CONTENTS
Editor’s Letter
ART ISSUE 06 ET CETERA 18 TALK
NO RULES FOR ARTS, REALLY?
24 SPLURGE SHOW PIECES
26 FASHION ARTISTIC LICENSE
36 BEAUTÉ
ART OF UNUSUAL FUNCTIONS
44 COVER STORY CONTENTED CHERMARN
56 FEATURE ART FOR ALL นอกจากภาพวาดเมดูซาแล้ว ผมแทบจำ�งานชิ้นอื่นของ คาราวัจโจไม่ได้ จนกระทั่งบังเอิญไปเจอนิทรรศการ Beyond Caravaggio ทีเ่ อดินเบอระ National Galleries of Scotland รวบรวมงานชิ้ น เด่ น มาจั ด แสดงพร้ อ มกั บ ผลงานของ หลายศิลปินที่ได้รับอิทธิพลจากงานของเขา เท่าที่ลองศึกษาประวัติดู คาราวัจโจ เกิดเหนื่อยหน่ายกับ งานแนวเรืองรองเลอเลิศแบบ Mannerism ที่นิยมกันมาก ในช่ ว งนั้ น แล้ ว หั น มาทำ � งานแนวสมจริ ง ในลี ล าดุ ดั น และ ตรงไปตรงมา เขาวาดภาพมนุษย์หน้าตาธรรมดา ไม่ได้งามพร้อม เหนือมนุษย์ มือเท้าเปื้อนดิน มันดูหยาบโลนและต่ำ�ช้าเกินไป ไม่เหลือเค้าความงามดั่งเทพยดา ทำ�ไปทำ�มาแนวการทำ�งาน ของเขาเป็ น สไตล์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ อย่ า งกว้ า งขวาง เป็นที่มาของงานแนว Caravaggesque ในที่สุด แล้ววงการศิลปะก็ถูกขับเคลื่อนไปข้างหน้าจนเกิดเป็น ศิลปะยุคสำ�คัญจากความคับข้องใจเล็กๆ ของศิลปินธรรมดา คนหนึ่ง ครั้งหนึ่งทาคาชิ มุระคามิ เคยประณามผู้เข้าร่วมเสวนา นิทรรศการของเขาอย่างรุนแรงว่าเป็นตัวอย่างความล้มเหลว ของการศึ ก ษาด้ า นศิ ล ปะในประเทศญี่ ปุ่ น เมื่ อ เธอถาม อย่างตรงไปตรงมาว่า เขาต้องการจะบอกอะไรในงานชิ้นหนึ่ง ที่ เ ธอเอ่ ย ถึ ง หลั ง จากที่ ว่ า เธออย่ า งสาดเสี ย เทเสี ย เขาขอโทษเธอ และอธิ บ ายว่ า หน้ า ที่ ข องเขาสิ้ น สุ ด ลงเมื่ อ ผลิตชิ้นงานเรียบร้อย ส่วนที่เหลือเป็นหน้าที่ของผู้รับชมที่ ทำ�ให้งานสมบูรณ์แบบได้ ฉะนั้น ความต้องการในเบื้องต้น ของเขาจึงไม่สำ�คัญเลย จะจากตั ว ศิ ล ปิ น เองหรื อ ผู้ จ้ า งวานก็ ต ามที ระบบการ สร้ า งคุ ณ ค่ า ของงานศิ ล ปะคื อ ผลกระทบต่ อ ความรู้ สึ ก และ คำ�ถามทีเ่ กิดขึน ้ เมือ ่ ได้รบ ั ชม แต่เรากลับไม่ได้รบ ั อนุญาตให้รบ ั รู้ ถึงความต้องการทีแ่ ท้จริงเหล่านัน ้ เป็นพืน ้ ทีป ่ ริศนาทีแ่ ตะต้อง ไม่ได้
- Contributors Powerful messages DONT always come with frankness. ก็เข้าใจได้ว่าในขณะที่ผู้ชมตะลึงกับความเพริศของงาน อยู่นั้น เกิดเป็นช่องว่างเปิดให้ผู้รับชมงานได้เลือกเติมเต็มมัน ด้วยประสบการณ์ของตัวเอง แต่ถึงกระนั้น ถ้าเรามองศิลปะ เป็นสื่อประเภทหนึ่ง จำ�เป็นไหมที่เราจะต้องเข้าใจเจตนารมณ์ ของศิลปินอย่างถ่องแท้ ศิลปินทัง้ หลายอาจจะต้องเปิดใจสักนิดหนึง่ ในพืน ้ ทีป ่ ริศนา (และต้ อ งห้ า ม) ที่ พ วกคุ ณ เปิ ด ทิ้ ง ไว้ การที่ ไ ด้ ตี ค วามอะไร ให้รส ู้ ก ึ ว่ายังมีคนทีม ่ องโลกคล้ายกันอยู่ อาจจะเป็นเรือ ่ งยิง่ ใหญ่ ที่สุดแล้วสำ�หรับผู้รับชม ถ้าผมจะทึกทักเอาเอง สำ�หรับทาคาชิ มุระคามิ เขาต้องการ ท้าทายขนบธรรมเนียมงานศิลปะญีป ่ น ุ่ สำ�หรับยาโยอิ คุซามะ (ผมก็คิดเองเออเองว่า) เธอต้องการปลดปล่อยตัวเองจาก การกดทั บ ทางเพศในสั ง คมญี่ ปุ่ น หรื อ สำ � หรั บ คาราวั จ โจ น่าจะเป็นความรำ�คาญในความดัดจริตของนิยามความงาม จากชนชั้นสูง (ฮา) ในอินสตาแกรมส่วนตัวของพลอย เฌอมาลย์ กล่าวถึง ศิลปะไว้อย่างน่าสนใจว่า ‘ชีวต ิ สัน ้ ศิลปะยืนยาว’ เห็นท่าจะจริง อุดมการณ์จะถูกส่งต่อเรือ ่ ยไปผ่านสีสน ั และเส้นสายของศิลปิน ส่วนการชักใยให้ศล ิ ปะเหล่านีท ้ �ำ งานอย่างแนบเนียนได้อย่างไร ก็เป็นศิลปะอีกแขนงหนึ่งที่น่าสนใจไม่แพ้กัน ขอบคุณครับ แล้วพบกันฉบับหน้า
Krongkwan Khamsai
ไอซ์ นั ก ศึ ก ษาแฟชั่ น จากรั้ ว ศิ ล ปากร มาฝึ ก งานกั บ ที ม แฟชั่ น ของ DONT ที่ ทำ � ให้ เธอได้ เ รี ย นรู้ ก ารทำ � งานโปรดั ก ชั่ น เธอต้ อ ง ตระเวนไปหลายๆ ทีแ่ ละขนของหนักสำ�หรับนำ�มา ถ่ายแฟชัน ่ เซตต่างๆ จนกระทัง่ ออกมาเป็นแฟชัน ่ เซตที่เสร็จสมบูรณ์
Chonlapruek Kulhom
หนุ่มตัวสูงสะดุดตาอนาคตนายแบบคนนี้ เพิ่ ง จะได้ เ ซ็ น สั ญ ญากั บ โมเดลลิ ง มด ได้ ม า ฝึ ก งานกั บ DONT ในที ม แฟชั่ น เพื่ อ เตรี ย ม ความพร้อมและหาประสบการณ์ก่อนจะเริ่มต้น อาชีพในสายงานนี้ และพวกเราก็เอาใจช่วยให้มด มีอนาคตที่สดใสกับงานที่เขาใฝ่ฝันนี้
Nathanich Chaidee
ด้ ว ยใจที่ รั ก การออกแบบเป็ น ทุ น เดิ ม นิ่ ม จึงอาสารับหน้าที่สัมภาษณ์ ศรัณย์ เย็นปัญญา และถ่ายทอดเรื่องราวของเขาเพื่อผู้อ่าน DONT ทุกคนอย่างเต็มที่ แม้ปกติแล้วงานในทีมดิจิทัล จะหนั ก หนาสาหั ส อยู่ แ ล้ ว ก็ ต าม อย่ า ได้ ร อช้ า เปิ ด เข้ า ไปอ่ า นกั น เลยว่ า ผลงานแรกของนิ่ ม สำ�หรับ DONT จะถูกใจผู้อ่านหรือไม่
Kankamon Treesat
ฤดูกาลฝึกงานนีเ้ ราได้ ปูเป้ นักศึกษาฝึกงาน ในฝ่ายดิจิทัล มาเรียนรู้การทำ�งานสื่อออนไลน์ กับฝ่าย DONT Edition ทั้งการหาข้อมูลและ เขียนข่าว ควบคูไ่ ปกับงานอืน ่ ๆ ในกองบรรณาธิการ DONT Magazine แถมปูเป้ยงั มีขนมติดไม้ตด ิ มือ มาฝากทุกคนในกองเสมอๆ จนทุกคนประทับใจ ในความมีน้ำ�ใจของเธอ
Ansaya Aiengjang
นอกจากฝ่ า ยดิ จิ ทั ล แล้ ว ฝ่ า ยบิ ว ตี้ ก็ มี นั ก ศึ ก ษาฝึ ก งานที่ ไ ด้ ฝ ากผลงานเขี ย นไว้ ใน DONT Magazine ฉบับนี้กันด้วย เปิดไปดู กันเลยว่า บิว ผู้สนใจความสวยความงาม จะนำ� เทรนด์อะไรใหม่ๆ จากแวดวงบิวตี้มาฝากผู้อ่าน DONT บ้าง
Jiratha Pongsura ASAVA FLAGSHIP STORE SUKHUMVIT 45 TEL. 02 662 6526, 2F QURATOR THE EMQUARTIER TEL. 09 9058 4690, BROTIQUE GIN&MILK 3F SIAM CENTER, CHRISTIAN DIOR SIAM PARAGON MF TEL. 0 2610 6799, THE EMPORIUM GF TEL. 0 2664 8363-4, DISAYA PARAGON DEPARTMENT STORE 1F TEL 0 2610 7899, EMQUARTIER 2F TEL. 0 2261 0233, EK THONGPRASERT CLUB21 SIAM PARAGON MF, CLUB21 THE EMQUARTIER MF, HAUS OF JEWERLY FLAGSHIP STORE ON NUT 66 SOI 5 TEL. 09 1771 4287, IRADA SIAMPARAGON 1F, THE EMQUATIER 2F, MICHAEL KORS CENTRAL EMBASSY TEL. 0 2160 5855, ORNAMENTS&L’OR INSTAGRAM: ORNAMENTS_LOR TEL. 08 3554 7924, PATINYA SIAM PARAGON 1F, CENTRAL CHIDLOM THAI THAI ZONE, ZEN @ CENTRAL WORLD 2F, FLAGSHIP STORE LAKE RATCHADA OFFICE COMPLEX PILANTHA GF SIAM DISCOVERY, PORSHZ INSTAGRAM: PORSHZ TEL. 08 6409 5712 E-MAIL: PORSHZ.BANGKOK@GMAIL.COM LINE ID: PORSHZ, SARRAN CLUB 21 ERAWAN 2F TEL. 0 2250 7719, STYLENANDA PARAGON 1F TEL. 0 2610 7922, 2F QURATOR THE EMQUARTIER TEL. 0 2003 6475, VICKTEERUT 2F QURATOR THE EMQUARTIER TEL. 08 5072 6808, SIAM PARAGON 1F TEL. 08 2782 8207
DONT
4
AUGUST 2017
จ๋า คู่หูของบิว นักศึกษาฝึกงานในฝ่ายบิวตี้ เช่ น กั น เพราะว่ า การทำ � นิ ต ยสารไม่ ไ ด้ มี เ พี ย ง การนั่งเขียนข่าวอยู่ในออฟฟิศ จ๋าจึงได้เรียนรู้ การทำ � นิ ต ยสารโดยสั ม ผั ส ประสบการณ์ จ ริ ง อย่างการไปออกงานอีเวนต์และนำ�ข่าวมาฝาก ผู้อ่าน DONT ฉบับนี้ด้วย
PROMOTION
Enchanted Nature Work Smart or Chic Casual, create your favourite looks in your own style with basic colours that are an all-time classic.
JASPAL FALL/WINTER 2017
เสื้อผ้าสีเบสิกที่ขาดไม่ได้ของสาวๆ อย่างสีขาว ดำ� และเบจ นอกจาก จะเป็นสีคลาสสิกที่ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปเท่าไรก็ไม่มีวันตกยุคแล้ว ยังเป็นไอเท็ม ที่ใส่ได้หลายโอกาส เพราะแมตช์ได้หลายลุค ไม่ว่าจะเป็นลุคทางการสำ�หรับ สาวทำ � งานที่ ต้ อ งการความเรี ย บหรู หรื อ ลุ ค สบายๆ ในวั น หยุ ด ไปจนถึ ง ลุคกลางคืนทีต ่ อ ้ งการความแกล็ม นอกจากนีย ้ งั สามารถสร้างสรรค์ลค ุ ทีเ่ ข้ากับ สไตล์เฉพาะตัวของสาวๆ แต่ละบุคลิก ทัง้ สาวหวาน สาวเปรีย ้ ว หรือสาวสปอร์ต แนวสตรีตได้อย่างลงตัว อย่าเพิ่งคิดว่าสีเบสิกเหล่านี้จะดูน่าเบื่อ ลองหาไอเดียใหม่ๆ จากเสื้อผ้า สี พื้ น ชิ้ น ที่ มี ลู ก เล่ น ตรงซิ ล ลู เ อตต์ แ ละรายละเอี ย ด เช่ น ลายปั ก ในเนื้ อ ผ้ า การจับจีบ เล่นเลเยอร์กับชิ้นสีพื้นอื่นๆ หรือจะมิกซ์แอนด์แมตช์กับชิ้นที่เป็น ลายพิมพ์กไ็ ด้เช่นกัน หากต้องการเปลีย ่ นลุคระหว่างวันก็ท�ำ ได้งา่ ยเพียงเปลีย ่ น แอ็ ก เซสซอรี แปลงโฉมชุ ด ที่ ดู ท างการในที่ ทำ � งานให้ ก ลายเป็ น ชุ ด ที่ พ ร้ อ ม ไปสนุกหลังเลิกงานได้ทันที ฤดูกาลนี้แต่งแต้มสีเบสิกขาว-ดำ�ให้มีลูกเล่นและน่าหลงใหลยิ่งขึ้นด้วย ลายพิ ม พ์ ที่ ไ ด้ รั บ แรงบั น ดาลใจจากสิ่ ง มี ชี วิ ต ในธรรมชาติ ลวดลายดอกไม้ ผสมผสานกับลายจุดและลายทางขับเสน่ห์ของความเป็นหญิงให้เด่นชัดและ แฝงความอ่อนโยนในเนื้อผ้าบางเบาพลิ้วไหว
แมตช์แต่ละลุคด้วยแอ็กเซสซอรีให้มีสีสันและดูสนุกสนาน อาทิ กระเป๋าและ รองเท้าหนังที่ประดับโลหะสีทองหรือพลอยเพิ่มความหรูหราและลูกเล่นในลุค ที่ ต้ อ งการให้ ดู ท างการ รองเท้ า หุ้ ม ส้ น ที่ ใ ห้ ลุ ค เท่ ๆ หรื อ รองเท้ า เปิ ด ส้ น ในลุ ค ที่ ดู ส บายๆ ที่ ข าดไม่ ไ ด้ ใ นฤดู ก าลนี้ คื อ ลุ ค สปอร์ ต ที่ กำ � ลั ง มาแรง รองเท้าสนีกเกอร์สน ้ หนากับกระเป๋าเป้ทด ี่ ก ู ระฉับกระเฉงแต่ยงั เปีย ่ มความเป็นหญิง คือตัวเลือกที่สาวแนวสตรีตไม่ควรพลาด เพียงเท่านี้ก็จบแต่ละลุคได้อย่าง สมบูรณ์แบบ
ET CETERA WORDS: ALISA SANTASOMBAT
Diverse Perspectives PHOTO: SWAROVSKI
Swarovski ผูน ้ �ำ ด้านการเจียระไนคริสตัลระดับโลก เผยนวัตกรรมการ เจียระไนคริสตัลแบบใหม่ล่าสุดประจำ�ฤดูกาล Spring/Summer 2018 โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากยุคปัจจุบันที่สิ่งต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว ในขณะเดียวกัน ผู้คนก็พยายามสรรหาและนิยามความเป็นตัวตน ใหม่ไปพร้อมๆ กับการล้มล้างแนวคิดเดิมๆ และขจัดโครงสร้างที่ล้าสมัย Swarovski ได้ต่อยอดแนวคิดนี้ออกมาเป็นธีมสำ�หรับฤดูกาล Spring/ Summer 2018 ในชื่อ New Perspectives คริสตัลรุ่นใหม่ล่าสุดได้ สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการของคนยุคมิลเลเนียลและเจเนอเรชั่น Z ซึ่ง เป็นกำ�ลังสำ�คัญในการขับเคลื่อนสังคม เทรนด์หลักของฤดูกาลนี้สะท้อน ออกมาเป็น 4 ลักษณะ ได้แก่ Gang Star, No Normal, Hacked Nature และ Spell Bound ซึง่ แสดงถึงความต้องการมุมมองใหม่ๆ ทีแ่ ตกต่าง การ ทลายเส้นแบ่งระหว่างความหรูหราและสตรีทสไตล์ ระหว่างธรรมชาติกบ ั ดิจท ิ ล ั ระหว่างความเป็นชายและหญิง หรือแม้แต่ชุดความเชื่อที่แตกต่าง
Classic Legends Reinterpreted PHOTO: BVLGARI
Bvlgari เผยโฉม Diagono Scuba 2017 นาฬิกาดำ�น้�ำ ทีส่ มบูรณ์แบบ สำ�หรับทั้งชีวิตในเมือง ที่ทะเล และชนบท ในสามเฉดสีที่สดใสและ เปี่ยมพลัง สีขาวที่สื่อถึงความบริสุทธิ์และใสกระจ่าง สีเหลืองที่เป็น สัญลักษณ์ของความสำ�เร็จมาตั้งแต่สมัยโบราณ และสีส้มที่เชื่อกันว่า จุดประกายให้แก่จินตนาการ Diagono Scuba สามารถกันน้ำ�ได้ลึก ถึง 300 เมตร ใช้ระบบ Calibre Solotempo BVL191 ซึ่งไขลาน ได้เอง สำ�รองพลังงานได้นาน 42 ชั่วโมง เหมาะกับการใช้งานทั้งใน น้ำ� ริมหาด ดำ�น้ำ� หรือทำ�กิจกรรมทางน้ำ�ต่างๆ อีกทั้งการออกแบบ ยังเหมาะกับการใช้ชีวิตในเมือง รังสรรค์ขึ้นโดยช่างอัญมณีที่สืบทอด ความสร้างสรรค์และทักษะเฉพาะทางอันยาวนานกว่า 130 ปี ผสม ผสานกับศาสตร์ด้านนาฬิกาชั้นสูงจากสวิตเซอร์แลนด์
American Heritage
Truth Beyond Time
PHOTO: COACH
สจ๊วต วีเวอร์ส ผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์ของ Coach ชนะ รางวัล Accessory Designer of the Year ในงาน CFDA 2017 เขาได้เปลีย ่ นโฉมแบรนด์ให้ดม ู ส ี ไตล์และทันสมัยขึน ้ กว่าเดิม จากความ หลงใหลในสไตล์และวัฒนธรรมอเมริกา เขานำ�เสนอคอลเลกชัน ่ เสือ ้ ผ้า สำ�เร็จรูป Coach 1941 โดยถ่ายทอดสไตล์ที่สดใหม่ผ่านแคมเปญ โฆษณาในฤดูกาลต่างๆ วีเวอร์สถนัดการออกแบบเครือ ่ งประดับและให้ ความสำ�คัญกับสินค้าประเภทเครื่องหนัง เขานำ�เสนอเอกลักษณ์ของ มหานครนิวยอร์กซึ่งถือเป็นจุดกำ�เนิดของแบรนด์ Coach คู่กับความ เป็นผู้หญิง (femininity) และสไตล์โรแมนติกซึ่งหล่อหลอมความเป็น อเมริกาไว้ได้เป็นอย่างดี วีเวอร์สสอดแทรกเอกลักษณ์ในงานออกแบบ สไตล์ อ เมริ ก าออกมาเป็ น กระเป๋ า รุ่ น ต่ า งๆ เช่ น Rogue, Dinky และ Swagger สำ�หรับวีเวอร์ส Coach ถือเป็นแบรนด์ทม ี่ ค ี วามหรูหรา ในสไตล์อเมริกาอย่างแท้จริง โดยผสมผสานจิตวิญญาณกับงานฝีมอ ื และการออกแบบทีท ่ น ั สมัยซึง่ เป็นสไตล์ทเี่ ขารัก และยังเป็นต้นแบบของ แบรนด์เครือ ่ งหนังสัญชาติอเมริกน ั ทีเ่ ขาต้องการถ่ายทอดงานออกแบบ ปัจจุบันให้ดูน่าตื่นเต้นและเร้าใจ
PHOTO: RADO
Rado ผูน ้ �ำ ด้านนาฬิกาจากสวิตเซอร์แลนด์ เผยโฉมเรือนเวลาล่าสุดจาก คอลเลกชัน ่ ใหม่ True Open Heart ทีไ่ ด้รบ ั แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ มาจากความบางเบาอันเป็นเอกลักษณ์ โดดเด่นด้วยความเรียบง่ายทีด ่ งึ ดูด ทุกสายตาให้ดื่มด่ำ�ไปกับความพลิ้วไหวข้ามกาลเวลา ตัวเรือนสีดำ�เงาคง ความน่าค้นหาอย่างไร้ทต ี่ ม ิ าพร้อมกลไกออโตเมติกทีส ่ �ำ รองพลังงานได้ถงึ 80 ชัว่ โมง สายไฮเทคเซรามิก กระจกหน้าปัดคริสตัลแซฟไฟร์โค้ง กันน้�ำ ลึก 50 เมตร สีขาวแวววาวและสีดำ�ด้านรุ่นลิมิเต็ดที่ผลิตเพียง 500 เรือน ทัว่ โลก ฝาหลังไทเทเนียมพ่นทรายแกะสลัก สัมผัสคอลเลกชัน ่ Rado True Open Heart ได้แล้ววันนีท ้ ห ี่ า้ งสรรพสินค้าชัน ้ นำ�ทัว่ ไปและตัวแทนจำ�หน่าย ทั่วประเทศ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมโทร 0 2610 0200
DONT
6
AUGUST 2017
ET CETERA WORDS: ALISA SANTASOMBAT
Innovation of Timepiece PHOTO: CASIO
Casio เปิดตัวชุดโมดูลระบบเชื่อมต่อแบบ 3 ทาง ผลงานการพัฒนาใหม่ล่าสุด ทีน ่ �ำ มาซึง่ ระบบปรับเทียบเวลาแบบ 3 ทาง ระบบแรกของโลก เพือ่ การแสดงเวลาอย่างถูกต้อง แม่ น ยำ � โดยอั ต โนมั ติ พ ร้ อ มแสดงข้ อ มู ล ปฏิ ทิ น อย่ า งสมบู ร ณ์ แ บบ ชุ ด โมดู ล ระบบ เชื่อมต่อแบบ 3 ทางแบบใหม่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้สามารถรับสัญญาณปรับเทียบเวลา ได้จากทัง้ ระบบคลืน ่ วิทยุและระบบดาวเทียม จีพเี อส อักทัง้ ยังสามารถเชือ ่ มต่อกับค่าเวลา ของเซิร์ฟเวอร์ต่างๆ ได้ด้วยการเชื่อมข้อมูลกับสมาร์ทโฟน Casio จะนำ�ชุดโมดูลระบบ เชื่อมต่อแบบ 3 ทางนี้มาเป็นองค์ประกอบหลักในแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชั้นนำ�ของ Casio ซึ่งรวมถึงนาฬิกาในตระกูล G-SHOCK และ Oceanus อีกทั้งจะนำ�เสนอชุดโมดูลระบบ เชื่ อ มต่ อ ที่ ส ามารถปรั บ ตั้ ง เวลาและปรั บ เปลี่ ย นอั พ เดตข้ อ มู ล ในระบบนาฬิ ก าได้ จ าก การเชือ ่ มข้อมูลกับสมาร์ทโฟนในนาฬิกาแบบอืน ่ ๆ ทีจ่ ะจำ�หน่ายอย่างแพร่หลายไปทัว่ โลก
Luxurious Vacation PHOTO: VILEBREQUIN
Vilebrequin ผู้นำ�แฟชั่นชุดว่ายน้ำ�ระดับไฮเอนด์ นำ�เสนอคอลเลกชั่น High Summer/Autumn 2017 สำ�หรับสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี โดยพาย้อนเวลากลับไปสู่ St-Tropez ในทศวรรษ 1970 อันเปีย ่ มมนตร์เสน่ห ์ คอลเลกชัน ่ นีบ ้ อกเล่ารูปแบบการใช้ชวี ต ิ ทีห ่ รูหรา กลิน ่ อายแห่งอิสรภาพ ความ เรียบง่าย ความคลาสสิกเหนือกาลเวลา อันเป็นบรรยากาศของภาพแห่งอุดมคติทเี่ หล่าคนดังเคยสัมผัส และดืม ่ ด่�ำ ในการพักผ่อนท่ามกลางประกายแสงแดดทีส ่ าดทอลงมากระทบสายน้� ำ ผ่านการใช้ลายพิมพ์ และสีสัน การท่องเที่ยวโดยรถ Mini Moke สัญลักษณ์สำ�คัญแห่งการท่องเที่ยวไปตามชายหาดของ St-Tropez ลวดลายปลาโลมาเคียงคู่หมู่ผีเสื้อสีน้ำ�เงิน ลวดลายพฤกษาพรรณ Madrague และอีก มากมาย พบกับคอลเลกชั่น High Summer/Autumn 2017 จาก Vilebrequin ได้แล้ววันนี้ที่ ดิ เอ็มควอเทียร์ สยามพารากอน และบลูพอร์ท หัวหิน
Modern Handicraft
Travel the Earth
PHOTO: ONITSUKA TIGER
PHOTO: ANOTHER STORY
Izipizi แบรนด์แว่นตาจากกรุงปารีส ร่วมกับ Another story เปิดตัวแว่นตารุ่นลิมิเต็ดอิดิชั่นที่ออกแบบเป็นพิเศษใน คอนเซปต์ Earth Traveller ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ที่มีใจรักการเดินทาง แว่นตารุ่นนี้เกิดจากความคิดที่อยากให้ ทุกคนออกเดินทางเพื่อค้นหาประสบการณ์ใหม่ๆ ให้ชีวิต จึงออกแบบให้สะท้อนถึงการเดินทางโดยแฝงกลิน ่ อายธรรมชาติ ด้วย การเลือกใช้สีเขียวขี้ม้าซึ่งเป็นตัวแทนสีจากธรรมชาติและต้นไม้ที่สื่อถึงการออกไปผจญภัยสำ�หรับกรอบแว่น และใช้สีกระสำ�หรับ ขาแว่นเพือ ่ สือ ่ ถึงความสนุกสนานและสไตล์อน ั โดดเด่น ใช้วส ั ดุทท ี่ �ำ จากโพลีเมอร์คาร์บอเนตทีย ่ ด ื หยุน ่ ทนทาน และพกพาสะดวก Izipizi รุ่นลิมิเต็ดอิดิชั่นนี้มี 2 แบบคือ แบบสกรีน แว่นถนอมสายตาที่ช่วยตัดแสงสีฟ้าจากจอคอมพิวเตอร์และจอโทรศัพท์ มือถือ และแว่นกันแดดทีส ่ ามารถป้องกันรังสียวู ไี ด้ถงึ 99.99% ผลิตขึน ้ เพียง 1,000 อันเท่านัน ้ ออกไปผจญภัยกับ Izipizi รุน ่ ลิมเิ ต็ดอิดช ิ น ่ั ได้แล้ววันนีท ้ รี่ า้ น Another Story ศูนย์การค้าดิ เอ็มควอเทียร์ สยามพารากอน เอ็มโพเรียม และสยามดิสคัฟเวอรี่
DONT
8
AUGUST 2017
Onitsuka Tiger ผสมผสานความทันสมัยเข้ากับงานหัตถกรรมแบบดั้งเดิมสมัย เอโดะ ถ่ายทอดสูร่ องเท้าคอลเลกชัน ่ ใหม่ Sakiori ทีแ่ บรนด์รว่ มงานกับ Sansa Koubo เมือง Morioka จังหวัด Iwate ที่ชุบชีวิตให้ผ้าเก่าที่ถูกละเลย Mexico 66 และ Lawnship 2.0 รองเท้ารุน ่ คลาสสิกของแบรนด์ ถูกนำ�มาปรับโฉมใหม่ดว้ ยฝีมอ ื นักทอผ้าจากภูมภ ิ าค Tohoku ทีใ่ ส่เทคนิคใหม่ให้รองเท้ามีดไี ซน์ทน ั สมัยและมีเสน่หเ์ ฉพาะตัว อีกทัง้ มีกลิน ่ อายคลาสสิก ด้วย การฉีกผ้าเก่าเป็นเส้นบางๆ แล้วทอด้วยวิธแี บบดัง้ เดิมลงในวัสดุใหม่ ทีต ่ อ้ งอาศัยความเชีย ่ วชาญ และประสบการณ์ของช่างทอ เกิดเป็นงานหัตถกรรมทีม ่ เี อกลักษณ์เฉพาะ พบกับคอลเลกชัน ่ Sakiori ได้แล้ววันนี้ที่ร้าน Onitsuka Tiger เทอร์มินัล 21 และเซ็นทรัลลาดพร้าว
ET CETERA WORDS: ALISA SANTASOMBAT
Cocktail Experience PHOTO: CHIVAS REGAL
Chivas Regal พาไปสัมผัสประสบการณ์ Chivas Experience แนะนำ� ร้านดังย่านสาทรซึ่งนำ�เสนอค็อกเทลซิกเนเจอร์ใหม่ล่าสุดที่รังสรรค์จาก Chivas Regal 2 เมนู เริ่มต้นที่ Vogue Lounge ตั้งอยู่ที่มหานครคิวบ์ เสิรฟ ์ เมนู Juicy Lucy รสเปรีย ้ วอมหวานทีเ่ บสด้วยลิน ้ จี่ และ Bittersweet Romance ที่ดัดแปลงจากค็อกเทลคลาสสิกโอลด์แฟชั่น เพิ่มรสชาติให้ เข้มข้นด้วยผิวส้มและบิทเทอร์ ร้านที่สอง Bunker บาร์สไตล์อินดัสเทรียล ซึ่งตั้งอยู่ในซอยสาทร 12 นำ�เสนอเมนู Extra Penicillin ค็อกเทลรส หวานอมเปรี้ยวผสมน้ำ�ผึ้งและเลมอนปนรสเผ็ดเล็กน้อยจากเครื่องเทศ และ Speyside Royal Sour ค็อกเทลจากการนำ� Chivas Regal 12 ปี มาเชกกับเสาวรสให้รสชาติเปรี้ยวปิดด้วยฟองนุ่ม ร้านที่สาม Miky’s บาร์สไตล์โมเดิร์นบนถนนปั้น แนะนำ� Duchess รสชาตินุ่มละมุนหวาน ซ่อนเปรี้ยวเหมาะกับสาวๆ และ Tea Time หอมกลิ่นชาเอิร์ลเกรย์โดดเด่น ร้านสุดท้าย Revolucion สไตล์สแปนิชบาร์ในซอยสาทร 10 เสิรฟ ์ Dessert Martini ค็อกเทลรสชาติคล้ายขนมที่มีส่วนผสมของ Chivas เชกกับ ช็อกโกแลตไซรัป ครีม และนม ปิดท้ายด้วย Chivas Lemon Tart ค็อกเทล รสเปรี้ยวหวานของเลมอนทาร์ตโดดเด่นที่ปลุกให้ตื่นขึ้นมาเต้นรำ�ไปกับ เสียงดนตรียามดึก
Functional Designs Neapolitan Zest
PHOTO: JOSEPH JOSEPH
Joseph Joseph แบรนด์เครื่องครัวจากประเทศ อังกฤษ รวบรวมดีไซน์สด ุ ทันสมัย ผสมผสานกับนวัตกรรม การผลิตชัน ้ เยีย ่ ม เพือ่ แก้ไขปัญหาทีพ ่ บเจอในชีวต ิ ประจำ�วัน ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ให้สะดวกสบายและ ง่ายดายยิ่งขึ้น ผลงานออกแบบของ Joseph Joseph ได้รับรางวัลด้านการออกแบบจำ�นวนมาก ที่โดดเด่นคือ Chop2Pot เขียงพลาสติกพับได้เป็นรูปทรงกรวยสำ�หรับ เทอาหารที่หั่นเสร็จแล้วได้สะดวก Dot ขวดน้ำ�พร้อม ฝาปิดแบบวัดปริมาตร ซึง่ จะนับปริมาตรน้�ำ โดยอัตโนมัติ ทุกครั้งที่ปิดฝาหลังจากเติมน้ำ� และแสดงผลปริมาตร น้ำ�ที่ดื่มเข้าไป IndexTM เขียงแยกประเภทพร้อมรหัสสี ระบุ ต ามการใช้ ง าน Nest TM เซ็ ต ชามผสมอาหารที่ อุปกรณ์แต่ละชิ้นวางซ้อนกันได้เพื่อประหยัดพื้นที่จัดเก็บ GoEatTM ชุดอุปกรณ์รบ ั ประทานอาหารแบบพกพาพร้อม ซองซิลโิ คน พบกับคอลเลกชัน ่ ต่างๆ ของ Joseph Joseph ได้แล้ววันนี้ที่ร้าน Joseph Joseph ชั้น 2 เมกาบางนา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0 2365 6286 หรือชมคอลเลกชัน ่ ได้ที่ Facebook: JosephJoseph.TH Instagram: @JoseohJoseph_TH ช้อปออนไลน์ได้ที่ www.bemynt.com
PHOTO: PIZZA MASSILIA
Pizza Massilia ร้านพิซซ่าทีไ่ ด้รบ ั แรงบันดาลใจจากการผสมผสาน รสชาติแบบดั้งเดิมของนาโปลีกับวัตถุดิบจากฝรั่งเศส เปิดสาขาใหม่ ที่ถนนสุขุมวิท 49 ทางร้านเลือกใช้วัตถุดิบคุณภาพดีที่สดใหม่จาก อิตาลีและฝรั่งเศสเข้ากับแป้งพิซซ่าที่หมักนาน 72 ชั่วโมง อบในเตา แบบดั้งเดิม นอกจากเมนูพิซซ่าหน้าต่างๆ เช่น Pizza Culatello, Truffle Mortadella Pizza, Italian Fassone Beef and Sea Urchin, Calzone แล้ว ยังมีจานอื่นๆ ที่ปรุงด้วยการอบในเตาและ พาสต้า เช่น Mediterranean Seabass en Papilotte, Tomates Farcies, Linguine Clams, Baby Squids Bouillabaisse ปิดท้าย ด้วยของหวาน Le Baba เค้กแบบนาโปลีเสิร์ฟพร้อมไอศกรีม หรือ จะเป็น Citron Givre เลมอนทั้งลูกเชื่อมใส่เลมอนซอร์เบท Pizza Massilia สุขุมวิท 49 เปิดให้บริการแล้วทุกวัน เวลา 11.30–14.30 และ 17.30–00.00 ติดต่อ โทร. 0 2015 0297, 09 5580 6560 อีเมล contact@pizzamassilia.com เว็บไซต์ www.pizzamassilia. com Facebook/Instagram: Pizza Massilia Sukhumvit
Authentic Trappist PHOTO: LA TRAPPE
La Trappe 1 ใน 11 เบียร์แทรปปิสต์ของโลกจากเนเธอร์แลนด์ ผลิตโดย โรงเบียร์ De Koningshoeven ที่อาราม Koningshoeven ตั้งแต่ ค.ศ. 1884 เป็นเบียร์ 1 ใน 7 ของโลกที่ได้รับอนุญาตให้ติดตราสัญลักษณ์ Authentic Trappist Product หรือเบียร์แทรปปิสต์ขนานแท้ที่ผลิตขึ้นตามจารีตและวิธี โบราณของสมาคมนักบวชแทรปปิสต์นานาชาติตามกฎการผลิต 3 ประการ คือ ผลิตในรัว้ กำ�แพงของอารามภายใต้การควบคุมของนักบวชแทรปปิสต์เท่านัน ้ กระบวนการผลิตต้องขึ้นตรงและดูแลโดยกลุ่มนักบวชแทรปปิสต์ และมีจุด มุง่ หมายเพือ่ ค้�ำ จุนอารามเท่านัน ้ ทุกวันนี้ La Trappe ยังคงกรรมวิธก ี ารรังสรรค์ รสชาติแบบดั้งเดิมนี้โดยไม่เคยเปลี่ยนแปลง ออกมาเป็น La Trappe Witte Trappist, La Trappe Blond, La Trappe Dubbel, La Trappe Tripel และ La Trappe Quadrupel ให้รสชาติที่สัมผัสได้ถึงความสงบ การอุทิศตน การ เพ่งพินิจ แสดงผ่านรสชาติของเบียร์แต่ละชนิดให้ได้ลิ้มลอง
DONT
10
AUGUST 2017
PROMOTION
PALETTE CONCEALER 350 THB คอนซีลเลอร์เนื้อครีมที่ให้สัมผัสเนียนนุ่ม ช่วยปกปิดจุดด่างดำ� ซ่อนรอยหมองคล้ำ� ประกอบไปด้วย 3 เฉดสีในตลับเดียว สามารถใช้ เดี่ยวๆ หรือนำ�แต่ละสีมาผสมกันเพื่อให้ได้เฉดสีที่ตรงกับผิว มาพร้อมคุณสมบัติป้องกันรังสียูวีและกันน้ำ�
SPARKLE YOUR SKIN
GEL EYELINER 290 THB
By
สูตรพิเศษ 2 IN 1 สามารถใช้ได้เป็นทั้ง เจลอายไลเนอร์และใช้เป็นอายแชโดว์ มีคุณสมบัติ กันน้ำ�และเหงื่อได้ดีเยี่ยม เนื้อนุ่มลื่น เขียนง่าย และติดทนตลอดวัน
You will look effortlessly pretty with only few products which is very practical. การแต่งหน้าให้สวยและเป็นธรรมชาตินั้นไม่ยาก เพียงใช้เครื่องสำ�อาง ไม่กี่ชิ้น แต่อาศัยการเลือกสรรเครื่องสำ�อางที่ใช้ง่าย และไม่พึ่งพาอุปกรณ์ยุ่งยากใดๆ มากนัก
UV FOUNDATION EX PREMIUM 520 THB
แป้งผสมรองพื้น SPF31 PA+++ เนื้อแป้งโปร่งแสงเนียนละเอียด ช่วยปกปิด รูขุมขนได้ดี และเพิ่มความกระจ่างใสให้แก่ผิวหน้า สามารถยับยั้งความหมองคล้ำ� ระหว่างวันได้เป็นอย่างดี
TWIST-UP EYEBROW WITH SPIRAL BRUSH 350 THB ดินสอเขียนคิ้วแบบหมุน ใช้งานง่าย มาพร้อม หัวแปรง ที่ช่วยจัดรูปทรงคิ้วให้สวยงาม ราวกับช่างแต่งหน้ามืออาชีพมาจัดทรงให้ มีส่วนผสมจากธรรมชาติ ช่วยในการบำ�รุง และเพิ่มความชุ่มชื่นให้แก่คิ้ว
CHEEK STICK 300 THB บลัชออนเนื้อครีมแบบแท่ง ใช้ได้ทั้งก่อนและหลังใช้แป้ง สามารถใช้ได้ หลากหลายไม่ว่าจะเป็นพวงแก้ม ริมฝีปาก หรือเปลือกตา มีสีสันที่ติดทนนาน เกลี่ยง่าย และไม่เป็นคราบ
สัมผัสความสวยใสสไตล์ญี่ปุ่นตามแบบฉบับ Cezanne ได้ที่ร้าน ยู, อีฟแอนด์บอย, ท็อปส์, ซูรูฮะ และห้างสรรพสินค้าชั้นนำ�ทั่วประเทศ
