กฟผ. รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำปี 2556 | "ผู้นำเทคโนโลยี...พลังงานสะอาด"

Page 1

¼ÙŒ¹Óà·¤â¹âÅÂÕ ¾Åѧ§Ò¹ÊÐÍÒ´

ÃÒ§ҹà¾×èÍ¡ÒþѲ¹ÒÍ‹ҧÂÑè§Â×¹ ¡¿¼. »ÃШӻ‚ 2556


วิสัยทัศน

โดยมีเปาหมายของการเปนองคการชั้นนำรวม 5 ดาน ประกอบดวย เปนองคการที่มีธรรมาภิบาล Good corporate governance

สารบัญ รูจัก กฟผ. สารผูวาการ ยุทธศาสตรความรับผิดชอบตอสังคม โครงสรางการดำเนินงาน CSR ของ กฟผ. ผลงานที่ภาคภูมิใจในป 2556 ผลกระทบ ความเสี่ยง และโอกาส การวิเคราะหสารัตถะของการรายงาน การดำเนินงานดาน CSR ตามแนวทางมาตรฐาน ISO 26000 ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติดานแรงงาน การดูแลสิ่งแวดลอม การปฏิบัติที่เปนธรรม ประเด็นดานผูบริโภค การมีสวนรวมของชุมชนและการพัฒนาชุมชน ผลการดำเนินงานเพิ่มเติมตามรายการตัวชี้วัด GRI-G3 ผลประเมินการดำเนินงานของ กฟผ. เกี่ยวกับรายงานเลมนี้ ตารางแสดงขอมูลตัวชี้วัดตามกรอบการรายงาน GRI-G3 ใบรับรองการประเมินระดับ B จาก GRI รางวัลแหงความภาคภูมิใจ การดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทในเครือ

“องคการชั้นนำในกิจการไฟฟาในระดับสากล"

เปนองคการที่มีการบริหารงานที่ดีมีประสิทธิภาพสูง

A high performance organization 4 6 8 9 10 11 14 15 16 22 23 30 41 43 48 58 66 68 69 75 76 78

คำแนะนำในการอานรายงานเลมนี้ รายงานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน กฟผ. ประจำป 2556 มีเนื้อหาประกอบดวยผลงานและความสำเร็จ ของกิจกรรมการดำเนินงานดานสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอม ที่ครอบคลุมมิติและมุมมองของการพัฒนา อยางยั่งยืน ทั้งดานเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และสังคม ตามแนวทางการรายงานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ของกิจการไฟฟา GRI-G3 (Sustainability Reporting Guidelines & Electric Utility Sector Supplement – RG & EUSS) และแนวทางความรับผิดชอบตอสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 สำหรับผลงาน และความสำเร็จของผลประกอบการดานการเงิน โปรดหาขอมูลจากหนังสือรายงานประจำป กฟผ. 2556

เปนองคการที่มีประสิทธิภาพการดำเนินงานเปนเลิศ Operational excellence

เปนองคการที่สังคมไววางใจและเปนความภูมิใจของชาติ National pride

เปนองคการที่มีฐานะการเงินมั่นคงเพียงพอตอการขยายงาน Financial viability


วิสัยทัศน

โดยมีเปาหมายของการเปนองคการชั้นนำรวม 5 ดาน ประกอบดวย เปนองคการที่มีธรรมาภิบาล Good corporate governance

สารบัญ รูจัก กฟผ. สารผูวาการ ยุทธศาสตรความรับผิดชอบตอสังคม โครงสรางการดำเนินงาน CSR ของ กฟผ. ผลงานที่ภาคภูมิใจในป 2556 ผลกระทบ ความเสี่ยง และโอกาส การวิเคราะหสารัตถะของการรายงาน การดำเนินงานดาน CSR ตามแนวทางมาตรฐาน ISO 26000 ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติดานแรงงาน การดูแลสิ่งแวดลอม การปฏิบัติที่เปนธรรม ประเด็นดานผูบริโภค การมีสวนรวมของชุมชนและการพัฒนาชุมชน ผลการดำเนินงานเพิ่มเติมตามรายการตัวชี้วัด GRI-G3 ผลประเมินการดำเนินงานของ กฟผ. เกี่ยวกับรายงานเลมนี้ ตารางแสดงขอมูลตัวชี้วัดตามกรอบการรายงาน GRI-G3 ใบรับรองการประเมินระดับ B จาก GRI รางวัลแหงความภาคภูมิใจ การดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทในเครือ

“องคการชั้นนำในกิจการไฟฟาในระดับสากล"

เปนองคการที่มีการบริหารงานที่ดีมีประสิทธิภาพสูง

A high performance organization 4 6 8 9 10 11 14 15 16 22 23 30 41 43 48 58 66 68 69 75 76 78

คำแนะนำในการอานรายงานเลมนี้ รายงานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน กฟผ. ประจำป 2556 มีเนื้อหาประกอบดวยผลงานและความสำเร็จ ของกิจกรรมการดำเนินงานดานสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอม ที่ครอบคลุมมิติและมุมมองของการพัฒนา อยางยั่งยืน ทั้งดานเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และสังคม ตามแนวทางการรายงานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ของกิจการไฟฟา GRI-G3 (Sustainability Reporting Guidelines & Electric Utility Sector Supplement – RG & EUSS) และแนวทางความรับผิดชอบตอสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 สำหรับผลงาน และความสำเร็จของผลประกอบการดานการเงิน โปรดหาขอมูลจากหนังสือรายงานประจำป กฟผ. 2556

เปนองคการที่มีประสิทธิภาพการดำเนินงานเปนเลิศ Operational excellence

เปนองคการที่สังคมไววางใจและเปนความภูมิใจของชาติ National pride

เปนองคการที่มีฐานะการเงินมั่นคงเพียงพอตอการขยายงาน Financial viability


2

พันธกิจ

ผลิต จัดหาให้ได้มา จัดส่ง จำ�หน่าย พลังงานไฟฟ้าและ ประกอบธุรกิจเกี่ยวเนื่อง รวมถึงการผลิตและ ขายลิกไนต์

วัฒนธรรมองค์การ รักองค์การ

ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนมีความรักผูกพันต่อองค์การ มีความสามัคคี เป็นนํา้ หนึง่ ใจเดียวกัน มีวนิ ยั มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ทุ่มเท อุทิศตนเพื่อองค์การ ซื่อสัตย์สุจริต รักษาผลประโยชน์ และปกป้องชื่อเสียงขององค์การทุกวิถีทาง

มุ่งงานเลิศ

ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีวิสัยทัศน์ มองการณ์ไกล มีการวางแผนงานที่ดีและมุ่ง กระทำ�การด้วยความตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติ สังคม สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยเป็นสำ�คัญ พัฒนาตนและพัฒนางานสมํ่าเสมอ เพื่อให้ผลงานมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นที่ยอมรับของประชาชน หน่วยงาน และองค์กรต่างๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ

เทิดคุณธรรม กฟผ. ยกย่องชมเชยผู้ประพฤติปฏิบัติตนดีงาม สนับสนุนผู้ปฏิบัติงานที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีจริยธรรมและมีคุณธรรม ประกอบคุณงามความดีให้แก่ประเทศชาติ และ กฟผ. ขจัดการ แสวงหาผลประโยชน์และความประพฤติชว่ั ทัง้ ปวง ให้ความเป็นธรรมแก่ผปู้ ฏิบตั งิ านและผูเ้ กีย่ วข้อง ทุกฝ่าย โดยไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ใดผู้หนึ่ง หรือองค์การใดองค์การหนึ่ง


3

จรรยาบรรณในการดำ�เนินงานของ กฟผ. กฟผ. กำ�หนดให้มจี รรยาบรรณเพือ่ ใช้เป็นมาตรฐานการดำ�เนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ โดยเชือ่ มัน่ ว่าจะสร้างคุณค่าระยะยาวให้แก่องค์การ อย่างมั่นคงยั่งยืน ดังนี้ ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ให้บริการด้านพลังงานอย่างมีคุณภาพ เชื่อถือได้ โดยยึดมั่นคุณธรรมในการดำ�เนินงาน คำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย โดยปฏิบัติต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างเสมอภาค เป็นธรรม และตรวจสอบได้ เคารพและปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานอย่างเคร่งครัด ดำ�เนินงานบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำ�เนินงานต้องยึดถือผลประโยชน์ของ กฟผ. เป็นสำ�คัญ โดยหลีกเลี่ยงไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล กฟผ. ทั้งด้านความรู้ความสามารถ และปลูกจิตสำ�นึกให้มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต พากเพียร อดทน และรับผิดชอบ สร้างเสริมความมั่นใจในการทำ�งานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ทั้งผลตอบแทน การแต่งตั้งโยกย้าย การให้รางวัลและการลงโทษที่เป็นธรรม รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน มีส่วนร่วมในการสร้างสมดุลให้สังคม โดยให้ความสำ�คัญต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ดำ�เนินงานโดยยึดถือผลประโยชน์ส่วนรวม และผู้มีส่วนได้เสียมากกว่าประโยชน์ส่วนตน พึงยึดถือปฏิบัติตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ กฟผ. และจรรยาวิชาชีพอย่างเคร่งครัด

ค่านิยมองค์การ

F I

R M C

Fairness

ตั้งมั่นในความเปนธรรม ดำเนินธุรกิจกับผูเกี่ยวของดวยการประพฤติปฏิบัติที่เทาเทียมและเปนธรรม ไมเลือกถือปฏิบัติและไมเอาเปรียบ

Integrity

ยึดมั่นในคุณธรรม ทำในสิ่งที่เปนความดี ความถูกตองดวยความซื่อสัตย สุจริต บริสุทธิ์ใจ โปรงใส เปดเผย และรักษาคำพูด

Responsibility & Accountability

สำนึกในความรับผิดชอบและหนาที่ คำนึงถึง ผลประโยชนของประเทศชาติ ใสใจสังคมชุมชน และการรักษาสิ่งแวดลอม ปฏิบัติหนาที่ดวยความเสียสละ อุทิศตนอยางเต็มกำลังความสามารถ

Mutual Respect

เคารพในคุณคาของคน ปฏิบัติตนตอผูอื่นดวยการยกยองใหเกียรติ เคารพในคุณคาของบุคคลและความคิดเห็น เรียนรูการอยูรวมกับชุมชนอยางยั่งยืน

Commitment to Continuous Improvement and Teamwork

มุงมั่นในการพัฒนาอยางตอเนื่องและทำงานเปนทีม ปรับปรุงประสิทธิภาพ การดำเนินงานดียิ่งขึ้นอยางตอเนื่อง มุงสูองคการแหงนวัตกรรม และพัฒนาตน ใหเขากับความเปลี่ยนแปลง


4

รู้จัก กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ กฟผ. พ.ศ. 2511 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2512 และครบ รอบ 44 ปี ในปี 2556 ซึ่ง กฟผ. เป็นรัฐวิสาหกิจด้านพลังงาน สังกัดกระทรวงพลังงาน โดยมีกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ดำ�เนิน กิจการหลักในด้านการผลิต จัดให้ได้มา และจัดส่งพลังงานไฟฟ้าให้แก่ การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ผู้ใช้ไฟฟ้า ตามที่กฎหมายกำ�หนด รวมทั้งประเทศใกล้เคียง เช่น มาเลเซีย เป็นต้น รวมถึงดำ�เนินการต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับพลังงานและบริการไฟฟ้า ผลิตและขายลิกไนต์หรือวัตถุเคมีจากลิกไนต์ ภายใต้กรอบพระราชบัญญัติ กฟผ. พ.ศ. 2511 และปรับปรุงล่าสุด พ.ศ. 2535 ปัจจุบันการดำ�เนินงานของ กฟผ. เป็นไปตามโครงสร้างกิจการไฟฟ้าที่มี กฟผ. เป็นผู้ผลิต ส่งไฟฟ้า รวมทั้งควบคุมการผลิตและส่ง ไฟฟ้าทั่วประเทศให้มีประสิทธิภาพ เพียงพอต่อการใช้ พร้อมให้ความสำ�คัญต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีของชุมชนและสังคม โดยมีคณะ กรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน (กกพ.) หรือเรคกูเรเตอร์ ทำ�หน้าที่กำ�กับดูแล กฟผ. มีสำ�นักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ 53 หมู่ 2 ถนนจรัญสนิทวงศ์ อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 และมีสำ�นักงานของฝ่ายปฏิบัติ การระบบส่งอีก 5 แห่ง โดยตั้งอยู่ที่ จังหวัดนนทบุรี 2 แห่ง จังหวัดพิษณุโลก 1 แห่ง จังหวัดขอนแก่น 1 แห่ง และ จังหวัดกระบี่ 1 แห่ง ความ ต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak) สุทธิของระบบ กฟผ. เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 14.00 น. อยู่ที่ 26,598.1 เมกะวัตต์ ซึ่ง เป็นยอดที่สูงที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยทำ�ลายสถิติสูงสุด เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2555 ซึ่งอยู่ที่ 26,423 เมกะวัตต์ ทั้งนี้เนื่องจากสภาพอากาศ ที่ร้อนจัดมีอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ในปี 2556 กฟผ. มีกำ�ลังผลิต 15,010.12 เมกะวัตต์ จากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. จำ�นวน 40 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 44.57 ของกำ�ลัง ผลิตรวมทั้งหมดในระบบ นอกจากนั้นเป็นการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก บริษัทในเครือ และประเทศเพื่อนบ้าน จากภารกิจหลักในการผลิตไฟฟ้าเพื่อรองรับความต้องการใช้งานภายในประเทศ และด้วยปัจจัยราคาและต้นทุน จึงทำ�ให้ กฟผ. ใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงมากที่สุด ร้อยละ 27.93 รองลงมาคือ ถ่านหิน ร้อยละ 9.58 นํ้ามันเตา ร้อยละ 0.70 ดีเซล ร้อยละ 0.09 และ เดินเครื่องเสริมระบบด้วยพลังนํ้าร้อยละ 3.11 รายละเอียด

กำลังผลิต (เมกะวัตต)

รอยละของ กำลังผลิตรวม

1. กำลังผลิตจากโรงไฟฟา กฟผ. โรงไฟฟาพลังน้ำ 22 แหง โรงไฟฟาพลังความรอน 3 แหง โรงไฟฟาพลังความรอนรวม 6 แหง โรงไฟฟาดีเซล 1 แหง และ โรงไฟฟาพลังงานทดแทน 8 แหง

15,010.12

44.57

2. ซื้อจากผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญ (IPP) 8 ราย และบริษัทในเครือ 3 ราย

12,741.69

37.83

3. ซื้อจากผูผลิตไฟฟาเอกชนรายเล็ก (SPP) ประเภทจายพลังไฟฟาแนนอน (Firm) 27 แหง

3,524.60

10.66

4. ซื้อจากผูผลิตไฟฟาประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 4 แหง และซื้อจากระบบสงเชื่อมโยงไทย-มาเลเซีย (HVDC)

2,404.60

7.14

หลังจากผลิตและจัดหาพลังงานไฟฟ้าแล้ว กฟผ. ได้ส่งพลังงานไฟฟ้าให้แก่ลูกค้าผ่านระบบส่งไฟฟ้าที่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายทั่ว ประเทศ ขนาดแรงดัน 69 115 132 230 300 และ 500 กิโลโวลต์ มีความยาวสายส่งทั้งสิ้น 32,384.24 วงจร-กิโลเมตร ไปยังสถานีไฟฟ้า แรงสูงจำ�นวน 213 แห่ง เพื่อส่งให้แก่สถานีไฟฟ้าของ กฟภ. ในส่วนภูมิภาค สถานีไฟฟ้าของ กฟน. ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล และ สถานีไฟฟ้าของลูกค้าตรง ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่จัดทำ�ไว้ล่วงหน้า โดยมีคุณภาพ และปริมาณตามที่กำ�หนดในสัญญาซื้อไฟฟ้า และเป็น ไปตามมาตรฐานการดำ�เนินงานด้านระบบไฟฟ้า (Grid Code) ที่กำ�หนดโดย กกพ. ในการควบคุมการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าเข้าระบบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กฟผ. ได้จัดตั้งศูนย์ควบคุมกำ�ลังไฟฟ้าแห่งชาติ (National Control Center: NCC) และศูนย์ควบคุมกำ�ลังไฟฟ้าของฝ่ายปฏิบัติการ (Regional Control Center: RCC) เขตภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และเขตนครหลวง เพื่อทำ�หน้าที่ในการควบคุมการส่งพลังงานไฟฟ้าให้เป็นไปตามมาตรฐาน และข้อกำ�หนด โดยมีการจำ�หน่ายพลังงานไฟฟ้า 169,557.24 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง แบ่งเป็นเขตนครหลวง 49,623.64 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง เขตภูมิภาค 116,821.23 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ลูกค้าตรงและประเทศเพื่อนบ้าน 2,154.20 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ไฟฟ้าสำ�รองไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ 958.17 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง


5 ในรอบปี 2556 กฟผ. มีรายได้จากการดำ�เนินงาน (ไม่รวมรายได้จัดหาเชื้อเพลิง) จำ�นวน 519,618,702,348.93 บาท คิดเป็นกำ�ไร สุทธิ 37,786,817,116.01 บาท และมียอดเงินนำ�ส่งรัฐ 19,056,171,935.24 บาท* สำ�หรับข้อมูลของพนักงาน ปรากฎอยู่ในเรื่องการปฏิบัติ ด้านแรงงาน นอกจากนี้ กฟผ. ยังให้บริการการเดินเครื่องและบำ�รุงรักษาโรงไฟฟ้า งานวิศวกรรม แก่กลุ่มโรงไฟฟ้าเอกชน ทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศ รวมถึงการลงทุนในธุรกิจอื่นๆ ผ่านบริษัทร่วมทุนกิจการค้า และบริษัทในเครือ จำ�นวน 5 กิจการ

บมจ.ผลิตไฟฟ้า บริษัทร่วม 25.41%

บมจ.ผลิตไฟฟ้า บริษัทย่​่อย 45%

บจ.ผลิตไฟฟ้า กิจการร่วมค้า 35%

บจ.กฟผ บริษัทย่อย 99.99%

บจ.อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส บริษัทย่อย 45%

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ�กัด (มหาชน) บริษัทมุ่งเน้นประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจำ�หน่ายกระแสไฟฟ้าให้ กฟผ. และลูกค้า ทัง้ ในประเทศและในภูมภิ าคอาเซียนภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้าระยะยาว รวมทัง้ ยังครอบคลุมธุรกิจการให้บริการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งด้าน พลังงาน โดยบริษัทได้แบ่งประเภทการลงทุนออกเป็น 4 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ 1) ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (ไอพีพี) 2) ธุรกิจ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (เอสพีพี) 3) ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าต่างประเทศ และ 4) ธุรกิจอื่นๆ ได้แก่ ธุรกิจเดินเครื่องและบำ�รุงรักษา และธุรกิจนํ้า บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) บริษัทมุ่งลงทุน พัฒนา และดำ�เนินงานด้านผลิตไฟฟ้าเป็นหลัก โดยจัดให้ มีความหลากหลายในการใช้เชื้อเพลิงทั้งก๊าซธรรมชาติ นํ้ามัน ถ่านหิน พลังนํ้า และพลังงานทดแทน อาทิ พลังงานลม เป็นต้น นอกจากนี้ ยังให้ความสำ�คัญกับการขยายธุรกิจไปยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง เช่น การให้บริการงานเดินเครื่องและบำ�รุงรักษาโรงไฟฟ้า การทำ�เหมืองถ่านหิน เป็นต้น รวมทั้ง การเข้าร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจในโครงการต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ บริษัท ผลิตไฟฟ้าและนํ้าเย็น จำ�กัด จัดตั้งขึ้นโดยการร่วมทุนระหว่าง กฟผ. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) และการไฟฟ้า นครหลวง (กฟน.) ซึ่งได้จดทะเบียนเป็นบริษัทจำ�กัด เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2546 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า และนํ้าเย็นสำ�หรับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ปัจจุบันบริษัทอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการลงทุนก่อสร้าง Cogeneration Plant แห่งใหม่ สำ�หรับ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 2 ซึ่งคาดว่าจะสามารถเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ได้ในช่วงกลางปี 2559 บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด กฟผ. ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 โดยนโยบายในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทจะเป็นการลงทุนโดยตรง หรือจัดตั้งบริษัทในเครือเพื่อร่วมลงทุนโครงการต่างๆ ในต่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งพลังงานไฟฟ้าส่งเข้ามาใช้ในประเทศ ปัจจุบัน บริษัทได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ลงทุนในโครงการไฟฟ้าพลังนํ้าเงี้ยบ 1 ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ขนาดกำ�ลังผลิต 289 เมกะวัตต์ โดยบริษัทมีสัดส่วนการลงทุนในโครงการ ร้อยละ 30 โครงการอยู่ระหว่างเตรียมการ ก่อสร้างและคาดว่าจะสามารถเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2562 บริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จำ�กัด จัดตั้งขึ้นโดยการร่วมทุนระหว่าง กฟผ. บริษัท Mitsubishi Heavy Industries, Ltd. (MHI) บริษัท Mitsubishi Corporation (MC) และบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) (RATCH) ซึ่งได้จดทะเบียน เป็นบริษัทจำ�กัด เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดำ�เนินธุรกิจให้บริการซ่อมชิ้นส่วน Hot Gas Path Parts ของเครื่องกังหันก๊าซ ครอบคลุมพื้นที่ให้บริการใน 18 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สปป.ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม กัมพูชา บรูไน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา ภูฏาน เนปาล อัฟกานิสถาน และมัลดีฟส์ โรงงาน ซ่อมชิ้นส่วนของบริษัทตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี ซึ่งได้เปิดดำ�เนินการแล้วเมื่อเดือนเมษายน 2554 *ข้อมูล ณ วันที่ 21 มีนาคม 2557 (อยู่ระหว่างการตรวจสอบของสำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน)


6

7

สารผูวาการ

กฟผ. ภูมิใจอยางมาก ที่ไดรับรางวัลระดับประเทศ SOE Awards ดานการดำเนินงาน เพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมดีเดน และนวัตกรรมดีเดน และรางวัล ASEAN Energy Awards 2013

ในนามของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ผมมีความยินดีทไ่ี ดแนะนำหนังสือรายงานเพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืนของ กฟผ. ประจำป 2556 ชึ่งจัดทำขึ้นเพื่อเปดเผยเนื้อหาและขอมูลตัวชี้วัด ซึ่งครอบคลุมมิติของการพัฒนาอยางยั่งยืนตามแนวทาง Global Reporting Initiative (GRI-G3) และแนวทางความรับผิดชอบตอสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 เพื่อแสดงถึงความกาวหนาของการดำเนินกิจการ ในเชิงการพัฒนาสูความยั่งยืน ในป 2556 กฟผ. ไดรวมกับภาคีเครือขาย ดำเนินการปลูกปาครบ 2,000,000 ตน ตามเปาหมายของโครงการ “ปลูกปาตนน้ำ เขื่อนสิริกิติ์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ระยะที่ 2” เพื่อฟนฟูปาเสื่อมโทรมและสรางสมดุล ความหลากหลายทางชีวภาพ บริเวณพื้นที่ตนน้ำของลุมน้ำนานเหนือเขื่อนสิริกิติ์ รวมทั้งจัดกิจกรรมปลูกฝงจิตสำนึกใหทุกภาคสวน มีความรัก หวงแหน และรวมดูแลเอาใจใสทรัพยากรปาไมและสิ่งแวดลอมใหคงอยูอยางยั่งยืน นอกจากนั้น กฟผ. ยังเปนเจาภาพจัดการประชุมวิชาการและนิทรรศการ “ทรัพยากรไทย: นำสิ่งดีงามสูตาโลก” โครงการอนุรักษ พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) และไดรับพระมหากรุณาธิคุณ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปด “อาคารราชานุรักษ” ที่เขื่อนศรีนครินทร จังหวัด กาญจนบุรี เพื่อเปนแหลงศึกษาเรียนรูเรื่องราวการอนุรักษทรัพยากรตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในการปกปก รักษาพันธุกรรมพืชของไทย และพัฒนาการใชทรัพยากรใหเกิดความยั่งยืน กวา 44 ปของการดำเนินงานกิจการ กฟผ. มุงพัฒนาสูการเปนองคการแหงความภาคภูมิใจ (National Pride) ของสังคมไทย ที่บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลมาตรฐานสากล มุงแสวงหานวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อสราง ความมั่นคงดานพลังงานไฟฟาของประเทศ ควบคูไปกับการดูแลเกื้อหนุนสังคม ใหมีความเขมแข็งยั่งยืน และสรางคุณคาเพิ่มรวมกัน (Creating Shared Value) รวมทั้งในชวงตนป ที่เกิดอุทกภัยขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศ พนักงานจิตอาสาของ กฟผ. ไดรวมอุทิศตน ในการบรรจุถุงยังชีพ เพื่อนำไปชวยเหลือผูคนที่ไดรับความเดือดรอนจนสถานการณคลี่คลายในที่สุด กฟผ. ยังใหความสำคัญตอการจัดการภาวะวิกฤติและบริหารความเสีย่ งในกิจการ โดยมีแผนรองรับและเตรียมความพรอมอยางสม่ำเสมอ ทำใหสามารถดำเนินการผลิตไฟฟาไดตอเนื่อง กรณีสหภาพเมียนมารหยุดจายกาซธรรมชาติ รวมถึงเหตุไฟฟาดับใน 14 จังหวัดภาคใต จากเหตุการณฟาผาเสาสายสงไฟฟาแรงสูง ที่สามารถคลี่คลายไดในระยะเวลาอันสั้นอีกเชนกัน ในรอบปของการจัดทำรายงาน กฟผ. ภูมิใจอยางมากที่ไดรับรางวัลระดับประเทศ SOE Awards ดานการดำเนินงานเพื่อสังคมและ สิ่งแวดลอมดีเดน และนวัตกรรมดีเดน และรางวัล ASEAN Energy Awards 2013 ประเภท Community-based off-Grid Category รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งประเภท Best Practices-Clean Coal Use and Technology in Power Generation Category และประเภท Best Practices in Surface Coal Mining Category และอดีตผูวาการ นายสุทัศน ปทมสิริวัฒน ไดรับรางวัล Excellence in Energy Management ในการทำหนาที่ Power HAPUA Chairman and Governor EGAT of Thailand ซึ่งสะทอนถึงความมุงมั่นของ กฟผ. ในการพัฒนาองคการสูความเปนเลิศ ดานการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพการใหบริการ รวมทั้ง กฟผ. ไดวางยุทธศาสตร การเติบโตอยางยั่งยืน มุงพัฒนาธุรกิจหลักใหมีความแข็งแกรง และสรางโอกาสการเติบโตของบริษัทในกลุม กฟผ. (EGAT Group) เพื่อเตรียมความพรอมสูการเปนสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และขับเคลื่อนประเทศไทยใหกาวสูประชาคมโลกในอนาคต

(นายสุนชัย คำนูณเศรษฐ) ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย


8

ยุทธศาสตร์ความรับผิดชอบต่อสังคม ตามทีส่ �ำ นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) มอบนโยบายให้หน่วยงานรัฐวิสาหกิจนำ�มาตรฐาน ISO 26000 มากำ�หนด เป็นยุทธศาสตร์ในการดำ�เนินงานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม กฟผ. จึงได้ทบทวนและจัดทำ�แผนแม่บทความรับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 โดยมีกรอบยุทธศาสตร์หลัก (Strategic Theme) 4 ด้าน คือ

1

เสริมสร้างความยั่งยืนของพลังงานไฟฟ้า มุ่งเน้นการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ การพัฒนา โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน และการพัฒนาโรงไฟฟ้าชุมชน

2

สร้างการมีส่วนร่วมและความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย มุ่งเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับสังคม และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ

3

เชื่อมโยงบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมสู่ระดับบุคคลในเชิงรุก มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ

4

พัฒนาสมรรถภาพในกระบวนงานให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมสู่มาตรฐานสากล มุ่งเน้นการส่งเสริมการดำ�เนินงานของกระบวนการหลักให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR In Process) ตามมาตรฐาน ISO 26000 การดำ�เนินงานโครงการที่เป็นประโยชน์ ต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

เพื่อให้กรอบยุทธศาสตร์ดังกล่าว ถูกถ่ายทอดจากระดับองค์การลงสู่ระดับสายงาน จึงมีการเชื่อมโยงเข้ากับยุทธศาสตร์หลักและ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ขององค์การในแผนวิสาหกิจ กฟผ. ยกตัวอย่างในปี 2556 เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ “เป็นองค์การที่ห่วงใยสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม” โดยมีแผนปฏิบัติการความรับผิดชอบต่อสังคมรองรับ และมีการรายงานผลต่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลราย ไตรมาส และคณะกรรมการ กฟผ. ทุก 6 เดือน


9

โครงสร้างการดำ�เนินงานความรับผิดชอบต่อสังคม กฟผ. เป้าหมายของวิสัยทัศน์หนึ่งที่มีความสำ�คัญต่อการดำ�เนินงานและภาพลักษณ์ที่ดีขององค์การ คือ “เป็นองค์การที่สังคมไว้วางใจ และเป็นความภูมิใจของชาติ (National Pride)” ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่ง กฟผ. ต้องการเป็นเพื่อนกับ ชุมชน เป็นพลเมืองดีและเป็นที่ยอมรับของสังคม นับเป็นภารกิจที่ทุกสายงานใน กฟผ. จะต้องร่วมมือกัน ดังนั้นจึงมีการปรับปรุงโครงสร้าง การบริหารและดำ�เนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมให้เกิดการบูรณาการและการพัฒนาที่ยั่งยืน

คณะกรรมการ กฟผ.

คณะกรรมการบริหาร กฟผ.

คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล กฟผ.

คณะกรรมการบริหารงาน สื่อสารองคการและ ความรับผิดชอบตอสังคม คณะทำงานการดำเนินกิจกรรม ความรับผิดชอบตอสังคม

คณะทำงานกลั่นกรองแผนงานและงบประมาณ การสื่อสารองคการ ชุมชนสัมพันธและ ความรับผิดชอบตอสังคม

คณะทำงานการดำเนินงาน ตามมาตรฐาน ISO 26000

คณะทำงานจัดทำหนังสือรายงาน เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน

คณะกรรมการบริหารงานสื่อสารองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม มีรองผู้ว่าการกิจการสังคม เป็นประธาน และผู้ช่วยผู้ว่าการ ทุกสายงาน เป็นคณะทำ�งาน มีหน้าที่ในการกำ�หนดยุทธศาสตร์ นโยบาย ในการดำ�เนินงานความรับผิดชอบต่อสังคม คณะทำ�งานการดำ�เนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมมีผู้ช่วยผู้ว่าการกิจการสังคมเป็นประธานและผู้แทนระดับ 11 ทุกสายงาน เป็นคณะทำ�งาน มีหน้าทีใ่ นการศึกษา พิจารณาและสนับสนุนการดำ�เนินงานตามมาตรฐาน ISO 26000 การพัฒนาโครงการ CSR การบริหาร ความสัมพันธ์ผู้มีส่วนได้เสีย การเสริมสร้างพนักงานให้มีจิตอาสา และประเด็นที่สำ�คัญของหนังสือรายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะทำ�งานกลั่นกรองแผนงานและงบประมาณการสื่อสารองค์การ ชุมชนสัมพันธ์และความรับผิดชอบต่อสังคม มีผู้ช่วยผู้ว่าการ กิจการสังคมเป็นประธาน และมีผู้แทนด้านการเงินและงบประมาณทุกสายงานเป็นคณะทำ�งาน มีหน้าที่ในการพิจารณางบประมาณความ รับผิดชอบต่อสังคม ของ กฟผ. คณะทำ�งานการดำ�เนินงานตามมาตรฐาน ISO 26000 และคณะทำ�งานจัดทำ�รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน มีผู้อำ�นวยการฝ่าย กิจการสังคม เป็นประธาน และผู้แทนทุกสายงาน เป็นคณะทำ�งาน จากโครงสร้างของคณะกรรมการและคณะทำ�งานดังกล่าว จึงทำ�ให้ทุกสายงานเข้ามามีส่วนร่วมในการดำ�เนินงานความรับผิดชอบ ต่อสังคมของ กฟผ. และมีการกำ�หนดโครงสร้างการดำ�เนินงานในรูปแบบเดียวกันกับภาพรวมขององค์กร ซึง่ จะมีการรายงานผลการดำ�เนินงาน เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการธรรมาภิบาล ทุกไตรมาส และ คณะกรรมการ กฟผ. ทุก 6 เดือน รวมถึงคณะกรรมการบริหาร กฟผ. ตาม วาระที่เกี่ยวข้อง


10

ผลงานที่ภาคภูมิใจในปี 2556 ผลการดำ�เนินงาน การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานสะอาด โครงการพัฒนากลไกพลังงานที่สะอาด (CDM) - โครงการโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ที่อยู่ใน ระหว่างร่วมพัฒนาโครงการ - โครงการตามมาตรฐานมงกุฎไทย โครงการต้นแบบสำ�หรับโครงการลดก๊าซ เรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของ ประเทศไทย (T-VER Program) โครงการจัดทำ�คาร์บอนฟุตพรินท์

ปี 2555

ปี 2556

หน้า

8,442.9 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง

5,936.00 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง

37 35

7 โครงการ

6 โครงการ

35

2 โครงการ

2 โครงการ

35

2 โครงการ

35

1 โครงการ

36

1 แห่ง

77

โรงไฟฟ้าที่บริหารสู่ความเป็นเลิศ โรงไฟฟ้า เขื่อน เหมือง ได้รับการรับรอง มาตรฐานสิ่งแวดล้อม ISO 14001

25 แห่ง

27 แห่ง

36

โรงไฟฟ้าที่ผ่านการประเมิน CSR-DIW

18 แห่ง

20 แห่ง

77

28 หน่วยงาน

29 หน่วยงาน

77

อาคาร ท.102 อาคารอนุรักษ์ พลังงาน 3 ปีซ้อน

38

19 ผลิตภัณฑ์

21 ผลิตภัณฑ์

43

ผลการดำ�เนินงานด้าน DSM (สะสม)

ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ 10 ล้าน ตันคาร์บอนไดออกไซด์

ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ 11 ล้าน ตันคาร์บอนไดออกไซด์

44

โครงการปลูกป่าต้นน้ำ�เขื่อนสิริกิติ์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

ป่าต้นน้ำ� 1 ล้านต้น แฝก 1 ล้านต้น ฝายชะลอนํ้า 880 ฝาย

ป่าต้นนํ้า 1 ล้านต้น

36

สนับสนุนทุนวิจัย สนับสนุนการก่อสร้างอาคารศูนย์เฝ้าระวัง เวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

22.8 ล้านบาท

โรงไฟฟ้าดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน การได้รับใบรับรองการลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดฉลากเบอร์ 5 (สะสม)

อาคาร ท.102 อนุรักษ์ พลังงาน 2 ปีซ้อน

สนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การรายงานข้อมูลตามแนวทาง GRI-G3

ระดับ B

199.15 ล้านบาท

53

36.4 ล้านบาท

52

40 ล้านบาท

56

ระดับ A

68


11

ผลกระทบ ความเสี่ยง และโอกาส กฟผ. ได้นำ�หลักการบริหารความเสี่ยงมาใช้เป็นเครื่องมือหนึ่งที่สำ�คัญในการสร้างความเชื่อมั่นว่าองค์การจะสามารถดำ�เนินงานให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำ�หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพิ่มมูลค่า (Value Enhancement) ให้กับองค์การ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดภายใต้กรอบการบริหารความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ ซึง่ มีการดำ�เนินงานอย่างเป็นระบบตามหลักการบริหารความเสีย่ ง ของ COSO-Enterprise Risk Management (ERM) และแนวทางการประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจของกระทรวงการคลัง เป็นมาตรฐาน เดียวกันทั่วทั้งองค์การ โดย กฟผ. มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ขององค์การตามแผนวิสาหกิจ ซึ่งมีเป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์หลักที่สำ�คัญประการหนึ่งคือ การเป็นองค์การที่ห่วงใยสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ กฟผ. ยังมีคณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งทำ�หน้าทีก่ �ำ กับดูแลการปฏิบตั ติ ามกรอบการบริหารความเสีย่ งทีเ่ พียงพอและมีประสิทธิภาพ มีการจัดทำ�แผนบริหารความเสีย่ ง ประจำ�ปี ตลอดจนติดตามและรายงานผลการบริหารจัดการความเสี่ยงเป็นประจำ�ทุกไตรมาส ผูรับผิดชอบ ในการสอบทาน

ผูรับผิดชอบในการ บริหารความเสี่ยง

ผูรับผิดชอบในการสนับสนุนดานเทคนิคและกระบวนการ

คณะกรรมการ กฟผ. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการตรวจสอบ

สำนักตรวจสอบภายใน (สนตน.)

คณะกรรมการบริหาร กฟผ. (คบ.กฟผ.)

