A portfolio of
Thanapath Tangchartsakul 陳興元 Including the work in interior design, fashion design, architecture and illustration during academic life, internship and freelancer. (2021 edition)
Profile
Thanapath Tangchartsakul Thai name: ธนภัทร ตัง้ ชาติสกุล Chinese name: 陳興元 English Nickname: Dome Gender: Male Date of birth: October 14th 1997 Nationality: Thai
Contact Mobile: 0867804577 Address: 140/66 Soi Itsaraphap 39 (Wat Dongmunlek), Ban Chang Lor, Bangkok Noi, Bangkok 10700 Email: dome46014@gmail.com Facebook: https://www.facebook.com/thanapath.wutthinitikornkij Instagram: dome_tt
Education 2004-2015 Assumption College - Bangkok, Thailand 2016-2020 Bechelor of Fine Arts (Major in Interior Design) GPA: 3.51 (2nd Class Honuors) Department of Interior Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand
Language Thai (native) English (fair) Mandarin Chinese (Traditional character - Taiwan) (beginner)
Interest Art & design / History / Social / Politics / Culture / 20th century aesthetics / Architecture / Fashion / Music
Design skill Drawing & sketch / Painting / Technical drawing / Model making / Styling / Illustration / Bag pattern / Embroidery / Sewing
Work experience (June 2018 - July 2018) Internship in fashion design career in department of design and pattern making at Kloset Design Co., Ltd. - Making garment detail and embroidery for collection Spring/ Summer 2019. - Designing garment detail and create an illustration for fabric printing for collection Summer Holiday (Pre-fall) 2019. - Creating, designing and develop in pattern printing, illustration, garment detail, silhuoette and concept for collection Fall/Winter 2019-2020. - Assitant pattern maker - Assitant photographer and dresser for casting model in womenswear and childrenswear. (June 2019 - July 2019) Internship in interior design career at Interior Architects 49 Limited (IA49). - Assitant interior design internship in the team of "TAIT 12, Bangkok, Thailand". - Assitant interior design internship in the team of "Pullman Haiphong Hotel, HaiPhong, Vietnam". - Assitant interior design internship in the team of "Siamese Queen, Bangkok, Thailand". - Assitant interior design internship in the team of "Palm 360, Dubai, United Arab Emired". (Present) Freelance designer.
Achievement Showcase in PloySaeng Student Showcase in Bangkok Design Week 2019 on 26th January - 6th Febuary 2019 at Grand Postal Office Chareon Krung road. (Architecture - TCDC x Silpakorn Co-create Space)
Computer program skill Adobe Photoshop
Adobe Illustrator
Adobe Indesign
Adobe Lightroom
Microsoft Office (Words / Powerpoint)
Sketchup / Vray
AutoCad
CONTENT academic interior design project
8
ART THESIS - Interior design for public mix-used creative spce
48
Landscape design for pre - thesis project
54
Interior design for boutique hotel
76
Interior design for museum
90
Interior design for performance space and theatre
120
Interior design for public co-working space
134
Interior design for boutique and retail space
Charoen Krung Creative Forest
Chareon Krung Creative Forest
Mei Lan Fang Grand Theatre
146
Interior design for small size restaurant and café
Jarlet’s Sweet
U Ga Mi Hotel
U Ga Mi Hotel
154
Interior design for residential space house
Baan Klang Mueng - CLASSE
The Queen and Balmain Museum of Textile Art and Contemporary Fashion
Tube Gallery Boutique
academic sketch design for interior design and furniture design
162 freelance, internship and individual project
176
FREELANCE - Interior design for office (cooperated with ID.ID.Interior Design)
184
Internship in fashion design at KLOSET DESIGN
196
Individual project: fashion design, graphic design, illustration amd leather goods design
Golden Crance Prachin Buri
180
Internship in interior design at INTERIOR ARCHITECTS 49 limited (IA49)
academic interior design project
art thesis Interior design for public mix-used creative space
Chareon Krung Creative Forest Chareon Krung road, Bangkok, Thailand
Interior designer: Thanapath Tangchartsakul
พืน้ ที่ “Chareon Krung Creative Forest” หรือ “อุทยานปั ญญาสร้างสรรค์เจริญกรุง” เป็ นพืน้ ที่ท่ีเสมือนสวนอีเดนบนโลกมนุษย์ของ ประชาชนทุกคนที่สร้างขึน้ ในศตวรรษที่ 21 โดยต่อยอดจากโครงการ TCDC Chareon Krung ซึง่ ได้ส่งั สม ผนวก และต่อยอดองค์ความรูจ้ ากอดีต สูก่ ารเติมเต็มความฝันที่ขาดหายไปของอาคารไปรษณียก์ ลาง บางรักแห่งนีจ้ ากยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง และ Modernize ประเทศ เพื่อให้ ประชาชนทุกคนไว้เป็ นแหล่งส�ำหรับบ่มเพาะ แบ่งปั น และเผยแพร่ความรูค้ วามคิดสร้างสรรค์กนั อย่างเสรี เพื่อให้เป็ นจุดศูนย์รวมความคิด สร้างสรรค์ของคนรุน่ อดีตกาลและคนรุน่ ใหม่ได้มาพบปะกันที่น่ี ซึง่ สอดคล้องกับพืน้ ที่ของย่านเจริญกรุงที่เป็ นย่านสร้างสรรค์ของกรุงเทพมหานคร เป็ นศูนย์กลางของเมือง เป็ นที่ตงั้ ของถนนเส้นแรกที่รวบรวมวิถีชีวิตและประวัตศิ าสตร์ของชุมชนหลากหลายชาติพนั ธุแ์ ละภูมิปัญญาของสังคมที่ ผ่านเหตุการณ์ตา่ งๆในหน้าประวัตศิ ตร์มาอย่างช้านาน โดยผ่านการแสดงออกผ่านทางศิลปะ งานออกแบบและสื่อสร้างสรรค์ตา่ งๆเพื่อสะท้อน ถึงความนึกคิด ประสบการณ์ และวัฒนธรรมของผูค้ นกันอย่างไร้ขีดจ�ำกัด โดยได้นำ� แนวคิดของ Design Thinking (UK Design Council) ที่พดู ถึงกระบวนการการออกแบบที่มีหลากหลายกระบวนการ วิธี แนวคิด และรูปแบบที่จะน�ำมาซึง่ ผลส�ำเร็จของการแก้ปัญหา และแนวคิด Nostalgia ที่กล่าวถึงการหวนร�ำลึกความหลังของมนุษย์มาใช้ในการออกแบบภาพรวม ฟั งก์ช่ นั Circulation & programming การออกแบบภายในและ สถาปั ตยกรรมภายในควบคุมกับการอนุรกั ษ์อาคารประวัตศิ าสตร์เพื่อตอบสนองกลุม่ ผูใ้ ช้งานในศตวรรษที่ 21 ที่มีหลากหลายเชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ อายุ เจเนอเรชั่น และลัทธิความความคิดอันเสรี ไม่สนิ ้ สุด และเป็ นจุดบรรจบกันของกาลเวลาทัง้ อดีต ปั จจุบนั และอนาคต แนวคิดการหวนร�ำลึกถึงความหลังหรือ Nostalgia ก�ำลังมีอิทธิพลอย่างมากในปั จจุบนั ซึง่ สอดคล้องกับแนวคิดแบบสมัยฟื ้ นฟูศลิ ปะ วิทยาการในสมัยศตวรรษที่ 15 - 16 ที่วา่ ด้วยเรือ่ งการน�ำองค์ความรูเ้ ก่ามาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อปรับให้ตอบรับกับสังคมแห่งความหลากหลาย ซึง่ ณ สังคมในศตวรรษที่ 21 นี ้ สังคมได้มีทงั้ ความเชื่อ วัฒนธรรม แนวคิด เพศ ที่หลากหลายและไม่มีรูปแบบที่ตายตัว ผูค้ นสามารถเลือกได้วา่ จะ รับสารสิ่งใดให้เหมาะสมกับตนเอง จึงเกิดความ ความคิดริเริม่ ในการน�ำแก่นของแนวคิดในสมัยฟื ้ นฟูศลิ ปะวิทยาการที่วา่ ด้วยการน�ำองค์ความรู ้ เก่ามาใช้ใหม่อีกครัง้ หนึง่ (rebirth) ผสมผสานกับเทรนด์การตลาดแบบ Nostalgia Marketing ในปั จจุบนั สูแ่ นวคิดในการออกแบบ (Recreate Redesign) ด้วยการน�ำแนวคิดทางศิลปะ การเมือง สังคม และเศรษฐกิจในยุคสมัยต่างๆมาผสมสานกับองค์ประกอบทางสังคม วัฒนธรรมของ ชุมชนหลากวัฒนธรรมบนถนนเจริญกรุง (ตะวันตก-จีน-มุสลิม-ไทย) ให้เกิดอัตลักษณ์และภาพลักษณ์ท่ีมีความเฉพาะตัวในงานออกแบบ สะท้อน ถึงภาพลักษณ์ของเจริญกรุงและผูค้ นในศตวรรษที่ 21 ที่อดุ มไปด้วยความปั จเจกและความหลากหลายทัง้ ทางสังคม วัฒนธรรม ภาษา เพศ และ กาลเวลาที่แตกต่างกันให้เกิดความลงตัวเพื่อการออกแบบแก่ “คนเจริญกรุงในศตวรรษที่ 21” ที่เป็ นย่านสร้างสรรค์ของกรุงเทพมหานคร ภายใน การออกแบบแนว Maximalism - Contemporary - Multicultural Design โดยแรงบันดาลใจในการออกแบบ ข้าพเจ้าได้รบั แรงบันดาลใจจากภาพเขียน “The Garden of Earthly Delights” ของ Hieronymus Bosch ศิลปิ นในช่วงยุคฟื ้ นฟูศิลปวิทยาการ โดยเนือ้ หาของภาพได้เล่าถึงโลกแห่งความวุน่ วายแห่งกิเลสตัณหาของมนุษย์ ซึง่ ในมุมมองของ ข้าพเจ้า กิเลสตัณหาของมนุษย์ทำ� ให้มนุษย์เกิดความอยากใคร่รูท่ ่ีจะหาหนทางมาตอบสนองกิเลสของตนเอง ซึง่ ความทะเยอทะยานของมนุษย์นี ้ ท�ำให้มนุษย์ได้เรียนรูถ้ งึ นวัตกรรมและความรูใ้ หม่ๆต่างๆอย่างไร้ขีดจ�ำกัด และไร้กรอบของความเชื่อ เพราะกิเลสของมนุษย์เป็ นสิ่งที่ไม่มีวนั สิน้ สุด ข้าพเจ้าจึงได้แปรค่าความหมายของภาพในอุดมคติในแบบของยุค Renaissance สูย่ คุ ศตวรรษที่ 21 ของถนนเจริญกรุง ที่ท่ีอดุ มไปด้วยความ หลากหลายอันไร้ขีดจ�ำกัด และความทะเยอทะยานอยากใคร่รูท้ ่ีจะสร้างสรรค์ส่งิ ใหม่ๆมาตอบสนองคุณภาพชีวิตของตนให้ดีขนึ ้ ผสมผสานกับ แนวคิดแบบ Nostalgia Marketing ซึง่ สุดท้ายและก็จะตรงกับหลักสัจธรรมในพระคัมภีรไ์ บเบิลที่วา่ “There is nothing new under the sun.” บน โลกนีไ้ ม่มีอะไรใหม่ ทุกอย่างล้วนเกิดขึน้ มาแล้ว และทุกอย่างบนโลกนีล้ ว้ นเกิดจากการที่มนุษย์เรียนรูจ้ ากอดีตเพื่อน�ำมาใช้ในปั จจุบนั นั่นเอง
for full story of this art thesis
please scan!