ET CETERA WORDS: ALISA SANTASOMBAT
Love is Boundless The Pass to Dubai PHOTO: EMIRATES
สายการบินเอมิเรตส์มอบสิทธิพิเศษและส่วนลดแบบเอ็กซ์คลูซีฟ My Emirates Pass สำ�หรับเปิดประสบการณ์ใหม่ในการท่องเที่ยวดูไบ เพียง แสดงบอร์ดดิงพาสของสายการบินเอมิเรตส์และเอกสารระบุตวั ตน จะได้รบ ั สิ ท ธิ พิ เ ศษจากสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ น่ า สนใจ ข้ อ เสนอส่ ว นลดพิ เ ศษ สำ � หรั บ ผู้ โ ดยสารกว่ า 120 ร้ า นอาหารสุ ด หรู ร ะดั บ โลก ร่ ว มสนุ ก กั บ กิ จ กรรมเอ็ ก ซ์ ค ลู ซี ฟ เข้ า ชมสนามกอล์ ฟ ระดั บ แชมเปี้ ย น เพลิ ด เพลิ น กับสวนสนุกหรือสปาหรูรอบเมือง ตั้งแต่วันนี้ถึง 31 สิงหาคมนี้ ดูข้อมูล เพิ่มเติมเกี่ยวกับ My Emirates Pass ได้ที่ www.emirates.com
PHOTO: UNHCR
สำ�นักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ หรือ UNHCR จัดนิทรรศการภาพถ่าย “รักไร้พรมแดน” เพื่อรำ�ลึกวันผู้ลี้ภัยโลก โดย ร่วมมือกับ ไปรยา ลุนด์เบิร์ก ทูตสันถวไมตรี UNHCR เป็นครั้งแรก และ คิด เบญจรงคกุล ช่างภาพแฟชั่น นำ�เสนอมุมมองต่อความรัก ผ่านภาพถ่าย 30 ภาพจากสองมุมโลกที่ไม่เคยเปิดเผยที่ไหนมาก่อน ผลงานส่วนหนึ่งบอกเล่าเรื่องราวของผู้ลี้ภัยซีเรียในประเทศจอร์แดน โดยไปรยาซึ่งได้ไปเยี่ยมค่ายผู้ลี้ภัยนี้ ในปัจจุบัน จอร์แดนรองรับ ผู้ ลี้ ภั ย มากถึ ง 655,000 คน ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ห นี ภั ย สงครามจาก ประเทศซี เ รี ย ส่ ว นคิ ด นำ � เสนอมุ ม มองต่ อ ความรั ก ของผู้ ลี้ ภั ย ผ่านภาพถ่ายเพือ ่ ค้นหานิยามของความรักในรูปแบบต่างๆ ของผูล ้ ภ ี้ ย ั ที่พักพิงในประเทศไทยมายาวนานกว่า 30 ปี
Futuristic Exclusivity PHOTOS: AIS
AIS ร่วมกับ สยามพิวรรธน์ จัดงาน AIS Serenade the Ultimate Happening: Futuristic World ปาร์ตี้ เอ็กซ์คลูซีฟเพื่อมอบประสบการณ์พิเศษด้านความ บันเทิงให้ลูกค้าเอไอเอสเซเรเนด ณ My Kitchen ชั้น 4 ศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี ในบรรยากาศ โลกอนาคต พร้อมโชว์พเิ ศษโดย ว่าน ธนกฤต และ ทอม Room 39 นอกจากนี้ AIS Serenade มอบส่วนลด สูงสุดถึง 15% ที่ 6 ร้านดังใน My Kitchen ได้แก่ Brix Dessert Bar, Café Chilli, Kuppadeli, Man Fu Yuan, Nara และ Yuzu by Yuutaro ลูกค้าเซเรเนดแพลตินม ั รับฟรี Serenade Coffee Set ทีร่ า้ น Brix Dessert Bar ตัง้ แต่วน ั นีถ ้ งึ 31 ธันวาคม 2560 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ais.co.th/ serenadehappening และติดตามปาร์ตี้พิเศษครั้ง ต่อไปได้ที่ AIS Privilege Line Official
A Finer Way to Dine PHOTO: RABBIT
Rabbit LINE Pay แพลตฟอร์ ม การชำ � ระเงิ น ทางออนไลน์ แ ละ ออฟไลน์ ร่วมกับ เดอะมอลล์กรุ๊ป เพิ่มช่องทางการชำ�ระเงินเพื่อความ สะดวกของผู้บริโภคที่ศูนย์อาหาร Paragon FoodHall อย่างเป็นทางการ พร้อมมอบแคมเปญ ลดทันที 10 บาท เมื่อชำ�ระค่าอาหารตั้งแต่ 50 บาท ขึ้นไปที่ Paragon FoodHall ด้วย Rabbit LINE Pay หรือบัตร Rabbit ทุกประเภท ตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 สิงหาคมนี้
From Bangkok to Paris PHOTO: SO SOFITEL BANGKOK
Chocolab โรงแรม SO Sofitel Bangkok ร่วมกับ TAWN C. แบรนด์เสื้อผ้าสตรี เปิดตัวช็อกโกแลต คอลเลกชัน ่ ใหม่ Bonjour Bangkok–Sawasdee PARIS ซึง่ ได้รบ ั แรงบันดาลใจมาจากวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม และจุดเด่นของกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทั้งสองเมืองนี้มีความสำ�คัญต่อ ทัง้ แบรนด์ TAWN C. และ SO Sofitel Bangkok ในด้านสถานทีต ่ งั้ และแรงบันดาลใจ ถ่ายทอดในรูปแบบช็อกโกแลต ที่หอมหวานและกลมกล่อมขนาดพอดีคำ�ทั้งหมด 24 ชิ้น ในคอลเลกชั่นนี้ ธรณ ชัชวาลวงศ์ ดีไซเนอร์ของ TAWN C. เป็นผู้ออกแบบรูปลักษณ์ของช็อกโกแลตและบรรจุภัณฑ์ ร่วมกับเชฟของ Chocolab ซึ่งเป็น ผู้รังสรรค์รสชาติแปลกใหม่ อาทิ รสมะพร้าว ต้มยำ� พริก มะลิ แชมเปญ บิตเตอร์กานาช ช็อกโกแลต Bonjour Bangkok – Sawasdee PARIS วางจำ�หน่ายตั้งแต่วันนี้จนถึง 30 กันยายน 2560 ที่ Chocolab ชัน ้ G โรงแรม SO Sofitel Bangkok สอบถามเพิม ่ เติมโทร. 0 2624 0000 อีเมล h6835-fb3@sofitel.com
DONT
12
AUGUST 2017
PROMOTION
ล่วงเข้าสู่ช่วงครึ่งหลังของปีแบบนี้ หลายคนคงกำ�ลังเหนื่อยล้าจาก การทำ � งานเต็ ม ที่ จ นไม่ มี เ วลาพั ก ผ่ อ น แถมยั ง ไม่ มี วั น หยุ ด ยาวๆ ให้ ไ ด้ ท่องเที่ยวไปเปลี่ยนบรรยากาศ ทำ�ให้เครียดและไม่สบายเนื้อตัวจนอารมณ์ ขุ่ น มั ว กั น บ้ า ง เชื่ อ หรื อ ไม่ ว่ า เพี ย งคุ ณ แบ่ ง เวลามาปรนนิ บั ติ ร่ า งกาย ด้วยสปาทรีตเมนต์ในบรรยากาศร่มรื่น จะช่วยให้รู้สึกผ่อนคลายเหมือนได้ ชุบร่างกายและจิตใจให้กลับมามีชีวิตชีวาได้อีกครั้ง เพียงก้าวแรกทีเ่ ข้ามาในโครงการในป่า อาร์ท คอมเพล็กซ์ ซึง่ เป็นทีต ่ งั้ ของ arom:D Artisan Spa ก็รู้สึกสดชื่นทันที เพราะที่นี่แวดล้อมไปด้วย ต้นไม้ใหญ่นานาชนิดเขียวชอุ่มเหมือนป่าเล็กๆ ใจกลางเมือง ไม่ไกลจาก รถไฟฟ้า BTS พระโขนงนี่เอง
SCENTED SENSES Soothe your body and mind with aroma at arom:D for a happy life. WORDS: ALISA SANTASOMBAT PHOTOS: TOP.PONPISUT
เมื่อขึ้นชั้นสองมาที่ arom:D Artisan Spa เลือกทรีตเมนต์ที่ถูกใจ ได้แล้ว ก็เลือกน้ำ�มันกลิ่นหอมหลักจากทั้งหมด 7 กลิ่น ซึ่งเชื่อมโยงกับ อารมณ์ของคุณเพื่อนำ�ไปผสมในผลิตภัณฑ์ที่ใช้นวด น้ำ�มันนี้เป็น dry oil น้ำ�หนักเบาและมาจากธรรมชาติ 100 เปอร์เซ็นต์ ใช้สำ�หรับนวดบำ�รุงผิว แทนโลชัน ่ ทรีตเมนต์ทเี่ ราลองกันวันนีค ้ อ ื arom:D Muay Thai Massage นวัตกรรมการนวดทีไ่ ด้รบ ั แรงบันดาลใจมาจากศิลปะการป้องกันตัวของไทย นั่นคือ มวยไทย แต่อย่าเพิ่งคิดไปว่าจะเป็นการนวดนักมวยที่หนักหน่วง เพราะนวดมวยไทยของที่ นี่ เ ป็ น การนวดเพื่ อ ช่ ว ยผ่ อ นคลายกล้ า มเนื้ อ ด้วยการนำ�เอาท่วงท่าต่างๆ เช่น ถอดมงคล หักศอก ท่าดัด ตีระฆัง เข้ามาผสมผสานในท่านวดโดยปรับให้เบาลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ ศอก หมัด และเข่า ซึง่ เป็นเอกลักษณ์ของมวยไทย นวดด้วยผลิตภัณฑ์ทม ี่ ี ส่วนผสมหลักจากธรรมชาติ เมือ่ ร่างกายผ่อนคลายแล้วก็มาปรนนิบต ั ผ ิ วิ หน้ากันบ้าง ด้วย 'FEEL PURE' artisan facial spa-advance series/90 mins (3,000 baht) นวัตกรรม ในการใช้หต ั ถศิลป์ดแู ลผิวหน้าแบบล้�ำ ลึกด้วยพลังของธรรมชาติ ทีอ ่ อกแบบ มาสำ�หรับคนเมืองโดยเฉพาะ ช่วยในการขจัดสารพิษทีผ ่ วิ หน้าให้เปล่งประกาย ความสดใส โดยการใช้หินหยกมาผสมผสานกับเทคนิคการกดจุดแบบจีน เพื่ อ กระตุ้ น ระบบการไหลเวี ย นและระบบการทำ � งานของต่ อ มน้ำ � เหลื อ ง ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพื่อเป็นการขับสารพิษ ปรนนิบัติผิวหน้าอย่างละเอียดลออมากถึง 20 ขั้นตอน เริ่มต้นด้วย การกดจุดสะท้อนทีบ ่ ริเวณใบหน้า ตามด้วยการทำ�ความสะอาดอย่างล้�ำ ลึก และการมาส์กหน้าถึง 2 ครัง้ สลับกับการนวดหน้า และปิดท้ายด้วยขัน ้ ตอน การบำ�รุงผิวด้วยคุณค่าของสารสกัดจากธรรมชาติ เพือ ่ ให้ผวิ หน้าได้สม ั ผัส ถึงความสะอาดอย่างล้�ำ ลึกพร้อมการบำ�รุงอย่างถูกวิธี เหมาะสำ�หรับผูห ้ ญิง ทีแ่ ต่งหน้าเป็นประจำ� หรือคนทีต ่ อ ้ งผจญกับฝุน ่ ควันและมลภาวะในเมืองอยู่ เป็นประจำ� ขั้นตอนทำ�ความสะอาดพร้อมบำ�รุงผิวหน้าแบบนี้ออกแบบโดย อารมณ์ดส ี ปา โปรแกรม FEEL PURE ยังเหมาะสำ�หรับผูช ้ ายทีไ่ ม่มเี วลาดูแล ผิวหน้า และมีปญ ั หาสิวอุดตัน ช่วยทำ�ให้สม ั ผัสถึงผิวหน้าทีส ่ ะอาด กระจ่าง ใสได้ทันทีภายหลังการทำ�ทรีตเมนต์ arom:D Artisan Spa สาขาในป่า อาร์ท คอมเพล็กซ์ สุขม ุ วิท 46 Contact: Tel. 0 2392 1329 / 09 5883 6633 Official LINE ID: @aromdlife Facebook: aromdlife
REPORTAGE
UNIQLO in its biggest step on becoming a real global brand. Interesting Fall/Winter 2017 collections. Challenging direction. Exciting collaborations. From one of the biggest fashion capitals in the world, New York City.
THE BEST IS YET TO COME WORDS: RIKSH UPAMAYA PHOTOS: UNIQLO
REPORTAGE
HELLO NYC! นี่เป็นครั้งแรกของยูนิโคลกับการทำ� LifeWear Day (ชื่อการจัดงานนำ�เสนอคอลเลกชั่นเสื้อผ้า ในฤดูกาลถัดไปของแบรนด์) นอกประเทศญี่ปุ่น ด้วยความตั้งใจที่จะพาแบรนด์ให้ไปสู่ตลาดแฟชั่น มูลค่าสูงสุดแห่งหนึ่งในโลกที่มหานครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ยูนิโคลประเทศไทยพาเรา เดินทางไปยังงานนีเ้ พือ ่ ร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในก้าวสำ�คัญ โดยมี Tadashi Yanai ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร บริษัทฟาสต์รีเทลลิ่ง บริษัทแม่ของยูนิโคล กล่าวต้อนรับสื่อมวลชนจากทั่วโลกในบรรยากาศสบายๆ งานถูกจัดขึน ้ ภายในโถงขนาดใหญ่ทส ี่ ามารถมองผ่านผนังกระจกออกไปเห็นนิวยอร์กในวันอากาศดี พืน ้ ทีภ ่ ายในงานถูกแบ่งออกเป็นสัดส่วนเพือ ่ นำ�เสนอเสือ ้ ผ้าในคอลเลกชัน ่ ย่อย อันได้แก่ กลุม ่ AIRism เทคโนโลยีระบายความร้อน กลุม ่ Denim เทคโนโลยีและดีไซน์เฉพาะสำ�หรับผ้าเดนิม กลุม ่ HEATTECH เทคโนโลยีเส้นใยทีช ่ ว่ ยเก็บกักความร้อน กลุม ่ Hana Tajima ดีไซน์ส�ำ หรับสตรีมส ุ ลิม กลุม ่ Inès De La Fressange คอลเลกชั่นพิเศษที่นางแบบชาวฝรั่งเศสและสไตล์ไอคอนชื่อดังร่วมออกแบบ กลุ่ม Uniqlo U ไลน์เสื้อผ้าสำ�หรับบุรุษและสตรีที่ยกระดับงานดีไซน์ไปพร้อมกับคุณภาพของวัสดุ ดูแล การออกแบบโดย Christophe Lemaire อดีตหัวหอกของแบรนด์หรูมากมาย กลุ่ม Knits รวบรวม เทคโนโลยีงานถักใหม่ๆ กลุ่ม Seasonal นำ�เสนอไอเท็มเบสิกในทุกไลน์ กลุ่ม Magic For All นำ�เสนอสินค้าในแฟรนไชส์ของ Disney’s และกลุม ่ Ultra Light Down สินค้าขายดีทส ี่ ด ุ ของแบรนด์ ช่วงหลังมีพรีเซนเทชัน ่ กึง่ แฟชัน ่ โชว์น�ำ เสนอการมิกซ์แอนด์แมตช์ทช ี่ วนให้เราประหลาดใจได้ทก ุ ครัง้ ว่า เสื้อผ้าเรียบๆ เบสิกอันเป็นเอกลักษณ์ของแบรนด์ สามารถถูกจัดแต่งให้ดูเหมือนแบรนด์แฟชั่น บนรันเวย์ได้ขนาดนี้เชียวหรือ
WHAT TO LOOK FORWARD TO? แน่นอนว่าการร่วมงานระหว่างยูนิโคล และ J.W. Anderson สร้าง ความตื่ น เต้ น ให้ สื่ อ มวลชนสายแฟชั่ น เป็ น อย่ า งมาก เราได้ เ ห็ น วิ ดี โ อ คำ � ให้ สั ม ภาษณ์ ข องเขาเพี ย งเล็ ก น้ อ ยเท่ า นั้ น มี ตั ว อย่ า งงานออกแบบ เล็ดลอดออกมาให้เห็นบ้างแล้ว ซึ่ง Anderson กล่าวถึงความเป็นอังกฤษ ยูนิฟอร์ม และการตัดเย็บแบบมัสคูลินอยู่บ้าง เท่านี้ก็น่าจะถูกใจแฟนๆ ที่ ติดตามผลงานของเขาอยูใ่ นขณะนีไ้ ด้ไม่ยาก อีกหนึ่งไลน์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากความเป็น LifeWear จริงๆ ก็คือ เสื้อผ้าสำ�หรับสุภาพบุรุษในไลน์ Inès De La Fressange ที่มาของการ เพิ่มไลน์เชิ้ต แจ็กเก็ต และลุคของผู้ชายเข้ามาก็คือความชอบส่วนตัวของ Tadashi ที่เขามักจะสวมใส่เสื้อแจ็กเก็ตจากไลน์นี้อยู่เสมอนั่นเอง! Naoki Takizawa จึงเพิ่มไลน์ของผู้ชายเข้ามาสำ�หรับหนุ่มๆ ที่ชื่นชอบวัสดุและ รายละเอียดสไตล์ปารีส น่าจะเป็นที่ถูกใจใครหลายๆ คนรวมทั้งทีมงาน DONT ของเราเองด้วย ท้ายที่สุดคือคอลเลกชั่น U ที่เริ่มใช้เทคนิคการทอแบบไร้รอยต่อใน การออกแบบ ที่เห็นได้ชัดคือเดรสนิตแวร์สีแดงบนหุ่นแสดงในบูธของกลุ่ม เทคโนโลยีการถัก แค่นั้นก็ทำ�ให้เราอดใจรอดูคอลเลกชั่นแบบเต็มๆ ไม่ไหว ตามสไตล์ แ บรนด์ ที่ ไ ม่ เ คยหยุ ด พั ฒ นาและมุ่ ง มั่ น ในการตอบโจทย์ ความต้องการของผู้สวมใส่ที่ไม่มีวันสิ้นสุด
TALK PHOTOGR APHY: TOP.PONPISUT WORDS: ALISA SANTASOMBAT
NO RULES FOR ARTS, REALLY?
SOME MIGHT SAY ARTISTS CAN FREELY CREATE ANY ART PIECES OR CONVEY THEIR OPINIONS OR PERSPECTIVES THROUGH THEIR OWN CREATIONS. BUT THAT’S NOT ALWAYS TRUE. DISCUSS WITH THESE PEOPLE ABOUT THE CONDITIONS THEY SET AND THE RESTRICTIONS THEY CONFRONT IN THEIR ARTS CAREER AND HOW THEY DEAL WITH THEM.
การละเมิดความเป็นส่วนตัวของผูท ้ ถ ี่ ก ู ถ่ายและปรากฏในภาพเป็นประเด็นหนึง่ ทีถ ่ ก ู พูดถึงอย่างมากทุกวันนีใ้ นการถ่ายภาพสตรีท เนือ่ งจากเป็นภาพทีถ ่ า่ ยใน พืน ้ ทีส ่ าธารณะและอาจไม่ได้รบ ั การยินยอมจากบุคคลทีถ ่ ก ู ถ่าย ความหมิน ่ เหม่ ทางศีลธรรมและจริยธรรมคือสิง่ ที่ ชัชวาล จันทโชติบต ุ ร พบเห็นอยูเ่ สมอมา ในอาชีพช่างภาพที่ต้องเกี่ยวข้องกับการบันทึกภาพชีวิตผู้คน โดยเฉพาะ อย่างยิง่ เมือ ่ ภาพนัน ้ สามารถแพร่กระจายในวงกว้างอย่างรวดเร็วผ่านสือ ่ และ เทคโนโลยี ช่างภาพจึงยิง่ ต้องมีความรับผิดชอบและจิตสำ�นึกต่อตนเองและ ภาพทีต ่ นถ่ายในการถ่ายทอดเรือ ่ งราวใดก็ตามทีต ่ นนำ�เสนอ เพราะภาพหนึง่ ภาพอาจส่งผลกระทบในทางบวกหรือทางลบอย่างมหาศาลต่อชีวต ิ ของคน ไม่ว่าช่างภาพจะมีเจตนาอย่างไร แม้ในบางกรณี การถ่ายภาพสตรีทจะไม่ได้มีความผิดทางกฎหมาย ฐานละเมิดความเป็นส่วนตัวของผูอ้ น ื่ เนือ่ งจากเป็นการถ่ายภาพในทีส ่ าธารณะ แต่ชัชวาลมองว่าในการถ่ายภาพชีวิตคน ช่างภาพควรถูกกำ�กับด้วยความ รับผิดชอบและศีลธรรมจริยธรรม เขายกตัวอย่างกรณีผลกระทบที่เป็นที่ โต้แย้งได้ซึ่งเคยเกิดขึ้นในการถ่ายภาพสตรีทว่า “เรื่อง privacy มันมีเคสหนึ่ง ผมจำ�ชัดๆ ไม่ได้ แต่ว่าคร่าวๆ ช่างภาพ คนหนึง่ เขาถ่ายงานศิลปะ มีคอนโด หน้าต่าง ช่างภาพอยูฝ ่ งั่ หนึง่ เขาเห็นปุบ ๊ เขาก็ถ่าย วันหนึ่งเขา exhibit คนที่อยู่อีกฝั่งฟ้องศาล นี่เกิดขึ้นที่อเมริกา ฟ้ อ งศาลว่ า ละเมิ ด สิ ท ธิ ศาลก็ ดู สุ ด ท้ า ยศาลไม่ พิ จ ารณาความผิ ด กั บ ช่างภาพ เพราะศาลบอกว่า ภาพที่ช่างภาพนำ�เสนอมันไม่ได้ละเมิดหรือมี จุ ด ประสงค์ ต้ อ งการให้ ค นเหล่ า นั้ น เสื่ อ มเสี ย ประเด็ น ภาพคนกำ � ลั ง คุ ย โทรศัพท์ ประเด็นภาพคนกำ�ลังนั่งอ่านหนังสือ กำ�ลังทำ�อะไร มันไม่ใช่กำ�ลัง มีเซ็กส์แล้วผูห ้ ญิงคนนัน ้ ดันเป็นชู้ อันนีฟ ้ อ ้ งได้ แต่ถามว่าอันนีม ้ น ั ก็หมิน ่ เหม่ มันอยูท ่ ด ี่ ล ุ ยพินจิ ของศาลว่ามองยังไง เพราะสมมติอยูต ่ รงนี้ ผมนัง่ อยูต ่ รง นัน ้ แล้วผมถ่ายคุณ จะว่ากันไปมันก็ไม่ผด ิ หรือคุณอยูบ ่ นถนน ผมถ่าย มันก็ ไม่ผิด แต่ถ้าคุณอยู่ในบ้านแล้วผมเดินเข้าไปในบ้านคุณ ผิด เพราะมันเป็น ที่ส่วนตัวของคุณ พอคุณอยู่ในที่สาธารณะปุ๊บ ผมถ่าย ไม่ผิด มันไม่ผิด ในแง่กฎหมาย แต่กลับมาเรื่องเดิม คุณมีจริยธรรมหรือเปล่า คุณถ่ายคน พ่อกำ�ลังสูบบุหรี่ในขณะที่จูงมือลูก โอเค มันไม่ผิด แต่พอคุณโพสต์ปุ๊บ คนแม่งด่ากันครึง่ ประเทศเลย บอกโห พ่อเหีย ้ ลูกมึงยังเด็ก มึงสูบบุหรี่ เขา ก็บอก อ้าว กูผด ิ เฉยเลย แต่อน ั นีอ ้ ยูท ่ ศ ี่ ล ี ธรรม จริยธรรมของตัวผมเองแล้ว”
Responsibility toward the Others เพราะว่าภาพถ่ายหนึง่ ภาพอาจไม่ได้น�ำ เสนอความจริงทัง้ หมดหรืออย่าง ตรงไปตรงมา แต่ผา่ นเจตนาของผูถ ้ า่ ยและการตีความของผูช ้ ม สิง่ ทีผ ่ ช ู้ ม รับรูผ ้ า่ นภาพถ่ายอาจไม่ได้ตรงกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน ้ จริง และเมือ่ ภาพนัน ้ ถูกเผยแพร่ ออกไปสู่สาธารณชนแล้วอาจเกิดผลกระทบต่อคนที่ถูกถ่ายมากกว่าแค่ การละเมิดความเป็นส่วนตัว ชัชวาลยกตัวอย่างอีกกรณีหนึง่ คือภาพทหาร จ่อยิงศีรษะทหารเวียดกงในสงครามเวียดนามของช่างภาพชาวอเมริกัน เจ้าของรางวัลพูลต ิ เซอร์ ทีส ่ ง่ ผลให้ทหารนายนัน ้ ถูกวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างหนัก และตกเป็นจำ�เลยสังคมจนเหมือนกับตายทั้งเป็น “คนก็บอก โอ้โห ทหารแม่งรุนแรง คุณฆ่าคนโดยเอาปืนจ่อหัว แต่ไม่รู้ เลยว่าคนที่โดนยิง ก่อนหน้านั้นเขาทำ�อะไรมา เขาข่มขืนผู้หญิง ฆ่าเด็ก
อินสตาแกรมคนดังมาทำ�แล้วเขาก็ปรินต์ใหญ่ขายเลย ซึ่งผมก็ได้ยินเรื่องว่าเขาพยายามฟ้องอะไร กันอยู่ แต่วา่ เหมือนจะไม่เป็นผลเพราะถือว่าวันทีค ่ ณ ุ เอาขึน ้ โซเชียลมีเดีย คุณได้เอาตัวเองไปอยูใ่ นทีพ ่ บ ั ลิก เรียบร้อยแล้ว วันหนึ่งคุณโชว์นมขึ้นโซเชียลมีเดีย อย่ามาบอกว่า เฮ้ย มึงไม่มีสิทธิ์ อ้าว คุณโชว์เอง แต่ก็อย่างที่บอก กลับไปที่ตัวคนนำ�เสนอ คุณมีจุดประสงค์อะไร ถ้าโอเคคุณแอบไปตั้งกล้องในห้อง ลองเสือ ้ หรือทีบ ่ า้ นเขา ผิดแน่นอน แต่ถา้ คุณถ่ายนมตัวเองขึน ้ ผมว่าไอ้เรือ ่ งพวกนีม ้ น ั ตอบแบบชัดเจน ไม่ได้ มันแล้วแต่กรณี ถ้าคุณตัง้ ไพรเวตแล้วคนแอบแอดเข้าไปแล้วไปดึงมา อันนีอ้ าจจะผิด แต่ถา้ ตราบใด คุณเปิดพับลิก ถ้าเขาไม่ท�ำ คนอืน ่ ก็เห็น คุณเป็นคนเลือกทีจ่ ะทำ�เอง ผมไม่รม ู้ น ั ถูกหรือผิดนะ Richard Prince เป็นศิลปินที่ดังอันดับต้นๆ ของโลก ผมไปดูงานเขา หน้าอินสตาแกรม สิ่งที่เขาทำ�ก็คือ ยกตัวอย่างอันนี้ เขาแคปเจอร์อันนี้เห็นทุกอย่าง เห็นแม้กระทั่งคอมเมนต์ทุกอย่าง แล้วก็ปรินต์อย่าง นัน ้ เลย แล้วเขาก็ใส่อะไรของเขาเองลงไป ซึง่ เราก็ไม่รวู้ า่ ถูกหรือผิด ผมก็พยายาม งานทีผ ่ มทำ�ส่วนใหญ่ ผมจะไม่เอาอะไรเข้าไปสุ่มเสี่ยงกับประเด็นทางนี้ โดยเฉพาะประเด็นศีลธรรม จริยธรรม ผมจะไม่ยุ่ง และอีกอย่างผมไม่ใช่คนประเภทนิสัยชอบเสียดสี ผมเชิงบวก งานที่ผมทำ�ก็เชิงบวกซะส่วนใหญ่ แม้กระทัง่ งานสตรีทโฟโต้ของผมเองก็ไม่ท�ำ ให้ใครเดือดร้อน เสนอความงามทางศิลปะมากกว่า ผมไม่ ไปยุ่งเรื่องพวกนี้ ผมรู้สึกว่า ต่อให้คนนั้นที่อยู่ในรูปมาเห็น ถ้าเขาเป็นคนปกตินะ เขาก็คงไม่ฟ้องผม เพราะรูปผม เห็นแล้วสวยงามน่ะ ไม่ได้ทำ�ให้เขาดูทุเรศหรือดูแย่ในสังคม ผมเลยไม่รู้ว่าถ้าเป็นด้านอื่น มันจะเป็นยังไง เพราะผมรู้สึกว่าผมไม่ชอบทำ�ให้ชีวิตใครต้องพินาศ”
Telling the ‘Truth’ with Photographs ด้ ว ยตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบต่ อ ชี วิ ต ของคนอื่ น จากภาพถ่ า ย ชั ช วาลมองว่ า ทุ ก วั น นี้ มี ค น จำ�นวนไม่นอ ้ ยทีต ่ แี ผ่เรือ ่ งราวต่างๆ ในสังคมโดยไม่ค�ำ นึงถึงผลกระทบทีจ่ ะตามมา เพียงเพือ ่ ให้ตนเอง เป็นทีส ่ นใจและถูกกล่าวถึง นีเ่ ป็นเหตุผลหนึง่ ทีท ่ �ำ ให้เขาเลือกไม่เรียกตนเองว่าเป็นช่างภาพสารคดีหรือ นิยามตนเองว่าเป็นช่างภาพแนวใดชัดเจนตายตัว “ประเด็นนี้ส่วนหนึ่ง วันพูดน่ะพูดอย่างนี้ได้ แต่เรา กลางพอที่จะยืนหยัดต่อกระแสสังคมได้หรือเปล่า อันนี้ผมเป็นบุคคลหนึ่ง ผมไม่รู้ ไม่อยากไปทำ�ลาย ชีวิตใคร” ชั ช วาลเลื อ กเรี ย นถ่ า ยภาพที่ นิ ว ยอร์ ก พร้ อ มกั บ ทำ � งานเป็ น ช่ า งภาพไปด้ ว ย ก่ อ นจะกลั บ มา ประกอบอาชีพช่างภาพในประเทศไทยและเป็นที่รู้จักจากนิทรรศการภาพถ่ายจากนิวยอร์กของเขา แม้จะเคยสนใจการถ่ายภาพแนวสตรีทและไปนิวยอร์กด้วยความตั้งใจว่าจะเรียนถ่ายภาพข่าว ทว่า ประสบการณ์การเรียนและใช้ชวี ต ิ ในนิวยอร์กทีเ่ ปิดโอกาสให้ชช ั วาลได้ศก ึ ษาทดลองถ่ายภาพในแนวต่างๆ ค่อยๆ เปลีย ่ นมุมมองและความคิดของเขา “สตรีทผมมองว่ามันคือเรือ ่ งทีถ ่ า่ ยได้กอ ็ อกไปถ่าย จริงๆ รูปนั้นอาจจะไม่ต้องมีสตอรีอะไรเลย ไม่มีคอนเทนต์หรืออะไรทั้งสิ้นเลย แต่มันคือเรื่องของจังหวะ หรือ โมเมนต์ อะไรทีล ่ อ ้ เลียนกัน หรือเล่นกับแสงและเงา มันก็สามารถเป็น street photography ได้ ความ สวยงามทางศิลปะ กราฟิกอะไรก็ได้ แต่พอเป็น documentary ปุบ ๊ มันคือการเล่าเรือ ่ ง มันคือการเล่า สิง่ ทีค ่ นอาจจะรู้ อาจจะไม่รู้ คืออาจจะบอกว่ามันเป็นอย่างนีน ้ ะ หรืออาจจะบอกว่ามันเป็นอย่างนี้ คุณก็ลอง คิดเอาละกันว่ามันเป็นอย่างไร มันมีวิธีหลากหลายมากมายในตัวของคนที่จะนำ�เสนอ ว่าคุณต้องการ นำ�เสนอเรือ ่ งออกมาในทิศทางไหน ซึง่ มันไม่ส�ำ คัญเพราะคุณก็อาจเป็นคนหนึง่ ทีช ่ วี้ า่ ทำ�ให้สงั คมมองคน ที่คุณ document ในทิศทางไหนได้ “ตอนผมอยู่นิวยอร์กผมอินกับสตรีทโฟโต้ หลังจากอยู่ไปสักพักเราเริ่มพัฒนาทางความคิด เราเห็นงาน เราเห็นอะไร เรารู้สึกว่าเราชอบอย่างนู้นอย่างนี้ มันเริ่มชัดเจนมากขึ้นเรื่องงานของตัวเอง ว่าโอเค เราเลี้ยวออกมาจากสตรีทโฟโต้ แต่ถามว่ามันก็ยังมีรูปอะไรที่เป็นแบบนั้น แต่ผมคงไม่บอก ว่าตัวเองเป็นสตรีทโฟโตกราฟเฟอร์ จริงๆ ก็ไม่สามารถบอกว่าตัวเองเป็นอะไรได้เหมือนกัน เราก็ถ่าย ไปเรือ่ ย แลนด์สเคปเราก็ถา่ ย พอร์เทรตเราก็ถา่ ย ภาพเหมือนสตรีทเราก็ถา่ ย ได้หมด อยูภ ่ ายใต้คอนเซปต์ ที่เรามอง ที่เรารู้สึกกับมัน ผมมองมันเป็นอะไรก็ได้ถ้าเกิดสิ่งที่ผมคิดมันชัดเจนและผม execute มัน ออกมาได้ สุดท้ายแล้วไม่วา่ จะเป็นแบบไหน ถ้ามันสามารถตอบโจทย์สงิ่ ทีผ ่ มพูดได้ ผมว่ามันก็เหมือนกัน
“You don’t have to say that my works are beautiful. I don’t care. You just come and let me have a change to say what it is like. Or let my work make you think about the world as it is.” ซึง่ ไม่มใี ครกล้ายิงเพราะเขาเป็นหนึง่ ในทหาร คนทีบ ่ อกว่ากูเป็นหัวหน้าปฏิรป ู แต่ภาพๆ เดียวกลายเป็นว่าฆ่าคนคนนัน ้ ทัง้ เป็น จนผ่านมากีส ่ บ ิ ปี ช่างภาพ ทีถ ่ า่ ยภาพนัน ้ ออกมาขอโทษกับครอบครัวว่าเขาทำ�ลายชีวต ิ คนหนึง่ ทัง้ ชีวต ิ ซึง่ เขาได้พล ู ต ิ เซอร์ เขาได้รางวัลทุกอย่าง แต่วน ั หนึง่ สุดท้ายเขาก็อยูก ่ บ ั สิง่ ที่ เขาทำ�ไม่ได้ ถึงได้บอกว่าผมว่าอันนี้คือความแตกต่าง และคุณต้องมีความ รับผิดชอบต่อทั้งตัวคนที่คุณ document และสังคมเพราะมันเอฟเฟกต์ หลายด้าน สุดท้ายมันก็อยู่ที่จิตสำ�นึกของคนว่าคุณ document มาเพื่อ อะไร คุณต้องการสรรค์สร้างสังคมให้ดีขึ้น หรือคุณต้องการทำ�ให้ตีแผ่ ด้านมืดของสังคม มันก็มไี ด้หลากหลาย มันเป็นไปได้หมด เสร็จแล้วคราวนี้ ดูว่าคุณต้องการให้มันออกมาในทิศทางไหน “มันคือเรื่องของจรรยาบรรณของคนที่นำ�เสนอ อย่างเช่นเข้าไปตีแผ่ เรือ ่ งการค้าประเวณีในบังคลาเทศ แน่นอน คุณเอาภาพเขาขึน ้ มาโผล่ มันก็ ต้อง co กันระหว่างช่างภาพกับผู้เขียน ส่วนใหญ่ช่างภาพไม่ค่อยเขียนเอง หรอก ผู้เขียนตีแผ่ด้านไหน คุณพูดเรื่องอะไร ทั้งก้อนนี้มันสร้างให้สังคม ดีขน ึ้ หรือเปล่า และอันนัน ้ สังคมดีขน ึ้ จริง คุณได้รบ ั คำ�ชมจริง แต่ถา้ คนทีค ่ ณ ุ ไป document มาทนทุกข์กับการที่ต้องถูกสังคมตราหน้า คุณก็ต้อง ชั่ ง เอาแล้ ว ว่ า คุ ณ จะเลื อ กอะไร คราวนี้ มั น คื อ จิ ต สำ � นึ ก ส่ ว นตั ว ที่ ที่ ไ หน ก็ไม่มีสอน มันอยู่ที่ตัวบุคคล มีเยอะแยะที่กูจะเอาข่าวให้ได้ กูจะตีข่าวให้ได้ กูจะทำ�ยังไงก็ได้ กูไม่แคร์มึงว่ามึงจะเป็นยังไง หรือมึงจะฉิบหายก็เรื่องของ มึง กูต้องการอย่างนี้ ซึ่งทุกวันนี้สื่อไทยเป็นอย่างนี้ ยังไงก็ได้ โป้ง กูดัง วันรุง่ ขึน ้ ภาพกูทก ุ คนรีโพสต์ ทุกคนแชร์ แต่กไู ม่เคยแคร์เลยว่าคนข้างหลัง เขาทนทุกข์แค่ไหน เดี๋ยวนี้มันง่ายไง คนก็ดูฟีด ภาพมันเด้งๆๆ แต่มันมีที่ เกิดตามมามากกว่านั้น” แม้แต่ในกรณีที่ช่างภาพไม่ได้เป็นผู้ถ่ายภาพเองซึ่งยากที่จะตัดสินว่า เป็นความผิดโดยเจตนาของช่างภาพหรือไม่ ชัชวาลมองว่าต้องพิจารณา จุดประสงค์ของช่างภาพในการเลือกนำ�ภาพนั้นมาใช้ “เขาไม่ได้เป็นคนต้นทางแล้วไปเอามาก็ต้องดูว่าจุดประสงค์ต้นทางเขา ทำ�อะไร คอนเทนต์ของรูปนั้นมันไปเอฟเฟกต์อะไรกับคนในรูปหรือเปล่า เราต้องดูจด ุ ประสงค์นะ จงใจเอาหน้าคนนี้ ปากบอกไม่ได้จงใจ แต่ถามว่าถ้า ไม่จงใจ เอาออก มีผลอะไรกับรูปไหม หรือการมีมันแล้วมีผลอะไรกับเนื้อหา รูปไหม ไม่รน ู้ ะ ผมว่าสุดท้ายทุกอย่างมันดูจด ุ ประสงค์ได้ ผมว่าไม่ใช่เรือ ่ งยาก ที่จะดูจุดประสงค์ จุดประสงค์สำ�คัญว่า เฮ้ย เขยิบนิดเดียว เอาหน้าคนนี้ ออกไป หรือเห็นแค่นี้ แทบไม่รวู้ า่ เป็นใคร มีผลอะไรกับน้�ำ หนักหรือเรือ ่ งราว รูปหรือเปล่า หรือการมีหรือไม่มี ส่วนใหญ่พวกนี้ชอบมี hidden agenda ซ่อนน่ะ ปากบอกไม่มๆ ี แต่สด ุ ท้ายซ่อนนัยยะ ผมว่าอันนีค ้ นสร้างงานก็ตอ ้ ง แฟร์ๆ กล้าทำ�ก็ต้องกล้าพูด แต่ถ้าบอกไม่มีจริงก็คือไม่มี ไม่รู้เหมือนกันนะ บางทีงานศิลปะผมก็เห็นเยอะ เสียดสีสังคม เสียดสีการเมือง ถ้าคุณไม่มี จุดประสงค์จริงก็ไม่ตอ ้ งกลัว ผมว่าทุกอย่างดูทจี่ ด ุ ประสงค์ ถ้าปากบอกไม่มี จริงก็ไม่มี ก็ไม่ต้องกลัว แต่ถ้าคุณมีคุณก็ต้องยอมรับ แฟร์ๆ ว่าโอเค ผม มี ทำ�ไม อย่างมีศิลปินคนหนึ่งดังมาก ชื่อ Richard Prince เขาแคปเจอร์
DONT
18
AUGUST 2017
