บ้านนาฟาน บ้านแม่เลย อ.สะเมิง เชียงใหม่

Page 1

บทสรุ ปการทํางานเขตที ๓ ชุ มชนบ้ านนาฟาน ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่

สวนนาฟานอุทยานทิพย์ : เพราะเชือในบุญ จึงเป็ นอะไรมากกว่ าสวนป่ า เอาพวกเรา.......ลุย! เมือสิ นเสี ยงสังบรรดาเยาวชนสะเมิงพิทยาคมและคณะศิษย์ วัดกว่าสามสิ บชีวิต ต่างคนต่างพากันถือจอบ เสี ยม แบก ท่อพีวีซีสีฟ้าขึนป่ าหลังสวนนาฟานอุทยานทิพย์ของพ่อ สมชาย สิ ทธิ โลก แห่งบ้านนาฟาน สะเมิงเหนือทีรายล้อม ด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อนและป่ าเบญจพรรณอันอุดม สมบูรณ์รอพวกเขาอยู่ แนวกันไฟป่ าถูกขุดจากปลายด้าม จอบเล็ก เด็กๆ เร่ งต่อท่ออาบนําให้ป่า...

จุดเริมต้ นของสวนป่ า สมชือสมชาย และสมชือสวนอุทยานทิพย์ทีพ่ออยากให้เป็ นบ้านสวน-ป่ า ทีอยูอ่ าศัยในบันปลายชีวิตอย่างสงบร่ มเย็น หลังวางมือจากงาน หลักคือ ผูร้ ับเหมาขุดบ่อ ลอกท่อ เกียถนน กลบดิน ฝังท่อ อะไรตาม จินตนาการทีรถแม็คโครทังสี คันของพ่อจะทําได้ แต่เพราะไม่รู้ชีวิตจะจบ ลงตรงไหน จะทํางานหนักได้อีกกีปี จะใช้หนีทีกูไ้ ปซื อรถได้สกั กีบาท พ่อ สมชายวัย ๔๗ จึงตัดสิ นใจลงมือทําสวนให้สมชือ ชายชาตรี ทีกล้าคิด พูด ลงมือทําตามตังใจไว้ แต่เมือขึนชือว่า “อุทยาน” คงไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึง พ่อจึงมองอนาคตว่าทีนีจะเป็ นแหล่งศึกษา เรี ยนรู ้ หรื อแหล่งจัดกิจกรรมให้กบั คนทีมีใจรักสวนป่ าหรื อวนเกษตรแต่ไม่รู้จะเริ มต้นอย่างไร ให้มาพบปะ


แลกเปลียน หาความรู ้ได้โดยไม่หวงวิชา เหมือนทีครังหนึงทีพ่อ สมชายเคยไปดูงานร่ วมกับทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มเมือปี ๒๕๕๑ ณ สวนเกษตรผสมผสานฝรังหัวใจอีสานมาร์ ติน วีลเลอร์ จังหวัดขอนแก่น สวนเกษตรประณี ตของพ่อคําเดือง ภาษี ปราชญ์ ชาวบ้านจังหวัดบุรีรัมย์ หรื อวนเกษตรบ้านลุงโชคดี ปรโลกานนท์ วัง นําเขียว โคราช และทีตรึ งใจทีสุ ดคือ สวนเกษตรประณี ต ๕ ไร่ ๑ ล้านของผูใ้ หญ่สมศักดิ เครื อวัลย์ ไปนอนกินพูดคุยจนตกลงปลงใจ ทําตาม ด้วยลูกฮึดของพ่อทําให้ภายในไม่ถึงสองปี ก็มีทุกอย่างทีกิน ได้ ใช้ได้ทงหน่ ั อไม้ ต้นสัก ต้นกาแฟ ผักสวนครัว ผักพืนบ้านสลับ เปลียนหมุนเวียนให้กินตลอดปี ยังมีเหลือให้แบ่งปั นอีกมาก “อย่างน้อยสอนคนรุ่ นเดียวกันไม่รู้เรื อง มีละอ่อนมาช่วยมา ทํา มาฟัง เราก็ดีใจนะเห็นเขามาสานต่อ มาซึ บซับเรื องราวพวกนีไว้ บ้าง” พ่อสมชายแบ่งปั นผักแล้วยังไม่หวงความวิชา วันนีจึงได้ฤกษ์ พาเด็กสร้างแนวกันไฟเส้นแรกของใครหลายๆ คน แต่ก่อนพ่อถูกชาวบ้านนินทาว่าทําเกษตรแบบไม่ทนั กิน หมายความว่าไม่ได้เงินมาจับจ่ายใช้สอยทันท้องหิว พ่อก็ยอมรับว่า ช่วงแรกจริ งมันช้า มันไม่ทนั ใจ จนทุกวันนีพ่อพิสูจน์แล้วว่าก็เป็ น เรื องไม่จริ ง หากใจเย็นๆ สวนป่ าทีปลูกทังกล้วย ไผ่ มะเขือ พริ ก บวบ ผักกาด ถัวฝักยาว ฟักทอง แตง ชะอม ฟัก ข้าวโพด มัน ผักบุง้ ข่า ตะไคร้ มะกรู ด มะนาว ส้มโอ ขนุนและต้นไม้ใหญ่ในป่ าทีปลูก เสริ มอีกมากมาย ไม่ใช่ไม่ทนั กินแต่มนั กินไม่ทนั ....มันเยอะ!


“มีคนมาลักขโมยผักบ้าง ไข่เป็ ดตกตามพืนสวนไผ่ทีเลียงแบบ ปล่อยก็ลกั เอาไป มาขอดือๆบ้างก็มี พ่อค้าขับรถเข้ามาซื อถึงทีก็มี คนที ขโมยได้กข็ โมยไป ดีเสี ยอีกยอดผักจะยิงแตกเพิมขึน สวยกว่าเดิม แบ่ง กันไป ทําบุญกันไป ไม่ตอ้ งไปให้ เขามาเอาถึงสวน” พ่อระเบิดหัวเราะ อย่างจริ งใจและท้าให้มาเอาอีก ถ้าถามว่าทําไมพ่อไม่ทาํ เหมือนเขา ทําไมไม่ปลูกถัวแระ ปลูก สตรอเบอร์รีพืชเศรษฐกิจได้เงินเยอะๆ เป็ นก้อนโต พ่อก็มีหนีสิ นส่ งรถ แม็คโครเครื องมือทํามาหากินหลัก มีภาระส่ งลูกเรี ยนให้จบ พ่อกลับ ตอบอย่างสบายใจว่า “เอ้า! วันนีเฮาจะป่ วยสักเจ็ดวัน มีให้กิน มีให้ใช้ วันนีอยาก หยุด จะไปเทียว ไปยิงนก ตกปลา ไปไหนเดือนสองเดือนป่ าก็โตขึนเรื อย ผักก็โต ไปเรื อย ไม่ตอ้ งไปดูแลเหมือนถัวแระญีปุ่ น ถัวฝักหวาน สตรอเบอร์ รี ไม่ตอ้ งใส่ ใจ ว่าจะเป็ นโรคอะไร เดียวแมลงก็กินกันเอง เราก็ไม่ตอ้ งพ่นยาไป ป่ วยไป ตายไม่ คุม้ !” ในเมือชีวิตไม่ตอ้ งการอะไรมากกว่าอาหารกายและ ทีสําคัญคืออาหารใจ ทีพ่อเกิดประกายในแววตาลงมือทําสวนป่ าทันทีจากเข้าอบรมทีวัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้มเมือสี ปี ก่อน

