รายงานผลดําเนินงานงวดปิ ดโครงการ โครงการแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้า ระดับเครือข่ายพหุชมุ ชน ปี งบประมาณ ๒๕๕๕ โดย ศูนย์ปฏิ บัติการเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดําริ (บวร) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ต.แม่สาบ/ยั งเมิน อ. สะเมิง จ.เชียงใหม่ สนับสนุนโดย ศูนย์คณ ุ ธรรม (องค์การมหาชน)
จัดทําเมือ เดื อนกันยายน ๒๕๕๕
คํานํา รายงานสรุ ปผลการดําเนิ นงานปิ ด “โครงการแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้าระดับเครื อข่าย พหุ ชุมชน” หรื อโครงการขบวนบุญ (Social Enterprise) จัดทําขึนเพือตามวัตถุประสงค์เพือศึกษาผลการ ดําเนิ นงาน ผลลัพท์และผลผลิตจากการทําโครงการ ตามเป้ าหมายของโครงการ ดังนี ๑) เพือสร้างแหล่งเรี ยนรู ้ เศรษฐกิ จพอเพียงทีจะสามารถถอดองค์ความรู ้ ในระดับพหุ ชุมชนทีเชื อมร้ อยกันเป็ นเครื อข่าย โดยอาศัยหลัก ปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพียงขันพื นฐาน และขันก้าวหน้าในการดําเนิ นงาน ๒) เพือพัฒนาความยังยืนในด้า น สิ งแวดล้อม คือดิน นํา ป่ า ด้านเศรษฐกิจชุมชน มิให้เงินไหลออกนอกระบบ และด้านสังคม คือความสัมพันธ์รู้ รักสามัคคี อุม้ ชูกนั ภายในเครื อข่าย ซึ งจะเป็ นแบบอย่างให้กบั ชุมชนอืนๆได้เป็ นอย่าง และ ๓) เพือสร้างความเข้มแข็งให้กบั เครื อข่าย จนถึงขันทีจะสามารถพึงตนเองได้อย่างยังยืน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ได้ทาํ การสรุ ปและประเมินผลการดําเนิ นงานจนแล้วเสร็ จ โดยจัดทําเป็ น รายงานสรุ ปผลการดําเนินงานงวดปิ ดโครงการ ฉบับนีขึนเพือสรุ ป วิเคราะห์และประเมินผลการปฏิบตั ิงาน โดย มีเนือหาประกอบด้วย ๓ ตอน คือ ตอนที ๑ ทีมาและความสําคัญของโครงการ ตอนที ๒ สรุ ปผลการดําเนิ นงาน ภาพรวม ซึ งประกอบด้วยหัวข้อย่อย คือ ผลสําเร็ จในการจัดกิจกรรม ผลทีได้รับพิจาราณาจากตัวชีวัดเชิงปริ มาณ ผลทีได้รับพิจาราณาจากตัวชี วัดเชิงคุณภาพ ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสําเร็ จ/อุปสรรค) แผนการ ดําเนินงานต่อเนื องในอนาคต และสรุ ปผลการดําเนิ นงานภาพรวม แบ่งตามกิจกรรมย่อย ๕ กิจกรรม ตอนที ๓ รายละเอียดจากการดําเนินกิจกรรมจาก ๕ กิจกรรม วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ขอขอบพระคุณศูนย์ส่งเสริ มและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สํานักงาน บริ หารและพัฒนาองค์ความรู ้ (องค์การมหาชน) ที ให้ความเมตตาสนับสนุ นโครงการและกิ จกรรมของศูนย์ ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม มาด้วยดียิงตลอดห้าปี ทีผ่าน มา จนก่ อเกิ ดเป็ นกระบวนการ องค์ความรู้ และบทเรี ยนอันยิงใหญ่ทีมี คุณค่านานัปประการต่อคนไทยและ สังคมไทย สังคมแห่งคุณธรรมความดีงามสื บไป
วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม กันยายน ๒๕๕๕
ก
สารบัญ หน้ า คํานํา สารบัญ ตอนที ๑ ทีมาและความสํ าคัญของโครงการ ตอนที ๒ สรุ ปผลการดําเนินงานภาพรวม ผลสําเร็ จในการจัดกิจกรรม ผลทีได้รับ พิจารณาจากตัวชีวัดเชิงปริ มาณ ผลทีได้รับ พิจารณาจากตัวชีวัดเชิงคุณภาพ ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสําเร็ จ/อุปสรรค) แผนการดําเนินงานต่อเนืองในอนาคต สรุ ปผลการดําเนินงานภาพรวม แบ่งตามกิจกรรมย่อย ๑.๑ กิจกรรมที ๑ ประชุมเชิงปฏิบตั ิการชีแจงโครงการ ๑.๒ กิจกรรมที ๒ พัฒนาฐานการเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง ๑.๓ กิจกรรมที ๓ อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึงตนเอง ๑.๔ กิจกรรมที ๔ แหล่งเรี ยนรู ้เคลือนที ติดตามประเมินผล ๑.๕ กิจกรรมที ๕ ฝังตัวขับเคลือนขบวนบุญในเครื อข่าย และขยายพลังของแหล่งเรี ยนรู้ชุมชน ตอนที ๓ รายละเอียดจากการดําเนินกิจกรรม ๑.๑ กิจกรรมที ๑ ประชุมเชิงปฏิบตั ิการชีแจงโครงการ ๑.๒ กิจกรรมที ๒ พัฒนาฐานการเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง ๑.๓ กิจกรรมที ๓ อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึงตนเอง ๑.๔ กิจกรรมที ๔ แหล่งเรี ยนรู ้เคลือนที ติดตามประเมินผล ๑.๕ กิจกรรมที ๕ ฝังตัวขับเคลือนขบวนบุญในเครื อข่าย และขยายพลังของแหล่งเรี ยนรู้ชุมชน
ข
(ก) (ข) ๑ ๙ ๑๐ ๑๒ ๑๓ ๑๖ ๑๘ ๒๐ ๒๐ ๒๒ ๒๓ ๒๕ ๒๗ ๒๙ ๓๐ ๓๔ ๓๙ ๗๑ ๙๔
ตอนที่ ๑ ทีม่ าและความสํ าคัญของโครงการ
1
ที่มาและความสํ าคัญของโครงการ ๑. ความเป็ นมาโครงการ “... คนอื่ นจะว่ าอย่ างไรก็ช่างเขา จะว่ าเมื องไทยล้ าสมัย จะว่ าเมื องไทยเชย ว่ าเมื องไทยไม่ มีสิ่งที่ สมัยใหม่ แต่ เราพออยู่พอมีพอกิ น และขอให้ ทุกคนมีความปรารถนาที่ จะให้ เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความ สงบ และทํางานตั้งจิ ตอธิ ษฐานปณิ ธานในทางนี ้ ที่ จะให้ เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิ น ไม่ ใช่ ว่าจะรุ่ งเรื อง อย่ างยอด แต่ ว่ามีความพออยู่พอกิ น มีความสงบ เปรี ยบเที ยบกับประเทศอื่ นๆ ถ้ าเรารั กษาความพออยู่พอกิ น นีไ้ ด้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้ ... ” พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๗ หากย้อนมองแนวคิดในการพัฒนาประเทศของพระเจ้าแผ่นดินของประเทศไทยพระองค์น้ ี พระองค์ ทรงเป็ นนักวิจยั ที่ลงพื้นที่จริ งด้วยพระองค์เอง และอาจกล่าวได้วา่ พระราชประสบการณ์ในการทํางานวิจยั เพื่อช่วยให้ชาวไทยอยูด่ ีกินดีมีความสุ ขนั้น น่าจะยาวนานมากกว่านักวิจยั ของนักพัฒนาคนใดๆในโลกนี้ กว่า หกสิ บ ปี ที่ ไ ด้ท รงงานเพื่ อพสกนิ ก รชาวไทย กว่า ๓,๐๐๐ โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดํา ริ ที่ ไ ด้ล ง ดําเนินการบนผืนแผ่นดินนี้ แม้วา่ พระองค์จะไม่ได้มีตาํ แหน่งในการบริ หารบ้านเมืองตามรัฐธรรมนูญ แต่คาํ เตือนคําบอกคําสอน ที่ ได้พระราชทานให้กบั ชาวไทยมายาวนาน ย่อมเป็ นเหมือนคําแนะนําให้ผมู้ ีอาํ นาจ บริ หารบ้านเมืองได้ฉุกคิด และนําพาประเทศให้พน้ จากวิกฤตการณ์ร้ายแรงในด้านต่างๆทั้งที่ผ่านมาแล้ว และที่จะทยอยเกิดขึ้นอีกในอนาคต เมื่ อได้อ่า นพระราชดํา รั ส ที่ ไ ด้อญ ั เชิ ญมาแสดงในตอนต้น ว่า เน้นให้ส ร้ า งความพอมี พ อกิ นใน พื้นฐานก่อน แต่เมื่อได้มองย้อนดูทิศทางแผนของพัฒนาประเทศในสี่ สิบกว่าปี ที่ผ่านมากลับพบว่า มีการ พัฒนาแบบเน้นความเจริ ญเติบโตทางตัวเลขด้านเศรษฐกิจเป็ นหลัก โดยใช้การผลิตแบบอุตสาหกรรมและ ระบบทุนนิยมเป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา ซึ่ งสวนกระแสกับทิศทางที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงแนะนําไว้ เมื่ อ ละเลยด้า นพื้ น ฐานไป มัว เน้นแต่ ค วามรุ่ ง เรื อ งทางเทคโนโลยีเ พื่ อ จะได้วิ่ง ให้ท ัน ในระบบกระแส โลกาภิวฒั น์ให้เท่าทันกับประเทศอื่ นๆ ภัยต่างๆที่ซ่อนตัวอยู่ก็เริ่ มสําแดงพิษสงออกมา จนได้เห็ นและได้ ลิ้มรสชาติกนั ไปไม่นอ้ ยจากวิกฤตการณ์น้ าํ ท่วมในปี นี้ ใครเล่ าจะคาดคิดว่าเหตุการณ์ ภยั ธรรมชาติที่เกิ ดขึ้ นนั้น จะได้เกิ ดขึ้นจริ งเป็ นที่ประจักษ์แล้ว เริ่ ม ตั้งแต่ นํ้าท่วมดิ นถล่มหลายพื้นที่ทางภาคใต้แถบจังหวัดสุ ราษฏร์ ธานี ภูเก็ต นครศรี ธรรมราช ชุ มพร และ ในช่ วงกลางปี ซํ้าด้วยเหตุการณ์ น้ าํ ป่ าไหลหลาก โคลนถล่ม นํ้าท่วมภาคเหนื อตอนบนแถบจังหวัด น่ า น อุตรดิตถ์ แพร่ เชี ยงราย แม่ฮ่องสอน ลําพูน ลําปาง และเชี ยงใหม่ สุ ดท้ายปลายปี ยังกระหนํ่าซํ้าด้วยนํ้าท่วม ภาคกลางรวมถึ งกรุ งเทพและพื้นที่ในเขตปริ มณฑล เหตุการณ์ เหล่านี้ ไม่มีใครคาดการณ์และคาดคิดว่าจะ เกิดขึ้นได้ในประเทศไทย เรี ยกได้วา่ แผ่นดินนี้ถูกเคราะห์ซ้ าํ กรรมซัดจนตั้งตัวไม่ทนั ตลอดทั้งปี ส่ งผลให้เกิด
2
ความเสี ยหายต่อชี วิตและทรัพย์สินมหาศาลสุ ดจะประมาณค่าได้ ทั้งพื้นที่ทางการเกษตร นิคมอุตสาหกรรม ระบบขนส่ งมวลชน ที่สาํ คัญขาดแคลนอาหาร นํ้า ยา และที่อยูอ่ าศัยสําหรับผูป้ ระสบภัย ปั ญหาที่ตามมาเกิด ภาวะขาดแคลนปั จจัย ๔ ปั ญหาสุ ขภาพภายนอกจากโรคภัยเชื้อโรคต่างๆ และปั ญหาสุ ขภาพภายในจากสภาพ จิตใจจากการสู ญเสี ย ความตึงเครี ยดบีบเค้นจนไม่มีทางออกให้กบั ชีวิต ที่กล่าวมาคือปั ญหาเฉพาะเรื่ องคนที่ จะอยู่รอดให้ไ ด้เพี ย งเฉพาะหน้า เท่ า นั้น แต่ ห ากกล่ า วถึ ง การเยีย วยาฟื้ นฟูท้ งั ด้า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และ สิ่ งแวดล้อมหลังนํ้าลดนั้น คงเป็ นเรื่ องสําคัญมากและต้องใช้เวลาและงบประมาณมหาศาล เกิ นกว่าที่จะ คาดการณ์ ได้ เพื่อฟื้ นฟูให้กลับมาสู่ สภาวะปกติในปี นี้ แล้วหากในปี หน้า พ.ศ. ๒๕๕๕ เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ ซํ้าขึ้นอีกเล่า ทางออกของประเทศจะยังมีเหลืออยู่อีกหรื อไม่ เพราะทั้งหมดที่ทาํ ไปนั้นเป็ นการแก้แต่เพียง ปลายเหตุเท่านั้น ส่ วนต้นเหตุยงั ไม่มีใครสาวขึ้นไปถึงต้นทางว่าเหตุเช่นนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร คณะทํางานศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผา ส้ม ได้ป ระชุ มปรึ ก ษาหารื อกันภายในของอํา เภอสะเมิ ง และแม้แต่ เครื อข่ายกสิ ก รรมธรรมชาติ ซึ่ ง เป็ น เครื อข่ายระดับประเทศ ก็มีความเห็ นตรงกันทั้งหมดว่า ทางออกจากปั ญหาต้องแก้ไขที่ตน้ เหตุ และไม่มี ศาสตร์ คาํ สอนของนัก พัฒนาท่านใดในโลกนี้ ที่จะเสนอทางออกให้กบั พวกเราได้ เว้นเพียงแต่แนวทาง พัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์ แห่งพระราชา ที่พระองค์ทรงท้วงเตือน และทรงชี้ แนะ มายาวนานนั้นเอง จะเป็ นทางรอดเพียงทางเดียวของมวลมนุษยชาติและยังจะนําไปสู่ ความยัง่ ยืนที่แท้จริ งใน อนาคตได้ เกื อบสี่ ปีที่ ผ่านมา เครื อข่ายเศรษฐกิ จพอเพียงวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม เริ่ มยืนอยู่ได้บนพื้นฐาน หลัก ๔ พอ คือ พอกิน พอใช้ พออยู่ และพอร่ มเย็น จนสามารถสร้างแหล่งอาหารธรรมชาติ เช่น ข้าว พืชผัก พื้นบ้าน ไม้ผล พืชสมุนไพร ผลิตของใช้ในครัวเรื อน เช่น ทํานํ้ายาอเนกประสงค์ สบู่เหลว แชมพู และผลิ ต ของใช้ในภาคการเกษตร เช่น นํ้าหมักชี วภาพ ปุ๋ ยอินทรี ย ์ สารไล่แมลง ซึ่ งในขณะนี้ ถือได้วา่ เครื อข่ายชุมชน สามารถพัฒ นาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งขั้น พื้ น ฐานจนสามารถพึ่ ง พาตนเองได้ และได้เ ริ่ มขยายผล สร้ า ง กระบวนการให้เกิดกลไกการแลกเปลี่ ยนผลผลิ ตช่ วยเหลื อกันภายในเครื อข่ายยามขาดแคลน และเตรี ยม ความพร้อมรับมือกับวิกฤตที่จะเกิดขึ้น ด้วยเหตุน้ ี เครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม จึงได้มีแนวคิดที่จะพัฒนายกระดับ เศรษฐกิ จพอเพี ยงจากขั้นพื้นฐาน (๔ พอ) ขึ้นสู่ ข้ นั ก้า วหน้า ในรู ป แบบที่ เรี ย กย่อๆว่า ขบวนบุ ญ (Social Enterprise or SE) โดยมีความเห็นเป็ นสัมมาทิฏฐิร่วมกันว่า เราจะใช้เครื อข่ายที่อาศัยแรงความรู้รัก สามัคคี กันนี้ เอง สร้ างความพอเพียงขั้นพื้นฐาน (๔ พอคือ พอกิน พอใช้ พออยู่ และพอร่ มเย็น) ขยายไปในชุ มชน ของเครื อข่ายของวัดฯ ให้มากที่สุด กําไรจากการแปรรู ป แลกเปลี่ยนหรื อซื้ อขาย จะนํามาเข้ากองกลางที่จะ สร้างความยัง่ ยืนต่อไป ไม่คิดเอาเข้ากระเป๋ าตนเอง หลักการแตกต่างจากกลุ่มธุ รกิจทัว่ ไปที่ใครเขาจะทํางาน ทํา ธุ รกิ จ ผลิ ตสิ นค้า ต่า งๆอย่า งไรออกมาก็เพื่อกํา ไรของตนทั้ง นั้น หาได้มี ใครคิ ดคํา นึ ง ไปถึ ง อนาคตว่า สิ่ งแวดล้อมจะเป็ นอย่างไร สังคมชุมชนจะเป็ นอย่างไร (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในเอกสารแนบ) 5
3
ในการปฏิ บตั ิการจริ ง สามารถทําได้โดยอาศัยช่องทางจากความแตกต่างของแต่ละชุมชนเครื อข่าย ที่ว่า ในปั จจุบนั แต่ละชุ มชนมีผลผลิ ตที่แตกต่างกันบางชุ มชนมีของกินมาก แต่ไม่ค่อยได้ขาย ของใช้ไม่มี ต้องซื้อเข้ามา ส่ วนบางชุมชนมีเงิน มีกาํ ลังซื้ออย่างเดียว ผลิตเองแทบไม่ได้ เป็ นต้น ฯลฯ จากสภาพความเป็ น จริ งของชุ มชนตรงนี้ จึงเห็นถึ งความเสี่ ยงในบางชุ มชนที่ตอ้ งพึ่งตนเองให้ได้และการเข้าไปช่วยเหลืออุม้ ชู กันเองภายในเครื อข่าย ผลผลิตใดที่สามารถผลิตได้มากก็จะนําให้ชุมชนที่ตอ้ งการแต่ผลิตไม่ได้ โดยจะต้อง ตอบแทนด้วยเงิน หรื อไม่ก็เป็ นสิ่ งอื่น บางผลิตผลมีมากก็จะนํามารวมกันถนอมเก็บไว้ในยามวิกฤต บางส่ วน แปรรู ปสร้ างเป็ นมูลค่าเพิ่มผลกําไรที่เกิ ดจากกิ จกรรม แล้วจึงนํากลับไปตั้งเป็ นกองทุนพัฒนาชุ มชนและ สิ่ งแวดล้อม ในส่ วนของชุมชนใดที่สามารถสร้างผลผลิตได้นอ้ ยหรื อขาดแคลนก็นาํ ผลิตจากชุมชนที่สามารถ ผลิตได้มาเกื้อกูลอุม้ ชู ให้สามารถอยูร่ อดได้ และเพื่อให้เกิดรู ปธรรมในกิจกรรมพึ่งพาตนเองทั้งด้านอาหาร นํ้ายาอเนกประสงค์ สบู่เหลว แชมพู นํ้าหมักชี วภาพ ปุ๋ ยอินทรี ย ์ สารไล่แมลง เป็ นต้น ทางเครื อข่ายจะมี กระบวนการจัดเก็ บ ข้อมู ล ครั วเรื อนและจัด เวที คื น ข้อ มู ล เพื่ อ ให้ส มาชิ ก เครื อ ข่า ยได้ตระหนัก และเห็ น ความสําคัญของกระบวนการพึ่งพาตนเองและกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสามารถสร้างความ เข้มแข็งให้ชุมชนได้จริ ง กระบวนการบริ หารจัดการภายในเครื อข่าย โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในขั้นพื้นฐาน และยกระดับไปถึงขั้นก้าวหน้า โดยมีเป้ าหมายร่ วมกันคือการขับเคลื่อนขบวนบุญของทั้งเครื อข่ายเช่นนี้เอง จะเป็ นการสร้ างองค์ความรู ้ ที่มีคุณประโยชน์สมกับที่ทางวัดฯ ได้รับเกี ยรติให้เป็ นแหล่ งเรี ยนรู้ของชุ มชน และของเครื อข่ายของศูนย์คุณธรรมฯ ๒. วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อสร้ างแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงที่จะสามารถถอดองค์ความรู้ในระดับพหุ ชุมชนที่เชื่ อม ร้อยกันเป็ นเครื อข่าย โดยอาศัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน และขั้นก้าวหน้าในการดําเนินงาน ๒) เพื่อพัฒนาความยัง่ ยืนในด้านสิ่ งแวดล้อม คือดิน นํ้า ป่ า ด้านเศรษฐกิจชุมชน มิให้เงินไหลออก นอกระบบ และด้านสังคม คือความสัมพันธ์รู้รักสามัคคี อุม้ ชูกนั ภายในเครื อข่าย ซึ่ งจะเป็ นแบบอย่างให้กบั ชุมชนอื่นๆได้เป็ นอย่างดี ๓) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบั เครื อข่าย จนถึงขั้นที่จะสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยัง่ ยืน 5
5
๓. กลุ่มเป้าหมาย จํานวน ๑๐๐ ครอบครัว ในพื้นที่ .......ชุมชน • ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม -บ้านอมลอง ต.แม่สาบ อําเภอสะเมิง • ชุมชนบ้านแม่ยางห้า – ชุมชนบ้านป่ าเกี๊ยะนอก – ร.ร. ตชด. รัปปาปอร์ ต ตําบลบ่อแก้ว อําเภอสะ เมิง + ตําบลแม่แดดน้อย และตําบลบ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วฒั นา • ชุมชนบ้านแม่เลย – ชุ มชนบ้านนาฟาน – ชุมชนบ้านแม่ปะ ต.สะเมิงเหนือ + ชุ มชนบ้านใหม่ตน้ ผึ้ง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง • ชุมชนเทศบาลสะเมิงใต้ – ร.ร.สะเมิงพิทยาคม ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง
4
• ชุมชนบ้านทุ่งหลวง ต.แม่วิน อ.แม่วาง + ชุมชนบ้านป่ าคานอกและห้วยหญ้าไทร ต.สะเมิงใต้ อ. สะเมิง เป้าหมายและตัวชี้วดั เชิงปริมาณ ๑) ได้แหล่งเรี ยนรู ้ เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน โดยมีชุมชนเป้ าหมาย แบ่งเป็ น ๕ เขต ดังต่อไปนี้ • เขตที่ ๑ ศูนย์เศรษฐกิ จพอเพียง วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม – บ้านอมลอง ต.แม่สาบ อําเภอสะเมิง • เขตที่ ๒ ชุมชนบ้านแม่ยางห้า – ชุมชนบ้านป่ าเกี๊ยะนอก – ร.ร. ตชด. รัปปาปอร์ ต ตําบล บ่อแก้ว อําเภอสะเมิง + ตําบลแม่แดดน้อย และตําบลบ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วฒั นา • เขตที่ ๓ ชุ มชนบ้านแม่เลย – ชุ มชนบ้านนาฟาน – ชุมชนบ้านแม่ปะ ต.สะเมิงเหนื อ + ชุมชนบ้านใหม่ตน้ ผึ้ง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง • เขตที่ ๔ ชุมชนเทศบาลสะเมิงใต้ – ร.ร.สะเมิงพิทยาคม ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง • เขตที่ ๕ ชุ มชนบ้านทุ่งหลวง ต.แม่วิน อ.แม่วาง + ชุมชนบ้านป่ าคานอกและห้วยหญ้า ไทร ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง ๒) สมาชิกเข้าร่ วมทั้งสิ้ นไม่นอ้ ยกว่า ๑๐๐ ครอบครัว จากทั้ง ๕ เขตพื้นที่ เชิงคุณภาพ ๑) เกิ ดการขับเคลื่อนแหล่งเรี ยนรู ้ เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน ยังผลให้ เกิดความพึงพอใจของสมาชิ กที่เข้าร่ วมโครงการไม่นอ้ ยกว่า ๘๐ % โดยสํารวจทั้งทางด้านสิ่ งแวดล้อม ด้าน เศรษฐกิจและด้านสังคมเป็ นหลัก ๒) สมาชิกสามารถบอกกล่าว และถ่ายทอดหลักการและสาระประโยชน์ของแหล่งเรี ยนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน ให้แก่คนในชุมชนได้ระดับหนึ่ง จนเป็ นที่รู้จกั ในชุมชนได้ ๔. เป้าหมาย พัฒนาให้ชุมชนที่เข้าร่ วมโครงการสามารถพัฒนศักยภาพ ผลิตภัณฑ์ กําลังซื้อขาย เพื่อการขับเคลื่อน แหล่งเรี ยนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน ให้เกิดการแลกเปลี่ยนระหว่างชุมชนมี การบริ หารจัดการอุปสงค์และอุปทานที่ไม่เท่ากันในแต่ละชุ มชน โดยเน้นในกําลังซื้ อ/ผลิตผล/ผลิตภัณฑ์ จําเป็ นที่ทุกชุมชนต้องใช้ในชีวติ ประจําวัน ลดการพึ่งพาร้านค้าภายนอกในกลุ่มสิ นค้า ๓ หมวด ดังนี้ - หมวดที่ ๑ ผลิตผลในฐานคนรักษ์แม่พระธรณี คือ ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพ - หมวดที่ ๒ ผลิตผลในฐานคนพออยูพ่ อกิน คือ พืชผัก ผลไม้ที่นาํ มาทํากินเป็ นอาหารประจําวัน
5
- หมวดที่ ๓
ผลิตผลในฐานคนมีน้ าํ ยา คือ นํ้ายาซักล้างอเนกประสงค์ สบู่ แชมพู
๕. ผังมโนทัศน์ (Mind Map)
6
เขตที่ ๑ คุณลักษณะ
อมลอง ดอยผาส้ม
กําลังเงินทีจ่ ะซือ้ ของชุมชน
มีกาํ ลังมาก
ข้าวปลาอาหาร
ผลิตไม่พอ
เขตที่ ๒ ปา่ เกีย๊ ะ แม่ยางห้า กัลยาณิวฒ ั นา มีกาํ ลังมาก
เขตที่ ๓ นาฟาน แม่เลย ต้นผึง้ กําลังปาน กลาง
เขตที่ ๔ ท.สะเมิงใต้ สะเมิงพิทย์
เขตที่ ๕ ปา่ คา ทุ่งหลวง ห้วยหญ้าไทร
มีกาํ ลังมาก
กําลังน้อย
แทบไม่ผลิต
ผลิตเหลือกิน
ไม่ผลิต
ผลิตไม่พอ
ของใช้สบู่ แชมพู ซักผ้า ล้างจาน
ผลิตเหลือเฟือ
ไม่ผลิต
ไม่ผลิต
มีผลิตบ้าง
ไม่ผลิต
ปจั จัยการผลิต ปุ๋ย
ผลิตเหลือเฟือ
ไม่ผลิต
ผลิต เหลือเฟือ
มีผลิตบ้าง
มีผลิตบ้าง
ผลิ ตปุ๋ย และนํ้ายาซัก ล้าง สบู่ แชมพู มากมาย
มีกาํ ลังซื้อ คนมาอบรม มาก แต่อาหารไม่พอกิ น มีกาํ ลังซื้อ รายได้มีมาก จากเกษตรเชิ งเดี่ยว ซื้อ ทุกอย่าง ไม่ผลิ ตเลย
เป็ นชาวเขา ดูแลรักษา ป่ า รายได้น้อยแต่ซื้อทุก
ผลิ ตปุ๋ย ได้มาก แต่ไม่ได้ ผลิ ตปุ๋ย และพืชผัก อาหารมากมาย ได้ขาย บ้างไม่ได้ขายบ้าง
มีการผลิ ตนํ้ายา อเนกประสงค์ และปุ๋ย
ของใช้ซื้อทุกอย่าง
บริบททุกอย่าง ไม่ผลิ ต เอง ซื้อทัง้ หมด
7
๕. ขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินโครงการ ๙ เดือน ( เดือนมกราคม ๒๕๕๕ – เดือนกันยายน ๒๕๕๕)
ขั้นตอนการดําเนินงาน
ระยะเวลาดําเนินงาน ม.ค. ๕๕
๑. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการ อบรมชี้แจงโครงการ (๒ วัน ๑ คืน) ภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๕
๒. พัฒนาฐานการเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง
ก.พ. ๕๕
มี.ค. ๕๕
เม.ย. ๕๕
พ.ค. ๕๕
ก.ค. ๕๕
ส.ค. ๕๕
ก.ย. ๕๕
๓. อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึ่งตนเอง (๒ วัน ๑ คืน ๓ รอบ) :- ๓ รอบ ประกอบด้วย ฐานการพึ่งตนเองในเรื่ องปุ๋ ย เรื่ องการพออยูพ่ อกิน และเรื่ องของใช้ทาํ ความสะอาดประจําวัน
๔. แหล่งเรี ยนรู ้เคลื่อนที่ ติดตามประเมินผล ของทุกกลุ่มเป้ าหมายเครื อข่าย (๒ วัน ๑ คืน ๒ ครั้ง) ๕. ฝังตัวขับเคลื่อนขบวนบุญในเครื อข่าย และการขยายพลังของแหล่งเรี ยนรู ้ชุมชน (๓๐ สัปดาห์) ๖. ค่าบริ หารจัดการโครงการ
มิ.ย. ๕๕
8
ตอนที่ ๒ สรุปผลการดําเนินงานภาพรวม
9
การรายงานผลการดําเนินงานงวดปิ ดโครงการ โครงการ : หน่ วยงาน : ผู้ประสาน :
แหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com
วัตถุประสงค์ : ๑) เพื่อสร้างแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงที่จะสามารถถอดองค์ความรู้ในระดับพหุ ชุมชน ที่เชื่อมร้อยกันเป็ นเครื อข่าย โดยอาศัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน และขั้น ก้าวหน้าในการดําเนินงาน ๒) เพื่อพัฒนาความยัง่ ยืนในด้านสิ่ งแวดล้อม คือดิน นํ้า ป่ า ด้านเศรษฐกิ จชุมชน มิให้เงิน ไหลออกนอกระบบ และด้า นสัง คม คื อ ความสัม พัน ธ์ รู้รัก สามัค คี อุ ้ม ชู ก ันภายใน เครื อข่าย ซึ่ งจะเป็ นแบบอย่างให้กบั ชุมชนอื่นๆได้เป็ นอย่างดี ๓) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบั เครื อข่าย จนถึงขั้นที่จะสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยัง่ ยืน 5
5
ผลสํ าเร็จในการจัดกิจกรรม กิจกรรม ผลลัพธ์ ๑) ประชุ มเชิ งปฏิ บ ั ติ ก ารอบรมชี้ แจ้ ง ๑)ได้ แ กนนํ า ฝั ง ตัว ในพื้ น ที่ ๕ เขตที่ เ ข้ า ใจ รายละเอี ย ดแผนการดํา เนิ น งานของโครงการ โครงการ และสามรถกลับไปเตรี ยมการปฏิบตั ิการได้ทนั ที ๒)ได้ ที ม ประสานงานกลางที่ จ ะคอยเป็ นที่ ปรึ กษาให้ ก ั บ แกนนํ า ฝั ง ตัว ทั้ง ๕ เขตได้ ม า พบปะแลกเปลี่ยนปั ญหา และหาแนวทางแก้ไข ก่อนและหลังดําเนินกิจกรรมย่อยในพื้นที่ ๒) พัฒนาฐานการเรี ยนรู ้เศรษฐกิ จพอเพียง ๑) เกิดการพัฒนา ๓ ฐานการเรี ยนรู้จนถึงระดับ ๓ ฐาน ดังนี้ ที่พร้อมรับกับการขับเคลื่อนโครงการใน ภาพรวม ๑.ฐานการพึ่งตนเองในเรื่ องปุ๋ ย ๒.ฐานเรื่ องการพออยูพ่ อกิน ๓.ฐานคนมี น้ ํ ายาเรื่ องของใช้ ท ํ า ความ ๒)เกิ ดการประชาสัมพันธ์ของทั้ง ๓ ฐานไปยัง
10
กลุ่ ม เป้ าหมายจนสามารถมาเรี ย นรู้ เพิ่ม เติ ม ได้ และเห็นตัวอย่างความสําเร็ จเพื่อนําไปปรับใช้ใน พื้นทีของตนได้ เกิดการเรี ยนรู้ภายในเครื อข่ายและแกนนําได้ ๓) อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการ พึ่งตนเอง ของทั้ง ๓ ฐานๆ ละ ๑ ครั้ง ขยายผลจากการเรี ยนรู ้สู่คนในชุมชน โดยนํา องค์ความรู ้ที่ได้ปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพ รวมอบรม ๓ ครั้ง พื้นที่จริ งของตนได้ ๔) แหล่งเรี ยนรู ้เคลื่อนที่ ชุมชนทั้ง ๕ เขตเกิดการเรี ยนรู้ซ่ ึงกันและกัน และมีการพัฒนาต่อยอด รวมทั้งสามารถขยายผล จากแหล่งเรี ยนรู้เคลื่อนที่ เข้าสู่ ชุมชนให้กว้าง และลึกยิง่ ขึ้น สุ ดท้ายได้แผนงานปฏิบตั ิการ ร่ วมกันระหว่างชุมชนเพื่อนํากลับไปทําทันทีซ่ ึ ง มีความต่อเนื่ องของงานและพึ่งพาตนเองในการ ดําเนินกิจกรรมต่อ แม้วา่ จะปิ ดโครงการไปแล้ว ๕) ฝั งตัวขับเคลื่ อนแหล่ ง เรี ยนรู ้ เศรษฐกิ จ ๑)เกิดการขับเคลื่อนขบวนบุญภายในเครื อข่าย พอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ คือ การบริ โภคและเริ่ มผลิตสิ นค้าในชุมชน ทั้ง ชุ ม ชน และการขยายพลัง ของแหล่ ง ยังส่ งไปแลกเปลี่ยนกันระหว่างชุมชนใน เรี ยนรู ้ชุมชน เครื อข่ายและสะสมทุนส่ วนกลางขึ้นในแต่ละ โซน เข้ากองบุญส่ วนกลางเพื่อการพัฒนาต่อ ยอดสิ นค้าหรื อนําไปใช้ในสาธารณะประโยชน์ ของชุมชน
สะอาดประจําวัน
๒) เกิดบทสรุ ปและบทเรี ยนการพัฒนาชุมชน และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมที่ยงั่ ยืน ตามแนวคิด “ขบวนบุญ” ที่สามารถเผยแพร่ ต่อ และนําไปใช้ไม่เฉพาะคนในเครื อข่าย แต่กบั ทุก กลุ่มในสังคมหรื อในระดับปั จเจกที่สามารถมี ส่ วนร่ วมรับผิดชอบสังคมและสิ่ งแวดล้อมที่ตอ้ ง พึ่งพิงอาศัยร่ วมกัน
11
ผลทีไ่ ด้ รับ พิจาราณาจากตัวชี้วดั เชิ งปริมาณ ตัวชี วดั (เชิ งปริมาณ) ทีต่ ้ งั ไว้ ตัวชี้วดั (เชิงปริมาณ) ทีเ่ กิดขึน้ จริง ๑) ได้แ หล่ ง เรี ย นรู ้ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งขั้น ได้แ หล่ ง เรี ย นรู ้ เ ศรษฐกิ จพอเพี ย งขั้น ก้า วหน้า ก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน โดย ระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชนจาก ๕ เขต โดยมีระดับ มีชุมชนเป้ าหมายแบ่งเป็ น ๕ เขต ความเข้มแข็งต่างกัน ดังนี้ ๑) แหล่งเรี ยนรู ้ระดับเข้มแข็งมาก คือ เขตที่ ๑ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม/ บ้านอมลอง และ เขตที่ ๓ บ้านนาฟาน (สวนนาฟานอุทยานทิพย์) ๒) แหล่งเรี ยนรู ้ระดับเข้มแข็งปานกลาง คื อ เขตที่ ๒ บ้า นสนามกี ฬ า/บ้า นป่ า เกี๊ยะนอก เขตที่ ๓ บ้านแม่ปะ/บ้านใหม่ ต้นผึ้งและเขตที่ ๕ บ้านห้วยหญ้าไทร ๓) แหล่งเรี ยนรู้ระดับเข้มแข็งน้อย คือ เขตที่ ๒ บ้านแม่แดดน้อย เขตที่ ๓ บ้านแม่เลย เขตที่ ๔ เทศบาลสะเมิงใต้/ โรงเรี ย นสะเมิ งพิทยาคม และเขตที่ ๕ บ้านป่ าคานอก รวม ๑๓ ชุมชนซึ่ งทั้งบ้านตามเป้ าหมายที่วางไว้ และบ้านที่ไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย แต่ได้ลงไป ทํากิ จกรรมเนื่ องจากการปรับพื้นที่ยุทธศาสตร์ ใหม่ระหว่างการดําเนิ นโครงการจึงเลือกพื้นที่ที่ มีความพร้อมมากกว่าโดยเฉพาะด้านทรัพยากร บุคคลและต้นทุนทางสังคมและสิ่ งแวดล้อม ๒) สมาชิ กเข้าร่ วมทั้งสิ้ นไม่น้อยกว่า ๑๐๐ มีสมาชิกเข้าร่ วมในแต่ละชุมชนแตกต่างกัน รวม ครอบครัว จากทั้ง ๕ เขตพื้นที่ ทั้งสิ้ น ๑๗๓ ครอบครัว จากทั้ง ๕ เขต ดังนี้ เขตที่ ๑ วัดผาส้ม/บ้านอมลอง ๔๐ ครอบครัว เขตที่ ๒ “โซนกะเหรี่ ยงบ่อแก้ว” ๔๖ ครอบครัว เขตที่ ๓ “โซนสะเมิงเหนือ” ๕๔ ครอบครัว เขตที่ ๔ “โซนเทศบาลสะเมิงใต้” ๕ ครอบครัว เขตที่ ๕ “โซนกะเหรี่ ยงป่ าคา” ๒๘ ครอบครัว
12
ผลทีไ่ ด้ รับ พิจาราณาจากตัวชี้วดั เชิ งคุณภาพ ตัวชี วดั (เชิ งคุณภาพ) ทีต่ ้ งั ไว้ ๑) เกิ ด การขั บ เคลื่ อ นแหล่ ง เรี ยนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน ยังผลให้เกิดความพึงพอใจของสมาชิ กที่ เข้าร่ วมโครงการไม่นอ้ ยกว่า ๘๐ % โดยสํารวจ ทั้งทางด้านสิ่ งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิ จและด้าน สังคมเป็ นหลัก
ตัวชี้วดั (เชิงคุณภาพ) ทีเ่ กิดขึน้ จริง ๑) เกิ ด การขับ เคลื่ อ นแหล่ ง เรี ยนรู้ เ ศรษฐกิ จ พอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชนขึ้น จริ ง สมาชิ กมีความพึงพอใจมากกว่า ๘๐ % ใน ทุกเขตงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ด้านเศรษฐกิจ - เขตที่ ๒ “โซนกะเหรี่ ยงบ่อแก้ว” และ เขตที่ ๕ “โซนกะเหรี่ ยงป่ าคา” ผลิ ตผ้า ฝ้ ายทอมื อ เป็ นสิ น ค้า ขบวนบุ ญ ส่ ง ให้ เขตที่ ๑ บ้านอมลองตัดเย็บเป็ นกางเกง/ เสื้ อ และนํานํ้ายาเอนกประสงค์จากเขต ที่ ๑ บ้านอมลองไปขายและเริ่ มผลิตขาย เ อ ง ใ น ชุ ม ช น จ น เ กิ ด ก อ ง ทุ น ม า หมุ น เวี ย นพึ่ ง ตนเองได้ใ นกลุ่ ม ทอผ้า ของชุมชน - เขตที่ ๕ “โซนกะเหรี่ ยงป่ าคา” นําข้าว และกล้วยส่ งขายเพื่อให้เขตที่ ๑ บ้านอม ลองที่มีความรู้ในการแปรรู ปอาหารส่ ง ขายเป็ นสิ นค้าขบวนบุญ ลดการพึ่งพา วัตถุดิบจากภายนอกที่ขนส่ งไกล - เขตที่ ๔ “โซนเทศบาลสะเมิ ง ใต้” ซึ่ ง เป็ นชุ ม ชนเมื องผลิ ตสิ นค้าน้อยจึ ง เป็ น แหล่งขายสิ นค้าบุญและแนวคิด “ขบวน บุ ญ” จนเกิ ดรายได้เข้ากองทุนอนุ รัก ษ์ ป่ าเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ด้านสังคม - เกิ ด การจ้า งงานในชุ ม ชนหลั ง จากที่ ทรัพยากรในชุ มชน เช่น ภูมิปัญญาการ ทอผ้า สมุนไพรป่ า ข้าวเปลื อกดอยที่มี จํา นวนมาก สามารถนํา ส่ ง ขายให้เกิ ด รายได้ไ ม่ ต้อ งออกรั บ จ้า งนอกชุ ม ชน
13
(เกิดเงินทุนหมุนเวียนในชุมชนมากขึ้น) - เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครอบครัว และเพื่ อ นบ้า นเนื่ อ งจากมี เ วลาอยู่ใ น บ้านและชุมชนมากขึ้น - เกิ ด ความเกื้ อกู ล กั น ระหว่ า งคนใน ชุ มชน เมื่อพึ่งตนเองได้แล้วยังแจกจ่าย แบ่งปั น (ข้าวผักผลไม้/นํ้ายา/ปุ๋ ย)ให้คน อื่นพึ่งตนเองได้ ตามแนวทางเศรษฐกิจ พ อ เ พี ย ง ขั้ น ก้ า ว ห น้ า ทั้ ง ยั ง เ ป็ น แบบอย่างให้กบั ชุมชนอื่นได้ - เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่าง ชุ มชนในเครื อข่า ย เสริ มหนุ นกําลังใจ ให้เครื อข่ายเข้มแข็งขึ้น ด้านสิ่ งแวดล้อม - เมื่ อทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ถู ก มองข้า ม ประโยชน์ ห รื อความสํ า คัญ สามารถ นํามาเป็ นวัตถุดิบสร้างรายได้ เช่น ข้าว ดอย ฝ้ าย กล้ ว ย ภู ค าว ลู ก ยอ สมอ มะแตก มะขามป้ อม มะเฟื อง ขมิ้น ข่า บอระเพ็ด มะรอท เศษอาหาร เศษใบไม้ นําแปรรู ปเป็ น ข้าวกล้องดอย ข้าวกล้อง งอก ผ้าฝ้ ายทอมือ กล้วยทอดกรอบ ปุ๋ ย หมั ก ชี ว ภาพ แชมพู ส บู่ ลู ก ประคบ สมุ น ไพร หรื อ นํ้า หมัก เอนไซม์รั ก ษา โ ร ค ทํ า ใ ห้ ช า ว ชุ ม ช น เ ริ่ ม เ ห็ น ความสําคัญของทรัพยากรใกล้ตวั จึงเกิด ความหวงแหนที่ จ ะรั ก ษาหรื อปลู ก ทดแทนขึ้น - ทรั พ ยากรดิ น นํ้ า ป่ า จึ ง ถู ก ให้ ค่ า ความสํา คัญ มากขึ้ น การอนุ รั ก ษ์ดู แ ล รั ก ษ าทรั พ ย าก รดิ นนํ้ าป่ าใ ห้ อุ ดม สมบูรณ์ จึง เกี่ ย วเนื่ องกับวัตถุ ดิบ ในป่ า ในสวนที่ ส ร้ า งรายได้เ ช่ น กัน หลาย
14
หมู่บา้ นจึงเริ่ มสร้างฝายต้นนํ้า/บวชป่ า/ ปลู ก หญ้า แฝกป้ องกัน หน้า ดิ น ชะล้า ง ทลาย/ต่อท่อรดนํ้าให้ป่าขึ้น ซึ่ งเกิดจาก จิตอาสาและพลังชุมชนที่เห็นตรงกันว่า ต้ อ งอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรส่ วนรวมไว้ หลังจากเข้าร่ วมโครงการ สมาชิ ก เข้า ร่ ว มใน ๕ เขตพื้ น ที่ ทั้ง สิ้ น ๑๗๓ ครอบครัว สามารถบอกกล่าวคนในชุ มชนและ คนใกล้ตวั ในครอบครัว หลายช่องทาง ดังนี้ ๑) ผ่านสื่ อกิจกรรมในเวทีขบวนบุญสัญจร ต่างๆ ทั้ง ๕ เขตงาน (Road Show) ๒) ผ่านสื่ อบุคคล (Person as Media) อย่าง คนในชุ ม ชนซึ่ งเป็ นแกนนํา ฝั ง ตัว ใน พื้นที่น้ นั ๆ/แม่คา้ พ่อค้าในเขตเทศบาลที่ รั บ สิ น ค้า ไปขายด้ว ยเพราะใจที่ อ ยาก ช่ วยอยากทํ า บุ ญ /กลุ่ ม จิ ต อาสาจา กรุ ง เทพฯ ที่ รั บ สิ น ค้า บุ ญ ไปบอกบุ ญ และแนวคิดถึงเมืองหลวง ผ่านการบอก ต่ อ และประชาสั ม พัน ธ์ บ นเครื อ ข่ า ย สังคมออนไลน์ (Social Network) ๓) ผ่านสื่ อสิ นค้า (Product as Media) ที่ แกนนําฝังตัวนําไปให้ชาวชุ มชนทราบ และเข้าใจแนวคิดธุ รกิจบุญในช่วงแรก จากนั้นจึงนํามาซึ่ งความคิดสร้างสรรค์ ของชาวชุ ม ชนว่า อยากจะมี สิ นค้า เพื่ อ ผลิตขายในชุมชน ๔) ผ่ า น สื่ อ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ( Public Relation) เช่น ไวนิ ลฐานการเรี ยนรู้ ๓ ฐาน/วิ ซี ดี “ขบวนบุ ญ ” ในรายการ ดอกไม้บ านสื่ อ สารความดี / แผ่น พับ / ใบปลิวโฆษณาสิ นค้าบุญ
๒) สมาชิ ก สามารถบอกกล่ า ว และ ถ่ายทอดหลักการและสาระประโยชน์ของแหล่ง เรี ยนรู ้ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งขั้น ก้ า วหน้ า ระดั บ เครื อข่ายพหุ ชุมชน ให้แก่คนในชุ มชนได้ระดับ หนึ่ง จนเป็ นที่รู้จกั ในชุมชนได้
15
ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ/อุปสรรค) ความสํ าเร็จ ๑) เกิดแหล่ งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงขึน้ ในทั้ง ๕ เขต ซึ่ งแต่ ล ะเขตความพร้ อ มแตกต่ า งกัน ไป บางเขตมี ท้ ั ง ที ม วิ ท ยากรชาวบ้ า นที่ มี ประสบการณ์ ตรงสามารถบรรยายให้ความรู้ ได้ สถานฝึ กอบรมได้จริ ง และตัวอย่า ง ความสําเร็ จให้มาศึกษาได้ ในขณะที่บางเขตมีเฉพาะกลุ่มชาวบ้านที่ผลิตสิ นค้า บางแห่ ง ก็มีเฉพาะวิทยากร และองค์ความรู ้ แต่ทุกเขตก็อาศัยต้นแบบขับเคลื่อนจากศูนย์การรี ยน รู ้ ป ฏิ บ ัติ ก ารเศรษฐกิ จ พอเพีย ง วัด พระบรมธาตุ ด อยผาส้ ม เปรี ย บเสมื อ นศู น ย์แ ม่ ที่ ประสบความสําเร็ จในการขับเคลื่อนโมเดลธุ รกิจ “ขบวนบุญ” ๒) เกิดคุณธรรมประจําใจ นอกจากเขต ที่ ๑ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม/บ้านอมลองได้ดาํ เนิ นการขับเคลื่ อน ไป บ้างแล้ว ขณะเดี ยวกันในอีก ๔ เขตที่เหลือได้เริ่ มดําเนิ นกิจกรรมบุญไปแล้ว เช่น การ แบ่งปั นผัก ข้าว อาหาร ไข่เป็ ด ไข่ไก่ นํ้ายา ปุ๋ ยหมักให้เพื่อนบ้าน เป็ นต้น ถึงแม้วา่ การ แลกเปลี่ ยนสิ นค้าระหว่างหมู่บา้ นจะเกิ ดน้อยแต่สิ่งที่ได้กลับมามากกว่าคือ คุณธรรม ประจําใจคน ผ่านการทํากิจกรรมบุญที่เกิดขึ้นเป็ นธรรมชาติ ไม่ตอ้ งดําเนินงานตามแผน โครงการใดๆ ก็เกิดคุ ณธรรม โดยมีจุดร่ วมเดียวกันคือ เมื่อใจพอ ไม่มีความโลภ (ความ พอเพียง) ก็เริ่ มเกิ ดความปรารถนาให้ผอู้ ื่นได้ดี อยากแบ่งปั นสิ่ งที่เราพอจนเหลือ (การ เมตตา กรุ ณา มุทิตาจิต) และให้โอกาสเพื่อน (อภัยทาน) เสมอในการเข้าร่ วมเครื อข่าย บุญ และจิ ตใจที่ เสี ยสละเพื่ อทํา งานส่ วนรวม (จิ ตอาสา) รวมทั้ง เกิ ดความหวงแหน ทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ นท้องถิ่ นของตนและลงมือตอบแทนคุ ณแผ่นดิ นด้วยการดู แล อนุ รัก ษ์ดิน นํ้า ป่ าแหล่งให้ชีวิตและรายได้จุนเจือครอบครัว ชุ มชน ทั้งคนเมืองและ ชนบทก็มีสาํ นึกรับผิดชอบต่อทรัพยากรที่ใช้ (ความกตัญ�ู) ๓) เกิดการสื่ อสารความดีเสริมพลังให้ เครือข่ ายบุญเข้ มแข็ง ทุ ก ๆครั้ งในการดํา เนิ น กิ จ กรรมขบวนบุ ญ สั ญ จรทั้ง อบรมแกนนํา ทั้ง ๓ แห่ ง และ กิ จกรรมแหล่ ง เรี ย นรู ้ เคลื่ อนที่ ท้ งั ๒ แห่ ง ที ม ประสานงานกลางจะพาเด็ ก เยาวชนและ ชาวบ้านในแต่ละเขตมาร่ วมจัดกิจกรรมที่จะช่วยเสริ มการใช้ชีวิตแบบพึ่งพาตนเองได้ หรื อ ช่ วยเสริ มกําลังใจกันระหว่างคนหัวอกเดี ยวกัน คนหัวใจพอเพียงเหมือนกัน เป็ นทั้งการ แลกเปลี่ ย นความรู ้ ประสบการณ์ บ ทเรี ย นต่า งพื้ นที่ ก ัน ทั้ง ให้ก าํ ลัง ใจ ซึ่ งรวมเรี ย กคน เหล่านั้นว่า กัลยาณมิตร ที่จะเสริ มทั้งกําลังกาย กําลังใจ กําลังปั ญญา ช่วยชี้ แนะแนวทางให้ 16
บรรลุผลตามมุ่งหมาย หากเราทําสิ่ งที่ดีเป็ นประโยชน์ตนและประโยชน์ของสาธารณะด้วย ใจบริ สุทธ์ ขอจงอย่าท้อเพราะมีผทู้ ี่กาํ ลังทําเช่นเดียวกับท่าน คนเหล่านี้ เองก็พร้อมจะเป็ น มิตร เป็ นเพื่อนร่ วมทางสายนี้อย่างมัน่ คงต่อไป อุปสรรค ๑) ขาดผู้ประสานงานในชุ มชนหรือแกนนําฝังตัวในชุ มชน ในแต่ละเขตงานทั้ง ๕ ส่ งผลให้การดําเนิ นงานโครงการในช่วงแรกเกิ ดความไม่ต่อเนื่ อง และเมื่อใช้ทีม ประสานงานกลางซึ่ งไม่ใช่ คนในพื้นที่ ก็ขาดความเข้าใจในบริ บทชุ มชน ภาษาและวัฒนธรรมที่เป็ นเรื่ องสําคัญในการเข้าถึงชุ มชนนั้นๆ จนได้รับการไว้วางใจจาก ชาวบ้าน แต่เมื่อเข้าถึงชุมชนอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะกลางของโครงการก็ทาํ ให้ได้รับการ ยอมรั บ จากชาวบ้า นมากขึ้ น ไม่ จาํ เป็ นต้องอาศัย คนในพื้ นที่ แต่จะเป็ นอุ ป สรรคต่ อใน อนาคตในเรื่ องของความต่อเนื่องของโครงการเพราะขาดผูป้ ระสานงานจากพื้นที่ ๒) งานอาสมัครในระดับชุ มชนเกิดยาก เพราะขาดแรงจูงใจในกระบวนการทํางาน แต่ตอ้ งอาศัยสํานึกเฉพาะตน ซึ่ งกําหนดกฏเกณฑ์ไม่ได้ ทีมประสานงานกลางก็ขาดความรู้ ในการสร้ างจูงใจ แม้จะเปิ ดโอกาสให้ชาวบ้านเสนอสิ่ งที่สนใจจะทํา สนใจจะแก้ปํญหา หรื อนําเสนอปั ญหาในชุมชนจากการระดมสมองของชาวบ้านแล้ว ก็ยงั ไม่สามารถสร้างจุด ร่ วมของงานอาสาสมัครให้เกิดในวงกว้างได้ ๓) การอธิ บ ายโมเดลธุ ร กิจ แบบ “ขบวนบุ ญ” ต้ องใช้ เวลาในการทํา ความเข้ า ใจและอาศั ย ระยะเวลาลงมือทดลองปฏิบัติให้ เห็นผลกับตาของตน เพราะเป็ นการทํางานที่แลกด้วยบุญไม่ได้แลกที่ผลกําไรเป็ นตัวเงิน ซึ่งในแต่ละพื้นที่มีความ เข้าใจเกิดขึ้นช้าเร็ วไม่เท่ากัน ยังส่ งผลให้การแลกเปลี่ยนสิ นค้าของแต่ละชุมชนจึงเกิดขึ้นได้ ยาก เพราะทั้งทีมประสานงานกลางและชาวบ้านยังไม่เข้าใจแนวคิดอย่างถ่องแท้ หรื อไม่ กล้าลงทุ นในโมเดลนี้ บางครั้ งจึงต้องปรับกลยุทธ์ในการทํางานกับชุ มชนใหม่ที่มีความ พร้อมที่จะทําทันทีมากกว่าชุมชนที่กาํ หนดไว้ในแผนงาน ๔) ระบบขนส่ งเป็ นปั ญหาในการจะทําให้ เกิดการแลกเปลี่ยนสิ นค้ าระหว่ างชุ มชนในเครือข่ าย (เพือ่ เป้าหมายในการพึง่ พาตนเองในเครือข่ ายให้ มาก ลดการจ่ ายออกภายนอก) ซึ่ งปฏิเสธไม่ได้วา่ การขนส่ งมีตน้ ทุนค่าใช้จ่าย ทําให้เกิดช่องว่างในความรับผิดชอบว่าใคร ควรเป็ นผู ้รั บ ภาระนี้ เช่ น หมู่ บ ้า นหนึ่ งต้อ งการส่ ง กล้ว ยให้ห มู่ บ ้า นหนึ่ งเพื่ อ แลกกับ ข้าวเปลื อกที่มีจาํ นวนมากในบ้านนั้น ซึ่ งบางครั้งพ่อค้าขับรถไปรับซื้ อกล้วยถึงที่ จึงพลาด โอกาสในการแลกเปลี่ยนสิ นค้า หรื อการขนส่ งผลิตภัณฑ์หลักของโครงการเพื่อการพึ่งพา ตนเองในเครื อ ข่ า ย เช่ น ปุ๋ ยหมัก ชี วภาพ นํ้า ยาเอนกประสงค์ ผัก ปลอดสาร ทํา ให้ก าร
17
แลกเปลี่ยนสิ นค้าระหว่างชุ มชนไม่ลื่นไหลเท่าที่ควร จึงต้องมีวิธีการรองรับแก้ไขปั ญหานี้ ต่ อ ไปในอนาคต หากยัง คงใช้ก ลยุท ธ์ พ่ ึ ง พาตนเองจากการพึ่ ง พาสิ น ค้า ของเพื่ อ นใน เครื อข่ายมากกกว่าการใช้จ่ายออกภายนอก
แผนการดําเนินงานต่ อเนื่องในอนาคต หลัง จากในปี นี้ โครงการแหล่ ง เรี ย นรู้ เศรษฐกิ จพอเพีย งขั้นก้า วหน้า ระดับ เครื อข่ า ยพหุ ชุ มชนหรื อ ชื่ อสั้ นๆ ว่า “โครงการขบวนบุญ” หรื อการทํา ธุ รกิ จเพื่อสังคม (Social Enterprise) ภายใต้หลักการคิด “สังคมอยูไ่ ด้ เราก็อยูไ่ ด้” ได้ผา่ นมาครบ ๕ ปี เต็มแห่งการสร้างรากฐานคุณธรรม ให้กบั คนกลุ่มเล็กๆ จนเข้มแข็งได้ ปี นี้ จึงเป็ นปี แห่ งการทบทวนตนเองขององค์กรที่จะฝากแนวทาง เพื่อความอยูร่ อดให้ทุกท่าน ท่ามกลางปั ญหานานาที่รุ่มเร้าโลกใบเดียวกันซึ่ งไม่อาจมีใครปฏิเสธได้ จากความพยายามตลอดห้าปี ที่ เราได้น้อมนําแนวทางพระราชดํา ริ เศรษฐกิ จพอเพียง ที่ พิสูจน์ให้เห็ นแล้วว่าเป็ นปรัชญาที่นาํ มาใช้ให้เกิดผลเป็ นรู ปธรรมได้จริ ง โดยเริ่ มจากการเปลี่ยนใจ ที่หยุดความโลภ หยุดความอยาก ความสุ ขก็จะเกิดขึ้นทันที ด้วยการพึ่งพาตนเอง พึ่งตนเองทางกาย ให้ได้ก่อนคือ พอมี พอกิน พออยู่ พอใช้ อุดรอยรั่วของภาระค่าใช้จ่าย บางสิ่ งที่สามารถผลิตเองได้ก็ ผลิตใช้เองก่อนโดยเฉพาะ ข้าวปลาอาหารที่ตอ้ งกินทุกวัน ซึ่ งเป็ นของจริ งแน่ นอนกว่าการหาเงิ น ด้วยความโลภให้ได้มากๆ สุ ดท้ายก็เกิ ดหนี้ สินเพราะความไม่พอ และถึงแม้ไม่มีหนี้ สินเมื่อถึงจุด หนึ่ งก็จะเกิ ดคําถามขึ้นมาว่าเมื่อหาเงิ นได้เยอะๆ แล้วทําไมไม่เห็นมีความสุ ขเลย จะคนชนบท คน เมือง เป็ นหญิง เป็ นชาย เด็กหรื อคนชราก็มีทุกข์เหมือนกันทั้งนั้น คือการติดในสุ ขจอมปลอม สุ ข เที ย มที่ หาความมัน่ คงได้ไ ม่ เงิ นทอง ลาภยศ ชื่ อเสี ย ง สรรเสริ ญ คื อตัวอย่า งที่ เราเดิ นหลงทาง ไขว่คว้าหาเอง พอได้มาก็สุข พอเสี ยไปก็ทุกข์แล้วใจก็อยากได้อีกไม่จบสิ้ น เหล่านี้เป็ นสิ่ งที่ชาวบ้าน ที่เป็ นเครื อข่ายกับเราประสบพบเจอ สร้างรอยชํ้าในใจและคราบนํ้าตา บาดเจ็บสาหัสถึงขั้นเกือบเอา ชีวติ ไม่รอดมาแล้ว เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เราจึงนําแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงมาพลิกฟื้ นคืนชีวิตด้วยการ สนับสนุนอย่างเต็มกําลังของศูนย์ส่งเสริ มและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิ งคุณธรรมในสมัยนั้น คือ “ศูนย์ คุณธรรม” ในปั จจุบนั ตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา เมื่อคิดให้ชดั ปฏิบตั ิให้แน่ น มีข้ นั ตอนและรายละเอียด เพื่อนําไปสู่ ความสําเร็ จจริ ง ผลผลิ ตแห่ งการพึ่งพาตนเองได้ปรากฎหลักฐานเป็ นพยานบุคคล ที่ พอมีพอกิ น ไม่วิ่งตามหาแต่จะเอาเงิ น รายจ่ายลดลง มีรายได้จากสิ่ งที่ปลูก ที่หา ที่ผลิ ต หนี้ ก็เริ่ ม ลดลง ครอบครัวจึงกลับมายิม้ ได้ และเกิดความเกื้อกูลกันในชุมชน นี่ คือความสุ ขที่แท้จริ ง เพราะต่อ จากนี้ปัญหาต่างๆ ในระดับสังคมประเทศและโลกจะทวีความรุ นแรงขึ้น หากขาดฐานยึดที่ดี ชีวิตก็ อาจจะหลงกลับเข้าสู่ วงั วนเดิมได้ ไร้รากที่จะต่อกรกับปั ญหาสิ่ งแวดล้อม วิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตทาง สังคม และวิกฤตความขัดแย้งทางการเมืองได้
18
เมื่อรากฐานของทั้งชาวบ้านและชุมชนแน่น คือ สามารถพึ่งพาตนเองได้แล้วตามแนวทาง เศรษฐกิ จพอเพียงขั้นพื้นฐาน เราจึงเริ่ มก้าวสู่ ข้ นั ก้าวหน้าที่จะเป็ นที่พ่ ึงให้คนอื่นได้ ด้วยการทําบุญ (การรู้จกั แบ่งปั น) ให้กบั เพื่อนที่ลาํ บากและทุกข์ยาก เมื่อเกิด “สํานึ กในบุญคุ ณ” บุญนั้นก็จะตอบ กลับเราเองอย่างที่ไม่ตอ้ งคาดหวัง เราเองในฐานะผูใ้ ช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการดํารงชีวิตแต่เกิด มา อาหาร อากาศ ที่อยูอ่ าศัย ยารักษาโรคล้วนแต่มาจากป่ า จึงเกิด “สํานึ กในบุญคุณ” ที่จะตอบแทน กลับสู่ ธรรมชาติดว้ ยการอนุ รักษ์ ดูแล ฟื้ นฟู ดิน-นํ้า-ป่ า เพื่อต่อชีวิตให้เราและลูกหลานในภายภาค หน้า จึงเป็ นที่มาของโครงการขบวนบุญ ในปี ๒๕๕๕ ซึ่ งเป็ นการระดมบุญเป็ นงบประมาณในการ พึ่งตนเองและรักษาธรรมชาติควบคู่กนั อย่างยัง่ ยืน จากการดําเนินงานในปี นี้พบ “กิจกรรมบุญ” ไม่คาดคิดเกิดขึ้นมากมาย ไม่ใช่เฉพาะการขาย สิ นค้า ๓ ตัวหลักอย่าง ผักปลอดสาร ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพ และนํ้ายาเอนกประสงค์ ที่จะเป็ นตัวระดม กองบุญให้เกิดขึ้นตามแผนงานที่วางไว้ แต่กิจกรรมบุญทั้ง ๕ เขตงานที่ดาํ เนิ นเกิดขึ้นได้น้ นั ไม่ใช่ เพราะการนั่ง รอ นั่ง ของบประมาณจากใคร แต่ ด้ว ยฤทธิ์ แห่ ง บุ ญ ที่ นํา พาอาสาสมัค ร เงิ น ทุ น สนับสนุ น องค์ความรู ้จากทุกภาคส่ วนมาช่วยเหลือ เป็ นบทพิสูจน์สําคัญว่าโมเดลธุ รกิจขบวนบุญ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้านั้น พร้อมจะเดินหน้าต่อได้ ดังนั้นในปี ๒๕๕๖ เราจึงขอนําเสนอโมเดลที่ดีมีประโยชน์หากนําไปปรับประยุกต์ในทุก องค์ ก ร ในทุ ก ระดับ ด้ว ยการประชาสั ม พัน ธ์ แ นวคิ ด “ขบวนบุ ญ ” ให้ ไ กลและกว้า งขึ้ น ใน ขณะเดี ยวกันก็ เป็ นการสร้ า งเสริ ม เครื อข่ า ยคุ ณธรรมให้ขยายในวงกว้า งอี ก ด้วย โดยเฉพาะการ ประชาสัมพันธ์บนสื่ อออนไลน์ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรี รวดเร็ ว ไม่จาํ กัดสถานที่และเวลา เพราะเราเชื่ อว่าสังคมแห่ งการให้ สังคมแห่งการเกื้ อกูลนี้ มีอยูจ่ ริ ง เพียงแต่คนเหล่านั้น คน กลุ่มนั้นรอโอกาสที่จะได้ลงมือทําจริ ง เครื อข่ายคนคุณธรรมนี้ ที่เรากําลังร่ วมก่อร่ างสร้างตัวจะเป็ น กัลยาณมิตรที่ดีพาคนทําสิ่ งดีๆ เพื่อเกิดประโยชน์ท้งั ตนท่านและโลกใบเดียวกันนี้เถิด
ลงชื่อ นางสาวธชาพร เลาวพงษ์ ผู้รายงาน วันที่ ๒๙ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงชื่อ พระครู ธรรมคุต ผู้รับผิดชอบโครงการ วันที่ ๓๐ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕
19
รายงานสรุปผลการดําเนินงานงวดปิ ดโครงการ (สรุปภาพรวม)
โครงการแหล่ งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน กิจกรรม ๑. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการอบรมชี้แจงโครงการ หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ทีอ่ ยู่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ตําบลแม่สาบ/ยั้งเมิน อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โทร ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของกิจกรรม ๑) เพื่ อ ชี้ แจงและทํา ความเข้า ใจรายละเอี ย ดในการดํา เนิ น โครงการและขับ เคลื่ อ น กระบวนการเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียง ๒) เพื่อให้ผปู ้ ระสานงานที่จะเก็บข้อมูลชุมชน และวิเคราะห์สรุ ปประเมินผล ผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ ๑) ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและผูป้ ระสานงานเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงได้มีความเข้าใจใน กระบวนการขั้นตอนรายละเอียดแผนการดําเนินงานโครงการ ๒) ผูป้ ระสานเครื อ ข่ า ยเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและผูเ้ ข้า ร่ ว มโครงการได้เ ห็ น ทิ ศ ทางการ ขับเคลื่อนโครงการได้อย่างชัดเจน ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ ตัวชี้วดั ทีต่ ้งั ไว้ ได้ผปู ้ ระสานงานเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงและ ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการทั้ง ๕ โซน ผูป้ ระสานงานเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงและ ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมีความเข้าใจการขับเคลื่อน โครงการ
ตัวชี้วดั ทีเ่ กิดจริง ได้ผปู ้ ระสานงานเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียง และผูเ้ ข้าร่ วมโครงการทั้ง ๕ โซน ผูป้ ระสานงานเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงและ ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมีความเข้าใจการขับเคลื่อน โครงการ
20
ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. ได้ผปู ้ ระสานงานเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงและเข้าร่ วมโครงการ ๕ กลุ่มเป้ าหมาย ๒. ผูป้ ระสานงานเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงและเข้าร่ วมโครงการ ๕ กลุ่มเป้ าหมายได้ทราบถึง กระบวนการขับเคลื่อนโครงการ - อุปสรรค ๑. ผูป้ ระสานงานเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียงยังขาดประสบการณ์ในกระบวนการทํางานในระดับ ชุมชน และในระดับเครื อข่าย ๒. ในช่วงเริ่ มโครงการยังอยูใ่ นช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต ทําให้การจัดเวทีประชุมมีความ จําเป็ นต้องแยกประชุมตามกลุ่มโซน ต้องจัดการประชุมแยกสองครั้ง (๒ ก.พ. และ ๑๐ ก.พ. ๒๕๕๕) แผนงาน/และความต่ อเนื่อง ๑) ผูป้ ระสานเครื อข่ ายเศรษฐกิ จพอเพียงและผูเ้ ข้าร่ วมโครงการได้ทราบถึ งกระบวนการ ขั้นตอนรายละเอียดแผนการดําเนินงานโครงการ ๒) ให้ผปู ้ ระสานติดตามการเก็บข้อมูลและนําข้อมูลไปคุยกับผูเ้ ข้าโครงการแยกตามโซนและ ให้ประงานระหว่างผูป้ ระสานงานเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและขับเคลื่อนงานอย่างเป็ น ระบบ
21
กิจกรรม ๒. พัฒนาฐานการเรี ยนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพื่ อพัฒนาฐานการเรี ย นรู ้ ท้ งั ๓ ฐานให้เ ข้ม แข็ง เพี ย งพอในการขับ เคลื่ อนขบวนบุ ญ ภายในเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียง ๕ กลุ่มเป้ าหมาย ๒) เพื่อให้ผปู ้ ระสานงานและผูเ้ ข้าร่ วมโครงการสามารถขับเคลื่อนของการอย่างมีพลัง โดยมี การผลิตสื่ อเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ ผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ ๑) สามารถพัฒนาฐานการเรี ยนรู ้ท้งั ๓ ฐานให้เข้มแข็งเพียงพอที่จะขับเคลื่อนโครงการ ๒) มีพ้ืนที่ชุมชนเป้ าหมายชัดเจนในการขับเคลื่อนโครงการตามทุนเดิมที่มีอยู่ งบประมาณจาก ศูนย์ คุณธรรม กําหนดไว้ ๑๕,๐๐๐ บาท ใช้จ่ายจริ ง ๖,๗๓๕ บาท งบที่เหลือ ๘,๒๖๕ บาท ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ ตัวชี้วดั ทีต่ ้งั ไว้ ตัวชี้วดั ทีเ่ กิดจริง ๑) เครื อข่ายสามารถพัฒนาฐานการเรี ยนรู ้ ๑) เครื อข่ายสามารถพัฒนาฐานการเรี ยนรู ้ท้งั ทั้ง ๓ ฐานให้เข้มแข็งเพียงพอที่จะขับเคลื่อน ๓ ฐานให้เข้มแข็งเพียงพอที่จะขับเคลื่อน โครงการ โครงการ ๒) ได้สื่อประชาสัมพันธ์ของ ๓ ฐานการ ผลิตเพื่อกระจายไปสู่ ชุมชนพื้นที่เป้ าหมาย
๒) ได้สื่อประชาสัมพันธ์ที่มีคุณภาพ ในการ สื่ อสารไปสู่ กลุ่มพื้นที่เป้ าหมาย
22
กิจกรรม ๓. อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึ่งตนเอง หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพื่ อ สร้ า งกระบวนการถ่ า ยทอดความรู้ จ ากผูท้ ี่ เ ป็ นแบบอย่า งแห่ ง ความสํา เร็ จ ไปสู่ เครื อข่ายทั้ง ๕ กลุ่มเป้ าหมาย ๒) เพื่อให้ชุมชนเครื อข่ายสามารถพัฒนาองค์ความรู้ให้มีสอดคล้องกับความต้องการของ ชุมชน ผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ ๑) สามารถจัดอบรมแกนนําเครื อข่ายฐานคนมีน้ าํ ยาและฐานคนรักษ์สุขภาพ ฐานคนรักแม่ ธรณี หมักปุ๋ ย ทําฮอร์ โมนพืช และ ฐานคนพออยูพ่ อกิน ผักพื้นบ้านปลอดสาร ๒) แกนนําสามารถปฏิบตั ิการฐานคนมีน้ าํ ยา ฐานคนรักษ์สุขภาพ /ฐานคนรักแม่ธรณี หมักปุ๋ ย และ ฐานคนพออยูพ่ อกิน ผักพื้นบ้าน ปลอดสารได้และไปขยายผลได้ในพื้นที่ ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ ตัวชี้วดั ทีต่ ้งั ไว้ ๑) สามารถจัดอบรมแกนนํา เครื อข่ายในฐานการพึ่งตนเอง ๓ ฐานการเรี ยนรู ้ อย่างน้อย ๓๐ คนต่อรอบ ๒) ผูเ้ ข้าอบรมได้มี ความสามารถไปขยายผลต่อ ในชุมชนได้
ตัวชี้วดั ทีเ่ กิดจริง ๑) สามารถจัดอบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึ่งตนเองใน ๑ ฐานการเรี ยนรู ้ โดยมีผเู ้ ข้าร่ วมมากกว่า ๓๐ คน(ฐานคนมีน้ าํ ยา และฐานคนรักษ์สุขภาพ) และมากกว่า ๓๐ คน (ฐานคนรักแม่ ธรณี หมักปุ๋ ย และ ฐานคนพออยูพ่ อกิน ผักพื้นบ้าน ปลอดสาร) ๒) แกนนําสามารถฝึ กปฏิบตั ิการฐานคนมีน้ าํ ยาและฐานคนรักษ์ สุ ขภาพ/ทําปุ๋ ยใช้เอง/รู ้จกั กินและรู ้จกั ปลูกผักพื้นบ้านไว้ลด ค่าใช้จ่าย และสามารถไปขยายผลต่อในชุมชนได้
ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. สามารถจัดอบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึ่งตนเองฐานคนมีน้ าํ ยาและฐานคนรักษ์สุขภาพ ๒. แกนนําสามารถฝึ กปฏิบตั ิการฐานคนมีน้ าํ ยาและฐานคนรักษ์สุขภาพ
23
- อุปสรรค ๑. ชุ มชนเครื อข่ายยังขาดความรู ้ ความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการด้วยกิ จกรรมที่ทาํ เป็ นเรื่ อง ใหม่ทาํ ให้ได้รับความร่ วมมืออยูใ่ นเฉพาะกลุ่ม ๒. การฝึ กอบรมค่อนข้า งลําบาก เนื่ องด้วยผูเ้ ข้าอบรมส่ วนใหญ่เป็ นพี่น้องชนเผ่า กระเหรี่ ยงแต่ วิทยากรเป็ นคนพื้นเมืองทําให้การอบรมมีปัญหาเรื่ องการสื่ อสารเล็กน้อย แผนงาน/และความต่ อเนื่อง ๑) จัดอบรมแกนนําเครื อข่ายชุมชนเพิ่มเติมในฐานการเรี ยนรู ้อื่นๆ เช่น ฐานคนรักษ์น้ าํ ฐานคน รักษ์ป่า เพื่อให้องค์ความรู ้ต่อเนื่องในการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน นํ้า ป่ าหลังจากชาวชุมชน เกิดจิตสํานึกหวงแหนทรัพยากรชุมชนรอบตัวมากขึ้น จากรายได้ที่มาจากทรัพยากรรอบตัว นัน่ เอง ๒) จัดให้มีการติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนขบวนบุญตามชุมชนเครื อข่าย
24
กิจกรรม ๔. แหล่งเรี ยนรู ้เคลื่อนที่ หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้บทเรี ยน ปรับปรุ งแก้ไขพัฒนา และเติมกําลังใจในการ ขับเคลื่อนกระบวนการเครื อข่ายเพื่อการพึ่งตนเอง ๒) เพื่อกระตุน้ ให้ชุมชนเป้ าหมายเกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าของการนําศาสตร์ แห่ง พระราชามาใช้ โดยมีแบบอย่างแห่งความสําเร็ จมาให้บทเรี ยนและประสบการณ์ ผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ ๑) เกิดการระดมสมองแลกเปลี่ ยนปั ญหากันระหว่างคนในหมู่บา้ นเพื่อระบุปัญหาใหญ่ ร่ ว มกัน พร้ อ มทั้ง หาแนวทางแก้ไ ขร่ ว มกัน ด้ว ยวิถี ก ารพึ่ ง พาตนเองตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งสร้างความคุน้ เคยระหว่างคนในเครื อข่ายต่างหมู่บา้ น ๒) ชาวชุมชนเริ่ มขับเคลื่อนแนวทางการพึ่งตนเองในระดับครัวเรื อนและขยายต่อสู่ ชุมชน เช่น การทํานํ้ายาเอนกประสงค์ใช้เองและแบ่งปั นให้เพื่อนบ้าน การเสนอผ้าทอมือเป็ น สิ นค้าที่ชุมชนมีศกั ยภาพผลิตเพื่อสร้างรายได้จากโมเดลธุ รกิจแบบขบวนบุญ ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ ตัวชี้วดั ทีต่ ้งั ไว้ ตัวชี้วดั ทีเ่ กิดจริง ๑) เกิดการขับเคลื่อนขบวน ๑) ขบวนบุญของทั้ง ๕ พื้นที่เป้ าหมายได้มีการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐานและขั้นก้าวหน้าพร้อมๆ กัน บุญ ได้ผลเป็ นการพึ่งพา ตนเองได้ โดยเริ่ มจากการลด คือ ให้พอมีพอกินสําหรับตัวเองและครอบครัว และมีรายได้ จากการแปรรู ปสิ นค้าส่ งขาย ดังรายละเอียดที่จะแสดงถัดไป รายจ่ายภายนอก ๒) ได้บทเรี ยนการขับเคลื่อน ๒) เกิดบทเรี ยนที่จะใช้ในการพัฒนาต่อไปได้จริ ง ดัง ขบวนบุญที่เป็ นประโยชน์ใน รายละเอียดที่จะแสดงถัดไป การดําเนิ นงานต่อไป
25
ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. เกิดการเรี ยนรู ้แลกเปลี่ยนในเรื่ องขององค์ความรู ้ในการพึ่งพาตนเองและการเป็ นที่พ่ งึ ให้คนอื่น ในอนาคต ๒. เกิดการระดมสมองมองปั ญหาร่ วมกัน พร้อมทําแผนดําเนิ นงานต่อทันทีเพื่อที่จะแก้ไขปั ญหา นั้นซึ่งมีรายละเอียดแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ๓. เกิดการเสริ มกําลังใจให้กนั และกันในการเลือกเดินทวนกระแสเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ซึ่ ง กําลังใจนี้มีส่วนสําคัญมากในการขับเคลื่อนโครงการต่อในระยะยาว ๔. เกิดการขยายผลจากการเข้าอบรมแกนนําแล้วจึงพัฒนาต่อยอดให้คนในหมู่บา้ นได้มีส่วนร่ วมใน กิจกรรมที่ดาํ เนิ นงานโดยชาวชุมชนเอง - อุปสรรค ๑. การประสานงานกับคนในชุ มชนให้มีความพร้ อมเพรี ยงในการเข้าร่ วมเรี ยนรู้ซ่ ึ งเป็ นสิ่ งที่ตอ้ ง ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ ทั้งช่วงเวลา สถานที่อยูต่ ลอดเวลา ๒. กระบวนการที่จะกระตุน้ ให้ชุมชนมีส่วนร่ วมมากขึ้น ไม่คอยรับอย่างเดียวเป็ นสิ่ งที่จะต้องเสริ ม ความรู้ต่อไป เพื่อให้ชาวบ้านที่มีความแตกต่างทั้งวัย สถานะ การศึกษา ฐานะให้ริเริ่ มแสดงออกใน สิ่ งที่ตนต้องการลงมือทํา แผนงาน/และความต่ อเนื่อง ๑) แกนนําอาสาติดตามผลการดําเนินงานและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติมในการพึ่งพาตนเองจาก ทรัพยากรในชุมชน ๒) จัดกระบวนการกระตุน้ ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ของคนในชุมชน เพื่อให้เกิดการต่อยอดใน พื้นที่ดว้ ยตนเองได้ พร้อมสร้างความเชื่อมัน่ ในแนวทางการพึ่งพาตนเอง ด้วยการยกตัวอย่าง ที่ประสบความสําเร็ จของเพื่อนในเครื อข่ายเดียวกัน
