hanapat angchartsaku
2020
Portfolio
陈兴元 | 陳興元
Thanapath Tangchartsakul Department of Interior Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University
Profile
Thanapath Tangchartsakul Thai name: ธนภัทร ตัง้ ชาติสกุล Nickname: Dome Gender: Male
Date of birth: Oct 14th 1997 Nationality: Thai Religion: Buddhism
Contact Mobile: 0867804577 Address: 140/66 Soi Itsaraphap 39 (Wat Dongmunlek), Ban Chang Lor, Bangkok Noi, Bangkok 10700 Email: dome46014@gmail.com Facebook: https://www.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij Instagram: dome_tw
陈兴元 | 陳興元
Education
Work experience
2004-2015 2016-present
Art & design / History / Social & politics / Culture / 20th century aesthetics / Architecture / Fashion / Music
Internship in fashion design career in department of design and pattern making at Kloset Design Co., Ltd (June 2018 - July 2018). - Making garment detail and embroidery for collection Spring/Summer 2019. - Designing garment detail and create an illustration for fabric printing for collection Summer Holiday (Pre-fall) 2019. - Creating, designing and develop in pattern printing, illustration, garment detail, silhuoette and concept for collection Fall/Winter 2019-2020. - Assitant pattern maker - Assitant photographer and dresser for casting model in womenswear and childrenswear.
Design skill
Achievement
Drawing & sketch / Painting / Technical drawing / Model making / Styling / Illustration / Bag pattern / Embroidery
Showcase in PloySaeng Student Showcase in Bangkok Design Week 2019 on 26th January - 6th Febuary 2019 at Grand Postal Office Chareon Krung road. (Architecture - TCDC x Silpakorn Cocreate Space)
Assumption College (Bangkok) Department of Interior Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University
Language Thai (native) English (quite good) Mandarin chinese (a little bit)
Interest
Computer program skill Adobe Photoshop
Adobe Illustrator
Adobe Indesign
Microsoft Office (Words / Powerpoint)
Sketchup / Vray
AutoCad
Adobe Lightroom
Content 004 Interior design academic project No 3
072 Interior design academic project No 9
Interior design for residence (show house)
Interior design for museum
Baan Klang Muang CLASSE Ekamai - Ramintra
012 Interior design academic project No 5
Queen Sirikit Museum of Textile Art and Contemporary Fashion Ratchadamneon Avenue Bangkok
072 Interior design academic project No 9 Interior design for museum
Jarlet' Sweet
Queen Sirikit Museum of Textile Art and Contemporary Fashion
Rachamakha Nai road, Nakornpathom
Ratchadamneon Avenue Bangkok
020 Interior design academic project No 6
086 Interior design academic project No 10
Interior design for boutique / retail
Interior design for museum
Interior design for dessert cafe
Tube Gallery
Siam Paragon Department Store
Queen Sirikit Museum of Textile Art and Contemporary Fashion Ratchadamneon Avenue Bangkok
032 Interior design academic project No 7
110 Sketch design
Interior design for co-working space
122 Etc.
Silpakorn University Sanam Chandra Palace Campus
Fashion design Graphic design & Illustraion
TCDC x Silpakorn Co-create Space
046 Interior design academic project No 8 Interior design for performance space
Mei Lan Fang Grand Theatre
King Power Downtown Complex Bangkok
Architectural / Interior design
Interior design o academic project N Interior design for residence (show house)
Baan Klang Muang CLASSE Ekamai - Ramintra
Interior designer: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij See full album: https://www.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij/media_set?set=a.1464785296892658.1073 741834.100000836046710&type=3&uploaded=53
03
Reference from; Living etc magazine thailand - February/March/May 2017 T R E N D
2 0 1 7
BBB LLL U U U RRR RRR III N N NG G G TTT
HHH
EEE
LLL
III
NNN
EEE
Metropolis - nature
Mixed
Colour scheme
Look from Gucci Fall Winter 2017/2018 Readyto-wear collection
จากการวิเคราะห์เจาะเทรนด์โลกปี 2017 โดย TCDC ความคาดหวัง ของกลุ่มผูบ้ ริโภค Metropolitan Life ที่มีต่อบ้านของพวกเขาไมไ่ ด้ เป็ นแค่ที่พักอาศัยธรรมดาๆอีกต่อไป พวกเขาต้องการที่จะใช้ชีวิต ใกล้ชิดกับธรรมชาติ แต่ในขณะเดียวกันพวกเขาก็ขาดเทคโนโลยีและ ความมีชีวิตชีวาในแบบของคนเมืองไมไ่ ด้ มีความต้องการความเรียบ ง่าย แต่ต้องไมธ่ รรมดา จึงน�ำมาสู่การออกแบบตกแต่งภายในบ้าน ตัวอยา่ งของโครงการ CLASSE เอกมัย - รามอินทรา ภายใต้แนวคิด "Metropolis-nature Mixed" เป็ นการออกแบบตกแต่งภายในสไตล์ Contemporary Chic ที่มีความเรียบง่าย แต่แต่งแต้มไปด้วยรสชาติ แห่งความมีชีวิตชีวา กลมกล่อมไปด้วยกลิ่นอายของความ Vintage และ Modern ผสมผสานความเป็ นธรรมชาติลงไปอยา่ งลงตัว
STYLING BOARD
Look for Dining & Pantry Look for Family area
MIX IT UP !!! ***เฟอร์นิเจอร์ และของ ตกแต่งจาก Jonathan Adler, Jim Thompson Fabric, The Rug Company, Lamptitude, Eichholtz, Zara Home, Minotti, Hay, Ikea และ Kartell ***ขอ้ มูลสินค้า ณ ปี 2017
Look for Master bedroom
Look for Library
Perspective of entrance corridor, pantry, dining & family area Perspective of family area Perspective of library (left), study room (right)
INTERIOR PERSPECTIVE
Perspective of master bedroom
Perspective of master bathroom
WORKING DRAWING
Interior design o academic project N Interior design for dessert cafĂŠ
Jarlet' Sweet
Rachamakha Nai road, Nakornpathom
Interior designer: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij See full album: https://www.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij/media_set?set=a.1607372725967247.1073 741843.100000836046710&type=3&uploaded=21
05