เมือคนบ้ ากับวัดบ้ ามาเจอกัน “พ่อก็วา่ พ่อบ้า บ้าทําสิ งทีแตกต่างจากคนอืน นิสยั เป็ นคน แบบนีแต่ไหนแต่ไร ทําสิ งทีคนอืนเขาไม่ทาํ คิดแบบทีคนอืนไม่คิด” พ่อเล่าถึงจุดเริ มต้นของการมาปลูกพืชผักผสมผสานและการออมเงิน


เข้า “กองทุนบุญ” ของครอบครัวสิ ทธิ โลกสู่ผืนป่ าทีไม่ใช่ของใครคนเดียวแต่เป็ นของคนทังประเทศ “เช่น การอาบนําให้ป่า ไม่มีใครคิด ใครจะคิดเอานําไปปล่อยในป่ า นอกจากพระเจ้าอยูห่ วั เรา แต่ก่อนพ่อไปเทียวดอยอินทนนท์ ดอยปุย ช่วงแล้ง แถวหมู่บา้ นม้งใกล้นาตกแม่ ํ กลางเกิดไฟไหม้ป่าด้านล่าง เหลือสี เขียวของป่ า ทางด้านบนยอดดอย และด้านล่างริ มถนนก็มีทางนําไหลออกจากป่ า ตลอดเวลา พ่อก็คิดเอ๊ะ...ทําไมไม่เอานําจากข้างบนลงมาปล่อยให้ตรงป่ า ข้างล่างทีกําลังถูกไฟไหม้ มันดูเป็ นความคิดบ้าๆ จนมาพ่อมาทํางานเป็ น ประธานสภาอบต. สะเมิงเหนือก็พดู ไปสี ปี ไม่มีใครทํา จนมาเห็นการทํางาน ของหลวงพ่อสังคมทีวัดผาส้ม สร้างฝายเป็ นร้อยเป็ นพัน ขุดแก้มลิงขนาดยักษ์ เป็ นสิ บบ่อ สุ ดท้ายพ่อได้เงินจากเวทีสญ ั จรโครงการขบวนบุญจากงบประมาณ อาหาร สถานทีและเงินส่วนตัวของพ่อ มาซื อท่อต่อนําจากต้นนําปล่อยเข้าป่ า ให้แผ่นดินชุ่มชืน การมีส่วนช่วยรักษาป่ า รักษาต้นนํา มีส่วนช่วยประเทศชาติ นีแหละบุญ”พ่อขมวดคอนเซ๊ปท์การทําบุญของพ่อผ่านการดูแลผืนป่ า ส่ วนรวม ...เมือวัดก็ทาํ ไม่เหมือนเพือน เราก็ทาํ ไม่เหมือนเพือนก็มาปะกัน เมือคนบ้ากับ วัดบ้ามาเจอกัน ก็เกิดเป็ นส่วนผสมทีลงตัว “พ่อคาดไม่ถึงเลยพอไปอบรมกับวัดผาส้มเมือสี ปี ก่อน ในโครงการ ต้นกล้าอาชีพรุ่ นที ๒ ตอนแรกพ่อก็ติดงานรับเหมาและภาระต้องหาเงินวันละ ๕,๐๐๐ บาทต่อวันผ่อนรถ แต่สุดท้ายก็ตดั ใจมาอบรมทุกอย่างทังทฤษฎีและ ภาคปฏิบตั ิของเศรษฐกิจพอเพียงตลอด ๘ วัน ๗ คืน จนพ่อทีรักป่ าปลูกป่ า ิ าว่ามันเป็ นทางรอด อยากมีป่าเป็ นทีอาศัยบันปลายอยูแ่ ล้ว มาอบรมก็ยงตอกยํ จะไม่ทาํ เหมือนคนอืน พ่อจะรักษาป่ า ปลูกทุกสิ งทีกิน พ่อขอเวลาอีกสองปี นับจากนีจะทําให้สวนเป็ นรู ปธรรม”


“ย่ะฮือผ่อ หรื อลงมือทําให้ดูในภาษาเหนือ คือ หลักใหญ่ ใจความทีพ่อใช้เป็ นแนวคิดหลักในการทําสวนป่ า ซึงตอนแรกพ่อ ยังไม่เปิ ดตัว อยากทําอยูอ่ ย่างเงียบๆ ค่อยเป็ นค่อยไป งานหลักคือ รับเหมาหารายได้ลดภาระหนีสิ น พอได้เงินมาตลอดสี ปี ทีผ่านมาสี หมืนห้าหมืนบาทต้องเอาเข้าสวนเข้าป่ าทุกเดือน” นีคือความบ้าบิน ความแตกต่างอย่างโดดเด่น กับการลงทุนในบุญ ลงทุนเพือ ส่ วนรวมทีน้อยคนจะลองเสียง

เพราะเชือในบุญจึงมีวนั นี ถ้าดาบวิชยั สุริยทุ ธแห่งบ้านปรางค์นากู่ จ.ศรี ษะเกษ เป็ น คนบ้าปลูกต้นไม้กว่าสองล้านต้นในสายตาคนอืนแล้ว พ่อสมชาย สิ ทธิ โลกก็อาจเป็ นคนบ้าในสายตาของชาวชุมชนนาฟานได้เช่นกัน ลองคิดดูเล่นๆ จะมีกีคนในประเทศทีบ้ากล้าลงทุนเป็ นหมืนเป็ น แสน เพือต่อท่อจากต้นนําในทีสูงสู่ผืนป่ าแห้งแล้งเบืองล่างเพราะ เกรงว่าไฟจะไหม้ป่า ไหม้สวน ไหม้เรื อนบ้าน ลามไปถึงประเด็น โลกร้อน “อาบนําให้ป่า” หรื อต่อท่อพีวีซีรดนําป่ าได้อะไร ลงทุนเสี ยเปล่าๆ “ได้บุญไง ช่วยลดโลกร้อนด้วย ป่ าก็เย็น เราอยูเ่ ราก็เย็นใจ๋ คนอืนมาก็ อยากมาแอ่ว(เทียว) แอ่วแล้วก็ม่วน (ชอบใจ) เขาม่วนเราก็มีความสุ ข การทําบุญ ไม่จาํ เป็ นต้องทําบุญต้องใช้เงินเป็ นทีตัง บางคนค้าขายบุญ เราทําบุญเราไม่หวัง แต่คนส่ วนมากคิดว่าทําบุญคือ เอาสังฆทานไปวัดให้ตุเ๊ จ้า (พระสงฆ์) บางคน ซําร้ายทําบุญกับวัดสิ บบาทยีสิ บบาทแต่ขอถูกหวยร้อยล้าน มันไม่ใช่”