interior design academic project no. 11 Landscape design option for pre - thesis project
Chareon Krung Creative Forest Chareon Krung road, Bangkok, Thailand
Landscape designer: Thanapath Tangchartsakul
interior design academic project no. 10 Interior design for boutique hotel
U Ga Mi Hotel Sukhumvit 14 alley, Bangkok, Thailand
Interior designer: Thanapath Tangchartsakul
TWISTED SPACE ANTI - FASHION X AVANT GARDE
TWISTED DEMANDING ปั จจุบนั รสนิยมการบริโภคของคนมีการเปลี่ยนไปตามนวัตกรรมและเหตุ การ์ทางสังคมที่เกิดขึน้ กลุม่ ผูบ้ ริโภค Generation Y ที่มีฐานรายได้ในระดับ Class A – B (การระบุความหมายของชนชัน้ มาจากสถานะทางเศรษฐกิจ (Socio-Economic Class-SEC)) ที่มีรายได้ตงั้ แต่ 50,001-85,000 และ 85,100 ขึน้ ไปมีรสนิยมการบริโภค ที่มีความหรูหราแต่ไม่ได้มีความจริงจังทางการเหมือนในอดีต มีความเป็ นกันเองและ ความหลากหลายปั จเจกของตัวบุคคลในสังคมมากขึน้ ทัง้ นีก้ ารประกอบอาชีพทาง ธุรกิจในปั จจุบนั ไม่ได้มีรูปแบบที่ตายตัวเหมือนในอดีตและมีรูปแบบที่หลากหลายมาก ขึน้ ตามความเป็ นปั จเจกบุคคล แต่อย่างไรก็ตาม โรงแรมธุรกิจในปั จจุบนั ที่ได้รบั การ ออกแบบให้มีรสนิยมและดีไซน์ท่ีตอบสนองกลุ่มลูกค้ากลุ่มนีท้ ่ีกำ� ลังมีเยอะมากขึน้ เรือ่ ยๆกลับมีนอ้ ย มีความเป็ นทางการสูงและมีลกั ษณะการออกแบบคล้ายคลึงกัน หมด ท�ำให้ไม่มีความแตกต่างโดเด่นของตลาดโรงแรมธุรกิจและไม่มีจดุ เด่นที่ทำ� ให้ ภาพลักษณ์ของโรงแรมนัน้ ๆต่างจากคูแ่ ข่งในตลาดมาก จากการศึกษากลุม่ ผูบ้ ริโภคย่านอโศกมนตรี กลุม่ ผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่เป็ น อัตราส่วนคนไทยและคนต่างชาติในอัตราส่ววนเท่าๆกัน โดยในอัตราส่วนของชาวต่าง ชาติจะเป็ นกลุม่ ชาวเอเชีย อาทิ จีนและญี่ปนุ่ ถึง 70% ทัง้ นีย้ า่ นอโศกยังเป็ นย่านที่ รวบรวมยังเป็ นย่านที่มีส่งิ อ�ำนวยความสะดวกและไลฟ์ สไตล์ท่ีหลากหลาย อาทิ ห้าง สรรพสินค้า สถานีรถไฟฟ้า สถานีรถไฟใตดิน อาคารส�ำนักงาน ฯลฯ จึงริเริม่ การ ออกแบบโรงแรมภายใต้แนวคิด “Twisted Space: Anti-fashion X Avant-garde” เพื่อ ใช้ในการตอบสนองกลุม่ เป้าหมาย Asian business generation Y และยังคงความ เป็ นไลฟ์ สไตล์ในแบบของย่านอโศกอยู่ โดยได้นำ� แรงบันดาลใจในการออกแบบมาจาก ผลงานของนักออกแบบผูบ้ กุ เบิกงานแนว Avant-garde ชาวญี่ปนุ่ อาทิ Rei Kawakubo, Junya Watanabe, Yohji Yamamoto และ Issey Miyake มาตอบสนองกลุม่ นี ้
TWISTED PEOPLE IN TWISTED TOWN ในอนาคตกรุ งบริโภคเจเนอเรชั่นวายจะกลายเป็ นผูบ้ ริโภคกลุม่ ที่ใหญ่ท่ีสดุ แต่ดว้ ยบุคลิกของกลุม่ คนเจเนอเรชั่นนีท้ ่ีมีความเป็ นปั จเจกสูงและไม่มีอะไรตายตัว แต่ สถานประกอบการโรงแรมในกรุ งเทพมหานครส่วนใหญ่กลับเป็ นการออกแบบตกแต่ง ที่รองรับรับกลุม่ ผูบ้ ริโภคที่มีลกั ษณะคล้ายๆกันโดยไม่ได้ตอบสนองกลุม่ ผูบ้ ริโภคกลุม่ นี ้ ซึง่ แนวคิดแบบ Anti - fashion หรือการท�ำตัวให้หลุดจากกระแสของสังคมนิยมที่นำ� ยมาใช้ในการออกแบบเพื่อตอบสนองกลุม่ ผูบ้ ริโภคกลุม่ นีก้ ำ� ลังกลายเป็ นรสนิยมแนว ใหม่ของกลุม่ ผูบ้ ริโภครุน่ ใหม่ท่ีมีกำ� ลังทรัพย์สงู โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชีย เช่น จีน ญี่ปนุ่ เกาหลี นอกจากนีก้ ลุม่ ผูบ้ ริโภคกลุม่ นีย้ งั มีความต้องการที่พิเศษไม่เหมือนใคร ทัง้ ต้องการที่หรูหรามีระดับแต่คนไม่พลุก่ พล่าน ชอบที่สว่ นตัวสูงแต่ตอ้ งมีผคู้ น อยาก ใกล้ชิดธรรมชาติแต่ขาดชีวิตแบบในเมืองไม่ได้ อยากเปรีย้ วสวยเก๋ไม่เหมือนใคร และ ยังต้องสามารถเป็ นที่อวดในโลกออนไลน์ให้คนอื่นอิจฉาต่อได้อีกด้วย การออกแบบ โรงแรมนีจ้ งึ เป็ นไปในแนวทาง Luxury private hotel ที่มีเพียงทัง้ หมด 22 ห้อง โดยที่ แต่ละห้องจะมีดีไซน์ทพิเศษี่ ไม่เหมือนกันเลยแม้แต่หอ้ งเดียว เพื่อให้กลุม่ ลูกค้าใน ดื่มด�่ำกับชีวิตในแบบส่วนตัวที่มีสไตล์ไม่เหมือนใคร
FACADE AND EXTERIOR การออกแบบ facade ของอาคารเป็ นการออกแบบเพื่อสิ่ง แวดล้อมโดยการใช้ผงั green wall เพื่อลดความร้อนที่ผา่ นเข้ามาในผนัง และยังลดฝุ่ นควันมลพิษรอบอาคาร และวางวางแปลนของห้องพักทุกห้อง จะมีระเบียงส่วนตัว รวมถึงห้องพักตัง้ แต่ deluxe ขึน้ ไปจะมีสระน�ำ้ ส่วนตัว เป็ นของตัวเอง เพื่อให้ลกู ค้าสามารถเข้าถึงอากาศด้านนอกได้โดยเปลี่ยน ค�ำนิยามการเข้าพักโรงแรมในเมืองที่จะเข้าแต่หอ้ งพักอย่างเดียว
MAIN LOBBY AND MEETING LOUNGE โถงล๊อบบีก้ ลางออกแบบตกแต่งโดยค�ำนึงการใช้วัสดุท่ี ผ่าน กระบวนการรีไซเคิลเป็ นส�ำคัญ เพราะความ Avant-garde ไม่ใช่เน้นแต่ เพียงความแปลกใหม่อย่างเดียว แต่ตอ้ งน�ำไปซึง่ นวัตกรรมอีกด้วย สะท้อน ผ่านการใช้พืน้ พืน้ ที่ท่ีโรยด้วยวัสดุจากขยะพลาสติก ผนังตกแต่งบริเวณโถง ลิฟท์ และArt Piece ที่หอ้ ยลงมาจากเพดานโถงกลางของโรงแรมท�ำจาก ขยะเศษผ้าจาดอุตสาหรกรรมแฟชั่นน�ำไปอัดผ้ากาวแล้วเคลือบด้วยโพลียู รีเทน น�ำมาเรียงต่อกันเหมือนเทคนิคงาน patchwork
FUSION CAFETERIA LAB สีเขียวมักจะท�ำให้ผูพ้ บเห็นรู ส้ ึกสดชื่นมี ชีวิตชีวา รวมทัง้ เจริญอาหารด้วย การออกแบบพืน้ ที่ Fusion Cafeteria Lab ซึง่ เป็ นพืน้ ที่ท่ีลกู ค้าสามารถ mix อาหารได้เองตามใจชอบ ยังสามารถแชร์พืน้ ที่สี เขียวกับทุกๆคนได้โดยสเปซของพืน้ ที่นีจ้ ะเชื่อมกับ พืน้ ที่ public ทุกส่วนของชัน้ 1-2 ของโรงแรม เป็ นการ หลอมรวมอาหาร ธรรมชาติ และปฏิสมั พันธ์ให้อยู่ ร่วมกันได้อย่างลงตัว
HEALTH & MIXED BAR พืน้ ที่บาร์สุขภาพของโรงแรมที่ทำ� หน้าที่ทัง้ เสริมสุขภาพ และเชื่อมปฏิสมั พันธ์ของผูค้ น บาร์เป็ นที่ๆคนหลากหลายชาติพนั ธุ์ และไลฟ์ สไตล์ จึงได้นำ� แรงบันดาลใจจากเทคนิค patchwork และ Comme des Garcon fall 2016 collection ที่เน้นการใช้เทคนิค patchwork และเทคนิคการจับรูดระบาย โครงเสือ้ แบบ deconstruct มาใช้ในการออกแบบ จึงได้นำ� แรงบันดาลใจนีม้ าสะท้อนผ้า เฟอร์นิเจอร์ท่ีใช้วสั ดุผา้ ที่หลากหลาย และการออกแบบตกแต่งภายใน แบบ deconstruct ซึง่ เส้นน�ำสายตาในสเปซจะหลอมรวมให้ผคู้ นใน สเปซได้อยูใ่ กล้กนั มากขึน้