คณะกรรมการบริหารจัดการดานยุทธศาสตร การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน กฟผ. (คยส.)

คณะกรรมการดำเนินการ บริหารความเสี่ยง และควบคุมภายใน ระดับสายงาน

คณะทำงานบริหาร ความเสี่ยงและควบคุม ภายใน กฟผ. (คท-สค.)

ฝายแผนวิสาหกิจ กลุมงานบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายใน กฟผ. (สค-ผ./อผว.)

คณะทำงานจัดทำแผน ดำเนินธุรกิจตอเนื่อง ของ กฟผ. (คผธน-กฟผ.)

นอกจากนี้ีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงยังทำ�หน้าที่สอบทานการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงต่อหน่วยงานกำ�กับดูแลและสาธารณะ มีการกำ�หนดนโยบายและแผนจัดการความเสีย่ งทัง้ ในระดับองค์การและระดับกิจกรรม เพือ่ ให้ปจั จัยเสีย่ งขององค์การอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ (Risk Appetite) รวมทั้งนำ�ปัจจัยเสี่ยงที่หลงเหลืออยู่ (Residual Risk) มาเป็นส่วนหนึ่งในการวิเคราะห์ SWOT และเชื่อมโยงกับกระบวนการ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ โดยปรับเปลีย่ นเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปจั จุบนั ในรูปแบบของ Balanced Scorecard และ และยังคงกำ�หนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ไว้ 4 ด้านไว้คอื 1) ด้านกลยุทธ์และการแข่งขัน 2) ด้านการเงิน 3) ด้านการดำ�เนินงาน 4) ด้าน การปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ครอบคลุมการดำ�เนินงานทุกภารกิจหลัก ซึ่งรวมถึงการบริหารจัดการความเสี่ยงที่มีผลกระทบ ต่อสังคม กฟผ. จึงกำ�หนดแผนบริหารการสือ่ สารองค์การเพือ่ สร้างโอกาสให้ชมุ ชนได้รบั รูแ้ ละเข้าใจในการดำ�เนินงานของ กฟผ. แผนพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและส่งเสริมอาชีพเพื่อให้ชุมชนบริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าได้รับความรู้และการสนับสนุนด้านอาชีพ เพิ่มรายได้ แผนงาน สร้างความเข้าใจ ด้านพลังงานด้วยการศึกษาเชิงประจักษ์แก่ชุมชน ด้วยการจัดกิจกรรมการศึกษาดูงานโรงไฟฟ้าต่างๆ และแผนสนับสนุนการพัฒนาและ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน เช่น การสนับสนุนการจัดทำ�ศูนย์เรียนรู้ฟื้นฟูหญ้าทะเล ร่วมกับชุมชนเกาะปู อำ�เภอ เหนือคลอง จังหวัดกระบี่ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนกับ กฟผ. อย่างยั่งยืน หน่วยงานเจ้าของความเสี่ยงที่จัดทำ� แผนบริหารความเสีย่ งองค์การเพือ่ ลดระดับความรุนแรง จะต้องติดตามและรายงานการบริหารจัดการ ความเสีย่ งเสนอคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงด้วย


ÁØ‹§ÁÑè¹

ÊÌҧÊÃä ...

¾Ñ²¹Ò¾Åѧ§Ò¹ÊÐÍÒ´ “กฟผ. เดินหนาพัฒนาโรงไฟฟาและเหมืองแมเมาะ สูการเปนตนแบบเทคโนโลยีถานหินสะอาด ที่เปนมิตรตอชุมชนและสิ่งแวดลอม สรางชื่อควารางวัลใหญระดับประเทศและภูมิภาค

Thailand Coal Awards 2013 และ ASEAN Energy Awards 2013

การันตีคุณภาพ การดำเนินงานที่ดีของ กฟผ. ในฐานะผูนำพลังงานสะอาดในอาเซียน”


14

การวิเคราะห์สารัตถะของการรายงาน (Materiality Analysis) กฟผ. มีเป้าประสงค์ในการบริหารจัดการองค์การให้สามารถผลิตและส่งพลังงานไฟฟ้าสนองความต้องการของประเทศอย่างยั่งยืน โดยคำ�นึงถึงสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ควบคูก่ บั การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การส่งเสริม ให้ใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนที่อยู่รอบพื้นที่สำ�นักงานทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค เพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์การเป็นองค์การชั้นนำ�ในกิจการไฟฟ้าในระดับสากล ภายใต้การดำ�เนินงานที่มีธรรมาภิบาล และความ รับผิดชอบต่อสังคม

สำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสีย

ดังนั้น กฟผ. จึงทำ�การสานสัมพันธ์ สำ�รวจความคิดเห็น เปิดเวที​ีรับฟังความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนพูดคุยกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ต่างๆ เช่น หน่วยงานภาครัฐ ลูกค้า คู่ค้า สถาบันการเงิน ผู้นำ�ทางความคิด องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชน และสื่อมวลชน เพื่อรับทราบความ ต้องการ ความคาดหวัง และข้อเสนอแนะ นำ�มาปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำ�เนินการ ตามประเด็นที่นำ�เสนอในตาราง ดังนี้

สำ�คัญมาก

สำ�คัญ

การดำ�เนินงานด้านชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชน ข้อผูกพันร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพภูมิอากาศ ความรับผิดชอบต่อสินค้าและบริการ การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน การเปิดเผยข้อมูลและรายงาน

การบริหารจัดการพลังงาน การบริหารจัดการการปล่อยมลภาวะ การบริหารจัดการของเสียและวัสดุเหลือใช้ การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์และบริการ

ความหลากหลายทางชีวภาพ การจ้างงาน

การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การดูแลพนักงาน สุขภาพและความปลอดภัย

สำ�คัญ

สำ�คัญมาก สำ�คัญต่อ กฟผ.


15

การดำ�เนินงานด้าน CSR ตามแนวทางมาตรฐาน ISO 26000

1 ธรรมาภิบาล 2 สิทธิมนุษยชน 3 การปฏิบัติด้านแรงงาน 4 การดูแลสิ่งแวดล้อม 5 การปฏิบัติที่เป็นธรรม 6 ประเด็นด้านผู้บริโภค 7 การมีส่วนร่วมของชุมชนและการพัฒนาชุมชน


16

ธรรมาภิบาล ในรอบปี 2556 กฟผ. ยังคงดำ�เนินงานด้านธรรมาภิบาลและการกำ�กับกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง ตามหลักการและแนวทางการ ดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม มาตรฐาน ISO 26000 รวมทั้งสอดคล้องกับการเปิดเผยข้อมูลมาตรฐาน (Standard Disclosures) หัวข้อการกำ�กับดูแลกิจการ (Governance, Commitments and Engagement) ของคู่มือการจัดทำ�รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ของ GRI-G3 โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้การดำ�เนินงานด้านธรรมาภิบาลขององค์การก้าวหน้าสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

โครงสร้างองค์การและระบบการกำ�กับดูแลขององค์การ

โครงสร้างการจัดการองค์การของ กฟผ. ประกอบด้วย ฝ่ายบริหารซึ่งมีผู้ว่าการเป็นผู้บริหารสูงสุด และมีผู้บริหารระดับรองผู้ว่าการ 10 สายงาน ทำ�หน้าที่บริหารงานให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ของ กฟผ. โครงสร้างนี้อยู่ภายใต้ การกำ�กับดูแลของคณะ กรรมการ กฟผ. ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะรัฐมนตรี ทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบายและกำ�กับดูแลให้การดำ�เนินงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยอีก 7 คณะ เพื่อช่วยกลั่นกรองงานและปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ กฟผ. มอบหมายหรือ กำ�หนด คณะกรรมการ กฟผ.

คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคล กฟผ.

คณะกรรมการบริหาร ของ คณะกรรมการ กฟผ.

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล กฟผ.

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการ สรรหารองผูวาการ คณะกรรมการ สรรหาผูชวยผูวาการ และผูอำนวยการฝาย

ผูวาการ ผูชวยผูวาการสำนักตรวจสอบภายใน ผูบริหารใหญดานการเงิน

สำนักผูวาการ

การบริหารจัดการและการวางแผน

การพัฒนาโครงการ

การผลิตไฟฟา

ระบบสงไฟฟา

รองผูวาการนโยบายและแผน

รองผูวาการพัฒนาโรงไฟฟา

รองผูวาการผลิตไฟฟา

รองผูวาการระบบสง

รองผูวาการบัญชีและการเงิน

รองผูวาการพัฒนาระบบสง

รองผูวาการเชื้อเพลิง

รองผูวาการบริหาร

รองผูวาการพัฒนาธุรกิจ

รองผูวาการกิจการสังคม

โครงสร้างคณะกรรมการ กฟผ.

ทั้งนี้ เพื่อแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ให้เกิดความสมดุล โปร่งใส ระหว่างผู้กำ�กับดูแลและฝ่ายบริหารของ กฟผ. ให้มีความชัดเจน ผู้ดำ�รง ตำ�แหน่งประธานกรรมการ กฟผ. และผู้บริหารสูงสุดขององค์การเป็นคนละบุคคลเสมอ แต่เพื่อให้มีความเชื่อมโยงระหว่างการกำ�กับดูแล กับการบริหารจึงกำ�หนดให้ผู้บริหารสูงสุด คือ ผู้ว่าการทำ�หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ กฟผ.

องค์ประกอบของคณะกรรมการ กฟผ.

คณะกรรมการ กฟผ. ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 11 คน แบ่งเป็น หญิง 2 คน และชาย 9 คน ซึ่งนอกจากจะเป็นผู้แทนจาก หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานกำ�กับดูแล และหน่วยงานอื่นๆ ที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับกิจการของ กฟผ. แล้ว ยังประกอบด้วยกรรมการอิสระ อีกจำ�นวน 7 คน โดยมีผู้ว่าการเป็นกรรมการโดยตำ�แหน่ง


17 กลไกที่รัฐ ผู้กำ�กับดูแล และพนักงานใช้ในการเสนอคำ�แนะนำ�และข้อคิดเห็น

กระทรวงการคลัง กระทรวงพลังงาน สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ใช้วิธีการเสนอคำ�แนะนำ�ผ่านแนว นโยบายของผูถ้ อื หุน้ ภาครัฐทีม่ ตี อ่ รัฐวิสาหกิจ (Statement of Direction: SOD) นอกจากนี้ กรรมการ กฟผ. ทีเ่ ป็นผูแ้ ทนจากกระทรวงการคลัง กระทรวงพลังงาน และกรรมการอิสระ ยังทำ�หน้าที่ให้คำ�แนะนำ�และแสดงความคิดเห็นในเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในส่วนของพนักงาน กลไกที่ใช้ในการเสนอคำ�แนะนำ�และข้อคิดเห็น คือ คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ กฟผ. ซึ่งประกอบด้วย กรรมการ กฟผ. เป็นประธาน และมีผู้แทนฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างร่วมเป็นกรรมการ มีอำ�นาจหน้าที่ตามที่กำ�หนดไว้ใน พระราชบัญญัติ แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 อาทิ การพิจารณาให้ความเห็นชอบเกีย่ วกับสภาพการจ้าง แต่งตัง้ บุคคลหรือคณะบุคคล เพือ่ ดำ�เนินการ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแรงงาน กำ�หนดมาตรฐานขั้นตํ่าของสภาพการจ้าง เป็นต้น

การประเมินผลและการกำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการ กฟผ. มีการประเมินตนเองทุกปี โดยได้ร่วมกันพิจารณาอย่างเปิดเผยถึงปัญหาและผลงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม โดยใช้แบบประเมิน 2 แบบ ได้แก่ แบบทั้งคณะและแบบรายบุคคล ซึ่งคณะกรรมการ กฟผ. ได้มีการแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม เกีย่ วกับผลการประเมินตนเองดังกล่าว และร่วมกันกำ�หนดแนวทางทีจ่ ะดำ�เนินการเพิม่ เติม สำ�หรับคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ มีการจัดให้ มีการประเมินตนเองแบบทั้งคณะ และรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ กฟผ. คณะกรรมการ กฟผ. และกรรมการชุดย่อยได้รับค่าตอบแทนรายเดือน เบี้ยประชุม และโบนัส โดยเบี้ยประชุมได้รับตามอัตราที่ กำ�หนดตามมติคณะรัฐมนตรี และได้รับเฉพาะเดือนที่ได้เข้าร่วมประชุม หากเดือนใดมีการประชุมมากกว่า 1 ครั้ง ให้รับเบี้ยประชุมได้เพียง ครั้งเดียว และหากกรรมการท่านใดได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการอื่นๆ มากกว่า 1 คณะ ให้ได้รับเบี้ยประชุมเพียงคณะใด คณะหนึ่งที่มีการประชุมในเดือนนั้นๆ เท่านั้น เว้นแต่กรรมการตรวจสอบ จะได้รับเบี้ยประชุมในอัตราเหมาจ่ายเป็นรายเดือน เท่ากับเบี้ย ประชุมกรรมการ กฟผ. สำ�หรับโบนัสจะได้รับตามผลประกอบการขององค์การ ทั้งนี้ ได้มีการเปิดเผยค่าตอบแทน เบี้ยประชุม และโบนัสของ กรรมการเป็นรายบุคคล ไว้ในรายงานประจำ�ปี สำ�หรับผู้ว่าการ มีการพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานปีละ 2 งวด งวดละ 6 เดือน โดยมีหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเป็นไปตาม ที่กำ�หนดไว้ในสัญญาจ้าง โดยผู้ว่าการ ต้องจัดทำ�แผนปฏิบัติงานประจำ�ปี ซึ่งประกอบด้วย เกณฑ์วัด 3 ส่วน คือ คุณภาพในการบริหารงาน มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ และเกณฑ์วัดการบรรลุผลตามเป้าหมาย โดยคณะกรรมการ กฟผ. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบให้เป็น ผู้สอบทานความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นำ�มาประเมินและรับรองก่อนเสนอคณะกรรมการ กฟผ. และผลคะแนนจะนำ�ไปคำ�นวณค่าตอบแทน ประจำ�และค่าตอบแทนผันแปร รวมทั้งพิจารณาการอยู่ในตำ�แหน่งผู้ว่าการ ส่วนการประเมินผลงานผู้บริหาระดับสูง เป็นไปตามบันทึกข้อตกลงการประเมินผลการดำ�เนินงานระหว่าง ผู้ว่าการกับรองผู้ว่าการ ซึ่งกำ�หนดตัวชี้วัด นํ้าหนัก และค่าเกณฑ์วัดไว้อย่างชัดเจน โดยมีการประเมินผลการดำ�เนินงานเป็น 2 งวด คือ งวด 6 เดือนแรก และงวด สิ้นปี และนำ�ผลการประเมินไปเชื่อมโยงกับการกำ�หนดค่าตอบแทนและแรงจูงใจ โดยมีคณะทำ�งานติดตามผลการดำ�เนินงานรัฐวิสาหกิจของ กฟผ. ทำ�หน้าที่สอบทานผลการดำ�เนินงานตามบันทึกข้อตกลงการประเมินผลฯ

กระบวนการต่างๆ ที่คณะกรรมการสูงสุดใช้กำ�กับดูแลเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน

คณะกรรมการ กฟผ. มีมาตรการป้องกันกรณีที่กรรมการและผู้บริหารใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น ในทางมิชอบ (Abusive Self-dealing) โดยให้กรรมการ กฟผ. ทุกคนต้องรายงานให้ทราบถึงตำ�แหน่งอืน่ ๆ ได้แก่ การเป็นกรรมการ/ผูบ้ ริหาร ระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจ/บริษทั อืน่ รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ระหว่างปีบญ ั ชี จำ�นวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุน้ ) และรายชือ่ บริษทั ทีถ่ อื ครองหลักทรัพย์ เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ดำ�เนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่มากกว่าหรือ เท่ากับ ร้อยละ 10 ของจำ�นวนผู้ที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด และเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวทั้งหมดไว้ในรายงานประจำ�ปี นอกจากนี้ กฟผ. ได้จัดทำ�แบบเปิดเผยรายการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม บรรจุไว้ในคู่มือการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี อง กฟผ. เพือ่ ให้ผบู้ ริหาร กฟผ. ระดับรองผูว้ า่ การ หรือเทียบเท่าขึน้ ไปถือปฏิบตั ิ โดยจะต้องเปิดเผยเมือ่ รับตำ�แหน่งใหม่ รวมทั้งเมื่อเกิดรายการที่เป็นการขัดกันระหว่างปี โดยผู้เกี่ยวข้องในฐานะเป็นกรรมการจัดซื้อจัดจ้างจะต้องรายงานเมื่อพบรายการที่ขัดกัน ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่


18 การกำ�หนดคุณสมบัติและความเชี่ยวชาญของผู้บริหารระดับสูง

คณะกรรมการ กฟผ. แต่งตั้งจากบุคคล ทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ ที่มีความเชี่ยวชาญตามสาขาวิชาชีพในบัญชีรายชื่อกรรมการ รัฐวิสาหกิจตามประกาศของกระทรวงการคลัง มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านที่เป็นประโยชน์ต่อ กฟผ. ทั้งนี้ การตรวจสอบคุณสมบัติ ของกรรมการ กฟผ. ได้ตรวจสอบให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำ�หรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สำ�หรับกรรมการชุดย่อย กำ�หนดให้คุณสมบัติเป็นไปตามข้อบังคับ กฟผ. ว่าด้วยกรรมการชุดย่อยต่างๆ ในส่วนของผูบ้ ริหารระดับสูง การสรรหาและการแต่งตัง้ จะใช้กลไกของคณะกรรมการสรรหารองผูว้ า่ การ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การและผูอ้ �ำ นวยการ ฝ่าย โดยหลักเกณฑ์และวิธีคัดเลือกจะเป็นไปตามข้อบังคับ กฟผ. ว่าด้วยการแต่งตั้ง การสับเปลี่ยนหมุนเวียน ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการ ฝ่ายขึ้นไป โดยคำ�นึงถึงเพศ และเกณฑ์ความหลากหลายด้านอื่นๆ ได้แก่ ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ประวัติการทำ�งาน ผลการ ปฏิบัติงาน สมรรถนะความสามารถ และคุณสมบัติอื่นๆ ที่จำ�เป็นสำ�หรับตำ�แหน่งนั้น

ค่านิยม จรรยาบรรณและหลักการที่เกี่ยวข้องกับผลการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม

คณะกรรมการ กฟผ. ได้ออกข้อบังคับ กฟผ. ที่ 326 ว่าด้วย การกำ�กับดูแลกิจการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล 6 หลัก ได้แก่ หลัก นิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีสว่ นร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุม้ ค่า โดยให้คณะกรรมการ กฟผ. ผูบ้ ริหาร และผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวอย่างเคร่งครัด และข้อบังคับ กฟผ. ฉบับที่ 360 ว่าด้วย คณะกรรมการธรรมาภิบาล กฟผ. ซึ่งทำ� หน้าทีก่ �ำ กับดูแลและให้ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย ให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายและแผนงานการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละแผนความรับผิดชอบ ต่อสังคม รวมถึงข้อบังคับ กฟผ. ฉบับที่ 347 ว่าด้วย ประมวลจริยธรรมของคณะกรรมการ กฟผ. ฝ่ายบริหาร และผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งกำ�หนด “มาตรฐานทางจริยธรรมและมาตรฐานทางจริยธรรม กฟผ.” เป็นหมวด 2 ของข้อบังคับดังกล่าว ในส่วนของค่านิยมองค์การ ในปี 2556 กฟผ. ได้ทบทวนและพบว่า ค่านิยม FIRM-C ซึ่งประกอบด้วย การตั้งมั่นในความเป็นธรรม (Fairness) ยึดมั่นในคุณธรรม (Integrity) สำ�นึกในความรับผิดชอบและหน้าที่ (Responsibility & Accountability) เคารพในคุณค่าของ คน (Mutual Respect) และมุ่งมั่นในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและการทำ�งานเป็นทีม (Commitment to Continuous Improvement and Teamwork) ยังคงสอดคล้อง รองรับ และเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ กรอบยุทธศาสตร์ และวัฒนธรรมองค์การของ กฟผ. รวมทั้งช่วย สนับสนุนให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเกิดวิถีการทำ�งานร่วมกัน มีทิศทางที่สอดคล้องกัน ช่วยสร้างความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน สร้างความไว้วางใจซึง่ กันและกัน สร้างความรูส้ กึ ในการเป็นกลุม่ เดียวกัน และเป็นองค์ประกอบทีส่ �ำ คัญต่อการเกิดวัฒนธรรมองค์กรทีเ่ ข้มแข็ง “FIRM-C” จึงเป็นปัจจัยที่สำ�คัญต่อวิธีคิดและการปฏิบัติให้เกิดคนเก่งและคนดี นอกจากนี้ เพื่อให้มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลอย่างยั่งยืน กฟผ. ได้กำ�หนดให้มีแผนแม่บทการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กฟผ. ปี 2555-2559 ซึ่งถ่ายทอดสู่การปฏิบัติอย่างทั่วถึง โดยกำ�หนดเป็นแผนงาน กิจกรรม ตัวชี้วัด ผ่านทางการประชุมของคณะกรรมการ เสริมสร้างธรรมาภิบาล การปฏิบัติตามจริยธรรม ค่านิยม และวัฒนธรรม กฟผ. ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนในแต่ละสายงานทำ�หน้าที่เชื่อมโยง การขับเคลื่อนระหว่างสายงานกับ กฟผ. มีการทบทวนความเหมาะสมของแผนปฏิบัติการรองรับแผนแม่บท ทุกปี ในส่วนของการดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม มีการดำ�เนินการโดยนำ�มาตรฐาน ISO 26000 มาเป็นแนวทางในการจัดทำ�แผน แม่บทความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ รวมทั้งได้นำ�มาตรฐานอื่นๆ มาใช้ในการดำ�เนินงานด้วย อาทิ มาตรฐาน ISO 9001 มาตรฐาน ISO 14001 มาตรฐาน TIS 18001 และ หลักการบริหารสู่ความเป็นเลิศในระบบ SEPA (State Enterprise Performance Appraisal)

มาตรการหรือหลักการป้องกันล่วงหน้า

กฟผ. ได้ดำ�เนินการภายใต้กรอบของกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการนำ�หลักการ บริหารความเสี่ยงทั้งระดับองค์การและระดับการทำ�งาน มาใช้เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ทั้งยังได้เชื่อมโยงการบริหารความเสี่ยง กับการควบคุมภายใน โดยนำ�ปัจจัยเสี่ยงในระดับองค์การไปใช้กำ�หนดแผนงานและมาตรการควบคุมภายใน เพื่อมาจัดทำ�แผนวิสาหกิจและ แผนปฏิบัติงานระดับสายงาน

การเป็นสมาชิกภาพและสนับสนุนโครงการต่างๆ ภายนอกองค์การ

กฟผ. ได้เข้าร่วมให้การสนับสนุน และร่วมเป็นภาคีองค์กร ภาคีเครือข่ายที่ให้ประโยชน์กับสังคมอย่างมากมายในปีที่ผ่านมา อย่างต่อเนือ่ ง อาทิ สมาชิกองค์กรภาคียทุ ธศาสตร์ด�ำ เนินการขับเคลือ่ นแผนพัฒนาความซือ่ ตรงแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ของศูนย์คณ ุ ธรรม


19 (องค์กรมหาชน) สมาชิกองค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (TBCSD) สนับสนุนเยาวชนช่างเชื่อมไทยเปิดศูนย์อบรมฝึกฝีมือแรงงานที่ สถานีไฟฟ้าแรงสูงไทรน้อย โครงการต่างๆ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์พลังงาน และกิจกรรมเพื่อ สังคมต่างๆ

ประเด็นความคาดหวังของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียและกลไกการตอบสนองของ กฟผ.

กฟผ. ให้ความสำ�คัญกับข้อวิตกกังวลของผูม้ สี ว่ นได้เสีย จึงจัดให้มกี ารรับฟังความคิดเห็นของชุมชนรอบพืน้ ทีโ่ ครงการพัฒนาโรงไฟฟ้า ใหม่ การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ คุณภาพชีวิตและการแก้ไข มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสอบถามความกังวลของชุมชน ด้วยการทำ� Social Mapping การสำ�รวจสัมพันธภาพของชุมชนกับโรงไฟฟ้า และสำ�รวจการยอมรับของผู้มีส่วนได้เสียต่อการดำ�เนินงาน ของ กฟผ. ในภาพรวม ทั้งนี้ การสานสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียของ กฟผ. นอกจากจะดำ�เนินการตามกรอบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อาทิ รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 แล้ว ยังมีกระบวนการเตรียมการเชิงรุก การป้องกัน และควบคุมการดำ�เนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการใช้ระบบ ISO Series และ OHSAS 18001 ในการบริหารจัดการและมีการตรวจประเมินรับรอง โดยผู้ตรวจประเมินทั้งภายในและ ภายนอกอีกด้วย กฟผ. แบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่สำ�คัญในระดับองค์การออกเป็น 5 กลุ่ม โดยใช้หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกจากบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ หน่วยงาน ที่ได้รับผลกระทบจากการดำ�เนินงานของ กฟผ. รวมทั้งผู้สนับสนุนปัจจัยการผลิต และมีการจัดทำ�และดำ�เนินการตามแผนงาน เพือ่ ตอบสนองผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียแต่ละกลุม่ อย่างเป็นระบบ รวมทัง้ มีการทบทวนกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตามระยะเวลาทีก่ �ำ หนด เพือ่ ให้แน่ใจ ว่ายังมีความเหมาะสม โดยรายละเอียดของประเด็นความต้องการของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียและกลไกการตอบสนองของ กฟผ. ได้แสดงตาม ตารางต่อไปนี้ กลุมผูมีสวนไดเสีย

ความตองการและความคาดหวัง

กลไกการตอบสนอง

ชองทางการสื่อสาร

ก) กลุ  ม ผู  ก ำกั บ ดู แ ล ประกอบดวยรัฐบาล กระทรวงพลั ง งาน กระทรวงการคลั ง และคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน

การปฏิบัติตามนโยบายและการใหความรวมมือที่ดี เชน 1. สนองความตองการใชไฟฟาของประเทศไดอยางพอเพียง มีคุณภาพและเชื่อถือได ในราคาที่เหมาะสมเปนธรรม 2. บริหารงานอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล 3. ดูแลสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอม 4. วางแผนการลงทุนอยางเหมาะสมและสามารถสงรายไดเขารัฐ ตามที่กำหนด 5. แสวงหาโอกาสการลงทุนในตางประเทศและนำรายไดเขา ประเทศ 6. สงเสริมการวิจยั และพัฒนาดานพลังงานทดแทนทีส่ ะอาด

กฟผ. ไดกำหนดยุทธศาสตรหลัก ของแผนวิสาหกิจ กฟผ. ใหสอด คลองกับความตองการและความ คาดหวั ง ของหน ว ยงานกำกั บ ดูแลพรอมทัง้ กำหนดเปาประสงค เชิงยุทธศาสตรเพือ่ ถายทอดลงไป สู  แ ผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารของสายงาน รองผูวาการตามความรับผิดชอบ เพื่อดำเนินการใหเปนรูปธรรม

• การประชุม สัมมนาและการ

ข) สังคมในภาพรวม ของประเทศ

ความรับผิดชอบตอประเทศชาติและสังคมโดยใหความ สำคัญการพัฒนาประเทศ ความผาสุกและผลประโยชน ของสังคม เชน 1. ประสิทธิภาพในการบริหารงานเพื่อใหสามารถผลิตไฟฟา ไดอยางเพียงพอ เชื่อถือได และมีราคาถูก 2. ความรับผิดชอบตอผลกระทบที่เกิดจากการดำเนินงาน 3. การมีสวนชวยเหลือสังคมในดานตางๆ

กฟผ. ไดกำหนดยุทธศาสตรหลัก ของแผนวิสาหกิจ กฟผ. เพื่อตอบ สนองความต อ งการและความ คาดหวังของสังคม เชนเดียวกับ การตอบสนองความตองการของ หนวยงานกำกับดูแล สำหรับการ สือ่ สาร และชวยเหลือสังคมในดาน ตางๆ กฟผ. ไดมอบหมายใหสายงาน รองผูวาการกิจการสังคมเปนผู รับผิดชอบ

• www.egat.co.th • Call Center กฟผ. 1416 • ศูนยขอมูลขาวสาร กฟผ.

อบรม

• การดำเนินงานตามกิจกรรม

ตางๆ ตามนโยบายของรัฐบาล และหนวยงานราชการ • การพบปะอยางเปนทางการ และไมเปนทางการ • รวมกิจกรรมอื่นๆ เชน กีฬา บันเทิง การเยี่ยมเยือน (เขื่อน โรงไฟฟา ฯลฯ) ทั้งอยางเปน ทางการและไมเปนทางการ

ณ สำนักงานใหญ (prinfo.egat.co.th) หน • วยงานประชาสัมพันธของ ฝายปฏิบัติการและโรงไฟฟา ตางๆ


20 กลุมผูมีสวนไดเสีย

ความตองการและความคาดหวัง

กลไกการตอบสนอง

ค) ชุมชนในพื้นที่รอบ โรงไฟฟาและชุมชน ตามแนวสายสงไฟฟา

ควบคุมการดำเนินการใหมีผลกระทบดานความปลอดภัยและ สิ่งแวดลอมตอการดำรงชีวิตประจำวันนอยที่สุดและไดรับการ สนับสนุนที่เหมาะสมสอดคลองกับความตองการของชุมชน อยางยั่งยืน เขน 1. ควบคุมปริมาณมลพิษที่เกิดจากการดำเนินงาน เชน เสียง ฝุน สนามแมเหล็ก ไฟฟา และกาซเรือนกระจก เปนตน ใหอยูในระดับต่ำตามกฎหมายกำหนด และเปนไปตาม มาตรฐานความปลอดภัย 2. มีมาตรการรองรับในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ 3. มีชองทางการสื่อสารสองทาง เพื่อรับรูการดำเนินงานของ กฟผ. และสามารถแสดงความคิดเห็นและรองเรียนปญหา ที่เกิดขึ้นได 4. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนใหดีขึ้น

กฟผ. ไดมอบหมายใหเปนความ รับผิดชอบของหนวยงานมวลชน สัมพันธประจำโรงไฟฟาและ สำนักงานเขตตางๆ กฟผ. ไดจัด ตั ้ ง คณะกรรมการประสานงาน สังคม ชุมชน สิง่ แวดลอม เพือ่ เปน กลไกในการสรางความสัมพันธ กับชุมชนและรับฟงความคิดเห็น นอกจากนี้ ผูบ ริหารโรงไฟฟาและ ฝายปฏิบตั กิ ารตางๆ ไดจดั กิจกรรม รวมกับชุมชนรอบโรงไฟฟาและแนว เขตเดินสายสงไฟฟาเปนประจำ

• การประชุมคณะกรรมการ

ง) พนักงาน

1. การเจริญเติบโตอยางยั่งยืนของ กฟผ. 2. ความมั่นคงดานการงาน 3. ความกาวหนาตามเสนทางสายอาชีพที่ชัดเจน 4. คาตอบแทน/สวัสดิการ ที่เหมาะสม 5. การมีสวนรวมในการตัดสินใจและโอกาสในการ แสดงความคิดเห็น 6. สุขอนามัย และความปลอดภัยในการทำงาน 7. ผลตอบแทนการทำงาน

กฟผ. ไดกำหนดแนวทางสราง ความผูกพันของบุคลากร ให สอดคลองกับความตองการ/ ความคาดหวังของผูปฏิบัติงาน และแนวทางในการดูแลผู ปฏิบัติงาน

• Email • ขาวประชาสัมพันธรายสัปดาห

1. พลังงานไฟฟาเพียงพอ 2. มั่นคง ปลอดภัย 3. ราคาเหมาะสม 4. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย 5. โปรงใส เปดเผย

• กำหนดยุทธศาสตรหลักใน

• ขาวสาร กฟผ. หนังสือพิมพ

จ) ประชาชน นักวิชาการ และ NGO

การสรางสัมพันธภาพ กำหนดกลุ มเปาหมายเพื่อ • หาแนวทางรวมกัน • จัดเวทีเสวนาอยางเปนทาง การและไมเปนทางการ

ชองทางการสื่อสาร ประสานงานสังคม ชุมชน สิ่งแวดลอม • หนวยงานมวลชนสัมพันธ ของ กฟผ. ผู • บริหารจัดกิจกรรมรวมกับ ชุมชนรอบโรงไฟฟา • การเขาพบทำความรูจักผูนำ ชุมชน เพื่อรับฟงปญหา • การเชิญผูแทนชุมชนเขาชม โรงไฟฟา และโครงการของ กฟผ. • Web Site ของ กฟผ. • การจัดกิจกรรมโครงการทาง ด า นสั ง คมและสิ ่ ง แวดล อ ม เชน ปลูกปา ชีววิถี แพทย เคลื่อนที่ แวนแกว เปนตน

รายปกษ

• โปสเตอร • เสียงตามสาย • EGAT TV ทาง Internet

วิทยุ โทรทัศน

• การสำรวจฯ • Call Center • สัมมนา ประชุม จดหมาย website email การเยี่ยมเยียน

กลยุทธ์การมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย (EGAT Stakeholder Engagement) กลุมผูมีสวนไดเสีย

คณะกรรมการ กฟผ.

ผูบริหารระดับสูง/ ผูบริหารระดับกลาง

รูปแบบการมีสวนรวม

ประเทศ/รัฐบาล ผูกำกับดูแล สังคม/ชุมชนในภาพรวม ชุมชนรอบ กฟผ. องคกรเอกชน พนักงาน

- การประชุมของคณะกรรมการ กฟผ. - การประชุมของคณะกรรมการชุดยอย

กลุมผูมีสวนไดเสีย ประเทศ/รัฐบาล ผูกำกับดูแล สังคม/ชุมชนในภาพรวม ชุมชนรอบ กฟผ. องคกรเอกชน

รูปแบบการมีสวนรวม - พิธีเปดงาน/แถลงขาว - สัมมนา/ทัศนศึกษา - กิจกรรมสรางสัมพันธ / กิจกรรม CSR - ประชุม / พบปะเยี่ยมเยียน - รับฟงความคิดเห็น - เยี่ยมชมกิจการ กฟผ.

ความถี่

การสื่อสาร

อยางนอย 1 ครั้ง/เดือน

สองทาง

ความถี่

การสื่อสาร

ตามกิจกรรม สองทาง


คณะกรรมการ กฟผ.

ผูบริหารระดับสูง/ ผูบริหารระดับกลาง

ประเทศ/รัฐบาล ผูกำกับดูแล สังคม/ชุมชนในภาพรวม ชุมชนรอบ กฟผ. องคกรเอกชน พนักงาน

- การประชุมของคณะกรรมการ กฟผ. - การประชุมของคณะกรรมการชุดยอย

กลุมผูมีสวนไดเสีย ประเทศ/รัฐบาล ผูกำกับดูแล สังคม/ชุมชนในภาพรวม ชุมชนรอบ กฟผ. องคกรเอกชน

รูปแบบการมีสวนรวม - พิธีเปดงาน/แถลงขาว - สัมมนา/ทัศนศึกษา - กิจกรรมสรางสัมพันธ / กิจกรรม CSR - ประชุม / พบปะเยี่ยมเยียน - รับฟงความคิดเห็น - เยี่ยมชมกิจการ กฟผ. - การประชุมคณะกรรมการบริหาร - การประชุมคณะกรรมการระดับรองผูวาการ - การประชุมคณะกรรมการระดับฝาย - การประชุมผูบริหารระดับกลาง - การประชุมคณะกรรมการกิจการสัมพันธ - เยี่ยมชมกิจการ กฟผ.