26
กิจกรรม
๕. ฝังตัวขับเคลื่อนแหล่งเรี ยนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และการขยายพลังของแหล่งเรี ยนรู ้ชุมชน หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพื่อขับเคลื่อนขบวนบุญ โดยอาศัยฐานของเศรษฐกิจพอเพียง และความร่ วมมือของ เครื อข่าย ๒) เพื่อเก็บข้อมูลในพื้นที่ ระหว่างปฏิบตั ิการ เพื่อใช้สรุ ป ประเมินผลโครงการ ผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ ๑) ได้เ กิ ด การขับ เคลื่ อนของขบวนบุ ญในแต่ ล ะพื้น ที่ ซึ่ ง มี ค วามก้า วหน้า และเข้ม ข้น แตกต่างกัน ๒) ได้เรี ยนรู ้บทเรี ยนของแต่ละพื้นที่ เพื่อนํามาใช้พฒั นาต่อยอดให้ทุกๆพื้นที่สามารถขยาย ผลได้อย่างเต็มศักยภาพ ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ ตัวชี้วดั ทีต่ ้งั ไว้ ตัวชี้วดั ทีเ่ กิดจริง ๑) เกิดการขับเคลื่อนขบวน ๑) ขบวนบุญของทั้ง ๕ พื้นที่เป้ าหมายได้มีการขับเคลื่อน ดังรายละเอียดที่จะแสดงถัดไป บุญ ได้ผลเป็ นตัวเงินที่ สามารถวัดได้ของแต่ละ ชุมชน ๒) ได้บทเรี ยนการขับเคลื่อน ๒) เกิดบทเรี ยนที่จะใช้ในการพัฒนาต่อไปได้จริ ง ขบวนบุญที่เป็ นประโยชน์ใน การดําเนิ นงานต่อไป
27
ผลกระทบจากการทําโครงการ (ความสํ าเร็จ / อุปสรรค) - ความสํ าเร็จ ๑. สามารถเริ่ มต้นขับเคลื่อนขบวนบุญ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้ท้งั ๕ พื้นที่ ได้สมาชิกที่ ยินดีเข้าร่ วมในกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และทําให้เกิดความตระหนักของชุมชนโดยรอบ - อุปสรรค ๑. การประสานงานกับคนในชุมชน ไม่ได้ง่ายอย่างทิ่คิด เพราะเหตุปัจจัยหลายๆอย่าง ซึ่ งเกินกําลังที่ จะควบคุมได้ ต้องมีการปรับกลยุทธ์พอสมควร ๒. บางชุมชนพื้นที่เกิดปั ญหาติดขัด เนื่ องจากการติดต่อสื่ อสารยากลําบาก โดยเฉพาะในพื้นที่บา้ น ป่ าคานอก แม่ลานคํา คลื่นโทรศัพท์ติดต่อยาก ทําให้ล่าช้าไปบ้าง ๓. ในบางพื้นที่ ยังไม่สามารถกระจายสู่ พ้นื ที่ชุมชนของเครื อข่ายได้ เพราะผลิตภัณฑ์ยงั ไม่ได้รับการ ยอมรับ คนในพื้นที่ส่วนใหญ่นอกจากเครื อข่ายยังไม่มนั่ ใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นมาเอง แผนงาน/และความต่ อเนื่อง ๑) แกนนําอาสาเศรษฐกิจพอเพียงลงมือปฏิบตั ิการจริ งในพื้นที่ตามแผนงานและแผน งบประมาณที่วางไว้ ๒) จัดให้มีการจัดเก็บข้อมูลพัฒนาการของการแกนนําอาสาเศรษฐกิจพอเพียง ๓) จัดให้มีการติดตามความก้าวหน้าของแกนนําอาสาเศรษฐกิจพอเพียง
28
ตอนที ๓ รายละเอียดจากการดําเนินกิจกรรม
29
รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการ : หน่ วยงาน : ผู้ประสาน :
แหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของกิจกรรม ๑) เพื่ อ ชี้ แจงและทํา ความเข้า ใจรายละเอี ย ดในการดํา เนิ น โครงการและขับ เคลื่ อ น กระบวนการเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียง ๒) เพื่อให้ผปู ้ ระสานงานที่จะเก็บข้อมูลชุมชน และวิเคราะห์สรุ ปประเมินผล รายละเอียดของกิจกรรม เมื่ อผูน้ าํ ชุ มชนแต่ละชุ มชนมามาพร้ อมเพรี ยงกันแล้ว ครู วีรยุทธ์ สุ วรรณทิพย์ ทําหน้าที่ กล่าวต้อนรั บผูน้ าํ ชุ มชนทุกท่านที่ เสี ยสละเวลามาร่ วมประชุ ม และได้ดาํ เนิ นกิ จกรรมตามลําดับ ดังต่อไปนี้ กิจกรรมที่ ๑ เปิ ดการประชุ มและชี้แจงรายละเอียดการประชุ ม (๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕) ๑.๑ ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเอกสารที่แจกให้ผเู้ ข้าร่ วมประชุม ๑.๒ ฉายวีดีทศั น์ “รู ้ทนั สถานการณ์” ซึ่ งเป็ น ส.ค.ส.พระราชทานขององค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ ที่ทรงมอบให้พสกนิกรในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ (มนุษย์กาํ ลังเผชิ ญกับวิกฤติใหญ่ หลวง ๔ ประการ) - ลูกที่ ๑ คือวิกฤติภยั ธรรมชาติ - ลูกที่ ๒ คือวิกฤติอนั เกิดจากภาวะโรคระบาด - ลูกที่ ๓ คือวิกฤติทางเศรษฐกิจอันเกิดจากภาวะข้าวยากหมากแพง - ลูกที่ ๔ คือวิกฤติจากความขัดแย้ง ๑.๓ อธิ บายภาพรวมของการเดินตามเศรษฐกิจการค้าซึ่ งจะส่ งผลกระทบโดยรวม ดังนี้ ๑. เกิดความเหลื่อมลํ้าตํ่าสู งของรายได้ระหว่างคนรวยกับคนจน ๒. ระบบนิเวศน์ล่มสลาย ๓. ชุมชนชนบทล่มสลาย ๔. ความเสื่ อมถอยของระบบจริ ยธรรม
30
และเชื่อมโยงปั ญหาดังกล่าวเข้าสู่ ความเป็ นมาของโครงการเสริ มสร้างเครื อข่ายบ้าน วัด โรงเรี ยน (บวร.) สู่ การขับเคลื่อนคุณธรรม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ งเป็ นโครงการของ ปี ที่ผา่ นมา โดยมีผรู ้ ่ วมกิจกรรม จาก ๙ ชุมชน และได้ดาํ เนินกิจกรรมการพึ่งตนเองในฐานต่างๆแต่ นัน่ ก็ยงั มิได้มีการขยายไปสู่ ชุมชนอย่างเต็มที่ ซึ่ งในปี ปั จจุบนั นี้ การขยายเครื อข่ายเพื่อร้อยเรี ยง ขบวนของผูท้ ี่จะทวนกระแสแห่งบริ โภคนิยม วัตถุนิยม อันเป็ นที่มาแห่งความเห็นแก่ตวั นั้น ต้องเร่ ง รี บทําอย่างเร่ งด่วน หากช้าอาจไม่ทนั การ ดังเหตุมหาอุทกภัยที่ถาโถมซัดเข้าสู่ ภาคกลางและ ภาคเหนื อตอนล่างของประเทศในปี ที่แล้ว กิจกรรมที่ ๒ แนะนําและชี้แจงรายละเอียดของโครงการ ท่า นพระครู ธ รรมคุ ต เจ้า อาวาสวัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้ ม ได้อธิ บ ายความเป็ นมาของ โครงการเกิ ดจากวัด นํา พาชุ ม ชนเครื อข่ า ยเศรษฐกิ จพอเพี ย งขับ เคลื่ อนกระบวนการเศรษฐกิ จ พอเพียงอย่างต่อเนื่ องในหลายปี ที่ผ่านมา จึงได้เกิดแนวคิดที่จะพัฒนายกระดับเศรษฐกิ จพอเพียง จากขั้นพื้นฐานของแต่ละที่แต่ละแห่ งที่ต่างคนต่างทําอย่างแยกส่ วน ให้หันมาร่ วมมือกัน เรี ยกว่า ขยับขึ้นสู่ ข้ นั ก้าวหน้าจากการทอถักร้อยเรี ยงแต่ละพื้นที่จนเป็ นเครื อข่าย โดยอาศัยคุ ณธรรมเป็ น สําคัญ มีความเห็นเป็ นสัมมาทิฏฐิร่วมกันว่า เราจะใช้ความรู้ รัก สามัคคีกนั นี้เอง สร้างความพอเพียง ขั้นพื้นฐาน (๔ พอคือ พอกิน พอใช้ พออยู่ และพอร่ มเย็น) ขยายไปในพื้นที่ชุมชนของเครื อข่ายของ วัดฯ ให้ม ากที่สุด กําไรจากการแปรรู ป แลกเปลี่ยนหรื อซื้ อขาย จะนํามาเข้ากองบุญกลางที่จะสร้าง ความยัง่ ยืนต่อไป ไม่คิดเอาเข้ากระเป๋ าตนเอง หลักการแตกต่างจากกลุ่มธุ รกิจทัว่ ไปที่ใครเขาจะ ทํางาน ทําธุ รกิจ ผลิตสิ นค้าต่างๆอย่างไรออกมาก็เพื่อกําไรของตนเท่านั้น หาได้มีใครคิดคํานึงไปถึง อนาคตว่าสิ่ งแวดล้อมจะเป็ นอย่างไร สังคมชุ มชนจะเป็ นอย่างไรนี่ คือความเป็ นมาของโครงการ 5
5
ในส่ วนกระบวนการขับเคลื่ อนโครงการเน้นใช้ยุทธวิธีพี่ช่วยน้อง โดยอาศัยผ่านช่องทาง จากความแตกต่างของแต่ละชุ มชนเครื อข่ายที่วา่ ในปั จจุบนั แต่ละชุมชนมีผลผลิตที่แตกต่างกันบาง ชุ มชนมีของกิ นมาก แต่ไม่ค่อยได้ขาย ของใช้ไม่มี ต้องซื้ อเข้ามา ส่ วนบางชุ มชนมีเงิน มีกาํ ลังซื้ อ อย่างเดียว ผลิตเองแทบไม่ได้ เป็ นต้น ฯลฯ จากสภาพความเป็ นจริ งของชุ มชนตรงนี้ จึงเห็นถึงความ เสี่ ยงในบางชุมชนที่ตอ้ งพึ่งตนเองให้ได้และการเข้าไปช่วยเหลืออุม้ ชูกนั เองภายในเครื อข่าย ผลผลิต ใดที่ สามารถผลิ ตได้มากก็จะนําให้ชุ มชนที่ ตอ้ งการแต่ผลิ ตไม่ได้ โดยจะต้องตอบแทนด้วยเงิ น หรื อไม่ก็เป็ นสิ่ งอื่น บางผลิตผลมีมากก็จะนํามารวมกันถนอมเก็บไว้ในยามวิกฤต บางส่ วนแปรรู ป สร้างเป็ นมูลค่าเพิ่มผลกําไรที่เกิ ดจากกิจกรรม แล้วจึงนํากลับไปตั้งเป็ นกองทุนพัฒนาชุ มชนและ สิ่ งแวดล้อม ในส่ วนของชุมชนใดที่สามารถสร้างผลผลิตได้นอ้ ยหรื อขาดแคลนก็นาํ ผลิตจากชุมชน ที่สามารถผลิตได้มาเกื้ อกูลอุม้ ชู ให้สามารถอยู่รอดได้ และเพื่อให้เกิ ดรู ปธรรมในกิจกรรมพึ่งพา ตนเองทั้งด้านอาหาร นํ้ายาอเนกประสงค์ สบู่เหลว แชมพู นํ้าหมักชีวภาพ ปุ๋ ยอินทรี ย ์ สารไล่แมลง เป็ นต้น ทางเครื อข่ายจะมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลครัวเรื อนและจัดเวทีคืนข้อมูลเพื่อให้สมาชิ ก
31
เครื อข่ายได้ตระหนักและเห็นความสําคัญของกระบวนการพึ่งพาตนเองและกระบวนการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียงสามารถสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนได้จริ ง กิจกรรมที่ ๓ กิจกรรมระดมสมองตามกลุ่มฐานการผลิตและพืน้ ทีต่ ามโซนชุ มชนเป้าหมาย ให้กลุ่มแกนนําเครื อข่ายแต่ละหมู่บา้ นจับกลุ่มกันตามศักยภาพลักษณะการผลิตตามความ เป็ นจริ งของชุมชนโดยแบ่งหมวดกลุ่มสิ นค้าตามกําลังการผลิต ๓ หมวด ดังนี้ หมวดที่ ๑ ผลิตผลในฐานคนรักษ์แม่พระธรณี คือ ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพ หมวดที่ ๒ ผลิตผลในฐานคนพออยูพ่ อกิน คือ พืช ผัก ผลไม้ ที่มีตามพื้นบ้าน หมวดที่ ๓ ผลิตผลในฐานคนมีน้ าํ ยา คือ นํ้ายาซักล้างอเนกประสงค์ สบู่ แชมพู และให้ ก ลุ่ ม แกนนํา แบ่ ง พื้ น ที่ เ ป้ าหมายในระดับ เครื อ ข่ า ยพหุ ชุ ม ชน ซึ่ งสามารถแบ่ ง ออกเป็ น ๕ เขต ดังต่อไปนี้ เขตที่ ๑ เรี ยกย่อๆว่า “โซนดอยผาส้ม” ประกอบไปด้วย ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง วัดพระบรม ธาตุดอยผาส้ม – บ้านอมลอง ต.แม่สาบ อําเภอสะเมิง เขตที่ ๒ เรี ยกย่อๆว่า “โซนกะเหรี่ ยงบ่อแก้ว” ประกอบไปด้วย ชุ มชนบ้านแม่ย างห้า – ชุมชนบ้านป่ าเกี๊ ยะนอก – ร.ร. ตชด. รัปปาปอร์ ต ตําบลบ่อแก้ว อําเภอสะเมิง + ตําบลแม่แดดน้อย และตําบลบ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วฒั นา เขตที่ ๓ เรี ยกย่อๆว่า “โซนสะเมิงเหนื อ” ประกอบไปด้วย ชุมชนบ้านแม่เลย – ชุมชนบ้าน นาฟาน – ชุมชนบ้านแม่ปะ – ชุมชนบ้านโป่ งกวาว ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง เขตที่ ๔ เรี ยกย่อๆว่า “โซนเทศบาลสะเมิงใต้” ประกอบไปด้วย ชุมชนเทศบาลสะเมิงใต้ – ร.ร.สะเมิงพิทยาคม ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง เขตที่ ๕ เรี ยกย่อๆว่า “โซนกะเหรี่ ยงป่ าคาทุ่งหลวง” ประกอบไปด้วย ชุมชนบ้านทุ่งหลวง ต.แม่วนิ อ.แม่วาง + ชุมชนบ้านป่ าคานอกและห้วยหญ้าไทร ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง โดยมอบหมายให้มีนกั วิเคราะห์ในแต่ละโซนพื้นที่ ไปทํางานเก็บข้อมูลพื้นฐานของโซน ของตนเอง รวมถึงศักยภาพที่สามารถผลิตสิ นค้าที่จาํ เป็ นใน ๓ ฐาน และกําลังซื้ อด้วย หมายถึงอุป สงค์และอุปทาน จากนั้น ให้มีการติ ดต่อประสานงานกันกับ นักวิเคราะห์ ในโซนพื้นที่อื่นๆด้วย เป้ าหมายหลัก คือการทําให้เกิดการถักทอร้อยเรี ยงความสัมพันธ์ของทุกโซนพื้นที่ให้ได้มากที่สุด มี การแจกแบบฟอร์ มข้อมูลพื้นฐานที่เตรี ยมไว้ และให้นโยบายการทํางาน รวมถึงค่าใช้จ่ายต่างๆ คือ ค่าเชื้อเพลิงและค่าติดต่อโทรศัพท์
32
รายงานนามผู้ร่วมการประชุ ม โครงการแหล่ งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ณ ศาลาอเนกประสงค์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑. นายเสงี่ยม แสนคํา ชุมชนบ้านใหม่ตน้ ผึ้ง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒. นางจันทร์ ดี บุญมาลา ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓. นายชัยยุทธ แสนคํา ชุมชนบ้านใหม่ตน้ ผึ้ง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔. นายศักดิ์สิทธิ์ สุ ขโน ชุมชนบ้านโป่ งกวาว ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๕. นายชัชวาล แสนคํา ชุมชนบ้านแม่เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๖. นายนิพล ศรี เอื้องคอย ชุมชนบ้านทุ่งหลวง ต.แม่วนิ อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ๗. นายบุญชัย วารี กาํ เนิ ด ชุมชนบ้านทุ่งหลวง ต.แม่วนิ อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ๘. นายสุ ทธิ พงศ์ สวรรค์ประทาน ชุมชนบ้านป่ าคานอก ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙. นายสี หาพอ สวรรค์ประทาน ชุมชนบ้านห้วยหญ้าไทร ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๐. นางสวิง จะหละ ชุมชนบ้านป่ าเกี๊ยะนอก ต.บ่อแก้ว อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ๑๑. นางโยซู วะราห์ ชุมชนบ้านแม่ยางห้า ต.บ่อแก้ว อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ๑๒. นางสาวธนภรณ์ กันทะเส็ ค ชุมชนบ้านอมลอง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม ๑. พระอธิ การสรยุทธ ชยป�ฺ โญ ประธานคณะทํางาน ๒. นายวีรยุทธ์ สุ วรรณทิพย์ ฝ่ ายนโยบายและบริ หารโครงการ ๓. นางสาวธชาพร เลาวพงษ์ วิทยากร 6
6
33
เนือ้ หา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการแหล่ งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน กิจกรรม ๒. พัฒนาฐานการเรี ยนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพื่ อพัฒนาฐานการเรี ย นรู ้ ท้ งั ๓ ฐานให้เ ข้ม แข็ง เพี ย งพอในการขับ เคลื่ อนขบวนบุ ญ ภายในเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียง ๕ กลุ่มเป้ าหมาย ๒) เพื่อให้ผปู ้ ระสานงานและผูเ้ ข้าร่ วมโครงการสามารถขับเคลื่อนของการอย่างมีพลัง โดยมี การผลิตสื่ อเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ รายละเอียดของกิจกรรม นัก วิเคราะห์ ข องแต่ ล ะโซน เข้า ในพื้ นที่ โดยไปติดต่ อกับ ชาวบ้า นแกนนําเพื่อศึ ก ษาหา ศักยภาพในการผลิตของแต่ละโซน ที่มีพอกินและพอใช้แต่ก็ยงั ไม่พอ ต้องมีจนกระทัง่ เหลือกินและ เหลื อใช้ จึ งสามารถมาเหลื อทําบุ ญ เหลือแจก และเหลื อมาขายได้ หากไม่ได้ขายก็ไม่เป็ นไร ไม่ เดือดร้อนด้วย เพราะสิ นค้าเหล่านี้ ลว้ นเป็ นของที่ไม่ได้ตอ้ งลงทุนมากมาย มีอยูแ่ ล้วใน สรุ ปว่า การ ผลิ ตใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน คือผลิตให้พอกิน พอใช้ พออยู่ และพอร่ มเย็น หลังจาก นั้น จึ งมาปรับเป็ นขั้นก้าวหน้า นั่นคือ ผลิ ตให้เหลื อ เรี ยกว่าพอเหลื อ โดยใช้หลักของธรรมชาติ ต้นทุนไม่สูง และจึงขยายออกมาทําบุญ แจกจ่าย และจําหน่ายเป็ นที่สุด ในส่ วนของกลุ่มเครื อข่าย ของวัดพระบรมธษตุดอยผาส้ม ได้แบ่งสิ นค้าออกเป็ น ๓ หมวดดังนี้ หมวดที่ ๑ สิ นค้าในฐานคนรักษ์แม่พระธรณี คือ ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพ โซนพื้นที่ที่สามารถ ผลิตปุ๋ ยได้เต็มที่จนพอใช้ จนเหลือ คือ โซนดอยผาส้ม
34
35
หมวดที่ ๒ ผลิตผลในฐานคนพออยูพ่ อกิน คือ พืช ผัก ผลไม้ ที่มีตามพื้นบ้าน โซนพื้นที่ที่ สามารถผลิตปุ๋ ยได้เต็มที่จนพอใช้ จนเหลือ คือ โซนสะเมิงเหนือ
36
หมวดที่ ๓ ผลิตผลในฐานคนมีน้ าํ ยา คือ นํ้ายาซักล้างอเนกประสงค์ สบู่ แชมพู โซนพื้นที่ ที่สามารถผลิตปุ๋ ยได้เต็มที่จนพอใช้ จนเหลือ คือ โซนดอยผาส้ม
37
38
เนือ้ หา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม
โครงการแหล่ งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน กิจกรรม ๓. อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึ่งตนเอง (ฐานคนมีน้ าํ และคนรักษ์สุขภาพ ณ ศาลาเอนกประสงค์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพื่อสร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู ้จากผูท้ ี่เป็ นแบบอย่างแห่งความสําเร็ จ ไปสู่ เครื อข่าย ทั้ง ๕ กลุ่มเป้ าหมาย ๒) เพื่อให้ชุมชนเครื อข่ายสามารถพัฒนาองค์ความรู ้ให้มีสอดคล้องกับความต้องการของ ชุมชน รายละเอียดของกิจกรรม การอบรมในฐานคนมีน้ าํ ยา / คนรักษ์สุขภาพ ณ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โซนพื้นที่ดอย ผาส้ม / อมลอง ในวันที่ ๓ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เป็ นกิจกรรมครั้งที่ ๑ จาก ๓ ครั้ง ที่ตอ้ งอบรมใน ลักษณะนี้ จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๒๘ คน ช่ วงเช้ าวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๑ ชี้แจงกระบวนการฝึ กอบรมและปฐมนิเทศ วิทยากรได้มีการอธิ บายความสําคัญของการพึ่งตนเองในฐานคนมีน้ าํ ยาโดยมีกิจกรรมการ ทํานํ้ายาอเนกประสงค์ สบู่เหลวสมุนไพร แชมพูสมุนไพร และนํ้ายาอเนกประสงค์ หลักการการเป็ น หมอรักษาตนเองเบื้องต้นตามหลักวิถีแพทย์วถิ ีธรรมโดยวิธีการใช้ยา ๙ เม็ด แต่ในการอบรมครั้งนี้ กิจกรรมฐานคนรักษ์สุขภาพซึ่ งมีการจัดทําฐานย่อยทั้งหมด ๗ ฐานการเรี ยนรู้ ฐานที่ ๑ การขูดกัวซา ขับพิษ ฐานที่ ๒ การนวดกดจุด ฐานที่ ๓ การพอกโคลนดูดพิษ ฐานที่ ๔ การยํ่าขางรักษาโรค ฐานที่ ๕ การแช่มือแช่เท้าด้วยนํ้าสมุนไพร ฐานที่ ๖ การดีท็อกซ์ลาํ ไส้ และฐานที่ ๗ ฐานคนมีน้ าํ ยา หลังจากวิทยากรชี้แจงเสร็ จก็ได้ดาํ เนิ นการแบ่งกลุ่มออกเป็ น ๒ กลุ่ม จากนั้นก็แยกย้ายเรี ยนรู ้ตาม ฐานดังรายละเอียดต่อไปนี้
39
กิจกรรมที่ ๒ จัดเตรียมอุปกรณ์ฐานคนมีนํา้ ยา วิทยากรสาธิ ตการเตรี ยมส่ วนผสมในการเรี ยนรู ้ฐานปฏิบตั ิการคนมีน้ าํ ยา โดยเริ่ มจากการ ต้มนํ้าสมุนไพรขมิ้น เพื่อเตรี ยมทําสบู่สมุนไพร ต้มสมุนไพรส้มป่ อยเพื่อทําแชมพูส้มป่ อย ต้ม มะกรู ดเพื่อทําแชมพูมะกรู ด และการหมักนํ้าด่างเพื่อการทํานํ้ายาอเนกประสงค์ ช่ วงบ่ ายวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๓ กิจกรรมฐานคนรักษ์ สุขภาพ ในการเรี ยนรู ้ฐานคนรักษ์สุขภาพนั้น มีกิจกรรมหลากหลาย ซึ่ งทางวิทยากรได้จดั เตรี ยม ความพร้อมเพียงพอต่อการให้ความรู ้ผเู ้ ข้าร่ วมอบรม ตามหลักการแพทย์โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน หลังจากนั้นก็ให้ผเู ้ ข้าอบรมแยกเข้าตามกลุ่มฐานเรี ยนรู ้ต่างๆดังต่อไปนี้ ฐานที่ ๑ การขูดกัวซาขับพิษ วิทยากรบรรยายรายละเอียดและแจกเอกสารการขูดกัวซา ประโยชน์ ของการขูดกัวซาถอนพิษ และแนะนําอุปกรณ์ในการขูดกัวซาวิธีการขูดกัวซาตลอดจนขั้นตอนและ ทิศทางการขูด มีการสาธิ ตวิธีการขูดโดยวิทยากร และให้ผเู ้ ข้าอบรมจับคู่แล้วสลับกันขูดกัวซา ฐานที่ ๒ การนวดกดจุด มีการให้คาํ แนะนําโดยวิทยากร โดยการสาธิ ตวิธีการนวดและบรรยายไป ด้วย ถึงประโยชน์ของการนวดกดจุดและความแตกต่างของการรักษาที่ไม่ตอ้ งไปโรงพยาบาล กินยา ก็สามารถหายได้โดยการนวดกดจุด รักษาตนเองและคนในครอบครัวโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย โดยให้ จับคู่กนั แล้วสลับกันนวด ฐานที่ ๓ การพอกโคลนดูดพิษ มีการให้คาํ แนะนําและบอกประโยชน์ของการพอกโคลน แนะนํา อุปกรณ์ โดยวิทยากรและให้จบั คู่ พอกให้กนั ฐานที่ ๔ การยํ่าขางรักษาโรค มีการให้คาํ แนะนํา บอกประโยชน์และข้อควรระวังตลอดจนแนะนํา อุปกรณ์ต่างๆและสาธิ ตการรักษาโยการยํ่าขาง ซึ่ งฐานนี้เป็ นการสาธิ ตวิธีการรักษา และรักษาให้ เนื่องจากการรักษาโดยศาสตร์ น้ ีค่อนข้างอันตราย ฐานที่ ๕ การแช่มือแช่เท้าโดยนํ้าสมุนไพร มีการแนะนําสมุนไพร บอกประโยชน์ และขั้นตอนต่าง โดยวิทยากร และทดลองแช่ โดยการแช่เป็ นยกๆ ๓ นาที ยกออก ๑ นาที ทําแบบนี้ประมาณ ๑๐ ครั้ง ฐานที่ ๖ การสวนทวารดีทอ็ กซ์ลา้ งพิษในลําไส้ มีการแนะนําโดยวิทยากรถึงประโยชน์และ ความสําคัญของการดีทอ็ กซ์ วิธีการดีทอ็ กซ์ และอุปกรณ์การดีทอ็ กซ์ พร้อมแจกอุปกรณ์การดีท็ อกซ์ ช่ วงคํ่าก่ อนนอน วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๔ การดีทอ็ กซ์ ใจ ทําสมาธิ ดนตรีบําบัด วิทยากรได้เปิ ดเพลงบรรเลง ซึ่ งเป็ นเพลงที่มีเสี ยงธรรมชาติ และให้ผเู ้ ข้าอบรมได้นงั่ กําหนดลมหายใจตามจังหวะของเพลง เป็ นกิจกรรมที่ทาํ ให้เกิดการผ่อนคลายความตึงเครี ยดจากที่
40
ได้เรี ยนรู ้เรื่ องราวต่างๆ มาตลอดทั้งวัน ทั้งหมดใช้เวลาประมาณ ๒ ชัว่ โมง เลิกประมาณ ๒๒.๐๐ น. ผูเ้ ข้าปบรมโดบมากไม่เคยผ่านกิจกรรมอย่างนี้มาก่อน แต่จากการสังเกตพบว่า ทุกคนมีใบหน้าอิ่ม เอิบ และสงบสํารวมมากขึ้น หลายคนบอกว่า สบายใจมากๆ ได้ประโยชน์มาก ช่ วงเช้ าวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๕ กิจกรรมฐานคนมีนํา้ ยา วิทยากรเน้นการพึ่งตนเองในเรื่ องใกล้ตวั โดยเฉพาะการทําความสะอาด ซึ่ งในปัจจุบนั ใน กระแสบริ โภคนิยมเน้นความสะดวกสบายวิถีชีวติ ของคนส่ วนใหญ่หาเงินอย่างเดียว และถ้าใครทํา บัญชีครัวเรื อนก็จะเห็นรายละเอียดค่าใช้จ่ายหมวดนี้ก็มีมากเหมือนกัน ฉะนั้นในยุคเศรษฐกิจไม่ดี ทุกคนก็ตอ้ งประหยัดพึ่งตนเองให้ได้มากที่สุด ฉะนั้นฐานคนมีน้ าํ ยาในวันนี้ก็จะให้ฝึกทําอยู่ ๓ กิจกรรมดังรายละเอียดต่อไปนี้ กิจกรรมการทํานํา้ ยาอเนกประสงค์ วัตถุดิบ ๑. สารตั้งต้นทําความสะอาด N70 ๑ ก.ก. ๒. สารขจัดคราบ F24 ๑ ก.ก. ๓. ผงข้น(เกลือ) ๐.๕ ก.ก. ๔. ผงฟอง ๑.๕ ช้อนโต๊ะ ๕. สี ผสมอาหาร ๐.๕ ซอง ๖. นํ้าหอม ๑ ช้อนโต๊ะ ๗. นํ้าด่าง ๘ ลิตร ๘. นํ้าเปล่า ๓ ลิตร อุปกรณ์ ๑. ถังสําหรับกวน ๒. ไม้พายสําหรับกวน ๓. ลิตรตวงนํ้า ๔. ผ้าขาวบาง ขั้นตอนการทํานํ้ายาอเนกประสงค์ เทสารตั้งต้นทําความสะอาดและสารขจัดคราบลงกวนให้เป็ นเนื้ อเดียวกัน จากนั้นจึงเท เกลือลงไปกวนจนเกลือละลายแล้วจึงเริ่ มเทนํ้าด่าง และนํ้าเปล่าลงไป โดยการสลับกันระหว่างนํ้า ด่างและนํ้าเปล่า กวนต่อไปจนได้ที่ โดยกวนไปในทางเดียวกันเบาๆ เสร็ จแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง พักไว้รอฟองยุบ แล้วนํามาบรรจุขวด คุณสมบัติ ใช้ลา้ งจาน ซักผ้า ล้างห้องนํ้า ทุกภารกิจ ภายในขวดเดียว
41
กิจกรรมการทําสบู่เหลวสมุนไพร วัตถุดิบ ๑. สารตั้งต้นทําความสะอาด AD 25 ๒. ผงข้น (เกลือ) ๓. มุก ๔. นํ้าหอม ๕. สมุนไพร (ขมิน้ ) ๖. นํ้าเปล่า อุปกรณ์ ๑. กะละมังสําหรับกวน ๒. ไม้พายสําหรับกวน ๓. ลิตรตวงนํ้า ๔. ผ้าขาวบาง ๕. หม้อ (สําหรับต้มนํ้าสมุนไพร) ขั้นตอนการทํา ๑. เอาสมุนไพรและนํ้าเทลงหม้อแล้วต้มให้เดือดพักไว้ให้เย็นกรองแยกกากเอาแต่น้ าํ ๒. เท AD25 และผงมุกลงในกะละมัง แล้วคนให้กลายเป็ นเนื้ อครี มเดียวกัน วิธีคนให้คนไปในทาง เดียวกัน คนเบาๆ ๓. เริ่ มทยอยเทนํ้าสมุนไพรทีละน้อยๆ เบาๆ แล้วคนให้เข้ากันทําไปเรื่ อยจนนํ้าสมุนไพรหมด ๔. จากนั้นจึงเริ่ มเทเกลือ (ผงข้น)โดยการทยอยใส่ แล้วสังเกตความหนืดของตัวนํ้ายา ๕. ใส่ หวั นํ้าหอมแล้วกรองด้วยผ้าขาวบางอีกรอบ คุณสมบัติ บํารุ งผิว ลบรอยแผลเป็ น รักษาสิ ว ฝ้ า กระ จุดด่างดํา กิจกรรมการทําแชมพูสมุนไพร วัตถุดิบ ๑. สารตั้งต้นทําความสะอาด AD25 ๒. ผงข้น (เกลือ) ๓. มุก ๔. นํ้าหอม ๕. สมุนไพร (มะกรู ด หรื อ ส้มป่ อย) ๖. นํ้าเปล่า ๗. นํ้ามันมะกอก อุปกรณ์
42
๑. กะละมังสําหรับกวน ๒. ไม้พายสําหรับกวน ๓. ลิตรตวงนํ้า ๔. ผ้าขาวบาง ๕. หม้อ (สําหรับต้มนํ้าสมุนไพร) ขั้นตอนการทํา ๑. เอาสมุนไพรและนํ้าเทลงหม้อแล้วต้มให้เดือดพักไว้ให้เย็นกรองแยกกากเอาแต่น้ าํ ๒. เท AD25 และผงมุกลงกะละมังแล้วคนให้กลายเป็ นเนื้ อครี มเดียวกัน วิธีคนให้คนไปในทาง เดียวกัน คนเบาๆ ๓. เริ่ มทยอยเทนํ้าสมุนไพรทีละน้อยๆเบาๆแล้วคนให้เข้ากันทําไปเรื่ อยจนนํ้าสมุนไพรหมด ๔. จากนั้นจึงเริ่ มเทเกลือ (ผงข้น)โดยการทยอยใส่ แล้วสังเกตความหนืดของตัวนํ้ายา ๕. ใส่ หวั นํ้าหอมแล้วกรองด้วยผ้าขาวบางอีกรอบ คุณสมบัติ บํารุ งเส้นผม ขจัดรังแค ทําให้ผมดกดําเงางาม ช่ วงบ่ ายวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๕ หลังจากจบการฝึ กอบรมฐานคนมีน้ าํ ยาและฐานคนรักษ์สุขภาพแล้วท่านพระครู ธรรมคุต เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ก็ได้ให้ความเมตตามาให้โอวาทและปิ ดการประชุม ซึ่ งก็ย้าํ ว่า ถ้าในช่ วงแรกพวกเรายังไม่ชาํ นาญก็นาํ ผลิตภัณฑ์ของเครื อข่ายนําไปใช้ก่อน แต่ถา้ เมื่อเรามีความ เชี่ ยวชาญทําเองได้ก็สามารถมาติดต่อรับวัตถุ ไปผลิตเองที่ชุมชน กองบุญกลางของเราก็ได้มีทุน เพิ่มขึ้นเพราะลดการขนส่ งและใช้วตั ถุ ดิบที่มีในชุ มชนประหยัดต้นทุน อีกทั้งยังให้ครัวเรื อนลด ค่าใช้จ่ายพึ่งตนเองได้และในด้านฐานรักษ์สุขภาพพวกเราก็สามารถดูแลกันเองไม่ตอ้ งไปซื้ อยาตาม ท้องตลาดมารักษาเอง และที่สําคัญภูมิปัญญาการรักษาสุ ขภาพแบบพื้นบ้านก็รีบไปศึกษาเพื่อสื บ ทอดกันก่อนที่จะหายไปจากชุมชนของเรา จากนั้นก็ปิดการอบรมในครั้งนี้ สรุ ปประเมินผล หลังจากเสร็ จการอบรมฐานการพึ่งตนเองในครั้งนี้ได้มีการจัดทําแบบประเมินผลความพึง พอใจของผูเ้ ขาร่ วมอบรม ผลสรุ ปคือ จากผูเ้ ข้าร่ วมทั้งหมด ๒๘ คนรู้สึกพึงพอใจเป็ นอย่างมากที่มี การจัดอบรมรมในลักษณะนี้ แบบนี้ เกิ ดขึ้นเพราะในชุ มชนไม่มีการจัดอบรมในลักษณะนี้ มาก่อน และ มีขอ้ เสนอแนะจากผูเ้ ข้าร่ วมอบรมคือ ๑. อยากให้มีล่ามแปลภาษาเป็ นภาษาท้องถิ่นด้วยเพราะผูเ้ ข้าร่ วมอบรมบางคนพูดภาษาไทยและฟัง ภาษาไทยไม่ออกไม่เข้าใจจึงอยากไห้มีล่ามด้วย ๒. อยากให้มีการจัดอบรมในลักษณะนี้บ่อยๆ
43
รายงานนามผู้ร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการแหล่ งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน ในกิจกรรมอบรมแกนนําเครื อข่ ายในฐานการพึง่ ตนเอง ฐานคนมีนํา้ ยา / คนรักษ์ สุขภาพ วันที่ ๓ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ ศาลาอเนกประสงค์ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้ร่วมการอบรม ๑. นางบาน เรื อนจักร์ ๒. นางสาวดาริ น วารี กาํ เนิด ๓. นางสาวรุ่ งนภา ชมโลก ๔. นายณัฐชานนท์ ไชยานะ ๕. นางดวงคํา ก้อนสุ รินทร์ ๖. นางสาวศิรินาถ โปธา ๗. เด็กหญิงจารุ วรรณ พุทธโส ๘. นางสาวนันธิ ณี สุ รินรัตน์ ๙. นางสาวธนภรณ์ กันทะเส็ ค ๑๐. นางมะลิ เกิดไพรสน ๑๑. นางปุ๊ โย เปอะโพ ๑๒. นางกันตยา มณี ไพรสณฑ์ ๑๓. นายสวิง จะหละ ๑๔. นายชาญกิจ คุม้ วงค์ ๑๕. นางคําน้อย ขวัญ ๑๖. นางสาวจิราศรี ศรี สุมะ ๑๗. นางสาวเสาวลักษณ์ จ๊ะโด ๑๘. นายนธัช โพเก ๑๙. นางพันธ์วริ า เกิดไพรสนฑ์ ๒๐. นางกาสี โพเก ๒๑. นางแหย่ลา ดาราเกิดการ ๒๒. นางสาวจันจิรา ไพรหอมรื่ น ๒๓. นางทียาพอ เกิดไพรสนฑ์ ๒๔. นางสาวภัทรกันย์สิรินี พุดวิเศษ ๒๕. นางยูคา ตนกุล
44
๒๖. นางสาธวี วะรายอ ๒๗. นายดวงจันทร์ ภูมิน ๒๘. นายอินสอน พุทธโส
45
เนือหา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขันก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน กิจกรรม ๓. อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึงตนเอง (ฐานคนพออยูพ่ อกิน ณ บ้านแม่เลย เขตที ๓) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพือสร้ างกระบวนการถ่ ายทอดความรู้ จากผูท้ ี เป็ นแบบอย่างแห่ งความสําเร็ จ ไปสู่ เครื อข่ายทัง ๕ กลุ่มเป้ าหมาย ๒) เพือให้ชุมชนเครื อข่ายสามารถพัฒนาองค์ความรู้ให้มีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน รายละเอียดของกิจกรรม การอบรมในฐานคนพออยูพ่ อกิน คือ มีพืชผัก ผลไม้ทีนํามาทํากินเป็ นอาหารประจําวันอย่างพอเพียง ณ บ้านแม่เลย เขตที ๓ โซนพืนทีสะเมิงเหนื อ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ในวันที ๑๒ – ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕ เป็ น กิจกรรมครังที ๒ จาก ๓ ครัง ทีต้องอบรมในลักษณะนี จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๒๘ คน ช่ วงบ่ ายวันที ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที ๑ ชีแจงกําหนดการ กิจกรรม และความเป็ นมาของโครงการ วิทยากรเริ มบรรยายโดยอธิบายทีมาของขบวนบุญและแนวคิดภาพกว้างๆ ของการขับเคลือนขบวนบุญ ให้สามารถพึงตนเองได้โดยเฉพาะพืนทีบ้านแม่เลยทีจัดอบรมในครังนี ทีครอบคลุมบ้านนาฟาน บ้านแม่ปะ ต. สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง ซึงเป็ นพืนทีทีมีป่า นํา ดินอุดมสมบูรณ์มาก ทําให้การเพาะปลูกอะไรก็ขึนง่าย เติบโต รวดเร็ ว พืชผลอุดมสมบูรณ์ แต่ทุกวันนีชาวชุมชนกลับซือผักข้างนอกมาก ซึ งไม่ทราบแหล่งทีมา ไม่แน่ใจว่ามี สารตกค้างในผักหรื อไม่ แต่เลือกเพราะมีราคาถูก เนืองจากเป็ นผักตลาด และปลูกในปริ มาณมาก โดยเร่ งผลผลิต โดยใช้ยาเร่ ง ยาฆ่าแมลง เมือออกผลผลิตก็ออกพร้อมกัน ราคาจึงตกตํา ราคาจึงถูก หาซือง่าย ชาวชุมชนจึงนิยม บริ โภค ส่งผลให้พนั ธุ์ผกั พืนบ้านเริ มสูญพันธุ์ เพราะไม่มีคนกิน ทังๆ ทีรุ่ นปู่ ย่าอายุยนื ยาวก็หากินผักพืชบ้าน เหล่านีมาตลอดไม่ตอ้ งใช้เงินซื อ ไม่ตอ้ งปลูก ดูแลรักษาง่าย เพราะจะขึนเองตามลักษณะพืนทีนันๆ ไม่ตอ้ งใส่ ปุ๋ย
46
ไม่ตอ้ งพ่นยากําจัดแมลง แมลงจะกําจัดกันเองตามธรรมชาติ กินผักพืนบ้านแล้วร่ างกายแข็งแรง ประหยัด ค่าใช้จ่าย แต่ปัจจุบนั ชาวชุมชน กลุ่มเยาวชนก็ไม่รู้จกั ผักพืนบ้าน ผักตามป่ า หัวไร่ ปลายนาแล้ว จึงเป็ นทีมาของ กิจกรรมช่วงบ่ายวันนีทีกลุ่มเยาวชนศิษย์วดั กลุ่มนักเรี ยนสะเมิง กลุ่มเยาวชนในหมู่บา้ นจะตามพ่อๆ แม่ๆ ไปเก็บ ผักพืนบ้านปลอดสารพิษกัน กิจกรรมที ๒ ตะลุยเก็บผักพืนบ้ าน เรียนรู้ เก็บกิน สานสัมพันธ์ ยายหลาน ตลอดช่วงบ่ายวิทยากรได้แบ่งทีมชาวชุมชนออกเป็ น ๔ กลุ่ม ตามบ้านทีอุปถัมภ์ทีพักกับคณะชาว ชุมชนจากเขตงานอืน ทีมนักเรี ยนสะเมิง ทีมศิษย์วดั ผาส้มและทีมวิทยากร รวมกับชาวชุมชนบ้านแม่เลยซึ งมีภูมิ ปั ญญาความรู ้เรื องผักพืนบ้าน ซึ งได้กระจายแยกกันให้มีคนหลายวัยในกลุ่มเดียวกัน แล้วให้นาํ ตะกร้าและ กระสอบลุยสวน บุกป่ า เดินตามลําธารเก็บผักทีคนไม่ค่อยทานกันหรื อหาซือไม่ได้ตามตลาด เช่น ผักกูด ปลีกา้ ยอดมะกอก ผักหนาม ผักไพ่นาํ ยอดลินฟ้ า ผักปิ งขาว ผักเผ็ด ผักป้ อมกุลา ฟักข้าว เป็ นต้น หลังจากนันจึงนํากลับไปทําอาหารเย็นพร้อมหน้าพร้อมตา ทังยาย ย่า ป้ า ลุงพาลูกๆ เข้าครัวทําอาหาร พืนบ้าน เช่น นําพริ กปลาทู นําพริ กนําปู แกล้มผักสด แกงแค แกงอ่อม ห่อนึง ลาบหมูแกล้มผักสด ผัดผักกูด ฯลฯ แล้วจึงมารวมตัวกันเพือฟังการบรรยายในช่วงคํา ช่ วงคําวันที ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที ๓ เตรียมความพร้ อมพึงพาตนเองด้ านอาหารอย่ างมันคง หลังจากรับประทานอาหารคํากันทุกบ้าน ชาวชุมชนและลูกๆ หลานทีมาขอพักอาศัยก็พาพ่อๆ แม่ มาร่ วมประชุม ณ ศาลากลุ่มผลิตภัณฑ์เมียง วิทยากรเริ มกิจกรรมโดยการแบ่งกลุ่มให้ระดมสมองว่าผักพืนบ้าน ตามป่ าตามเขาตามสวนมีประวัติความเป็ นมาอย่างไร มีประโยชน์ทางอาหาร ทางยาอย่างไรตามองค์ความรู ้ภูมิ ปั ญญาของปู่ ของย่าของพ่อๆ แม่ๆ ทีไปขอพักอาศัยอยูด่ ว้ ย แล้วจึงออกมานําเสนอ พร้อมแลกเปลียนความรู้กนั ระหว่างกลุ่มชาวชุมชนด้วยกันเอง เกิดความตระหนักในคุณค่าของผักทีมีอยูแ่ ล้วในบ้าน ในสวน ซึงสวนใหญ่ ผักตามบ้านนีมีคุณค่าทางอาหารและเป็ นยาด้วยหรื อกินอาหารเป็ นยาก็วา่ ได้ เมือสรุ ปแต่ละกลุ่มได้องค์ความรู ้ เรื องประโยชน์ของผักพืนบ้านแต่ละชนิด ดังนี มะเขือพวง คนเมืองเรี ยกว่า มะแคว้ง เป็ นผักพืนบ้าน ทีอยูต่ ามสวนตามบ้าน แต่คนก็อย่างไปซื อใน เมือง ทังๆทีตามใกล้ๆบ้านก็มี ไม่มีใครคิดทีจะนํามาขายเป็ นอาพืช มะเขือพวง จะมีรสขม มีภมู ิปัญญา ชาวบ้านทีบอกกันมาว่า เอารากมะเขือพวงกันทับกับกิงมะเขือม่วง แล้วนําไปปักชํา เพราะกิงมะเขือม่วงจะ
47
อ่อนถ้าชํามันจะไม่แข็งแรงเลยเอารากมะเขือพวงมาทับติดกันเพือให้กิงมะเขือพวงมีความแข็งแรง สรรพคุณ เป็ นยาแก้ไอ บํารุ งเลือด ตัวอย่างอาหาร นําพริ กกะปิ แกงโฮะ ต้มจิมนําพริ ก ส่วนทีนํามาประกอบอาหาร ผล มะระขีนก ลักษณะ เป็ นไม้เลือย ผลมีผวิ ขรุ ขระสี เขียว ถ้าสุ กจะมีสีแดง มะระขีนกจะมี 2 ชนิด จะ สังเกตได้จาก ใบ ใบจะแตกต่างกัน คือ ใบเล็ก และใบใหญ่ สรรพคุณ แก้อาหารเป็ นพิษ เป็ นยาแก้ไอ นํามา ต้มแล้วอาบ จะมีรสขม หวานเป็ นลมขมเป็ นยา ส่ วนทีนํามาประอาหารผลและยอด ตัวอย่างอาหาร ยอดมะระ ขีนกนําไปนึงจิมนําพริ ก ผักกูด เราจะหาได้ตามริ มแม่นาํ และมีดินทีอุดมสมบูรณ์ ถ้าราผักกูดอยูท่ ีไดก็จะมีทากอยูด่ ว้ ย ถ้าเรา ํ ดินความอุดมสมบูรณ์ ก็จะบ่งบอกถึงปั จจัย พบเห็นทาก ผักกูดตามทีไดเราก็น่าภูมิใจไว้วา่ พืนทีนันมีนามี หลายๆอย่าง เช่นพืนทีแห้งแล้งก็จะไม่มีผกั กูดขึน เราต้องหาตามห้วย ดอย ทุ่งนาถึงจะกินได้ จะหาซือตาม ตลาดไม่มี ปั จจุบนั นีผักกูดจะไม่สมบูรณ์เหมือนเมือก่อน ยอดผักกูดจะเล็ก ไม่อวบใหญ่เหมือนก่อน และใน วันนีได้นาํ ผักกูดมาผัดเป็ นอาหารเมือเย็นด้วยสรรพคุณ แก้มะเร็ ง ตัวอย่างอาหาร แกง ผัด จิมนําพริ ก ส่ วนที นํามาประกอบอาหาร ยอด ใบอ่อน ใบบัวบก คนเมืองเกียกว่าผักหนอก เป็ นผักพืนบ้านชนิดหนึงทีหาได้ตามทุ่งนา สรรพคุณ สามารถนํา ํ ตัวอย่างอาหาร มาปั นเป็ นนํา แก้ชาใน ํ นํามาทําเป็ นนําคลอโลฟิ วได้อย่างดี จะมีกลินหอมสรรพคุณ แก้ชาใน กับนําพริ ก ส่วนทีนํามาประกอบอาหาร ใบ ทังต้น ใบเมียง เป็ นพืชเศรษฐกิจของบ้านแม่เลย คนต่างถินต่างบ้านจะมาหาซือเมียงทีบ้านแม่เลย เพราะเป็ นที ทีมีเมียงมากทีสุ ด เมืองยังเป็ นของทีคนต้องการเยอะ แต่ปัจจุบนั คนปลูกเมียงลดน้อยลง เพราะการทําเมียงต้องมี กระบวนการทําทียุง่ ยาก และหลายขันตอน เลยทําให้ชาวบ้านเลือกทีจะขายทีให้คนอืนแทน และเลือกทีจะปลูก พืชอืนแทน ทําให้ชาวบ้านเห็นค่าของเมียงลดน้อยลง และปัจจุบนั คนรุ่ นหลังคิดว่าคนกินเมียง เชย บ้านนอก กินเมียงเหมือนคนแก่เฒ่าแต่ เมียงถ้ากินเยอะจะทําฟันเหลืองเลยทําให้คนไม่ค่อยกิกนั แต่บางคนไม่รู้ดว้ ยซําว่า เมียงคืออะไร ทีสังเกตทางบ้านแม่เลยเห็นป่ าไม้ทีอุดมสมบูรณ์มาก แต่พอเข้าไปในสวนเห็นดอยเป็ นหัวล้น เป็ นทีของชาวม้งทีปลูกพืชเชิงเดียว ผักอายุสนั เรากินเราก็อายุสนั ผักปัญญาอ่อนให้เรากินบ้านแม่เลยเป็ นเป็ น หมู่บา้ นทีมีป่าสมบูรณ์ แต่ตอนนีมีชาวเผ่าม้งเข้ามาปลูกพืชเชิงเดียวมากขึน ป่ าก็จะลดน้อยลง ไม่อยากเห็นภาพ ดอยหัวล้นเลย ปลีก้า เป็ นพืชผักทีไม่เลยเห็นมาก่อน เห็นครังแรกทีแม่เลย ไม่รู้วา่ เขากินอย่างไง ชาวบ้านบอกว่าส่ วนที นํามากินคือดอกขาว นํามาจิมนําพริ กสรรพคุณ แก้หวัด ไข้ ผักหนาม เป็ นพืชผักเดียวกับผักกูด ทีได้ไปหาผักกูดก็จะมีผกั หนามอยูค่ ่างๆจะอยูใ่ นนํา แล้วก็จะมีทาก เลยไม่มีใครกล้าลงไปเก็บผัก สรรพคุณ แก้โรคคอพอก ตัวอย่างอาหาร ลวก ต้มส้ม ส่ วนทีนํามาประกอบ อาหาร ยอด ก้านอ่อน
48
ยอดมะกอก มีรสขม เปลือกมะกอกนํามาย้อมสี ผา้ ได้ ตัวอย่างอาหาร จิมนําพริ ก ยํา สรรพคุณ บํารุ งเลือก นํานาอาบนําก็ได้ ผักไพ่นํา จะขึนตามริ มนํา สรรพคุณ เป็ นยากลาดเกลือน ยอดลินฟ้ า คนเมืองรี ยกว่า มะลินไม้ สรรพคุณ แก้ปวดเหมือยตามร่ างกาย ตัวอย่างอาหาร จิมนําพริ ก ส่วนที นํามากิน ยอด ผล ผักเผ็ด สรรพคุณแก้พิษ ขับสารพิษออกจากร่ างกาย ผักปิ งขาว สรรพคุณบํารุ งเลือด ส่ วนทีนํามาประกอบอาหาร ยอด ใบอ่อน ตัวอย่างอาหาร นึงจิมนําพริ ก ผักชีฝรัง เป็ นพืชทีช่วยดับกลินคาวตัวอย่างอาหาร ส่ายุง้ ยํา ส่วนทีนํามาประกอบอาหาร ใบอ่อน ผักบุ้ง สรรพคุณ บํารุ งสายตา ส่ วนทีนํามาประกอบอาหาร ยอด ใบ ตัวอย่างอาหาร ผักบุง้ ไฟแดง ฟักข้ าว ลักษณะ เป็ นเถาไม้เลือยลําต้นมีสีเขียว ใบรู ปคล้ายตําลึง ผลค่อนข้างกลม ผิวนอกมีหนามขนาดเล็ก ผลดิบภายในมีสีเหลือง เมือสุ กจะเปลียนเป็ นสี แดงหรื อสี สม้ เมล็ดเป็ นรู ปไข่มีจาํ นวนมาก ประโยชน์ทาง อาหาร ในยอดฟักข้าวแคลเซี ยม และเบต้า- แคโรทีนสูง นิยมนําใบผลอ่อนลวกให้สุก จิมนําพริ ก หรื อแกง เลียง แกงส้ม แกงแคก็ได้ สรรพคุณ แก้ไข้ แก้พิษ ร้อนภายใน ถอนพิษ การขยายพันธุ์ ขยายพันธุ์โดยใช้ เมล็ดหรื อ ตอนกิง การปั กชํา โดยนําเถาแก่ๆ ราคาตลาด ยอดฟักข้าวกิโลกรัมละ 40 บาท ผลฟักราคาผลละ 510 บาท ผักป้อมกุลา คนเรี ยกเมืองว่าผักจี ตัวอย่างอาหาร กับลาบ แกงอ่อม ส่ วนทีนํามาประกอบอาหาร ทังต้น ตะไคร้ คนเมืองเรี ยกว่า จะไคร้ สรรพคุณ แก้เจ็บคอ ปวดท้อง ตัวอย่างอาหาร ใส่ได้ทุกอย่าง ส่ วนทีนํามา ประกอบอาหาร ทังต้น ผักชีฝรัง เป็ นพืชทีช่วยดับกลินคาวตัวอย่างอาหาร ส่ ายุง้ ยํา ส่วนทีนํามาประกอบอาหาร ใบอ่อน ก่อนจะแยกย้ายกันกลับไปพักผ่อนนอนหลับ วิทยากรก็ได้นาํ ผูเ้ ข้าอบรมทําวัตรสวดมนต์ และนังสมาธิ ให้ผอ่ นคลายหลังจากทีเหน็ดเหนือยจากการบุกป่ าฝ่ าดงไปหาผัก ทําอาหาร ระดมสมอง นําเสนองานและฟัง บรรยายตลอดวัน ชาวชุมชนและเยาวชนมีความสุขจากความสงบ หลังจากนังสมาธิสนๆ ั ก็ทาํ ให้หลายคนหลับ สบายพร้อมตืนมาทํากิจกรรมใหม่ในวันรุ่ งขึน วิทยากรจึงให้แต่ละกลุ่มจัดเตรี ยมใบชาเมียงมาคัวประกวดการทํา ชาร้อนใบเมียงว่ากลุ่มใดทําอร่ อยมากทีสุ ด และทําอาหารทีมีส่วนประกอบของชาเมียงประกวดด้วย คืนนันพ่อๆ แม่ๆ และบรรดาลูกๆอุปถัมภ์กเ็ ดินทางกลับบ้านด้วยบทสนทนาออกรสออกชาติเกียวกับเมนูชาใบเมียงตลอด เส้นทาง
49
ช่ วงเช้ าวันที ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที ๔ ประกวดชาและอาหารจากชาใบเมียง พืชพืนบ้ านทีรอเวลาฟื นตัว วันรุ่ งขึนลูกๆ บางกลุ่มก็ปลุกพ่อแม่แต่เช้า แต่ส่วนมากพ่อแม่จะเป็ นฝ่ ายปลุกลูกๆ มาเด็ดยอดชาแต่เช้า เพือมาคัวชงชาและมาประกอบอาหารหลังจากคิดเตรี ยมการตังแต่เมือคืน หลายกลุ่มเริ มคัวใบชาอ่อนแก่แล้วแต่ สูตรใครเคล็ดลับใคร แล้วจึงนําไปผ่านนําร้อนได้ทีจึงได้ชาร้อนๆ หอมกลินเมียงอ่อนๆ ส่วนรสชาติกข็ ึนกับทัง อุณหภูมิของการคัว ความอ่อนแก่ของใบเมียง และอุณหภูมิระยะเวลาในการนําใบชาแห้งผ่านนําร้อน ต่อมาแต่ละครอบครัวก็ทาํ อาหารมือเช้าจากใบเมียงทีเก็บสดๆ อาหารจากเมียงทําได้ง่ายหลากหลายเช่น ผักผัดยอดเมียง ผัดยอดเมียงนํามันหอย ยําเมียงใส่ตะไคร้ เมียงลวกจิมนําพริ ก ฯลฯ นอกจากนีผักสดทีเก็บเมือวานก็นาํ มาทําอาหารหลากหลายเช่น แกงคัวชะอมใส่ เห็ดลม นําพริ กปลาทู นําพริ กกะปิ แกล้มผักกูดผักผักเผ็ด ยอดมะกอก ใบบัวบก ยอดผักบุง้ นา ภูคาว มะเขือพวง มะระขีนก หรื อผักกูด นํามันหอย แกงคัวผักกูดปลาย่าง เป็ นต้น พอทานข้าวเสร็ จแล้วทุกกลุ่มก็นาํ ทังนําชาและอาหารเมนูเมียงให้ กรรมการได้ลองทาน จนได้ผชู้ นะแต่เหนืออืนใดคือการเห็นคุณค่าของผักพืนบ้านทีสามารถนํามาทาน นํามาทํา เป็ นเครื องดืม นํามาใช้เป็ นยารักษาโรค พ่อแม่ๆ ก็รู้สึกดีทีได้ถ่ายทอดความรู้ให้ลูกฟัง เด็กก็จดบันทึกกันอย่าง สนุกสนานแล้วจะนําไปใช้กบั ผักพืนบ้านทีมองข้ามคุณค่าไป เป็ นสิ งทีวิทยากรกล่าวสรุ ปกิจกรรมช่วงเช้าถึง คุณค่าเล็กๆ จากสิ งทีมีอยูแ่ ล้ว เหนือสิ งอืนใดเมือเด็กเยาวชนเห็นช่องทางพึงตนเอง เกิดสํานึกรักทรัพยากรใน บ้านของตน เขาจะกลับมาสร้างสรรค์สิงดีๆ แก่บา้ นเขาเอง ความสัมพันธ์ระหว่างรุ่ นลูกหลานทีเกิดขึนระหว่าง การเดินป่ าเก็บผักเมือวาน การทําอาหารและคัวใบชาตอนเช้าก็จะกลับมา ช่ วงสายวันที ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที ๕ ตะลุยเก็บผักพืนบ้ าน ฟื นฟูคุณค่ าภาค ๒ ช่วงสายวิทยากรแบ่งกลุ่มผูอ้ บรมไปตะลุยเก็บผักในป่ าซึ งคนละทีกับเมือวาน เป็ นกิจกรรมทีตอกยําถึง ความสําคัญของผักป่ า ผักพืนบ้านท้องถิน ทีหาง่ายมีประโยชน์และเป็ นกิจกรรมทีผูเ้ ข้าร่ วมอบรมรู้สึกสนุกสนาน มากทังให้ความรู้จากประสบการณ์จริ ง เมือแยกย้ายแต่ละกลุ่มไปเก็บผักซึ งส่วนใหญ่จะไปหาตามร่ องนําและลํา ธารทีมีผกั กูดมาก แล้วจึงนํากลับมาทําอาหารเทียงรับประทานอาหารร่ วมกันอีกครัง หลังจากนันวิทยากรเชิญ ตัวแทนจากกลุ่มผูผ้ ลิตและแปรรู ปใบเมียงบ้านแม่เลยเล่าถึงประวัติ เรื องเล่าของใบเมียงบ้านแม่เลย ใบชาเมียงซึ งเป็ นพืชทีขึนชือของแม่เลยตังแต่อดีต ทีชาวชุมชนต่างวัวต่างม้าขึนกันไปเก็บมาขายใน เมืองเชียงใหม่ เพราะบ้านแม่เลยมีตน้ เมียงมากเพราะความอุดมสมบูรณ์และหนาวเย็นของผืนป่ าแถบสะเมิง
50
เนือหา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขันก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน กิจกรรม ๓. อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึงตนเอง (ฐานคนพออยูพ่ อกิน ณ บ้านแม่เลย เขตที ๓) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพือสร้ างกระบวนการถ่ ายทอดความรู้ จากผูท้ ี เป็ นแบบอย่างแห่ งความสําเร็ จ ไปสู่ เครื อข่ายทัง ๕ กลุ่มเป้ าหมาย ๒) เพือให้ชุมชนเครื อข่ายสามารถพัฒนาองค์ความรู้ให้มีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน รายละเอียดของกิจกรรม การอบรมในฐานคนพออยูพ่ อกิน คือ มีพืชผัก ผลไม้ทีนํามาทํากินเป็ นอาหารประจําวันอย่างพอเพียง ณ บ้านแม่เลย เขตที ๓ โซนพืนทีสะเมิงเหนื อ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ในวันที ๑๒ – ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕ เป็ น กิจกรรมครังที ๒ จาก ๓ ครัง ทีต้องอบรมในลักษณะนี จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๒๘ คน ช่ วงบ่ ายวันที ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที ๑ ชีแจงกําหนดการ กิจกรรม และความเป็ นมาของโครงการ วิทยากรเริ มบรรยายโดยอธิบายทีมาของขบวนบุญและแนวคิดภาพกว้างๆ ของการขับเคลือนขบวนบุญ ให้สามารถพึงตนเองได้โดยเฉพาะพืนทีบ้านแม่เลยทีจัดอบรมในครังนี ทีครอบคลุมบ้านนาฟาน บ้านแม่ปะ ต. สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง ซึงเป็ นพืนทีทีมีป่า นํา ดินอุดมสมบูรณ์มาก ทําให้การเพาะปลูกอะไรก็ขึนง่าย เติบโต รวดเร็ ว พืชผลอุดมสมบูรณ์ แต่ทุกวันนีชาวชุมชนกลับซือผักข้างนอกมาก ซึ งไม่ทราบแหล่งทีมา ไม่แน่ใจว่ามี สารตกค้างในผักหรื อไม่ แต่เลือกเพราะมีราคาถูก เนืองจากเป็ นผักตลาด และปลูกในปริ มาณมาก โดยเร่ งผลผลิต โดยใช้ยาเร่ ง ยาฆ่าแมลง เมือออกผลผลิตก็ออกพร้อมกัน ราคาจึงตกตํา ราคาจึงถูก หาซือง่าย ชาวชุมชนจึงนิยม บริ โภค ส่งผลให้พนั ธุ์ผกั พืนบ้านเริ มสูญพันธุ์ เพราะไม่มีคนกิน ทังๆ ทีรุ่ นปู่ ย่าอายุยนื ยาวก็หากินผักพืชบ้าน เหล่านีมาตลอดไม่ตอ้ งใช้เงินซื อ ไม่ตอ้ งปลูก ดูแลรักษาง่าย เพราะจะขึนเองตามลักษณะพืนทีนันๆ ไม่ตอ้ งใส่ ปุ๋ย
51
เหนือ ชาวบ้านสมัยก่อนก็นิยมนําเมียงมาเคียวช่วยฟันสะอาด ไม่ผงุ ่าย และกระตุน้ ระบบประสาทให้ตืนตัว ตลอดเวลา เพราะใบชาเมียงมีสารคาเฟอีน สรรพคุณคล้ายใบชา นอกจากนีใบเมียงยังสามารถนําไปทําหมอนใบชา ทีนอนใบชาเมียงเป็ นผลิตภัณฑ์ชุมชนขึนชือของบ้าน แม่เลยกลินหอมสดชืนของใบชาเมียงอบแห้งรักษาอาการหวัด ทําให้หายใจโล่ง ช่วยทําให้ร่างกายผ่อนคลาย คลายเครี ยด และเมือนํามาหนุนนอนจะช่วยให้ระบบไหลเวียนโลหิ ตดีขึน และสามารถระงับกลินเหงือของ ร่ างกายและกลินอับชืนในทีต่างๆ ได้เป็ นอย่างดี นอกจากนันกลินของใบชายังช่วยป้ องกันแมลง จึงสามารถนํา ถุงใบชาไปวางไว้ตามตูเ้ สื อผ้าป้ องกันกลินอับและแมลงต่างๆ ช่วงบ่ายถึงเทียงจึงเป็ นการเริ มกิจกรรมเพือให้ผเู ้ ข้าร่ วมอบรมเรี ยนรู ้จากของจริ ง สถานทีจริ ง จากผูผ้ ลิต จริ งก่อนเพือให้เห็นสภาพความเป็ นอยู่ สภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคมโดยรวมก่อนทีภาคบ่ายจะนําสู่วงเสวนาใน การดําเนินงานโครงการขบวนบุญ ช่ วงบ่ ายวันที ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที ๖ วงเสวนาแลกเปลียน “ก้าวต่ อไปขบวนบุญ” หลังจากทีทุกกลุ่มนําเสนอเรื องผักพืนบ้านและเรี ยนรู ้คุณค่าใบเมียงบ้านแม่เลยผ่านประวัติศาสตร์ความ เป็ นมาทีผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ได้เล่าให้ฟัง วิทยากรให้ทางกลุ่มผูผ้ ลิตและแปรรู ปชาใบเมียงบ้านแม่เลยจึงเล่าความเป็ นมา ของการรวมกลุ่มและการแปรรู ปใบเมียงเป็ นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ งมีตลาดรับซือมาก แต่กระบวนการผลิตของกลุ่ม ยังไม่เป็ นระบบเท่าทีควรทังยังขาดแรงงาน การแลกเปลียนนีเป็ นตัวจุดประกายให้ชาวชุมชนทังในและต่าง ชุมชน ทังเด็กและเยาวชนเห็นคุณค่าของสิ งทีดูแล้วอาจไม่มีค่า ด้วยการสร้างมูลค่าเพือเป็ นช่องทางหนึงในการ หารายได้ เปลียนจากผูบ้ ริ โภคร้อยเปอร์ เซ็นต์มาเป็ นผูผ้ ลิตจากสิ งทีมีอยูแ่ ล้ว กินอยูแ่ ล้ว นอกจากนีในวงพูดคุยยังมีการพูดถึงผักพืนบ้านทีมีจาํ นวนมากในบ้านแม่เลย มีชาวชุมชนบางส่ วนก็เก็บ นําไปขายสร้างรายได้ต่อสัปดาห์หลักร้อยจนถึงหลักพัน วิทยากรจึงแนะนําให้ชาวชุมชนรวมกลุ่มผูผ้ ลิตผัก พืนบ้านเพือการบริ โภค หากเหลือจํานวนมากให้นาํ ไปส่ งขายซึ งในกลุ่มเครื อข่ายขบวนบุญยังต้องการผัก พืนบ้านปลอดสารพิษอีกมาก เช่น หอพักนักเรี ยนโรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคม ตลาดสดเทศบาลสะเมิงใต้ และตาม ร้านอาหารทีต้องใช้ผกั พืนบ้านอีกหลายร้าน เป็ นต้น วงเสวนานีจึงเป็ นกิจกรรมปิ ดท้ายการอบรมทีวิทยากรยําถึงแนวการพึงพาตนเองด้วยการผลิตเองบ้าง หรื อสนับสนุนสิ นค้าจากเพือนในเครื อข่ายขบวนบุญ คือ นํายาเอนกประสงค์ แชมพู สบู่เหลวในเขตที ๑ บ้านอม ลอง-วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพในเขตที ๕ บ้านป่ าคานอก-บ้านห้วยหญ้าไทร ซึ งชาว ชุมชนเลียงวัวและหมูจาํ นวนมากจึงมีมลู สัตว์ไว้ทาํ ปุ๋ ยทุกๆ วัน ซึ งตัวอย่างเหล่านีทําให้ผเู ้ ข้าร่ วมอบรมเริ มเห็น
52
เส้นทางขบวนบุญด้วยวิธีเพือนช่วยเพือน พีสอนน้องเพราะเมือเริ มใช้ผลิตภัณฑ์บุญสักพัก หากต้องการผลิตเอง เพือนในเครื อข่ายก็ยนิ ดีสอนวิธีการผลิตให้เพือนให้แขนงขบวนบุญนีขยายแตกแขนงออกไปเรื อยๆ โดยไม่ตอ้ ง กังวลว่าจะไม่มีผซู ้ ือ เพราะ ราคาขาย คือ ราคาต้นทุนซึงรวมค่าแรงแล้ว ผูซ้ ื อจะเลือกซือผลิตภัณฑ์ทีมีคุณภาพ ใกล้เคียงกับสิ นค้าตลาดแต่ราคาตํากว่ามาก เมือเขากลายเป็ นลูกค้าประจําของเราแล้วจึงประชาสัมพันธ์ “กองทุน บุญ” ทีนํากําไรทีได้มาไว้เป็ นสาธารณะประโยชน์ของชุมชนนันๆ เมือเขาเข้าใจ เขาเห็นคุณทีเราช่วยเขาประหยัด ค่าใช้จ่าย เขาจะสนับสนุนด้วยการซือไม่แต่เฉพาะราคาต้นทุนแต่ให้เงินกําไรอุดหนุนเข้ากองทุนบุญของเรา นี คือ วิธีการของขบวนบุญดังกล่าวนีไม่ยากทีจะเข้าใจ แต่นอ้ ยคนจะเชือว่าบุญมีฤทธิจริ ง วิทยากรจึงเน้นยําถึง กําลังใจระหว่างกลุ่ม ระหว่างเครื อข่ายสําคัญมาก ซึ งมีตวั อย่างในเขตงานอืนทีประสบความสําเร็ จเมือทําตาม วิธีการนีด้วยความมุมานะพากเพียร สรุปประเมินผล กิจกรรมอบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานพออยูพ่ อกินในครังนี ซึ งจัดในเขตที ๓ บ้านแม่เลย บ้านนาฟาน บ้านใหม่ตน้ ผึง โดยมีบา้ นแม่เลยเป็ นแกนหลัก ทําให้ผรู ้ ่ วมงานในเขตนี จึงมีสมาชิกมาร่ วมจากบ้านแม่เลยเป็ น ส่ วนใหญ่ รองมาเป็ นกลุ่มเยาวชนจากเขตที ๒ บ้านวัดจันทร์ อ.กัลยาณิ วฒั นา เขตที ๔ นักเรี ยนโรงเรี ยนสะเมิง พิทยาคม และเด็กนักเรี ยนโฮมสคูลจากเขตที ๑ บ้านอมลอง-วัดพระบรมธาตุดอยผาส้มซึ งเป็ นครั งแรกๆ ที ผูเ้ ข้าร่ วมอบรมมาจากหลายเขตงานโดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนคนรุ่ นใหม่ ผลสรุ ปมีรายละเอียด ดังนี ๑. ชาวชุมชนและกลุ่มเยาวชนตระหนักมากขึนถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติทีมีอยูแ่ ล้วในท้องถิน คือ ผักพืนบ้าน รวมทังตระหนักถึงคุณค่าของป่ าไม้ ต้นนํา แม่พระธรณี อนั อุดมสมบูรณ์ทีช่วยเกือหนุนให้มี อาหาร มียารักษาโรค มีทีอยูอ่ าศัย มีความร่ มเย็นของพืนทีเขตสะเมิงเหนื อทีกําลังถูกบุกรุ กพืนทีทําไร่ เชิงเดียว และมีการโอนย้ายเปลียนมือสู่นายทุนทีดิน ๒. ชาวชุมชนดีใจทีกลุ่มเยาวชนจากต่างชุมชนให้ความสนใจผักพืนบ้านทีคนเดียวนี ไม่กินกันแล้ว เพราะ ไม่รู้จกั นอกจากนันกลุ่ มเยาวชนยังช่ วยรวบรวมสรรพคุณ ชื อเรี ยกภาษาไทยกลางและภาษาเหนื อ แหล่งกําเนิ ด ประวัติของพืชผักนันๆ ซึ งจะสู ญหายไปในไม่ชา้ หากไม่มีผรู ้ วบรวมองค์ความรู ้เรื องผัก พืนบ้าน ๓. กลุ่มเยาวชนได้รับประสบการณ์ใหม่ และมีความริ เริ มสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ขบวนบุญเป็ นของตนเอง โดยการมองเห็นสิ งทีดูไร้ค่าจากชุมชนของตนเอง แปลงมาเป็ นสิ งทีมีมูลค่า โดยมีบุญเป็ นเป้ าหมายหลัก ไม่ได้ใช้เงินเป็ นตัวตัง ๔. ชาวชุมชนมีความเข้าใจในภาพรวมและในรายละเอียดของโครงการขบวนบุญมากขึน โดยเฉพาะการ ขายสิ นค้าในราคาต้นทุนซึงไม่เคยมีมาก่อน
53
รายนามผู้เข้ าร่ วมประชุ มเชิงปฏิบัติการ โครงการแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขันก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน วันที ๑๒ – ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ บ้ านแม่ เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุม ๑ นาย ศักดิสิ ทธิ สุ ขโน ๒ นายธุวชิต ริ พรม ๓ นางสาว รุ่ งนภา ชมโลก ๔ นางสาว วัทนวิภา แสนกล ๕ เด็กหญิง สุทธิ กานต์ ยะมะโน ๖ นางสาว ธวัลรัตน์ ทองเหลือม ๗ เด็กหญิง อรัญญา ติยานิล ๘ นางสาว ปัญญานุช บิดาหก ๙ นางสาว แพรพลอย โปธา ๑๐ นางสาว ศิรินาถ โปธา ๑๑ นางสาว นัทธิ ณี สุรินรัตน์ ๑๒ เด็กหญิง นวรัตน์ ภาระษี ๑๓ นางสาว จันทร์ฉาย เขตเนาว์อนุรักษ์ ๑๔ นางสาว วัชริ นทร์ สิ รินวรกุล ๑๕ นางสาว เสาวลักษณ์ จ๊ะโด ๑๖ นางสาว ดาริ น วารี กาํ เนิด ๑๗ นาง ภัคจิรา กรมดิฐพร ๑๘ นางสาว จิรินดา แขนหาญชัย ๑๙ นางสาว จันจิรา ไพรหอมรื น ๒๐ นางสาว ธนภรณ์ กันทะเส็ค ๒๑ นาย รัฐพล กิงดอยหลวง ๒๒ นาย สุ รัตน์ คุณนิริกรกุล ๒๓ นางสาว สุ รภี วิสุทธิวรรณ
๑๗/๑หมู่ ๓ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๕ หมู่ ๓ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๓หมู่๔ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗๑/๑ หมู่๕ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๒ หมู่ ๗ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๙/๑ หมู่ ๗ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๙ หมู่ ๑ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙๐ หมู่ ๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๙/๑ หมู่ ๑ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๓ หมู่ ๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙๑ หมู่ ๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๑๗ หมู่ ๒ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๐๒หมู่๓ ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยานิวฒั นา จ.เชียงใหม่ ๑๗ หมู่ ๓ ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยานิวฒั นา จ.เชียงใหม่ ๒๙/๑ หมู่ ๒ ต.แม่วิน อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ๒๙/๔ หมู่ ๒ ต.แม่วิน อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ๒๒๙/๖ ถ.มหิ ดล ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๓๑๐/๒ ซ.สันติสุข ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริน จ.เชียงใหม่ ๘๖ หมู่ ๖ ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยานิวฒั นา จ.เชียงใหม่ ๒๐ หมู่ ๑ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๑/๑ หมู่ ๒ ต.แม่วิน อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ๖ หมู่ ๖ ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยานิวฒั นา จ.เชียงใหม่ ๙๙ หมู่ ๗ ถ.เลียบคลองชลประทาน ต.บ้านเป้ า อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
54
๒๔ นาย ดิษยากร ทองเหลือม ๒๕ เด็กชาย ดนุนนั ท์ มูลตะโล ๒๖ นาย อภิสิทธิ ยะมะโน ๒๗ เด็กชายเกียรติพงษ์ ปันก้อน ๒๘ เด็กชาย ศุภชัย สาธุเม
๕๖หมู่ ๑ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๕ หมู่ ๙ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๑/๑ หมู่ ๑ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗ หมู่ ๗ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ หมู่ ๑ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม ๑. พระอธิการสรยุทธ ชยป ฺ โญ ๒. นายวีรยุทธ์ สุ วรรณทิพย์
ประธานคณะทํางาน วิทยากร
55
ภาพกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารในฐานคนพออยู่พอกิน (เรืองเรียนรู้คุณค่ าพืชผักพืนบ้ าน หาง่ าย ปลอดสาร อายุยนื ยาว) ระหว่ างวันที ๑๒ – ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ บ้ านแม่ เลย ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ. เชียงใหม่
วิทยากรไม่ตอ้ งบรรยายมากปล่อยเข้าป่ าแต่เช้าเลย
นังรถสักพักก็ถึงเวลาลงเดิน เป้ ย่ามกระสอบพร้อม
คู่แม่ลูกอุปถัมภ์คู่นีไม่เคยห่างกันเพราะเรี ยนรู้กนั ตลอด
ลุยป่ า ลุยคันนา พวกเรามีความสุ ขห้องเรี ยนโลกกว้างใบนี
อาหารเทียงนีค่ะ
ผักพืนบ้านใบเขียวเต็มถุง วันนีไม่ตอ้ งกลัวอดค่า
56
เด็กๆและเยาวชนกําลังขะมักเขม้นเร่ งคันความรู ้จากผักพืนบ้านทีได้ไปเก็บมาเอง
ลูกไม่ตอ้ งห่วง แม่อยูช่ ่วยลูกอยูข่ า้ งๆ บรรยากาศแบบนีหาได้ยากแล้ว
ถึงคราวนําเสนอแล้ว ผักพืนบ้านบ้านแม่เลยมีมากมาย สรรพคุณชันหนึง ทําอาหารอร่ อยได้หลากหลาย
วิทยากรและพระครู ธรรมคุตกล่าวสรุ ปปิ ดท้าย และนําคณะสวดมนต์นงสมาธิ ั ผอ่ นคลายใจ
57
สา
เอ๊ะ! นีผักอะไร ผักกูดนันเอง ขึนตรงสันดอนทรายใกล้นาํ
หาผักๆ ผักอะไร.. ไม่รู้สิ เดียวไปถามแม่ๆกัน
เห็ด ชะอม หน่อ ผักบุง้ ยอดมะกอก พริ กขีหนูสวน มะเขือพวง เราหาเอง!