อันนี้คือสิ่งที่ผมคิด” ทุกวันนีภ ้ าพทีช ่ ช ั วาลถ่ายนัน ้ ไม่มข ี อบเขตกำ�หนดตายตัว หากแต่อยูภ ่ ายใต้กรอบแนวคิดทีเ่ ขาเชือ ่ และต้องการจะนำ�เสนอ ด้วยทัศนคติเช่นนี้ ชัชวาลเลือกทีจ่ ะทำ�งานอย่างอืน ่ ทีไ่ ม่สง่ ผลด้านลบต่อใคร เขายกตัวอย่างงานชิ้นหนึ่งที่เขาทำ�สมัยเมื่ออยู่ที่นิวยอร์กที่ต้องการแสดงให้เห็นมุมมองอีกด้านของ ชีวิตนางแบบที่ไม่ได้สบายอย่างที่คนทั่วไปคิด “ผมทำ�เฉพาะโปรเจกต์งานเฉยๆ เขาให้ผม document ชีวิตน้องสิ (พิชญ์สินี ตันวิบูลย์) นางแบบ ผมก็ document ชีวิตนางแบบ ผมก็แค่เล่าให้ฟังว่าอยู่เมืองไทยเขาคือผู้หญิงคนแรกที่ขึ้น ปก Vogue แมกกาซีน แต่คณ ุ อยูน ่ วิ ยอร์ก คุณต้องไปเจอนางแบบแคสติงทีละเจ็ดสิบคน คุณต้องวิง่ วันหนึ่งไม่รู้กี่สิบที่เพื่อแคสต์ให้ได้งานงานหนึ่งซึ่งได้เงินน้อยมาก แต่เขาก็ยังยิ้มและทำ�งานได้อย่างมี ความสุข ผมนำ�เสนออีกด้านหนึ่งที่คนอาจจะไม่รู้ แต่ผมไม่ได้ทำ�ลายชีวิตน้องเขานี่ ผมทำ�ให้คนได้รู้ เออเฮ้ย น้องแม่งสู้ว่ะ คนชอบพูดนางแบบลง Vogue แม่งสบาย เฮ้ย อย่าคิดอย่างนั้น เขาต้อง ใส่สน ้ สูงเดิน พอถอดรองเท้าปุบ ๊ รีบใส่สนีกเกอร์วงิ่ ๆๆ เพราะเดีย ๋ วต้องแคสต์อน ั ต่อไปในอีกยีส ่ บ ิ นาทีซงึ่ อยูค ่ นละมุมเมืองอย่างนี้ นัง่ รถไฟไปถึงเสร็จปุบ ๊ ต้องวิง่ แท็กซีถ ่ า้ ไม่ได้รวยก็ล�ำ บากเพราะไม่ถก ู งานวันนัน ้ วิ่งเจ็ดที่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะได้ อาจจะไม่ได้สักที่ก็ได้ แต่อยู่ที่เมืองไทย โห เดินฟินาเล ขึ้นปกบางที ขึ้นปกพร้อมกันห้าฉบับ เราก็ไม่ได้ทำ�อะไรเขาใช่ไหม เราก็แค่ให้เห็นอีกด้านหนึ่งที่คนไม่ทราบ น้องเขา ก็ยิ้มชอบ นั่นคือที่ผมทำ� ผมจะไม่ทำ�อะไรที่หมิ่นเหม่ แบบนั้นผมรู้สึกไม่โอเค ไม่เอาดีกว่า งั้นผมไป ทำ�อย่างอื่นเลย”
Creatively Representing the Society จุ ด เปลี่ ย นในชี วิ ต ที่ มี ผ ลต่ อ มุ ม มองและความคิ ด ของชั ช วาลเกิ ด ขึ้ น ประมาณสองปี ที่ แ ล้ ว เมื่ออาซึ่งเป็นเหมือนแม่คนที่สองของเขาเสียชีวิต เขาเปลี่ยนมุมมองและวิธีคิดจากความเศร้าเป็น การยอมรับความจริงและมองความเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างเข้าใจ “ถามว่าเศร้าไหม เศร้า เราร้องไห้ แต่มันเปลี่ยนจากการทุกข์ทรมานเป็น โอเค เขาได้ไปในที่ที่ดี หลังจากวันนั้นมันทำ�ให้ผมรู้ว่าอะไรก็ตาม ผมว่ามันอยู่ที่การมอง อยู่ที่ความเข้าใจ คือถ้าเราเข้าใจว่า ไม่มอ ี ะไรทีเ่ ป็นของเรา มันจะผ่านไปได้ อันนีก ้ เ็ ป็นคอนเซปต์ในงานชิน ้ ใหม่ของผม ซึง่ อย่างทีบ ่ อก ผมไม่ ได้เสียดสี ผมจะให้คนได้เห็น ได้รู้ และรู้สึกว่า โอเค ถ้ามันจะช่วยใครมองอะไรแล้วกลมขึ้น ผมก็ดีใจ คุณไม่ต้องบอกว่างานผมสวย ผมไม่แคร์ แค่มาแล้วผมมีโอกาสได้พูดให้ฟังว่ามันเป็นอย่างนี้นะ หรืองานมันสามารถจุดชนวนความคิดคุณได้ว่า เออว่ะ โลกมันก็เป็นอย่างนี้เนอะ เดี๋ยววันหนึ่งก็ต้อง เปลีย ่ น มีรฐั บาลมาก็ตอ้ งเปลีย ่ นไป วันนีเ้ ป็นอย่างนีเ้ รารวยก็อาจจะจนได้ หรือจนก็อาจจะมีตงั ค์ขน ึ้ มาก็ได้ วันนีแ้ ข็งแรงพรุง่ นีก ้ อ ็ าจจะเดินไม่ได้กไ็ ด้ ถ้าเข้าใจว่ามันเปลีย ่ นได้หมด คุณก็จะมีชวี ต ิ ทีม ่ ค ี วามสุขมากขึน ้ นี่คือสิ่งที่ผมพยายามทำ� เพราะฉะนั้นผมก็จะบอกไม่ได้ว่าด้านมืดหรืออะไรเป็นยังไง เพราะผมเป็น คนไม่คิดโซนนั้น บางทีผมเห็นคนทำ�อะไรลักษณะนั้นแล้วผมก็จะ โอเค ในใจเขาคงขุ่นมัวมากนะ ลำ�พังใช้ชีวิตตัวเองก็เครียดแล้ว ยังต้องเอาความกดดันมาใส่ตัวเอง” จุดเปลี่ยนนี้ทำ�ให้ชัชวาลมีมุมมองที่ปล่อยวางต่อสิ่งต่างๆ และหาจุดสมดุลระหว่างการทำ�งาน เชิงการค้ากับจุดยืนของตนเองโดยไม่ยึดติดกับอะไรอย่างสุดโต่งและตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลง “เราก็ พ ยายามใส่ ค วามคิ ด หรื อ ทุ ก อย่ า งที่ เ ป็ น ตั ว เราเข้ า ไปเพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า กั บ เราออกมาแล้ ว โอเค พยายามผสมผสานมั น งานส่ ว นตั ว ผมก็ ว่ า ไป ส่ ว นงานที่ เ ป็ น งานจ้ า ง โอเค พยายาม ปรับให้มันไปในทิศทางที่เราโอเค ลูกค้าโอเค แฮปปี้สองฝ่าย จบ ผมค่อนข้างจะ flexible ผมว่า ชี วิ ต นี้ ไ ม่ มี อ ะไรแน่ น อน exhibition ผมพู ด ถึ ง ความไม่ แ น่ น อนทุ ก สิ่ ง ในโลกนี้ ทุ ก อย่ า งมั น แปรผั น ได้ ห มด วั น นี้ มั น เป็ น กระดาษ เดี๋ ย วก็ ก ลายเป็ น ขยะ แล้ ว เดี๋ ย วสั ก พั ก มั น ก็ จ ะโดนเผา
คือทุกสิ่งทุกอย่างแม้กระทั่งตัวเราเองวันหนึ่งเราต้องตาย ไม่ว่าใครก็ตาม คือถ้าคุณเข้าใจได้วา่ ไม่มอ ี ะไรเป็นของเรา ผมว่าความสุขมันจะเกิดขึน ้ ทุกวัน นี้คนมันทุกข์กับความยึดติดว่า อันนี้ของกู อันนี้ก็ของกูๆๆๆ วันหนึ่งเสีย มันไปเราก็...กูเสียอันนั้นไป กูเสียแฟนไป มันก็ทุกข์นะ ผมว่าการไม่ยึดติด ว่าอะไรเป็นอะไร แล้วอยูก ่ บ ั ตัวเองให้ได้ เฮ้ย โอเค มันก็เป็นอย่างนัน ้ แหละ ล้าน ปีทแี่ ล้วมันเป็นภูเขาน้�ำ แข็งใหญ่มาก วันนีม ้ น ั หายไปได้ไงวะ แล้วมันใหญ่ขนาด ภูเขาน้�ำ แข็งมันหายไปได้ไงวะ ไอซ์เบิรก ์ ก้อนใหญ่ๆ มันละลายกลายเป็นน้�ำ ได้ ยังไง มันเปลีย ่ นแปลงได้หมด หรือทะเลสาบ ผมเพิง่ ไปเทร็กมา ทรานไซบีเรีย ทะเลสาบทั้งทะเลสาบใหญ่เท่าพื้นที่ประเทศไทย ทะเลสาบใหญ่ที่สุดในโลก ชือ ่ ไบคานเลค มันสามารถเป็นน้�ำ แข็งให้รถวิง่ ได้ รถสิบล้อวิง่ ได้ แล้ววันหนึง่ มันกลับไปเป็นน้�ำ ใหม่ เพราะฉะนัน ้ อะไรก็เกิดขึน ้ ได้ มันแปรผันได้เสมอ เหมือน กัน ผมว่าถ้าเข้าใจจุดนี้ มันประยุกต์กับการใช้ชีวิตหรืองานได้ เฮ้ย งานนี้ ไม่ชอบเลย แต่ถา้ เออ เดีย ๋ วมันก็ผา่ นไป ตราบใดทีม ่ น ั ไม่ท�ำ ร้ายใคร เราพอ ทำ�ได้ เออ ก็ทำ�ไป ผมว่าน่าจะกลางๆ ผมไม่ได้สุดโต่ง ไม่ได้ขวาจัดซ้ายจัด ผมกลางๆ พยายามเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้น มองอย่างเข้าใจ ผมว่ามันหลักๆ ทุกวันนีใ้ ช้ชวี ต ิ ให้มค ี วามสุข เพือ ่ นบางคนอินมากอย่างนัน ้ อย่างนีก ้ ท ็ ก ุ ข์เนอะ ในขณะทีม ่ น ั เครียดเยีย ่ วเหลือง ผมก็ เออ โอเค เรือ่ งของมึง กูกแ็ ดกข้าวอร่อย กูไป เมือ ่ ก่อนก็ไม่ได้ อย่างนัน ้ อย่างนี้ การเมืองนัน ่ นี่ ในขณะทีเ่ ราเครียด เขา อาจจะกินข้าวอยู่กันเองข้างหลัง มึงรู้เหรอ กูเห็นลูกมันยังนั่งแดกเหล้ากัน อยูเ่ ลย แล้วมึงรูเ้ หรอว่าพ่อมันทะเลาะกันจริง มึงน่ะเหยือ่ เพราะฉะนัน ้ อย่าไปคิด อะไรเยอะ ใช้ชีวิตไป” ในมุมมองของชัชวาล การถ่ายภาพสามารถนำ�เสนอด้านต่างๆ ของสังคม อย่างสร้างสรรค์ได้โดยไม่จ�ำ เป็นต้องตีแผ่ดา้ นมืดเพือ่ เรียกร้องความสนใจจาก คนดูเสมอไป แม้วา่ ในมุมหนึง่ การนำ�เสนอด้านลบอาจถือได้วา่ เป็นความเป็นจริง ส่วนหนึง่ ของสังคม ทว่าชัชวาลมองว่าควรเป็นการนำ�เสนอแบบสร้างสรรค์ ที่จะทำ�ให้สังคมดีขึ้น “ผมก็ถามก่อนว่าสุดท้ายคุณต้องการอะไร คุณต้องการพูดในมุมลบ เพื่ออะไร คิดว่ามุมลบนี้มันสร้างให้สังคมดีขึ้นไหม ถ้าคุณมาพูดแบบไม่ได้ จรรโลงสังคม ผมมองว่าคุณจะพูดเพือ ่ อะไร คุณเอาเวลาไปทำ�อย่างอืน ่ ดีกว่า โอเค ด้านลบ จริง ใช่ แต่ถามว่าด้านลบนั้นเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้นหรือ เปล่า จุดประสงค์คุณคืออะไร ต้องการให้คนพูดถึงว่า โห ไอ้นี่แม่งแน่เว้ย ตีแผ่เรือ ่ งนี้ ดีเว้ย แล้วไงวะ ถ้าทุกอย่างยังเหมือนเดิม ความต้องการของคุณ คืออะไร ถ้ามันดีขน ึ้ โอเค แล้วก็ดู attention ของคนทีข่ บ ั เคลือ่ นว่าคุณต้องการ อย่างนั้นจริงหรือเปล่า หรือคุณแค่อยากเป็นจุดสนใจ เดี๋ยวนี้มีเยอะมาก คนพยายามขับเคลือ ่ นนูน ่ นี่ คุณมีความคิดเห็นอย่างนัน ้ จริงเหรอ แล้วก่อน หน้านั้นไม่เห็นทำ� บางทีทำ�เลยก็ได้ เห็นคนเยอะแยะ ไม่ต้องพูดนี่ ทำ�เลย ก็ได้ แล้วทำ�ถึงจุดหนึ่งปุ๊บคุณออกมาพูดเพื่อให้มีแนวร่วมเพิ่มขึ้น โอเค แต่ อยูๆ ่ ไม่ท�ำ อะไรก็ปลุกคนขึน ้ มาอย่างนี้ ก็แล้วแต่ มีเยอะ เดีย ๋ วนีค ้ นในสังคม มีเยอะ โซเชียลมีเดียมันสร้างคนให้เป็นซัมวันได้ รุ่นพี่ผมไม่เห็นเขาต้องพูด ว่ามีใครทำ�อะไรเลย กูก็ลงไปเอง หาสปอนเซอร์ เอาแทงก์น้ำ�ไปบริจาค ความตลกคือ ผมเพิ่งไปเชียงรายเมื่อหลายอาทิตย์ก่อน เอาแทงก์น้ำ�ไป บริจาคให้กบ ั โรงเรียน เขาไม่มน ี �้ำ สะอาดดืม ่ เราเอาแทงก์น�้ำ ไป เขาก็ตด ิ ต่อ ผม ก็โอ้โห เจ๋งว่ะพี่ แทงก์น้ำ�เท่าไร เจ็ดแสน ผม...โอเค แล้วบริษัทไหนบริจาค เขาบอก เปล่า เป็นองค์กรต่างประเทศ เขาเดินทางแจกทั่วโลก แล้วเงินที่ สปอนเซอร์แทงก์นี้มาจากฮ่องกง เขาเห็นแล้วโรงเรียนนี้น่าสงสาร เขาเลย จ่ายเงินให้องค์กรนี้เอามาติดตั้งที่โรงเรียนนี้ เราก็...คนไทยก็รวยนะ บริษัท ระดับ billion, trillion ก็มเี ยอะ แล้วคืออะไรวะ อย่างนีผ ้ มมองว่าคุณไม่จ�ำ เป็น ต้องพูด คุณทำ�เลย แล้วทำ�ไปสักพักหนึ่งคุณอยากให้มันขยายมากขึ้น โอเค คุณพูด” ด้วยความมุง่ หวังทีจ่ ะใช้การถ่ายภาพทำ�ให้สงั คมดีขน ึ้ ชัชวาลเข้าร่วมกับ SATI มูลนิธิไม่แสวงหาผลกำ�ไรที่ก่อตั้งโดยรุ่นพี่ของเขาจากนิวยอร์กเพื่อ ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาและสุขภาพ เช่น เด็กๆ ในภาคเหนือ และโรงเรียนต่างๆ โครงการล่าสุดที่เขามีส่วนร่วมคือการช่วยเหลือเด็กๆ ที่พักพิงอยู่ในบริเวณวงเวียน 22 กรกฎา ด้วยการสอนถ่ายภาพเพื่อ นำ�เสนอชีวิตของเด็กๆ เหล่านั้น “น้องๆ ผู้ชาย ผู้หญิง คือเด็กเร่ร่อนที่นั่งรถไฟมาแล้วไม่มีบ้าน ไม่มี ครอบครัว มีปัญหายาเสพติด ปัญหาค้าประเวณี ปัญหาความรุนแรง ทุกอย่างมีหมด เด็กตัง้ แต่เล็กๆ ยันสิบกว่าขวบ ดมกาวตลอดเวลา พวกเรา ผมกับน้องชายเข้าไปสอนการถ่ายภาพ สอนเรือ ่ งศิลปะ สิง่ ทีเ่ ราต้องการคือ เราไม่ต้องการเอาเขาออกมา แต่เราต้องการให้เขารู้ว่าในสังคม ในชีวิตเขา ยังมีทางเลือกอืน ่ เหลืออีก ผมว่าความน่ากลัวในชีวต ิ นีค ้ อ ื การทีร่ ส ู้ ก ึ ว่าตัวเอง ไม่มอ ี ะไรจะเสีย ไม่มค ี วามหวังอะไรเหลืออยู่ เขาพร้อมทีจ่ ะเอาขวดตีและแทงคน ตายเพือ ่ เงินยีส ่ บ ิ บาทไปกินกาแฟ ไปกินขนม หรือซือ ้ บุหรี่ เขาบอกกูโดนจับ ก็ไม่ได้มอ ี ะไรเพราะกูไม่มใี คร แต่เราทำ�ให้เขารูว้ า่ เฮ้ย มันมีทางเลือกนะ ผมก็ ถ่ายรูปเพือ่ เอารูปเหล่านีไ้ ปใช้ เพือ่ จะทำ�ให้คนได้เห็นว่า โอเค เรากำ�ลังทำ�เรือ่ งนี้ เราไม่ตอ ้ งการทำ�ให้คนสงสาร จุดประสงค์ทผ ี่ มต้องการคือ ผมต้องการให้คน ได้เห็นศักยภาพของน้องเหล่านี้ เราไม่รู้ว่า เฮ้ย พวกเราไม่ได้ดีกว่า เราแค่ โชคดีกว่า เราแค่มท ี าง โอกาสมากกว่า ถ้าคุณจะช่วยคุณไม่ตอ ้ งเอาเงินไปให้ เขาหรอก คุณให้โอกาสเขา อันนีม ้ น ั ทำ�ให้เขาดีขน ึ้ ซึง่ อันนีเ้ ป็นสิง่ ทีเ่ ซนซิทฟ ี มาก เด็ก ไม่วา่ จะเรือ ่ งเยาวชน ค้าประเวณี โฮมเลส สิง่ เหล่านีป ้ ระกอบกันมัน สุม ่ เสีย ่ งมาก ผมถ่ายเด็ก เหมือนกับถ่ายภาพสตรีท ห้ามถ่ายขอทาน ห้าม ถ่ายคนพิการที่อยู่บนถนน เพราะอะไร คุณคลิกนี่ไม่ว่ายังไงรูปออกมามัน เรียกร้องความสนใจ มันเรียกร้องความสงสาร มันเรียกร้อง attention จาก คนได้อยูแ่ ล้ว แต่ถามว่ามันแฟร์กบ ั เขาหรือเปล่า เราได้ แต่เขาแฟร์หรือเปล่า คนอาจจะหูว น่าสงสาร น่าสงสาร แล้วไงวะ เขาอาจจะไม่ตอ ้ งการก็ได้ แล้วก็ เอาเขาไปตีแผ่ ทุกคนรีชโพสต์ คนห้าพันคนเห็น คนหมื่นคนเห็น แล้วไง ประเด็นหนึง่ ก็อาจจะดี คุณป้าคนนีข ้ ายขนมอยูท ่ น ี่ ี่ ร้อยชือ ่ นะครับ โอเคช่วย แต่มีคนอีกมากมายใช้จุดนี้เพื่อตัวเอง ซึ่งผมมองว่าอันนี้จริงๆ มันดูที่ จุดประสงค์ได้วา่ อย่างอันนีผ ้ มมอง ผมไม่ตอ ้ งการให้คณ ุ สงสาร เฮ้ย ดูเด็กที่ ไม่ได้มีความรู้ เด็กที่เพิ่งจับกล้อง ดูงานเขา ถ้าผมไม่บอกคุณ ผมบอกว่า ผมถ่ายมาจากแกลเลอรีในนิวยอร์กคุณก็เชื่อ แล้วสุดท้ายคุณเอาอะไรมา ตัดสินล่ะ เมื่อก่อนตอนเราเดินเจอเด็กอย่างนี้ แม่เราหลบ เราก็เดินหลบ แต่วน ั หนึง่ พอเราไปเดินข้างเด็ก พอเขาหลบเรารูส ้ ก ึ เขาก็เด็ก เดินๆ อยูป ่ า้ ก็ หนีบกระเป๋าหลบ ขนาดเราไม่ได้เป็นคนโดน เราเดินอยู่กับเด็ก เรายังรู้สึก โห ความรูส ้ ก ึ นีเ้ องทีท ่ �ำ ให้เขา...แล้วแป๊บหนึง่ เขาก็โวยวาย เหมือนว่าเขาไม่ได้ แคร์ มันคือกลไกป้องกันตัวเองว่า เฮ้ย เขาไม่ได้แคร์ แต่ผมเชือ ่ ว่าลึกๆ แล้ว เขาเฮิร์ต ซึ่งอันนี้ผมว่ามันคือสิ่งสำ�คัญในฐานะคนนำ�เสนอว่า โอเค ถ้าคุณ มีจด ุ ประสงค์ตอ ้ งการช่วยจริงๆ มันมีวธิ ล ี า้ นแปดในการนำ�เสนอ (แต่คณ ุ ต้อง มีจรรยาบรรณรองรับ) ใช่ สำ�คัญ privacy ก็คือเรื่องหนึ่ง แต่ว่าสุดท้าย มันคือจรรยาบรรณของคนนัน ้ ด้วยทีน ่ �ำ เสนอ คนถ่าย คนเขียน สองอย่างนี้ ฆ่าคนได้สบายๆ”
The World Through His Eyes Chatchawarn Janthachotibutr -
ชัชวาล จันทโชติบุตร
Telling a story with photographs is one way to present the truths in society. But it must be done with responsibility and conscience.
TALK PHOTOGR APHY: TOP.PONPISUT WORDS: WITTHAWAT PUKKHABUT
Welcome To His Parlor Angkrit Ajchariyasophon อังกฤษ อัจฉริยโสภณ
Visit ARTIST+RUN, Angkrit’s living room for art and talk about the limits or conditions for him to work as both an artist and a gallerist and also about his thoughts on art industry in Thailand.
I believe that something is right or wrong at a time. And something that is right in a place may be wrong in another place. So I do not censor these issues. If you want to show a nude art, then come. I have no problems about it. Visitors will be the ones who censor themselves.
1
เวลา 2 ทุม ่ ภายใต้บรรยากาศฝนพรำ�ของวันจันทร์ตน ้ เดือนกรกฎาคม เราและทีมงานเดินทาง ไปพบและพูดคุยกับ อังกฤษ อัจฉริยโสภณ ผู้ก่อตั้งและดูแล ‘ARTIST+RUN’ ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นที่ จัดแสดงศิลปะในซอยนราธิวาสฯ 22 หรือทีห ่ ลายคนเรียกกันแบบลำ�ลองว่า ‘N22’ เดิมทีศล ิ ปิน หนุ่มคนนี้เคยเปิดแกลเลอรีชื่อ ‘Angkrit Gallery’ ในจังหวัดเชียงราย โดยใช้พ้ืนที่ชั้นบนของ ร้านเกาเหลาเลือดหมูของตัวเองเพือ ่ จัดแสดงผลงานศิลปะ อีกทัง้ ยังเคยทำ�หน้าทีภ ่ ณ ั ฑารักษ์ของ ‘เชียงใหม่นาว!’ นิทรรศการสำ�รวจเมืองเชียงใหม่ผ่านกิจกรรมทางวัฒนธรรมร่วมสมัย ซึ่งจัดที่ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร แต่ภายในใจลึกๆ แล้ว เขาต้องการเปิดแกลเลอรีของ ตัวเองในกรุงเทพฯ เพื่อพิสูจน์และเรียนรู้สิ่งที่ตัวเขาสงสัย แต่กว่าความฝันของเขาจะเป็นจริง อะไรคือข้อจำ�กัดที่รั้งชายหนุ่มคนนี้ไว้ และทำ�ไมเขาจึงตัดสินใจเปิดแกลเลอรีบนพื้นที่แห่งนี้ “เราเลือกที่นี่เพราะข้อจำ�กัดเรื่องค่าใช้จ่าย ในการทำ�แกลเลอรี เราไม่อยากกังวลเรื่อง รายจ่ายทุกเดือน เพราะการขายศิลปะมันไม่แน่นอน เรายังไม่รู้ว่าเปิดมาจะเป็นยังไง แต่ที่นี่ ค่าเช่ามันถูก นัน ่ คือเหตุผลทีห ่ นึง่ เหตุผลทีส ่ องคือมีเพือ ่ น มันมีอาร์ตสเปซสามแห่งเปิดอยูแ่ ล้วคือ ‘Gallery VER’, ‘Tentacles’ และ ‘Cartel Artspace’ และโลเคชัน ่ มันอยูไ่ ม่ไกลเมือง พอผูจ้ ด ั การ ของ Gallery VER มาชวนผม ผมก็ตกลงเลย พอทั้งเวิ้งนี้มีศิลปินมาอยู่กันเยอะๆ เปิดงาน พร้อมๆ กัน มันก็น่าจะดึงดูดให้คนเข้ามาได้ มาทีเดียวก็คุ้ม” นับตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงตอนนี้ ARTIST+RUN จัดงานแสดงศิลปะมาแล้ว 3 นิทรรศการ ซึ่งได้รับการตอบรับที่ดี และในวันที่ 19 สิงหาคมนี้ จะแสดงนิทรรศการใหม่ที่มีชื่อว่า ‘ร่างของ ปรารถนา’ โดย อุทิศ เหมะมูล เจ้าของงานเขียนชื่อเดียวกัน ในฐานะผู้ดูแลและคัดเลือกผลงาน ของศิลปินมาจัดแสดง อังกฤษวางคอนเซปต์ของพื้นที่แห่งนี้ให้เป็น ‘Living Room for Art’ “เนื่องจากตัวผมเป็นศิลปินและชอบงานศิลปะ ได้คลุกคลีกับศิลปินเยอะ ผมก็อยากจะเล่าให้ ฟังถึงงานที่ผมชอบ ศิลปินที่ผมชอบ ผมไม่ได้คิดว่าจะเปิดแกลเลอรีอย่างเดียว แต่ผมอยากแชร์ สิง่ ทีผ ่ มชอบให้เพือ ่ นๆ เห็นว่า เฮ้ย อันนีม ้ น ั เจ๋งนะ มึงต้องมาดู มันเป็นมุมมองของผมตัง้ แต่แรกเริม ่ และตอนผมทำ�แกลเลอรีที่เชียงราย ผมได้เจอคนที่ไม่ได้ตั้งใจมาดูศิลปะ เพราะเขามากินเกาเหลา เลือดหมูแต่ได้ขน ึ้ ไปดูงานทีช ่ น ั้ บน ผมเลยเข้าใจว่าพืน ้ ทีม ่ น ั ต้องมีบรรยากาศทีไ่ ม่ท�ำ ให้เกร็ง ถ้ามัน เป็นศิลปะเพียวๆ เลย มันจะยากนิดหนึง่ สำ�หรับคนทีไ่ ม่คน ุ้ เคย เพราะฉะนัน ้ ผมเลยตัง้ ใจให้แกลเลอรี ทีก ่ รุงเทพฯ เป็น living room สำ�หรับคนทีช ่ อบศิลปะมานัง่ เล่น นัง่ คุย ชมงานศิลปะ ไม่ใช่เป็นห้อง แข็งๆ ทีแ่ สดงงานศิลปะ ทุกอย่างสะอาด ต้องย่องเข้ามาดู (หัวเราะ) คือทำ�ให้มน ั ง่าย ผมว่าศิลปะ มันถูกวางตัวให้เข้าถึงยากไว้นานแล้ว เป็นสิง่ ลึกลับ เป็นเรือ ่ งจิตวิญญาณภายในบ้าง แต่ผมคิดว่า มันไม่ใช่ ศิลปะมันมีหลากหลาย แบบลึกๆ ก็มี แต่งา่ ยๆ ก็มเี หมือนกัน ซึง่ คนทัว่ ไปสามารถเข้าถึงได้” ด้วยแนวคิดที่ต้องการแบ่งปันสิ่งที่ตัวเองชอบให้เพื่อนๆ และผู้ชื่นชอบศิลปะได้เห็นผ่านพื้นที่ ของตัวเอง แน่นอนว่าเกณฑ์การคัดเลือกผลงานไปจัดแสดงใน ARTIST+RUN คือต้องเป็นผลงาน ที่อังกฤษชอบ “มีขอ ้ เดียวเลยคือเอาทีผ ่ มชอบ (หัวเราะ) พอไปเจอศิลปิน งานดี ชอบ ผมก็อยากอวด อยากจะ โชว์เพื่อน เรื่องการขายผมก็คิดนะ แต่เราต้องชอบก่อน พอชอบปุ๊บ ผมจะหาวิธีขายมันเอง ผมทำ�งานหนักกับการเยี่ยมบ้านศิลปิน แต่ละคนที่ผมเอางานมาโชว์ ไม่ใช่ปุบปับเอามา ผมต้อง ดูแล้วดูอีก ส่องเฟซบุ๊ก ไปหาที่บ้าน ไปนั่งคุย มันเป็นนิสัยของผมไปแล้วที่ชอบไปเยี่ยมสตูดิโอ ศิลปินจนเราชัวร์แล้วว่า เฮ้ย ดีจริงๆ ชอบ” สิ่งที่อังกฤษมองหาจากตัวศิลปินคือ ‘ความตั้งใจ’ “บางทีมน ั ไม่ตอ ้ งงานดี ศิลปินหลายคนไม่ได้งานดี แต่มค ี วามตัง้ ใจ ซึง่ มันจะนำ�ไปสูง่ านทีด ่ ี ถ้า ศิลปินเปิดใจและตัง้ ใจจะเป็นศิลปิน ตัง้ ใจจะทำ�งานศิลปะทีด ่ ี ผมว่าศิลปินคนนัน ้ พัฒนาตัวเองได้เร็ว มันมีศิลปินจำ�นวนมากที่ฝีมือดีมาก ความคิดดีมาก แต่ทำ�เล่นๆ ทำ�แป๊บๆ อาจจะดีเป็นบางชิ้น แล้วก็เลิกทำ� แบบนีเ้ ราไม่เอาแน่นอน เงือ ่ นไขทีจ่ ะทำ�ให้ผมชอบศิลปินคือเขาตัง้ ใจ ศิลปินต้องเชือ ่ ใน ศิลปะและพัฒนางานตัวเอง แล้วคนทีด ่ งู านเขาจะเห็นว่าคุณมีความตัง้ ใจ ความพยายาม ซึง่ ผมว่า มันสำ�คัญกว่างานที่ดีอีก” อย่างไรก็ตาม ในฐานะภัณฑารักษ์หรือคิวเรเตอร์ อังกฤษไม่สามารถใช้ความชืน ่ ชอบอย่างเดียว ในการคัดเลือกผลงานได้อย่างอิสระขนาดนัน ้ สิง่ ทีเ่ ขาต้องคำ�นึงควบคูก ่ น ั ไปด้วยคือ ‘งบประมาณ’ และ ‘ความถนัด’ ของตัวเอง “ผมเป็นคนชอบจิตรกรรม ชอบงานเพนต์ตงิ้ โฟโต้ ดรอว์องิ้ ส่วนงานทีเ่ ป็นลักษณะสามมิติ ประติมากรรม อินสตอลเลชั่น หรือวิดีโออาร์ต ผมไม่ค่อยอินเท่าไร มันไม่ใช่ความถนัดของเรา เราไม่ได้เชื่อในศาสตร์แบบนั้น เพราะฉะนั้นผมไม่สามารถไปคิวเรตงานพวกนี้ได้ เพราะผมอธิบาย มันไม่ได้ เวลาศิลปินแสดงงาน พอแขวนงานปุบ ๊ เขาก็กลับบ้าน คนทีเ่ จอผูช ้ มคือผม ผมต้องเป็น คนอธิบายงาน งานที่ผมไม่ถนัด ผมไม่อิน ผมก็อธิบายได้ไม่ดี อันนี้ไม่เป็นผลดีต่อศิลปิน “แน่นอนว่าทุกที่ต้องมีข้อจำ�กัด อย่างของผมคือความถนัดของผม และงบประมาณด้วย ศิลปินอาจจะทำ�เพนต์ติ้งมาตลอด แต่พอมาแสดงกับผมแล้วบอกว่าอยากทำ�อินสตอลเลชั่น อยากทำ�น้ำ�พุในแกลเลอรี แบกเครื่องปั๊มน้ำ�มา อันนี้มันเป็นข้อจำ�กัดละ คือผมไม่มีที่เก็บงาน และเรื่องงบประมาณที่ต้องลงทุนสูงเกินกำ�ลังของผม” อังกฤษบอกเราว่าบทบาทหน้าทีข ่ องภัณฑารักษ์มค ี วามคล้ายคลึงกับบรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ เมื่อบรรณาธิการต้องพิจารณานักเขียนที่จะเชิญมาว่าเหมาะกับนิตยสารของตัวเองหรือไม่ฉันใด ภัณฑารักษ์กม ็ ห ี น้าทีด ่ วู า่ งานของศิลปินเหมาะกับพืน ้ ทีข ่ องตัวเองหรือไม่ฉน ั นัน ้ รวมถึงรับผิดชอบ ในการแนะนำ�และตรวจทานงานที่เข้ามาด้วย ดังนั้นเราจึงอยากรู้ว่าประเด็นทางการเมือง ศาสนา ศีลธรรมหรือสิง่ ต้องห้ามในสังคม (taboo) เป็นข้อจำ�กัดในการพิจารณาผลงานของศิลปินหรือไม่ “ผมว่าศิลปิน concern มาจากบ้านอยู่แล้ว ถ้าคุณเกิดและโตในประเทศนี้ คุณถูกปลูกฝัง ตั้งแต่เด็กอยู่แล้วว่าอะไรขัดต่อศีลธรรมอันดี แต่พองานศิลปินมาถึงผม จริงๆ เรื่องพวกนี้ผม ค่อนข้างเปิด ผมเคยจัดแสดงงานของอาจารย์โฆษิต จันทราทิพย์ ที่เชียงราย แกแสดงงาน เกี่ยวกับอวัยวะเพศโจ่งแจ้งแบบสุดๆ และมีเด็กมาดูเต็มเลย แต่ผมถือว่าการเซ็นเซอร์มันขึ้นอยู่ กับวิจารณญาณของผู้ชม เพราะสื่อแบบนิทรรศการมันอยู่ในพื้นที่ส่วนตัว ผมไม่ได้ไปแสดงใน พื้นที่กลางแจ้ง ผมแสดงในห้องปิด แม้ ARTIST+RUN เป็นพื้นที่กึ่ง public แต่ถ้าคนที่เข้ามา ไม่ชอบ ก็แค่เดินออกไป เพราะนี่คือพื้นที่เฉพาะที่แสดงงานทางความคิดเหล่านี้ “ศิลปินมีความจำ�เป็นทีจ่ ะต้องขยับขยายพืน ้ ทีข ่ อง taboo หรือข้อจำ�กัดของคำ�ว่าศีลธรรม คือ นักสร้างสรรค์ทงั้ หลาย ไม่ใช่เฉพาะศิลปินด้านศิลปะนะ นักเขียน นักประพันธ์ดนตรีกต ็ าม คุณเป็น นั ก วั ฒ นธรรมซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ส ร้ า งหรื อ ขยายขอบเขตพื้ น ที่ ท างวั ฒ นธรรม วั ฒ นธรรมคื อ สิ่ ง ที่ เราดำ�รงอยูร่ ว่ มกันและเปลีย ่ นแปลงตลอดเวลา มันมีพลวัต ผมเชือ ่ ว่าบางอย่างถูก ณ เวลาหนึง่ และบางอย่ า งผิ ด ณ เวลาหนึ่ ง เราทำ � สิ่ ง นี้ ถู ก ที่ นี่ แต่ อ าจจะไม่ ถู ก ในอี ก ที่ ห นึ่ ง ก็ ไ ด้ เพราะฉะนั้ น ผมไม่ ไ ด้ เ ซ็ น เซอร์ เ รื่ อ งนี้ คุ ณ จะโป๊ เ ต็ ม ที่ มาเลย ผมไม่ มี ปั ญ หาเรื่ อ งโป๊ เ ปลื อ ย แล้วคนดูเขาจะเซ็นเซอร์ตัวเอง เช่น เขาดูแล้วผงะเลยนะ แล้วก็กลับไป “แต่ผมมีปัญหาและไม่นิยม ถ้าใช้ศิลปะในการโจมตีหรือทำ�ร้ายคน ไปละเมิดสิทธิส่วนบุคคล หรือขององค์กรใดก็ตาม มันไม่ควร คุณแสดงความคิดเห็นได้ แต่ไม่ใช่การชวนทะเลาะ บางครั้ง งานศิลปะมันจำ�เป็นต้องยุแยงตะแคงรั่ว แต่มันควรจะมีชั้นเชิงและใช้ศิลปะทำ�ให้มันกลมกล่อม irony ก็ได้ ถ้ามันสนุกพอที่จะตีความ ไม่ใช่มาด่าใครโต้งๆ หรือเอารูปใครมาเขียนล้อเลียนแบบ โต้งๆ แล้วมาแสดงกับผม ผมรู้สึกไม่ดี มันไม่เหมาะ ไม่ควรไปหมิ่นประมาทใครหรือโจมตีใคร” อังกฤษบอกว่าการเซ็นเซอร์ผลงานที่จัดแสดงในพื้นที่ของเขาขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของ ผูช ้ ม แต่เรากลับฉุกคิดขึน ้ มาอย่างหนึง่ ว่า ภัณฑารักษ์มวี ธิ ก ี ารตัง้ รับอย่างไรหากผูช ้ มทีไ่ ม่ชอบและ รับไม่ได้กับผลงานออกไปบอกต่อกับคนอื่นๆ นอกพื้นที่จัดแสดงจนเกิดแรงกระเพื่อมบางอย่าง กลับมายังพื้นที่ของเขา คำ�ตอบของอังกฤษคือ ‘การประนีประนอม’ “คนทำ�แกลเลอรีหรือคนทำ�งานศิลปะไม่อยากทำ�เรื่องที่เป็นทางลบอยู่แล้ว แต่ถ้ามันเกิด ผลทางลบ คนทะเลาะกัน เถียงกัน ผมก็ยินดีที่จะกลับมาพิจารณาว่าควรจะทำ�ยังไงต่อไป” เขายกตั ว อย่ า งเหตุ ก ารณ์ ที่ ก ลุ่ ม ทหารเข้ า มาสั่ ง ปลดผลงานศิ ล ปะที่ จั ด แสดงใน
อาร์ตสเปซของ N22 ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อช่วงเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา “สำ�หรับผม ถ้าเขาขอให้เอาลง เราก็เอาลงได้ ผมคุยกับศิลปิน ศิลปินบอกได้ ก็เอาลง อันไหนทีเ่ ขา ไม่สบายใจมากๆ ก็เอาลงได้ เอาลง 3-4 ชิ้น มันก็ยังเหลืองานโชว์อยู่ เขาไม่ได้ยึดงานไป ผมคิดว่า มันโอเค ถ้าประนีประนอมได้ ก็คุยกัน นั่นน่าจะเป็นวิธีที่ดีที่สุด ไม่ใช่ตั้งแง่ว่าพอเขามาปุ๊บ เราจะไฟต์ กับเขาอย่างเดียว แต่ลองฟังว่าเขาต้องการอะไรและเราทำ�อะไรให้ได้บา้ ง อันไหนทีเ่ ราต้องขอ อันไหนที่ เราถอยได้ ผมคิดว่าเมื่อเราเปิดใจรับฟังเขา เขาก็เริ่มมีท่าทีที่อ่อนลง “ในฐานะที่ผมดูแลแกลเลอรี ผมมีหน้าที่พรีเซนต์งานที่ผมเชื่อว่าดีสู่สาธารณะชนด้วยช่องทาง ของผม เพราะฉะนั้นเราต้องอธิบายสิ่งที่เราทำ�และเจตนาของเรา บางทีเขาไม่ได้เข้าใจคอนเซปต์ของ งานเรา อาจจะมองงานแบบผิวเผิน หรือรับข้อมูลมาแค่ชั้นเดียว เราอาจจะเพิ่มข้อมูลให้เขาและลอง ตัดสินใจกันดู ผมคิดว่าทุกๆ การปะทะมันคุยกันได้”
2