MELT WITH ME MELT WITH ME MELT WITH MELT WITH ME ME การออกแบบภายใน และ Rebranding ร้าน Jarlet’s Sweet โดยวิเคราะห์ปัญหา, brand story และการปรับเปลีย่ นภาพ ลักษณข์ อง brand เพื่อให้มีความนา่ สนใจ เป็ นทีจ่ ดจ�ำ และแกไ้ ขปั ญหาการออกแบบภายในทีม่ ีอยูแ่ ตเ่ ดิม เนน้ ฟั งกช์ ัน่ การเพิม่ ปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งผูใ้ ห้บริการ และลูกคา้ ปรับลุคของร้านให้มีความ Friendly & Fun ตอบสนอง ไลฟ์สไตลค์ นยุคใหม่ ภายใต้ concept: “Melt with Me” หลอมรวมปฏิสัมพันธ์ อาหาร บรรยากาศ และงานดีไซนเ์ ขา้ ไวด้ ว้ ยกันโดย mood & tone ไดร้ ับแรง บันดาลใจจากดนตรีแนว Tropical House
Interior perspective
Exterior perspective
Corperate identity
(รูปบน) ชุดจานชามใสสีด�ำพิมพล์ าย Jarlet, แกว้ ใสสีแดงพิมพล์ าย Jarlet, ช้อนอลูมิเนียมเลเซอร์ลงยาสีแดง (รูปกลาง) หมอนผา้ ลิลินพิมพล์ าย, เสื้อเชิต้ สีขาวปั กโลโก้ Jarlet's Sweet, กระดาษทิชชู่พิมพล์ าย (รูปลา่ ง) นามบัตรร้าน Jarlet's Sweet ดา้ นหนา้ และดา้ นหลัง
WORKING DRAWING
Interior design o academic project N Interior design for boutique/retail
Tube Gallery
Siam Paragon Department Store
Interior designer: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij See full album: https://www.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij/media_set?set=a.1671771279527391.1073 741847.100000836046710&type=3&uploaded=15
06
BRAND ANALYSIS
Conceptual model
Scene from Anna K (2012 film)
The Dream (1910) by Henri Rousseau
CONCEPTUAL DESIGN
Diving frame into the
การออกแบบตกแตง่ ภายในและออกแบบ visual merchandising ส�ำหรับคอลเลกชัน่ Spring Summer 2018 ร้าน TUBE GALLERY SIAM PARAGON สะทอ้ นอัตลักษณข์ องแบรนด:์ "Dramtic but yet fun design"ผา่ นการออกแบบและจัด display แสดงสินคา้ ของแบรนดอ์ ยา่ งอุปมาอุปไมยเสมือนงานศิลปะชิน้ พิเศษ ทีไ่ มม่ ีทใี่ ดเหมือนภายใตแ้ นวคิด "Diving into the Frame" การสร้าง space เหนือจริง(surreal)ให้เสมือน ด�ำดิง่ เขา้ ไปในโลกอีกมิติทเี่ ป็ นห้องแสดงงานศิลปะ การ ออกแบบ merchandising ในแตล่ ะซีซนั่ จะไดร้ ับแรง บันดาลใจทีต่ า่ งกันเสมือนการวา่ ยเวียนเขา้ ไปในงาน ศิลปะทีผ่ ลัดเปลีย่ นชิน้ ไปเรื่อยๆ โดย Spring Summer 2018 collection: BOHELENNIAL การออกแบบ merchandising ไดร้ ับแรงบันดาลใจจากงานศิลปะของ Henri Rousseau, element ของชนพื้นเมืองแอฟริกัน และธรรมชาติพรรณไม้ สัตวต์ า่ งๆทีส่ ะทอ้ นถึงอารมณ์ ความ wild และ energic แตแ่ ฝงกลิน่ อายความหรูหรา ในแบบฉบับของ TUBE GALLERY
W E H
Look fro
Kerenina
Surprised (1891) by Henri Rousseau
Woman Walking in an Exotic Forest (1905) by Henri Rousseau
om BIFW 2018 runway
Conceptual composition: "Diving into the Frame"
EXTERIOR
VISUAL
MERCHANDISING
INTERIOR PERSPECTIVE
Tube Gallery Siam Paragon Department Store Boutique
INTERIOR PERSPECTIVE
Surrealist hallucination พื้นกระเบื้องลายหินอ่อนปูสลับลายขาวด�ำสะทอ้ นไปบนฝ้า เพดานอะคริลิคสะทอ้ นกอ่ ให้เกิดลวดลายลวงตากอ่ ให้เกิด สเปซทีด่ ูเสมือนสูงเกินความจริง ดีไซนข์ องดิสเพลยท์ หี่ ้อย ลงมาจากฝ้าเพดานเชื่อมตอ่ กับเงาสะทอ้ นในแผน่ อะคริลิค ท�ำให้ตัวดิสเพลยเ์ กิดความตอ่ เนื่อง สมดุล กลมกลืน และ โดดเดน่ ไฟสปอตไลทท์ สี่ อ่ งไปทีเ่ สื้อผา้ บนดิสเพลยท์ ำ� ให้ เสื้อผา้ ดูเหมือนลอยอยูใ่ นอากาศของโลกเซอเรียลแห่งนี้ จริงๆ
Differnt but the same ห้องลองเสื้อผา้ ทีด่ ีไซนท์ ุกอยา่ งเหมือนกันหมด หากแตต่ า่ ง กันแคส่ ีขาวด�ำทีท่ าสีตัดกันอยา่ งชัดเจนท�ำให้ในสว่ นเล็กๆ ทีด่ ูนา่ จะไมใ่ ช่จุดส�ำดัญทีใ่ ครจะมาสนใจกลับสร้างความ โดดเดน่ และเป็ นกิมมิคทีม่ ีเสนห่ ์ไปอีกจุดหนึ่ง
Menswear space & e
Fitting room: the black & white
Womensear space &
entry
& main counter
Menswear space
Womenswear space
WORKING DRAWING
Interior design o academic project N Interior design for co-working space
TCDC x Silpakorn Co-create Space Silpakorn University Sanam Chandra Palace Campus Interior designer: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij Illustrator: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij See full album: https://www.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij/media_set?set=a.1875866665784517&typ e=3&uploaded=16
07
ABOUT THE project
“
“
IN THE GARDEN OF BRAIN STORM
SITE LOCATION:
SILPAKORN UNIVERSITY SANAM CHANDRA PALACE CAMPUS สถานทีต่ งั้ ของโครงการตัง้ อยูท่ บี่ ริเวณ ชัน้ 6 ของอาคารศูนยเ์ รียนรวมเฉลิมพระเกียรติใน มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนาม จันทร์ อ.เมือง จังหวัดนครปฐม โดยอาคารนีเ้ ป็ น อาคารสูง 15 ชัน้ หันหนา้ ไปทางทิศเหนือ ตัวอาคาร กอ่ ศร้างดว้ ยระบบ Post Tension จึงทำ�ให้อาคาร นีไ้ ร้คาน แตจ่ ะมีเสาเสริมทีอ่ อกแบบมาเพื่อเป็ นแกน เสริมอาคารไวส้ ำ�หรับป้องกันภัยธรรมชาต เช่น แผน่ ดินไหวอยูก่ ลางอาคารทัง้ 2 ตน้ ใหญ่
TARGET MUSE เนื่อื งจากโครงการตัง้ อยูก่ ลางมหาวิทยาลัย กลุม่ เป้าหมายหลักจึงเป็ น นักศึกษาในคณะทีต่ อ้ งเรียนในวิทยาเขตสนามจันทร์ ซึ่งประกอบดว้ ย จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มัณฑนศิลป์ อักษรศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ รวม ทัง้ อาจารยม์ หาวิทยาลัย และกลุม่ เด็กนักเรียนจากโรงเรียนสาธิต ศิลปากร พื้นทีใ่ นโครงการจึงตอ้ งออกแบบมาเพื่อรองรับกับการใช้งานของกลุม่ เป้าหมายทีม่ ีทงั้ ฝั่ งวิทย์ และศืลป์ให้ใช้งานร่วมกันไดใ้ นพื้นทีเ่ ดียวกัน
โ
ครงการเสนอแนะจัดตัง้ และออกแบบตกแตง่ ภายใน “TCDC x SILPAKORN CO-CREATE SPACE” พื้นทีแ่ ห่งการ “CO” และ “CREATE” พื้นทีท่ สี่ ร้างขึ้นเพื่อเป็ นศูนยกลางของการรวมกลุม่ ระดมความคิดกัน และนำ�ไปสูก่ ารสร้างสรรคส์ งิ่ ใหมๆ ่ ภายใต้ keyword หลัก 3 อยา่ งคือ “คุยคิด-ทำ�” (Think-Co-Work) นำ�ไปสูก่ ารออกแบบพื้นที่ Co-create, library & co-working และ multipurpose room และprivate conference การออกแบบไดน้ ำ�moodของกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็ นกลุม่ Millennial generation และความมีชีวิตชีวาในแบบของ “เด็กศิลปากร” จึงไดก้ อ่ ให้เกิดการ ออกแบบภายใตแ้ นวคิด “Eden Cerebrum: In the garden of brain strom” การออกแบบspaceทีเ่ สมือนสวนแห่งจินตนาการ และความรู้ ความตื่น เตน้ มีชีวิตชีวาพร้อมจะเรียนรู้สงิ่ ใหมๆ ่ ในmood & tone แบบ “Enthusiastic Curious”
MOOD & TONE:
ENTHUSIASTIC CURIOUS