58
หาผักตามลําธารมากมายอุดมสมบูรณ์เก็บกินไม่ทนั เก็บขายได้
เนือหา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการแหล่ งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงขันก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน กิจกรรม ๓. อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานการพึงตนเอง หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพือสร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้จากผูท้ ีเป็ นแบบอย่างแห่งความสําเร็ จ ไปสู่เครื อข่ายทัง ๕ กลุ่มเป้ าหมาย ๒) เพือให้ชุมชนเครื อข่ายสามารถพัฒนาองค์ความรู้ให้มีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน รายละเอียดของกิจกรรม การอบรมในฐานคนรั กษ์แม่พระธรณี (ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ี วภาพ/จุลินทรี ยห์ น่ อกล้วย/นําหมักผลไม้/นํา หมักปัสสาวะ/จุลินทรี ยด์ ินระเบิด (EM BALL)) ณ บ้านสนามกีฬา โซนพืนทีกระเหรี ยงบ่อแก้ว อ.สะเมิง จ. เชียงใหม่ ในวันที ๑๔ – ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เป็ นกิจกรรมครังที ๓ จาก ๓ ครัง ทีต้องอบรมในลักษณะนี จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๔๖ คน ช่ วงเย็นวันที ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที ๑ ชีแจงกระบวนการฝึ กอบรมและปฐมนิเทศ วิทยากรอธิ บายความเป็ นมาของโครงการขบวนบุญซึ งเป็ นภารกิจหลักของหน่ วยงานทีต้องทําให้ ทุกคนเข้าใจตรงกันเพราะนอกจากการพึงพาตนเองได้ขนพื ั นฐานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง คือ พออยู่ พอกิน พอใช้ พอร่ มเย็น แล้วยังสามารถยกระดับเป็ นเศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้า คือ สามารถทําบุญ ทํา ทาน มีการผลิตแปรรู ป ขาย ในเครื อข่ายกัลยาณมิตร โดยในทีนี วิทยากรอธิ บายอย่างง่ายว่า การอบรมครังนี มีจุดประสงค์เพือทีจะช่วยพวกเราทีมีจิตใจ มุ่งมันและเห็นตามจริ งว่า การเกษตรซึ งเป็ นอาชีพหลักของชาวกระเหรี ยงโซนบ่อแก้วนัน ซึงพึงพาปุ๋ ยเคมี ยา ฆ่าแมลง ฮอร์ โมนราคาแพงมานาน ส่ งผลให้ตน้ ทุนทางการเกษตรเพิมสู งขึน เกิ ดหนี สิ นทันทีหลังราคา พืชผลไม่ได้ตามต้องการ นอกจากนันผืนดิ นแม่พระธรณี ยงั ถูกทําลายโดยความรู ้ ไม่เท่าทันหรื อการไม่คิด การณ์ไกล ว่าผืนดินจะเสื อมโทรมจนไม่สามารถเพาะปลูกได้เนืองจากปุ๋ ยเคมีต่างๆ พากันเร่ งสู บเอาแร่ ธาตุ ทุกชนิดในดินให้พืชผัก กล้าไม้ทีเกษตรกรเพาะปลูกเพือขายให้ทนั เวลา ซึ งจะใช้ระยะเวลาฟื นฟูนาน แต่ไม่
59
สายเกิ นไป หาหันมาใช้ปุ๋ยอิ นทรี ย ์ นอกจากจะทําให้ดินกลับมาอุ ดมสมบูรณ์ ยังสามารถลดต้นทุ นทาง การเกษตรได้มาก พึงพาตนเองมากขึน เหล่านีจึงเป็ นทีมาของการอบรมดังกล่าว โดยเฉพาะการอบรมครังนีเลือกชุมชนบ้านสนามกีฬาซึ ง อยูใ่ นพืนทีเขต ๒ โซนกะเหรี ยงบ่อแก้ว หมู่บา้ นนีเป็ นชุมชนชาวกะเหรี ยงเล็กๆ ในตําบลบ่อแก้ว ทีอยูต่ ิดกับ เหมื องแร่ ซีไรท์ เคยได้รับปั ญหาการบุ กรุ ก ที ดิ น ทํากิ น และได้รับผลกระทบจากการปลูกพื ชเศรษฐกิ จ เชิงเดียวทีมีการใช้สารเคมีมาก ประกอบกับการมีพืนทีติดต่อกับ ชุมชนบ้านแม่ยางห้า บ้านป่ าเกียะนอก โรงเรี ยนตชด. รัปปาปอร์ ต ในเครื อข่ายของวัดทําให้ชาวชุมชนอืนสามารถเข้าร่ วมอบรมได้ง่าย ชุมชนบ้านสนามกี ฬายังเป็ นแหล่งที ต้องการฟื นฟูคุณภาพแร่ ธาตุในดินอย่างเร่ งด่วนเนืองจากชาวชุมชนมีการใช้สารเคมี ปุ๋ ยเคมีมากจากการปลูก พืชเศรษฐกิจ เช่น สตรอเบอร์ รี ลูกพลับ และพืชพักเมืองหนาว ชาวบ้านจึงตืนตัวกับการเข้าร่ วมอบรมในครัง นีมาก จากจํานวนผูเ้ ข้าร่ วม ๔๖ คน กิจกรรมที ๒ จัดเตรียมอุปกรณ์ ฐานคนรักษ์ แม่ พระธรณี วิทยากรอธิ บายกิจกรรมทีจะทําในวันรุ่ งขึนว่าจะมีกิจกรรมอะไรบ้าง วัสดุอุปกรณ์ทีต้องจัดเตรี ยม จากทีมีอยู่ในหมู่บา้ น จากนันจึงขอความร่ วมมือให้ผเู ้ ข้าร่ วมโครงการจัดเตรี ยมเศษฟางแห้ง เศษใบไม้แห้ง ซังข้าวโพด มูล สุ กร รวมทังหน่ อ กล้ว ย ซึ งเป็ นสิ งที คนในชุ มชนหามาได้ง่ าย และเป็ นสิ งที เหลื อใช้ใ น ครัวเรื อนมาร่ วมทํากิจกรรม ช่ วงเช้ าวันที ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที ๓ กิจกรรมฐานคนรักษ์ แม่ พระธรณี กิจกรรมในฐานคนรักษ์แม่พระธรณี เริ มขึนตังแต่ช่วงเช้าตรู่ ชาวชุมชนทยอยนําหน่อกล้วยเพือนํามา ทําฮอร์โมนจากจุลินทรี ยห์ น่อกล้วย และกล้วยสุ กมาเป็ นส่วนผสมในการปันลูกบอลจุลินทรี ย ์ (EM Ball) จน เมื อล่วงเข้าเวลาแปดโมงชาวบ้านก็มารวมตัวทังชายและหญิ ง โดยมี เยาวชนที ติ ดตามพ่อแม่มาร่ วมด้วย เนืองจากวิทยากรครังนี สามารถสื อสารเป็ นภาษากะเหรี ยงได้ ประกอบกับชาวชุมชนตําบลบ่อแก้วสามารถ สื อสารเป็ นภาษาไทย (เหนื อ) ได้อย่างชัดเจน ชาวชุมชนจึงเข้าใจดีว่าต้องทําอย่างไรก่อนหลัง นอกจากนัน แกนนําของชุมชน คือ นายธัชชัย เปอะเลอะหรื อสุ มน ซึ งเป็ นหนุ่มกะเหรี ยงคนรุ่ นใหม่ทีมีจิตใจมุ่งมันจะทํา เกษตรพอเพียง หลังจากทีได้เรี ยนจบทางด้านเกษตรโดยตรงจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีเป้ าหมายเพือพัฒนาให้ คนในชุมชนตนเองพึงพาตนเองได้ โดยทีทรัพยากรธรรมชาติและสุ ขภาพคนในชุมชนดีขึน โดยอาศัยความรู้ หลักวิชาการทีตนเองได้รําเรี ยนมาประยุกต์ใช้ให้เกิดเป็ นเกษตรผสมผสานจริ ง มีรายได้ตลอดทังปี และลด ความเสี ยงจากราคาพืชผลชนิ ดใดชนิ ดหนึ งตกตํา ซึ งการมีคนในชุมชนคิดเช่นนี สุ มนยังเล่าว่ากลุ่มเยาวชน รุ่ นๆ เดียวกับเขาก็เริ มสนใจทําเกษตรพอเพียง การทําปุ๋ ย การทําฮอร์ โมน และการหมักจุลินทรี ยต์ ่างๆ ซึ งจะ สื บทอดอุดมการณ์พฒั นาหมู่บา้ นต่อไปในอนาคต 60
กิ จกรรมในฐานคนรั กษ์แม่พระธรณี นีแบ่งหลายประเภท เพือให้ตรงกับการบํารุ งดิ นซึ งมี ความ แตกต่างกันในแต่ละครัวเรื อนจึงแบ่งกิจกรรมเป็ น ๓ ฐาน ดังนี ฐานที ๑ การทําฮอร์ โมนกล้วย (จุลินทรี ยห์ น่อกล้วย) เนืองจากหน่อกล้วยเป็ นวัตถุดิบทีหาง่ายเกือบทุกชุมชน ผสมกับกากนําตาล หรื อหากไม่มีสามารถใช้ผลกล้วยสุ ก นําอ้อย นําซาวข้าวสําหรับเป็ นอาหารให้จุลินทรี ย ์ เจริ ญเติบโต ฐานที ๒ การทําปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพ เป็ นปุ๋ ยทีทําได้ง่ายจากอินทรี ยวัตถุในท้องถิน เช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด มูลสัตว์ เศษใบไม้ ซึ งช่วยบํารุ งดินและพืชได้ดีกว่าปุ๋ ยเคมีในระยะยาว ฐานที ๓ การทําฮอร์โมนผลไม้ ช่วยเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชผัก ทําจากธรรมชาติ ปลอดภัย ลดต้นทุนการ ผลิตได้มากกว่าการซือฮอร์โมนจากร้านค้า และได้ผลทีมีประสิ ทธิ ภาพใกล้เคียงกัน ฐานที ๔ การทํานําหมักปัสสาวะ คือปุ๋ ยยูเรี ยธรรมชาติ ทีทุกคนทําได้ ราคาประหยัด ปัสสาวะจะประกอบ ไนโตรเจน ยูเรี ยครี เอไทน์ แอมโมเนียและกรดยูริค ซึงเป็ นอาหารของจุลินทรี ยใ์ นดินเข้ามากินแล้วเปลียน สารประกอบเหล่านีเป็ นสารประกอบทีพืชต้องการใช้เป็ นอาหารได้ สําหรับวัตถุดิบและขันตอนในการดําเนินกิจกรรมทัง ๔ ฐาน มีดงั ต่อไปนี ฐานที ๑ การทําฮอร์ โมนกล้ วย (จุลนิ ทรีย์หน่ อกล้วย) อัตราส่ วน 3 ต่ อ1 วัตถุดบิ - อุปกรณ์ 1. หน่อกล้วยทีมีดินติดอยูโ่ ดยไม่ตอ้ งล้างนํา 3 กิโลกรัม 2. นําตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม 3. ถังมีฝาปิ ด 1 ถัง 4. มีด ขันตอนการทํา นําหน่อกล้วยทีขุดมาสับละเอียดโดยไม่ตอ้ งล้างดินออกสับแล้วชังให้ได้ ตามอัตราส่ วน แล้วเอาใส่ลงในถัง เสร็ จแล้วใส่นาตาลตามอั ํ ตราส่วนแล้วคนให้เข้ากันปิ ดฝาหมักไว้ 1 สัปดาห์ก็ สามารถใช้ได้แล้ว สรรพคุณ 1. ใช้ปรับปรุ งบํารุ งดิน ปรับสภาพนํา ป้ องกันและกําจัดศัตรู พืช เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช 2. ใช้กาํ จัดกลินเหม็นในคอกสัตว์ ย่อยสลายอินทรี ยวัตถุ และฟางข้าวในนาโดยไม่เกิดก๊าซมีเทน อัตราและวิธีการใช้ จุลนิ ทรีย์หน่ อกล้วย จุลินทรี ย ์ ๒๐ ซี ซีต่อนํา ๒๐ ลิตร ฉี ดพ่นหรื อรดตามโคลนต้นไม้ 61
ฐานที ๒ ฐานปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ คุณสมบัติ ๑. ช่วยให้ดินร่ วนซุย อุม้ นําได้ดีขึน ๒. ดูดซับธาตุอาหารในดินไม่ให้ถูกชะล้างสูญเสี ยได้ง่าย ๓. เพิมธาตุอาหารหลัก รอง และจุลธาตุต่างๆในดิน ๔. เพิมความต้านทานต่อการต่อการเปลียนแปลงความเป็ นกรดด่างของดิน ๕. เพิมปริ มาณจุลินทรี ยท์ ีมีประโยชน์ในดิน วัตถุดบิ สํ าหรับการผลิตปุ๋ ยหมัก ๑. วัสดุเศษพืช (ฟางข้าวแห้ง) ๑ ตัน (๑,๐๐๐ กิโลกรัม) ๒. มูลสัตว์ (จากสุ กร) ๒๐๐ กิโลกรัม ๓. ปุ๋ ยยูเรี ย (เพิมแร่ ธาตุในดิน) ๒ กิโลกรัม ๔. สารเร่ งซุปเปอร์ พด. ๑ ๑ ซอง (๑๐๐ กรัม) หรื อนําหมักชีวภาพเข้มข้นจากเศษพืชผักปริ มาณ 1 ลิตร ขันตอนการทํา ๑. ละลายสารเร่ งซุปเปอร์ พด. ๑ ในนํา ๑ ปี บ (๒๐ ลิตร) คนให้เข้ากันนาน ๑๐ นาที หรื อละลายนํา หมักชีวภาพเข้มข้น ๒ ช้อนโต๊ะต่อหนึงฝักบัว (๕ ลิตร) ๒. ตังกองปุ๋ ยขนาด กว้าง ๒ เมตร X ยาว ๓ เมตรX ๑.๕ เมตร โดยชันแรก เริ มจากเศษฟางข้าวแห้ง ต่อมาเป็ นมูลสัตว์ โรยด้วยปุ๋ ยยูเรี ยสองสามกํามือ จากนันจึงเริ มคลุมด้วยฟางข้าวแห้งอีกชันจึง ราดด้วยสารละลายพด. ๑ หรื อสารละลายนําหมักชีวภาพให้ชุ่ม ๓. จากนันจึงทําชันต่อไปเช่นเดิมโดยก่อให้ชนบนเล็ ั กลงๆ เป็ นยอดปิ ระมิด จนได้ระดับความสูง ๑.๕ เมตร จึงปักท่อ ๓๐ เซนติเมตรเพือสําหรับเติมนําให้ความชุ่มชืนกับกองปุ๋ ยอาทิตย์ละครัง แล้วคลุมด้วยถุงกระสอบหรื อผ้าใบให้มิดชิด ๔. หมันกลับกองปุ๋ ยพร้อมกับรดนําทุก ๗ วัน เป็ นระยะเวลา ๓ เดือน จึงได้ปุ๋ยหมักทีสี ดาํ นําตาล เข้มเม็ดละเอียด อุดมไปด้วยแร่ ธาตุทีพืชต้องการ
อัตราและวิธีการใช้ ๑. ข้าว ไม้ดอก: ใช้ ๒ ตัน/ไร่ หว่านให้ทวพื ั นทีแล้วไถกลบก่อนปลูกพืช ๒. พืชไร่ :ใช้ ๒ ตัน/ไร่ โรยเป็ นแถวตามแนวปลูกพืช แล้วคลุกเคล้าดิน 62
๓. พืชผัก : ใช้ ๔ ตัน/ไร่ หว่านทัวแปลงปลูกไถกลบขณะเตรี ยมดิน ๔. ไม้ผล ไม้ยนื ต้น: เตรี ยมหลุมปลูก ๒๐ กิโลกรัม/หลุม ใส่คลุกดินรองก้นหลุม ต้นพืชทีเจริ ญแล้ว ๒๐ กิโลกรัม/ตัน ขุดร่ องลึก ๑๐ เซนติเมตร หว่านใส่ ปุ๋ยในร่ องแล้วนําดินกลบ คําแนะนํา ๑. ควรใช้ปุ๋ยหมักทีย่อยสลายสมบูรณ์แล้ว (ประมาณ ๒ สัปดาห์ – ๓ เดือน) สังเกตได้จากปุ๋ ยหมัก จะมีสีนาตาลหรื ํ อดําละเอียด ไม่มีกลินเหม็นและความร้อนในกองปุ๋ ยหมักลดลง ๒. ควรเก็บกองปุ๋ ยหมักทีร่ ม ฐานที ๓ การทําฮอร์ โมนผลไม้ อัตราส่ วน 3 ต่ อ 1 ต่ อ 10 วัตถุดบิ – อุปกรณ์ 1. ผลไม้ชนิดเดียวกัน สี เดียวกัน 2. นําตาล/กากนําตาล 3. นําเปล่า 4. ถังมีฝาปิ ด 5. มีด
3 1 10 1
กิโลกรัม กิโลกรัม ลิตร ถัง
ขันตอนการทํา นําผลไม้ทีเตรี ยมไว้มาสับให้ละเอียดแล้วชังนําหนักให้ได้ตามอัตราส่วน ใส่ลงไปในถัง แล้วใส่นาตาลลงไปตามอั ํ ตราส่ วน ตามด้วยนํา 10 ลิตรคนให้เข้ากันปิ ดฝาทิงไว้ประมาณ 7-15 วัน หมักไว้นานยิงดี สรรพคุณ ช่วยเร่ งดอก เร่ งผล ให้ขวติ ั ดผลไม้เหนียวสมบูรณ์ รสชาติดี อัตราและวิธีการใช้ ผสมฮอร์ โมน ๒๐ ซี ซี ต่อนํา ๑๐ ลิตร ฉี ดพ่นพืชผัก ผลไม้ ในช่วงเย็น ทุก ๑๐-๑๕ วัน/ครัง ใช้ให้หมดภายใน ๓ เดือน
ฐานที ๔ การทํานําหมักปัสสาวะ วัตถุดบิ – อุปกรณ์ 63
๑. ๒. ๓. ๔.
นําปัสสาวะ นําตาล/กากนําตาล ถังมีฝาปิ ด มีด
๑๐ ๒ ๑
ลิตร ลิตร ถัง
ขันตอนการทํา นํามาผสมกันใส่ถงั พลาสติก หมัก ๑๐ – ๓๐ วัน หากสังเกตว่ามีผา้ สี ขาวเกิดขึน แสดงว่า หมักได้ทีแล้ว สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้เลย (ประมาณ ๑๐ วัน ก็ใช้ได้) สรรพคุณ มีแร่ ธาตุไนโตรเจน ช่วยเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชได้ดี อัตราและวิธีการใช้ ๑. สําหรับพืชโดยทัวไป ใช้นาปั ํ สสาวะ ๑ ส่วน ต่อนํา ๘ ส่วนแล้วรดลงบนดิน รอบๆพุม่ ไม้สปั ดาห์ ละ ๑-๒ ครัง ๒. สําหรับพืชผักสวนครัว ใช้ในอัตราส่วน นําหมัก ๑ ลิตร + นําเปล่า ๑,๐๐๐ ลิตร ฉี ดพ่นทุก ๗ วัน จะช่วยเป็ นปุ๋ ยและเป็ นฮอร์โมนบํารุ งให้พืชผักสวนครัว มีความสมบูรณ์แข็งแรง และต้านทานโรค ได้ดี ๓. สําหรับไม้ผลหรื อสวนยางพารา ใช้ในอัตราส่ วน นําหมัก ๑ ลิตร + นําเปล่า ๕๐๐ – ๑,๐๐๐ ลิตร จะช่วยเป็ นปุ๋ ยและเป็ นฮอร์โมนบํารุ งให้ตน้ ไม้มีความอุดมสมบูรณ์และต้านทานโรคได้ดี ช่ วงบ่ ายวันที ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ช่วงบ่ายท่านพระครู ธรรมคุต เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มได้พาชาวชุมชนทํากิจกรรมเพือ ผ่อนคลายหลังจากทํากิจกรรมฐานต่างๆ คือ ทายปัญหาจากการทํากิจกรรมช่วงเช้าเพือยําเตือนถึงวัตถุดิบ ขันตอนในการทํา เพือสามารถนํากลับไปผลิตและใช้เองในครัวเรื อนหรื อรวมตัวกันทําเองในหมู่บา้ น สําหรับช่วงบ่ายนีจึงมีการสาธิ ตการทําลูกบอลจุลินทรี ยอ์ ย่างง่ายเพือเก็บหัวเชือจุลินทรี ยใ์ นการผลิตปุ๋ ย หรื อ นําหมักชีวภาพได้ หลังจากนันท่านพระครู จึงนําวงแลกเปลียนระหว่างชาวชุมชนทังในและนอกชุมชนในเครื อข่าย โดยให้แกนนําชาวชุมชนออกมาเล่าว่าในชุมชนได้ทาํ กิจกรรมอะไรไปบ้าง และแนวคิดในการทําเกษตร พอเพียง และเกษตรผสมผสานซึงสวนกระแสกับการทําเกษตรเชิงเดียวในหมู่บา้ นมีทีมาอย่างไร อะไรคือจุด เปลียนของความคิดนัน เพือให้เกิดแรงบันดาลใจพร้อมทังให้กาํ ลังใจกับชาวชุมชนทีสนใจจะร่ วมขบวนบุญ 64
นีด้วย ด้วยการลดการพึงพาจากภายนอก เริ มพึงพาตนเองได้ จึงแจกจ่ายทําบุญให้กบั เครื อข่าย คือ ชุมชน รอบๆ หมู่บา้ นของตนนันเอง กิจกรรมทําลูกบอลจุลนิ ทรีย์ (EM Ball) วัตถุดบิ – อุปกรณ์ ๑. กล้วยสุ ก ๒. นําเปล่า ๓. รําละเอียด ๔. กะละมังผสม ๕. หม้อต้ม ๖. ไม้พาย ๗. มีด ๘. เตาถ่าน
๑ ๑ ๑ ๓
ส่วน ส่ วน ส่วน ใบ
ขันตอนการทํา ปอกเปลือกกล้วยสุกก่อนนําไปต้ม ๑-๒ ชัวโมงจนกว่ากล้วยจะเปลียนเป็ นสี แดงเพือให้เกิด นําตาลมากทีสุ ด สําหรับเลียงจุลินทรี ยใ์ นลูกบอล จากนันนํากล้วยทีสุกเละแล้วพักให้เย็นจึงตัก ส่วนผสมทุกอย่าง อย่างละ ๑ ส่วนมารวมกันในชามผสม แล้วปันเป็ นก้อนกลมเท่าลูกเปตอง ไม่ให้ ชุ่มนําเกินไปหรื อแห้งแข็งจนเกินไป แล้วนําไปตากในทีร่ ม ๑ – ๒ วันจนแห้งสนิท สรรพคุณ ใช้เป็ นเชือในการทํานําหมักจุลินทรี ยต์ ่างๆ และช่วยบําบัดนําเสี ย ช่ วงเย็นวันที ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ หลังจากจบการฝึ กอบรมฐานคนรักษ์แม่พระธรณี ตลอดช่วงเช้าและบ่ายแล้ว ท่านพระครู ธรรมคุต ํ า วัตถุดิบที เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ก็ได้ให้ความเมตตามาให้โอวาทและปิ ดการประชุม ซึงก็ยาว่ หาง่ายในหมู่บา้ นทีคนส่ วนใหญ่มองว่าไร้ค่า เช่น ขีหมู ขีวัว ขีควาย เศษฟางข้าว หน่อกล้วยป่ าหรื อบ้าน ซัง ข้าวโพด ต้นถัวแระ ถัวดินหลังเก็บเกียวผลผลิต ผลไม้ทีเหลือกิน เช่น ขนุน มะม่วงสุ ก เหล่านีสามารถนํามา สร้างมูลค่าเพิม คือ การนํามาแปรรู ปเป็ นปุ๋ ยหมักชีวภาพ ฮอร์ โมนพืชได้ ซึงเป็ นอีกช่องทางหนึ งทีจะช่วยลด ต้นทุนภาคการเกษตร ลดการพึงพาสารเคมี ภายนอกทีราคาสู ง และรั กษาหน้าดิ นอันอุดมสมบูรณ์ รั กษา สุ ขภาพเกษตรกรในระยะยาวจากการเริ มใช้ปุ๋ยชีวภาพ รวมทังหากผลิตในปริ มาณทีมากยังสามารถส่ งขาย เป็ นรายได้เสริ มได้อีกทาง เพราะหลายหมู่บา้ นในเครื อข่ายขบวนบุญมี ความต้องการมาก จากการสํารวจ ข้อมูลพฤติกรรมการบริ โภคในเขตงานเดียวกัน เช่น เขตที ๒ คือ บ้านกะเหรี ยงบ่อแก้ว คือ บ้านแม่ยางห้า 65
บ้านป่ าเกี ยะนอก บ้านแม่แดดน้อย รวมทังเขตงานอื นที ผลิ ตปุ๋ ยบ้างแต่ ยงั มี จาํ นวนไม่เพียงพอกับความ ต้องการ คือ เขตงานที ๔ โซนสะเมิงใต้ และ เขตงานที ๕ โซนกะเหรี ยงบ้านป่ าคาและทุ่งหลวง ซึ งการ สังเคราะห์ขอ้ มูลเหล่านีจะช่วยผลักดันให้ผเู ้ ข้าร่ วมอบรมตืนตัวในการผลิตปุ๋ ยชีวภาพจากมูลสัตว์มากขึนจน เหลือใช้ในหมู่บา้ นแล้วนํามาแลกเปลียนกันในเครื อข่ายขบวนบุญต่อไป สรุปประเมินผล หลังจากเสร็ จการอบรมฐานคนรักษ์แม่พระธรณี คือ การทําปุ๋ ยอินทรี ย ์ จุลินทรี ยห์ น่อกล้วย การทํา ฮอร์ โมนผลไม้ การทํานําหมักปั สสาวะ และการทําลูกบอลจุลินทรี ย ์ (EM Ball) ในครังนีได้มีการจัดทําแบบ ประเมินผลความพึงพอใจของผูเ้ ขาร่ วมอบรม ผลสรุ ปคือ จากผูเ้ ข้าร่ วมทังหมด ๔๖ คนรู้สึกพึงพอใจเป็ น อย่างมากทีมีการจัดอบรมรมในลักษณะนี แบบนี เกิดขึนเพราะในชุมชนไม่มีการจัดอบรมในลักษณะนี มา ก่อน รวมทังให้ความสนใจในการทําปุ๋ ยชีวภาพมากเนืองจากเหตุผลดังต่อไปนี ๑. ช่วยลดต้นทุนภาคการเกษตรแทนการใช้ปุ๋ยเคมีทีมีราคาสูง ๒. สนใจผลิตเนืองจากในหมู่บา้ นมีวตั ถุดิบในการทําปุ๋ ยและมีแรงงานภาคเกษตรทีมีความสามารถ ๓. เห็นความสําคัญของการฟื นฟูให้ดินกลับให้มีความอุดมสมบูรณ์ โดยใช้หลักเลียงดินให้ดินเลียงพืช พืชก็จะงามเพราะดินมีแร่ ธาตุเพียงพอกับความต้องการ ๔. สนใจมานานแต่ไม่มีความรู ้ในการผลิตและแรงกระตุน้ ให้ลงมือทํา เหตุผลดังกล่าวสอดคล้องกับสภาพปั ญหาของผืนดินชุมชนบ้านสนามกีฬา ตําบลบ่อแก้วในปั จจุบนั คือ ดินเสื อมสภาพ ขาดแร่ ธาตุทีพืชต้องการเนืองจากการใช้สารเคมีอย่างเข้มข้นในการปลูกพืชเชิงเดียวอย่าง สต รอเบอร์ รี ดินมีสภาพเป็ นกรด ด่างสูงเกินจนพืชไม่สามารถดูดซับปุ๋ ยไปหล่อเลียงลําต้น ประกอบกับการดือ ยาของแมลงศัตรู พืชทําให้ผลผลิตลดตําลง และท้ายสุดผูเ้ ข้าร่ วมอบรมมีขอ้ เสนอแนะถึงโครงการ คือ ๑. อยากให้จดั สรรงบประมาณช่ ว ยเรื องวัตถุ ดิบในการผลิ ตปุ๋ ยหมักชี วภาพที ไม่ สามารถหาได้ใ น ท้องถิน เช่น กากนําตาล จุลินทรี ย ์ ผ้าใบ และถังผสมต่างๆ ๒. ให้ความรู ้เรื องการปรับสภาพผืนดินโดยเฉพาะนอกเหนือจากการทําปุ๋ ยบํารุ งดิน ๓. อยากให้สอนนําหมักชีวภาพชนิดอืนๆ ทีเหมาะสมกับพืช ผัก ผลไม่ทีชาวชุมชนปลูกอยูใ่ นปัจจุบนั ๔. ชาวชุมชนส่ วนใหญ่ตอ้ งการให้มีการจัดอบรมในลักษณะนีบ่อยๆอย่างน้อย ๖ เดือนครัง เพราะรู้สึก ดีใจทีมีหน่วยงานเห็นคุณค่าของเกษตร ทังให้ความจริ งใจในการแก้ไขปั ญหา
66
รายนามผู้เข้ าร่ วมประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการแหล่ งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงขันก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน วันที ๑๔-๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ บ้ านสนามกีฬา ต.บ่ อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุม ๑ นาย พะแชลา สุกินแว ๕๐ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒ นาย ดวงคํา เปอะลอย ๒๓/๔ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓ นาง ออมสิ น ทอวา ๒๒๒ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔ นาง สร้อยทิพย์ เจาะบู ๒๔ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๕ นาย ปรี ชา พิทกั ษ์พายัพคีรี ๒๑๖ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๖ นาย พัทธดลย์ สุคนธมนตรี กุล ๑๙๘ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗ นาย บุญเรื อง วรรณสุ ๒๓/๖ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๘ นาย พนันดะ เปอะลอย ๑๖/๓ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙ นาย ปุ๊ ด อยูร่ ุ่ งเรื อง ๑๘๘ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๐ นาย สุข ดวงคํา ๒๒/๒ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๑ นาย สี ไว พวงชือ ๑๙๓ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๒ นาง รุ่ งทิวา ๒๑๓ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๓ นางพิชายา ไพรมีสุข ๒๐๖ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๔ นาง แสงหล้า ตระกูลพรชัย ๑๖๔ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๕ นาง นรา ระดมสุข ๑๗๗ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๖ นาง ทูริ สายเขือนสี ๑๙๙ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๗ นาง สังวาลย์ สุคนธมนตรี กลุ ๑๙๖ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๘ นาง เบญจมาส เปอะลอย ๒๐๐ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๙ นาง พูนศรี ทูมู ๒๑๗ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๐ นางสาว ขวัญธิ ชา ชารี พนั ธ์ ๑๕๐ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๑ นาย อภินนั ท์ พิทกั ษ์พายัพคีรี ๒๒๘ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๒ นาย คําแดง เปอะลอย ๔๙ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๓ นาย เพล่อเก ปุ๊ จ้อย ๒๕ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๔ นาง วัฒนา เปอะลอย ๑๗๘ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ 67
๒๕ นางตะพอ ระดมสุข ๒๖/ ๓ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๖ นาย ธวัชชัย เปอลอย ๑๗๘ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๗ เด็กชาย พิทกั ษ์ นิยมไพรนิเวศน์ ๑๘๗ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๘ นาง กานต์พิชชา เจาะบู ๑๙๓ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๙ นาง ศิริพร เปอลอย ๔๙ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๐ นาง มาลัย พิทกั ษ์พายัพคีรี ๑๖๕ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๑ นาง กุหลาบ นิยมไพรนิเวศน์ ๑๘๗ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๒ นาย พจน์ เป็ งมอย ๑๙๒ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๓ นาย วิรัตน์ เวพอ ๑๙๖ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๔ นาย หม่อเวพอ เปอลอย ๒๐๐ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๕ นาย ดวงขันต์ สุคนธมนตรี กลุ ๑๖๙ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๖ เด็กชาย ประมนท์ พิทกั ษ์พายัพคีรี ๑๖๕ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๗ เด็กชายพรเกษม เจาะบู ๒๔ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๘ เด็กชายมนตรี ทองวัน ๒๒๒ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๙ นาง ริ ดี วรรณสุ ข ๒๓/๖ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๐ นาง เต่อชิ สุทศั น์ ๒๓/๒ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๑ นาง พนารัตน์ เวพอ ๒๘/๑ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๒ นาง มะลิวลั ย์ ซูโพ ๑๖/๔ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๓ เด็กชาย ธนกร เปอลอย ๑๗๘ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๔ นาย สุรดิฐ ตระกูลพรชัย ๑๖๔ หมู่ ๕ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๕ นางสาว รุ่ งนภา ชมโลก ๓๓ หมู่ ๔ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๖ นางสาว ชลดา ริ นคํา ๑๑๒ หมู่ ๑ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม ๑. พระอธิการสรยุทธ ชยป ฺ โญ ประธานคณะทํางาน ๒. นายวีรยุทธ์ สุวรรณทิพย์ ฝ่ ายนโยบายและบริ หารโครงการ ๓. นางสาวธชาพร เลาวพงษ์ วิทยากร
68
ภาพกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารในฐานรักษ์ พระแม่ ธรณี (เรืองปุ๋ ยอินทรีย์ ฮอร์ โมนพืชและการทําลูกบอลจุลนิ ทรีย์อย่างง่าย) ระหว่ างวันที ๑๔ – ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ บ้ านสนามกีฬา ต.บ่ อแก้ ว อ.สะเมิง จ. เชียงใหม่ ฐานปุ๋ ยอินทรี ย ์ จากมูลสุกรและฟางข้าว
นํามูลสุกรจากบ้านแม่แดดในเครื อข่ายขบวนบุญมาแบ่งปันเพือนบ้านสนามกีฬา
สุ มนกําลังพาเพือนๆ หมักปุ๋ ย
ชาวบ้านกําลังก่อกองปุ๋ ยเป็ นชันๆ สุ มน บัณฑิตหนุ่มยุคใหม่ มุ่งสู่ บา้ นนําวิถีเกษตรพอเพียง
กองปุ๋ ยคอนโด ชันแรกฟางข้าว มูลสัตว์ โรยยูเรี ยเพิมแร่ ธาตุให้ปุ๋ย จากนัน พรมนําหมักชีวภาพทีมีจุลินทรี ยช์ ่วยย่อยสลายกองปุ๋ ยอย่างรวดเร็ ว 69
คลุมผ้า ต่อท่อรดนํา ในทีสุ ดกองปุ๋ ยราว ๒,๐๐๐ กิโลกรัมก็เสร็ จ
ฐานจุลินทรี ยห์ น่อกล้วย และฮอร์โมนพืชจากขนุนหมักกับปัสสาวะ
แม่บา้ นกําลังขะมักเขม้นกับการสับขนุนทังเปลือกและหน่อกล้วยเพือเตรี ยมหมักทําจุลินทรี ยแ์ ละฮอร์โมนเลียงพืช
แม่บา้ นกําลังนํากากนําตาลผสมหน่อกล้วยทีสับแล้ว วิทยากรนํานําปัสสาวะปุ๋ ยไร้ราคาแต่ไม่ไร้คุณค่า หาได้ทุกทีไว้เตรี ยมหมักกับขนุน
พ่อบ้านแม่บา้ นและเด็กๆ กําลังตืนเต้นกับการนําขนุนและนําปัสสาวะ ผสมกัน จากนันจึงนําลูกบอลจุลินทรี ย ์ (EM Ball) ใส่ ลงไป กลินของ ปัสสาวะจึงหายไปในทันที สุ ดท้ายปิ ดฝา หมักไว้ ๗ วันจึงนํามาใช้ได้
70
แม่บา้ นกําลังคลุกเคล้ากากนําตาลให้เข้ากับหน่อกล้วย ใส่ ถงั ปิ ด ฝาหมักต่อ ๗ วัน จึงกรองนํามาฉีดพ่นเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช
เนือ้ หา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม
โครงการแหล่ งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน กิจกรรม ๔. แหล่งเรี ยนรู ้เคลื่อนที่ (ครั้งที่ ๑ บ้านห้วยหญ้าไทร เขต ๕) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้บทเรี ยน ปรับปรุ งแก้ไขพัฒนา และเติมกําลังใจในการขับเคลื่อน กระบวนการเครื อข่ายเพื่อการพึ่งตนเอง ๒) เพื่ อ กระตุ ้น ให้ชุ ม ชนเป้ าหมายเกิ ด ความตระหนัก และเห็ น คุ ณ ค่ า ของการนํา ศาสตร์ แ ห่ ง พระราชามาใช้ โดยมีแบบอย่างแห่งความสําเร็ จมาให้บทเรี ยนและประสบการณ์ ผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๒๘ คน รายละเอียดกิจกรรม ช่ วงก่ อนลงพืน้ ที่ - ประเมินข้ อมูลชุ มชนเบือ้ งต้ น กิ จกรรมแหล่ง เรี ย นรู ้ เคลื่ อนที่ ครั้งที่ ๑ จัดขึ้น ณ บ้านห้วยหญ้าไทร ต. สะเมิ ง ใต้ อ.สะเมิ ง จ. เชี ยงใหม่ ซึ่ งอยู่ในเขตพื้นที่ที่ ๕ ครอบคลุ มบ้านป่ าคานอก อ.สะเมิงและบ้านทุ่งหลวง อ.แม่วาง ซึ่ งเป็ น ชุมชนกะเหรี่ ยงทั้งหมด ซึ่ งจากการวิเคราะห์ขอ้ มูลอุปสงค์และอุปทานในตอนต้นโครงการจากสิ นค้าขบวน บุญ ๓ ประเภท คือ ๑. ของกินเช่น พืชผักต่างๆ ๒. ของใช้ เช่น สบู่ แชมพู นํ้ายาล้างจาน ซักผ้า นํ้ายาทําความ สะอาด ๓. ปุ๋ ยอินทรี ย ์ ฮอร์ โมนพืช สรุ ปว่าพื้นที่น้ ีมีกาํ ลังผลิตน้อยจนถึงไม่ผลิต ทั้งพืชผักและนํ้ายาทําความ สะอาดต่างๆ จะมีผลิตบ้างคือ ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ี วภาพจากมูลสัตว์ ซึ่ งทําไว้ใช้ในนาข้าว ไร่ ขา้ วของชาวชุมชนที่มี อาชีพทํานาเป็ นหลัก - วิเคราะห์ ข้อมูลพฤติกรรมผู้บริโภคในพืน้ ที่ ขั้นต่อมาคือการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคในเขตพื้นที่น้ ี ที่นกั วิเคราะห์หรื อแกนนําฝังตัวใน พื้นที่น้ นั ๆ รวบรวมข้อมูล เช่น รายการสิ นค้าที่ชาวบ้านซื้ อและขาย แหล่งที่มาของสิ นค้า ราคา ปริ มาณการ ซื้ อต่อครั้ง เหตุผลที่เลื อกซื้ อ ฯลฯ เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์แบบเจาะลึกลงไปว่าหมู่บา้ นนี้ ตอ้ งการลด
71
รายจ่ายด้า นใดบ้าง นอกจากนั้นยัง มี ก ารเก็บ ข้อมูล บัญชี ค รั วเรื อน เช่ น รายได้ รายรับ หนี้ สิ นครัวเรื อน แหล่งที่ มาของรายได้ แหล่งจ่ายใช้จ่ายเงิน และแหล่งเงินกู้ พร้อมเหตุผลในการใช้จ่ายดังกล่าวเพื่อจะนํา ข้อมูลมาสรุ ป แล้วไปนําเสนอให้ชาวชุมชนในเขตพื้นที่น้ นั ๆ ทราบถึงสถานการณ์จริ งของการใช้จ่าย เพื่อหา แนวทางลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐานคือ สามารถพึ่งพาตนเองได้ก่อน เมื่อผลิตเหลือจึงแจกจ่ายทําบุญกับเพื่อนในเครื อข่ายเดียวกันที่เข้าใจความคิดการบริ โภคในความไม่ประมาท คือ รู้จกั พอ ไม่โลภในเงิ นทอง รู ้จกั บุญ จึงเป็ นหัวใจสําคัญที่ตอ้ งอาศัยคุณธรรมของชาวชุ มชนทุกคนที่เข้า ร่ วมโครงการขบวนบุญในขั้นเริ่ มแรก แล้วผลจะบังเกิดในเวลาต่อมา ช่ วงลงพืน้ ที่
ช่ วงบ่ ายวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕
กิจกรรมที่ ๑ ชี้แจงกระบวนการฝึ กอบรมและปฐมนิเทศ วิทยากรอธิ บายความเป็ นมาของโครงการขบวนบุญในภาพรวม แล้วจึงเล่าถึงกิจกรรมที่ผา่ นมาใน “โครงการพัฒนาฐานการเรี ยนรู้เศรษฐกิจพอเพียง” ใน ๓ เขตพื้นที่ ทั้ง ๓ ฐาน คือ ฐานพึ่งพาตนเองในเรื่ อง ปุ๋ ย ฐานเรื่ องการพออยูพ่ อกิน ฐานคนมีน้ าํ ยาเรื่ องของใช้ทาํ ความสะอาดประจําวัน เพื่อให้ชุมชนทั้ง ๓ พึ่งพา ตนเองได้ หลังจากนั้นจึงอาศัยข้อมูลพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคเพื่อเป็ นข้อมูลพื้นฐานประกอบในการเลือกพื้นที่ ใน “โครงการแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้าระดับเครื อข่ายพหุ ชุมชน” จากพื้นที่ที่มีความเข้มแข็งใน การผลิตเพื่อบริ โภคในครัวเรื อนและมีศกั ยภาพเพียงพอที่จะพึ่งพาตนเองในระดับหนึ่ง กิจกรรมแหล่งเรี ยนรู ้เคลื่อนที่ครั้งนี้มีจุดประสงค์แรกเพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ประสบการณ์และ บทเรี ยนระหว่างเขตพื้นที่หนึ่ งกับอีกเขตพื้นที่หนึ่งที่สามารถช่วยเหลือแบบพี่สอนน้องได้ กล่าวคือ เขตพื้นที่ ที่มีความสามารถในการทํานํ้ายาเอนกประสงค์ เช่น เขตที่ ๑ บ้านอมลองและวัดดอยผาส้มฯ ซึ่ งมีศกั ยภาพ ผลิตแชมพู สบู่ นํ้ายาเอนกประสงค์เหลือเฟื อ สามารถเป็ นพี่เลี้ยงให้กบั พื้นที่บา้ นห้วยหญ้าไทร ในเขตที่ ๕ ได้ เป็ นการถ่ายทอดทั้งองค์ความรู ้และประสบการณ์จริ งในเรื่ องการลดรายจ่ายในครัวเรื อน เรื่ องการเพิ่ม รายได้กบั ชุมชนจากการทําการตลาดทั้งภายนอกและภายในชุมชน จุดประสงค์ที่สองคือ การเสริ มกําลังใจ ระหว่างสมาชิกในเครื อข่ายเพื่อให้เกิดความเชื่อมัน่ ว่ากิจกรรมเหล่านี้เป็ นประโยชน์และเกิดผลสําเร็ จได้จริ ง ซึ่ งมีความสําคัญไม่แพ้การถ่ายทอดองค์ความรู ้คือ ความรู ้สึกว่ามีผทู ้ ี่ผา่ นประสบการณ์มาก่อนคอยให้ กําลังใจ จุดประสงค์ที่สุดท้าย คือ การทําแผน “ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ พึ่งพาตนเองได้” สําหรับชุมชนนั้น โดยเฉพาะ ซึ่ งแผนเหล่านี้ตอ้ งมาจากการระดมสมองของชาวชุมชนเอง ดังนั้นพื้นที่บา้ นห้วยหญ้าไทร ในเขตที่ ๕ (ป่ าคา ทุ่งหลวง ห้วยหญ้าไทร) จึงเป็ นพื้นที่แรกในการ ดําเนินกิจกรรมแหล่งเรี ยนรู ้เคลื่อนที่เพราะ บ้านที่มีแกนนําชุมชนที่มีศกั ยภาพ มีความเข้าใจแนวคิดของ โครงการขบวนบุญ และชาวชุมชนมีความต้องการในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ นอกจากการทํานาเป็ นหลัก
72
หลังจากพักรับประทานอาหารว่าง ทีมพี่เลี้ยงและวิทยากรจึงจัดเตรี ยมอุปกรณ์ เพื่อพากลุ่มแม่บา้ น พ่อบ้านฝึ กการลดรายจ่ายอย่างง่ายจากการทํานํ้ายาเอนกประสงค์ไว้ใช้เอง กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมฐานคนมีนํา้ ยา (ฝึ กทํานํา้ ยาเอนกประสงค์ จากมะเฟื อง) กลุ่มแม่บา้ นพาทีมพี่เลี้ยงไปเก็บมะเฟื อง เป็ นผลไม้รสเปรี้ ยวที่หาง่ายและมีคุณสมบัติชาํ ระล้างคราบ สกปรกได้ดีมาก จึงเป็ นโอกาสอันที่ทีมงานได้มีโอกาสทําความคุน้ เคยกับผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ ได้เห็นถึงความ เป็ นอยูใ่ นชุมชนกะเหรี่ ยงที่เรี ยบง่าย ใกล้ชิดและยังพึ่งพิงธรรมชาติเป็ นหลัก แต่ก็มีการบริ โภคสิ นค้าต่างๆ ไม่ต่างจากผูท้ ี่อยูอ่ าศัยในเมือง เป็ นที่มาของค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นตามมา เมื่อมีความต้องการใช้เงินมาก ชาว ชุมชนจึงต้องออกไปรับจ้างหาเงิน ความห่างเหิ นจากธรรมชาติจึงเกิดขึ้นตามมา ทําให้ส่ิ งที่ดูไม่มีราคาอย่าง ผลมะเฟื อง ผลมะขาม ผลมะม่วง ตะไคร้ กล้วย ก็สามารถนํามาแปรรู ปผลิตเป็ นนํ้ายา แชมพู สบู่ ไว้ใช้เอง รวมทั้งยังขาดโอกาสในเรื่ ององค์ความรู ้ในการผลิต และแรงจูงใจจากคนในชุมชน การอบรมครั้งนี้จึงเป็ น นิมิตหมายอันดีที่ชาวชุมชนจะมีโอกาสได้ลงมือผลิตเองและเห็นคุณค่าจากของที่ไม่มีราคาหลายอย่างใน หมู่บา้ นเพื่อเกิดความคิดที่ต่อยอดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ลดการพึ่งพาจากภายนอก หลังจากเก็บมะเฟื องมาจํานวนมากทีมพี่เลี้ยงก็พากลุ่มแม่บา้ นทํานํ้ายาเอนกประสงค์จนแล้วเสร็ จ ภายในเวลาไม่ถึงชัว่ โมง แล้วจึงนํามาใช้จริ งเป็ นนํ้ายาล้างจานในช่วงรับประทานอาหารคํ่าเสร็ จ จึงเริ่ ม กิจกรรมต่อไปในช่วงคํ่า กิจกรรมทํานํา้ ยาเอนกประสงค์ จากผลมะเฟื องสด วัตถุดิบ ๑. นํ้าหมักหรื อนํ้าต้มผลมะเฟื องสด ๓ ลิตร ๒. สารตั้งต้นทําความสะอาด N70 ๑ ก.ก. ๓. เกลือ ๑ ก.ก. ๔. นํ้าด่าง ๑๒ ลิตร อุปกรณ์ ๑. ถังสําหรับกวน ๒. ไม้พายสําหรับกวน ๓. ลิตรตวงนํ้า ๔. ผ้าขาวบาง ขั้นตอนการทํานํ้ายาอเนกประสงค์ ๑. เริ่ มจากทํานํ้าต้มผลมะเฟื องสดหรื อผลไม้รสเปรี้ ยว โดยนํามาสับให้ละเอียดจากนั้นนําใส่ หม้อใส่ น้ าํ พอท่วมต้มจนเดือด ยกลงพักจนเย็น ก่อนใช้ให้กรองเอาเศษผลไม้ออกให้หมด ๒. เทสารตั้งต้นทําความสะอาดลงกวนในถังจนกลายเปลี่ยนสี จากสี ใสเป็ นสี ขาวขุ่น
73
๓. จากนั้นจึงเทเกลือจํานวน ๒๕๐ กรัมลงไปกวนจนเกลือละลายแล้วจึงเริ่ มเทนํ้าด่างปริ มาณ ๓ ลิตร โดยการสลับกันการเทเกลือและนํ้าด่างให้ครบ กวนต่อไปจนได้ที่ โดยกวนไปในทางเดียวกันเบาๆ เสร็ จแล้วกรองด้วยผ้าขาวบางพักไว้รอฟองยุบ แล้วนํามาบรรจุขวด คุณสมบัติ ใช้ลา้ งจาน ซักผ้า ล้างห้องนํ้า ทุกภารกิจ ภายในขวดเดียว
ช่ วงคํ่าวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๓ เวทีคืนข้ อมูลเวทีคืนข้ อมูลรายรับ รายจ่ าย หนีส้ ิ น และพฤติกรรมผู้บริโภค วิทยากรนํากิจกรรมโดยการคืนข้อมูลบัญชีครัวเรื อน เน้นเฉพาะด้านรายรับ รายจ่าย หนี้สิน ครัวเรื อนและข้อมูลพฤติกรรมผูบ้ ริ โภค เน้นเฉพาะเครื่ องอุปโภคที่เกี่ยวเนื่ องกับอาชีพด้านเกษตรกรรมซึ่ ง เป็ นอาชีพหลักของชาวชุมชน เช่น ปุ๋ ย ฮอร์ โมน ยาฆ่าแมลง รวมทั้งค่านํ้ามันที่ใช้ในเครื่ องจักร เครื่ องบริ โภค เช่น แชมพู สบู่ นํ้ายาทําความสะอาด รวมทั้งอาหาร เช่น พืชผัก กับข้าวต่างๆ ที่ชาวชุมชนซื้อมาบริ โภค โดยข้อมูลบัญชีครัวเรื อนนํามาจากการสํารวจของนักวิเคราะห์จากการสุ่ มกลุ่มตัวอย่างครัวเรื อนใน ชุมชนนั้น โดยใช้ช่วงห่างของรายรับ รายจ่าย หนี้สิน ของแต่ละบ้านมารวมกันหาค่าเฉลี่ยจึงได้เป็ นช่วงตํ่า และสู งของจํานวนรายรับ รายจ่าย หนี้สิน จากนั้นเพื่อขยายภาพให้เห็นชัดจึงนําค่าเฉลี่ยที่ได้คูณจํานวนคน ในหมู่บา้ นนั้นเพื่อให้เห็นภาพรวมทั้งหมู่บา้ น จากความแตกต่างระหว่างจํานวนเงินรายรับ รายจ่าย หนี้สิน เป็ นอย่างไร รวมทั้งให้รายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งที่มารายได้หลัก/รายจ่ายหลักคืออะไรบ้าง/ชาวบ้านกูห้ นี้ยมื สิ นมาจํานวนเท่าไร เหตุผลที่กคู้ ืออะไร/ปริ มาณการออมเงิน เมื่อให้รายละเอียดเหล่านั้นจึงให้ชาวบ้านแลกเปลี่ยนข้อมูลดังกล่าวว่ามีความเป็ นไปได้เท่าไร มีการ เปลี่ยนแปลงในเรื่ องจํานวนมากน้อยเท่าไร แล้วจึงมาหาข้อสรุ ปเป็ นลําดับว่าสามลําดับแรกของที่มารายได้ รายจ่ายและหนี้สินคืออะไร ทําให้ทราบว่าแหล่งรายได้หลักมาจาก ๑. การขายข้าวและพืชผลทางการเกษตร ๒. การรับจ้างแรงงานทั้งภายในและนอกหมู่บา้ น ๓. รายได้จากการขายสัตว์เศรษฐกิจ เช่น วัว ควาย หมูฯลฯ รายจ่ายหลักมาจาก ๑. เครื่ องอุปโภคบริ โภคในครัวเรื อน ๒. การศึกษาบุตร ๓. ปุ๋ ยเคมี ยาฆ่าแมลง ฮอร์ โมน พืช และค่านํ้ามัน จากนั้นวิทยากรจึงแบ่งกลุ่มชาวบ้านออกเป็ นกลุ่มบ้านเป็ น ๓ กลุ่ม คือ บ้านห้วยหญ้าไทร ๒ กลุ่ม และบ้านป่ าคานอก ๑ กลุ่ม เพื่อให้ระดมสมองหาทางออก กิจกรรมที่ ๔ กิจกรรมระดมสมองหาทางออก “ลดรายจ่ าย พึง่ ตนเอง” เมื่อแบ่งกลุ่มแล้ววิทยากรให้ทีมวิทยากรแยกย้ายตามกลุ่มเพื่อเป็ นพี่เลี้ยงถามปัญหาและหาแนว ทางแก้ไขในเรื่ องการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ แล้วจึงนําเสนอให้เพื่อนกลุ่มอื่นได้แลกเปลี่ยนข้อมูลแนว
74
ทางแก้ไขปั ญหาที่มีอย่างหลากหลาย เช่น การรวมกลุ่มทํานํ้ายาเอนกประสงค์ กลุ่มแม่บา้ นทอผ้าฝ้ าย ซึ่ งจะมี พี่เลี้ยงและวัดผาส้มฯ คอยช่วยสนับสนุนเรื่ ององค์ความรู ้ การตลาดและพี่เลี้ยงจากเขตงานอื่นๆ คอยให้ คําแนะนํา กิจกรรมที่ ๕ จัดเตรียมอุปกรณ์ ในกิจกรรมพีส่ อนน้ องในฐานคนมีคนมีนํา้ ยา วิทยากรอธิ บายกิจกรรมที่จะทําในวันรุ่ งขึ้นว่าจะมีกิจกรรมอะไรบ้าง รวมทั้งให้จดั เตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ที่มีอยูใ่ นหมู่บา้ น จากนั้นจึงขอความร่ วมมือให้ผเู ้ ข้าร่ วมโครงการจัดเตรี ยมผลไม้รสเปรี้ ยวที่มีอยู่ มาก เช่น มะเฟื อง มะขาม รวมทั้งสมุนไพรอย่าง ขิง บอระเพ็ด เพื่อนําไปเป็ นส่ วนประกอบของฐานคนมี นํ้ายา ช่ วงเช้ าวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๖ กิจกรรมฐานคนมีนํา้ ยา (ฝึ กทําแชมพูสมุนไพร) กิจกรรมในฐานคนมีน้ าํ ยา เริ่ มตั้งแต่เช้าหลังรับประทานอาหารเช้าร่ วมกับบรรดากลุ่มแม่บา้ น พ่อบ้านเรี ยบร้อย วิทยากรจึงแบ่งกลุ่มย่อยออกเป็ น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มทําแชมพูสมุนไพรบอระเพ็ด และกลุ่ม ทําแชมพูสมุนไพรมะขามกับขิง โดยกิจกรรมในครั้งนี้ แม่บา้ นพ่อบ้านนําผลไม้ สมุนไพรที่หาง่ายและออก มากในช่วงฤดูกาลนี้มาร่ วมฝึ กทําแชมพู เพื่อนําไปใช้เองภายในครัวเรื อน ไม่ตอ้ งซื้อจากภายนอกและหาก สามารถผลิตได้ในปริ มาณมากๆ กิจกรรมทําแชมพูจากบอระเพ็ด วัตถุดิบ ๑. นํ้าหมักหรื อนํ้าต้มเถาบอระพ็ด (ที่มีผวิ ขุรขระ รสขม) ๖ ลิตร ๒. สารตั้งต้นทําความสะอาด N70 ๑ ก.ก. ๓. เกลือ ๖ ขีด อุปกรณ์ ๑. ถังสําหรับกวน ๒. ไม้พายสําหรับกวน ๓. ลิตรตวงนํ้า ๔. ผ้าขาวบาง ขั้นตอนการทํานํ้ายาอเนกประสงค์ ๑. เริ่ มจากทํานํ้าต้มเถาบอระเพ็ด โดยนํามาสับให้เป็ นท่อนๆ และทุบให้น้ าํ รสขมไหลออกมาได้ง่าย จากนั้นนําใส่ หม้อใส่ น้ าํ พอท่วมต้มจนเดือด ยกลงพักจนเย็น ก่อนใช้ให้กรองเอาเศษเถาออกให้หมด
75
๒. เทสารตั้งต้นทําความสะอาดลงกวนในถังจนกลายเปลี่ยนสี จากสี ใสเป็ นสี ขาวขุ่น ๓. จากนั้นจึงเทเกลือจํานวน ๒ ขีดลงไปกวนจนเกลือละลายแล้วจึงเริ่ มเทนํ้าต้มเถาบอระเพ็ดปริ มาณ ๓ ลิตร โดยการสลับกันการเทเกลือและนํ้าต้มสมุนไพรให้ครบปริ มาณ กวนต่อไปจนได้ที่ โดยกวนไป ในทางเดียวกันเบาๆ เสร็ จแล้วกรองด้วยผ้าขาวบางพักไว้รอฟองยุบ แล้วนํามาบรรจุขวด คุณสมบัติ แชมพูบอระเพ็ดรักษาอาการคันหนังศีรษะ ขจัดรังแค ยับยั้งผมร่ วง บํารุ งผมดกดํา ให้หนังศีรษะ แข็งแรง ปรับสภาพเส้นผมให้มีน้ าํ หนัก กิจกรรมทําแชมพูจากขิงและมะขาม (วิธีทาํ อย่างง่ ายเช่ นเดียวกับการทําแชมพูบอระเพ็ด) วัตถุดิบ ๑. นํ้าหมักหรื อนํ้าต้มขิงและมะขาม ๖ ลิตร ๒. สารตั้งต้นทําความสะอาด N70 ๑ ก.ก. ๓. เกลือ ๖ ขีด อุปกรณ์ ๑. ถังสําหรับกวน ๒. ไม้พายสําหรับกวน ๓. ลิตรตวงนํ้า ๔. ผ้าขาวบาง ขั้นตอนการทํานํ้ายาอเนกประสงค์ ๑. เริ่ มจากทํานํ้าต้มขิงและมะขาม โดยนํามาสับและทุบให้น้ าํ รสขมไหลออกมาได้ง่ายจากนั้นนําใส่ หม้อใส่ น้ าํ พอท่วมต้มจนเดือด ยกลงพักจนเย็น ก่อนใช้ให้กรองเอาเศษเถาออกให้หมด ๒. เทสารตั้งต้นทําความสะอาดลงกวนในถังจนกลายเปลี่ยนสี จากสี ใสเป็ นสี ขาวขุ่น ๓. จากนั้นจึงเทเกลือจํานวน ๒ ขีดลงไปกวนจนเกลือละลายแล้วจึงเริ่ มเทนํ้าต้มเถาบอระเพ็ดปริ มาณ ๓ ลิตร โดยการสลับกันการเทเกลือและนํ้าต้มสมุนไพรให้ครบปริ มาณ กวนต่อไปจนได้ที่ โดยกวนไป ในทางเดียวกันเบาๆ เสร็ จแล้วกรองด้วยผ้าขาวบางพักไว้รอฟองยุบ แล้วนํามาบรรจุขวด คุณสมบัติ ขิง ช่วยต่อต้านเชื้ อแบคทีเรี ย ยับยั้งอาการคันศีรษะ กระตุน้ การไหลเวียนของโลหิ ต ทําให้เส้นผม และหนังศีรษะมีสุขภาพดี มะขาม ช่วยให้หนังศีรษะสะอาด ชุ่มชื้น จึงช่วยขจัดรังแคได้เป็ นอย่างดี นอกจากนั้นยังช่วยฟื้ นฟู เส้นผมให้มีน้ าํ หนัก จัดทรงง่าย เส้นผมแข็งแรงไม่ขาดง่าย
76
ช่ วงบ่ ายวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ช่วงบ่ายท่านพระครู ธรรมคุต เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มได้พาชาวชุมชนชวนคิดเรื่ อง “ก้าวต่อไปของขบวนบุญ บ้านห้วยหญ้าไทร” เพื่อตอบโจทย์เมื่อคืนในวงเสวนาที่มีขอ้ สรุ ปว่าบ้านห้วยหญ้า ไทรมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ เนื่องมาจากการใช้จ่ายซื้อสิ นค้าจากภายนอกมากกว่าที่จะผลิตเองในช่วงเวลา ว่างจากฤดูทาํ นา ทําให้ชาวชุ มชนหาทางลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ จากของที่มีอยูใ่ นท้องถิ่น ในวงคุยช่วงบ่ายนี้แม่อาํ ไพร ผูน้ าํ กลุ่มแม่บา้ นห้วยหญ้าไทรเสนอว่าทางกลุ่มต้องการทํานํ้ายา เอนกประสงค์ รวมทั้งแชมพู สบู่เหลวไว้ใช้เองในกลุ่มเพื่อลดรายจ่าย นอกจากนั้นจะพยายามชักชวนเพื่อน บ้านให้หนั มาใช้ผลิตภัณฑ์ที่ตนเองผลิต โดยขั้นแรกวิทยากรได้อธิ บายต้นทุนสิ นค้าในแต่ละประเภทจาก ค่าใช้จ่ายจริ ง เช่น นํ้ายาอเนกประสงค์ แชมพู สบู่เหลว เป็ นต้น เพื่อให้ชาวชุมชนเข้าใจแนวคิดการขายสิ นค้า ขบวนบุญกับเพื่อนร่ วมบุญ คือ ขายในราคาต้นทุนที่ผลิตจริ ง เพื่อให้เพื่อนได้ลองใช้สินค้าก่อน จากนั้นเพื่อน จะมาซื้ อต่อในราคาเดิมหรื อมากกว่าเดิม ให้นาํ เงินกําไรไปเป็ นต้นทุนในการผลิตสิ นค้าในล็อตถัดไป ซึ่ งเมื่อ กองทุนนี้เติบโตขึ้นชาวชุมชนจะสามารถนําไปใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์ของหมู่บา้ นต่อไป ซึ่ งการจะเริ่ มขายราคาต้นทุนได้ ต้องวางใจให้เป็ นกลางให้ได้ วางใจว่าอยากช่วยเพื่อนในหมู่บา้ น ลดรายจ่ายเช่นเดียวกับที่กลุ่มได้ลดรายจ่ายได้แล้ว เพื่อนจะเข้าใจแนวคิดตรงนี้ได้ไม่ยาก ซึ่ งทางกลุ่มแม่บา้ น ก็เข้าใจและจะนําไปบอกต่อและปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่องทดลองให้เห็นผล สรุ ปประเมินผล กิจกรรมแหล่งเรี ยนรู ้เคลื่ อนที่ในครั้งนี้ซ่ ึ งจัดในเขตที่ ๕ โดยมีบา้ นห้วยหญ้าไทรเป็ นแกนหลัก ทํา ให้ผรู้ ่ วมงานในเขตนี้ จึงมีสมาชิ กมาร่ วมจากบ้านห้วยหญ้าไทรเป็ นส่ วนใหญ่ รองมาเป็ นชาวบ้านป่ าคานอก ซึ่งเป็ นหมู่บา้ นที่ไม่ห่างกันมาก ผลสรุ ปมีรายละเอียด ดังนี้ ๑. ชาวชุ มชนมีความเข้าใจในภาพรวมและในรายละเอียดของโครงการขบวนบุญมากขึ้น โดยเฉพาะ การขายสิ นค้าในราคาต้นทุนซึ่ งไม่เคยมีมาก่อน ๒. ชาวชุ มชนได้ทราบถึงปั ญหาที่ชดั เจนของชุมชนมากขึ้น พร้อมเสนอทางออกของปั ญหาการก่อหนี้ ยืมสิ น คือ การผลิตนํ้ายาเอนกประสงค์มะเฟื อง แชมพูมะขาม เป็ นต้น ๓. ชาวชุ มชนได้ปรึ กษา ซักถามข้อสงสัยในการดําเนิ นงานขบวนบุญพร้ อมทั้งขอคําแนะนําในการ แก้ปัญหาซึ่ งมีความคล้ายคลึ งในหลายเขตงาน เช่ น การทําการตลาดสิ นค้า การมองเห็นประโยชน์ จากธรรมชาติ ใ นท้อ งถิ่ น ของตนจัก สมุ นไพรใกล้ร้ ั วบ้า นอย่า งบอระเพ็ด รวมทั้ง การประเมิ น ศักยภาพในการผลิ ตของตนเองเพื่อให้ทนั ต่อความต้องการของลูกค้าทั้งในชุมชนและนอกชุ มชน นอกจากนั้นยังตระหนักถึงปั ญหาเชิงโครงสร้างของการศึกษาและสื่ อสารมวลชนที่มีอิทธิ พลชักจูง คนให้ทาํ ตามกระแสที่ตอ้ งพึ่งพิงจากภายนอกมากขึ้น
77
รายนามผู้เข้ าร่ วมประชุ มเชิงปฏิบัติการ โครงการแหล่ งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน วันที่ ๑๙ – ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ บ้ านห้ วยหญ้ าไทร ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ -------------------------------ผู้มาประชุ ม ๑ นางสาว สุ พฒั น์ บงกชอมร ๒ นาง อะคอดี ประชุมสิ ทธิ์ ๓ นาง พร กิ่งไพรทอง ๔ นางสาว กัลยาลักษณ์ เต็มสิ งแก้ว ๕ นางสาว บัวก่า กระยูรปรี ชา ๖ นาง ศรี แก้ว ขวัญธัญเลิศ ๗ นางสาว สุ วรรณ บัวคีรีโรจน์ ๘ นาง สุ ละ บัวศรี บรรพต ๙ นาง ปนัดดา ชัยปราณี สุข ๑๐ นาง จารุ ณี ประยูรปรี ชา ๑๑ นางสาว วิริยา ศุภภัทรานนท์ ๑๒ นางสาว พฤจิกา ดงปาลี ๑๓ นางสาว ศรี พรรณ ดาวสวัสดี ๑๔ นาง พินนั ทา ชัยปราณี สุข ๑๕ นาง จันทร์ ดี ตันติบนั ลือ ๑๖ นาง อ่อแต ประชุมวิวฒั น์ ๑๗ นาง หล้า ประชุมรัตน์ ๑๘ นาง ปุ๊ กคํา บัวคีรีบรรพต ๑๙ นาง หน่อจ๊ะอะ ประชุมรัตน์ ๒๐ นาง ผุสดี ประชุมสิ ทธิ์ ๒๑ นาง สิ นาภรณ์ ประยูรปรี ชา ๒๒ เด็กหญิง จารุ วรรณ พุทธโส ๒๓ นาง ศรี พร แก้วจะดี ๒๔ นาง อําไพร ประชุมสิ ทธิ์
๑๙/๓ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๘/๓ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗๑/๓ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๘๐ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗๐ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๐ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗/๑ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙๗ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๖๐ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗๐ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๘๙/๙๗๗ ซ.นวมินทร์ ๘๗ แขวนคลองกุ่ม กรุ งเทพ ๑๘๙/๓๓๔ หมู่ ๙ ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ ๔๐/๔หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๖๐/๑ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๙/๑ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๗/๑ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗๑/๑ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๕๓/๒ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙๘ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๗๐ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๕๒หมู่ ๔ ต.ยั้งเมิน อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๙/๒ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๘ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