พนักงาน

กลุมผูมีสวนไดเสีย

การสื่อสารภายใน/ ภายนอก ผานสื่อ อิเล็กทรอนิกส

ประเทศ/รัฐบาล ผูกำกับดูแล สังคม/ชุมชนในภาพรวม ชุมชนรอบ กฟผ. องคกรเอกชน พนักงาน

รูปแบบการมีสวนรวม

สื่อสิ่งพิมพ

สื่ออื่นๆ

กลุมผูมีสวนไดเสีย ประเทศ/รัฐบาล ผูกำกับดูแล สังคม/ชุมชนในภาพรวม ชุมชนรอบ กฟผ. องคกรเอกชน พนักงาน

สองทาง

ความถี่

การสื่อสาร

ตามกิจกรรม สองทาง อยางนอย 1 ครั้ง/เดือน

ความถี่

- EGAT Facebook

การสื่อสาร สองทาง

ทุกวัน - EGAT Internet

ทางเดียว

- EGAT Facebook - EGAT Internet - EGAT Webboard - EGAT News - EGAT เสียงตามสาย - Email: Internet PR

สองทาง

- EGAT: Internet News

กลุมผูมีสวนไดเสีย ประเทศ/รัฐบาล ผูกำกับดูแล สังคม/ชุมชนในภาพรวม ชุมชนรอบ กฟผ. องคกรเอกชน พนักงาน

อยางนอย 1 ครั้ง/เดือน

รูปแบบการมีสวนรวม - รายงานทางการเงินและรายงานประจำป - รายงานความรับผิดชอบตอสังคม - รายงานการดำเนินการดานสิ่งแวดลอม - แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟา - แผนพับ/เอกสารแจก - วารสาร EGAT Magazine - บอรดนิทรรศการในประเทศ

ทุกวัน

ทางเดียว

ทุกสัปดาห

ความถี่ รายป ตามกิจกรรม รายเดือน ตามแผนงาน

รูปแบบการมีสวนรวม ความถี่ - ขาวภารกิจ กฟผ. - ขาวความรับผิดชอบตอสังคม - ขาวสารมวลชน ตามสถานการณ/ - ประกาศทั่วไป ตามแผนงาน - ประกาศรับสมัครงาน - ภาพยนตโฆษณา - สื่อที่ใชสนับสนุนทางโทรทัศน/วิทยุ/สิ่งพิมพ

การสื่อสาร ทางเดียว

สองทาง

การสื่อสาร

ทางเดียว

21


22

สิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน

ในปี 2556 กฟผ. ได้ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินงานด้านสิทธิมนุษยชน ตามแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม ตามมาตรฐาน ISO 26000 อันประกอบด้วยประเด็นต่างๆ ได้แก่ การไตร่ตรองอย่างรอบคอบ สถานการณ์ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน การหลีกเลี่ยง การร่วมกระทำ�ผิด การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง การเลือกปฏิบัติและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส สิทธิการเป็นพลเมืองและสิทธิการเมือง สิทธิทาง ด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และหลักการพื้นฐานและสิทธิในการทำ�งาน โดยมีผลการดำ�เนินงานในรอบปีดังนี้

การไตร่ตรองอย่างรอบคอบและการหลีกเลี่ยงการร่วมกระทำ�ผิด

กฟผ. มีการดำ�เนินการตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งประกอบด้วยหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการ มีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติตามระเบียบ ข้อกำ�หนด และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ ในปี 2556 กฟผ. ยังได้มีการบูรณาการการดำ�เนินงานตามมาตรฐาน ISO 26000 โดยการทบทวนกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ขององค์การและพัฒนาแนวทางการสานสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้ได้มาซึ่งความคาดหวังและประเด็นข้อวิตกกังวลต่างๆ เพื่อนำ�มา ปรับปรุงแผนการดำ�เนินงานขององค์การให้มีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียมากขึ้น

สถานการณ์ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน

กฟผ. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำ�เนินงานของ กฟผ. ของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อป้องกันความเสี่ยงเกี่ยวกับประเด็นสิทธิ มนุษยชนโดยการผ่านการสานสัมพันธ์กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสียในรูปแบบต่างๆ เช่น การสานเสวนา การทำ�ประชาพิจารณ์ การจัดให้มรี ะบบร้องเรียน การเปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการทำ�รายงานประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง

กฟผ. ได้กำ�หนดให้มีข้อตกลงร่วมเพื่อการเจรจาต่อรองระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน เช่น คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ กฟผ. และคณะทำ�งานประสานความเข้าใจภายในองค์การ สำ�หรับความขัดแย้งกับประชาชนในประเด็นเกี่ยวกับระบบส่งกระแสไฟฟ้าแรงสูง อาทิ การลักขโมยชิ้นส่วนของเสาส่งไฟฟ้า การใช้รถยนต์บรรทุกหนักหรือเครื่องจักรเข้าไปทำ�งานในแนวเขตเดินสายส่งไฟฟ้าแรงสูง และการ รุกลํ้าพื้นที่ในแนวเขตเดินสายเพื่อทำ�เกษตรกรรมหรือสร้างสิ่งปลูกสร้าง กฟผ. ใช้วิธีสร้างความรู้ความเข้าใจและการมีส่วนร่วมกับชุมชนใกล้ แนวเขตเดินสายไฟฟ้า ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การเข้าพบผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อแจ้งกฎหมายข้อกำ�หนดความปลอดภัยในเขต เดินสายส่ง การจัดโครงการสัมมนาการป้องกันทรัพย์สนิ ของชาติ เพือ่ สร้างเครือข่ายชุมชน การจัดสัมมนาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ประกอบการ รถยก รถเครน รถบรรทุก และรถแบ็คโฮรายใหญ่ การร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปีกับสมาคมชาวไร่อ้อย เพื่อลดปัญหาไฟดับจากการเผา ไร่อ้อย และการจัดโครงการ “เยี่ยมบ้านยามแลง” เพื่อสร้างสัมพันธ์กับประชาชนใกล้แนวสายส่ง

การเลือกปฏิบัติและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส

การให้ความสำ�คัญกับประเด็นการเลือกปฏิบัติและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสของ กฟผ. สะท้อนผ่านค่านิยมองค์การ (FIRM-C) หัวข้อ F-Fairness การตั้งมั่นในความเป็นธรรม อันหมายถึง การดำ�เนินธุรกิจกับผู้เกี่ยวข้องด้วยการประพฤติปฏิบัติที่เท่าเทียมและเป็นธรรม ไม่เลือกถือปฏิบัติและไม่เอาเปรียบ นอกจากนี้ กฟผ. ได้กำ�หนดจรรยาบรรณการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร ในหัวข้อที่ 8 ให้ความเคารพ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องและไม่มีพฤติกรรมที่เป็นการคุกคามทางเพศ ตลอดจนยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐาน ทางจริยธรรม หัวข้อที่ 5 การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัยและไม่เลือกปฏิบัติ

หลักการพื้นฐานและสิทธิในการทำ�งาน

ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีสิทธิ์เสมอภาคกัน มีหน้าที่ในการปฏิบัติระเบียบวินัยขององค์การ ได้รับเงินเดือน พร้อมสวัสดิการต่างๆ จาก กฟผ. การเลื่อนระดับ เลื่อนตำ�แหน่ง ตามระเบียบและข้อกำ�หนด การสมัครเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน กฟผ. สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ กฟผ. และสมาชิกชมรมต่างๆ การได้รับความดูแลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจากการทำ�งาน


23

การปฏิบัติด้านแรงงาน กฟผ. มีผลการดำ�เนินงานด้านแรงงานสูงกว่ามาตรฐานที่กฎหมายกำ�หนด และเป็นไปตามนโยบายทรัพยากรมนุษย์ ที่ส่งเสริมให้ บุคลากรเป็นคนดี ซื่อสัตย์ เป็นผู้มีน้ำ�ใจไมตรี ประพฤติตนเป็นที่ไว้วางใจ และได้รับการยอมรับนับถือจากผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน มุ่งเน้น การทำ�งานที่เป็นธรรม โปร่งใส คำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อม ผลประโยชน์ของประเทศชาติ และประโยชน์ของประชาชน มุ่งเน้นวัฒนธรรมการ ทำ�งานให้บุคลากรเป็นผู้รอบรู้ เชี่ยวชาญในงาน มองการณ์ไกล มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล บริหารจัดการให้บุคลากรได้รับ ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เป็นธรรมและเหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มั่นคง และปลอดภัย ได้รับโอกาสและมีความก้าวหน้าในการทำ�งาน ตามความสามารถ และการยกย่องชมเชย

การจ้างงานและความสัมพันธ์การจ้างงาน

ในปี 2556 กฟผ. จัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการจ้างงาน เช่น งานทำ�บุญวันขึ้นปีใหม่ งานวันพบผู้ว่าการ งานวันครอบครัว กฟผ. และกิจกรรมกีฬาสี งานทำ�บุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ปฏิบัติงานที่เสียชีวิตในหน้าที่ เพื่อเป็นการรำ�ลึกถึงคุณงามความดี งานมอบเข็มเชิดชูเกียรติแก่บุคคลผู้กระทำ�ความดี ซึ่งผู้ว่าการชื่นชมยกย่องเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้ปฏิบัติงาน งานบรรยายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับหลังเกษียณอายุ และพิธีมอบของที่ระลึกให้แก่พนักงานที่จะครบเกษียณอายุ

นอกจากนี้ กฟผ. ได้จัดให้มีรถบริการรับ-ส่งพนักงาน จำ�นวน 42 คัน ซึ่งนอกจากจะเป็นการอำ�นวยความสะดวกให้พนักงานที่ใช้ บริการประมาณ 1,800 คนต่อเดือน แล้ว ยังเป็นการลดผลกระทบด้านการจราจรและสิ่งแวดล้อมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดย เฉพาะชุมชนรอบสำ�นักงานใหญ่ กฟผ. อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรีอีกด้วย

ประเภทการจ้าง พนักงาน พนักงานสัญญาจ้างพิเศษ รวม

จำ�นวนผู้ปฏิบัติงานจำ�แนกตามประเภทการจ้างและพื้นที่ สำ�นักงาน กฟผ. ส่วนกลาง (คน) ส่วนภูมิภาค (คน) 9,852 12,677 189 236 10,041 12,913

รวม (คน) 22,529 425 22,954


24 จำ�นวนผู้ปฏิบัติงานจำ�แนกตามช่วงอายุและเพศ พนักงาน พนักงานสัญญาจ้างพิเศษ ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) 2 0 2 0 0 0 2,845 960 3,805 53 1 54 1,309 536 1,845 192 7 199 4,741 1,462 6,203 122 19 141 8,456 2,218 10,674 24 7 31 17,353 5,176 22,529 391 34 425

ช่วงอายุ (ปี) น้อยกว่า 20 20-30 31-40 41-50 51-60 รวม

ร้อยละของพนักงานที่เกษียณอายุใน 5 ปี และ 10 ปี ข้างหน้า จำ�แนกตามพื้นที่ สำ�นักงาน กฟผ. เกษียณอายุ ส่วนกลาง (คน) คิดเป็นร้อยละ ส่วนภูมิภาค (คน) 5 ปี ข้างหน้า 2,246 9.97 3,238 10 ปี ข้างหน้า 4,494 19.95 6,692

คิดเป็นร้อยละ 14.37 29.70

ร้อยละของพนักงานสัญญาจ้างพิเศษที่สูญเสียใน 5 ปี และ 10 ปี ข้างหน้า จำ�แนกตามพื้นที่ สำ�นักงาน กฟผ. สูญเสีย ส่วนกลาง (คน) คิดเป็นร้อยละ ส่วนภูมิภาค (คน) คิดเป็นร้อยละ 5 ปี ข้างหน้า 2 0.47 4 0.94 10 ปี ข้างหน้า 19 4.47 21 4.94

กลุ่มอายุ 20-30 31-40 41-50 51-60 รวม

ปี ปี ปี ปี

จำ�นวนและสัดส่วนพนักงานลาออก จำ�แนกตามกลุ่มอายุ เพศ และพื้นที่ พนักงานส่วนกลาง พนักงานส่วนภูมิภาค รวม (คน) คิดเป็นร้อยละ ชาย(คน) หญิง(คน) ชาย(คน) หญิง(คน) 20 11 5 4 40 0.18 3 1 2 1 7 0.03 1 1 2 0.01 2 1 2 5 0.02 26 13 10 5 54 0.24

สัดส่วนของเงินเดือนของผู้ปฏิบัติงานชายและหญิง กฟผ. มีจำ�นวนพนักงานชายต่อพนักงานหญิงมีสัดส่วนแตกต่างกันมาก เนื่องจากลักษณะภารกิจในการทำ�หน้าที่ผลิต จัดหาให้ได้

มาซึ่งพลังงานไฟฟ้า และจัดส่งเพื่อจำ�หน่ายให้แก่ลูกค้า อย่างไรก็ตาม กฟผ. ให้สิทธิความเท่าเทียมกันในการทำ�งาน โดยพิจารณาปรับอัตรา เงินเดือนขั้นตํ่าแรกเข้าตามคุณวุฒิ จากนั้นจะพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนโดยคำ�นึงถึงสมรรถนะความสามารถเป็นหลัก

100%

12.18

23.99

22.59

80% 60% 40%

เงินเดือนชาย 87.82

76.01

77.41 เงินเดือนหญิง

20% 0

ผูบริหารระดับสูง

ผูบริหาร

พนักงาน


25 เสรีภาพในการเข้าร่วมสมาคมและการเจรจาต่อรอง

กฟผ. เปิดโอกาสให้ผปู้ ฏิบตั งิ านเข้าร่วมเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานและร่วมกิจกรรมด้านต่างๆ อาทิ การจัดเลือกตัง้ คณะกรรมการ บริหาร การหักเงินค่าสมาชิกให้กับสหภาพแรงงานผ่านหน่วยงานของ กฟผ. การอนุญาตให้พนักงานร่วมกิจกรรมได้ตามความเหมาะสม การให้ความรู้ความเข้าใจในสิทธิด้านแรงงานและความปลอดภัยในการทำ�งาน รวมถึงเผยแพร่ความรู้ไปสู่ลูกจ้างและบริษัทเอกชนที่รับงาน ในองค์การ อีกทั้งยังส่งเสริมให้กรรมการบริหารของสหภาพแรงงาน กฟผ. เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการหรือสมาชิกองค์การแรงงานทั้งในและ ต่างประเทศ ทั้งนี้ ในปี 2556 สหภาพแรงงาน กฟผ. มีสมาชิกทั้งหมด 16,459 คน คิดเป็นร้อยละ 71.94 ของพนักงานทั้งหมด

การป้องกันการทุจริต

มาตรการที่ กฟผ. ใช้ในการดำ�เนินงานเมื่อเกิดเหตุการณ์ทุจริต คือ การตั้งคณะกรรมการสอบสวนหาข้อเท็จจริงว่ามีผู้ใดร่วมในการ ทุจริตและข้อกล่าวหามีมูลหรือไม่ หากไม่มีมูลให้ยุติเรื่อง แต่หากมีมูล ให้ตั้งคณะกรรมการสอบสวนความผิดทางวินัย ตามคำ�สั่ง กฟผ. ที่ ค.85/2538 เรื่อง การพักงาน การสอบสวนความผิดทางวินัย การลงโทษและการอุทธรณ์

สภาพการทำ�งานและความคุ้มครองทางสังคม

กฟผ. ประกาศใช้ระเบียบ กฟผ. ฉบับที่ 137 ว่าด้วยอัตราค่าจ้างแรกเข้าทำ�งาน โดยได้ปรับปรุงอัตราค่าจ้างแรกเข้าทำ�งานของทุก คุณวุฒิ คือ คุณวุฒิตํ่ากว่า ปวช. ปรับเป็น 9,000 บาท ปวช. 10,500 บาท ปวส. 12,500 บาท ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ปี) 17,000 บาท เป็นต้น โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป

ระบบแรงงานสัมพันธ์ของ กฟผ.

กฟผ. ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 โดยจัดให้มีคณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ กฟผ. ประกอบด้วย กรรมการ กฟผ. ทำ�หน้าที่เป็นประธานกรรมการมีผู้แทนจากฝ่ายบริหาร กฟผ. และจากสหภาพแรงงาน กฟผ. จำ�นวนฝ่ายละ 9 คน ร่วมเป็น กรรมการ และมีหัวหน้ากองแรงงานสัมพันธ์ ทำ�หน้าที่เลขานุการ มีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาแรงงานสัมพันธ์ พิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพการดำ�เนินงานของ กฟผ. และระเบียบข้อบังคับในการทำ�งาน พิจารณาปรับปรุงสภาพการจ้าง และพิจารณา คำ�ร้องทุกข์เกี่ยวกับการลงโทษทางวินัย มีผลงาน เช่น การกำ�หนดอัตราค่าจ้างสำ�หรับลูกจ้าง กฟผ. โดยคำ�นึงถึงมาตรฐานการจ้างที่สอดรับ ลักษณะทางธุรกิจที่สามารถแข่งขันได้ รวมถึงปรับสภาพการจ้างในเรื่องสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลบิดามารดาของพนักงานที่เข้างานหลังปี 2548 ให้เท่าเทียมกับพนักงานเก่า และการแก้ไขปัญหาและความไม่เข้าใจในองค์การ สภาพความไม่ปลอดภัยในการทำ�งาน รวมถึงช่วย แก้ไขปัญหาการจ้างงานที่ไม่เป็นธรรมกับลูกจ้างของบริษัทเอกชนที่รับงานจาก กฟผ.

การส่งเสริมการดำ�เนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน

ในรอบปี 2556 กฟผ. ได้ดำ�เนินกิจกรรมการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน เพื่อวาง ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยฯ ให้เป็นรูปแบบเดียวกันทั่วทั้งองค์การ ดังต่อไปนี้ การจัดทำ�มาตรฐานการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน กฟผ. 2556 ซึง่ ดำ�เนินการภายใต้ แผนแม่บทด้านความปลอดภัยฯ ฉบับปี พ.ศ. 2555-2559 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยฯ ทั่วทั้งองค์การ นำ�ไปประยุกต์ใช้กับทุกหน่วยงาน สอดคล้องกับระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ สามารถสร้างความเชื่อมั่นและได้รับการ ยอมรับจากสังคม รวมทั้งเป็นการสร้างรากฐานวัฒนธรรมความปลอดภัยอย่างยั่งยืนอีกด้วย


26 งานวิศวกรรมความปลอดภัย กฟผ. จัดให้มีการฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ และฝึกซ้อมแผนรับเหตุฉุกเฉินต่างๆ อาทิ แผนรับ เหตุฉุกเฉินกรณีอุบัติเหตุทางน้ำ� กรณีการก่อการร้าย หรือกรณีสารเคมีรั่วไหลในหน่วยงาน โรงไฟฟ้า เขื่อน เหมือง และสถานประกอบการ ต่างๆ ของ กฟผ. รวมทั้งยังจัดการฝึกอบรมด้านการป้องกันและระงับอัคคีภัย ทั้งหลักสูตรเบื้องต้นและก้าวหน้าให้กับผู้ปฏิบัติงานอีกด้วย การจัดทำ�แผนงานเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัย โดยมุ่งเน้นการป้องกันและลดความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดความสูญเสีย และผลกระทบต่อชุมชน อาทิ แผนพัฒนาการตรวจสอบ ทดสอบ บำ�รุงรักษาระบบและอุปกรณ์ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภยั แผนพัฒนา การตรวจสอบแหล่งความร้อนและเชื้อเพลิง แผนประเมินและตรวจสอบความเสี่ยงของโรงไฟฟ้าด้านวิศวกรรม และแผนกำ�หนดมาตรฐาน/ เกณฑ์การออกแบบเพื่อป้องกันและระงับอัคคีภัย

สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการปฏิบัติงานให้ กฟผ. สถิติการประสบอันตราย หรือเจ็บปวย อุบัติเหตุ หยุดงาน ไม่หยุดงาน เสียชีวิต

ปี 2554 (ราย) 150 33 106 3

ปี 2555 (ราย) 110 13 72 2

ปี 2556 (ราย) 110 21 78 3

สำ�หรับอัตราความถี่ของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยถึงขั้นหยุดงานหรือเสียชีวิต (Disabling Injury Frequency Rate–IFR) มีคา่ เท่ากับ 5.89 เพิม่ ขึน้ จากปี 2555 เท่ากับ 2.50 อัตราการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยถึงขัน้ หยุดงาน แต่ไม่เสียชีวติ ต่อ 200,000 ชม./คน (Incident Rate of Non-Fatal Occupational Injuries and Illness–IR) มีค่าเท่ากับ 1.10 รายต่อ 200,000 ชม./คน ซึ่งมีค่าน้อยกว่า ดัชนีเดียวกันของอุตสาหกรรมประเภทการผลิต จัดส่ง และจำ�หน่ายกระแสไฟฟ้า (Electric Generation, transmission and Distribution Code) ตามระบบ NAICS ซึ่งมีค่าเท่ากับ 2.1 รายต่อ 200,000 ชม./คน ส่วนอัตราความรุนแรงการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ถึงขั้นหยุดงานหรือเสียชีวิต (Disabling Injury Severity Rate–ISR) ในปี 2556 มีค่าเท่ากับ 93.73 ลดลงจากปี 2555 เท่ากับ 98.43 ทั้งนี้ เป็นผลจากในปี 2556 มีการประสบอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตและค่าดัชนีการ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยถึงขั้นหยุดงานหรือเสียชีวิต (Disabling Injury Index-DII) มีค่าลดลง โดยค่า DII มีค่าเท่ากับ 0.11

อุบัติเหตุด้านทรัพย์สิน

ในรอบปี 2556 ได้เกิดอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินของ กฟผ. รวมทั้งสิ้น 269 ราย ลดลงจากปีที่ผ่านมาซึ่งเกิดอุบัติเหตุด้าน ดังกล่าวรวมทั้งสิ้น 505 ราย คิดเป็นลดลงร้อยละ 46.73 โดยแยกเป็นอุบัติเหตุด้านยานพาหนะ 114 ราย มีจำ�นวนลดลงร้อยละ 48.42 จาก ปี 2555 อุบัติเหตุด้านเครื่องจักรกล จำ�นวน 71 ราย ลดลงร้อยละ 57.74 จากปี 2555 อุบัติเหตุด้านเครื่องจักรและอุปกรณ์ จำ�นวน 5 ราย เพิ่มขึ้นร้อยละ 400 จากปี 2555 มีอุบัติเหตุด้านอาคารเกิดขึ้นในปีนี้ 0 ราย ลดลงร้อยละ 100 จากปี 2555 และอุบัติเหตุด้านทรัพย์สินอื่นๆ อีก 79 ราย ลดลงจากปี 2555 หรือลดลงร้อยละ 30.09 ทั้งนี้ รวมมูลค่าความสูญเสียเป็นเงินทั้งสิ้น 28,666,733.26 บาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ซึ่งมีมูลค่าความสูญเสียเท่ากับ 22,582,057.01 บาท


27 การพัฒนาบุคลากร

กฟผ. ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนือ่ งโดยมีนโยบายการพัฒนาบุคลากรให้ครอบคลุมทุกระดับและตำ�แหน่ง ทัง้ ด้าน เทคนิค ด้านการบริหารจัดการ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยได้ออกแบบหลักสูตรพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับการเพิ่มสมรรถนะ ความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคลากรในทุกระดับ ให้ตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ ภารกิจ ค่านิยมหลัก และทิศทางยุทธศาสตร์ของ กฟผ. รวมทัง้ ให้ความสำ�คัญกับการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบตั งิ าน โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การจัดอบรมภายในการสอนงาน การจัดทำ�แผนพัฒนารายบุคคล การฝึกปฏิบัติงานจริง และการหมุนเวียนงาน เป็นต้น รวมทั้งมีระบบสำ�หรับประเมินและติดตามผลการฝึก อบรมพัฒนาอีกด้วย หลักสูตรการอบรมของฝ่ายพัฒนาบุคลากรจำ�แนกเป็น 8 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มพัฒนาผู้นำ� กลุ่มพัฒนาความสามารถพิเศษองค์การ กลุ่มเตรียมผู้ปฏิบัติงานใหม่ กลุ่มเสริมสมรรถนะตามลักษณะงาน กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้ กลุ่มเสริมสร้าง คุณภาพชีวิต คุณธรรม จริยธรรม และกลุ่มการจัดการทั่วไป โดยในปี 2556 มีผู้ปฏิบัติงานเข้าร่วมอบรมในหลักสูตรที่ดำ�เนินการโดย ฝ่ายพัฒนาบุคลากรเป็นระยะเวลา 114,502 วัน (Man-Day) นอกจากนี้ ยังมีหลักสูตรด้านเทคนิคที่ทางสายงานนำ�ไปดำ�เนินการเอง ได้แก่ สายงานระบบส่ง สายงานเชื้อเพลิง สายงานบริหาร สายงานบัญชีและการเงิน สายงานนโยบายและแผน ตลอดจนงานด้านวิศวกรรมควบคุม เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารความเสี่ยง และการบริหารจัดการความรู้ อีกทั้ง กฟผ. ยังได้สนับสนุนทุนการศึกษาภายใต้โครงการ ความร่วมมือระหว่าง กฟผ. และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีการส่งผู้ปฏิบัติงานไปอบรมภายนอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อเปิด โลกทัศน์ให้กับบุคลากรของ กฟผ. และสร้างเครือข่าย


ãÊ‹ã¨... ¾Ñ²¹ÒÊѧ¤Á

áÅÐàÈÃÉ°¡Ô¨ä·Â

¨Ò¡ã¨ªÒÇ ¡¿¼.

ดวยประสบการณความเชี่ยวชาญกวา 44 ป ที่เรายึดมั่นในปณิธาน “ผลิตไฟฟาเพื่อความสุขของคนไทย” ดวยความรับผิดชอบและเอื้ออาทร ตอสังคม กอเกิดเปนพลังความมุงมั่นสูการสานสรางสังคมและเศรษฐกิจไทย ใหกาวไกลสูอนาคตที่ยั่งยืน


30

การดูแลสิ่งแวดล้อม

ในรอบปี 2556 กฟผ. ยังคงมุ่งดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน ISO 26000 หัวข้อหลักที่ 4 สิ่งแวดล้อม ซึ่งประกอบด้วยประเด็นที่สำ�คัญ 4 ประเด็น ได้แก่ การป้องกันและควบคุมมลภาวะ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การลดผลกระทบ การปรับตัว และการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน รวมถึงการปกป้องสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพและการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังได้รายงานผลการดำ�เนินงานให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดผลการดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อมจำ�นวน 30 ตัวชี้วัด ตาม แนวทางของคู่มือการจัดทำ�รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน หรือ GRI-G3 ด้วย ทั้งนี้ ในภาพรวมของการดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อมในรอบปีที่ผ่านมา กฟผ. ได้ให้ความสำ�คัญอย่างต่อเนื่อง กับการบริหารจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการปฏิบัติตามกฎหมายของภาครัฐและกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดย ได้เน้นการประเมินผลกระทบทางสังคม (Social Impact Assessment: SIA) และการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment: HIA) รวมถึงการนำ�ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล (ISO 14001) และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก. 18001) มาใช้ ตั้งแต่เริ่มระยะก่อสร้างโรงไฟฟ้า จนถึงระยะดำ�เนินการผลิตพลังงานไฟฟ้า ควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ทั้งนี้ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง อันนำ�ไปสู่การสร้างการยอมรับของผู้มีส่วน ได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของโครงการทุกกลุ่ม ทุกโครงการนอกจากจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขประกอบใบอนุญาตอย่างเคร่งครัดแล้ว ยังมีคณะกรรมการร่วมติดตามตรวจสอบการ ดำ�เนินงานและพัฒนาสิ่งแวดล้อมชุมชนโรงไฟฟ้าต่างๆ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน มีผู้แทนจากภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ร่วมเป็นคณะกรรมการ โดยจัดให้มกี ารประชุมเพือ่ พิจารณาและรับทราบผลการดำ�เนินงานและกิจกรรมของโรงไฟฟ้า ปีละ 2 ครัง้ นอกจากนี้ ยังมีคณะผู้ตรวจการสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีผู้แทนจากภาคประชาสังคมเข้าร่วมสังเกตการณ์ การตรวจวัดคุณภาพอากาศ เสียง และคุณภาพนํ้า เพื่อสร้างความมั่นใจต่อการดำ�เนินงานของ กฟผ. นอกจากนี้ กฟผ. ยังได้จัดกิจกรรมเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมชุมชนในรัศมี 5 กิโลเมตร จากโรงไฟฟ้าต่างๆ ได้แก่ โรงไฟฟ้าวังน้อย อำ�เภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โรงไฟฟ้าจะนะ อำ�เภอจะนะ จังหวัดสงขลา โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำ�เภอบางกรวย จังหวัด นนทบุรี และโรงไฟฟ้าพลังนํา้ ลำ�ตะคองชลภาวัฒนา อำ�เภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เพือ่ ให้ชมุ ชนและเยาวชนรอบโรงไฟฟ้าได้รบั ความรู้ และสามารถตรวจสอบคุณภาพน้ำ�เบื้องต้นได้เอง ก่อให้เกิดองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ โดย กฟผ. มุ่งหวังที่จะ เสริมสร้างความเข้าใจ รวมถึงความเชื่อมโยงระหว่างระบบนิเวศน์ในท้องถิ่นและโรงไฟฟ้าให้มากยิ่งขึ้น


31 ในปี 2556 กฟผ. ได้ด�ำ เนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้าวังน้อย ชุดที่ 4 แล้วเสร็จ โดยได้ท�ำ พิธขี นานเครือ่ ง เมือ่ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2556 ซึ่งคาดว่าจะเริ่มเดินเครื่องและพร้อมจ่ายไฟเข้าระบบหลักของ กฟผ. ในเดือนมกราคม 2557 สำ�หรับโครงการที่ผ่านการพิจารณารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างก่อสร้าง ได้แก่ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 2 และโรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2 นอกจากนี้ ยังมีโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เขือ่ นคลองตรอน อำ�เภอน�ำ้ ปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ทีผ่ า่ นการพิจารณาการรายงานวิเคราะห์ผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556 พร้อมทั้งได้จัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นของโครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 5 เมกะวัตต์ ที่อำ�เภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ แล้วเสร็จ สำ�หรับประกอบการขออนุญาตใช้พื้นที่ต่อไป

การป้องกันและควบคุมมลภาวะ

กฟผ. ได้ตระหนักและให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินการป้องกันและควบคุมผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่เกิดจากการดำ�เนินงาน ทั้งการจัดการด้านคุณภาพอากาศ น้ำ� เสียง ขยะและวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกำ�หนด และมีการพัฒนาปรับปรุง คุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยรวมให้ดียิ่งขึ้น

การจัดการด้านคุณภาพอากาศ

กฟผ. ได้มีการจัดการมลสารสำ�คัญที่ระบายจากปล่องโรงไฟฟ้าขณะที่มีการเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า ประกอบด้วย ก๊าซออกไซด์ ของไนโตรเจน (NOX) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และฝุน่ ละออง โดยการควบคุมการเกิดมลสารดังกล่าวจากแหล่งกำ�เนิด ด้วยการติดตัง้ ระบบควบคุมการเผาไหม้เพื่อลดการเกิดก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน เช่น ระบบ Dry Low NOX Burner และระบบ Water/Steam Injection รวมทั้งมีการติดตั้งระบบบำ�บัด เช่น ระบบกำ�จัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Flue Gas Desulfurization: FGD) และระบบกำ�จัด ฝุน่ ละอองด้วยไฟฟ้าสถิตย์ (Electrostatic Precipitator: ESP) เพือ่ กำ�จัดมลสารทีอ่ ยูใ่ นอากาศทีถ่ กู เผาไหม้แล้ว ดังนัน้ ปริมาณมลสารทีร่ ะบาย จากปล่องโรงไฟฟ้าของ กฟผ. จึงมีปริมาณความเข้มข้นต่ำ�และมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2537 เรื่องกำ�หนดค่าปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน ผลิต ส่ง หรือจำ�หน่ายพลังงานไฟฟ้า ตลอดมา นอกจากนีย้ งั มีการติดตัง้ ระบบตรวจวัดปริมาณมลสารทีร่ ะบายจากปล่องโรงไฟฟ้าอย่างต่อเนือ่ ง (Continuous Emission Monitoring Systems: CEMS) และรายงานข้อมูลไปยังหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมควบคุมมลพิษและกรมโรงงานอุตสาหกรรม และเพื่อให้ มั่นใจว่าระบบดังกล่าวมีการตรวจวัดอย่างแม่นยำ�และถูกต้อง กฟผ. ได้กำ�หนดให้มีการตรวจสอบระบบ CEMS เป็นประจำ�ทุกปี ปีละ 2 ครั้ง รวมทั้งติดตามตรวจวัดแบบครั้งคราว ปีละ 2 ครั้ง ด้วยวิธี Stack Sampling และตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไปบริเวณชุมชน โดยรอบโรงไฟฟ้า เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการระบายมลสารของโรงไฟฟ้า ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ ของชุมชน สำ�หรับปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของ กฟผ. ในปี 2556 มีจำ�นวนรวมทั้งหมด 42.60 ล้านตัน และมีสัดส่วนปริมาณ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ในภาพรวมเท่ากับ 0.56 กิโลกรัมต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง (kgCO2/kWh) KTonCO2

kgCO2/kWh

90,000 80,000 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0

0.70 0.60 0.50 0.40 0.30 0.20 0.10 2543

2544

2545

2546

2547

Electricity Generation (GWh)

2548

2549

2550

2551

2552

KTonCO2

Electricity Generation (GWh)

2553

2554

2555

kgCO2/kWh

ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของ กฟผ. ระหว่างปี 2543 – 2556

2556

0.00


32 KTonCO2

kgCO2/kWh 0.70

50,000

0.60

42,596,193

40,000

0.50 0.40

30,000 23,603,373

20,000

0.30

17,855,831

0.20

10,000 0

0.10 162,789

974,200

น้ำมันดีเซล

น้ำมันเตา

ลิกไนท

กาซธรรมชาติ

0.00

รวม

ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากโรงไฟฟ้า กฟผ. ปี 2556 ที่มา:

1. ฝ่ายสิ่งแวดล้อมโครงการ (กุมภาพันธ์ 2557) 2. รายงานการใช้เชื้อเพลิงและพลังงานไฟฟ้ารายเดือนจากฝ่ายควบคุมระบบกำ�ลังไฟฟ้า กฟผ. (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2557) หมายเหตุ: 1. ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คำ�นวณตาม 2006 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories Volume 2 Energy 2. kgCO2/kWh คำ�นวณจากพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตของ กฟผ. ปี 2556 (75,874,200,182 กิโลวัตต์-ชั่วโมง) – รวมเชื้อเพลิง ฟอสซิล พลังน้ำ� และพลังงานหมุนเวียน (ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงรายเดือนจากฝ่ายควบคุมระบบกำ�ลังไฟฟ้า กฟผ.) 3. kgCO2/kWh หมายถึง ปริมาณการปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหนึ่งหน่วยการผลิตกระแสไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) – รวมเชื้อเพลิง ฟอสซิล และพลังน้ำ�

ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องโรงไฟฟ้า กฟผ. ปี 2556 โรงไฟฟ้า

หน่วยการผลิต

เชื้อเพลิง

แม่เมาะ

พลังความร้อน เครื่องที่ 4-13

บางปะกง

SO2 (ppm)

NOx (ppm)

ฝุ่นละออง (mg/m3)

ปริมาณ

มาตรฐาน

ปริมาณ

มาตรฐาน

ปริมาณ

มาตรฐาน

ลิกไนต์

14-199

320

62-372

500

3-26

180

พลังความร้อน เครื่องที่ 1-4

ก๊าซธรรมชาติ/น้ำ�มันเตา

<1-136

320

58-142

200

2-12

120

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 1-2

ก๊าซธรรมชาติ

-

60

-

450

-

-

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 3-4

ก๊าซธรรมชาติ

<1

60

102-200

230

15

-

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 5

<1

20

30-50

120

2-6

60

36-49

450

111-150

180

49-59

120

กระบี่

พลังความร้อน เครื่องที่ 1

ก๊าซธรรมชาติ น้ำ�มันเตา

พระนครใต้

พลังความร้อน เครื่องที่ 4-5

ก๊าซธรรมชาติ/น้ำ�มันเตา

<1-2.9

320

114-131

180

-

120

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 1

ก๊าซธรรมชาติ

<1-1.1

60

181-222

250

3-11

60

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 2

ก๊าซธรรมชาติ

<1

60

164-168

175

3-13

60

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 3

ก๊าซธรรมชาติ

<1

20

55-64

120

9-18

60

วังน้อย นำ�้ พอง

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 1-3

ก๊าซธรรมชาติ

<1

60

54-127

175

2-11

60

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 1-2

ก๊าซธรรมชาติ

5-6

60

220-225

250

7-9

60

จะนะ

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 1-2

ก๊าซธรรมชาติ

<1

20

39-48

120

2-5

60

ลานกระบือ

กังหันแก๊ส เครื่องที่ 1-9

ก๊าซธรรมชาติ

<1-1.2

60

93-219

250

-

-

กังหันแก๊ส เครื่องที่ 11

ก๊าซธรรมชาติ

สุราษฎร์ธานี

กังหันแก๊ส เครื่องที่ 1-2

ดีเซล

<1

60

191-225

230

20-28

60

พระนครเหนือ

พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 1-2

ก๊าซธรรมชาติ

<1

20

26-42

120

5-12

54

หมายเหตุ: ppm หมายถึง ส่วนในล้านส่วน mg/m3 หมายถึง มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

ไม่มีการเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า


33 การจัดการคุณภาพน้ำ�

เพือ่ เป็นการเฝ้าระวังปัญหามลภาวะทางน�ำ้ ทีอ่ าจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและชุมชน กฟผ. ได้ก�ำ หนดมาตรการในการจัดการ และควบคุมคุณภาพน้ำ� โดยเน้นการจัดการน้ำ�ใช้ในอาคารสำ�นักงาน การใช้น้ำ�อย่างประหยัด การบำ�บัดน้ำ�เสียให้มีคุณภาพน้ำ�ตามเกณฑ์ มาตรฐานกำ�หนด และการนำ�น�ำ้ ทิง้ กลับมาใช้งานในระบบอืน่ ๆ รวมทัง้ มีการบำ�บัดและควบคุมคุณภาพน�ำ้ ทิง้ ก่อนระบายออกจากทุกโรงไฟฟ้า ของ กฟผ. ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กฎหมายกำ�หนด ทั้งนี้ ในกรณีตัวอย่างการจัดการคุณภาพน้ำ�ของโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้า พลังความร้อนร่วมที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ขนาดกำ�ลังการผลิตติดตั้ง 725 เมกะวัตต์ มีการใช้น้ำ�จากแมน้ำ�เจ้าพระยา รวม 49,606 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน แบ่งเป็นการใช้น้ำ�สำ�หรับเป็นน้ำ�ดิบเข้าสู่โรงปรับสภาพน้ำ� เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตและอุปโภค-บริโภค และน้ำ�ใช้ใน ระบบหล่อเย็น ในอัตรา 515 และ 49,091 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ตามลำ�ดับ มีการจัดการน้ำ�เสียของโรงไฟฟ้าดังนี้

นํ้าเสียจากกระบวนการผลิตและการอุปโภค ทำ�การบำ�บัดให้มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กฎหมายกำ�หนดและนำ�มาหมุนเวียน ใช้ประโยชน์ภายในโรงไฟฟ้าทั้งหมด เช่น รดน้ำ�ต้นไม้ ล้างถนน เป็นต้น โดยไม่มีการระบายออกสู่สาธารณะ นํา้ หล่อเย็น นำ�ไปผ่านหอหล่อเย็นเพือ่ ลดอุณหภูมใิ ห้เย็นลงและควบคุมคุณภาพน�ำ้ ให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานทีก่ ฎหมายกำ�หนดก่อนระบาย ลงสู่คลองระบายน้ำ�ของโรงไฟฟ้า เพื่อลดความแรงของน้ำ�ก่อนระบายลงสู่แม่น้ำ�เจ้าพระยาในอัตรา 32,891 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน สำ�หรับการเฝ้าระวังแหล่งน�ำ้ ทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบจากการใช้น�ำ้ ของโรงไฟฟ้า กฟผ. ได้ด�ำ เนินการติดตามตรวจสอบการแพร่กระจาย ของอุณหภูมิน้ำ�หล่อเย็น ปีละ 2 ครั้ง ครอบคลุมในช่วงน้ำ�ขึ้น-น้ำ�ลง นอกจากนี้ยังได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ติดตามตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ และนิเวศวิทยาทางน�ำ้ ซึง่ ประกอบด้วยแพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ สัตว์หน้าดิน สัตว์น�ำ้ วัยอ่อน การประมง และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ�ในแม่นํ้าเจ้าพระยา ครอบคลุมบริเวณเหนือน้ำ�และท้ายนํ้าของโรงไฟฟ้าในระยะทาง 1 กิโลเมตร

การจัดการเสียงและสนามแม่เหล็กไฟฟ้า

เพื่อเป็นการเฝ้าระวังไม่ให้เสียงจากกิจกรรมการดำ�เนินงานของโรงไฟฟ้าส่งผลกระทบต่อชุมชนบริเวณใกล้เคียง กฟผ. จึงได้มีการ ป้องกันและลดผลกระทบด้วยการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันเสียง กำ�แพงป้องกันเสียง และผนังครอบกันเสียง บริเวณเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ อาจก่อให้เกิดเสียงดัง นอกจากนี้ กฟผ. ได้กำ�หนดให้มีมาตรการควบคุมสำ�หรับกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดเสียงดัง ทั้งในช่วงระยะก่อสร้างและ ช่วงดำ�เนินการ รวมทัง้ มีการติดตามตรวจวัดระดับเสียงภายในโรงไฟฟ้า โดยเฉพาะบริเวณอุปกรณ์เครือ่ งจักรทีม่ เี สียงดัง และติดตามตรวจวัด ระดับเสียงบริเวณชุมชนที่อยู่รอบโรงไฟฟ้าเป็นประจำ�ทุกปี อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

สำ�หรับบริเวณสถานีไฟฟ้าแรงสูงและแนวสายส่งไฟฟ้า แรงสูง กฟผ. ได้มกี ารติดตามตรวจวัดความเข้มของสนามแม่เหล็ก และความเข้มของสนามไฟฟ้า หรือรวมเรียกว่า สนามแม่เหล็ก ไฟฟ้า (Electromagnetic Fields: EMF) รวมทั้งมีการจัดทำ� แผนที่แสดงเส้นระดับความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจาก จุดกำ�เนิดไปยังบริเวณโดยรอบ เพื่อให้มั่นใจว่าชุมชนจะไม่ได้รับ ผลกระทบจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มาจากแหล่งกำ�เนิดจาก โครงการของ กฟผ.