“Enthusiatic Curious” ความกระหายอยากการใคร่รู้ นำ� อารมณข์ องการตื่นตัว มีชีวิตชีวา และเป็ นอิสระมาใช้ในการออกแบบ ผสม ผสานกับคาแรคเตอร์ของเด็กศิลปากรทีเ่ ป็ นคนมีสีสัน มีชีวิตชีวา แรง บันดาลใจจากHenri Matisse ศิลปิ นแนว fauvism ระบบประสาท และ สมอง ลวดลายกราฟิ คแบบทศวรรษที่ 1970 และการใช้สีแบบ Contemporary Fauvismทีม่ ีความสดใส จัดจ้าน กระตุน้ ให้คนตื่นตัวตลอดเวลามา ใช้ในการออกแบบในแบบ “Maximalist Contemporary Fauvism”
MAXIMALIST CONTEMPORARY
FAUVISM
คูส๋ ีทใี่ ช้ในการออกแบบประกอบไป ดว้ ย Black, Salmon Red, Horizon Green, Ultramarine, Dioxazine Violet และMustard ซึ่งสีทุกสีทใี่ ช้คือทีผ่ า่ น การลดทอนลงมาจากสีแบบFauvismมา แลว้ เพื่อให้มีความทันสมัยและเหมาะสม มากขึ้น
Co-create space area
INTERIOR DESIGN: THANAPATH WUTTHINITIKORNKIJ ILLUSTRATION: THANAPATH WUTTHINITIKORNKIJ
Co-create space พื้นที่ co-create space ฝ้าเพดานทำ�มาจากพลาสติคหลอ่ ขึ้นรูปและพน่ สี metalic แลว้ ซ่อน งานระบบไวด้ า้ นใน ทอ่ ชื้นนเล็กๆขนาดตา่ งๆ และ modular pattern หลายๆชื้นไดแ้ รงบันดาล ใจมากจากสมอง ศูนยร์ วมของการควบคุมของร่างกาย และแลน่ ผา่ นไฟ neon flex สีรุ้งทีถ่ ูกติด ตัง้ ไวใ้ นเซาะร่องเป็ นลวดลายวิง่ ไปตามโซนนิง่ ตา่ งๆเสมือนระบบประสาททีว่ งิ่ จากสมองไปหลอ่ เลีย้ งสว่ นตา่ งๆในรา่ งกาย เหมือนการทำ�งานงานทีเ่ ราจะตอ้ งระดมสมองกันกอ่ นแลว้ จึงแยกยา้ ย ไปทำ�งานกัน เพราะฉะนัน้ พื้นที่ co-create space จึงอยูท่ ศี่ ูนยก์ ลางของโครงการ จากนัน้ จึงแยก ยา้ ยออกไปตามทีต่ า่ งๆ
Reception พื้นทีr่ eceptionดา้ นหนา้ เมื่อเดินเขา้ มาจะเห็นเคาทเตอร์ตอ้ นรับยาวทรงอสมมาตร แบง่ ความ สูงรองรับuniversal design และกลุม่ คนทีห่ ลากหลาย วัสดุใช้aluminium composite และการเบื้องลายตัวกับบัวอลูมีเนียม ในความรู้สึกในแบบretro แตย่ ังคงลุคเททันสมัยแบบ คนmillennialอยู่ ติดตัง้ แผน่ อะคริลิคใสลาย “มะมา เรามารื่นเริง” สะทอ้ นคาแรคเตอร์ของ “เด็กศิลปากร”
INTERIOR PERSPECTIVE
Co-working space area
Library area
Library & co-working space พื้นทีห่ ้องสมุด และ co-working space ได้ ปรับอารมณใ์ นดูเบาสบายลงเพื่อให้เหมาะกับ การทำ�งานทีต่ อ้ งในสมาธิและการผอ่ นคลาย จึง ตัดอารมณข์ องspaceดว้ ยการยกพื้นและปูดว้ ย กระเบื้องยางลายไม้ ผสมผสานกับการบุผา้ ลวดลายตา่ งๆเพื่อให้ความรู้สึกทีไ่ มเ่ หมือนกับการ มาทีๆ ่ ตอ้ งมีความทางการ รัดกุม แตเ่ หมือนกับ บา้ นทีเ่ ราจะทำ�ตัวอยา่ งไร เป็ นอิสระอยา่ งไรก็ได้
Sofa booth in library area
Conference & phone booth พื้นทีห่ ้องประชุมคือพื้นทีท่ ตี่ อ้ งการความจริงจัง ในการใช้งานทีม่ ากกวา่ พื้นที่ co-create และ co-working จึงไดว้ ัสดุสีขาวเทาดำ� และมีความ แข็งดา้ นอยูอ่ ยา่ งแผน่ อลูมิเนียม aluminium composite สีดำ� และกระเบื้องหิน แตย่ ังแฝงกลิน่ ความสนุกในแบบของศิลปากรอยูค่ ือลวดลาย ของพรมแผน่ สี iris ทีเ่ ป็ นมว่ งหมน่ จับคูก่ ับเกา้ อี้ บุผา้ ลาย houndstooth สี viridian และโคมไฟ ทองเหลือง
Conference room 2
ILLUSTRATION
WORKING DRAWING
Interior design o academic project N Interior design for performance space
Mei Lan Fang Grand Theatre King Power Downtown Complex Bangkok
Interior designer: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij See full album: https://web.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij/media_set?set=a.1965652470139269&type =3&uploaded=48
08
ABOUT THE BRAND
The Dragon landed in
Bangkok โรงมหรสพอุปรากรจีนอันเลื่องชื่อแห่งปักกิ่งอันเสมือนมังกรตัวชูโรงวัฒนธรรมจีนอันยิ่ง ใหญ่ บัดนี้ มังกรได้เหินเวหา ข้ามฟ้ามาขยายความยิ่งใหญ่ให้ยิ่งกว่าที่เคยแล้วที่กรุงเทพ โรงละครเหมย หลัน ฟาง แกรนด์ เธียเตอร์ โรงละครและสถานทีจ่ ัดงานงิว้ ปั กกิง่ ทีช่ ่อื เสียงโดง่ ดังอัน ดับตน้ ๆของปั กกิง่ ทีไ่ มใ่ ช่มีการแสดงแคง่ วิ้ ปั กกิง่ เทา่ นัน้ แตย่ ังมีการแสดงอื่นๆดว้ ยทีม่ าร่วมแสดงทีน่ เี่ พื่อตอบ สนองความตอ้ งการความบันเทิงของกลุม่ ลูกคา้ ในยุค ปั จจุบัน เช่น ละครเวที การแสดงทีย่ กมาแสดงทีต่ า่ ง ประเทศ ออเคสตร้า คอนเสิร์ต และงานอีเวนทต์ า่ งๆที่ ตอ้ งรองรับจำ�นวนผูเ้ ขา้ ชมจำ�นวนมาก จุดเดน่ ของเหมย หลัน ฟาง แกรนด์ เธียเตอร์ทปี่ ั กกิง่ เนน้ บรรยากาศความเป็ นจีน แตก่ าร แสดงนัน่ มีความร่วมสมัย และบทบาทของละครทีแ่ ปล กมัย้ ตามแบบฉบับของคุณเหมย หลัน ฟาง ผูป้ ฏิวัติวงการ งิว้ ปั กกิง่ ทีส่ ามารถทำ�ให้งวิ้ ปั กกิง่ อยูร่ อดเคียงคูช่ าติจีน มาไดร้ ่วมกวา่ 2 ทศวรรษ ทัง้ การเลน่ แสง สี เสียง และ การประยุกตบ์ ทละครให้โดเดน่ พิเศษไปกวา่ งิว้ ปั กกิง่ แบบ ดัง้ เดิม และสำ�นักงิว้ อื่นๆในจีน ความกลา้ ทีจ่ ะแตกตา่ ง ของคุณเหมยทำ�ให้สไตลง์ วิ้ ปั กกิง่ ในแบบของเขาเป็ นที่ ประทับใจแกผ่ ชู้ มทัง้ คนจีนและชาวตา่ งชาติมาแลว้ กลับมาทีป่ ระเทศไทยทีซ่ ่งึ มีคนจีนโพน้ ทะเลอาศัยอยูเ่ ยอะเป็ นอันดับหนึ่งของโลก วัฒนธรรมของ สองชาติไดผ้ สมปนเปกันจนเป็ นหนึ่งเดียวในชีวิตประจำ� วัน อีกทัง้ งิว้ ในเมืองไทยปั จจุบันนีห้ าชมกันยาก และสว่ น มากเป็ นงิว้ แตจ้ วิ๋ ถึงเวลาแลว้ ทีค่ นไทยจะไดร้ ับชมงิว้ ปั กกิง่ ขนานแทท้ ตี่ กทอดกันมาแตส่ มัยราชสำ�นักชิงอันยิง่ ใหญ่ เสื้อผา้ เครื่องแตง่ กาย เครื่องประดับสุดอลังการระดับโอต์ กูตูร์ และลีลาการร้อง เตน้ รำ�อันอ่อนช้อยเป็ นเอกลักษณ์ ตามแบบฉบับบงิว้ ปั กกิง่ กันไดแ้ ลว้ ทีเ่ หมย หลัน ฟาง แก รนด์ เธียเตอร์ คิงส์ พาวเวอร์ ดาวนท์ าวนค์ อมเพล็กซ์ ซอยรางน้ำ� กรุงเทพ
LOCATION & TARGET GROUP
The new
King Power
MORE LUXURY, MORE LIVELY!
แผนการพัฒนาของคิงส์ พาวเวอร์ ดาวนท์ าวนค์ อมแพล็กซ์ในปั จจุบัน ไดพ้ ัฒนาไปในรูปแบบทีด่ ูเป็ นกันเองมากขึ้น และมีความหลากหลายทีม่ ากกวา่ จะเ็้น แค่ duty free ภายใตค้ อนเซป “ไมม่ ีไฟลท์ ก็มาได”้ ทัง้ การออกแบบตกแตง่ รีโนเวท ภายในอาหารชุดใหญท่ งั้ หมด ปรับลุคอาหารให้ดูมีชีวิตชีวา และสดใหมเ่ ขา้ กับยุค สมัย การดึงแบรนดต์ า่ งๆเขา้ มาเปิ ดในรูปแบบของ mall และโซนฟู้ดคอร์ททีไ่ มจ่ ับ ตอ้ งแบรนดร์ าคาสูงลิว่ ลน้ ฟ้า แตน่ ำ� local brand ร้านเด็ดรอบกรุงเทพมารวมไวท้ ี่ ชัน้ 3 ซึ่งเป็ นชัน้ เดียวกับทีโ่ รงละครเหมย หลัน ฟางตัง้ อยูด่ ว้ ย ฉะนัน้ การออกแบบ โรงละครแห่งนีจ้ ึงตอ้ งออกแบบเปิ ดรับเพื่อให้คนภายนอกสามารถเขา้ มาบริเวณ ภายในโรงละครไดอ้ ยา่ งไมเ่ คอะเขิน โดยไดด้ ึงจุดเดน่ ของร้านของทีร่ ะลึก และ The Summer Garden Tea Room ของโรงละครมาเป็ นจุดดึงดูด
& MORE YOUNG!