78
๒๕ นาย ไพรวัลย์ ชัยปราณี สุข ๒๖ นาง ชิแกว ประชุมรัตนะ ๒๗ นาง นาริ ม ถวิลประโยชน์ ๒๘ นาง สางใจ ประชุมวิวฒั น์
๖๐/๑ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๘/๒ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๓/๓ หมู่ ๑๑ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๐๐ หมู่ ๖ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
79
ภาพกิจกรรมแหล่ งเรียนรู้ เคลือ่ นที่ ติดตามประเมินผล ของทุกกลุ่มเป้าหมายเครือข่ าย ระหว่ างวันที่ ๑๙ – ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ บ้ านห้ วยหญ้ าไทร ต.สะเมินใต้ อ.สะเมิง จ. เชียงใหม่ ฝึ กทํานํ้ายาเอนกประสงค์ แชมพูสมุนไพร ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ในชุมชนตนเองก่อน
กลุ่มแม่บา้ นกําลังสับเถาบอระเพ็ดที่หาได้ง่ายตามชายป่ ารอบหมูบ่ า้ น
ต้มบอระเพ็ดจนเปื่ อยได้น้ าํ รสขมช่วยขจัดรังแค คืนความชุ่มชื้นให้หนังศีรษะ บํารุ งผมดกดํา
สับเถาบอระเพ็ดแล้ว ก็ทุบเถาให้น่ิมและสับขิงที่หาง่ายเตรี ยมไว้ตม้
นํ้าขิงต้มได้น้ าํ รสเผ็ดร้อนช่วยยับยั้งแบคทีเรี ย ลดอาการคันของหนังศีรษะ
แม่อาํ ไพรประธานกลุ่มแม่บา้ นสาธิตการกวนแชมพูสมุนไพรง่ายใช้ดี
80
รอ ๑ คืนให้ฟองในแชมพูยบุ ตัวแล้วจึงบรรจุขวดนําไปใช้ได้เลย
เวทีคืนข้ อมูลเวทีคืนข้ อมูลรายรับ รายจ่ าย หนีส้ ิ น และพฤติกรรมผู้บริ โภค และระดมสมองหาทางออก “ลดรายจ่ าย พึง่ ตนเอง”
คืนข้อมูลรายจ่ายที่มากกว่ารายได้ และมีแนวโน้มจะมีหนี้สินเพิ่ม
ชาวชุมชนนําผ้าฝ้ ายทอมือมาแสดงเพื่อเพิ่มช่องทางในการหา รายได้เสริ ม และเป็ นหนึ่งในสิ นค้าขบวนบุญในอนาคต
แม่อาํ ไพรแสดงต้นทุนจริ งซึ่งคือราคาขายจริ งของแชมพูที่กลุ่มแม่บา้ นเห็น ว่าจะทําใช้และขายเองในชุมชนแน่นอน หลังจากระดมสมองในกิจกรรมหาทางออก “ลดรายจ่าย พึ่งตนเอง”
หลวงพ่อนําสวดมนต์ เทศนาธรรมเรื่ องบุญ ซึ่งเป็ นหัวใจของการ 81 ขับเคลื่อนขบวนบุญ คือ นําบุญเป็ นตัวตั้งไม่ใช่เงิน
ลูกหลานของชาวบ้านที่ติดตามแม่มาเข้าอบรม ก็มีโอกาสซึมซับธรรมะไปตั้งแต่ยงั เล็กๆ
เนือ้ หา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม
โครงการแหล่ งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้ าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน กิจกรรม ๔. แหล่งเรี ยนรู ้เคลื่อนที่ (ครั้งที่ ๒ บ้านนาฟาน เขต ๓) หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป�ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้บทเรี ยน ปรับปรุ งแก้ไขพัฒนา และเติมกําลังใจในการขับเคลื่อน กระบวนการเครื อข่ายเพื่อการพึ่งตนเอง ๒) เพื่ อ กระตุ ้น ให้ชุ ม ชนเป้ าหมายเกิ ด ความตระหนัก และเห็ น คุ ณ ค่ า ของการนํา ศาสตร์ แ ห่ ง พระราชามาใช้ โดยมีแบบอย่างแห่งความสําเร็ จมาให้บทเรี ยนและประสบการณ์ ผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ จํานวนผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม ๒๖ คน รายละเอียดกิจกรรม ช่ วงก่ อนลงพืน้ ที่ - ประเมินข้ อมูลชุ มชนเบือ้ งต้ น กิจกรรมแหล่งเรี ยนรู ้เคลื่อนที่ ครั้งที่ ๒ จัดขึ้น ณ สวนนาฟานอุทยานทิพย์ บ้านนาฟาน ต. สะเมิง เหนื อ อ.สะเมิง จ.เชี ยงใหม่ ซึ่ งอยูใ่ นเขตพื้นที่ที่ ๓ ครอบคลุมบ้านแม่เลย บ้านแม่ปะ บ้านนาฟาน ต.สะเมิง เหนื อและบ้านใหม่ตน้ ผึ้ง ต.แม่สาบ อ.สะเมิง ซึ่ งเป็ นชุ มชนเมืองเหนื อ ซึ่ งจากการวิเคราะห์ขอ้ มูลอุปสงค์ และอุปทานในตอนต้นโครงการจากสิ นค้าขบวนบุญ ๓ ประเภท คือ ๑. ของกินเช่น พืชผักต่างๆ ๒. ของใช้ เช่น สบู่ แชมพู นํ้ายาล้างจาน ซักผ้า นํ้ายาทําความสะอาด ๓. ปุ๋ ยอินทรี ย ์ ฮอร์ โมนพืช สรุ ปว่าพื้นที่น้ ีมีกาํ ลัง ผลิ ตเหลือกิ นเหลื อใช้ ทั้งข้าว ปลา พืชผักผลไม้ และเคยผ่านการอบรมทํานํ้ายาทําความสะอาดต่างๆ แล้ว ผลิตไว้ใช้เองบ้าง แต่ยงั ไม่แพร่ หลายนัก ส่ วนใหญ่ยงั อาศัยการซื้ อจากร้านค้าเป็ นหลัก นอกจากนั้นยังมีการ ทําปุ๋ ยเองใช้ในแปลงผักและนาข้าว จะมีผลิตบ้างคือ ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพจากมูลสัตว์ ซึ่ งทําไว้ใช้ในนาข้าว ไร่ ข้าวของชาวชุ มชน ซึ่ งถื อว่าเป็ นเขตที่มีความอุดมสมบูรณ์พร้อมทั้งข้าวป่ าอาหาร และทรัพยากรธรรมชาติ ป่ าไม้ ต้นนํ้าลําธารยังไม่ถูกบุกรุ กมากเนื่ องจากพื้นที่มีเป็ นที่ราบภูเขาสู ง มีความห่ างไกลชุ มชนเมือง ถนน
82
เป็ นดินโคลนในฤดูฝนจึงไม่สะดวกต่อการสัญจรไปมา แต่มีชาวชุมชนที่มีความพร้อม มีศกั ยภาพสู งในการ ดําเนินงานขบวนบุญต่อยอดในขั้นก้าวหน้าได้ ช่ วงลงพืน้ ที่
ช่ วงเช้ าวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕
กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมเดินสํ ารวจพืน้ ทีเ่ กษตรพอเพียง ชาวชุมชนพาคณะสํารวจพื้นที่เกษตรพอเพียงเพื่อแสดงพืชผักผลไม้ เช่น กล้วย ไผ่ สวนตะไคร้ พริ กนานาชนิ ด สวนขมิ้น ข่า มะนาว ชาใบเมี่ยง รั้วชะอม และสวนผัก สวนสมุนไพรอื่นๆ ที่รายล้อมด้วยป่ า เบญจพรรณอันอุดมสมบูรณ์ นอกจากนั้นยังมีการเลี้ยงสัตว์ตามธรรมชาติ คือ ปล่อยให้หากินเอง สัตว์เลี้ยง อาทิ ไก่ เป็ ด และกระต่าย นอกจากนั้นยังเล่าถึงปั ญหาการทําการเกษตร แมลงศัตรู พืชที่มากินหน่อไม้ไผ่ การ บุกรุ กป่ า ไฟป่ า และการริ เริ่ มทําฝายชะลอนํ้า เป็ นกิจกรรมอุ่นเครื่ องก่อนนัง่ ล้อมวงคุยในช่วงต่อไป ช่ วงบ่ ายวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมระดมสมองทบทวนปัญหารอบตัว (เศรษฐกิจ/สั งคม/การเมือง) หลังจากรับประทานอาหารกลางวันซึ่ งนําวัตถุดิบมาจากผักสดๆ ในไร่ ในสวนของชาวชุมชน ทั้งหมด วิทยากรจึงเริ่ มนํากิจกรรมโดยการให้ชาวชุมชนแบ่งกลุ่มเพื่อพูดคุยถึงปัญหาของชุมชนในทุกๆ ด้าน พร้อมแนวทางแก้ไขปั ญหา โดยสรุ ปเป็ นปั ญหาที่เชื่อมโยงใยกันหมด อาทิ ปั ญหาสามเศร้าระหว่างพระกรรมการวัด-คณะศรัทธาญาติโยม ซึ่ งเป็ นสถาบันที่กาํ ลังสั่นคลอนเพราะนําเรื่ องเงินเป็ นที่ต้ งั ดังนี้ ๑.ปั ญหาการโกงเงินวัดของกรรมการวัด ทําให้คณะศรัทธาเบื่อหน่ายไม่มาวัด พระก็ไม่มีฉนั ไม่มี ปั จจัยที่ตอ้ งเดินทางไปประชุ มทําบุญหรื อทํากิจสงฆ์ต่างๆ พระจึงสึ กออกไปทําให้จาํ นวนพระน้อยลงใน ปัจจุบนั ๒.ปั ญหาเรื่ องการเมืองท้องถิ่นที่ตอ้ งเลือกตั้งผูน้ าํ ทําให้ชาวบ้านที่แตกแยกกันเพราะเลือกผูน้ าํ คน ละคนกัน การเปลี่ยนแปลงการผลิตที่คนเมืองไม่ทาํ การเกษตรไปทํางานในเมือง และจ้างแรงงาน ต่างประเทศแทนที่มีค่าจ้างเท่าคนไทยแต่ทาํ งานได้มากกว่า ๓.ปัญหาผูห้ ลักผูใ้ หญ่ในบ้านเมืองไม่สามารถ เป็ นตัวอย่างในแก่เยาวชน เช่น หลงลาภ ยศ บรรดาศักดิ์ เลยไปถึงปั ญหาการทุจริ ตคอรัปชัน่ ๔.ปัญหาสื่ อมี อิทธิ พลต่อคนมาก คนใช้เวลาส่ วนมากกับสื่ อต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว เพื่อนบ้านน้อยลง ๕. ปั ญหาค่านิยมทางสังคม “มีการศึกษาสู ง ได้งานดี เงินดี ชี วติ มีสุข” ซึ่ งการศึกษาดึงคนออกนอกชุมชนและ ครอบครัวหาเงินเพื่อส่ งลูกเรี ยน ๖. ปั ญหาผูค้ นขาดศีลธรรม มีความอิจฉา เห็นผูอ้ ื่นดี-เด่น-ดังกว่าตนไม่ได้ ต้องนิ นทา ให้ร้ายและ หาทางขัดขวาง ซึ่งปั ญหาทั้งหมดทั้งมวลมีจุดร่ วมเดียวกันคือ การใช้เงินเป็ นที่ต้ งั แห่ง ความสุ ขของชีวติ
83
ซึ่ งแต่ละกลุ่มก็ได้แลกเปลี่ยนวิธีการแก้ปัญหาซึ่ งไม่เฉพาะเรื่ องเศรษฐกิจ แต่หมายรวมถึงแนวทางการดําเนิน ชีวติ เป้ าหมายของการมีชีวิตต่อจากนี้ซ่ ึ งเป็ นการแก้ปัญหาอย่างองค์รวม สรุ ปช่วงบ่ายเป็ นการระดมสมองกลุ่มย่อยเพื่อแลกเปลี่ยนปั ญหาสําคัญและเร่ งด่วนทั้งในและนอก ชุมชนระหว่างเพื่อนในหมู่บา้ นและรอบหมู่บา้ นนําเสนอ แล้วทีมงานจึงทําการจัดกลุ่มปั ญหาเป็ นข้อๆ เพื่อที่จะนําไปสู่ ช่วงระดมสมองช่วงเย็นต่อไป ช่ วงเย็นวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๓ กิจกรรมประชุ มระดมสมอง “แก้ปัญหา ทางรอดหรือทางตันบนวิถีความพอเพียง” หลังจากที่ชาวชุมชนได้ระดมปั ญหากันแล้ว ช่วงเย็นเป็ นช่วงที่มาร่ วมคิดแก้ไขปั ญหาซึ่ งผูกโยงกัน หลายต่อหลายเรื่ องดังที่กล่าวข้างต้น โดยเฉพาะปั ญหาการทําเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรผสมผสานซึ่ งมี ความแปลกแตกต่างจากเพื่อนบ้าน ทําให้เกิดความสงสัย ไม่มนั่ ใจ กําลังรอดูท่าทีหากดีก็ชม หากไม่ดีก็วา่ บางส่ วนเมื่อเห็นเพื่อนได้ดี-เด่น-ดังกว่าตัวก็ทบั ถม ขัดขวาง ซึ่งแน่นอนปั ญหาทั้งหมดที่ระดมสมองแต่ช่วง บ่ายเราไม่สามารถแก้ไขได้หมด แต่การแก้ไขที่ง่ายได้ผลคือ แก้ไขและปรับเปลี่ยนที่ตวั เรา ทําให้วงคุยใน เย็นนี้เป็ นหัวข้อที่วา่ “แล้วเราจะอยูก่ นั อย่างไรต่อไปตามวิถีเกษตรพอเพียงท่ามกลางวิธีทุนนิยมรอบข้าง” วิทยากรจึงนําเสนอทางเลือกกว้างๆ ที่พอเป็ นไปได้ คือ ๑. การทําตามสิ่ งที่เขาทํากันอยูแ่ ล้ว คือ เกษตรเชิงเดี่ยว ปลูกเพื่อขาย นําเงินมาซื้ อสิ นค้าและบริ การ ๒. การแยกตัวออกจากชุมชน คือ ทําเกษตร ผสมผสาน ปิ ดสวนอยูก่ ินแค่ภายใน ไม่จดั อบรมไม่เผยแพร่ และ ๓. ทางสายกลาง คือ ทําเกษตรผสมผสาน และคบหากัลยาณมิตรที่มีใจอุดมการณ์เดียวกันและเจริ ญเมตตาธรรมเพื่อเสริ มกําลังใจระหว่างเพื่อนร่ วมทาง ชาวชุมชนบ้านนาฟานมีความเห็นว่า พื้นที่ตรงนี้ (สวนอุทยานทิพย์) ผืนป่ าอันอุดมสมบูรณ์ของ พื้นที่สะเมิงเหนื อที่กาํ ลังเผชิ ญปั ญหาการตัดไม้ การกว้านซื้ อที่จากนายทุน พื้นที่น้ ีใช้จดั กิจกรรมซึ่งมี เป้ าหมายที่จะพัฒนาอีกมาก เช่น การสร้างฝายต้นนํ้า ทําแนวกันไฟ พันธุ์ไม้ต่างๆที่จะป้ องกันสวนเกษตร ผสมผสานจากไฟป่ าและยกระดับต่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้เหมือนศูนย์แม่ที่ห้วยบง ที่ทางวัดพระบรมธาตุดอยผา ส้มใช้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้สาํ หรับผูท้ ี่สนใจทัว่ ไปเพื่อหาเพื่อนที่มีหวั ใจเดียวกันนั้นเอง ฉะนั้นชาวชุมชนบ้านนา ฟานจึงเห็นว่าจําเป็ นต้องได้รับการสนับสนุน จึงเลือกที่จะเดินทางสายกลาง คือ ยังมัน่ คงในวิถีเกษตร พอเพียง และหาเพื่อนร่ วมสนับสนุนในก้าวต่อไป เนื่ องจากหลายคนเคยผิดหวังกับการเป็ นหนี้มากจากการ ทําเกษตรเชิงเดี่ยวและพันธะสัญญา จึงขอเดินตามแนวทางเกษตรพอเพียงต่อไป หนี้ไม่ได้ลดลงแต่รายจ่าย ลดลงเห็นได้ชดั และหาทางเพิ่มรายได้จากผลผลิตในสวนตัวเองที่ปลูกกินแล้วเหลือหรื อแปรรู ปเพื่อเก็บไว้ ขายได้นาน ชาวชุมชนยอมรับว่าทําแล้วสบายใจ ไม่ตอ้ งกังวลมากเหมือนตอนมีคนตามท้วงหนี้ หลังจากที่ชาวชุมชนยืนยันเลือกแนวทางเดิมแต่ยงั คงไม่มีแนวทางหารายได้เพิ่มเพื่อใช้จ่าย ชีวติ ประจําวันและชําระหนี้สิน วิทยากรจึงนําเข้าสู่ ประเด็นคือ “ขบวนบุญ” หลังจากที่ชาวชุมชนเล่าปั ญหา
84
หาแนวทางการแก้ปัญหาจึงเป็ นที่มาของทําโครงการขบวนบุญซึ่ งจะกล่าวในรายละเอียดในช่วงหลัง รับประทานอาหารเย็นร่ วมกัน
ช่ วงคํ่าวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๔ ถอดปลัก๊ ใจ พักผ่ อนความคิด อิม่ กายแล้วอิม่ ใจ หลังจากที่ชาวชุมชนรับประทานอาหารเย็นร่ วมกันจนอิ่มท้อง จากผักพื้นบ้านใหม่ สด สะอาดของ บ้านนาฟานที่เก็บตามสวนที่ได้เดินชมเมื่อช่วงเช้า วิทยากรจึงพาผูเ้ ข้าร่ วมอบรมทํากิจกรรม “ถอดปลัก๊ ใจ” นัง่ หลับตาในความมืด (สถานที่อบรมไม่มีไฟฟ้ า ใช้เครื่ องปั่นไฟในการอบรม) ฟังเสี ยงธรรมชาติรอบตัว สัมผัสลมเย็นอ่อนๆ ที่พดั พาให้หลับสบายในช่วงหัวคํ่านี่ คือสิ่ งที่ได้รับจากการทําเกษตรพอเพียงขั้นพื้นฐาน ที่สามารถพึ่งพาตนเองได้แล้ว คือ พอกิน (มีขา้ ว ผัก ปลา ไก่) พอใช้ (มีแชมพู สบู่ นํ้ายาล้างจาน ปุ๋ ย) พออยู่ (สร้างบ้านจากไม้ จากดิน) พอร่ มเย็น (อากาศบริ สุทธิ์ นํ้าสะอาด ผักสด) นี้คือสิ่ งที่สัมผัสได้และเห็นได้จริ ง กิจกรรมที่ ๕ ถอดรหัสหา “คัมภีร์ขบวนบุญ” (เคล็ดลับการขับเคลือ่ นขบวนบุญให้ ประสบความสํ าเร็จ) หลังจากนั้นวิทยากรจึงเริ่ มบรรยายความเป็ นมาของแนวคิดโครงการ “ขบวนบุญ” ที่เริ่ มจากการ ทําบุญ และจะทําบุญได้ต่อเมื่อพึ่งพาตนเองได้แล้ว และตอนนี้บา้ นนาฟานก็สามารถพึ่งพาตนเองได้บา้ งแล้ว ต่อไปให้ทาํ บุญ เช่น บ้านนาฟานมีผกั ปลอดสารพิษมาก ให้หาตลาดใกล้ๆ เช่นชาวบ้าน โรงเรี ยนที่ซ้ื อผัก จากไกลๆ หรื อในเมืองมาขาย เราก็เอาไปขายด้วยราคา “ต้นทุน” นี่คือหัวใจของโครงการ เพราะคนขายต้อง เชื่อในบุญ อยากช่วยชาวชุมชนที่ลาํ บากซื้ อผักแพง และไม่แน่วา่ ปลอดสารพิษตกค้างจึงขายราคาต้นทุน และ เมื่อเขาลืมตาอ้าปากได้ก็จะเห็นคุณค่าผลิตภัณฑ์ของเราที่ช่วยเขาลดรายจ่าย จึงกลับมาซื้ ออีกและบางครั้งเขา ก็จะจ่ายมากกว่าราคาต้นทุน เราจะนํากําไรนั้นเข้ากองทุนเพื่อสาธารณประโยชน์ของชุ มชนเรา อย่างบ้านนา ฟานก็จะนํากองทุนนี้เป็ นกองทุนรักษาป่ าต้นนํ้า ซื้ อปูนสร้างฝาย ซื้ออุปกรณ์ดบั ไฟป่ า เพาะกล้าไม้ปลูก ทดแทน นี่คือ วิธีการขบวนบุญ ช่วงคํ่าช่วงที่ ๒ วิทยากรแบ่งกลุ่มชาวชุมชนระดมสมองหาเคล็ดลับในการดําเนินโครงการขบวน บุญให้ประสบความสําเร็ จ (คัมภีร์ขบวนบุญ) คือ ๑.เชื่อว่าบุญมีฤทธิ์ จริ ง (บุญสําคัญกว่าเงินทอง) ๒.จงลงทุน ในบุญตลอด (มีความมุ่งมัน่ ) ๓.ไม่อิจฉาริ ษยา ปรารถนาให้ผอู้ ื่นได้ดี ๔.ให้โอกาสผูอ้ ื่นเสมอ ๕.วาง ความเห็นให้ตรงกับความจริ ง (ลงมือทําจริ ง วางใจได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด) ๖. เป็ นแบบอย่างที่ดี (พูด เช่นไร ทําเช่นนั้น) ๗. จะไม่ทอ้ ถอยจนกว่าจะบรรลุผลสําเร็ จ
85
ช่ วงเช้ าวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๖ วางแผนปฏิบัติการขับเคลือ่ นขบวนบุญ (Action Plan) ตั้งแต่เช้ามีกิจกรรมตักบาตรรับพรและเทศนาธรรมก่อนเริ่ มการบรรยาย การบรรยายเช้าวันนี้เริ่ ม จากทบทวนเคล็ดลับในการดําเนินการให้ประสบความสําเร็ จ วันนี้จึงเริ่ มจากการวางแผนปฏิบตั ิการว่า หลังจากวันนี้จะทําอะไร วางทิศทางอย่างไร จากสิ่ งที่มีอยูใ่ นชุมชนก่อน ทีมงานแบ่งทีมชาวบ้านระดมสมอง ทําแผนปฏิบตั ิงาน (ทําทันที) หลังจากอบรม ทีมชาวบ้านสะเมิงเหนื อ (กลุ่มบ้านใหม่ตน้ ผึ้ง) และ ทีม ชาวบ้านนาฟาน โดยทีมสะเมิงเหนื อจะปลูกผักปลอดสารส่ งโรงเรี ยนในชุมชน และพานักเรี ยนศึกษาดูงาน ในสวนเพื่อกลับไปปลูกที่โรงเรี ยนหรื อที่บา้ น และจะเป็ นกําลังช่วยบ้านนาฟานทําศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจ พอเพียง สําหรับทีมบ้านนาฟานมีแผนงานจะสร้างศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง โดยเริ่ มจากโครงการ รักษาป่ าโดยการทําแนวกันไฟ สร้างฝายชะลอนํ้า ป้ องกันไฟไหม้ป่าทุกปี และเปิ ดบ้านให้ผทู้ ี่สนใจ โดยเฉพาะคนกรุ งเทพฯ หัวใจพอเพียงที่เป็ นเครื อข่ายทางวัดฝากเนื้ อฝากตัวเป็ นลูก ชาวบ้านก็พาลูกทํางาน ในสวน ในไร่ หากินในป่ าไม่ใช้เงินและคนกลุ่มนี้เมื่อกลับไปกรุ งเทพฯ ก็จะมาบอกต่อและจะกลับมาตอบ แทนคุณที่ชาวบ้านให้ท้งั องค์ความรู ้และความรักความเอาใจใส่ ดว้ ยการสนับสนุนโครงการศูนย์การเรี ยนรู้ ของพ่อและแม่ เป็ นเครื อข่ายขบวนบุญที่ไม่จาํ กัดเฉพาะคนรอบๆ ชุมชนแต่ไปไกลถึงคนปลายนํ้าอย่างคน เมืองที่ใช้น้ าํ และมีโอกาสสนับสนุนคนต้นนํ้าอย่างชาวบ้านด้วย ท้ายสุ ดวิทยากรสรุ ปงานโดยให้กาํ ลังใจและหลักปฏิบตั ิงานให้ตรงกันไม่วา่ จะเกิดอุปสรรคใดๆ ใน การดําเนิ นงานขบวนบุญให้ยึดหลักการทํางาน “ขบวนบุญ” โดยนําหลักธรรมะมาประยุกต์ คือ ๑.บุญ –ลงทุนบุญคุม้ ค่า ๒.พรหมวิหาร--เมตตา กรุ ณา มุทิตา อุเบกขา (ให้โอกาสทุกคน ปรารถนาให้เขาได้ดี ไม่ดีก็ให้กาํ ลังใจ ให้อภัย) ๓. มีความเพียรอันบริ สุทธิ์ — จะไม่ทอ้ ถอยจนกว่าจะสําเร็ จและเคยทําผิดอย่างไร จะไม่กลับไปทําอีกเด็ดขาด ช่ วงบ่ ายวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมที่ ๗ สํ ารวจป่ าบ้ านนาฟาน กิจกรรมสุ ดท้ายก่อนกลับคือ การเดินสํารวจป่ าต้นนํ้าของบ้านนาฟาน ต.สะเมิงเหนือที่ยงั คงมีผนื ป่ า ต้นนํ้าที่อุดมสมบูรณ์มาก เพื่อวางแผนในการอนุรักษ์ป่าผืนนี้ดว้ ยแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงที่ตอ้ งรักษา ทรัพยากรธรรมชาติโดยรอบในการปลูกป่ าทดแทน (ป่ า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่าง) ในการทําแนวกันไฟป่ า ที่เกิดขึ้นทุกปี และพื้นที่ที่วางแผนในการทําฝายชะลอนํ้าเพื่อกักเก็บนํ้าในอนาคต ซึ่งเป็ นแผนปฏิบตั ิการที่ ชาวชุมชนบ้านนาฟานได้วางแผนเมื่อคืนโดยจะยกระดับเป็ นแหล่งเรี ยนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในอนาคต
86
สรุ ปประเมินผล ถึงแม้วา่ ตลอด ๒ วันกิจกรรมส่ วนใหญ่จะเป็ นการประชุมระดมสมองซึ่ งชาวบ้านออกความคิดกัน อย่างหลากหลาย ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์เต็มที่และวางแผนการดําเนินงานต่อแบบลงมือทําได้ทนั ที ซึ่ ง บรรยากาศในการประชุมกลับไม่ได้เคร่ งเครี ยดเพราะ สถานที่ประชุ มเป็ นเรื อนไม้รายล้อมด้วยธรรมชาติอนั อุดมสมบูรณ์เขียวขจี ลมพัดเย็นสบายตลอดทั้งวัน ถึงแม้ไม่มีไฟฟ้ าก็สามารถใช้ชีวิตอิงธรรมชาติได้อย่างมี สุ ขในสวนนาฟานอุทยานทิพย์ บ้านนาฟาน นอกจากนี้ ผเู้ ข้าร่ วมประชุ มมีความประทับเรื่ องอาหารการกิน ทุกๆ มื้อมากเพราะ บางคนได้ร่วมเก็บในสวนที่ชาวบ้านปลูกตั้งแต่เช้ามาทําอาหาร สด สะอาดและรสชาติ อร่ อย รวมทั้งบรรยากาศการพูดคุยระหว่างการระดมสมองอย่างเป็ นกันเองแบบพี่สอนน้อง น้องแนะนําพี่ทุก คนมี โอกาสได้พูดคุ ย ออกมาจากใจเปิ ดเผยเพราะมี จุดร่ วมเดี ย วกัน คือการก้า วต่อไปในแนวทางเกษตร พอเพียงอย่างมัน่ คง จากแบบประเมินผลความพึงพอใจของผูเ้ ข้าร่ วมอบรม ผลสรุ ปคือ จากผูเ้ ข้าร่ วมทั้งหมด ๒๖ คน รู ้สึกพึงพอใจเป็ นอย่างมากที่มีการจัดอบรมรมในลักษณะนี้ข้ ึน โดยได้เขียนบทเรี ยนที่ได้รับในแบบสอบถาม คําถามปลายเปิ ด ดังต่อไปนี้ ๑. ได้เห็นสถานที่ทาํ เกษตรพอเพียงจริ ง (สวนนาฟานอุทยานทิพย์) ทําให้เกิดความเชื่ อมัน่ ที่จะลงมือทํา ตามเพื่อนที่กา้ วไปก่อนแล้วและเป็ นผูค้ อยให้คาํ แนะนําได้ ๒. เกิดความเชื่อมัน่ ว่าการทําเศรษฐกิจพอเพียงขั้นต้น ให้มีพอกินพอใช้และสบายใจเมื่อหนี้ ลดลง และ ยังสามารถไปช่วยคนอื่นได้อีก แบ่งปั นเพื่อนบ้านได้จากผลผลิตในสวนของตนเองที่เหลือกินเหลือ ใช้ ๓. ได้มีโอกาสทบทวนเป้ าหมายในการดําเนิ นชี วิตต่อจากนี้ ที่จะช่ วยตอบแทนคุณแผ่นดิน และนี้ คือ ความสุ ขที่เงินซื้ อให้ไม่ได้ ๔. จะนําเคล็ดลับคือ กุญแจ ๓ ดอก คือ บุญ (มีจริ ง) มุทิตา (ความปรารถนาให้ผอู้ ื่นได้ดีไม่อิจฉา) ความ เพียร (มุ่งมัน่ ทําต่อไป) มาปรับใช้ในการขับเคลื่อนขบวนบุญ ๕. เข้าใจแนวคิดขบวนบุญมากขึ้นว่า “ไม่ได้นาํ เงินเป็ นตัวตั้ง แต่เอาบุญเป็ นหลักชัย” ๖. มองเห็ นปั ญหาภาพรวมของสังคมที่เรากําลังเผชิ ญอยู่ แต่เราเลื อกที่จะแก้ไขปรับเปลี่ยนที่ตนเอง ก่อน เพราะปั ญหา ๑๐๘ เรื่ องเป็ นปั ญหาที่โยงใยใช้เวลาและมีโอกาสไม่ประสบความสําเร็ จสู ง ๗. การเพิ่มพลังเห็นทางสว่างในการทํางานต่อไปและการเสริ มกําลังใจระหว่างกัลยาณมิตรในเครื อข่าย ๘. ได้เคล็ดลับในการชนะใจคนขี้เหนี่ ยว คนขี้อิจฉาริ ษยาด้วยการให้ก่อน ให้ความจริ งใจ ใช้ใจซื้ อใจ ด้วยการคิด พูดและลงมือทําจริ งแล้วบุญจะตอบแทนเอง คือ ยิ่งยุแยง ยิง่ สามัคคีข้ ึน ยิง่ พยาบาท ยิ่ง เมตตา ยิง่ เขาขาดแคลน เรายิง่ ให้
87
รายนามผู้เข้ าร่ วมประชุ มเชิ งปฏิบัติการ โครงการแหล่ งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน วันที่ ๒๘-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ สวนนาฟานอุทยานทิพย์ บ้ านาฟาน ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ --------------------------------
ผู้มาประชุ ม ๑ นาย คํา จันทร์ ตะมงคล ๒ นาย เสงี่ยม แสนคํา ๓ นาย สมคิด อินตานิ ๔ นาง จ๋ า อินทจักร ๕ เด็กชาย ไทย อินทจักร ๖ เด็กหญิง สโรชา อินทจักร ๗ นางสาว ธชาพร เลาวพงษ์ ๘ นางสาว ธนภรณ์ กันทะเส็ ค ๙ นาย สมชาย สิ ทธิ โลก ๑๐ นาย ชัชวาล บัวเขียน ๑๑ นาย รัฐมนต์ สิ ทธิ โลก ๑๒ นางสาว วิริยา ศุภภัทรานนท์ ๑๓ นาย นิวาส จันทร์ แดง ๑๔ นาง เอ้ย สิ ทธิ โลก ๑๕ นางสาว รุ่ งนภา ชมโลก ๑๖ นาย วสิ ษฐพล ภูสิริพฒั นานนท์ ๑๗ นางสาว วรรณทนี กิ่งเพชรเสรี ชน ๑๘ นาย ศักดิ์สิทธิ์ สุ ขโน ๑๙ นาย ณัฐดนัย ชัยอุดม ๒๐ นาย พญาสิ ทธิ สิ ทธิ โลก ๒๑ นาง สุ นา สิ ทธิ โลก ๒๒ นางสาว วราลักษณ์ ชินวัฒน์ไพบูลย์ ๒๓ นางสาว ปราณี สหดิษฐดํารง ๒๔ นาง ศิริรัตน์ จิตจารึ ก ๒๕ นาย กิตติ ศรี เจริ ญศักดิ์ ๒๖ นาย โสพล ปั ญรัตน์ทน
๔๙/๒ หมู่ ๔ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๒๑ หมู่ ๔ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๕/๑ หมู่ ๔ ต.แม่สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๗/๓ หมู่ ๔ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๗/๓ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๗/๓ หมู่ ๔ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๒๒๕/๙ ต.แม่พลู อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ ๒๐ หมู่ ๑ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๗/๓ หมู่ ๔ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔/๑ ถ.ชมดอย ต.สุ เทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๔๗/๓ หมู่ ๔ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๘๙/๙๗๗ ซ.นวมินทร์ ๘๗ แขวนคลองกุ่ม กรุ งเทพ ๗๖/๑ หมู่ ๔ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๙๕ หมู่ ๔ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๓๓ หมู่ ๔ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๓/๑หมู่๑๐ ต.โป่ งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ๓๑๓หมู่ ๓ ต.สันปูเลย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ๑๗/๑หมู่ ๓ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๑๕ หมู่ ๓ ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๗/๓ หมู่ ๔ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๔๗/๓ หมู่ ๔ ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ๘๒/๙ ถ.เกาะคา-ห้างฉัตร อ.เกาะคา จ.ลําปาง ๓๓๘ ซ.บรมราชธานี กรุ งเทพ ๓๓๘ ซ.บรมราชธานี กรุ งเทพ ๑๖๕/๑ ต.ริ มเหนือ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ๔๑/๑ หมู่ ๔ ต.แม่แรม อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
88
ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม ๑. พระอธิ การสรยุทธ ชยป�ฺ โญ ประธานคณะทํางาน ๒. นายวีรยุทธ์ สุ วรรณทิพย์ ฝ่ ายนโยบายและบริ หารโครงการ ๓. นางสาวธชาพร เลาวพงษ์ วิทยากร 1
1
89
ภาพกิจกรรมแหล่ งเรียนรู้ เคลือ่ นที่ ติดตามประเมินผล ของทุกกลุ่มเป้าหมายเครือข่ าย ระหว่ างวันที่ ๒๘ – ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ สวนนาฟานอุทยานทิพย์ บ้ านนาฟาน ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ. เชียงใหม่ กิจกรรมเดินสํ ารวจพืน้ ทีเ่ กษตรพอเพียง ณ สวนนาฟานอุทยานทิพย์
ลําธารนํ้าใสไหลเย็นผ่านทางเข้าสวนตลอดทั้งปี
น้องต่อย กองกําลังเกษตรโยธินรุ่ นใหม่กาํ ลังชี้กิ่งไผ่ที่ ตอนแล้วเพื่อรอขยายพันธุ์ไปปลูกในเครื อข่ายโครงการ
ป่ า ๓ อย่างประโยชน์ ๔อย่าง ต้นสัก กล้วย อ้อย ไผ่ ผักบุง้ และสมุนไพรคลุมดิน
พ่อสมชาย เจ้าของสวนกําลังสาธิ ตการระบาดของตัว ด้วงที่กดั กินหน่อไผ่จนลําต้นเน่าเป็ นจํานวนมาก
สวนกล้วยหลากชนิด
สํารวจสวนไผ่เขียวชอุ่มและหารื อวิธีระงับการระบาดตัวด้วง สวนขมิน้ ปลูกผสมสวนกล้วยและมะละกอ
พ่อน้าเหงี่ยมแห่งบ้านใหม่ตน้ ผึ้งชี้รอยโพรง ของตัวด้วงที่มาทํารังบนหน่อไม้ออกใหม่
90 กล้วยหอมเครื อโตๆ รอสุก
กิจกรรมระดมสมองทบทวนปัญหารอบตัว
ปั ญหาเยาวชน ค่านิยมจบสูง มีงานสบาย เงินมาก ไม่ทาํ เกษตร เป็ นหนี้ค่าเทอมกองโต “ปั ญหามา ปั ญญามี”
ปั ญหาเศรษฐกิจ การเมือง สังคมศีลธรรมมากมายแก้ไม่หมด เริ่ มแก้ที่ “ตนเอง” พึ่งตนเอง
กิจกรรมประชุ มระดมสมอง “แก้ปัญหา ทางรอดหรือทางตันบนวิถีความพอเพียง”
พ่อแม่พดู ลูกๆจดและนําเสนอ เน้นยํ้าว่า ความพอเพียงคือทางรอด คือ ทรัพย์อย่างยิง่ ท่ามกลางกระแสสังคมปั จจุบนั ที่ “อยูย่ ากกว่าแต่ก่อนมาก”
91
กิจกรรม ถอดรหัสหา “คัมภีร์ขบวนบุญ”
เคล็ดลับการลงมือทํา ขบวนบุญให้ประสบ ความสําเร็ จ ๑.เชื่อว่าบุญมีฤทธิ์จริ ง ๒.ลงทุนในบุญตลอด ๓.ไม่อิจฉาริ ษยา ๔.ให้โอกาสผูอ้ ื่นเสมอ ๕.ยอมรับผลที่เกิดขึ้น ๖.พูดจริ ง ทําจริ ง เป็ น แบบอย่างที่ดี
ตักบาตร ธรรมะรับอรุณอิม่ ใจ อิม่ กายด้ วยยําหน่ อ นํา้ พริกนํา้ ปู๋ แกงบอน ผัดถั่วฝักยาวเก็บสดๆ จากสวน
92
กิจกรรมวางแผนปฏิบัติการขับเคลือ่ นขบวนบุญ (Action Plan) โค้ งสุ ดท้ายก่อนสรุปโครงการ
ทีมนักศึกษาเครื อข่ายวัดจากอ.แม่ริม ขอปลูกผักสวนครัว เพิ่ม กระเพรา โหระพา ตะไคร้หอม ผักหวานให้พอกิน
พ่อสมชาย เจ้าบ้านต้อนรับเวทีสญ ั จร ขอเปิ ดบ้านเป็ น ศูนย์อบรมพาคนฝึ กทําเกษตร และเริ่ มทําแนวกันไฟป่ า
ทีมสะเมิงเหนือขอส่งผักสดจากไร่ ตรงสู่โรงเรี ยนด้วยราคาต้นทุน ทําบุญก่อน
พ่อน้าเหงี่ยมบ้านใหม่ตน้ ผึ้งสนใจพัฒนาสวนตนเอง เป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงเช่นกัน
นักเรี ยนสะเมิงพิทยาคมหาสมาชิกเพิ่มใน โรงเรี ยน พาน้องทําฝาย ทําลูกบอลดินระเบิด เพาะกล้าไม้ปลูกจิตสํานึกเยาวชนก่อน
ทีมศิษย์วดั ผูป้ ระสานงานส่วนกลางเร่ งทําประชาสัมพันธ์ ขบวนบุญเพื่อสื่ อสารกับคนรุ่ นใหม่ ว่า “บุญมีฤทธิ์จริ ง”
กิจกรรมสํ ารวจป่ าบ้ านนาฟาน เพือ่ วางแผนการอนุรักษ์ ป่าต้ นนํา้ จากไฟป่ า ป่ าต้นนํ้ายังอุดมบูรณ์อยู่ มาก ทําเกษตรพอเพียงก็ คือต้องอนุรักษ์ป่าไปด้วย แนวกันไฟป่ า ฝายต้นนํ้า คือโครงการต่อไปครับ
93
เนือหา / รายละเอียดของการดําเนินกิจกรรม โครงการแหล่งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้ าระดับเครือข่ ายพหุชุมชน ๕. ฝังตัวขับเคลือนแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง และการขยายพลังของแหล่งเรี ยนรู ้ชุมชน หน่ วยงาน/องค์ กร ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผู้ประสานงาน พระครู ธรรมคุต (สรยุทธ ชยป ฺ โญ) เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ (บวร.) วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม โทร. ๐๘๙ ๙๒๖ ๓๘๗๗ E-mail: doiphasom@gmail.com วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑) เพือขับเคลือนขบวนบุญ โดยอาศัยฐานของเศรษฐกิจพอเพียง และความร่ วมมือของเครื อข่าย ๒) เพือเก็บข้อมูลในพืนที ระหว่างปฏิบตั ิการ เพือใช้สรุ ป ประเมินผลโครงการ ผลลัพธ์ ทเกิ ี ดขึน ๑) ได้เกิดการขับเคลือนของขบวนบุญในแต่ละพืนที ซึงมีความก้าวหน้าและเข้มข้นแตกต่างกัน ๒) ได้เรี ยนรู ้บทเรี ยนของแต่ละพืนที เพือนํามาใช้พฒั นาต่อยอดให้ทุกๆพืนทีสามารถขยายผลได้ อย่างเต็มศักยภาพ กิจกรรม
ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ตัวชีวัดทีเกิดจริง ตัวชีวัดทีตังไว้ ๑) เกิดการขับเคลือนขบวน ๑) ขบวนบุญของทัง ๕ พืนทีเป้ าหมายได้มีการขับเคลือน ดังรายละเอียดทีจะแสดงถัดไป บุญ ได้ผลเป็ นตัวเงินที สามารถวัดได้ของแต่ละ ชุมชน ๒) ได้บทเรี ยนการขับเคลือน ๒) เกิดบทเรี ยนทีจะใช้ในการพัฒนาต่อไปได้จริ ง ขบวนบุญทีเป็ นประโยชน์ใน การดําเนินงานต่อไป
94
บทสรุ ปการทํางานเขตที่ ๑ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม/บ้ านอมลอง ต.แม่ สาบ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๕๑ หมู่บ้านในจินตนาการ: กําเนิดศูนย์ การเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ลุงดร แม่ เอ้ ย: สร้ างศู นย์ ฯ ไม่ สูญเปล่ า ใครจะไปจินตนาการออกว่าพื้นเขียวชอุ่มด้วยป่ าไม้สูงราวตึก สองชั้น ผืนดินถูกปกคลุมบรรดาหญ้าคา ไมยราพ แฝก ผักบุง้ ผัก ปราบ ขึ้นรกแต่ไม่เปลือยเปิ ดหน้าดินดําให้เห็น อดีตที่ตรงนี้เคยแห้ง แล้งดินแตก เพราะเคยเป็ นไร่ ขา้ วเก่าของลุงดรและแม่เอ้ย ซึ่ งตอนนั้น ทั้งคู่ก็ยงั จินตนาการไร่ ขา้ วของตนเองไม่ถูกว่าจะถูกแปลงเป็ นอะไร ทันทีที่สิ้นเสี ยงรถแม็คโครไถดะปื้ นแรก นํ้าตาแม่เอ้ยก็ไหล พรู ออกมาไม่หยุด “ตอนแรกแม่ไม่ยอมยกที่ดินให้หลวงพ่อ แม่เสี ยดายข้าวไร่ ที่ เฝ้ าฟูกฟักดูแล และกําลังตั้งท้องออกรวงอยูแ่ ล้ว หลวงพ่อน่าจะรอสัก หน่อย พอตกลงกันได้วนั รุ่ งขึ้นก็ไปเอาแม็คโครมาไถเลย” นิตยา สุ ข โขหรื อแม่เอ้ย เล่าประสบการณ์ไม่ได้ต้งั ตัวตอนรถไถไร่ ขา้ วจนโล่ง เตียนเหลือแต่แปลงดินเปล่า ข้าวล้มผสมก้อนดินเหนียวกลางแดดจ้า ทําเอาใจแม่แทบสลาย แต่ก็ยงั เทียบไม่ได้กบั ความเจ็บปวดจากหนี้สิน พะรุ งพะรังจากการเป็ นพ่อเลี้ยงแม่เลี้ยงสตรอเบอร์ รี่ขาดทุนย่อยยับเมื่อ ย่างเข้าสู่ ปีที่สิบ “มันมืดไปหมด ย่ะ(ทํา)ทุกอย่างมาหมดแล้ว ติดหนี้กองโต หลวงพ่อมานัง่ อยูต่ รงโขดหิ นบอกว่า อยาก ได้คนหัวไวใจสู ้ อยากได้ที่ทาํ ข้าวไร่ ตรงนี้แปลง(สร้าง)เป็ นศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง พ่อจะว่าอย่างไง พ่อก็ไม่รู้จะ ทําอย่างไง มันมืดบอด หนี้บงั ตา ก็เลยตัดสิ นใจทําดู ไม่มีอะไรจะเสี ยอีกแล้ว”
95
อุดร สุ ขโขหรื อที่รู้จกั กันในนาม “ลุงดร” ทบทวนความทรงจําที่ยงั คงเด่นชัดย้อนกลับไปเมื่อปี ๒๕๕๑ เมื่อหลวงพ่อสรยุทธ ชยปั ญโญ รักษาการเจ้า อาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มพบ “ความทุกข์” จาก ปั ญหาหนี้จากการทําเกษตรเชิงเดี่ยวระหว่างบิณฑบาต ของชาวบ้านอมลอง เมื่อปัจจัยการผลิตสู งขึ้น ไม่วา่ จะ เป็ นค่ารถไถ ค่าแรงงาน ค่าปุ๋ ย ค่ายาสารเคมี ค่าเมล็ด พันธุ์ ค่านํ้ามันและการขนส่ ง ทั้งชาวบ้านยังต้องเผชิญ กับความไม่แน่นอนของสภาพอากาศกับราคาผลผลิตที่ ไม่มีใครรับประกันความแน่นอนได้ ซํ้าร้ายที่ดินที่เคย ปลูกดีกินดีกลับเสื่ อมโทรมอย่างรวดเร็ วเพราะใช้ สารเคมีติดต่อกันอย่างยาวนาน จึงต้องกูเ้ งินใช้หนี้และ ลงทุนเสี่ ยงโชคปลูกพืชเคมีหวังผลต่อ เพื่อต้องการ ความสุ ขเทียมคือ เงินทองกองสมบัติ ที่หาได้มีความ มัน่ คงไม่ เมื่อชีวิตตั้งอยูบ่ นความประมาท ทําทุกอย่าง เพื่อตอบสนองกิเลสตัณหา หรื อความต้องการไม่รู้จกั พอ ภายใต้การขับเคลื่อนแนวคิดทุนนิยมเสรี กระแส วัฒนธรรมบริ โภคนิยมที่กาํ ลังโหมรุ นแรงแผดเผาจิตใจ อันดีงามของผูค้ น เป็ นจุดเริ่ มต้นของทางวัดที่ริเริ่ มหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ ภาคปฏิบตั ิที่เห็นผลได้จริ ง เป็ นการพิสูจน์วา่ ศาสตร์ พระราชาจะเป็ นทางรอดจริ งหรื อไม่ “พอจัดตั้งศูนย์ฯ เข้าปี ที่สองถึงได้เข้าใจว่ามันยิง่ กว่าปลูกผัก ปลูกกล้วย ปลูกไผ่ ปลูกไม้ผล ไม้ยนื ต้น เริ่ มเห็นสี เขียวชอุ่มมาบ้าง ผักก็โตงาม อากาศก็เย็นดี มีคนเข้ามาถามซื้ อผักถึงที่ คนก็มาขอดูงาน ชมสวนเรามาก ขึ้นๆ ตอนแรกนึกว่าเศรษฐกิจพอเพียงคือปลูกผักอย่างเดียว แต่ไม่ใช่มนั อยูท่ ี่ “ใจเราพอหรื อเปล่า”
96
“ยิง่ ได้ไปดูงานคนอื่นที่ประสบผลสําเร็ จ ที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องบ้าง ปฐมอโศกบ้าง สวน เกษตรเมืองงายในองค์สมเด็จฯ พระบรมราชินีนาถ ฟังปราชญ์ ชาวบ้านที่อีสานบ้าง ทําให้เห็นว่าแค่พอกินพออยูพ่ อใช้พอ ร่ มเย็นที่ในหลวงตรัสมานานแล้ว เราไม่เข้าใจ พอกลับมาจึงลง มือทําทันที เห็นกับตัวเองถึงเข้าใจ ความสุ ขง่ายๆ ก็เริ่ มจาก ใจที่ พอแล้ว” ลุงดรวิทยากรชาวบ้านชั้นครู สะท้อนสายตาเป็ น ประกายถึงความภูมิใจที่จากวันนั้นถึงวันนี้ตดั สิ นใจไม่ผิดที่ยอม ยกผืนข้าวไร่ ให้กบั ทางวัดจัดตั้งศูนย์การเรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงสู่ การสร้างเสริ มคุณธรรมนําวิถีชีวติ ชุมชน ภายใต้การ สนับสนุนจากศูนย์คุณธรรมกัลยาณมิตรที่ช่วยเหลือต่อเนื่องกว่า สี่ ปีแล้ว ระหว่างปี ๒๕๕๑ บรรดาแม่บา้ นพ่อบ้านชาวอมลอง กลุ่มแรกกว่ายีส่ ิ บคนที่ยงั กล้าๆกลัวๆ กับการเริ่ มต้นชีวิตใหม่ กับวิถีชีวติ เกษตรพอเพียง ทั้งๆที่แต่ละรายมีหนี้สินหลักแสน หลักล้าน จากการกูเ้ งินมาลงทุนกับพืชเชิงเดี่ยวท็อปฮิตอย่างสต รอเบอร์ รี่ ก็มีคนกลุ่มหนึ่งที่กล้ากลับหลังหัน พลิกหัวใจที่มืดมัว ถึงทางตัน สู่ ทางสว่างเหมือน “ตายแล้วเกิดใหม่” หลังจากที่ทาง วัดได้รับการสนับสนุนจากบริ ษทั โตโยต้ามอเตอร์ ประเทศไทย บริ ษทั เอกชนแห่งแรกที่ร่วมจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ๔ แผนก คือ ๑) การฟื้ นฟูอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติป่าต้นนํ้า โดยการสร้างป่ าเปี ยก ฝายชะลอนํ้า ๒) สร้างปั จจัย ๔ เกษตร อินทรี ยแ์ ละสารชีวภาพ ปลูกผักปลอดสารพิษ การบํารุ งดิน การ ทําสบู่ แชมพู นํ้ายาล้างจานลดรายจ่าย ๓) พลังงานทดแทนและ การอนุ รักษ์พลังงาน ไบโอดีเซลจากนํ้ามันเก่า หี บเมล็ด ทานตะวันและสบู่ดาํ หมักมูลสัตว์เป็ นแก๊สชีวภาพ ๔) จัด
97
การศึกษาพอเพียง ทางวัดจัดการศึกษาตามอัธยาศัยหรื อโฮมสคูล เรี ยน จากการทํางานจริ งตามที่สนใจ สามารถสื บทอดอาชีพภูมิปัญญาของพ่อ แม่ไว้ได้ เพื่อจิตสํานึกรักและอยากพัฒนาบ้านเกิดตนเอง และการเสริ มหนุนจากศูนย์ส่งเสริ มและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิง คุณธรรม สํานักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู ้ (องค์การมหาชน) หรื อ ศูนย์คุณธรรม ซึ่ งเป็ นภาคีภาครัฐแห่งแรกที่เข้ามาสนับสนุนกิจกรรมของ วัด ใน ๒ โครงการคือ โครงการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมและแนวทาง พระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเสริ มสร้างเครื อข่ายคนดี และโครงการ ศูนย์การเรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ การสร้างเสริ มคุณธรรมนําวิถี ชีวติ ชุมชน สร้างความร่ วมมือในการพัฒนาทั้ง บ้าน วัด โรงเรี ยน เป็ นการ น้อมนําหลักพระราชดําริ บวร นํามาใช้ในการพัฒนาในชุ มชนที่ยงั่ ยืน พ่อดร แม่เอ้ย จึงเป็ นตํานานของประวัติศาสตร์ หน้านี้เพราะเป็ น ครอบครัว “หัวไวใจสู้” ครอบครัวแรกๆ ที่กล้าเปลี่ยนชีวติ จากการทํา เกษตรเชิงเดี่ยวสู่ การทําเกษตรแบบผสมผสาน ทั้งอนุรักษ์ป่า ดิน นํ้า เพราะนอกจากจะทําเกษตรผสมผสานโดยปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่าง ที่ปลูกแล้ว ยังปลูกป่ า ๓ อย่าง ป่ ากิน ป่ าใช้สอย ป่ าอยูอ่ าศัยเพื่อประโยชน์ ๔ อย่าง คือ พอกิน พออยู่ พอใช้ พอร่ มเย็น การยกที่ดินข้าวไร่ แห้งแล้ง ให้กบั ทางวัดจัดตั้งเป็ นศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงที่ประกอบไปด้วย ๙ ฐาน การพึ่งตนเอง ได้ถ่ายทอดให้ความรู ้กบั ผูท้ ี่สนใจด้วยตนเอง “พ่อขี้อาย ยิง่ พูดต่อหน้าคนมากๆ ไม่ได้เลย แต่เชื่อเลยคนเรามัน ฝึ กกันได้ ยิง่ พูดในสิ่ งที่เราร่ วมทํา ร่ วมสร้างมาบนผืนดินของเราเอง ยิง่ ง่าย มันเป็ นธรรมชาติ ไม่น่าเชื่อจริ งๆ ว่าป่ าเขียวที่เห็น เมื่อสี่ ปีก่อนยังเป็ นไร่ แล้งแห้ง ป่ าต้นนํ้าก็ไหม้ทุกปี นํ้าไม่มีเลย แต่เดี๋ยวนี้ทาํ นาอินทรี ยไ์ ด้แล้ว มี นํ้ารดผัก คลุมฟางห่มดิน รดนํ้าหมักชีวภาพ ดินก็กลับมาอุดมสมบูรณ์
98
ปลูกกล้วย ปลูกต้นไม้ได้ เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู เลี้ยงวัวควายได้ มีอาหารกินไม่ตอ้ งกลัวอด ทั้งยังให้ความรู้ เป็ นบุญแก่คนอื่นของเราอีก” การเสี ยสละที่ดินเพื่อส่ วนรวมของลุงดรและแม่เอ้ยไม่สูญเปล่าจริ งๆ เมื่อได้ชีวติ คืนกลับมา เพราะ คืน ชีวติ คืนความอุดมสมบูรณ์ให้แผ่นดินก่อน ปลูกอะไรก็ข้ ึน ผลผลิตก็งาม ไม่ได้ใช้จ่ายค่าอาหาร รายจ่ายจึงลดลง ทั้งมีรายได้ หนี้จึงค่อยๆ ระหว่างนั้นก็ลุงดรก็ทาํ บุญเป็ นวิทยากรให้วทิ ยาทานความรู ้โดยเอาชีวิตจริ งของตนเป็ น ตัวอย่างประกอบฐานการเรี ยนรู ้ แม่เอ้ยคอยเป็ นผูด้ ูแลศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง ณ ห้วยบง มีอาหาร ที่พกั และรอยยิม้ ต้อนรับแขกผูม้ าเยือนและสนับสนุนอยูอ่ ย่างไม่ขาดสายเป็ นเพราะสายธารแห่งบุญที่ได้ร่วมตอบแทน คุณแผ่นดิน กิจกรรมบุญ ณ ศูนย์ เศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์บุญ ทุกวันนี้นอกจากลุงดรจะมีตาํ แหน่งหัวหน้าผูด้ ูแลศูนย์การ เรี ยนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ยังเป็ นสมาชิกสหกรณ์พาทําปุ๋ ยหมักทุกวัน พระ โดยทุกสิ บห้าคํ่าชาวบ้านอมลองจะนํามูลสัตว์ที่เหลือจากการใช้ที่ ไของตนเองมาออมรวมกัน ณ โรงทําปุ๋ ยหมัก ศูนย์การเรี ยนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง แล้วจึงนํารถปิ กอัพพากันไปเกี่ยวหญ้าข้างทางมาสับ บดด้วย เครื่ อง ผสมกับมูลสัตว์แล้วลดด้วยนํ้าจุลินทรี ย ์ ไม่ถึงเดือนปุ๋ ยหมักก็ พร้อมบรรจุกระสอบขายเป็ นผลิตภัณฑ์หลักของขบวนบุญ ที่ชาวสวน ลําไย ชาวนาอินทรี ยต์ อ้ งยกนิ้วให้กบั ปุ๋ ยหมักของชาวอมลองทั้งคุณภาพ ดี เพิม่ ผลผลิตในราคาประหยัด เมื่อได้รายได้คืนมาจึงนําไปเข้าร้านค้า สวัสดิการซื้ อข้าวของเครื่ องใช้ที่จาํ เป็ น อาทิ นํ้ามันเบนซิ น นํ้ามันพืช นํ้าตาล กระเบื้อง อิฐ ที่ราคาเท่ากับในเมือง เป็ นระบบสหกรณ์บุญที่ไม่ จ่ายปันผลเป็ นตัวเงิน แต่เป็ นสวัสดิการที่จะช่วยให้มีชีวติ ความเป็ นอยูท่ ี่ดี ขึ้น
99
ต้ อนรับคนบุญ ทุกๆ เดือนตารางงานของลุงดรและแม่เอ้ยจะแน่นไม่แพ้ นักธุรกิจพันล้าน เพราะบรรดาแขกทั้งขาจรและขาประจําจะ มาร่ วมเรี ยนรู ้และทํางานจิตอาสาให้กบั ทางศูนย์ฯ อาทิ กลุ่ม Very Good ซึ่ งเป็ นขาประจําจากเมืองหลวง เป็ นพนักงานบริ ษทั และ ครอบครัว นําทีมมาสร้างฝาย ปลูกป่ า ทําบ้านดิน และร่ วมเรี ยนรู ้ ฐานทั้ง ๙ เพื่อการพึ่งพาตนเอง กลุ่มนักศึกษาเอแบคและกลุ่มวิชา ชีวติ คือ ชื่อหลักสู ตรให้คนในเมืองที่อยากสัมผัสการใช้ชีวติ ใน ชนบท เรี ยนรู ้และช่วยงานในครอบครัวดุจดัง่ ลูกคนหนึ่งตลอด หนึ่งสัปดาห์ที่กระเป๋ าตังค์และมือถือจะถูกเก็บไว้เพราะไม่ตอ้ งใช้ แต่ให้เวลากับการเรี ยนรู ้ชีวิตทั้งจากครอบครัวอุปถัมภ์ ชาวบ้าน และเข้าใจตัว เราผ่านการใช้ชีวติ แบบพอเพียง หรื อกลุ่มทหารจากค่ายทหารหน่วยต่างๆ ที่ กลายเป็ นขาประจําช่วยสร้างฝาย ปลูกป่ าแบบทหารพัฒนา และกลุ่มเอกชนที่ เป็ นขาจรที่มาทําบุญถวายสังฆทาน ทอดผ้าป่ า แห่เทียนพรรษาแล้วสนใจเป็ น แรงงานจิตอาสาให้กบั วัด หรื อช่วยหากองทุนบูรณะซ่อมแซมปรับปรุ ง สถานที่ต่างๆ ของวัดและศูนย์อบรม นอกจากนั้นยังมีจิตอาสาเยาวชนหรื อ นักศึกษาจบใหม่ ที่ตะลุยมาเดี่ยวๆ หรื อกลุ่มเล็กๆ โบกรถมาช่วยงานด้วย ความตั้งใจ บ้างอยูเ่ ป็ นเดือน เป็ นปี จนกลายเป็ นศิษย์วดั ช่วยงานในวัดประจํา เหนื่อยแต่กายแต่ไม่เหนื่ อยใจ เพราะทุกครั้งที่ได้ทาํ เป็ นการสะสม เสบียงต้นทุนบุญกุศลสําหรับชีวติ นี้ เป็ นหลักคิดชีวิตของทั้งลุงดรและแม่เอ้ยตลอดห้าปี ที่เปิ ดบ้านต้อนรับคณะศรัทธาที่ไม่เฉพาะมาร่ วมเป็ น จิตอาสาตอบแทนคุณแผ่นดิน ป่ า ต้นนํ้า ยังเป็ นกําลังสนับสนุนวัดและศูนย์ท้ งั กําลังทรัพย์ กําลังปั ญญา กําลัง แรงงาน และกําลังใจด้วยการบอกต่อปากต่อปาก ทําให้เราเห็นว่า “บุญมีฤทธิ์ จริ ง” เพราะยิง่ ให้ยงิ่ ได้รับ
100
แม่ ศรี : ย่ ะซะป๊ ะ! (ทํามันทุกเรื่อง!) ทําทันที “ทํามาสิ บปี แล้ว เคยนับเงินล้าน มีรถปิ กอัพใหม่ ป้ ายแดงสี่ คนั แต่พอนํ้าท่วมก็ขาดทุนหลายแสน เจ๋ งเลย ตาย สนิท ต้องให้คนงานสิ บครอบครัวออก ต้องขายรถ ขายที่ดิน เพราะกูไ้ ม่ได้แล้ว หนี้มนั เต็มไปหมด มืดไปหมดตอนนั้น ร้องไห้จนไม่มีน้ าํ ตา” แม่ศรี หรื อแม่ชณัตฎา สาสุ จิตร์ วัย๕๐ เล่าถึงอดีตตอนมีฐานะอันรุ่ งโรจน์ของอาชีพแม่ เลี้ยงสตรอเบอร์ รี่มีทุกอย่างหายไปในพริ บตาเมื่อนํ้าฝนพัดพาไร่ สตรอเพียงชัว่ ข้ามคืน “ก็มนั เหนื่ อย เหนื่อยสุ ดๆ เป็ นหนี้ เลิกก็ไม่ได้ และใน ครอบครัวก็ไม่มีเวลาดูแลกัน คุยกันกับพ่อสามคําก็ทะเลาะกัน ตอนเช้าตีสองตีสามเตรี ยมเสื้ อผ้า ข้าวปลาอาหารให้ลูกที่ยงั หลับ อยูใ่ นที่นอน เขาตื่นมาทําเอง ขึ้นรถไปโรงเรี ยนเอง เราไปส่ งสต รอเบอร์รี่ที่ตลาดเชียงใหม่ต้ งั แต่ตีหา้ แล้ว” จุดหักเหของชีวิตที่ทาํ ให้แม่ศรี หนึ่งในบรรดาแม่เลี้ยงสต รอเบอร์ รี่คุมคนกว่ายีส่ ิ บชีวติ เคยมีเงินใช้ซ้ื อทุกอย่างที่ตอ้ งการ และก็ติดหนี้ทุกที่เช่นกัน สุ ดท้ายตัดใจเลิกหลังจากลูกชายวัย ๒๓ ได้มาอบรมต้นกล้าอาชีพกับทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มเมื่อปี ๒๕๕๒ เห็นอาชีพการเกษตรแนวใหม่คือ ทางรอด จึงโทรศัพท์ ชวนพ่อและแม่มาอบรมด้วย ทั้งครอบครัวจึงเริ่ มออกจากวังวนหนี้ “ลูกชายแม่บอกว่าถ้าแม่ทาํ แบบนี้แม่จะได้กิน ตอนแรก พ่อไปก่อนก็มาบอกแม่วา่ จะได้กินไหมทําแบบนี้ ปลูกผัก ปลูก ต้นไม้ เลี้ยงหมู ไม่เคยทํามาก่อน แม่จึงตัดสิ นใจไปรับจ้างในเมือง เพื่อใช้หนี้ สุ ดท้ายไม่เหลือเก็บจึงกลับมาตามคําขอร้องจากลูก
101
กลับมาบ้านมาอบรมทําเกษตรพอเพียง เราก็ไม่เชื่ อแต่พอสังเกตแม่แก้วเพื่อนบ้าน เขาเริ่ มทําก่อน เขามีความสุ ข ไปไร่ ไปนาไม่กี่ชวั่ โมงกลับมาแล้วสบายใจก็เลยเริ่ มไปถามเขาว่าทํายังไงเกษตรอินทรี ย”์ หลังจากนั้นไม่นานแม่ศรี จึงไปอบรมอีกรุ่ นแล้วจึงกลับมา ททท. ทําทันที มาขุดบ่อปลา ปลูกผัก อยูไ่ ม่กี่วนั ก็นึกมาได้วา่ ต้องการมูลสัตว์ทาํ ปุ๋ ย หลวงพ่อจึงนําหมูมาให้เลี้ยงเป็ นหมูหลุม จึง เริ่ มมีปุ๋ยเป็ นของตนเอง ขายปุ๋ ยได้ ยังขายลูกหมูนอ้ ยที่เกิดใหม่ได้อีก มีรายได้ ลดรายจ่ายเรื่ องอาหารก็เริ่ มมีความรู ้สึกว่าเราไม่ตอ้ งไปหา เงินที่อื่นแล้ว ยิง่ ให้ ยิ่งได้ แก้ ไขทีต่ ัวเรา “ยิง่ ให้ ยิง่ ได้ เราคิดแค่วา่ จะมีแจกเขาไหม มีแบ่งเขาไหม ไม่ได้ไป คิดว่าต้องขายได้กี่บาท เท่าไรต่อวัน” เป็ นหลักในการดําเนินชีวติ แม่ หลังจากที่ทาํ เกษตรพอเพียงและซึ มซับคําสอนจากหลวงพ่อไปด้วย ครู บา อาจารย์จึงเป็ นทั้งผูใ้ ห้และที่ปรึ กษายามแม่ทุกข์ร้อนใจ ไม่นานแม่ก็รักษาใจ ได้ดว้ ยปั ญญาของตนเอง “ตอนนั้นหลวงพ่อส่ งไปอบรมธรรมะกับคณะแม่ชีนนั ที่สาวพัน ดาว อําเภอสันทราย ได้ยามาสองเม็ด คือ “ก็ได้” และ “แล้วเราล่ะ” แบบว่า พอใครทําให้ไม่พอใจเราก็คิดว่า “ก็ได้” เขาจะทําให้เราไม่พอใจก็ได้ แล้วเรา ล่ะเคยทําพฤติกรรมแบบนั้นไหม ถ้าไม่เคยก็ไว้เป็ นกระจกสอนใจว่าอย่าทํา แบบนั้น บางทีแม่ก็เริ่ มยึดติดอยากให้ลูกที่เคยกินเหล้าเยอะ มาทําเกษตร แบบเราทั้งๆ ที่เขาชวนเราทํา แต่เขาไม่เป็ นแบบนั้น ไหนจะเรื่ องหนี้สิน พะรุ งพะรัง ก็ทุกข์ใจหนัก แต่พออบรมเสร็ จก็เข้าใจแล้วว่า เขาก็เป็ นของเขา แบบนั้นเหมือนลูกมะพร้าวจะให้มนั เป็ นมะปรางไม่ได้ มันก็เป็ นของมัน แบบนั้น ฉะนั้นความทุกข์จึงเกิดที่ตวั เราคิดเอง คิดให้ทุกข์ ต้องแก้ไขที่ตวั เราเองเท่านั้น ไปเปลี่ยนคนอื่นไม่ได้” แม่ศรี จึงเริ่ มสบายใจขึ้น แต่ก่อน
102
ทะเลาะกับพ่อ พ่อว่าแม่ก็ได้ แม่ก็เคยเถียงเขา ว่าเขา จึงเริ่ มนัง่ คุยกันใจเย็นๆ กับพ่อได้ครั้งแรกเพื่อโน้มน้าวใจให้ พอใช้ชีวติ แบบพอเพียงทั้งหมด “แม่เหนื่ อยแล้วพ่อ พ่อเหนื่อยไหม เราทําแบบพอเพียง ก็ยงั มีหนี้ก็จริ ง แต่เรามาทําอะไรให้ทุกข์นอ้ ยลง ได้ไหม” พ่อกับแม่จึงไปหาผูจ้ ดั การธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์วา่ ขอพักหนี้ สุ ดท้ายก็ให้พอ่ ออกจาก ประธานธกส.ของหมู่บา้ น ไม่มีเครดิตกูเ้ งินอีก แม่ก็วา่ ดีตาํ แหน่งนี้แปลว่าเป็ นแชมป์ หนี้ นานเข้าไม่มีเงินส่ งลูก ขึ้นรถโรงเรี ยน ส่ งรถเดือนละหมื่น แค่ค่ากับข้าวที่จะกินแต่ละวันยังลําบากจึงมานัง่ คุยกับลูกชายคนเล็กที่อยาก เป็ นทหาร เป็ นนักกีฬาแต่เป็ นไปไม่ได้ จึงพาลูกไปปรึ กษาหลวงพ่อ รุ่ งขึ้นหลวงพ่อก็พาไป ลูกจึงได้ไปเรี ยน ศิลปะแกะสลักเครื่ องเงินตามที่สนใจที่ชอบ ทุกวันนี้ลูกมีรายได้จากการแกะสลักเครื่ องเงินเดือนแรกๆ ก็ได้ชิ้น ละร้อย ขึ้นมาเป็ นห้าร้อย จนเราไม่ตอ้ งส่ งเงิน ข้าวปลาอาหาร แต่พอปี หนึ่งเข้าฝี มือดีวนั ดีคืน จนทุกวันนี้ได้เงิน เป็ นหมื่นต่อเดือน ไม่ตอ้ งส่ งเงินให้เขาแล้ว เขากตัญ�ูก็ส่งกลับมาให้แม่อีก เมื่อลูกสบายแม่ก็สบายใจ แม่ไม่ตอ้ ง ดิ้นรนหาเงิน ลูกชายคนโตก็มาทํางานให้วดั อยูก่ บั แม่ที่บา้ น ชีวติ ชีวาในครอบครัวจึงกลับคืนมาอีกครั้ง
หนีส้ ่ วนหนี้ บุญส่ วนบุญ เกษตรพอเพียงไม่ได้มีไว้ปลดหนี้ แต่มีไว้เพื่อรู้จกั และเห็นว่า “เมื่อใจพอ ก็มีความสุ ขแล้ว ไม่ตอ้ งวิง่ เต้น ตามกิเลสในใจของเรา ที่อยากโน้นอยากนี้ จึงต้องหาเงินซื้ อความสุ ข ทั้งๆ ที่จริ งมันก็อยูท่ ี่ใจพอ มันก็พอ” แม่ศรี เล่าต่ออีกว่า เมื่อพึ่งพาตนเองด้านอาหารได้ รายจ่ายก็ลด ลูกชายทั้งสองก็ไม่ตอ้ งส่ งเงิน หาเงินพึ่งตนเองเองได้ แล้ว หนี้มนั ก็ลดเองเพราะมีรายได้จากการทําการเกษตรพอเพียง ถึงมันจะช้าหนี้มนั ก็ลดลง
103
สําหรับบุญก็ทาํ บุญไปด้วย ไม่ได้ต้ งั หน้าตั้งตาปลดหนี้อย่างเดียว ชีวติ ของแม่ศรี จึงทั้งสบายกายสบายใจ มากขึ้น จนทุกวันนี้แม่ศรี ยะ่ ซะป๊ ะอย่าง (ทํามันทุกเรื่ อง!)