34 การจัดการขยะและวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

กฟผ. มีการกำ�หนดวิธีการจัดการขยะและวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน ชุมชน และ สิ่งแวดล้อม ดังนี้ การลดของเสียที่แหล่งกำ�เนิด การนำ�กลับมาใช้ซ้ำ�หรือใช้ใหม่ กฟผ. ได้นำ�แนวทางการจัดการดังกล่าวมาใช้กับหน่วยงานต่างๆ เช่น โรงไฟฟ้าแม่เมาะมีการนำ�วัตถุพลอยได้จากกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้ามาใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1. เถ้าลอย ใช้ผสมซีเมนต์สำ�หรับคอนกรีตผสมเสร็จ ใช้ในงานก่อสร้างเขื่อนชนิดคอนกรีตบดอัด ผสมซีเมนต์ผลิตงานหล่อ สำ�เร็จรูป และรองพื้นทางในงานก่อสร้างถนน เป็นต้น ทั้งนี้ มีการนำ�ไปใช้ประโยชน์ดังกล่าวประมาณ 1.5 ล้านตันต่อปี จาก ปริมาณถ่านหินลิกไนต์ที่ใช้ประมาณ 16 ล้านตันต่อปี คิดเป็นวัตถุดิบที่นำ�กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ประมาณร้อยละ 9 2. ยิปซัม ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปูนซีเมนต์ เป็นส่วนผสมในวัสดุทดแทนไม้ หรือที่เรียกว่าไฟเบอร์ซีเมนต์ (Fiber Cement) ส่วนผสมในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และวัสดุปรับปรุงดิน และช่วยปรับสภาพดินเค็มหรือดินเหนียวให้ดีขึ้น เป็นต้น การคัดแยกและจัดเก็บ มีการกำ�หนดประเภทของขยะและวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ กำ�หนดแผนผังแสดง ตำ�แหน่งการจัดวางถังขยะ อาคารจัดเก็บสารเคมี และอาคารจัดเก็บของเสีย ในหน่วยงานต่างๆ ของ กฟผ. โดยแบ่งประเภทของ ขยะและวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเป็น 4 ประเภท ขยะทั่วไป ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย การกำ�จัด มีการกำ�หนดวิธีการเก็บรวบรวม การขนย้าย การส่งขยะแต่ละประเภทไปกำ�จัด รวมถึงการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับ สิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ใช้แล้วจากโรงงานให้กบั หน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องรับทราบ ตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด เช่น มีการตรวจสอบ สถานที่จัดเก็บของเสียอันตราย ขออนุญาตกรมโรงงานอุตสาหกรรมก่อนนำ�ของเสียออกนอกโรงไฟฟ้า และการขนส่งของเสีย อันตรายต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกำ�จัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548

กรณีตัวอย่างการจัดการของเสียของโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ในปี 2556 มีปริมาณของเสียเกิดขึ้นประมาณ 92 ตัน แบ่งเป็น ขยะทั่วไป 31 ตัน ขยะรีไซเคิล 9 ตัน และขยะอันตราย 52 ตัน ขยะอันตรายส่วนมากเป็นน้ำ�ผสมตัวทำ�ละลายที่เกิดจากการล้างอุปกรณ์ ซึ่ง มีถึง 49 ตัน ทั้งนี้ ขยะทั้งหมดได้ส่งไปกำ�จัดกับหน่วยงานที่ได้รับอนุญาต


35 ในรอบปี 2556 ไม่พบการรั่วไหลของสารเคมี นํ้ามัน และก๊าซธรรมชาติจากโรงไฟฟ้า ระบบส่ง และการขนส่งในระบบต่างๆ ของ กฟผ. ไม่มีผลิตภัณฑ์ที่ถูกส่งคืนกลับ และไม่มีการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายข้ามแดนตามอนุสัญญาบาเซล ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศ ว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของของเสียอันตรายและการกำ�จัด ที่ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาบาเซล (Basel Convention) ตั้งแต่ปี 2540

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การลดผลกระทบ และการปรับตัว

กฟผ. ได้เล็งเห็นความสำ�คัญในการดำ�เนินกิจกรรมเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนการปรับตัวเพื่อลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย กฟผ. ได้ดำ�เนินกิจกรรมด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม และพัฒนาโครงการต่างๆ เพื่อลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก

โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM)

กฟผ. ได้ดำ�เนินโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยมีโครงการที่อยู่ระหว่างการพัฒนาทั้งหมด 6 โครงการ แบ่งตามประเภทการดำ�เนินงานได้ดังนี้ การปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้า จำ�นวน 1 โครงการ คือ โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าแม่เมาะหน่วยที่ 10-11 ซึ่งเป็นโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้า โดย Retrofitting Low Pressure Turbines ถือเป็นโครงการ CDM ขนาด ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในปัจจุบัน ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 400,000 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ต่อปี (tCO2e/ปี) และสามารถสร้างรายได้จากการขายคาร์บอนเครดิตตลอดอายุโครงการได้ประมาณ 40 ล้านบาท การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน จำ�นวน 5 โครงการ ดังนี้ ชื่อโครงการ

ปริมาณการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (tCO2e/ปี)

โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ลำ�รางชลประทาน เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล อำ�เภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และเขื่อนแก่งกระจาน อำ�เภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี

7,704

โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�เขื่อนแม่กลอง อำ�เภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

41,741

โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ อำ�เภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี

18,392

โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�เขื่อนเจ้าพระยา อำ�เภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท

34,967

โครงการโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เขื่อนสิรินธร อำ�เภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

701

โครงการ CDM ทั้ง 6 โครงการ ได้รับการขึ้นทะเบียนโครงการจากคณะกรรมการบริหารกลไกการพัฒนาที่สะอาดแห่งองค์การ สหประชาชาติ (CDM-EB for UNFCCC) นอกจากนี้ โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ลำ�รางชลประทาน เขือ่ นแม่งดั สมบรูณช์ ล และเขือ่ นแก่งกระจาน ยังผ่านการพิจารณาเป็นโครงการตามมาตรฐานมงกุฎไทย จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) อีกด้วย

โครงการต้นแบบสำ�หรับโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER Program) องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ได้พิจารณาคัดเลือกให้โครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ�้ ท้ายเขื่อนนเรศวร ขนาด 8 เมกะวัตต์ อำ�เภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งคาดการณ์ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ประมาณ 25,127 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อปี และโครงการระบบผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม ขนาด 2.5 เมกะวัตต์ ทีโ่ รงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ลำ�ตะคองชลภาวัฒนา ซึง่ คาดการณ์ปริมาณ ก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ประมาณ 2,573 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี เป็นโครงการต้นแบบ และสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการพัฒนา โครงการ สำ�หรับการจัดทำ�เอกสาร และการตรวจสอบเอกสารข้อเสนอโครงการ ทั้งนี้จากโครงการที่ กฟผ. ได้เสนอชื่อเข้าร่วม 4 โครงการ การดำ�เนินโครงการดังกล่าวเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกให้เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ ประเทศไทย และแผนปฏิบตั กิ ารลดก๊าซเรือนกระจกทีเ่ หมาะสมแห่งชาติ รวมถึงการพัฒนาไปสูก่ ารเป็นสังคมคาร์บอนต�ำ่ (Low Cabon Society) และสามารถนำ�ปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกที่ได้จากการพัฒนาโครงการลดก๊าซเรือนกระจกไปซื้อขายในตลาดคาร์บอนภาคสมัครใจของ ประเทศได้


36 โครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำ�คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม (Carbon Footprint for Organization: CFO)

กฟผ. เข้าร่วมโครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำ�คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทำ�ให้สามารถประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากกิจกรรมขององค์กร และสามารถจำ�แนกสาเหตุการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกทีม่ นี ยั สำ�คัญ เพือ่ หาแนวทางลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยปริมาณก๊าซเรือนกระจก ที่ลดลง กฟผ. อาจนำ�ไปใช้เป็นคาร์บอนเครดิตเพื่อทำ�การชดเชยคาร์บอนกับองค์กรอื่นๆ ต่อไป ในปี 2556 โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ได้เข้าร่วมเป็นโรงงานนำ�ร่องโครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำ�คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของ องค์กรในภาคอุตสาหกรรม และได้จัดทำ�รายงานการปล่อย/การดูดกลับก๊าซเรือนกระจกเพื่อประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาค อุตสาหกรรม และรายงานผลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคอุตสาหกรรมต่อสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และได้รับมอบ ประกาศเกียรบัตรจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ในฐานะหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการและผ่านการตรวจ ประเมินเพื่อรับรองปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001

กฟผ. ได้นำ�ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001 มาใช้กับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตกระแส ไฟฟ้า เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นให้กับชุมชนและสังคมในเรื่องการจัดการและรักษาสิ่งแวดล้อม โดยในปี 2556 มีโรงไฟฟ้า เขื่อน และ เหมืองถ่านหินของ กฟผ. รวม 27 แห่ง ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 นอกจากนี้ สถานีไฟฟ้าแรงสูงของ กฟผ. ก็ได้นำ�มาตรฐาน ISO 14001 มาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน เพื่อให้มีการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ครอบคลุมตั้งแต่การผลิตจนถึงระบบส่งไฟฟ้า อีกด้วย

โครงการปลูกป่า กฟผ.

กฟผ. ได้ดำ�เนินกิจกรรมโครงการปลูกป่า กฟผ. ในวาระต่างๆ จำ�แนกตามกิจกรรมและพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงค์สำ�คัญในการฟื้นฟู สภาพแวดล้อม เป็นป่ากันชนเพือ่ รักษาพืน้ ทีป่ า่ ต้นน�ำ้ ลำ�ธารให้ความชุม่ ชืน้ แก่แผ่นดิน ลดภาวะโลกร้อน โดยเน้นการมีสว่ นร่วมของส่วนราชการ เอกชน ชุมชน ประชาชน และเยาวชนตามสถานศึกษาต่างๆ ในพื้นที่ โดยเริ่มดำ�เนินการในปี 2537 ซึ่งขณะนี้ดำ�เนินการปลูกป่าไปแล้ว รวมกว่า 4 แสนไร่ มากกว่า 80 ล้านต้น และลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 80 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์ นอกจากนั้นยังได้สร้างฝาย ชะลอนํ้าในพื้นที่เขื่อนต่างๆ กว่า 10,000 ฝาย เพื่อรักษาความชุ่มชื้นของป่าต้นน้ำ� ในปี 2555 กฟผ. ร่วมกับกระทรวงพลังงานได้ดำ�เนินโครงการ “ปลูกป่าต้นน้ำ�เขื่อนสิริกิติ์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ” เพื่อฟื้นฟูป่าต้นน้ำ�เขื่อนสิริกิติ์ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและอุทยานแห่งชาติ จังหวัดน่าน ในพื้นที่ อำ�เภอสองแคว อำ�เภอแม่แจ่ม และ อำ�เภอทุ่งช้าง จำ�นวน 5,000 ไร่ หรือ 1,000,000 ต้น และในปี 2556 กฟผ. ได้ดำ�เนินการ ปลูกเพิ่ม 5,000 ไร่ รวมพื้นที่จำ�นวน 10,000 ไร่ หรือ 2,000,000 ต้น และจะบำ�รุงรักษาต่อเนื่องอีก 2 ปี เพื่อให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโต ได้อย่างแข็งแรงในอนาคต การดำ�เนินการปลูกป่าของ กฟผ. จะใช้การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เพื่อการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องและ จัดกิจกรรมสร้างจิตสำ�นึกเพื่อป้องกันไฟป่าด้วย


37 การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน

พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อสุทธิในระบบ กฟผ. จำ�แนกตามประเภทเชื้อเพลิง ได้ดังนี้

3.12% 19.21% ถานหิน 33,332.94

67.45%

กาซธรรมชาติ 117,001.56

19.21% ถานหิน 33,332.94

พลังน้ำ 5,419.57

1.64% ชีวมวล 2,812.26

0.82% น้ำมันเตา 1,421.53 3.12% พลั งน้ำ 7.25% 5,419.57

ซื้อจากตางประเทศ 12,571.92

1.64% ชี0.30% วมวล 2,812.26

พลังงานทดแทน 516.41

0.82% 0.21% น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล 1,421.53 362.96

7.25%

อย่างไรก็ตาม กฟผ. ให้ความสำ�คัญกับการแสวงหาแหล่งพลังงานที่สะอาด โดยส่งเสริซืม้อจากต และพั ฒนาการใช้พลังงานหมุนเวียนและ างประเทศ 67.45% 12,571.92 พลังงานทดแทน รวมทั้งสนับสนุนโครงการอนุ กาซธรรมชาติรักษ์พลังงานและโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่ยั่งยืน 117,001.56 0.30% อย่างต่อเนื่อง พลังงานทดแทน

โครงการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานสะอาด

516.41

0.21% กฟผ. ได้สนับสนุนและส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนและพลังงานทดแทน รวมทั ้งการพั น้ำมันดีฒ เซลนาโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด 3.368% 362.96 โรงไฟฟ าพลั งน้ำ วย พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม โดยในปี 2556 กฟผ. ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลั งงานสะอาดซึ่งเป็นแหล่งปฐมภูมิทางตรง ประกอบด้ 94.541% 5,419.57 โรงไฟฟาเชื้อเพลิงฟอสซิล พลังงานนํ้า และพลังงานความร้อนใต้พิภพรวม152,119.00 5,936.00 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ส่วนพลังงานที่ผลิตจากแหล่งปฐมภูมิทางอ้อม ประกอบด้วย พลังงานจากฟอสซิล 152,119.00 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง และพลังงานจากชีวมวล 2,848.26 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง รวมเป็นพลังงานไฟฟ้าที่ 1.770% โรงไฟฟาชีวมวล ผลิตได้ทั้งระบบ 160,903.23 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง 2,848.26 94.541%

โรงไฟฟาเชื้อเพลิงฟอสซิล 152,119.00

0.0019% 0.214% โรงไฟฟาพลังงาน โรงไฟฟากังหันลม 3.368% ความรอนใตภิภพ 344.66 โรงไฟฟาพลังน้ำ 1.41 5,419.57

0.106% โรงไฟฟาพลังงาน 1.770% แสงอาทิตย โรงไฟฟาชีวมวล 170.51 2,848.26

0.0019% 0.214% โรงไฟฟาพลังงาน ความรอนใตภิภพ 1.41

โรงไฟฟากังหันลม 344.66

0.106%

โรงไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตย 170.51

ทั้งนี้ กฟผ. ได้ใช้พื้นที่ 4,000 ไร่ ใน ตำ�บลนาหูกวาง อำ�เภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ก่อสร้างโครงการนำ�ร่องทดลองผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน 3 ประเภท ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพที่ได้จากพืชพลังงานหญ้า เนเปียร์ โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาโครงการเหล่านี้ ให้เป็นต้นแบบพลังงานทดแทนของประเทศไทยที่สมบูรณ์แบบ


38 การจัดการพลังงาน

ในปัจจุบนั การอนุรกั ษ์พลังงานเป็นเรือ่ งสำ�คัญ จำ�เป็นต้องได้รบั ความร่วมมือจากทุกส่วนในการขับเคลือ่ นการดำ�เนินงานสูค่ วามยัง่ ยืน ในอนาคต กฟผ. มีการดำ�เนินงานบริหารจัดการการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง แบ่งเป็นการควบคุมประสิทธิภาพของ การใช้พลังงานในอาคารสำ�นักงานและการจัดการควบคุมประสิทธิภาพพลังงานของโรงไฟฟ้า โครงการอาคารอนุรักษ์พลังงานของ กฟผ. ได้แก่ อาคาร ท.102 ซึ่งเป็นอาคารสำ�นักงาน ตั้งอยู่ที่สำ�นักงานใหญ่ กฟผ. อำ�เภอ บางกรวย จังหวัดนนทบุรี ได้รับใบรับรองการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย มาอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 และในปีนี้ได้ร่วมเป็นอาคารนำ�ร่องเพื่อศึกษาศักยภาพความพร้อมการต่อยอด นอกจากนี้ ยังได้รับการรับรองว่าเป็นสำ�นักงานสีเขียว จาก กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการออกแบบ การก่อสร้าง และการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ สำ�นักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในสำ�นักงาน โดยการลดปริมาณการใช้ ใช้ซํ้า และนำ�กลับมาใช้ใหม่ ช่วยลดภาวะโลกร้อนและทำ�ให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า อาคารแห่งนีจ้ ดั ให้พน้ื ทีส่ �ำ นักงานได้รบั แสงสว่างธรรมชาติอย่างเต็มที่ และมีแผงกันแดดทีเ่ หมาะสมกับประเทศไทย ใช้วสั ดุเปลือกอาคาร ประสิทธิภาพสูง วัดผลการประหยัดอย่างเป็นรูปธรรมและเปิดเผย มีการใช้นวัตกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยการนำ�แผงเซลล์แสงอาทิตย์ ชนิดอะมอร์ฟัส (Amorphous Silicon) มาเป็นส่วนประกอบของผนังอาคาร ทำ�หน้าที่เป็นทั้งผนังกั้นแรงลมและกระจกหน้าต่าง แผ่นเซลล์ แสงอาทิตย์มีขนาด 1x1.50 เมตร กำ�ลังผลิตแผงละ 65 วัตต์ รวมทั้งหมด 428 แผ่น มีกำ�ลังผลิตไฟฟ้ารวม 27.82 กิโลวัตต์ ติดตั้งจากชั้น 1 ถึงชั้น 19 ด้านทิศตะวันออกของอาคาร สามารถผลิตไฟฟ้าเชื่อมโยงเข้ากับระบบจำ�หน่ายโดยไม่ใช้แบตเตอรี่ ได้ประมาณ 50 หน่วยต่อ วัน หรือ 18,250 หน่วยต่อปี เป็นระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งติดตั้งที่ผนังอาคารเป็นแห่งแรกและแห่งเดียวของประเทศไทย นอกจากนี้ยังเป็นอาคารสูงที่สุด ติดอันดับหนึ่งในสามของโลก ที่ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ร่วมกับอาคาร

การปกป้องสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพและการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ฟื้นฟู และการสร้างความมั่นคงของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและความหลากหลายทาง ชีวภาพ เป็นยุทธศาสตร์หลักของ กฟผ. ในการพัฒนาโครงการและการมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมชุมชน เพื่อรักษาความสมดุลทางธรรมชาติและทุนทางสังคมของประเทศให้มั่นคงและยั่งยืน ในปี 2556 กฟผ. ได้พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าใหม่หลายโครงการ หนึ่งในโครงการดังกล่าว ได้แก่ โรงไฟฟ้าบางปะกง ชุดที่ 5 ที่ได้ผ่าน ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านโรงไฟฟ้าพลังความร้อน เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2556 และคณะกรรมการองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ พิจารณาให้ความเห็นประกอบ เมือ่ วันที่ 4 ตุลาคม 2556 ทัง้ นี้ รายงานดังกล่าวมีขอ้ มูลรายละเอียดทีโ่ ดดเด่น ในด้านความหลากหลาย ทางชีวภาพและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ดังนี้

ทำ�เลที่ตั้งและพื้นที่อนุรักษ์

โรงไฟฟ้าบางปะกง ชุดที่ 5 ตั้งอยู่ในบริเวณโรงไฟฟ้าเดิม อำ�เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่ทั้งหมด 1,139 ไร่ บริเวณที่ตั้ง โรงไฟฟ้าไม่อยู่ในเขตพื้นที่อนุรักษ์ อย่างไรก็ตามได้มีการศึกษาผลกระทบต่อทรัพยากรป่าไม้ครอบคลุมในรัศมี 5 กิโลเมตร จากที่ตั้งโรงไฟฟ้า ซึ่งพบว่ามีพื้นที่ป่าไม้ชายเลนบริเวณริมฝั่ง ตั้งแต่โรงไฟฟ้าจนถึงปากแม่น้ำ�บางปะกง ขนาดพื้นที่ราว 20 ตารางกิโลเมตร

ผลกระทบที่สำ�คัญจากการดำ�เนินงาน

โรงไฟฟ้าบางปะกง ชุดที่ 5 มีการจัดการกับผลกระทบดังนี้ มลสารทางอากาศ โรงไฟฟ้าได้ออกแบบให้ใช้หัวฉีดเผาไหม้เป็นระบบลดการเกิดก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (Dry Low NOX Burner) ซึ่งติดตั้งในห้องเผาไหม้ของเครื่องกังหันแก๊ส เพื่อควบคุมสัดส่วนของอากาศและก๊าซธรรมชาติเข้าสู่ห้องเผาไหม้ โดย การลดอุณหภูมิเพื่อลดการเกิดก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน และติดตั้งเครื่องตรวจวัดปริมาณก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOX) แบบต่อเนื่อง (CEMs) ไว้ที่ปล่องระบายอากาศ เพื่อตรวจวัดความเข้มข้นของก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOX) และควบคุมการ เดินเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันแก๊สให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และไม่เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การใช้นำ�้ ระหว่างการผลิตกระแสไฟฟ้า มีการสูบนำ�้ ดิบจากแม่นำ�้ บางปะกง เพื่อใช้ในระบบระบายความร้อนแบบปิด ประมาณ 81,369 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และใช้น้ำ�จากอ่างเก็บน้ำ�บางพระและอ่างเก็บน้ำ�บางบ่อ สำ�หรับกิจกรรมต่างๆ อีกประมาณ 150 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน


39 การใช้สารเคมี มีการใช้สารเคมีสำ�หรับปรับปรุงคุณภาพน้ำ�ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน ป้องกันการเกิดตะกรันในท่อน้ำ� และใช้ใน ระบบหล่อเย็นของโรงไฟฟ้า สารเคมีที่ใช้ ได้แก่ แอมโมเนีย ไฮดราซีน ก๊าซคลอรีน โดยมีการเก็บกักในถังบรรจุสารเคมีบริเวณที่ เก็บสารเคมีในอาคาร สำ�หรับก๊าซคลอรีนเก็บในถังบรรจุพิเศษ ส่วนกรดเกลือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ 10% โพลีอลูมิเนียมคลอไรด์ และโซเดียมไบซัลไฟท์ จะเก็บกักในถังบรรจุสารเคมีภายในอาคารระบบกำ�จัดแร่ธาตุในน้ำ�

จำ�นวน IUCN Red List Species และบัญชีรายชื่อพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ที่ได้รับการคุ้มครองในพื้นที่โครงการ

การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านนิเวศวิทยาป่าไม้และสัตว์ป่าในพื้นที่โรงไฟฟ้าบางปะกง จำ�แนกได้ ดังนี้ พันธุ์พืช พบพืชพรรณไม้ชายเลน ซึ่งเป็นไม้ยืนต้นตามริมฝั่งแม่น้ำ�บางปะกง จากโรงไฟฟ้าบางปะกงไปถึงปากแม่น้ำ�บางปะกง จะพบอยู่หนาแน่นบริเวณตำ�บลท่าข้ามไปจนถึงปากแม่น้ำ�บางปะกง พืชพรรณที่พบ ได้แก่ แสมขาว แสมดำ� ตะบูน-ขาว โกงกาง ใบเล็ก พังกาหัวสุมดอกขาว ตาตุ่มทะเล ลำ�พู ต้นจาก

พันธุ์สัตว์ การศึกษาสถานสภาพสัตว์ป่าบริเวณที่ตั้งโรงไฟฟ้าและบริเวณใกล้เคียงตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ที่กำ�หนดสถานภาพการเป็นสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง ไม่พบว่ามีสัตว์ป่าชนิดใดเป็นสัตว์ป่าสงวน พบเฉพาะ สัตว์ป่าที่มีสถานภาพเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองจำ�นวน 109 ชนิด ประกอบด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 4 ชนิด เช่น พังพอนเล็กและ ค้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง เป็นต้น นกจำ�นวน 99 ชนิด เช่น นกบั้งรอกใหญ่ นกนางแอ่นตะโพกแดง และนกเลี้ยงสาลิกา เป็นต้น และสัตว์เลื้อยคลาน 6 ชนิด เช่น กิ้งก่าหัวแดงและงูสิง เป็นต้น สำ�หรับสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก ไม่มีชนิดใดในพื้นที่ศึกษาที่มี สถานภาพเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ส่วนสัตว์ป่าอีกจำ�นวน 30 ชนิด ที่ยังไม่ได้รับการประกาศเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมาย ประกอบด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 3 ชนิด เช่น นกพิราบ นกเขาใหญ่ และนกกระจอกบ้าน เป็นต้น สัตว์เลื้อยคลาน จำ�นวน 13 ชนิด เช่น จิ้งจอกหางหนาม จิ้งเหลนบ้าน เป็นต้น และสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกทุกชนิดยังไม่ได้รับการประกาศคุ้มครองตาม กฎหมาย เช่น อึ่งอ่างบ้าน กบนา และคางคกบ้าน เป็นต้น

สถานภาพการถูกคุมคามในระดับโลก

เป็นการจัดสถานภาพของสัตว์ปา่ แต่ละชนิดโดย IUCN เพือ่ แจ้งชนิดทีถ่ กู คุมคามในระดับโลก (IUCN Red List of Threatened Species) จากปัจจัยคุกคามต่างๆ ของแต่ละประเทศ ผลการศึกษาสัตว์ป่าในพื้นที่ศึกษาพบว่ามีสัตว์ป่าชนิดที่กำ�ลังอยู่ในสภาพการถูกคุกคามในระดับ สถานภาพที่มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable: VU) จำ�นวน 2 ชนิด คือ เต่านาและเต่าหับ และมีนกที่อยู่ในสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม (Near Threated: NT) จำ�นวน 1 ชนิด คือ นกกระจาบทอง

ความหลากหลายทางชีวภาพของแหล่งนํ้า

การศึกษาเกี่ยวกับสถานภาพและความหลากหลายทางชีวภาพของแหล่งน้ำ�และที่อยู่ อาศัยของสัตวนำ�้ ที่อาจได้รับผลกระทบจาก น้ำ�ทิ้งและการระบายน้ำ�ของโรงไฟฟ้าบางปะกง ชุดที่ 5 พบแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมด 45 ชนิด 23 สกุล 8 กลุ่ม กระจายอยู่ใน 4 ไฟลัม ความ หนาแน่นของแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมด มีค่าระหว่าง 80,193 - 405,344 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร รวมทั้งพบปลาวัยอ่อนจากวงศ์ต่างๆ 5 วงศ์ แพร่กระจายทั่วไปในแม่น้ำ�บางปะกง ได้แก่ ปลาซิวแก้ว ปลากระตัก ปลาตะเพียนซิว ปลาบู่ และปลาจิ้มฟันจระเข้


40 แผนงานเพื่อลดผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ

โรงไฟฟ้าบางปะกง ได้กำ�หนดแผนงานเพื่อป้องกัน แก้ไขและลดผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาแหล่งน้ำ�และความหลากหลายทาง ชีวภาพจากการดำ�เนินงานของโรงไฟฟ้า ดังนี้ 1. สนับสนุนกิจกรรมการอนุรักษ์ระบบนิเวศวิทยาแม่น้ำ�บางปะกงและเกาะท่าข้าม ร่วมกับชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น เช่น การปลูกป่าชายเลน และการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ดั้งเดิมและที่อยู่อาศัยของนก บนเกาะนกปากแมน้ำ�บางปะกง พื้นที่ 120 ไร่ 2. ตรวจสอบตะแกรงขนาดต่างๆ บริเวณจุดสูบน้ำ�ให้มีสภาพดีตลอดเวลา เพื่อลดปริมาณสิ่งมีชีวิตที่อาจจะติดไปกับน้ำ� ซึ่งจะ ถูกดูดไปใช้ในระบบหล่อเย็น 3. เฝ้าระวังอุณหภูมขิ องน�ำ้ ในแม่น�ำ้ บางปะกง บริเวณทีม่ กี ารเพาะเลีย้ งปลาในกระชัง ซึง่ อยูด่ า้ นท้ายน�ำ้ ห่างจากทีต่ ง้ั โรงไฟฟ้า ประมาณ 2 และ 4 กิโลเมตร ตามลำ�ดับ โดยการติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดอุณหภูมิแบบต่อเนื่องและแสดงผลการตรวจวัด ที่ห้องควบคุมของโรงไฟฟ้าบางปะกงตลอดเวลาในช่วงฤดูร้อน เมื่ออุณหภูมิของน้ำ�บริเวณกระชังปลาของทั้ง 2 แห่ง มีค่า สูงเกิน 33 องศาเซลเซียส โรงไฟฟ้าบางปะกงจะต้องเดินเครื่องระบายความร้อน เพื่อลดอุณหภูมิของน้ำ�ก่อนระบายลงสู่ แม่น้ำ� 4. กำ�หนดให้มีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ�ลงในแม่น้ำ�บางปะกง คลองบางนาง และคลองบางแสม ได้แก่ ปลากะพง ปลาอีกง กุ้ง แชบ๊วย และกุ้งก้ามกราม เป็นต้น

พื้นที่ให้การคุ้มครองและฟื้นฟูให้กลับสู่สภาพเดิม

ในปี 2556 กฟผ. ได้ดำ�เนินโครงการ “ปลูกป่าต้นน้ำ�เขื่อนสิริกิติ์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ” เพื่อฟื้นฟูป่าต้นน้ำ�เขื่อนสิริกิติ์ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและอุทยานแห่งชาติ จังหวัดน่าน นอกจากนี้ ยังมีโครงการสร้างฝายเหนือ เขือ่ นภูมพิ ล อำ�เภอสามเงา จังหวัดตาก เขือ่ นสิรกิ ติ ์ิ อำ�เภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ เขื่อนศรีนครินทร์ อำ�เภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี และ โรงไฟฟ้าลำ�ตะคองชลภาวัฒนา

ยุทธศาสตร์ กิจกรรมการดำ�เนินงานในปัจจุบันและแผนงานในอนาคต

กฟผ. ได้ประกาศปฏิญญารักษ์สง่ิ แวดล้อมปี 2556 เพื่อเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ขององค์การ เพื่อแสดงออกถึงจุดยืนและความมุ่งมั่น ในการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า ควบคู่ไปกับการพัฒนาองค์การให้เป็นผู้นำ�ด้านการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม อันจะนำ�ไปสู่การเป็น องค์การทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม ดังนี้ 1. ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ มาตรฐาน และข้อกำ�หนดด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด 2. เลือกใช้เทคโนโลยีที่สะอาดในการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า เพื่อให้โรงไฟฟ้าสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างมีความสุข 3. ร่วมกันสนับสนุนให้ทกุ โรงไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าแรงสูงจัดทำ�ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากลและรักษาระบบ อย่างต่อเนื่อง 4. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมชุมชนบริเวณโดยรอบพื้นที่ กฟผ. 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการดำ�เนินงานการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด และผลิตภัณฑ์ที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6. ร่วมกันเสริมสร้างจิตสำ�นึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ สำ�หรับแผนงานในปี 2557 นั้น กฟผ. มีนโยบายปลูกป่าในพื้นที่ป่าบกและป่าชายเลน อีก 1 ล้านต้น รวมทั้งปลูกแฝกและสร้างฝาย เหนือเขื่อนต่างๆ ของ กฟผ.