“พ่อเชือในบุญเพราะเห็นแล้ว แต่ก่อนพ่อเป็ นครอบครัวทียากจนทีสุ ดในหมู่บา้ นจากร้อยหลังคาเรื อน แต่เพราะเชือว่าการทําดี การทําบุญ ทําแล้วสบายใจ ไม่ได้คิดหวังอะไร แต่พอเวลาคิดจะทําอะไรก็ได้ดงใจตนเอง ั บ่อยครัง ตอนเด็กพ่อแม่พาเข้าวัด ผูกพันกับวัดมาตลอด พ่อจึงเชือในบุญ กล้าเอาเงินทีหาได้ให้ป่าเพราะบัน ปลายชีวิตก็รู้ตวั ดีวา่ ตายไปแม้แต่บาทเดียวก็เอาไปไม่ได้ สูร้ ักษาป่ าส่งต่อให้ลูกหลานไม่ดีกว่ารึ ” แต่กว่าพ่อสมชายจะมีวนั นีได้ พ่อก็ตอ้ งฝ่ าฟันอุปสรรคต้องอาศัยความเพียรความอดทน จากรับจ้างขับ รถไถ รถสิ บล้อหลายจังหวัด ประสบอุบตั ิเหตุหวิดตาย จนอิมตัวกลับมาอยูบ่ า้ นมาเรี ยนวิชาพึงตนเองใหม่หมด เพราะ วิชาขับรถเป็ นทักษะเดียวทีพ่อมี ส่วนการทําไร่ ไถนา ปลูกผัก เลือยไม้ ผ่าฟื น ก่อสร้างต้องมาเริ มเรี ยนใหม่ จนเมือผลผลิตออกก็เริ มขายกล้วย ขายปุ๋ ยขีวัว เก็บออมมาเรื อย แล้วหันเหไปขับรถโดยสารประจําทางบ้าง ลง สมัครนักการเมืองท้องถินจนได้เป็ นประธานสภาอบต.บ้าง และเป็ นผูร้ ับเหมาก่อสร้างเจ้าของรถแม็คโครสี คัน พวงมากับกองหนีสิ นกูซ้ ื อรถ สุ ดท้ายมาคิดได้วา่ แล้วบันปลายชีวิตจะอยูอ่ ย่างไร แต่หากขายทรัพย์สินหมดพ่อก็ คงล้างหนีได้เช่นกัน แต่พอ่ เลือกทีจะยังไม่ทาํ เช่นนัน เพราะในสวนป่ าก็ยงั ต้องการทุนสนับสนุนอยูม่ าก ท่อนํารดป่ า ทําแนวกันไฟ ทําฝายต้นนํา ปลูกกล้าไม้ทดแทน ทําหลุมหลบภัยพิบตั ิ ปรับปรุ งอาคาร สถานทีซึ งตอนนีมีอยูเ่ พียงหลังเดียวจุคนได้สามสิ บคน ปรับปรุ งถนนทางเข้าทีเป็ นดินโคลน และลานกิจกรรม เป็ นโครงการก่อสร้างทีต้องการการสนับสนุน ซึงพ่อก็มีความเชือในฤทธิ ของบุญมรจริ งเพราะ เมือคืนผืนป่ าให้ แผ่นดินได้ช่วยคนมีอากาศบริ สุทธิ ลดความรุ นแรงจากภัยธรรมชาติ พ่อก็เชือว่าเดียว ก็มีคนมาให้โดยไม่ตอ้ ง ขอ” พ่อจึงเลือกทําเกษตรแบบสายกลางคือ ใช้ธรรมะควบคู่ ทําเกษตรผสมผสาน คบหากัลยาณมิตรทีมีใจ อุดมการณ์เดียวกันและเจริ ญเมตตาธรรมเพือเสริ มกําลังใจระหว่างเพือนร่ วมทางเดียวกัน แต่ไม่ใช่ทาํ ไปโลภไปก็ ทําเกษตรผสมผสานนีแหละแต่หวังปลูกเพือได้จาํ นวนมากๆ ได้เงินมากๆ มาลงทุนปลูกมากๆ อีกในสวน สุ ดท้ายทุกข์เพราะตลาดไม่แน่นอนไม่แตกต่างจากการทําเกษตรเชิงเดียว คือ ทําเกษตรแบบแทงหวย หวังรวยกับ ความไม่แน่นอน หรื อทําเกษตรผสมผสานแต่แยกตัวออกจาชุมชน ปิ ดสวนอยูก่ ินแค่ภายใน ไม่จดั อบรมไม่ เผยแพร่ อยูอ่ ย่างสันโดษ ช่วงแรกพ่อยังคงอยากทําอย่างเงียบสงบวิเวกทีสุดและไม่หวันไหวต่อเสี ยงคําทัดทานว่าร้ายของผูท้ ีไม่ เข้าใจเพราะยึดหลักทําจนสวนมีของดีให้อวด มีให้กิน มีให้อยูอ่ ย่างสะดวกในเรื องปั จจัยสี ก่อนแล้วจึงเปิ ดให้


คณะผูส้ นใจศึกษาแลกเปลียนกันได้ จนอาจกลายเป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงเช่นเดียวกับศูนย์การ เรี ยนรู ้ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มในอนาคตอันใกล้

๔ สหายแห่ งสะเมิงเหนือ: เครือข่ ายคนดีคอยเกือหนุนขบวนบุญ ถึงแม้วา่ พ่อสมชายจะตังใจจะอยูอ่ ย่างโดดเดียวในชุมชนบ้านนาฟานเพราะอยากจะทําสวนให้ได้ตามที ฝันคือ หาซับนําหรื อนําออกรู เพือต่อท่อนํานําสะอาดไปใช้ ทําฝายต้นนําเพือชะลอให้ความชุ่มชืนป่ าโดยรอบ ทํา แนวกันไฟป่ า (ด้วยวิธีอาบนําให้ป่าและถางทางเดินป่ า) ปลูกป่ าทดแทน ทําเกษตรผสมผสานให้หลากหลายขึน เหล่านีล้วนต้องใช้เวลาและสรรพกําลังแรงงาน แต่พอ่ สมชายก็ไม่รู้สึกโดดเดียวเช่นนัน เพราะสิ งสําคัญคือ กําลังใจจากคนหัวอกเดียวกัน แม้จะอยูต่ ่างหมู่บา้ นวันนีอ้ายหนานวาดแห่งบ้านแม่เลยก็มาเป็ นจิตอาสาในสวน ป่ าของพ่อสมชายในวันนี

หนานวาดแห่ งบ้ านแม่ เลย “เอาละเน้อ ไหนใครเหลาไม้ไผ่เป็ นช้อน เป็ น แก้ว เป็ นตะเกียบได้บา้ ง ออกมาสาธิ ตให้เพือนดูตว้ ย” วิทยากรกรจําเป็ นอย่างหนานวาดเพือนบ้านของพ่อ สมชายซึ งอยูถ่ ดั ไปอีกหมู่บา้ นกําลังเชิญชวนเยาวชน โรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคมและศิษย์วดั ผาส้มมาฝึ กพึงตนเอง โดยการหัดใช้มีดและการใช้ประโยชน์จากลําไม้ไผ่เมือ ต้องหากินในป่ าก่อนทีจะพาตะลุยทําแนวกันไฟ หนานเป็ นคําเรี ยกของคนเหนือของผูท้ ีเคยบวชมาหลายพรรษาผสมกับชือเรี ยกของคนนัน หนานวาดก็ เช่นกันเคยบวชเรี ยนมายีสิ บปี ทีเชียงใหม่แล้วไปจําพรรษาหลายพรรษาทีกรุ งเทพฯ สุดท้ายหัวใจก็เรี ยกร้องให้ กลับมาบ้านเพราะด้วยความรักในเกษตรพอเพียง จึงกลับมาทําสวนอย่างจริ งจัง จนปัจจุบนั หนุ่มใหญ่พอ่ ลูกอ่อน


วัย ๓๒ จึงเป็ นเพือนร่ วมอุดมการณ์ของครอบครัวของพ่อสมชายและเครื อข่ายของวัดผาส้มฯ ในอีกหลาย หมู่บา้ น สวนเกษตรพอเพียงของหนานเริ มผลิดอกออกผลเป็ นผักสวนครัวหลังบ้าน กล้วย ไม้สกั เป็ นพืชหลัก ั าน เหลือจึงส่ งขายทุกวัน นอกจากนันหนาน บ่อปลาดุกแหล่งโปรตีนข้างรัวเท่านีก็เพียงพอทีจะเลียงคนได้ทงบ้ วาดเพิงได้เซ้งกิจการร้านค้าวัสดุอุปกรณ์ต่อจากพ่อสมชายเพือเป็ นแหล่งเสริ มทุนสู่สวนพอเพียงของตน พ่อ สมชายก็สบายขึนหลังจากแต่ก่อนทีต้องคอยดูแลร้าน ไปไหนมาไหนไม่สะดวก ทุกวันนีจึงเริ มแบ่งเวลาทําสวน อุทยานมากขึน แม่แดงภรรยาพ่อเองก็สบายขึนได้กลับมาดูแลสวนทีรัก ได้ตอ้ นรับแขกทีชอบใจมาเยียมสวน มา จัดกิจกรรมด้วยการเก็บผักสดในสวนแม่แดงก็ลงมือเป็ นแม่ครัวทําอาหารออกมาอร่ อยจนหลายคนต้องกลับมา อีกครัง