GEN Y
IS COMING! การเปลีย่ นแปลงใหมข่ องคิงส์ พาวเวอร์ นอกจากจะไดห้ ้างใหมท่ ไี่ ฉไลกวา่ เดิมมาแลว้ สิง่ ทีไ่ ด้ แถมตอ่ มาคือการจับกลุม่ ลูกคา้ Gen Y มากขึ้น ซึ่ง เป็ นการขยายฐานลูกคา้ เดิมจากคนทีม่ ีไฟลท์ บิน และ นักทอ่ งเทีย่ วทัวร์จีน ซึ่งกลุม่ ลูกคา้ ใหมน่ เี้ ป็ นกลุม่ ทีม่ ี รายไดป้ านกลาง - สูง และกลุม่ นักทอ่ งเทีย่ ว Gen Y ก็เป็ นกลุม่ นักทอ่ งเทีย่ วกระเป๋าหนักเงินถึง ดังนัน้ การ ออกแบบโรงละครเหมย หลัน ฟางจึงออกแบบเพื่อ ให้ตอบรับกับกลุม่ ลูกคา้ ใหมน่ ผี้ า่ นการออกแบบให้ มีความหรูหราร่วมสมัย นา่ ตื่นเตน้ นา่ คน้ หา มีหลาก หลายอารมณเ์ หมือนกับกลุม่ ลูกคา้ Gen Y ทีช่ ีวิต ตอ้ งการความหลากหลายมากมายไมส่ นิ้ สุดมากกวา่ Generation กอ่ นๆ
TARGET MUSE
CONCEPTUAL DESIGN & INSPIRATION
“อ
รุณรุ่งแห่งฤดูร้อนนิรันดร์” การออกแบบตกแตง่ ภายในเหมย หลัน ฟาง แกรน เธียเตอร์ คิงส์ พาวเวอร์ ดาวนท์ าวนค์ อมเพล็กซ์นไี้ ดร้ ับแรงบันดาลใจมาจาก ความรุ่งเรืองของพระราชวังฤดูร้อนหลังเกา่ ทีป่ ั กกิง่ ในสมัยราชวงศช์ ิง ซึ่งเป็ นช่วงสมัยทีง่ ิว้ ปั กกิง่ กำ�ลังรุ่งโรจนจ์ นถึงขีดสุด ซึ่งในยุคนีศ้ ิลปะแบบราชวงศเ์ ริม่ มีการผสมกลิน่ อาย แบบตะวันตกยุค Regency หรือศิลปะตะวันตกในช่วงสมัยการลา่ อาณานิคม การลา่ อาณานิคม และสงครามฝิ่ นสง่ ผลให้ภายหลังพระราชวังฤดูร้อนแห่งนีถ้ ูกทิง้ ร้างเนื่องจากกร พา่ ยแพส้ งครามของราชสำ�นักชิง ซึ่งนัน่ ก็รวมถึงงิว้ ปั กกิง่ ทีถ่ ูกลดบทบาทในราชสำ�นักไปดว้ ย และงิว้ ปั กกิง่ ก็ไดเ้ กือบหลายสิน้ ไปจากแผน่ ดินจีนในเวลาตอ่ มาในช่วงสมัยปฏิวัติ วัฒนธรรม ดังนัน้ จากแรงบันดาลใจแห่งยุคอันรุ่งโรจนข์ องงิว้ ปั กกิง่ นี้ จึงไดน้ ำ�ความรุ่งโรจนข์ องงิว้ ปั กกิง่ อาทิ สีสันบทเครื่องแตง่ กาย และ element ตา่ งๆของเครื่องแตง่ กาย และเครื่องประดับของงิว้ ปั กกิง่ สถาปั ตยกรรมของพระราชวังฤดูร้อนหลังเกา่ ทีม่ ีความผสมผสานระหวา่ งศิลปะชิง และสถาปั ตยกรรมแบบ Regency มาใช้ในการออกแบบ ผนวกกับแฟชัน่ แบบ Maximalist ในยุคปั จจุบันเพื่อให้มีความร่วมสมัย ตอบสนองกับรสนิยมกลุม่ ลูกคา้ Generation Y ในยุคปั จจุบัน เสมือนวา่ งยุคชิงอันรุ่งโรจนย์ ังไมไ่ ดส้ ูญ สิน้ ไปไหน แตย่ ังแฝงในทุกๆรายละเอียด และไมไ่ ดห้ ายไปกับกาลเวลา
Mei Lan Fang Grand Theatre King Power Downtown Complex
Bangkok
Stair hall in entrance hall โครงการเสนอแนะออกแบบตกแตง่ ภายในโรงละครเหมย หลัน ฟาง แกรนด์ เธียเตอร์ คิงส์ พาวเวอร์ ดาวนท์ าวนค์ อมเพล็กซ์ โรงละครอุปรากรจีน(งิว้ ปั กกิง่ )ร่วมสมัย ออกแบบภายใต้ แนวคิด “อรุณรุ่งแห่งฤดูร้อนนิรันดร์” การออกแบบตกแตง่ ภายในเหมย หลัน ฟาง แกรน เธียเตอร์ คิงส์ พาวเวอร์ ดาวนท์ าวนค์ อมเพล็กซ์นไี้ ดร้ ับแรงบันดาลใจมาจากความรุ่งเรืองของ พระราชวังฤดูร้อนหลังเกา่ ทีป่ ั กกิง่ ในสมัยราชวงศช์ ิง ซึ่งเป็ นช่วงสมัยทีง่ วิ้ ปั กกิง่ กำ�ลังรุ่งโรจนจ์ นถึงขีดสุด ซึ่งในยุคนีศ้ ิลปะแบบราชวงศเ์ ริม่ มีการผสมกลิน่ อายแบบตะวันตกยุค Regency หรือ ศิลปะตะวันตกในช่วงสมัยการลา่ อาณานิคม การลา่ อาณานิคม และสงครามฝิ่ นสง่ ผลให้ภายหลังพระราชวังฤดูร้อนแห่งนีถ้ ูกทิง้ ร้างเนื่องจากกรพา่ ยแพส้ งครามของราชสำ�นักชิง ซึ่งนัน่ ก็รวม ถึงงิว้ ปั กกิง่ ทีถ่ ูกลดบทบาทในราชสำ�นักไปดว้ ย และงิว้ ปั กกิง่ ก็ไดเ้ กือบหลายสิน้ ไปจากแผน่ ดินจีนในเวลาตอ่ มาในช่วงสมัยปฏิวัติวัฒนธรรม ดังนัน้ จากแรงบันดาลใจแห่งยุคอันรุ่งโรจนข์ องงิว้ ปั กกิง่ นี้ จึงไดน้ ำ�ความรุ่งโรจนข์ องงิว้ ปั กกิง่ อาทิ สีสันบทเครื่องแตง่ กาย และ element ตา่ งๆของเครื่องแตง่ กายและเครื่องประดับของงิว้ ปั กกิง่ สถาปั ตยกรรมของพระราชวังฤดูร้อนหลังเกา่ ทีม่ ีความผสมผสานระหวา่ งศิลปะชิง และสถาปั ตยกรรมแบบ Regency มาใช้ในการออกแบบ ผนวกกับแฟชัน่ แบบ Maximalist ในยุคปั จจุบันเพื่อให้มีความร่วมสมัย ตอบสนองกับรสนิยม กลุม่ ลูกคา้ Generation Y ในยุคปั จจุบัน เสมือนวา่ งยุคชิงอันรุ่งโรจนย์ ังไมไ่ ดส้ ูญสิน้ ไปไหน แตย่ ังแฝงในทุกๆรายละเอียด และไมไ่ ดห้ ายไปกับกาลเวลา
Look 49 from Gucci Fall/Winter 2017/2017 collection
Old Summer Palace, Beijing
Waiting area perspective
Lightforup
the show เตรียมใจให้ระทึก กับโชว์ที่กำ�ลังจะเริ่มขึ้น
สเปซของโถงทางเขา้ กอ่ นพื้นไปบริเวณ พื้นทีเ่ ธียเตอร์บนชัน้ 4 ตกแตง่ ดว้ ยโทนสีดำ�ทองและ จัดแสง contrast จัดให้อารมณร์ ุนแรง dramatic วัสดุภายในเนน้ texture ทีม่ ีรายละเอียด และมันวาว อาทิ อลูมิเนียมสีโครเมียมฉลุ ทองเหลือง กระจกเงา สีดำ� โซ่สีทอง พื้นกรานิตโตเ้ งา หนังจระเขเ้ งาสีดำ�ให้ ความรู้สึกหรูหรา อลังการ วัสดุ และอารมณข์ องโทน สีเหลา่ นีจ้ ะสง่ ผลให้คนทีเ่ ขา้ มาในสเปซมีอารมณร์ ่วม รู้สึกตื่นเตน้ อลังการณเ์ หมือนการจุดไฟความตื่น เตน้ อยากรู้อยากเห็นกอ่ นขึ้นไปชมโชวด์ า้ นบน เกา้ อี้ Zaha Bench สีขาวตรงกลางดา้ นหนา้ ทีอ่ อกแบบ โดย Zaha Hadid จัดแสง spotlight ให้เสมือน พระเอกของสเปซแห่งนี้ อุปมาอุปไมยถึงซากปรักหัก พังเดิมของพระราชวังฤดูร้อนเกา่ ทีป่ ั กกิง่ อยา่ งเป็ น นามธรรม
Walk through
the gate
โถงทางเขา้ รูป 8 เหลีย่ ม หนา้ บันไดเลื่อนกอ่ นจะนำ�พาให้ผชู้ มเดิน เขา้ ไปสูโ่ ถงทางเดิน และทางเขา้ ดา้ นในตามลำ�ดับ ออกแบบฝ้าให้สูงโดยลดทอน รูปแบบโครงสร้างสถาปั ตยกรรมจีน ผนังแฝงดีเทลของประตูบานเฟี้ ยมจีนทีซ่ ๋อนก ระจะเงาไวอ้ ีกเลเยอร์ทดี่ า้ นหลังเหมือนซ่อนความหรูหราไวภ้ ายในอยา่ งไปเปิ ดเผย โผงผาง โดยบนประดับโคมอะคริลิคพิมพล์ ายหินอ่อน วางแพทเทินของโซ่ทองที่ ปรับใช้จากดีเทลของเครื่องแตง่ กายอุปรากรเป็ นรูป 8 เหลีย่ มให้ดีไซนร์ ับกับทัง้ พื้น ผนัง ฝ้า
INTERIOR PERSPECTIVE
Foyer from escalator to the theatre
Lost in
the empress garden
หายไปในสวนของความฝัน ของจักรพรรดินี
Private space in The Summer Garden Tea Room
INTERIOR PERSPECTIVE
The Summer Garden Tea Room เนน้ กลิน่ ความฟุ้งหอมหวาน ทีเ่ ต็มเปี่ ยมไปดว้ ยความเฟมินีน และหวนคืนความสดชื่นของสวนพืชพรรณนานา ชนิดในพระราชวังฤดูร้อน การออกแบบนำ�กลิน่ อายของความเป็ นวิคทอเรียนรีเจน ซีม่ าผสมผสานกับความเฟมินีนในแบบโลกตะวันออกไกลอยา่ งลงตัว ผา่ นผา้ ชีฟอง สี dusty pinkมัดตกแตง่ บนฝ้า เฟอร์นิเจอร์สีอ่อนนุม่ ผา้ บุผนังลาย toile de jouy ทีเ่ ลา่ เรื่องราว และลวดลายแบบจีน เคาทเ์ ตอร์ทปี่ ระดับบัวแบบตะวันตกสีมุกจับ มิกซ์กับประตูบานเฟี้ ยมจีนไมจ้ ริง และโคมจีนโป๊ะผา้ ไหมประดับพูเ่ ลื่อมสีเขียวนก ยูงแมท๊ ซ์กับโคมไฟกรงนกสีทองเหลืองสไตลว์ ิคทอเรียน ตกแตง่ ดว้ ยพืชเขตร้อนให้ ความรู้สึกสดชื่นมีชีวิตชีวา