ค่าใช้จ่ายและการลงทุนเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

กฟผ. ได้จัดทำ�แผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อเป็นกรอบและแนวทางปฏิบัติในการป้องกัน แก้ไขผลกระทบ และ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในบริเวณพื้นที่โรงไฟฟ้าและชุมชนใกล้เคียง ทั้งนี้ ได้จัดสรรงบประมาณประจำ�ปี 2556 สำ�หรับโรงไฟฟ้าต่างๆ เช่น โรงไฟฟ้าจะนะ จำ�นวน 23.59 ล้านบาท โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ จำ�นวน 16.52 ล้านบาท เป็นต้นไป


41

การปฏิบัติที่เป็นธรรม ในรอบปี 2556 กฟผ. ยังคงดำ�เนินงานตามหัวข้อหลักของแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 ประกอบด้วย ประเด็นต่อไปนี้ การต่อต้านการทุจริต การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างรับผิดชอบ การแข่งขันอย่างเป็นธรรม การส่งเสริมความรับผิดชอบ ต่อสังคมในห่วงโซ่แห่งคุณค่า และการเคารพต่อสิทธิในทรัพย์สิน

การต่อต้านการทุจริต

กฟผ. ได้ดำ�เนินงานตามประมวลจริยธรรมของคณะกรรมการ กฟผ. ฝ่ายบริหาร และผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งระบุไว้ในข้อพึงปฏิบัติตน หัวข้อ การป้องกันการทุจริต ให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ไม่แสวงหาผลประโยชน์หรือร้องเรียกสินจ้าง อันส่อเจตนาไปในทางทุจริตต่อ หน้าที่ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อป้องกันความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม นอกจากนี้ ในปี 2556 กฟผ. ยังได้จัดงาน “กฟผ. องค์การใสสะอาด” ขึ้นเป็นปีที่ 2 เพื่อแสดงเจตนารมณ์ในการขับเคลื่อน กฟผ. ให้เป็นองค์การที่มีธรรมาภิบาล มี การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และให้ความสำ�คัญกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์การ รวมทั้งเพื่อรองรองรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการปลูกจิตสำ�นึก ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและสร้างวินัยแก่ทุก ภาคส่วน

นโยบายการจัดซื้อจัดจ้าง

ในส่วนของงานจัดซื้อจัดจ้าง กฟผ. ได้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์ และวิธกี ารจัดทำ�และแสดงบัญชีรบั จ่ายของโครงการทีบ่ คุ คลและนิตบิ คุ คลเป็นคูส่ ญ ั ญากับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติ ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 โดยได้จัดทำ�ข้อบังคับ กฟผ. ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2546 และ ระเบียบ กฟผ. ฉบับที่ 26 ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2546 รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ที่ให้ความสำ�คัญกับการพิจารณาผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกันและการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่าง เป็นธรรม

การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างรับผิดชอบ

กฟผ. ได้ก�ำ หนดแนวทางปฏิบตั ใิ นการมีสว่ นร่วมทางการเมืองอย่างรับผิดชอบ ในหัวข้อการใช้สทิ ธิทางการเมืองว่า ผูป้ ฏิบตั งิ าน กฟผ. มีสิทธิและเสรีภาพในการไปใช้สิทธิทางการเมือง ตามที่กฏหมายรัฐธรรมนูญกำ�หนดไว้ เช่น การลงคะแนนเลือกตั้ง หรือการเป็นสมาชิก พรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะความรับผิดชอบที่มีต่อภาครัฐ โดยการให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการ ปฏิบัติตามกฎหมายและกฏระเบียบของราชการ เช่น การปรับอัตราค่าจ้างแรกเข้า ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้าง ขัน้ ต�ำ่ และ พระราชบัญญัตปิ ระกันสังคม พ.ศ. 2533 มีการบริหารจัดการทีด่ ี ให้ความสำ�คัญต่อการบริหารความเสีย่ งและการควบคุมภายใน เพื่อนำ�ไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์การ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความขัดแย้งในเรื่องของการเมือง ระบบยุติธรรม ระบอบประชาธิปไตย กฟผ. ได้ระบุไว้ชัดเจนในข้อพึงปฏิบัติตนของพนักงาน กฟผ.


42 การแข่งขันอย่างเป็นธรรม

กฟผ. ส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรมด้วยการกำ�หนดและปฏิบัติตามมาตรฐานด้านจริยธรรม ซึ่งระบุไว้ในประมวลจริยธรรมของ กฟผ. ว่า ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. จะต้องปฏิบัติตามพันธกิจที่มีต่อรัฐบาล ประชาชน ลูกค้า คู่ค้า และผู้ประกอบการในธุรกิจประเภทเดียวกัน ด้วยความซื่อตรงและเป็นธรรม โดยพนักงานจะต้องให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน แก่ผู้ค้าด้วยวิธีการที่เปิดเผยและให้โอกาสแก่ ผู้ค้าอย่างเท่าเทียมกันเพื่อให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม รวมทั้งต้องรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะใดๆ ที่ผู้ค้าร้องเรียนหรือแนะนำ� เพื่อให้ปรับปรุงแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน ต้องรักษาข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับจากผู้เสนอราคาหรือผู้เข้าร่วมประกวดราคาแต่ละราย ไว้เป็นความลับและไม่เปิดเผยให้รายอื่นทราบ ต้องรักษาความสัมพันธ์กับผู้ค้าในเชิงธรุกิจด้วยความเสมอภาค ไม่เรียกร้องรับทรัพย์สิน หรือ ผลประโยชน์อื่นใดทั้งโดยตรงและโดยอ้อมจากผู้ค้า นอกจากนี้ ในส่วนของการจัดซื้อจัดจ้างและการจ้างงานในรอบปี 2556 กฟผ. ได้มีการดำ�เนินงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง โดยมีสัดส่วน การจัดซื้อจัดหาในสำ�นักงานกลางเป็นมูลค่า 31,464,480,333.46 บาท คิดเป็นร้อยละ 62.62 และในส่วนภูมิภาคอีก 18,782,309,048.71 บาท คิดเป็นร้อยละ 37.38 สำ�หรับแนวทางปฏิบตั ใิ นการจัดซือ้ จัดจ้าง ตลอดจนการจ้างงาน ได้ปฏิบตั ติ ามนโยบาย วิธกี ารปฏิบตั ิ และสัดส่วน ของการจัดซื้อจัดจ้างในท้องถิ่นที่หน่วยงานตั้งอยู่ รวมทั้งนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกาศ ใช้ในองค์การมาตัง้ แต่ปี 2552 ส่วนการจ้างงาน ได้ใช้มาตรฐานเดียวกัน คือสนับสนุนการจ้างงานในท้องถิน่ ตามนโยบาย กฟผ. ต่อประชาชน โดยเน้นการจ้างแรงงานในพื้นที่รอบหน่วยงาน กฟผ.

การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมในห่วงโซ่แห่งคุณค่า

ในปี 2556 กฟผ. ได้จัดให้มีการประเมินการละเมิดหลักธรรมาภิบาลของผู้ประกอบการกับ กฟผ. เพื่อรวบรวมและจัดทําฐานข้อมูล ผู้ประกอบการที่ละเมิดธรรมาภิบาล ซึ่งจะใช้เป็นข้อมูลประกอบการดําเนินการจัดหาต่อไป โดยในเบื้องต้น กฟผ. จะขอความร่วมมือจาก ผู้ประกอบการที่เป็นคู่สัญญาที่ดีของ กฟผ. ให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญาและตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งประกอบด้วยหลักนิติธรรม หลักความ โปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า และหลักคุณธรรมอย่างเคร่งครัด หากปรากฏว่าผู้ประกอบการมีการ กระทำ�ที่ละเมิดต่อหลักการดังกล่าว โดยการปลอมแปลงเอกสาร การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม การเป็นผู้เสนอราคาที่ กฟผ. คัดเลือกแล้ว แต่ไม่ยอมทำ�สัญญาภายในเวลาที่กำ�หนดโดยไม่มีเหตุสมควร และการไม่ปฏิบัติตามสัญญา กฟผ. จะพิจารณาลงโทษให้เป็น ผู้ทิ้งงาน และหากปรากฏว่าผู้ประกอบการมีการกระทำ�ที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน จะแจ้งผู้ประกอบการเพื่อให้ปรับปรุงแก้ไข หากไม่มี การแก้ไข กฟผ. จะแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำ�เนินการตามที่เห็นสมควร กฟผ. ให้ความสำ�คัญในการดำ�เนินการด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรมในกระบวนการของงานจัดหา อาทิ มีการแต่งตั้งคณะทำ�งาน จัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งเป็นคณะกรรมการพิจารณาราคาด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรม ตามข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของ กฟผ. ซึ่งจัดทำ� ในแนวทางเดียวกันกับการซื้อและการจ้างของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนงานตกลงราคา มีการประกาศในเว็บไซต์ของ กฟผ. โดยผู้เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ เป็นต้น

การเคารพต่อสิทธิในทรัพย์สิน

ด้วยตระหนักถึงความสำ�คัญของการเคารพต่อสิทธิในทรัพย์สิน โดยเฉพาะทรัพย์สินทางปัญญา กฟผ. จึงไม่เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นการละเมิดสิทธิในทรัพย์สิน รวมทั้งการใช้งานที่ผิดไปจากอำ�นาจการครอบครอง การปลอมแปลง และการละเมิดลิขสิทธิ์ อาทิ การ ไม่ใช้สินค้าที่ละเมิดลิขสิทธิ์ในองค์การและซอฟต์แวร์ผิดกฎหมายต่างๆ โดยได้ปฏิบัติตามนโยบาย กฟผ. เรื่องการใช้งานลิขสิทธิ์โปรแกรม คอมพิวเตอร์และทรัพย์สินทางปัญญาให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 และบันทึกจากเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยี สารสนเทศ กฟผ. เรื่องการใช้งานลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2548


43

ประเด็นด้านผู้บริโภค ในปี 2556 กฟผ. ยังคงให้ความสำ�คัญอย่างต่อเนื่องต่อการดำ�เนินงานประเด็นด้านผู้บริโภค ซึ่งเป็นหัวข้อหลักอีกหัวข้อหนึ่งของ แนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 ซึ่งเป็นหลักการที่เน้นการให้ความเคารพต่อสิทธิส่วนบุคคล และการดำ�เนินงานเชิงรุกเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้ กิจกรรมการดำ�เนินงานของ กฟผ. ที่สอดคล้องกับประเด็นต่างๆ ของ หลักการข้อนี้มีดังนี้

การตลาดที่เป็นธรรม สารสนเทศที่เป็นจริงและไม่เบี่ยงเบน และการปฏิบัติตามข้อตกลงที่เป็นธรรม

กฟผ. ให้ความสำ�คัญกับการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้าร่วมติดตามและตรวจสอบการดำ�เนินงาน อาทิ นำ�กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย กลุ่มต่างๆ ศึกษาดูงานและเยี่ยมชมหน่วยงาน พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้บริหารในทุกพื้นที่ เพื่อสร้างความเข้าใจในภารกิจ สร้างการมีส่วนร่วม และบริหารความสัมพันธ์เชิงรุก รวมทั้งเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสาธารณะและเว็บไซต์ กฟผ.

การส่งเสริมให้เกิดการบริโภคอย่างยั่งยืน

นับเป็นเวลา 20 ปีมาแล้ว ที่ กฟผ. รณรงค์สนับสนุนให้ประชาชนใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ ด้วยการส่งเสริมการ ติดฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้าและการเลือกใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าทีต่ ดิ ฉลากประสิทธิภาพเบอร์ 5 โดยในปี 2556 มีเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ได้รับการติดฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 จำ�นวน 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เครื่องซักผ้าและหลอดไฟ LED (Light Emitting Diode) รวมทั้งมีการ ลงนามความร่วมมือระหว่าง กฟผ. และผู้ประกอบการ ในการปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องใช้ไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้ได้รับการติด ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ในปี 2557 อีกจำ�นวน 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เตาไมโครเวฟและเตาไฟฟ้าแบบเหนี่ยวนำ� ทำ�ให้ตั้งแต่แต่เริ่มโครงการ ในปี 2538 จนถึงปัจจุบัน มีอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดฉลากเบอร์ 5 ในท้องตลาดแล้วทั้งหมด 21 ผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ กฟผ. ยังมีการดำ�เนินงาน ที่สำ�คัญ อาทิ โครงการหลอดผอมเบอร์ 5 กฟผ. ส่งเสริมให้หน่วยงานราชการ อาคารควบคุมภาครัฐ ศาสนสถาน และภาคเอกชน เปลี่ยนมาใช้ หลอดผอมเบอร์ 5 โดยดำ�เนินงานภายใต้การสนับสนุนจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปี 2556 มีการ เปลี่ยนมาใช้หลอดผอมเบอร์ 5 แล้วกว่า 13 ล้านหลอด โดยในปี 2556 ได้ดำ�เนินการเปลี่ยนหลอดในอาคารภาครัฐ และศาสนสถาน จำ�นวน 226 แห่ง รวมประมาณ 497,000 หลอด และยังคงเดินหน้าส่งเสริมให้ประชาชนเปลี่ยนมาใช้หลอดไฟเบอร์ 5 เป็นจำ�นวน 736,500 หลอด


44 โครงการส่งเสริมการใช้อุปกรณ์แสงสว่าง LED กฟผ. ดำ�เนินโครงการนำ�ร่องเปลี่ยนโคมไฟถนนภายในเขตเขื่อนและโรงไฟฟ้าของ กฟผ. จำ�นวน 8 แห่ง รวมกว่า 4,000 โคม ได้แก่ เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิตติ์ เขื่อนศรีนครินทร์ เขื่อนวชิราลงกรณ เขื่อนรัชชประภา โรงไฟฟ้า พระนครเหนือ สำ�นักงานกลาง กฟผ. และเหมืองแม่เมาะ ให้เป็นหลอด LED เพื่อเป็นกรณีศึกษา เก็บข้อมูลการใช้งานและประหยัดพลังงาน ซึ่งพบว่าสามารถลดการใช้ไฟฟ้าได้ถึงประมาณร้อยละ 60-70 การเป็นเจ้าภาพจัดงาน “LED Expo Thailand 2013” เมื่อเดือนพฤษภาคม 2556 ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี เพื่อนำ�เสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ LED ของผู้ประกอบการชั้นนำ�จากนานาประเทศ ให้ความรู้แก่สาธารณชน เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ระบบส่องสว่างที่มีประสิทธิภาพสูง และกระตุ้นให้มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย อันจะส่งผลต่อการประหยัดพลังงาน โดยรวมของประเทศ และการเปิดตัว Application เบอร์ 5 ในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน ซึ่งจะแสดงข้อมูลการประหยัดไฟของ เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดต่างๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าให้กับผู้บริโภค ในงาน “20 ปี DSM การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า” เมื่อเดือนกันยายน 2556 ณ สํานักงานใหญ่ กฟผ. ผลของการดำ�เนินงานการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้าของ กฟผ. ตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงปี 2556 สามารถลดการใช้ไฟฟ้าลงทั้งสิ้น 18,992.3 ล้านหน่วย ลดความต้องการไฟฟ้าสูงสุดลง 3,150.7 เมกะวัตต์ คิดเป็นการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้ 11,288,728.3 ตันคาร์บอนไดออกไซด์

ผลการดำ�เนินงานการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้าของ กฟผ. ปี 2552-2556 ปี

ปริมาณความต้องการไฟฟ้าสูงสุดที่ ลดลง (MW)

ปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่ลดลง (GWh)

ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ลดลง (Ton CO2)

2552

173.50

1,104.57

513,623.86

2553

267.08

1,706.02

937,888.27

2554

298.28

1,808.20

994,379.14

2555

429.65

2,573.39

1,414,046.11

2556

374.99

2,307.40

1,179,772.28

การบริการ การสนับสนุน และการยุติข้อเรียกร้องและข้อโต้แย้งแก่ผู้บริโภค

ในปี 2556 กฟผ. ได้ดำ�เนินการสำ�รวจทัศนคติและความพึงพอใจของผู้บริโภค เพื่อนำ�ไปใช้ทบทวน ปรับปรุงการดำ�เนินงานให้ สอดคล้องตามคาดหวังของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น รวมทั้งจัดให้มีระบบจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน ระบบรับฟังเสียงจากลูกค้า (EGAT Voice of Customer) ระบบศูนย์บริการข้อมูล กฟผ. 1416 จัดทำ�คู่มือมาตรฐานการทำ�งานด้านลูกค้า และกำ�หนดหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาลำ�ดับความสำ�คัญและความเร่งด่วนของประเด็นปัญหา เพื่อตอบสนองความต้องการที่สำ�คัญ ความจำ�เป็น และความคาดหวัง ที่เปลี่ยนแปลงไปของลูกค้า ซึ่งทำ�ให้สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทันที สำ�หรับภารกิจที่ กฟผ. ได้รับการร้องเรียนอย่างต่อเนื่อง คือ ผลกระทบที่เกิดจากการก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้า เช่น การอุทธรณ์ เรื่องที่ดินที่อยู่นอกเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า โดย กฟผ. ได้มีการตรวจสอบหลักฐานและสรุปข้อเท็จจริง เสนอขออนุมัติความช่วยเหลือจาก ที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างระบบโครงข่ายไฟฟ้า เพื่อพิจารณาจ่ายค่าทดแทนและนำ�ไปสู่ การยุติเรื่องในที่สุด


45 การเข้าถึงบริการที่จำ�เป็น

ในปี 2556 กฟผ. ได้ด�ำ เนินงานส่งเสริมให้ผใู้ ช้ไฟฟ้าเข้าถึงบริการด้านการใช้ไฟฟ้าอย่างครอบคลุม ทัว่ ถึงและยัง่ ยืน ด้วยการกำ�หนด เป้าหมายและแผนงานที่จะยกระดับความเชื่อถือได้ในการส่งจ่ายกระแสไฟฟ้า โดยมีแผนงานเปลี่ยนทดแทนอุปกรณ์ในสถานีไฟฟ้าแรงสูง ที่เสื่อมสภาพ แผนประเมินสภาพหม้อแปลงและอุปกรณ์ประกอบ และดำ�เนินการบริหารอุปกรณ์ระบบส่งที่ได้ปลดออกจากระบบ รวมทั้งได้ ว่าจ้างบริษัท International Transmission Operations and Maintenance Study (ITOMS) เพื่อเปรียบเทียบค่าดัชนีสมรรถนะของ ระบบส่งกำ�ลังไฟฟ้า (System Performance Index: SPI) ของ กฟผ. กับหน่วยงานภายนอกในภูมภิ าคต่างๆ ทีเ่ ป็นสมาชิกของ ITOMS โดย มุ่งหมายที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพระบบส่งไฟฟ้าให้ทันสมัยเทียบเท่าสากล สรุปผลการศึกษาของ ITOMS ได้ค่า SAIFI ของ กฟผ. เทียบเท่า อันดับที่ 10 ส่วนค่า SAIDI เทียบเท่าอันดับที่ 8

การให้ความรู้และสร้างความตระหนัก

ในปี 2556 กฟผ. ดำ�เนินงานตามแผนการบริหารจัดการพลังงานในสถานศึกษาเพื่อลด CO2 (Low Carbon Green School) ใน สถานศึกษา ในการส่งเสริมให้โรงเรียนในโครงการห้องเรียนสีเขียวและโรงเรียนสีเขียว สามารถดำ�เนินการด้านการจัดการพลังงานและอนุรกั ษ์ สิง่ แวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างเสริมการพัฒนาสังคมคาร์บอนตํา่ โดยพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นการจัดทำ�บัญชีคาร์บอน (Carbon Footprint) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชีวิตประจำ�วัน

สำ�หรับโครงการ “ยกระดับห้องเรียนสีเขียว มุ่งสู่โรงเรียนสีเขียวเครือข่ายรักษ์พลังงาน” ซึ่งเป็นโครงการระยะยาวตั้งแต่ปี 25522556 เพื่อต่อยอดและขยายผลการดำ�เนินงานโครงการ “ห้องเรียนสีเขียว” โดยบูรณาการการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมไปสู่ทุกระบบ การดำ�เนินงาน ทั้งด้านการเรียนการสอนและการบริหารจัดการนั้น ในปี 2556 มีโรงเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นโรงเรียนสีเขียวจำ�นวน 18 โรงเรียน ทำ�ให้ปัจจุบันมีโรงเรียนสีเขียวรวม 92 โรงเรียน จากโรงเรียนเครือข่ายห้องเรียนสีเขียวทั้งหมด 747 โรงเรียน นอกจากนี้ กฟผ. ยังได้ดำ�เนินการส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ด้านพลังงานไฟฟ้า พร้อมสร้างจิตสำ�นึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนใกล้แนวสายส่งอย่างต่อเนื่อง เกี่ยวกับอันตรายและการกระทำ�ที่อันตราย เช่น การเผาไร่อ้อย การปลูกสิ่งก่อสร้าง และการใช้เครื่องจักรใต้แนวสายส่งไฟฟ้าแรงสูง เป็นต้น รวมทั้งจัดโครงการต่างๆ อาทิ โครงการ ค่ายเยาวชนรักษ์สายส่ง และโครงการประชาสัมพันธ์สัญจรให้ความรู้แก่เยาวชนในสถานศึกษา


ÊÌҧÊØ¢...

»ÅÙ¡¤ÇÒÁÂÑè§Â×¹

ÊÙ‹Êѧ¤ÁáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

“เพราะตระหนักในสัมพันธภาพของทุกสรรพสิ่ง กฟผ. จึงใหความสำคัญ กับการดำเนินภารกิจอยางมีความรับผิดชอบ ควบคูการรวมสนับสนุน ดูแลสังคมและสิ่งแวดลอมอยางจริงใจ กอเกิดเปนวิถีทางในการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อสรางรากฐานสูความมั่นคงและความสุขใหเกิดขึ้นในสังคมไทยตลอดไป”


48

การมีส่วนร่วมของชุมชนและการพัฒนาชุมชน กฟผ. ตระหนักดีว่าองค์กรเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคมในภาพรวม และได้ให้ความสำ�คัญอย่างต่อเนื่องกับการดำ�เนินงานด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นการพัฒนาให้ชุมชนอยู่ดีมีสุข ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ประเด็นสำ�คัญ เช่น การมีส่วนร่วมของชุมชน การสร้างการจ้างงานและพัฒนาทักษะ การส่งเสริมอาชีพและรายได้ การส่งเสริมด้านการ ศึกษากีฬา และวัฒนธรรม การสนับสนุนด้านสุขภาพ การให้ความช่วยเหลือด้านสาธาณภัย การส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและการเข้าถึง และการสนับสนุนการลงทุนทางสังคมในรูปแบบต่างๆ

การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน

กฟผ. ให้ความสำ�คัญกับการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของชุมชน ในการดำ�เนินงานของ กฟผ. ทุกขัน้ ตอน ได้แก่ การรับฟังความคิดเห็น ในการพัฒนาโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าและระบบส่ง การมีสว่ นร่วมในการติดตามตรวจสอบการดำ�เนินงานของ กฟผ. รวมถึงการมีสว่ นร่วมใน กิจกรรมเพือ่ การพัฒนาชุมชนและสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะชุมชนทีอ่ าศัยอยูร่ อบบริเวณเขือ่ น โรงไฟฟ้า และระบบส่ง รวมทัง้ สนับสนุนการสร้าง ความสัมพันธ์ภายในชุมชน เพื่อแสดงออกถึงมิตรภาพ ความเอื้ออาทร และเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันในลักษณะของการสร้างคุณค่าร่วม (Shared Value)

การสร้างการจ้างงานและพัฒนาทักษะ

การดำ�เนินงานของ กฟผ. ทั้งการก่อสร้างโรงไฟฟ้าและระบบส่ง รวมถึงการดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสังคมต่างๆ จะใช้การจ้างแรงงาน ในท้องถิ่นเป็นหลัก เพื่อเป็นการเสริมรายได้ให้ชุมชน แม้แต่การดำ�เนินงานปลูกป่าของ กฟผ. ก็ได้จ้างแรงงานในท้องถิ่นเช่นเดียวกัน ในปี 2556 ได้จ้างปลูกป่าตามโครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ที่ จังหวัดน่าน จำ�นวน 5,000 ไร่ และบำ�รุงรักษาต่อเนื่องอีก 5,000 ไร่ เป็นงบประมาณการจ้างงาน 24 ล้านบาท เป็นการสร้างรายได้ให้ชุมชน และหลีกเลี่ยงจาก การตัดไม้เผาป่าเพื่อการประกอบอาชีพด้วย

นอกจากนั้นได้สนับสนุนการจ้างงานในท้องถิ่นด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์จากชุมชนในกิจการต่างๆ ของ กฟผ. รวมทั้งใช้เป็นของที่ระลึก ของขวัญปีใหม่ เช่น เสื้อยืด เสื้อผ้าฝ้าย ผ้าทอ ถุงผ้า เครื่องจักสาน ข้าว เป็นต้น และได้เชิญชุมชนมาจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ในการจัดงานของ กฟผ. เช่น งาน CSR Day งานคุณภาพ ปีละหลายครั้ง


49 สำ�หรับการพัฒนาทักษะเพื่อการประกอบอาชีพนั้น กฟผ. ได้สนับสนุนการจัดตั้งวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ. แม่เมาะ เพื่อเป็นสถานศึกษาสำ�หรับนักเรียนในสายวิชาชีพ และ กฟผ. แม่เมาะได้ให้การสนับสนุนการฝึกงานสำ�หรับนักศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะทาง วิชาชีพด้วย นอกจากนี้หน่วยงาน กฟผ. ทั่วประเทศเป็นสถานที่ฝึกงานให้กับนักศึกษาในหลายสาขาวิชาชีพ โดยเฉพาะสายวิศวกรรมและ สายช่าง เป็นจำ�นวนปีละกว่า 2,000 คน

การส่งเสริมอาชีพและรายได้

กฟผ. ตระหนักดีว่าชุมชนจะอยู่ดีมีสุขได้นั้น จะต้องมีอาชีพที่มั่นคงและมีรายได้เพียงพอกับการดำ�เนินชีวิต เขื่อนและโรงไฟฟ้าต่างๆ จึงได้ให้การส่งเสริมอาชีพตามวิถีชีวิต สภาพแวดล้อม และความต้องการของชุมชน โดยจัดทำ�แผนสื่อสารสาธารณะ เพื่อจัดทำ�แผนที่สังคม และให้การส่งเสริมสนับสนุนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป

โครงการอนุรักษ์พันธุ์ปลา ประชามีสุข

เป็นโครงการที่ดำ�เนินการโดยเขื่อนอุบลรัตน์ เนื่องจากอ่างเก็บน้ำ�เขื่อนอุบลรัตน์มีพันธุ์ปลาที่หลากหลาย ชาวบ้านสร้างรายได้จาก อาชีพประมง จึงได้เริม่ ดำ�เนินการ โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุป์ ลา ประชามีสขุ ตัง้ แต่ปี 2552 เนือ่ งจากพบปัญหาว่า ชาวบ้านจับปลาในอ่างเก็บน�ำ้ ได้น้อยลง รายได้จากการจับปลาขายของชาวประมงพื้นบ้านก็ลดน้อยลงไปด้วย เขื่อนจึงได้ร่วมมือกับประมงอำ�เภอศรีบุญเรืองและชาวบ้าน ที่อาศัยอยู่ริมอ่าง ช่วยกันวางแนวเขตอนุรักษ์ โดยมีคณะกรรมการจากชุมชนบ้านภูคำ�เบ้าและบ้านโนนสวรรค์ช่วยกันดูแล และชาวบ้านได้ ช่วยทำ�กระชังอนุบาลลูกปลาโดยอาศัยภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เพือ่ ให้ปลาได้อาศัยกระจายอยูท่ ว่ั ไปตามแนวริมฝัง่ เขือ่ นได้น�ำ พันธุป์ ลาพืน้ เมืองต่างๆ ที่เกือบจะสูญหายไปจากลำ�น้ำ�พองแล้ว เช่น ปลายี่สกไทย ปลากาดำ� ปลากะโห้ไทย และปลายี่สกเทศ เป็นต้น มาปล่อยลงในกระชังอนุรักษ์ เมือ่ ปลาในกระชังเริม่ เติบโตแข็งแรงขึน้ ชาวบ้านก็จะนำ�ไปปล่อยลงสูอ่ า่ งเก็บน�ำ้ และให้ชาวบ้านช่วยกันดูแลให้อาหาร มีการกำ�หนดกฎท้องถิน่ ร่วมกันในการช่วยกันดูแลกระชังอนุรักษ์ ป้องกันชาวบ้านบุกรุกเข้าไปจับปลาในแนวเขตอนุรักษ์ โดยเขื่อนอุบลรัตน์ทำ�หน้าที่เป็นพี่เลี้ยง หนุนเสริม นอกจากนี้ ยังมีเป้าหมายขยายแนวเขตอนุรักษ์พันธุ์ปลาในลำ�น้ำ�พอง เช่น บริเวณปากลำ�น้ำ�เชิน ลำ�น้ำ�พอง และลำ�พะเนียง ปัจจุบัน โครงการดังกล่าวช่วยทำ�ให้ชาวบ้านริมอ่างเก็บน้ำ�มีรายได้จากการขายปลาที่จับได้เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน

โครงการคืนถิ่นกุ้งก้ามกรามสู่ลุ่มน้ำ�ตาปี-พุมดวง

กฟผ. ดำ�เนินงานโครงการ “คืนกุง้ ก้ามกรามสูล่ มุ่ น�ำ้ ตาปี-พุมดวง” ของโรงไฟฟ้าสุราษฏร์ธานี ส่งผลให้กงุ้ ก้ามกรามสัตว์ประจำ�ท้องถิน่ มีปริมาณเพิม่ ขึน้ ในลำ�น�ำ้ แห่งนี้ สร้างอาชีพและรายได้ให้ชมุ ชนอย่างยัง่ ยืน โดยโรงไฟฟ้าสุราษฎร์ธานี ของ กฟผ. เป็นผูส้ นับสนุนงบประมาณ โดยให้ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาประมงน�ำ้ จืดสุราษฎร์ธานี เป็นผูด้ �ำ เนินการเพาะพันธุก์ งุ้ ก้ามกรามจำ�นวนหนึง่ ล้านตัว ในส่วนของผูน้ �ำ ชุมชนท้องถิน่ และส่วนราชการ ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมพิธีปล่อยกุ้งก้ามกรามเนื่องในโอกาสต่างๆ ส่วนผู้นำ�ท้องถิ่น อบต. กำ�นัน และผู้ใหญ่บ้าน ได้ช่วยกัน ประชาสัมพันธ์และแจ้งให้ชุมชนช่วยกันดูแลรักษากุ้งที่ได้ปล่อยลงสู่แม่น้ำ�ให้มีความปลอดภัยจนกว่าเจริญเติบโต

โครงการชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง

เป็นอีกโครงการหนึง่ ที่ กฟผ. พัฒนาต่อยอดจากโครงการชีววิถเี พือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดยการสนับสนุนชุมชนรอบเขือ่ น โรงไฟฟ้า และระบบส่ง ที่นำ�แนวทางชีววิถีและเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการประกอบอาชีพและชีวิตประจำ�วัน ด้านการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ประมง และสิ่งแวดล้อม จนสามารถลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี จนเป็นต้นแบบให้กับคนในชุมชน ตลอดจนชุมชนอื่นๆ ได้มา ศึกษาดูงาน ซึง่ ในปี 2556 ได้คดั เลือกชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง จำ�นวน 10 แห่งใน 4 ภาค เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาให้สร้างคุณค่าเพิม่ จาก ที่ดำ�เนินการอยู่เดิมเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ สามารถต่อยอดเป็นวิสาหกิจชุมชนต่อไป โดย กฟผ. สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนา ชุมชนต้นแบบ เช่น เครื่องสีข้าว การส่งเสริมผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ เป็นต้น


50 โรงงานวิสาหกิจชุมชนถ่านอัดแท่งอำ�เภอเหนือคลอง

โรงงานวิสาหกิจชุมชนถ่านอัดแท่งอำ�เภอเหนือคลอง เป็นผลการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ และความมัน่ คงด้านพลังงาน ในพื้นที่ชุมชนจังหวัดกระบี่ (ปี พ.ศ. 2553-2556) เพื่อการสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืน ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดย กฟผ. ดำ�เนินงานร่วมกับคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โรงงานดังกล่าว ตั้งอยู่ที่หมู่ 6 บ้านคลองหวายเล็ก ตำ�บลคลองขนาน อำ�เภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ใช้ระยะเวลาดำ�เนินงาน 4 ปี เป็นผลลัพธ์จากการพัฒนาคุณภาพชีวติ ชุมชนโดยการวางแผนแบบมีสว่ นร่วมกับภาคประชาชน เริม่ จากการปรึกษาหารือและร่วมกันวิเคราะห์ ปัญหาในครัวเรือนทีจ่ ะส่งผลกระทบถึงตัง้ แต่ระดับชุมชนและขยายไปถึงระดับชาติ ชุมชนได้ท�ำ การรวบรวมความต้องการและปัญหาทีแ่ ท้จริง เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหา ใช้การทำ�บัญชีครัวเรือนหาค่าใช้จ่ายสิ้นเปลือง ซึ่งพบว่าค่าเชื้อเพลิงหุงต้ม ได้แก่ แก๊สถังและถ่านไม้เป็นค่าใช้จ่าย ที่มีปริมาณสูง เมื่อทราบสาเหตุได้ร่วมกันค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาจนได้คำ�ตอบว่า ชุมชนผลิตเชื้อเพลิงจำ�หน่ายและใช้เอง โดยการนำ�เศษ วัสดุเหลือใช้ภายในชุมชน ได้แก่ กะลามะพร้าว และไม้ลอยน้ำ� มาผลิตเชื้อเพลิงถ่านอัดแท่ง ภายหลังจากการศึกษาทดลองและเดินทาง ไปดูงานการทำ�ถ่านอัดแท่ง การบริหารจัดการชุมชน และนำ�วิธีเผาถ่านตามภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมใช้ ทำ�ให้สามารถผลิตถ่านอัดแท่งได้ สำ�เร็จและจัดตั้งเป็นเป็นโรงงานวิสาหกิจชุมชนถ่านอัดแท่งอำ�เภอเหนือคลอง สามารถผลิตถ่านอัดแท่งได้ถึงวันละ 800 กิโลกรัม ชาวบ้าน หมู่ที่ 6 ใน อำ�เภอเหนือคลอง หันมาทำ�อาชีพเผาถ่านกะลามะพร้าว เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบป้อนโรงงาน เปิดโอกาสให้ชาวบ้านลงหุ้นและรับ เงินปันผลปีละ 1 ครั้ง สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง ตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน

การส่งเสริมด้านการศึกษา กีฬา และวัฒนธรรม

กฟผ. ยังตระหนักอีกว่า การศึกษาเป็นพื้นฐานที่สำ�คัญที่สุดของการพัฒนาชุมชนและสังคมทุกด้าน จึงได้ร่วมสนับสนุนและส่งเสริม การศึกษาและการกีฬาในทุกระดับ ทั้งยังร่วมขจัดปัญหาที่ทำ�ให้เด็กนักเรียนออกจากระบบการศึกษาก่อนวัยเรียน อันส่งผลให้เกิดการจ้าง แรงงานเด็ก ตลอดจนร่วมส่งเสริมการใช้ความรู้ในชุมชนและในท้องถิ่น กิจกรรมการดำ�เนินงานที่สำ�คัญในปี 2556 มีดังนี้ โครงการ Move World Together: เคลื่อนโลกไปด้วยกัน ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มีจุดมุ่งหมายในการสื่อสารด้าน พลังงานและสิง่ แวดล้อม และสร้างเครือข่ายผูน้ �ำ เยาวชนพันธุใ์ หม่ ขึน้ ในทุกภาคทัว่ ประเทศให้มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีจติ สาธารณะ มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำ�คัญของปัญหาพลังงาน และสิ่งแวดล้อม ใช้ศักยภาพและพลังของเยาวชนช่วยเหลือ ชุมชนและสังคมผ่านวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม โดย กฟผ. ซึ่งเป็นองค์กรที่มี องค์ความรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายที่มีความชำ�นาญด้านการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในแต่ละด้าน ได้แก่ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำ�นักส่งเสริมงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พ.ม.) และสมาคมพัฒนาศักยภาพและ อัจฉริยภาพมนุษย์ โครงการฯ เริ่มการดำ�เนินงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน มีเยาวชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการฯ ประกอบด้วยผู้นำ�เยาวชน รอบพืน้ ที่ กฟผ. และผูน้ �ำ เยาวชนทัว่ ไปทีต่ อ้ งการพัฒนาศักยภาพทางความคิด รวมทัง้ ทีป่ รึกษาของกลุม่ ผูน้ �ำ เยาวชนจากทุกภาคของประเทศ ประมาณ 2,000 คน โดยยึดหลักการพัฒนาผูน้ �ำ เยาวชนพันธุใ์ หม่ การขยายเครือข่ายและการขยายผลให้ผนู้ �ำ เยาวชนมีสว่ นร่วมในการพัฒนา ควบคู่กับการดูแลพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยการพัฒนาศักยภาพทางความคิดของเยาวชนจะนำ�มาสร้างโครงงานที่สามารถ ป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (Problem-Based Approach) เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงที่มาจากการกระทำ� ของธรรมชาติและจากมนุษย์ทั้งจากภายในและภายนอกชุมชน


51 ปัจจุบนั โครงการ Move World Together: เคลือ่ นโลกไปด้วยกัน ด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม” มีโครงงานทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนา จำ�นวน 85 โครงงาน และ 3 โครงงาน ที่อยู่ในขั้นตอนขอจดอนุสิทธิบัตร ซึ่งโครงงานนวัตกรรมต่างๆ เหล่านี้จะสามารถแก้ไขปัญหาอย่าง บูรณาการให้แก่ชุมชน สังคม และประเทศอย่างยั่งยืนต่อไป