พ่อน้ อยเสงียมแห่ งบ้ านใหม่ ต้นผึง ในสายตาชาวบ้านพ่อน้อยเสงียมก็อาจเป็ นหนึงใน คนบ้าเพราะนอกจากจะตะลุยปลูกป่ า ๓ อย่าง (ป่ ากิน ป่ าใช้ สอย ป่ าสร้างทีอยูอ่ าศัย) ประโยชน์ ๔ (ใช้กิน ใช้สอย ใช้ สร้างทีอยู่ ให้ร่มเย็น) อย่างจนสวนรกด้วยความเขียวชอุม่ ปลูกผักในแปลงเกษตรผสมผสานทังผักกินใบ กินหัว กิน หน่อ กินดอก พืชสมุนไพรและผลไม้ เลียงหมูหลุม เผาถ่าน ใช้เอง หมักนําหมักชีวภาพรดแทนปุ๋ ยเคมี เลียงปลา เลียง เป็ ดไข่ หลังจากเมือ ๔ ปี ก่อนพ่อน้าเสงียมเข้าร่ วมอบรมต้นกล้าอาชีพรุ่ นที ๑ กับทางวัด จนทุกวันนีสวนของพ่อ กลายเป็ นศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชนในเครื อข่ายของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม และจึง ได้มาพบกับพ่อสมชายพันธมิตรทีมีลูกบ้าเช่นเดียวกัน คือ “ทําให้สาํ เร็ จตําตาตนเองก่อนแล้วค่อยเอาของดีมา โชว์กนั ” วันนีเป็ นอีกวันทีพ่อน้อยเสงียมนําผักและผลไม้มาออมรวมกัน ณ อุทยานทิพย์ของพ่อสมชายเพือ ต้อนรับทีมงานจัดเวทีสญ ั จรโครงการขบวนบุญ เพราะก่อนหน้าพ่อก็แบ่งปั นพืชผลผลไม้และเมล็ดพันธุ์ให้เพือน


บ้าน พอมีงานบุญทีวัดก็นาํ ไปถวาย โรงเรี ยนก็เริ มมาขอพันธุ์ไปปลูกเป็ นอาหารกลางวันเด็ก พ่อพยายามแทรก ซึ มหาเครื อข่ายจากการเป็ นผูใ้ ห้ก่อนเสมอ ด้วยวัย ๖๓ ปี กับรอยประสบการณ์บนใบหน้ากร้านแดด พ่อจึงมักแลกเปลียนเทคนิคการปลูกพืช การ เลียงสัตว์ หมักสมุนไพรกับชายวัย ๔๐ ทีมักมาพร้อมกับเทคนิคสมัยใหม่รวมไปถึงกินข้าวล้อมวงปรับทุกข์ส่วน ตน ชุมชน บ้าน วัด โรงเรี ยน หน่วยราชการ สนทนาจนไปถึงปัญหาระดับประเทศซึงมีหลายเรื องโยงใยเกียวพัน แยกไม่ออกง่ายๆ แก้จุดหนึงก็ติดอีกจุดหนึง ทําให้ในเวทีแลกเปลียนเครื อข่ายขบวนบุญนีมีความเข้มข้นและก็ได้ ข้อสรุ ปตรงกันทังคู่วา่ ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา สิ งแวดล้อมแก้อย่างไรก็ไม่จบต้อง “เริ มแก้ไขทีตนเอง ก่อน” ชีวิตพ่อน้อยเสงียมทีต้องผ่านบทเรี ยนอันแสนสาหัสจากเกษตรเชิงเดียว เสี ยค่าเมล็ดพันธุ์ ค่ายา ค่าปุ๋ ย ค่า ขนส่ง ค่าแรงงานมาก โดนหลอกโดนโกงจากเกษตรพันธะสัญญาทีหลอกให้ปลูกแต่กลับหนีหายไม่รับซือตาม สัญญา กูแ้ ล้วมาใช้หนีปี ทีแล้ว กูแ้ ล้วมาลงทุนทําเกษตรปี นี หนีหลายกองเพิมพูนจนกองโตกว่าสี แสนบาท พ่อ จึงตกผลึกไม่หนั กลับไปทําอย่างเดิม ทําเกษตรผสมผสานทังสบายท้องอิม และสบายใจเมือค่าใช้จ่ายลดลง หนีก็ ลดลง ทุกข์กเ็ บาบางลงจากกําลังจากเพือนในเครื อข่ายคนบุญ พ่อหลวงเสมแห่ งบ้ านแม่ ปะ ภาพป่ าทึบ เสี ยงนกร้องออกหากินเช้าเข้ารังคํา และไอเย็นไหลออกจากป่ ารู ้สึกได้เมือยืนอยูใ่ นสวนของ พ่อดําเนิน ไชชนะ หรื อพ่อหลวงเสม ผูใ้ หญ่บา้ นแม่ปะ หมู่ ๖ แม้วา่ ภาพในอดีตทีดินตรงนีจะเต็มไปด้วยมะเขือ เครื อหรื อทีรู ้จกั ในเมืองคือ ฟักแม้ว ทังลูกและยอดเป็ นพืชเพียงชนิดเดียวทีมีอยูใ่ นสวนเมือสองปี ก่อน “พ่อทําแต่ก่อนพ่อก็ปลูกแต่มะเขือเครื ออย่างเดียวหม๊ด แต่มีปัญหาเรื องการตลาด เวลาผลผลิตเขานัก (มาก) พ่อค้าคนกลางก็กดราคาลงเรื อยๆ ก็เลยมีแนวคิดตังแต่วนั นันมาว่าต้องปลูกหลายอย่าง เช่นผักตัวใดตัว หนึงตายก็ยงั มีอีกตัวแทน หลังจากนันก็ไปปะ (เจอ)กับพ่อสมชาย สิ ทธิ โลกทีมีสวนนาฟานอุทยานทิพย์กช็ กั ชวน ให้รู้จกั ทางวัดรวมทังการไปได้อบรมทีศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอือง เกิดสะสมแนวคิดเกษตรผสมผสานมาก ขึน และมีโอกาสรู ้จกั เครื อข่ายสหายของวัดในสะเมิงเหนือทีมีแนวคิดคล้ายๆ กัน”