ผา้ ไหมลายตา่ งๆจาก Jim Thompson Fabric
Reference from Harper’s Bazaar China May 2016
พรมรุ่น Delft Blue Plate จาก Moooi carpets ออกแบบโดย Marcel Wanders
Left corner in The Summer Garden Tea Room
Main counter in The Summer Garden Tea Room
Putting on the
Crown แรงบันดาลใจจากเครื่องประดับระดับคอสตูมจิวเวอรี่ของอุปรากรจีน สู่สเปซที่ เปี่ยมไปด้วยเสน่ห์ และสีสัน
INTERIOR PERSPECTIVE
The Grand Lounge, view from entrance hall
Look 20, look 23 from Simone Rocha Spring/Summer 2019 collection
ผา้ ไหม และผา้ บุลายตา่ งๆจาก Jim Thompson Fabric
INTERIOR PERSPECTIVE
The Grand Lounge
The Grand Lounge นีไ้ ดร้ ับแรงบันดาลใจเครื่องประดับ เครื่อง หัวตา่ งๆของอุปรากรจีนทีม่ ีหิน เพชรพลอยหลากหลายสี นอกจากนีย้ ังไดน้ ำ� บรรยากาศของนักแสดงมาใสใ่ ห้ผชู้ มดว้ ย กลา่ วคือ ขณะทีน่ ักแสดงแตง่ หนา้ แตง่ ตัว ประโคมสีสันตา่ งๆสำ�หรับรอขึ้นรอแสดง ทางฝ่ายผูช้ มอยา่ งเราก็ไดร้ อคอยการ แสดงในพื้นทีๆ ่ เป็ นสีสันในลักษณะเดียวกัน ให้อารมณร์ ่วมในแบบเดียวกัน
Wall design detail
ดีเทลลายปั กเลื่อมและดิน้ ไหมบนผา้ ไหมสีแดง
INTERIOR PERSPECTIVE
Shine&
Auditorium คู่สีดำ�แดงทอง ช่วยส่ง อารมณ์ให้ผู้ชมตื่นเต้น และตื่นตัว ดีไซน์ผนังโชว์ ศิลปหัตถกรรมงานปักอันเป็นเอกลักษณ์ของ อุปรากรจีน แสงไฟที่สาดขึ้นบนผ้าบุผนังช่วยให้ ลายปักไหมและเลื่อมดูโดดเด่น ท่ามกลางความ มืดมิด
Bright
A view from the back
INTERIOR PERSPECTIVE
A view from the front
WORKING DRAWING
Interior design o academic project N Interior design for museum
Queen Sirikit Museum of Textile Art & Contemporary Fashion Ratchadamneon avenue Bangkok
Interior designer: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij See full album: https://www.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij/media_set?set=a.2087050027999512&typ e=3&uploaded=22
09
TIME TO MOVE
(FORWARD)
สถานทีต่ งั้ ของโครงการเดิม ณ หอรัษฎากรพิพัฒน์ พระบรมมหาราชวังเป็ นอาคารเกา่ 2 ชัน้ โครงสร้างไม้ มีปัญหาทัง้ ขนาดเล็กและคับแคบ ไม่ สามารถรองรับการเติบโตของโครงการไดใ้ นอนาคต และเป็ นอุปสรรคในหลายๆดา้ นตอ่ การทำ�งานของบุคลากรภายในองคก์ ร เช่น ห้องคลังจัดเก็บทีม่ ีขนาดไม่ เพียงพอ อาคารทีไ่ มป่ ิ ดทึบและงานระบบทีไ่ มเ่ หมาะสมการกระบวนการการอนุรักษ์ นอกจากนีก้ ารทีส่ ถานทีต่ งั้ ทีอ่ ยูใ่ นพระบรมมหาราชวังทำ�ให้กลุม่ เป้าหมายที่ โครงการตอ้ งการซึ่งเป็ นคนไทยเป็ นหลักกลับกลายเป็ นนักทอ่ งเทีย่ วจีน ซึ่งทีต่ งั้ ทีม่ ีความดึงดูดลูกคา้ นอ้ ยและกลุม่ ลูกคา้ ทีไ่ มต่ รงเป้าหมายนัน้ สง่ ผลตอ่ ภาพลักษณ์ ขององคก์ รเช่นกัน การยา้ ยสถานทีต่ งั้ ใหมไปยังถนนราชดำ�เนินกลางเป็ นการทีพ่ ิพิธภัณฑจ์ ะไดอ้ อกมาสูโ่ ลกภายนอกมากขึ้น คนภายนอกสามารถเดินทางไปไดส้ ะดวก ขึ้น และหลีกเลีย่ งปั ญหานักทอ่ งเทีย่ วจีนกลุม่ ใหญ่ ทัง้ นีแ้ ผนพัฒนาเมืองในอนาคตจะทำ�ให้ราชดำ�เนินกลางเป็ นจุดทีม่ ีการสัญจรทีส่ ะดวกขึ้น รถไฟฟ้าใตดิน บริเวณอนุเสาวรียป์ ระชาธิปไตย และมีโครงการสร้างสรรคใ์ หมๆ ่ ทีจ่ ะตัง้ อยูร่ ายลอ้ ม ทำ�ให้ราชดำ�เนินกลางเป็ นจุดมุง่ หมายใหมส่ ำ�หรับการทอ่ งเทีย่ ว นอกจากนี้ ราชดำ�เนินกลางยังไมห่ ่างไกลมากจากพระบรมมหาราชวังจึงสามารถทำ�ให้ดึงกลุม่ ลูกคา้ เกา่ ไดอ้ ยู่ และยังไดก้ ลุม่ เป้าหมายใหมเ่ พิม่ เป็ นสถานทีต่ งั้ ตัง้ อยูร่ ิมถนน ราชดำ�เนินบริเวณอนุเสาวรียป์ ระชาธิปไตย ทำ�ให้การมองเห็นงา่ ยกวา่ สถานทีต่ งั้ เกา่ และอาคารทีส่ ูงถึง 4 ชัน้ สามารถรองรับการเติบโตของตัวโครงการไดใ้ น อนาคต ทัง้ นีภ้ าพลักษณข์ องราชดำ�เนินทีม่ ีความเป็ นกันเองมากกวา่ พระบรมมหาราชวังทำ�ให้ตัวโครงการสามารถเขา้ ถึงจากคนภายนอกงา่ ยมากขึ้นและเป็ นทีร่ ู้จัก ไดม้ ากขึ้น
อนุเสาวรียป์ ระชาธิปไตย
Site location
ตึกธนบุรีพานิช สาขาราชดำ�เนิน
Student / Adulescent Designer / Fashion Industry Entrepreneur
20%
WHAT IS...? ปั
จจุบันผา้ ไทยและสิง่ ทอพื้นเมืองไทยถูกตัดขาดออกจากบริบทสังคม ในโลกยุคศตวรรษที่ 21 ทัง้ ในดา้ นอุตสาหกรรมทีแ่ ทบไมม่ ีการใช้ผา้ ไทยและสิง่ ทอพื้น เมืองในอุตสาหกรรมแฟชัน่ และสิง่ ทอยุคปั จจุบันเลยนอกเสียจากผลิตภัณฑท์ ตี่ อบสนอง กลุม่ ผูบ้ ริโภคสูงอายุ ในดา้ นสังคมทีผ่ า้ ไทยและสิง่ ทอพื้นเมืองถูกลดบทบาทไปจากสังคม กลุม่ คนรุ่นใหมน่ ับตัง้ แตก่ ลุม่ เจเนอเรชัน่ Y เป็ นตน้ ไป ทำ�ให้ขาดผูท้ รี่ ู้จักและสืบทอดศิลปะ Fashion สิง่ ทอนีส้ รู่ ่นุ หลัง นอกจากนีค้ นในยุคปั จจุบันยังขาดทีม่ าขิงแรงบันดาลใจและแนวทางใน Influencer การพัฒนาและประยุกตใ์ ช้ผา้ ไทย และสิง่ ทอพื้นเมืองให้เขา้ กับยุคสมัยและบริบทสังคมยุค ปั จจุบัน ดังนัน้ จากปั ญหาขา้ งตน้ จึงเกิดความคิดริเริม่ การออกแบบตกแตง่ ภายใน และปรับภาพลักษณพ์ ิพิธภัณฑผ์ า้ ในสมเด็จพระนางเจ้าสริริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสู่ “โครงการเสนอแนะออกแบบตกแตง่ ภายในพิพิธภัณฑศ์ ิลปะสิง่ ทอ และแฟชัน่ ร่วมสมัย Fashion Media ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ” พิพิธภัณฑศ์ ิลปะร่วมสมัยและพื้นทีก่ าร Society แสดงออกทางศิลปะผา่ นมุมมองของศิลปะสิง่ ทอ และศิลปะการออกแบบเครื่องแตง่ กาย โดยการออกแบบไดส้ ร้างประสบการณก์ ารเขา้ ชมศิลปะรูปแบบใหมเ่ พื่อเจาะกลุม่ เป้า หมายหลักในช่วงเจเนอเรชัน่ X, Y, Z ภายใตแ้ นวคิด “Getting Inside Mind” ผา่ นพื้นที่ จัดแสดงหลักทัง้ 3 ไดแ้ ก่ Temporary Live Hall, Seasonal Live Exhibition: Tale of Textile และ The Queen And Fashion: Fit For The Queen โครงการนีม้ ีความสำ�คัญเพื่อถ่ายทอดหัวใจของศิลปะสิง่ ทอแกผ่ เู้ ขา้ ชม Etc. ตัง้ แตเ่ สน้ ไหมจนประกอบกันเป็ นเครื่องแตง่ กายหนึ่งชุด ให้ผเู้ ขา้ ชมไดเ้ รียนรู้ผา่ นประสาท สัมผัส ซึมซับ และเกิดการตกตะกอนทางความคิดแกผ่ เู้ ขา้ ชม ตลอดจนเกิดเป็ นแรงบันดาล ใจ และความคิดริเริม่ สร้างสรรคใ์ นการพัฒนาศิลปะและอุตสาหกรรมสิง่ ทอไทยให้ออกไป สูส่ ายตาของสังคม จากแนวคิด “Getting Inside Mind” การเลา่ เรื่องราวเสมือนผูเ้ ขา้ ชมไดเ้ ขา้ ไปในห้วงความคิดของผูส้ ร้างสรรคผ์ ลงานสิง่ ทอ อาทิ ช่างทอ ช่างแพทเทิน ช่างปั ก ตัง้ แตก่ ระบวนการแรกจนถึงกระบวนการสุดทา้ ย ผา่ นโซนจัดแสดงทีเ่ ลา่ ถึงวัสดุอุปกรณแ์ ละวิธีการผลิตวัสดุตงั้ ตน้ จนจบ งานให้ผเู้ ขา้ ชมไดจ้ ับสัมผัสกับวัสดุอุปกรณเ์ หลา่ นัน้ เสมือนอยูไ่ ดเ้ ขา้ ไปอยูใ่ นสถานทีท่ ำ�งานของช่างจริงๆ และการประยุกตใ์ ช้เทคนิคการออกแบบ เครื่องแตง่ กาย เช่น การปั กมาประยุกตก์ ับการออกแบบตกแตง่ ภายใน ผสมผสานกับสถาปั ตยกรรมแบบ Deconstructvism และผลงานแนว Surrealist ของศิลปิ น Rene Magritte สร้าง space ให้เกิดความรู้สึกเหมือนเขา้ ไปในโลกอีกโลกหนึ่งในความคิดของผูส้ ร้างสรรคผ์ ลงานสิง่ ทอที่ บรรยากาศภายในแตกตา่ งจากตัวสถาปั ตยกรรมอยา่ งชัดเจนแตม่ ีความลงตัว เหมือนกับฉลองพระองคข์ องสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติท์ สี่ ามารถผสม เทคนิคไทยและตะวันตก old meet new, folk meet modernไดอ้ ยา่ งงดงามและสมบูรณแ์ บบ
20%
20%
20%
TARGET GROUP
พิพิธภัณฑผ์ า้ ฯเดิม
พิพิธภัณฑผ์ า้ ฯเดิม
ตึกรัษฏากรพิพัฒน์
20%
Golconda by Rene Magritte
Gallery of Sou Fujimoto Walt Disney Concert Hall, Frank Gahry
What’s designer thinking? What’s artist thinking? What’s craftmanship thinking? ฉลองพระองคส์ มเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ โดย Pierre Balmain
Ikat
Silk string Gallery of Kinghorn Cancer Centre
National Gallery of Singapore (Left) Rottermann Old & New Flour Storage
Queen Sirikit
Museum of Textile Art & Contemporary Fashion
Temporary Live Hall
Temporary Live Hall พื้นทีแ่ ห่งการแสดงออกผา่ นมุมมองของศิลปะสิง่ ทอและการออกแบบเครื่องแตง่ กาย พื้นทีน่ สี้ ามารถรองรับวัตถุจัดแสดงขนาดใหญไ่ ดด้ ว้ ยฝ้าเพดานทีส่ ูงถึง 5.8 เมตรและ กระจกเงาสะทอ้ นบนฝ้าเพดานทีท่ ำ�ให้สเปซนีก้ วา้ งขวางอยา่ งไมม่ ีทสี่ นิ้ สุด พื้นทีน่ ี้ สามารถรองรับไดต้ งั้ แตน่ ิทรรศการศิลปะจนถึงงานแฟชัน่ โชว์
Reception
The Cocoon Dome (exterior)
INTERIOR PERSPECTIVE
Reception พื้นทีส่ ว่ นตอ้ นรับออกแบบโดยไดแ้ รงบันดาลใจจากใตถ้ ุนบา้ นยามชาวบา้ น รับเสด็จสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตฯิ์ เคานเ์ ตอร์ทรงโคง้ รีตรงกลางใช้วัสดุไม้ เนื้อแข็งเกา่ ทีม่ าจากบา้ นเกา่ รื้อถอนถูกดัดแปลงทำ�สีลงยาใหมพ่ ร้อมประ ดับดว้ ยอะคริลิคเงาสีดำ�และกระจกเงา เป็ นการผสมผสานวัสดุเกา่ แหละ ใหมเ่ สมือนฉลองพระองคข์ องสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตฯิ์ ทีผ่ สมเทคนิคไทย และตะวันตกอยา่ งลงตัว ผนังดา้ นหลังเป็ นกลอ่ งไฟอะคริลิคขุน่ ซ่อนกิง่ ไมแ้ ห้ จำ�ลองบรรยากาศของโรงเลีย้ งไหม เสากรุกระจกช่วยสร้างภาพสะทอ้ นและ แสงเงาตา่ งๆเหมือนยามทีฉ่ ลองพระองคข์ องสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตฯิ์ ตอ้ ง แสงไฟ
The Cocoon dome พื้นทีร่ ูปทรงอิสระแรงบันดาลใจจากรังไหม ดา้ นหนา้ ฉายวิดีทัศนผ์ า่ น โปรเจคเตอร์เสนองานออกแบบฉลองพระองคใ์ นยุคตา่ งๆผา่ นเสน้ สายของ Pierre Balmain กูตูริเยร์ผเู้ ลื่องชื่อแห่งศตวรรษที่ 20 ดา้ นในฉายวิดีทัศน์ ภาพยนตร์สนั้ เกริน่ เรื่องราวนิทรรศการดา้ นบนเพื่อให้คนดูเกิดความสนใจ ใครรู้ถึงเรื่องราวเบื้องลึกของนิทรรศการและพื้นทีเ่ วิร์คชอปกิจกรรมเล็กๆ
The Cocoon Dome (interior)
Seasonal hall zone A
Seasonal hall zone C
Seasonal Live Exhibition: Tale of Textile ห้องนิทรรศการกึ่งถาวรกึ่งหมุนเวียนเลา่ เรื่องตน้ กำ�เนิดผา้ ทอ้ งถิน่ ไทยกอ่ นจะเป็ นฉลองพระองคโ์ ดยจะหมุนเวียนเปลีย่ นภูมิภาคไปตามฤดูกาลแฟชัน่ ทัง้ 4 ไดแ้ ก่ ฤดูใบไมผ้ ลิ(กุมภาพันธ-์ เมษายน)-ภาคกลาง ฤดูร้อน(พฤษภาคม-กรกฎาคม)-ภาคใต้ ฤดูใบไมร้ ่วง(สิงหาคม-ตุลาคม)-ภาคอิีสาน ฤดูหนาว(พฤศจิก รยน-มกราคม)-ภาคเหนือ จำ�ลองบรรยาศในรูปแบบ Laboratory X Local Factoryโดยนิทรรศการแบง่ ออกเป็ น 4 โซน ดังนี้ - โซน A บอกเลา่ เรื่องการกำ�เนิดทีม่ าของวัสดุตงั้ ตน้ เช่นการเพาะพันธุไ์ หมและปลูกฝ้าย - โซน B จำ�ลองโรงการเพาะดูแลวัตถุดิบกอ่ นแปรรูปไปเป็ นเสน้ ดา้ ย เช่น โรงเลีย้ งไหมและห้องคัดแยกฝ้าย - โซน C แสดงกระบวนการการสร้างผลงานศิลปะสิง่ ทอตัง้ แตเ่ ป็ นเสน้ ไหม ยอ้ มสี จนถึงทอเป็ นลายตา่ งๆผา่ นการจัดแสดงวัสดุจริงเพราะให้ผเู้ ขา้ ชมสัมผัสไดด้ ว้ ยมือของตัวเอง - โซน D จัดแสดงผลงานการทอชิน้ เอกของชาวบา้ นในชุมชนในรูปแบบของ Hall of fame
INTERIOR PERSPECTIVE
Seasonal hall zone B
Seasonal hall zone D
Gold Room
Copper Room
INTERIOR PERSPECTIVE
Diamond Room
The Queen & Fashion: Fit For The Queen ห้องจัดแสดงฉลองพระองคใ์ นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย Pierre Balmain สถาบันปั ก Maison Lesage และ Louis Vuitton จัดแสดงฉลองพระองคจ์ ริงพร้อมชุดผา้ ดิบ สมุดวัสดุและวิดีทัศนแ์ สดงแพทเทินให้ผูเ้ ขา้ ชมไดเ้ ขา้ ถึงรายละเอียดในทุกรายละเอียดของเสื้อผา้ ไดอ้ ยา่ งใกลช้ ิดผา่ นห้องจัดแสดงทัง้ 3 ไดแ้ ก่ - Gold Room (daywear dress room) ห้องจัดแสดงชุดกลางวันในบรรยากาศโทนสีทอง แรงบันดาลใจสีจากแสงอาทิตยส์ ง่ เฉิด ฉายยามกลางวัน โดดเดน่ เกรียงไกร และเป็ นสีทสี่ ่อื ถึงความหรูหราอยา่ งไทยและฝรัง่ เศสไดเ้ ป็ นอยา่ งดี - Diamond Room (evening dress room) ห้องจัดแสดงชุดราตรีในบรรยากาศโทนสีมว่ งฝ้า แรงบันดาจใจสีจากงานปั กเพชร และ คริสตัลบนฉลองพระองคท์ โี่ ดเดน่ ยามตอ้ งแสงเสมือนดวงดาวบนทอ้ งฟ้ายามค่ำ�คืน - Copper Room (thai traditional dress room) ห้องจัดแสดงชุดไทยพระราชนิยมใน บรรยากาศโทนสีทองแดงแรงบันดาลใจ สีมาจากสีของไมแ้ ดง ไมท้ นี่ ิยมใช้ในสถาปั ตยกรรมไทย สะทอ้ นกลิน่ อายของความเป็ นประเทศเขตร้อนไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ทัง้ ยังสง่ เสริมให้ชุดจัด
แสดงดูขลังและสูงสง่ ในแบบอยา่ งไทยทีม่ ีความขึงขังและสุขุม
4th floor
3rd floor
2nd floor
M floor
G floor : Public space
: Semi-public space
: Private space
WORKING DRAWING