ตอนต้นเราบอกไปว่าอังกฤษเคยเปิดแกลเลอรีชื่อ ‘Angkrit Gallery’ ในจังหวัดเชียงรายมา ก่อน ต่อมาเขาปิดตัวแกลเลอรีแห่งนัน ้ เพือ ่ ย้ายมาเปิดแกลเลอรีทก ี่ รุงเทพฯ เราจึงอยากรูว้ า่ ความเป็น เมืองใหญ่มข ี อ ้ จำ�กัดอะไรทีส ่ ง่ ผลต่อการทำ�งานศิลปะของเขาบ้าง เขาหัวเราะก่อนจะตอบคำ�ถามของเรา “มีมากเลย เมืองใหญ่ดด ู พลังงานของเราอย่างมหาศาล ผมคิดว่าโครงสร้างของเมืองทีม ่ ต ี ก ึ ใหญ่ มีรถยนต์ มันมีพลังงานที่ดูดพลังชีวิตเรา ผมอยู่กรุงเทพฯ ไม่ต้องทำ�อะไรมากก็เหนื่อยแล้ว (หัวเราะ) ซึ่งมันมีผลต่อการทำ�งานศิลปะแน่นอน เพราะมันต้องใช้พลังงานภายในเยอะ ทั้งอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด และการเดินทางในกรุงเทพฯ สมมติจะไปลาดพร้าว โอ้โห 2 ชั่วโมงแล้ว บางคนเรียนรังสิต โห นัง่ รถไป-กลับ 3 ชัว่ โมง แต่ถา้ อยูเ่ ชียงราย คุณไปพะเยาแค่ชวั่ โมงเดียวนะ 3 ชัว่ โมงคุณถึงเชียงใหม่ แล้ว อีกจังหวัดหนึ่งเลยอะ วันหนึ่ง 24 ชั่วโมงเท่ากัน แต่อยู่กรุงเทพฯ มันถูกดูดเวลา เสียพลังงาน แล้วคุณจะไปสร้างงานศิลปะอะไร ผมคิดว่าศิลปินที่ทำ�งานที่กรุงเทพฯ ต้องใช้สมาธิสูงมาก (หัวเราะ) เหนื่อยกว่าศิลปินบ้านนอกเยอะ คุณต้องตั้งใจมากถ้าจะทำ�อะไรอย่างหนึ่ง” แล้วที่เชียงใหม่ซึ่งมีความเป็นเมืองใหญ่รองลงมาจากกรุงเทพฯ การทำ�งานศิลปะเหมือนหรือ ต่างกันอย่างไร เราถามอังกฤษต่อทันที “ต่างเยอะนะ เพราะที่เชียงใหม่มันมีเวลาเยอะกว่า มีความชิล ในเมืองเชียงใหม่ มันเห็นดอยสุเทพ พอคุณมองไปเห็นภูเขา คุณไม่รต ู้ วั หรอกว่าภายในของคุณมันจะสบายขึน ้ มานิดหนึง่ แต่พอคุณเห็นตึก แน่นกันไปหมด มุมมองของคุณมันก็ตน ั อะ และจะมีความหงุดหงิดขึน ้ มาภายในละ พร้อมทีจ่ ะทะเลาะละ (หัวเราะ) แต่สังเกตคนพื้นเมืองเชียงใหม่ที่อยู่ที่นั่นนานๆ เขาจะเย็นอะ คนเชียงราย คนเชียงใหม่จะ เย็นกว่าคนกรุงเทพฯ เยอะ ผมว่าเรื่องภูมิศาสตร์มันมีส่วนมากๆ เลยในการทำ�งานศิลปะ” อีกเรือ ่ งหนึง่ ทีอ ่ งั กฤษพูดถึงเกีย ่ วกับการทำ�แกลเลอรีที่ N22 คือข้อจำ�กัดเรือ ่ งค่าใช้จา่ ย ซึง่ พอเรา ยกประเด็นนีข ้ น ึ้ มาพูดซ้�ำ อีกครัง้ หนึง่ เขาหัวเราะก่อนยอมรับว่าเงินเป็นปัจจัยสำ�คัญในการทำ�งานศิลปะ และการดูแลแกลเลอรีของตัวเอง “แน่นอน สำ�คัญ ผมชัดเจนมาก ผมมาที่นี่ ผมอยากจะพิสูจน์ว่าของที่เราชอบ ของที่เราเชื่อว่าดี มันต้องขายได้สิ และการมีเงินเข้ามามันดีมากแน่นอนเพราะศิลปินก็ได้เงินไปพัฒนางานต่อ แกลเลอรี ก็อยูเ่ พือ ่ โชว์งานทีด ่ ต ี อ ่ ไปได้ นักสะสมก็ได้ของทีด ่ ก ี ลับไป มัน win-win กันหมด เงินไม่ได้เป็นสิง่ ทีเ่ รา ปฏิเสธ แต่เราไม่ได้ทำ�เพื่อเงินนะ เราทำ�เพื่อศิลปะ และผมเชื่อว่าเมื่อเราทำ�ศิลปะที่ดีออกมา เงินมันจะ ตามมาเอง ผมเชื่อเรื่องการทำ�งานที่ดี เมื่อคนศรัทธาสิ่งที่คุณทำ� เงินมันก็มา คุณก็ได้ทำ�งานต่อไป” ดังที่อังกฤษกล่าวคือเงินสำ�คัญก็จริง แต่สิ่งที่สำ�คัญกว่าคือการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ดีออกมา ต่างหาก อย่างไรก็ตาม แต่ละคนไม่ได้มีอิสระที่จะสร้างสรรค์และสร้างความศรัทธาในหมู่ผู้คนต่องาน ศิลปะได้ยาวนานดังใจคิด เพราะเวลาชีวิตคือข้อจำ�กัดของทุกคน “ชีวต ิ เรามันมีจ�ำ กัดทุกคน อาจารย์ผมเคยบอกว่ามันโหดเพราะเราไม่รวู้ า่ เราจะตายเมือ ่ ไร เราอาจจะ คิดว่าเราตายตอนอายุ 80 แต่มันไม่แน่ไง ผมคิดว่าเราต้องโฟกัสให้ชัดว่าเวลามีจำ�กัด เวลาคือ เงื่อนไขสำ�คัญ ไม่ใช่เงินนะ แล้วเราจะเอาเวลาที่มีอยู่จำ�กัดซึ่งมีค่ามากไปทำ�อะไร ผมเป็นศิลปิน ผมก็ อยากทำ�งานทีด ่ ี เพราะมีเวลาน้อย ไม่รจู้ ะตายเมือ ่ ไร และในฐานะทีต ่ อนนีเ้ ราสวมหมวกเป็นแกลเลอรีดว้ ย เราก็อยากทำ�ให้มันดี ตอนเราเป็นศิลปิน เราอยากได้แกลเลอรีแบบไหน คอยติดตามงานเรายังไง พยายามทำ�ความเข้าใจงานเรายังไง เราก็อยากจะเป็นแกลเลอรีแบบนัน ้ ทีพ ่ ยายามเข้าใจศิลปิน สนับสนุน ศิลปินอย่างต่อเนื่อง “สมัยผมเป็นศิลปิน แกลเลอรีตด ิ ต่อมาทำ�งานกับเรางานเดียวแล้วก็เลิกไป เราก็รอคอยว่าเมือ ่ ไร ใครจะมาสนใจสิ่งที่เราทำ�อีก พอเราเป็นแกลเลอรี เราก็อยากโฟกัสกับศิลปิน เรารู้ว่าศิลปินต้องการ การเอาใจใส่ ต้องการการทำ�งานอย่างต่อเนื่อง สามปีมีสามนิทรรศการ หรือห้าปีมีสามนิทรรศการ คือมีแผนการสำ�หรับเขา ช่วยจัดการเอาไปโชว์ เอาไปขาย ซึ่งตอนนี้เรามาทำ�แกลเลอรี เราก็อยากทำ� ตรงนี้ให้เต็มที่”
3
เนือ ่ งจากเป็นทัง้ ศิลปินและภัณฑารักษ์ คลุกคลีอยูก ่ บ ั งานศิลปะมาเป็นระยะเวลานาน อังกฤษมองว่า ความสนุ ก ของศิ ล ปะคื อ ความหลากหลาย ไม่ ว่ า จะทำ � งานศิ ล ป์ ป ระเภทไหน มี ค วามเชื่ อ หรืออุดมการณ์ทางศิลปะแบบใดก็ตาม ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ เหมือนระบบนิเวศของป่าไม้ที่มี ต้นไม้นานาชนิด มีเถาวัลย์ มีเห็ด มีเฟิร์น มีไม้เล็ก ไม้ใหญ่ พึ่งพาอาศัยกัน อย่างไรก็ตาม เขามองว่า วงการศิลปะไทยยังไม่มีความหลากหลายมากเท่าที่ควร “ผมอยากเห็ น พุ ท ธศิ ล ป์ ที่ ห ลากหลาย เรื่ อ งเพศหรื อ gender study ยั ง มี ค นทำ � น้ อ ยไป เรื่องวัฒนธรรมแบบลึกๆ เรื่องสังคมวิทยา การเมือง ก็ยังมีคนทำ�น้อยไป ศิลปินในต่างประเทศ เขารีเสิร์ชและทำ�งานร่วมกับนักสิ่งแวดล้อม ทำ�งานร่วมกับสถาปนิก ทำ�งานร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ คือมัน cross กันไปหมดแล้วอะ ผมอยากเห็นคนไทยทำ�งานหลากหลายแบบนี้ มันน่าสนุกเพราะศิลปะ มันเป็นศาสตร์เปิด ถ้าคุณเป็นวิศวกรโยธา คุณก็คำ�นวณโครงสร้างการรับน้ำ�หนักทางฟิสิกส์อะไรไป แต่ศล ิ ปะมันไม่ได้มแี ค่นน ั้ คุณอาจจะคำ�นวณโครงสร้างก็ได้ อาจจะสร้างประติมากรรมทีใ่ ช้ฟส ิ ก ิ ส์ลว้ นๆ หรืออาจจะวาดดอกไม้ดว้ ยก็ได้ ความหลากหลายของศาสตร์นม ี้ น ั เปิดกว้างให้เกิดการเรียนรูไ้ ม่สน ิ้ สุด “ผมบอกเลยตั้ ง แต่ ผ มเรี ย นมา นิ ย ามศิ ล ปะหรื อ การมองศิ ล ปะของเรามั น เปลี่ ย นไปเรื่ อ ยๆ ตามอายุ ตามประสบการณ์ของเรา มันเลยทำ�ให้ผมรักที่จะเรียนรู้ศิลปะ มันไม่มีวันจบ คุณเรียน จนหมดชีวิตนี้ของคุณ คุณก็ยังไม่เข้าใจมันหรอก ผมเลยไม่ค่อยเชื่อถ้าใครบอกว่าเข้าใจศิลปะดีเยี่ยม ผมว่าความสุขของการเรียนรู้ศิลปะคือมันไม่มีวันจบนี่แหละ เมื่อไรก็ตามที่ผมรู้สึกว่าเฮ้ย เข้าใจหมด ทุกอย่าง ผมควรจะเลิกทำ�” อังกฤษมองว่าสิง่ ทีจ่ �ำ กัดให้วงการศิลปะไทยไม่มก ี ารบูรณาการกับศาสตร์อน ื่ ๆ คือความศักดิส ์ ท ิ ธิ์ ที่ถูกสร้างให้แก่ศิลปะ “มันมีความศักดิ์สิทธิ์ ช่วยทำ�ลายทิ้งทีได้ไหม (หัวเราะ) มันมีความศักดิ์สิทธิ์บางอย่างที่ห้าม ไม่ให้ทำ�อะไรที่มันดูไม่ศักดิ์สิทธิ์อะ และศิลปะไทยเป็นของมีครู ครูบาอาจารย์เขาทำ�มาแนวทางอย่างนี้ เราก็ต้องมีแนวทางนี้ต่อไป ผมว่าอันนี้มันเป็นข้อจำ�กัด ความศักดิ์สิทธิ์เป็นข้อจำ�กัด แต่ศิลปะไม่ใช่ ความศักดิ์สิทธิ์ ศิลปะกับวัฒนธรรมมันอันเดียวกันนั่นแหละ มันดิ้นไปได้เรื่อยๆ” อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ที่ อั ง กฤษมองว่ า เป็ น ข้ อ จำ � กั ด ในวงการศิ ล ปะไทยคื อ การไม่ นำ � ผลงานทางศิ ล ปะ ในยุคอดีตมาปรับหรือสร้างมูลค่าใหม่ให้เข้ากับยุคปัจจุบัน “ทำ�ไมคนถึงรู้จักปีกัสโซ แวนโก๊ะ เพราะเขาพิมพ์หนังสือใหม่ทุกปี พิมพ์วนๆ ซ้ำ�ๆ เอางานชุด นั้นชุดนี้มาพิมพ์ใหม่ รีไรต์ใหม่ คนเหล่านี้เป็นปูชนียบุคคลซึ่งมีคนให้คุณค่า ทำ�มีเดียให้ตลอดเวลา มีพิพิธภัณฑ์ มีมูลนิธิที่ดูแล พิมพ์หนังสือออกมา ทำ�ของที่ระลึกชุดใหม่ๆ ทุกปี ซึ่งคนก็ซื้อกันอยู่นั่น เขาไม่มวี น ั ตายอะ ล่าสุด Jeff Koons เอางานของศิลปินหลายๆ คนรวมถึงแวนโก๊ะไปทำ� Louis Vuitton ศิลปินก็ไม่มวี น ั ตาย แต่บา้ นเราไม่มค ี วามคิดแบบนีเ้ ลย ทัง้ ๆ ทีป ่ ระวัตศ ิ าสตร์ของเราเก่าแก่มากเลยนะ ตู้พระธรรมวัดเชิงหวายอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ก็ตั้งอยู่อย่างนั้น ซึ่งจริงๆ เราอาจ จะเอามาทำ�เป็นกระเป๋า คือผมไม่รังเกียจนะ เพราะผมมองว่ามันเป็นการเผยแพร่ หรือจะทำ�หนังสือ ตู้พระธรรมวัดเชิงหวายอย่างเดียวเลยแล้วแปลเป็นภาษาอังกฤษ ให้คุณค่ากับมัน ผมคิดว่าเราทำ�ได้ แต่มันยังไม่มีความคิดเหล่านี้ในหมู่ผู้ดูแลเรื่องนี้”
TALK PHOTOGR APHY: TOP.PONPISUT WORDS: NATHANICH CHAIDEE
According to the belief of studio philosophy, there’s nothing well rounded or perfect in this world. So instead of saying to someone you have such a bad taste in designing your own house,
we can dismiss that negativity and see things on the bright side. In the meantime, the thing that you go head over heels with might not be as good as you think it seems.
ข้าวของธรรมดาสามัญทีเ่ ห็นกันรอบตัวจนเป็นเรือ ่ งปกติ อย่างลังผลไม้ ในตลาดสด หรือรถเข็นปูนในไซต์งานก่อสร้าง อาจเป็นของใช้ที่เกรอะกรัง และน่าขันของใครหลายคน แต่ในสายตาของ ศรัณย์ เย็นปัญญา เหล่านีค ้ อ ื แมทีเรียลชั้นดีในการบอกเล่าทัศนคติที่เขาเชื่ออย่างยิ่งว่า ‘ไม่มีความชั่ว ที่แท้จริง และไม่มีความดีที่สัมบูรณ์’ ผ่านศาสตร์การเล่าเรื่อง หรือ Story Telling ถึงชื่อวิชาจะดูเป็นนามธรรมเหลือเกินเสียจนหลายคนคิดว่า มันจะ เป็นวิชาทีบ ่ รรจุในหลักสูตรปริญญาโทได้จริงหรือ แต่ผลทีอ ่ อกมาหลังจาก การเล่าเรื่อง คือชิ้นงานซึ่งเกิดจากการปะทะกันระหว่างวัสดุที่ต่างกันสุดขั้ว ซึ่งปรากฏให้เห็นและจับต้องได้อย่างเป็นรูปธรรม “จริงๆ Story Telling มันเป็นศาสตร์ของพ่อค้าแม่คา้ ถ้าเราเดินตลาด ก็คือแม่ค้าบอกว่า ลำ�ไยกองนี้ 10 กิโล แต่ว่ามันแค่เปลี่ยนจาก product ลำ�ไย เป็นไอเดีย service เป็นเรือ ่ งของสินค้าอืน ่ ๆ มันก็วา่ ด้วยการขายของ แต่ว่าทำ�ยังไงให้คนซื้อ เขาบอกว่าคนในสมัยที่ content มัน overload ขนาดนี้ คนไม่ได้ซื้อแค่ functional benefits ละ ไม่ได้บอกว่าดินสอแท่งนี้ ราคา 5 บาท แล้วเขียนดีจังเลย แต่เขาอยากจะรู้ว่าดินสอราคา 5 บาท ก็มีหลายเจ้า ทำ�ไมอยากจะซื้อเจ้านี้เป็นพิเศษ เขาสนใจในเรื่องสิ่งที่มันอยู่ ต้นไม้ที่มันถูกเอามาตัด เรื่องราว behind the story คนก็เลยไปเรียน เรื่องเรื่องนี้เพื่อที่จะมาเป็นพ่อค้าขายของ แต่มาขายไอเดีย “บังเอิญว่าตัว course มันมีความคลุมเครือ มันบอกว่าทำ�อะไรก็ได้ ขอให้ มั น สื่ อ สาร ให้ มั น ขายไอเดี ย ได้ เพราะฉะนั้ น คุ ณ จะเป็ น ช่ า งภาพ คุณจะเป็นนักเขียน คุณจะเป็น performance artist ในคลาส 10 คนไม่มใี คร ทำ�อะไรเหมือนกันเลย ต่างคนก็จะใช้วิธีเล่าเรื่องในแบบที่ตัวเองถนัด” ศรัณย์จบปริญญาโทด้าน Story Telling ที่ว่านี้ จาก Konstfack University in Stockholm สวีเดน เพราะต้องใช้ชีวิตในประเทศที่คุณภาพ ชี วิ ต ดี ม ากและสงบสุ ข นี่ เ อง ยิ่ ง เป็ น ตั ว กระตุ้ น ให้ เ ขาต้ อ งครี เ อตอะไร สนุกๆ ให้โลกมองเห็น อีกนัยหนึ่งก็เพื่อกลบความเบื่อของตัวเองไปในตัว “กูเบื่อมาก บ้านเมืองแม่งเป็นระเบียบ ทุกอย่างถูกวางแผนไว้ดีเกิ๊น แล้ว คนไทยอย่างเราซึ่งแบบ โอ๊ย คือคนไทยเราจะชินกับความไม่แน่นอน เราก็ จะรู้สึกว่าประเทศนี้มีระเบียบเกินไป เราอยู่ไม่ได้ เราเข้ากับความวุ่นวาย แม้กระทั่งดีไซน์ ผมเองไปเรียนสแกนดิเนเวีย คนชอบเข้าใจว่าไปเรียน สแกนดิเนเวียแล้วแบบดีไซน์ของผมจะต้องเป็นสแกนดิเนเวียนแน่ๆ ไม่เลย ยิ่งไปอยู่ประเทศเงียบๆ ดีไซน์น้อยๆ เรายิ่งเอะอะมากขึ้น เรายิ่งรู้สึกว่า เราอยากจะแบบ เราไม่อยากเหมือนเขาอะ เราต้องเอาความเป็นตุ๊กตุ๊ก ไปเผยแพร่ในความรู้สึกตอนนั้น” ถ้าเป็นคนอืน ่ หากคิดจะทำ�สินค้าของตัวเองขึน ้ มาสักชิน ้ คงเอาปลายทาง ซึ่งเป็นโปรดักต์ขึ้นเป็นหลัก แล้วค่อยเติมเรื่องราวเสริมลงไปให้เห็นที่มา ทีไ่ ปของผลิตภัณฑ์ชน ิ้ นัน ้ แต่ศรัณย์ยงั คงยึดมัน ่ ในแนวทางการทำ�งานของ ตนเอง ที่ใช้เรื่องราวเป็นตัวนำ�อันดับหนึ่ง แล้วจึงค่อยมองหาวัสดุมาตอบ เรือ ่ งราวทีต ่ งั้ ไว้ โดยไม่จ�ำ กัดว่าจะใช้สอ ื่ กลาง หรือ Medium แบบใดแบบหนึง่ เป็นพิเศษ ส่วนแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน ก็ตามแต่ช่วงเวลา ตรงนั้นว่ากำ�ลังครุ่นคิดกับเรื่องอะไร หรือแม้กระทั่งสถานการณ์ชีวิตที่ต้อง ประสบกับตัวเอง “ไม่มีมีเดียม ผมมีแต่เรื่องนำ� คือถ้าดูงานของสตูดิโอ แรกๆ มันก็เริ่ม เป็นเฟอร์นเิ จอร์ เพราะว่าไม่คอ่ ยมีใครทำ�เฟอร์นเิ จอร์ทม ี่ น ั เล่าเรือ่ ง เราพูดเรือ่ ง การเมือง บางทีก็เอาตะกร้า ซึ่งจริงๆ เป็นเรื่องการเมือง ความขัดแย้งของ ชนชัน ้ แต่วา่ ตอนนัน ้ เฟอร์นเิ จอร์มน ั ก็มแี ค่เรือ่ งสไตล์ กับเรือ่ งของ functional แต่พอเริ่มทำ�มาสักพัก ก็เห็นคนเริ่มทำ�ละ ก็เลยพยายามขยับไปทางอื่น animation บ้าง หรือล่าสุดหนังสือเล่มนีก ้ เ็ ป็นเรือ่ งเครือ่ งดืม ่ สูตรเหล้าทุกอัน มันมาจากประสบการณ์การเป็นคนใกล้ตายของตัวเอง ก็บอกหมดเลย ว่าจะหมักยังไง หนังสือนี่ก็แจกฟรี ไม่ได้ขาย” “อย่างอันนีก ้ เ็ ป็นช่วงเปลีย ่ นชีวต ิ เหมือนกัน เพราะว่าเป็นคนทำ�งาน 7 วัน แล้วก็วน ั ละ 14 ชัว่ โมง ทำ�มาตลอด 7 ปีไม่มวี น ั หยุด นอนน้อย กินเหล้าเยอะ วันหนึ่งตื่นมาหมอก็บอกว่ากำ�ลังจะตายนะ เราเลยรู้สึกว่าฉิบหายละ เรายัง ตายไม่ได้ว่ะ เรายังไม่ได้ทำ�อะไรดีดีเลย กับพ่อกับแม่คือเป็นลูกจัญไรมาก ตอนนั้นเลยคิดว่าถ้าจะตาย เวลามันเหลือเท่าเนี้ย อะไรมันสำ�คัญในชีวิต งานหรอ ตอนนั้นเลยสนใจคนป่วย คนชายขอบ คนที่เขารู้สึกว่าชีวิต คืออะไร ถามว่าตอนนี้เจอรึยังว่าเวลาที่เหลือจะทำ�อะไร มันก็เป็นงานอยู่ดี แต่รส ู้ ก ึ ว่าอยากให้งานทำ�ให้ตวั เองรูส ้ ก ึ ดี แล้วก็ให้คนอืน ่ รูส ้ ก ึ ว่ามันมี purpose ในการใช้ชวี ต ิ ด้วย ชีวต ิ มันสัน ้ จริงๆ หลายคนเขาอาจจะตายด้วยโรค ไม่ได้รถชน อยากจะ communicate แต่วา่ purpose ของการมีชวี ต ิ ทีท ่ �ำ งานตอกบัตร แล้วเอาเงินไปใช้หนีบ ้ ต ั รเครดิต มันก็มค ี วามสนุกอยูน ่ ะ มันทำ�ให้เราได้ influence คนอื่น ได้บอกเล่าเรื่องการ struggle ของเรา ตอนนี้ก็เลยสนใจเรื่อง คนชายขอบ จริงๆ เราสนใจคนที่ถูก label ว่าไม่ดี หรือนู่นนี่นั่นในบริบท ป่วย เพศสภาพ มันก็คืออยู่ใน area เดิมแหละ ที่บอกว่าสิ่งที่ดีมันก็ไม่ได้ ดีตลอด สิ่งที่ไม่ดีมันก็ใช่ว่าไม่ดี มันยังเป็น concept เดิม แต่ว่าตอนนี้เรา ไม่ได้แตะเรื่องการเมืองศาสนา เรามาแตะเรื่อง lebeling คน มี project หลายๆ อันที่ปลายปีนี้กำ�ลังพูดเรื่องแบบนี้อยู่ แต่บอกไม่ได้” ผู้อ่านหลายคนที่อ่านมาถึงตรงนี้อาจตั้งข้อสงสัยว่า ในเมื่อศาสตร์นี้ คือศาสตร์ของการขายของ แล้วผลงานแต่ละชิน ้ ก็แหวกแนวเหลือเกิน วัสดุ ก็ไม่ได้เป็นของดีพรีเมียม ออกจะเป็นของราคาถูกด้วยซ้ำ� แถมถ้าไปจ้าง ช่างทำ�เองก็ถูกกว่าซื้อจากที่นี่เสียอีก หรือกระทั่งเป็นของที่ทำ�มาแจกฟรี แล้วแบบนี้จะมีผลกระทบต่อการทำ�มาหาเลี้ยงชีพไหม? “มีครับ ก็คือขายไม่ได้นั่นเอง ถ้าเอาโจทย์ของการขาย ก็มีคนซื้อ ก็คือ collector คนที่ชอบอะไรบ้าๆ บอๆ ซึ่งก็มีแค่หยิบมือเดียว แต่เรา มองว่า สำ�หรับเรา ของที่เป็น conceptual idea มันคือการขายว่าเราทำ� อะไรได้ วิธีคิดของเราเป็นยังไง สุดท้ายแล้วคนที่รู้ว่าเราสามารถ execute มีเรื่องและมีวิธีเล่าแบบนี้ บางทีเขาก็มาจ้างเราทำ�โลโก้ มาจ้างทำ�อย่างอื่นที่ ต้องการเรื่องนำ�แทน เพราะผมมองว่าอันนี้คือนามบัตรของผม ทุกอย่างที่ บ้าๆ บอๆ ที่ขายไม่ได้ สำ�หรับผมไม่เคยกลัวเลย เพราะรู้สึกว่านี่คือสิ่งที่เรา อยากจะขายว่า service ของเรา เราทำ�อะไรได้บ้าง คุณไม่ต้องมาซื้อเก้าอี้ คุณมาจ้างเราทำ�โลโก้ก็ได้ แต่เราพลิกโจทย์อะ นี่คือวิธีการของเรา เพราะ ฉะนัน ้ จริงๆ แล้วสิง่ ทีเ่ ราอยาก communicate คือ เราคือนักเล่าเรือ ่ งทีเ่ อา เรื่อง conceptual แปลออกมาเป็นอะไรก็ได้ คุณอยากจะแปลงมันออกมา เป็นอะไร เสื้อผ้า Installation เป็นที่วางของ เป็น Interior Design เป็น Wallpaper เป็นกราฟิก ทำ�ได้หมดเลย “มี collection หนึ่งที่เอาท่อพีวีซีมาทำ�เป็นเก้าอี้ อันนั้นทำ�เองได้ก็ทำ� ก็คือเราขาย conceptual idea อยู่แล้ว แต่คนซื้อก็มีนะ อาจจะหนึ่ง รวย
DONT
22
AUGUST 2017
รู้สึกว่าเป็น artpiece คือเขาคงไม่มีปัญญาต่อท่อพีวีซี แต่ถ้าชอบมาก ไม่อยากเสียเงินหมื่นห้าก็ไป ต่อเองก็ได้ แต่สิ่งที่คนต่ออยู่ก็คือไอเดียของเราแค่นั้นเอง ก็เหมือนถือ Supreme, Louis Vuitton ที่ซื้อจากเซินเจิ้น คือคุณอยากได้ความเท่ของการถือสุพรีม กับหลุยส์แค่นั้นเอง ซึ่งนั่นแหละ พอแล้ว สำ�หรับเรา ถ้าคุณอภิเชษฐ์ในไอเดียของเรา คือถือว่าคุณซื้อของเราไปแล้วเรียบร้อย” หนึ่งในงานชิ้นที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของศรัณย์ คือเก้าอี้ขากลึงแบบคลาสสิก ซึ่งตัวเก้าอี้และ พนักพิงทำ�จากตะกร้าผลไม้แบบที่เห็นได้ในตลาดสด การปะทะกันระหว่างของสองสิ่งที่มาจากต่างขั้ว อย่างชัดเจน คือทิศทางที่ตัวเขาและสตูดิโอต้องการนำ�เสนอสิ่งที่ตัวเองเชื่อ ถึงแม้จะเป็นหัวเรื่องที่ ดูหนัก แต่ก็นำ�เสนอออกมาในมุมขบขันตามบุคลิกและตัวตน “คือสันดานเป็นคนกวนตีนด้วยแหละครับ เราเป็นคนอยากท้าทายว่ามันไม่มีอะไรที่ดีประเสริฐ เลิศศรี 100% และไม่มีอะไรชั่วช้าไปหมด ฉะนั้น เราก็เลยพยายามจะบอกว่าไอ้สิ่งที่คุณคิดว่าไม่ดี๊ไม่ดี รสนิยมบ้านๆ เห่ยๆ เนี่ย ถ้ามองมันดีๆ มันก็ดีได้นะ ในทางกลับกัน ไอ้สิ่งที่คุณเชิดชูว่ามันสวยหรู มันก็มีแง่มุมที่น่าเกลียดเหมือนกัน แล้วผมมองว่ามุมมองแบบนี้มันมีความเป็นไท้เป็นไทย แบบมันมี contradiction อะไรบางอย่าง มีอยู่โปรเจกต์หนึ่งที่เป็น animation เราเดินนานา พัฒน์พงษ์บ่อย ก็จะมีพวก Tourist Art ที่เป็นภาพวาดสีนีออน พวกเราคงไม่เอามาแขวนผนังแน่นอน เพราะมันเห่ย แต่เรารูส ้ ก ึ ว่าความเห่ย ถ้าเราเปลีย ่ นบริบทมัน สมมติวา่ มันเป็น animation ล่ะ คุณจะมองค่ามันเปลีย ่ น ไปไหม เราก็เลยหยิบเอามันมาทำ� animation ก็เลยรู้สึกว่าเรื่องที่เล่าไม่ได้ด้วย verbal เนี่ย พอมัน translate มาเป็น design มันสนุกกว่าเยอะเลย และคนก็จะตั้งกำ�แพงกับมันน้อยลง จริงๆ มันมี หลายเรื่องมาก เรื่องที่เล่าไม่ได้ก็มี เณรคำ�ก็มี ตอนนั้นเขาให้เราไปเผยแพร่ความเป็นไทย เป็นแบบ ดีไซเนอร์ไทยเอาเรื่องความเป็นไทยไปเผยแพร่ แต่เราก็เอาแง่มุมทุเรศๆ ของไทยไปเผยแพร่ เช่น พระทีม ่ รี ถเก๋ง รถเจ็ตสกี รูส ้ ก ึ ว่ามันไท้ยไทย เราก็เลยหยิบเอางานพุทธศิลป์ เป็นงานภาพวาดเหมือนพระ ไรเงี้ย กับไพ่เอามาผสมกัน เราเชื่อว่าความเชื่อเวลาเชื่อแบบงมงายไม่ลืมหูลืมตามันเหมือนการพนัน เพราะเราไม่รู้ว่าเจ้ามือเอาความเชื่อไปลงทุนกับอะไรบ้าง ผมว่าผมเป็นคนไม่ค่อย judgemental เท่าไหร่ เวลาเจอคนที่แบบ bitchy มามากๆ ก็พยายาม หาในสิง่ ที่ ไม่รส ู้ ิ อันนี้ apply กับชีวต ิ ด้วยนะ คนจนก็ไม่ได้โง่นะ คนรวยก็ไม่ใช่ฉลาด หรือถ้าเขารวยแล้ว เขาจะฉลาดด้วยก็เป็นไปได้ เป็นคนทีเ่ ปิดกว้างกับไอเดียเรือ ่ งดี-ชัว่ ถูก-แพง เลยก็พยายามจะสือ ่ สาร ตรงนี้ แล้วเรารูส ้ ก ึ ว่าประเด็น contradiction มันไท้ไทยดี มันก็ไท้ไทยแบบทีม ่ น ั ไม่ตอ ้ งใช้กระหนกหรือ ตุ๊กตุ๊ก มันก็เป็นประเด็นไทยที่ conceptual แล้วฝรั่งเองก็ pick up ได้ว่านี่มันมี something really Thai นะ มีอยูค ่ รัง้ หนึง่ ทีเ่ ราเคยทำ�กับ Comme des Garcons เขาบอกว่าคียเ์ วิรด ์ ทีเ่ ขาเสิรช ์ google เจอเรา ไอ้ตะกร้าเนี่ย มี Thai designer แล้วก็ Luxury กับ Cheap เราก็ทำ�ไมคุณถึงใส่ luxury กะ cheap เข้าไป เขาบอกว่าจริงๆ แล้ว philosophy คือ contrast ของความดีกับความไม่ดี ความถูก กับความแพง เพราะฉะนั้นเสื้อของเขาเย็บมาเนี้ยบหมดเลย neat ก็ neat ให้มีรู ให้เป็น perfection กับ imperfection มันอยู่ด้วยกันได้ แปลว่าเรื่องที่เราจะเล่ามัน universal นะ ไม่ต้องพูดอะไรเลยคน pick up ได้ คนทีอ ่ า่ นเรือ ่ งด้วยวิธก ี ารแบบเดียวกันมันก็จะสืบ drawn to each other มาเจอกันเอง” แม้ผลงานหลายชิน ้ ซึง่ ได้แรงบันดาลใจจาก Pop Culture จะถูกจดจำ�จนกลายเป็นลายเซ็นของเขา แต่ผลงานบางชิ้นกลับเกิดเป็นคดีความ มีครัง้ หนึง่ ทีศ ่ รัณย์ถก ู บริษท ั 20th Century Fox ฟ้องร้อง ในข้อหาทีห ่ ยิบเอาคาแร็กเตอร์ของการ์ตน ู The Simpsons มาทำ�เป็นเก้าอี้ เพียงเพราะรูปลักษณ์ของ เก้าอี้เป็นลายเส้นซิกแซ็กสีเหลือง เอาเข้าจริงเขาก็ผ่านพ้นเรื่องราวเหล่านี้มาได้ โดยสารที่ต้องการ สื่อออกไปผ่านผลงานยังคงอยู่อย่างครบถ้วน “อย่างเก้าอี้ Simpsons มันก็เป็นการตอกกลับไปเหมือนกัน เราเชือ ่ ว่าบางคนมองว่า pop culture แบบ soap opera หนัง Hollywood นี่มัน trashy จังเลยนะ ถ้าเราอยากเป็นคนฉลาด เป็นคนมี สไตล์ ก็ตอ ้ งไปดูหนังแบบ Coen Brothers แบบ ไม่ เราชอบเลดี้ กาก้า เราก็บอกว่าเราชอบเลดี้ กาก้า เราชอบดู Harry Potter เราชอบดูการ์ตน ู Simpsons ชอบ Naomi Campbell เราก็บอกว่าเราชอบ แต่ทำ�ยังไงเราจะถึงเปลี่ยนให้เป็นบริบทอื่นที่คนรู้สึกว่า เออ มันดูมีสไตล์ ตอนนั้นทำ�โปรเจกต์ ตอนอยู่ New York ถ้าไปเดิน Time Square มันจะมีคนจีนที่ชอบวาดภาพเหมือนเรา ก็จะหัวโต ตาใหญ่ แต่เขาก็จะวาดจนมันเหมือน กาดสวนแก้วก็มี เราอยากใช้วธิ เี ล่าแบบ caricature ทำ�ยังไงทีเ่ รา จะไม่ลงมือวาด ก็เลยใช้เก้าอีเ้ ป็น caricature แทน มันก็เลยเป็นโปรเจกต์ชอ ื่ Caricature as Furniture เป็นเก้าอี้เหมือน เราก็เลยหยิบเอาลวดลาย หรือเส้นสายที่เป็น symbolic ของ pop culture แบบ trashy มาเปลี่ยนเป็นมินิมอลเฟอร์นิเจอร์ที่มันดูป๊อบ จนวันหนึ่ง 20th Century Fox ส่งอีเมล มาฟ้อง เราก็หาทางเอาตัวรอดไปได้ แล้ววันหนึง่ เขาก็มาขอให้เราผลิตให้ เราก็บอกว่าคุณไปคุยกันให้ รู้เรื่องก่อน เพราะเราไม่อยากโดนฟ้อง “คือถ้าเรา study สิ่งที่เขาฟ้องจริงๆ เราจะรู้ว่าคุณก็แค่ Don’t call it as Simpsons chairs ซึ่งชื่อเก้าอี้ผมคือ Zikzak chair จบ คือ get away with it แต่ว่าสุดท้ายเวลาคนในอินเทอร์เน็ต เรียก ซึ่งอันนั้นเราไม่ผิด เขาก็จะเรียกด้วยความเข้าใจของเขาเอง ก็เหมือนเราทำ�งานได้สมบูรณ์แล้ว คือถ้าเขาจะฟ้องจริงๆ เขาคงฟ้องได้ไปนานแล้ว แต่ว่าด้วยความที่มันตั้งอยู่บนเส้นที่มันกำ�ลังโอเค โอเคงั้นเราเปลี่ยนชื่อนะ Zikzak chair แล้วมันเป็น caricature มันเป็นภาพล้อเลียน เราไม่ได้ทำ�เพื่อ ที่จะบอกว่า นี่! แก้ว Simpsons ทำ�เป็นซิมป์ซั้น ซิมป์สัน แล้วไปขายแก้ว ไม่ใช่ แล้วมันก็ดูไม่มีอะไร เหมือน Simpsons โดยตรง มันก็จะเป็นแค่ Zikzak chair จริงๆ คือดูแล้วบอกว่าเป็นเก้าอีส ้ ามเหลีย ่ ม ก็ได้ คือแล้วแต่คนจะไปตีความ” แต่ก็ไม่ใช่ว่าทุกเรื่องที่เขาอยากเล่าจะเล่าได้ทุกที่ นั่นก็เป็นอีกหนึ่งข้อจำ�กัดที่ทำ�ให้บางชิ้นงาน ของเขา ได้จัดแสดงเฉพาะในต่างประเทศเท่านั้น แต่ก็ไม่ใช่ข้ออ้างที่จะทำ�ให้ไอเดียของเขาถูกสกัดกั้น หรือแผ่วเบาลงไป “คุณพิเชษฐ กลั่นชื่น เขาเคยพูดไว้ดีมากเลย เขาบอกว่าเวลาเอาเรื่องการเมือง หรือเศรษฐกิจ สังคม translate ออกมาเป็น art เนี่ย โชคดีมากเลย เพราะว่าผู้ใหญ่ในประเทศไม่สนใจเรื่องอาร์ต เขาก็เลยทำ�ได้ทุกอย่าง ซึ่งแม่งโคตรจริง คือแบบ ทำ�ไปเถอะ ถ้าตราบใดที่ไม่เป็นรูปรัฐบาลทหาร แล้วต้องเอารูปลงจาก gallery ซึง่ ล่าสุดก็มี อย่างนัน ้ มันโอเค เหมือนมันพุง่ ลูกดอกไปทีเ่ ขา แต่ตราบใด ที่มันต้องตีความหลายชั้น ตีความได้หลายอย่าง ถ้าใช้ตะแกรงมากกว่า 1 อัน มันไม่มีใครมาสนใจ หรอก ซึ่งผมก็มองว่าเป็นข้อดีของศิลปะ” แน่นอนว่า เมื่อผลงานถูกเผยแพร่ออกสู่สาธารณะ ย่อมมาพร้อมกับคำ�วิจารณ์ แต่ศรัณย์ก็ ไม่ปล่อยให้คำ�วิจารณ์เหล่านี้ลิดรอนตัวตน หรือเป็นข้อจำ�กัด เขายังคงเดินหน้าทำ�งานต่อไปในทาง ที่ตัวเองเชื่อมั่น “การไม่ชอบมันก็คือการ interact กับ art อย่างหนึ่ง สมมติว่าเขาดูศิลปะ กูเอาช้างมาป้าย ให้เด็กที่บ้านมาวาดก็ได้ สมมติไปดูงาน abstract คนที่ไม่ได้อินกับศิลปะ พี่ให้เด็กที่บ้านวาดก็ได้ อย่างน้อยการไม่ชอบคุณก็ได้ interact กับศิลปะแล้วอย่างน้อย 1 สเตป เพราะคุณรูไ้ งว่าคุณไม่ชอบ เพราะงั้นคุณมีสิทธิ์ที่จะไปชอบอย่างอื่นก็ได้ แต่ถ้าบอกว่า ‘คุณต้องชอบ’ อย่างนั้นคือการ exclude ถ้าคุณไม่ชอบ คุณผิดนะ อย่างนั้นมันแปลว่ายังไงมันต้องมีคนไม่ชอบ หรือคุณชอบก็ผิด มันคือการ exclude นี่มันเปิดโอกาสให้มากเลยว่าคุณจะชอบ หรือไม่ชอบก็ได้” “เวลามีคนมาปรบมือให้ เราก็ชอบอยูแ่ ล้ว ใครก็ชอบ สรรเสริญ เยินยอ ปอปัน ้ ผมสังเกตว่าเวลา มีคนมาด่า ทำ�อย่างนีม ้ น ั ไม่ถก ู ทำ�อย่างนัน ้ ไม่ใช่ ไม่ฉลาด ทำ�ไมทำ�ธุรกิจแบบนี้ ทำ�เก้าอีอ ้ ย่างนีข ้ ายไม่ได้ เรายิ่งชอบเข้าไปใหญ่ เพราะเรารู้สึกว่าเรา prove you wrong เรารู้สึกว่าเราไม่ได้โง่นะ เราก็ทำ� ของเราเงียบๆ ไม่ได้ไปเถียงเขาด้วยซ้ำ� เราก็แค่ให้เวลาพิสูจน์ อย่างตอนล่าสุดมันมีคน nominate ผม เราไม่ได้สมัครไปนะ เขา nominate ว่าเป็น Designer of the Year แต่ประเด็นคือ เราก็เป็น finalist ในสามคน แล้วเราไม่ชนะ เรารูส ้ ก ึ ว่าถ้าเราได้รางวัลสูก ้ ารไม่ได้รางวัลดีกว่าอีกสำ�หรับผม เพราะ ว่ามันเป็นแรงขับมากกว่า ได้รางวัลเอามาทำ�อะไรอะ ก็มโี ล่ แล้วไง งานมันจะเยอะขึน ้ ไหม ผมรูส ้ ก ึ ว่าถ้า มันยังมีคนไม่เก็ท ยิ่งดีเลย เพราะผมอยาก prove ว่าสิ่งที่เราทำ�คืออะไร เรารูส ้ ึกว่าเราเป็น Beyonce คนที่อยู่ได้รางวัลเป็น Adele แบบอ้าว อัลบั้ม Lemonade กูดีจะตาย แต่ Adele ก็ดีนะ อยู่ที่ว่าจะ ชอบอันไหนแค่น้ันเอง แต่เรา prefer ที่จะเป็น Beyonce ที่ไม่มีวันได้รางวัล เราจะมีแรงขับที่จะ คอย prove ตัวเองมากขึ้น ตอนนี้ก็ไม่ต้องดีมาก ไม่ต้องเป็น Adele ก็ได้ เป็น Beyonce ก็พอ”
Story And Beyond Saran Yen Panya -
ศรัณย์ เย็นปัญญา
With his creativity skills, he has the ability to enhance the most ordinary things or even the stuffs that people tend to ignore into something so extraordinary that turns out to be a wonderful piece of artwork.