ย่ ะซะป๊ ะ! (ทํา (บุญ) มันทุกเรื่ อง!) ขายขยะ หมักปุ๋ ย ปลูกแฝก เลี้ยงไก่ไข่ ดองไข่เค็ม เลี้ยงหมู เลี้ยงวัว เข้าสวนปลูกผัก เพาะถัว่ งอก หมักนํ้าหมักมะขามป้ อม เป็ น วิทยากรอบรมฐานสุ ขภาพ กัวซา ทํานํ้าคลอโรฟิ ลล์ เปิ ดบ้านต้อนรับ แขกเรี ยนรู ้วถิ ีชีวติ พอเพียง และสอนธรรมะให้เด็กและเยาวชน เป็ น กิจการบุญของแม่ศรี ที่ไม่ได้เลี้ยงตัวเองได้เท่านั้น เพราะเวลาส่ วนใหญ่ ยังเหลือไปทํากิจกรรมเพื่อส่ วนรวม อาทิ การเก็บขยะบนวัดและใน หมู่บา้ น พร้อมแนะนําให้ชาวบ้านแยกขยะมาขาย ปั ญหาการทิ้งขยะลง ห้วยลงเหวในที่สาธารณะจึงลดลง กลับเพิ่มรายได้ให้อีกช่องทางหนึ่งที่ แม่ศรี พิสูจน์แล้วว่าขยะ คือทองคําจริ งๆ กิจกรรมหมักปุ๋ ยจากพืชสด และมูลสัตว์ แม่ศรี ได้ดอกดาวเรื องหลายตันจากเพื่อนบ้านที่ทิ้งเน่าเหม็นขายไม่ออกข้างบ้านมาหมักปุ๋ ย ช่วย กําจัดกลิ่นรบกวนคนในหมู่บา้ น ปั ญหาขยะก็ลดลงควบคู่กิจการแยกขยะไปได้ดว้ ยดี การเลี้ยงไก่ไข่ที่ไข่ทุกวัน สมาชิกในกลุ่มเกษตรพอเพียงได้บริ โภคไข่ราคาถูก สดใหม่ทุกๆ เช้า และหลายครั้งที่แม่ศรี นาํ ไข่ไก่ไปทําบุญใน งานโรงเรี ยน งานวัด งานกิจกรรมอบรมของหมู่บา้ น การเป็ นวิทยากรฐานสุ ขภาพที่ช่วยให้ทุกคนเป็ นหมอด้วย ตนเองได้ง่ายๆ ที่บา้ น แม่สอนการดื่มนํ้าคลอโรฟิ ลล์ที่ทาํ จากพืชพื้นบ้านใบเขียวที่หาได้ง่ายมาคั้นสดๆ ดื่มทุกวัน ไร้โรคภัย การนวด กัวซา กดจุดใครได้ลองจะติดใจเพราะเหมาะกับอาชีพใช้แรงงานอย่างเกษตรกร ทั้งยัง สามารถมาเรี ยนกับแม่ศรี แล้วนําไปนวด ดูแลสุ ขภาพคนข้างกายได้อีกด้วย ตัวอย่างความสําเร็ จของแม่คือพ่อ ฤทธิ์ สามีของแม่มีอาการหน้ามืดบ่อย อ่อนเพลียง่ายเพราะมีปริ มาณสารพิษในเลือดมากจากการฉี ดพ่นยาสมัยที่ ทําสวนสตรอเบอร์ รี่ จนทุกวันนี้ไม่ได้ไปโรงพยาบาลมาสองปี แล้ว ผิดกลับสมัยก่อนที่ตอ้ งไปหาเกือบทุกอาทิตย์ เพื่อรับยามากิน นอกจากนั้นผักสดๆ จากสวนเกษตรผสมผสานที่แปลงมาจากนาข้าวของแม่ศรี ยังมีคนมารับซื้อ
104
ถึงที่พร้อมถัว่ งอกที่เพาะเองไม่ฟอกสี เหลือพอที่แม่จะแบ่งทําบุญเข้าวัด ทั้งนํามาออมผักเมื่อมีแขกมาอบรมที่ ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงของวัด “เมื่อพึ่งตนเองได้แล้ว เราก็ไม่ลืมจะแบ่งปั นทําบุญให้คนอื่น เขาเห็นเราสบายใจที่ได้ให้ ได้เห็นวิถีชีวติ ความเป็ นอยูข่ องเราทุกวันนี้ ที่ไม่ตอ้ งเร่ งรี บหาเงิน เงินมันก็มาหาเองจากสิ่ งที่ทาํ เล็กๆ น้อยๆ ในสายตาคนอื่นนี่ แหละ แม่อยูแ่ บบนี้แหละ มีความสุ ข” ความสุ ขจากการทําบุญซะปะอย่างของแม่ศรี เป็ นหลักฐานชิ้นสําคัญว่า “ยิง่ ให้ ยิง่ ได้ ยิง่ หวง ยิง่ อด”
แม่ สมหมาย: กระเทียมปลดหนี้ (ลับเฉพาะ) คนมีบุญ “คื่น คื่น ตึก ตึก...” เสี ยงเครื่ องโม่คลุง้ เคล้ากลิ่นกระเทียมไทยกลีบโต กําลังย่อยหัวกระเทียมแห้งโตๆ เป็ นกลีบย่อย แม่สมหมาย กําลังใช้มือกร้านแดดเลือกกลีบกระเทียมที่สมบูรณ์เปลือก ครบ ไร้รอยแทะ รอยหัก กลีบโตได้ขนาดใส่ ถุงตาข่ายเตรี ยม ส่ งคืนบริ ษทั เทพผดุงพร ผูผ้ ลิตทั้งกะทิชาวเกาะและนํ้าพริ ก แม่พลอย ซึ่ งพริ กแกงสําเร็ จรู ป และนํ้าพริ กบรรจุขวดส่ งขายทัว่ โลกนี้เองที่ ต้องการกระเทียมไทยกลิ่นจัดจ้านเป็ นหัวใจหลักสําคัญ “เริ่ มมาจากตอนปี ๒๕๕๓ บริ ษทั เทพผดุงพรมะพร้าวเข้ามาที่ศูนย์ เศรษฐกิจพอเพียง ที่หว้ ยบงเพื่อมาทําโครงการ ๘๔ ฝายถวายพ่อหลวงพอ หลวงพ่อคุยไปคุยมาเขาก็ถามว่าชาวบ้านที่น้ ีทาํ อะไร มีปัญหาอะไร บริ ษทั จึง เสนอให้ปลูกกระเทียมและจะรับซื้ อ ลดความเสี่ ยงเรื่ องราคาที่ข้ ึนๆ ลงๆ ตลอดปี ไม่ตอ้ งให้พอ่ ค้าคนกลางกินส่ วนต่าง” แม่หมายหรื อจันทร์ ดี บุญ มาลาวัย ๔๘ ปี ประธานกลุ่มผูป้ ลูกกระเทียมปลดหนี้เล่าที่มาที่ไปพลางคัด
105
กลีบกระเทียมคนเดียวแต่เช้าตรู่ เมื่อชาวบ้านศรัทธาวัด บริ ษทั ศรัทธาวัดจึงอยาก ช่วยให้คณะศรัทธาวัดมีกินมีใช้บรรเทาทุกข์จากหนี้สินให้ เบาบางลง จึงคิดโครงการกระเทียมปลดหนี้ซ่ ึ งทางบริ ษทั จะ รับซื้อกระเทียมทั้งหมดของชาวบ้านเพื่อชาวบ้านและช่วย ให้บริ ษทั มีกระเทียมไทยป้ อนเข้าสู่ โรงงานตามความ ต้องการ หลังประสบปั ญหาภาวะขาดแคลนกระเทียมไทย เพราะคนปลูกน้อยลง เนื่องจากกระเทียมกลีบใหญ่หวั ใหญ่ ของจีนตีตลาดจากนโยบายเปิ ดตลาดเสรี ทางการค้า ประกอบกับค่ายา ค่าปุ๋ ยแพงขึ้น พ่อค้าคนกลางกดราคามาก ขึ้นบิดเบือนกลไกตลาด บ้างกักตุนไว้เทขายสิ นค้าตอนขาด ตลาด แต่ในเมื่อกระเทียมไทยชนะเลิศกระเทียมใดๆ ใน โลก ตรงที่กลิ่นหอมฉุ น รสจัดจ้านชูความเป็ นเครื่ องแกง ไทยเด่น ความต้องการกระเทียมไทยจํานวนมากสําหรับทํา นํ้าพริ กและเครื่ องแกงส่ งออกขายทัว่ โลก จึงพบกันพอดีที่ ชาวบ้านต้องการเพาะปลูกอะไรสักอย่างเพื่อปลดหนี้ได้ “ไม่เหมือนที่อื่นนะ ที่น้ ีเราอาศัยความเชื่อใจล้วนๆ ไม่โลภ ถ้าโลภใจร้อนอยากได้เงินเร็ วๆ ไม่ทาํ ตามเงื่อนไข ของกลุ่มเรา จะไม่ให้เชื้ อไปปลูก ถ้าผลผลิตปี ที่แล้วไม่ถึง เป้ าปี ถัดมาก็ไม่ได้เชื้อไปปลูก แล้วโควต้าเชื้อก็จะไปตกกับ ผูป้ ลูกหน้าใหม่แทน” แม่สมหมายพยายามอธิ บายเงื่อนไขการเข้ามาเป็ น สมาชิกผูป้ ลูกกระเทียม เพราะเมื่อบริ ษทั ให้โอกาสทั้งรับซื้ อ
106
กระเทียมคืน ก่อนปลูกก็ให้เชื้อ (พันธุ์) กระเทียมมาก่อน สําหรับปี นี้ให้เงินมาซื้ อก่อน มีเครื่ องโม่มาถวายวัดให้ กลุ่มไว้ใช้ ให้ทุกอย่างตามต้องการ ฉะนั้นกระบวนการคัดเลือกผูป้ ลูกต้องเข้มข้น เพราะใช้วธิ ี การปลูกที่พ่ ึงพา เคมีนอ้ ยที่สุด โดยอาศัยปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก นํ้าหมักชีวภาพจากหน่อกล้วยบํารุ งดินตั้งแต่การเตรี ยมแปลงปลูก ฮอร์ โมนไข่ไก่บาํ รุ งกลีบ ราก ต้นกระเทียมให้อวบแข็งแรง ซึ่ งการใช้สารชีวภาพเหล่านี้ก็เพื่อช่วยสมาชิกผูป้ ลูก กระเทียมลดภาระค่าใช้จ่ายเรื่ องปุ๋ ยเคมีที่ราคาแพง และได้ผลดีกว่า “ใช้ปุ๋ยเคมีตอนแรกหัวจะโตเร็ ว สวยใหญ่แต่พอนานๆ ไปเวลาเก็บหัวเตรี ยมตากแห้งมันจะลีบฝ่ อง่าย แต่ใช้ปุ๋ยอินทรี ย ์ สารชีวภาพจะเห็นผลช้าแต่เมื่อเก็บมาตากแห้งแล้วจะไม่ฝ่อง่ายยังอวบสวย รู ้เลยว่าใครใช้เคมี ใครใช้อินทรี ย ์ จํานวนผลผลิตก็จะฟ้ อง ปกติใครปลูกเก่งๆ เอาเชื้ อไป ๑ ส่ วนต้องได้กระเทียมแห้งแกะกลีบ ๕ เท่าตัว แม่ถึงได้เรี ยกว่าคนซื่ อสัตย์เท่านั้น มีบุญเท่านั้นจะได้ปลูกกระเทียมปลดหนี้” กําไรหลายหมื่นหลายแสนอาจเป็ นเครื่ องล่อให้ชาวบ้านต่างอําเภอหันเข้ามาร่ วมเป็ นสมาชิกซึ่ งตอนนี้มี ทั้งหมด ๓๙ คนจากเจ็ดหมู่บา้ นสามอําเภอ แต่เมื่อผลผลิตไม่เป็ นไปตามเป้ าแม่สมหมายและเพื่อนสมาชิกที่ปลูก เก่งในปี ที่แล้วจึงลุกขึ้นมาสอนเพื่อนสมาชิกเอาบุญในวันนี้ ปุ๋ ยหมักจากมูลสัตว์และหญ้าสาบเสื อ ฮอร์ โมนหน่อกล้วย จุลินทรี ยด์ ินระเบิด (EM Ball) และฮอร์โมน จากไข่ไก่สด คือ เคล็ดลับชั้นเยีย่ มสําหรับสมาชิกผูป้ ลูกกระเทียมอินทรี ย ์ แค่ใจที่ปรารถนาให้เพื่อนได้ดีเหมือน ดังที่แม่สมหมาย ได้ แม่จึงไม่เคยหวงวิชา ไม่หวงสู ตรเด็ด กิจกรรมบุญประยุกต์จึงเกิดขึ้น ณ ศูนย์การเรี ยนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อคนมีบุญได้ปลูกกระเทียมปลดหนี้ ตนเอง ได้ช่วยบริ ษทั ได้ช่วยรักษาสิ่ งแวดล้อมจากการ ทํากระเทียมอินทรี ย ์
107
โรงอโรคยา : การไม่ มีโรคเป็ นลาภอันประเสริฐ กรรมการอาสาสมัครสาธารณสุ ขประจําหมู่บา้ น (อสม.) เป็ นอีกพันธะกิจหนึ่งเพื่อชุมชนของแม่สมหมาย ประสบการณ์ กว่าสามสิ บปี บนเส้นทางอสม. เป็ นเครื่ องยืนยันหนักแน่นว่าแม่มี ใจเสี ยสละเพื่อส่ วนรวมตั้งแต่ยงั สาว สลับสับเปลี่ยนกับอาชีพ หลักอย่างแม่เลี้ยงสตรอเบอร์ รี่กว่าสิ บปี และกว่าครึ่ งล้าน ด้วยบุญ และใจที่เสี ยสละของแม่จึงปลดหนี้หมดจากโครงการปลูก กระเทียมเมื่อปี ที่ผา่ นมา จนทุกวันนี้ แม่สมหมายมีเหลือกินเหลือเก็บจาก ๑ไร่ คุณธรรมที่ปลูกทุกอย่างที่กิน และกินทุกอย่างที่ปลูก บนดินมี หน่อไม้หวาน ผักสวนครัว ผลไม้และไม้ยนื ต้นให้ร่มเงา ใต้ดินมี ข่า ขิง ขมิ้น ไพร ให้เก็บขายทํายาสมุนไพร หลังจากได้ไปอบรม ต้นกล้าอาชีพกับทางวัดเมื่อปี ๒๕๕๒ ก็เลิกทําสตรอเบอร์ รี่ เด็ดขาดเพราะทุกข์เพราะมีลูกน้องกว่าสิ บชีวติ ในไร่ ตอ้ งเลี้ยงดู ไม่มีรายได้แต่ตอ้ งจ่ายให้ลูกน้องทุกวัน จึงหยุดไม่ได้ “แม่จะไปไร่ กี่โมงก็ได้ ชีวิตมีความสุ ข พอเข้าใจ แนวทางพระราชดําริ ของในหลวง กลับจากอบรมก็ลงมือทําใน โครงการ ๑ ไร่ คุณธรรม ตอนแรกแม่มีลงั เลอยูบ่ า้ ง เพราะแต่ก่อน มีเงินให้ใช้จ่ายตลอด แต่เชื่อว่าถ้าพึ่งตนเองได้ ไม่ตอ้ งจ้างคนอื่น จะมีความสุ ขขึ้นเยอะ” เมื่อชีวิตกําหนดเวลาของตนเองได้ แม่หมายจึงใช้เวลาสร้างสรรค์โครงการสมุนไพรรักษาตนเอง เพราะ เมื่อชาวบ้านที่แม่ดูแลอยูไ่ ปอนามัยก็ได้ยากินที่ไม่หายต้องไปขอยาอีกหลายรอบ แม่จึงคิดว่าเมื่อพึ่งตนเองด้าน อาหารการกินที่อยูอ่ าศัยได้แล้ว ด้วยความที่คลุกคลีกบั วงการสาธารณสุ ขมานาน แม่จึงคิดว่าทุกคนน่าจะ พึ่งตนเองด้านสุ ขภาพการรักษาโรคได้ดว้ ยสมุนไพรพื้นบ้านที่ปลูกกันอยูแ่ ล้ว
108
“การขูดตัวถอนพิษ (กัวซา) กดจุด นวดแผนไทย ทํานํ้าเขียวคลอโรฟิ ลล์ ทําลูกประคบสมุนไพร อบตัว พอก โคลนดูดพิษ การดีทอ็ กซ์ลา้ งพิษลําไส้ เป็ นความชํานาญที่ แม่หมาย และทีมงานลุงอิน ลุงสาย แม่คาํ ใบ แม่ศรี และ น้องแพ็ท ไปอบรมเรี ยนมาจากหลายที่จนทําเป็ นแล้ว แต่ยงั ไม่มีสถานที่เป็ นหลักแหล่ง จึงคิดพากันมีโรงหมอเป็ นของ กลุ่มเอง” ด้วยพลังบุญของแม่หมายและชาวบ้านอมลองทํา ให้ทุกวันนี้โรงหมอหรื อโรงอโรคยากําลังจะเปิ ดเป็ น ทางการในไม่ชา้ ไม่มีค่าบริ การ ให้ชาวชุมชนและแขกผูม้ า เยือนได้รับความสุ ขแสนประเสริ ฐ ด้วยการไม่มีโรคกลับ บ้านไปเป็ นหมอดูแลตนเองได้ ขบวนบุญสายนี้จึงไม่มีวนั สิ้ นสุ ด
109
แม่ แก้ ว : ผู้พลิกใจสู่ ความพอเพียง ด้วยบุคลิกนิ่มนวลพูดน้อยต่อยหนักของแม่แก้วทําให้ เยาวชนที่เข้าร่ วมอบรมฟังเพลินจนหลับไปบ้าง “แต่ก่อนแม่อาย อูบ้ ่ได้แต่พอไปอบรมมาที่มาบเอื้องกับ อาจารย์ยกั ษ์ ก็อไู้ ด้อฮู้ ื่อละอ่อนฟัง แต่ละอ่อนไม่สนใจหรอก ไม่ ค่อยได้อะไร เขาไม่ได้เป็ นเกษตรกร” หลังปี ๒๕๕๑ แม่แก้วหรื อจําลอง สาสุ จิตร์ ก็หกั ดิบเลิก ปลูกสตรอเบอร์ รี่ท่ามกลางกระแสเพื่อนบ้านกดดันว่าปลูกแต่ผกั จะ ได้กินไหม แต่แม่ก็ไม่สนใจปลูกไปเลย ตัดใจจะไม่หนั กลับมาทํา เกษตรแล้วเป็ นหนี้อีกแล้ว เงินไม่มี ดินก็เสื่ อมคุณภาพ สุ ขภาพแย่ มี แต่ความทุกข์ จึงหันกลับมาทําเกษตรพอเพียงโดยเริ่ มเป็ นวิทยากร ให้บรรดาเด็กๆ แต่มนั ไม่ถึงใจแม่จึงต้องลงมือทําจริ งในสวนตนเอง “แม่ก็มานัง่ ดูผกั กลางแดด มันเหี่ยว เหงาท้อนะ มันเห็นผล ช้า ก็เลยไปนัง่ ดูหมูที่เลี้ยงไว้ มันมีความสุ ข พอออกลูกขายได้ เริ่ มมี ความหวัง แม่ก็สบายใจขึ้นมา มีกาํ ลังใจขึ้น พอกลับจากอบรมกับ อ.ยักษ์ (ดร.วิวฒั น์ ศัลยกําธร)ก็กลับมาทําเลย เลิกเชิงเดี่ยวแบบหัก ดิบเลย พอโครงการหนึ่งไร่ คุณธรรมมาก็มาสนับสนุน แม่ปลูกทุก อย่างจนได้รับรางวัลสวนเกษตรดีเด่น” แต่สิ่งที่ได้มากกว่าคงไม่ใช่แค่รางวัลเชิดชูแต่เป็ นใจที่พอเพียงของแม่ ความอดทนและเพียรพยายามที่ ไม่ยอ่ ท้อต่อคําคัดค้าน คําเสี ยดสี จากบรรดาพี่นอ้ ง เพื่อนฝูง จนพิสูจน์ให้เห็นว่าแม่แก้วมีชีวติ ที่อิสระ สบายทั้ง กายและสบายใจ ตื่นขึ้นมาจะไปไร่ ไปนากี่โมงก็ได้ เมื่อเข้าโครงการกระเทียมกับแม่สมหมายในปี ที่สองก็ปลด หนี้สินจากสตรอเบอร์ รี่ก็หมดไป
110
“หลังจากที่พ่ งึ ตนเองจนอิ่มท้องแล้ว หลวงพ่อก็พาไปเข้า อบรมธรรมะกับแม่ชีตอ้ ย ที่สวนพันดาวก็ทาํ ให้เรารู ้จกั ตัวเอง รู ้จกั เขารู ้จกั เรา เวลาเขาว่าอะไรมาก็เฉย แล้วเราล่ะก็เคยว่าเขาเหมือนกัน ไม่อยากให้เขาว่าก็เฉย ได้ยาเม็ดนี้มาก็ช่วยเยอะ สบายใจขึ้นเยอะ ธรรมะช่วยชีวติ เยอะ” แม่แก้วยิม้ อย่างมีความสุ ขเมื่อท้องอิ่ม ใจอิ่ม ปลดหนี้กองโตได้ ยังสามารถปลดปั ญหาทุกข์ใจได้ดว้ ยตนเอง “ต่างกันนะ แม่ดูเขามีความทุกข์ บอกว่าวันพรุ่ งจะต้องไป ทํานี่ ทํานัน่ เขาหวังเงินลูกเดียว ไม่คิดถึงตัวเก่า(ตัวเอง) ไม่คิดถึง คนรอบข้าง คิดแต่จะได้ ทุกข์ใจ ทุกข์กาย ทุกข์ขนาด อย่างกลาง แดดเปรี้ ยงๆ เขาก็กม้ หน้าก้มตาทํางาน ตัวเองก็ไม่สบาย ก็บ่ยอมพัก เลย เขาเห็นแต่เงินอย่างเดียว” แม่แก้วพูดไปสงสารไปเมื่อพูดถึงเพื่อนที่ต้งั หน้าตั้งตาหา เงินกับเกษตรเคมี ถึงกับชวนเขาทําเกษตรผสมผสานแบบแม่จะได้ ไม่ตอ้ งรี บร้อนทํางาน ไม่สบายและไม่มีเวลาให้ครอบครัว เขาก็วา่ ไม่รู้จะเริ่ มตรงไหน แม่ก็ให้กาํ ลังว่าให้ทาํ ใจ ก่อน ถ้าใจเราไม่พอทําอะไรมันก็ไม่พอ “บ่พอ (ไม่พอ) ทําแบบนี้ ลูกกูจะกินหยัง หนี้ไผใช้กู (ติดหนี้แล้วใครจะใช้ให้)...” เป็ นคําตอบที่แม่แก้วได้รับจากเพื่อนที่แม่ปรารถนาดีอยากช่วยเพราะเห็นความทุกข์ยากลําบากเหมือนที่ ตนเคยประสบมา แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนจะเห็นไปทางเดียวกัน การวางใจเป็ นสิ่ งที่แม่แก้วมัน่ คงจะไม่ทุกข์ตามไปกับเพื่อน แต่ถา้ เมื่อเพื่อนพร้อมจะให้ช่วย แม่แก้วก็คงไม่รีรอจะยืน่ มือ ฉุ ดเพื่อนให้ลุกขึ้นมาพึ่งตนเองได้ ทุกวันนี้นอกจากแม่แก้วจะปลูกผักกินและขายแล้ว ยังช่วยน้องการ์ ตูน นักเรี ยนโฮมสคูลของวัดพระบรมธาตุ ดอยผาส้มเจ้าของโปรเจ็คท์ผลิตสิ นค้าสร้างชื่อในโครงการ
111
ขบวนบุญคือ นํ้ายาหายแซบหายสอย สี น้ าํ เงินเข้ม ซักสะอาด ถูบา้ น ขัดส้วม ล้างจาน ทุกภารกิจคือสโลแกนเด็ด ของสิ นค้านี้ที่แม่แก้วผลิตด้วยใจผ่านมือทั้งสองข้างที่คอยกวนนํ้ายาให้เหนียวข้นพอดิบพอดี “ขบวนบุญคือ การทําบุญไม่รู้ตวั นะ แม่วา่ อย่างแม่มาคนนํ้ายาตรงนี้ แม่ก็ไม่ได้ต้ งั เป้ าว่าจะต้องได้ ค่าแรงเท่าใดๆ พอมาทําส่ วนนี้ก็ได้ช่วยปลูกป่ า สร้างฝายแม้วา่ จะไม่ได้ไปเทปูน ขุดดินจริ งๆ แต่ก็เป็ นส่ วนหนึ่ง ที่ช่วยได้ อย่างน้อยส่ วนที่เราทําได้ไปช่วยชาติ ช่วยแผ่นดิน ช่วยชุมชนเราเอง” “ทุกวันนี้มีกิน ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ก็สบายใจแล้ว...” แม่แก้ววัย ๕๒ สรุ ปเป้ าหมายชีวติ สั้นๆ ต่อจากนี้ หลังจากเจอทางตันของชีวติ จากหนี้กอ้ นโต พอแม่คิด ว่าไปไม่รอดจึงหักดิบพลิกใจสู่ เส้นทางพอเพียงที่มีอุปสรรคบ้าง แต่ดว้ ยความอดทนของแม่ที่ไม่คิดจะกลับไป เดินเส้นทางเดิมที่ทาํ ผิดมาก่อนจึงสู ้อดทนเดินต่อไป จนประสบความสุ ขในใจเล็กๆ แต่ยงิ่ ใหญ่อย่างทุกวันนี้
น้ องการ์ ตูน : เจ้ าของโรงงานผลิตสิ นค้ าบุญ เด็กโฮมสคูลมีดีอย่ างไร ใครจะไปคาดคิดได้ดว้ ยวัยสิ บหกปี ของศิรินาถ โปธาหรื อน้องการ์ ตูน จะเป็ นเจ้าของกิจการสิ นค้าบุญที่ สร้างรายได้ สร้างชื่ อ สร้างบุญให้กบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม หลังจากที่โปรเจ็คท์ขา้ วที่ตนเองสนใจ ในห้องเรี ยนธรรมชาติถูกประยุกต์ไปใช้จริ ง เรี ยนจริ ง ผ่านงานที่ทาํ จริ งในระบบโรงเรี ยนแบบโฮมสคูล หรื อการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยที่กระทรวงศึกษาฯ ให้การรับรองแต่ในชีวิตจริ งกลับไม่ได้เป็ นเช่นนั้น
112
“ในหัวเขาบางคนก็มีแต่เรื่ องเรี ยน แต่บางคนรุ่ นๆ เดียวกันที่เคยเรี ยนประถมมาด้วยกันก็มีเรื่ องชูส้ าว ท้องในวัย เรี ยน เสี ยคนไปเลย แต่ในสายตาของเขาก็มองว่าเราที่เรี ยน แบบโฮมสคูล เรี ยนแบบอยูบ่ า้ น ทํางานไปด้วย มองเราต้อย ตํ่า...เป็ นพวกไม่มีทางไป” การ์ตูนตัดพ้อหลังจากที่เพื่อนวัยเดียวกันนิยาม การศึกษาที่เธอเลือกเดินมาเมื่อสี่ ปีก่อน แต่เมื่อเรี ยนไปด้วย ทํางานไปด้วย มีรายได้ใช้หนี้ ให้พอ่ แม่จนหมด ช่วยแบ่งเบา ภาระครอบครัว ทั้งเป็ นนักเรี ยนที่เนื้อหอมของเขตพื้นที่ การศึกษาที่สร้างผลงานไปไกลถึงอิมแพ็ค อารี น่า เมืองทอง ธานี และยังเคยจัดแสดงผลงานนักเรี ยนให้ฯพณฯ ท่านพล เอกสุ รยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี ในสมัยนั้น เป็ นหลักฐาน รองรับเต็มที่วา่ เธอต้องผ่านการเคี่ยวให้ความคิดข้น จนใจตก ผลึกเหลือแต่คุณภาพล้วนๆ จนกลายมาเป็ นเจ้าของกิจการ บุญกองโต เป็ นทั้งคนผลิตควบคุมคุณภาพสิ นค้า รวบรวม สิ นค้าชุมชน ติดต่อลูกค้า จัดระบบขนส่ งให้ทนั ท่วงที และ ทําบัญชีแจกแจงทั้งหมด เมื่อทักษะการทํางานเป็ นเรื่ องเดียวกับการเรี ยนบวกกับประสบการณ์จริ งในบริ บท สังคมที่ตนอยู่ ทําให้การ์ ตูนในวันนี้ เติบโตทางความคิดเกินเด็กและผูใ้ หญ่หลายคน เป็ นผลผลิตที่โรงเรี ยนใน ระบบไม่สามารถทําได้ “พอมีรายได้มาช่วยครอบครัว นานๆ เข้าแม่ก็มาขอเงิน เราก็ให้ไป นานเข้าก็ซ้ ึงเลยเหมือนเวลาที่พี่เรา โทรมาขอเงินแม่ พอมาโดนกับตัวเองเหมือนกับได้รับภาระอะไรสักอย่าง จึงคิดว่าถ้าเป็ นไปได้ไม่ควรมีหนี้ ก็ ช่วยไปจนหมดหนี้ท้ งั บ้าน”
113
อาชีพเกษตรกรเป็ นอาชีพหลักของชาวบ้านอม ลองซึ่ งเคยชินกับการกูห้ นี้ยมื สิ นมาลงทุนในภาค การเกษตรเชิงเดี่ยวที่มีความเสี่ ยงเรื่ องราคาผลผลิต สภาพ อากาศแปรปรวน โรคของพืช การใช้สารเคมี สภาพดิน เสื่ อมโทรมกระทบต่อผลผลิต ก็ยงั ล่อตาล่อกิเลสให้ได้ลุน้ กําไรก้อนโต แต่การ์ ตูนกลับไม่คิดเช่นนั้น “เป็ นหนี้ น้ ีคือ ทุกข์จริ งๆ นะคะ ต้องเร่ งรี บหาเงิน ซึ่ งไม่ใช่ความสุ ขแท้จริ งเพราะพอหมดก็วงิ่ หาอีก อยูแ่ บบพอเพียงค่อยๆ ปลูกและกินใช้ในครอบครัว มีเวลาให้กนั มีเวลาทํางานส่ วนรวม ปกป้ อง ดูแลป่ าในชุมชนเราไม่ตอ้ งรอให้ใครมาช่วย เพราะคนที่ใช้ประโยชน์และได้ ประโยชน์ก็คือคนในหมู่บา้ น และมันเป็ นหน้าที่ของเรา หนูคิดแบบนั้น” เมื่อทุกข์หนักของเกษตรกรทัว่ ประเทศนี้คือ หนี้สินล้นพ้นตัว ทํานา ทําไร่ ทาํ สวนเหนื่อยยากทุกปี ยิง่ ทํายิง่ เป็ นหนี้ ยิง่ จนยิง่ เจ็บ ขายได้เท่าไรลง ค่าปุ๋ ยยาเคมี ลงขวด ลงหวย ลงโทรศัพท์มือถือ มอไซค์ ปิ กอัพ โทรทัศน์ ตูเ้ ย็น ส่ งเสี ยลูกหลานเรี ยนที่ไม่มีเครื่ องการันตีวา่ จะเรี ยนจบแบบไม่พวง ปัญหากลับบ้านให้อกพ่ออกแม่กลุม้ ใจ พอได้กาํ ไรมาไม่เคยพอกินพอใจก็กู้ ใหม่เป็ นกงล้อหมุนก่อวิบากไม่จบสิ้ น หนักเข้าก็ตอ้ งขายที่ดินทํากิน สมบัติ ชิ้นสุ ดท้ายจากรุ่ นปู่ ย่าหลุดลอยไป แต่เมื่อชีวติ ยังไม่สิ้น ชี วติ ก็ตอ้ งดิ้นรนต่อไป ถึงขั้นบุกรุ กป่ าถางป่ าทําที่ดิน ใหม่และก็เข้าสู่ วฏั จักรการกูเ้ งินเช่นเดิม “ถามพ่อแม่วา่ ถ้าเธอส่ งลูกไปโรงเรี ยนแล้วลูกเธอเสี ยคน เธอจะเอาไหม ชาวบ้านตอบว่าไม่เอา แต่ทาํ อย่างไรได้ในเมื่อที่นี่ไม่มีโรงเรี ยน ถ้าอย่างนั้นหลวงพ่อจะเปิ ดโรงเรี ยน เด็กจบป.๖ แล้วให้ไปเรี ยนม.๑ กับหลวง พ่อ เป็ นการศึกษาทางเลือกเพื่อลูกหลานชาวบ้านไม่ตอ้ งไปเสี ยเงินไปเรี ยนไกลๆ ไปแล้วเสี ยตัว ให้อยูก่ บั พ่อแม่ แต่มีเงื่อนไขว่า ตอนเช้าตื่นมาใส่ บาตรให้เป็ นวิถีชีวิต พอตื่นเช้าก็ทาํ ให้เด็กได้ช่วยพ่อแม่หุงข้าวทํากับข้าว นี่คือ
114
การศึกษากตัญ�ูในส่ วนนี้ จึงเกิดขึ้น” หลวงพ่อสังคม ธนปั ญโญ รองเจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม กล่าวถึงที่มาของโรงเรี ยนโฮมสคูลของวัดในหนังสื อสี เขียวพึ่งตนเอง (Green Life Community) โฮมสคูล (Home School) หรื อบ้านเรี ยน โดยทัว่ ไป เป็ นการจัดการศึกษาโดยพ่อแม่ ซึ่งมักเกิด ในครอบครัวที่พ่อแม่เป็ นผูม้ ีการศึกษา และมีเวลามาก พอที่จะอบรมเอาใจใส่ ความรู ้แก่ลูกตลอด ขณะโฮมส คูลของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มจะมีรายละเอียด ต่างกันไป หลวงพ่อสรยุทธ ชยปั ญโญอธิ บายเพิ่มเติม ว่า “โฮมสคูลของวัดเหมือนเอาลูกคนอื่นมาเลี้ยง แต่มนั จําเป็ นเพราะชาวบ้านในชนบทการศึกษาไม่ดี และหนี้สินเยอะ ทําไร่ สตรอเบอร์ รี่ตอ้ งออกจากบ้านตี ๒-๓ ไม่มีใครสอนลุก พอเอาลูกไปเข้าเรี ยน โรงเรี ยน สอนแต่วชิ าการ พฤติกรรมสอนไม่ได้ ถามว่าเด็กไป เรี ยนจะมีประโยชน์ไหม เรี ยนแล้วมีปัญหาเรี ยนไม่จบ พ่อแม่ตอ้ งกูเ้ งินส่ งลูกเรี ยนกว่าจะจบปริ ญญาตรี เป็ น หนี้ต้งั หลายแสน คนเรี ยนจบแล้วตกงานเยอะแยะ ทั้ง ยังเป็ นหนี้สินเพิ่มอีก แล้วปริ ญญาจะเอาไปทําไม เพราะฉะนั้นปริ ญญาไม่ใช่สิ่งสู งสุ ดทางการศึกษา เสมอไป” “ปี ๒๕๕๑ วัดไปคุยกับสํานักงานพื้นที่ การศึกษาเชียงใหม่เขต ๒ ขอจัดการศึกษาแบบโฮมส คูล เขียนแผนการศึกษา สิ่ งที่สอนเราเน้นสร้างคน ไม่ใช่แค่มีความสามารถพึ่งตนเองได้ แต่ยงั เป็ นที่พ่ ึงให้คนอื่นได้ดว้ ย เน้นการปลูกฝังอุดมการณ์ ในเมื่อ
115
ประเทศชาติน้ ีบรรพบุรุษเอาเลือดเอาเนื้ อเอาชีวติ แลกไว้ พระเจ้าอยูห่ วั ยังทํางานเหนื่อยเลย เธอจะหวังอยาก สบายท่ามกลางพ่อแม่และชุมชนยังลําบากหรื อ จงภูมิใจที่ลาํ บากทํางานหนักและช่วยเหลือผูอ้ ื่น จงภูมิใจและ เห็นคุณค่าของการเสี ยสละเพือ่ ผูอ้ ื่น เด็กเขาจะมีจิตอาสา รู ้ภาวะเศรษฐกิจของพ่อแม่และชาวบ้าน เขาได้สัมผัส ชุมชน เด็กจะมีวุฒิภาวะสู งกว่าเพื่อนในวัยเดียวกัน” ทุกวันนี้โฮมสคูลของทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มยกระดับจากโฮมสคูลเล็กๆ สู่ แหล่งเรี ยนรู้ ระดับประเทศที่ให้โฮมสคูลและโรงเรี ยนที่จดั การศึกษาทางเลือกหรื อตามอัธยาศัยเข้ามาเรี ยนรู ้วธิ ี การและศึกษา ดูงานเพราะเด็กแต่ละคนจบไปมีคุณภาพ รู ้จริ งในเรื่ องที่ตนสนใจ มีคุณธรรมประจําใจ
เจ้ าของโรงงานผลิตสิ นค้ าบุญ เสี ยงใสๆ และใบหน้าเปื้ อนด้วยรอยยิม้ ที่เป็ น ธรรมชาติ คุณธรรมความซื่ อสัตย์ รับผิดชอบในการ ทํางานเป็ นคุณสมบัติเด่นของการ์ ตูนที่ผคู ้ นมักจดจําได้ เสมอ จากเด็กนักเรี ยนโฮมสคูลรุ่ นแรกในวันนี้การ์ตูนมี อีกบทบาทหน้าที่หนึ่งเพิ่มเข้ามา คือ เจ้าของ โรงงานผลิตสิ นค้าบุญในโครงการขบวนบุญที่ทาํ มากว่า ๒ ปี ก่อนเข้าร่ วมโครงการ “ตอนแรกที่เริ่ มทําสนุกมาก แต่พอผลิตของ ออกมาได้เงินมาก็ได้ช่วยครอบครัว และพอเข้าสู่ ระบบ ตลาดบุญก็มีคนสั่งมาเยอะ จึงยากขึ้นต้องผลิตและขนส่ ง ให้ทนั ต้องควบคุมคุณภาพสิ นค้าให้ดีสมํ่าเสมอ”
116
“ตอนหนูอยูป่ . ๕ หนูจาํ คําหลวงพ่อได้ดีจนถึง วันนี้ ตอนนั้นยังไม่ได้เป็ นนักเรี ยนโฮมสคูล หลวงพ่อบอก ว่าจะทําให้ชีวติ ของชาวบ้านเหมือน “ตายแล้วเกิดใหม่” ซึ่ ง ก็ทาํ ได้จริ งอย่างแม่แก้ว แม่สมหมาย แม่ศรี เดี๋ยวนี้ตื่นเช้า มาไม่ตอ้ งรี บร้อน ไปเข้าไร่ สายๆ เย็นๆ ก็ไปเก็บผักมาขาย อยูส่ บาย ชีวติ ความเป็ นอยูข่ องครอบครัวดีข้ ึนจริ ง หนูจาํ คํา นั้นและเห็นตามจริ งอย่างที่หลวงพ่อได้พยายามทํามา ตลอด” “ส่ วนหนูได้เรี ยนในสิ่ งที่สนใจ ได้ทาํ อะไรเร็ วมาก เช่นได้เรี ยนปริ ญญาตรี ท้งั ๆ ที่ยงั ไม่จบม.๖ เรี ยนมสธ.เก็บ หน่วยกิตของปริ ญญาตรี ไปก่อน ได้ทาํ งานและเรี ยนไป ด้วยซึ่งแต่ก่อนคิดว่าต้องเรี ยนให้จบก่อน แต่ทุกวันนี้ผลิต ข้าวอินทรี ย ์ แชมพู สบู่สมุนไพร ได้ช่วยครอบครัวหาเงินปลดหนี้ต้งั แต่ตอนนี้ นี่ก็คือตายแล้วเกิดใหม่ของหน และครอบครัวที่มีชีวติ ดีข้ ึน” หลังจากที่การ์ ตูนเริ่ มเรี ยนโฮมสคูลตั้งแต่ม.๑ จึงเริ่ มสนใจเรื่ องข้าวอินทรี ยเ์ พราะ เกิดคําถามที่วา่ พ่อแม่ ตนที่เป็ นชาวนาผลิตข้าวให้คนทั้งประเทศ สร้างอาหารให้ชาวโลก แต่ทาํ ไมต้องทุกข์มีหนี้สิน บางปี ครอบครัว ชาวนายังต้องซื้ อข้าวกิน การ์ ตูนจึงคิดถึงวิธีการหรื อทางออกของปั ญหาจากความหวังที่วา่ ชาวนาน่าจะเป็ นผูท้ ี่มี ความสุ ขที่สุด การ์ ตูนจึงเริ่ มสนใจศึกษาเรื่ องการทําข้าวอินทรี ยอ์ ย่างจริ งจัง ตอน ม.๓ จึงไปเรี ยนทํานากับลุงทอง เหมาะ แจ่มแจ้ง ชาวนาดีเด่นที่จงั หวัดสุ พรรณบุรี เน้นเรื่ องคัดเมล็ดพันธุ์ เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เพราะข้าวจะให้ ผลผลิตดีตอ้ งเริ่ มจากเมล็ดพันธุ์ดี การปลูกข้าว ตั้งแต่การเตรี ยมกล้า ใส่ ปุ๋ย ดูไม่ให้หญ้าขึ้น ใช้แหนแดงดูด ไนโตรเจนในอากาศมาให้ตน้ ข้าวและป้ องกันไม่ให้หญ้าขึ้นเหล่านี้เป็ นเทคนิคการได้มาซึ่ งเมล็ดข้าวพันธุ์ที่สวย อวบ มีคุณภาพที่ดีจากรุ่ นปู่ สู่ เหลน พอขึ้นม.๔ หลังจากจบโครงงานแสนเข้มข้นเกี่ยวกับขั้นตอนการปลูกข้าวตั้งแต่เริ่ มจนหุ งขึ้นหม้อเสริ ฟ์ บนจานได้กินกันทุกวัน การ์ ตูนจึงพัฒนาไม่หยุดยั้งด้วยการแปรรู ขา้ วเป็ นข้าวขัดขาว ข้าวกล้อง ข้าวกล้องงอก
117
จนถึงนํ้าข้าวกล้องงอก และกําลังจะออกมาในรู ปแบบนํ้าข้าว กล้องชนิดผงชงพร้อมดื่ม เพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ข้าวของ ชาวบ้าน นําไปขายด้วยโมเดลธุ รกิจแบบ “ขบวนบุญ” คือนํา บุญเป็ นที่ต้งั ไม่นาํ เงินว่าก่อน “ที่สินค้าของหนูเป็ นสิ นค้าบุญก็เพราะว่า คนที่ซ้ือไป จะได้ทาํ บุญเขาจ่ายจริ งตามราคาต้นทุนการผลิตซึ่ งราคาถูก มากหากเทียบกับราคาตลาดทัว่ ไป แต่เขายังให้เราเพิ่มเป็ นเงิน ทําบุญเพื่อนําเงินส่ วนนี้ไปปลูกป่ า สร้างฝายชะลอนํ้า ทําแนว กันไฟ ชาวบ้านอย่างครอบครัวหนูก็มีรายได้ ไม่ตอ้ งไป รับจ้างนอกหมู่บา้ น มีเวลาดูแลกันและดูแลป่ าไม้ของ หมู่บา้ น” “เราไม่กลัวขาดทุนเพราะเวลาทํา อย่างแม่แก้วก็ ไม่ได้คิดไว้วา่ วันนี้จะต้องได้ค่าแรงกวนนํ้ายาเท่าไร แม่ศรี ที่มี โครงการมากมายก็ไม่เคยบ่นท้อเพราะการได้แบ่งปันมันมี ความสุ ข พวกเราไม่ได้คิดว่าจะต้องได้เงินเท่านี้เท่านั้น ที่ผา่ น มายอดสัง่ ซื้อของหนูก็ไม่เคยลดลงมีแต่จะเพิม่ แล้วผลิตไม่ทนั หนูวา่ เขาคงเชื่อเหมือนกันว่าบุญมีจริ ง มันตอบกลับมายิง่ กว่า เงินทองที่ได้อยูแ่ ล้ว แต่คงเป็ นความสุ ขแบบพอเพียงละมั้งค่ะ ที่พวกเรารู ้สึกได้” เจ้าของโรงงานตัวน้อยสรุ ปรวบยอดความคิด หลังจากที่เธอเป็ นหน่วยสําคัญในการขับเคลื่อนขบวนบุญผ่านสื่ ออย่างสิ นค้าบุญของเธอ ทําให้คนปลายนํ้าอย่าง คนในเมืองได้ร่วมบุญอนุ รักษ์ทรัพยากรในหมู่บา้ นของเธอ สร้างชีวติ ที่ตายแล้วเหมือนเกิดใหม่ให้ครอบครัวเธอ และอีกหลายครอบครัวในหมู่บา้ นอมลอง ซึ่ งเป็ นทั้งที่ต้ งั ของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงสําหรับอบรมผลิตคน “หัว ไวใจสู้” อย่างลุงดรและแม่เอ้ย ครอบครัวแม่ศรี และแม่แก้วที่พลิกใจสู่ ความพอเพียงมีเวลาให้ครอบครัว เพื่อน
118
บ้านและยังแบ่งปั นเวลาไปให้งานส่ วนรวมด้วยความสบายใจ พอป่ าบนดอยกลับมา ความอุดมสมบูรณ์ก็คืนมา อาหารเหลือเฟื อ อากาศก็บริ สุทธิ์ สิ่ งพื้นฐานของการมีชีวิตเช่นนี้ก็จะย้อนกลับคืนสู่ ป่าเมืองให้อยูร่ ่ วมกันอย่าง เกื้อกูลธรรมชาติที่ทุกคนต้องมีส่วนรับผิดชอบร่ วมกัน
จากวันนั้นถึงวันนี้: พัฒนาการของคน คือ พัฒนาการของศูนย์ ฝึกอบรม หลังจากที่ทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มได้พบ กัลยาณมิตรคือศูนย์คุณธรรม หน่วยงานภาครัฐ องค์กร ปกครองส่ วนท้องถิ่น กองทัพบก กรมป่ าไม้และอุทยาน แห่งชาติ กรมพลังงานทดแทน สถาบันการศึกษาทั้งระดับ ขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาบริ ษทั เอกชน และทีมจิตอาสา ทีมประชานทัว่ ไปที่แวะเวียนมาช่วยเหลืออยูส่ มํ่าเสมอ ทํา ให้การก่อร่ างสร้างตัวของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็ นรู ป เป็ นร่ างเร็ วขึ้น แต่เหนือสิ่ งอื่นใดตลอดห้าปี ที่ชาวบ้านและทีมงานเองได้เรี ยนรู้และเติบโตผ่านกิจกรรมในศูนย์ การเรี ยนรู ้ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงแล้วนําไปใช้จริ งในชีวติ จริ งจนเห็นผลได้
พัฒนาการของการทํางานวัดกับการส่ งเสริมปรัชญาศก.พอเพียงสู่ ชุมชนตลอด ๕ ปี ทีผ่ ่ านมา (๒๕๕๑๒๕๕๕) ๒๕๕๑ เกิดโครงการศูนย์การเรี ยนรู ้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงสู่ การสร้างเสริ มคุณธรรมนําวิถีชีวติ ชุมชน เป็ นครั้งแรกๆ ที่ชาวบ้านตั้งใจถวายที่ดินบริ เวณห้วยบง มากกว่าร้อยไร่ ตามชื่อป่ าไผ่บงลําเขียวสดจํานวนมากซึ่ง ตอนนั้นบางส่ วนถูกแปรสภาพเป็ นที่นาของชาวบ้าน และปี นี้เองที่นาถูกแปลงสภาพเป็ นแปลงผักพื้นบ้าน นาข้าว
119
อินทรี ย ์ บ่อปลา เลี้ยงวัวควายหมู และปลูกต้นไม้ใหญ่โตเร็ วให้เป็ นป่ าอย่างยางนา ประดู่ สัก เต็ง รัง มะขามป้ อม ขี้เหล็ก ระหว่างที่นาํ เสาไม้สิบแปดต้นก่อสร้างอาคารฝึ กอบรม ชาวบ้านอีกส่ วนก็หนั ไปอบรมบรรดาเยาวชนจาก ๙ โรงเรี ยนในเขตอําเภอสะเมิง ซึ่ งระหว่างก่อสร้างอาคารก็อาศัยอนามัย บ้านชาวบ้านเป็ นที่ฝึกอบรม ในปี นี้เอง ที่ที่ทางวัดจัดตั้งโฮมสคูลขึ้นเป็ นครั้งแรก ได้ผลผลิตรุ่ นแรกเป็ นนักเรี ยนเจ็ดคนหนึ่งในนั้นคือ น้องการ์ตูน เจ้าของโรงงงานผลิตสิ นค้าบุญที่กล่าวมาข้างต้น ๒๕๕๒ โครงการ๑ ไร่ คุณธรรม/โครงการ อบรมต้นกล้าอาชีพ/บริ ษทั โตโยต้ามอเตอร์ ทาํ โครงการ ต้นแบบบูรณาการสู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน (ปี ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔) จากการที่ชาวบ้านอบรมไปแต่ไม่เห็นของจริ ง ไม่เคยลงมือทําจึงมีโครงการ ๑ ไร่ คุณธรรมจากศูนย์ คุณธรรมมาสนับสนุนทั้งไปอบรมดูงานงาน และ กลับมาลงมือทําทันทีบนแปลงของตนเอง บริ เวณใกล้ ศูนย์อบรมห้วยบง เป็ นการใช้ไร่ ของชาวบ้านเป็ นตัวอย่างจริ งให้ผเู ้ ข้าร่ วมอบรมเห็น ในขณะเดียวกันก็พา ชาวบ้านเป็ นวิทยากรอบรมเพื่อนๆ ต่างพื้นที่สนใจมาอบรมเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียง บริ ษทั โตโยต้ามอเตอร์ทาํ โครงการระยะยาวสองปี มาช่วยเสริ ม ๓ เรื่ อง ๑. สร้างฝายชะลอนํ้า ๒. โครงการเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ๓. ปลูกป่ าในใจและปลูกตามป่ า เลือกห้าพื้นที่ (ป่ าคา/แม่จุม/ป่ าเกี๊ยะ/บ้านใหม่/แม่ปะ) ๒๕๕๓ โครงการต้นกล้าคุณธรรม นําชาวบ้าน ป่ าคานอกมาทั้งหมู่บา้ น/ป่ าเกี๊ยะ/งาแมง/บ้านใหม่/แม่ปะ/ แม่เลย/อังคาย/ยั้งเมิน/แม่จุม/แม่ขาน/นักเรี ยนโรงเรี ยนสะ เมิงพิทยาคม/เทศบาลสะเมิง มาอบรมเรื่ องเศรษฐกิจ พอเพียง เสริ มพลังเครื อข่าย ผูน้ าํ ที่เคยอบรมต้นกล้าอาชีพ ในปี ที่แล้วก็พาเพื่อนบ้านในชุมชนมาอบรมมากขึ้นมาก เกิดคนหัวไวใจสู้อย่างเซเอ โอเค มี้ ไพบูลย์ มอกุย วิทย์ และพรชัย ซึ่งเป็ นคนปกาเกอะญอทั้งทีม เป็ นแกนนําคนรุ่ นใหม่ของหมู่บา้ นฝังตัวในพื้นที่
120
๒๕๕๔ โครงการมินิบวร เพื่อเสริ มหนุนคนหัวไว ใจสู ้เอาจริ งเอาจังกับการเลือกใช้ชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงจาก ๙ คน ๙ โครงการ เมื่อพึงตนเองได้ เขาก็สร้าง เครื อข่ายในหมู่บา้ นให้คนอื่นพึ่งได้ โดยใช้หลัก พระราชดําริ เข้าไปมีส่วนร่ วมมือในการพัฒนาท้องถิ่นทั้ง บ้าน วัด โรงเรี ยนและราชการ เกิดคนหัวไว้ใจสู้ที่กาํ ลังสุ่ ม ทําสวนตนเองให้ยกระดับเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับอําเภอและจังหวัด คือ พ่อสมชาย/พ่อน้อย เสงี่ยม/พ่อหลวงเสม/หนานวาด/แม่แก้ว/แม่สมหมาย/แม่ศรี /น้องปี้ รุ่ งนภา/ลุงวิรัตน์ ๒๕๕๕ โครงการขบวนบุญ เมื่อหมู่บา้ นสามารถ พึ่งตนเองได้ในระดับหนึ่ง ก็มีใจอยากช่วยเสริ มในแต่ละ หมู่บา้ นในเครื อข่ายคนบุญเหมือนกันให้ช่วยเหลือกัน เพราะหลังจากเห็น ๙ คนจาก ๙ หมู่บา้ นจากโครงการปี ที่ แล้วช่วยเหลือกันดี แต่จะดีกว่าหากคนในชุมชนลงมือทํา ด้วย และสามารถช่วยเหลือเพื่อนระหว่างชุมชนกับชุมชน เช่น โครงการกล้วยแลกข้าว นํากล้วยที่มีอยูเ่ ยอะในหมู่บา้ น หนึ่งมาแลกข้าวซึ่ งปลูกไม่พอกินเนื่ องจากที่ดินถูกขายเปลี่ยนมือไป พลังเครื อข่ายมีพลังกว่าแค่บุคคลเดียว หมู่บา้ นเดียว จึงใช้พลังกลุ่มระหว่าง ๕ โซนจาก ๑๒ หมู่บา้ นขับเคลื่อนกองทัพเศรษฐกิจพอเพียงให้เติบโตอย่าง มัง่ คงขึ้น ซึ่ งไม่เฉพาะคนอยูป่ ่ าเท่านั้นที่ช่วยรักษาป่ าได้ คนจากเมืองก็สามารถช่วยได้ดว้ ยการเลือกซื้ อผลิตภัณฑ์ บุญ โดยนําเงินบุญทั้งหมดเข้ากองทุนฟื้ นฟูธรรมชาติ ฟื้ นฟูแม่พระธรณี แม่น้ าํ คงคา แม่มหาสมุทรเป็ นขบวนสาย บุญยาวจากภูผาสู่ มหานที เครื อข่ายขบวนบุญจึงเข้มแข็งขึ้น ยังทําให้คนต้นนํ้าและปลายนํ้ามาเจอกัน ได้เข้าใจอก เขาอกเรา และมีส่วนรวมในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติร่วมกันอย่างยัง่ ยืน
121
บทวิเคราะห์ การขับเคลือ่ นโครงการในชุ มชน “โซนดอยผาส้ ม/หมู่บ้านอมลอง” โซนดอยผาส้ม/หมู่บา้ นอมลองถือเป็ นโซนที่กา้ วหน้าที่สุดในห้าโซนและสามาระเรี ยกได้วา่ เป็ นโซนที่ ดําเนินการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางพระราชดําริ ได้ถึงระดับขั้นก้าวหน้าจริ ง กล่าวคือ หลังจากที่ พึ่งตนเองได้ท้งั พอกิน (มีขา้ วปลาอาหารอุดมสมบูรณ์เหลือเฟื อ) พออยู่ (มีที่อยูอ่ าศัย) พอใช้ (มีน้ าํ ยาทําความ สะอาด/ปุ๋ ย/นํ้าหมักชีวภาพ/ถ่านดํา) พอร่ มเย็น (ความเขียวขจี ร่ มเงาไม้อยูส่ บายใจ สบายกาย)แล้ว ทุกวันนี้ชาว ชุมชนอมลองสามารถแบ่งปั น ทําบุญ ทําทาน เก็บรักษาแปรรู ป ขายสิ นค้า (ดูผงั มโนทัศน์ เรื่ องทฤษฎีบนั ได ๙ ขั้นสู่ ความพอเพียง ประกอบ) จนเป็ นศูนย์กลางในการสร้างเครื อข่ายทั้งในระดับชุมชน อําเภอและจังหวัด ตลอด ๕ ปี ด้วยความร่ วมมือและสนับสนุนจากภาคีท้ งั ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรไม่แสงหากําไร และภาคประชาสังคม ที่มีความเห็นตรงกันว่า เป็ นหนทางในการพัฒนาชุมชนชนบทอย่างยัง่ ยืน การขับเคลื่อนในปี นี้หมู่บา้ นอมลองได้เป็ นแบบอย่างเห็นความสําเร็ จในการดําเนินกิจกรรมเศรษฐกิจ พอเพียงขั้นก้าวหน้าให้กบั อีก ๔ โซนที่เหลือมาศึกษาดูงานพร้อมทั้งจัดคาราวาน “พี่สอนน้อง” ถึงอีกสิ บสอง หมู่บา้ นที่เป็ นพื้นที่เป้ าหมายในการดําเนินกิจกรรมขบวนบุญในปี นี้ เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนองค์ความรู ้ ทั้งเสริ ม กําลังใจให้กบั หมู่บา้ นที่กาํ ลังจะพึ่งพาตนเองได้ ในขณะเดียวกันคนในเมืองก็มีโอกาสรับรู ้เรื่ องราวของโมเดล ธุ รกิจบุญ (Social Enterprise) ที่เรี ยกว่า “ขบวนบุญ” ที่นาํ บุญนําหน้าการจ่ายกําไรเป็ นตัวเงิน ทุกๆ ครั้งที่คนเมืองอุดหนุนซื้ อสิ นค้าของชุมชนด้วยโมเดลบุญนี้ จะนําเงินส่ วนที่ธุรกิจแบบทุนนิยม เรี ยกว่า “กําไร” เข้าสบทบทุนกองทุนหมอกควันไฟป่ าของหมู่บา้ นอมลอง เพื่อภารกิจปลูกป่ า สร้างฝายชะลอนํ้า ทําแนวกันไฟ คนในเมืองที่กล่าวว่าเป็ นคนปลายนํ้าก็สามารถมีส่วนช่วยคนต้นนํ้าอย่างชาวบ้านอมลองดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่ทุกคนมีส่วนใช้ จึงต้องมีส่วนรับผิดชอบร่ วมกัน ซึ่ งนี่เป็ นเป้ าหมายสําคัญที่เกิดผล จริ งสําหรับการขับเคลื่อนขบวนบุญ และเป้ าหมายที่สาํ คัญไม่ยง่ิ หย่อนไปกว่ากันคือ การที่ผคู ้ นเปลี่ยนใจจากการ แบ่งแยกตัวเองออกจากธรรมชาติ หรื อยกตนข่มธรรมชาติมากยาวนานโดยหลงลืมไปว่าชีวติ มนุษย์อาศัยอยูไ่ ด้ ต้องพึ่งพิงธรรมชาติทุกลมหายใจ ซึ่ งวิธีการคือการนําบุญเข้าว่าทําให้จิตใจอ่อนโยน ลดความตระหนี่ถี่เหนียว ความเห็นแก่ตวั สู่ ใจที่หยุดค้นคว้า หยุดอยาก คือใจที่พอ แล้วมีเหลือพอที่จะแบ่งปันสิ่ งดีให้กบั คนใกล้ตวั ครอบครัว ชุมชน สังคม
122
บทสรุ ปสุ ดท้ายคงไม่มีอะไรอธิ บายภาพรวมได้ดีไปกว่าบทสารคดีส้ นั ในรายการดอกไม้บานสื่ อสาร ความดีที่ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์คุณธรรมในปี ๒๕๕๕ นี้ “แต่ก่อนเห็นเขามีเงิน เราก็อยากมีเงิน แต่เดี๋ยวนี้ทาํ ได้เท่าไรก็เอาเท่านั้น คือไม่มีความโลภ” “อยูท่ ี่ใจนั้นแหละ ใจพอมันก็คือพอ” “อยูแ่ บบพอๆ นี้แหละมีความสุ ข (ยิม้ )” “ถ้าเห็นอย่างนี้ได้ ทุกอย่างถูกหมดเลย เมื่อติดกระดุมเม็ดแรกถูก ที่เหลือมันถูกเอง ก็คือทิฐิ ความเห็นนี้ เอง ถ้าเห็นถูกได้ก็จะคิดถูก ทําถูก พูดถูก ทุกอย่างถูกหมด แล้วหนี้ก็ลดลง ทุกข์ก็จะลดลง นี่คือหัวใจทั้งหมดที่ วัดทํา” โครงการทุกโครงการ กิจรรมทุกกิจกรรมเป็ นเพียงเครื่ องมือพาคนเปลี่ยนใจ ใจที่ตามความอยาก ตาม กระแสกิเลสของตน แต่หากใจพอแล้ว แค่พอก็จะพบสุ ขที่ง่ายมีอยูท่ ุกที่ทุกเวลา จากนั้นเมื่อพอพึ่งพาทั้งใจตนเอง ได้ พึ่งพาทางกายคือพอมีพอกินแล้วก็สามารถแบ่งปั นให้เพื่อนได้ บุญความดีขบวนนี้ก็จะถูกส่ งทอดยาวต่อไป ไม่สิ้นสุ ด ปัจจัยเกือ้ หนุนการขับเคลื่อนขบวนบุญ ๑) ความร่ วมมือและสนับสนุนทั้งกําลังใจ กําลังกาย กําลังทรัพย์ กําลังปั ญญา จากหน่วยงานภาคีท้ งั ภาครัฐ เอกชน องค์กรมูลนิธิต่างๆ สถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคม และจิตอาสาทุกท่านทุกคน ที่ร่วมขับเคลื่อนขบวนบุญตั้งแต่เมื่อห้าปี ที่แล้วจนทุกวันนี้ ๒) ผูน้ าํ และทีมงานประสานงานกลางที่มีความเห็นตรงกันในการดําเนิ นโครงการปี ๒๕๕๕ ว่าจะต้อง เชื่อในบุญ/ความเมตตากรุ ณา ปรารถนาจะให้ผอู ้ ื่นได้ดี ไม่ดีก็ให้อภัย/และมีความเพียรอันบริ สุทธิ์ ไม่ยอ่ ท้อจนกว่าจะสําเร็ จ ซึ่ งเมื่อความเห็นตรงกันแล้วการทํางานจึงเต็มไปด้วยความราบรื่ น ตรงสู่ เป้ าหมายที่วางไว้ และเกิดผลขึ้นเป็ นรู ปธรรมจริ ง ๓) ปั ญญาที่ใช้พิจารณาไตร่ ตรองเห็นตามความเป็ นจริ ง เมื่อเห็นถึงรากเหง้าของปั ญหาที่แท้จริ งของ สังคมไทย จะเห็นความยึดโยงของปั ญหาทั้งหมดที่ผกู ปมพันซ้อนทับกันมากมายจนยากเกินแก้ ก็
123
จะเข้าใจได้วา่ ปั ญหานอกตัวเราแก้ไม่ได้หมด แก้ได้สิ่งเดียวคือใจของตนเอง กระบวนการทํางาน ทั้งหมดจึงเป็ นเพียงการพาคนเปลี่ยนใจให้เห็นตามความเป็ นจริ งนัน่ เอง เมื่อเห็นตามนั้นแล้วการ แก้ปัญหาเรื่ องใดๆ จึงไม่ยากอีกต่อไป ทั้งแก้ปัญหาคนขาดคุณธรรม แก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อม แก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ เพราะใจคนที่เห็นผิดไปจากความ เป็ นจริ งจึงทําให้เกิดปั ญหาดังกล่าว
124
บทสรุ ปการทํางานเขตที ๒ ชุ มชนบ้ านป่ าเกียะนอกและชุมชนบ้ านสนามกีฬา ต.บ่ อแก้ ว อ.สะเมิง และชุ มชน บ้ านแม่ แดดน้ อย อ.กัลยาณิวฒ ั นา จ.เชียงใหม่
๔ คน ๓ หมู่บ้าน ๒ อําเภอ เครือข่ ายชุมชนปกาเกอะญอ (คน) บุญ แม่ พอวาและกลุ่มทอผ้ า: เมือปากท้ องสํ าคัญกว่ าวัฒนธรรม “ปกาเกอะญอ แปลว่าคน ในภาษากะเหรี ยง จะเรี ยกผมว่ากะเหรี ยงแบบในภาษาไทย ผมก็เฉยๆ แต่ เรี ยกว่า “ยาง” มันเป็ นคําดูถูกสําหรับผม ไม่ต่างจากเรี ยกคนจีนว่า พวกเจ๊ก เรี ยกม้งว่า แม้ว แต่เดียวนีพอผมลงไป ซื อของในเมืองเขาไม่ได้สนใจว่าผมหรื อใครเป็ นกะเหรี ยง เขาสนแต่วา่ ผมมีเงินและพูดกับเขารู ้เรื องก็พอ” สละ เลิศละอองดาว พ่อหลวงบ้านแม่แดดน้อย บ้านปกาเกอะญอเผ่าสะกอเล็กๆ บนภูเขาสูงสะท้อน ความเปลียนแปลงทางสังคมผ่านวัฒนธรรมการใช้ภาษา ในแง่ความหมายก็อาจมองได้วา่ กลุ่มพีน้องชาติพนั ธุ์ วรรณนามีศกั ดิศรี เท่าเทียมคนพืนราบในยุคสมัยนี ในขณะเดียวกันก็ทาํ ให้คิดต่อต่อได้วา่ ศักดิศรี แห่งความเป็ น มนุษย์ทงคนบนที ั สูงและคนพืนราบก็ตกเป็ นทาสของสิ งเดียวกันคือ เงินตรา คนเมือง คนดอย คนรวย คนจน คนคริ สต์ คนพุทธ คนมุสลิมก็มีปัญหาไม่แตกต่างกันเพราะต่างก็ทุกข์ เหมือนกัน โดยเฉพาะปัญหาพืนฐานอย่างเรื องปากท้อง วันนีจะเอาอะไรกิน มีทีดินแต่ไม่มีกิน ปัญหาชักหน้าไม่ ถึงหลัง มีรายได้นอ้ ยกว่ารายจ่ายจึงพวงหนีสิ นกองโตซึ งล้วนเกียวกับเงิน เช่นเดียวกับแม่พอวา มณี ไพรสณฑ์ ประธานกลุ่มแม่บา้ นทอชุมชนบ้านป่ าเกียะนอก อดีตเจ้าของไร่ สตรอเบอร์ รีแต่ทาํ แล้วเจ๊งขาดทุนแล้วขาดทุนเล่า จนทําให้ตอ้ งเลิก ปัจจุบนั จึงยึดอาชีพรับจ้างทุกชนิดเพือจุนเจือครอบครัวทังสี ชีวิต “โอ้ย...เขาจ้างแค่วนั ละ ๑๓๐ บาท งานหนักมากในสวน ทังปลูกสตรอเบอร์ รีร้อยห้าสิ บต้นได้สิบบาท ถอนหญ้า ตัดไหล เก็บผลสตรอ บางทีพน่ ยา ใส่ปุ๋ยเคมีเมือวาน เช้ามาให้เก็บผลมือทังแสบทังคัน กลินก็ฉุนเหม็น ก็ตอ้ งทน จะชายจะหญิงก็จา้ งไม่เกิน ๒๐๐ บาทต่อวัน” แม่พอวาบ่นอย่างจําใจเพราะมีทางเลือกไม่มากสําหรับคนปากกัดตีนถีบหาเงินเลียงตัวเองรายวัน และ แทบจะเป็ นไปได้สาํ หรับค่าแรง ๓๐๐ บาทต่อวันบนดอยสูง หรื อแม้แต่แรงงานนอกระบบอย่างคนพืนราบก็ดีจะ
125
มี ๓๐๐ บาทอยูใ่ นมือต่อวัน แต่กแ็ ทบชักหน้าไม่ถึงหลังในเมือข้าวจานเดียวก็ราคาแพงถึง ๔๐ บาท เป็ นวิกฤต ปากท้องทีพีน้องผูใ้ ช้แรงงานและเกษตรกรไทยเผชิญมาทุกยุคทุกสมัย เพราะเมือนําเงินตังตน ชีวิตก็ตอ้ งเหนือย วิงหาเงิน และปิ ดฉากชีวิตลงทีเอาเงินไปด้วยไม่ได้ นันก็เพราะว่าเรายอมให้เงินครอบงําจิตใจ “สวิง (แกนนําฝังตัวขับเคลือนขบวนบุญ) มาชวนแม่มาขายนํายาล้างจาน แชมพู สบู่ของวัด จนเกิด กองทุนกลางขึนมา แล้วก็พากลุ่มทอผ้าปลูกฝ้ าย แล้วทอผ้าส่ งให้กบั วัด ทําไมแม่มาสนใจทํา พูดตรงๆคือ แม่ อยากจะมีรายได้ใช้จ่ายในครอบครัว และก็คิดว่าช่วยอนุรักษ์การปลูกฝ้ าย ปั นฝ้ ายอย่างทีสมัยของยายยังทําอยู่ เดียวนีมีเด็กสาวไม่กีคนทีทอผ้าเป็ น ไปทํางานเรี ยนในเมืองหมด บางคนแต่งงานแล้วก็ยงั ทอไม่เป็ น คนทอเป็ นก็ ทอเก็บไว้ใส่เองเยอะ ไม่เคยเอาผ้าไปขายเพราะ ไม่มีใครมาซือ จึงต้องไปรับจ้างหาเงินมาใช้จ่าย ใช้หนี ให้ลูกตืน มาต้องใช้เงินทุกวัน” โชคดีทีฟ้ ายังเข้าข้างลูกชายวัย ๑๓ ปี ได้ทุนการศึกษาจนจบม.๖ จากทางโบสถ์คริ สตจักร และลูกสาวคน เล็ก ๑๐ ปี ของแม่พอวาเรี ยนฟรี ในโรงเรี ยนของรัฐใกล้บา้ น ถ้าเช่นนันแล้วแม่หาเงินไปทําไม “๕ ปี ก่อนแม่ทาํ ไร่ สตรอเบอร์ รีทีใช้ยาฆ่าแมลงพ่นเคมีลงต้นและผล ไม่รู้วา่ สารเคมีค่อยๆ ซึ มซับลงดิน ช้าๆ ดินเสี ยหมด พอแม่กลับมาปลูกข้าวไร่ อย่างเดิมแต่กไ็ ด้ขา้ วไม่พอกิน กินสี คนไม่พอ ต้องออกไปรับจ้างหา เงินซื อข้าว ของใช้บา้ งและใช้หนีทีกูม้ าใช้จ่ายในครอบครัว เป็ นเหตุให้แม่ตอ้ งถีบตัวออกจากบ้านมารับจ้างทุก อย่าง” ชุ มชนปกาเกอะญอตําบลบ่ อแก้ วจึงมีชีวติ อยู่อย่างลําบากกว่ าแต่ ก่อน... ครังหนึงเมือของชุมชนป่ าเกียะนอกซึงเคยอุดมสมบูรณ์ดว้ ยป่ าไม้ ต้นนําลําธาร มีนาํ มีอาหารจากป่ า และดํารงชีวิตด้วยการปลูกข้าวไร่ ปลูกผัก เลียงสัตว์ หาเห็ด หน่อไม้ ดอกไม้ ใบผักเขียวขึนตามป่ า แชมพูได้จาก มะคําดีควายในป่ า ล้างจานคราบมันด้วยใบไม้ป่า เป็ นไข้ตวั ร้อนปวดเมือยต้มรากไม้เปลือกไม้ดืม ชีวิตจึงล้วน พึงพาจากป่ าและอยูไ่ ด้ดว้ ยตนเอง โลกหมุนไปทุกวัน โลกเปลียน เราปรับตัว...