โครงการ “โรงเรียนต้นแบบ กฟผ.” มีเป้าหมายเพือ่ สนับสนุนโครงการด้านการอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมให้กบั สถานศึกษา ที่อยู่โดยรอบ เขื่อน โรงไฟฟ้า และระบบส่ง โดยคัดเลือกสถานศึกษาเข้าร่วมโครงการโรงเรียนต้นแบบ กฟผ. จำ�นวน 26 แห่ง ระยะเวลาดำ�เนินการ 3 ปี ตั้งแต่ปี 2556-2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมเยาวชนให้ตระหนัก และดำ�เนินกิจกรรมในการ ใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า รวมถึงการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยเยาวชนเป็นผู้เสนอโครงการ และจะมีการประเมินกิจกรรมเป็น ขั้นตอน ตั้งแต่การปฏิบัติด้วยตนเอง และขยายผลสู่ครอบครัว ชุมชน และสังคม โดย กฟผ. ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ประเมินกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน และ กฟผ. จะสนับสนุนงบประมาณให้กับโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เพื่อเป็นโรงเรียน ต้นแบบด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โครงการพ่อ-แม่อุปถัมภ์ กฟผ. ธารน้ำ�ใจเพื่อเยาวชนคนชายขอบ เป็นหนึ่งในกิจกรรมกลุ่มจิตอาสาของผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ที่ เริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานร่วมเป็นพ่อ-แม่อุปภัมภ์แก่เยาวชนอำ�เภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ กฟผ. ดำ�เนินโครงการสำ�รวจแหล่งลิกไนต์ เป็นชุมชนอยู่บริเวณชายแดนไทย-พม่า ครอบครัวมี ฐานะยากจนและขาดโอกาสทางการศึกษา ทำ�ให้มีเยาวชนชายหญิงกลุ่มเสี่ยงจำ�นวนมากที่ต้องออกนอกระบบการศึกษาก่อนวัย อันควร การสนับสนุนกิจกรรมดังกล่าวเป็นการมอบทุนการศึกษาต่อเนือ่ ง ตัง้ แต่ระดับมัธยมศึกษาจนจบปริญญาตรีให้แก่เยาวชนทีข่ าดแคลน ทั้งนี้ผลการดำ�เนินงานจนถึง ปี พ.ศ. 2556 ได้มอบทุนการศึกษาไปแล้วรวม 19 ครั้ง เป็นเงินทุนการศึกษารวมทั้งสิ้น 6,512,010 บาท มี เยาวชนในโครงการปัจจุบันรวม 164 คน และพ่อ-แม่อุปถัมภ์ได้สนับสนุนเยาวชนจนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีไปแล้วรวม 17 คน

สนับสนุนสมาคมยกน้ำ�หนักสมัครเล่นแห่งประเทศไทย

กฟผ. ได้ให้การสนับสนุนสมาคมยกน้ำ�หนักสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในการพัฒนาศักยภาพนักกีฬาไทย มาตั้งแต่ปี 2547 และ ประสบความสำ�เร็จ โดยสามารถคว้าเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง จากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกถึง 3 ครั้งต่อเนื่อง และใน ปี 2556 กฟผ. ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับสมาคมยกน้ำ�หนักสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2556-2559 โดย สนับสนุนค่าใช้จ่ายเป็นรายปี ปีละ 16 ล้านบาท มีระยะเวลาสนับสนุน 4 ปี รวมเป็นเงิน 64 ล้านบาท


52 สำ�หรับการแข่งขันในปี 2556 ได้มีการจัดแข่งขัน EGAT ยกน้ำ�หนักนานาชาติ 3 รายการ ได้แก่ การแข่งขัน EGAT ยกน้ำ�หนัก นานาชาติ ชิงถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี​ี และการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 27 ณ กรุงย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ระหว่างวันที่ 13-16 ธันวาคม 2556 นักกีฬาทีมชาติไทย จำ�นวน 9 คน ได้รับรางวัล 6 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง

การสนับสนุนสมาคมเรือพายแห่งประเทศไทย

กฟผ. ได้สนับสนุนงบประมาณให้กบั สมาคมเรือพายแห่งประเทศไทย เพือ่ ดำ�เนินการจัดการแข่งขันเรือพายชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นมา โดยในปี 2556 ได้สนับสนุนงบประมาณจำ�นวน 6,348,000 บาท ในการจัดแข่งขัน 3 สนาม คือเขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนรัชชประภา และเขื่อนภูมิพล นอกจากสนับสนุนด้านงบประมาณแล้วยังได้สนับสนุน สถานที่สำ�หรับการจัดการแข่งขัน และที่พักสำ�หรับนักกีฬาด้วย ทั้งนี้เพื่อพัฒนาศักยภาพนักกีฬาเข้าสู่สนามแข่งขันนานาชาติ โดยมีนักกีฬา จากพื้นที่ กฟผ. เข้าร่วมเป็นนักกีฬาเรือพายทีมชาติด้วย จึงเป็นการส่งเสริมเยาวชนในพื้นที่ กฟผ. ในการพัฒนาศักยภาพด้านกีฬา ในปี 2556 นักกีฬาจากสมาคมเรือพายแห่งประเทศไทย ที่เป็นนักกีฬาจากพื้นที่หน่วยงาน กฟผ. ได้รับรางวัลในระดับชาติหลาย รางวัล อาทิ นักกีฬาจาก จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ 5 เหรียญทอง จากการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ “มหาสารคามเกมส์” และในการแข่งขัน กีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 27 ที่สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ระหว่างวันที่ 11-22 ธันวาคม 2556 นักกีฬาเรือพายทีมชาติไทยสามารถคว้า รางวัล 5 เหรียญทอง 14 เหรียญเงิน 11 เหรียญทองแดง โดยมีนักกีฬาจากโรงเรียนสามเงาวิทยาคม จังหวัดตาก ผ่านการคัดเลือกเป็น ตัวแทนทีมชาติไทย สามารถคว้า 2 เหรียญทองแดง จากการแข่งขีนซีเกมส์ด้วย

โครงการอนุรักษ์-ส่งเสริมเพลงไทยพื้นบ้านล้านนา

กฟผ. แม่เมาะ ได้ตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทย ชมรมดนตรีไทย กฟผ. แม่เมาะ ได้ให้การสนับสนุนในการ ส่งเสริมความรู้และทักษะการเล่นดนตรีไทย ให้กับเยาวชนและคนในชุมชน ในรูปแบบของจิตอาสา เริ่มดำ�เนินการมาตั้งแต่ปี 2552 ต่อเนื่อง ถึงปัจจุบนั นอกจากเป็นการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมแล้ว ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ชุมชน เป็นการสือ่ สารตามธรรมชาติในลักษณะ ของครูกบั ศิษย์ โดยสอนดนตรีไทยให้กบั นักเรียนในโรงเรียนอำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง 16 โรงเรียน และกลุม่ เยาวชนนอกระบบการศึกษา อีก 9 กลุ่ม นอกจากนั้นยังได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการทำ�เครื่องตนตรีพื้นเมืองให้กับเยาวชนด้วย

การสนับสนุนด้านสุขภาพ

กฟผ. ยังมีส่วนร่วมในการสนับสนุนให้ผู้คนในชุมชนเข้าถึงบริการสุขภาพพื้นฐานที่จำ�เป็น เนื่องจากสุขภาพที่ดีเป็นองค์ประกอบที่ จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตและได้รับการยอมรับว่าเป็นประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน กิจกรรมการดำ�เนินงานที่สำ�คัญในปี 2556 คือ กฟผ. แม่เมาะได้สนับสนุนการก่อสร้างอาคารศูนย์เฝ้าระวังเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ณ โรงพยาบาลแม่เมาะ อำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง อาคารศูนย์เฝ้าระวังเวชศาสตร์สง่ิ แวดล้อม ณ โรงพยาบาลแม่เมาะ จัดสร้างขึน้ เพือ่ รองรับการตรวจรักษาพยาบาล และเฝ้าระวังโรคจากสิ่งแวดล้อมของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ทั้งยังเป็นการช่วยพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ ได้รับความรู้ด้าน อาชีวเวชศาสตร์และสิง่ แวดล้อม และการจัดระบบเฝ้าระวังทีส่ ามารถประยุกต์ใช้ได้กบั สภาพการณ์และเป็นต้นแบบให้กบั พืน้ ทีอ่ น่ื ได้ โดยในโครงการนี้ กฟผ. ได้ให้การสนับสนุนเป็นเงินจำ�นวนทัง้ สิน้ 36.4 ล้านบาท ระยะเวลาการดำ�เนินการ 5 ปี (พ.ศ. 2552-2556) ประกอบด้วยค่าจ้างเขียนและออกแบบอาคาร การก่อสร้างอาคาร 2 ชั้น การจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ในการเฝ้าระวังและ รักษาพยาบาล และการจัดกิจกรรมเพื่อเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยรอบเหมืองและโรงไฟฟ้าแม่เมาะ


53 นอกจากนั้น กฟผ. ยังได้จัดหน่วยแพทย์และทันตกรรมเคลื่อนที่ ให้การรักษาพยาบาลกับชุมชนรอบโรงไฟฟ้าและพื้นที่สายส่งไฟฟ้า แรงสูง โดยในปี 2556 ให้บริการประชาชน จำ�นวนประมาณกว่า 10,000 คน

การให้ความช่วยเหลือด้านสาธารณภัย

กฟผ. ร่วมช่วยเหลือด้านอุทภัยและต้านภัยหนาว ในช่วงเดือนตุลาคม 2556 ได้เกิดเหตุการณ์อทุ กภัยในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง กฟผ. ร่วมกับกระทรวงพลังงานและบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) บริษัทในเครือ กฟผ. จัดถุงยังชีพพร้อม น้ำ�ดื่มจำ�นวน กว่า 50,000 ชุดรวมมูลค่า 16 ล้านบาท ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยผ่านหน่วยงานพลังงานจังหวัดทั่วประเทศ พร้อมทั้งให้ ความช่วยเหลือประชาชนพื้นที่โดยรอบหน่วยงาน กฟผ. และบริเวณแนวสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลางอย่างต่อเนื่อง

เนื่องจากในปี 2556 ประเทศไทยมีอากาศหนาวเย็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กฟผ. ได้จัดผ้าห่ม กันหนาวมอบให้กับประชาชนที่ประสบภัยหนาวในพื้นที่เขื่อน โรงไฟฟ้า และสายส่งไฟฟ้าแรงสูง เป็นจำ�นวนเงินประมาณ 4.5 ล้านบาท

การส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและการเข้าถึง

กฟผ. ยังตระหนักถึงความสำ�คัญของการนำ�เทคโนโลยี ทักษะ และความชำ�นาญงาน ออกถ่ายทอดสู่ชุมชนและสังคมในภาพรวม เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี เพือ่ นำ�ไปใช้แก้ปญ ั หาด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมในชุมชน โดยมุง่ เน้น การดำ�เนินงานโครงการหรือกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ เช่น การสานสัมพันธ์และให้ความร่วมมือกับหน่วยงานและสถานศึกษาทำ�การวิจัย และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การให้ความช่วยเหลือการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ต้นทุนตํ่าและสามารถทำ�ซํ้าได้ง่าย การถ่ายทอด และเผยแพร่เทคโนโลยีทม่ี คี วามคุม้ ค่าในเชิงเศรษฐกิจเพือ่ ส่งเสริมการพัฒนาในท้องถิน่ และการพัฒนาภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ความรูแ้ ละเทคโนโลยี ดั้งเดิมไปพร้อมๆ กับการปกป้องสิทธิของชุมชนในด้านความรู้และเทคโนโลยีในชุมชนที่มีความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจ ในรอบปี 2556 กฟผ. ได้จดั สรรงบประมาณสนับสนุนโครงการวิจยั ทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร รวม 25 โครงการ ด้วยงบประมาณ 199.15 ล้านบาท และ กฟผ. ยังมีนโยบายให้การจัดสรรงบประมาณสำ�หรับสนับสนุนโครงการวิจัยต่างๆ จำ�นวนร้อยละ 3 ของกำ�ไรสุทธิ หรือประมาณ 900 ล้านบาท เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อ กฟผ. และประเทศชาติ นอกจากนี้ ยังได้สนับสนุนงบประมาณ วิจยั ในความร่วมมือกับสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ภายใต้ ชื่อ โครงการร่วมสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา กฟผ. กับ สวทช. เป็นเงิน 10 ล้านบาท และโครงการร่วมสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา กฟผ. อีก 10 ล้านบาท ทั้งนี้ มีโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก กฟผ. ไปแล้วรวมทั้งสิ้น 183 โครงการ คิดเป็นเงิน 1,199 ล้านบาท


54 สำ�หรับในปี 2556 โครงการวิจัยที่มีผลการดำ�เนินการโดดเด่นมีดังนี้ โครงการศึกษาและทดลองประยุกต์ใช้ปะการังเทียมผสมเถ้าลอยลิกไนต์ เพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ณ อุทยานสิ่งแวดล้อม นานาชาติสิรินธร โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาบ้านปลาและฟื้นฟูหญ้าทะเลบริเวณชายฝั่ง โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำ�บล เกาะศรีบอยา อำ�เภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ โครงการพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีส่วนร่วม กรณีศึกษา อำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง

โครงการพัฒนาแนวทางการจัดการกลุ่มอาชีพ พัฒนาผลิตภัณฑ์และกลยุทธ์การตลาด ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เหมาะสมกับชุมชน รอบพื้นที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะ อำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง โครงการศึกษาศักยภาพและการจัดทำ�ต้นแบบการใช้พลังงานหมุนเวียนในชุมชน โครงการความร่วมมือทางวิชาการเพื่อสนับสนุนโครงการวิจัยและการนำ�วัสดุพลอยได้จากการผลิตไฟฟ้าไปสร้างมูลค่าด้าน การเกษตร และเทคโนโลยี พืชพลังงาน โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ฟื้นฟูหญ้าทะเล กฟผ. ร่วมกับคณะวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และชุมชนเกาะปู อำ�เภอ เหนืองคลอง จังหวัดกระบี่ จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรูฟ้ น้ื ฟูหญ้าทะเล เพือ่ อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูแหล่งหญ้าทะเลด้วยวิธกี ารเพาะเลีย้ ง เพิ่มเติมในพื้นที่จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นแหล่งหญ้าทะเลผืนใหญ่และมีความสำ�คัญต่อระบบนิเวศวิทยา โดยกิจกรรมประกอบด้วย การวางท่อซีเมนต์เพื่อสร้างบ้านปลา และร่วมกันปลูกหญ้าทะเล ณ บริเวณเกาะบ้านปู ตำ�บลศรีบอยา อำ�เภอเหนือคลอง จังหวัด กระบี่ โครงการใช้ปะการังเทียมผสมเถ้าลอยลิกไนต์ เพื่อช่วยป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเล กฟผ. สนับสนุนทุนวิจัย มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ นำ�เถ้าลอยลิกไนต์จากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็นส่วนผสมการทำ�ปะการังเทียมป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเป็น ผลสำ�เร็จ ด้วยคุณสมบัติเด่น ต้านทานการกัดกร่อนจากซัลเฟตได้ดี ราคาถูก ไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล นำ�ร่อง ชายฝั่งทะเลบริเวณอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธรเป็นแห่งแรก


55 การสนับสนุนการลงทุนด้านสังคม

ในปี 2556 กฟผ. ได้รว่ มลงทุนกับองค์กรอืน่ ๆ อาทิ หน่วยงานราชการและภาคธุรกิจ เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการรวมพลังอย่างเต็มที่ ในการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชนในสังคม โดยกิจกรรมที่โดดเด่นในรอบปี มีดังนี้ โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ชุมชนบ้านคลองเรือ โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ชุมชนบ้านคลองเรือ ดำ�เนินงานภายใต้โครงการการจัดการความรู้ด้าน พลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2554 โดย กฟผ. ร่วมกับ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยชีวิตนครศรีธรรมราช เพื่อสื่อสารสร้าง ความรู้ความเข้าใจด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม และสร้างเครือข่ายชุมชนกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ รูปแบบการดำ�เนินงาน ใช้กระบวนการการมีส่วนร่วม ให้ความสำ�คัญอย่างเท่าเทียมกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สร้างความเป็นเจ้าของให้กับชุมชนตาม แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ชุมชนบ้านคลองเรือ อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ใช้เวลาในการเตรียมชุมชนและ กระบวนการมีสว่ นร่วม 4 ปี โดย กฟผ. ให้การสนับสนุนด้านเทคนิค และเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้าขนาด 100 กิโลวัตต์ 1 ชุด และดำ�เนินการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าและระบบส่งในปี พ.ศ. 2554 ระยะเวลา 9 เดือน งบประมาณ 9 ล้านบาท สามารถจ่ายไฟฟ้าได้ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ.2555 ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้าในชีวติ ประจำ�วัน รวมทัง้ การสร้างอาชีพและรายได้ นอกจากนัน้ ยังสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับพืชผลทางการเกษตร ได้แก่ โรงอบหมาก โรงหีบน้ำ�มันปาล์ม ห้องเย็นแช่ผลไม้ เป็นต้น ในปี 2556 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ชุมชนบ้านคลองเรือ ได้รับการคัดเลือกจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) และ กฟผ. ให้เข้าร่วมในการประกวดโครงการพลังงานหมุนเวียนทีไ่ ม่เชือ่ มโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า และการดำ�เนินงานรัฐวิสาหกิจดีเด่นด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม หรือ CSR สามารถคว้ารางวัลได้ทง้ั ในระดับประเทศและระดับอาเซียน กฟผ. เป็นเจ้าภาพจัดประชุมวิชาการและนิทรรศการ “ทรัพยากรไทย: นำ�สิ่งดีงามสู่ตาโลก” และสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้ “ราชานุรกั ษ์” ตามที่ กฟผ. เป็นหน่วยงานหนึง่ ทีร่ ว่ มสนองพระราชดำ�ริในโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อสืบสานพระราชปณิธานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงเล็งเห็นถึง ความสำ�คัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ตั้งแต่ปี 2548 ใช้พื้นที่ดำ�เนินโครงการตามเขื่อนต่างๆ ทั่วประเทศ ประกอบด้วย เขื่อน ภูมพิ ล เขือ่ นสิรกิ ติ ์ิ เขือ่ นศรีนครินทร์ เขือ่ นวชิราลงกรณ เขือ่ นรัชชประภา เขือ่ นอุบลรัตน์ เขือ่ นสิรนิ ธร เขือ่ นจุฬาภรณ์ เขือ่ นบางลาง เขื่อนห้วยกุ่ม เขื่อนน้ำ�พุง และโรงไฟฟ้าลำ�ตะคองชลภาวัฒนา ทั้งนี้ กฟผ. โดยได้เปิดโอกาสให้ชุมชนและเยาวชนได้มีส่วนร่วม ในการปฏิบัติงานเพื่อสนองพระราชดำ�ริฯ ภายใต้ยุทธศาสตร์ “ประสานองค์ความรู้คู่ภูมิปัญญาท้องถิ่น” และ “เรียนรู้ร่วมกันใน ป่าผืนใหญ่” เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ที่ว่า “อนุรักษ์พันธุกรรมพืชป่ารอบเขื่อนอย่างเห็นคุณและรู้ค่า”


56 ในรอบปี 2556 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือ อพ.สธ. ร่วมกับ กฟผ. เขื่อนศรีนครินทร์ อำ�เภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นเจ้าภาพจัดประชุมวิชาการและนิทรรศการ “ทรัพยากรไทย : นำ�สิ่งดีงามสู่ตาโลก” ระหว่างวันที่ 20-26 ธันวาคม 2556 เพื่อเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานของคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. และให้ ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ จากปราชญ์ชาวบ้านและ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ผ่านการประชุมเรือ่ งต่างๆ อาทิ การอนุรกั ษ์ ศึกษาพัฒนา และใช้ประโยชน์พนั ธฺผ์ กั พืน้ บ้านและไม้ผลพืน้ เมือง พืชสมุนไพร ภูมิปัญญาไทย ฯลฯ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นองค์ประธานการประชุม และเปิดงาน ในวันที่ 20 ธันวาคม 2556


57

ในโอกาสนี้ กฟผ. ได้จัดสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้ “ราชานุรักษ์” ขึ้นที่เขื่อนศรีนครินทร์ อำ�เภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงสืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้านการอนุรักษ์ พัฒนา ใช้ประโยชน์ทรัพยากรของประเทศอย่างยั่งยืน นำ�ไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ให้ ประชาชน ช่วยกันอนุรักษ์พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติของประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด ภายในอาคารมีการจัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับการ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงต่างๆ การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชตาม เขต เขื่อน และโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ผ่านสื่อต่างๆ ที่ทันสมัย การจัดพื้นที่นิทรรศการ ประกอบด้วยห้องฉายภาพยนตร์ “ขุมทรัพย์ของชาวไทย” และยังแบ่งพื้นที่จัดแสดงออกเป็น 5 โซน คือ โซนที่ 1 เกี่ยวกับ ผืนป่าตะวันตก และรอยเลื่อนแผ่นดินไหว รวมถึงการดูแลความมั่นคงแข็งแรงของเขื่อนเพื่อรองรับแผ่นดินไหว โซนที่ 2 ขุมพลังไม่มวี นั หมด แสดงการพัฒนาในการนำ�ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เป็นพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน�ำ้ พลังงานลม เป็นต้น โซนที่ 3 แสงนำ�ทางแห่งการอนุรักษ์ แสดงความเป็นมาโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และการดำ�เนินงานโครงการ ของ กฟผ. รวมทัง้ คุณค่าของพรรณพืช ที่ กฟผ. เก็บรักษาไว้ให้คนรุน่ หลังได้ ศึกษาและใช้ประโยชน์ตอ่ ไป โซนที่ 4 พระปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่กระตุ้นให้ชาวไทยทุกคนตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และโซนที่ 5 การอนุรักษ์ที่ตัวคุณ แสดงให้เห็นว่าทรัพยากรธรรมชาติ จะกลับมาอุดมสมบูรณ์ได้ด้วยทุกคนลงมือทำ�


58

ผลการดำ�เนินงานเพิ่มเติมตามรายการตัวชี้วัด GRI-G3 ตัวชี้วัด

รายละเอียดตัวชี้วัด

ผลการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556

วิธีบริหารจัดการด้านสิทธิมนุษยชน (การปฏิบัติด้านการรักษาความ ปลอดภัย)

ในการปฏิ บ ั ต ิ ด ้ า นรั ก ษาความปลอดภั ย นั ้ น กฟผ. โดยฝ่ า ยรั ก ษา ความปลอดภัย ได้ดำ�เนินการโดยปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ รวมไปถึงหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้งานรักษาความปลอดภัย สามารถทำ�ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังให้ความสำ�คัญกับเรื่องสิทธิ มนุษยชน โดยปลูกฝังให้พนักงานรักษาความปลอดภัยทุกคน รู้จักตระหนัก ถึงคุณค่าในความเป็นมนุษย์ของตนเอง และผู้อื่น โดยปฏิบัติต่อพนักงานหรือ ผู้มาติดต่อทุกคนอย่างเสมอภาคไม่มีการเลือกปฏิบัติ ซึ่ง กฟผ. ได้ยกย่อง ชมเชยพนักงานรักษาความปลอดภัยที่ปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่างที่ดี อุทิศตน เพื่อการทำ�งาน และช่วยเหลือสังคม ด้วยการมอบรางวัลเข็มเชิดชูเกียรติ และ ประกาศนียบัตรแก่พนักงานรักษาความปลอดภัยดีเด่นในวันรวมใจ รปภ. กฟผ. ซึ่งจัดขึ้นในเดือนมีนาคมของทุกปี และในปี 2556 กฟผ. ได้เรียนเชิญท่านองคมนตรี พลอากาศเอกกำ�ธน สินธวานนท์ มาเป็นผู้มอบรางวัลและประกาศนียบัตรดังกล่าว สำ�หรับการดูแลพนักงานรักษาความปลอดภัยจ้างเหมา เป็นเรื่องที่ฝ่าย รักษาความปลอดภัยของ กฟผ. ให้ความสำ�คัญเช่นเดียวกัน โดยมีการตรวจ ประเมินการปฏิบัติตามสัญญาจ้างฯ ในด้านสิทธิประโยชน์และสวัสดิการ เพื่อ ให้พนักงานรักษาความปลอดภัยจ้างเหมา ได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการ อย่างเหมาะสมและมีความเสมอภาค รวมทั้งพิจารณาความดีความชอบให้ พนักงานรักษาความปลอดภัยจ้างเหมา โดยเสนอให้ได้รับรางวัลจากต้นสังกัด เพื่อให้เกิดขวัญและกำ�ลังใจในการทำ�งานด้วย

ปัจจุบนั ประเทศไทยยังไม่ถกู บังคับในการจัดสรรปริมาณก๊าซเรือนกระจก EU5 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ได้รับการ จัดสรรให้ปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศ ที่ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ และขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดทำ�ศักยภาพในการลด ได้ แบ่งประเภทตามกรอบของหลัก ก๊าซเรือนกระจกตามแผนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ (National เกณฑ์การซื้อขายคาร์บอนเดรดิต Appropriate Mitigation Actions: NAMAs) โดยใช้กรณีฐานอ้างอิง (Business-as-usual: BAU) เป็นปี ค.ศ. 2005 โดยใช้มาตรการต่างๆ ตาม แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและแผนอนุรักษ์พลังงานของกระทรวงพลังงาน โดยที่ประเทศไทยจะมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคพลังงานทั้งหมด ประมาณ 367 ล้านตัน ในปี ค.ศ. 2020 โดยอ้างอิงแผน PDP2007 ในปี 2556 กฟผ. ได้สนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจกแบบ Domestic NAMAs ซึ่งเป็นการดำ�เนินมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกโดยไม่พึ่งพาความ ช่วยเหลือด้านการเงิน เทคโนโลยี หรือความชำ�นาญพิเศษจากประเทศที่ พัฒนาแล้ว และได้แสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบร่วมกันในการแก้ปัญหา การเปลี่ยนแปลงสถาพภูมิอากาศของโลกที่จะให้บรรลุเป้าหมายในการรักษา อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ให้สูงขึ้น นอกจากนี้ กฟผ. ยังตระหนักถึงความจำ�เป็นในการมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรวมถึงการดำ�เนินงานด้านการลดก๊าซเรือน กระจก โดยได้ปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนองค์กรเพื่อเตรียม พร้อมไปสูก่ ารเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต�ำ่ และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม


59

ตัวชี้วัด

รายละเอียดตัวชี้วัด

ผลการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556 ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าและสนับสนุนให้มีการสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ที่มี ประสิทธิภาพดีขึ้น รวมถึงสนับสนุนการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การลดก๊าซเรือนกระจก และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อย่างไรก็ตาม กฟผ. ได้ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและมีเป้าหมายของ การดำ�เนินโครงการ CDM ดำ�เนินโครงการ T-VER นำ�โรงไฟฟ้าของ กฟผ. เข้าร่วมโครงการจัดทำ�คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม (Carbon Footprint for Organization) การดำ�เนินโครงการห้องเรียน สีเขียว โดยมุ่งส่งเสริมให้โรงเรียนบริหารจัดการพลังงานและเผยแพร่ความรู้ ในด้านการอนุรักษ์และสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการลดการ ปล่อย CO2 ดำ�เนินโครงการร่วมกับชุมชนเพื่อการเป็นชุมชนเศรษฐกิจและ สังคมคาร์บอนต�ำ่ การดำ�เนินกิจกรรม Carbon Neutral Man ส่งเสริมการใช้ ผลิตภัณฑ์และบริการที่ประหยัดพลังงานและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการใช้พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนการวิจัย พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจก และ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

EU9 ข้อกำ�หนดในการปลดโรงไฟฟ้าออก จากระบบ (โรงไฟฟ้านิวเคลียร์) แผนการและค่าใช้จ่ายอันเกิดจากการ ปลดโรงไฟฟ้าออกจากระบบ (โรงไฟฟ้านิวเคลียร์)

ปัจจุบัน กฟผ. ยังไม่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

EU19 การสนับสนุนให้ผู้มีส่วนได้เสียมี ในรอบปี 2556 กฟผ. ได้จัดการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ในการกำ�หนดขอบเขตและแนวทางการ ส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนด้าน ประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อม (Public Scoping) เพื่อรับฟังความคิดเห็นใน พลังงานและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พืน้ ทีช่ มุ ชน ในการดำ�เนินงานโครงการหรือกิจกรรมทีอ่ าจก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชน ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ประกอบด้วยโครงการต่อไปนี้ 1. โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมบางประกง ชุดที่ 5 ตำ�บลท่าข้าม อำ�เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. การศึกษาและจัดทำ�รายงานผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบือ้ งต้น และรายงาน การศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและ ความปลอดภัย โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาด 5 เมกะวัตต์ อำ�เภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 3. การรายงานชี้แจงการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการใช้น้ำ�มันดีเซล เป็นเชื้อเพลิงสำ�รองสำ�หรับโรงไฟฟ้าจะนะ 4. การศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบือ้ งต้นเพือ่ เลือกทีต่ ง้ั โครงการโรงไฟฟ้า เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด จังหวัดนครศรีธรรมราช


60 ตัวชี้วัด

รายละเอียดตัวชี้วัด

ผลการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556 5. การรายงานวิเคราะห์ผลการกระทบสิง่ แวดล้อมเบือ้ งต้น โครงการระบบ โครงข่ายไฟฟ้า 230 กิโลโวลต์ อยุธยา 4 - สีคิ้ว 2 (ส่วนที่พาดผ่านพื้นที่ป่า อนุรักษ์เพิ่มเติม) 6. การรายงานศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�เขื่อนกิ่วคอหมา สำ�หรับการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ ชุมชนในปี 2556 ของโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมบางปะกง ชุดที่ 5 ที่ได้ถูกกำ�หนดให้เป็นโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชนอย่างรุนแรง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67 วรรค 2 นั้น ดำ�เนินงานโดยองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ (กอสส.) ซึง่ ใช้วธิ ศี กึ ษาจากรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม และสุขภาพ (EHIA) ของโครงการทีผ่ า่ นการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการ ผู้ชำ�นาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (คชก.) การเชิญผู้แทนโครงการฯ มาให้ข้อมูลเพิ่มเติม การลงพื้นที่สำ�รวจสถานที่ตั้ง โครงการ การประชุมรับฟังข้อมูลและความเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ภาคประชาสังคม

ในปี 2556 กฟผ. ได้มีการจัดอบรมหลักสูตรด้านความปลอดภัยและอาชีว EU18 ร้อยละของพนักงานบริษัทผู้รับเหมา หรือรับช่วงต่อ ที่ผ่านการฝึกอบรมให้ อนามัยที่เกี่ยวข้อง (Safety Orientation) ให้แก่พนักงานบริษัทผู้รับเหมา ความรู้ด้านความปลอดภัยและอาชีว หรือรับช่วงต่อ อาทิ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ จำ�นวน 555 คน จาก 41 บริษัท โดยแบ่งเป็นงานจ้างเหมาประเภทต่างๆ ได้แก่ งานตรวจสอบเครน งาน อนามัยที่เกี่ยวข้อง Cable Jib Crane งานจัดทำ�ระบบกันซึมป้องกันนํ้าท่วม งานปิดบ่อบาดาล งานช่างแอร์ งานจัดสวนและสนามหญ้า เป็นต้น EU21 มาตรการและการวางแผนรองรับ สถานการณ์ฉุกเฉิน แผนการจัดการ สถานการณ์ฉุกเฉินหรือในระหว่าง เกิดภัยพิบัติ และหลักสูตรฝึกอบรม ต่างๆ รวมทั้งแผนฟื้นฟูหน่วยงาน ภายหลังเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน

กฟผ. ได้ดำ�เนินการจัดทำ�แผนรองรับเหตุฉุกเฉินหรือสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบอาคารและสถานที่ที่สำ�คัญ เช่น โรงไฟฟ้า ศูนย์ ควบคุมระบบกำ�ลังไฟฟ้า สถานีไฟฟ้าแรงสูง อาคารสำ�นักงานใหญ่ จะทำ�การ วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงเพื่อกำ�หนดเหตุการณ์ กำ�หนดสถานการณ์ ที่อาจกลายเป็นเหตุการณ์ และกำ�หนดสถานการณ์ฉุกเฉิน จากนั้นจะจัดทำ� แผนรับรองเหตุฉุกเฉินต่างๆ เพื่อรับรองการเกิดเหตุการณ์และสถานการณ์ ตัวอย่างแผนรับรองเหตุฉุกเฉินที่มีการดำ�เนินการแล้ว เช่น - แผนรองรับเหตุฉุกเฉินกรณีระบบผลิตหรือระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ขัดข้อง - แผนรองรับเหตุฉุกเฉิน Blackout Restoration - แผนรองรับเหตุฉุกเฉิน Partial Blackout Restoration - แผนรองรับเหตุฉุกเฉินเสาส่งโรงไฟฟ้าล้ม เป็นต้น ทั้งนี้ในส่วนของกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้แก่ กฎกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำ�เนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับ


61 ตัวชี้วัด

รายละเอียดตัวชี้วัด

ผลการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556 อัคคีภัย พ.ศ. 2555 ซึ่งกำ�หนดให้สถานประกอบการต้องมีการจัดทำ�แผน รองรับเหตุฉุกเฉินด้านอัคคีภัย และมีการดำ�เนินการซ้อมเป็นประจำ�ทุกปี ซึ่ง กฟผ. ได้มีการดำ�เนินการตามกฎกระทรวงดังกล่าวอย่างเคร่งครัด โดย ในปี 2556 หน่วยงานระดับปฏิบัติการของ กฟผ. อาทิ โรงไฟฟ้า ฝ่ายปฏิบัติ การระบบส่ง ฝ่ายปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ ฯลฯ ได้มีการฝึกซ้อมแผน รองรับเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งสิ้น 108 ครั้ง โดยแยกเป็นแผนรองรับเหตุฉุกเฉิน ด้านอัคคีภัยระดับความรุนแรงระดับ 1 จำ�นวน 67 ครั้ง ในส่วนผู้รับเหมา ผู้รับเหมาช่วง กฟผ. มีนโยบายให้บริษัทรับเหมา บริษัท รับเหมาช่วง จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย ที่กำ�หนดให้ต้องมีการ อบรมหลักสูตรดับเพลิงขั้นต้นให้กับพนักงานของบริษัทไม่น้อยกว่า 40% และ กฟผ. จะมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยประจำ�โครงการก่อสร้าง เพื่อตรวจสอบ และกำ�กับดูแลให้บริษัทรับเหมาและรับเหมาช่วงดำ�เนินการตามกฎหมาย สำ�หรับกฎหมายเฉพาะกิจการที่ กฟผ. เกี่ยวข้องและมีการกำ�หนดให้มีการ จัดทำ�แผนรองรับเหตุ ได้แก่ กฎกระทรวงพลังงาน เรือ่ งคลังน�ำ้ มัน พ.ศ. 2556 ทีก่ �ำ หนดให้ผปู้ ระกอบกิจการทีม่ คี ลังน�ำ้ มัน ต้องจัดทำ�แผนระงับเหตุเพลิงไหม้ และมีการฝึกซ้อมแผนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ (ข้อ 57) ซึ่ง กฟผ. ได้มีการดำ�เนินการเป็นไปตามกฎกระทรวงดังกล่าว นอกจากนี้ กฟผ. มีแผนการกู้คืนระบบไฟฟ้า เช่น แผนรองรับเหตุ ฉุกเฉิน Blackout Restoration แผนรองรับเหตุฉุกเฉิน Partial Blackout Restoration แผนรองรับเหตุฉุกเฉิน Substation Restoration แผนกู้คืน เมื่อเกิดภัยพิบัติของระบบคอมพิวเตอร์ (Disaster Recovery Plan) และมี การฝึกซ้อมแผนดังกล่าวเป็นประจำ� ทั้งนี้ กฟผ. ยังตระหนักถึงความสำ�คัญ ของการมีส่วนร่วมของชุมชนและผู้มีส่วนได้เสีย ในการฝึกซ้อมแผนรองรับ เหตุฉุกเฉินตามหน่วยงานต่างๆ ของ กฟผ. โดยจะมีการสื่อสารให้ชุมชนได้ รับทราบเพื่อมิให้เกิดความตื่นตระหนก อีกทั้งการฝึกซ้อมแผนในระดับความ รุนแรงระดับ 3 โดยได้ประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานระดับท้องถิ่น เช่น สถานีดับเพลิงระดับท้องถิ่น อบต. นายอำ�เภอ เจ้าหน้าที่ตำ�รวจ หรือ เจ้าหน้าที่ทหาร (กรณีซ้อมแผนที่เกี่ยวข้องกับการก่อวินาศกรรมและมีผลต่อ ความมั่นคง) เข้าร่วมในการฝึกซ้อมดังกล่าวเป็นประจำ� ด้านการสื่อสาร กฟผ. ได้เผยแพร่การฝึกซ้อมรองรับเหตุฉุกเฉินให้กับ ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. และประชาชนผ่านทางช่องทางข่าวสาร กฟผ. เช่น เสียง ตามสาย E-mail และการประชุมชี้แจงของหน่วยงานที่รับผิดชอบ เป็นต้น