SPLURGE
Top IRADA Ring ORNAMENTS & L’OR
Glasses & Earrings PORSHZ Dress PATTARAT
Showpieces WHEN JEWELRY DESIGNERS DECIDE TO CREATE AN ‘ART-INSPIRED’ PIECES AND NOT WITH GENERIC APPROACH, THE OUTCOME IS STRIKING AND STRONG. PIECES OF ART ARE QUESTIONED WHETHER THEY SHOULD BE SHOWN OR BE WORN. Photography PAT PHETTHONG Style RATCHAKRIT CHALERMSAN MODEL: DAY NA@M-DON NA MAK EUP ARTIST: WALL AYA TIPVA N NAPORN HAIR ST YLIST: DECHACHAI K ERDPHOL FASHION COORDINATOR: NU N TAPAT PA NIT VOR A NU N FASHION ASSISTA N T: K ASIDIT SRIRIT TIPR ADIT PHOTOGR APHER ASSISTA N T: KOMTHAT NINPA N FASHION IN TERNS: K RONGK WA N K HA MSAI, CHONL APRUEK KULHOM
Glasses & Earrings PORSHZ Dress PATTARAT
Blazer VICKTEERUT Brooches BROTIQUE
SPLURGE
Blazer STYLENANDA Brooch PILANTHA Blazer, Belt & Trousers MICHAEL MICHAEL KORS Necklace EK THONGPRASERT Jumpsuit PATINYA Earrings & Necklace SARRAN
Dress CHRISTIAN DIOR Necklace ORNAMENTS & L’OR Belts STYLIST’S OWN
Artistic License These new young grad talents redefine the boundaries of fashion by challenging the conventions and rejecting the ordinary while expressing the extreme through their designs.
Photography TOP.PONPISUT
“I was inspired by human mistakes toward global environment, the pollution and chemical resulted in dramatic climate change that affects the world at large. A genetic disorder is becoming a substitution for beauty; a beauty that is rare, unique and imperfect.� - Sivach Junhasobhaga -
Fashion Editor RATCHAKRIT CHALERMSAN
“ A fusion of Chernobyl tragedy and Keith Haring’s technique was my inspiration. My design, which talks about mutations and their consequences, reflects this tragedy through silhouette and shape. Haring’s strokes were crucially translated into prints of the fabrics to contradict entire story upside down with humour and colours. - Satanun Graisorn -
‘I was looking up in the book of Susan J’s ‘Getting Past Your Breakup’ for my inspiration. I believe that beauty exists in every aspect of life, especially love life. From the beginning through the end of love, there is such beauty in it beneath heartbreak painfulness. I adopt conceptual art to convey my message of beauty, delicacy and fragility. ’ - Kornkamol Hutapinyo -
My collection is based on Alyson Shotz’s theory about combination of science, mathematic and art. I used sculpture to pioneer shape and form in geometric technique, also fusing photography of various genders as a part of today’s culture ’ - Rattikorn Vonpiankul -
‘I got an idea from children book series named ‘Josephine and Her Doll’, a series of an eight year old girl who surrounds herself with dolls called family of dolls. Each doll has a flaw but still they are perfect to her. In a sense of intimacy, imperfection is perfect through her feelings toward relationship with friends and family’ - Busayamas Pakdeephen -
- Parama Thanisaworatad -
‘I want to do something fun. That is my concept today people tend to be really stressful. So what else can really help? My answer is Apparel because it’s one of four essential factors of life that is the most relatable. I combine street art with graffiti to create interesting design. I want people to smile when they see it.’
- Pronchita Buranamanit -
‘I drew my inspiration from ‘Cryonics’ theory that addresses the fear of passing of people and evolution when people can freeze themselves from dying. I took that and interpreted it into conceptual design of ‘Haunted’. The transparency stands for a ghost while it is structured into a scientist uniform from 1960s. The colours are very moody in monotone black and white to convey mystery, fear and death.’
‘I was engaged in high modernism deconstruction concept and fall/winter 2017 trend to create a collection called ‘The boundless combine’ which speaks about she-economy as the new economy system in Thailand. These women tend to gain more power and confidence, they are very open-minded as and up-to-date described ‘Women Power’. As a result, the collection ends up being a workwear to match their lifestyle and also creates a new emotional value to enhance their needs. ’ - Pornthip Srikiatden -
- Pawarith Sukugumarachart -
‘My idea came from comic book called ‘Kid Next Door’. The story took place in children’s imagination of being in control by villains. So they decided to fight back using surrounding as weapon, shield and clothes. It stands for the limitless of imagination. There’s no right or no wrong. This concept is the same as my collection that experiments with shape, fabric and material that doesn’t match any standard of anyone but me’.
‘I studied the works of an Italian artist named Giuseppe Arcimboldo and his famous work is nature collage. I interpret it into my collection by using nature to represent emotion, dividing in three parts. Firstly, happiness. The fruitful of nature. Next is sorrow and dying nature. And the last one is fear, the fear of wild animal. These three components were combined into design with a hint of renaissance style. - Kunlanattatida Chanderm -
MODEL: HELENA@ARE A MGMT MAK EUP ARTIST: WALL AYA TIPVA N NAPORN HAIR ST YLIST: NIK HOM NOIK HA M FASHION ASSISTA N TS: K ASIDIT SRIRIT TIPR ADIT, THUMMAR AT CHUE A JAROEN FASHION COORDINATOR: NU N TAPAT PA NIT VOR A NU N PHOTOGR APHER ASSISTA N T: A NUR AK DUA NGTA, WIROON W U T TIPHONGDECHA, JEER ASAK K AYSEE, THA MTHU N TAYCHASINPITAK, K A NISORN SRIR AT T FASHION IN TERN : K RONGK WA N K HA MSAI, CHONL APRUEK KULHOM
BEAUTÉ recommend
Mineral Power Enriched shelter from nature to protect and sooth your facial skin. Photography TOP.PONPISUT
แบรนด์เวชสำ�อาง Vichy จากฝรั่งเศสได้คิดค้นนวัตกรรมฟื้นเกราะป้องกันของผิว จากปัจจัยรุกรานต่างๆ เช่น แสงแดด มลภาวะ และฝุ่นควัน จนเกิดเป็น Vichy Mineral 89 พรีซีรั่ม ซึ่งประกอบไปด้วยน้ำ�แร่ Vichy เข้มข้นสูงถึง 89% น้ำ�แร่บริสุทธิ์แห่งภูเขาไฟ Auvergne ในประเทศฝรัง่ เศสนีไ้ ด้จากน้�ำ ทีไ่ หลและซึมผ่านหินภูเขาไฟลึกลงไปใต้เปลือกโลก กว่า 4,000 เมตร ทำ�ให้อุดมไปด้วยแร่ธาตุที่จำ�เป็นต่อผิวถึง 15 ชนิด มีคุณสมบัติ ในการบำ�รุง พร้อมเสริมสร้างปราการปกป้องผิว เพื่อผิวแข็งแรง ดูสุขภาพดี และยังมี ไฮยาลูรอนสกัดจากน้�ำ ตาลธรรมชาติ มีคณ ุ สมบัตเิ ก็บกักความชุม ่ ชืน ่ ให้ผวิ ลดเลือนริว้ รอย เติมเต็มผิว ช่วยฟื้นบำ�รุงและปกป้องผิวจากการถูกทำ�ร้ายจากสิ่งรุกรานภายนอก ให้ ผิวกระชับ ยืดหยุน ่ ขึน ้ ดูฟเู อิบอิม ่ เห็นผลภายใน 28 วัน พร้อมเผยผิวเด้ง นุม ่ เรียบเนียน
ดุจผิวเด็ก นอกจากนี้ยังใช้สูตรปราศจากน้ำ�หอม สารให้สี แอลกอฮอล์ พาราเบน และ ซิลิโคน เหมาะสำ�หรับทุกสภาพผิวแม้ผิวบอบบางระคายเคืองง่าย มีประสิทธิภาพที่พิสูจน์ ได้จริงผ่านการทดสอบทางคลินิกโดยผู้เชี่ยวชาญด้านผิวพรรณ ใช้เพียง 2 หยด ทาทั่ว บริเวณใบหน้าและลำ�คอทุกเช้าและเย็นเป็นขั้นตอนแรกของการบำ�รุงผิว เพื่อผลลัพธ์ที่ เต็มเปี่ยมควรนวดคลึงเบาๆ ทั่วใบหน้า เพื่อให้ซีรั่มซึมซาบเข้าสู่ผิว สัมผัส Vichy Mineral 89 พร้อมรับคำ�ปรึกษาจากผูเ้ ชีย ่ วชาญ ได้ทเี่ คาน์เตอร์ Vichy ที่ บู๊ทส์, วัตสัน, ร้านขายยาชั้นนำ�, โรงพยาบาล และ Lazada.co.th/vichy-thailand หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์สุขภาพผิว Vichy โทร. 0 2684 3291 และ www.vichy-th.com หรือ Facebook: VichyTH
Vichy Mineral 89 50 ml., 1,300 THB
DONT
36
AUGUST 2017
BEAUTÉ
OF
UNUSUAL
FUNCTIONS MODEL: VARVARA@A1MODELS PHOTOGRAPHER: PAT PHETTHONG STYLIST : THUMMARAT CHUEAJAROEN MAKEUP ARTIST: WALLAYA TIPVANNAPORN HAIR STYLIST: DECHACHAI KERDPHOL FASHION COORDINATOR: NUNTAPAT PANITVORANUN FASHION ASSISTANT: KASIDIT SRIRITTIPRADIT PHOTOGRAPHER ASSISTANT: KOMTHAT NINPAN FASHION INTERNS: KRONGKWAN KHAMSAI, CHONLAPRUEK KULHOM
Top DISAYA Earring HAUS OF JEWELRY
ART
BEAUTÉ
Dress ASAVA
BRUSH
YOUR
LIPS
การดัดแปลงการใช้งานของมาสคาร่าสำ�หรับปัดขนตานั้นก็มีมานานแล้ว โดยทั่วไปเรามักจะนำ�มาปัดคิ้วเพื่อให้คิ้วจับตัวเรียงเส้นและมีสีสันที่เข้ม และสดใสหลากหลายสี แต่คราวนี้เราทดลองใช้มาสคาร่าสีดำ�สนิทสำ�หรับปัดขนตามาปัดที่ริมฝีปากดูเพื่อสร้างรายละเอียดแก่สีลิปสติกเรียบๆ ให้ทาลิปสติกสีที่ต้องการก่อน แนะนำ�ให้ใช้ลิควิดลิปสติกแล้วรอให้แห้งสนิท แล้วจึงนำ�มาสคาร่ามาปัดตามแนวดิ่งให้ทั่วริมฝีปาก และอาจตัดขอบปากด้วยอายไลน์เนอร์หรือดินสอเขียนขอบปากที่มีสีใกล้เคียงกับมาสคาร่าเพื่อเน้นริมฝีปากให้ดูโดดเด่นขึ้น นอกจากนั้นมาสคาร่าก็ยังสามารถนำ�มาดัดแปลงสำ�หรับเปลือกตาได้โดยปัดทับอายแชโดว์ หรือเน้นที่บริเวณหางตาให้ดวงตาดูโฉบเฉี่ยวได้
DONT
38
AUGUST 2017
BEAUTÉ
Necklace CHRISTIAN DIOR
COOL
FOR
SHADE
ความสนุกของศิลปะการแต่งหน้าอยู่ที่การทดลอง นอกจากเทคนิคใหม่ๆ แล้วเรายังสามารถใช้โทนสีแปลกๆ หรือโทนสี ที่ไม่ค่อยได้ใช้มากนักในบริเวณนั้นๆ เช่นการคอนทัวร์กรอบหน้า เราก็มักจะคอนทัวร์ด้วยสีโทนอุ่น เช่น สีน้ำ�ตาล สีพีช หรือสีคาราเมล แต่ถ้าเราลองใช้สีในทางตรงข้ามดู ใช้สีโทนเย็นเช่นสีฟ้า สีเขียว หรือสีม่วงแทน ผลลัพธ์ที่ได้ก็ดูสวยและแปลกตา สามารถช่วยทำ�ให้ ใบหน้าดูมม ี ต ิ ไิ ด้เช่นกัน แต่จะเหมาะกับแนวแฟชัน ่ หรืองานปาร์ตส ้ี งั สรรค์สนุกๆ มากกว่า สามารถนำ�ไอเดียนีไ้ ปประยุกต์ใช้กบ ั บริเวณอืน ่ ๆ บนใบหน้าได้ ยกตัวอย่างเช่นใช้ที่แตกต่างออกไปกับคิ้ว เช่น สีแดง สีเหลือง สีเขียว แต่ปรับให้สีมีความหม่นหน่อยสำ�หรับชีวิตประจำ�วัน
BEAUTÉ shopping
1
2
3
4
5
Stay Pigmented Create the artistic looks and colour your face with high quality makeup palettes. Photography TOP.PONPISUT 1. L’OREAL PARIS La Palette Nude 2. TARTE Clay Play Face Shaping Palette 3. VIE COSMETICS Cannes Sunset 4. LUNASOL Spicy Sunny Collection 5. LAURA MERCIER PARIS After The Rain Eye Colour Collection
DONT
40
AUGUST 2017
BEAUTÉ editor’s choice
MAKE IT BOLD Be an artist to color your lips with the unique and high pigment lipstick.
Photography TOP.PONPISUT The Loaded Bolds by Color Sensational ลิปสติกคอลเลกชั่นใหม่ล่าสุดจาก Maybelline นั้นถูกรังสรรค์เพื่อต้อนรับ New York Fashion Week เหมาะสำ�หรับเปลี่ยนลุคให้ดูแฟชั่นมากยิ่งขึ้นด้วยสีสันที่ฉูดฉาดและมีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร เนื้อสีเข้มข้นด้วยส่วนผสมจาก Kaolin Clay กลบสีปากได้มิดไม่ต้องพึ่งลิปคอนซีลเลอร์ มีเฉดสีให้เลือกหลากหลาย ตั้งแต่โทนสีแฟชั่นอย่าง สีน้ำ�เงิน สีดำ� สีขาว และโทนสำ�หรับลุคที่ดูพิเศษไปจนถึงสีที่สามารถใช้ได้ทุกวันอย่าง สีแดง สีชมพู และสีส้ม ถือว่าเป็น multi-function ใช้งานได้หลากหลายและสร้างสรรค์อย่างไม่สิ้นสุด ลิปสติกแต่ละแท่งก็สามารถนำ�มาใช้ร่วมกันได้ เพื่อให้ได้สีที่สวยไม่ซ้ำ�ใคร เช่น สามารถนำ�สีขาวหรือดำ� มาทาทับสีอื่นเพื่อให้ได้สีอ่อนหรือเข้มขึ้น อีกทั้งยังสามารถไล่สีเป็น Ombré ก็ทำ�ได้อย่างง่ายดายเช่นกัน สนุกสนานไปกับการรังสรรค์ลุคที่โดดเด่นได้แล้ววันนี้ กับ Maybelline The Loaded Bolds by Color Sensational ราคาเพียง 279 บาท ที่ซุปเปอร์มาร์เก็ต, ไฮเปอร์มาร์เก็ต, บู๊ทส์, วัตสัน, ร้านค้าปลีกทั่วประเทศ และที่เคาน์เตอร์ของ Maybelline New York ในห้างสรรพสินค้าชั้นนำ�ทั่วไป และ www.maybelline.co.th
DONT
41
AUGUST 2017
BEAUTÉ journal
Smoother Skin IPSA แบรนด์สกินแคร์ชื่อดังจากญี่ปุ่นที่มุ่งเน้นแก้ไขทุกปัญหาผิวหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ ขอนำ�เสนอ Pore Skincare Steps สองขั้นตอนปฏิบัติการขจัดรูขุมขนกว้าง ประกอบด้วย Pore Skincare Balm 20 กรัม บาล์มที่มีส่วนผสมของน้ำ�มันเมล็ดองุ่น ขจัดสิ่งสกปรกให้ หลุดลอกออกจากรูขุมขน Pore Skincare Lotion 6 ml. ช่วยลดการก่อตัวของสิ่งสกปรกที่ ก่อให้เกิดกรดไขมันอิ่มตัวภายในรูขุมขน พร้อมช่วยกระชับและลดขนาดรูขุมขน ทำ�ให้เนื้อผิว ดูเนียนละเอียดยิ่งขึ้น หมดเรื่องรูขุมขนกว้าง พบกับ Pore Skincare Steps ได้ที่เคาน์เตอร์ ของ IPSA ทุกสาขา ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2560 เป็นต้นไป
Only One Step ศูนย์วิจัย ZA Lab ขอแนะนำ� 2 ผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อการปกปิด เรียบเนียน เปล่งประกายออร่าในขั้นตอนเดียว กับ Za Color Match Shield CC Cream มีให้เลือกสองสูตร ได้แก่ Za Color Match Shield CC Cream Anti-Dullness สูตร สีมว่ ง เพือ ่ ให้ผวิ ดูกระจ่างใส เปล่งประกายออร่า ช่วยลดความหมองคล้� ำ Za Color Match Shield CC Cream Anti-Redness สูตรสีเขียว ปกปิดรอยดำ�และรอยแดงจากสิว อำ�พรางรอยแดงบนใบหน้า ช่วยให้ผิวเนียนสวยสม่ำ�เสมอ และบีบีครีมสูตร ไวเทนนิ่ง Za Total Hydration BB Cream UV White SPF50+ PA+++ ที่ช่วยปกปิดริ้วรอย จุดด่างดำ�ความหมองคล้ำ�ให้ดูเนียนเรียบ เนื้อเนียนบางเบา เกลี่ยง่าย ช่วยฟื้นบำ�รุงผิว ให้ดูกระจ่างใสขึ้นใน 10 วัน สัมผัสความงามแบบสาวเอเชียได้แล้ววันนี้ที่เคาน์เตอร์ Za ทั่วประเทศ หรือติดตามกิจกรรมได้ที่ www.za-cosmetics.com
Chrono Beauty Treat Your Skin KANEBO เล็ ง เห็ น ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ผิ ว ของผู้ ห ญิ ง ในแต่ ล ะช่ ว งเวลาของชี วิ ต จึ ง มุ่ ง เน้ น สร้ า งสรรค์ ส กิ น แคร์ ที่ ช่ ว ยปรั บ และตอบโจทย์ ความต้องการของผิว ภายใต้คอนเซปต์ ศาสตร์แห่ง ความงามตามช่วงเวลา (Chrono Beauty) KANEBO BLOOM ON SERUM (40 ml. 3,500 THB) ซีรั่ม เนื้อบางเบา เติมเต็มความชุ่มชื่นให้ผิวที่หมองคล้ำ�และ บวม ปรับผิวให้กระจ่างใส อมชมพูระเรื่อ ด้วยส่วนผสม จากธรรมชาติ KANEBO RELEXING BRUME (50 ml. 1,500 THB) โลชั่นในรูปแบบ mist ละอองละเอียด ช่วยเพิ่ม ความชุม ่ ฉ่�ำ ให้ผวิ ในระหว่างวัน ปรับสมดุลให้ผวิ สดชืน ่ เรียบเนียน มีกลิ่นหอมอ่อนๆ จากกุหลาบ หรือสามารถใช้ก่อนเติมเมกอัพ ในระหว่างวัน สัมผัสผลิตภัณฑ์ได้ที่เคาน์เตอร์ KANEBO ทุกสาขา
Galactic Gliter ผ่านไปแล้วกับงานอีเวนต์สุดยิ่งใหญ่จาก Sephora ที่พาสาวๆ ไป อั พ เดตเทรนด์ ป ระจำ � ซี ซั่ น Fall 2017 ส่ ง ตรงจากรั น เวย์ อั พ เดต New Collection จากแบรนด์ชน ั้ นำ� อาทิ Tarte, Too Faced, Kat Von D, ZOEVA, Cover FX, BECCA และอืน ่ ๆ อีกมายมาย ทีจ่ ะวางขายใน Sephora ช่วงครึ่งปีหลังนี้ให้ได้ทดลองกันในงาน คอนเซปต์เทรนด์การแต่งหน้า ในซีซั่นนี้คือ Intergalactic ที่ว่าด้วยการแต่งหน้าแบบล้ำ�สมัย โดยมุ่งเน้น ไปที่ Lips Trends การตกแต่งริมฝีปากโดยใช้เทคนิคการทาลิปแบบ ‘Starlit Sheen’ เนรมิตริมฝีปากให้ฉ่ำ�วาวด้วยการทาลิปกลอสลงบน ลิปเนื้อแมตต์เพื่อเพิ่มความโดดเด่น แวววาว ‘Molten Metalic’ ใช้ลิป เนื้อเมทัลลิกทาตรงกึ่งกลางริมฝีปาก เพิ่มความเก๋ เท่ มั่นใจ ด้วยการ ทาทับลงบนลิปเนื้อแมตต์ ‘Galactic Gliter’ เพิ่มความล้ำ�ด้วยการใช้ ลิปสติกทีผ ่ สมลิปสติกและกลิตเตอร์เข้าด้วยกัน เพือ ่ ครีเอตลุคทีส ่ วยแปลก ไม่ซ้ำ�ใคร ติดตามข่าวสารและการเคลื่อนไหวได้ที่ Facebook: Sephora thailand และ Sephora ทุกสาขา
Special Memories Clarins Skin Spa สปาพรีเมียมอันดับหนึ่งจาก ประเทศฝรัง่ เศส จัดงานเปิดตัว Skin Spa แห่งใหม่ลา่ สุด บนห้างสรรพสินค้าเอ็มโพเรียม ใจกลางสุขุมวิท ภายใต้ คอนเซปต์ตามปรัชญาของแบรนด์ คือ It’s all about you เรียบหรูหราตามแบบฉบับการปรนนิบัติผิวสไตล์ Parisian ที่ยึดมั่นใส่ใจ รับฟัง และเข้าใจผู้หญิงทุกคน เข้าถึงความต้องการทุกช่วงอายุ ทุกความต้องการของ ผิว เพื่อให้ผู้หญิงทุกคนมีผิวที่ดีและมีความงามในแบบ ของตัวเอง Clarins Skin Spa พร้อมมอบที่สุดแห่ง ประสบการณ์สปาเหนือระดับ และความทรงจำ�อันแสน พิเศษสำ�หรับทุกท่านได้แล้ววันนี้ ที่สาขาเอ็มโพเรียม, สยามพารากอน, เซ็นทรัล เอ็มบาสซี, เซ็นทรัล ชิดลม, เซ็นทรัล ลาดพร้าว, เซ็นทรัล บางนา, เซ็นทรัล ปิน ่ เกล้า และ เซ็นทรัล เชียงใหม่
DONT
42
AUGUST 2017
BEAUTÉ journal
Kittenish Look
Tone Up Cushion เดี๋ยวนี้อะไรๆ ก็ต้องเร่งรีบ ประหยัดเวลาการแต่งหน้าให้รวดเร็วขึ้น ด้วย Tone Up Cushion คูชั่นเบสเมกอัพผสมรองพื้น เพิ่มความพิเศษ ด้วยลวดลายเจ้าหญิงดิสนีย์ในตำ�นาน มีทั้งหมด 3 โทนสี ได้แก่ สีม่วง ลาเวนเดอร์ (ราพันเซล) คูชน ั่ ผสมรองพืน ้ เพือ ่ ผิวโทนเหลือง มีสว่ นผสมของ แป้งเด็กทำ�ให้ผวิ ดูออ ่ นเยาว์เสมือนผิวเด็ก, สีชมพู (สโนวไวต์) เพิม ่ สารสกัด จากวิตามินและแอนติออกซิแดนต์ ชะลอริว้ รอย พร้อมช่วยบำ�รุง และปกปิด ความไม่เรียบเนียนของผิวหน้า, สีเขียวมิ้นต์ (ลิตเติ้ลเมอร์เมต) สารสกัด จากต้นอ่อนชาเขียว ช่วยต้านแบคทีเรียและต่อต้านการอักเสบ เหมาะสำ�หรับ สาวที่ต้องการปกปิดรอยแดงจากสิว มีจำ�หน่ายแล้วที่ The Face Shop ทุกสาขา ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.thefaceshopthailand.com
JILL STUART ฉลองครบรอบ 1 ปีในประเทศไทยพร้อม เปิดตัวสองผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่รังสรรค์ Kittenish Look สุดเก๋ ด้วยผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุด Kittenish Look Liner อายไลเนอร์ ชนิดลิควิดที่ติดทนนาน ไม่เปรอะเปือ ้ น ทนต่อเหงือ ่ น้ำ� และน้�ำ ตา วาดเส้นสวยคมด้วยขนแปรงยืดหยุ่นโค้งงอได้ มีให้เลือก 4 สี Black Kitten, Plum Brown, Wedding Navy, Lady Burgundy และ Kittenish Look Shadow Liner รุ่ น ลิ มิ เ ต็ ด อิ ดิ ชั่ น แชโดว์ไลเนอร์เนื้อบางเบาสีสันชัดเจนติดทนนาน ให้ความรู้สึก นุ่มละมุนเมื่อใช้งาน ตวัดเส้นสวยคมได้ตามต้องการ กันน้ำ� ทนต่ อ เหงื่ อ แต่ ส ามารถทำ � ความสะอาดได้ ง่ า ยเพี ย งใช้ น้ำ � อุ่ น มี 3 สี Angelic Kitten, Playful Kitten, Lily Kitten พบกันได้แล้ว วั น นี้ ที่ เ คาน์ เ ตอร์ JILL STUART หรื อ อั พ เดตข่ า วสาร ได้ที่ Facebook: JILL STUART Beauty TH
Plant Based For Skin THE FACE SHOP ออกไลน์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ วชสำ � อางใหม่ ล่ า สุ ด Dr. Belmeur แนะนำ � โดยผู้ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า นผิ ว หนั ง โดยเฉพาะ Dr. Belmeur พร้อมมอบหนทางการแก้ไขปัญหาผิวอย่างเฉพาะเจาะจง ด้วยสารสกัดจากพืชที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกับชั้นผิวมนุษย์ Skin-sync Activity ตรงเข้าฟื้นฟู ซ่อมแซมโครงสร้างผิว ฟื้นฟูและบำ�รุงผิวพรรณให้ งดงาม มี 2 สูตรคือ Daily Repair เหมาะสำ�หรับผิวแพ้งา่ ย ประกอบไปด้วย Daily Repair Ato Salt Cream, Daily Repair Foam Cleanser, Daily Repair Toner, Daily Repair Moisturizer, Daily Repair Starter Kit, Daily Repair Moisturizing Lip Balm, Daily Repair Cleansing Water และสูตร Clarifying สำ�หรับดูแลผิวมัน เหมาะสำ�หรับผู้ที่มีปัญหาสิว ประกอบไปด้วย Clarifying Bubble Foam Cleanser, Clarifying Toner, Clarifying Moisturizer ติดตามข่าวสารรายละเอียดเวชสำ�อาง Dr. Belmeur จาก THE FACE SHOP ได้ที่ Facebook.com: Thefaceshopthailand
Parisian Beauty Director เมื่อเร็วๆ นี้ Estée Lauder ได้ประกาศผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง Global Beauty Director ของแบรนด์ นั่นคือ Violette เมกอัพอาร์ทิสต์สาวชาวฝรั่งเศส โดย ครั้งนี้ Estée Lauder ได้เล็งเห็นถึงปรัชญาที่เธอยึดมั่นที่สะท้อนเด่นชัดผ่านผลงาน ของเธอ เพื่อให้ทางแบรนด์เข้าถึงผู้หญิงได้อย่างลึกซึ้ง Violette เป็นตัวแทน ในการแนะนำ�เคล็ดลับให้ผู้หญิงทุกคนลืมกฎความงามแบบเดิมๆ และหันกลับมา ภูมิใจในความเป็นอิสตรี เธอมีส่วนสำ�คัญอย่างมากในการสร้างบทสนทนาเกี่ยวกับความงามในมิติ ใหม่ รวมไปถึงการมีส่วนร่วมกับผู้หญิงทั่วโลกผ่านโซเชียลมีเดีย เธอจะมาช่วยเสริม ความมั่นใจให้ผู้หญิงทุกคนไม่ลังเลที่จะเป็นเมกอัพอาร์ทิสต์ให้กับตัวเอง Violette ศึกษา Fashion design ที่ École du Louvre และเมื่อชีวิตของเธอเดินมาถึง ทางแยกที่ต้องเลือกระหว่างการศึกษาต่อในสาขาศิลปะหรือแฟชั่น โชคชะตาก็ได้ นำ�พาเมื่อมีผู้ขอให้ Violette ช่วยแต่งหน้าให้ผู้ร่วมงานคอสตูมปาร์ตี้หนึ่ง และนั่นคือ ตอนทีเ่ ธอพบว่าความหลงใหลสองอย่างของเธอสามารถบรรจบกันได้ Violette สามารถ เลือกที่จะจับคู่สีสันหรือเท็กซ์เจอร์ของเสื้อผ้ากับการวางองค์ประกอบศิลป์ให้กับเมคอัพ บนใบหน้า ครีเอตความงามทางศิลปะผ่านลุคต่างๆ นอกจากนั้นเธอยังมีโอกาสได้ทำ�งาน และได้เฝ้าสังเกตการณ์การวางองค์ประกอบศิลป์ เบื้องหลังการสร้างสรรค์ภาพถ่ายแฟชั่น จากมืออาชีพระดับโลก เธอมีโอกาสร่วมงานกับสื่อต่างๆ ในระดับประเทศและระดับนานาชาติ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในฐานะ contributor ให้ นิ ต ยสาร อย่ า ง Vogue, Harper’s Bazaar, W, T Magazine และเว็บไซต์ violetgrey.com
Splendid Beauty
Primary Rock
Aesthetic TBC แบรนด์ผลิตภัณฑ์ความงามระดับพรีเมีย ่ มจากญีป ่ น ุ่ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าดีที่สุดอันดับ 1 ในสถาบันเสริมความงาม เปิดตัว ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมในประเทศญี่ปุ่น 6 กลุ่มที่เผยเสน่ห์อันซ่อน อยูใ่ นผิวให้เปล่งประกายเจิดจรัส ประกอบไปด้วย To’us Beaux ผลิตภัณฑ์ ดูแลผิวพรรณตามวัยของผู้หญิง Prenity กลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อผิวขาว กระจ่างใส Mediquest กลุ่มผลิตภัณฑ์ผลัดเซลล์ผิวและกระตุ้นเซลล์ผิว ให้แข็งแรง Offpore กลุม ่ ผลิตภัณฑ์ดแู ลสำ�หรับผูท ้ ก ี่ งั วลเรือ ่ งสิว Urumio ผลิตภัณฑ์เพือ ่ ความชุม ่ ชืน ่ ทำ�ให้ผวิ อิม ่ น้� ำ Malon by TBC กลุม ่ ผลิตภัณฑ์ ทีด ่ แู ลผิวเสมือนอยูใ่ นซาลอน เชิญตรวจสภาพผิวด้วยเครือ ่ งนวัตกรรมใหม่ ล่าสุดได้แล้วที่เคาน์เตอร์แบรนด์ TBC ที่ศูนย์การค้าเซ็น, เซ็นทรัลเวิลด์ และสีลม คอมเพล็กซ์ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Facebook: AestheticTBCThailand
VERNIS À LÈVRES ลิปสติกสเตนที่สร้างปรากฏการณ์ให้ YSL กลั บ มาพร้ อ มกั บ หลากเฉดสี ใ หม่ ที่ เท่ เก๋ และเฉี่ ย วกว่ า ที่ เ คย เพิ่ ม ประสิทธิภาพด้วย ‘Lifeproof Colour Emulsion’ ละอองน้�ำ มันซึง่ จะรวมตัว เป็นฟิล์ม เคลือบริมฝีปากให้อวบอิ่ม โดดเด่น ไม่เหนียวเหนอะหนะ ไฮไลท์ คือ 3 เฉดสีใหม่ Magenta Amplifier, Blue Amplifier และ Yellow Amplifier ที่พร้อมจะพาสาวๆ หลุดออกจากกรอบการทาลิปสติกสีเดิมๆ ได้แล้ววันนี้ที่เคาน์เตอร์ YSL ทุกสาขา
DONT
43
AUGUST 2017
CoN TEn tED
Shirt, Dress, Belt & Shoes JASPAL
CheRmarN Photography PAT PHETTHONG Fashion Editor RATCHAKRIT CHALERMSAN Words BEN WIBOONSIN
The Key To Happiness Is Truly Simple. When You Cannot Change Others, You Just Adapt Yourself To Find The Way To Live Which Suits You The Most.