THERAPIST POOL พืน้ ที่สระว่ายน�ำ้ ขนาดเล็กส่วนกลางของโรงแรมโดยสระได้มีระบบน�ำ้ วนเพื่อให้ผูใ้ ช้เกิด ความผ่อนคลายขนาดแช่นำ้� การออกแบบใช้ปนู เปลือยฉาบเรียบ และวัสดุท่ีเป็ นสีธรรมชาติไร้การปรุง แต่ง ให้ความรูส้ กึ ดูดิบเหมือนคนไม่ไส่เสือ้ ผ้า แต่มีความผ่อนคลาย สบาย เป็ นกันเองเหมือนที่เวลาคน เราแช่นำ้� โดยที่ไม่ได้ใส่อะไรเลย
DUPLEX SUITE RATCHADA VIEW THE MASTER SUITE - REI 1997 การออกแบบห้องนีส้ ะท้อนถึงตัวภาพลักษณ์ของโรงแรมมาก ที่สดุ และใช้วสั ดุท่ีพิเศษที่สดุ ส�ำหรับลูกค้าคนพิเศษของโรงแรม เช่นพืน้ ที่ พืน้ ด้วยหน้าไม้ขดั น�ำมาวางเรียงต่อกัน พรมทอลายของ Alexander McQueen ดีไซน์เนอร์แนว avant garde ชาวอังกฤษ โคมไฟที่ส่งั ท�ำพิเศษ ส�ำหรับห้องนีเ้ ท่านัน้ โดยเป็ นโคมไฟขึน้ โครงลวดรูปทรงอิสระ จากนัน้ เย็บ โป๊ ะโคมด้วยผ้าไหม Jim Thompson โดยแรงบันกาลใจในการออกแบบ ห้องนีม้ ากจากComme des Garcon Spring 1997 collection โดย Rei Kawakubo ดีไซน์เนอร์แนว avant-garde ชาวญี่ปนุ่
interior design academic project no. 9 Interior design for museum
The Queen and Balmain Museum of Textile Art and Contemporary Fashion Ratchadamneon avenue, Bangkok, Thailand
Interior designer: Thanapath Tangchartsakul
TIME TO MOVE
(FORWARD)
สถานที่ตงั้ ของโครงการเดิม ณ หอรัษฎากรพิพฒ ั น์ พระบรมมหาราชวังเป็ นอาคารเก่า 2 ชัน้ โครงสร้างไม้ มีปัญหาทัง้ ขนาด เล็กและคับแคบ ไม่สามารถรองรับการเติบโตของโครงการได้ในอนาคต และเป็ นอุปสรรคในหลายๆด้านต่อการท�ำงานของบุคลากร ภายในองค์กร เช่น ห้องคลังจัดเก็บที่มีขนาดไม่เพียงพอ อาคารที่ไม่ปิดทึบและงานระบบที่ไม่เหมาะสมการกระบวนการการอนุรกั ษ์ นอกจากนีก้ ารที่สถานที่ตงั้ ที่อยู่ในพระบรมมหาราชวังท�ำให้กลุม่ เป้าหมายที่โครงการต้องการซึ่งเป็ นคนไทยเป็ นหลักกลับกลายเป็ น นักท่องเที่ยวจีน ซึง่ ที่ตงั้ ที่มีความดึงดูดลูกค้าน้อยและกลุม่ ลูกค้าที่ไม่ตรงเป้าหมายนัน้ ส่งผลต่อภาพลักษณ์ขององค์กรเช่นกัน การย้ายสถานที่ตงั้ ใหมไปยังถนนราชด�ำเนินกลางเป็ นการที่พิพิธภัณฑ์จะได้ออกมาสูโ่ ลกภายนอกมากขึน้ คนภายนอก สามารถเดินทางไปได้สะดวกขึน้ และหลีกเลี่ยงปั ญหานักท่องเที่ยวจีนกลุม่ ใหญ่ ทัง้ นีแ้ ผนพัฒนาเมืองในอนาคตจะท�ำให้ ราชด�ำเนินกลางเป็ นจุดที่มีการสัญจรที่สะดวกขึน้ รถไฟฟ้าใตดินบริเวณอนุเสาวรียป์ ระชาธิปไตย และมีโครงการสร้างสรรค์ใหม่ๆที่จะ ตัง้ อยูร่ ายล้อม ท�ำให้ราชด�ำเนินกลางเป็ นจุดมุง่ หมายใหม่สำ� หรับการท่องเที่ยว นอกจากนีร้ าชด�ำเนินกลางยังไม่หา่ งไกลมากจาก พระบรมมหาราชวังจึงสามารถท�ำให้ดงึ กลุม่ ลูกค้าเก่าได้อยู่ และยังได้กลุม่ เป้าหมายใหม่เพิ่มเป็ นสถานที่ตงั้ ตัง้ อยูร่ มิ ถนนราชด�ำเนิน บริเวณอนุเสาวรียป์ ระชาธิปไตย ท�ำให้การมองเห็นง่ายกว่าสถานที่ตงั้ เก่า และอาคารที่สงู ถึง 4 ชัน้ สามารถรองรับการเติบโตของตัว โครงการได้ในอนาคต ทัง้ นีภ้ าพลักษณ์ของราชด�ำเนินที่มีความเป็ นกันเองมากกว่าพระบรมมหาราชวัง ท�ำให้ตวั โครงการสามารถเข้าถึงจากคนภายนอกง่ายมากขึน้ และเป็ นที่รูจ้ กั ได้มากขึน้
REASON OF DESIGN
TARGET GROUP
ปั จจุบนั ผ้าไทยและสิ่งทอพืน้ เมืองไทยถูกตัดขาดออกจากบริบทสังคมในโลกยุคศตวรรษที่ 21 ทัง้ ในด้านอุตสาหกรรมที่แทบไม่มีการใช้ผา้ ไทยและสิ่งทอพืน้ เมืองในอุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่งทอยุค ปั จจุบนั เลยนอกเสียจากผลิตภัณฑ์ท่ีตอบสนองกลุม่ ผูบ้ ริโภคสูงอายุ ในด้านสังคมที่ผา้ ไทยและสิ่งทอพืน้ เมืองถูกลดบทบาทไปจากสังคมกลุม่ คนรุน่ ใหม่นบั ตัง้ แต่กลุม่ เจเนอเรชั่น Y เป็ นต้นไป ท�ำให้ขาดผูท้ ่ีรูจ้ กั และสืบทอดศิลปะสิ่งทอนีส้ รู่ ุน่ หลัง นอกจากนีค้ นในยุคปั จจุบนั ยังขาดที่มาขิงแรงบันดาลใจและแนวทาง ในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ผา้ ไทย และสิ่งทอพืน้ เมืองให้เข้ากับยุคสมัยและบริบทสังคมยุคปั จจุบนั งนัน้ จากปั ญหาข้างต้นจึงเกิดความคิดริเริม่ การออกแบบตกแต่งภายในและปรับภาพลักษณ์ พิพิธภัณฑ์ผา้ ในสมเด็จพระนางเจ้าสริรกิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถสู่ “โครงการเสนอแนะออกแบบตกแต่ง ภายในพิพิธภัณฑ์ศลิ ปะสิ่งทอ และแฟชั่นร่วมสมัยในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ” พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยและพืน้ ที่การแสดงออกทางศิลปะผ่านมุมมองของ ศิลปะสิ่งทอ และศิลปะการออกแบบเครือ่ งแต่งกายโดยการออกแบบได้สร้าง Student / ประสบการณ์การเข้าชมศิลปะรู ปแบบใหม่เพื่อเจาะกลุม่ เป้าหมายหลักในช่วงเจ Adulescent 20% เนอเรชั่น X, Y, Z ภายใต้แนวคิด “Getting Inside Mind” ผ่านพืน้ ที่จดั แสดงหลัก Designer / ทัง้ 3 ได้แก่ Temporary Live Hall, Seasonal Live Exhibition: Tale of Textile Fashion Industry และ The Queen And Fashion: Fit For The Queen Entrepreneur 20% แนวคิด “Getting Inside Mind” คือการเล่าเรือ่ งราวเสมือนผูเ้ ข้าชมได้ เข้าไปในห้วงความคิดของผูส้ ร้างสรรค์ผลงานสิ่งทอ อาทิ ช่างทอ ช่างแพทเทิน Fashion ช่างปั ก ตัง้ แต่กระบวนการแรกจนถึงกระบวนการสุดท้าย ผ่านโซนจัดแสดงที่เล่า Influencer 20% ถึงวัสดุอปุ กรณ์และวิธีการผลิตวัสดุตงั้ ต้นจนจบงานให้ผเู้ ข้าชมได้จบั สัมผัสกับ วัสดุอปุ กรณ์เหล่านัน้ เสมือนอยูไ่ ด้เข้าไปอยูใ่ นสถานที่ทำ� งานของช่างจริงๆ และ Fashion Media การประยุกต์ใช้เทคนิคการออกแบบเครือ่ งแต่งกาย เช่น การปั กมาประยุกต์กบั Society การออกแบบตกแต่งภายใน ผสมผสานกับสถาปั ตยกรรมแบบ Deconstruct20% vism และผลงานแนว Surrealist ของศิลปิ น Rene Magritte สร้าง space ให้เกิด ความรู ส้ กึ เหมือนเข้าไปในโลกอีกโลกหนึ่งในความคิดของผูส้ ร้างสรรค์ผลงานสิ่ง ทอที่บรรยากาศภายในแตกต่างจากตัวสถาปั ตยกรรมอย่างชัดเจนแต่มีความ Etc. 20% ลงตัว เหมือนกับฉลองพระองค์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิตทิ์ ่ีสามารถผสม เทคนิคไทยและตะวันตก old meet new, folk meet modernได้อย่างงดงามและสมบูรณ์แบบ
DECONSTRUCTIONISM SURREALIST THAI TWISTED What’s designer thinking? What’s artist thinking? What’s craftmanship thinking?
