรื่องรายของนักเรียนจากไดอารี่ มาถ$ า ยทอดใหผู ที่ ส นใจ หรื อ นั ก เรี ย นเพาะพั น ธุ9 ป: ญ ญาไดอ$ า นไดศึ ก ษามุ ม มองของ เพื่อน ๆ ผ$านกิจกรรมและตัวหนังสือ ซึ่ง ดร.สุสุธีระ ประเสริฐสรรพ9 ไดกล$าวไวเกี่ยวกับ การสะทอนความคิด ในหนังสือสะทอนความคิดความรูสึกในความงามที่ผลิบาน หนังสือ ในโครงการเพาะพั น ธุ9 ป: ญญาลํ า ดั บที่ 8 ว$ า “ การสะทอนความคิด เปนการ กลั่น คามคิ ด ความรู สึ ก จึ ง เปนการคิ ด ที่ ลึ ก ซึ้ ง มาก เพราะทํ า ใหคดทบทวนสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ตนเอง พยายามเขาใจความคิดของตนเองที่เปลี่ยนไป การสะทอนคิดที่ควรถือว$าเปนการเรียนขั้นสูง คือ การเขียนความคิดความรูสึก เพราะ เขียนคือการใชสมาธิจดจ$ออยู$กับการเรียบเรียงความคิดที่ตกผลึกการขัดเกลางานเขียน คือการเจียระไนผลึกความคิดใหใสกระจ$างขึ้น การเขียนสะทอนคิดจึงเปนการเรียนรูของ ผูเขียน ”

นส.สิริธร วงเวียน บอกเล$าเรื่องราวการทํางานที่คน เคยจนเปนนิสัยและหาขอบกพร$องของตนเองผ$านไดอารี่ว$า “สัปดาห9ที่ 18 ของการทําเพาะพันธุ9ป:ญญา จริงๆ ช$วงนี้ไม$รูจะ เขียนอะไร เพราะมันเปนอะไรที่ทําเหมือนทุกครั้งที่ผ$านมา ก็ ทําการทดลองแลวก็จดบันทึกผล แต$ในการทดลองแต$ละครั้ง หนู ก็ ไ ดจดบั น ทึ ก ป: ญ หาต$ า งๆที่ เ กิ ด ขึ้ น ไวดวยเพื่ อ การทดลองครั้ ง ต$ อ ไปจะไดแกไข ขอผิดพลาดนั้น ช$วงนี้หนูก็รูสึกว$าตัวเองรูจักการวางแผนมากขึ้น จะทําอะไรก็มีการคิดให รอบคอบก$อน แต$ก$อนหนูเปนคนที นคนที่ออกจะพูดก$อนคิด แต$พอหลังๆมานี่ รูสึกว$าตัวเอง พัฒนาขึ้นมาก ไม$ไดพูก$อนคิดเหมือนแต$ก$อน เดี๋ยวนี้ก็กลายมาเปนว$า คิดก$อนพูดแลวค$ะ ..” จากไดอารี่ของสิริธร ไดขอคิดอะไรที ดอะไรที่ทําซ้ําๆบ$อยๆถึ ย งจะยากลําบากในตอนแรกแต$ถา ทําซ้ําๆบ$อยๆ นานๆเขาก็จะกลายเปนความเคยชินจนติดกลายเปนนิสัยที่ดีติดตัวเราไป ตลอด การทําโครงงาน RBL ซึ่งเปนส$วนหนึ่งของโครงการเพาะพันธุ9 ป: ญ ญา ถาถามผมว$ า นั ก เรี ย นไดทั ก ษะหรื อ ความรู อะไรบาง นี่ คื อ คําตอบของนักเรียนที่ตอบแทนผม ผ$านไดอารี่ของ นส.เสาวลั นส กษณ9 ทินบุตร ว$า “ วันที่ 11 กันยายน 2558 วันนี้ตื่นแต$เชาเตรียมตัวพรี เซนต9โครงงานที่โรงเรียนคําเขื่อนแกวชนูปถัมภ9 รูสึกตื่นเตนมาก ใน การพรี เ ซนต9 ง านวั นนี้ ไ ดคํ า แนะนํ าดี ๆ จาก ดร.รั ดร ฐ ดิ ษ ฐเจริ ญ เพื่ อ กลั บ มาพั ฒ นาโครงงานของเราใหดี ขึ้ น สิ่ ง ที่ ไ ดจากวั น นี้ กลาที่ จ ะถาม มี ค วามกลา แสดงออก รูจักการคิดเปนเหตุ หตุเปนผล มีการทํางาน ทาทายความคิดเดิมของเรา และ สนุกสนาน ” การทํางานโครงงาน RBL เปนเรื่องที่เนนทางวิชาการ แลวเด็ก ๆจะชอบเหรอ จะทํา ไดเหรอ เด็ กไม$เ ครี ยดแน$ นะ นี่ คื อ คําตอบของ นส.สุสุภารัตน9 นักผูก บอกไวในไดอารี่ว$า “ วันที่ 10 มกราคม 2558 วันนี้หนูนัดเพื่อน ๆ มาทํางานที่บานหนูค$ะ มา ทดลองอีกครั้ง และพิมพ9โครงงาน สําหรับหนูเวลาทํางานเปนเวลาที่ แฮปป<t มากเลยค$ะ เพราะหนู ชอบทานกับ เพื่อน ๆ วั นนี้พวกเราก็ ทํางานเสร็จเรียบรอย ” จากสิ่งที่นักเรียนไดแสดงความรูสึกไวแสดงใหเห็นถึงโครงการนี้ สามารถทําใหนักเรียนไดมีบทบาทร$วมกั วมกันทํางาน ความรักความสามัคคีความเขาใจซึ่งกัน


และกันที่เกิดขึ้นในหมู$คณะ จะส$งผลใหงานสําเร็จและความสุข ถาฝbกไดอย$างนี้กับทุกคน ทุกชุมชน ประเทศของเรา โลกของเราก็จะไม$วุ$นวายอย$างทุกวันนี้ นอกจากนักเรียนไดเขียนเรื่องราวชีวิตการทํางานเพาะพันธุ9ผ$านไดอารี่แลว ผม ยังใหนักเรียนไดถ$ายทอดความรูการทํางานผ$านการเขียนเรียงความ เพราะว$าทางศูนย9พี่ เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไ ดมีการประกวดการเขียนเรี ยงความ ซึ่งถือ เปนแรง กระตุนและแรงบันดาลใจใหนักเรียนมีกําลังใจในการเขียนเพราะตองการไดรางวัล จาก การอ$านเรียงความของนักกเรี เรียนไดสะทอนการคิดของนักเรียนไวน$าสนใจมาก แสดงถึง การเปลี่ย นแปลงและมีพั ฒนาการอย$า งมาก ไม$ ว$า จะเปนทักกษะการ ษะการ ทํางาน และอื่นๆ แสดงถึงความเปนตั มเปนตัวตนของนักเรียนและนักเรียนนมี วุฒิภาวะสูงขึ้นมีความเปนผูใหญ$มากขึ้น ดังเช$นที่ นส.ธัธัญญลักษณ9 ไทย สีลา ไดสรุปไวในเรียงความของตนเองว$า “ ในการทํางานนั้น ไม$ว$าจะ งานเล็กหรืองานใหญ$ ต$างก็มีอุปสรรคทั้งนั้นอุปสรรคมีไวทดสอบความ อดทนของเราและการแกป:ญหาเราทุกคนตองฟ:นฝrามันไปใหไดและเพื่อ ศักยภาพที่ดีของตัวเราเอง ” นส.ธัธัญญพร ทะเสนฮด ไดกล$าวขอบคุณโครงการที่ไ ดมี ส$วนร$วมในครั้งนี้ว$า “การทํ การทํางานวิจัยในครั้งนี้ ทําใหเขาใจการทํางาน ร$วมกับเพื่อน ๆ มีทั้งอุปสรรคและป:ญหา แต$ในอีกดานของมุมหนึ่งก็ ทําใหเกิดความสามัคคี ความช$วยเหลือเพื่อน แมว$าจะขาดกําลังใจใน บางครั้งแต$ก็ทํางานออกมาอย$างมีประสิทธิภาพ มีศักยภาพที่ดี เพื่อ พิสูจน9ว$าเด็กอย$างพวกเราก็มีความสามารถในการทํางานวิจัย ตอง ขอขอบคุณครูที่ปรึกษา คุณครูร$วมโครงการทุกท$านที่มีกิจกรรมดีดีมาใหพวกเราไดทําได ภูมิใจในศักยภาพของตนเอง...อยากบอกว$ อยากบอกว$าหนู ปลิ้มใจและภูมิใจในตัวเองมากเลยค$ะ...” เพื่อเปนการยืนยันว$าโครงการเพาะพั ารเพาะพันธุ9ป:ญญา โดยใชโครงงาน RBL มาเปน กระบวนการในการทํางานทําใหนักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงเปลี่ยน ชีวิต เปลี่ยนนิสัย เปลี่ยนการรักการทํางาน เปลี่ยนตัวเองใหเปนคนใฝr เรียนรู เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง เหมือนที่ นส.ฮัฮัสวานี หลักคํา บอกเล$าในเรียงความของตนเองว$า “ การเรียนรูไม$จําเปนตองอยู$ในหอง