Dress, Earrings & Shoes JASPAL
การขึน ้ ปก DONT เป็นครัง้ ทีส ่ ขี่ องพลอย-เฌอมาลย์ บุณยศักดิ์ ทำ�ให้เธอครองสถิติการขึ้นปกของเรามากที่สุด ณ ปัจจุบัน พลอยกลั บ มาทำ � งานกั บ เราในครั้ ง นี้ พ ร้ อ มรู ป ร่ า งหน้ า ตาที่ เป๊ะเหมือนเดิม เพิ่มเติมคือผิวแทนนวลเนียน ที่เสริมเสน่ห์ให้เธอดู น่ามองยิ่งขึ้นไปอีก เราเริ่มถ่ายภาพแรกหลังอาหารเที่ยง ก่อนที่เสียงกดชัตเตอร์ ภาพสุดท้ายจบลงภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงถัดมา บทสนทนาระหว่ า งพลอยและผู้ เ ขี ย นเกิ ด ขึ้ น ที่ โ ต๊ ะ อาหาร กลางแจ้ ง ข้ า งหลั ง สตู ดิ โ อถ่ า ยภาพ ตรงหน้ า มี อ าหารอี ส าน หน้ า ตาดี ว างอยู่ ห ลายจาน หลั ง จากตั ก อาหารมาชิ ม สามสี่ คำ � พลอยก็ ว างช้ อ น ก่ อ นจะเริ่ ม ต้ น พู ด กั บ เราถึ ง เรื่ อ งบทบาท การแสดงล่าสุดทีไ่ ด้รบ ั รวมไปถึงชีวต ิ โดยรวมในปัจจุบน ั ทีเ่ ธอบอกว่า มีความสุขและรู้สึกสงบมากขึ้น เมื่อเธอเรียนรู้ศิลปะการใช้ชีวิต ผ่านกาลเวลาว่าสิ่งที่เธอควรยึดเหนี่ยวและปล่อยวางคืออะไร วั น ที่ เ ราเจอกั น พลอยยั ง ง่ ว นอยู่ กั บ การถ่ า ยละครเรื่ อ ง ความรักครั้งสุดท้าย บทประพันธ์ของสุวรรณี สุคนธา นักเขียน ชือ ่ ดัง พลอยรับบท ‘รส’ ตัวละครเอกผูเ้ ป็นแม่เลีย ้ งเดีย ่ วซึง่ มีอาชีพ นั ก วาดภาพประกอบ ที่ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ โศกนาฏกรรมความรั ก ที่พลอยบอกว่า “เป็นละครที่ค่อนข้างสอนเรื่องชีวิตมากทีเดียวค่ะ” ก่อนจะขยายความว่า “รสเป็นนักศึกษาศิลปากรและเป็นนักวาดภาพ เขาจะมีเรือ ่ งราว ความรักของเขา การแต่งงาน การมีครอบครัว การอยากมีชีวิต ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ นิ ย ายเรื่ อ งนี้ เ คยสร้ า งเป็ น ภาพยนตร์ ส องครั้ ง เรื่องแรกแม่ภัทราวดี (ภัทราวดี ศรีไตรรัตน์) เล่น เรื่องที่สอง คุณเหม่เหม ก็ท่านมุ้ยสร้าง แต่พออันนี้เป็นเวอร์ชั่นละคร มันก็จะ ถูกขยายความเป็น 26 ตอน แน่นอนว่ามีการตีความใหม่ เรื่องก็ จะยาวขึ้ น พลอยชอบบทมาก เวลาพลอยเล่ น จะรู้ สึ ก ว่ า โอ้ โ ห้ บทฉลาดมาก ฉลาดกว่ า ที่ พ ลอยคิ ด มาก ในประโยคมั น จะมี ความหมายแฝงตลอดค่ะ พูดคนละเรื่องเลย แต่ว่าความหมาย มั น คื อ อี ก เรื่ อ ง และให้ ก ารศึ ก ษาคนอย่ า งรุ น แรง อ่ า นแล้ ว แบบ คนที่ มี ปั ญ หาเรื่ อ งความรั ก หรื อ มี ค รอบครั ว และมี ปั ญ หาอยู่ มันจะสอนให้เห็นว่า ควรจะอย่างนี้ เธอทำ�อย่างนี้เธอคิดว่าถูกเหรอ มนุ ษ ย์ จ ะมี ค วามที่ ว่ า พอเป็ น แม่ แ ล้ ว คนก็ จ ะมองว่ า เธอต้ อ ง ทำ�ทุกอย่างเพื่อลูก ต้องทำ�ให้ลูกมีความสุข ต้องเห็นแค่ครอบครัว แต่มุมของรสเขาจะแบบว่า ‘ก็ทำ�ไมเป็นแม่แล้วฉันจะหาความสุขให้ ตัวเองไม่ได้ มันไม่ได้อก ี แล้วใช่ไหม’ แล้วคำ�ตอบของแม่นางเอกในเรือ่ ง จะบอกว่า ‘ใช่ ไม่ได้’ มันเป็นเรื่องที่คนเจอแบบนี้บ่อย พอคนมี ครอบครัวก็อยากหาความสุขให้ตวั เอง แต่ตอ้ งทำ�ทุกอย่างเพือ่ ลูกๆๆ” พลอยบอกว่าเธอได้รับการติดต่อให้รับบทรสเมื่อปีก่อน แต่ เพราะยังติดสัญญาช่อง ทำ�ให้ต้องเลื่อนมาเปิดกล้องปีนี้ “เขาติดต่อมาปีที่แล้ว ตอนนั้นยังติดสัญญาช่องอยู่ ก็บอก
Audiences like seeing me in controversial roles such as a beautiful alcoholic woman who has many husbands or someone who uses sex as a tool to get things she wants but I’m done with those. I want to try something new. I want to work on characters that I’ve never tried before. พี่ฉอด (สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา) ว่าหนูยังเปิดกล้องไม่ได้ พี่ฉอดก็บอกไม่เป็นไรจะรอ ดีใจที่เขารอมาเกือบปีก็ได้เล่น ถ้าไม่รอ พลอยก็คงเสียโอกาสดีๆ ไปอีก” โอกาสดีๆ ที่เธอว่า นอกจากจะหมายถึงการได้ร่วมงานกับ ทีมงานคุณภาพแล้ว พลอยยังหมายถึงการได้กลับมารับบทบาท ของตัวละครจากเจ้าของบทประพันธ์ที่เธอชื่นชมเป็นอย่างยิ่ง “ตอนเด็กๆ พลอยเคยเล่นเรือ ่ งน้�ำ พุ คุณสุวรรณี เป็นนักเขียน ชื่ อ ดั ง เป็ น คนเก่ ง เป็ น นั ก เขี ย นในยุ ค นั้ น ที่ เ ขี ย นเรื่ อ งที่ ค น ไม่กล้าพูดถึงแต่เขากล้าเอาชีวิตตัวเองมาเขียน อย่างเรื่องน้ำ�พุ เรื่องความรักครั้งสุดท้ายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตรักของเขาด้วย ที่เขาเอามาเป็น inspiration ในการเขียนบท ดีใจที่เขารอ” ชีวต ิ ทีข ่ ลุกอยูก ่ บ ั อาชีพนักแสดงมากว่าครึง่ ชีวต ิ จากนักแสดง รุ่นเล็ก ก้าวเข้าสู่รุ่นกลาง แน่นอนว่าจะเติบโตเข้าสู่รุ่นใหญ่แบบ เปี่ ย มคุ ณ ภาพ ทุ ก วั น นี้ พ ลอยยั ง คงสนุ ก และมี ค วามสุ ข กั บ การทำ � งาน ตราบใดก็ ต ามที่ เ ธอได้ เ จอกั บ ความท้ า ทายใหม่ ๆ ผ่านตัวละครที่เธอสวมบทบาท “ถ้ามันมีอะไรนำ�เสนอแปลกๆ ก็อยากจะเล่นนะคะ แต่ส่วนมาก คนชอบให้เล่นบทแรงๆ คนอยากให้พลอยเล่นทองเนือ ้ เก้า อยากให้ เล่นพริ้งคนเริงเมือง แต่เฮ้ยจริงๆ เราก็เล่นคอมเมดี้ได้นะ อย่าง คิดถึงวิทยา เราก็เล่นได้คนก็ชอบ พลอยอยากเล่นอะไรแบบนี้อีก ดูเป็นคนธรรมดาคนหนึ่ง พลอย ไม่ใช่ว่าเอะอะอะไรก็โอ้โห สวย มีหลายสามี ใช้เซ็กส์นี่แหละเอาเปรียบคนอื่น บทอะไรแบบนี้มันเบื่อ เราก็อยากทำ�อะไรใหม่ๆ อยากได้คอนเทนต์ใหม่ๆ บ้าง ก็คงเลือก อะไรประมาณนี้ที่ไม่เคยทำ�มาก่อน ส่วนบทแน่นอนเราก็ต้องเลือก ผู้จัดเราก็ต้องเลือก มันมีอะไรหลายๆ อย่างรวมกัน แต่ส่วนมาก ไม่ได้เลือกอะไรมาก พลอยดูว่าพลอยเคยทำ�มาหรือยัง เหมาะสม กั บ เราไหม มั น คล้ า ยกั บ สิ่ ง ที่ เ ราเคยทำ � หรื อ เปล่ า เพราะละคร บางเรื่องบทประพันธ์ก็ต้องยอมรับว่ามันคล้ายคลึงกันอยู่ ก็ต้อง ดูว่าเราเหมาะสมที่จะเล่นบทนี้ไหม คือบางทีคนอื่นเขามองว่าเรา เหมาะสม พลอย เฌอมาลย์ ทำ�ได้ แรงๆ หวีดๆ เธอทำ�ได้อยู่ละ เราก็มองว่าก็ใช่ แต่เราก็อยากทำ�อะไรที่แตกต่างกว่านี้ไหม เพราะ ไหนๆ ก็ ไ ด้ เ ล่ น ละครแล้ ว ในชี วิ ต นี้ อ ยากทำ � อะไรที่ เ ราไม่ เ คยทำ � เดี๋ยวตอนแก่มันก็หยุดแล้ว ถ้ามีโอกาสได้ทำ�อะไรแปลกๆ ก็อยาก ทำ�อยู่ พลอยไม่ติดเรื่องเล่นเป็นแม่ ไม่ติดเรื่องเล่นเป็นฆาตกร หรือไม่สวย คือไม่ แต่ว่าก็จะขอดูบทเป็นอย่างแรกว่ามันสำ�คัญ ยังไง เราได้ทำ�อะไรบ้าง” บุคลิกภาพแรงๆ ของตัวละครทีค ่ นคาดหวังจะได้เห็นจากพลอย มีส่วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์อย่างยิ่งกับภาพลักษณ์ในชีวิตจริงที่คน ส่วนใหญ่ ‘แปะป้าย’ ให้พลอยมาแต่ไหนแต่ไร “พลอยว่านั่นคือกรอบที่เขาตีไว้ให้พลอยไง”
Dress & Earrings JASPAL
Dress & Shoes JASPAL
People has created certain images for me and they stick with that idea. Chermarn in their head is a bad - tempered person. Actually I’m a chill person and I really care about others’ feelings but I just don’t say it out loud. I don’t think I’m such a peculiar person. I’m just like other people. I’m just an ordinary person but what I do for a living makes people keep an eye on my every move.
เฌอมาลย์ บุณยศักดิ์ ที่อยู่ในกรอบดังกล่าวถูกผูกติดกับ ความพลุ่งพล่านทางอารมณ์ ซึ่งเจ้าตัวบอกว่าแตกต่างจากสิ่งที่ เธอมองตัวเองอย่างสิ้นเชิง “สังคมสร้างภาพในแบบทีค ่ ด ิ ว่า พลอย เฌอมาลย์ เป็นแบบนี้ แล้วก็ฝังหัวเขา โอ๊ย! เหวี่ยง วีน ปากจัด ฉันอยากจะให้แกเจอ คนปากจัดกว่าฉัน มันมีเยอะมาก” พลอยพูดติดตลก “จริ ง ๆ แล้ ว พลอยเป็ น คนใส่ ใ จความรู้ สึ ก คนอื่ น มากนะ เป็นคนใส่ใจแต่ไม่พูด แต่ใส่ใจมาก พลอยไม่ได้ประหลาดไปจาก คนอื่น ก็ธรรมดา แต่ด้วยชีวิตเราเป็นนักแสดงก็เลยถูกจับจ้อง มากเป็นพิเศษ มากกว่าคนอืน ่ ก็คนธรรมดาคนหนึง่ เป็นคนชิลมาก” พลอยบอกว่าเธอไม่ได้เป็นคนแรง แต่เป็นคนตรง “คือพลอยเป็นคนที่นิสัยผู้ชายหน่อย ถ้าไม่ชอบก็บอกไม่ชอบ แต่ ไ ม่ เ คยพู ด จารุ น แรง นอกจากว่ า มั น สุ ด แล้ ว มั น มี คำ � รุ น แรง ไปบ้ า ง แต่ มั น ก็ คื อ เขาตี ก รอบมาให้ คนยั ง ไม่ รู้ จั ก เราทั้ ง หมด ชาวบ้ า นอี ก เยอะแยะเลย ที่ ม องว่ า เราขี้ เ หวี่ ย ง แรง แรงอะไรวะ เกิดมายังไม่เคยตบใครสักคนเลย” พูดแล้วเธอก็หัวเราะเบาๆ “ยังไม่เคยมีเรื่องเอาคลิปใครไปชงไปแฉ หรือว่าไปชี้หน้าด่า ไปเถียงกับเขา พลอยยังไม่ถึงขั้นสุดขนาดนั้น แต่มันกลายเป็น ภาพลักษณ์ที่ถูกจัดสรรมาให้เราแล้วตั้งแต่เด็กๆ เลยทำ�อะไรไม่ได้ ก็ได้แต่ปล่อย” เมื่ อ สิ่ ง ที่ เ ธอคิ ด กั บ สิ่ ง ที่ เ ธอพู ด เป็ น เรื่ อ งเดี ย วกั น คำ � พู ด ตรงไปตรงมาของพลอย ที่เกิดขึ้นจากการถูกจี้ถามเรื่องเดิมซ้ำ�ๆ จึงอาจก่อให้เกิดความรู้สึกระคายหูของผู้ฟัง และนั่นคือที่มาของ ‘กรอบ’ ที่สังคมผูกติดกับตัวเธออย่างเหนียวแน่น “คนทีถ ่ ามอะ คือมันมีหลายแบบ มันไม่ได้ถามด้วยใจ ถามด้วย ความรู้ สึ ก ถามแบบก็ อ ปปี้ คำ � ถามกั น มา copy paste copy paste เหมือนถามเพื่อให้เราแว้ด เพื่อให้ได้เรื่อง พอบอกไม่รู้ไม่เห็น ก็เกลียดกูอีก” เธอหัวเราะให้กับเรื่องตลกร้ายที่เธอหลีกลี่ยงไม่ได้ “พลอยเงียบแต่ก็ถูกจี้ ก็จี้ อ้าว...ไม่พูด แม่งหยิ่ง จะแบน แม่ง พอเงียบก็ด่า พูดนิดหนึ่งก็เอาไปตีความ พลอยแขวะ แขวะอะไร ไม่ ไ ด้ แ ขวะเลย พลอยเป็ น คนมี ค วามอดทนสู ง ด้ ว ยนะ สู ง สุ ด ๆ ถ้าโดนตี 1 ทีพลอยก็ให้ตี 2 3 4 5 พลอยก็ให้ตีอยู่ แต่ถ้า 10 ที เนี่ย พลอยซัดเลย ถ้าพลอยปล่อยให้ตี 10 ทีไม่เลิก กูซัดมึงตาย เออซัดตายด้วยคือเอาตายเลย ถือว่ายอมแล้วนะ ถ้ายังไม่หยุด พลอยต่อยคว่ำ�อย่างเดียว เป็นคนแบบนี้ โหด โหดลึกๆ แต่ว่าจะ มีความอดทนสูง ถ้าไม่ถึงจุดที่สุดๆ ก็จะไม่พูดค่ะ แต่เดี๋ยวนี้คนก็ รู้แล้วว่าอะไรมันคืออะไร ก็นิ่งๆ ไป เพราะมันกลายเป็นว่า คนที่ทำ� พลอยก่อนหน้านี้ อยู่จุดไหนแล้วก็ไม่รู้ตอนนี้ ดีดไปไหนแล้วก็ไม่รู้ เข้าใจไหม เหมือนกรรมจริงๆ อะ วันที่เราไม่รู้เรื่อง แล้วกดเรา เอามือกด เอาตีนเหยียบ รู้เลยว่า เออ...ปล่อยให้ทำ�ไป อดทนๆๆ เพราะพลอยเชื่ออย่างเดียวว่าคนเราถ้าทำ�ความดีมันก็จะมีพื้นที่อยู่ ในสังคม” พลอยเชื่อว่าความสงบย่อมจะสยบความเคลื่อนไหวได้เสมอ
Blouse, Bag, Earrings, Skirt & Shoes JASPAL
Dress & Hat JASPAL
Dress, Belt, Shoes & Bag JASPAL
“วิธีที่พลอยปกป้องตัวเองก็คือไม่สัมภาษณ์ มีประเด็นอะไร ไม่สะดวกค่ะ ไม่รู้ค่ะ ถามคนอื่นเอา ไม่สะดวกค่ะ ถามไม่พูด มันก็ กลายเป็ น ว่ า เรื่ อ งอะไรที่ เ หมื อ นยอมให้ ค นหาเรื่ อ งเรา แต่ ไ ม่ มี อะไรโต้ ต อบกลั บ ไปสั ก คำ � เดี ย ว มั น ก็ ก ลายเป็ น ว่ า เหมื อ นหมา เห่ากำ�แพง เดี๋ยวมันก็เหนื่อยเงียบไปเอง เราก็อดทน อดทนในที่นี้ มันก็แบบสุดๆ ยอมให้มันด่า ยอมให้มันว่า เดี๋ยวก็จบ” เมื่อจัดการกับความรู้สึกของตัวเองได้ สภาพแวดล้อมจะเป็น อย่างไรก็ไม่ใช่ปัญหาหนักเกินที่จะรับมือ “คิดว่าอย่าเอาตัวเองไปอยู่ตรงนั้นดีกว่า เป็นคนพูดตรง เป็น คนโต้ตอบกลับบ้างอะไรบ้าง มันก็โอเคเข้าใจ เรามีสิทธิ์ เราเป็น มนุษย์อะนะคะ แต่วา่ บางทีเลือกทีจ่ ะเบลอๆ ไปก็ดก ี ว่า ไม่มข ี า่ ว ไม่มี กระแส แต่ว่าดีกว่า สบายใจกว่า ไม่ต้องไปมีอะไรต่อเนื่อง ให้มัน จบๆ ไป เพราะว่าเราอยู่ตรงนั้นมาเยอะแล้ว มันเหนื่อย แล้วเราก็ แก่แล้วด้วยเนอะ อยู่เงียบๆ แล้วก็ทำ�งาน ก็ยังมีทำ�งานอยู่ ชีวิต ก็โอเคดี อาจจะไม่ไปที่ที่มีคนรุมสัมภาษณ์ มีคนมาถ่ายรูป หรือ ออกอีเวนต์ดูเป็นดาราเหมือนเมื่อก่อน พลอยว่า พลอยโอเคนะ ที่เป็นอย่างนี้ มันเหมือนมันชัดเจนแล้วว่า วันนี้เราได้ทำ�ในสิ่งที่เรา อยากทำ�มากที่สุดก็คือเรื่องของการแสดง โดยที่ไม่ต้องไปเหนื่อย เพราะพลอยออกอีเวนต์พลอยเหนื่อย พลอยไม่อยากสัมภาษณ์ ออกอีเวนต์ไม่มีความสุขนะ เหนื่อย เพราะไม่รู้ว่าจะมีใครเอามีด กี่ เ ล่ ม ม า ยื น แ ท ง อ ยู่ ไ ป แ ล้ ว ก็ เ ห นื่ อ ย ใ จ ไ ป แ ล้ ว ก็ มี เ รื่ อ ง แ ต่ ต อ น นี้ คื อ เ ส้ น ท า ง พ ล อ ย มั น ชั ด เ จ น ขึ้ น ก็ คื อ ทำ � ง า น อย่างเดียว ก็แฮปปี้มากกว่าค่ะ” เมื่อไม่ต้องใช้พลังงานเพื่อต่อสู้กับสิ่งเร้าภายนอกที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ พลอยก็มีพลังงานและกำ�ลังใจเพียงพอเพื่อมอบให้แก่ คนที่เธอรักและสิ่งที่เธอสนใจ “พลอยรู้ จั ก คนเยอะ ที่ ผ่ า นมาแคร์ ค นเยอะแล้ ว เหนื่ อ ย คนเหล่ า นั้ น ทำ � ให้ พ ลอยเหนื่ อ ย ตอนหลั ง ก็ เ ลยคิ ด ว่ า เลื อ กแคร์ เฉพาะคนที่เป็นครอบครัว คนที่เขารู้สึกดีกับเราด้วยจริงๆ ดีกว่า บางทีมากคนมันมากความจริงๆ เราไปบังคับให้ทุกคนมารักเรา เหมือนทีค ่ นในครอบครัวรักเรา เหมือนทีเ่ พือ ่ นรักเรา เราคงไปทำ�ให้ คนเหล่านั้นรู้สึกไม่สำ�เร็จหรอก มันก็ต้องมีคนไม่ชอบหรืออาจจะ ไม่เข้าใจในตัวเราบ้าง หรือบางทีอาจจะมีวันที่เราเคยไม่ดีกับเขา
ทำ�ให้เราดีขน ึ้ แต่พลอยชือ ่ ว่าเราต้องหาเหตุผลและฟังใจตัวเองให้ดี เหมือนเป็นการตั้งสติ” นอกจากจะได้ฟังเสียงหัวใจตัวเองแล้ว พลอยยังรู้สึกปลอดภัย ที่ได้ปลดปล่อยและระบายความรู้สึกออกมาตามธรรมชาติ โดย ไม่ต้องพะวงว่าจะถูกตัดสิน “ไม่ชอบร้องไห้ให้คนเห็น เพราะคนไม่เชื่อ คนไม่สงสาร ก็เลย ไม่อยากร้องไห้ให้ใครเห็น มันเป็นความรู้สึกที่ว่าพลอยไม่อยาก จะร้อง แต่มน ั ร้องๆ แบบไม่หยุด เพราะมันอึดอัด มันทับๆ มานานมัน เลยพรั่ ง พรู อ อกมาไม่ ห ยุ ด เลย แล้ ว ก็ จ บ แค่ น้ั น ก็ โ อเค มั น ดู ไม่ เ ป็ น ไรนะ ไม่ มี ใ ครเห็ น พลอยเป็ น คนที่ ถ้ า เรารู้ สึ ก ไม่ ส บายใจ เราควรจะอยู่กับตัวเองก่อน รักษาความรู้สึกตัวเองให้โอเคแล้ว ค่อยออกมาข้างนอก ไม่อยากไปนั่งเหม่อลอยตามคาเฟ่ มันดู ไม่สวย” เธอหัวเราะ “ไปลอยอยู่ข้างนอกไม่มีประโยชน์ ก็ต้องจัดแจงความรู้สึก ของตัวเอง” ความเครี ย ดที่ ทั บ ถมในจิ ต ใจของเธอซั บ ซ้ อ นเกิ น กว่ า ที่ จ ะ แจกแจงรายละเอียด “หลายเรื่องค่ะ มันเป็นเรื่องกดดันมา 4-5 ปี แล้วเก็บกด แสดงออกไม่ ไ ด้ ถ้ า แสดงความรู้ สึ ก คนก็ จ ะเอาเรื่ อ งเหล่ า นั้ น มาทำ�ร้ายเรา ก็เลยเก็บ หรือว่ามันเป็นเรื่องที่ผ่านมาแล้ว แต่มันมี ผลกระทบถึงเราทุกวันนี้ คือเป็นคนคิดแต่ไม่ควรคิดด้วยซ้ำ� เพราะ ว่าผ่านไปแล้ว แต่ว่าบางทีมันเหมือน after shock ที่มันยังเจ็บอยู่ บางทีความรู้สึกนี้มันก็พุ่งเข้ามา แต่พลอยก็จะจัดการกับมันว่า มันผ่านมาแล้วนะ เดินหน้าๆ ส่วนมากจะเอาสิ่งเหล่านี้ ทั้งหมดนี้ มาผลั ก ดั น ตั ว เองไปจุ ด ที่ มั น สู ง กว่ า นี้ ให้ มั น ดี ขึ้ น ทำ � งาน เอาความเสียจงเสียใจมาทำ�ตัวเราให้ดี ทำ�หน้าทีใ่ นการเป็นนักแสดง ทำ�หน้าที่ในการเป็นลูกของแม่ หลานของยาย คือทำ�ตัวเองให้มันดี ใครจะว่าอะไรช่างแม่ง คือเอาแรงผลักดันมาทำ�สิ่งดีๆ เพราะว่า แรงโกรธทีม ่ น ั เป็นมุมมืดของเรา พลิกมาเป็นเรือ ่ งทีด ่ ี ไม่ใช่พลิกมัน ให้เลวร้ายกว่าเดิม” พลอยตั้งใจและให้ความสำ�คัญกับงานทุกชิ้นที่เธอเลือกแล้ว ว่าจะทำ� เพราะรู้ดีว่าผลงานของเธอจะคงอยู่ไปอีกนานเท่านาน “ในฐานะนักแสดงเนี่ย มันจะถูกบันทึกไว้ตลอด มันจะไม่มีการ
I enjoy spending quality time with my family and friends. เขาเลยเกลียดเราฝังหุ่นไปเลย มันก็มีหลากหลาย เพราะเราเจอ คนเยอะ แต่พลอยก็เออๆ โอเค เอาปัจจุบัน ประมาณนั้น” แม้เลือกที่จะไม่แคร์ แต่ก็มีหลายๆ ครั้งที่เธอรู้สึกว่าจะยากที่จะ ทำ�ใจให้ไม่หวั่นไหว “บางทีสถานการณ์ที่ทำ�ให้ใจเราไปรู้สึกมากมันจะเริ่มไม่ไหว พอเรารู้สึกว่าไม่ไหวเราก็เริ่มเสียใจ เราก็ต้องกลับมามองที่เหตุผล แล้วว่ามันเป็นยังไง เพราะอย่างนี้ๆ โอเครู้สึกได้ มนุษย์เกิดมา ถู ก สร้ า งเพื่ อ ให้ มี รั ก โลภ โกรธ หลง อั น นี้ คื อ สิ่ ง พิ เ ศษที่ มนุ ษ ย์ มี สั ต ว์ ไ ม่ มี แต่ ถ้ า ไม่ ค วบคุ ม นะ ปล่ อ ยใจไป มั น เตลิ ด มั น เครี ย ดอะ เป็ น คนเครี ย ดแล้ ว จะเครี ย ดลึ ก บางที ก็ เ ลยต้ อ ง ควบคุม” เมือ ่ ไรก็ตามทีเ่ ธอรูส ้ ก ึ ‘ดาวน์’ เธอเลือกทีจ่ ะอยูค ่ นเดียว เพือ ่ ให้ จิตใจและร่างกายได้เยียวยาตัวเอง ระดับความเครียดและหดหู่ที่ เกิดขึ้นแปรผันตรงกับระยะเวลาที่เธอต้องการพื้นที่ส่วนตัว “ถามนี่ดิ” พลอยหันไปหาผู้ช่วยส่วนตัว ซึ่งนั่งอยู่ข้างๆ เพื่อ เป็นการยืนยันว่า เธอพร้อมทีจ่ ะปิดระบบการสือ ่ สารของตัวเองเสมอ เมื่อต้องการเวลา ‘พัก’ ร่างกายและจิตใจเต็มรูปแบบ “ไม่ เ ห็ น หลายวั น ไม่ มี ใ ครรู้ ด้ ว ย ส่ ว นมากพลอยจะเก็ บ ตั ว อยู่ในบ้านไม่ไปไหนด้วย อยู่บ้าน นั่งนิ่งทั้งวันเลย นั่งนิ่งแบบ... เงียบ ว่างเปล่า หัววิ้ง เครียด น้ำ�ตาไหลเป็นชั่วโมง บางทีก็ร้องไห้ ตั้งแต่บ่ายสามถึงเที่ยงคืนไม่หยุด พอหยุดแล้วก็ลอยโล่ง ไม่อยาก คุยกับใคร เป็นอารมณ์แบบนั้นมากกว่า คือปล่อยเพราะไม่อยาก ออกไปข้างนอก ออกไปข้างนอกก็รู้สึกว่า เราอาจได้ยินสิ่งที่เราไม่ อยากได้ยน ิ หรือว่าออกไปข้างนอก มันก็โอเค ฟังคนมากขึน ้ อาจจะ
ลบหายไปอีกแล้ว เพราะว่าในยุคของอินเทอร์เน็ตด้วย Youtube ด้วย สิง่ อะไรทีเ่ ราพูด สิง่ ทีเ่ ราทำ� งานทีท ่ �ำ เราสร้างสรรค์มา มันก็จะ อยู่ไปตลอด เราตายไปแล้วมันก็ยังอยู่ ทำ�ให้พลอยรู้สึกว่า ชีวิตสั้น ศิ ล ปะยื น ยาว ชี วิ ต คนมั น สั้ น มาก เราไม่ รู้ ว่ า เราจะตายเมื่ อ ไหร่ เราจะไม่ ไ ด้ ทำ � สิ่ ง ที่ เ รารั ก เมื่ อ ไหร่ แต่ ง านที่ พ ลอยทำ � จะอยู่ ไ ป อีกนาน อีก 100 ปี ถ้าโลกยังไม่แตก ก็จะได้ดูหนังพลอยอยู่ แต่พลอยกลายเป็นอะไรไปแล้วก็ไม่รู้ เป็นแบคทีเรียอยู่ไหนแล้ว ก็ ไ ม่ รู้ แต่ ง านที่ เ ราสร้ า งสรรค์ ไ ว้ มั น อยู่ ต ลอด มั น ไม่ ไ ด้ ห ายไป จากโลกนี้ ผลงานฉันจะยังอยู่ แม้ฉน ั จะไม่อยูแ่ ล้ว เพราะฉะนัน ้ พลอย คิดว่า พลอยจะสร้างงานศิลปะในสาขาอาชีพพลอยให้ดีที่สุด ” พ้นไปจากเรื่องงาน การได้มีเวลาคุณภาพร่วมกับครอบครัว และเพือ ่ น การได้เดินทางไปยังทีท ่ เี่ ธอโปรดปราน คือสิง่ ทีท ่ �ำ ให้พลอย มีความสุขอย่างยิ่ง “อยู่กับครอบครัว เพื่อนๆ หรือไปทะเล ก็เป็นอะไรที่กรี๊ด มาก มีความสุขอยู่แค่นี้ ความสุขของพลอยง่ายมาก ไม่ได้ยาก แค่ถา้ เราไม่ถก ู รบกวนบ่อยๆ ก็แบบโล่ง ช่วงก่อนเหมือนถูกรบกวน บ่อยแล้วหน้ามันอมทุกข์ ทำ�ไมว้า... เงินก็มี งานก็ดี ชีวิตคนก็ให้ ความสนใจ อะไรทุกอย่างดี ทำ�ไมมันทุกข์จังเลยว้า... อะไรแบบนี้ ก่อนหน้านี้ทุกข์มาก ตอนนี้ก็คือเราปรับเปลี่ยนเส้นทางของตัวเอง เราแก้ไขตัวเองว่าเราหลีกเลีย ่ งเรือ ่ งพวกนีไ้ ม่ได้ เราต้องเจอ เราต้อง ปะทะ เอ้า ก็หาทางที่ไม่ต้องปะทะดิ จะมาหวังให้คนอื่นมาเข้าใจเรา มันเป็นไปไม่ได้ที่จะไปบอก เราเลยต้องหาเส้นทางของตัวเองที่มันดี กับทุกคน และไม่ทำ�ให้ตัวเองต้องเจ็บ ไม่ทำ�ให้ตัวเองต้องเสียหาย” พลอยสรุปสั้นๆ อย่างคนที่เข้าใจความเป็นไปของชีวิต
Coat & Necklace JASPAL
I like taking trip to the beach. My happiness set point is really within reach.