Temporary Live Hall พืน้ ที่แห่งการแสดงออกผ่านมุมมองของศิลปะสิ่งทอและการออกแบบเครือ่ งแต่งกาย พืน้ ที่นีส้ ามารถรองรับวัตถุจดั แสดงขนาดใหญ่ได้ดว้ ยฝ้าเพดานที่สงู ถึง 5.8 เมตรและกระจกเงาสะท้อนบนฝ้าเพดานที่ทำ� ให้สเปซนีก้ ว้างขวางอย่างไม่มีท่ีสนิ ้ สุด พืน้ ที่นีส้ ามารถรองรับได้ตงั้ แต่นิทรรศการศิลปะจนถึงงานแฟชั่นโชว์
Reception
The Cocoon Dome (Exterior)
Reception พืน้ ที่สว่ นต้อนรับออกแบบโดยได้แรงบันดาลใจจากใต้ถนุ บ้านยามชาวบ้านรับเสด็จสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิตฯิ์ เคาน์เตอร์ ทรงโค้งรีตรงกลางใช้วสั ดุไม้เนือ้ แข็งเก่าที่มาจากบ้านเก่ารือ้ ถอนถูกดัดแปลงท�ำสีลงยาใหม่พร้อมประดับด้วยอะคริลคิ เงาสี ด�ำและกระจกเงา เป็ นการผสมผสานวัสดุเก่าแหละใหม่เสมือนฉลองพระองค์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิตฯิ์ ที่ผสมเทคนิค ไทยและตะวันตกอย่างลงตัว ผนังด้านหลังเป็ นกล่องไฟอะคริลคิ ขุน่ ซ่อนกิ่งไม้แห้จำ� ลองบรรยากาศของโรงเลีย้ งไหม เสา กรุกระจกช่วยสร้างภาพสะท้อนและแสงเงาต่างๆเหมือนยามที่ฉลองพระองค์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิตฯิ์ ต้องแสงไฟ
The Cocoon dome พืน้ ที่รูปทรงอิสระแรงบันดาลใจจากรังไหม ด้านหน้าฉายวิดีทศั น์ผา่ นโปรเจคเตอร์เสนองานออกแบบฉลองพระองค์ในยุค ต่างๆผ่านเส้นสายของ Pierre Balmain กูตรู เิ ยร์ผเู้ ลื่องชื่อแห่งศตวรรษที่ 20 ด้านในฉายวิดีทศั น์ภาพยนตร์สนั้ เกริน่ เรือ่ งราว นิทรรศการด้านบนเพื่อให้คนดูเกิดความสนใจใครรูถ้ งึ เรือ่ งราวเบือ้ งลึกของนิทรรศการและพืน้ ที่เวิรค์ ชอปกิจกรรมเล็กๆ
The Cocoon Dome (Interior)
Seasonal hall zone A
Seasonal hall zone C
Seasonal Live Exhibition: Tale of Textile ห้องนิทรรศการกึ่งถาวรกึ่งหมุนเวียนเล่าเรือ่ งต้นก�ำเนิดผ้าท้องถิ่นไทยก่อนจะเป็ นฉลองพระองค์โดยจะหมุนเวียนเปลี่ยนภูมิภาคไปตามฤดูกาลแฟชั่นทัง้ 4 ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ (กุมภาพันธ์-เมษายน)-ภาคกลาง ฤดูรอ้ น(พฤษภาคม-กรกฎาคม)-ภาคใต้ ฤดูใบไม้รว่ ง(สิงหาคม-ตุลาคม)-ภาคอิีสาน ฤดูหนาว(พฤศจิกรยน-มกราคม)-ภาคเหนือ จ�ำลองบรร ยาศในรูปแบบ Laboratory X Local Factoryโดยนิทรรศการแบ่งออกเป็ น 4 โซน ดังนี ้ - โซน A บอกเล่าเรือ่ งการก�ำเนิดที่มาของวัสดุตงั้ ต้น เช่นการเพาะพันธุไ์ หมและปลูกฝ้าย - โซน B จ�ำลองโรงการเพาะดูแลวัตถุดบิ ก่อนแปรรูปไปเป็ นเส้นด้าย เช่น โรงเลีย้ งไหมและห้องคัดแยกฝ้าย - โซน C แสดงกระบวนการการสร้างผลงานศิลปะสิ่งทอตัง้ แต่เป็ นเส้นไหม ย้อมสี จนถึงทอเป็ นลายต่างๆผ่านการจัดแสดงวัสดุจริงเพราะให้ผเู้ ข้าชมสัมผัสได้ดว้ ย มือของตัวเอง - โซน D จัดแสดงผลงานการทอชิน้ เอกของชาวบ้านในชุมชนในรูปแบบของ Hall of fame
Seasonal hall zone B
Seasonal hall zone D
The Queen & Fashion: Fit For The Queen ห้องจัดแสดงฉลองพระองค์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย Pierre Balmain สถาบันปั ก Maison Lesage และ Louis Vuitton จัดแสดงฉลองพระองค์จริงพร้อมชุดผ้าดิบ สมุด วัสดุและวิดีทศั น์แสดงแพทเทินให้ผเู้ ข้าชมได้เข้าถึงรายละเอียดในทุก รายละเอียดของเสือ้ ผ้าได้อย่างใกล้ชิดผ่านห้องจัดแสดงทัง้ 3 ได้แก่ - Gold Room (daywear dress room) ห้องจัดแสดงชุด กลางวันในบรรยากาศโทนสีทอง แรงบันดาลใจสีจากแสงอาทิตย์สง่ เฉิด ฉายยามกลางวัน โดดเด่นเกรียงไกร และเป็ นสีท่ีส่อื ถึงความ หรูหราอย่างไทยและฝรั่งเศสได้เป็ นอย่างดี - Diamond Room (evening dress room) ห้องจัดแสดง ชุดราตรีในบรรยากาศโทนสีมว่ งฝ้า แรงบันดาจใจสีจากงานปั กเพชร และคริสตัลบนฉลองพระองค์ท่ีโดเด่นยามต้องแสงเสมือนดวงดาวบน ท้องฟ้ายามค�่ำคืน - Copper Room (thai traditional dress room) ห้องจัด แสดงชุดไทยพระราชนิยมใน บรรยากาศโทนสี ท องแดงแรง บันดาลใจสีมาจากสีของไม้แดง ไม้ท่ีนิยมใช้ในสถาปั ตยกรรมไทย สะท้อนกลิ่นอายของความเป็ นประเทศเขตร้อนได้เป็ นอย่างดี ทัง้ ยัง ส่ง เสริม ให้ชุด จัด แสดงดูข ลัง และสูง ส่ง ในแบบอย่า งไทยที่ มี ค วาม ขึงขังและสุขมุ
4th floor
3rd floor
2nd floor
M floor
G floor : Public space
: Semi-public space
: Private space
interior design academic project no. 8 Interior design for performance space and theatre
Mei Lan Fang Grand Theatre 梅蘭芳大劇院 King Power Downtown Complex, Rang Nam alley Bangkok, Thailand Interior designer: Thanapath Tangchartsakul
The Dragon landed in
Bangkok โรงมหรสพอุปรากรจีนอันเลื่องชื่อแห่งปักกิ่งอันเสมือนมังกรตัวชูโรงวัฒนธรรมจีนอันยิ่งใหญ่ บัดนี้ มังกรได้เหินเวหา ข้ามฟ้ามาขยายความยิ่งใหญ่ให้ยิ่งกว่าที่เคยแล้วที่กรุงเทพ โรงละครเหมย หลัน ฟาง แกรนด์ เธียเตอร์ โรงละครและสถานที่จดั งานงิว้ ปั กกิ่งที่ช่ือเสียงโด่งดัง อันดับต้นๆของปั กกิ่งที่ไม่ใช่มีการแสดงแค่งิว้ ปั กกิ่งเท่านัน้ แต่ยงั มีการแสดงอื่นๆด้วยที่มาร่วมแสดงที่น่ีเพื่อ ตอบสนองความต้องการความบันเทิงของกลุม่ ลูกค้าในยุคปั จจุบนั เช่น ละครเวที การแสดงที่ยกมาแสดงที่ ต่างประเทศ ออเคสตร้า คอนเสิรต์ และงานอีเวนท์ตา่ งๆที่ตอ้ งรองรับจ�ำนวนผูเ้ ข้าชมจ�ำนวนมาก จุดเด่นของเหมย หลัน ฟาง แกรนด์เธียเตอร์ท่ีปักกิ่ง เน้นบรรยากาศความเป็ นจีน แต่การแสดง นั่นมีความร่วมสมัย และบทบาทของละครที่แปลกมัย้ ตามแบบฉบับของคุณเหมย หลัน ฟาง ผูป้ ฏิวตั วิ งการ งิว้ ปั กกิ่งที่สามารถท�ำให้งิว้ ปั กกิ่งอยูร่ อดเคียงคูช่ าติจีนมาได้รว่ มกว่า 2 ทศวรรษ ทัง้ การเล่นแสง สี เสียง และ การประยุกต์บทละครให้โดเด่นพิเศษไปกว่างิว้ ปั กกิ่งแบบดัง้ เดิม และส�ำนักงิว้ อื่นๆในจีน ความกล้าที่จะแตก ต่างของคุณเหมยท�ำให้สไตล์งิว้ ปั กกิ่งในแบบของเขาเป็ นที่ประทับใจแก่ผชู้ มทัง้ คนจีนและชาวต่างชาติมา แล้ว กลับมาที่ประเทศไทยที่ซง่ึ มีคนจีนโพ้นทะเลอาศัยอยูเ่ ยอะเป็ นอันดับหนึง่ ของโลก วัฒนธรรม ของสองชาติได้ผสมปนเปกันจนเป็ นหนึง่ เดียวในชีวิตประจ�ำวัน อีกทัง้ งิว้ ในเมืองไทยปั จจุบนั นีห้ าชมกันยาก และส่วนมากเป็ นงิว้ แต้จ๋ิว ถึงเวลาแล้วที่คนไทยจะได้รบั ชมงิว้ ปั กกิ่งขนานแท้ท่ีตกทอดกันมาแต่สมัยราช ส�ำนักชิงอันยิ่งใหญ่ เสือ้ ผ้าเครือ่ งแต่งกาย เครือ่ งประดับสุดอลังการระดับโอต์ กูตรู ์ และลีลาการร้อง เต้น ร�ำ อันอ่อนช้อยเป็ นเอกลักษณ์ตามแบบฉบับบงิว้ ปั กกิ่งกันได้แล้วที่เหมย หลัน ฟาง แกรนด์ เธียเตอร์ คิงส์ พาว เวอร์ ดาวน์ทาวน์คอมเพล็กซ์ ซอยรางน�ำ้ กรุงเทพ
The new
King Power MORE LUXURY, MORE LIVELY!