เสมอไป แค$เราเปUดใจที่จะเรียนรูสิ่งต$าง ๆ ในรอบตัวเราก็จะไดอะไรหลาย ๆ อย$างและ มากมาย ” นี่ เปนเพียงส$วนหนึ่งของนัก เรียนที่ไ ดแสดงความรูสึกต$ อเรื่ องราวของ เพาะพันธุ9ป:ญญา ที่นักเรียนไดสัมผัสดวยตนเอง ....เพาะพันธุ9ป:ญญา โครงการนี้ใหอะไร มากกว$าที่คุณคิด นี่ก็ไดยินข$าวว$าโครงการนี้จะดําเนินการอีกแค$ป<เดียว.....รู ว สึกใจหาย... แต$พวกเราก็จะนําโครงการนี้ไปต$อยอดใหเกิดความยั่งยืนในโรงเรียนต$อไปอย$างแน$นอน ....


ตอนที่ 3 เพาะพันธุ+ป/ญญา ญสส. ในอนาคต

เห็นโลโกเหล$านี้แลวรูสึกขอบคุณ และชื่นชมยินดีกับหน$วยงานที่สนับสนุน กิ จ กรรมดี ๆ แบบนี้ (โครงการเพาะพั น ธุ9 ป: ญ ญา) ที่ ม องเห็ น การไกลในการพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย9....รูรูสึกใจหาย และหายใจไม$ทั่วทอง เมื่อไดทราบข$าวจากศูนย9พี่เลี้ยง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี บอกว$าโครงการนี้จะดําเนินการอีกป<เดียวว....ก็เลยมาคิดว$าเรา จะทํายังไงใหโครงการแบบนี้อยู$คู$กับนักเรียน และครูเรา ของโรงเรียนนเราไดอย$างไร....ก็ มาสะดุดอยู$ที่นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว$าการกระทรวงศึกษาธิการ ได กําหนดนโยบาย ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.....เอ$อ เปะเลย....มัมันใช$ ....มันตรงประเด็น.... เขากับสถานการณ9 โครงการเพาะพันธุ9ป:ญญาของเรานี่ มันใชไดนี่นาา..... “ โครงการ เพาะพันธุ9ป:ญญา : ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ” กิจกรมเรียนรูนอกหองเรียน ตามความ สนใจของนักเรียน อย$ากระนั้นเลยผมในฐานะหัวหนาโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญาก็เลยได เชิญคณะครูที่ปรึกษาทุกคนที่ร$วมโครงการของโรงเรียนเรา ปรึกษาหารือการดําเนินงาน โครงการนี้ในป<การศึกษาต$อไปป ถาโครงการนี้ปUดลง ตองขอขอบคุณครูผูร$วมอุดมการณ9 ทุกท$านที่ไดเสนอแนะขอมูลอย$างมากมาย แต$พวกเราก็มาสรุปตรงกันที่ พวกเราจะตั้ง ชมรมเพาะพันธุ9ป:ญญา เปนชมรมนอกเวลาเรียน จัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู โดยรับสมัครนักเรียนที่มีความสนใจ เกี่ยวกับการทําโครงงาน RBL หลังจากไดนักเรียนที่ สนใจตามเปuาหมายพวกเราก็จะนํากระบวนการของ RBL หรือโครงการเพาะพันธุ9ป:ญญา ตามที่พวกเราเคยมีประสบการณ9ไปประยุกต9ใชกับนักเรียน เพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรู ไดแก$ จิตป:ญญา การเลือกประเด็นหลัก(Theme) การเขียนเคาโครงวิจัย การนําเสน เสนอ เคาโครงวิจัย ดานงบประมาณพวกเราก็จะพึ่งตนเองโดยใชใหนอยที่สุด พยายามเลือก