“คือใจพ่อเปลียนมาเมิน (นาน) แล้ว คือทําแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางของในหลวง เพราะมัน เป็ นหนทางเดียวทีทําให้เกษตรกรอยูร่ อด อยูร่ อดยังไงเพราะอย่างในสวนของพ่อมีพืชหลายชนิดเหมือนกัน เอา ไปขายอย่างละเล็กละน้อย ไม่เสี ยง จะขายหมดไม่หมดไม่ใช่ปัญหา” ด้วยความเป็ นพ่อหลวงเมือพึงพาตนเองจาก อาหารในสวน ลดรายจ่ายจากภายนอก พ่อหลวงเสมจึงค่อยๆ บอกเล่าประสบการณ์สู่ชุมชนแต่กเ็ หมือนพูด ไม่ได้เต็มปาก “พ่อจะทําให้เป็ นตัวอย่างกับชาวบ้าน ก่อนจะไปบอกไปสอนชาวบ้าน หากยังทําไม่สาํ เร็ จยังไปบอก ไม่ได้อย่างสนิทใจ ถ้าทําสําเร็ จมันไม่ตอ้ งพูดอะไรมาก เขาเห็นก็รู้เอง แต่กห็ วังลึกๆ ว่าอีกไม่นานชาวบ้านจะนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในชีวิตได้” นอกจากแนวคิดปลูกทุกอย่างทีกินในสวนของตนเอง พ่อ หลวงเสมยังมองเห็นสิ งใกล้ตวั ทีอยูต่ รงหน้าอย่างสมอไทยทีหล่นลงพืนเรี ยราดเน่าเสี ยไปเปล่าจึงนํามาหมัก “ต้นทุนทางธรรมชาติในหมู่บา้ นเรามีเยอะ สนใจมาทําเรื องสุขภาพตอนไปปรึ กษากับทางหลวงพ่อ และ ก็กลับมาคิดการแพทย์ของประเทศไทยนีแปลกสังยาเคมีปีละหลายพันล้านมารักษาประชาชน แต่สมุนไพร พืนบ้านของดีหาง่ายมีอยูแ่ ล้วในพืนของเฮาอย่างแม่ปะมี สมอ ลูกยอ เครื อมะแตะ บอระเพ็ด ใบรางจืด กล้วย จึง นํามาทํานําหมักป้ องกัน รักษา บํารุ งสุ ขภาพ” การทําการณ์ใดทีสวนกระแสหลักย่อมีอุปสรรคให้กา้ วข้ามเสมอไม่เว้นแต่วงการสาธารณสุ ขในบ้านเรา “เปิ ล (เขา)ว่ามันเป็ นไปไม่ได้ ของหมัก ของดอง ของเน่าจะกินแล้วโรคหาย รักษาโรค แต่กม็ ีแนวคิด ทีว่าการสกัดสมุนไพรมีหลายอย่างทังต้ม เอาไปฝน ตากแห้งทําเป็ นผงอัดเม็ด ซึ งหมอก็ไม่เชิงปฏิเสธร้อย เปอร์ เซ็นต์เรื องสมุนไพรไม่ดี แต่หมอว่าถ้านําไปต้ม ไปอบแห้งทําเป็ นผง แต่เรื องการหมักมาดองทางเจ้าหน้าที อนามัยก็แอนตีเราอยู่ แต่เฮาก็จะทําให้เห็น มันต้องใช้เวลาจะสามสี ปี หรื อสิ บปี เฮาก็จะทําให้เห็น จนเฮาบ่ตอ้ ง โฆษณาหรอก เขาจะมาหาเอง” กําลังใจเต็มเปี ยมของพ่อหลวงเสมด้วยหลักคิดเดียวกับพ่อสมชายคือ “ทําให้เห็น ก่อน ทําให้ดู ให้เกิดผล” จึงมันใจบอกต่อ ชักชวนเพือนบ้านมาทําตาม ระหว่างนีเองสหายทังสี พ่อหลวงเสม พ่อน้อยเสงียม ทังคู่เคยผิดหวังชําชอกกับเกษตรเชิงเดียว ปัจจุบนั จึงตังหน้าตังตา “ทําให้ดู ลองให้เกิดผล” จนสวนมีเหลือกินเหลือใช้ หนีลดลง สบายใจขึน พ่อสมชาย หนานวาด ทีขอทําเกษตรผสมผสานอยูอ่ ย่างเงียบๆ ให้พอกินพอใช้และประกอบสัมมาอาชีพเพือหาทุนรอนพัฒนาสวนป่ า


ของตนเอง บางคนครอบครัวก็ไม่เห็นด้วย ในขณะทีบางคนหวันไหวบางเมือได้ยนิ คํานินทาติเตียนจากเพือน บ้าน บางช่วงบางตอนก็เกิดห้วงเวลาแห่งความท้อ ไม่ได้ดงใจบ้ ั างแต่กต็ อ้ งอดทนพยายามต่อไป ทังสี จึงเป็ นเกลอหัวอกเดียวกันและเป็ นแกนนําคนสําคัญขับเคลือนเครื อข่ายไปข้างหน้า ด้วยคุณธรรม เดียวกันคือ สายตามุ่งมัน สองมือสานงานต่อด้วยความเพียรพยายาม ไม่ยอ่ ท้อจนกว่าจะบรรลุผล และพลัง “รู ้ รัก สามัคคี” ในเครื อข่ายบนเส้นทางว่ายทวนกระแสนีจะเป็ นกําลังใจชันเยียมในการต่อเติมไฟฝัน เป็ นสะพานสู่ทาง รอดในไม่ชา้ อย่างทีพ่อๆ ทังสี พูดเหมือนกันว่า “ ไม่ตอ้ งโฆษณา ไม่ตอ้ งพูดมาก เดียวคนเห็นตามว่าดี พึงตนเองได้จริ ง เดียวเขาก็จะทําตามกันเอง” นี คือจุดร่ วมของสี สหาย สี สวน สี หมู่บา้ นแต่มีหวั ใจอุดมการณ์แห่งความพอเพียงเดียวกัน ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นเกษตรกรแล้วจะพอเพียง อาชีพค้าแรงงาน ข้าราชการ เอกชน รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจ ส่ วนตัวก็สามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ไม่จาํ เป็ นต้องมีสวนผัก สวนป่ า มีทีดิน มีทุน รอนมากมาย มีแรงงาน แต่เพียรทําหน้าทีของท่านให้เต็มที เหลือเวลาก็อุทิศให้ส่วนรวมเพราะความพอเพียงเกิด ได้ทุกแห่ง ทุกเวลา และเกิดได้กบั ทุกคน ถ้ าใจมันบอกว่ า “พอ ก็คอื พอเพียง”

อนาคตของสวนป่ าบ้ านนาฟาน ต้นฤดูฝนอย่างปลายเดือนมิถุนาปี นี ต่อย หรื อรัฐ มนต์ สิ ทธิโลก ลูกชายคนโตของพ่อสมชาย ศิษย์เก่า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลีเทคนิคล้านนา นําทีมรุ่ นน้องกว่า ๕๐ ชีวิต ชันปวช. ปวส. ทุกชันปี ทีเปิ ดรับสมัครมาตาม ความสมัครใจ ร่ วมกับเจ้าหน้ากรมประชาสัมพันธ์หรื อช่องสิ บเอ็ดและมูลนิธิจรัล มโนเพ็ชร ร่ วมปลูกป่ าสร้าง ฝายถวายพ่อหลวงซึ งเป็ นกิจกรรมใหญ่กิจกรรมแรกๆ ของสวนนาฟานอุทยานทิพย์หลังจากเริ มทําสวนเมือปี ๒๕๕๒