แผนการพัฒนาของคิงส์ พาวเวอร์ ดาวน์ทาวน์คอม แพล็กซ์ในปั จจุบนั ได้พฒ ั นาไปในรูปแบบที่ดเู ป็ นกันเองมากขึน้ และมีความ หลากหลายที่มากกว่าจะเป็ นแค่ duty free ภายใต้คอนเซป “ไม่มีไฟล์ท ก็มาได้” ทัง้ การออกแบบตกแต่งรีโนเวทภายในอาหารชุดใหญ่ทงั้ หมด ปรับลุคอาหารให้ดู มีชีวิตชีวา และสดใหม่เข้ากับยุคสมัย การดึงแบรนด์ตา่ งๆเข้ามาเปิ ดในรูปแบบ ของ mall และโซนฟูด้ คอร์ทที่ไม่จบั ต้องแบรนด์ราคาสูงลิ่วล้นฟ้า แต่นำ� local brand ร้านเด็ดรอบกรุงเทพมารวมไว้ท่ีชนั้ 3 ซึง่ เป็ นชัน้ เดียวกับที่โรงละครเหมย หลัน ฟางตัง้ อยูด่ ว้ ย ฉะนัน้ การออกแบบโรงละครแห่งนีจ้ งึ ต้องออกแบบเปิ ดรับ เพื่อให้คนภายนอกสามารถเข้ามาบริเวณภายในโรงละครได้อย่างไม่เคอะเขิน โดยได้ดงึ จุดเด่นของร้านของที่ระลึก และ The Summer Garden Tea Room ของโรงละครมาเป็ นจุดดึงดูด
& MORE YOUNG!
GEN Y IS COMING! การเปลี่ยนแปลงใหม่ของคิงส์ พาวเวอร์นอกจากจะได้หา้ ง ใหม่ท่ีไฉไลกว่าเดิมมาแล้ว สิ่งที่ได้แถมต่อมาคือการจับกลุม่ ลูกค้า Gen Y มากขึน้ ซึง่ เป็ นการขยายฐานลูกค้าเดิมจากคนที่มีไฟล์ทบิน และนักท่อง เที่ยวทัวร์จีน ซึง่ กลุม่ ลูกค้าใหม่นีเ้ ป็ นกลุม่ ที่มีรายได้ปานกลาง - สูง และ กลุม่ นักท่องเที่ยว Gen Y ก็เป็ นกลุม่ นักท่องเที่ยวกระเป๋ าหนักเงินถึง ดัง นัน้ การออกแบบโรงละครเหมย หลัน ฟางจึงออกแบบเพื่อให้ตอบรับกับ กลุม่ ลูกค้าใหม่นีผ้ า่ นการออกแบบให้มีความหรูหราร่วมสมัย น่าตื่นเต้น น่าค้นหา มีหลากหลายอารมณ์เหมือนกับกลุม่ ลูกค้า Gen Y ที่ชีวิต ต้องการความหลากหลายมากมายไม่สนิ ้ สุดมากกว่า Generation ก่อนๆ
TARGET MUSE
Garden of Perfect Brightness (圓明園) Old Summer Palace, Beijing 1860
Visualization background in Gucci Fall / Winter 2016 show
Simone Rocha Spring / Summer 2019 collection
Gucci Fall / Winter 2016 collection
Rising
Summer The Endless
Maximalist Qing Chinoiserie Contemporary “อรุณรุง่ แห่งฤดูรอ้ นนิรนั ดร์” การออกแบบตกแต่งภายในเหมย หลัน ฟาง แกรน เธียเตอร์ คิงส์ พาวเวอร์ ดาวน์ทาวน์คอมเพล็กซ์นีไ้ ด้รบั แรง บันดาลใจมาจากความรุง่ เรืองของพระราชวังฤดูรอ้ นหลังเก่าที่ปักกิ่งในสมัยราชวงศ์ชิง ซึง่ เป็ นช่วงสมัยท่งิี ว้ ปั กกิ่งก�ำลังรุง่ โรจน์จนถึงขีดสุด ซึง่ ในยุคนี ้ ศิลปะแบบราชวงศ์เริม่ มีการผสมกลิ่นอายแบบตะวันตกยุค Regency หรือศิลปะตะวันตกในช่วงสมัยการล่าอาณานิคม การล่าอาณานิคม และ สงครามฝิ่ นส่งผลให้ภายหลังพระราชวังฤดูรอ้ นแห่งนีถ้ กู ทิง้ ร้างเนื่องจากกรพ่ายแพ้สงครามของราชส�ำนักชิง ซึง่ นั่นก็รวมถึงงิว้ ปั กกิ่งที่ถกู ลดบทบาท ในราชส�ำนักไปด้วย และงิว้ ปั กกิ่งก็ได้เกือบหลายสิน้ ไปจากแผ่นดินจีนในเวลาต่อมาในช่วงสมัยปฏิวตั วิ ฒ ั นธรรม ดังนัน้ จากแรงบันดาลใจแห่งยุคอัน รุง่ โรจน์ของงิว้ ปั กกิ่งนี ้ จึงได้นำ� ความรุง่ โรจน์ของงิว้ ปั กกิ่ง อาทิ สีสนั บทเครือ่ งแต่งกาย และ element ต่างๆของเครือ่ งแต่งกายและเครือ่ งประดับของ งิว้ ปั กกิ่ง สถาปั ตยกรรมของพระราชวังฤดูรอ้ นหลังเก่าที่มีความผสมผสานระหว่างศิลปะชิง และสถาปั ตยกรรมแบบ Regency มาใช้ในการออกแบบ ผนวกกับแฟชั่นแบบ Maximalist ในยุคปั จจุบนั เพื่อให้มีความร่วมสมัย ตอบสนองกับรสนิยมกลุม่ ลูกค้า Generation Y ในยุคปั จจุบนั เสมือนว่างยุค ชิงอันรุง่ โรจน์ยงั ไม่ได้สญ ู สิน้ ไปไหน แต่ยงั แฝงในทุกๆรายละเอียด และไม่ได้หายไปกับกาลเวลา
Walk through
the gate
โถงทางเข้ารูป 8 เหลี่ยม หน้าบันไดเลื่อนก่อนจะน�ำพา ให้ผชู้ มเดินเข้าไปสูโ่ ถงทางเดิน และทางเข้าด้านในตามล�ำดับ ออกแบบฝ้าให้สงู โดยลดทอนรู ปแบบโครงสร้างสถาปั ตยกรรมจีน ผนัง แฝงดี เ ทลของประตูบ านเฟี ้ ย มจี น ที่ ซ๋ อ นกระจะเงาไว้อี ก เลเยอร์ท่ีดา้ นหลังเหมือนซ่อนความหรู หราไว้ภายในอย่างไปเปิ ด เผยโผงผาง โดยบนประดับโคมอะคริลคิ พิมพ์ลายหินอ่อน วาง แพทเทินของโซ่ทองที่ปรับใช้จากดีเทลของเครื่องแต่งกายอุปรากร เป็ นรูป 8 เหลี่ยมให้ดีไซน์รบั กับทัง้ พืน้ ผนัง ฝ้า
Light up for
the show เตรียมใจให้ระทึก กับโชว์ที่กำ�ลังจะเริ่มขึ้น
สเปซของโถงทางเข้าก่อนพืน้ ไปบริเวณพืน้ ที่เธียเตอร์บนชัน้ 4 ตกแต่งด้วยโทนสีดำ� ทองและจัดแสง contrast จัดให้อารมณ์รุนแรง dramatic วัสดุภายในเน้น texture ที่มีราย ละเอียด และมันวาว อาทิ อลูมิเนียมสีโครเมียมฉลุ ทองเหลือง กระจกเงาสีดำ� โซ่สีทอง พืน้ กรานิตโต้เงา หนังจระเข้เงาสีดำ� ให้ความรูส้ กึ หรูหรา อลังการ วัสดุ และอารมณ์ของโทนสีเหล่า นีจ้ ะส่งผลให้คนที่เข้ามาในสเปซมีอารมณ์รว่ ม รูส้ กึ ตื่นเต้นอลังการณ์เหมือนการจุดไฟความ ตื่นเต้น อยากรูอ้ ยากเห็นก่อนขึน้ ไปชมโชว์ดา้ นบน เก้าอี ้ Zaha Bench สีขาวตรงกลางด้าน หน้าที่ออกแบบโดย Zaha Hadid จัดแสง spotlight ให้เสมือนพระเอกของสเปซแห่งนี ้ อุปมา อุปไมยถึงซากปรักหักพังเดิมของพระราชวังฤดูรอ้ นเก่าที่ปักกิ่งอย่างเป็ นนามธรรม
Lost in
the empress garden
หายไปในสวนของความฝัน ของจักรพรรดินี
The Summer Garden Tea Room เน้น กลิ่นความฟุง้ หอมหวานที่เต็มเปี่ ยมไปด้วยความเฟมินีน และหวนคืนความสดชื่นของสวนพืชพรรณนานาชนิดในพระราชวังฤดูรอ้ น การออกแบบน�ำกลิ่นอายของ ความเป็ นวิคทอเรียนรีเจนซี่มาผสมผสานกับความเฟมินีนในแบบโลกตะวันออกไกลอย่างลงตัว ผ่านผ้าชีฟอง สี dusty pinkมัดตกแต่งบนฝ้า เฟอร์นิเจอร์สีออ่ นนุม่ ผ้าบุผนังลาย toile de jouy ที่เล่าเรือ่ งราว และลวดลาย แบบจีน เคาท์เตอร์ท่ีประดับบัวแบบตะวันตกสีมกุ จับมิกซ์กบั ประตูบานเฟี ้ ยมจีนไม้จริง และโคมจีนโป๊ ะผ้า ไหมประดับพูเ่ ลื่อมสีเขียวนกยูงแม๊ทซ์กบั โคมไฟกรงนกสีทองเหลืองสไตล์วิคทอเรียน ตกแต่งด้วยพืชเขตร้อน ให้ความรูส้ กึ สดชื่นมีชีวิตชีวา
ผ้าไหมลายต่างๆจาก Jim Thompson Fabric
Reference from Harper’s Bazaar China May 2016
พรมรุน่ Delft Blue Plate จาก Moooi carpets ออกแบบโดย Marcel Wanders
Putting on the
Crown แรงบันดาลใจจากเครื่องประดับระดับคอสตูมจิวเวอรี่ของอุปรากรจีน สู่ สเปซที่เปี่ยมไปด้วยเสน่ห์ และสีสัน
The Grand Lounge นีไ้ ด้รบั แรงบันดาลใจเครือ่ งประดับ เครือ่ งหัวต่างๆของ อุปรากรจีนที่มีหิน เพชรพลอยหลากหลายสี นอกจากนีย้ งั ได้นำ� บรรยากาศของนักแสดงมา ใส่ให้ผชู้ มด้วย กล่าวคือ ขณะที่นกั แสดงแต่งหน้า แต่งตัว ประโคมสีสนั ต่างๆส�ำหรับรอขึน้ รอ แสดง ทางฝ่ ายผูช้ มอย่างเราก็ได้รอคอยการแสดงในพืน้ ที่ๆเป็ นสีสนั ในลักษณะเดียวกัน ให้ อารมณ์รว่ มในแบบเดียวกัน
Shine&
Bright
Auditorium คู่สดำี �แดงทอง ช่วยส่งอารมณ์ให้ผู้ชมตื่นเต้น และตื่นตัว ดีไซน์ผนังโชว์ศิลป หัตถกรรมงานปักอันเป็นเอกลักษณ์ของอุปรากรจีน แสงไฟที่สาดขึ้นบนผ้าบุผนังช่วยให้ลายปักไหมและ เลื่อมดูโดดเด่น ท่ามกลางความมืดมิด
interior design academic project no. 7 Interior design for public co-working space
TCDC x Silpakorn Co-create Space Silpakorn University, Sanam Chandra Palace Campus Nakhon Pathom, Thailand Interior designer: Thanapath Tangchartsakul
SITE LOCATION: SILPAKORN UNIVERSITY SANAM CHANDRA PALACE CAMPUS สถานที่ตงั้ ของโครงการตัง้ อยู่ท่ีบริเวณ ชัน้ 6 ของอาคารศูนย์เรียนรวมเฉลิมพระเกียรติใน มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนาม จันทร์ อ.เมือง จังหวัดนครปฐม โดยอาคารนีเ้ ป็ น อาคารสูง 15 ชัน้ หันหน้าไปทางทิศเหนือ ตัวอาคาร ก่อสร้างด้วยระบบ Post Tension จึงท�ำให้อาคารนี ้ ไร้คาน แต่จะมีเสาเสริมที่ออกแบบมาเพื่อเป็ นแกน เสริมอาคารไว้สำ� หรับป้องกันภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหวอยูก่ ลางอาคารทัง้ 2 ต้นใหญ่