126
เมือรายได้เป็ นตัวเงินเป็ นสิ งจําเป็ นสําหรับชีวิต ทังยังถูกบีบจากนายทุนกว้านซื อทีดิน บ้างถูกกล่าวหาว่า บุกรุ กป่ า ซําร้ายยังทําลายผืนดินของตนเองจะด้วยรู ้หรื อไม่รู้ การรดสารเคมีเร่ งพืชโตให้ทนั ขายกลับทําให้ดิน เสื อมสภาพรวดเร็ ว เพราะพืชก็ถูกสารเคมีเร่ งให้ดูดแร่ ธาตุจากดินขึนจนหมด พืชงามแต่ดินเสื อม วิถีชีวิตคนบน ดอยจึงต้องเร่ งรี บหาเงินตามกระแสสังคมทีบีบรัด ประเพณี วฒั นธรรมจึงจําเป็ นต้องปรับเปลียนตาม “คอเสื อตัววีตามแบบเสื อปกาเกอะญอทัวไปเหมือนกันทังหน้าและหลัง บรรพบุรุษบอกเราว่า ปกา เกอะญอจงทําตนให้เหมือนกันทังต่อหน้าและลับหลัง และให้สงสอนลู ั กหลานเช่นนี” แม่พอวาอธิ บายด้วย ภาษาไทยติดๆขัดๆ ปนภาษามือก็ทาํ ให้เข้าใจได้ไม่ยาก “เสื อสี ดาํ (เชซู) ทีแม่ใส่เปรี ยบเหมือนต้นไม้ใหญ่ทีออกผลและเป็ นร่ มเงาให้ลูกหลานอย่างต้นไม้ตน้ เล็กๆ ทีเติบโตอยูร่ อบเงาไม้ให้อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข เสื อสี แดง (เชกอ) ทีผูช้ ายใส่ หมายถึงหัวหน้าครอบครัว ออกไปไร่ ไปนาไปป่ าหาอาหารมาให้ครอบครัวต้องใช้ความกล้าหาญและความเป็ นผูน้ าํ ส่วนเสื อสี ขาวยาวกรอมเข่า (เช กวา) หมายถึงความบริ สุทธิดังผ้าขาว เป็ นชุดสําหรับเด็กหญิง” แม่หนี น้าของสวิงบอกเล่าเป็ นภาษาปกาเกอะญอ พลางโชว์เสื อทอมือสี ดาํ ทีสวมใส่ อยู่ ลายปักลูกเดือยสี ขาวเม็ดกลมเรี ยงเป็ นรู ปดอกไม้สลับกับลายดอกไม้สีแดง เล็กๆ ทังหมดเดินเส้นด้วยการปักมือเนียนสวยกว่าเครื องจักรเป็ นไหนๆ แม่หนียังเสริ มอีกว่า ด้วยความเป็ นแม่ที ต้องคอยเลียงดูลูกๆ ทํางานบ้านไปไร่ นาเสื อย้อมธรรมชาติสีดาํ จึงเหมาะกับการใช้งานทุกสถานการณ์แบบไม่ กลัวเปื อน สี เสื อ ลักษณะเสื อ เป็ นเพียงเศษเสี ยวของภูมิปัญญาการสังสอนลูกหลานแบบมุขปาฐะ (เล่าจากปากต่อ ปาก) จากบรรพบุรุษปกาเกอะญอทีน้อยคนจะเข้าถึงคุณค่าความหมายแฝงเหล่านัน ในเมือวัฒนธรรมกับ เศรษฐกิจเรื องปากท้องไปกันไม่ได้ สิ งเหล่านีจึงเริ มเลือนหาย “ไม่มีใครถามหรอกว่าวัฒนธรรมเรามีอะไร ทําไมเสื อต้องสี ดาํ สี แดง ทําไมต้องหมุนเวียนไร่ บางทีเรา ทําทุกวันจนลืมไป เวลาลูกหลานถามก็ตอบไม่ได้ ชีวิตเราก็ออกรับจ้างแต่เช้า ตกเย็นก็ไปซือข้าวกิน ไม่ได้มานัง คิดเรื องพวกนี” แม่พอวาพูดเสี ยงเศร้าแบบไม่โทษใครแต่ในเมือท้องยังไม่อิม วัฒนธรรมทีกินไม่ได้จะสําคัญกว่า คงเป็ นไปได้ยาก มีคาํ บอกกว่าว่าชีวิตคือ วัฒนธรรม เมือวิถีชีวิตเปลียนนันคือ วัฒนธรรมทีเปลียนไปเช่นกัน จะดีไหมหากเรืองปากท้ อง วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไปด้ วยกันได้ ...
127
วิทย์ ปกาเกอะญอนอกกรอบ : พึงตนเองทางกาย พึงเครือข่ ายทางใจ “เอาง่ายๆ ผมมีแปลงผัก เลียงหมู เลียงไก่ ปลูก กาแฟในป่ า ปลูกต้นไม้ใหญ่ในป่ าเสริ ม มีบ่อปลาเล็กๆ ชีวิตนีผมก็พอใจแล้ว” “ผมพึงตนเองได้ ก็ค่อยๆ พากลุ่มแม่บา้ นเพียงสิ บ คนทอผ้า หาตลาดขายเป็ นรายได้เสริ ม ส่วนจะอนุรักษ์ผา้ ได้กด็ ี ไม่ได้กไ็ ม่เป็ นไรเพราะทุกอย่างต้องมีการ ปรับเปลียนตามยุคสมัย เหมือนผมทีทําโครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืช โดยไปปลูกต้นกล้าในป่ าใหญ่ปลูกไป มากมายก็ไม่รู้จะอนุรักษ์ได้ไหม รู ้แต่วา่ ตอนนีก็ทาํ ไปก่อน ผมคิดว่าดีต่อต้นนําทีใช้ในนาข้าวของผม มันต้องดี ขึนแน่ถา้ ทุกๆทีทียังมีป่า” วิทย์หรื อ สวิง จะหละ หนุ่มปกาเกอะญอนอกกรอบแห่งบ้านป่ าเกียะนอกวัย ๒๗ ตอบอย่างมันใจ หลังจากเข้าร่ วมเป็ นเครื อข่ายโครงการของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มร่ วมสามปี โดยเน้นให้เครื อข่ายชุมชนท้อง อิม ใจอิม (เอม) ด้วยมอตโต้ “เศรษฐกิจ จิตใจ แก้ไขพร้อมกัน” ทีทีมงานยึดเป็ นหัวใจหลักในการทํางาน ซึ งท่าน พระพุทธพจนวราภรณ์ (หลวงปู่ จันทร์ กุสโล) อดีตเจ้าอาวาสวัดเจดียห์ ลวงมอบให้เป็ นแนวทางการพัฒนาชุมชน อย่างยังยืน หลังจากทีโลดโผนจากการทํางานสารพัดอย่างในเมืองทังขับรถ เป็ นไกด์ทวั ร์ เป็ นล่ามเกือบสี ปี ทีชีวิต ของวิทย์ขอ้ งเกียวกับในเมืองทําให้เขาค้นพบว่าไม่มีทีไหนอยูส่ บายเท่าทีบ้านเขา หากแต่ความจําเป็ นทีจะช่วยพ่อ แม่ปลดหนีก้อนโตจากการทําเกษตรเงินกู้ และเพือเป็ นทุนรอนใน การทําสวนเกษตรในฝันและมีเวลาช่วยเหลือสังคมส่ วนรวม ชุมชน ทีเขารัก “ผมมาทํางานเพือส่วนรวมร่ วมกับทางวัด จริ งๆ มาจาก เพราะผมศรัทธา ศรัทธาอะไร ศรัทธาในตัวหลวงพ่อซึงไม่ใช่คนใน พืนทีแต่กลับทําประโยชน์ให้ส่วนรวมมากมาย ก็เลยคิดว่าแล้วเรา คนในชุมชนแท้ๆ จะทําอะไรให้กบั บ้านของเราได้บา้ ง”
128
นับเป็ นจุดเริ มต้นของชีวิตเด็กหนุ่มทีเต็มไปด้วยความฝัน ความศรัทธาโดยการเลือกทีจะอยูใ่ นชนบททํา เกษตรพอเพียงและทุ่มเททําเพือประโยชน์ส่วนรวมในบ้านเกิดทีเขารัก เหล่านีอาจเป็ นความฝันของใครหลายๆ คน แต่ในความเป็ นจริ งการทําเพือส่ วนรวมมักมีคาํ ถามเสมอว่าจุดสมดุลระหว่างงานส่ วนตนและงานส่วนรวม อยูต่ รงไหน เป็ นคําถามทีวิทย์กาํ ลังค้นหาคําตอบทีไม่สาํ เร็ จรู ป และต้องแลกมาจากประสบการณ์ลงพืนทีจริ ง ทํางานร่ วมกับชุมชนอย่างทุ่มเท และเจียดเวลาให้กบั สวนเกษตรส่วนตัวทีรอคอยให้สามารถเก็บผลผลิตจนเลียง ปากท้อง จุนเจือครอบครัวได้ ไม่ง่ายสําหรับคนรุ่ นใหม่ทีมีไฟและมีใจรักบ้านเกิด อยากพัฒนา อยากเห็นคนใน ชุมชนมองเห็นประโยชน์ส่วนรวมบ้าง แต่ในโลกแห่งความเป็ น จริ งก็ไม่ได้เป็ นอย่างในฝันเสมอไป “ชาวบ้านมากระซิ บเรื องผลประโยชน์ จากปูนซีเมนต์ มาทําฝายต้นนําว่าผมได้ฝายหนึงเท่าไร จากโก่งราคาขีหมูที นํามาทําปุ๋ ยอินทรี ยใ์ ห้กบั วัด คือเขาอาจไม่ตอ้ งการผลประโยชน์ แต่พดู เพราะอะไรก็ไม่รู้นะ แต่ลึกๆ แล้วผมท้อนะ ต้องเป็ นคนใน ชุมชน มาอยูใ่ นชุมชนจะรู ้เอง เจ็บเอง” “ถามว่ารักบ้านเกิดไหม รักนะและอยากเห็นการพัฒนา แต่ ถ้าคนทําเพือส่วนรวมโดนแบบนีมากๆ เป็ นผมเองผมก็เริ มคิดนะ ผม ว่าผมอาจจะไม่พร้อมทําเพือส่วนรวมเต็มร้อย หนีสิ นพ่อแม่ สวนของ ผมก็ยงั ไม่ได้ทาํ รายได้ให้ครอบครัว แต่มองในแง่ดีการทํางานใน ชุมชนสอนผมหลายอย่าง เป็ นบทเรี ยนสําคัญของชีวิต ทําให้เห็นเราว่าเราเป็ นคนคิดผิด ทําผิด ใจร้อน และพอ โครงการมาลงชุมชนการพูดกับการปฏิบตั ิไม่เหมือนกันนะ พูดยังไงก็พดู ได้ แต่พอมาทําจริ งๆ มันทําไม่ได้ จาก อะไรหลายๆ อย่าง” ถึงแม้วา่ วิทย์จะประสบความสําเร็ จในแง่ของการเป็ นผู ้ ประสานงานโครงการขบวนบุญซึ งทําให้เกิด “กองทุนบุญ” ขึนจริ งใน กลุ่มทอผ้าของแม่พอวาและจะนําไปใช้ซืออุปกรณ์ทอผ้าในอนาคต แต่ ชีวิตส่ วนตัวของเขาทีกาํ ลังต่อสูก้ บั ภายในจิตใจระหว่างทางแยกของชีวิตนี
129
กําลังใจจึงเป็ นสิ งสําคัญ วิทย์จึงตัดสิ นใจไปหาทีปรึ กษาอย่างหลวงพ่อและเพือนศิษย์วดั ทีให้กาํ ลังใจทีจะสูต้ ่อไป เพราะจากประสบการณ์ของผูร้ ่ วมเครื อข่ายวัดกว่ายีสิ บหมู่บา้ นในเขตอําเภอสะเมิงเคยมีหว้ งความคิดนีอยูใ่ นหัว ทังนัน เราก็รู้อยูแ่ ล้วว่าการว่ายนําทวนกระแสต้องเหนือยแค่ไหน โขดหิ นกีโขด ท่อนซุงกีท่อน สัตว์นอ้ ยใหญ่ที ไหลตามนํามาอีกกีตัวทีจะเข้ามาทําร้ายเราได้เสมอ แต่ถา้ เมือใดถูกถาก ถูกถาง ถูกฟันแหลมคมฉี กเนือบ้างก็ ขอให้นึกไว้วา่ ยังมีพวกเราอีกกว่ายีสิ บนําหน้าไปก่อนแล้ว และก็เคยเจอเหตุการณ์ไม่ต่างจากเรา แต่พวกเขา ข้างหน้าก็ไม่เคยคิดจะว่ายนําถอยหลังเมือยังไม่ถึงฝัง...
สุ มน : อุดมการณ์ ความฝัน ความจริง ผ้าขาวม้าพันคอ หมวกแก็ป และเสื อแจ็คเกตทหารแขนยาวสี เขียวเป็ น เอกลักษณ์ติดตัวสุมน ปกาเกอะญอหนุ่มวัย ๒๕ นีไปเสี ยแล้ว
กันแดด
กันฝน กันหนาว เป็ นเหตุผลหลักทีเขาเลือก สารพัดประโยชน์เช่นนีไม่ต่างจาก อุดมการณ์ในความฝันทีเป็ นจริ งในวันนีทีเกิดประโยชน์ “มหาศาล” เขาว่า ไม่ใช่แค่ตวั เขา ครอบครัว แต่ชุมชนและโลกก็ได้รับประโยชน์จากความฝัน เล็กๆ ทีเมือเริ มลงมือก็ยงใหญ่ ิ แล้ว ปลูกป่ าในใจคน คือ ความฝันทีเริมเป็ นจริง
บ่อนําใหญ่นอ้ ยจํานวนหลายร้อยบ่อทีถูกขุดขึนมา เพือนําดินไปร่ อนหาแร่ เป็ นทีมาของตําบลบ่อแก้ว ก่อนป้ อน ให้กบั เหมืองแร่ ซีไรท์ทีอยูบ่ นหมู่บา้ นถัดไปไม่เกินหนึงกิโล กว่าห้าสิ บปี ทรายจํานวนมหาศาลทีไหลมาพร้อมกับนํา หลังจากสิ นสุดขันตอนร่ อนหาแร่ ท่วมทีทํากินและทีอยูอ่ าศัย รุ่ นปู่ ย่าแม่พอ่ ของสุมนอพยพบ้านมาหลายครัง เขาเองก็หวัง
130
ว่าจะสิ นสุดการเดินทางทีรุ่ นของเขา “โทษใครไม่ได้ เรามา เขามา แผ่นดินนีไม่ใช่ของใคร คนใดคนหนึง” สุ มนหรื อธัชชัย เปอะเลอะ เล่าเสี ยงเรี ยบด้วย ภาษาเหนืออันคล่องแคล่วของเขาอย่างเข้าใจปั ญหา โดยไม่ ปล่อยใจให้ทุกข์ไปด้วย “อุดมการณ์ทีเราได้ไปรําเรี ยนจนจบมหาลัยก็น่าจะมา ช่วยชาวบ้านซึงก็คือ ญาติพีน้องเรา เพือนเรา เรามีความรู้ดา้ น วิชาการมา ชาวบ้านเก่งปฏิบตั ิน่าจะช่วยแก้ปัญหาทีพืนทีรอบๆ ทีกลายเป็ นไร่ เชิงเดียว บางทีคนก็ขยายพืนทีเข้าไปในป่ า ยังไม่ รวมไปถึงปัญหาหนีสิ น” ความรักอิสระและติดดินเป็ นอีก คุณสมบัติทียังไม่มีบริ ษทั หางานใดชิงตัวเขาออกจากหมู่บา้ นได้ เขาจึงมุ่งกลับบ้านทําเกษตรพอเพียงการันตีดว้ ยดีกรี ปริ ญญาตรี ส่ งเสริ มการเกษตร ม.แม่โจ้ จึงไม่ตอ้ งกังวลว่าราคาพืชผักจะเป็ น อย่างไร ปลูกหลายอย่างเพือกระจายความเสี ยงเรื องผลผลิตล้น ตลาดและราคาตกตํา “ใช้เวลาและความอดทน” เป็ นสิ งทีสุ มนเน้นถึงหัวใจ ของการทําเกษตรผสมผสาน บรรดา พลับ ท้อ มะม่วง ไม้เติม ไม้พญาเสื อโคร่ ง จึงถูกปลูกขึนในไร่ ของเขาซึ งครังหนึงเป็ นป่ า ไผ่ร้างไฟป่ าไหม้ทุกปี ปี นีเขาดูแลไร่ อย่างดี ตัดหญ้าจนโล่งและ ชักชวนเพือนบ้านแทบทุกบ้านมาร่ วมปลูกไม้ผล ปลูกไม้ยนื ต้น ทดแทนป่ าทีเสี ยไป นอกจากนันยังพากันพัฒนาบ่อนําขนาด ใหญ่โดยปลูกแฝกเป็ นแถวยาวรอบบ่อกันการกัดเซาะ และนํา เงินจากโครงการมาซือพันธุ์ปลามาปล่อยลงบ่อ เพือหวังว่าสัก วันข้างหน้าลูกหลานเขาจะได้มีปลาไว้กิน มีป่าไว้ใช้สาํ หรับ
131
ชุมชน เมือไม้ผลออกผลก็มีรายได้ไว้เก็บสื บต่อไป “เวลาจะทําอะไรจะไม่มีการบังคับ แล้วแต่สมัครใจ แต่ผมจะประชุมกันก่อน คุยกันว่าจะทํากันยังไง ทํากันดี ไหม ปลูกพืชพันธุ์อะไร ต้องคุยจุดประสงค์ให้ตรงกัน ก่อน” แววผูน้ าํ และฝี มือผูป้ ระสานชาวบ้านฉายตังแต่การ วางแผนก่อนลงมือทํา ซึงก็รับการตอบรับอย่างดีจากเพือน บ้าน “ผมก็ไม่รู้หรอกว่าทีปลูกไปจะมีผลให้เก็บกิน เก็บขายได้เงินมาหรื อไม่กไ็ ม่รู้ ไม่แน่นอน แต่เป็ น ประโยชน์กบั ชุมชนร้อยเปอร์ เซ็นต์คือ ป่ าอุดมสมบูรณ์ขึน มีป่าใช้สอยเป็ นของชุมชน ดินกลับมาอุดมสมบูรณ์ ปลูกอะไรก็ขึน ก็งาม ไม่ตอ้ งใช้สารเคมี แมลงก็นอ้ ย ลดปั ญหาโลกร้อน แต่ขอ้ ดีจริ งๆ ของโครงการของวัด หลักๆคือ ช่วยความสามัคคีในชุมชน พอไม่มีอะไร ต่างคนก็ต่างไป ไม่มีการพัฒนาในชุมชน แต่กิจกรรมปลูก ต้นไม้ ทําปุ๋ ย อบรมต่างๆจะทําให้คนรักสามัคคีเป็ นผลพลอยได้ทีไม่ได้ตงใจ ั แต่สาํ คัญทีสุ ดคือ ได้ใจคน”
ปุ๋ ยหมัก ฮอร์ โมนพืช EM BALL ทุกคนพึงพาตนเองได้ หลังจากทีเวทีสญ ั จรแหล่งเรี ยนรู ้เคลือนทีในการอบรมทําปุ๋ ยอินทรี ย ์ ชีวภาพ ฮอร์โมนพืชและสาธิ ตการทําจุลินทรี ยด์ ินระเบิด (EM Ball) เมือเดือน กรกฎาทีผ่านมา สุ มนได้แสดงให้เห็นแล้วว่าชาวชุมชนบ้านสนามกีฬามีความ ตืนตัวมากในการแสวงหาแนวทางการพึงตนเอง หลังจากหลายครอบครัวอก หักขาดทุนหนักจากการปลูกสตรอเบอร์รีแหล่งสําคัญของประเทศ แต่ยงั ต้อง ทําต่อไปเพราะหนีสิ นพะรุ งพะรังพวงท้าย
132
กลุ่มพ่อบ้านทําปุ๋ ยหมักคอนโดจากขีหมูทีได้รับจากบ้านแม่ แดดน้อยซึงเป็ นเคลือนข่ายขบวนบุญ นําฟางเศษหญ้าสดมาออม รวมกัน ไม่กีอึดใจแรงงานชายกว่าสิ บคนก็เนรมิตกองปุ๋ ยหมักราวสอง พันกิโลจนแล้วเสร็ จ รอย่อยสลายไม่กีเดือนก็เปิ ดใช้ได้ ประหยัด เรี ยบ ง่าย คือแก่นของการพึงพาตัวเอง อีกฝังใกล้ๆ กลุ่มแม่บา้ นและลูกเด็กเล็กแดงแบ่งงานกันทํา อย่างสามัคคี ฟากหนึงสับขนุนทังเปลือก อีกฟากสอยหน่อกล้วยทีแต่ ละคนหิวมาออมรวมกันแต่เช้ามืด บรรดาเยาวชนศิษย์วดั พากันเตรี ยม ถัง ไม้พายตวงนําตาล รองนําสะอาดรอบรรดาแม่บา้ นพร้อม “ใครปวดฉี บ้าง เอาขวดไปรองมาด้วย เราจะมาออมฉี กัน” สิ นเสี ยงวิทยากรทําเอาวงแตกตืน เพราะสูตรปุ๋ ยนําปัสสาวะ ปุ๋ ยไร้ราคาแต่ไม่ไร้คุณค่า และหาได้ทกุ ทีนําปัสสาวะทีทางทีมงาน เตรี ยมมาปริ มาณไม่พอ จึง ต้องขอชาวบ้าน งาน “บริ จาคฉี ” จึงเริ มขึนเพือ เตรี ยมไว้หมักกับขนุนให้ได้ส่วนผสมทีพอเหมาะ ถังดําบรรจุขนุนสุ กสับละเอียดผสมกากนําตาลแล้ว เท ปั สสาวะหลายแกลลอนรวมกัน ไม่ตอ้ งเข้าใกล้กลินโชยก็แตะจมูกไม่ ต้องบอกก็รู้ฉีคนชัวร์ ๆ ราวกับมีเวทมนต์เมือพระอาจารย์สรยุทธ ชยปัญโญค่อยๆ ขยําจุลินทรี ยด์ ินระเบิดให้ละเอียดลงไปในถัง ไม่นาน กลินก็ดบั ไปราวกับไม่มีอะไรเกิดขึน เด็กๆ พากันพิสูจน์กลินหา
133
หลักฐานจึงพบว่าเจ้าจุลินทรี ยใ์ นลูกบอลกําลังกินนําตาลในขนุนจนกลินหาย กล้วยสุกเคียวไฟจนเป็ นสี แดงรสหวาน รําละเอียด ดิน จอมปลวก นําสะอาด ผสมคลุกเคล้ากันก็ถึงเวลาของเด็กๆ เล่น สนุก ปั นเป็ นก้อนกลมๆ อุน่ ๆ เท่าลูกเปตอง บีบจนนําชุ่มไม่แตก ง่าย แล้วจึงตากแดดไว้หนึงวัน จุลินทรี ยด์ ินระเบิดก็ถือกําเนิดขึน ลูกบอลเหล่านีเองทีช่วยดับกลินนําเน่าเมือครานําท่วมกรุ งเมือ ปลายปี ทีแล้ว จํานวนแสนก้อนไม่เคยพอ เราจึงชักชวนชาวบ้าน ปั น “ลูกบอลกล้วยแดง” เก็บเอาไว้ ได้ขายหรื อไม่ได้ขายก็เก็บไว้ หมักปุ๋ ยนําปั สสาวะใช้เองได้ไม่ตอ้ งซื อ ทริ ปประวัติศาสตร์ ครังแรกของหมู่บา้ นครังนีต้องยก ความเสี ยสละให้สุมนในการรวมคน บวกกับความกระตือรื อร้น ผ่านสายตาทีมุ่งมันของชาวบ้านสนามกีฬาชายหญิงทีมาร่ วมกว่า ห้าสิ บชีวิต บ่งบอกถึงความหวังทีจะพึงตนเองให้ได้ ขบวนบุญที มองเห็นได้ สัมผัสได้เริ มขึนแล้ว ณ บ้านสนามกีฬา
134
แม่ บวั พอ : แม่ ค้า (นํา) ยาจําเป็ น “กว่าจะได้เงินไปซือปูนทําฝายสักสิ บลูก มีหวัง แม่ตอ้ งขายนํายาเป็ นปี ผ่านไปสองเดือนได้กองทุนยังไม่ ถึงแปดสิ บบาท” แม่บวั พอ ดํารงยศยิง ประชดความ ยากลําบากในการตังกองทุนบุญกลางของหมู่บา้ นแม่แดด น้อย บ้านปกาเกอะญอเล็กๆ บนภูเขาสูงในอําเภอกัลยาณิ วัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ ทีนีไม่มีไฟฟ้ า ไม่มีคลืนโทรศัพท์ และไม่มีถนนลาดยาง แต่ยงั คงความอุดมสมบูรณ์ของป่ า ดิบชืนและผืนป่ าสนทีใหญ่ทีสุดของประเทศไทย “นํายาอเนกประสงค์ขายขวดละสิ บบาท เขาก็ให้ ต้นทุนสิ บบาท แม่จะตังเป็ นสิ บสองให้เข้ากองทุนสอง บาทเลย แม่ไม่เอาค่าแรง ดูสิจะซื อกันไหม ราคาก็ถูกกว่า ปริ มาณก็มากกว่าของในตลาด แต่เขาไม่รู้อย่างเดียวว่าแม่ เอามาขายทีบ้าน” ด้วยความจําเป็ นทีแกนนําฝังตัวไม่รู้จะ เริ มเปิ ดตลาดสิ นค้าช่วยลดรายจ่าย จึงอาศัยบ้านแม่บวั พอ ปกาเกอะญอใจบุญเป็ นทีขายของ และแม่กท็ าํ หน้าที เป็ นแม่คา้ จําเป็ น ขายนํายาเอนกประสงค์ แชมพู สบู่เหลวสมุนไพรไปโดยปริ ยาย “เขารี บซื อ รี บไป ไม่ได้มานังฟังว่าจะเอาเงินไปช่วยสร้างฝาย รักษาป่ า แค่ถูกและเยอะ ก็ซือแล้ว” ลูกค้า ส่ วนใหญ่ของแม่จึงมักเป็ นบรรดาญาติๆ เพือนต่างหมู่บา้ นทีอยูถ่ ดั ไปทีนานๆ จะออกมาซือของทีหนึงแต่คนใน หมู่บา้ นเดียวกันมาซื อบ้างแต่ไม่มาก ด้วยวิถีของปกาเกอะญอทีมักใช้นายาทํ ํ าความสะอาดน้อย เพราะอาหาร ส่ วนใหญ่ไม่เน้นมัน และใช้ผงซักฟอกแทนได้ทงซั ั กผ้า ล้างรถ ขัดห้องนํา บางบ้านไม่มนใจในคุ ั ณภาพ แต่อีก หลายบ้านก็ผลิตใช้เองเป็ นแล้ว สิ งสําคัญทีแกนนําขับเคลือนตีโจทย์ไม่แตกคือ การเข้าไม่ถึงแก่นของโครงการขบวนบุญทีไม่ตอ้ งการ ขายสิ นค้า แต่ตอ้ งการให้หมู่บา้ นลดการพึงพาสิ งของภายนอก อะไรทําได้กท็ าํ ใช้เอง เป็ นผูผ้ ลิตเอง ผูซ้ ือของที คนในหมู่บา้ นผลิต และเมือแกนนําไม่ใช่คนในหมู่บา้ นจึงเป็ นเรื องไม่ง่ายทีจะทําความเข้าใจและดําเนินการ
135
กว่าสี ปี แล้วทีวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มพยายามหาแกนนําหัว ไวใจสูใ้ นบ้านแม่แดดน้อย เพือเปลียนใจมาทําเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ตอ้ ง เปลียนทังหมดแค่อุดรู รัวของรายจ่ายบางอย่างทีเราพึงตนเองได้ แชมพู สบู่ นํายาทําความสะอาด ปุ๋ ยอินทรี ยข์ ีหมู ขีวัวจึงเป็ นอะไรทีเห็นภาพชัด เพราะใช้ทาํ ความสะอาดทุกวัน ใช้ปุ๋ยใส่นาใส่ไร่ วัตถุดิบก็มาจาก สมุนไพรในป่ าหรื อสวน มูลสัตว์ทีเลียงไว้ เหล่านีคือของจากธรรมชาติที มักถูกมองข้าม ทุกวันนีก็ยงั ไม่มีคนในชุมชนลุกขึนมาทําจริ งจังให้เป็ น ตัวอย่างเพราะ จะด้วยบริ บทของหมู่บา้ นทีเมือเข้าป่ าก็มีกิน ปลูกข้าวก็ เหลือกินตลอดปี เหลือต้มให้กินหมูอีก หรื อค่านิยมของทังพ่อแม่และ วัยรุ่ นยุคใหม่ทีไม่อยากให้ลกู ลําบาก ลูกก็ไม่อยากออกแดดไปทําไร่ ขา้ ว เข้าสวนปลูกผัก เหนือย ร้อน ลําบาก ไม่มีเงิน “บ้านบนดอยบ่มีแสงสี บ่มีทีวี บ่มีนาประปา... ํ ไม่มีโคล่า แฟนต้า เป๊ ปซี บ่มีเนือสันผัดนํามันหอย...บ่มีนาหอมนํ ํ าปรุ งอย่างดี แต่ หมู่เฮานี..มีนาใจ๋ ํ ” แม่บวั พอร้องเพลงตามเสี ยงทีลอยมาตามหอกระจาย เสี ยงของหมู่บา้ นยามเช้า แล้วเน้นคําว่า “มีนาใจ๋ ํ ” เนือเพลงบ้านบนดอย ของจรัล มโนเพ็ชร ศิลปิ นอมตะชาวเหนือ คงเป็ นจริ งในยุคสมัยหนึง แต่ เมือเวลาผ่าน ทังบ้าน ทังคนก็เปลียน ทุกอย่างมีบนดอย เมือเงินถูกให้ค่า ของความสุ ข เมือลูกชาวไร่ ชาวนาไม่อยากทํานาก็อาจไม่ใช่เรื องผิดอะไร แต่โอกาสทีจะอยูร่ อดสบายในเมืองก็อาจไม่ใช่คาํ ตอบ เพราะมันไม่ได้สบายเหมือนอยูบ่ นดอย ไม่ มเี งิน แต่ มนี ําใจ...
136
พระพา (ธรรม) ทําบุญ “โน้น! ครับพระอาจารย์ ลูกโตๆ ทังนัน” เจ้ากุศิษย์ขาประจํา อาศรมพระธรรมจาริ กบ้านแม่แดดน้อยกําลังตืนเต้นชีลูกมะขามป้ อม กลมโตเขียวใสสุ กเต็มต้น และก็สูงชะลูดราวตึกสามชัน “จะเอาลงมายังไงดีครับ” “เอามีดให้พะติ (แปลว่าลุงในภาษาปกาเกอะญอ) ตัดกิงลงมา” พะติกาํ ลังต้อนวัวทําท่างงๆ ผ่านมาพอดี ไม่เหลือใครทีจะกล้าขึนต้น มะขามป้ อมยักษ์ขนาดสามคนโอบได้ พะติคว้ามีดปี นต้นอย่าง คล่องแคล่ว “เอ้ย! กุ ไปเอาผ้ายางมาปูรองรับไว้ เบนซ์จบั ปลายผ้าไว้ พระโอ็ตจับอีกมุมด้วยครับ” พระอาจารย์ศกั ดิกริ นทร์ ประจําอาศรมแม่ แดดน้อยสังพวกอยูข่ า้ งล่างคอยรับลูกมะขามป้ อมมหาศาลทีจะตกลงมา สิ นเสี ยงฟันกิงของพะติ ลูกมะขามป้ อมอวบเขียวสดก็ตกลงมาราวห่าฝน เอากระสอบมาเต็มปิ กอัพยังใส่ ไม่พอ พวกเรารี บเร่ งกันเก็บมะขามป้ อม เพือไปส่งวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มอีก ๒ ลํารถในวันรุ่ งขึน เมือวัดผา ส้มฯ นํามะขามป้ อมไปหมักยาอายุวฒั นะ ชาวแม่แดดก็ถือโอกาสวันศีล ออมมะขามป้ อมคนละสิ บยีสิ บกิโล เพือนําไปแลกกับบล็อคทํากําแพง วัด เป็ นกิจกรรมบุญทีทําต่อเนืองยาวนานกว่าสามเดือนทุกวันศีลในฤดู หนาว เป็ นช่วงเดียวกับลูกมะขามป้ อมสดของบ้านแม่แดดออกผลดกจน เก็บแทบไม่ทนั สอนทํานํายาล้างจานมะเฟื อง มะรอท มะขาม หมักปุ๋ ยขีหมู หมักนํามะขามป้ อม ปลูกผักในวัด พาเยาวชนทําโคมลอยยีเป็ ง พา
137
ชาวบ้านออมบุญข้าวใหม่ พาออมมะขามป้ อม พาสร้างห้องนําวัด และสุดท้ายพาสร้างกําแพงวัด เป็ นกิจกรรม “บุญ” ทีพระศักดิกริ นทร์ พระเพียงรู ปเดียวในวัดแม่แดดน้อยและผูน้ าํ ธรรมชาติของชุมชนพาทํา ขบวนบุญบ้านแม่แดดน้อยจึงยังอยูใ่ นช่วงเพาะเมล็ด เนืองจากบริ บท ชุมชนทีห่างไกลความเจริ ญ ประกอบกับวิถีชีวิตทียังสามารถพึงพิงธรรมชาติได้ โดยไม่ตอ้ งใช้เงินมากมาย ทําให้ชาวชุมชนยังไม่ตืนตัวมากกับการริ เริ มทําสวน เกษตรพอเพียงใกล้บา้ น แต่เลือกทีจะปลูกผักในทีนารอบๆ หมู่บา้ นซึงมีนาไหล ํ ตลอดเวลา ต่อจากนีจึงเป็ นความท้าทายอย่างยิงของชาวชุมชนว่า จะสามารถ ปรับตัวได้มากแค่ไหนกับกระแสทุนทีถาโถมเข้ามา แต่ในเมือมีธรรมะรดใจ ผ่าน กิจกรรมบุญอันหลากหลาย และเห็นทางเลือกของการทําเกษตรพึงตนเอง เมล็ด อ่อนของบ้านแม่แดดก็คงรอคอยวันผลิใบในไม่ชา้
บทวิเคราะห์ การขับเคลือนโครงการในชุ มชน “โซนกะเหรียงบ่ อแก้ ว-แม่ แดด” บ้ านป่ าเกียะนอก ต.บ่ อแก้ ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ บ้านป่ าเกียะนอกเป็ นบ้านทีประสบความสําเร็ จในแง่การเกิดกองทุนบุญกลางของกลุ่มแม่บา้ นทอผ้า ซึ ง มีแนวโน้มจะเติบโตใหญ่ขึนในวันข้างหน้า แต่อย่างไรก็ตามนอกจากสิ นค้าขบวนบุญอย่างแชมพู สบู่เหลว นํายา อเนกประสงค์ทีนํามาหารายได้เข้ากองทุนแล้ว กลุ่มแม่บา้ นมีความเห็นว่าควรจะนําผ้าทอเข้าเป็ นสิ นค้าขบวน บุญซึ งเป็ นแผนงานในอนาคตในปี หน้าทีจะเพิมสิ นค้าบุญชนิดใหม่ทีชุมชนนันๆ มีความสนใจ มีความถนัด และ มีกาํ ลังจะผลิตได้
138
สําหรับแกนนําหรื อผูป้ ระสานงานโครงการของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มทีมีอุดมการณ์ทาํ เพือ ส่ วนรวมสูง ท่ามกลางชุมชนทีเกิดเสี ยงด่าว่า เกิดความเข้าใจผิดหรื อสงสัยในผลประโยชน์แอบแฝง ส่ งผลให้ผู ้ ประสานงานเกิดความรู ้สึกท้อ ผิดหวัง เสี ยความรู ้สึก ซึงต้องอาศัยเครื อข่ายทีมีอุดมการณ์เดียวกันช่วยเสริ ม กําลังใจ หรื อมีวงคุยแลกเปลียนระหว่างเพือนในเครื อข่ายเพือแบ่งปันปัญหา ช่วยหาทางออก ผลัดเปลียน หมุนเวียนดูงาน เครื อข่ายไม่ได้เป็ นแค่คนมาทํางานร่ วมกันแต่อาจเป็ นมากกว่าพีน้องร่ วมสายเลือด เป็ น ครอบครัวเดียวกัน เพราะสามารถคุยได้ทุกเรื องอย่างสบายใจและเป็ นคนทีพร้อมจะรับฟังเสมอ และนีคือ บทเรี ยนสําคัญซึงนอกจากจะสามารถพึงตนเองทางกายคือมีอาหาร อากาศ ทีอยูอ่ าศัยแล้ว ต้องพึงตนเองทางใจ ให้ได้ซึงนอกจากกําลังจากเพือนแล้ว ต้องเรี ยนรู ้ทีจะสร้างกําลังใจให้เกิดกับตนเองให้ได้ บ้ านสนามกีฬา ต.บ่ อแก้ ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ บ้านสนามกีฬาเป็ นบ้านทีเพิงเริ มส่ งเสริ มให้ชาวบ้านพึงพาตนเองในขันพืนฐานก่อน โดยเฉพาะองค์ ความรู ้เรื องปุ๋ ยหมัก ฮอร์โมนพืชและการปรับปรุ งดินซึ งเป็ นสิ งทีชาวชุมชนจํานวนหนึงทราบอยูแ่ ล้วบ้าง และ อีกจํานวนเกิดแรงบันดาลใจนํากลับไปทําทันทีได้ กลุ่มพ่อบ้านสนใจในการปรับปรุ งดินทรายให้กลับมาอุดม สมบูรณ์ กลุ่มแม่บา้ นมีความสนใจมากในการทํานํายาอเนกประสงค์ ซึงสิ งเหล่านีแสดงให้เห็นว่าชาวบ้านมี ความตืนตัวในการเรี ยนรู้สูง จึงเป็ นโอกาสในการดําเนินโครงการในระยะต่อไปหลังจากชาวบ้านอุดรอยรัว ค่าใช้จ่ายในครัวเรื อนได้ จนถึงขันผลิตสิ นค้าได้จนเหลือเฟื อทังของกินและของใช้จึงเริ มทีจะนํามาแปรรู ป ขาย ให้กบั เพือนในเครื อข่ายก่อน บ้ านแม่ แดดน้ อย ต.แม่ แดด อ.กัลยาณิวฒ ั นา จ.เชียงใหม่ เมือบ้านแม่แดดน้อยยังอยูร่ ะหว่างการเรี ยนรู ้สูโ้ ลกกว้าง เด็กและเยาวชนเป็ นหนีกูย้ มื เรี ยน การไปค้า แรงงานในเมืองหลวง ชาวบ้านเรี ยกร้องจะมีไฟฟ้ าเข้าหมู่บา้ น (ปัจจุบนั ยังไม่มีไฟฟ้ า) และถนนลาดยางเพือ เดินทางไปโรงพยาบาล ขนส่งสิ นค้าการเกษตรสู่ตลาดในเมืองได้สะดวก บาดแผลในเมืองใหญ่กาํ ลังรอพวกเขา อยู่ แต่จะให้กลับหมู่บา้ นก็ไม่มีงานสร้างรายได้ ลูกหลานเมือเรี ยนจบก็ไม่อยากลําบากทํานาทําไร่ เข้าป่ า เมือไม่มี ผูน้ าํ ทีกล้าพึงพาตนเองทําสวนเกษตรผสมผสานหรื อดําเนินตามรอยพระราชดําริ แล้ว ชีวติ ทีบ้านแม่แดดจึงต้อง ลองผิดลองถูกต่อไป หากมีภมู ิคุม้ กัน “ความโลภ” ก็ดีไป แต่หากไม่มี ในไม่ชา้ บ้านแม่แดดอาจเสี ยทังทรัพย์และ เหือดแห้งทังนําใจ
139
ผูน้ าํ การเปลียนแปลงทีเป็ น “คนใน” หมู่บา้ นเป็ นสิ งสําคัญและจําเป็ นสําหรับบ้านแม่แดดน้อย ซึ งคง ต้องใช้เวลาในการบ่มเพาะคนทีมีอุดมการณ์ในพืนทีนันๆ ทีมงานจึงทําได้เพียงเสนอทางออก แนะนําทางเลือก ในการทําการเกษตรพึงพาตนเอง บวกกับสถานการณ์ของชุมชนหากเจอวิกฤติหนัก เช่น หนีท่วมตัว นําแล้ง ดิน แห้ง ปลูกอะไรไม่ได้ ป่ าไม้หมดไป คนเกิดโรคจากสารเคมียาฆ่าแมลง อาจมองเห็นทางรอดซึงรอคอยพวกเขา อยูแ่ ล้ว สรุ ปภาพรวมทังโซน “กะเหรี ยงบ่อแก้ว - แม่แดด” ภาพรวมของโซนนีหลายชุมชนทีมีบทเรี ยนกับการทําเกษตรเชิงเดียวทีเป็ นหนีสิ นจํานวนมาก การทํา เกษตรเชิงเดียว คือการทําเกษตรแบบทุนนิยม เพือหวังได้ผลผลิตมาก ขายได้กาํ ไรมากๆ ด้วยต้นทุนการผลิตตํา จึงส่ งผลกระทบต่อสิ งแวดล้อม สภาพดิน นําทีปนเปื อนสารเคมี การบุกรุ กพืนทีป่ า ต่อสังคม การใช้เวลาและการ ให้ความสําคัญเรื องความสัมพันธ์ระหว่างคนครอบครัวลดลง เมือได้เงินมาก็นาํ ไปใช้จ่ายให้กบั สิ นค้าภายนอก เงินจึงไหลออกจากชุมชน เมือชักหน้าไม่ถึงหลังจึงต้องกูเ้ งิน แล้วก็เข้าสู่วฏั จักรหาเงินใหม่ไม่มีจบสิ น จึงเกิดปัญญาชนในพืนทีทีพ่อแม่ส่งลูกหลานไปเรี ยนในเมืองซึง เข้าใจกับสภาพความเป็ นอยูใ่ นเมือง และมีอุดมการณ์นาํ ความรู ้มาเปลียนใจเพือนบ้าน ญาติพีน้องเลือกเดินทางเส้นใหม่ทีไม่ตอ้ งทนทุกข์ แต่ตอ้ ง อาศัยความกล้าพวกเขาจึงเลือกทีจะต่อสูท้ วนกระแสสังคม ลงมือทําสวนเกษตรพอเพียงให้เป็ นตัวอย่าง “ทําให้ เห็น” มันแน่นอนกว่า “พูดให้เชือ” และท่ามกลางความกดดันสูงพวกเขาจึงกําลังอยูร่ ะหว่างการเสริ มสร้าง เครื อข่ายให้เข้มแข็งจนไม่รู้สึกโดดเดียวเกินไป ความอดทนและเวลาจะเป็ นเครื องพิสูจน์นีคือ โซนของการ เริ มต้นเพือรอวันลําต้นแข็งแรงในวันข้างหน้า ชาวชุมชนจํานวนหนึงทีเริ มเห็นด้วยว่าการเกษตรแบบนีคือ ทางออกของปั ญหาจึงอยูร่ ะหว่างการก่อร่ าง สร้างตัวของตนและครอบครัวพึงพาตนเองจาก ๔ พอให้ได้ก่อน (พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่ มเย็น) แล้วจึง แบ่งปันให้เพือนบ้าน แปรรู ป เก็บ ขาย สร้างเครื อข่าย จนกระทังเดินต่อไปสู่เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้าอย่าง มันคง
140
ปัจจัยเกือหนุนการขับเคลือนขบวนบุญ ๑. ผู้นํา ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นพ่อหลวง นายกอบต. ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน แต่เป็ นคนในชุมชนทีกล้าทวน กระแส ทีชาวชุมชนให้ความศรัทธา เพราะมีประสบการณ์เจ็บปวดจากการทําเกษตรเชิงเดียวและพึงพิง ข้าวของเครื องใช้จากภายนอกชุมชนอย่างเดียว ซึงผูน้ าํ มักลงมือทําให้เห็นมากกว่าเสี ยเวลาพูด ชวนให้ เชือเพราะ โดยทัวไปจะทําใจยากทีจะพอใจกับการไม่มีเงินในช่วงแรก คนทีมีความอดทนและปัญญา เท่านันทีจะฝ่ าฟันความรู ้สึกท้อ กดดัน ผิดหวังไปได้ ๒. เครือข่ าย กําลังใจจากเพือนหัวใจเดียวกันเป็ นสิ งทีสําคัญมาก และสามารถแลกเปลียนองค์ความรู ้ต่าง พืนทีในปัญหาเดียวกันได้ ความรู ้สึกโดดเดียวเช่นนีจะไม่เป็ นปั ญหาหากสามารถสร้างกําลังใจได้ดว้ ย ตนเอง ความเพียรพยายามจึงเป็ นคุณธรรมสําคัญ เพราะถ้าเป้ าหมายชัด ถ้าไม่ไปถึงจุดนันก็หนั หลังกลับ ไม่ได้ คือไม่ลม้ เลิกจนกว่าจะบรรลุเป้ าหมาย ๓. บริบทชุ มชน หรื อสภาพสังคมเป็ นเพียงปัจจัยย่อยทีอาจทําให้บนทอนความเชื ั อในการเริ มเดินก้าวแรก พืนทีทีมีบทเรี ยนและประสบการณ์เจ็บปวดกับการดํารงชีวิตตามกระแสทุนนิยม ตามกระแสกิเลส สามารถเป็ นพีเลียงให้กบั พืนทีทียังขาดประสบการณ์ ไม่ปล่อยให้เกิดภาวะ “ไม่เห็นโลงศพไม่หลัง นําตา” เกิดขึนซํารอยเดิม
141
บทสรุ ปการทํางานเขตที่ ๓ ชุ มชนบ้ านนาฟาน ต.สะเมิงเหนือ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
สวนนาฟานอุทยานทิพย์ : เพราะเชื่ อในบุญ จึงเป็ นอะไรมากกว่าสวนป่ า เอาพวกเรา.......ลุย! เมื่อสิ้ นเสี ยงสั่งบรรดาเยาวชนสะเมิงพิทยาคมและคณะศิษย์ วัดกว่าสามสิ บชีวติ ต่างคนต่างพากันถือจอบ เสี ยม แบก ท่อพีวซี ีสีฟ้าขึ้นป่ าหลังสวนนาฟานอุทยานทิพย์ของพ่อ สมชาย สิ ทธิ โลก แห่งบ้านนาฟาน สะเมิงเหนือที่รายล้อม ด้วยภูเขาสู งสลับซับซ้อนและป่ าเบญจพรรณอันอุดม สมบูรณ์รอพวกเขาอยู่ แนวกันไฟป่ าถูกขุดจากปลายด้าม จอบเล็ก เด็กๆ เร่ งต่อท่ออาบนํ้าให้ป่า...
จุดเริ่มต้ นของสวนป่ า สมชื่อสมชาย และสมชื่อสวนอุทยานทิพย์ที่พอ่ อยากให้เป็ นบ้านสวน-ป่ า ที่อยูอ่ าศัยในบั้นปลายชีวติ อย่างสงบร่ มเย็น หลังวางมือจากงาน หลักคือ ผูร้ ับเหมาขุดบ่อ ลอกท่อ เกียถนน กลบดิน ฝังท่อ อะไรตาม จินตนาการที่รถแม็คโครทั้งสี่ คนั ของพ่อจะทําได้ แต่เพราะไม่รู้ชีวติ จะจบ ลงตรงไหน จะทํางานหนักได้อีกกี่ปี จะใช้หนี้ที่กไู้ ปซื้ อรถได้สักกี่บาท พ่อ สมชายวัย ๔๗ จึงตัดสิ นใจลงมือทําสวนให้สมชื่อ ชายชาตรี ที่กล้าคิด พูด ลงมือทําตามตั้งใจไว้ แต่เมื่อขึ้นชื่ อว่า “อุทยาน” คงไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง พ่อจึงมองอนาคตว่าที่นี่จะเป็ นแหล่งศึกษา เรี ยนรู ้ หรื อแหล่งจัดกิจกรรมให้กบั คนที่มีใจรักสวนป่ าหรื อวนเกษตรแต่ไม่รู้จะเริ่ มต้นอย่างไร ให้มาพบปะ
142
แลกเปลี่ยน หาความรู ้ได้โดยไม่หวงวิชา เหมือนที่ครั้งหนึ่ งที่พอ่ สมชายเคยไปดูงานร่ วมกับทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มเมื่อปี ๒๕๕๑ ณ สวนเกษตรผสมผสานฝรั่งหัวใจอีสานมาร์ ติน วีลเลอร์ จังหวัดขอนแก่น สวนเกษตรประณี ตของพ่อคําเดื่อง ภาษี ปราชญ์ ชาวบ้านจังหวัดบุรีรัมย์ หรื อวนเกษตรบ้านลุงโชคดี ปรโลกานนท์ วัง นํ้าเขียว โคราช และที่ตรึ งใจที่สุดคือ สวนเกษตรประณี ต ๕ ไร่ ๑ ล้านของผูใ้ หญ่สมศักดิ์ เครื อวัลย์ ไปนอนกินพูดคุยจนตกลงปลงใจ ทําตาม ด้วยลูกฮึดของพ่อทําให้ภายในไม่ถึงสองปี ก็มีทุกอย่างที่กิน ได้ ใช้ได้ท้ งั หน่อไม้ ต้นสัก ต้นกาแฟ ผักสวนครัว ผักพื้นบ้านสลับ เปลี่ยนหมุนเวียนให้กินตลอดปี ยังมีเหลือให้แบ่งปั นอีกมาก “อย่างน้อยสอนคนรุ่ นเดียวกันไม่รู้เรื่ อง มีละอ่อนมาช่วยมา ทํา มาฟัง เราก็ดีใจนะเห็นเขามาสานต่อ มาซึ บซับเรื่ องราวพวกนี้ไว้ บ้าง” พ่อสมชายแบ่งปั นผักแล้วยังไม่หวงความวิชา วันนี้ จึงได้ฤกษ์ พาเด็กสร้างแนวกันไฟเส้นแรกของใครหลายๆ คน แต่ก่อนพ่อถูกชาวบ้านนินทาว่าทําเกษตรแบบไม่ทนั กิน หมายความว่าไม่ได้เงินมาจับจ่ายใช้สอยทันท้องหิ ว พ่อก็ยอมรับว่า ช่วงแรกจริ งมันช้า มันไม่ทนั ใจ จนทุกวันนี้พ่อพิสูจน์แล้วว่าก็เป็ น เรื่ องไม่จริ ง หากใจเย็นๆ สวนป่ าที่ปลูกทั้งกล้วย ไผ่ มะเขือ พริ ก บวบ ผักกาด ถัว่ ฝักยาว ฟักทอง แตง ชะอม ฟัก ข้าวโพด มัน ผักบุง้ ข่า ตะไคร้ มะกรู ด มะนาว ส้มโอ ขนุนและต้นไม้ใหญ่ในป่ าที่ปลูก เสริ มอีกมากมาย ไม่ใช่ไม่ทนั กินแต่มนั กินไม่ทนั ....มันเยอะ!