MODEL: CHERMARN BOON YASAK MAK EUP ARTIST: POK SUK AROM HAIR ST YLIST: SOMJADE K LOMNOI FASHION ASSISTA N TS: K ASIDIT SRIRIT TIPR ADIT, THUMMAR AT CHUE A JAROEN PHOTOGR APHER ASSISTA N T: KOMTHAT NINPA N ST YLE ASSISTA N T: WA N NISA SOMBOON
FEATURE
Bangkok CityCity Gallery ที่เพิ่งเปิดกิจการเมื่อปลาย พ.ศ. 2558 นั้ น เป็ น ที่ รู้ จั ก ภายในเวลาอั น รวดเร็ ว จากการจั ด นิทรรศการแสดงผลงานของศิลปินที่หลากหลาย แกลเลอรีแห่งนี้ ผสมผสานสื่อต่างๆ ในการนำ�เสนองานจิตรกรรม ประติมากรรม วิ ดี โ อ งานจั ด วาง และอื่ น ๆ โดยเปิ ด กว้ า งให้ ศิ ล ปิ น ได้ ท ดลอง และเล่นกับพื้นที่ของแกลเลอรี อีกทั้งให้ผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ กั บ งานและศิ ล ปิ น ได้ แม้ จ ะไม่ ไ ด้ เ ป็ น นั ก สะสมหรื อ ผู้ ที่ มี ค วามรู้ เฉพาะทางด้านศิลปะก็สามารถชมงานอย่างได้อรรถรสและเพลิดเพลิน นอกเหนือไปจากในกรุงเทพมหานครแล้ว ในต่างจังหวัดก็มีพื้นที่ ทีน ่ �ำ เอาศิลปะเข้าไปอยูร่ ว่ มกับชุมชน เช่น MAIIAM Contemporary Art Museum จ.เชียงใหม่ จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียนและ งานสะสมส่วนตัว หอศิลป์ร่วมสมัยดีคุ้น เมืองศิลปะที่ จ.ราชบุรี พื้นที่สำ�หรับให้ความรู้และส่งเสริมศิลปะร่วมสมัยของชุมชน นอกจากพื้ น ที่ ศิ ล ปะแบบเป็ น สถาบั น และทางการ ทุ ก วั น นี้ นิทรรศการหรือการจัดแสดงงานศิลปะไม่จำ�เป็นต้องจำ�กัดอยู่แค่ ในหอศิลป์หรือแกลเลอรีเท่านั้น เช่น เทศกาลเมืองศิลปะ ‘บุกรุก’ จั ด แสดงงานศิ ล ปะตามพื้ น ที่ ส าธารณะบนผนั ง อาคารและพื้ น ที่ ศิลปะในลักษณะศิลปะท้องถนน Hotel Art Fair ทีเ่ ราได้เห็นศิลปิน นำ�ผลงานศิลปะและออกแบบไปแสดงและจำ�หน่ายในโรงแรมเป็น เวลาสองวัน The Ferry Gallery การแสดงผลงานวิดีโอศิลปะบน เรือข้ามฟากแม่น้ำ�เจ้าพระยา
Art For All
THAILAND’S ART SCENE IS GETTING MORE AND MORE EXCITING WITH ALTERNATIVE ART SPACES WHICH BRING ARTISTS AND ART LOVERS TOGETHER. Words ALISA SANTASOMBAT Photography TOP.PONPISUT
แม้คนที่ไม่ได้อยู่ในแวดวงศิลปะ แต่เป็นผู้ที่สนใจงานศิลปะหรือติดตาม งานศิลปะอยู่เป็นประจำ� ย่อมเห็นพื้นที่ทางศิลปะใหม่ๆ รวมถึงกิจกรรม ทางศิลปะหลากหลายรูปแบบเกิดขึน ้ ในประเทศไทย ย้อนกลับไปเมือ ่ สักสิบปี ทีแ่ ล้ว หากต้องการชมงานศิลปะ เราคงต้องไปทีห ่ อศิลป์ใหญ่ๆ ซึง่ มีอยูไ่ ม่กี่ แห่งในกรุงเทพมหานคร เช่น หอศิลป์พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ หอศิลป์เจ้าฟ้า หอศิลป์ตามมหาวิทยาลัยต่างๆ หรือตามแกลเลอรีเอกชน เป็นหลัก แม้หอศิลป์หรือแกลเลอรีจะมีจำ�นวนไม่น้อย แต่อาจไม่เพียงพอ ต่อจำ�นวนศิลปินและผลงานที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละปี อีกทั้งการเข้า ชมงานศิลปะตามสถานทีท ่ ด ี่ เู ป็นสถาบันเหล่านี้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ แกลเลอรี ที่มีจุดประสงค์หลักเพื่อขายผลงานศิลปะ อาจเป็นที่สนใจของคนเพียง เฉพาะกลุ่ ม ที่ อ ยู่ ใ นแวดวงศิ ล ปะอย่ า งเช่ น ศิ ล ปิ น และนั ก สะสมงานศิ ล ปะ ทุกวันนี้ พืน ้ ทีท ่ างเลือกทางศิลปะทีม ่ ม ี ากขึน ้ ไม่เพียงแต่เปิดโอกาสให้ศล ิ ปิน ได้แสดงผลงานเท่านั้น ผู้ชมก็มีโอกาสได้ชมงานศิลปะที่หลากหลายและ เข้าถึงง่ายขึ้นอีกด้วย ในบรรดาพื้ น ที่ ศิ ล ปะที่ เ ปลี่ ย นพฤติ ก รรมการชมงานศิ ล ปะของ คนกรุ ง เทพฯ หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร หรื อ BACC (Bangkok Art and Culture Centre) ที่เปิดเมื่อ พ.ศ. 2551 ซึ่งตั้งอยู่ ใจกลางเมือง ณ สีแ่ ยกปทุมวัน ดำ�เนินการโดยกรุงเทพมหานคร คือหนึง่ ใน พื้นที่ศิลปะแห่งแรกๆ ที่มีห้องนิทรรศการรองรับผลงานศิลปะของศิลปิน ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันมาจัดแสดง และยังมีกิจกรรมต่างๆ ดึงดูดคนทั่วไปจากแหล่งช้อปปิ้งใจกลางเมือง ที่ ผ่ า นมาให้ แ วะมาชมงานศิ ล ปะอย่ า งไม่ ข าดสาย ก่ อ ให้ เ กิ ด การเสวนา แลกเปลี่ ย นความเห็ น ระหว่ า งคนทำ � งานศิ ล ปะด้ ว ยกั น และบุ ค คลทั่ ว ไป ทำ�ให้คนกรุงเทพฯ ตระหนักว่าศิลปะไม่ใช่เรือ ่ งไกลตัว พิพธิ ภัณฑ์ศล ิ ปะไทยร่วมสมัย หรือ MOCA (Museum of Contemporary Art) รวบรวมงาน จิตรกรรมและประติมากรรมร่วมสมัยของศิลปินไทยตลอดเจ็ดทศวรรษ ที่ผ่านมาและและศิลปินต่างประเทศ แม้งานศิลปะเหล่านี้จะเป็นงานสะสม ส่วนตัวของบุญชัย เบญจรงคกุล แต่ก็เปิดให้คนทั่วไปที่สนใจเข้าชมได้
ALTERNATIVE SPACES FOR ART อาร์ตสเปซคือพืน ้ ทีศ ่ ล ิ ปะทางเลือกทีม ่ บ ี ทบาทมากในการทำ�ให้ ศิลปะเป็นสิง่ ทีเ่ ข้าถึงได้ส�ำ หรับคนทัว่ ไป นอกเหนือไปจากหอศิลป์หรือ แกลเลอรีที่มักจัดแสดงงานของศิลปินที่มีชื่อเสียง อาร์ตสเปซเป็น พืน ้ ทีท ่ เี่ ปิดกว้างสำ�หรับศิลปินหน้าใหม่หรือแม้แต่นก ั เรียนนักศึกษา ศิลปะให้สามารถนำ�เสนอผลงานและความคิดอย่างเปิดกว้างและ มีอิสระ แม้อาร์ตสเปซเหล่านี้บางแห่งอาจจะไม่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก เทียบเท่าหอศิลป์หรือแกลเลอรีใหญ่ แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่าผลงานที่ พื้นที่เหล่านี้จัดแสดงไม่ได้มีคุณภาพด้อยไปกว่าที่อื่นๆ แต่อย่างใด หนึง่ ในอาร์ตสเปซทีม ่ ก ี ารแสดงงานสม่�ำ เสมอนับตัง้ แต่กอ ่ ตัง้ เมือ ่ พ.ศ. 2555 คือ Speedy Grandma ทีด ่ แู ลโดย อัญชลี อนันตวัฒน์ เป็ น ผู้ จั ด แสดงผลงานซึ่ ง มี ทั้ ง ที่ เ ธอคั ด เลื อ กมาเองและที่ ศิ ล ปิ น ส่งผลงานเข้ามาให้เลือก พื้นที่ศิลปะแห่งนี้เกิดจากการที่อัญชลีไป ศึกษาต่อทีอ ่ อสเตรเลียและเห็นวงการศิลปะในบรรยากาศทีเ่ ปิดกว้าง และมีอส ิ ระซึง่ ไม่จ�ำ กัดเฉพาะศิลปินทีม ่ ช ี อ ื่ เสียงเท่านัน ้ “ทีน ่ น ั่ มีอส ิ ระดี ในแง่ทวี่ า่ เขาอยากทำ�อะไรเขาก็ท� ำ บางทีกไ็ ปยืมสเปซเพือ ่ นแล้วก็โชว์ เป็นอีเวนต์บ้าง บางทีโชว์ก็มีแค่สัปดาห์เดียวหรือสองสัปดาห์ แล้ว มันก็กลายเป็นสตูดโิ อให้ sharing studio แล้วก็มท ี �ำ ดนตรี คือทีน ่ น ั่ ค่อนข้างมีอท ิ ธิพลกับเราเพราะว่าเขาค่อนข้างไม่กลัวทีจ่ ะลองทำ�อะไร พวกนี้ แบ็กกราวด์เราก็จบกราฟิกมา แล้วพอไปเรียนแอนิเมชั่น ทีน ่ น ั่ จริงๆ อยากทำ�งานศิลปะแต่ไม่เคยกล้าทำ� แบบอยากทำ�อะไรก็ท�ำ ก็เลยได้ไอเดียนั้นมา เราชอบด้วย ไอ้ความอยากทำ�อะไรก็ท�ำ มันก็ ทำ�ให้สนุก พอคิดว่าจะเปิดอันนี้ มันก็มีด้วยเรื่องที่ว่า เฮ้ย ตอนนั้น มันมีแต่แกลเลอรีที่ใหญ่ๆ แล้วคนเป็นศิลปินต้องพยายามเข้าไป แสดงที่แกลเลอรีพวกนั้นอย่างเดียวเหรอ ก็เลยอยากให้ตรงนี้ได้ โชว์งานของใครก็ไม่รู้ คนทีเ่ ราชอบงาน แล้วก็เชิญเขามาแสดงงาน อยากดูงานที่เราอยากดู ก็เลยเปิดขึ้นมา หลักๆ ก็เป็นเหมือนว่า เราสนับสนุนตัวศิลปินหน้าใหม่ แล้วก็อยากได้งานที่อยากทำ�อะไร ก็ท�ำ ” อัญชลีกล่าวถึงแนวคิดเริม ่ แรกของการเปิดอาร์ตสเปซแห่งนี้ ส่วนการเลือกงานศิลปะมาจัดแสดง อัญชลีไม่ได้เจาะจงหรือกำ�หนด ตายตัวว่าต้องเป็นศิลปินประเภทไหน “มีคนติดต่อ บางทีกจ็ ะขอมา เช่าบ้าง ซึง่ เราก็จะบอกว่าส่งงานมาให้เราดูสิ จริงๆ คุณไม่ตอ ้ งเช่านะ แต่ว่าถ้าเราชอบงานคุณ เราก็ให้แสดงแค่นั้นเอง คือจริงๆ มันก็จะ มี ค วามขั ด ๆ อยู่ ใ นแง่ ที่ ว่ า อั น นี้ เ ราคิ ด เองว่ า เราเปิ ด พื้ น ที่ ให้ ค นหน้ า ใหม่ ก็ จ ริ ง แต่ สุ ด ท้ า ยเราก็ รู้ สึ ก ว่ า ในแง่ ข องตั ว แกลเลอรีเรา เราต้องมีเกณฑ์ทเี่ ราคงไว้ เหมือนเป็น identity ของ ทีน ่ ด ี่ ว้ ย ดังนัน ้ สุดท้ายคือต่อให้คณ ุ เป็นศิลปินหน้าใหม่ แต่วา่ เราก็ จะต้องมีความมุง่ หวังว่าคุณภาพมันจะต้องได้เท่าไหน หรือเลือกงาน ที่เราต้องชอบ เพียงแต่ว่าบางคนถ้าเขาดังๆ มากหน่อยก็จะเขินๆ ว่าเขาอยากจะมาแสดงที่นี่ไหม คือโอเค มันก็พอมีชื่อบ้าง แต่มันก็ เกรอะๆ กรังๆ อยูบ ่ า้ ง แต่บางคนก็เป็นเพือ ่ นเรานีแ่ หละ รุน ่ เดียวกัน ชอบงานเขา แต่เขาจะอยากมาแสดงหรือเปล่า ไม่แน่ใจ ก็เลยไม่คอ ่ ย กล้าถาม จริงๆ ไม่เกี่ยงว่าต้องเด็ก หรือต้องรุ่นใหม่ หลักๆ ดูที่ว่า แค่ชอบงาน ก็พยายามจะ approach เขา ว่าสนใจไหม” พื้นที่ศิลปะเช่นนี้เอื้อให้ศิลปินมีอิสระมากขึ้นในการสร้างสรรค์ ผลงานแบบที่ตนเองสนใจหรือทดลองความคิดใหม่โดยไม่ต้อง ถูกจำ�กัดด้วยเงื่อนไขว่าต้องผลิตงานที่ขายได้หรือถูกใจนักสะสม สำ�หรับอัญชลี ประเด็นนี้อาจไม่สำ�คัญเท่าการเปิดพื้นที่ให้กับความ หลากหลายให้คนได้มท ี างเลือก “เราต้องการทำ�ให้คนเห็นในแง่ของ ระนาบว่ามี BACC มี Jim Thompson มี Gallery VER มีนี่มีนั่น ก็มี Speedy (Grandma) ได้นะ แล้วเราไม่ตัดสินว่าใครดีกว่าใคร แต่เรารู้สึกว่าการโชว์ความหลากหลายมันจะเป็นหน้าในสังคมนี้ อย่างน้อยมันเป็นที่ให้คุณอยู่ได้ถ้าแนวคุณเข้ากับของเรา คือเรา ต้องการสร้างพื้นที่ให้มากกว่า ไม่จำ�เป็นว่าที่นี่จะต้องดีกว่าที่อื่น ถ้าเหมาะกับทีน ่ ก ี่ เ็ หมาะกับทีน ่ ี่ หรือไม่เหมาะกับทีน ่ ก ี่ อ ็ าจจะไปเหมาะกับ ที่อื่นอีกก็ได้ เพียงแต่ว่าเรารู้สึกว่าต้องมีการสร้าง choice ให้คน เลือกได้ ไม่ใช่ว่ามีแค่หนึ่ง สอง สามเท่านั้นแล้วจบ”
FEATURE
เลยมีกิจกรรมมากขึ้น พอกิจกรรมมากขึ้น เราทำ�เองไม่ไหวแล้ว ดังนัน ้ เราต้องเปิดหาคนช่วย เราเลยเปิดรับอินเทิรน ์ ไม่มค ี า่ ตอบแทน สิง่ ทีค ่ ณ ุ ต้องทำ�ก็มห ี ลายๆ ด้าน ทุกๆ ด้าน ตัง้ แต่การบริหารจัดการ ศิลปะ จนถึงการคิวเรตงานศิลปะ ติดตัง้ งานศิลปะ ริเสิรช ์ อินเทิรน ์ เข้ า มาก็ ไ ด้ ทำ � งานหลากหลายรู ป แบบ ผมคิ ด ว่ า ฟั ง ก์ ชั่ น ของ อาร์ตสเปซทีม ่ น ั แตกต่างจากแกลเลอรีหรือพืน ้ ทีอ ่ น ื่ ๆ คือเป็นพืน ้ ทีท ่ ี่ พยายามจะสร้างความรู้ ความเข้าใจ เครือข่ายในด้านอืน ่ ๆ นอกเหนือ ไปจากการแค่ appreciate งานศิลปะ เพราะว่าคุณไปแกลเลอรี คุณก็ appreciate งานศิ ล ปะได้ แต่ ว่ า แกลเลอรี เ ป้ า หมายหลั ก ก็ คื อ ขายของ แต่ส�ำ หรับเรา เรามองว่าตรงนีค ้ อ ื พืน ้ ทีฟ ่ ม ู ฟักความคิดอะไร บางอย่างของคนทำ�งานศิลปะ คนไม่ทำ�งานศิลปะก็ได้ คนทำ�งาน อะไรก็ได้ มันเป็นพื้นที่ฟูมฟักความคิด มันขยับออกจากกลุ่มศิลปะ ไปเป็นกลุม ่ อืน ่ ได้ นีค ่ อ ื มิชชัน ่ ในอนาคต ซึง่ มิชชัน ่ ตอนนีค ้ อ ื ทีไ่ หนที่ คนเรียนจบศิลปะแล้ว หรือว่าคนทีส ่ นใจทางด้านศิลปะเข้ามาพูดคุย แลกเปลีย ่ นความรู้ แลกเปลีย ่ นความคิดกับคนได้ คุณเข้าไปที่ BACC มันเป็นสถาบัน ไปที่มิวเซียมมันเป็นสถาบัน สถาบันใหญ่ๆ ระดับ การเข้ า ถึ ง คนมั น ยากพอสมควร อยู่ ดี ๆ คุ ณ จะไปขอคุ ย กั บ คิ ว เรเตอร์ อยากจะปรึ ก ษาอะไรบางอย่ า ง อยากจะสอบถามว่ า เรสิเดนซีไปยังไง จะดีเวลอปงานยังไง มีคำ�แนะนำ�อะไรอย่างนี้ไหม มันเข้าถึงได้ยาก องค์กรเล็กๆ อย่างนี้ทำ�ให้คนเข้ามาพูดคุยได้ ง่ายกว่า เราพยายามทำ�ให้มันเฟรนด์ลีให้มากที่สุด ให้คนเข้ามา ทดลองใช้อะไรก็ได้ให้มากทีส ่ ด ุ เราอาจจะไม่มเี งินสนับสนุนแต่วา่ เรา สนับสนุนทางด้านพืน ้ ทีแ่ ละแลกเปลีย ่ นความคิด ผมว่ามันก็ส�ำ คัญใน เชิงการพัฒนาศักยภาพของคน บางทีมโี ปรเจกต์มา เราก็พยายาม จะผลักดันศิลปินไทยให้สมัครไปเรสิเดนซีต่างประเทศ หรือว่าไป เข้าร่วมโครงการต่างๆ พยายามสร้างกรุ๊ปในเฟซบุ๊กและพยายาม รวบรวมศิลปินรุ่นใหม่ๆ เรามี open call ศิลปินต่างประเทศมา เราก็พยายามโพสต์ข้อมูลให้เขาสมัคร open call สิ เราพยายาม สร้างคอร์สภาษาอังกฤษเพราะรู้ว่าปัญหาของศิลปินไทยคือภาษา อังกฤษไม่แข็งแรง ไม่รู้ว่าตัวเองจะจัดการกับข้อมูลตัวเองยังไง พอทำ � งานมาสั ก พั ก หนึ่ ง จะเริ่ ม รู้ ว่ า สิ่ ง ที่ ต้ อ งการในฐานะศิ ล ปิ น ทีท ่ �ำ เป็นอาชีพ ทำ�ยังไงให้เป็นอาชีพซึง่ ตรงนีม ้ น ั ไม่ได้สอนในโรงเรียน ศิลปะ โรงเรียนศิลปะสอนแค่ทำ�งาน แต่ไม่ได้สอนว่ามันคืออาชีพ ในฐานะวิชาชีพคุณต้องทำ�ตัวยังไงบ้าง ทำ�งานยังไงบ้าง ดังนั้นมัน ไม่มท ี ไี่ หนทีค ่ ณ ุ จะไปถามคนอืน ่ ได้ หรือไม่มท ี ไี่ หนทีค ่ ณ ุ จะไปถามกับ แกลเลอรีว่าจะดีลกับแกลเลอรียังไง คือมันไม่มีคนถาม หรือคุณไป ถามแกลเลอรีบางทีเขาก็ไม่บอก ศิลปินน้องๆ เขาก็ไม่อยากคุยด้วย เราก็คด ิ ว่าตรงนีแ้ หละ ฟังก์ชน ั่ ของสเปซพวกนีก ้ เ็ ป็นพืน ้ ทีใ่ นการเข้า มา เราก็อยากสร้างองค์ความรูห ้ รือว่าสร้าง เติมอะไรบางอย่างทีม ่ น ั ยังขาดไปอยู่ เพือ ่ นๆ น้องๆ ทีเ่ รารูจ้ ก ั หรือว่าคนในคอมมิวนิตด ี า้ น ศิลปะ พอเราทำ�งานเราเห็นบุคลากรทางด้านศิลปะของประเทศอืน ่ ๆ เขาแข็งแรงกว่าเราตรงไหน เราก็อยากจะให้มน ั สูก ้ บ ั เขาได้ เรามีนอ ้ งๆ ที่มาอินเทิร์นกับเราจากหลายๆ มหาวิทยาลัย เราพยายามให้พวก เขาได้ทำ�โปรเจกต์อะไรบางอย่างขึ้นมา เราไม่ได้ให้เขามาซีร็อกซ์ ชงกาแฟ เราให้เขามาคิด พยายามทำ�งานกับเขาในเชิงแนวราบ เรามาคิดร่วมกัน คุณมีโปรเจกต์อะไร คุณมีความคิดอะไรบ้าง คุณคิดว่าพืน ้ ทีเ่ ราทำ�อะไรได้บา้ ง คุณคิดว่าเรายังขาดอะไรบ้าง อันนัน ้ คือส่วนที่ต้องคิด ส่วนบริหารจัดการก็ต้องดูว่าการบริหารจัดการ องค์กรทางศิลปะต้องมีอะไรบ้าง ไม่ได้ทำ�ตัวออกงาน มันมีตั้งแต่ กวาดพื้น ดูแลสเปซ จัดการข้อมู ล พีอาร์ เตรีย มนิทรรศการ เบื้ อ งหลั ง การจั ด งานมั น มี อ ะไรเยอะมากซึ่ ง พอคนได้ ม าเรี ย นรู้ เขาก็ได้ทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์กร ว่าองค์กรเป็นยังไง ไม่ใช่แค่ การทำ�งานศิลปะ มันมีแบบอืน ่ นอกเหนือไปจากการทำ�งานศิลปะมาแสดง ปุบ ๊ จบ เบือ้ งหลังมันมีอน ื่ ๆ อีก การคิวเรตงานคืออะไร บางคนก็ไม่เข้าใจ ว่าคิวเรเตอร์คืออะไร อาชีพคิวเรเตอร์ก็มีไม่กี่คนในไทย งั้นคุณก็ มาฝึกกัน ตั้งคำ�ถามว่าคิวเรเตอร์คืออะไร ศิลปินจำ�เป็นไหมต้องมี คิวเรเตอร์ ฟังก์ชั่นของคิวเรเตอร์ทำ�อะไรบ้าง แล้วคุณลองคิวเรต ดูได้ไหม เราพยายามผลักให้มค ี วามคิดหรือกระตุน ้ การผลิตความรู้ ออกมาจากคนทีม ่ าทำ�งานกับเรา และพอเราได้ท�ำ งานกับคนรุน ่ ใหม่ คอมมิวนิตีก็เริ่มขยายมากขึ้น”
Tentacles เป็ น อาร์ ต สเปซอี ก แห่ ง หนึ่ ง ที่ น อกจากจะจั ด แสดงงานของศิ ล ปิ น รุ่ น ใหม่ ๆ แล้ ว ยั ง เปิ ด บ้ า นให้ เ ป็ น ที่ พำ � นั ก แก่ศล ิ ปินต่างถิน ่ ได้มาสร้างสรรค์ผลงานและสร้างเครือข่ายกับศิลปิน ท้องถิ่น เฮนรี่ แทน ไดเรกเตอร์ของ Tentacles ได้แนวคิดในการ ทำ�อาร์ตสเปซแห่งนี้จากการไปฝึกงานที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน และ การมีโอกาสได้เป็นศิลปินในพำ�นัก (artist in residence) ทีป ่ ระเทศ เกาหลีใต้ แล้วเห็นความสำ�คัญของโครงการศิลปินในพำ�นัก เฮนรี่ กับหุ้นส่วนจึงเริ่มทำ�อาร์ตสเปซที่มีบ้านให้ศิลปินพักอาศัยและจัด แสดงงาน จัดกิจกรรมเวิร์กช็อปให้คนทั่วไปที่สนใจมาเรียนทำ�งาน ศิลปะและงานฝีมอ ื เปิดคาเฟ่เพือ ่ สร้างรายได้เลีย ้ งตัวเองโดยไม่ตอ ้ ง พึ่งการขายงานศิลปะ รวมถึงจัดเสวนาให้ศิลปินและคนภายนอกได้ มาแลกเปลีย ่ นและร่วมกันพัฒนาและสร้างองค์ความรูเ้ กีย ่ วกับศิลปะ และเพื่อพัฒนาชุมชนศิลปะที่ประกอบไปด้วยคนกลุ่มต่างๆ และที่ เหนืออื่นใดคือการฟูมฟักความคิด “เราสร้างคอมมิวนิตีของกลุ่ม แม่บา้ น กลุม ่ สาวออฟฟิศทีเ่ ข้ามาเรียนงาน เรียนเทคนิค เรียนคราฟต์ เราพยายามจะดึงคนที่ไม่ใช่กลุ่มศิลปะเข้ามาอยู่แล้ว ก็มี strategy หลายๆ แบบ พอมีคาเฟ่ก็มีคนต่างๆ เข้ามา คนที่ตามร้านอาหาร เข้ามา ตอนที่เปิดเวิร์กช็อปคนที่ไม่ใช่กลุ่มศิลปะ คนที่สนใจคราฟต์ เขาก็ตามเข้ามา เราพยายามจะเชือ ่ มอะไรบางอย่างตรงนัน ้ อยูเ่ สมอ เพราะว่ า บางที ค นก็ ช อบมองว่ า ศิ ล ปะมั น เฉพาะกลุ่ ม หรื อ ว่ า มั น เข้าถึงยาก คนไม่มา โอเค คนกลุม ่ สาวแม่บา้ น กลุม ่ ออฟฟิศก็เข้ามาบ้าง ก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งสำ�หรับเรา เงินส่วนนี้มันก็ทำ�ให้สเปซเรามัน รันตัวเองพอไปได้ เรายังคิดอยูว่ า่ การทีเ่ รามีเรสิเดนซีกย ็ งั เป็นกิจกรรม ทีท ่ �ำ ให้สเปซเรามันพีคมากขึน ้ ก็เลยไปเช่าบ้านอยูข ่ า้ งๆ ทำ�เรสิเดนซี โปรแกรม พื้นที่ตรงนี้ก็เป็นพื้นที่ให้ศิลปินมาทำ�งาน เป็นสตูดิโอ มาจัดทอล์ก จัดสกรีนนิง จัด exhibition ได้ พอเรามีเรสิเดนซี เราก็
สำ�หรับเฮนรี่ การทำ�พืน ้ ทีศ ่ ล ิ ปะนัน ้ ไม่ใช่แค่การจัดแสดงผลงาน ศิลปะเพื่อขายเท่านั้น หากแต่เป็นพื้นที่พัฒนาความคิดความรู้ ทางศิลปะและด้านอื่นๆ ที่จะมีส่วนช่วยขับเคลื่อนสังคมผ่านงาน ศิลปะแขนงต่างๆ ที่แต่ละคนถนัด “เราพยายามมองว่าด้วยสื่อทาง ด้านศิลปะก่อนทีจ่ ะมาสูข ่ น ั้ ตอนทีผ ่ ลิตอะไรออกมา ในกระบวนการนี้ เราพยายามจะเชิญคนต่างๆ เข้ามาอยู่แล้ว คนหลากหลายประเภท เข้ามาเพื่อที่ดูว่าเขามองสิ่งต่างๆ อย่างไร มองประเด็นทางสังคม มองประเด็ น ทางสิ่ ง แวดล้ อ ม มี ป ระเด็ น อะไรที่ คุ ณ สนใจอยู่ ไ หม ที่มันเกิดขึ้นในสังคมตอนนี้ และเราจะนำ�เสนอมันอย่างไร สะท้อน มุ ม มองของคุ ณ อย่ า งไร หรื อ ว่ า กระตุ้ น อะไรยั ง ไง เรามี ค วาม เชี่ยวชาญทางด้านทัศนศิลป์ ดังนั้นการพัฒนาความคิดมันจะเกิด ก่อน สิ่งที่เรานำ�เสนอออกมามันก็นำ�เสนอผ่านความเชี่ยวชาญ ทางด้านทัศนศิลป์ของเรา หรือว่าถ้าเราถนัด เราอยากนำ�เสนอ ในรูปแบบอืน ่ เป็นเพอร์ฟอร์แมนซ์ ดนตรี มันก็เป็นแค่สอ ื่ ทีเ่ ราหยิบ มาเลือกใช้ แต่ว่าการที่เราเป็นพื้นที่ที่เป็นการชนกันของความคิด แล้วมันแตกเป็นอะไรบางอย่าง เราไม่รู้ บางอย่างสำ�เร็จ บางอย่าง ล้มเหลว แต่ว่าการเสนอเราเลือกสิ่งที่เราถนัด เลือกที่เราทุกๆ คนสามารถทำ�ได้ ส่วนการเข้าถึงคนภายนอกก็พูดลำ�บากว่าเราจะ วัดตรงไหนว่าเราเข้าถึงคนได้มากแค่ไหน เพราะว่าพื้นที่ตรงนี้มัน ค่อนข้างต้องตั้งใจมาจริงๆ เราก็สื่อสารผ่านออนไลน์ซะมากกว่า ว่ า เรามี กิ จ กรรมอะไรและพยายามเชิ ญ คนเข้ า มา พอคนเข้ า มา แต่ละครั้งเราก็จะมีกิจกรรม ส่วนใหญ่จะเป็นพูดคุยเยอะพอสมควร มี ท อล์ ก มี เ สวนา กิ จ กรรมเหล่ า นี้ เ ราพยายามแลกเปลี่ ย นให้ คนเข้าใจเข้าถึงมันมากขึ้น เพราะว่าบางทีคนก็ไม่เข้าใจว่าสิ่งที่ทำ� ออกมามันคืออะไร แต่การมีโอกาสได้คุยกัน ทำ�ให้เราเข้าใจกัน มากขึ้น”
ในมุมมองของจุฬญาณนนท์ ศิริผล ศิลปิน/นักทำ�หนัง พื้นที่ ศิ ล ปะทางเลื อ กเหล่ า นี้ ไ ม่ เ พี ย งแต่ จ ะทำ � ให้ ศิ ล ปิ น รุ่ น ใหม่ มี พื้ น ที่ แสดงผลงานมากขึ้นเท่านั้น ยังเปิดให้ศิลปินได้ทดลองทำ�งานที่ หลากหลายตามยุคสมั ยที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในงาน ของเขาเองที่ใช้ภาพเคลื่อนไหวเป็นสื่อซึ่งผสมผสานเทคโนโลยีใหม่ ต่างๆ “ส่วนมากศิลปินรุ่นใหม่ก็ทำ�งานที่หลากหลายมากขึ้น ไม่ใช่ อย่างแต่กอ ่ นพอพูดถึงศิลปะก็จะมีแต่เพนติง้ sculpture หรืองานที่ เป็น academic มากๆ แต่พอสเปซที่เกิดขึ้นมาใหม่แบบนี้มันก็ สามารถที่ จ ะเปิ ด โอกาสให้ ศิ ล ปิ น รุ่ น ใหม่ ใ ช้ วั ส ดุ ที่ มั น แตกต่ า ง หลากหลายมากขึ้นและไม่ได้จำ�เป็นจะต้องคิดเรื่องการขายมาก เป็นพื้นที่ที่ได้ทดลองทำ�อะไรใหม่ๆ ด้วย สิ่งที่เป็นข้อดีคือมันจะเป็น สเตปแรกที่ให้ศิลปินรุ่นใหม่ได้แสดงผลงาน ก็จะแตกต่างไปจาก แกลเลอรีทต ี่ อ ้ งเน้นงานทีจ่ ะต้องขายเพือ ่ ให้แกลเลอรีรน ั ไปได้ ซึง่ มัน ก็มีน้อยที่กล้าที่จะลงทุนกับศิลปินรุ่นใหม่ ส่วนมากก็จะเลือกศิลปิน ที่ ทำ � งานที่ น่ า จะขายได้ ไ ปโชว์ ใ นแกลเลอรี หรื อ ไม่ ก็ เ ป็ น ศิ ล ปิ น ที่ รุ่นกลางๆ แล้ว”
FEATURE
WHY ARE THEY GOOD FOR THE PEOPLE? คอมมิวนิตี ศิลปินรุ่นใหม่ คนทำ�งานอยู่ คนที่แอ็กทีฟ เพราะว่าถ้า เกิดคุณเข้าไปในแกลเลอรีสิ่งที่คุณได้มันมีอยู่ไม่กี่อย่าง แต่ถ้าคุณ มาอาร์ตสเปซ คุณได้เพื่อน คุณได้คอมมิวนิตี คุณได้โอกาส ได้ ทดลอง ฟังก์ชน ั่ มันแตกต่างกัน มันเป็นคอมมิวนิตค ี ณ ุ ก็ได้คอนเนกต์ กับคอมมิวนิตีตรงนั้น ด้วยข้อจำ�กัดทางด้านพื้นที่ ข้อจำ�กัดของ โมเดลธุรกิจ ของคนของเขา เขาก็อาจจะทำ�กิจกรรมได้แตกต่างกัน ซึง่ ความน่าสนใจของอาร์ตสเปซก็คอ ื ตรงนี้ เราพยายามสร้างความรู้ แลกเปลี่ยนกิจกรรมไปเรื่อยๆ การที่มันมีอีกก็เป็นพื้นที่ให้คนได้มา ทดลอง ได้มาเล่นอะไรบางอย่างได้” อุปสรรคด้านการเงินดูจะไม่ใช่ปัญหาเดียวที่พื้นที่ศิลปะทาง เลือกเช่นนีต ้ อ ้ งเผชิญ ถึงแม้จะมีอส ิ ระในการดำ�เนินการและเปิดกว้าง สำ � หรั บ ผู้ ช ม จุ ฬ ญาณนนท์ ม องว่ า ในบางกรณี ทั้ ง สถานที่ ตั้ ง ของอาร์ตสเปซและลักษณะงานอาจเข้าถึงยากสำ�หรับคนทัว่ ไปทีอ ่ ยู่ นอกแวดวงศิลปะ ซึง่ จำ�เป็นทีผ ่ ช ู้ มงานศิลปะยังต้องเรียนรูแ้ ละมีการ แลกเปลีย ่ นกับศิลปินและตัวงาน “งานทีม ่ น ั เป็นงานทัศนศิลป์ คนที่ เป็นศิลปินก็จะคิดถึงคนดูดว้ ยส่วนหนึง่ แต่ในขณะเดียวกันก็คด ิ ถึง สิ่งที่ตนเองอยากจะทำ�ด้วย เพราะฉะนั้นมันก็จะแตกต่างไปจากงาน ดีไซน์ที่จะต้องสื่อสารกับผู้ชม หรือว่าต้องสื่อสารกับคนที่จะมาใช้ ผลิตภัณฑ์ เพราะฉะนัน ้ ตัวคนทีจ่ ะมาเสพงานอาร์ตก็เลยไม่ได้ชด ั เจน เท่ากับศิลปะสาขาอืน ่ ๆ ว่ากลุม ่ เป้าหมายคือใคร ซึง่ ผมคิดว่าถึงมันจะ มีสเปซแบบนีม ้ ากขึน ้ ก็ตาม มันมีพน ื้ ทีใ่ ห้ศล ิ ปินรุน ่ ใหม่ทดลองสร้าง งานที่มันแตกต่างหลากหลายจากเดิม แต่ว่าตัวคนดูก็ยังเป็นกลุ่ม คนทีอ ่ ยูใ่ นแวดวงศิลปะ เป็นอาจารย์ เป็นนักศึกษา เป็นศิลปินทีเ่ รียน ศิลปะ อยูใ่ นแวดวงเดิมๆ อยู่ ไม่ได้หลุดไปจากแวดวงนีม ้ ากสักเท่าไร
พื้นที่ศิลปะทางเลือกนอกจากจะเปิดโอกาสให้ศิลปินรุ่นใหม่ มี พื้ น ที่ แ สดงผลงานศิ ล ปะมากขึ้ น แล้ ว บรรยากาศที่ เ ป็ น มิ ต ร และผ่ อ นคลายมี ส่ ว นอย่ า งมากในการดึ ง คนทั่ ว ไปที่ ส นใจซึ่ ง อยู่ นอกแวดวงศิ ล ปะให้ หั น มาเสพงานศิ ล ปะที่ ห ลากหลายมากขึ้ น จากเดิมพื้นที่ศิลปะมีอยู่จำ�กัดในหอศิลป์และแกลเลอรี อย่างไรก็ดี งานศิลปะบางชิ้นอาจไม่ได้เข้าถึงง่ายสำ�หรับคนที่ไม่มีพื้นความรู้ เฉพาะทางด้านศิลปะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานศิลปะร่วมสมัยที่ต้อง อาศัยการตีความของผูช ้ ม กระนัน ้ การเข้ามาทำ�ความรูจ้ ก ั และค่อยๆ เปิดรับซึมซับคือจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้ท่ีจะชื่นชมงานศิลปะซึ่ง ไม่มีสอนในโรงเรียน ความสำ�คัญของพื้นที่ศิลปะทางเลือกจึงอยู่ที่ การเสนอประสบการณ์ทห ี่ ลากหลายในการชมงานศิลปะเพือ ่ กระตุน ้ ให้เกิดความพัฒนาความคิดของผู้ชม อัญชลีมองว่าการเข้าถึงงานศิลปะไม่ใช่หน้าทีข ่ องผูช ้ มฝ่ายเดียว ทีต ่ อ ้ งพยายาม เนือ ่ งจากการเสพงานศิลปะต้องอาศัยประสบการณ์ ที่ต้องเรียนรู้รวมถึงแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนหลากหลาย “ทั้งตัวงานด้วย ทั้งตัวคนดูด้วยว่าพยายามเข้าหากันขนาดไหน อย่ า งเราแบ็ ก กราวด์ เ ป็ น กราฟิ ก เรี ย นแอนิ เ มชั่ น แล้ ว เพิ่ ง มา ทำ�แกลเลอรี บางงานเราก็ดูไม่รู้เรื่อง เราก็งง ไม่เข้าใจ มันจะไม่ เข้าใจง่ายอยู่แล้ว หมายถึงงานศิลปะมันไม่ใช่เรื่องสั้นหรือหนังที่มัน ค่ อ นข้ า งชั ด เจน แต่ มั น ก็ มี ห นั ง อาร์ ต ที่ มั น ดู แ ล้ ว ก็ ไ ม่ ค่ อ ยเข้ า ใจ เหมือนกัน แต่เรารู้สึกว่าคนดูต้องอาจจะพยายามนิดหนึ่ง แต่ไม่ใช่ คนดูเข้าหาแบบเต็มที่นะ เมื่อกี้พูดเรื่องแบ็กกราวด์เราไม่ได้เรียน ไฟน์อาร์ตก็ดงู านไม่รเู้ รือ ่ งเหมือนกัน ซึง่ ทีนพ ี้ อเราจะไปสอนเด็ก เราก็ ต้องพยายามทำ�ความเข้าใจ มานั่งเรียนรู้กันใหม่หมดตั้งแต่แรก ว่าวิธีการดูภาพเราคิดอะไรกับมันได้บ้าง นอกจากสมมติว่าสวย คอมโพสิชน ั่ มันดี ทำ�ไมเป็น sculpture ทีถ ่ ก ู ถ่ายรูปมา คือมันก็จะมี อี ก หลากหลาย ซึ่ ง พวกนี้ เ รารู้ สึ ก ว่ า มั น ต้ อ งใช้ ค วามพยายาม และความทีอ ่ ยากจะเข้าใจในการค่อยๆ เรียนรูก ้ น ั ไป แล้วมันเกีย ่ วกับ ประสบการณ์ด้วยว่าถ้าดูเยอะ ก็เข้าใจเยอะ แต่ก็จะมีงานที่บางที ถ้าไม่ถูกจริตเรา เราก็ไม่สนใจ ดูไม่ต้องเข้าใจก็ได้ ไม่เป็นไรหรอก เราว่างานก็เลือกคนดูด้วย คนดูก็เลือกงานด้วย เรื่องไม่เข้าใจมัน ค่อนข้างปกติของงานศิลปะ เพียงแต่ว่าไม่เข้าใจก็ไม่เป็นไร ไม่ได้โง่ คนชอบเข้าใจผิดว่าไม่เข้าใจเพราะโง่รึเปล่า จริงๆ ไม่ใช่ไง มันก็แค่ ไม่เก็ตแค่นน ั้ เอง แล้วเราก็ไม่เป็นไร บางงานมันก็อาจจะเก็ตก็ได้ หรือ บางทีมันอาจจะต้องมีการอ่านข้อมูลเพื่อจะเก็ตก็ได้ ทีนี้มันก็ขึ้นอยู่ กับว่าความพยายามนี่แหละว่าอยากจะเข้าใจไหม เพื่อนเราบางคน ก็บอกว่าวิธก ี ารดูงานมันก็เหมือนนักสืบ ค่อยๆ ดู หา clue ไปเรือ ่ ยๆ ว่าตรงนี้มันยังไง หาข้อที่มันคอนเนกต์กันได้ “มันก็ตอ ้ งโยงกลับไปถึงว่าเราไม่ได้มม ี วิ เซียมทีส ่ ามารถพาเด็กๆ เข้าไปดูงานตั้งแต่ตอนเด็ก ให้เขาใกล้ชิดได้อยู่แล้ว หรือมีรวมงาน แบบมาสเตอร์พซ ี ให้เขาเห็น หรือเข้าใจได้ คือเรารูส ้ ก ึ ว่ามันโดนผลัก ไปอยู่แล้วว่าเข้าใจยาก ก็ไม่ต้องทำ�ความเข้าใจก็ได้”