TARGET MUSE เนื่องจากโครงการตัง้ อยูก่ ลางมหาวิทยาลัย กลุม่ เป้าหมายหลักจึงเป็ นนักศึกษาในคณะที่ตอ้ งเรียน ในวิทยาเขตสนามจันทร์ ซึง่ ประกอบด้วย จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มัณฑนศิลป์ อักษรศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ รวมทัง้ อาจารย์มหาวิทยาลัย และกลุม่ เด็ก นักเรียนจากโรงเรียนสาธิตศิลปากร พืน้ ที่ในโครงการจึงต้องออกแบบมาเพื่อรองรับกับการใช้งานของกลุม่ เป้า หมายที่มีทงั้ ฝั่งวิทย์ และศิลป์ ให้ใช้งานร่วมกันได้ในพืน้ ที่เดียวกัน
โครงการเสนอแนะจัดตัง้ และออกแบบตกแต่งภายใน “TCDC x SILPAKORN CO-CREATE SPACE” พืน้ ที่แห่งการ “CO” และ “CREATE” พืน้ ที่ท่ีสร้างขึน้ เพื่อ เป็ นศูนยกลางของการรวมกลุม่ ระดมความคิดกัน และน�ำไปสูก่ ารสร้างสรรค์ส่งิ ใหม่ๆภายใต้ keyword หลัก 3 อย่างคือ “คุย-คิด-ท�ำ” (Think-Co-Work) น�ำไปสูก่ ารออกแบบ พืน้ ที่ Co-create, library & co-working และ multipurpose room และ private conference การออกแบบได้นำ� mood ของกลุม่ เป้าหมายที่เป็ นกลุม่ Millennial generation และความมีชีวิตชีวาในแบบของ “เด็กศิลปากร” จึงได้ก่อให้เกิดการออกแบบภายใต้แนวคิด “Eden Cerebrum: In the garden of brain strom” การออกแบบspaceที่เสมือน สวนแห่งจินตนาการ และความรู ้ ความตื่นเต้น มีชีวิตชีวาพร้อมจะเรียนรูส้ ่งิ ใหม่ๆใน mood & tone แบบ “Enthusiastic Curious”
MOOD & TONE:
ENTHUSIASTIC CURIOUS in the style of:
MAXIMALIST CONTEMPORARY
FAUVISM
“Enthusiatic Curious” ความกระหายอยาก การใคร่รู ้ น�ำอารมณ์ของการตื่นตัว มีชีวิตชีวา และเป็ น อิสระมาใช้ในการออกแบบ ผสมผสานกับคาแรคเตอร์ ของเด็กศิลปากรที่เป็ นคนมีสีสนั มีชีวิตชีวา แรงบันดาล ใจจากHenri Matisse ศิลปิ นแนว fauvism ระบบ ประสาท และสมอง ลวดลายกราฟิ คแบบทศวรรษท่ี 1970 และการใช้สีแบบ Contemporary Fauvismที่มีความสดใส จัดจ้าน กระตุน้ ให้คนตื่นตัวตลอด เวลามาใช้ในการออกแบบในแบบ “Maximalist Contemporary Fauvism” คู่ สี ท่ี ใ ช้ใ นการออกแบบประกอบไปด้ว ย Black, Salmon Red, Horizon Green, Ultramarine, Dioxazine Violet และMustard ซึง่ สีทกุ สีท่ีใช้คือที่ผา่ น การลดทอนลงมาจากสีแบบFauvismมาแล้วเพื่อให้มี ความทันสมัยและเหมาะสมมากขึน้
Co-create space พืน้ ที่ co-create space ฝ้าเพดานท�ำมาจากพลาสติคหล่อขึน้ รูปและพ่นสี metalic แล้วซ่อนงานระบบไว้ ด้านใน ท่อชืน้ นเล็กๆขนาดต่างๆ และ modular pattern หลายๆชืน้ ได้แรงบันดาลใจมากจากสมอง ศูนย์รวมของ การควบคุมของร่างกาย และแล่นผ่านไฟ neon flex สีรุง้ ที่ถกู ติดตัง้ ไว้ในเซาะร่องเป็ นลวดลายวิ่งไปตามโซนนิ่ง ต่างๆเสมือนระบบประสาทที่ว่ิงจากสมองไปหล่อเลีย้ งส่วนต่างๆในร่างกาย เหมือนการท�ำงานงานที่เราจะต้อง ระดมสมองกันก่อนแล้วจึงแยกย้ายไปท�ำงานกัน เพราะฉะนัน้ พืน้ ที่ co-create space จึงอยูท่ ่ีศนู ย์กลางของ โครงการ จากนัน้ จึงแยกย้ายออกไปตามที่ตา่ งๆ
Reception พืน้ ที่ reception ด้านหน้าเมื่อเดินเข้ามาจะเห็นเคาท์เตอร์ตอ้ นรับยาวทรงอสมมาตร แบ่งความสูงรองรับ universal design และกลุม่ คนที่หลากหลาย วัสดุใช้ aluminium composite และการเบือ้ งลายตัวกับบัวอลูมี เนียม ในความรูส้ กึ ในแบบretro แต่ยงั คงลุคเททันสมัยแบบคน millennial อยู่ ติดตัง้ แผ่นอะคริลคิ ใสลาย “มะมา เรามารืน่ เริง” สะท้อนคาแรคเตอร์ของ “เด็กศิลปากร”
Library & co-working space พืน้ ที่หอ้ งสมุด และ co-working space ได้ปรับอารมณ์ในดูเบาสบายลงเพื่อให้ เหมาะกับการท�ำงานที่ตอ้ งในสมาธิ และการ ผ่อนคลาย จึงตัดอารมณ์ของspaceด้วยการ ยกพืน้ และปูดว้ ยกระเบือ้ งยางลายไม้ ผสม ผสานกับการบุผา้ ลวดลายต่างๆเพื่อให้ความ รู ้สึ ก ที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั บ การมาที่ ๆ ต้อ งมี ค วาม ทางการ รัดกุม แต่เหมือนกับบ้านที่เราจะ ท�ำตัวอย่างไร เป็ นอิสระอย่างไรก็ได้
Conference & phone booth พืน้ ที่หอ้ งประชุมคือพืน้ ที่ท่ีตอ้ งการ ความจริง จัง ในการใช้ง านที่ ม ากกว่า พื น้ ที่ co-create และ co-working จึงได้วสั ดุสีขาว เทาด�ำ และมีความแข็งด้านอยูอ่ ย่างแผ่นอลู มิเนียม aluminium composite สีดำ� และ กระเบือ้ งหิน แต่ยงั แฝงกลิ่นความสนุกใน แบบของศิ ล ปากรอยู่คื อ ลวดลายของพรม แผ่นสี iris ที่เป็ นม่วงหม่น จับคูก่ บั เก้าอีบ้ ุ ผ้าลาย houndstooth สี viridian และโคมไฟ ทองเหลือง
interior design academic project no. 6 Interior design for boutique and retail space
Tube Gallery Flagship Store Siam Paragon Department Store Bangkok, Thailand
Interior designer: Thanapath Tangchartsakul
Conceptual model
Diving frame into the
Look from BIFW 2018 runway
Scene from Anna Kerenina (2012 film)
Surprised (1891) by Henri Rousseau
The Dream (1910) by Henri Rousseau
CONCEPTUAL DESIGN การออกแบบตกแต่งภายในและ ออกแบบ visual merchandising ส�ำหรับคอล เลกชั่น Spring Summer 2018 ร้าน TUBE GALLERY SIAM PARAGON สะท้อนอัต ลักษณ์ของแบรนด์: "Dramtic but yet fun design"ผ่านการออกแบบและจัด display แสดง สินค้าของแบรนด์อย่างอุปมาอุปไมยเสมือนงาน ศิลปะชิน้ พิเศษที่ไม่มีท่ีใดเหมือนภายใต้แนวคิด "Diving into the Frame" การสร้าง space เหนือ จริง(surreal)ให้เสมือนด�ำดิ่งเข้าไปในโลกอีก มิตทิ ่ีเป็ นห้องแสดงงานศิลปะ การออกแบบ merchandising ในแต่ละซีซ่นั จะได้รบั แรงบันดาล ใจที่ตา่ งกันเสมือนการว่ายเวียนเข้าไปในงาน ศิลปะที่ผลัดเปลี่ยนชิน้ ไปเรือ่ ยๆ โดย Spring Summer 2018 collection: BOHELENNIAL การ ออกแบบ merchandising ได้รบั แรงบันดาลใจ จากงานศิลปะของ Henri Rousseau, element ของชนพืน้ เมืองแอฟริกนั และธรรมชาติพรรณไม้ สัตว์ตา่ งๆที่สะท้อนถึงอารมณ์ความ wild และ energic แต่แฝงกลิ่นอายความหรูหราในแบบ ฉบับของ TUBE GALLERY
EXTERIOR
VISUAL
MERCHANDISING
Menswear spa
Surrealist hallucination พืน้ กระเบือ้ งลายหินอ่อนปูสลับลายขาวด�ำ สะท้อนไปบนฝ้าเพดานอะคริลคิ สะท้อนก่อให้เกิด ลวดลายลวงตาก่อให้เกิดสเปซที่ดเู สมือนสูงเกินความ จริง ดีไซน์ของดิสเพลย์ท่ีหอ้ ยลงมาจากฝ้าเพดานเชื่อม ต่อกับเงาสะท้อนในแผ่นอะคริลคิ ท�ำให้ตวั ดิสเพลย์ เกิดความต่อเนื่อง สมดุล กลมกลืน และโดดเด่น ไฟส ปอตไลท์ท่ีสอ่ งไปที่เสือ้ ผ้าบนดิสเพลย์ทำ� ให้เสือ้ ผ้าดู เหมือนลอยอยูใ่ นอากาศของโลกเซอเรียลแห่งนีจ้ ริงๆ
Differnt but the same ห้องลองเสือ้ ผ้าที่ดีไซน์ทกุ อย่างเหมือนกันหมด หาก แต่ตา่ งกันแค่สีขาวด�ำที่ทาสีตดั กันอย่างชัดเจนท�ำให้ ในส่วนเล็กๆที่ดนู า่ จะไม่ใช่จดุ ส�ำดัญที่ใครจะมาสนใจ กลับสร้างความโดดเด่นและเป็ นกิมมิคที่มีเสน่หไ์ ปอีก จุดหนึง่
Womensear s
ace & entry
space & main counter
interior design academic project no. 5 Interior design for small size restaurant & café
Jarlet’s Sweet Ratchamakha Nai road Nakhon Pathom, Thailand
Interior designer: Thanapath Tangchartsakul