143
“มีคนมาลักขโมยผักบ้าง ไข่เป็ ดตกตามพื้นสวนไผ่ที่เลี้ยงแบบ ปล่อยก็ลกั เอาไป มาขอดื้อๆบ้างก็มี พ่อค้าขับรถเข้ามาซื้ อถึงที่ก็มี คนที่ ขโมยได้ก็ขโมยไป ดีเสี ยอีกยอดผักจะยิง่ แตกเพิ่มขึ้น สวยกว่าเดิม แบ่ง กันไป ทําบุญกันไป ไม่ตอ้ งไปให้ เขามาเอาถึงสวน” พ่อระเบิดหัวเราะ อย่างจริ งใจและท้าให้มาเอาอีก ถ้าถามว่าทําไมพ่อไม่ทาํ เหมือนเขา ทําไมไม่ปลูกถัว่ แระ ปลูก สตรอเบอร์รี่พืชเศรษฐกิจได้เงินเยอะๆ เป็ นก้อนโต พ่อก็มีหนี้สินส่ งรถ แม็คโครเครื่ องมือทํามาหากินหลัก มีภาระส่ งลูกเรี ยนให้จบ พ่อกลับ ตอบอย่างสบายใจว่า “เอ้า! วันนี้ เฮาจะป่ วยสักเจ็ดวัน มีให้กิน มีให้ใช้ วันนี้ อยาก หยุด จะไปเที่ยว ไปยิงนก ตกปลา ไปไหนเดือนสองเดือนป่ าก็โตขึ้นเรื่ อย ผักก็โต ไปเรื่ อย ไม่ตอ้ งไปดูแลเหมือนถัว่ แระญี่ปุ่น ถัว่ ฝักหวาน สตรอเบอร์ รี่ ไม่ตอ้ งใส่ ใจ ว่าจะเป็ นโรคอะไร เดี๋ยวแมลงก็กินกันเอง เราก็ไม่ตอ้ งพ่นยาไป ป่ วยไป ตายไม่ คุม้ !” ในเมื่อชีวิตไม่ตอ้ งการอะไรมากกว่าอาหารกายและ ที่สาํ คัญคืออาหารใจ ที่พอ่ เกิดประกายในแววตาลงมือทําสวนป่ าทันทีจากเข้าอบรมที่วดั พระบรมธาตุ ดอยผาส้มเมื่อสี่ ปีก่อน
เมื่อคนบ้ ากับวัดบ้ ามาเจอกัน “พ่อก็วา่ พ่อบ้า บ้าทําสิ่ งที่แตกต่างจากคนอื่น นิสัยเป็ นคน แบบนี้แต่ไหนแต่ไร ทําสิ่ งที่คนอื่นเขาไม่ทาํ คิดแบบที่คนอื่นไม่คิด” พ่อเล่าถึงจุดเริ่ มต้นของการมาปลูกพืชผักผสมผสานและการออมเงิน
144
เข้า “กองทุนบุญ” ของครอบครัวสิ ทธิ โลกสู่ ผนื ป่ าที่ไม่ใช่ของใครคนเดียวแต่เป็ นของคนทั้งประเทศ “เช่น การอาบนํ้าให้ป่า ไม่มีใครคิด ใครจะคิดเอานํ้าไปปล่อยในป่ า นอกจากพระเจ้าอยูห่ วั เรา แต่ก่อนพ่อไปเที่ยวดอยอินทนนท์ ดอยปุย ช่วงแล้ง แถวหมู่บา้ นม้งใกล้น้ าํ ตกแม่กลางเกิดไฟไหม้ป่าด้านล่าง เหลือสี เขียวของป่ า ทางด้านบนยอดดอย และด้านล่างริ มถนนก็มีทางนํ้าไหลออกจากป่ า ตลอดเวลา พ่อก็คิดเอ๊ะ...ทําไมไม่เอานํ้าจากข้างบนลงมาปล่อยให้ตรงป่ า ข้างล่างที่กาํ ลังถูกไฟไหม้ มันดูเป็ นความคิดบ้าๆ จนมาพ่อมาทํางานเป็ น ประธานสภาอบต. สะเมิงเหนือก็พดู ไปสี่ ปีไม่มีใครทํา จนมาเห็นการทํางาน ของหลวงพ่อสังคมที่วดั ผาส้ม สร้างฝายเป็ นร้อยเป็ นพัน ขุดแก้มลิงขนาดยักษ์ เป็ นสิ บบ่อ สุ ดท้ายพ่อได้เงินจากเวทีสัญจรโครงการขบวนบุญจากงบประมาณ อาหาร สถานที่และเงินส่ วนตัวของพ่อ มาซื้ อท่อต่อนํ้าจากต้นนํ้าปล่อยเข้าป่ า ให้แผ่นดินชุ่มชื้ น การมีส่วนช่วยรักษาป่ า รักษาต้นนํ้า มีส่วนช่วยประเทศชาติ นี่แหละบุญ”พ่อขมวดคอนเซ๊ปท์การทําบุญของพ่อผ่านการดูแลผืนป่ า ส่ วนรวม ...เมื่อวัดก็ทาํ ไม่เหมือนเพื่อน เราก็ทาํ ไม่เหมือนเพื่อนก็มาปะกัน เมื่อคนบ้ากับ วัดบ้ามาเจอกัน ก็เกิดเป็ นส่ วนผสมที่ลงตัว “พ่อคาดไม่ถึงเลยพอไปอบรมกับวัดผาส้มเมื่อสี่ ปีก่อน ในโครงการ ต้นกล้าอาชีพรุ่ นที่ ๒ ตอนแรกพ่อก็ติดงานรับเหมาและภาระต้องหาเงินวันละ ๕,๐๐๐ บาทต่อวันผ่อนรถ แต่สุดท้ายก็ตดั ใจมาอบรมทุกอย่างทั้งทฤษฎีและ ภาคปฏิบตั ิของเศรษฐกิจพอเพียงตลอด ๘ วัน ๗ คืน จนพ่อที่รักป่ าปลูกป่ า อยากมีป่าเป็ นที่อาศัยบั้นปลายอยูแ่ ล้ว มาอบรมก็ยง่ิ ตอกยํ้าว่ามันเป็ นทางรอด จะไม่ทาํ เหมือนคนอื่น พ่อจะรักษาป่ า ปลูกทุกสิ่ งที่กิน พ่อขอเวลาอีกสองปี นับจากนี้จะทําให้สวนเป็ นรู ปธรรม”
145
“ย่ะฮื้อผ่อ หรื อลงมือทําให้ดูในภาษาเหนือ คือ หลักใหญ่ ใจความที่พอ่ ใช้เป็ นแนวคิดหลักในการทําสวนป่ า ซึ่ งตอนแรกพ่อ ยังไม่เปิ ดตัว อยากทําอยูอ่ ย่างเงียบๆ ค่อยเป็ นค่อยไป งานหลักคือ รับเหมาหารายได้ลดภาระหนี้สิน พอได้เงินมาตลอดสี่ ปีที่ผา่ นมาสี่ หมื่นห้าหมื่นบาทต้องเอาเข้าสวนเข้าป่ าทุกเดือน” นี่ คือความบ้าบิ่น ความแตกต่างอย่างโดดเด่น กับการลงทุนในบุญ ลงทุนเพื่อ ส่ วนรวมที่นอ้ ยคนจะลองเสี่ ยง
เพราะเชื่อในบุญจึงมีวนั นี้ ถ้าดาบวิชยั สุ ริยทุ ธแห่งบ้านปรางค์นากู่ จ.ศรี ษะเกษ เป็ น คนบ้าปลูกต้นไม้กว่าสองล้านต้นในสายตาคนอื่นแล้ว พ่อสมชาย สิ ทธิ โลกก็อาจเป็ นคนบ้าในสายตาของชาวชุมชนนาฟานได้เช่นกัน ลองคิดดูเล่นๆ จะมีกี่คนในประเทศที่บา้ กล้าลงทุนเป็ นหมื่นเป็ น แสน เพื่อต่อท่อจากต้นนํ้าในที่สูงสู่ ผนื ป่ าแห้งแล้งเบื้องล่างเพราะ เกรงว่าไฟจะไหม้ป่า ไหม้สวน ไหม้เรื อนบ้าน ลามไปถึงประเด็น โลกร้อน “อาบนํ้าให้ป่า” หรื อต่อท่อพีวซี ี รดนํ้าป่ าได้อะไร ลงทุนเสี ยเปล่าๆ “ได้บุญไง ช่วยลดโลกร้อนด้วย ป่ าก็เย็น เราอยูเ่ ราก็เย็นใจ๋ คนอื่นมาก็ อยากมาแอ่ว(เที่ยว) แอ่วแล้วก็ม่วน (ชอบใจ) เขาม่วนเราก็มีความสุ ข การทําบุญ ไม่จาํ เป็ นต้องทําบุญต้องใช้เงินเป็ นที่ต้งั บางคนค้าขายบุญ เราทําบุญเราไม่หวัง แต่คนส่ วนมากคิดว่าทําบุญคือ เอาสังฆทานไปวัดให้ตุเ๊ จ้า (พระสงฆ์) บางคน ซํ้าร้ายทําบุญกับวัดสิ บบาทยีส่ ิ บบาทแต่ขอถูกหวยร้อยล้าน มันไม่ใช่”
146
“พ่อเชื่อในบุญเพราะเห็นแล้ว แต่ก่อนพ่อเป็ นครอบครัวที่ยากจนที่สุดในหมู่บา้ นจากร้อยหลังคาเรื อน แต่เพราะเชื่อว่าการทําดี การทําบุญ ทําแล้วสบายใจ ไม่ได้คิดหวังอะไร แต่พอเวลาคิดจะทําอะไรก็ได้ดงั่ ใจตนเอง บ่อยครั้ง ตอนเด็กพ่อแม่พาเข้าวัด ผูกพันกับวัดมาตลอด พ่อจึงเชื่อในบุญ กล้าเอาเงินที่หาได้ให้ป่าเพราะบั้น ปลายชีวติ ก็รู้ตวั ดีวา่ ตายไปแม้แต่บาทเดียวก็เอาไปไม่ได้ สู ้รักษาป่ าส่ งต่อให้ลูกหลานไม่ดีกว่ารึ ” แต่กว่าพ่อสมชายจะมีวนั นี้ได้ พ่อก็ตอ้ งฝ่ าฟันอุปสรรคต้องอาศัยความเพียรความอดทน จากรับจ้างขับ รถไถ รถสิ บล้อหลายจังหวัด ประสบอุบตั ิเหตุหวิดตาย จนอิ่มตัวกลับมาอยูบ่ า้ นมาเรี ยนวิชาพึ่งตนเองใหม่หมด เพราะ วิชาขับรถเป็ นทักษะเดียวที่พอ่ มี ส่ วนการทําไร่ ไถนา ปลูกผัก เลื่อยไม้ ผ่าฟื น ก่อสร้างต้องมาเริ่ มเรี ยนใหม่ จนเมื่อผลผลิตออกก็เริ่ มขายกล้วย ขายปุ๋ ยขี้ววั เก็บออมมาเรื่ อย แล้วหันเหไปขับรถโดยสารประจําทางบ้าง ลง สมัครนักการเมืองท้องถิ่นจนได้เป็ นประธานสภาอบต.บ้าง และเป็ นผูร้ ับเหมาก่อสร้างเจ้าของรถแม็คโครสี่ คนั พวงมากับกองหนี้สินกูซ้ ้ื อรถ สุ ดท้ายมาคิดได้วา่ แล้วบั้นปลายชีวติ จะอยูอ่ ย่างไร แต่หากขายทรัพย์สินหมดพ่อก็ คงล้างหนี้ได้เช่นกัน แต่พ่อเลือกที่จะยังไม่ทาํ เช่นนั้น เพราะในสวนป่ าก็ยงั ต้องการทุนสนับสนุนอยูม่ าก ท่อนํ้ารดป่ า ทําแนวกันไฟ ทําฝายต้นนํ้า ปลูกกล้าไม้ทดแทน ทําหลุมหลบภัยพิบตั ิ ปรับปรุ งอาคาร สถานที่ซ่ ึ งตอนนี้มีอยูเ่ พียงหลังเดียวจุคนได้สามสิ บคน ปรับปรุ งถนนทางเข้าที่เป็ นดินโคลน และลานกิจกรรม เป็ นโครงการก่อสร้างที่ตอ้ งการการสนับสนุน ซึ่ งพ่อก็มีความเชื่อในฤทธิ์ ของบุญมรจริ งเพราะ เมื่อคืนผืนป่ าให้ แผ่นดินได้ช่วยคนมีอากาศบริ สุทธิ์ ลดความรุ นแรงจากภัยธรรมชาติ พ่อก็เชื่ อว่าเดี๋ยว ก็มีคนมาให้โดยไม่ตอ้ ง ขอ” พ่อจึงเลือกทําเกษตรแบบสายกลางคือ ใช้ธรรมะควบคู่ ทําเกษตรผสมผสาน คบหากัลยาณมิตรที่มีใจ อุดมการณ์เดียวกันและเจริ ญเมตตาธรรมเพื่อเสริ มกําลังใจระหว่างเพื่อนร่ วมทางเดียวกัน แต่ไม่ใช่ทาํ ไปโลภไปก็ ทําเกษตรผสมผสานนี่ แหละแต่หวังปลูกเพื่อได้จาํ นวนมากๆ ได้เงินมากๆ มาลงทุนปลูกมากๆ อีกในสวน สุ ดท้ายทุกข์เพราะตลาดไม่แน่นอนไม่แตกต่างจากการทําเกษตรเชิงเดี่ยว คือ ทําเกษตรแบบแทงหวย หวังรวยกับ ความไม่แน่นอน หรื อทําเกษตรผสมผสานแต่แยกตัวออกจาชุมชน ปิ ดสวนอยูก่ ินแค่ภายใน ไม่จดั อบรมไม่ เผยแพร่ อยูอ่ ย่างสันโดษ ช่วงแรกพ่อยังคงอยากทําอย่างเงียบสงบวิเวกที่สุดและไม่หวัน่ ไหวต่อเสี ยงคําทัดทานว่าร้ายของผูท้ ี่ไม่ เข้าใจเพราะยึดหลักทําจนสวนมีของดีให้อวด มีให้กิน มีให้อยูอ่ ย่างสะดวกในเรื่ องปั จจัยสี่ ก่อนแล้วจึงเปิ ดให้
147
คณะผูส้ นใจศึกษาแลกเปลี่ยนกันได้ จนอาจกลายเป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงเช่นเดียวกับศูนย์การ เรี ยนรู ้ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจพอเพียงวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มในอนาคตอันใกล้
๔ สหายแห่ งสะเมิงเหนือ: เครือข่ ายคนดีคอยเกือ้ หนุนขบวนบุญ ถึงแม้วา่ พ่อสมชายจะตั้งใจจะอยูอ่ ย่างโดดเดี่ยวในชุมชนบ้านนาฟานเพราะอยากจะทําสวนให้ได้ตามที่ ฝันคือ หาซับนํ้าหรื อนํ้าออกรู เพื่อต่อท่อนํานํ้าสะอาดไปใช้ ทําฝายต้นนํ้าเพื่อชะลอให้ความชุ่มชื้นป่ าโดยรอบ ทํา แนวกันไฟป่ า (ด้วยวิธีอาบนํ้าให้ป่าและถางทางเดินป่ า) ปลูกป่ าทดแทน ทําเกษตรผสมผสานให้หลากหลายขึ้น เหล่านี้ลว้ นต้องใช้เวลาและสรรพกําลังแรงงาน แต่พ่อสมชายก็ไม่รู้สึกโดดเดี่ยวเช่นนั้น เพราะสิ่ งสําคัญคือ กําลังใจจากคนหัวอกเดียวกัน แม้จะอยูต่ ่างหมู่บา้ นวันนี้อา้ ยหนานวาดแห่งบ้านแม่เลยก็มาเป็ นจิตอาสาในสวน ป่ าของพ่อสมชายในวันนี้
หนานวาดแห่ งบ้ านแม่ เลย “เอาละเน้อ ไหนใครเหลาไม้ไผ่เป็ นช้อน เป็ น แก้ว เป็ นตะเกียบได้บา้ ง ออกมาสาธิ ตให้เพื่อนดูตว้ ย” วิทยากรกรจําเป็ นอย่างหนานวาดเพื่อนบ้านของพ่อ สมชายซึ่ งอยูถ่ ดั ไปอีกหมู่บา้ นกําลังเชิญชวนเยาวชน โรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคมและศิษย์วดั ผาส้มมาฝึ กพึ่งตนเอง โดยการหัดใช้มีดและการใช้ประโยชน์จากลําไม้ไผ่เมื่อ ต้องหากินในป่ าก่อนที่จะพาตะลุยทําแนวกันไฟ หนานเป็ นคําเรี ยกของคนเหนือของผูท้ ี่เคยบวชมาหลายพรรษาผสมกับชื่อเรี ยกของคนนั้น หนานวาดก็ เช่นกันเคยบวชเรี ยนมายีส่ ิ บปี ที่เชียงใหม่แล้วไปจําพรรษาหลายพรรษาที่กรุ งเทพฯ สุ ดท้ายหัวใจก็เรี ยกร้องให้ กลับมาบ้านเพราะด้วยความรักในเกษตรพอเพียง จึงกลับมาทําสวนอย่างจริ งจัง จนปั จจุบนั หนุ่มใหญ่พอ่ ลูกอ่อน
148
วัย ๓๒ จึงเป็ นเพื่อนร่ วมอุดมการณ์ของครอบครัวของพ่อสมชายและเครื อข่ายของวัดผาส้มฯ ในอีกหลาย หมู่บา้ น สวนเกษตรพอเพียงของหนานเริ่ มผลิดอกออกผลเป็ นผักสวนครัวหลังบ้าน กล้วย ไม้สักเป็ นพืชหลัก บ่อปลาดุกแหล่งโปรตีนข้างรั้วเท่านี้ก็เพียงพอที่จะเลี้ยงคนได้ท้ งั บ้าน เหลือจึงส่ งขายทุกวัน นอกจากนั้นหนาน วาดเพิ่งได้เซ้งกิจการร้านค้าวัสดุอุปกรณ์ต่อจากพ่อสมชายเพื่อเป็ นแหล่งเสริ มทุนสู่ สวนพอเพียงของตน พ่อ สมชายก็สบายขึ้นหลังจากแต่ก่อนที่ตอ้ งคอยดูแลร้าน ไปไหนมาไหนไม่สะดวก ทุกวันนี้จึงเริ่ มแบ่งเวลาทําสวน อุทยานมากขึ้น แม่แดงภรรยาพ่อเองก็สบายขึ้นได้กลับมาดูแลสวนที่รัก ได้ตอ้ นรับแขกที่ชอบใจมาเยีย่ มสวน มา จัดกิจกรรมด้วยการเก็บผักสดในสวนแม่แดงก็ลงมือเป็ นแม่ครัวทําอาหารออกมาอร่ อยจนหลายคนต้องกลับมา อีกครั้ง
พ่อน้ อยเสงี่ยมแห่ งบ้ านใหม่ ต้นผึง้ ในสายตาชาวบ้านพ่อน้อยเสงี่ยมก็อาจเป็ นหนึ่งใน คนบ้าเพราะนอกจากจะตะลุยปลูกป่ า ๓ อย่าง (ป่ ากิน ป่ าใช้ สอย ป่ าสร้างที่อยูอ่ าศัย) ประโยชน์ ๔ (ใช้กิน ใช้สอย ใช้ สร้างที่อยู่ ให้ร่มเย็น) อย่างจนสวนรกด้วยความเขียวชอุ่ม ปลูกผักในแปลงเกษตรผสมผสานทั้งผักกินใบ กินหัว กิน หน่อ กินดอก พืชสมุนไพรและผลไม้ เลี้ยงหมูหลุม เผาถ่าน ใช้เอง หมักนํ้าหมักชีวภาพรดแทนปุ๋ ยเคมี เลี้ยงปลา เลี้ยง เป็ ดไข่ หลังจากเมื่อ ๔ ปี ก่อนพ่อน้าเสงี่ยมเข้าร่ วมอบรมต้นกล้าอาชีพรุ่ นที่ ๑ กับทางวัด จนทุกวันนี้สวนของพ่อ กลายเป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชนในเครื อข่ายของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม และจึง ได้มาพบกับพ่อสมชายพันธมิตรที่มีลูกบ้าเช่นเดียวกัน คือ “ทําให้สาํ เร็ จตําตาตนเองก่อนแล้วค่อยเอาของดีมา โชว์กนั ” วันนี้เป็ นอีกวันที่พ่อน้อยเสงี่ยมนําผักและผลไม้มาออมรวมกัน ณ อุทยานทิพย์ของพ่อสมชายเพื่อ ต้อนรับทีมงานจัดเวทีสัญจรโครงการขบวนบุญ เพราะก่อนหน้าพ่อก็แบ่งปั นพืชผลผลไม้และเมล็ดพันธุ์ให้เพื่อน
149
บ้าน พอมีงานบุญที่วดั ก็นาํ ไปถวาย โรงเรี ยนก็เริ่ มมาขอพันธุ์ไปปลูกเป็ นอาหารกลางวันเด็ก พ่อพยายามแทรก ซึ มหาเครื อข่ายจากการเป็ นผูใ้ ห้ก่อนเสมอ ด้วยวัย ๖๓ ปี กับรอยประสบการณ์บนใบหน้ากร้านแดด พ่อจึงมักแลกเปลี่ยนเทคนิคการปลูกพืช การ เลี้ยงสัตว์ หมักสมุนไพรกับชายวัย ๔๐ ที่มกั มาพร้อมกับเทคนิคสมัยใหม่รวมไปถึงกินข้าวล้อมวงปรับทุกข์ส่วน ตน ชุมชน บ้าน วัด โรงเรี ยน หน่วยราชการ สนทนาจนไปถึงปั ญหาระดับประเทศซึ่ งมีหลายเรื่ องโยงใยเกี่ยวพัน แยกไม่ออกง่ายๆ แก้จุดหนึ่งก็ติดอีกจุดหนึ่ง ทําให้ในเวทีแลกเปลี่ยนเครื อข่ายขบวนบุญนี้มีความเข้มข้นและก็ได้ ข้อสรุ ปตรงกันทั้งคู่วา่ ปั ญหาสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา สิ่ งแวดล้อมแก้อย่างไรก็ไม่จบต้อง “เริ่ มแก้ไขที่ตนเอง ก่อน” ชีวติ พ่อน้อยเสงี่ยมที่ตอ้ งผ่านบทเรี ยนอันแสนสาหัสจากเกษตรเชิงเดี่ยว เสี ยค่าเมล็ดพันธุ์ ค่ายา ค่าปุ๋ ย ค่า ขนส่ ง ค่าแรงงานมาก โดนหลอกโดนโกงจากเกษตรพันธะสัญญาที่หลอกให้ปลูกแต่กลับหนีหายไม่รับซื้อตาม สัญญา กูแ้ ล้วมาใช้หนี้ปีที่แล้ว กูแ้ ล้วมาลงทุนทําเกษตรปี นี้ หนี้หลายกองเพิม่ พูนจนกองโตกว่าสี่ แสนบาท พ่อ จึงตกผลึกไม่หนั กลับไปทําอย่างเดิม ทําเกษตรผสมผสานทั้งสบายท้องอิ่ม และสบายใจเมื่อค่าใช้จ่ายลดลง หนี้ก็ ลดลง ทุกข์ก็เบาบางลงจากกําลังจากเพื่อนในเครื อข่ายคนบุญ พ่อหลวงเสมแห่ งบ้ านแม่ ปะ ภาพป่ าทึบ เสี ยงนกร้องออกหากินเช้าเข้ารังคํ่า และไอเย็นไหลออกจากป่ ารู้สึกได้เมื่อยืนอยูใ่ นสวนของ พ่อดําเนิ น ไชชนะ หรื อพ่อหลวงเสม ผูใ้ หญ่บา้ นแม่ปะ หมู่ ๖ แม้วา่ ภาพในอดีตที่ดินตรงนี้จะเต็มไปด้วยมะเขือ เครื อหรื อที่รู้จกั ในเมืองคือ ฟั กแม้ว ทั้งลูกและยอดเป็ นพืชเพียงชนิดเดียวที่มีอยูใ่ นสวนเมื่อสองปี ก่อน “พ่อทําแต่ก่อนพ่อก็ปลูกแต่มะเขือเครื ออย่างเดียวหม๊ด แต่มีปัญหาเรื่ องการตลาด เวลาผลผลิตเขานัก๊ (มาก) พ่อค้าคนกลางก็กดราคาลงเรื่ อยๆ ก็เลยมีแนวคิดตั้งแต่วนั นั้นมาว่าต้องปลูกหลายอย่าง เช่นผักตัวใดตัว หนึ่งตายก็ยงั มีอีกตัวแทน หลังจากนั้นก็ไปปะ (เจอ)กับพ่อสมชาย สิ ทธิ โลกที่มีสวนนาฟานอุทยานทิพย์ก็ชกั ชวน ให้รู้จกั ทางวัดรวมทั้งการไปได้อบรมที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง เกิดสะสมแนวคิดเกษตรผสมผสานมาก ขึ้น และมีโอกาสรู ้จกั เครื อข่ายสหายของวัดในสะเมิงเหนือที่มีแนวคิดคล้ายๆ กัน”
150
“คือใจพ่อเปลี่ยนมาเมิน (นาน) แล้ว คือทําแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางของในหลวง เพราะมัน เป็ นหนทางเดียวที่ทาํ ให้เกษตรกรอยูร่ อด อยูร่ อดยังไงเพราะอย่างในสวนของพ่อมีพืชหลายชนิดเหมือนกัน เอา ไปขายอย่างละเล็กละน้อย ไม่เสี่ ยง จะขายหมดไม่หมดไม่ใช่ปัญหา” ด้วยความเป็ นพ่อหลวงเมื่อพึ่งพาตนเองจาก อาหารในสวน ลดรายจ่ายจากภายนอก พ่อหลวงเสมจึงค่อยๆ บอกเล่าประสบการณ์สู่ ชุมชนแต่ก็เหมือนพูด ไม่ได้เต็มปาก “พ่อจะทําให้เป็ นตัวอย่างกับชาวบ้าน ก่อนจะไปบอกไปสอนชาวบ้าน หากยังทําไม่สาํ เร็ จยังไปบอก ไม่ได้อย่างสนิทใจ ถ้าทําสําเร็ จมันไม่ตอ้ งพูดอะไรมาก เขาเห็นก็รู้เอง แต่ก็หวังลึกๆ ว่าอีกไม่นานชาวบ้านจะนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในชีวติ ได้” นอกจากแนวคิดปลูกทุกอย่างที่กินในสวนของตนเอง พ่อ หลวงเสมยังมองเห็นสิ่ งใกล้ตวั ที่อยูต่ รงหน้าอย่างสมอไทยที่หล่นลงพื้นเรี่ ยราดเน่าเสี ยไปเปล่าจึงนํามาหมัก “ต้นทุนทางธรรมชาติในหมู่บา้ นเรามีเยอะ สนใจมาทําเรื่ องสุ ขภาพตอนไปปรึ กษากับทางหลวงพ่อ และ ก็กลับมาคิดการแพทย์ของประเทศไทยนี่แปลกสัง่ ยาเคมีปีละหลายพันล้านมารักษาประชาชน แต่สมุนไพร พื้นบ้านของดีหาง่ายมีอยูแ่ ล้วในพื้นของเฮาอย่างแม่ปะมี สมอ ลูกยอ เครื อมะแตะ บอระเพ็ด ใบรางจืด กล้วย จึง นํามาทํานํ้าหมักป้ องกัน รักษา บํารุ งสุ ขภาพ” การทําการณ์ใดที่สวนกระแสหลักย่อมีอุปสรรคให้กา้ วข้ามเสมอไม่เว้นแต่วงการสาธารณสุ ขในบ้านเรา “เปิ้ ล (เขา)ว่ามันเป็ นไปไม่ได้ ของหมัก ของดอง ของเน่าจะกินแล้วโรคหาย รักษาโรค แต่ก็มีแนวคิด ที่วา่ การสกัดสมุนไพรมีหลายอย่างทั้งต้ม เอาไปฝน ตากแห้งทําเป็ นผงอัดเม็ด ซึ่ งหมอก็ไม่เชิงปฏิเสธร้อย เปอร์ เซ็นต์เรื่ องสมุนไพรไม่ดี แต่หมอว่าถ้านําไปต้ม ไปอบแห้งทําเป็ นผง แต่เรื่ องการหมักมาดองทางเจ้าหน้าที่ อนามัยก็แอนตี้เราอยู่ แต่เฮาก็จะทําให้เห็น มันต้องใช้เวลาจะสามสี่ ปีหรื อสิ บปี เฮาก็จะทําให้เห็น จนเฮาบ่ตอ้ ง โฆษณาหรอก เขาจะมาหาเอง” กําลังใจเต็มเปี่ ยมของพ่อหลวงเสมด้วยหลักคิดเดียวกับพ่อสมชายคือ “ทําให้เห็น ก่อน ทําให้ดู ให้เกิดผล” จึงมัน่ ใจบอกต่อ ชักชวนเพื่อนบ้านมาทําตาม ระหว่างนี้เองสหายทั้งสี่ พ่อหลวงเสม พ่อน้อยเสงี่ยม ทั้งคู่เคยผิดหวังชํ้าชอกกับเกษตรเชิงเดี่ยว ปั จจุบนั จึงตั้งหน้าตั้งตา “ทําให้ดู ลองให้เกิดผล” จนสวนมีเหลือกินเหลือใช้ หนี้ลดลง สบายใจขึ้น พ่อสมชาย หนานวาด ที่ขอทําเกษตรผสมผสานอยูอ่ ย่างเงียบๆ ให้พอกินพอใช้และประกอบสัมมาอาชีพเพื่อหาทุนรอนพัฒนาสวนป่ า
151
ของตนเอง บางคนครอบครัวก็ไม่เห็นด้วย ในขณะที่บางคนหวัน่ ไหวบางเมื่อได้ยนิ คํานินทาติเตียนจากเพื่อน บ้าน บางช่วงบางตอนก็เกิดห้วงเวลาแห่งความท้อ ไม่ได้ดง่ั ใจบ้างแต่ก็ตอ้ งอดทนพยายามต่อไป ทั้งสี่ จึงเป็ นเกลอหัวอกเดียวกันและเป็ นแกนนําคนสําคัญขับเคลื่อนเครื อข่ายไปข้างหน้า ด้วยคุณธรรม เดียวกันคือ สายตามุ่งมัน่ สองมือสานงานต่อด้วยความเพียรพยายาม ไม่ยอ่ ท้อจนกว่าจะบรรลุผล และพลัง “รู้ รัก สามัคคี” ในเครื อข่ายบนเส้นทางว่ายทวนกระแสนี้จะเป็ นกําลังใจชั้นเยีย่ มในการต่อเติมไฟฝัน เป็ นสะพานสู่ ทาง รอดในไม่ชา้ อย่างที่พอ่ ๆ ทั้งสี่ พดู เหมือนกันว่า “ ไม่ตอ้ งโฆษณา ไม่ตอ้ งพูดมาก เดียวคนเห็นตามว่าดี พึ่งตนเองได้จริ ง เดี๋ยวเขาก็จะทําตามกันเอง” นี่ คือจุดร่ วมของสี่ สหาย สี่ สวน สี่ หมู่บา้ นแต่มีหวั ใจอุดมการณ์แห่งความพอเพียงเดียวกัน ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นเกษตรกรแล้วจะพอเพียง อาชีพค้าแรงงาน ข้าราชการ เอกชน รัฐวิสาหกิจ ธุ รกิจ ส่ วนตัวก็สามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ไม่จาํ เป็ นต้องมีสวนผัก สวนป่ า มีที่ดิน มีทุน รอนมากมาย มีแรงงาน แต่เพียรทําหน้าที่ของท่านให้เต็มที่ เหลือเวลาก็อุทิศให้ส่วนรวมเพราะความพอเพียงเกิด ได้ทุกแห่ง ทุกเวลา และเกิดได้กบั ทุกคน ถ้ าใจมันบอกว่ า “พอ ก็คือ พอเพียง”
อนาคตของสวนป่ าบ้ านนาฟาน ต้นฤดูฝนอย่างปลายเดือนมิถุนาปี นี้ ต่อย หรื อรัฐ มนต์ สิ ทธิ โลก ลูกชายคนโตของพ่อสมชาย ศิษย์เก่า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลีเทคนิคล้านนา นําทีมรุ่ นน้องกว่า ๕๐ ชีวิต ชั้นปวช. ปวส. ทุกชั้นปี ที่เปิ ดรับสมัครมาตาม ความสมัครใจ ร่ วมกับเจ้าหน้ากรมประชาสัมพันธ์หรื อช่องสิ บเอ็ดและมูลนิธิจรัล มโนเพ็ชร ร่ วมปลูกป่ าสร้าง ฝายถวายพ่อหลวงซึ่ งเป็ นกิจกรรมใหญ่กิจกรรมแรกๆ ของสวนนาฟานอุทยานทิพย์หลังจากเริ่ มทําสวนเมื่อปี ๒๕๕๒
152
พ่อสมชาย และครอบครัวมีแม่แดง ต่อย และเด่น ลูกชาย คนเล็ก พ่อหลวงเสม หนานวาด พ่อน้อยเสงี่ยม ครบสี่ สหายจึงมา เป็ นเจ้าบ้านเปิ ดสวนป่ าต้อนรับการมาเยือนของนายอําเภอสะเมิง ที่มาเป็ นประธาน หลวงพ่อสรยุทธ ชยปั ญโญ เจ้าอาวาสวัดพระ บรมธาตุดอยผาส้ม และนักศึกษา เจ้าหน้าที่ต่างมีใจอยากทําดี ตอบแทนคืนสังคม ต่อยจึงเป็ นทั้งตัวตั้งตัวตีและประสานงานฝ่ าย ต่างๆ ด้วยวัยเพียง ๒๓ ปี ก็เริ่ มทําภารกิจสร้างคนอุดมการณ์ เดียวกัน ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้นผูเ้ ป็ นพ่อที่พร้อมสื บสาน “สวนนา ฟานอุทยานทิพย์” ให้เป็ นเติบโตและพร้อมจะแบ่งปันผูอ้ ื่น เกิดขึ้นจริ งแล้ว “เริ่ มมาจากแนวคิดง่ายๆ ที่วา่ เราอยากให้รุ่นน้องมาเห็น อีกมุมหนึ่งของเส้นทางชีวิตของผมที่จบสายก่อสร้างมาแต่ก็ สามารถมาทําการเกษตรได้ และเห็นว่าการสร้างฝาย ปลูกป่ าจะ เป็ นเครื่ องมือให้เขาเห็นค่าของป่ าที่ให้ชีวติ ให้ความเย็นชํ่าชุ่มชื้น ให้ความสบายใจเมื่อเห็นสี เขียวขจี ให้ที่อยูอ่ าศัย ให้น้ าํ และ อาหาร” ข้าวเหนียวปั้ น ต้มเห็ดกับหน่อไม้ แกงฟักเขียวไก่ขาวร้อนๆ และ นํ้าพริ กหนุ่มรสจัดจ้าน อาหารสดจากสวนของต่อยเติมพลังมื้อ เที่ยงให้กบั เพื่อนเยาวชนที่อาบเหงื่อต่างนํ้า หลังจากทําฝายต้นนํ้า ทั้งห้าตัวเสร็ จไปแล้วเกินครึ่ งทาง รอยยิม้ และเสี ยงหัวเราะคือ พลังใจที่ทาํ ให้ท้งั ต่อยและเด่นลูกชายทั้งสองของพ่อสมชาย มองเห็นไฟในตนเองอีกครั้ง หลังจากที่เคยตามผูเ้ ป็ นพ่อไป รับเหมาขุดบ่อแก้มลิง ทําฝายที่หว้ ยบง ศูนย์ปฏิบตั ิการเศรษฐกิจ พอเพียงวัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม และเป็ นครั้งแรกที่ได้พบ
153
หลวงพ่อสังคม ธนปั ญโญผูจ้ ุดประกายเติมไฟฝันในการทําสวนป่ า
“มันเรี ยกว่าความผูกพันกับป่ า กับต้นไม้มาตั้งแต่เยาว์วยั เติบโตมาก็คิดถึงบ้าน อากาศ อาหาร อยูก่ บั ป่ า มันบอกไม่ถูก” ต่อยเปิ ดใจถึงแรงผลักดันให้มายืนอยูจ่ ุดนี้ในขณะที่เพื่อนวัยเดียวกันมุ่งหน้าสู่ โรงงานหางานและ เงิน บางส่ วนกลับบ้านสื บสานกิจการครอบครัวเหมือนกับเขา แต่ยงั ไม่กล้าเจียดเวลาครึ่ งหนึ่งหรื ออาจมากกว่า นั้นให้กบั งานส่ วนรวมคือ การดูแลรักษาป่ า ต้นนํ้า ป้ องกันไฟป่ าให้ชุมชน และแน่นอนสิ่ งเหล่านี้จะย้อนกลับมา ที่สวนป่ าของตนที่ได้รับการดูแลรักษาจากป่ าโดยรอบ “อนาคตของสวนก็ยงั ไม่รู้นะ รู ้แต่วา่ ทําตอนนี้ให้เต็มที่ เกษตรก็ทาํ ให้เหลือกินเหลือเฟื อมากขึ้นทําเผื่อเลี้ยงคนที่มาเยือน เหมือนไข่เป็ ดตอนนี้เก็บได้วนั ละสามสี่ แผงยังไม่ทนั ลงรถก็ขาย หมดเห็นแม่วา่ กาแฟก็ปลูกในป่ าเป็ นกุศโลบายของพ่อที่ทาํ ให้ คนเดินป่ ารู ้วา่ ผืนป่ าตรงนี้มีเจ้าของ เขาก็จะไม่กล้ามาตัดทําลาย ป่ า เราก็สามารถเก็บเมล็ดกาแฟเป็ นต้นทุนของสวนในอนาคต ได้ การทําแนวกันไฟเป็ นสิ่ งสําคัญที่สุดตอนนี้ คือไฟมาต้นไม้ เล็กใหญ่หมดจริ งๆ เราต้องเร่ งทําแนวกันไฟ ต่อท่อรดผืนดิน รากไม้ให้ชุ่มชื้นตลอดเวลาเหมือนนํานํ้าจากต้นนํ้าในที่สูงมาร ดลงที่ต่าํ กว่า” ครอบครัวสิ ทธิ โลกไม่ได้ดีแต่พดู อย่างเดียวหลังจาก เวทีสัญจรขบวนบุญผ่านไปเพื่อแลกเปลี่ยน เสริ มกําลังใจของ คนในเครื อข่าย และตั้งแผนงานระยะสั้นว่าหลังจากประชุม เสร็ จจะลงมือทําอะไรทันทีเพื่อขับเคลื่อนขบวนบุญสายสะเมิง เหนื อนี้กา้ วต่อไปข้างหน้า
154
ต่อยจึงไม่รอช้าประสานเยาวชนโรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคมร่ วมกับศิษย์วดั พระบรมธาตุดอยผาส้มกว่า สามสิ บชีวติ ร่ วมกันสร้างแนวกันไฟและต่อท่ออาบนํ้าให้ป่าเมื่อต้นเดือนกันยายนที่ผา่ นมา หนานวาดนําทีมน้องๆ สังกัดชุมนุม “คืนชีวติ ให้แผ่นดิน” โดยมีนอ้ งปี้ รุ่ งนภา ชมโลก ประธานชุมนุม และยังเป็ นแกนนําฝังตัวขับเคลื่อนขบวนบุญในโซนที่ ๔ “โซนเทศบาลสะเมิงใต้/โรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคม นํา ทีมน้องๆ ฝึ กใช้มีดเพื่อพึ่งพาตนเองได้เวลาเดินป่ า ไม่นาน ช้อน ตะเกียบ จานทรงกระบอกทั้งหมดมาจากฝี มือ ฟันกระบอกไม้ไผ่ก็พร้อมใช้เสิ ร์ฟร่ วมกับแกงผักกาดจอกระดูกหมู ต้มหน่อ ถัว่ ฝักยาว นํ้าพริ กกะปิ ใส่ มะเขือพวงสดจากสวน ไข่เจียว กับข้าวเหนี่ยวนึ่งร้อนๆ บนจานใบตองคือ อาหารมื้อเที่ยงแสนภูมิใจ ของเยาวชนที่ซึมซับประโยชน์ที่ได้จากป่ าไม่โดยไม่รู้ตวั
155
ต่อยและสี่ เกลอสะเมิงเหนื อจึงเป็ นกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนบ้าน-สวน-ป่ าที่เขารักและกําลังพาให้ คนอื่นมารักด้วย เชื่ อแน่วา่ ผูม้ าเยือนจะนํากําลังกาย กําลังทรัพย์ กําลังปั ญญามาร่ วมสนับสนุนสวนนาฟาน อุทยานทิพย์เพราะเข้าใจจุดประสงค์ของพวกเขาดีวา่ เกิดมาต้องสํานึกบุญคุณแผ่นดินถิ่นเกิด การสร้างฝาย ปลูก ป่ า ทําแนวกันไฟเป็ นเพียงสะพานเชื่อมความเชื่อเรื่ องบุญเข้าสู่ ใจ เมื่อเชื่อว่าการทําบุญ (คือบุญสําคัญกว่าเงิน ทอง) การทําบุญมีฤทธิ์ จริ ง เพราะผลที่ได้รับกลับมามากกว่าที่จะคาดถึง “ขบวนบุญในความหมายของพ่อ คืออะไรที่ทาํ แล้วดีนะ ทําแล้วยิง่ ใหญ่ รู ้สึกใจบุญ รู ้สึกสบายใจ แต่ ก่อนพ่อฆ่าสัตว์อย่างมดฆ่าเป็ นพันๆ ตัวเลยนะ เดี๋ยวนี้ก็ปล่อยมันเดินไป มันก็มีประโยชน์กินแมลงอะไรของมัน ไป พอทําแล้วรู ้สึกอยากจะให้ ไม่เบียดเบียน ไม่ทาํ ให้คนหรื อสัตว์เดือนร้อน นี่คือบุญแล้ว” “ตลอดสี่ ปีที่ร่วมงานกับทางวัดผาส้มฯ หลวงพ่อพาทําบุญ ทุกเรื่ อง ทุกครั้ง พ่อเพิ่งเริ่ มเข้าใจ อย่างการ เปิ ดสวนอุทยานทิพย์ตอ้ นรับให้คนกรุ งเทพฯ คนในเมือง เด็กเยาวชน มาสัมผัสชีวติ ที่อาศัยป่ า อาศัยนํ้า เราเห็น เขาอยูม่ ีความสุ ข ไม่ตอ้ งใช้เงินสักบาท มีกินในสวน มีที่นอนในป่ า เราก็มีความสุ ขแล้ว” พ่อสมชายสรุ ปปิ ดท้าย อย่างคนเจนจัดเข้าใจสัจธรรมของชีวติ จากการเคี่ยวกรําประสบการณ์มากว่าห้าสิ บปี สวนป่ าของพ่อจึงไม่ใช่แค่ สวนป่ า แต่เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางใจ ซึ่ งนําพาคุณธรรม ความกตัญ�ู ความรักสามัคคี ความปรารถนาให้คนอื่นได้ ดี ด้วยความไม่ยอ่ ท้อเข้าสู่ จิตใจของคนบุญ บุญต่อบุญ โบกี้ต่อโบกี้ ให้ขบวนบุญสายนี้ให้ขยายยาวไม่มีสิ้นสุ ด
บทวิเคราะห์ การขับเคลือ่ นโครงการในชุ มชน “โซนสะเมิงเหนือ” แม้วา่ พื้นที่ของโซนสะเมิงเหนือจะไม่ได้นาํ สิ นค้าขบวนบุญ เช่น ข้าว นํ้ายาอเนกประสงค์ และปุ๋ ย อินทรี ยช์ ีวภาพเข้ามาทําตลาดให้เกิดกองทุนบุญไม่ได้ตามรู ปแบบที่โครงการกําหนดไว้ แต่กลับประสบ ผลสําเร็ จในแง่การขับเคลื่อนเรื่ องคุณธรรมของคนในเครื อข่ายมาก คือ ความกตัญ�ูต่อแผ่นดิน เนื่องจาก กิจกรรมที่เกิดขึ้น เช่น การทําเกษตรผสมผสานที่ลดหรื อเลิกใช้สารเคมีทุกชนิดปล่อยให้แมลงกินกันเองตาม ธรรมชาติ หรื อผลิตปุ๋ ยหมัก ฮอร์ โมนชีวภาพฉี ดพ่นเสริ มการเจริ ญเติบโตพืชผัก ดิน-นํ้า-ป่ าจึงมีเวลาฟื้ นตัวเอง ดังเช่นในสวนของพ่อน้อยเสงี่ยม พ่อหลวงเสมและหนานวาด
156
การวางท่อพีวซี ี อาบนํ้าให้ป่าชุ่มชื้น การสร้างแนวกันไฟ การปลูกป่ าทดแทนอย่างในสวนนาฟาน อุทยานทิพย์ของพ่อสมชาย การอบรมเยาวชนหัวใจสี เขียว และการเปิ ดรับบุคคลทัว่ ไปเข้าพักอาศัยอย่าง ลูกหลานโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายใดๆ และเรี ยนรู้จากการท่องเที่ยวเชิงปั ญญา มาแล้วได้ปัญญากลับไปอย่างน้อย คือ การพึ่งพาตนเองให้ได้ในสวนป่ า ที่ไม่มีไฟฟ้ า ไม่มีร้านค้าให้จบั จ่ายใช้สอย และอยูห่ ่างไกลจากชุมชนซึ่ งเป็ นสิ่ ง ที่สวนนาฟานอุทยานทิพย์เริ่ มยกระดับจากสวนป่ าธรรมดาเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชนที่จะ เป็ นแหล่งแบ่งปั นความรู ้ภูมิปัญญา แบ่งปั นอาหารที่เหลือเฟื อ แบ่งปันสถานที่ในสวนเพื่อจัดกิจกรรมอาสาซึ่ ง เหล่านี้ไม่ได้มาจากความตั้งใจที่จะทําแต่แรก แต่มาจากความมุ่งมัน่ ที่จะรักษาผืนป่ า มีสวนไว้พ่ ึงพาตนเองได้ พอ กิจกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นจึงเกิดคนบุญที่คอยสนับสนุนสวนป่ า ทั้งกําลังกาย กําลังทรัพย์ กําลังปั ญญา พ่อสมชายจึง สามารถแบ่งเวลาจากงานประจําคือผูร้ ับเหมามาดูแลสวนมากขึ้น เหล่านี้คือกองทุนบุญที่เจ้าของสวนอย่างพ่อสมชาย แม่แดงและลูกชายทั้งสอง รวมถึงบรรดาเพื่อนบ้าน อย่างหนานวาด พ่อหลวงเสม พ่อน้าเสงี่ยมที่คอยขับเคลื่อนขบวนบุญนี้ร่วมกัน คือเวลามีงานส่ วนรวมก็ ช่วยเหลือกัน เวลาต้องการคําแนะคําปรึ กษาเกี่ยวกับการเกษตรก็แลกเปลี่ยนกัน เสริ มกําลังใจซึ่งกันและกัน เกิด คุณธรรม ความรัก ความสามัคคีระหว่างคนที่ “คิดได้” เหมือนกัน “เชื่ อ” เช่นเดียวกันว่านี่คือทางรอดของปั ญหา นานาที่ยดึ โยงเป็ นใยแมงมุมขนาดใหญ่ยากจะแก้ไขทุกปั ญหาได้ สื บเนื่องจากการจัดเวทีสัญจรติดตามผล โครงการครั้งสุ ดท้ายเมื่อวันที่ ๒๘-๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่ผา่ นมาได้ระดมสมองพบว่าปั ญหาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่ งแวดล้อมและการศึกษา พบปัญหาดังต่อไปนี้ ๑. ปั ญหาสามเศร้าระหว่างพระ-คณะศรัทธา-กรรมการดูแลทรัพย์สินวัด (มีเรื่ องเงินที่ไหนแตกกันที่น้ นั ) ๒. ปั ญหาเรื่ องการเมืองท้องถิ่นที่ตอ้ งเลือกตั้งผูน้ าํ ทําให้ชาวบ้านที่แตกแยกกันเพราะเลือกผูน้ าํ คนละคนกัน ๓. การเปลี่ยนแปลงการผลิตที่คนเมืองไม่ทาํ การเกษตรไปทํางานในเมือง และจ้างแรงงานต่างประเทศแทนที่มี ค่าจ้างเท่าคนไทยแต่ทาํ งานได้มากกว่า ๔. ปั ญหาผูห้ ลักผูใ้ หญ่ในบ้านเมืองไม่สามารถเป็ นตัวอย่างในแก่เยาวชน เช่น หลงลาภ ยศ บรรดาศักดิ์ จนถึง ปั ญหาการทุจริ ตคอรัปชัน่
157
๕. ปั ญหาสื่ อมีอิทธิ พลต่อคนมาก คนใช้เวลาส่ วนมากกับสื่ อต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว เพื่อนบ้าน ในชุมชนน้อยลง ๖. ปั ญหาค่านิยมทางสังคม “มีการศึกษาสู ง ได้งานดี เงินดี ชี วติ มีสุข” ซึ่ งการศึกษาดึงคนออกนอกชุมชนและ ครอบครัวหาเงินเพื่อส่ งลูกเรี ยน เด็กกลับมาพร้อมนําปั ญหาที่แก้ไม่ตกมาให้ท้ งั หนี้กยู้ ืมกยศ. หลายแสนไม่มี หลักประกันการว่างงาน (จบแล้วมีงานทํา) ปั ญหาท้องก่อนแต่ง ปั ญหามีลูกแต่ขาดพ่อหรื อแม่จนกลายเป็ น แม่ต้ งั แต่อายุนอ้ ยหรื อเป็ นพ่อเลี้ยงเดี่ยว ๗. ปั ญหาผูค้ นขาดศีลธรรม มีความอิจฉา เห็นผูอ้ ื่นดี-เด่น-ดังกว่าตนไม่ได้ตอ้ งนิ นทา ให้ร้ายและหาทางขัดขวาง จะเห็นได้วา่ ปั ญหาทั้งหมดทั้งมวลมีจุดร่ วมเดียวกันคือ การใช้เงินเป็ นที่ต้ งั แห่งความสุ ขของชีวติ ประกอบ กับสื่ อพิษที่ชกั จูงผูค้ นให้ซ้ื อสิ นค้าและบริ การด้วยวิธีการส่ งสัญญาณว่า “เราต้องทันสมัยตลอดเวลา” เราจึงต้อง ซื้ อสิ นค้ารุ่ นใหม่ท้ งั ๆ ที่ของเก่ายังใช้การได้แต่เชยในสายตาคนอื่น “เราต้องทําเหมือนๆ กัน คิดเหมือนกัน” เพราะการศึกษากระแสหลักบอกเราให้คิดในกรอบหรื อแม้กระทัง่ “คิดไม่เป็ น” เพราะได้รับการป้ อนอยู่ ตลอดเวลา ท้ายที่สุดแล้วในเวทีประชุมเชิงปฏิบตั ิการจึงสรุ ปว่าปั ญหามีมากและซับซ้อนเกินกว่าจะแก้ไข แต่ไม่แก้ ก็ไม่ได้ แต่ตอ้ งแก้ให้ถูกจุดให้ตรงต้นเหตุที่ทาํ ให้การใช้ชีวติ ในปัจจุบนั อยูล่ าํ บากกว่าเหมือนก่อนมาก ฉะนั้นการ แก้ปัญหาชีวิตตนเอง ที่ตอ้ งการปั จจัย ๔ เป็ นขั้นต้น จึงต้องใช้วธิ ี พ่ ึงพาตนเองให้ได้ ตั้งแต่ข้นั พื้นฐานคือ พึ่งพา ตนเองได้เรื่ องอาหารและยารักษาโรค เรื่ องที่อยูอ่ าศัย เรื่ องผลิตภัณฑ์ทาํ ความสะอาด สบู่ แชมพู ปุ๋ ยหมัก ฮอร์ โมนพืช และเรื่ องการมีอากาศบริ สุทธิ์ มีน้ าํ สะอาด มีดินที่อุดมสมบูรณ์ซ่ ึ งมาจากการรักษาป่ าไม้ พอ พึ่งตนเองได้ข้นั หนึ่งจึงยกระดับสู่ ข้ นั ก้าวหน้าที่มีเหลือจึงแบ่งปั นให้เพื่อน ทําบุญ ทําทาน จากนั้นเก็บไว้แปรรู ป ไว้ขายมีรายได้ใช้จ่ายสิ่ งที่ไม่สามารถผลิตเองได้ สุ ดท้ายสร้างเครื อข่ายสําหรับคนหัวใจเดียวกัน คนเคยทุกข์เคย ยากเหมือนกันเพื่อให้เราสามารถดํารงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้กลมกลืน ขบวนบุญสายนี้จึงนิยามว่า อะไรที่ทาํ แล้วสบายใจ สบายกาย เราและเขาได้ประโยชน์ ได้ตอบแทน แผ่นดิน คืนความเขียวความร่ มเย็นสู่ ป่าที่ให้ชีวติ เราแต่เกิดเติบโต และยิง่ ได้ให้หรื อคิดจะให้ก็สบายใจแล้ว บุญ ในใจจึงเกิดขึ้นอยูต่ ลอดเวลากับทุกการกระทําของผูร้ ่ วมขบวนบุญ ต้นบุญสายสะเมิงเหนือจึงเปรี ยบกับต้นไม้ที่
158
แตกกิ่งก้านใบและกําลังจะให้ร่มเงาได้เร็ ววัน รวมทั้งรอวันที่ผลสุ กจะตกให้สัตว์นอ้ ยใหญ่ได้เก็บกินภายภาค หน้า ปัจจัยเกือ้ หนุนการขับเคลื่อนขบวนบุญ ๑. คุณภาพของคนหรื อผูน้ าํ ที่กล้าเปลี่ยนแปลง กล้าท้าทวนกระแสการทําเกษตรเพื่อการค้าสู่ การพึ่งพาตนเอง และนําองค์ความรู ้มาทดลองใช้ ลองผิดลองถูกจนได้เป็ นสู ตรที่เหมาะสมกับตนเองที่สุด ๒. คุณธรรมของคนที่ร่วมขบวนบุญต้องเริ่ มมาจากความคิดที่ตอ้ งการ “พึ่งพาตนเอง” ให้ได้ทาํ จนตนเองสําเร็ จ จนละแวกบ้านเห็นประจักษ์วา่ เป็ นทางรอดจริ งไม่ใช่รอ “เงินทุน” ไปทําสวนเกษตรพอเพียงหรื อโทษว่า “เห็นผลช้า” คุณธรรมที่สาํ คัญของผูร้ ่ วมขบวนบุญคือ “มุทิตาหรื อความคิดที่อยากจะให้ ปรารถนาให้เพื่อน ได้ดี” และไม่หวัน่ ไหวต่อคํากล่าวไม่ดีเพราะตัวอย่างคนพอเพียงที่ประสบความสําเร็ จมีให้เห็นแล้ว ๓. ทรัพยากรธรรมชาติที่ยงั อุดมสมบูรณ์อยูม่ ากทั้งดิน นํ้าและป่ า ทําให้พืชผักผลไม้ในสวนเจริ ญเติบได้ดีจนมี เหลือกินเหลือเก็บแบ่งให้เพื่อนบ้านหรื อพ่อค้ามารับซื้ อถึงสวน แต่ก็ยงั ต้องเผชิ ญกับไฟไหม้ป่าทุกปี รวมทั้ง นํ้าในห้วยที่ปนเปื้ อนสารเคมีจากการทําไร่ ถวั่ แระ ถัว่ ฝักหวานของพื้นที่สะเมิงเหนือ ท่ามกลางวิกฤติการ กว้านซื้ อที่ดินจากนายทุนเพื่อทําเกษตรเชิงเดี่ยวหรื อที่ดินหลุดมือจากหนี้สินของเกษตรกร สู ตรการสร้ างกําลังใจในการขับเคลือ่ นขบวนบุญ หลังจากเวทีสัญจรผ่านไปชาวชุมชนระดมสมองหาเคล็ดลับในการดําเนินโครงการขบวนบุญให้ประสบ ความสําเร็ จ (คัมภีร์ขบวนบุญ) ซึ่ งถือว่าเป็ นสิ่ งเติมกําลังใจในการขับเคลื่อนต่อไป คือ ๑.เชื่อว่าบุญมีฤทธิ์ จริ ง (บุญสําคัญกว่าเงินทอง) ๒.จงลงทุนในบุญตลอด (มีความมุ่งมัน่ ) ๓.ไม่อิจฉาริ ษยา ปรารถนาให้ผอู ้ ื่นได้ดี ๔.ให้โอกาสผูอ้ ื่นเสมอ ๕.วางความเห็นให้ตรงกับความจริ ง (ลงมือทําจริ ง วางใจได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด)
159
๖. เป็ นแบบอย่างที่ดี (พูดเช่นไร ทําเช่นนั้น) ๗. จะไม่ทอ้ ถอยจนกว่าจะบรรลุผลสําเร็ จ หลักปฏิบตั ิงานที่ทุกคนในเครื อข่ายควรปรับให้ตรงกัน เพราะไม่วา่ จะเกิดอุปสรรคใดๆ ในการ ดําเนินงานขบวนบุญให้ยดึ หลักการทํางาน “ขบวนบุญ” โดยนําหลักธรรมะมาประยุกต์ ดังนี้ ๑.บุญ –ลงทุนบุญคุม้ ค่า ๒.พรหมวิหาร--เมตตา กรุ ณา มุทิตา อุเบกขา (ให้โอกาสทุกคน ปรารถนาให้เขาได้ดี ไม่ดีก็ให้กาํ ลังใจ ให้อภัย) ๓. มีความเพียรอันบริ สุทธิ์ — จะไม่ทอ้ ถอยจนกว่าจะสําเร็ จและเคยทําผิดอย่างไรจะไม่กลับไปทําอีกเด็ดขาด
160
บทสรุ ปการทํางานเขตที่ ๔ ชุ มชนเทศบาลสะเมิงใต้ /โรงเรียนสะเมิงพิทยาคม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
สั งคมเมือง : ชี วติ จริงยิง่ กว่ าละคร 0
ว่ากันว่าสังคมเมืองเป็ นสังคมที่เต็มไปด้วยความหลากหลาย ผูค้ น
บ้านเรื อน ร้านรวง รถลา โรงเรี ยน ราชการ หรื อไลฟ์ สไตล์แบบคนเมืองที่ความ เป็ นปั จเจกสู ง “ภาวะโลกส่ วนตัวสู ง” อาจเป็ นนิยามคนในเมืองได้ดี แต่ในเมื่อ “ภาวะพึ่งพาตนเอง” ยังไม่เกิด ชุมชนเมืองจึงเป็ นพื้นที่การทํางานอีกแห่งหนึ่งที่ ท้าทายทีมงานอย่างยิง่ ยวดที่จะนํา “เรื่ องบุญบุญ” อย่างโครงการขบวนบุญเข้า ไปสอดแทรกในจิตใจของพวกเขาได้อย่างไร และเป็ นโจทย์ชีวติ ที่ทา้ ทายของ แกนนําตัวเล็กหัวใจใหญ่ 0
0
ชีวติ อันโดดเดี่ยวของ ปี้ -รุ่ งนภา ชมโลก “คุยแล้วเหมือนอยูค่ นละโลก ท้อก็ทอ้ นะ เพราะทําคนเดียว คนในวัยเดียวกันแต่พดู กันคนละเรื่ อง” 0
น้องปี้ นักเรี ยนสะเมิงพิทยาคมเผยร่ องแผลในใจหลังจากร่ วมเป็ นเยาวชนในเครื อข่ายของวัดพระบรม
ธาตุดอยผาส้มตั้งแต่เพิ่งขึ้นมัธยมหนึ่ง หลังผ่านประสบการณ์ทาํ งานโชกโชน การรับรู ้ปัญหาของเกษตรกร กระดูกสันหลังของชาติที่เสื่ อมลงทุกวัน ปั ญหาการศึกษาที่เธอเข้าไปเกี่ยวข้องในฐานะนักเรี ยนที่ไม่ได้เอาแต่ เรี ยนอย่างเดียว และเข้าใจว่าการเรี ยนรู ้ธรรมะผ่านกิจกรรมที่วดั พาทําเป็ นอะไรที่ได้มากกว่านัง่ ฟัง นัง่ สวดมนต์ นัง่ สมาธิ อย่างเดียว ทุกวันนี้ เธอกลายเป็ นเด็กสาวมัธยมหกที่กาํ ลังเดินมาถึงทางแยกของชีวติ 0
“บางครั้งเราต้องตามกระแสโลกบ้าง เราคิดได้หมดแต่เราพูดหมดไม่ได้ เก็บไว้บอกคนอื่นเมื่อถึงเวลาที่
เหมาะสม คนอื่นจะว่ายังไงก็ช่างเขา เพราะพวกเรามันเป็ นพวกทวนกระแส” ไม่ตอ้ งเป็ นเกษตรกรอกหักเพราะ หวังเงินแต่ได้หนี้ ไม่ตอ้ งเป็ นข้าราชการใหญ่โตแต่เพิง่ สํานึกการหลอกลวงของตนเอง ไม่ตอ้ งรํ่ารวยจากธุ รกิจ ส่ วนตัวแต่มาคิดได้เมื่อภัยธรรมชาติทาํ ลายโรงงาน เด็กมัธยมก็ยงั คิดได้วา่ ทําดีไม่ตอ้ งติดดีคืออะไร ทําดีแต่หวัง คําชื่นชม หวังเงินทอง หวังรางวัล หวังลาภยศ ทําดีแล้วอยากให้คนอื่นเห็นดีตามนัน่ แหละคือ ติดดี
161
0
กว่าหกปี ที่ป้ ี เริ่ มซึ มซับธรรมะผ่านกิจกรรมที่อาจดูใหญ่เกินตัวแต่ดว้ ยหัวใจดวงโตใบนี้ ทาํ ให้ความคิดที่
ตกผลึกของเธอในวันนี้เป็ นพลังให้กา้ วต่อไปข้างหน้าอย่างมัน่ คง
0
0
ค่ ายสร้ างคน คนสร้ างค่ าย “ตอนม.๓ จัดค่ายแรกในชีวติ ตื่นเต้นมาก ไม่รู้อะไร
เลย คิดเอง เตรี ยมเอง จัดเอง มานอนวัดผาส้มก่อนสองคืน เพื่อนมาช่วยเยอะมากสามสิ บกว่าคน พอถึงวันเดินทาง ทาง ลําบากมาก ขนาดล้อพันโซ่แล้วยังลื่นติดหล่ม กว่าจะมาถึงบ้าน แม่แดดน้อย พอตกกลางคืนก็ได้บทเรี ยนเยอะ หลวงพ่อให้คุย ปั ญหาเองว่าจะปรับปรุ งแก้ไขตรงไหน พิธีกร อาหาร สันทนา การ จัดเวลายังไงจนมาดีข้ ึนที่โรงเรี ยนบ้านสันม่วง” 0
หลังจากจบค่ายเยาวชนสะเมิงพิทย์ ปี สอง “พี่สอน
น้องคิด สร้างสรรค์ แบ่งปั นปั ญญา” ซึ่ งสร้างความภูมิใจให้ น้องปี้ หลังจากที่ตอนม.๑ และม.๒ ได้รับการบ่มเพาะจากค่าย สุ ขแท้ดว้ ยปัญญาจากเครื อข่ายพุทธิ กาที่วดั ไปจัดกิจกรรมที่ โรงเรี ยนสร้างฝาย ทําปุ๋ ย ทํานํ้ายาอเนกประสงค์ จึงคิดอยากจะ จัดค่ายเพื่อน้องในชนบทที่ห่างไกลอีกแต่ก็ไม่มีโอกาส 0
พอขึ้นมัธยมปลายเธอก็ต้งั ชุมนุม “คืนชีวติ ให้
แผ่นดิน” ขึ้นเพราะด้วยความที่เธอไม่ได้ชอบวิชาการ ไม่ได้ ชอบเล่นกีฬาพออาจารย์ให้โอกาสก็มาตั้งชุมนุมพาน้องไป เที่ยวสวนเกษตรผสมผสาน ทําแนวกันไฟ ปลูกป่ า สร้างฝาย อบรมเท่าทันสื่ อที่วดั ผาส้ม ค่ายรื้ อฟื้ นรากเหง้าวัฒนธรรมปกา
162
เกอะญอสําหรับน้องๆ ปกาเกอะญอซึ่ งเป็ นสมาชิกส่ วนใหญ่ในชุมนุม 0
“รู้สึกดีนะ ไม่ได้คาดคิดไว้วา่ เด็กที่เราไปปั้ นไว้ตอน
ไปจัดค่ายตอนม.๓ ที่บา้ นแม่แดดและบ้านสันม่วง พอเขารู้วา่ เราเป็ นประธานชุมนุม เขาก็มาเข้าชุมนุมเลย เราจําเด็กไม่ได้แต่ เขาจําเราได้” ผลผลิตเห็นค่ายสร้างคนเริ่ มออกผลออกหน่อแล้ว ปี้ ถึงกับยิม้ กว้างและรู ้สึกดีที่นอ้ งๆ จะเป็ นกําลังในการสร้าง ค่ายเพื่อสร้างคนต่อจากรุ่ นของเธอ 0
จนมาได้ทาํ โครงการกับวัดอีกทีเมื่อตอนม.๔ “ธุ รกิจ
คุณธรรม” มีเยาวชนที่นาํ ทีม ๓ คนคือ ปี้ เลี้ยงไส้เดือนดิน ป๊ อบ เลี้ยงหมูหลุมถึงทุกวันนี้ ฟ้ าปั้ นEM Ball เกิดปัญหาคนน้อย ผลผลิตน้อย นําไปขายไม่ได้ เป็ นการลองผิดลองถูก พอขึ้นม. ๔ เทอม ๒ ถึง ม.๕ ทั้งปี ก็ได้มาทําโครงการส่ งเสริ มเครื อข่าย บ้าน วัด โรงเรี ยน สู่ การขับเคลื่อนคุณธรรมตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงจากการสนับสนุนของศูนย์คุณธรรมหรื อ มินิ บ-ว-ร ปี้ ก็ได้ทุนมาผลิตนํ้ายาอเนกประสงค์และเริ่ มเลี้ยงหมู จากเศษอาหารเพื่อนําขี้หมูมาทําปุ๋ ยหมักอยูท่ ี่บา้ น น้องเล็กสุ ด ในโครงการมินิ บ-ว-ร จึงได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู ้ ศึกษา ดูงานทุกเดือนกับเครื อข่ายคนพอเพียงอีกแปดโครงการ ประสบการณ์ทาํ งานระดับเกินเด็กของเธอเป็ นสิ่ งที่ค่อยๆ หล่อ หลอมมุมมองชีวิตให้กว้างกว่าเพื่อนวัยเดียวกัน 0
“ตอนแรกอายนิ ดหน่อย เดินถือถังสี ขอเศษอาหารจากร้านอาหารตามสัง่ ในเทศบาล แต่พอคุยไปคุยมา
เขาก็เข้าใจว่าเราเอาไปให้หมู จากนั้นแม่ก็มาช่วยเอาถังใส่ ลอ้ เข็นใส่ รถเครื่ อง แม่ขบั เราซ้อนขอรับเศษอาหารให้ หมู พอเขาให้เราก็นาํ นํ้ายาล้างจานที่ทาํ เองไปตอบแทนเขา ซึ่ งตามร้านอาหารได้ใช้อยูแ่ ล้ว เราก็มีอาหารให้หมู ไม่ตอ้ งซื้ อ ได้ข้ ีหมูซ่ ึ งดูไร้ค่ามาหมักทําปุ๋ ยขายได้อีก”
163
0
โครงการนี้เองแจ้งเกิดให้กบั น้องปี้ ไปอีกหลายงาน หลังจากที่ครู นาํ เสนอชื่อน้องปี้ ส่ งประกวดโครงการ
ลูกโลกสี เขียว และโครงการยุวเกษตรกรของเกษตรอําเภอสร้างผลงานให้กบั โรงเรี ยนถึงระดับประเทศ 0
0
การศึกษาไทยวันนี้: ปี แห่ งการ Fake, Make up และผักชีโรยหน้ า ปี ๒๕๕๔ ปี้ ได้รับเลือกเป็ นประธานกลุ่มยุว
เกษตรกรจากโครงการเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรี ยนและที่ บ้านที่ทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มเข้ามาส่ งเสริ มสนับสนุน เพราะมีกิจกรรมที่เห็นผลเป็ นรู ปธรรมและเป็ นคนทําเอง ทั้งยัง สามารถบอกเล่าเรื่ องราว คือมีทกั ษะในการสื่ อสารให้คนอื่น เข้าใจ น้องปี้ จึงเป็ นนักเรี ยนเนื้อหอมที่บรรดาคุณครู ก็อยากทํา ผลงานเสนอชื่ อ เสนอกลุ่มเพื่อนของเธอเข้าชิงรางวัลมากมาย 0
“เป็ นกลุ่มหลอกลวง ให้เวลาหนึ่งเดือนเขาจะมา
ประเมิน เฟดมาก เขามาช่วยเมคอัพทุกอย่างขึ้นมา ผลงานเดิม มีบา้ งแต่ก็ตอ้ งทําใหม่ ทําข้อมูลย้อนหลังขึ้นมาใหม่ ทําฝาย ใหม่ ปั้ นอีเอ็มบอล มูลไส้เดือนมีอยูแ่ ล้ว ชาสตรอเบอร์รี่ กระ ดาษาก็มานัง่ ทําโชว์ เมดอัพรู ป เมดหมด ไม่มีอะไรเป็ นของ จริ งสักอย่าง ปุ๋ ยหมักและนํ้ายาอเนกประสงค์ก็ไปดูถึงบ้าน เพราะทําอยูแ่ ล้วร่ วมกับวัด พอประเมินก็ผา่ นอําเภอ ผ่านระดับ จังหวัด ผ่านระดับเขตภาคเหนือ และระดับประเทศ สมาชิ กยุว เกษตรกรได้ที่ ๒ คือน้องปี้ โรงเรี ยนได้ที่ ๔ พอเข้าไป ประกวดก็รู้วา่ ก็เมดเหมือนกันทุกโรงเรี ยน” 0
“ทําฝายไว้ตอนม.๑ แต่เอามาส่ งประกวดตอนม.๕
ฝายจริ งๆ อยูบ่ นเขาบนโรงเรี ยนมันพังหมด แต่ก่อนมีฝายนํ้าที่ ไหลผ่านหน้าโรงเรี ยนตลอดปี ไม่เคยแห้ง ตอนนี้แห้งหมด ต้องทําฝายจําลองใหม่หลอกไว้หน้าโรงเรี ยน ไปขอ
164
กล้าไม้จากหน่วยงานอนุ รักษ์ตน้ นํ้ามาวางไว้แล้วบอกว่าเราเพาะเอง เตรี ยมจะปลูก เสร็ จแล้วเอามาส่ งลูกโลกสี เขียว ของปตท. จนได้รางวัลเยาวชนคนต้นนํ้าแห่งปี ” 0
0
แทนที่เธอจะตัวลอยเพราะคําชื่นชมรางวัลแต่กลับสะท้อนบทเรี ยนจากมาตรฐานการศึกษาไทย “รู้สึกเบื่อ เบื่อ ประเมินบ่อยๆ เบื่อ ใช้งบเยอะ เสี ยเวลา ไม่ได้เรี ยน เห็นเพื่อนที่ไม่ให้ความร่ วมมือตาม
หน้าที่รับผิดชอบ บางครั้งเราไปพูดตรงซุ ม้ โชว์ผลงานไม่ได้ เราก็นาํ ประสบการณ์จริ งไปบอกเพื่อนเพราะเราทํา จริ งให้เพื่อนนําเสนอต่อผูใ้ หญ่เป็ น เราเองต้องตามประกบคณะกรรมการประเมิน มีหน้าที่ไม่พาไปสถานที่ติด ลบของโรงเรี ยน และพูดให้เขาเชื่อว่าเราทําจริ ง มีการวางแผน นําไปใช้ในชีวิตในจริ ง เราก็เบื่อ เพื่อนก็เบื่อ เป็ นปี แห่งการถูกประเมินจริ งๆ” ทั้งสมศ. สพฐ. ลูกโลกสี เขียวมาสองครั้ง และอีกหลายครั้งกับยุวเกษตรกรของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บางครั้งใช้เวลาเป็ นเดือน เป็ นสัปดาห์ที่เธอเสี ยเวลาเรี ยน เป็ นเรื่ องน่าเศร้าของ การศึกษาไทยที่ต้ งั มาตรฐานสู งแต่ทาํ จริ งไม่ได้ เอาไปใช้ในชีวติ ไม่เป็ น โรงละครในโรงเรี ยนจึงมักต้องดึงม่าน ลงและขึ้นอยูเ่ สมอๆ เพื่อเปิ ดต้อนรับแขกที่นิยมความงาม ความสําเร็ จแต่ละเลยความเป็ นจริ ง 0
ถึงแม้วา่ จะผักชีโรยหน้าไม่ได้ทาํ เป็ นจนเป็ นวิถีชีวติ หรื อเอาไปประยุกต์ใช้ได้ แต่ถา้ เธอไม่มีแฟ้ มสะสม
ผลงาน ไม่สามารถสื่ อสารในสิ่ งที่เธอเคยทํากับมือได้ ไม่สามารถเตรี ยมเพื่อนๆ ให้ตอบคําถามผูม้ าประเมิน ก็คง ไม่ประสบผลสําเร็ จเหมือนทุกวันนี้
เยาวชนขับเคลือ่ นขบวนบุญแบบไม่ รู้ ตัว “หนูไม่ชอบขายของ มันไม่เหมือนขายกับข้าวนะ ข้าว กับข้าวก็แค่จ่ายตังค์เสร็ จแล้วก็ไป แต่ของนี้ตอ้ งคอยถาม แนะนําน้องๆ บอกการใช้ ไม่ชอบมันจุกจิก มันไม่ใช่เรา มันไม่ สนใจ เลยไม่อยากทํา” ปี้ เล่าถึงการขับเคลื่อนขบวนบุญตามแบบฉบับที่เธอ เข้าใจไปว่าต้องขายสิ นค้าบุญเช่น แชมพู สบู่ นํ้ายาล้างจาน ข้าว แล้วนําเงินเข้ากองบุญกลางของนักเรี ยนสะเมิงพิทยาคม ซึ่ งเธอว่าจะให้ทาํ แบบขายตรงไม่ชอบ พูดไม่ได้ จึง
165
ไม่ได้นาํ สิ นค้าเข้าไปเผยแพร่ ในโรงเรี ยน แต่ตลอดระยะเวลาเจ็ดเดือนที่ผา่ นมาเธอเป็ นกําลังสําคัญในขบวนบุญ สายอื่นๆ โดยไม่รู้ตวั พี่เลี้ยงนํากลุ่มแม่บา้ นและเยาวชนทําฮอร์ โมนพืช จากขนุนที่บา้ นสนามกีฬาและพาทีมงานจัดค่ายเท่าทันสื่ อ ให้กบั เด็กๆ ในบ้านแม่แดดในเขต ๒ พาน้องๆ มาเรี ยนรู ้การ อยูก่ บั ป่ าและใช้แรงงานขุดแนวกันไฟ อาบนํ้าให้ป่าในสวน นาฟานอุทยานทิพย์ในเขต ๓ พาน้องๆ ในชุมนุมเข้าค่าย รากเหง้าวัฒนธรรมปกาเกอะญอที่บา้ นสบลาน และล่าสุ ด วันเดย์ทริ ปปลูกป่ า ณ ห้วยบง วัดผาส้มในเขต ๑ และยังไม่ รวมกิจกรรมจิปาถะอื่นๆ ที่เธอพร้อมจะเดินทางมาเมื่อยก หูโทรศัพท์ กิจกรรมบุญเหล่านี้พอจะบอกอะไรได้ อย่างน้อย การที่เด็กสาวคนหนึ่งเจียดเวลาส่ วนตัวสําหรับงานส่ วนรวม เกือบทุกเสาร์ อาทิตย์เธอไม่รอช้าที่จะนําน้องๆ และเพื่อน สมาชิกในชุมนุมมาร่ วมขบวนบุญในเขตงานอื่นๆ ที่ตอ้ งการ สรรพกําลังวัยใสแน่นอนเธอและเพื่อนๆ ก็ซึมซับทั้ง คุณธรรมการเสี ยสละ ทักษะการทํางานที่ทีมงานออร์ กา ไนซ์ยงั ต้องยอม งานโรงเรี ยน งานชุมนุม งานบุญของวัด งานเวทีสัญจรขบวนบุญและงานในหน้าที่ลูกที่ดีไม่เคย บกพร่ อง ทุกเช้ากลางวันและช่วงเย็นปี้ จะช่วยน้าขายอาหาร ที่โรงเรี ยน เธอจึงช่วยแม่ลดรายจ่ายค่าอาหาร ตกเย็นซ้อน รถเครื่ องแม่ขบั เก็บเศษอาหารตามร้านค้าให้หมู เป็ น กิจกรรมที่ป้ ี ยอมรับว่าได้ใช้เวลาอยูก่ บั แม่ คุยแลกเปลี่ยน
166
เห็นอีกมุมของแม่เลี้ยงเดี่ยว “หมูเชื่อมสัมพันธ์แม่-ลูก” เป็ นผลพลอยได้ที่ยงิ่ ใหญ่ หลังจากพ่อ พี่สาวและน้อง ออกจากบ้านไปทํางานและศึกษาต่อในเมือง เธอจึงต้องทํางานหนักเพื่อลดรายจ่ายครอบครัว เวลาที่เพื่อนๆ ออก เล่นเป็ นเวลาที่เธอเล่นสนุกกับการตักขี้หมูขายเช่นกัน การปั้ นEM Ball การผลิตนํ้ายาอเนกประสงค์ในบ้านจึง เป็ นผลิตภัณฑ์หารายได้เสริ มให้เธอในขณะที่เพื่อนๆ ขอเงินจากพ่อแม่ ตลอดหกปี ที่ทาํ งานร่ วมกับทางวัด ศิษย์ ก้นกุฏิอย่างน้องปี้ เติบโตทางความคิด ก้าวหน้าทางปั ญญา ปี้ ยอมรับว่าตนเองต้องเข้มแข็งมากขึ้น พึ่งพาตนเองได้ และเป็ นที่พ่ ึงให้คนอื่น อย่างน้อยก็ในสายตาของน้องในชุ มนุม “คืนชีวติ ให้แผ่นดิน” “รู ้สึกดีใจที่นอ้ งจําเราได้ เราจําเขาไม่ได้หรอกในค่ายคนมันเยอะ แต่เขาไม่ได้จาํ แต่หน้าทีมงานเท่านั้น เขาจํากิจกรรมค่ายที่เราไปจัดให้ เขา จึงมาร่ วมกับเรา เขาเองก็อยากจัดค่ายให้นอ้ งๆ ในโรงเรี ยนเก่าที่เขาจากมา เพื่อที่จะได้คนรุ่ นใหม่เป็ นกําลังต่อจากเรา” อนาคตบัณฑิตนิ เทศศาสตร์ มสธ.คนนี้หมดกังวลเรื่ องกล้าไม้ที่ได้ เพาะไว้เมื่อหกปี ก่อน ถึงวันนี้ กล้าพันธุ์ในโรงเรี ยนเติบใหญ่จนแตก กิ่งก้านสาขาและกําลังให้ร่มเงาในใจ เธอเองก็เป็ นอีกกิ่งหนึ่งที่กาํ ลังเติบโต แตกใบในสังคมโลกกว้าง ต่อจากนี้ที่เธอจะก้าวสู่ ชีวติ จริ ง การทํางานจริ ง และการเรี ยนนอกรั้วมหาวิทยาลัยรอคอยเธออยูข่ า้ งหน้า เมื่อผลิตภัณฑ์ บุญบุกเมือง ดูเหมือนว่ากิจกรรมบุญในเทศบาลเมืองสะเมิงนี้จะ ขับเคลื่อนยากเพราะนอกจากเมืองจะเป็ นศูนย์กลางทางการ ค้าขายแล้ว ผลิตภัณฑ์ที่มีอยูต่ ามท้องตลาดก็มีมากมายให้ เลือกสรร จึงไม่ง่ายที่จะทําการตลาดในเมือง แต่เมื่อทีมงาน ลงพื้นที่ใช้ยทุ ธศาสตร์ “ด้านได้อายอด” เจาะกลุ่มเป้ าหมาย ด้วยวิธีขายตรง เดินเข้าทุกร้าน เล่าให้ฟังถึงแนวคิดและร้าน จะได้อะไร ปรากฏว่ามี ๓ ร้านที่รอคอยโครงการของทาง วัดมานานแล้ว เนื่ องจากความศรัทธาและความเข้าใจในสิ่ งที่วดั พาทํา จึงตอบรับเป็ นแหล่งขายสิ นค้าให้ทนั ที
167
“สบู่เหลวขมิ้น แม่ใช้เองแล้ว หน้าเกลี้ยงเนียน สิ วฝ้ าไม่มี ไม่คนั ตัว รู้สึกว่าไม่แพ้ ใช้ดีกว่าทัว่ ไปทั้งอาบ ทั้งล้างหน้าได้ดว้ ย แม่ใช้เองก่อนไม่ง้ นั บอกต่อแนะนําลูกค้าไม่ได้” แม่นอ้ งร้านอาหารเจ ในเขตเทศบาลสะเมิง ใต้เป็ นหนึ่งในผูร้ ่ วมส่ งต่อขบวนบุญสายนี้ดว้ ยบทบาท “ผูข้ าย” เอาบุญ และ “ผูใ้ ช้” ได้บุญแถมยังบอกบุญต่อให้ เพื่อนบ้านและลูกค้าในร้านได้ใช้ผลิตภัณฑ์บุญ ซึ่ งเหมาะกับคนในสังคมเมืองที่ไม่มีเวลาผลิตของใช้เอง แต่ สามารถช่วยคนบนดอยมีรายได้ มีงานทํา และสบทบทุนช่วยคนต้นนํ้าอนุ รักษ์ป่าไม้ ต้นนํ้า สร้างฝายชะลอนํ้าอีก ต่อหนึ่ง แม่แต๋ วหนึ่งในแม่คา้ ขายสิ นค้าโอทอปอยูห่ น้าที่วา่ การอําเภอสะเมิงที่รับผลิตภัณฑ์บุญไปขาย เป็ นอีก หนึ่งคนที่รอคอยให้ทางวัดส่ งผลิตภัณฑ์มาวางหน้าร้านอย่างเต็มใจ เนื่องจากได้พบและได้พดู คุยกับหลวงพ่อ บ่อยครั้ง หลายครั้งก็ได้มีโอกาสไปร่ วมงานบุญบนวัดจึงซึ มซับสิ่ งวัดกําลังพาคนปลูกป่ า สร้างฝายรักษาต้นนํ้า ซึ่งแม่ก็เห็นว่าดีกว่านําหิ นปูนทรายจํานวนมากหมดไปกับการก่อสร้างวัดวาอารามใหญ่โตเกินพอดี บวกกับแม่ เป็ นแม่คา้ ขายสิ นค้าแปรรู ปทางการเกษตร เช่น สตรอเบอร์ รี่อบแห้ง นํ้าสตรอเบอร์ รี่บรรจุขวด แมคคาเดเมีย อบแห้ง นํ้าผึ้งป่ าและกล้วยตาก ทําให้ผลิตภัณฑ์ชุมชนจึงเข้ากับร้านของแม่แต๋ วได้อย่างดี “เข้ามาเต๊อะ” เป็ นชื่ อร้านอาหารตามสั่งของแม่เล็กซึ่ งอยูห่ น้าโรงพยาบาลสะเมิง เป็ นร้านที่นอ้ งปี้ มาขอ เศษอาหารให้หมูทุกๆ วัน และเป็ นร้านแรกๆ ที่เริ่ มใช้น้ าํ ยาอเนกประสงค์ตรา หายแซบหายสอยล้างจานของสะ เมิง “ใช้ดีค่ะ คราบมันของแกงอ่อมล้างออกได้หมดจดและมันก็ถนอมมือ ใช้น้ าํ ยาทัว่ ไปมันจะกัดมือ ล้าง สะอาด ฟองก็เยอะดี ปริ มาณมากกว่าในราคาที่ประหยัด” แม่เล็กยืนยันพลางล้างจานไปด้วยความสบายใจ ร้าน เข้ามาเต๊อะเน้นขายอาหารเหนือที่มีน้ าํ มันเยอะจึงต้องใช้น้ าํ ยาในปริ มาณที่มาก น้องปี้ จึงทํานํ้ายาล้างจานมา ขอบคุณแทนเศษอาหารหมูทาํ ให้แม่ไม่ตอ้ งซื้อนํ้ายาและไม่ตอ้ งคอยเก็บเศษขยะอาหารสดทุกวัน ร้านอาหารเจแม่เล็ก ร้านขายสิ นค้าโอทอปสะเมิงของแม่แต๋ ว และร้านอาหารตามสั่งของแม่เล็กจะเป็ น หน้าร้านให้กบั สิ นค้าขบวนบุญแล้ว ทั้งสามร้านยังช่วยประชาสัมพันธ์แนวความคิดของการขายผลิตภัณฑ์ที่ขาย ในราคาทุนแต่หากมีกาํ ลังช่วยคนต้นนํ้าได้ก็ช่วยจ่ายในราคาที่พอจ่ายได้และไม่เดือดร้อนจนเกินไป คนปลายนํ้าอย่างคนเมืองก็สามารถช่วยคนต้นนํ้าดูแลธรรมชาติได้ทุกวัน...