EU22 จำ�นวนประชากรที่อพยพออกจาก พื้นที่โครงการและได้รับเงินชดเชย แบ่งตามประเภทโครงการ

ในปี 2556 กฟผ. ได้ดำ�เนินการจ่ายเงินค่าทดแทนให้กับราษฎรที่ได้รับ ผลกระทบจากการพัฒนาโครงการต่างๆ เช่น 1) โครงการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินขยายระบบส่งไฟฟ้า ระยะที่ 10 จำ�นวน 482 ราย 2) โครงการพัฒนาระบบส่งไฟฟ้าสำ�หรับรับไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าเอกชน ระยะที่ 1 จำ�นวน 1,903 ราย


62 ตัวชี้วัด

รายละเอียดตัวชี้วัด

ผลการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556 3) โครงการพัฒนาระบบส่งนครหลวงและปริมณฑล จำ�นวน 63 ราย และจ่ายชดเชยราษฎรทีต่ อ้ งอพยพออกจากพืน้ ทีโ่ ครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ น่าน 2 – แม่เมาะ 3 โดยได้รับค่าชดเชยผลกระทบทางร่างกาย และเศรษฐกิจ รายละ 763,121.83 บาท เป็นต้น

หลัก

EC6 นโยบาย วิธีการปฏิบัติ และสัดส่วน การจัดซื้อจัดจ้างในท้องถิ่นที่ หน่วยงานตั้งอยู่

หลัก

EU6 การบริหารจัดการเพื่อรักษาไว้ซึ่ง ความพร้อมจ่ายของกระแสไฟฟ้าและ ความมั่นคงเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า และการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า ภายในหน่วยงาน

หลัก

กฟผ. ยังไม่มีรายละเอียดข้อตกลงด้านการลงทุนที่มีนัยสำ�คัญ ซึ่งได้บรรจุ HR1 ร้อยละและจำ�นวนข้อตกลงด้านการ ลงทุนที่มีนัยสำ�คัญ ที่บรรจุข้อกำ�หนด ข้อกำ�หนดว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่ได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบการจัดซือ้ จัดจ้างของ ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน หรือผ่านการ กฟผ. ที่มีความโปร่งใส กลั่นกรองด้านสิทธิมนุษยชน

หลัก

HR2 ร้อยละของบริษัทผู้จัดหา/ผู้รับเหมา ที่ผ่านการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนและวิธีการที่หน่วยงานใช้ในการ ช่วง กลั่นกรอง กฟผ. ยังไม่มีรายละเอียดของผู้ส่งมอบและผู้รับเหมาที่ผ่านการ ดำ�เนินการคัดเลือกด้านสิทธิมนุษยชนอย่างมีนยั สำ�คัญ แต่ได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบ การจัดซื้อจัดจ้างของ กฟผ. ที่มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้

หลัก

HR4 จำ�นวนเหตุการณ์ที่มีการเลือกปฏิบัติ กฟผ. ให้ความสำ�คัญกับเรื่องสิทธิมนุษยชน โดยระบุไว้เป็นส่วนหนึ่งใน ด้านสิทธิมนุษยชน และวิธีการที่ แผนแม่บทการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ปี 2555-2559 ในยุทธศาสตร์ที่ 2 หน่วยงานใช้ปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ เป้าประสงค์ที่ 3 แผนงานส่งเสริมผู้ประกอบการที่เป็นคู่สัญญากับ กฟผ. ให้ ดังกล่าว มีแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยมีกิจกรรมที่ 1 ได้แก่ สร้างฐานข้อมูล ผู้ประกอบการที่ละทิ้งงานหรือผลงานไม่ได้มาตรฐาน ฉ้อโกงหรือละเมิดหลัก สิทธิมนุษยชน และกิจกรรมที่ 2 ได้แก่ ประเมินผู้ประกอบการที่รับจ้างหรือ ผู้รับเหมา (Outsource) เพื่อมิให้มีการละเมิดหลักธรรมาภิบาล หลักสิทธิ มนุษยชน และกฎหมายอื่นๆ (มีบันทึกความเห็นของผู้เกี่ยวข้องต่อพฤติกรรม ของผู้รับจ้างหรือผู้ที่มารับจ้าง) โดยมีการกำ�หนดตัวชี้วัด และผู้รับผิดชอบที่ ชัดเจน เพื่อให้การดำ�เนินงานบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดของกิจกรรม

ในรอบปี 2556 กฟผ. มีการกำ�หนดแนวทางปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่ง เป็นนโยบายของ กฟผ. ให้กระจายรายได้สชู่ มุ ชนท้องถิน่ โดยมีการจ้างแรงงาน ราษฎรในพื้นที่ใกล้เคียง เขต เขื่อน และโรงไฟฟ้าของ กฟผ. เพื่อเป็นการ สร้างอาชีพ และเสริมสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่น ซึ่ง กฟผ. กำ�หนดให้ หน่วยงานพัสดุและจัดหาเป็นผู้ดูแลกระบวนการจ้างเหมาและจัดซื้อจัดจ้างใน ท้องถิ่นที่หน่วยงานตั้งอยู่ ข้อมูลนี้ เปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปี กฟผ. 2556

ภายใต้แผนงานดังกล่าว กฟผ. ได้แต่งตัง้ คณะทำ�งานจัดทำ�ระบบฐานข้อมูล ผู้ประกอบการที่ละเมิดธรรมาภิบาล ตามคำ�สั่ง อพจน. ที่ ค. 4/2556 มี ผู้บริหารระดับ 11 ฝ่ายพัสดุและจัดหาภายในประเทศเป็นประธาน และ หัวหน้ากองทีม่ หี น้าทีเ่ กีย่ วข้องกับงานพัสดุและจัดหาทุกสายงานเป็นกรรมการ


63 ตัวชี้วัด

รายละเอียดตัวชี้วัด

ผลการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556 โดยมีอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำ�เนินกิจกรรมตามแผนงานฯ (กำ�หนดหลักเกณฑ์การประเมินการละเมิดหลักธรรมภิบาล และประเมินการ ละเมิดหลักธรรมภิบาลของผู้ประกอบการ) ซึ่งในปี 2556 พบว่ามีการละเมิด หลักธรรมภิบาลตามหลักสิทธิมนุษยชน จำ�นวน 2 ราย ได้แก่ 1) การละเมิด เรื่องค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำ�งานวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด โดยผู้ ประกอบการไม่ได้จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้าง 2) การละเมิดกฎหมายความปลอดภัย ตามประกาศเรื่องความปลอดภัยในการทำ�งาน ฉบับที่ 1 เรื่องความปลอดภัย ในการทำ�งานเกี่ยวกับเครื่องจักร โดยผู้ประกอบการไม่ได้ให้ลูกจ้างมีอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในงานบำ�รุงรักษาโรงไฟฟ้า และเมือ่ กฟผ. ตรวจพบ ได้แจ้งให้ผปู้ ระกอบการแก้ไขข้อบกพร่องทันที พร้อมกับบันทึกไว้ในฐานข้อมูล ประวัตผิ ปู้ ระกอบการทีม่ ผี ลงานไม่ได้มาตรฐาน เพือ่ ใช้เป็นประวัตใิ นการจัดหา ครั้งต่อไป

หลัก

กฟผ. ไม่ได้มกี ารดำ�เนินการทีอ่ าจก่อให้เกิดความเสีย่ งต่อเหตุการณ์การใช้ HR6 การดำ�เนินการที่อาจก่อให้เกิดความ เสี่ยงต่อเหตุการณ์การใช้แรงงานเด็ก แรงงานเด็กเนื่องจากมีข้อบังคับ กฟผ. ฉบับที่ 353 ว่าด้วยบุคคล หมวด 1 และมาตรการของหน่วยงานที่ใช้ขจัด การจ้าง การบรรจุฯ มีอายุไม่ตํ่ากว่า 18 ปี บริบูรณ์ การบังคับใช้แรงงานเด็ก

หลัก

ในรอบปี 2556 กฟผ. ไม่มีเหตุการณ์ที่ทำ�ให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิด HR7 กิจกรรมการดำ�เนินการที่อาจก่อ ให้เกิดความเสี่ยงต่อเหตุการณ์การ เหตุการณ์การบังคับใช้แรงงาน เนื่องจาก กฟผ. ได้ปฏิบัติตามกฎหมายอย่าง บังคับใช้แรงงาน หรือโดยไม่สมัครใจ เคร่งครัด ซึ่งมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงาน จำ�นวน 27 ฉบับ เช่น - พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 และมาตรการที่หน่วยงานใช้ในการ - พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ขจัดการบังคับใช้แรงงาน - พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 - พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ.2543 - ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ - พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 - พระราชบัญญัติกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2550 และ - ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง ความปลอดภัยในการทำ�งาน เกี่ยวกับ ภาวะแวดล้อม (สารเคมี) เป็นต้น


64 ตัวชี้วัด หลัก

รายละเอียดตัวชี้วัด

SO5 จุดยืนของหน่วยงานในเรื่องนโยบาย สาธารณะการมีส่วนร่วมของ หน่วยงานในการพัฒนานโยบาย สาธารณะ รวมถึงความพยายาม วิ่งเต้นเพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะ

ผลการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556 กฟผ. มีจุดยืนในเรื่องนโยบายสาธารณะ รวมทั้งพยายามสร้างให้เกิด นโยบายสาธารณะในด้านการส่งเสริมการประหยัดพลังงานเพื่อลดโลกร้อน โดยดำ�เนินงานในรูปแบบของการมีส่วนร่วมกับองค์กรพันธมิตรภาครัฐและ เอกชน ตามเมืองใหญ่ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ จัดกิจกรรม “ปิดไฟ 1 ชั่วโมง เพื่อลดโลกร้อน (60+ Earth Hour 2013)” และมีเป้าหมายเพื่อ สร้างจิตสำ�นึกให้ประชาชนและหน่วยงานต่างๆ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา พลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้วยการเริ่มเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเล็กๆ น้อยๆ ในชีวิตประจำ�วัน ซึ่งนำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ด้วยพลังจากคนทั่วโลก ผลจากการดำ�เนินการดังกล่าวสามารถประหยัดไฟฟ้าได้ทง้ั สิน้ 1,699 เมกะวัตต์ (HYPERLINK “http://www.egat.co.th/index.php?option=com_glossary &id=103&letter=%E0%B8%A1”) ลดค่าใช้จ่ายในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 6,656,699 บาท และลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 1,073 ตัน กิจกรรมดังกล่าวนอกจากจะเป็นการรณรงค์เพือ่ ประหยัดพลังงานแล้วยังช่วย ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน ด้วย

หลัก

PR1 การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และความปลอดภัยของสินค้าและ บริการ เพื่อพัฒนาคุณภาพของสินค้า และบริการของหน่วยงาน รวมถึง ร้อยละของสินค้าและบริการที่ผ่าน กระบวนการประเมิน

กฟผ. มีการประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม ISO 14001 (HYPERLINK “http://mmi.egat.co.th/assess/index.php” และ “http://mmi.egat. co.th/assess/index.php”) และมีการจัดทำ�แบบประเมินความเสี่ยงด้าน อาชีวอนามัยและความปลอดภัยจากการทำ�งาน (http://mmi.egat.co.th/ assess/index.php)

หลัก

PR9 มูลค่าของจำ�นวนเงินที่ใช้เป็นค่าปรับ อันเป็นผลจากการไม่ปฏิบัติตาม กฎหมายและข้อบังคับต่างๆ อันเกี่ยว กับสิทธิของผู้บริโภคในการใช้สินค้า และบริการ

ในรอบปี 2556 กฟผ. ไม่ได้ถูกลงโทษโดยการจ่ายค่าปรับที่มีนัยสำ�คัญ

เสริม

HR3 จำ�นวนชั่วโมงที่พนักงานได้รับการ ในรอบปี 2556 กฟผ. ได้จัดการอบรมเกี่ยวกับการดำ�เนินงานด้านความ อบรมเกี่ยวกับนโยบายและระเบียบ รับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 ซึ่งประกอบด้วยนโยบายและ ปฏิบัติของหน่วยงาน อันเกี่ยวข้องกับ ระเบียบปฏิบัติของหน่วยงาน 7 หัวข้อหลัก โดยมีประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน เป็นส่วนหนึง่ ในหัวข้อหลัก ให้แก่ผปู้ ฏิบตั งิ าน กฟผ. รวมเวลาฝึกอบรมประมาณ 60 ชั่วโมง

เสริม

HR8 ร้อยละของจำ�นวนเจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัยของหน่วยงานที่ ผ่านการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ นโยบายของหน่วยงาน ในประเด็น ด้านสิทธิมนุษยชน

กฟผ. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบายของหน่วยงาน ในประเด็นด้าน สิทธิมนุษยชน แก่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 และในรอบปี 2556 กฟผ. ได้จัดอบรมทบทวนการปฏิบัติงานด้านการรักษา ความปลอดภัย ให้กับพนักงานสัญญาจ้างพิเศษ ตำ�แหน่ง รปภ. จำ�นวน 5 วัน วันละ 6 ชั่วโมง


65 ตัวชี้วัด

รายละเอียดตัวชี้วัด

ผลการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556

เสริม

HR9 จำ�นวนเหตุการณ์ความรุนแรงที่ เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิของชน พื้นเมือง การใช้มาตรการ หรือการ ดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้อง

ในรอบปี 2556 กฟผ. ไม่มเี หตุการณ์ความรุนแรงทีเ่ กีย่ วข้องกับสิทธิมนุษยชน ของชนพื้นเมืองและการใช้มาตรการหรือการดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้อง

เสริม

SO6 มูลค่าทางการเงินที่บริจาคให้แก่ พรรคการเมือง นักการเมือง หรือ สถาบันที่เกี่ยวข้อง

กฟผ. ไม่มีรายจ่ายที่บริจาคให้พรรคการเมืองหรือสถาบันที่เกี่ยวข้องกับ การเมือง

เสริม

PR2 จำ�นวนเหตุการณ์การไม่ปฏิบัติตาม กฎหมาย และหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ ผลกระทบต่อสุขภาพและความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์และบริการ ที่หน่วยงานเลือกสมัครใจปฏิบัติตาม ตลอดช่วงวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ และบริการนั้นๆ จำ�แนกตามผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น

ในรอบปี 2556 กฟผ. ไม่มีเหตุการณ์ของการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย เนื่องจาก กฟผ. มีการประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม ISO 14001 ( HYPERLINK “http://mmi.egat.co.th/assess/index.php” และ “http://mmi.egat. co.th/assess/index.php”) และมีการจัดทำ�แบบประเมินความเสี่ยงด้าน อาชีวอนามัยและความปลอดภัยจากการทำ�งาน (http://mmi.egat.co.th/ assess/index.php)


66

ผลประเมินการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในปี 2556 กฟผ. ได้ว่าจ้างบริษัท กลุ่มแอดวานซ์รีเสิร์ช จำ�กัด ดำ�เนินการสำ�รวจความพึงพอใจและการยอมรับของผู้มีส่วนได้เสียต่อ การดำ�เนินงานของ กฟผ. สรุปผลการศึกษาได้ ดังนี้

ความพึงพอใจต่อการดำ�เนินงานของ กฟผ. ในภาพรวม

ผู้มีส่วนได้เสียมีความพึงพอใจต่อการดำ�เนินงานของ กฟผ. อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.61 จากคะแนนเต็ม 5 โดยประเด็น การดำ�เนินงานของ กฟผ. ได้รับความพึงพอใจจากผู้มีส่วนได้เสีย ตามลำ�ดับ ดังนี้ กฟผ. ผลิตไฟฟามีคุณภาพ กฟผ. มีการผลิตไฟฟาไดอยางเพียงพอกับความตองการ กฟผ. มีการจัดการปญหาอยางรวดเร็ว กรณีมีเหตุขัดของของระบบไฟฟา การดำเนินงานพัฒนาแหลงผลิตไฟฟาของ กฟผ. ใหชุมชนมีสวนรวมในการกำกับตามมาตรการจัดการผลกระทบสิ่งแวดลอม

กฟผ. มีการสื่อสารสรางความสัมพันธที่ดีระหวาง กฟผ. กับผูที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง กฟผ. เปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขารวมประชุมแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะในการดำเนินงาน ไดรับความสะดวกและรวดเร็วในการติดตอประสานงานกับ กฟผ. การเอื้ออำนวยความสะดวกทั่วไป เมื่อมาติดตอประสานงานกับ กฟผ. เชน การตอนรับ การจอดรถ มีความคลองตัวในการติดตอประสานงานกับหนวยงาน กฟผ. กฟผ. ใหขอมูลขาวสารอยางรอบดาน เพียงพอ

0 คะแนน

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

ระดับความพึงพอใจต่อการดำ�เนินงานของ กฟผ.

ความเชื่อมั่นต่อการดำ�เนินงานตามมาตรฐานสากล ISO 26000

ผูม้ สี ว่ นได้เสียมีความเชือ่ มัน่ ต่อการดำ�เนินงานของ กฟผ. ตามมาตรฐานสากล ISO 26000 ในระดับมาก มีคา่ เฉลีย่ 3.56 จากคะแนน เต็ม 5 โดยประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียมีความเชื่อมั่นมากที่สุด คือ การปฏิบัติด้านแรงงาน การดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อม และธรรมาภิบาล ตามลำ�ดับ การปฏิบัติดานแรงงาน สิ่งแวดลอม ธรรมาภิบาล ประเด็นดานผูบริโภค การปฏิบัติที่เปนธรรม การมีสวนรวมของชุมชน สิทธิมนุษยชน

0 คะแนน

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

ระดับความพึงพอใจการดำ�เนินงานตามมาตรฐานสากล ISO 26000

การยอมรับต่อกิจกรรมเพื่อสังคมของ กฟผ. ในภาพรวม

ระดับการยอมรับของผู้มีส่วนได้เสียต่อกิจกรรมเพื่อสังคมของ กฟผ. อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.77 จากคะแนนเต็ม 5 โดยกิจกรรมที่ได้รับการยอมรับมากที่สุด คือ โครงการฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และโครงการปลูกต้นกล้าป่าต้นน้ำ�เขื่อนสิริกิติ์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตามลำ�ดับ


67 โครงการฉลากประหยัดไฟเบอร 5 โครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โครงการปลูกตนกลาปาตนน้ำเขื่อนสิริกิติ์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โครงการปลูกตนไมรอบบานพอเฉลิมพระเกียรติฯ โครงการหองเรียนสีเขียว โครงการแวนแกว จัดทำแวนตาแกผูยากไร โครงการฟนฟูระบบนิเวศปาและน้ำภาคเหนือ โครงการโรงไฟฟาพลังน้ำชุมชนบานคลองเรือ

0 คะแนน

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

ระดับความพึงพอใจกิจกรรมเพื่อสังคมของ กฟผ.

ความเชื่อมั่นในสัมพันธภาพระหว่าง กฟผ. และผู้มีส่วนได้เสีย

ระดับความเชื่อมั่นในสัมพันธภาพระหว่าง กฟผ. และผู้มีส่วนได้เสีย ในภาพรวมพบว่าผู้มีส่วนได้เสียมีค่าระดับความเชื่อมั่นในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.60 จากคะแนนเต็ม 5 โดยด้านที่มีค่าระดับความเชื่อมั่นสูงที่สุด คือ ความมั่นใจ ความห่วงใย-ผูกพัน และ การรักษาสัญญา ตามลำ�ดับ ความมั่นใจ ความหวงใย-ผูกพัน การรักษาสัญญา การสื่อสารตามจริง-เปดเผย

0 คะแนน

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

ระดับความเชื่อมั่นในสัมพันธภาพกับผู้มีส่วนได้เสีย

ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับเขื่อนและโรงไฟฟ้า

กฟผ. ได้จา้ งทีป่ รึกษาจากคณะวารสารศาสตร์และสือ่ สารมวลชนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำ�เนินการประเมินความสัมพันธ์ระหว่าง ชุมชนกับโรงไฟฟ้าและเขื่อน รวม 20 พื้นที่ ทั้งในและนอกรัศมี 5 กิโลเมตร โดยสำ�รวจทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ในปี 2554 และ 2556 พบว่า ระดับคะแนนความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับเขื่อนและโรงไฟฟ้า ปี 2556 เท่ากับ 2.68 จากคะแนนเต็ม 4 และเมื่อเปรียบเทียบระดับ คะแนนในปี 2554 กับปี 2556 พบว่าระดับความสัมพันธ์ในภาพรวมมีระดับค่าคะแนนเพิม่ ขึน้ ประมาณ 0.4 ในทุกปัจจัย หรือคิดเป็นร้อยละ 10 แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาการทำ�งานกับชุมชนของเขื่อนและโรงไฟฟ้าในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0

2.41

2554

2.82 2.25

2555

ภาพลักษณ

2554

2.61

2555

สัมพันธภาพ

2.23

2554

2.6

2555

2.28

2554

2.68

2555

2.29

2554

2.68

2555

สถานการณการสื่อสาร ความรับผิดชอบตอสังคม ความสัมพันธโดยรวม

ระดับความสัมพันธ์กับชุมชนรอบเขื่อนและโรงไฟฟ้า เปรียบเทียบปี 2554 และปี 2556 จำ�แนกตามปัจจัยการประเมิน

ความพึงพอใจของกลุ่มลูกค้าด้านพลังงานไฟฟ้า

ในปี 2556 กฟผ. ได้ว่าจ้างสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ดำ�เนินการสำ�รวจความพึงพอใจของกลุ่มลูกค้าด้านพลังงานไฟฟ้า ได้แก่ การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) กลุ่มลูกค้าซื้อไฟตรง 8 ราย และกลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการธุรกิจโทรคมนาคม ผลสำ�รวจพบว่า กลุ่มลูกค้าดังกล่าวมีความพึงพอใจ กฟผ. ด้านพลังงานไฟฟ้าในระดับเดียวกันทั้งหมด โดย กฟภ. กฟน. และลูกค้าตรง 8 ราย มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.07 จากคะแนนเต็ม 5 และกลุ่มลูกค้าโทรคมนาคม มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.12 ซึ่งสูงกว่า เท่ากับ 0.05


68

เกี่ยวกับรายงานเล่มนี้

รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ. ประจำ�ปี 2556 เดิมใช้ชื่อ รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม กฟผ. โดยเปลี่ยนชื่อตาม นโยบายของผู้ว่าการคนปัจจุบัน นายสุนชัย คำ�นูญเศรษฐ จัดทำ�ขึ้นในรอบปีงบประมาณ 2556 ระหว่างวันที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับผลการดำ�เนินงาน ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของ กฟผ. ในมุมมองของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งยังจัดทำ�ตามนโยบายของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง ที่กำ�หนดให้หน่วยงานรัฐวิสาหกิจจัดทำ� รายงานการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (Sustainability Report) เพือ่ เปิดเผยผลการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละความรับผิดชอบต่อ สังคม เพือ่ ประเมินผลสำ�เร็จและประโยชน์ทม่ี ตี อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ อันประกอบด้วย คณะกรรมการบริหาร ผูบ้ ริหารและพนักงาน ชุมชน ลูกค้าและประชาชนทั่วไป ในการจัดทำ�รายงานเล่มนี้ กฟผ. ได้ใช้หัวข้อหลักและประเด็นที่เกี่ยวข้องของแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม ISO 26000 เป็น หัวข้อเนื้อหาการรายงาน และได้เปิดเผยตัวชี้วัดทั้งสองส่วน คือตัวชี้วัดมาตรฐานและตัวชี้วัดเฉพาะกิจการพลังงานไฟฟ้า ตามแนวทางการ จัดทำ�รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ Global Reporting Initiative หรือ GRI โดยในปี 2556 นี้ กฟผ. ตั้งใจเปิดเผยข้อมูลตัวชี้วัด ตามรายการตัวชี้วัด G3 Content Index – Electric Utilities Sector Supplement ในระดับคะแนน A นอกจากนี้ กฟผ. ยังมีนโยบายที่ จะจัดหาหน่วยงานภายนอก (External Assurance) มารับรองคุณภาพการรายงานตัวชี้วัด ในการจัดทำ�รายงานในปี 2557 ซึ่งจะจัดทำ�ตาม แนวทางคู่มือ GRI-G4 และเปิดเผยตัวชี้วัดทั้งสองส่วนอย่างครบถ้วนต่อไป ในรอบปีที่ผ่านมา กฟผ. ได้ขอให้ GRI ตรวจรับรองระดับคะแนนหนังสือรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม กฟผ. ประจำ�ปี 2555 และได้รับใบรับรองระดับคะแนนอย่างเป็นทางการ ซึ่งได้นำ�ผลการตรวจระดับคะแนน (G3 Content Index – Electric Utilities Sector Supplement – GRI Application Level B) มาแสดงไว้ในรายงานเล่มนี้ด้วย รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ. ฉบับนี้ ยังคงขยายขอบเขตการรายงาน ให้ครอบคลุมผลการดำ�เนินงานด้านสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า อย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับปีก่อน และได้แสดงรายการตัวชี้วัดของ บริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่นจำ�กัด ซึ่งระบุหน้าแสดงข้อมูลตัวชี้วัดที่ 2.6 ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งได้แสดงตารางตัวชี้วัด GRI Content Index – Electric Utilities Sector Supplement – GRI Application Level A ที่ระบุหน้าซึ่งรายงานเนื้อหาและข้อมูลตาม รายการตัวชี้วัดมาตรฐานและตัวชี้วัดเฉพาะกิจการพลังงาน (EU Specific Sector) รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ. ประจำ�ปี 2556 จัดทำ�เป็นสองภาษา คือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และสามารถดาวน์โหลด ได้จากเว็บไซต์ของ กฟผ. หากท่านสนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหนังสือรายงานเล่มนี้ กรุณาติดต่อที่ ฝ่ายกิจการสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) สำ�นักงานใหญ่ บางกรวย นนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 0 2436 4610, 0 2436 4612 โทรสาร 0 2436 4695 เว็บไซต์ http://www.egat.co.th รายการตัวชี้วัดของบริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด รายละเอียดตัวชี้วัด -การลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากโครงการฉลากประหยัดไฟฟ้า -สัดส่วนของพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด เช่น น้ำ� ลม และแสงอาทิตย์ คิดเป็นร้อยละ ต่อพลังงานไฟฟ้าที่ผลิต ได้ทั้งหมด -ปริมาณการปล่อยมลภาวะ NOX SOX (หน่วย: ppm และ Kg) รายโรงไฟฟ้าและในภาพรวมของทุกโรงไฟฟ้า และสัดส่วน เมื่อเปรียบเทียบกับพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ (g/kWh) -ปริมาณการปล่อยฝุ่นละออง (หน่วย: mg/m3 และ Kg) รายโรงไฟฟ้าและในภาพรวมของทุกโรงไฟฟ้า และสัดส่วนเมื่อ เปรียบเทียบกับพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ (g/kWh) -ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก CO2 (ตัน) และสัดส่วนเมื่อเปรียบเทียบกับพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ (g/kWh) รายโรง ไฟฟ้าและภาพรวมของทุกโรงไฟฟ้า -พื้นที่ปลูกป่าที่ดำ�เนินการในแต่ละปี และปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (ตัน) ที่ป่าไม้เหล่านั้นสามารถดูดซับได้ -ผลการใช้จ่ายในกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของ กฟผ. ในปี 2556 -งบประมาณในการสนับสนุนงานวิจัยด้านพลังงานต่างๆ และผลการใช้จ่ายงบประมาณ - ผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากการสร้างโรงไฟฟ้าของ กฟผ. และวิธีการบริหารจัดการผลกระทบที่เกิดขึ้น

หน้าที่แสดงข้อมูล 44 37 32 32 35 36 53 30-26


69

ตารางแสดงข้อมูลตัวชี้วัดตามกรอบการรายงาน GRI-G3 รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ. ประจำ�ปี 2556 ได้ประเมินระดับของการรายงานตัวชี้วัดอยู่ในระดับ B ตามกรอบการรายงาน ของ GRI โดยตัวชี้วัดต่างๆ อ้างอิงจากแนวทางของ GRI Sustainability Reporting Guidelines & Electric Utility Sector Supplement (GRI RG & EUSS) SR - Sustainability Report 2013 - รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ. ประจำ�ปี 2556 NA – ไม่มีข้อมูล ข้อมูลองค์การ 1 กลยุทธ์และการวิเคราะห์ สารจากผู้บริหารสูงสุดขององค์การ ที่กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนและยุทธศาสตร์การดำ�เนินงานเพื่อบรรลุ 1.1 เป้าหมายดังกล่าว 1.2 รายละเอียดที่สำ�คัญของผลกระทบ ความเสี่ยง และโอกาสขององค์การ ในการดำ�เนินงานความรับผิดชอบต่อสังคม 2 ข้อมูลทั่วไป 2.1 ชื่อองค์การ 2.2 สินค้า ผลิตภัณฑ์ และงานบริการหลัก 2.3 โครงสร้างการดำ�เนินงาน บริษัทย่อย บริษัทร่วมทุน และกิจการร่วมค้า 2.4 ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ 2.5 จำ�นวนประเทศที่องค์การมีสาขาประจำ�อยู่ หรือมีความเกี่ยวเนื่องเฉพาะประเด็นความยั่งยืนที่ครอบคลุมในรายงาน 2.6 ลักษณะความเป็นเจ้าของและสถานภาพทางกฎหมาย 2.7 ตลาดสินค้าและพื้นที่ให้บริการ แบ่งตามภูมิภาค เขตงานบริการ หรือประเภทลูกค้า 2.8 ขนาดขององค์การ เช่น จำ�นวนพนักงาน หน่วยปฏิบัติการ ยอดขายสินค้าและบริการ รายได้สุทธิ ทุนจดทะเบียน เป็นต้น 2.9 การเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำ�คัญในเรื่องขนาด โครงสร้าง หรือความเป็นเจ้าของในช่วงเวลาของการจัดทำ�รายงาน 2.10 รางวัลที่ได้รับในช่วงเวลาที่จัดทำ�รายงาน ข้อมูลเฉพาะกิจการ EU1 กำ�ลังผลิตติดตั้งรวม EU2 การผลิตและซื้อพลังงานไฟฟ้า EU3 จำ�นวนผู้ใช้ไฟฟ้าแบ่งเป็นประเภท EU4 ความยาวสายส่งไฟฟ้าแรงสูง มาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้รับอนุญาตให้ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศได้ตามกรอบหลักเกณฑ์การซื้อขาย EU5 ปริ คาร์บอนเครดิต 3 ข้อมูลเกี่ยวกับการรายงาน 3.1 ช่วงเวลาของการรายงาน 3.2 วันที่จัดทำ�รายงานฉบับที่แล้ว 3.3 รอบของการรายงาน 3.4 ช่องทางติดต่อสอบถามกรณีมีคำ�ถามเกี่ยวกับรายงานหรือเนื้อหาของรายงาน กระบวนการหรือกรรมวิธีในการกำ�หนดเนื้อหารายงาน สาระสำ�คัญ การจัดลำ�ดับหัวข้อการรายงาน การระบุ 3.5 กลุ่มผู้มีส่วนได้ที่คาดหวังให้อ่านรายงาน 3.6 กรอบหรือขอบเขตของการรายงาน อาทิ ประเทศ หน่วยงาน สาขา สถานประกอบการเช่า กิจการร่วมค้า ผู้ส่งมอบ 3.7 ข้อจำ�กัดของกรอบหรือขอบเขตการรายงาน หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการรายงานสำ�หรับกิจการร่วมค้า สาขา สถานประกอบการเช่า หน่วยงานภายนอกที่ทำ�งานให้ และ 3.8 หน่วยงานอื่นขององค์การ ที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญ ต่อความสามารถในการเปรียบเทียบระหว่างช่วงเวลา และ/หรือระหว่างองค์การ

3.9

3.10

เทคนิคการวัดค่าและฐานที่ใช้ในการคำ�นวณ รวมทั้งสมมุติฐานและเทคนิค ที่พึงใช้ในการประมาณค่า ซึ่งนำ�ไปสู่ตัวชี้วัดและ ข้อมูลอื่นในการรายงาน คำ�อธิบายถึงเหตุและผลของการปรับเปลี่ยนข้อมูลจากที่ได้ชี้แจงไว้ในรายงานฉบับก่อนหน้า อาทิ การควบรวมกิจการ การเปลี่ยนรอบการรายงาน ลักษณะของธุรกิจ วิธีการวัดผล

ระดับ SR 2013 การรายงาน เลขหน้า ครบถ้วน

6-7

ครบถ้วน

11

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

4 4 5 4 4-5 4 4-5 4-5, 23 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

76-77

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

4 4 4-5 4

ครบถ้วน

58-59

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

5, 68 68 68 68

ครบถ้วน

13, 68

ครบถ้วน ครบถ้วน

68 68

บางส่วน

68

บางส่วน

68

ครบถ้วน

68


70 ข้อมูลองค์การ

3.11 3.12

การเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำ�คัญในกรอบและขอบเขตการรายงาน หรือวิธีการวัดผล ที่แตกต่างไปจากรายงานฉบับที่แล้ว ตารางระบุหน้าของเนื้อหาในรายงาน ที่มีการเปิดเผยตามมาตรฐาน นโยบายและข้อปฏิบัติด้านการรับประกันแบบรายงานจากหน่วยงานภายนอก ในกรณีที่ไม่ได้ระบุในรายงานการรับประกัน 3.13 ที่แนบมาพร้อมกับรายงานฉบับนี้ ให้อธิบายกรอบและหลักการที่ใช้ของผู้รับประกันภายนอกนั้นๆ รวมทั้งความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กรที่จัดทำ�รายงานกับผู้รับประกันภายนอกดังกล่าว 4 ธรรมาภิบาล ข้อยึดมั่น และข้อผูกพันร่วม โครงสร้างการกำ�กับดูแลกิจการ รวมถึงคณะกรรมการที่อยู่ภายใต้ส่วนงานบริหารสูงสุด ที่รับผิดชอบโดยตรง เช่น 4.1 การวางกลยุทธ์หรือควบคุมกำ�กับดูแลองค์การ ระบุว่าประธานกรรมการผู้มีอำ�นาจสูงสุดขององค์การ ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารสูงสุดขององค์การด้วยหรือไม่ กรณีที่ดำ�รง 4.2 ตำ�แหน่ง ให้ระบุเหตุผลของการแต่งตั้ง และบทบาทการบริหารงานในองค์การ สำ�หรับองค์การที่มีโครงสร้างกรรมการชุดเดียว ให้ระบุจำ�นวนและเพศของคณะกรรมการอิสระ และ/หรือมิได้เป็น 4.3 กรรมการบริหาร ที่อยู่ในคณะกรรมการสูงสุดขององค์การ ช่องทางสำ�หรับผู้ถือหุ้นและพนักงานในการเสนอคำ�แนะนำ� หรือแนวทางการดำ�เนินงานต่อคณะกรรมการสูงสุด 4.4 ขององค์การ ความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทน รวมถึงค่าตอบแทนหลังพ้นตำ�แหน่ง ของคณะกรรมการสูงสุด ผู้บริหารอาวุโส 4.5 และผู้บริหารอื่นๆ กับผลประกอบการขององค์การ รวมถึงผลการดำ�เนินงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.6 กระบวนการที่คณะกรรมการสูงสุดใช้กำ�กับดูแลเพื่อหลีกเลี่ยงมิให้มีผลประโยชน์ทับซ้อน กระบวนการกำ�หนดองคืประกอบ คุณสมบัติ และความรู้ความชำ�นาญงาน ของกรรมการในส่วนงานบริหารสูงสุด และ 4.7 คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง โดยคำ�นึงถึงเพศ และเกณฑ์ความหลากหลายด้านอื่นๆ การปรับปรุงพันธกิจ ค่านิยม จรรยาบรรณ และหลักการที่ได้จากการพัฒนาภายในองค์การ อันเกี่ยวเนื่องกับการดำ�เนิน 4.8 งานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงความคืบหน้าของการนำ�ไปใช้งานและปฏิบัติ