MELT WITH ME MELT WITH ME MELT WITH MELT WITH ME ME การออกแบบภายใน และ Rebranding ร้าน Jarlet’s Sweet โดยวิเคราะห์ปัญหา, brand story และการปรับ เปลี่ยนภาพลักษณ์ของ brand เพื่อให้มีความน่าสนใจ เป็ นที่จดจ�ำ และแก้ไขปั ญหาการออกแบบภายในที่มีอยูแ่ ต่เดิม เน้นฟั งก์ช่ นั การเพิ่มปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูใ้ ห้บริการ และลูกค้า ปรับลุคของร้านให้มีความ Friendly & Fun ตอบสนอง ไลฟ์ สไตล์คนยุคใหม่ ภายใต้ concept: “Melt with Me” หลอมรวมปฏิสมั พันธ์ อาหาร บรรยากาศ และงานดีไซน์เข้าไว้ดว้ ยกัน โดย mood & tone ได้รบั แรงบันดาลใจจากดนตรีแนว Tropical House
graphic indentity (หน้าซ้าย) ลาย Joy of Jarlet (รูปบนซ้าย) โลโก้แบรนด์ Jarlet's Sweet (รูปบนขวา) ชุดจานชามใสสีดำ� พิมพ์ลาย Jarlet, แก้วใสสีแดงพิมพ์ลาย Jarlet, ช้อนอลู มิเนียมเลเซอร์ลงยาสีแดง (รูปกลาง) หมอนผ้าลิลนิ พิมพ์ลาย, เสือ้ เชิต้ สีขาวปั กโลโก้ Jarlet's Sweet, กระดาษทิชชู่ พิมพ์ลาย (รูปล่าง) นามบัตรร้าน Jarlet's Sweet ด้าน หน้า และด้านหลัง
interior design academic project no. 3 Interior design for residential space - house
Baan Klang Mueng CLASSE Ekamai - Ramintra Bangkok, Thailand
Interior designer: Thanapath Tangchartsakul
Reference from: Living etc magazine Thailand February / March / May 2017
Metropolis
- nature
Look from Gucci Fall Winter 2017/2018 Readyto-wear collection
Mixed T R E N D
2 0 1 7
BBB LLL U U U RRR RRR III N N NG G G TTT
HHH
EEE
LLL
III
NNN
EEE
จากการวิเคราะห์เจาะเทรนด์โลกปี 2017 โดย TCDC ความคาดหวังของกลุ่ม ผูบ้ ริโภค Metropolitan Life ที่มีต่อบ้านของพวกเขาไม่ได้เป็ นแค่ท่ีพกั อาศัยธรรมดาๆอีก ต่อไป พวกเขาต้องการที่จะใช้ชีวิตใกล้ชิดกับธรรมชาติ แต่ในขณะเดียวกันพวกเขาก็ขาด เทคโนโลยีและความมีชีวิตชีวาในแบบของคนเมืองไม่ได้ มีความต้องการความเรียบง่าย แต่ตอ้ งไม่ธรรมดา จึงน�ำมาสู่การออกแบบตกแต่งภายในบ้านตัวอย่างของโครงการ CLASSE เอกมัย - รามอินทรา ภายใต้แนวคิด "Metropolis-nature Mixed" เป็ นการออกแบบตกแต่งภายในสไตล์ Contemporary Chic ที่มีความเรียบง่าย แต่แต่งแต้มไปด้วยรสชาติแห่งความมีชีวิตชีวา กลมกล่อม ไปด้วยกลิ่นอายของความ Vintage และ Modern ผสมผสานความเป็ นธรรมชาติลงไปอย่างลงตัว
Look for family area
Look for dining & pantry
MIX IT UP !!!
***เฟอร์นิเจอร์ และของ ตกแต่งจาก Jonathan Adler, Jim Thompson Fabric, The Rug Company, Lamptitude, Eichholtz, Zara Home, Minotti, Hay, Ikea และ Kartell ***ข้อมูลสินค้า ณ ปี 2017
Look for master bedroom
Look for library
Perspective of entrance corridor, pantry, dining & family area Perspective of family area Perspective of library (left), study room (right)
Perspective of master bedroom
Perspective of master bathroom
academic Sketch design for interior design & furniture design
freelance, internship, and individual project
freelance designer in interior design Interior design for office (lobby & CEO room mockup design)
Golden Crane Prachin Buri Prachin Buri, Thailand
Cooperate with ID.ID.Interior Design
Internship in interior design at Interior Architects 49 Limited (IA49) (June 2019 - July 2019)
Internship in Fashion design at Kloset Design (June 2018 - July 2018)
Detail design for
Kloset Summer Holiday 2019
Tiger Lily
Patchwork lily shape sketch
Illustration sketch for develope process
Lace trim mockup
Embroidery sequin and bead detail
Embroidery detail in lily shape (get selecteed and developed by head designer) and leopard pattern
Illustration for print on fabric
Lily sequin mockup developed
KLOSET Summer Holiday 2019
TigerLily
Kloset Fall/Winter 2019 - 2020
Midnight in
Paris
Van Gogh aesthetic
Runway support
Paris beaux arts architecture
1920s fashion style
Scene from Midnight in Paris
คอลเลคชั่นนีไ้ ด้รบั แรงบันดาลใจมาจากเรือ่ งราวความโรแมนติคในภาพยนตร์เรือ่ ง “Midnight in Paris” ได้นำ� กลิ่นอายในฉากที่ตวั ละครเอกได้ยอ้ นเวลากลับไปในกรุงปารีสในยุค 1920 ยามค�่ำคืนที่คละคลุง้ ไปด้วยเสียงดนตรีแจ๊ส และชีวิตยามราตรีอนั เปี่ ยมไปด้วยชีวิต ชีวา และความโรแมนติคของปารีสที่ทำ� ให้ผคู้ นได้ลมุ่ หลงไปในความรัก ถ่ายทอดผ่านโครงชุดแบบทศวรรษที่ 1920 ดีเทลของสถาปั ตยกรรม แบบ Beaux arts กลิ่นอายของเมืองแห่งศิลปะและเรือ่ งราวของศิลปิ นที่ผา่ นเข้ามาในเรือ่ ง และการแต่งตัวแบบชาวปารีเซียงที่ผสมผสานลุค เท่ปนหวานได้อย่างน่าสนใจ อาทิ โครงเสือ้ แบบ masculine แต่ใช้ผา้ พริว้ ไหวแบบ feminine และดีเทลงานปั ก ฉลุ ลูกไม้ การตกแต่งขนนก และการจับระบายต่างๆ
Lace block
Collection sketch Illustration sketch
Iris pattern
Lace trim sketch
KLOSET
individual project Fashion design Graphic design Illustration Leather Goods design
Harper’s Bazaar Asia Newgen 2018 Award:
Boundless
จากแนวคิด “Boundless Sexuality” การผสมผสานเอกลักษณ์ของเสือ้ ผ้าบุรุษ และสตรีเข้าด้วยกันเพื่อหลอมรวมช่องว่างระหว่างอัตลักษณ์ทางเพศ น�ำมาสูก่ ารออกแบบ คอลเลกชั่นเครือ่ งแต่งกายประเภท lifestyle workwear ส�ำหรับกลุม่ ลูกค้าผูห้ ญิงที่มีความลื่น ไหลทางเพศ และกลุม่ หลากหลายทางเพศ ภายใต้ช่ือ “Boundless” โดยได้รบั แรงบันดาล ใจมาจากตัวละครในซีรยี ส์ The Alienist ชื่อ Sara Howard ผูห้ ญิงคนแรกที่ได้ทำ� งานในกรม ต�ำรวจนิวยอร์กในช่วงทศวรรษ 1890 และมีคาแรคเตอร์ความขบถ ไม่ยอมแพ้ตอ่ ขนบธรรมเนียมและสังคมโลกชายเป็ นใหญ่ท่ีกดขี่เธอ และซิลเู อทแบบทศวรรษที่ 1980s ซึง่ เป็ นยุคแห่ง “หญิงแกร่ง ชายไร้เพศ” ผสมผสานกับเทรนด์ปี 2019 ที่วา่ ด้วยการน�ำสิ่งเก่าๆ จากอดีตน�ำกลับมาใช้ใหม่ น�ำมาสูค่ อลเลกชั่นสะท้อนภาพลักษณ์ของคนแนวที่มีทศั นคติ แบบหญิงสมัยใหม่ท่ีมีไม่จำ� เป็ นต้องอ่อนหวานแบบหญิงพิมพ์นิยม และไม่จำ� เป็ นต้องแกร่ง เสมือนผูช้ าย เป็ นคนมีความเป็ นตัวของตัวเอง ไม่แข็งกระด้างหรืออ่อนหวานจนเกินไป ทัง้ ยัง มีความมั่นใจ และสนุกในการใช้ชีวิตทัง้ เวลาท�ำงาน และหลังเลิกงาน ถ่ายทอดผ่านโครงชุด แบบ masculine สูทบ่าตัง้ แบบ 1980s การใช้ผา้ แบบ tailor match กับดีเทลและวัสดุแบบ feminine เช่น การจับระบาย ผ้าลูกไม้ ผ้าแก้ว และไหมซาตินสีจดั จ้าน สะท้อนลุคของสาวเท่ masculine แบบ 1980s แต่แฝงไปด้วยกลิ่นหวานแบบวิคตอเรียน
(ขวา) ดีเทลรายละเอียดงานปั ก และตัวอย่าง วัสดุจริง (ล่าง) Presentation board ขนาด A2 จ�ำนวน 3 แผ่น ประกอบด้วย 1. อธิบายแนวคิด ปั ญหา และวิเคราะห์ เทรนด์ปี 2019 2.แผนธุรกิจ จุดเด่นอัตลักษณ์ 3.คอลเลคชั่น