พ่อสมชาย และครอบครัวมีแม่แดง ต่อย และเด่น ลูกชาย คนเล็ก พ่อหลวงเสม หนานวาด พ่อน้อยเสงียม ครบสี สหายจึงมา เป็ นเจ้าบ้านเปิ ดสวนป่ าต้อนรับการมาเยือนของนายอําเภอสะเมิง ทีมาเป็ นประธาน หลวงพ่อสรยุทธ ชยปัญโญ เจ้าอาวาสวัดพระ บรมธาตุดอยผาส้ม และนักศึกษา เจ้าหน้าทีต่างมีใจอยากทําดี ตอบแทนคืนสังคม ต่อยจึงเป็ นทังตัวตังตัวตีและประสานงานฝ่ าย ต่างๆ ด้วยวัยเพียง ๒๓ ปี ก็เริ มทําภารกิจสร้างคนอุดมการณ์ เดียวกัน ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้นผูเ้ ป็ นพ่อทีพร้อมสื บสาน “สวนนา ฟานอุทยานทิพย์” ให้เป็ นเติบโตและพร้อมจะแบ่งปันผูอ้ ืน เกิดขึนจริ งแล้ว “เริ มมาจากแนวคิดง่ายๆ ทีว่าเราอยากให้รุ่นน้องมาเห็น อีกมุมหนึงของเส้นทางชีวิตของผมทีจบสายก่อสร้างมาแต่ก็ สามารถมาทําการเกษตรได้ และเห็นว่าการสร้างฝาย ปลูกป่ าจะ เป็ นเครื องมือให้เขาเห็นค่าของป่ าทีให้ชีวิต ให้ความเย็นชําชุ่มชืน ให้ความสบายใจเมือเห็นสี เขียวขจี ให้ทีอยูอ่ าศัย ให้นาํ และ อาหาร” ข้าวเหนียวปั น ต้มเห็ดกับหน่อไม้ แกงฟักเขียวไก่ขาวร้อนๆ และ นําพริ กหนุ่มรสจัดจ้าน อาหารสดจากสวนของต่อยเติมพลังมือ เทียงให้กบั เพือนเยาวชนทีอาบเหงือต่างนํา หลังจากทําฝายต้นนํา ทังห้าตัวเสร็ จไปแล้วเกินครึ งทาง รอยยิมและเสี ยงหัวเราะคือ พลังใจทีทําให้ทงต่ ั อยและเด่นลูกชายทังสองของพ่อสมชาย มองเห็นไฟในตนเองอีกครัง หลังจากทีเคยตามผูเ้ ป็ นพ่อไป รับเหมาขุดบ่อแก้มลิง ทําฝายทีห้วยบง ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจ พอเพียงวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม และเป็ นครังแรกทีได้พบ


หลวงพ่อสังคม ธนปัญโญผูจ้ ุดประกายเติมไฟฝันในการทําสวนป่ า

“มันเรี ยกว่าความผูกพันกับป่ า กับต้นไม้มาตังแต่เยาว์วยั เติบโตมาก็คิดถึงบ้าน อากาศ อาหาร อยูก่ บั ป่ า มันบอกไม่ถูก” ต่อยเปิ ดใจถึงแรงผลักดันให้มายืนอยูจ่ ุดนีในขณะทีเพือนวัยเดียวกันมุ่งหน้าสู่โรงงานหางานและ เงิน บางส่ วนกลับบ้านสื บสานกิจการครอบครัวเหมือนกับเขา แต่ยงั ไม่กล้าเจียดเวลาครึ งหนึงหรื ออาจมากกว่า นันให้กบั งานส่วนรวมคือ การดูแลรักษาป่ า ต้นนํา ป้ องกันไฟป่ าให้ชุมชน และแน่นอนสิ งเหล่านีจะย้อนกลับมา ทีสวนป่ าของตนทีได้รับการดูแลรักษาจากป่ าโดยรอบ “อนาคตของสวนก็ยงั ไม่รู้นะ รู้แต่วา่ ทําตอนนีให้เต็มที เกษตรก็ทาํ ให้เหลือกินเหลือเฟื อมากขึนทําเผือเลียงคนทีมาเยือน เหมือนไข่เป็ ดตอนนีเก็บได้วนั ละสามสี แผงยังไม่ทนั ลงรถก็ขาย หมดเห็นแม่วา่ กาแฟก็ปลูกในป่ าเป็ นกุศโลบายของพ่อทีทําให้ คนเดินป่ ารู้วา่ ผืนป่ าตรงนีมีเจ้าของ เขาก็จะไม่กล้ามาตัดทําลาย ป่ า เราก็สามารถเก็บเมล็ดกาแฟเป็ นต้นทุนของสวนในอนาคต ได้ การทําแนวกันไฟเป็ นสิ งสําคัญทีสุดตอนนี คือไฟมาต้นไม้ เล็กใหญ่หมดจริ งๆ เราต้องเร่ งทําแนวกันไฟ ต่อท่อรดผืนดิน รากไม้ให้ชุ่มชืนตลอดเวลาเหมือนนํานําจากต้นนําในทีสูงมาร ดลงทีตํากว่า” ครอบครัวสิ ทธิ โลกไม่ได้ดีแต่พดู อย่างเดียวหลังจาก เวทีสญ ั จรขบวนบุญผ่านไปเพือแลกเปลียน เสริ มกําลังใจของ คนในเครื อข่าย และตังแผนงานระยะสันว่าหลังจากประชุม เสร็ จจะลงมือทําอะไรทันทีเพือขับเคลือนขบวนบุญสายสะเมิง เหนือนีก้าวต่อไปข้างหน้า


ต่อยจึงไม่รอช้าประสานเยาวชนโรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคมร่ วมกับศิษย์วดั พระบรมธาตุดอยผาส้มกว่า สามสิ บชีวิตร่ วมกันสร้างแนวกันไฟและต่อท่ออาบนําให้ป่าเมือต้นเดือนกันยายนทีผ่านมา หนานวาดนําทีมน้องๆ สังกัดชุมนุม “คืนชีวิตให้แผ่นดิน” โดยมีนอ้ งปี รุ่ งนภา ชมโลก ประธานชุมนุม และยังเป็ นแกนนําฝังตัวขับเคลือนขบวนบุญในโซนที ๔ “โซนเทศบาลสะเมิงใต้/โรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคม นํา ทีมน้องๆ ฝึ กใช้มีดเพือพึงพาตนเองได้เวลาเดินป่ า ไม่นาน ช้อน ตะเกียบ จานทรงกระบอกทังหมดมาจากฝี มือ ฟันกระบอกไม้ไผ่กพ็ ร้อมใช้เสิ ร์ฟร่ วมกับแกงผักกาดจอกระดูกหมู ต้มหน่อ ถัวฝักยาว นําพริ กกะปิ ใส่ มะเขือพวงสดจากสวน ไข่เจียว กับข้าวเหนียวนึงร้อนๆ บนจานใบตองคือ อาหารมือเทียงแสนภูมิใจ ของเยาวชนทีซึ มซับประโยชน์ทีได้จากป่ าไม่โดยไม่รู้ตวั


ต่อยและสี เกลอสะเมิงเหนือจึงเป็ นกําลังสําคัญในการขับเคลือนบ้าน-สวน-ป่ าทีเขารักและกําลังพาให้ คนอืนมารักด้วย เชือแน่วา่ ผูม้ าเยือนจะนํากําลังกาย กําลังทรัพย์ กําลังปัญญามาร่ วมสนับสนุนสวนนาฟาน อุทยานทิพย์เพราะเข้าใจจุดประสงค์ของพวกเขาดีวา่ เกิดมาต้องสํานึกบุญคุณแผ่นดินถินเกิด การสร้างฝาย ปลูก ป่ า ทําแนวกันไฟเป็ นเพียงสะพานเชือมความเชือเรื องบุญเข้าสู่ใจ เมือเชือว่าการทําบุญ (คือบุญสําคัญกว่าเงิน ทอง) การทําบุญมีฤทธิ จริ ง เพราะผลทีได้รับกลับมามากกว่าทีจะคาดถึง “ขบวนบุญในความหมายของพ่อ คืออะไรทีทําแล้วดีนะ ทําแล้วยิงใหญ่ รู ้สึกใจบุญ รู ้สึกสบายใจ แต่ ก่อนพ่อฆ่าสัตว์อย่างมดฆ่าเป็ นพันๆ ตัวเลยนะ เดียวนีก็ปล่อยมันเดินไป มันก็มีประโยชน์กินแมลงอะไรของมัน ไป พอทําแล้วรู ้สึกอยากจะให้ ไม่เบียดเบียน ไม่ทาํ ให้คนหรื อสัตว์เดือนร้อน นีคือบุญแล้ว” “ตลอดสี ปี ทีร่ วมงานกับทางวัดผาส้มฯ หลวงพ่อพาทําบุญ ทุกเรื อง ทุกครัง พ่อเพิงเริ มเข้าใจ อย่างการ เปิ ดสวนอุทยานทิพย์ตอ้ นรับให้คนกรุ งเทพฯ คนในเมือง เด็กเยาวชน มาสัมผัสชีวิตทีอาศัยป่ า อาศัยนํา เราเห็น เขาอยูม่ ีความสุข ไม่ตอ้ งใช้เงินสักบาท มีกินในสวน มีทีนอนในป่ า เราก็มีความสุ ขแล้ว” พ่อสมชายสรุ ปปิ ดท้าย อย่างคนเจนจัดเข้าใจสัจธรรมของชีวิตจากการเคียวกรําประสบการณ์มากว่าห้าสิ บปี สวนป่ าของพ่อจึงไม่ใช่แค่ สวนป่ า แต่เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางใจ ซึ งนําพาคุณธรรม ความกตัญ ู ความรักสามัคคี ความปรารถนาให้คนอืนได้ ดี ด้วยความไม่ยอ่ ท้อเข้าสู่จิตใจของคนบุญ บุญต่อบุญ โบกีต่อโบกี ให้ขบวนบุญสายนีให้ขยายยาวไม่มีสินสุ ด