พื้ น ที่ ศิ ล ปะทางเลื อ กเช่ น นี้ น อกจากจะมี ข้ อ ดี คื อ เปิ ด โอกาส ให้ศล ิ ปินได้แสดงงานมากขึน ้ แล้ว ยังเป็นพืน ้ ทีท ่ ส ี่ ามารถปรับเปลีย ่ น รูปแบบได้หลากหลายเพือ ่ ตอบสนองความต้องการหรือจุดประสงค์ ของผู้ที่มา รวมถึงการสร้างเครือข่ายและชุมชนทางศิลปะ “มันขยับตัวเองไปเป็นอะไรก็ได้ มันเปิดโอกาสให้คนเข้ามา ได้รู้จักกับเรามากขึ้น ผมรู้สึกได้ว่าคนต้องการพื้นที่อะไรบางอย่าง ที่ไม่ได้เป็นพื้นที่ทางคอมเมอร์เชียล เป็นพื้นที่ที่เขาสามารถเข้ามา คอนเนกต์กับอะไรบางอย่างได้ในกรุงเทพฯ หรือว่าคอนเนกต์กับ ข้อมูลอะไรบางอย่าง” เฮนรี่กล่าว กระนั้น ปัญหาหนึ่งที่พื้นที่ศิลปะทางเลือกต้องเผชิญคือการ ขาดรายได้และการสนับสนุนทางการเงินเนื่องจากไม่ได้เป็นพื้นที่ ที่ขายงานเป็นหลัก รายได้จึงต้องมาจากทางอื่น สำ�หรับ Speedy Grandma อัญชลีกล่าวว่าสาเหตุที่อาร์ตสเปซแห่งนี้ดำ�รงอยู่มา ได้นั้นเนื่องจากไม่ต้องเสียค่าเช่าพื้นที่และมีรายได้เล็กน้อยจากการ จำ�หน่ายเครื่องดื่มสำ�หรับเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดงานแต่ละครั้ง “มันเป็นปัญหาทีจ่ ริงๆ ก็พยายามแก้กน ั อยูก ่ บ ั เพือ ่ นว่าจะทำ�ยังไงให้ มันอยูไ่ ด้ เพราะว่าในแต่ละเมืองมันต้องมีพน ื้ ทีอ ่ ย่างนีใ้ ห้ได้ แล้วก็ตอ ้ ง มีเยอะกว่านี้สักหน่อยก็ยังดี คือตอนนี้มันก็จะมี artist run space ไม่กอ ี่ น ั หรือ alternative space จริงๆ หาทางให้มน ั sustainable ยากพอสมควร คือถ้าไม่ได้เป็นเจ้าของตึก จริงๆ หลักๆ ถ้าตัดเรือ ่ ง ค่าเช่าออกไปได้ มันจะโอเคขึน ้ เยอะ เพราะว่าหนักสุดคือเรือ ่ งค่าเช่า” ในการบริหาร Tentacles เฮนรีก ่ ป ็ ระสบปัญหาเดียวกันคือการ ไม่มีรายได้จากการขายงาน ซึ่งเขาแก้ปัญหาด้วยการจัดเวิร์กช็อป เพื่อเป็นรายได้เลี้ยงตัวเอง “ความยากของการทำ�สเปซแบบนี้ก็คือ มันต้องมีโมเดลธุรกิจทีจ่ ะมาหล่อเลีย ้ งให้มน ั อยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเอง ผมได้ คุยกับเพือ ่ นทีท ่ �ำ สเปซในประเทศอืน ่ บางทีก ่ พ ็ ยายามหาโมเดลทีอ ่ ยูไ่ ด้ ด้วยตัวเอง บางทีเ่ ริม ่ จากศิลปินทีเ่ ป็นคนก่อตัง้ ก็เป็นศิลปินรุน ่ ใหญ่ มีเงินแล้ว ก็เอาเงินมาทุ่ม ก็ต้องเริ่มคิดว่าจะทำ�ยังไงให้อยู่รอด ทีต ่ า่ งประเทศเราไปถามเขา เขาได้เงินจากรัฐบาลบ้าง เงินจากองค์กร เอกชนบ้าง หรือว่าเงินบริจาค ของเราไม่ได้เป็นมูลนิธิ ไม่ได้เป็นอะไร เลย ก็ตอ ้ งหาทางทีจ่ ะคิดโมเดลให้มน ั เลีย ้ งตัวเองได้ อันนีเ้ ป็นส่วนที่ ยากมาก แต่ว่าอาจจะได้ความรู้จากการเรียนเศรษฐศาสตร์มาช่วย บ้าง ทีจ่ ริงก็ไม่ได้ชว่ ยมาก ข้อดีทเี่ ราสามารถทำ�ให้มน ั เลีย ้ งตัวเองได้ ก็คอ ื ว่าการทีม ่ น ั ไม่มเี งินมาจากองค์กรอืน ่ ๆ เท่าไร มันไม่ได้มาบังคับ หรือว่ามี agenda แฝงกับเรา ข้อเสียคือมันเหนื่อยที่จะทำ�ยังไงให้ คนที่ทำ�งานอยู่สามารถยืนระยะได้ ทุกคนก็ใช้ชีวิต ทำ�ให้เป็นอาชีพ ซึง่ ก็ตอ ้ งมีเงินเดือน เงินเดือนก็ตอ ้ งไปเทียบกับเงินเดือนปกติของที่ อืน ่ เขา คนทีท ่ �ำ งานก็ตอ ้ งมีชวี ต ิ เหมือนคนอืน ่ เหมือนกัน ดังนัน ้ เขาจะ ทำ�ยังไงให้เลีย ้ งดูตวั เองได้ นัน ่ ก็สว่ นหนึง่ อีกส่วนหนึง่ คือมันเปิดให้คน สนใจเข้ามาเยอะ คนต้องการเชือ ่ มต่อกับพืน ้ ทีท ่ ไี่ ม่ใช่คอมเมอร์เชียล 100% แกลเลอรี ค อมเมอร์ เ ชี ย ลมี 40-50 แห่ ง ในกรุ ง เทพฯ อินสติตวิ ชัน ่ มีไม่กแี่ ห่ง มี BACC หรืออินสติตวิ ชัน ่ อืน ่ ๆ องค์กรแบบ นี้มันขาดอยู่ ที่ที่คนจะมาคอนเนกต์ มารู้จักคน มาได้เจอคนที่เป็น
“เข้าถึงยากในแง่ตวั สเปซด้วย เพราะว่าตัวสเปซก็คอ ่ นข้างอยูใ่ น หลืบ ไม่ได้อยูใ่ นพืน ้ ทีท ่ เี่ ป็นใจกลางแบบ BACC หรือตามมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ม.กรุงเทพฯ มันก็จะอยู่ในซอกหลืบพอสมควร เพราะฉะนั้น ทางกายภาพของตัวสเปซทางเลือกแบบนี้มันก็จะไปถึงยากอยู่แล้ว และตั ว เนื้ อ หาของผลงานด้ ว ยมั น ก็ จ ะไม่ ไ ด้ เ ข้ า ใจง่ า ยขนาดนั้ น คื อ งานศิ ล ปะร่ ว มสมั ย งานไฟน์ อ าร์ ต มั น ต้ อ งคิ ด พอสมควร คิดเยอะใช่ไหม แล้วคนดูอาจจะไม่ชอบคิด (หัวเราะ) ก็เลยปฏิเสธมัน ไปว่าเข้าใจยากแล้วก็บอกว่า อ๋อ นีง่ านอาร์ต อาร์ตแล้วก็มองข้ามไป ซึง่ จริงๆ มันก็เสียดายเหมือนกันถ้าคนดูสนใจมันก็นา่ จะมีไดอะล็อก กลับมากับศิลปิน แต่อย่างทีท ่ หารเข้าไปที่ VER[1] คือจริงๆ ศิลปิน ก็ตอ ้ งการทีจ่ ะพูดอะไรแหละทีม ่ น ั เกีย ่ วข้องกับคน เกีย ่ วข้องกับสังคม แต่ว่าตัวงานก็ค่อนข้างสุดโต่ง มันก็เลยกลายเป็นทอล์กออฟเดอะ ทาวน์ ถ้าคนอยากจะไปดูจริงๆ ถ้าเสพผ่านข่าวก็จะเป็นอีกแง่หนึ่ง อ๋อ เป็นพวกต่อต้าน ศิลปินต่อต้าน แล้วก็จะตีตราว่าศิลปินทำ�งาน แบบนีๆ ้ ต่อต้านแบบนี้ แต่ถา้ ไปดูจริงๆ มันก็จะมีดเี ทล รายละเอียด อะไรทีศ ่ ล ิ ปินได้พด ู ได้น�ำ เสนอในแง่มม ุ อืน ่ ๆ บ้าง แล้วพอการเข้าถึง ผ่านสื่อ เห็นผ่านสื่อแทนที่จะไปดูจริงๆ ด้วยความรู้สึก เข้าไปถึงใน สเปซจริงๆ มันก็ถูกตัดอะไรบางอย่างออกไปเยอะ ทำ�ให้เหมือนกับ ตัวคนดู ตัวศิลปินกับงานศิลปะเลยห่างออกไปจากผู้ชมเรื่อยๆ” ในยุคที่สื่อสังคมออนไลน์เข้าถึงทุกวงการ การเสพงานศิลปะ สามารถทำ�ได้อย่างง่ายดายผ่านหน้าจอสมาร์ทโฟน แต่ส�ำ หรับศิลปินแล้ว จุฬญาณนนท์มองว่าการรับชมงานศิลปะในพืน ้ ทีจ่ ริงยังสำ�คัญ “ถ้า ในกรณีอน ื่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่ที่ VER มันก็เป็นดาบสองคม เพราะโซเชียลมีเดีย ก็สามารถที่จะนำ�เรา พาเราไปดูงานจริง หรือในขณะเดียวกันก็อาจ จะดูผ่านแค่โซเชียลมีเดียก็ได้ แต่ว่าจริงๆ ผมคิดว่าเราก็อยากให้ คนเข้าไปดูในสเปซจริงๆ เพราะว่าในโซเชียลมีเดียมันเป็นแค่ภาพที่ เป็นภาพแทนของงานศิลปะ แล้วมันไม่ได้สัมผัสสเปซ ไม่ได้สัมผัส รายละเอียดของผลงานจริงๆ มันก็อาจจะมีข้อดีว่าโซเชียลมีเดีย สามารถที่ จ ะประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ค นในวงกว้ า งได้ รู้ จั ก ผลงานและ เดินทางไปดูได้ แต่ในขณะเดียวกันมันก็อาจจะทำ�ให้ดฉ ู าบฉวยมากกว่า ในอดีต อ๋อ คนนี้ทำ�แบบนี้ คนนี้ทำ�แบบนี้ แค่นี้จบ ไม่ได้ดูงานจริง แต่วา่ ในฐานะทีท ่ �ำ งานศิลปะ ผมคิดว่าการทีผ ่ ช ู้ มได้เข้าไปอยูใ่ นสเปซ และได้รู้สึกกับสเปซ สัมผัสงานแบบใกล้ๆ และได้นั่งดูมัน ใช้เวลา กับมัน มันเป็นความรูส ้ ก ึ หรือว่ามันจะได้คด ิ อะไรมากกว่าทีเ่ สพผ่าน โซเชียลมีเดียอยู่แล้ว”
FEATURE
WHAT THEY EXPECT TO SEE IN THAI ART SCENE
HOW WILL ART FLOURISH IN THAILAND? ในขณะทีป ่ ระเทศไทยมีพน ื้ ทีศ ่ ล ิ ปะทางเลือกทีห ่ ลากหลายมากขึน ้ ทว่ายังมีอป ุ สรรคทีท ่ งั้ ศิลปินและพืน ้ ทีศ ่ ล ิ ปะทางเลือกต้องเผชิญและ หวังว่าจะได้รบ ั การคลีค ่ ลายเพือ ่ ให้แวดวงศิลปะไทยพัฒนาไปมากกว่า ทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบน ั อัญชลีมองว่าถึงแม้พน ื้ ทีศ ่ ล ิ ปะทางเลือกจะมีมาก ขึน ้ แต่ศล ิ ปินบางคนก็ไม่อาจหาเลีย ้ งตนเองได้ดว้ ยการทำ�งานศิลปะ “ตอนนี้สเปซมันก็เยอะขึ้น ศิลปินก็มีมาเรื่อยๆ มั้ง บางส่วนก็คง ถามหาพื้นที่อยู่แหละ ถ้ามีพื้นที่เพิ่มมากขึ้นก็ดี หรือมี collector เพิ่มมากขึ้น แต่ทีนี้มันก็มีประเด็นศิลปินบางคนไม่ได้ทำ�งานต่อ จริงๆ เพราะไม่มีตังค์ทำ�งาน ก็ต้องไปทำ�งานหาเงินเลี้ยงชีพปกติ ไม่สามารถเอาเงินเก็บมาทำ�ศิลปะที่ขายไม่ได้อีกต่อไปแล้ว เราก็ ไม่ค่อยกล้าแบบ เฮ้ย เป็นศิลปินต่อสิ เพราะเราก็รู้ว่ามันไม่มีเงิน หาทางออกไม่ได้เหมือนกัน แต่คิดว่ามันคงมีทางไปของมันมั้ง ไม่รู้ “มันก็มี collector นะ ได้ข่าวว่าที่ Hotel Art Fair เขาก็ขาย งานกันกระจาย มันมีอยู่แหละ เพียงแต่ว่าหลักๆ บางที collector เขาก็จะกลัวว่าศิลปินคนนี้เขาจะทำ�งานต่อเนื่องหรือเปล่า อันนี้คือ collector แบบทีว่ า่ เขาซือ ้ เพือ ่ เก็งกำ�ไร มันต้องมีมล ู ค่าเพิม ่ มากขึน ้ จริงๆ แล้วเราก็ฝันหวานนั่นแหละว่ามี collector ที่ซื้อเพราะชอบ แค่นั้นเอง ไม่ต้องซื้อเพราะอยากไปติดบ้าน แล้วจะไม่ขายใครด้วย แต่มน ั ก็เป็นแบบ decoration ซึง่ เรามองว่าไม่ผด ิ ก็ชอบงานศิลปะ เพราะว่ามันให้ความสุขทางใจ ส่วนเรือ่ งทีจ่ ะไม่มี collector เพิม ่ มากขึน ้ นี่ตอบยาก ไม่รู้จะยังไงเหมือนกัน” เฮนรี่มองว่าอยากให้มีเงินสนับสนุนองค์กรทางศิลปะมากขึ้น ซึง่ เขามองว่าจะส่งผลให้ศล ิ ปะไทยเติบโตในระยะยาว “ต้องมองก่อนว่า ศิลปินอยูไ่ ด้ดว้ ยอะไร คนทำ�งานสร้างสรรค์จะอยูไ่ ด้ดว้ ยอะไร ก็ตอ้ งอยู่ ได้ ด้ ว ยเงิ น เหมื อ นกั น แล้ ว เงิ น มั น จะได้ ม าจากตรงไหนได้ บ้ า ง ขายของที่ตัวเองทำ� ขายของที่ตัวเองไม่ได้ทำ� เงินมาจากที่บ้าน ให้มา (หัวเราะ) หรือว่าเงินสนับสนุนจากองค์กรรัฐบาล องค์กรเอกชน แหล่ ง เงิ น ของศิ ล ปิ น ส่ ว นหนึ่ ง ก็ ต ามมี ต ามเกิ ด จากทางบ้ า น แต่ถ้าเกิดจะพึ่งตัวเองด้วยเงินที่เกิดจากวิชาชีพมันมีอะไรได้บ้าง เป็ น ผู้ ช่ ว ย รั บ จ้ า ง ศิ ล ปิ น หลายๆ คนก็ มี ค วามหวั ง ว่ า อยากจะ ขายงานตัวเองได้ แต่บางทีก็ไม่ได้มองว่าสภาพประเทศเป็นอย่างไร คนในประเทศเป็ น อย่ า งไร สิ่ ง ที่ ห วั ง ได้ ง่ า ยที่ สุ ด คื อ หวั ง ว่ า องค์ ก รรั ฐ บาลที่ มี เ งิ น หรื อ กองทุ น อยู่ อ าจจะเริ่ ม สนั บ สนุ น ศิ ล ปะ ในประเทศตั ว เองมากขึ้ น ในหลายสาขา ในทุ ก ๆ ด้ า น ทั้ ง หมด ที่มันมีทั้ง 8-9 สาขา” จากมุมมองของศิลปิน จุฬญาณนนท์คด ิ ว่าในยุคสมัยทีโ่ ลกกำ�ลัง เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว พื้นที่ศิลปะในไทยก็จำ�เป็นต้องปรับเปลี่ยน ให้ทันเพื่อรองรับการสร้างสรรค์งานศิลปะรูปแบบใหม่ “โดยรวมๆ พูดในฐานะคนที่ทำ�งานมีเดียคือ คนที่ทำ�งานที่ใช้เทคโนโลยี โอเค ผมอาจจะทำ�ภาพเคลือ ่ นไหวเป็นหลัก ผมรูส ้ ก ึ ว่าถ้าในส่วนทีเ่ ป็นหนัง มันก็จะมีพน ื้ ทีร่ องรับอยูพ ่ อสมควร อย่างเช่น หนังนอกกระแสก็จะมี พืน ้ ทีข่ องเขา หนังสัน ้ ก็มพ ี น ื้ ทีข่ องเขา แต่ถามว่างานทีเ่ ป็นมีเดียอาร์ต ในโลกของศิลปะมันอาจจะไม่ได้มพ ี น ื้ ทีร่ องรับมากสักเท่าไร เพราะว่า อาจจะต้องใช้ต้นทุนสูงในการซัพพอร์ต อาจจะเป็นอุปกรณ์ต่างๆ โปรเจกเตอร์ ทีวี และคนทีเ่ ข้าใจงานมีเดียในประเทศไทยก็คอ่ นข้างน้อย พอสมควรเมือ ่ เทียบกับคนทีท ่ �ำ งานศิลปะสาขาอืน ่ ๆ ศิลปินรุน ่ ใหม่ๆ ก็เริ่มทำ�งานที่เป็นงานมีเดียมากขึ้น แล้วก็ทำ�งานที่มันขัดแย้งกับ สุนทรียะแบบเดิม อาจจะเป็นงานอินสตอลเลชั่น หรือว่าเป็นโฟโต้ เป็นเพอร์ฟอร์แมนซ์ แล้วมันยังไม่มีสเปซสักเท่าไรที่จะซัพพอร์ตสื่อ ใหม่ นิวมีเดียแบบนีม ้ ากเท่าทีค ่ วร คือโลกก็ก�ำ ลังเปลีย ่ น คือถ้าไปดู เบียนนาเลในต่างประเทศ อันนีผ ้ มก็ยงั ไม่เคยไปแถวเวนิซ แต่วา่ เคย ได้ยน ิ มาว่าวิดโี อเยอะมาก หรือว่าเพอร์ฟอร์แมนซ์เยอะ ซึง่ โลกมันใช้ มีเดียมที่หลากหลายมากขึ้น เพราะฉะนั้นการที่รองรับมีเดียมใหม่ๆ ทัศนคติของคนทีท ่ �ำ แกลเลอรีเองหรือว่าคนทีท ่ �ำ งานศิลปะเองก็ตอ ้ ง คิดว่าโลกมันกำ�ลังจะเปลีย ่ นไป มันไม่ใช่แค่ใช้วส ั ดุเดิมๆ เพราะฉะนัน ้ มันก็น่าจะต้องมีระบบบางอย่างที่มารองรับการที่ศิลปินจะใช้สื่อ ในรูปแบบใหม่มากขึ้น”
WHAT WILL THE FUTURE BRING? ท่ามกลางบรรยากาศทีศ ่ ล ิ ปะกำ�ลังเบ่งบานและมีศล ิ ปินใหม่เกิดขึน ้ ทุกวัน พื้นที่ศิลปะที่ขยายและกระจายตัวมากขึ้นตามที่ต่างๆ ใน ประเทศไทยจะเป็นฐานสำ�คัญให้ศล ิ ปินเหล่านีไ้ ด้สร้างสรรค์และแสดง ผลงานในรูปแบบใหม่ที่หลากหลายไปจากกรอบเดิม อีกทั้งผู้ชมก็ มีโอกาสได้เห็นงานศิลปะรูปแบบใหม่ที่พัฒนาไปตามโลกที่เปลี่ยน ไป สำ�คัญที่สุดคือการมีพื้นที่สำ�หรับถกเถียงแลกเปลี่ยนมุมมอง ความคิดเห็นอย่างเสรีของทัง้ ผูช ้ มและศิลปินกับตัวงานเพือ ่ ให้ศล ิ ปะ เติบโตและพัฒนา สุดท้ายแล้ว งานศิลปะที่ทุกคนมีโอกาสเข้าถึงได้ และไม่มเี ส้นแบ่งหรือจำ�กัดว่าต้องเป็นผูค ้ วามรู้เท่านัน ้ จึงจะเสพได้จะ เป็นศิลปะของทุกคน เพือ ่ ทีใ่ นอนาคตเราจะได้เห็นการสร้างสรรค์งาน ศิลปะทีไ่ ม่ถก ู จำ�กัดหรือควบคุมให้อยูภ ่ ายใต้อด ุ มการณ์หรือความคิด ความเชื่อของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นศิลปะที่อยู่ใน ชีวิตของทุกคนโดยแท้จริง
“เบียนนาเลที่กำ�ลังจะเกิด จริงๆ มีสองงานที่จะเกิดพร้อมกัน คือ Bangkok Art Biennale กับ Thailand Biennale จะเกิดที่ กระบี่ และจะมีเพจทีจ่ ะมากวนประสาท Bangkok Art Biennale คือ Bangkok Biennale จะมีคนจากหลากหลายประเทศ จะมีควิ เรเตอร์ จะมีศิลปินจากหลายประเทศน่าจะเข้ามาในช่วงเวลานั้น ก็คือเป็น โอกาสที่ดีที่จะเผยแพร่ผลงาน นอกเหนือไปจากเบียนนาเลแล้วก็ จะมีสเปซอื่นๆ ที่น่าจะเปิดพร้อมๆ กัน ก็ดีในการที่กรุงเทพฯ จะมี เบียนนาเล แต่ว่าตัวเนื้อหางานก็ต้องมาดูกันอีกทีว่าจะทำ�อย่างไร ให้มน ั เข้มข้น ให้มน ั เกิดไดอะล็อกกับคนดู เพราะว่ามันก็ไม่ใช่แค่อยูใ่ น แกลเลอรีอย่างเดียวแล้ว ไม่ได้เป็นแค่ตา่ งคนต่างจัด แต่ละแกลเลอรี ต่างจัดของตัวเองเงียบๆ แต่ว่าอันนี้เป็นมหกรรมขนาดใหญ่ที่ทุก แกลเลอรีจด ั พร้อมกันซึง่ คนดูกจ็ ะมาตัง้ คำ�ถาม มันก็จะได้ประโยชน์วา่ ศิลปะคืออะไร ฟังก์ชั่นคืออะไร มันทำ�อะไรได้บ้าง ซึ่งมันก็จะเป็น ประโยชน์สำ�หรับศิลปินรุ่นใหม่ด้วย มันก็เป็นโอกาสที่ดีว่า โอเค เรา กำ�ลังจะพูดถึงศิลปะ ศิลปะคืออะไร เราจะตัง้ คำ�ถามให้คนดูได้ลองคิด ดูว่า มันคงไม่ใช่อ.เฉลิมชัยแล้วที่เพนติ้งเป็นรูปพุทธศาสนาสวยๆ คือศิลปะไม่ใช่แค่สวยแล้วไง งานทีม ่ น ั เป็นร่วมสมัยมันไปไกลกว่านัน ้ มากๆ ก็เป็นโอกาสที่ดี แล้วอีกส่วนหนึ่งก็คือ Thailand Biennale ทีจ่ ะจัดทีก ่ ระบี่ จัดโดย สศร. กระทรวงวัฒนธรรม และได้ยน ิ ว่าคงจะ เป็นช่วงเวลาเดียวกันกับ Bangkok Art Biennale ซึ่งกระทรวง วัฒนธรรมก็มี agenda ของเขาอีกว่าความเป็นไทยเป็นอย่างไร ซึง่ ก็จะมีอะไรให้โต้แย้ง มีอะไรให้เล่นได้เยอะ ในอนาคตก็นา่ จะมีอะไรสนุกๆ ให้ทำ�” จุฬญาณนนท์ ศิริผล
“มีเพือ่ นเราเพิง่ ไปอินโดนีเซีย เมืองจาการ์ตา วงการของ alternative space มันค่อนข้าง stable แล้วในแง่เขาหาทุนได้ดว้ ยตัวเอง ทำ�ให้ มันอยูไ่ ด้แบบคงทนถาวรในระดับหนึง่ โดยทีไ่ ม่ตอ ้ งไปพึง่ ทุนจากต่าง ประเทศ เพราะทุนจากต่างประเทศก็จะมาแล้วก็จะไป ไม่แน่นอน เพราะ ฉะนั้นวิธีที่เขาค้นหาก็คือเขาก็อยากทำ�ให้มันอยู่ได้ เพื่อนเราไปมา แล้ว เรากำ�ลังจะไปด้วย เราก็อยากไปทำ�ความเข้าใจตรงนีเ้ หมือนกัน เหมือนยืมความรู้เขา แล้วเอาความรู้นี้มาปรับยังไงได้ เรื่องหา ทางออก ตอนนี้ยังตอบไม่ได้เหมือนกัน เพียงแต่ว่าเคยได้ยินว่า สิ่งที่เรียกว่า collective ซึ่งเคยอ่านเจอที่อังกฤษเขาจะมีเป็นกลุ่ม เป็นก้อน ถ้าเป็น membership กัน ก็ลงตังค์เป็นรายปี ทีนี้คุณ ก็สามารถมี access เข้าใช้ equipment ได้ ใช้สเปซได้ แต่เราไม่ เคยเอามาคิดทำ�จริงจัง” อัญชลี อนันตวัตน์
“สิ่งที่อยากเห็นมากกว่าคือเปลี่ยนระบบภาษีได้ มันจะน่าสนใจ มาก เพราะว่าคนหนึง่ บริจาคเงินให้กบ ั วัดหรือว่าโรงเรียนสามารถหัก ภาษีได้ ที่ต่างประเทศถ้าเกิดคุณบริจาคเงินให้กับองค์กรศิลปะคุณ หักภาษีได้เหมือนกัน ประเทศไทยยังทำ�ไม่ได้ ถ้าเกิดทำ�ได้ขน ึ้ มามันก็ จะเกิดมูลนิธิต่างๆ บริษัทต่างๆ จะเริ่มแชนแนลเงินมาให้กับองค์กร ศิลปะ มูลนิธิทางศิลปะ ดังนั้นกิจกรรมทางด้านศิลปะจะสามารถโต ขึน ้ มาได้ ผมมองว่าตรงนีเ้ ป็นโครงสร้างใหญ่เพราะว่าเราไม่สามารถ คาดหวังว่าคนจะเริ่มซื้องานศิลปะ คอลเลกต์งานศิลปะ แต่ว่าการที่ รัฐบาลปรับข้อจำ�กัดนี้ เงินก็จะไหลจากส่วนทีห ่ ก ั ภาษีได้สว่ นอืน ่ ๆ เข้า มาส่วนนีด ้ ว้ ย เมือ ่ เงินเข้ามาส่วนนี้ อุตสาหกรรมหรือกิจกรรมต่างๆ ก็เริม ่ โตขึน ้ ได้ ศิลปินก็มโี อกาสทีจ่ ะอยูไ่ ด้ เพราะว่าองค์กรเหล่านีก ้ ไ็ ด้ เงินมา กิจกรรมต่างๆ เรสิเดนซี นิทรรศการ งานคอมมิสชั่นก็เกิด ขึน ้ ได้ เศรษฐศาสตร์ของอุตสาหกรรมนีก ้ โ็ ตไปได้เพราะว่ามีเงินมาถึง แล้ว แต่วา่ การทีจ่ ะปลดล็อกให้เงินมาถึงได้กส ็ �ำ คัญ ผมมองสองทาง ว่าองค์กรรัฐบาลสนับสนุนตรง กับปรับโครงสร้างของระบบภาษีให้ คนหักภาษีได้คืน น่าจะ 10% นั่นคือสิ่งที่คาดหวัง” เฮนรี่ แทน
[1] นิทรรศการ ไร้มลทิน: Whitewash โดย หฤษฏ์ ศรีขาว ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ที่ Gallery VER ระหว่ า งวั น ที่ 3 มิ ถุ น ายน– 22 กรกฎาคม 2560 จั ด แสดงภาพถ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เหตุการณ์ประท้วงเมือ ่ พ.ศ. 2543 วันที่ 16 มิถน ุ ายน ทหาร ได้ไปที่แกลเลอรีแห่งนี้และสั่งให้ปลดงานที่จัดแสดงลง 5 ชิ้น
Editorial EDITOR-IN-CHIEF RIKSH UPAMAYA บรรณาธิการบริหาร ฤกษ์ อุปมัย DEPUTY EDITOR BEN WIBOONSIN รองบรรณาธิการ เบญญ์ วิบุลศิลป์ HEAD OF EDITORIAL DEPARTMENT PAT PHETTHONG หัวหน้ากองบรรณาธิการ พัทธ์ เพชรทอง FASHION EDITOR RATCHAKRIT CHALERMSAN บรรณาธิการแฟชั่น รัชกฤต เฉลิมแสน BEAUTY EDITOR WALLAYA TIPVANNAPORN บรรณาธิการความงาม วัลยา ทิพย์วรรณาภรณ์ FEATURE EDITOR ALISA SANTASOMBAT บรรณาธิการบทความ อลิสา สันตสมบัติ CULTURE EDITOR WITTHAWAT PUKKHABUT บรรณาธิการวัฒนธรรม วิทวัส พุคคะบุตร ART DIRECTOR TID UNAKORNSAWAT บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ ธิษณ์ อุนากรสวัสดิ์ EDITORIAL STAFFS NITIPON SUWANSATHIEN กองบรรณาธิการ นิธิพล สุวรรณเสถียร RACHATA RATANAVIROTKUL รชต รัตนวิโรจน์กุล DIGITAL SUPERVISOR RUNGTHONG KASIKUL ประสานงานดิจิทัล รุ้งทอง กสิกุล SENIOR DIGITAL SUPERVISOR CHATCHAI THONGSAK, NATHANICH CHAIDEE นักเขียนฝ่ายสื่อดิจิทัลอาวุโส ฉัตรชัย ทองศักดิ์, JUNIOR DIGITAL WRITER TAWIDA CHUKEATWATTANAKUL นักเขียนฝ่ายสื่อดิจิทัล ธาวิดา ชูเกียรติวัฒนากุล DIGITAL GRAPHIC DESIGNER PRAPHASSORN BUTPHROM กราฟิกดีไซเนอร์ฝ่ายดิจิทัล ประภัสสร บุตรพรหม PROOF READER PAPANIN KASETTRATAT พิสูจน์อักษร ปภาณิน เกษตรทัต FASHION COORDINATOR NUNTAPAT PANITVORANUN ประสานงานแฟชั่น นันทพัทธ์ พนิตวรนันท์ FASHION ASSISTANT KASIDIT SRIRITTIPRADIT ผู้ช่วยฝ่ายแฟชั่น กษิดิศ ศรีฤทธิประดิษฐ์ PHOTOGRAPHIC OFFICER PONPISUT PEJAROEN ฝ่ายภาพ พณพิสุทธิ์ ปีเจริญ COMPUTER RETOUCH MASHLAB.CO.,LTD คอมพิวเตอร์ รีทัช บริษัท เอ็มเอเอสเอชแล็บ จำ�กัด
ณัฐนิช ชัยดี
Marketing & Advertising PUBLISHER SARUN TANGTEVANON บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ศรัณย์ ตั้งเทวนนท์ MANAGING DIRECTOR TAYCHANUN TANGTEVANON กรรมการผู้จัดการ เตชนันท์ ตั้งเทวนนท์ GENERAL MANAGER PURIM SAHASAKUL ผูจ ้ ด ั การทัว่ ไป ปุรม ิ สหัสกุล SENIOR ACCOUNT MANAGER NAPASORN VORRANUTTARANG ผู้จัดการฝ่ายโฆษณาอาวุโส นภษร วรนุตตรังค์ SALES MANAGERS KANTALADA CHUENSAWAT ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา กัณฐลดา ชืน ่ สวัสดิ์ ACCOUNT SUPERVISOR TANYAPAT RERKPCHAIKRAIKUL, CHAYANISA SAENGKLA หัวหน้างานฝ่ายโฆษณา ธัญญาภัสร์ ฤกษ์พิชัยไกรกุล, ชญาณิสา HEAD OF MARKETING COORDINATOR KANYARAT RATTANAPITAK หัวหน้าฝ่ายประสานงานโฆษณา กันยารัตน์ รัตนพิทักษ์ ACCOUNTANT WICHITTRA THABTHIM บัญชี วิจิตรา ทับทิม MARKETING MANAGER PRAVEENSUDA MOOKKAEW ผู้จัดการฝ่ายการตลาด ประวีณสุดา มุขแก้ว MARKETING SUPERVISOR TIPTIDA PHOTHI-ASA หัวหน้าฝ่ายการตลาด ทิพย์ธิดา โพธิอาษา MARKETING EXECUTIVE / TRAFFIC NUTRAVEE KOEDRUAMBOON ผู้ช่วยฝ่ายการตลาด ณัฐรวี เกิดร่วมบุญ TRAFFIC COORDINATOR SUPANSA SUKKHO เจ้าหน้าที่ประสานงานฝ่ายการตลาด สุพรรษา สุขโข CIRCULATION SUPERVISOR ITSARA WONGSATITSATHEIN เจ้าหน้าที่กิจกรรมการตลาด อิศรา วงศ์สถิตเสถียร
PUBLISHER AMBITIOUS CO., LTD. UNIT B18 THAI SAMUDRA INSURANCE BUILDING, SURAWONG ROAD, SURIYAWONG, BANGRAK, BANGKOK 10500 THAILAND TEL. 0 2634 3301 FAX. 0 2634 4577 \ E-MAIL : FIRSTNAME@DONTFREEMAG.COM \WWW.DONTFREEMAG.COM COLOUR SEPARATION : 71 INTERSCAN COMPANY LIMITED 200/15-21, 200/34-35 NARET ROAD, SIPHRAYA, BANGRAK, BANGKOK 10500 PRINTING : S.PIJIT PRINTING CO.,LTD 3/7-9 BANGSUE RAILWAYSTATION ROAD, BANGSUE, BANGSUE, BANGKOK 10800 FOR ADVERTISING PLEASE CONTACT ADS@DONTFREEMAG.COM ONLINE VERSION AVAILABLE AT DONTFREEMAG.COM \ UPDATES & ACTVITIES : FACEBOOK.COM/DONTFREEMAG TWITTER.COM/DONTFREEMAG SUBSCRIPTION \ WWW.DONTFREEMAG.COM/SUBSCRIPTION.HTML NOTHING IN THIS MAGAZINE CAN BE REPRODUCED IN WHOLE OR IN PART WITHOUT THE WRITTEN PERMISSION OF THE PUBLISHER.
ผู้พิมพ์ : บริษัท แอมบิเชียส จำ�กัด \ ห้อง B18 อาคารไทยสมุทรประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0 2634 3301 โทรสาร 0 2634 4577 \ อีเมล์ทีมงาน Firstname@DONTfreemag.com www.DONTEdition.com แยกสี : บริษัท 71 อินเตอร์สแกน จำ�กัด 200/15-21, 200/34-35 ถนนนเรศ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 พิมพ์ : บริษัท ส.พิจิตรการพิมพ์ จำ�กัด เลขที่ 3/7-9 ถนนหน้าสถานีรถไฟบางซื่อ แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กทม.10800 ติดต่อโฆษณา ads@DONTfreemag.com ติดตามชมนิตยสารฉบับออนไลน์ได้ที่เว็บไซต์ DONTEdition.com และสามารถอัพเดตข่าวเกี่ยวกับวงการแฟชั่นและกิจกรรมต่างๆ ได้ที่ facebook.com/DONTfreemag และ Twitter.com/DONTfreemag ติดต่อสมัครสมาชิกได้ที่ itsara@DONTfreemag.com ห้ามนำ�ส่วนหนึ่งส่วนใดของนิตยสารนี้ไปคัดลอก ทำ�ซ้ำ� ดัดแปลง แก้ไข เผยแพร่ โดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากบรรณาธิการบริหารและบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
DONT
60
AUGUST 2017
แสงกล้า