Collaborate project Spring/Summer 2018: Blooming Future เทรนด์และค่านิยมทางสังคมก�ำลังหวนคืนกลับไปสูค่ า่ นิยมแบบทศวรรษ1980 “หญิง แกร่ง/ชายไร้เพศ” กระแสของสตรีนิยมและความเท่าเทียมทางเพศมีบทบาททางสังคมอย่างมากกับ วิถีชีวิตของผูค้ นในยุคปั จจุบนั และอนาคต ถึงแม้วา่ สังคมจะด�ำเนินมาสูย่ คุ ที่เพศของผูค้ นไม่สามารถ ให้คำ� จ�ำกัดความอันแน่นอนได้ มีกลุม่ เพศอันหลากหลายนับไม่ถว้ นที่เกิดขึน้ มาใหม่ในทุกๆวัน แต่ สินค้าแฟชั่นในประเทศไทยในปั จจุบนั ก็มีชอ่ งว่างส�ำหรับกลุม่ ผูบ้ ริโภค Androgynous อยู่ จึงได้ ศึกษาค้นคว้าความต้องการ และบุคลิกต่างๆของกลุม่ ผูบ้ ริโภคกลุม่ นี ้ จากการศึกษาอ้างอิงจาก 2018 NUANCES โดย Carlin creative trend bureau ข้าพเจ้า ได้ก่อก�ำเนิดแนวคิด “Non-gender design X futuristic maximalist” โดยได้รบั แรงบันดาลใจจากsilhouetteยุค80s อัตลักษณ์ของเสือ้ ผ้าบุรุษและสตรี และดอกไม้ สัญลักษณ์ความงามอันไร้ของเขต ทางเพศแห่งธรรมชาติ จึงเกิดเป็ นคอลเลคชั่นเสือ้ ผ้า all-day wear ภายใต้ช่ือ: “Blooming Future” spring/summer 2018
Collaborate project Resort 2019: Roman Reminiscent การบริโภคสินค้าแฟชั่นในปั จจุบนั ผลิต ซือ้ ขายกันอย่างรวดเร็ว และตกเทรนด์ทนั ใดเมื่อมีสนิ ค้าใหม่เข้ามาแทนที่ การผลิตแบบอุตสาหกรรมเสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูปที่เน้น ความรวดเร็วในการผลิตสินค้าท�ำให้สนิ ค้าแฟชั่นขาดชีวิตชีวา คุณค่าในเชิงสุนทรียะทางศิลปะ และความละเอียดอ่อนของจิตใจ อีกทัง้ ช่องว่างของศิลปะในอดีตกับความร่วม สมัยในชีวิตปั จจุบนั ก�ำลังห่างเหินและทูกแทนที่ดว้ ยศิลปะยุคดิจิตอล ศิลปะและสถาปั ตยกรรมเก่าแก่กำ� ลังถูกมองเป็ นสิ่งคร�่ำครึท่ีไม่สามารถน�ำกลับมาใช้ได้ในปั จจุบนั จากการวิเคราะห์เจาะเทรนด์โลกปี 2018 โดย TCDC ข้าพเจ้าได้สนใจในหัวข้อ “Remaster” ที่วา่ ด้วยการน�ำศิลปะอันยิ่งใหญ่ในอดีตกลับมาใช้ใหม่ในปั จจุบนั เพื่อ เพิ่มคุณค่าของตัววัตถุและในด้านจิตใจ นอกจากนีย้ งั ช่วยเชื่อมต่อช่องว่างระหว่างงานศิลปะในอดีตและการใช้ชีวิตในยุคปั จจุบนั เข้าด้วยกัน จึงก่อเกิดแนวคิด “The mix of modernity and antiquity” การผสมผสานระหว่างอดีตและปั จจุบนั โดยได้รบั แรงบันดาลใจจากศิลปะ สถาปั ตยกรรม และเครือ่ งแต่งกายในยุคโรมัน ยุครากฐานแรกเริม่ แห่ง ศิลปวิทยาการของโลก สูค่ อลเลกชันเสือ้ ผ้าสตรี ready to wear ภายใต้ช่ือ “Cruise 2019: Roman Reminiscent”
TUKtuk design for SIAM FOOD FESTIVAL 2017
Date: 7-10 July 2017 Venue: Parc Siam Paragon จัดงานเทศกาลอาหาร “Siam Food Festival” เพื่อเป็ นการเปิ ดกิจกรรมและโปร โมชั่น Amazing Thai Taste ในบริเวณศูนย์การค้าสยาม พารากอนสยามเซ็นเตอร์ สยามดิสคัฟเวอรี่ โดยภายใน งานได้มีการใช้รถตุ๊กตุ๊ก เป็ นร้านค้าขายอาหารไทย ข้าว ไทย ผลไม้ไทยตามฤดูกาล และ ผลิตภัณฑ์แปรรูป นอกจากนี ้ ยังมีจดั แสดงรถตุ๊กตุ๊ก ที่ตกแต่งโดยศิลปิ นที่ ได้รบั แรงบันดาลใจจากอาหารไทย ข้าวไทย และผลไม้ ไทย ในการแสดงงานครัง้ นี ้ Concept: Street Food is Art Description: เพราะอาหารริมถนนก็เหมือนศิลปะการ ใช้ชีวิตอย่างหนึง่ ในกรุงเทพมหานครแห่งนี ้ จึงได้นำ� ผล งานของศิลปิ นAugust Renoir ซึง่ เป็ นผลงานศิลปะ ระดับโลก มาผสมผสานกับอาหารริมถนนแบบไทยๆ ถ่ายทอดผ่านในเชิงของวัฒนธรรมป๊ อปและศิลปะคอล ลาจเชิงล้อเลียน
Final Project Interior Working Drawing Isometric Presentation
CHANEL BOUTIQUE – HoTEL
Chanel Boutique – Hotel เป็ นโรงแรมคอนเซปในอนาคตของChanelที่รวมทัง้ ส่วนของ boutique, atelier และ private hotel ไว้ดว้ ยกัน โดยการน�ำเสนอผ่านisometric ได้นำ� อัต ลักษณ์และสัญลักษณ์ตา่ งๆของ brand เช่น สีขาว, สีดำ� , สีทอง, ขวดน�ำ้ หอม CHANEL No5, Chanel suit, สัญลักษณ์ double C ซึง่ เป็ นโลโก้ของbrand และองค์ประกอบต่างๆที่มีใน ห้องพักของ Coco Chanel ผูก้ ่อตัง้ brand ที่ The Ritz Hotel จัตรุ สั วองดูม กรุงปารีส และ Chanel Boutique บนถนนกัมบง กรุงปารีสมาใช้ในการออกแบบ สัดส่วนการจัด zoning ใน isometric presentation นี ้ แบ่งออกเป็ น ชัน้ 1 Boutique ชัน้ 2 Atelier & Studio ชัน้ 3 Lobby & All Day Dining ชัน้ 4 Private Hotel ชัน้ 5 Sky Lounge โดยการออกแบบ display โชว์สนิ ค้าบริเวณชัน้ 1และ color scheme ของชิน้ งานได้อา้ งอิง มาจาก Chanel Cruise 2018 Collection ซึง่ มีสีหลักเป็ นสีขาว-ด�ำ-ทอง Technique: Acrylic and pen drawing Size: A1
architectural drawing (2017) (หน้าซ้าย แถวซ้าย) - ศาลาสระแก้ว มหาวิทยาลัยศิลปากร - พระที่น่ งั พิมานปฐม - สะพานสุนทรถวาย (หน้าซ้าย แถวขวา) - พระต�ำหนักชาลีมงคลอาสน์ - สะพานเชื่อมพระต�ำหนัก พระราชวังสนามจันทร์ (หน้าขวา) - พระปฐมเจดีย ์ - พระที่น่ งั วัชรีรมยา - พระต�ำหนักทับขวัญ - หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Left page (Above) Reproduct Rendering (2016) Technique: watercolor, marker, pencil color (Left) Illustration of Asakusa Culture Tourist Information Centre (2016) Technique: marker, pencil color
Right page Reproduct drawing of “The Sparrow” (2014)
Illustration for "Design Thinking & Disruptive Design" book (2019)
Layout design for “Design Movement Timeline” book (2018)
The Sight (2017) Technique: Adobe Illustrator The Buzz (2017) Technique: Adobe Illustrator The Scent (2017) Technique: Adobe Illustrator
Birdy Gatsby Party No.1, 2 (2017) Technique: hand drawn, Adobe Illustrator
(Above) Illustration of Gucci Spring / Summer 2017 (2016) Technique: watercolor, marker, pencil color (Left) Tsim Sha Tzui Girls Thought The Decade (2017) Technique: Pen / pencil drawing
LEATHER GOODS DESIGN "Punchy", the bucket bag (2017) Material: PVC, Leather
Credits and special thanks Interior design academic project Interior design academic project no.3 advisor Mr. Sombat Wongatsawanaruemon Interior design academic project no.5 advisor Mr. Kasitin Chumwaranond Interior design academic project no.6 advisor Mr. Kasitin Chumwaranond Interior design academic project no.7 advisor Asst.Prof. Chainarong Ariyaprasert Interior design academic project no.8 advisor Prof. Nuchnapang Keonail Interior design academic project no.9 advisor Mr. Pasu Charusiri, Prof. Nuchnapang Keonail Interior design academic project no.10 advisor Mr. Pasu Charusiri, Prof. Nuchnapang Keonail Interior design academic project no.11 advisor Mr. Pasu Charusiri, Prof. Nuchnapang Keonail, Mr. Kasitin Chumwaranond, Asst.Prof. Chainarong Ariyaprasert Mr. Paiboon Jiraprasertkul, Ms. Manapee Khongrakchang, Mr. Supanut Arunoprayote Art Thesis advisor Mr. Pasu Charusiri, Prof. Nuchnapang Keonail, Mr. Kasitin Chumwaranond, Asst.Prof. Chainarong Ariyaprasert Mr. Paiboon Jiraprasertkul, Mrs. Salin Samakpong Ms. Parichut Suchatkulvit, Ms. Tiyanee Kunmart, Ms. Manapee Khongrakchang, and Mr. Supanut Arunoprayote
Collabarate fashion project Photography Mr. Pobprut Wongpuckdee, Ms. Nutcha Harnpukdipatima Model Ms. Atikarn Thontago, Ms. Nutcha Harnpukdipatima Fashion design Mr. Thanapath Wutthinitikornkij Textile design Mr. Panupong Suwanjuthamanee Leather goods design Mr. Praison Waebunditrayub Makeup Ms. Atikarn Thontago, Ms. Sanyalak Khemlad Snapshot Ms. Praew Siriudomset Accessories / Stylist Mr. Thanapath Wutthinitikornkij, Mr. Panupong Suwanjuthamanee, Mr. Praison Waebunditrayub Pattern making Facebook: รับตัดเสือ้ Fashionmaking