บทวิเคราะห์ การขับเคลือนโครงการในชุ มชน “โซนสะเมิงเหนือ” แม้วา่ พืนทีของโซนสะเมิงเหนือจะไม่ได้นาํ สิ นค้าขบวนบุญ เช่น ข้าว นํายาอเนกประสงค์ และปุ๋ ย อินทรี ยช์ ีวภาพเข้ามาทําตลาดให้เกิดกองทุนบุญไม่ได้ตามรู ปแบบทีโครงการกําหนดไว้ แต่กลับประสบ ผลสําเร็ จในแง่การขับเคลือนเรื องคุณธรรมของคนในเครื อข่ายมาก คือ ความกตัญ ูต่อแผ่นดิน เนืองจาก กิจกรรมทีเกิดขึน เช่น การทําเกษตรผสมผสานทีลดหรื อเลิกใช้สารเคมีทุกชนิดปล่อยให้แมลงกินกันเองตาม ธรรมชาติ หรื อผลิตปุ๋ ยหมัก ฮอร์ โมนชีวภาพฉี ดพ่นเสริ มการเจริ ญเติบโตพืชผัก ดิน-นํา-ป่ าจึงมีเวลาฟื นตัวเอง ดังเช่นในสวนของพ่อน้อยเสงียม พ่อหลวงเสมและหนานวาด


การวางท่อพีวซี ี อาบนําให้ป่าชุ่มชืน การสร้างแนวกันไฟ การปลูกป่ าทดแทนอย่างในสวนนาฟาน อุทยานทิพย์ของพ่อสมชาย การอบรมเยาวชนหัวใจสี เขียว และการเปิ ดรับบุคคลทัวไปเข้าพักอาศัยอย่าง ลูกหลานโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายใดๆ และเรี ยนรู ้จากการท่องเทียวเชิงปั ญญา มาแล้วได้ปัญญากลับไปอย่างน้อย คือ การพึงพาตนเองให้ได้ในสวนป่ า ทีไม่มีไฟฟ้ า ไม่มีร้านค้าให้จบั จ่ายใช้สอย และอยูห่ ่างไกลจากชุมชนซึ งเป็ นสิ ง ทีสวนนาฟานอุทยานทิพย์เริ มยกระดับจากสวนป่ าธรรมดาเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชนทีจะ เป็ นแหล่งแบ่งปั นความรู ้ภูมิปัญญา แบ่งปันอาหารทีเหลือเฟื อ แบ่งปั นสถานทีในสวนเพือจัดกิจกรรมอาสาซึง เหล่านีไม่ได้มาจากความตังใจทีจะทําแต่แรก แต่มาจากความมุ่งมันทีจะรักษาผืนป่ า มีสวนไว้พึงพาตนเองได้ พอ กิจกรรมเหล่านีเกิดขึนจึงเกิดคนบุญทีคอยสนับสนุนสวนป่ า ทังกําลังกาย กําลังทรัพย์ กําลังปัญญา พ่อสมชายจึง สามารถแบ่งเวลาจากงานประจําคือผูร้ ับเหมามาดูแลสวนมากขึน เหล่านีคือกองทุนบุญทีเจ้าของสวนอย่างพ่อสมชาย แม่แดงและลูกชายทังสอง รวมถึงบรรดาเพือนบ้าน อย่างหนานวาด พ่อหลวงเสม พ่อน้าเสงียมทีคอยขับเคลือนขบวนบุญนีร่ วมกัน คือเวลามีงานส่ วนรวมก็ ช่วยเหลือกัน เวลาต้องการคําแนะคําปรึ กษาเกียวกับการเกษตรก็แลกเปลียนกัน เสริ มกําลังใจซึงกันและกัน เกิด คุณธรรม ความรัก ความสามัคคีระหว่างคนที “คิดได้” เหมือนกัน “เชือ” เช่นเดียวกันว่านีคือทางรอดของปัญหา นานาทียึดโยงเป็ นใยแมงมุมขนาดใหญ่ยากจะแก้ไขทุกปั ญหาได้ สื บเนืองจากการจัดเวทีสญ ั จรติดตามผล โครงการครังสุดท้ายเมือวันที ๒๘-๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ทีผ่านมาได้ระดมสมองพบว่าปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิ งแวดล้อมและการศึกษา พบปัญหาดังต่อไปนี ๑. ปัญหาสามเศร้าระหว่างพระ-คณะศรัทธา-กรรมการดูแลทรัพย์สินวัด (มีเรื องเงินทีไหนแตกกันทีนัน) ๒. ปัญหาเรื องการเมืองท้องถินทีต้องเลือกตังผูน้ าํ ทําให้ชาวบ้านทีแตกแยกกันเพราะเลือกผูน้ าํ คนละคนกัน ๓. การเปลียนแปลงการผลิตทีคนเมืองไม่ทาํ การเกษตรไปทํางานในเมือง และจ้างแรงงานต่างประเทศแทนทีมี ค่าจ้างเท่าคนไทยแต่ทาํ งานได้มากกว่า ๔. ปัญหาผูห้ ลักผูใ้ หญ่ในบ้านเมืองไม่สามารถเป็ นตัวอย่างในแก่เยาวชน เช่น หลงลาภ ยศ บรรดาศักดิ จนถึง ปัญหาการทุจริ ตคอรัปชัน