Interior design o academic project N Interior design for boutique hotel
U Ga Mi Hotel Asoke Bangkok
Interior designer: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij https://www.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij/media_set?set=a.2162231900481324&type=3&upload ed=28
10
WORKING DRAWING
WORKING DRAWING
WORKING DRAWING
S D
ke
ketch esign
D
Architectural & Interior design Interior designer: Mr. Thanapath Wutthinitikornkij All of the sketches made by hand rendering by watercolour, marker, pencil colour technique and retouched by Adobe Photoshop and Adobe Lightroom
Etc
c. Fashion design Internship opportunity Fashion design contest Individual free project
Graphic design & Illustration
internship opportunity
Detail design for
Kloset
Summer Holiday 2019 Illustration sketch for develope process
Embroidery detail for
Kloset
Spring/Summer
2019
Embroidery crystal detail
Lace trim mockup
Gathering lace lily detail mockup
Embroidery sequin and bead detail
Embroidery detail in lily shape (get selecteed and developed by head designer) and leopard pattern
Patchwork lily shape sketch
Illustration for print on fabric
Lily sequin mockup developed
Detail design for
Kloset Summer Holiday 2019
internship opportunity
Kloset Fall/Winter 2019-2020
Midnight in
Paris
Van Gogh aesthetic
Runway support
Paris beaux arts architecture
1920s fashion style
Muse Scene from Midnight in Paris
internship opportunity คอลเลคชัน่ นีไ้ ดร้ ับแรงบันดาลใจมาจากเรื่องราวความโรแมนติคในภาพยนตร์เรื่อง “Midnight in Paris” ไดน้ ำ�กลิน่ อายในฉากทีต่ ัวละครเอกไดย้ อ้ นเวลากลับไป ในกรุงปารีสในยุค 1920 ยามค่ำ�คืนทีค่ ละคลุง้ ไปดว้ ยเสียงดนตรีแจ๊ส และชีวิตยามราตรีอันเปี่ ยมไปดว้ ยชีวิตชีวา และความโรแมนติคของปารีสทีท่ ำ�ให้ผคู้ นไดล้ มุ่ หลงไปในความ รัก ถ่ายทอดผา่ นโครงชุดแบบทศวรรษที่ 1920 ดีเทลของสถาปั ตยกรรมแบบ Beaux arts กลิน่ อายของเมืองแห่งศิลปะและเรื่องราวของศิลปิ นทีผ่ า่ นเขา้ มาในเรื่อง และการแตง่ ตัวแบบชาวปารีเซียงทีผ่ สมผสานลุคเทป่ นหวานไดอ้ ยา่ งนา่ สนใจ อาทิ โครงเสื้อแบบ masculine แตใ่ ช้ผา้ พริว้ ไหวแบบ feminine และดีเทลงานปั ก ฉลุ ลูกไม้ การตกแตง่ ขน นก และการจับระบายตา่ งๆ
Collection
internship opportunity
Lace block
Iris pattern 1920s fashion style
Collection sketch
Illustration sketch
Lace trim sketch
Pattern illustration sketch
Lace trim sketch
Embroidery block sketch
Pattern illustraion sketch
Kloset Fall/Winter 2019-2020
Midnight in
Paris
internship opportunity
fashion design contest
Harper’s Bazaar Asia Newgen 2018 Award:
Boundless by Thanapath จากแนวคิด “Boundless Sexuality” การผสมผสานเอกลักษณข์ องเสื้อผา้ บุรุษ และสตรีเขา้ ดว้ ยกันเพื่อหลอมรวมช่องวา่ งระหวา่ งอัตลักษณท์ างเพศ นำ�มาสูก่ าร ออกแบบคอลเลกชัน่ เครื่องแตง่ กายประเภท lifestyle workwear สำ�หรับกลุม่ ลูกคา้ ผูห้ ญิงทีม่ ีความลื่นไหลทางเพศ และกลุม่ หลากหลายทางเพศ ภายใตช้ ่อื “Boundless” โดยไดร้ ับแรงบันดาลใจมาจากตัวละครในซีรียส์ The Alienist ชื่อ Sara Howard ผูห้ ญิงคนแรกทีไ่ ดท้ ำ�งานในกรมตำ�รวจนิวยอร์กในช่วงทศวรรษ 1890 และมีคาแรคเตอร์ ความขบถ ไมย่ อมแพต้ อ่ ขนบธรรมเนียมและสังคมโลกชายเป็ นใหญท่ กี่ ดขีเ่ ธอ และซิลูเอทแบบทศวรรษที่ 1980s ซึ่งเป็ นยุคแห่ง “หญิงแกร่ง ชายไร้เพศ” ผสมผสานกับเท รนดป์ ี 2019 ทีว่ า่ ดว้ ยการนำ�สิง่ เกา่ ๆจากอดีตนำ�กลับมาใช้ใหม่ นำ�มาสูค่ อลเลกชัน่ สะทอ้ นภาพลักษณข์ องคนแนวทีม่ ีทัศนคติแบบหญิงสมัยใหมท่ มี่ ีไมจ่ ำ�เป็ นตอ้ งอ่อนหวาน แบบหญิงพิมพน์ ิยม และไมจ่ ำ�เป็ นตอ้ งแกร่งเสมือนผูช้ าย เป็ นคนมีความเป็ นตัวของตัวเอง ไมแ่ ข็งกระดา้ งหรืออ่อนหวานจนเกินไป ทัง้ ยังมีความมัน่ ใจ และสนุกในการใช้ชีวิต ทัง้ เวลาทำ�งาน และหลังเลิกงาน ถ่ายทอดผา่ นโครงชุดแบบmasculine สูทบา่ ตัง้ แบบ 1980s การใช้ผา้ แบบ tailor matchกับดีเทลและวัสดุแบบfeminine เช่น การจับ ระบาย ผา้ ลูกไม้ ผา้ แกว้ และไหมซาตินสีจัดจ้าน สะทอ้ นลุคของสาวเทm ่ asculineแบบ1980s แตแ่ ฝงไปดว้ ยกลิน่ หวานแบบวิคตอเรียน
(ขวา) ดีเทลรายละเอียดงานปั ก และตัวอยา่ งวัสดุจริง (ลา่ ง) Presentation board ขนาด A2 จำ�นวน 3 แผน่ ประกอบดว้ ย 1. อธิบายแนวคิด ปั ญหา และวิเคราะห์เทรนด์ ปี 2019 2.แผนธุรกิจ จุดเดน่ อัตลักษณ์ 3.คอลเลคชัน่
corrabarate project
Spring/Summer 2018:
Blooming Future เทรนดแ์ ละคา่ นิยมทางสังคมกำ�ลังหวนคืนกลับไปสูค่ า่ นิยมแบบทศวรรษ1980 “หญิง แกร่ง/ชายไร้เพศ” กระแสของสตรีนิยมและความเทา่ เทียมทางเพศมีบทบาททางสังคมอยา่ งมาก กับวิถีชีวิตของผูค้ นในยุคปั จจุบันและอนาคต ถึงแมว้ า่ สังคมจะดำ�เนินมาสูย่ ุคทีเ่ พศของผูค้ นไม่ สามารถให้คำ�จำ�กัดความอันแนน่ อนได้ มีกลุม่ เพศอันหลากหลายนับไมถ่ ้วนทีเ่ กิดขึ้นมาใหมใ่ น ทุกๆวัน แตส่ ินคา้ แฟชัน่ ในประเทศไทยในปั จจุบันก็มีช่องวา่ งสำ�หรับกลุม่ ผูบ้ ริโภคAndrogynousอยู่ จึงไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ความตอ้ งการ และบุคลิกตา่ งๆของกลุม่ ผูบ้ ริโภคกลุม่ นี้ จากการศึกษาอ้างอิงจาก 2018 NUANCES โดย Carlin creative trend bureau ขา้ พเจ้าไดก้ อ่ กำ�เนิดแนวคิด “Non-gender design X futuristic maximalist” โดยไดร้ ับแรง บันดาลใจจากsilhouetteยุค80s อัตลักษณข์ องเสื้อผา้ บุรุษและสตรี และดอกไม้ สัญลักษณค์ วาม งามอันไร้ของเขตทางเพศแห่งธรรมชาติ จึงเกิดเป็ นคอลเลคชัน่ เสื้อผา้ all-day wear ภายใตช้ ่อื : “Blooming Future” spring/summer 2018
Resort 2019:
individual free project