168
บทวิเคราะห์ การขับเคลือ่ นโครงการในชุ มชน “โซนชุ มชนเทศบาลสะเมิงใต้ /โรงเรียนสะเมิงพิทยาคม” ในเขตเทศบาลสะเมิงใต้เป็ นเขตชุมชนเมืองแหล่งรวมผูค้ นมากหน้าหลายตา เพราะต่างมาแสวงหา โอกาสในเมือง การงาน การศึกษา ความเจริ ญ ถาวรวัตถุ การบริ โภค สื่ อต่างๆ ความหลากหลายนี้เองจึงทําให้ เกิดปั ญหาในระยะแรกของการดําเนินการคือ มีกลุ่มเป้ าหมายที่จะขับเคลื่อนขบวนบุญไม่ชดั เจนจึง เหมือนโซน ชุมชนอื่นที่มีคนในชุมชนเป็ นเป้ าหมาย และขาดแกนนําขับเคลื่อนในพื้นที่โซนนี้ แต่ขณะเดียวกันด้วยบริ บท เมืองก็เอื้อต่อการขายผลิตภัณฑ์ เพราะคนเมืองส่ วนมากไม่ผลิตสิ นค้าใช้เอง ผลิตกินเอง การขายผลิตภัณฑ์บุญ ทีมงานส่ วนกลางจึงใช้เป็ นเครื่ องมือในการพาคนทําบุญเพื่อกองทุนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โซนนี้จึงมีร้านค้าบุญ ๓ ร้านเข้าร่ วมโครงการ ยอดสั่งรวมกว่าหนึ่งหมื่นบาทและเริ่ มส่ งเงินเข้ากองทุน บุญอีกพันบาทต้นๆ เป็ นเครื่ องยืนยันส่ วนหนึ่งว่าการขับเคลื่อนโครงการด้วยการขายผลิตภัณฑ์บุญกําลังไปได้ดี ในกลุ่มคนเมือง และนอกจากกลุ่มเป้ าหมายยังได้เลือกซื้ อผลิตภัณฑ์แล้ว ยังสามารถเข้าใจแนวคิดของโครงการ จากการบอกเล่าผ่านแม่คา้ และการเปิ ดวีดีทศั น์ของโครงการขบวนบุญและหนึ่งไร่ คุณธรรมในร้านอาหารให้ ลูกค้าชม เป็ นการเปิ ดเกมส์บุกคนเมืองในเชียงใหม่ครั้งแรกของโครงการ หลังจากโซนอมลองในเขตงานที่ ๑ ประสบความสําเร็ จในการบุกตลาดคนเมืองอย่างคนกรุ งเทพฯ มาระยะหนึ่งแล้ว ทีมงานจึงใช้กระแสนี้เรี ยก ความสนใจและตื่นตัวของคนเมืองในอําเภอสะเมิงเพื่อช่วยสนับสนุนคนผลิตสิ นค้าในพื้นที่อาํ เภอเดียวกัน ลด รายจ่ายค่าขนส่ ง สิ นค้าจึงขายได้ในราคาต้นทุน เมื่อคุณภาพที่ดีแต่ราคาถูกกว่ามากในปริ มาณที่เท่ากันผลิตภัณฑ์ ของโรงการขบวนบุญจึงเริ่ มขายดีและเป็ นที่รู้จกั ของคนในอําเภอมากขึ้น สําหรับการขับเคลื่อนโครงการในโรงเรี ยนนั้นน้องปี้ แกนนําผูข้ บั เคลื่อนขบวนบุญเลือกที่จะใช้ วิธีการพาเด็กและเยาวชนรุ่ นน้องในชุมนุม “คืนชีวติ ให้แผ่นดิน” ซึ่ งตั้งเพื่อให้นอ้ งๆ ได้ศึกษาถึงการใช้ชีวติ อยู่ ร่ วมกับธรรมชาติอย่างสมดุล การสร้างภูมิคุม้ กันให้เยาวชนให้เท่าทันเรื่ องสื่ อ สังคม วัฒนธรรม และการศึกษาที่ อยูใ่ นระหว่างการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว รวมทั้งตระหนักถึงหน้าที่ของคนที่เกิดมาเป็ นหนี้แผ่นดิน จึงต้องทํา ดีตอบแทนคุณแผ่นดิน ตามชื่ อชุมนุม
169
น้องปี้ จึงพาน้องๆ เข้าร่ วมค่ายเรี ยนรู ้การอยูป่ ่ า การเดินป่ าทําแนวกันไฟ ทําฝาย ปลูกต้นไม้ และยังร่ วม เป็ นทีมงานช่วยจัดเวทีสัญจรขบวนบุญในโซนต่างๆ ให้ดาํ เนินไปได้ดว้ ยดี นี่คือนิยามการทําบุญที่ป้ ี เองก็ไม่รู้วา่ การที่เธอและน้องๆ สละเวลาว่างส่ วนตัวในวันเสาร์ อาทิตย์ทาํ กิจกรรมเพื่อส่ วนรวมดังกล่าวเป็ นวิธีการ ขับเคลื่อนขบวนบุญอย่างหนึ่ ง ซึ่ งเหมาะสมกับเยาวชนที่จะค่อยๆ ซึ มซับการทําดี การเสี ยสละ การเข้าใจ ธรรมชาติและตัวตนของตนเองผ่านสิ่ งที่ตนทําซึ่ งเป็ นการเรี ยนรู ้นอกห้องสี่ เหลี่ยมที่สอนวิชาทักษะชีวติ ให้พวก เขาผ่านความจริ งของสังคมชนบทไทย ปัจจัยเกือ้ หนุนการขับเคลื่อนขบวนบุญ ๑. เคลื่อนข่ายคนบุญและสถานที่ จะเห็นได้วา่ ร้านค้าที่ร่วมเป็ นหน้าร้านให้กบั สิ นค้าขบวนบุญได้ วางขายและประชาสัมพันธ์ สําหรับสถานที่ต่างๆ เช่น สวนนาฟานอุทยานทิพย์และบ้านแม่เลย ใน โซนสะเมิงเหนื อ บ้านสนามกีฬา ในโซนกะเหรี่ ยงบ่อแก้ว บ้านสบลานในเขตเทศบาลสะเมิงใต้ และศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง ณ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม เป็ นเครื อข่ายของโครงการซึ่ง ยินดีตอ้ นรับและเปิ ดให้เยาวชนเข้ามาเรี ยนรู้กบั พ่อๆ แม่ๆ ในพื้นที่อย่างไม่หวงวิชาเหล่านี้เป็ นปั จจัย เกื้อหนุ นที่ทาํ ให้การขับเคลื่อนคุณธรรมผ่านกิจกรรมเป็ นไปได้ดว้ ยดี เรี ยนรู้อย่างประหยัดและเรี ยบ ง่ายจากเครื อข่าย ๒. บริ บทชุมชนเมือง แหล่งรวมความหลากหลายของผูค้ น ความเป็ นปั จเจกในแต่ละบุคคลสู ง แต่ ขณะเดียวกันอําเภอสะเมิงยังถือว่าเป็ นสังคมเมืองขนาดย่อมทําให้การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร เป็ นไปด้วยความรวดเร็ ว จึงเป็ นปัจจัยเกื้อหนุนในการกระจายข่าวเรื่ องผลิตภัณฑ์บุญเป็ นไปด้วย ความรวดเร็ วแบบปากต่อปากเช่นกัน รวมทั้งการขับเคลื่อนขบวนบุญผ่านกิจกรรมการซื้ อขาย ผลิตภัณฑ์เหมาะสมกับพฤติกรรมการบริ โภคของคนเมืองกลุ่มที่ไม่ผลิตเอง กล้าลองสิ นค้าใหม่และ ใส่ ใจสุ ขภาพมากขึ้นทําให้แนวคิดเรื่ องบุญถูกถ่ายทอดผ่านทางสิ นค้าได้ง่ายกว่าวิธีอื่นๆ
170
บทสรุ ปการทํางานเขตที่ ๕ ชุ มชนบ้ านห้ วยหญ้าไทร ต.สะเมิงใต้ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
บ้ านห้ วยหญ้าไทร: คนเล็กๆกับภารกิจอันยิง่ ใหญ่ เสี ยงครกกระเดื่องที่คอยตําข้าวเปลือกให้หลุดออก ก่อนใช้กระด้งกลมใหญ่ฟัดเปลือกข้าวที่เบากว่าปลิวลงพื้น ตามใต้ถุนบ้านไม้แบบปกาเกอะญอ (กะเหรี่ ยง) ไก่จิกจมูกข้าว กินอย่างอิ่มท้อง และไว้หุงข้าวสารขึ้นหม้อให้คน เสี ยงครก กระเดื่องและบรรยากาศยามเช้าอันเนิ่บช้าแบบนี้ไม่มีอีกแล้วในบ้านห้วยหญ้าไทร แม้จะเป็ นหมู่บา้ นปกา เกอะญอลึกลับท่ามกลางหุ บเขาสลับซับซ้อน ไม่มีโรงเรี ยน ไม่มีอนามัย ห่างจากตัวอําเภอสะเมิง จังหวัด เชียงใหม่ไม่ถึงยีส่ ิ บกิโล ก็ไม่เป็ นอุปสรรคนักหากจะเดินทาง ข้องแวะ เกี่ยวข้องกันทั้งไปศึกษา ไปทํางานหรื อ จับจ่ายใช้สอย เมื่อไฟฟ้ าเข้ามาเกือบยีส่ ิ บก่อน ทีวี ตูเ้ ย็น และเครื่ องสี ขา้ ว สามอย่างนี้จึงเป็ นเครื่ องอํานวยความ สะดวกหลักของชาวบ้านที่น้ ี ไปโดยปริ ยาย แม้วา่ วิถีชีวติ ตามแบบอย่างชาวปกาเกอะญอดั้งเดิมจะเปลี่ยนไปแต่เมื่อขึ้นชื่ อว่าเป็ นบ้านเกิดเมืองนอน มี ข้าวมีน้ าํ ให้กินให้ใช้จนเติบใหญ่แล้วใครบ้างจะไม่อยากอยูบ่ า้ น ไม่รักบ้านเกิด “มันร้อน และต้องใช้เงินเยอะ อยูบ่ า้ นเราสบายกว่า ปลูกผัก เข้าไร่ เข้านา เข้าป่ ามีให้กิน ไม่ตอ้ งใช้เงิน มาก” แม่อาํ ไพร ประชุมสิ ทธิ์ ชาวบ้านธรรมดาๆ พวงตําแหน่งผูน้ าํ กลุ่มแม่บา้ นห้วยหญ้าไทรบ่นอุบหลังจาก ทีมงานถามถึงความคิดที่จะไปอยูใ่ นเมือง “ไม่ได้อยากเป็ นผูน้ าํ แต่เพราะไม่มีใครทํา แม่วา่ แม่เสี ยสละได้ ก็ทาํ ได้นาํ ความรู ้อ่านออกเขียนภาษาไทยได้ เวลาทางการมีหนังสื อก็มา ประกาศแจ้งข่าวให้เพื่อนบ้านเข้าใจ พอทําไปนานเข้ามีเรื่ องอะไร ชาวบ้านก็มาหาเรา ทางการก็มาหาเราให้เป็ นตําแหน่งมากมาย ไป ประชุมเป็ นตัวแทนชาวบ้าน ก็กลายมาเป็ นคนกลางเกือบทุกเรื่ อง แม่ก็ ยินดีทาํ ไปช่วยเหลือคนอื่น” คําตอบซื่ อๆ จากคนจบมัธยมหกอย่างแม่อาํ
171
ไพรเริ่ มเผยคุณสมบัติคนบุญ (คือ คิดอยากช่วยคนอื่นก็ช่วยเลย ไม่ได้หวังผลตอบแทน) เป็ นต้นทุนเดิมตั้งแต่ยงั ไม่เริ่ มโครงการ ชีวติ บนดอยอันรีบเร่ งกับการศึกษากระแสหลัก ทุกเช้าแม่อาํ ไพรจะตื่นขึ้นมาเปิ ดหน้าร้านที่ทาํ จาก สังกะสี แผ่นบาง แล้วใช้ไม้ค้ าํ สองข้าง ร้านค้าเล็กๆ ภายใน บริ เวณรั้วบ้านก็ถูกเปิ ดเป็ นทางการภายในเวลาไม่กี่นาที จากนั้นแม่จะไปก่อฟื นจุดเตาตั้งหม้อต้มไข่ไก่เกือบยีส่ ิ บ ฟองไว้รอรับลูกค้า บ้างทอดลูกชิ้น ทอดมัน ไส้กรอกที่ซ้ื อ มาจากในอําเภอสําหรับเป็ นกับข้าวแสนง่ายเพื่อให้ทนั ต่อ ชีวติ อันรี บเร่ งท่ามกลางบรรยากาศป่ าครึ้ ม หมอกจางกับ นํ้าค้างยอดหญ้า ความเงียบของหมู่บา้ นที่ลอ้ มรอบด้วยหุ บ เขาทัว่ ทุกทิศ ซึ่ งดูจะขัดแย้งกับวิถีอนั เร่ งรี บของหมู่บา้ นปกาเกอะญอ เพราะเมื่อเข็มนาฬิกายังไม่ทนั เดินถึงเลข แปดหมู่บา้ นทั้งหมู่บา้ นก็เงียบลงอย่างเห็นได้ชดั ลูกหลานออกนัง่ รถไปโรงเรี ยนแต่โมงเช้า พ่อบ้านแม่บา้ นพา กันสะพายกระบุงใบใหญ่ จับมีดและพกห่อข้าวเที่ยงใส่ ยา่ ม ใส่ รองเท้าบูท สวมหมวกแล้วเดินเข้าไร่ เข้านากัน หมด เหลือทิง้ ไว้เพียงคนเฒ่าคนแก่กบั ทารกน้อยในบ้าน ความเงียบเรี ยบร้อยก็กลับคืนสู่ บา้ นห้วยหญ้าไทรอีก ครั้ง ไม่ต่างอะไรกับวิถีชีวติ อันเร่ งรี บตามตัวเมืองใหญ่ที่เดินทางสู่ เมืองไปหางาน ทํางาน หาเงิน รถจึงอัดแน่น เต็มท้องถนนในช่วงเช้า พอสายบ่ายคล่อยถนนก็โล่งอีกครั้ง ช่วงเย็นคํ่ารถลาและผูค้ นก็แห่กนั ออกจากตึกอาคาร ที่ทาํ งานมุ่งหน้าตรงกลับบ้าน “ส่ วนใหญ่แม่ก็จะอยูท่ ี่บา้ น แต่วนั นี้เพิ่งกลับ จากไปล้อมรั้วที่นา หน้าฝนนํ้าพัดพังหมด ก็เลยต้อง ชวนพ่อซึ่ งไปรับจ้างก่อสร้างในตัวอําเภอกลับมาช่วย ส่ วนร้านค้าก็ให้ยายดูบา้ ง ถ้ายายไปไร่ ไปนาก็ปิดร้าน ไว้แล้วตอนกลับจากไร่ นาแม่ก็จะไปเปิ ดขายใหม่” ขณะแม่เล่าถึงภารกิจประจําวัน กล้วยไข่ลูกสาววัยสิ บ
172
สามปี ก็หยิบซองบะหมี่ก่ ึงสําเร็ จรู ปขยําไปมาจนแหลกแล้วค่อยๆเทนํ้าร้อนไปพลางใส่ ถุงเท้าไป ยังไม่ทนั เจ็ด โมงเสี ยงรถรับส่ งนักเรี ยนก็บีบแตรเรี ยก กล้วยไข่รีบคว้ากระเป๋ าวิง่ ขึ้นรถ “วันนี้ไปแข่งทักษะภาษาอังกฤษ ปกติรถมาเจ็ดโมงกว่าโรงเรี ยนก็อยูถ่ ดั ไปอีกหมู่บา้ นไม่ไกลเท่าไร ปกติก็กินข้าวกับไข่ทอด ไข่ตม้ ลูกชิ้น นํ้าพริ กบ้างอย่างเดียวกับที่ทอดขายในร้าน กินข้าวทันบ้าง ไม่ทนั บ้าง เพราะรถมารับเช้าต้องไปอีกหลายหมู่บา้ น” ด้วยความรู ้เพียงมัธยมหกที่โรงเรี ยนประจําอําเภออย่างสะเมิงพิทยาคม จนไปต่อเทคโนโลยีเชียงใหม่ได้ เพียงเทอมเดียวก็ตอ้ งลาออกมา เพราะขัดสนทางทุนทรัพย์ จึงต้องออกทํางานรับจ้างในเมืองบ้าง ทํางานหน่วย จัดการต้นนํ้าใกล้หมู่บา้ นบ้าง จนสุ ดท้ายแต่งงานมีลูกจึงยึดอาชีพทําไร่ ทาํ นาเป็ นหลักและขายของชําเสริ มรายได้ แม่อาํ ไพรก็อยากให้ลูกเรี ยนจบสู งๆ อย่างคนทัว่ ไป อาจจะไม่ผดิ จากความจริ งนักที่การศึกษามอบโอกาสให้กบั ใครอีกหลายคน ยกระดับคุณภาพชีวติ ให้ดีข้ ึน จากหน้าที่การงาน จากหน้าตาทางสังคมและแน่นอนจากรายได้ที่ เป็ นตัวเงินไว้ใช้สอยในชีวิตอย่างไม่ลาํ บากเหมือนที่ผา่ นมา แต่อีกมุมของคนความรู ้แค่มอหก กับท่าทางถ่อมตน ของแม่อาํ ไพรกลับไม่ได้คิดอย่างนั้น “พอลูกแม่ท้ งั สองจบมอสามจะให้ไปต่อที่วดั ผาส้มฯ เพราะแม่ไม่มีเงินส่ ง แต่สิ่งสําคัญกว่าคืออยากเห็น ลูกพึ่งพาตนเองได้เผือ่ ในอนาคตเรี ยนจบมาไม่มีงานทําก็มีกิน ควบคู่กบั การมีคุณธรรมในใจเขา อย่างน้อยแม่ก็มี ความเชื่อว่าสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนน่าจะมาจากครู อาจารย์ที่มีคุณธรรม สิ่ งแวดล้อมเช่นวัดน่าจะช่วยให้ ธรรมะอยูใ่ นใจเขาได้ง่ายกว่าโรงเรี ยนทัว่ ไปที่สอนให้เราคิดเหมือนกัน” แม่อาํ ไพรไม่นอ้ ยเนื้ อตํ่าใจกลับภูมิใจ หากลูกสาวคนโตและลูกชายของเธอจะกลับมาอยูบ่ า้ นเป็ นเกษตรกรที่พ่ งึ พาตนเองได้และช่วยกันดูแลรักษาผืน ป่ าของหมู่บา้ นต่อไป
กิจกรรมบุญ ณ บ้ านห้ วยหญ้ าไทร นอกจากบทบาทแม่บา้ นลูกสองแล้ว แม่อาํ ไพร หญิง สาวชาวปกาเกอะญอวัยสามสิ บต้นๆ ยังเป็ นหนึ่งในผูร้ ่ วม ขบวนบุญของวัดพระบรมธาตุดอนผาส้ม และบทบาทแม่คา้
173
ขายของชํา ประธานกลุ่มแม่บา้ น คณะกรรมการโรงเรี ยน กรรมการกองทุนหมู่บา้ น อาสาสาธารณสุ ขหมู่บา้ น และอีกหลายบทบาททั้งงานราษฎร์ งานหลวง งานส่ วนตัว หากแม่ปลีกตัวไปได้ก็ขออาสาทําทันทีโดยไม่เคย เรี ยกค่าตอบแทน ทําแล้วสบายใจ เราเข้าใจองค์กรต่างๆ อันไหนดีรับไว้ อยากเห็นคนบ้านเราได้อยูด่ ีมีสุขก็ช่วย ทํา ชักชวนพาทํา ด้วยใจที่เริ่ มจากความเสี ยสละนี้เอง ชาวบ้านจึงไว้ใจ เคารพในการเป็ นผูน้ าํ จึงพร้อมจะทําตามที่แม่ ชักชวน วันนี้ก็เช่นกันที่ทีมงานเลือกเวทีสัญจรเพื่อติดตามผลการดําเนินโครงการ รวมทั้งรับฟังปัญหาเพื่อร่ วม หาทางแก้ไข แม่อาํ ไพรชักชวนเพื่อนจัดเตรี ยมอาคารสถานที่ ถางหญ้า ปูเสื่ อที่ซ่ ึ งชาวห้วยหญ้าไทรเลือกใช้วดั เป็ นสถานที่กลางต้อนรับแขกอย่างทีมงานของพวกเรา กลุ่มแม่บา้ นตื่นแต่เช้าเพื่อนําพืชผักมาออมรวมกัน สําหรับประกอบอาหารตลอดสองวัน บ้างก็อาสาเป็ นแม่ครัว และผูร้ ่ วมกิจกรรมอย่างอุ่นหนาฝาคัง่ เราจึงเล็งเห็น ถึงความจริ งใจในการที่จะร่ วมมือขับเคลื่อนขบวนบุญน้อยๆ นี้ให้เติบโตตามเพื่อนๆ ในเครื อข่าย เมล็ดพันธุ์นอ้ ยที่กาํ ลังผลิใบอ่อนคู่แรกแห่งชีวิต กําลังดูดซับอาหารจากดินเพื่อฝังรากแก้วให้ยาวใหญ่ คงเปรี ยบได้กบั การเจริ ญเติบโตของเหล่าผูร้ ่ วมขบวนที่บา้ นห้วยหญ้าไทรนี้ได้ เมื่อขบวนเวทีสัญจรมาเยือน แม่จึงรวบรวมกลุ่มแม่บา้ นวัยทํางานร่ วมยีส่ ิ บกว่าชีวติ จากสี่ สิบหลังคา เรื อนของห้วยหญ้าไทร ตอกยํ้าถึงความกระตือรื อร้นในการทํากิจกรรมและไม่ปล่อยโอกาสในการเรี ยนรู ้เขารู้เรา หลุดลอยไป ครั้งนี้ได้เรี ยนรู ้วิธีการทํานํ้ายาอเนกประสงค์ แชมพูและสบู่เหลวสมุนไพรที่มีวตั ถุดิบท้องถิ่นหาง่าย อย่างมะเฟื อง บอระเพ็ดและขิงมาเป็ นส่ วนผสม รวมทั้งแนวคิดการขายสิ นค้าด้วยราคาต้นทุน เมื่อจบการอบรม แม่จึงรวมกลุ่มแม่บา้ นนํากลับไปผลิตเองเป็ นนํ้ายาถังแรกของหมู่บา้ น จากทุนตั้งต้นแรกจากเงินที่แม่อาํ ไพรที่ ได้รับงบประมาณอุดหนุนด้านอาหาร ด้านอาคารสถานที่ แม่จึงนํางบตรงนั้นเป็ นจุดตั้งต้น กองทุนบุญแรกของ บ้านห้วยหญ้าไทรจึงเกิดขึ้น
174
“โน้น นํ้ายาอเนกประสงค์จากมะเฟื อง แชมพูจากขิง แม่แจกให้ท้ งั คนหมู่บา้ น ให้เพื่อนบ้านญาติแม่หมู่บา้ นอื่น แจกหน่วยป่ าไม้ แจก หน่วยต้นนํ้า แจกครู แบ่งเขาไปทัว่ ยังไม่หมดลังซักที” แม่อาํ ไพรชี้ ให้ดูพลางบอกเล่าถึงประสบการณ์การแจกและแบ่งปั นนํ้ายาถังแรก ที่ถูกบรรจุใส่ ขวดแก้ว ขวดพลาสติก หุ ม้ พลาสติกบนปากขวดรัดด้วย หนังยางแน่นอีกชั้นแทนฝาที่หายไป วางเรี ยงรายในกล่องลังกระดาษ ใต้ถุนร้านค้าสังกะสี เล็กๆ ของแม่ ทุกวันนี้แม่เล่าอย่างไม่เสี ยดายกําไรแต่กลับภูมิใจที่ไม่ตอ้ ง ซื้ อนํ้ายาล้างจาน ล้างห้องนํ้าและแชมพู ขวดละสิ บบาทยีส่ ิ บบาทจาก ในเมืองมาขายในร้านค้าของตนแล้ว เพราะไม่มีใครซื้ อ หลังจากที่ ชาวบ้านพากันใช้น้ าํ ยาที่ผลิตกันเองได้ปริ มาณที่มากกว่า และช่วย ขจัดคราบได้เหมือนกัน หากหมดแม่ยงั มีบริ การเติมให้จากขวดใบ เดิมที่เพื่อนบ้านนํามาซื้ อ รายได้จึงหมุนเวียนเข้ากองทุนบุญของบ้าน ห้วยหญ้าไทรไม่สิ้นสุ ด ภารกิจขายนํ้ายาเป็ นเพียงส่ วนงานเล็กๆ ที่ช่วยให้ชาวบ้าน อยูร่ อดเริ่ มลดรายจ่าย พึ่งพาตนเองจากการผลิตและใช้เอง จึงนําไปสู่ ภารกิจเล็กๆ ที่ยงิ่ ใหญ่ควบคู่ถดั มาของแม่คือการพาชวนบ้านปลูก กล้วย ปลูกไผ่ ปลูกฝ้ าย และสร้างฝายต้นนํ้า
175
ภารกิจยิง่ ใหญ่ ของคนตัวเล็กเริ่มขึน้ แล้ ว เขาให้ปลูกก็ปลูกของฟรี ไอเดียนี้ไม่ เคยมีอยูใ่ นหัวคนใจสู ้อย่างอําไพร “ปลูกไป เถอะ เรากินของจากป่ า หาของป่ ามามากแล้ว ตั้งแต่บรรพบุรุษ เดี๋ยวนี้หายากขึ้น ไปปลูกเอง ในสวนตนเสี ยบ้าง ทุกวันพากันไปหาจนหมด ไม่ปลูกทดแทนวันหน้าจะเอาอะไรกิน” นี้ แหละคมความคิดที่แม่อธิ บายอย่าง ตรงไปตรงมาตามประสาคนอยูป่ ่ าตัวจริ ง “ปลูกให้เรากิน ก็ปลูกให้ป่าด้วย ไม่ ต้องคิดอะไรมาก” เหตุผลสั้นๆ ที่แม่ใช้จูงใจให้เพื่อนบ้านหันมาปลูกไม่ได้ให้ประโยชน์เฉพาะตนเอง ครอบครัว แต่ยงั คืนประโยชน์กลับสู่ ผนื ไม้แหล่งเกื้อกูลชีวติ แต่เกิดจนตายให้ขา้ ว ให้น้ าํ ให้อากาศบริ สุทธิ์ ให้ไม้ทาํ ที่อยู่ อาศัย ก็ควรให้อะไรคืนบ้าง ภารกิจดูแลผืนป่ ารอบหมู่บา้ นหลายพันไร่ ของอําเภอสะเมิงจึงเริ่ มต้นขึ้นจากความคิดธรรมดาๆ แต่มอง การณ์ไกลของแม่ที่อยากป้ อนอาหารให้ลูกหลานแม้ตวั จะไม่อยูแ่ ล้ว บ่อยครั้งที่คาํ ปรามาสเหมารวมจากคนเมือง ที่วา่ “คนบนดอยชอบทําไร่ หมุนเวียน ถางป่ าทําไร่ เผาป่ า หาของป่ าจนหมด ไม่ดูแลธรรมชาติ” เป็ นความจริ ง สวนทางกับภารกิจเล็กๆของคนตัวเล็กๆ สําหรับชาวบ้านไม่กี่สิบคนที่ร่วมตัวกันปลูกพืชอาหารทดแทน ในไร่ ที่ ปล่อยร้างของตน เมื่อมีอาหารในไร่ จึงไม่จาํ เป็ นต้องเข้าป่ า บริ เวณป่ าต้นนํ้าก็เป็ นป่ าต้องห้ามของชาวบ้านไม่มี ใครไปยุง่ และสําหรับคนอยูป่ ่ าอาศัยป่ าเป็ นแหล่งอาหารแล้วย่อมไม่เข้าไปทําลายป่ าซึ่ งเปรี ยบเสมือนแหล่ง อาหารแหล่งให้ชีวติ
176
ขบวนบุญสายนีช้ ่ วยเหลือข้ ามหมู่บ้านในเครือข่ าย การปลูกพืชอาหารโตเร็ ว ใช้ประโยชน์ได้ทุกส่ วนอย่างกล้วยและไผ่เป็ นหนึ่งในโครงการของวัดที่จะ ช่วยเสริ มการใช้พ้ืนดินที่มีจาํ กัดให้เกิดประโยชน์มากที่สุด โดยเฉพาะในพื้นที่ไร่ หมุนเวียนร้างที่ชาวบ้านกําลัง ปล่อยให้ดินพักฟื้ นตัว และยังเป็ นแหล่งเสริ มรายได้ของชาวบ้านด้วยการขายผลิตผลให้เครื อข่ายบุญเช่น กล้วยสู่ บ้านอมลอง อําเภอแม่สาบ ไผ่สู่ตลาดสดเทศบาลสะเมิงใต้ อําเภอเมือง ลําไม้ไผ่ยงั นําไปสร้างพื้นบ้าน ฝาบ้าน เพิงหมาแหงนหรื อกระทัง่ สานเป็ นกระบุง กระจาด กระด้ง กระบวย และกระบอกนํ้าพกพาใช้กนั เองในหมู่บา้ น ซึ่ งจะเป็ นโครงการต่อเนื่องหลังจากที่พืชผลเติบโตจนสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ สิ หาพอ : บวชป่ า บวชใจ เกือบสองปี แล้วที่ป่าทิศตะวันตกของหมู่บา้ นผืนนี้ที่กินอาณาเขตกว่า ร้อยไร่ กลับคืนสภาพความอุดมสมบูรณ์ลบภาพไร่ หมุนเวียนที่โล่งเตียนด้วย ตอไม้ส้ นั และการเปิ ดหน้าดินใหม่ ด้วยแรงศรัทธาจะรักษาป่ าผืนท้ายๆ ของ หมู่บา้ นซึ่งเป็ นแหล่งต้นนํ้าหล่อเลี้ยงชีวติ คนในหมู่บา้ น ทําให้ชาวบ้านกล้า สละผืนดินทํากินให้ท้งั บวชป่ า และบวชใจผูใ้ ห้ “ตอนแรกไม่มีใครยอมแต่พอคนหนึ่งให้ก็ให้ตามๆ กัน” สิ หาพอ กล่าวถึงเหตุการณ์ในวันนั้น วันบวชป่ าที่ เขาเฝ้ าเตรี ยมงานด้วยตัวคนเดียวนานกว่า หนึ่งเดือน ปรากฏว่าผูค้ นเรี ยกได้วา่ มายก ทั้งหมู่บา้ น ผูใ้ หญ่ กํานัน อบต. พระสงฆ์ ที่มาทําพิธีบวชป่ า ผืนป่ ากว้างกลับแคบลงถนัดตา สิ หาพอเป็ นอีกคนหนึ่งที่กลับมาปลูกกล้วยเป็ นสวนๆ หลังจากปลุก ไฟในใจตนเองติดหลังจากเข้าร่ วมอบรมต้นกล้าคุณธรรมกับทางวัดผาส้ม เมื่อปี ๕๒ จากนั้นในหัวของสิ หาพอก็มีแต่คาํ ว่าป่ า ต้นนํ้า และข้าวที่ให้ชีวติ เขาและเพื่อนบ้าน วันนี้ เป็ นอีกวันที่เขาพาไปดูตน้ นํ้าที่จะทําฝายหลังจากป่ า ชุ่มดินชํ่าเริ่ มกลับคืนมา
177
ใครจะไปคิดถึงเมื่อหาดทรายขาวขนาดย่อมจะมาตั้งอยูบ่ นภูเขาสู งนี้ได้ “ตรงนี้ที่จะทําฝายชะลอนํ้า ช่วยผ่อนนํ้าให้ลงหมู่บา้ นและนํ้าเหมืองเข้านาช้าลง ส่ วนถัดไปใกล้คือ ฝาย เดิมเมื่อปี สี่ สองของรัฐบาล สร้างใหญ่โตและสู งมาก เสี ยปูนและเหล็กไปนักขนาด” สิ หาพอพาเดินป่ าตามลําห้วยอย่างชํ่าชองชี้ ตําแหน่งฝายที่ยงั ไม่เกิด และที่เกิดแล้วขึ้นจริ งแล้วเมื่อ สิ บกว่าปี ก่อน ฝายนี้เองได้พดั พาตะกอนทรายมา รวมกันเป็ นคันรถและอาจเรี ยกได้วา่ สร้างเพื่อทําลาย ธรรมชาติเดิมมากว่า เพราะนอกจากจะพัดตะกอนทราย มารวมกันมหาศาลแล้วยังเปลี่ยนเส้นทางนํ้าธรรมชาติ ให้ไหลเบี่ยงแตกออกเป็ นหลายเส้น สองฝั่งของลําห้วย เดิมจึงถูกกัดเซาะเพราะแรงนํ้าขนาดใหญ่ที่ถูกกันไว้ ด้วยความสู งของฝายบวกกับปริ มาณนํ้าหลากในหน้าฝนนํ้า จึงไหลเชี่ยวกรากหนัก เซาะลําห้วยเล็กเดิมให้กว้างและลึกไปด้วยแอ่งทราย ปกาเกอะญอหนุ่มวัย๒๘ เป็ นกําลังสําคัญของ หมู่บา้ นนี้ เพราะจากประสบการณ์หา้ ปี รับจ้างขับรถสิ บล้อ ส่ งนํ้าผึ้งในเมืองคงบอกอะไรเขาไม่นอ้ ยว่าเขาคงขับรถไป ตลอดชีวิตไม่ได้ แต่เลือกที่จะอยูก่ บั ภรรยาและลูกชายวัย กําลังซนได้ และใช้เวลาที่เหลืออยูด่ ูแลรักษาป่ าและนํ้าที่ หล่อเลี้ยงต้นข้าวของเขาให้เติบโต ชีวติ นี้ยงั ต้องการอะไรอีก...
เชกวา เชซู เชกอ เสื้อปกาเกอะญอความหมายแห่ งชีวติ เชกวา (เสื้ อสี ขาว) สําหรับเด็กสาวสวมใส่ เชซู (เสื้ อสี ดาํ ) สําหรับแม่บา้ นแต่งงานแล้ว เชกอ (เสื้ อสี แดง) สําหรับผูช้ ายทั้งเด็กเล็กและผูใ้ หญ่ ทําไมต้องขาว ดํา และแดง เด็กหนุ่มสาวปกาเกอะญอหรื อแม้กระทัง่ โตเป็ นผู ้
178
หลักผูใ้ หญ่แล้วน้อยคนนักจะรู ้จกั ที่มาที่ไปของสัญลักษณ์ผา่ นสี สันของเสื้ อผ้าฝ้ ายทอมืออย่าง “เช” (ภาษาปกา เกอะญอแปลว่าเสื้ อ) ซึ่งเป็ นอุบายของบรรพชนปกาเกอะญอเพื่อสอนลูกหลาน เชกวาหรื อเสื้ อสี ขาวตัวยาวกลอมตาตุ่มสัญลักษณ์แห่งความบริ สุทธิ์ ของเด็กหญิง ขาวสะอาดทั้งร่ างกาย และจิตใจของเด็กเป็ นสัญลักษณ์แทนลูกหลานปกาเกอะญอที่จะเติบใหญ่รับช่วงต่อของวัฒนธรรมประเพณี อนั ดี งามจากพ่อแม่ผใู ้ ห้กาํ เนิด เชซูหรื อเสื้ อสี ดาํ ตัวสั้นสําหรับนุ่งกับผ้าถุงสี แดง สี ดาํ ของเสื้ อเสมือนสี ของแม่พระ ธรณี คอยอุม้ ชูชีวติ ให้ขา้ ว ให้น้ าํ ให้อากาศบริ สุทธิ์ ให้โอสถและที่พกั พิงเสมือนมารดาคอยดูแลบุตรไม่ห่างกาย เชกอหรื อเสื้ อสี แดง สี เลือดแสดงความกล้าหาญที่จะปกป้ องแผ่นดินและชนเผ่าปกาเกอะญอผูร้ ักสันติภาพ มีวถิ ี ชีวติ เรี ยบง่ายสงบและอ่อนน้อมถ่อมตนกับธรรมชาติผใู ้ ห้ชีวติ สื บมาจนบัดนี้จึงต้องรู ้จกั ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เผือ่ ลูกหลานตนในวันข้างหน้า ตํานานเสื้ อจบแล้วแต่ชีวิตของชาวบ้านห้วยหญ้าไทรยังดําเนินต่อไป ทุกวันนี้กลุ่มแม่บา้ นทอผ้าที่เกิด จากการรวมตัวกันเองราวยีส่ ิ บชีวติ ดูจะเป็ นกลุ่มที่เหนียวแน่นสุ ดในบรรดากลุ่มอื่นๆที่ทางการจัดตั้งขึ้นมา เป็ น ที่มาของกลุ่มคนขบวนบุญ โครงการขบวนบุญของวัดจึงเป็ นเพียงผูพ้ ดั เชื้ อถ่านคลุกกรุ นให้ไฟลุกโชติช่วงอีก ครั้ง ความพร้อมของกลุ่มคนในท้องถิ่นบวกกับผูน้ าํ ที่เสี ยสละอย่างแม่อาํ ไพรทําให้บรรดาผ้าทอกลับมามี ความหมายในแง่เศรษฐกิจอีกครั้งและแน่นอนลึกๆ ก็มีความหวังว่าในแง่ของการสานต่อภูมิปัญญาการทอผ้าที่ พวงมากับตํานานความหมายของเสื้ อปกาเกอะญอ ตํานานจึงไม่ใช่แค่เรื่ องเล่าหากแต่หมายรวมรายได้ที่จะช่วย จุนเจือครอบครัวและการให้ค่าความสําคัญของชีวิตที่เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของธรรมชาติจึงต้องเคารพและใช้อย่าง ระมัดระวัง จึงเป็ นที่มาของโครงการส่ งเสริ มการปลูกฝ้ ายของวัด แน่นอนในแง่ของต้นทุนและระยะเวลาการผลิตตั้งแต่ปลูกฝ้ าย ต้มฝ้ าย ดึงเส้น กรอเป็ นด้าย ทอมือด้วยกี่ เอว ย้อมและตัดเย็บจนเป็ นผ้าสักผืน เสื้ อสักตัวอาจสู้เสื้ อยืดจากโรงงานไม่ได้ แต่ในแง่ของการพึ่งพาตนเองเทียบ กันชนิดไม่เห็นฝุ่ น เพราะนอกจากจะไม่ตอ้ งซื้อจากภายนอก ยังสามารถผลิตเสื้ อราคาประหยัด คุณภาพดี จําหน่ายให้เพื่อนในเครื อข่ายบุญได้อีก
179
นอกจากนั้นหากมองในระยะยาวภูมิปัญญาการทอผ้าของชาวปกาเกอะญอยังถูกสานต่อจากคนรุ่ นหลัง เพราะสามารถมีอาชีพมีรายได้ในหมู่บา้ น ไม่ตอ้ งรอนเร่ พเนจรหางาน หาเงินนอกหมู่บา้ น และอาจหอบหนี้สิน มาพักกายให้ครอบครัวลําบากใจต่อเป็ นทอด เหนื อสิ่ งอื่นใดคุณค่าของการทอผ้าหาใช่แค่เรื่ องเงินแต่หมายรวมการเคารพธรรมชาติที่มีบุญคุณ ผืนดิน เลี้ยงฝ้ ายเติบโต เลี้ยงข้าวในนา ซับนํ้าให้ดื่มแก้กระหาย ให้ความร่ มเย็นสู่ กายใจ และการส่ งมอบความหมายของ สี เสื้ อตามภูมิปัญญาบรรพบุรุษที่แฝงความหมายในการอนุ รักษ์ทรัพยากรสู่ ลูกหลานในวันข้างหน้า อนาคตผ้ าทอมือปกาเกอะญอบ้ านห้ วยหญ้ าไทร เป็ นที่เล่าขานกันว่าหากหญิงสาวปกาเกอะญอคนใด จะแต่งงานออกเรื อนหากยังทอผ้าไม่เป็ นก็ไม่สามารถทําได้ คงเป็ นกุศโลบายยอดเยีย่ มในการฝึ กฝนเด็กหญิงสักคนที่ พร้อมจะเติบใหญ่เป็ นแม่ศรี เรื อนในวันข้างหน้า เพราะ สมัยก่อนนั้นต้องทอทั้งเสื้ อ ซิ่น ที่นอน หมอน มุง้ ผ้าห่ม ผ้า คลุมไหล่ ซึ่ งต้องอาศัยความเพียรและความอดทนมาก หาก ไม่มีพร้อมแล้วก็คงไม่มีความอดทนในการดูแลบ้านเรื อน สามีและลูกน้อยได้ เมื่อกระแสการแลกเปลี่ยนด้วย เงินตราเข้ามา การจะให้เด็กสาวรุ่ นมานัง่ ทอผ้าเป็ นสิ่ งที่พบได้ยากแล้ว ผ้าทอกี่เอวแบบฉบับของชาวปกาเกอะญอเป็ นเอกลักษณ์อนั สะดุดตาที่สุดหากใครได้มาเยือนหมู่บา้ น ห้วยหญ้าไทรที่ยงั สามารถเห็นภาพกลุ่มแม่บา้ นเหล่านี้ใส่ เชซูสีดาํ นุ่งซิ่นสี แดง บ้างโพกหัวด้วยผ้าขนหนูรวบเส้น ผมยาวเรี ยบร้อย สําหรับชุ ดเชกวายาวสี ขาวของเด็กหญิงและเชกอสี แดงสําหรับผูช้ ายจะพบแต่เฉพาะช่วงงาน พิธีกรรมสําคัญ ไม่ได้สวมใส่ ทุกวันเหมือนกลุ่มแม่บา้ น กลุ่มแม่บา้ นกลุ่มนี้จึงเปรี ยบเสมือนกลุ่มคนท้ายๆ ที่ ยังคงสื บทอดประเพณี การทอผ้าอยู่ “ส่ วนมากทอเก็บไว้ใช้เอง เป็ นอย่างนี้ต้งั แต่รุ่นพ่อแม่ปู่ย่าของแม่แล้ว แม่และยายไม่เคยปลูกฝ้ ายและปั่ น ฝ้ ายใช้เอง แม่ทาํ ไม่เป็ น แต่พอได้ไปดูงานที่ศูนย์การเรี ยนรู้วฒั นธรรมทอผ้ากะเหรี่ ยงอําเภอดอยเต่าที่ทางวัดพา ไปก็คิดว่าน่าจะทําได้ ต้องรอให้ตน้ ฝ้ ายที่ปลูกไปโตก่อน” แม่อาํ ไพรระเบิดเสี ยงหัวเราะให้กบั มุขส่ งท้ายทําให้ ทีมงานอดใจรอดูผา้ ทอธรรมชาติท้ งั ผืนไม่ไหวแม้จะนานแต่ทุกคนก็รู้วา่ ผ้าทอทุกผืนมีความหมาย
180
เราจึงต้องปรับตัวในยุคเราก็ไม่ได้ปฏิเสธเงินตราแต่ไม่ได้นาํ เงินวัดค่าความสุ ขของชี วิตแต่เพื่อให้พอ ดํารงชีพอยูไ่ ด้โดยไม่ลาํ บาก การทอผ้าส่ งขายและผลิตเส้นฝ้ ายจากการลองผิดลองถูกจึงกําลังเริ่ มก่อตัวขึ้นแล้ว ผ้าฝ้ ายผืนนี้เองจากบ้านห้วยหญ้าไทรจะส่ งต่อให้บา้ น อมลองเพื่อย้อมและตัดเย็บ รวมถึงการทําตลาดในเครื อข่ายซึ่ ง จะเป็ นสิ นค้าบุญตัวใหม่ ซึ่ งเป็ นการพึ่งพาตนเองในเครื อข่ายบุญ อย่างแท้จริ ง เพราะจะช่วยเสริ มกิจกรรมการแลกเปลี่ยนซื้ อขาย สิ นค้าบุญหลักของโครงการขบวนบุญคือ พืชผักผลไม้ ปุ๋ ย อินทรี ยช์ ีวภาพและบรรดาแชมพู สบู่ นํ้ายาอเนกประสงค์ เสื้ อผ้าเครื่ องนุ่งห่มจึงเป็ นหนึ่ งในปั จจัยสี่ ที่ทุกคนต้องใช้ เพื่อน ในเครื อข่ายจึงไม่ตอ้ งสั่งซื้อเสื้ อผ้าจากข้างนอกเหมือนแต่ก่อน ทั้งยังช่วยรื้ อฟื้ นภูมิปัญญาความสามารถในการ ทอผ้า ตัดเย็บ การย้อมสี ธรรมชาติกลับขึ้นมามีชีวติ ชีวาอีกครั้ง นอกจากนั้นนักเรี ยนโฮมสคูลของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มยังสามารถนําวิชาความรู ้ที่ได้ไปรํ่าเรี ยนฝึ ก วิชาเป็ นเวลาหลายอาทิตย์กบั ชาวบ้านปกาเกอะญอจังหวัดลําพูน ที่ยงั คงย้อมผ้าจากใบฮ่อม(สี น้ าํ เงินเข้ม) จากสี เปลือกไม้ก่อ (สี แดง) จากลูกมะเกลือ(สี เขียวหม่น) หรื อขมิ้นชัน (สี เหลืองสดใส) เหล่านี้มาทดลอง และเผยแพร่ ต่อกับกลุ่มแม่บา้ นอมลองซึ่ งเป็ นเครื อข่ายบุญอยูต่ ิดกับวัด สามารถย้อม ตัดเย็บและจัดจําหน่ายในราคาต้นทุนแต่ กําไรของเราคือ การช่วยเหลือให้เพื่อนมีเสื้ อผ้าราคาประหยัดคุณภาพดีใช้ และคืนกําไรคืนสู่ ป่าเพราะทุกกรรม วิถีการผลิตเป็ นมิตรกับธรรมชาติ
บ้ านและวัดห้ วยหญ้ าไทรในวันนี้ ห้วยหญ้าไทรในวันนี้อาจไม่สามารถมาถึงจุดนี้ได้หากขาด กําลังสําคัญอย่างพระอีสานหนุ่มซึ่ งจําวัตรห้วยหญ้าไทรเป็ นเวลา เกือบสิ บปี
181
ตุบ๊ ตุบ๊ ตุบ๊ เสี ยงตอกไม้สร้างกุฏิใหม่ขนาดสี่ คูณสี่ เมตร ดังมาแต่ไกล ภาพพระหนุ่มนุ่งสบงเหลืองมัด เอวเป็ นโจนกระเบน มือข้างหนึ่งถือค้อนทะมัดทะแม่ง ข้างหนึ่งกําลังใช้ดินสอบรรจงทําเครื่ องหมาย เตรี ยมตอก แผ่นไม้เข้ากับคาน ยังไม่ทนั ที่ทีมงานจะเอ่ยถาม หลวงพ่อบรรจงพระเพียงรู ปเดียวประจําวัดห้วยหญ้าไทรก็เริ่ ม บรรยายถึงกุฏิไม้หลังนี้จนเสร็ จสรรพว่าใช้สาํ หรับรับรองแขกทั้งพระทั้งโยม โดยใช้ไม้เก่าจากกุฏิเดิมเสี ยดายที่ ทรุ ดโทรมไปมากหลังจากปลวกมหาศาลบุก คราวนี้จึงทานํ้ามันเคลือบนํ้ายาไม่ให้ปลวกมากิน ช่วงพักท่านจึงให้ เวลาพูดคุยกับทีมงานเต็มที่ “ถามว่ามาอยูท่ าํ ไม ห้วยหญ้าไทรมันมีอะไร ความสงบ ความเงียบ ความเขียวขจรมันถูกจริ ตอาตมา พอ อยูไ่ ปอยูม่ าก็นาํ ความรู ้ทางโลกที่เคยศึกษาพวกกายภาพบําบัด นวดแผนไทย กดจุด การหักจัดกระดูก ตลอดการ กินอาหาร การดูแลรักษาสุ ขภาพประจําวันอย่างง่ายช่วยชาวบ้าน ก็พาชาวบ้านทํา หมักปุ๋ ยฮอร์ โมนฉี ดพ่นพืช หมักยาไว้ดื่มรักษาโรคจากเปลือกมังคุด สัปปะรด ลิ้นจี่ ลําไย ขิง ข่า ขมิ้น ลูกยอ มะขามป้ อม นํ้าผึ้งมะนาว ข้าว หมักก็พากันหมัก ไม่หมักเอง อาตมาก็แบ่งให้ วินิจฉัยโรคไป ก็หาพืชผักป่ ามาหมักรักษาชาวบ้าน อยูก่ บั เขา เดินบิณฑบาต ข้าวเขากินก็ตอ้ งช่วยเหลือแบ่งปั นความรู ้ที่มีช่วยเขากลับคืน” บุคลิกกันเอง เปิ ดเผย ตรงไปตรงมานี่ เองจึงไม่แปลกที่ ชาวบ้านจะแวะเวียนมาหาขอสู ตรนํ้าหมัก มารักษาโรคต่างๆ ที่อนามัย โรงพยาบาลอําเภอก็รักษาไม่หายขาด พระบรรจง จึงเป็ นทั้งศูนย์รวมจิตใจรักษาโรคใจและหมอรักษาโรคกาย ควบคู่กนั ถึงแม้หว้ ยหญ้าไทรจะไม่มีอนามัยเป็ นของตน แต่มีพระหมอชั้นครู ที่สอนการดูแลสุ ขภาพตนเองง่ายๆ เริ่ มต้นที่บา้ น จะว่าชักชวนให้ทุกคนมาเป็ นหมอรักษาตนเองคงไม่ผดิ แผกไปจากความจริ งนัก เพราะยารักษา โรคนอนรอให้ไปเก็บในป่ าหมดแล้ว ส่ วนการนวด จัดกระดูกให้เข้ารู ปเข้ารอยคงต้องอาศัยหลักความชํานาญ จากพระบรรจงช่วยรักษาในช่วงต้นและขอเรี ยนรู ้เพื่อไปทําเองที่บา้ น พระบรรจงเน้นยํ้าเสมอว่าการกินทุกวันๆ ของเรานั้นสําคัญที่สุด เพราะกินอะไรผลก็เกิดเช่นนั้น กินอะไร กินมากน้อย กินช่วงไหน กินถูกธาตุตวั เองไหม ดูจะเป็ นศิลปะการกินที่ทุกคนต้องรู ้และเลือกกินเพื่อสุ ขภาพที่ดีในวันข้างหน้า
182
พระบรรจงยังรู ้จกั และทํางานร่ วมกับวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มมาหลายปี ได้เห็นวัดพาชาวบ้านทํา เศรษฐกิจพอเพียง ปลูกป่ า สร้างฝาย กวนนํ้ายาเอนกประสงค์ ทําปุ๋ ยหมักก็เห็นว่าดีแล้วสําหรับวัดห้วยหญ้าไทร ยินดีตอ้ นรับเครื อข่ายวัดเสมอ การช่วยชาวบ้านให้ความเป็ นอยูด่ ีข้ ึนได้ การจะบอกกล่าวสอดแทรกเรื่ องธรรมะ ในชีวติ ก็จะเป็ นเรื่ องง่ายตาม “ในเมื่อเขาท้องอิ่ม นอนหลับสบาย ตื่นก็สบาย เพราะพึ่งตนเองได้แล้ว เขาก็คงอยากกลับมาฟื้ นฟูบา้ น ฟื้ นฟูชุมชนและวัดซึ่ งเปรี ยบเสมือนตัวเชื่อมประสานก็จะทําหน้าที่ฟ้ื นฟูจิตใจได้เต็มที่ เพราะเมื่อสบายแล้วสุ ข แล้ว ก็ให้เตรี ยมใจไว้เลยว่าเดี๋ยวความไม่สบายกาย ไม่สบายใจหรื อความทุกข์ก็จะมาเยือนอีกไม่ชา้ ก็เร็ ว” พระ บรรจงสรุ ปความเข้าใจสิ่ งที่โครงการกําลังดําเนินอยูค่ ือ ความอิ่มกาย (มีรายได้เกื้อหนุ นครอบครัวและตนเอง) ความอิ่มใจ (มีธรรมะรักษาใจ วางใจได้กบั ความไม่แน่นอนของชีวิต) แม่อาํ ไพรเสริ มเรื่ องเล่าถึงปุ๋ ยหมักที่พระบรรจงสอนให้ทาํ “ปุ๋ ยหมักจากกล้วย ไข่ไก่ เปลือกมะม่วง ขี้ววั และกากนํ้าตาลโดยไปขอสู ตรจากหลวงพ่อ ทําไว้นานหลายเดือนแล้วก็จะเอาไว้ผสมนํ้าพ่นใบผักแล้วรดโคน ต้นไม้ยนื ต้นช่วยเร่ งให้โตไว หลวงพ่อบรรจงสอนการเกษตรและการดูแลสุ ขภาพทุกๆ วันพระ เทศนาธรรมะไป ด้วยแต่ไม่ค่อยมีคนสนใจ คนอื่นไม่ทาํ ไม่เป็ นไรเราทําเอง ก่อนพอได้ผลเดี๋ยวคนอื่นก็พากันทําตาม” ด้วยหัวใจผูน้ าํ เสี ยสละและกล้าลองในสิ่ งที่ แตกต่างของแม่อาํ ไพร ซึ่ งเปรี ยบเสมือนแกนนําขบวนบุญ ของบ้านห้วยหญ้าไทรที่พร้อมจะขับเคลื่อนศรัทธาแห่งบุญ นี้ต่อไป “แม่วา่ บางครั้งแม่ก็โดดเดี่ยวนะเพราะบางทีก็ทาํ คนเดียว พาคนในบ้านทําด้วย หรื อทํากับกลุ่มไม่กี่คน แต่พอได้ยนิ ว่าก็มีคนแบบเราตามหมู่บา้ นอื่นๆ ในเครื อข่าย เห็นความสําเร็ จจากการพึ่งตนเองได้ เริ่ มต้นการคน นํ้ายาใช้เองนี่แหละ แม่มีกาํ ลังใจในการจะแบ่งปั นต่อไปนะ” กําลังใจจากเพื่อนกัลยาณมิตรเป็ นสิ่ งสําคัญมากสําหรับคนตัวเล็กแต่ทาํ สิ่ งยิง่ ใหญ่อย่างแม่อาํ ไพร เครื อข่ายบุญหรื อขบวนบุญนี้เองที่จะพาคนบุญอีกหลายคนจากต่างพื้นที่มารู ้จกั แลกเปลี่ยนองค์ความรู ้ เสริ มแรง
183
ใจกันเพื่อให้สายธารแห่งบุญเส้นเล็กนี้ไหลต่อไปไม่สิ้นสุ ดท่ามกลางแม่น้ าํ สายใหญ่แห่งตัณหาของมนุษย์ที่มีไม่ สิ้ นสุ ดเฉกเช่นเดียวกัน
บทวิเคราะห์ การขับเคลือ่ นโครงการในชุ มชน “โซนกะเหรี่ยงป่ าคานอก/ห้ วยหญ้ าไทร” แม้ภายนอกชุมชนปกาเกอะญอเล็กๆ อย่างบ้านห้วยหญ้าไทรจะดูเหมือนว่ากระแสสังคมอย่างไฟฟ้ า เทคโนโลยีทดแทนแรงงานคน การศึกษาภาคบังคับ และสื่ อกระแสหลักจะเข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวติ อันเรี ยบ ง่ายไปบ้าง จากอยูก่ บั ท้องไร่ ทอ้ งนาสู่ สังคมการผลิตเพื่อการพาณิ ชย์อย่างเต็มตัว แต่ดว้ ยที่ต้งั ของหมู่บา้ นในเชิง ภูมิศาสตร์ อยูบ่ นภูเขาสู งชัน เส้นทางเข้าเป็ นถนนลูกรังสลับพื้นปูนเป็ นช่วงๆ ทําให้ยากลําบากแก่การสัญจรไป มาโดยเฉพาะหน้าฝน ทําให้บา้ นห้วยหญ้าไทรและบ้านป่ าคานอกซึ่ งเป็ นชุมชนกะเหรี่ ยงเล็กๆไม่เกินหมู่บา้ น หมู่บา้ นละสี่ สิบหลังคาเรื อน จึงอยูอ่ าศัยแบบพึ่งพิงธรรมชาติอยูม่ าก แต่กระนั้นในโซนนี้ยงั มีปัญหาและ อุปสรรค ดังต่อไปนี้ ขาดความเข้าใจเรื่ องโครงการขบวนบุญเพราะเพิ่งเริ่ มปี แรก ปี นี้เป็ นปี แรกที่เข้าไปในบ้านห้วยหญ้าไทร แต่พอทางทีมงานส่ วนกลางลงพื้นที่ประสานงานเองบ่อยครั้งขึ้น ประกอบกับจัดเวทีสัญจรติดตามผลในหมู่บา้ น ชาวบ้านให้การต้อนรับอย่างบ้านดีและได้แลกเปลี่ยนพูดคุยกันโดยให้ชาวบ้านมีส่วนรวมในการมองปั ญหาของ หมู่บา้ นโดยเฉพาะเรื่ องเศรษฐกิจเป็ นปั ญหาสําคัญแต่ยงั ถือว่าอยูใ่ นระดับความรุ นแรงไม่มาก กล่าวคือ ชาว ชุมชนมีรายจ่ายจากการซื้ อสิ นค้าเพื่อการอุปโภคบริ โภคมากกว่ารายได้ซ่ ึ งมาจากการรับจ้างและสิ นค้าการเกษตร เชิงเดี่ยวคือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่ งมีราคารับซื้ อไม่แน่นอน บางรายขาดทุนจึงต้องกูเ้ งินธกส.หรื อเงินกองทุน หมู่บา้ นมา ครั้งเวทีสัญจรขบวนบุญลงพื้นที่เพื่อคืนข้อมูลที่ผปู ้ ระสานงานได้ไปสํารวจมาเรื่ องภาวะหนี้สิน รายได้ โดยเฉพาะรายจ่ายมักมาจากการซื้ อสิ นค้าจากภายนอกทําให้กลุ่มชาวบ้านต้องการจะลดรายจ่ายทันทีจากการทํา นํ้ายาล้างจาน แชมพู สบู่สมุนไพรที่หาได้ง่ายในหมู่บา้ นก่อน จากนั้นจึงมีแม่อาํ ไพรซึ่ งเป็ นประธานกลุ่มนําไป แจกจ่าย จนทุกวันนี้สามารถนําไปขายภายในหมู่บา้ นได้เพราะมีราคาประหยัด คุณภาพดี ในปริ มาณที่มากกว่า สิ นค้าตลาดทัว่ ไป
184
สําหรับบ้านป่ าคานอกมีปัญหาคือ ขาดแกนนําฝังตัวเพื่อเก็บข้อมูลพฤติกรรมผูบ้ ริ โภค บริ บทชุมชนและ ขับเคลื่อนโครงการ โดยเฉพาะบ้านป่ าคานอกซึ่ งเคยมีแกนนําฝังตัว แต่ขอถอนตัวเนื่องจากแกนนําคิดว่า ประสานงานไม่ดีพอและขาดทักษะในการบริ หารจัดการโครงการและการปั ญหา ทําให้การขับเคลื่อนงานล่าช้า ชาวบ้านจึงยังไม่ให้ความสนใจในโครงการเท่าที่ควร อย่างไรก็ตามบ้านป่ าคานอกถือเป็ นแหล่งผลิตข้าวโปะโละหรื อข้าวปกาเกอะญออินทรี ยท์ ี่สาํ คัญเป็ น หนึ่งในสิ นค้าขบวนบุญที่ได้รับการตอบรับที่ดีจากคนพื้นราบ ทุกปี ผลผลิตข้าวของป่ าคานอกมีจาํ นวนมากหลาย ตัน ทําให้เมื่อสองปี มาแล้วโครงการสหกรณ์ได้ถือกําเนิดขึ้นโดยการนําข้าวมาออมทุกวันพระและขายให้กบั ทาง วัดพระบรมธาตุดอยผาส้มนําไปแปรรู ปและทําการตลาดบุญ ช่วยให้ชาวบ้านป่ าคานอกมีรายได้จากการขายข้าว ที่ผลิตจนเหลือกินทั้งเป็ นตัวบอกเล่าเรื่ องราวของคนบนดอยผ่านบรรจุภณั ฑ์ให้คนพื้นราบได้รับรู ้วา่ คุณค่าของ ข้าว นํ้า ป่ าสําคัญต่อชีวิต ซึ่ งโครงการนี้กาํ ลังดําเนินต่อไปได้เนื่องจากทั้งชาวบ้านและผูป้ ระสานงานกลางมี ประสบการณ์การทํางานจากหลายปี ที่ผา่ นมา แม้วา่ ทั้งสองหมู่บา้ นจะขับเคลื่อนขบวนได้ชา้ ในช่วงแรกเริ่ มโครงการ แต่ก็หยัง่ รากแก้วอ่อน ผลิใบ อ่อนรออยูแ่ ล้วหมายถึงผูน้ าํ กลุ่มหรื อคนเล็กๆ แต่มีใจอยากจะทําเพื่อประโยชน์ของตนคือพัฒนาตนเองให้มี รายได้เพิ่มขึ้น ลดรายจ่ายในครอบครัวก่อนเป็ นเป้ าหมายอันดับแรก ต่อมาจึงแบ่งปั นความรู ้ ทักษะในการผลิต สิ นค้า หรื อในรู ปของสิ นค้า เช่น นํ้ายาล้างจาน แชมพู สบู่สมุนไพร การทอผ้า ปุ๋ ยหมักขี้หมูและขี้ววั ซึ่ งจะเห็น ได้วา่ ทั้งทรัพยากรธรรมชาติและองค์ความรู ้ภูมิปัญญาของชาวปกาเกอะญอที่ยงั หลงเหลืออยูม่ ากเป็ นต้นทุนทํา ให้ขบวนบุญสายที่ ๕ กะเหรี่ ยงป่ าคา ห้วยหญ้าไทรขับเคลื่อนต่อไป
ปัจจัยเกือ้ หนุนการขับเคลื่อนขบวนบุญ หมู่บา้ นปกาเกอะญอทั้งสองแห่งมีระบบการพึ่งพาตนเองเป็ นทุนเดิม คือ วิถีชีวิตที่อาศัยกับป่ าต้นนํ้า ที่ เอื้อประโยชน์ในแง่อาหารสําหรับปากท้อง รายได้และความร่ มเย็นสดชื่นของอากาศ และความเป็ นชุมชนที่ยงั มี ระบบเครื อญาติที่ใกล้ชิด ทุกๆ บ้านจึงมีความเกี่ยวข้องอย่างพี่นอ้ งญาติมิตรไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ทางวัดเพียงเป็ น หน่วยจุดประกายความคิดและสนับสนุนเครื่ องมือผ่านการพาทํากิจกรรมบุญต่างๆ ให้ขบั เคลื่อนไปข้างหน้า
185
อย่างเต็มที่และอย่างมีกาํ ลังใจเกินร้อย จากบทเรี ยนการทํางานพบว่าบ้านปกาเกอะญอมีปัจจุยเอื้อให้ขบวนบุญ เกิดขึ้น ดังนี้ ๑. ผูน้ าํ ที่กล้าเสี ยสละเพื่อส่ วนรวมเพราะมีความเชื่ อในการทําคุณความดีและผลของการกระทํา ๒. กลุ่มคนเล็กๆที่มีใจแน่วแน่ที่จะทําเพื่อส่ วนรวม (กลุ่มแม่บา้ นทอผ้า) คือ กลุ่มเดียวที่ทาํ นํ้ายา ปลูก ไผ่ ปลูกกล้วย นอกจากนั้นยังมีสิหาพอที่พาชาวชุมชนบวชป่ าและสร้างฝายทันทีหลังทีมงานกลาง ออกจากพื้นที่ไป ๓. บทบาทของพระบรรจง พระนักพัฒนาในชุมชนช่วยส่ งเสริ มระบบการรักษาสุ ขภาพตนเองด้วยวิถี ธรรมชาติบาํ บัด และทอดแทรกสอนธรรมะทุกๆ วันศีล ๔. ทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้ออํานวย คือ มีที่ทาํ กิน ป่ าไม้อุดมสมบูรณ์ และมีน้ าํ ปลูกข้าวในนา ให้ ผลผลิตข้าวที่มากจนเหลือกิน จึงขายให้กบั เพื่อนในเครื อข่ายในราคาประหยัดสร้างรายได้และได้ ช่วยเพื่อนที่ทุกข์ยาก
ด้ วยปัจจัยเกือ้ หนุนดังกล่ าวจึงเชื่ อมั่นว่าแม้ ไม่ มีโครงการกลุ่มคนเหล่านีจ้ ะขับเคลือ่ นขบวนบุญด้ วยตัว เขาเอง ...
186
โซนที ๑ วัดผาส้ม กิจกรรมบุญทีเกิดขึนตามการวางแผนและนอกจากแผนเพือการขับเคลือนขบวนบุญ มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ “โซนที ๑ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ ม/หมู่บ้านอมลอง” ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. อบรมแกนนําเครื อข่ายในฐานสุ ขภาพในโครงการขบวนบุญ (บ้านอมลอง) สอนขูดพิษกัวซา นวดแผนไทย กดจุด พอก โคลนดูดพิษ ดีทอ็ กซ์ลา้ งลําไส้ ทํานําเขียวคลอโรฟิ ลล์ดืมทุก วัน งาบบุญใหญ่วนั วิสาขบูชา พิธีฉลองสมโภชพระมณฑป จัตุรมุข ศาลา พระพุทธนิ มิต และผูกพันธสี มา บรรพชา อุปสมบทครังประวัติศาสตร์ โครงการกระเทียมปลดหนีคนมีบุญ/ถ่ายทอดความรู ้ให้เพือน เรื องเทคนิคการปลูกกระเทียมให้ประสบผลสําเร็ จ กิจกรรมวันแม่ ตอน “รักแม่ให้โลกรู ้” สานสัมพันธ์ระหว่าง คนในครอบครัวชุมชน และกิจกรรมจิตอาสาสร้างถนนเข้า ฝายถาวร/ปลูกป่ า/ทําบ้านดิน (โรงอโรคยา) และอบรม เศรษฐกิจพอเพียงฉบับคนกรุ ง เปิ ดศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงให้บุคคลทัวไปเข้าศึกษา ดูงานและมาเป็ นแรงงานจิตอาสาพัฒนาศูนย์การเรี ยนรู ้ (ตัด หญ้า/ซ่อมแซมฝาย/ซ่อมแซมอาคารสถานที) ชาวบ้านอมลองออมมูลสัตว์เพือทําปุ๋ ยหมักทุกวันพระ (สหกรณ์ปุ๋ยหมักเพือสวัสดิการชุมชน) ผลิตสิ นค้าขบวนบุญ (ข้าว/นํายา/ปุ๋ ยหมัก/กล้วยทอด/นํา
187
ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. หมัก) ด้วยโมเดลธุรกิจแบบ “นําบุญเป็ นตัวตัง” ส่ งไปให้ทวั ประเทศ เกิดกองทุนเพือดูแลรักษาผืนป่ า คัดแยกขยะชุมชนเพือลดปริ มาณก่อนกําจัด/เปิ ดโรงทานไข่ ไก่สด/เปิ ดบ้านรับลูกจากกรุ งฝึ กใช้ชีวติ แบบพอเพียง
188
โซนที ๒ บ่อแก้ว กิจกรรมบุญทีเกิดขึนตามการวางแผนและนอกจากแผนเพือการขับเคลือนขบวนบุญ มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ “โซนที ๒ โซนกะเหรียงบ่ อแก้ว (บ้ านสนามกีฬา/ป่ าเกียะนอก/แม่ ยางห้ า/เด่ นฮ่ อม/กัลยาณิวฒ ั นา)” ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. อบรมแกนนําเครื อข่ายบ้านสนามกีฬาในเครื อข่ายขบวนบุญ ในฐานปุ๋ ยหมัก ฮอร์โมนพืชจากหน่อกล้วย ปัสสาวะและ ขนุน ทําจุลินทรี ยด์ ินระเบิด (EM Ball) ร่ วมแลกเปลียน ปัญหา อุปสรรค และวิธีแก้ไข สุ มน แกนนําฝังตัวในพืนทีซื อพันธุ์ปลาปล่อยบ่อปลาชุมชน ให้เป็ นแหล่งโปรตีนของส่ วนรวม สุ มนพาชาวบ้านปลูกแฝกรอบบ่อปลาชุมชน/ ปลูกไม้ผล ไม้ ยืนต้นในพืนทีไร่ หมุนเวียนร้าง/สร้างศาลาอเนกประสงค์ริม บ่อปลาชุมชน วิทย์ แกนนําฝังตัวในพืนทีพาชาวบ้านป่ าเกียะสร้างฝายต้น นํา/ชะลอนํา วิทย์ ชาวบ้านป่ าเกียะตังกลุ่มทอผ้าในหมู่บา้ น/ช่วยฟื นฟูสวน เกษตรผสมผสานทีบ้านแม่เลย แม่พอวา ประธานกลุ่มทอผ้าบ้านป่ าเกียะพากลุ่ม ทอผ้าฝ้ าย ทอมือตามแบบฉบับปกาเกอะญอส่ งวัดผาส้มเพือนําเข้าเป็ น สิ นค้าขบวนบุญและขายนํายาเอนกประสงค์จนเกิดกองบุญ กลางเข้ากลุ่ม ลุงพรชัยบ้านป่ าเกียะพาคณะผูม้ าเยียมศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาดูงานสวนสตรอเบอร์ รีอินทรี ย ์
189
ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ลุงโยซูบา้ นแม่ยางห้าพาชาวบ้านสร้างโรงเรื อนเพาะกล้าไม้ และเก็บเมล็ดพันธุ์พืชเพือการอนุรักษ์พนั ธุ์พืชผัก ผลไม้ และ จะขยายเป็ นศูนย์เพาะพันธุ์กล้าไม้ในอนาคต แม่แก้ว จิตอาสาบ้านเด่นฮ่อมพาเด็กเก็บขยะรอบหมู่บา้ นวัน แม่แลกขนม ของเล่นพร้อมปลูกจิตสํานึกการทิงขยะให้ถูกที และสํานึกรักษ์ป่าไม้ในชุมชน เจ้าอาวาสวัดแม่แดดน้อยพาชาวบ้านเก็บมะขามป้ อมแลกอิฐ บล็อคของวัดผาส้มเพือนํากลับมาสร้างกําแพงวัดแม่แดด ชาวบ้านแม่แดดน้อยร่ วมกลุ่มหยุดงานสร้างกําแพงวัดทุกวัน พระวันศีล แม่บวั พอ จิตอาสาบ้านแม่แดดน้อย อ.กัลยาณิ วฒั นาขายนํายา เอนกประสงค์ให้เพือนบ้านได้ซือของดีราคาประหยัดจนเกิด กองบุญกลางเล็กๆ ทังยังสอนเพือนบ้านทํานํายาไปทําเองได้ ทีบ้านได้
190
โซนที ๓ สะเมิงเหนือ กิจกรรมบุญทีเกิดขึนตามการวางแผนและนอกจากแผนเพือการขับเคลือนขบวนบุญ มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ “โซนที ๓ โซนสะเมิงเหนือ (บ้ านแม่ ปะ/บ้ านนาฟาน/บ้ านแม่ เลย)” ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. บ้านแม่ปะ แหล่งเก็บเกียวผลผลิตในสวนเกษตรพอเพียง ผัก พืนบ้าน ผักปลอดสารพิษส่ งขายและทําบุญและใช้เป็ น ฐาน การเรี ยนรู ้ป่า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่างของชุมชน สวนนาฟานอุทยานทิพย์เปิ ดเป็ นแหล่งการเรี ยนรู้ปฏิบตั ิการ เศรษฐกิจพอเพียง (ฐานคนรักษ์ป่า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่าง ปลูกป่ า ทําแนวกันไฟ/ฐานคนรักษ์นาํ ทําฝายชะลอนํา/ ฐานคนพออยูพ่ อกิน เกษตรผสมผสาน/ฐานคนเลียงสัตว์ นํา มูลสุ กรทําแก๊สชีวภาพ) เปิ ดสวนนาฟานอุทยานทิพย์ให้นกั ศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยี โปลีเทคนิคล้านนา/มูลนิธิ/หน่วยงานรัฐ ร่ วมสร้างฝายชะลอ นํา/ปลูกป่ าถวายในหลวง โดยมีนายอําเภอสะเมิงเป็ น ประธานในพิธี แหล่งเรี ยนรู ้เคลือนที ณ สวนนาฟานอุทยานทิพย์ เวทีติดตาม ความคืบหน้า รับทราบปั ญหา ประเมินและสรุ ปผลการ ขับเคลือนขบวนบุญ ต่อย ผูป้ ระสานงานในพืนที เปิ ดสวนนาฟานให้ นักเรี ยนใน ชุมนุมคืนชีวติ ให้แผ่นดิน โรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคมเรี ยนรู้การ เอาตัวรอดในป่ าและร่ วมทําแนวกันไฟป่ า
191
ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. สวนนาฟานอุทยานทิพย์เก็บเกียวผลผลิตในสวนเกษตร พอเพียง ผักพืนบ้าน ผักปลอดสารพิษ ไข่เป็ ด ไข่ไก่ ปลา สมุนไพรและความร่ มเย็นตลอดปี อบรมแกนนําเครื อข่ายฐานคนพออยูพ่ อกิน (ผักพืนบ้าน) ให้ เยาวชนสะเมิงพิทยาคม และลูกศิษย์โฮม สคูลวัดพระบรม ธาตุดอยผาส้ม
192
โซนที ๔ เทศบาลสะเมิงใต้ กิจกรรมบุญทีเกิดขึนตามการวางแผนและนอกจากแผนเพือการขับเคลือนขบวนบุญ มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ “โซนที ๔ โซนเทศบาลสะเมิงใต้ (ชุมชนเทศบาลสะเมิงใต้ /โรงเรียนสะเมิงพิทยาคม)” ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เปิ ดตลาดโดยมี ๓ ร้านค้าเป็ นโชว์รูมจัดแสดงสิ นค้าและมี เจ้าของร้านอาหารเป็ นแม่คา้ ขายสิ นค้าบุญให้ และยัง ประชาสัมพันธ์แนวคิด “ขบวนบุญ” โดยตังราคาตามต้นทุน เงินส่ วนเกิน (เงินทําบุญ) จะส่ งเข้ากองบุญหมอกควันไฟป่ า เพือภารกิจดูแลรักษาผืนป่ าอําเภอสะเมิง พร้อมเปิ ดวีซีดี รายการดอกไม้บานสื อสารความดีเพือสื อสารให้ลูกค้าใน ร้านได้เข้าใจง่ายขึน(ก.ค. กย.) น้องปี แกนนําฝังตัวในโรงเรี ยนสะเมิงพิทยาคมพากลุ่มเพือน ช่วยงานวิทยากรอาสา แรงงานอาสา ในทุกๆ ครังทีมี โครงการขบวนบุญสัญจร/งานบุญวัด (หลังเลิกเรี ยน/เสาร์ อาทิตย์และช่วงปิ ดเทอม) ลุงแก้ว แห่งสหกรณ์เทศบาลสะเมิงใต้ นํานําหมักเพือสุ ขภาพ (ลูกยอ/บอระเพ็ด/มะขามป้ อม/ภูคาว) ร่ วมสิ นค้าขบวนบุญ ทังเป็ นแหล่งจัดจําหน่ายสิ นค้าบุญ ปลูกฝังคุณธรรมกับเยาวชนในชุมนุมคืนชีวติ ให้แผ่นดินและ หมู่บา้ นอืนใรเครื อข่ายผ่านกิจกรรมจิตอาสาเพือส่ วนรวม แม่แอร์ (นวรัตน์ เรื อนคํา) หัวหน้ากลุ่มถนนสี ขาว กลุ่มจิต อาสาแห่งเทศบาลสะเมิงใต้ เป็ นศูนย์ธนาคารขยะรี ไซเคิล เพือหวังจะลดปริ มาณขยะเป็ นศูนย์ (Zero Waste) ในเขต เทศบาลโดยได้รับการสนับสนุนจากวัดพระบรมธาตุดอยผา
193
ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ส้ม ด้านองค์ความรู ้ ส่ งไปอบรมการจัดการขยะรี ไซเคิล และ เป็ นทีปรึ กษาในเรื องเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ การนําเศษขยะ อาหาร ผักผลไม้หมักเป็ นนําหมักชีวภาพ/ปุ๋ ยพืชสด/ทํานํายา เอนกประสงค์
194
โซนที ๕ ป่ าคานอก กิจกรรมบุญทีเกิดขึนตามการวางแผนและนอกจากแผนเพือการขับเคลือนขบวนบุญ มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ “โซนที ๕ โซนกะเหรียงป่ าคา (บ้ านป่ าคานอก/บ้ านห้ วยหญ้ าไทร)” ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. แม่ออ้ ย หัวหน้ากลุ่มทอผ้าบ้านป่ าคานอก พาชาวบ้านปลูก ฝ้ ายและรับด้ายฝ้ ายทอเป็ นผ้าผืนส่ งวัดผาส้มเป็ นสิ นค้าขบวน บุญ ทังเพือการอนุรักษ์วฒั นธรรมการทอผ้าปกาเกอะญอ พ่อแก้ว และ มี เยาวชนนําชาวบ้านป่ าคานอกปลูกต้นกล้วย เพือส่ งเป็ นวัตถุดิบป้ อนให้กบั กล้วยสุ กทอดของแม่นงค์ บ้าน อมลองเป็ นหนึงในสิ นค้าขบวนบุญทีได้รับความนิยมมาก มี แกนนําฝังตัวบ้านป่ าคานอก ผลิตและส่ งปุ๋ ยหมักจากมูล สัตว์ทาํ บุญให้กบั ทางสหกรณ์ปุ๋ยหมัก บ้านอมลอง เพือ นําไปใช้ในสวนผักในศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงของวัดพระบรม ธาตุดอยผาส้ม ชาวบ้านป่ าคาส่ งข้าวเปลือกปกาเกอะญอ (ข้าวดอยเม็ดอวบ นุ่มเหนียว หุงขึนหม้อ) เป็ นวัตถุดิบหลักในสิ นค้าขบวนบุญ ให้กบั บ้านอมลองแปรรู ปและจัดจําหน่ายต่อไป แหล่งเรี ยนรู ้เคลือนที ณ วัดห้วยหญ้าไทร เวทีสัญจรติดตาม ความคืบหน้าในโครงการขบวนบุญ รับทราบปัญหา ประเมินและสรุ ปผลการขับเคลือนขบวนบุญ สร้างความ ตืนตัวต่อปัญหาและเสริ มกําลังใจให้พึงตนเองจาก ๔ พอ สาธิตการกวนนํายาอเนกประสงค์ แชมพู สบู่เหลว
195
ระยะเวลาดําเนินกิจกรรม มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕ กิจกรรมบุญ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. แม่อาํ ไพร ประธานกลุ่มทอผ้าบ้านห้วยหญ้าไทร พาชาวบ้าน ปลูกต้นฝ้ าย และรับเส้นด้ายฝ้ ายจากวัดมาทอผ้าเป็ นผืน แล้ว ส่ งกลับวัดผาส้มเพือแปรรู ปเป็ นหนึงในสิ นค้าขบวนบุญ ที ชาวบ้านมีความชํานาญ ทังยังเป็ นการอนุรักษ์วฒั นธรรมการ ทอผ้าแบบปกาเกอะญอ และสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน ลุงแดง และเพือนกลุ่มจิตอาสาสร้างฝายชะลอนํา เพือชะลอ นําเข้านาข้าวเพือมีนาเพี ํ ยงพอกับการเพาะปลูกข้าวและผัก สวนครัว นอกจากนันยังนํามาซึงความชุ่มชืนกับป่ าต้นนํา แม่อาํ ไพร กวนนํายาเอนกประสงค์แจกเพือนบ้านทังในและ นอกหมู่บา้ นให้ไปลองใช้ พอเหลือจึงขายในราคาประหยัด กําไรจะเข้ากองทุนกลุ่มทอผ้าเพือจัดซือ ซ่อมแซมวัสดุ อุปกรณ์ทอผ้าให้กบั เพือนสมาชิก
195