๕. ปัญหาสื อมีอิทธิ พลต่อคนมาก คนใช้เวลาส่ วนมากกับสื อต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว เพือนบ้าน ในชุมชนน้อยลง ๖. ปัญหาค่านิยมทางสังคม “มีการศึกษาสูง ได้งานดี เงินดี ชีวิตมีสุข” ซึงการศึกษาดึงคนออกนอกชุมชนและ ั กูย้ มื กยศ. หลายแสนไม่มี ครอบครัวหาเงินเพือส่ งลูกเรี ยน เด็กกลับมาพร้อมนําปัญหาทีแก้ไม่ตกมาให้ทงหนี หลักประกันการว่างงาน (จบแล้วมีงานทํา) ปั ญหาท้องก่อนแต่ง ปัญหามีลูกแต่ขาดพ่อหรื อแม่จนกลายเป็ น แม่ตงแต่ ั อายุนอ้ ยหรื อเป็ นพ่อเลียงเดียว ๗. ปัญหาผูค้ นขาดศีลธรรม มีความอิจฉา เห็นผูอ้ ืนดี-เด่น-ดังกว่าตนไม่ได้ตอ้ งนินทา ให้ร้ายและหาทางขัดขวาง จะเห็นได้วา่ ปัญหาทังหมดทังมวลมีจุดร่ วมเดียวกันคือ การใช้เงินเป็ นทีตังแห่งความสุ ขของชีวิตประกอบ กับสื อพิษทีชักจูงผูค้ นให้ซือสิ นค้าและบริ การด้วยวิธีการส่งสัญญาณว่า “เราต้องทันสมัยตลอดเวลา” เราจึงต้อง ซื อสิ นค้ารุ่ นใหม่ทงๆ ั ทีของเก่ายังใช้การได้แต่เชยในสายตาคนอืน “เราต้องทําเหมือนๆ กัน คิดเหมือนกัน” เพราะการศึกษากระแสหลักบอกเราให้คิดในกรอบหรื อแม้กระทัง “คิดไม่เป็ น” เพราะได้รับการป้ อนอยู่ ตลอดเวลา ท้ายทีสุ ดแล้วในเวทีประชุมเชิงปฏิบตั ิการจึงสรุ ปว่าปัญหามีมากและซับซ้อนเกินกว่าจะแก้ไข แต่ไม่แก้ ก็ไม่ได้ แต่ตอ้ งแก้ให้ถกู จุดให้ตรงต้นเหตุทีทําให้การใช้ชีวิตในปัจจุบนั อยูล่ าํ บากกว่าเหมือนก่อนมาก ฉะนันการ ั นฐานคือ พึงพา แก้ปัญหาชีวิตตนเอง ทีต้องการปัจจัย ๔ เป็ นขันต้น จึงต้องใช้วิธีพึงพาตนเองให้ได้ ตังแต่ขนพื ตนเองได้เรื องอาหารและยารักษาโรค เรื องทีอยูอ่ าศัย เรื องผลิตภัณฑ์ทาํ ความสะอาด สบู่ แชมพู ปุ๋ ยหมัก ฮอร์ โมนพืช และเรื องการมีอากาศบริ สุทธิ มีนาสะอาด ํ มีดินทีอุดมสมบูรณ์ซึงมาจากการรักษาป่ าไม้ พอ พึงตนเองได้ขนหนึ ั งจึงยกระดับสู่ขนก้ ั าวหน้าทีมีเหลือจึงแบ่งปันให้เพือน ทําบุญ ทําทาน จากนันเก็บไว้แปรรู ป ไว้ขายมีรายได้ใช้จ่ายสิ งทีไม่สามารถผลิตเองได้ สุ ดท้ายสร้างเครื อข่ายสําหรับคนหัวใจเดียวกัน คนเคยทุกข์เคย ยากเหมือนกันเพือให้เราสามารถดํารงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้กลมกลืน ขบวนบุญสายนีจึงนิยามว่า อะไรทีทําแล้วสบายใจ สบายกาย เราและเขาได้ประโยชน์ ได้ตอบแทน แผ่นดิน คืนความเขียวความร่ มเย็นสู่ป่าทีให้ชีวิตเราแต่เกิดเติบโต และยิงได้ให้หรื อคิดจะให้กส็ บายใจแล้ว บุญ ในใจจึงเกิดขึนอยูต่ ลอดเวลากับทุกการกระทําของผูร้ ่ วมขบวนบุญ ต้นบุญสายสะเมิงเหนือจึงเปรี ยบกับต้นไม้ที


แตกกิงก้านใบและกําลังจะให้ร่มเงาได้เร็ววัน รวมทังรอวันทีผลสุ กจะตกให้สตั ว์นอ้ ยใหญ่ได้เก็บกินภายภาค หน้า ปัจจัยเกือหนุนการขับเคลือนขบวนบุญ ๑. คุณภาพของคนหรื อผูน้ าํ ทีกล้าเปลียนแปลง กล้าท้าทวนกระแสการทําเกษตรเพือการค้าสู่การพึงพาตนเอง และนําองค์ความรู้มาทดลองใช้ ลองผิดลองถูกจนได้เป็ นสูตรทีเหมาะสมกับตนเองทีสุด ๒. คุณธรรมของคนทีร่ วมขบวนบุญต้องเริ มมาจากความคิดทีต้องการ “พึงพาตนเอง” ให้ได้ทาํ จนตนเองสําเร็ จ จนละแวกบ้านเห็นประจักษ์วา่ เป็ นทางรอดจริ งไม่ใช่รอ “เงินทุน” ไปทําสวนเกษตรพอเพียงหรื อโทษว่า “เห็นผลช้า” คุณธรรมทีสําคัญของผูร้ ่ วมขบวนบุญคือ “มุทิตาหรื อความคิดทีอยากจะให้ ปรารถนาให้เพือน ได้ดี” และไม่หวันไหวต่อคํากล่าวไม่ดีเพราะตัวอย่างคนพอเพียงทีประสบความสําเร็ จมีให้เห็นแล้ว ๓. ทรัพยากรธรรมชาติทียังอุดมสมบูรณ์อยูม่ ากทังดิน นําและป่ า ทําให้พืชผักผลไม้ในสวนเจริ ญเติบได้ดีจนมี เหลือกินเหลือเก็บแบ่งให้เพือนบ้านหรื อพ่อค้ามารับซื อถึงสวน แต่กย็ งั ต้องเผชิญกับไฟไหม้ป่าทุกปี รวมทัง นําในห้วยทีปนเปื อนสารเคมีจากการทําไร่ ถวแระ ั ถัวฝักหวานของพืนทีสะเมิงเหนือ ท่ามกลางวิกฤติการ กว้านซื อทีดินจากนายทุนเพือทําเกษตรเชิงเดียวหรื อทีดินหลุดมือจากหนีสิ นของเกษตรกร สู ตรการสร้ างกําลังใจในการขับเคลือนขบวนบุญ หลังจากเวทีสญ ั จรผ่านไปชาวชุมชนระดมสมองหาเคล็ดลับในการดําเนินโครงการขบวนบุญให้ประสบ ความสําเร็จ (คัมภีร์ขบวนบุญ) ซึ งถือว่าเป็ นสิ งเติมกําลังใจในการขับเคลือนต่อไป คือ ๑.เชือว่าบุญมีฤทธิจริ ง (บุญสําคัญกว่าเงินทอง) ๒.จงลงทุนในบุญตลอด (มีความมุ่งมัน) ๓.ไม่อิจฉาริ ษยา ปรารถนาให้ผอู ้ ืนได้ดี ๔.ให้โอกาสผูอ้ ืนเสมอ ๕.วางความเห็นให้ตรงกับความจริ ง (ลงมือทําจริ ง วางใจได้เมือเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด)


๖. เป็ นแบบอย่างทีดี (พูดเช่นไร ทําเช่นนัน) ๗. จะไม่ทอ้ ถอยจนกว่าจะบรรลุผลสําเร็ จ หลักปฏิบตั ิงานทีทุกคนในเครื อข่ายควรปรับให้ตรงกัน เพราะไม่วา่ จะเกิดอุปสรรคใดๆ ในการ ดําเนินงานขบวนบุญให้ยดึ หลักการทํางาน “ขบวนบุญ” โดยนําหลักธรรมะมาประยุกต์ ดังนี ๑.บุญ –ลงทุนบุญคุม้ ค่า ๒.พรหมวิหาร--เมตตา กรุ ณา มุทิตา อุเบกขา (ให้โอกาสทุกคน ปรารถนาให้เขาได้ดี ไม่ดีกใ็ ห้กาํ ลังใจ ให้อภัย) ๓. มีความเพียรอันบริ สุทธิ— จะไม่ทอ้ ถอยจนกว่าจะสําเร็ จและเคยทําผิดอย่างไรจะไม่กลับไปทําอีกเด็ดขาด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.