Roman Reminiscent การบริโภคสินคา้ แฟชัน่ ในปั จจุบันผลิต ซื้อ ขายกันอยา่ งรวดเร็ว และตกเทรนดท์ ันใดเมื่อมีสินคา้ ใหม่ เขา้ มาแทนที่ การผลิตแบบอุตสาหกรรมเสื้อผา้ สำ�เร็จรูปทีเ่ นน้ ความรวดเร็วในการผลิตสินคา้ ทำ�ให้สินคา้ แฟชัน่ ขาด ชีวิตชีวา คุณคา่ ในเชิงสุนทรียะทางศิลปะ และความละเอียดอ่อนของจิตใจ อีกทัง้ ช่องวา่ งของศิลปะในอดีตกับความ ร่วมสมัยในชีวิตปั จจุบันกำ�ลังห่างเหินและทูกแทนทีด่ ว้ ยศิลปะยุคดิจิตอล ศิลปะและสถาปั ตยกรรมเกา่ แกก่ ำ�ลังถูก มองเป็ นสิง่ คร่ำ�ครึทไี่ มส่ ามารถนำ�กลับมาใช้ไดใ้ นปั จจุบัน จากการวิเคราะห์เจาะเทรนดโ์ ลกปี 2018 โดย TCDC ขา้ พเจ้าไดส้ นใจในหัวขอ้ “Remaster” ทีว่ า่ ดว้ ยการนำ�ศิลปะอันยิง่ ใหญใ่ นอดีตกลับมาใช้ใหมใ่ นปั จจุบันเพื่อเพิม่ คุณคา่ ของตัววัตถุและในดา้ นจิตใจ นอกจาก นีย้ ังช่วยเชื่อมตอ่ ช่องวา่ งระหวา่ งงานศิลปะในอดีตและการใช้ชีวิตในยุคปั จจุบันเขา้ ดว้ ยกัน จึงกอ่ เกิดแนวคิด “The mix of modernity and antiquity” การผสมผสานระหวา่ งอดีตและปั จจุบันโดยไดร้ ับแรงบันดาลใจจากศิลปะ สถาปั ตยกรรม และเครื่องแตง่ กายในยุคโรมัน ยุครากฐานแรกเริม่ แห่งศิลปวิทยาการของโลก สูค่ อลเลกชันเสื้อผา้ สตรี ready to wear ภายใตช้ ่อื “Cruise 2019: Roman Reminiscent”
special opportunity
Tuktuk design for
SIAM
FOOD FESTIVAL Date: 7-10 July 2017 Venue: Parc Siam Paragon จัดงานเทศกาลอาหาร “Siam Food Festival” เพื่อ เป็ นการเปิ ดกิจกรรมและโปรโมชัน่ Amazing Thai Taste ในบริเวณศูนยก์ ารคา้ สยามพารากอนสยามเซ็นเตอร์ สยามดิสคัฟเวอรี่ โดยภายในงานไดม้ ีการใช้รถตุก๊ ตุก๊ เป็ นร้านคา้ ขายอาหารไทย ขา้ วไทย ผลไมไ้ ทยตามฤดูกาล และ ผลิตภัณฑแ์ ปรรูป นอกจากนี้ ยังมีจัดแสดงรถตุก๊ ตุก๊ ทีต่ กแตง่ โดยศิลปิ นที่ ไดร้ ับแรงบันดาลใจจาก อาหารไทย ขา้ วไทย และผลไมไ้ ทย ในการแสดงงานครัง้ นี้ Concept: Street Food is Art Description: เพราะอาหารริมถนนก็เหมือนศิลปะการใช้ชีวิตอยา่ งหนึ่งใน กรุงเทพมหานครแห่งนี้ จึงไดน้ ำ�ผลงานของศิลปิ นAugust Renoir ซึ่งเป็ นผลงาน ศิลปะระดับโลก มาผสมผสานกับอาหารริมถนนแบบไทยๆ ถ่ายทอดผา่ นในเชิงของ วัฒนธรรมป๊อปและศิลปะคอลลาจเชิงลอ้ เลียน
ILLUSTRATION
Final Project Interior Working Drawing Isometric Presentation
CHANEL BOUTIQUE – HÔTEL
Chanel Boutique – Hotel เป็ นโรงแรมคอนเซปในอนาคตของChanelทีร่ วม ทัง้ สว่ นของ boutique, atelier และ private hotel ไวด้ ว้ ยกัน โดยการนำ�เสนอ ผา่ นisometric ไดน้ ำ�อัตลักษณแ์ ละสัญลักษณต์ า่ งๆของ brand เช่น สีขาว, สีดำ�, สีทอง, ขวดน้ำ�หอม CHANEL No5, Chanel suit, สัญลักษณ์ double C ซึ่งเป็ น โลโกข้ องbrand และองคป์ ระกอบตา่ งๆทีม่ ีในห้องพักของ Coco Chanel ผูก้ อ่ ตัง้ brand ที่ The Ritz Hotel จัตุรัสวองดูม กรุงปารีส และ Chanel Boutique บน ถนนกัมบง กรุงปารีสมาใช้ในการออกแบบ สัดสว่ นการจัด zoning ใน isometric presentation นี้ แบง่ ออกเป็ น ชัน้ 1 Boutique ชัน้ 2 Atelier & Studio ชัน้ 3 Lobby & All Day Dining ชัน้ 4 Private Hotel ชัน้ 5 Sky Lounge โดยการออกแบบ display โชวส์ ินคา้ บริเวณชัน้ 1และ color scheme ของชิน้ งาน ไดอ้ ้างอิงมาจาก Chanel Cruise 2018 Collection ซึ่งมีสีหลักเป็ นสีขาว-ดำ�-ทอง Technique: Acrylic and pen drawing Size: A1
ILLUSTRATION
ILLUSTRATION
Architectural drawing (2017)
(หนา้ ซ้าย แถวซ้าย) - ศาลาสระแกว้ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พระทีน่ งั่ พิมานปฐม - สะพานสุนทรถวาย (หนา้ ซ้าย แถวขวา) - พระต�ำหนักชาลีมงคลอาสน์ - สะพานเชื่อมพระต�ำหนัก พระราชวังสนามจันทร์ (หนา้ ขวา) - พระปฐมเจดีย์ - พระทีน่ งั่ วัชรีรมยา - พระต�ำหนักทับขวัญ - หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Reproduct Rendering (2016) Technique: watercolor, marker, pencil color
Illustration of Asakusa Culture Tourist Information Centre (2016) Technique: marker, pencil color
ILLUSTRATION
"TAILOR", the easy chair (2017) The study of form
"JOIN", the wooden furniture collection (2017) The study of joint
ILLUSTRATION
Illustration for "Design Thinking & Disruptive Design" book (2019)
ILLUSTRATION
(หนา้ ซ้าย) Layout design for “Design Movement Timeline” book (2018)
(หนา้ ขวา) Reproduct drawing of “The Sparrow” (2014)
ILLUSTRATION (หนา้ ซ้าย) The Sight (2017) Technique: Adobe Illustrator
Birdy Gatsby Party No.1, 2 (2017) Technique: hand drawn, Adobe Illustrator
(หนา้ ขวา) Illustration of Gucci Spring/Summer 2017 (2016) Technique: watercolor, marker, pencil color
The Buzz (2017) Technique: Adobe Illustrator
Tsim Sha Tzui Girls Thought The Decade (2017) Technique: Pen / pencil drawing
The Scent (2017) Technique: Adobe Illustrator
Tribute to Eero Saarinen (2017) Technique: marker
LEATHER GOODS DESIGN "Punchy", the bucket bag (2017) Material: PVC, Leather
epilogue
Credits and special thanks Interior design academic project Interior design academic project no.3 advisor Interior design academic project no.5 advisor Interior design academic project no.6 advisor Interior design academic project no.7 advisor Interior design academic project no.8 advisor Interior design academic project no.9 advisor Interior design academic project no.10 advisor
Mr. Sombat Wongatsawanaruemon Mr. Kasitin Chumwaranond Mr. Kasitin Chumwaranond Asst.Prof. Chainarong Ariyaprasert Prof. Nuchnapang Keonail Mr. Pasu Charusiri, Prof. Nuchnapang Keonail Mr. Pasu Charusiri, Prof. Nuchnapang Keonail
Corrabarate project Photography Mr. Pobprut Wongpuckdee, Ms. Nutcha Harnpukdipatima Model Ms. Atikarn Thontago, Ms. Nutcha Harnpukdipatima Fashion design Mr. Thanapath Wutthinitikornkij Textile design Mr. Panupong Suwanjuthamanee Leather goods design Mr. Praison Waebunditrayub Makeup Ms. Atikarn Thontago, Ms. Sanyalak Khemlad Snapshot Ms. Praew Siriudomset Accessories / Stylist Mr. Thanapath Wutthinitikornkij, Mr. Panupong Suwanjuthamanee, Mr. Praison Waebunditrayub Pattern making Facebook: รับตัดเสื้อ Fashionmaking
Individual fashion free project Photography Ms. Nutcha Harnpukdipatima Model Ms. Atikarn Thontago Fashion design Mr. Thanapath Wutthinitikornkij Accessories Mr. Thanapath Wutthinitikornkij, SHERs Pattern making Facebook: รับตัดเสื้อ Fashionmaking