หรือใชวัสดุอุปกรณ9ในทองถิ่น และการทดลอง การทดลอง จะใชเครื จะใช ่องมือทางวิทยาศาสตร9พื้นฐาน ใหมากที่สุด มีการตรวจเยี่ยมและใหกําลังใจนักเรียน มีการใหความรูการเขียนรายงาน วิจัย ส$งเสริมใหนักเรียนฝb ยนฝbกการถ$ายทอดความรู ฝbกการเขียนใหเปนนิสัยโดยส$งเสริมให นักเรียนมีการจดบันทึกโดยการเขียนไดอารี่ ซึ่งเปนบันทึกการทํางานประจําวัน รูจัก บันทึกร$องรอยความผิดพลาด และแกป:ญหาในโอกาสต$อไป สุดทายก็เปUดเวทีใหนักเรียน ไดนําเสนอและแสดงผลงานของการทํางาน เพื่อใหนั ให กเรียนเกิดความภาคภูมิใจในการ ทํางานตลอดป<ที่ผ$านมา.... “ เพาะพันธุ9ป:ญญา : พันธุ9ตนกลาแห$งการเปลีย่ นแปลง ” ถาเปรี ย บเปนตนกลาตนหนึ่ ง ที่ จ ะเจริ ญ เติ บ โตไปไดดี ยั่ ง ยื น มั่ น คงและ ประสบผลสํ า เร็ จ ไดนั้ น ตนกลาตนนั้ น จะตองมี ก ารเพาะพั น ธุ9 ทั้ ง ความรู คุ ณ ธรรม เพาะพันธุ9ใหมีใจในความรับผิดชอบ การทํางานเปนหมู$คณะ รูลึก รูจริงในสิ่งที่ทํา ต$อไปในภายภาคหนาตนกลาตนนั้นก็จะสามารถยืนหยัดอยู$ในสังคมไดอย$าง สมภาคภูมิและมีศักยภาพ


ขอมูลที่เกี่ยวของ โรงเรีรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆร ฆราชูปถัมภ


รายชื่อคณะครู โครงการเพาะพันธุ+ป/ญญา ป4การศึกษา 2558 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ+ --------------------------------------------------------------------------------------ผู>บริหาร นายชาติชาย สิงห9พรหมสาร ผูอํานวยการโรงเรียน นายเชิดชัย สิงห9คิบุตร รองผูอํานวยการโรงเรียน ครูที่ปรึกษารวมโครงการ นายเดชมณี เนาวโรจน9 นางสาคร ทองเทพ นางสาวยาใจ เจริญพงษ9 นางสาวแสงเดือน บกนอย นายกิตติพงษ9 บุญสาร นายณัฐ อุปนิสัยพล นางสาวกิตติมา สาระรักษ9 นางนุชนาฏ โชติสุวรรณ วิทยากรท>องถิ่น นางพรรณี สิงห9คิบตุ ร นายมา วงเวียน

ครูกลุ$มวิชา วิทยาศาสตร9 ครูกลุ$มวิชา วิทยาศาสตร9 ครูกลุ$มวิชา วิทยาศาสตร9 ครูกลุ$มวิชา วิทยาศาสตร9 ครูกลุ$มวิชา วิทยาศาสตร9 ครูกลุ$มวิชา การงานอาชีพ ครูกลุ$มวิชา สังคมศึกษา ครูกลุ$มวิชา วิทยาศาสตร9

มือถือ 0981049766 มือถือ 0854106857 มือถือ 0862506414 มือถือ 0872463509 มือถือ 0883758721 มือถือ 0959561985 มือถือ 0801705406 มือถือ 0847524758

รายชื่อนักเรียนเพาะพันธุ+ป/ญญา ป4การศึกษา 2558 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ+ -------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------


รอยเรียงเรื่องรราว :

เพาะพันธุปปญญา ญสส.

ผู>เขียน - ออกแบบปก – รูปเลม

เดชมณี เนาวโรจน9

ที่อยู

โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ9 อําเภอคําเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร 35180

Facebook

krudechmanee Naowarot dnavaroj@gmail.com

Website

http://dechmanee.b;ogspot.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.