4.9

4.10

4.11

4.12

4.13

4.14 4.15 4.16

ขั้นตอนการดำ�เนินงานของคณะกรรมการสูงสุดในการกำ�กับดูแลภาพลักษณ์องค์การ และการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งโอกาสและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการเข้าร่วมเป็นภาคี หรือปฏิบัติตามมาตรฐาน จรรยาบรรณ และหลักการต่างๆ ที่สากลยอมรับ กระบวนการประเมินผลงานการบริหารของคณะกรรมการสูงสุด ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อธิบายถึงมาตรการหรือหลักการว่าด้วยการป้องกันล่วงหน้าที่องค์การดำ�เนินการ กฏบัตร หลักการ หรือแนวคิดริเริ่ม ที่จัดทำ�ขึ้นจากภายนอก ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งองค์การเข้าร่วม เป็นสมาชิก หรือให้การรับรอง การเป็นสมาชิกภาพในสมาคมต่างๆ เช่นสมาคมการค้าหรือสภาอุตสาหกรรม และ/หรือหน่วยงานให้การสนับสนุน ทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ โดยองค์การร่วมดำ�รงตำ�แหน่งในคณะกรรมการบริหาร มีบทบาทในโครงการ หรือคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุน นอกเหนือจากค่าบำ�รุงสมาชิกภาพ หรือการเข้าร่วมเป็นสมาชิกเพื่อหวัง ผลเชิงกลยุทธ์

กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่องค์การมีข้อผูกพันร่วม หลักเกณฑ์การระบุและคัดเลือกกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่จะพัฒนาข้อผูกพันร่วมกับองค์การ แนวทางการพัฒนาข้อผูกพันร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งความถี่ในการเข้าร่วม ตามลักษณะ และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย นและข้อกังวลที่สำ�คัญ ซึ่งถูกหยิบยกมากล่าวถึง ในระหว่างการพัฒนาข้อผูกพันร่วมกับผู้ม่ส่วนได้เสีย 4.17 ประเด็ รวมทั้งแนวทางที่องค์การตอบสนอง ตลอดจนการรายงานการดำ�เนินงานต่อเรื่องและข้อกังวลหลักเหล่านั้น ผลการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจ-แนวทางการบริหารจัดการ ลค่าทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นโดยตรง เช่น รายได้ ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ผลตอบแทนพนักงาน การบริจาคและการ EC1 มูลงทุ นในชุมชน กำ�ไรสะสม เงินปันผล และภาษีนำ�ส่งรัฐ นัยสำ�คัญด้านการเงิน ความเสี่ยง และโอกาสในการดำ�เนินงานกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิ ตัวชี้วัดหลัก EC2 อากาศ EC3 ความครอบคลุมที่องค์กรให้คำ�จำ�กัดความ ในเรื่องข้อผูกพันด้านสวัสดิการ โครงการเกษียณอายุงานประเภทต่างๆ EC4 ความช่วยเหลือทางการเงินที่ได้รับจากรัฐบาล ตัวชี้วัดเสริม EC5 รายได้แรกเข้ามาตรฐาน เมื่อเปรียบเทียบกับรายได้ขั้นต่ำ�ของหน่วยงานอื่น ในพื้นที่ใกล้เคียง EC6 นโยบาย วิธีการปฏิบัติ และสัดส่วนการจัดซื้อจัดหาในท้องถิ่นที่หน่วยงานตั้งอยู่ ตัวชี้วัดหลัก EC7 วิธีการปฏิบัติในการจ้างงานในท้องถิ่น และสัดส่วนผู้บริหารระดับสูง ซึ่งเป็นคนในพื้นที่ที่หน่วยงานตั้งอยู่ ตัวชี้วัดหลัก EC8 การพัฒนาและผลกระทบจากการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และการบริการต่างๆ ที่จัดให้เป็นสาธารณะประโยชน์ ผ่านการทำ�สัญญาทางการค้าในรูปแบบต่างๆ ตัวชี้วัดเสริม EC9 ความเข้าใจขององค์การ ในเรื่องผลกระทบทางอ้อมด้านเศรษฐกิจที่สำ�คัญขององค์การ รวมถึงขอบเขตของผลกระทบนั้นๆ

ระดับ SR 2013 การรายงาน เลขหน้า บางส่วน 68 ครบถ้วน 69-74 ครบถ้วน

68

ครบถ้วน

16

ครบถ้วน

16

ครบถ้วน

16

ครบถ้วน

17

ครบถ้วน

17

ครบถ้วน

17

ครบถ้วน

18

ครบถ้วน

18

ครบถ้วน

18

ครบถ้วน

17

ครบถ้วน

18

ครบถ้วน

18-19

ครบถ้วน

18-19

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

19-20 19 20-21

ครบถ้วน

19-20

ครบถ้วน

AR 2013

ครบถ้วน

35

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

AR 2013 ไม่ได้รบั ความช่วยเหลือ

25 41, 62 48-49

ครบถ้วน

48-57

-

-


71 ข้อมูลองค์การ สถานภาพเฉพาะกิจการไฟฟ้า - แนวทางบริหารจัดการด้านเศรษฐกิจ ความพร้อมจ่ายของกระแสไฟฟ้าและความมั่นคงเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า ตัวชี้วัดหลัก EU6 การบริหารจัดการเพื่อรักษาความพร้อมจ่ายกระแสไฟฟ้าและความมั่นคงเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า ตัวชี้วัดหลัก EU7 โครงการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้าสำ�หรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทต่างๆ งานวิจัยและพัฒนา ่จัดสรรให้กิจกรรมด้านงานวิจัยและพัฒนา เพื่อส่งเสริมความมั่นคงเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้าและการพัฒนา ตัวชี้วัดหลัก EU8 งบประมาณที อย่างยั่งยืน การปลดโรงไฟฟ้าออกจากระบบ ตัวชี้วัดหลัก EU9 ข้อกำ�หนดในการปลดโรงไฟฟ้าออกจากระบบ (โรงไฟฟ้านิวเคลียร์) สถานภาพเฉพาะกิจการไฟฟ้า – ตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจ ความพร้อมจ่ายของกระแสไฟฟ้าและความมั่นคงเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า ตัวชี้วัดหลัก EU10 การวางแผนผลิตไฟฟ้าระยะยาว ประสิทธิภาพระบบผลิตไฟฟ้า ตัวชี้วัดหลัก EU11 ประสิทธิภาพระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังความร้อนโดยเฉลี่ย ประสิทธิภาพระบบส่งไฟฟ้า ตัวชี้วัดหลัก EU12 ร้อยละของพลังงานไฟฟ้าที่สูญเสียผ่านระบบส่งไฟฟ้า การดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อม - แนวทางการบริหารจัดการ วัตถุดิบ EN1 ปริมาณวัตถุดิบที่ใช้ วัดโดยน้ำ�หนักหรือปริมาตร EN2 ร้อยละของวัตถุดิบที่นำ�กลับมาใช้งานซ้ำ� ตัวชี้วัดหลัก พลังงาน EN3 การใช้พลังงานจากแหล่งปฐมภูมิทางตรง EN4 การใช้พลังงานจากแหล่งปฐมภูมิทางอ้อม EN5 ปริมาณพลังงานที่ลดลงได้จากโครงการอนุรักษ์พลังงานและโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน ตสินค้าและบริการที่ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ หรือใช้แหล่งพลังงานทางเลือก และความต้องการใช้ ตัวชี้วัดเสริม EN6 โครงการผลิ พลังงานที่ลดลงได้จากโครงการเหล่านี้ EN7 โครงการลดพลังงานทางอ้อม และปริมาณการใช้พลังงานที่ลดลงได้ แหล่งน้ำ� ตัวชี้วัดหลัก EN8 ปริมาณน้ำ�จากแหล่งน้ำ�ที่นำ�ไปใช้ในการดำ�เนินงาน EN9 แหล่งน้ำ�ที่ได้รับผลกระทบจากการใช้น้ำ�ขององค์การ ตัวชี้วัดเสริม EN10 ร้อยละของปริมาณน้ำ�ที่นำ�มาหมุนเวียนใช้งานซ้ำ� ความหลากหลายทางชีวภาพ �เลที่ตั้ง ขนาดของพื้นที่ซึ่งครอบครอง ให้เช่า หรือใช้ประโยชน์ ที่อยู่ในเขตอนุรักษ์ หรืออยู่ใกล้เขตอนุรักษ์ และพื้นที่นอก EN11 ทำเขตอนุ รักษ์ ซึ่งมีมูลค่าความหลากหลายทางชีวภาพในระดับที่สูง ตัวชี้วัดหลัก ยดผลกระทบที่สำ�คัญอันเกิดจากกิจกรรมการดำ�เนินงาน ซึ่งมีต่อความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เขตอนุรักษ์ EN12 รายละเอี และพื้นที่นอกเขตอนุรักษ์ซึ่งมีมูลค่าความหลากหลายทางชีวภาพในระดับที่สูง วภาพของพื้นที่อยู่อาศัยดั้งเดิม เปรียบเทียบกับความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ที่ได้รับผลก EU13 ความหลากหลายทางชี ระทบจากกิจกรรมการดำ�เนินงานของหน่วยงาน EN13 พื้นที่ที่ให้การคุ้มครอง หรือที่หน่วยงานได้พยายามฟื้นฟูสู่สภาพเดิม ทธศาสตร์ กิจกรรมการดำ�เนินงานในปัจจุบัน และแผนงานในอนาคต ที่จัดทำ�เพื่อจัดการผลกระทบที่มีต่อความหลาก EN14 ยุหลายทางชี วภาพ ตัวชี้วัดเสริม นวน IUCN Red List Species และบัญชีรายชื่อพันธุ์พืชและสัตว์สงวนที่ได้รับการคุ้มครอง ซึ่งมีที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ EN15 จำซึ�่งได้ รับผลกระทบจากการดำ�เนินงาน แบ่งตามระดับความเสี่ยงของการสูญพันธ์

ระดับ SR 2013 การรายงาน เลขหน้า

ครบถ้วน

45, 62

ครบถ้วน

43-45

ครบถ้วน

53-54

ครบถ้วน

59

ครบถ้วน

AR 2013

ครบถ้วน

AR 2013

ครบถ้วน

AR 2013

ครบถ้วน ครบถ้วน

37 34

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

37 37 38, 44

ครบถ้วน

43-44

ครบถ้วน

38, 43-44

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

33 33 33

ครบถ้วน

38

ครบถ้วน

38-39

ครบถ้วน

38-39

ครบถ้วน

40

ครบถ้วน

39-40

ครบถ้วน

39


72 ข้อมูลองค์การ การปล่อยมลภาวะ EN16 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมทั้งหมดคิดเป็นน้ำ�หนัก EN17 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกี่ยวข้องทางอ้อม วัดโดยน้ำ�หนัก EN18 โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและปริมาณที่ลดได้ EN19 การปล่อยสารทำ�ลายโอโซนคิดเป็นน้ำ�หนัก ตัวชี้วัดหลัก EN20 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และมลพิษทางอากาศ อื่นๆ แยกประเภทและน้ำ�หนัก EN21 ปริมาณน้ำ�ทิ้งทั้งหมดแยกเป็นคุณภาพน้ำ�และสถานที่ปล่อยน้ำ�ทิ้ง EN22 ปริมาณของเสียแยกตามประเภทและวิธีการจัดการของเสีย EN23 จำ�นวนครั้งและปริมาณของการเกิดการรั่วไหลครั้งสำ�คัญ มาณน้ำ�หนักของการขนส่ง การนำ�เข้า การส่งออก และการบำ�บัดของเสียที่เป็นสารอันตราย ภายใต้ข้อกำ�หนดของ EN24 ปริ อนุสัญญาบาเซิลภาคผนวกที่ I, II, III และ VIII และร้อยละของปริมาณขยะของเสียที่ส่งออกไปยังประเทศอื่น ตัวชี้วัดเสริม ขนาด สถานภาพที่ได้รับการคุ้มครอง และมูลค่าความหลากหลายทางชีวภาพของแหล่งน้ำ� และที่อยู่อาศัย EN25 ลัทีก่ได้ษณะ รับผลกระทบจากการรายงานการปล่อยน้ำ�ทิ้งและน้ำ�ชะผิวดินของหน่วยงาน ผลิตภัณฑ์และบริการ EN26 โครงการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของสินค้าและบริการและขอบเขตของความพยายามลดผลกระทบ ตัวชี้วัดหลัก EN27 ร้อยของสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกจำ�หน่าย และบรรจุภัณฑ์ซึ่งถูกส่งกลับคืนแยกตามประเภทสินค้า การปฏิบัติตามกฎหมาย นตัวเงินที่จ่ายเป็นค่าปรับ และจำ�นวนครั้งของการถูกบังคับใช้มาตรการลงโทษ ซึ่งไม่ใช่มาตรการด้านการเงิน EN28 มูอันลค่เกิาดคิขึด้นเป็จากการไม่ ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม การขนส่ง ่มีนัยสำ�คัญ อันเกิดจาการขนส่งสินค้า วัสดุ และวัตถุดิบที่ใช้ในการดำ�เนินงาน รวมถึงการรับส่งพนักงานและ ตัวชี้วัดเสริม EN29 ผลกระทบที แรงงาน EN30 ค่าใช้จ่ายและการลงทุนเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การดำ�เนินงานด้านสังคมเฉพาะกิจการไฟฟ้า - แนวทางการบริหารจัดการการปฏิบัติด้านแรงงาน การจ้างงาน EU14 โครงการและขั้นตอนการดำ�เนินงานเพื่อสร้างและรักษาความพร้อมด้านแรงงานที่มีทักษะและความชำ�นาญงานขององค์กร ตัวชี้วัดหลัก EU15 ร้อยละของพนักงานที่จะเกษียณอายุงานในอีก 5 ปี และ 10 ปีข้างหน้า แยกเป็นลักษณะงานและพื้นที่ EU16 นโยบายและระเบียบปฏิบัติด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของพนักงานองค์การ รวมถึงพนักงานของบริษัทผู้รับจ้าง ตัวชี้วัดการปฏิบัติด้านแรงงาน การจ้างงาน �นวนแรงงานทั้งหมดแบ่งตามประเภทการจ้างงาน สัญญาการจ้างงาน และพื้นที่ รวมทั้งแรงงานจ้างเหมาทั้งหมด ตัวชี้วัดหลัก LA1 จำแยกเป็ นประเภทงานจ้าง สัญญางานจ้าง และสถานที่จัดจ้างงาน LA2 จำ�นวนและสัดส่วนการลาออกของพนักงาน แบ่งตามกลุ่มอายุ เพศ และพื้นที่ EU17 จำ�นวนวันทำ�งานของพนักงานบริษัทจ้างเหมาหรือรับช่วง EU18 ร้อยละของพนักงานบริษัทจ้างเหมาหรือรับช่วงที่ได้ผ่านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้อง และสวัสดิการที่จัดให้พนักงานที่ทำ�งานเต็มเวลา และไม่ได้จัดให้พนักงานชั่วคราวหรือล่วงเวลา แบ่งตาม ตัวชี้วัดเสริม LA3 ผลประโยชน์ ประเภทของงาน การบริหารจัดการและความสัมพันธ์ด้านแรงงาน LA4 ร้อยละของพนักงานภายใต้ข้อตกลงร่วมเพื่อการเจรจาต่อรองระหว่างผู้บริหารกับพนักงาน ตัวชี้วัดหลัก LA5 จำ�นวนวันขั้นต่ำ�ของการแจ้งให้พนักงานทราบ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการดำ�เนินกิจการ รวมถึงส่วนที่ไม่อยู่ในข้อตกลงร่วม อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานที่ทำ�งาน ตัวชี้วัดเสริม LA6 ร้อยละของแรงงานที่เป็นตัวแทนร่วมกับฝ่ายบริหาร ในคณะกรรมการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย วนของผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับบาดเจ็บ เกิดโรคจากการทำ�งาน จำ�นวนวันลาหรือวันหยุด และจำ�นวนผู้ปฏิบัติงานที่เสีย LA7 สัชีวดิตส่เนื ่องจากการทำ�งาน แบ่งตามภูมิภาค/พื้นที่ ตัวชี้วัดหลัก การจัดกิจกรรมให้ความรู้ ฝึกอบรม ให้คำ�ปรึกษา การป้องกันและการควบคุมความเสี่ยงในสถานที่ทำ�งาน เพื่อช่วยเหลือ LA8 สมาชิกแรงงาน และครอบครัวของแรงงาน รวมทั้งสมาชิกในชุมชนแรงงาน ที่เกี่ยวข้องกับโรคต่างๆ อันอาจเกิดจากการ ทำ�งาน ตัวชี้วัดเสริม LA9 ข้อตกลงด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยระหว่างผู้บริหาร และสหภาพแรงงาน

ระดับ SR 2013 การรายงาน เลขหน้า ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

31-32 31-32 35-36 31-32 32 33 34-35 35

ครบถ้วน

35

บางส่วน

38-40

ครบถ้วน ครบถ้วน

30, 36 35

ครบถ้วน

30

บางส่วน

23

ครบถ้วน

40

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

27 24 25-26

ครบถ้วน

23-24

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

24 25 60

-

-

ครบถ้วน ครบถ้วน

24 แจ้งทันที

-

-

ครบถ้วน

26

ครบถ้วน

25-26

บางส่วน

24-25


73 ข้อมูลองค์การ การฝึกอบรมและพัฒนาแรงงาน ตัวชี้วัดหลัก LA10 จำ�นวนชั่วโมงเฉลี่ยต่อปี ต่อพนักงานต่อคนต่อปี ที่ได้รับการอบรมและการศึกษาเพิ่มเพิ่ม แบ่งตามประเภทผู้ปฏิบัติงาน ฒนาทักษะ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อสนับสนุน ความสามารถในการทำ�งานอย่างต่อเนื่องให้แก่พนักงาน LA11 โครงการพั และเพื่อช่วยเหลือพนักงานให้สามารถบริหารจัดการด้านอาชีพภายหลังเกษียณอายุงาน ตัวชี้วัดเสริม LA12 ร้อยละของพนักงานที่ได้รับการประเมินผลงานเป็นประจำ� และการพัฒนาด้านอาชีพ ความหลากหลายของอาชีพและการส่งเสริมโอกาสที่เท่าเทียม ประกอบของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ และจำ�นวนพนักงานแบ่งตามเพศ อายุ ชนกลุ่มน้อย และตัวชี้วัดความ LA13 องค์ หลากหลายต่ างๆ ตัวชี้วัดหลัก LA14 สัดส่วนของเงินเดือนขั้นต่ำ�ของผู้ปฏิบัติงานชายและหญิง แบ่งตามประเภทงาน ตัวชี้วัดการดำ�เนินงานด้านสิทธิมนุษยชน การลงทุนและวิธีการปฏิบัติด้านการจัดซื้อจัดจ้าง อยละและจำ�นวนข้อตกลงด้านการลงทุนที่มีนัยสำ�คัญ ซึ่งได้บรรจุข้อกำ�หนดว่าด้วยสิทธิมนุษยชน หรือที่ได้ผ่าน HR1 ร้การกลั ่นกรองด้านสิทธิมนุษยชน ตัวชี้วัดหลัก HR2 ร้อยละของผู้จัดหา/ผู้รับเหมาช่วง ที่ผ่านการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชน และวิธีการปฏิบัติ ตัวชี้วัดเสริม HR3 จำ�นวนชั่วโมงซึ่งพนักงานได้รับการอบรมเกี่ยวกับนโยบายและระเบียบปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน เสรีภาพในการเข้าร่วมสมาคมและการเจรจาต่อรอง HR4 จำ�นวนเหตุการณ์ที่มีการเลือกปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชน และวิธีการที่องค์การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว �เนินงานที่แสดงถึง สิทธิในการแสดงออกถึงเสรีภาพในการเข้าร่วมสมาคมและการเจรจาต่อรอง อาจมีความเสี่ยง HR5 การดำ และการดำ�เนินงานกิจกรรมต่างๆเพื่อสนับสนุนสิทธิดังกล่าว การใช้แรงงานเด็ก ตัวชี้วัดหลัก �เนินการใดๆที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงของเหตุการณ์ที่มีการใช้แรงงานเด็ก และมาตรการการดำ�เนินงานที่ใช้ HR6 การดำ เพื่อขจัดการใช้แรงงานเด็ก �เนินงานที่ระบุว่า อาจทำ�ให้เกิดความเสี่ยง ต่อการเกิดเหตุการณ์การบังคับใช้แรงงาน หรือโดยไม่สมัครใจ HR7 การดำ และมาตรการในการขจัดการบังคับใช้แรงงาน การปฏิบัติด้านการรักษาความปลอดภัย ตัวชี้วัดเสริม HR8 ร้อยละของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ที่ได้รับการอบรมเรื่องนโยบายขององค์กร สิทธิชนพื้นเมือง ตัวชี้วัดเสริม HR9 จำ�นวนเหตุการความรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับสิทธิชนของชนพื้นเมืองและการใช้มาตรการหรือการดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางบริหารจัดการด้านสังคมเฉพาะกิจการไฟฟ้า การดำ�เนินงานด้านชุมชน EU19 การสนับสนุนการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียในกระบวนการตัดสินใจ ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและการพัฒนาพลังงาน ตัวชี้วัดหลัก EU20 แนวทางบริหารจัดการผลกระทบเมื่อมีการย้ายชุมชนออกจากพื้นที่ การดำ�เนินงานเมื่อเกิดภัยพิบัติ การวางแผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน ฉุกเฉิน แผนการบริหารจัดการภัยพิบัติและสถานการณ์ฉุกเฉิน โครงการฝึกอบรม ตัวชี้วัดหลัก EU21 มาตรการและแผนงานในสถานการณ์ และแผนงานฟื้นฟูภายหลังสถานการณ์ฉุกเฉิน ตัวชี้วัดการดำ�เนินงานด้านสังคม การดำ�เนินงานด้านชุมชน ขอบเขต และประสิทธิภาพของโครงการ หรือวิธีปฏิบัติ ที่ใช้ในการประเมินและจัดการผลกระทบ ตัวชี้วัดหลัก SO1 ลัอักนษณะ เกิดจากการดำ�เนินงาน ที่เกี่ยวข้องกับชุมชน รวมถึงการเข้าดำ�เนินงาน ระหว่างการดำ�เนินงาน การย้ายออกจากพื้นที่ การดำ�เนินงานด้านชุมชน ตัวชี้วัดหลัก EU22 จำ�นวนประชาชนที่ถูกอพยพออกจากพื้นที่และเงินชดเชย แบ่งตามโครงการ การเข้าถึงสินค้าและบริการ ตัวชี้วัดหลัก EU23 โครงการปรับปรุงการเข้าถึงการใช้บริการด้านพลังงานไฟฟ้าต่างๆ และการบริการที่สนับสนุนผู้บริโภค การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร บัติเมื่อเผชิญอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับภาษา วัฒนธรรม และชุมชนที่ด้อยโอกาส เพื่อให้เข้าถึงการใช้พลังงานไฟฟ้า ตัวชี้วัดหลัก EU24 วิอย่ธีกาารปฏิ งปลอดภัย รวมถึงการบริการที่ช่วยเหลือผู้บริโภค การทุจริต SO2 ร้อยละและจำ�นวนของหน่วยธุรกิจหรือหน่วยงาน ที่ได้มีการวิเคราะห์ว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดทุจริต ตัวชี้วัดหลัก SO3 ร้อยละของจำ�นวนพนักงาน ที่ผ่านการอบรมเรื่องนโยบายและวิธีการต่อต้านการกระทำ�ทุจริตขององค์กร SO4 การดำ�เนินงานและมาตรการเมื่อเกิดเหตุการณ์ทุจริต

ระดับ SR 2013 การรายงาน เลขหน้า ครบถ้วน

34

บางส่วน

34

-

-

ครบถ้วน

23-24

ครบถ้วน

24

ครบถ้วน

62

ครบถ้วน ครบถ้วน

62 64

ครบถ้วน

62-63

ครบถ้วน

24

ครบถ้วน

63

ครบถ้วน

63

ครบถ้วน

65

ครบถ้วน

65

ครบถ้วน ครบถ้วน

59-60 AR 2013

ครบถ้วน

60

ครบถ้วน 22, 30, 40 ครบถ้วน

61-62

ครบถ้วน

45

ครบถ้วน

22, 45

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

41-42 41-42 25


74 ข้อมูลองค์การ นโยบายสาธารณะ ดยืนด้านนโยบายสาธารณะขององค์การ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะ ตัวชี้วัดหลัก SO5 จุรวมถึ งการวิ่งเต้นเพื่อให้เกิดนโยบายดังกล่าว ตัวชีวัดเสริม SO6 มูลค่าทางการเงินที่บริจาคให้แก่พรรคการเมือง นักการเมือง หรือสถาบันที่เกี่ยวข้องในประเทศ พฤติกรรมต่อต้านการแข่งขัน �นวนครั้งของการดำ�เนินการทางกฎหมายต่อพฤติกรรม ที่ต่อต้านการแข่งขัน การผูกขาด วิธีการปฏิบัติที่ผูกขาด ตัวชี้วัดเสริม SO7 จำและผลลั พธ์ที่เกิดขึ้น การปฏิบัติตามกฎหมาย ลค่าคิดเป็นตัวเงินที่ใช้เป็นค่าปรับ และจำ�นวนบทลงโทษ ที่ไม่ใช่มาตรการทางการเงิน อันเกิดจากการไม่ปฏิบัติตาม ตัวชี้วัดหลัก SO8 มูกฎหมาย และข้อบังคับต่างๆ ตัวชี้วัดการดำ�เนินงานที่แสดงความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ ความปลอดภัยและสุขภาพของผู้บริโภค นผลกระทบด้านสุขภาพ และความปลอดภัยของสินค้าและบริการเพื่อการพัฒนาคุณภาพของสินค้าและบริการ ตัวชี้วัดหลัก PR1 การประเมิ ร้อยละของสินค้าและบริการที่ผ่านกระบวนการประเมินผล �นวนเหตุการณ์ของการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย และหลักเกณฑ์เกี่ยวกับผลกระทบของสินค้าและบริการ ต่อสุขภาพ ตัวชี้วัดเสริม PR2 จำและความปลอดภั ยที่จะปฏิบัติตามโดยสมัครใจ ระหว่างวงจรชีวิตนั้นๆ แบ่งตามผลที่จะได้รับ สุขภาพและความปลอดภัยสาธารณะ ตัวชี้วัดหลัก EU25 จำ�นวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต ที่เกี่ยวเนื่องกับทรัพย์สินขององค์การ รวมถึงการตัดสินตามกฎหมาย การเจรจาตกลง การเข้าถึงการใช้พลังงานไฟฟ้าและงานบริการ EU26 ร้อยละของจำ�นวนประชากรที่อยู่ในพื้นที่ที่ยังไม่ไฟฟ้าใช้ EU27 จำ�นวนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ถูกตัดไฟเพราะไม่ชำ�ระค่าบริการ แบ่งเป็นระยะเวลาที่ถูกตัดไฟ ตัวชี้วัดหลัก EU28 ความถี่ของการเกิดไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้าง EU29 ระยะเวลาเกิดไฟฟ้าดับโดยเฉลี่ย EU30 ค่าเฉลี่ยความพร้อมจ่ายของโรงไฟฟ้า แบ่งเป็นแหล่งพลังงานและแบ่งโดย regulatory regime การจัดทำ�ฉลากสินค้าและงานบริการ ตัวชี้วัดหลัก PR3 ประเภทของข้อมูลสินค้าและบริการ และร้อยละของสินค้าและบริการที่จำ�เป็นต้องมีการจัดทำ�ฉลากข้อมูล �นวนครั้งของการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อกำ�หนดเกี่ยวกับข้อมูลของสินค้าและบริการ PR4 จำรวมทั ้งการติดป้ายสินค้าที่จะปฏิบัติตามโดยสมัครใจโดยแบ่งตามผลที่จะได้รับ ตัวชี้วัดเสริม PR5 การปฏิบัติการเกี่ยวกับความพึงพอใจของลูกค้าและผลการสำ�รวจความพึงพอใจของลูกค้า การสื่อสารด้านการตลาด งเสริมให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย มาตรฐานและข้อปฏิบัติโดยสมัครใจ ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทาง ตัวชี้วัดหลัก PR6 โครงการส่ การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการเป็นผู้สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ นวนครั้งของการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อปฏิบัติโดยสมัครใจที่เกี่ยวกับการสื่อสารทางการตลาด ตัวชี้วัดเสริม PR7 จำซึ�่งรวมถึ งการโฆษณาประชาสัมพันธ์และการเป็นผู้สนับสนุน โดยแบ่งตามประเภทของผลที่ได้รับ ความลับของลูกค้าและผู้ใช้บริการ ตัวชี้วัดเสริม PR8 จำ�นวนครั้งที่มีการร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของลูกค้า และการทำ�ข้อมูลของลูกค้าสูญหาย การปฏิบัติตามกฎหมาย ลค่าคิดเป็นตัวเงินของค่าปรับอันเป็นผลจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิทธิ ตัวชี้วัดหลัก PR9 มูและการใช้ สินค้าและบริการ

ระดับ SR 2013 การรายงาน เลขหน้า ครบถ้วน

64

ครบถ้วน

65

บางส่วน

41-42

ครบถ้วน

ไม่มีการปรับ

หรือลงโทษ

ครบถ้วน

45, 64

ครบถ้วน

65

ครบถ้วน

26

ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน

AR 2013 AR 2013 AR 2013 AR 2013 AR 2013

ครบถ้วน

43-44

-

-

ครบถ้วน

66-67

ครบถ้วน

43-45

-

-

-

-

ครบถ้วน

64


75

ใบรับรอง GRI


76

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ ในรอบปี 2556 กฟผ. ให้ความสำ�คัญกับการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยความสุจริต เทีย่ งธรรม และจริงใจอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนยึดมั่นในการดำ�เนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ที่มีการกำ�กับดูแลที่ดี มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และต่อต้านการทุจริต คอรัปชั่นในทุกรูปแบบ อันเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดขององค์การในการมุ่งทำ�หน้าที่เพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทย และสร้างเสริมเศรษฐกิจไทยให้แข็งแกร่ง รวมถึงการเป็นองค์การแห่งความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ รางวัลต่างๆ ที่ กฟผ. ได้รับในรอบปี 2556 นับเป็นความภาคภูมิใจ และเป็นกำ�ลังใจให้พนักงาน กฟผ. ทุกคน มุ่งมั่นทำ� หน้าที่พัฒนาองค์การสู่การเป็นองค์การชั้นนำ�ในการผลิตไฟฟ้า พัฒนาระบบไฟฟ้าให้มีคุณภาพ มีความมั่นคงและยั่งยืนตลอดไป เพื่อให้คนไทยทั้งประเทศมีความผาสุก โดยรางวัลที่ได้รับมีดังนี้

รางวัล ASEAN Energy Awards 2013 ในปี 2556 กฟผ. ได้รับรางวัลประเภทต่างๆ รวมทั้งสิ้น 4 รางวัล จากการจัดประกวดรางวัล ASEAN Energy Awards 2013 ซึง่ เป็นการประกวดผลงานด้านพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน จัดโดยหน่วยงานและองค์กรพัฒนาด้านพลังงานในกลุม่ ประเทศอาเซียน ประกอบด้วย รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Community-based off-Grid Category จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชน บ้านคลองเรือ อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ซึ่งเป็นโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบส่งไฟฟ้า รองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Best Practices-Clean Coal Use and Technology in Power Generation Category จากผลการดำ�เนินงานโรงไฟฟ้าแม่เมาะ อำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภท Best Practices in Surface Coal Mining Category จากการดำ�เนินงานกิจการ เหมืองแม่เมาะ อำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง รางวัล Excellence in Energy Management จากการทำ�หน้าที่ประธานการประชุม HAPUA (Power HAPUA Chairman and Governor EGAT of Thailand) ของนายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ อดีตผู้ว่าการ กฟผ.


77 รางวัล Thailand Coal Awards 2013 จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน ประกอบด้วย รางวัลชนะเลิศ Best Practice of Surface Coal Mining จากการดำ�เนินงานกิจการเหมืองแม่เมาะ อำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง รางวัลชนะเลิศ Clean Coal Use & Technology (Power Generation) จากการดำ�เนินงานโรงไฟฟ้าแม่เมาะ อำ�เภอ แม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง รางวัล Thailand Energy Awards 2013 จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ดังนี้ รางวัลด้านพลังงานทดแทน ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off – Grid) จาก การดำ�เนินงานโครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชนบ้านคลองเรือ อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร รางวัลด้านผู้ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ประเภทสื่อเว็บไซต์ รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นประจำ�ปี 2556 จากสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง ดังนี้ รางวัลการดำ�เนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชนบ้านคลองเรือ อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร รางวัลนวัตกรรมดีเด่น ประเภทชมเชยระดับองค์กร จากเครื่องควบคุมการสื่อสารทางเสียง สำ�หรับศูนย์ควบคุมระบบ กำ�ลังไฟฟ้า (Voice Communication Control System – VCCS) รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัยประจำ�ปี 2556 จากกรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน โดยหน่วยงาน กฟผ. ที่ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัยประจำ�ปี 2556 มี 29 แห่ง ดังนี้ รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ระดับประเทศ ประจำ�ปี 2556 รางวัลคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานดีเด่น ประจำ�ปี 2556 รางวัลองค์กรที่ทำ�คุณประโยชน์ต่อเด็กและเยาวชน สาขากีฬาและนัทนาการ จากสำ�นักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาส และผูส้ งู อายุ โดยได้เป็นผูส้ นับสนุนหลักกีฬายกนํา้ หนัก ตามโครงการหนึง่ กีฬา หนึง่ รัฐวิสาหกิจ ซึง่ ดำ�เนินการ มาตั้งแต่ปี 2548 รางวัล CSR-DIW Awards 2013 หรือรางวัลโครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมให้มคี วามรับผิดชอบต่อสังคมอย่างมีสว่ นร่วม จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยในปี 2556 หน่วยงานของ กฟผ. จำ�นวน 20 แห่ง ดังนี้ รางวัล CSR-DIW Advanced Awards ระดับ 4 จำ�นวน 11 แห่ง รางวัล CSR-DIW Continuous Awards จำ�นวน 6 แห่ง รางวัล CSR-DIW Network Awards จำ�นวน 1 แห่ง รางวัล CSR-DIW Awards 2 จำ�นวน 2 แห่ง รางวัล CSR-DPIM Continuous Award 2013 หรือรางวัลสถานประกอบการเครือข่ายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ประจำ�ปี 2556 จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม รางวัลเชิดชูเกียรติสถานศึกษาและสถานประกอบการ ที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสู่ความเป็นเลิศ โดย กฟผ. และ วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ. แม่เมาะ ร่วมรับรางวัลเชิดชูเกียรติฯ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสู่ความเป็นเลิศ ในระดับ 5 ดาว จากสำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะองค์กรแบบอย่างที่ได้สนับสนุนการเรียนรู้เชิง ทฤษฎีควบคู่การฝึกปฏิบัติจริงได้ตามมาตรฐาน สร้างโอกาสทางการศึกษาที่ดีให้กับชุมชน รางวัลคุณธรรมแห่งชาติปี 2556 โรงไฟฟ้าพลังนํ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขื่อนอุบลรัตน์ อำ�เภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ได้รับรางวัลคุณธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2556 ประเภทโครงการ ในงานสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 จัดโดย ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) และหน่วยงานเครือข่ายภาคี รางวัลโล่ประกาศเกียรติคุณสำ�นักงานสีเขียว งานวันสิ่งแวดล้อมไทยปี 2556 โดยอาคาร ท. 102 สำ�นักงานกลาง กฟผ. อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณสำ�นักงานสีเขียว ในงานวันสิ่งแวดล้อมไทยประจำ�ปี 2556 จากกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รางวัลคุณภาพแห่งชาติ หรือรางวัล Thailand Quality Award (TQA) ประจำ�ปี 2556 จากสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ โดยโรงไฟฟ้าแม่เมาะ กฟผ. อำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง ได้รับรางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ หรือรางวัล Thailand Quality Class หรือ TQC


78

รายงานการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ร่วมกับบริษัทในเครือ ตั้งแต่ปี 2535 เป็นต้นมา กฟผ. ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทในเครือขึ้น 5 บริษัท ตามลำ�ดับ ประกอบด้วย บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ�กัด (มหาชน) (EGCO) บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) (RATCH) บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน้ำ�เย็น จำ�กัด (DCAP) บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (EGATi) และ บริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จำ�กัด (EDS) รวมเรียก กลุ่ม กฟผ. หรือ EGAT Group เพื่อ ประกอบธุรกิจด้านการผลิตไฟฟ้าและธุรกิจเกี่ยวเนื่อง กลุ่ม กฟผ. ตระหนักถึงความจำ�เป็นในการสร้างความเติบโตทางธุรกิจอย่างมั่นคงควบคู่ไปกับการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม เริ่มตั้งแต่การบริหารจัดการที่มุ่งเน้นความโปร่งใสและการกำ�กับดูแลที่ดี ปฏิบัติตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและอนามัย และ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชน เพื่อความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกัน ทั้งนี้ ในระหว่างปี 2556 กลุ่ม กฟผ. มีแนวทางการดำ�เนินงานและ กิจกรรมที่สะท้อนถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

การกำ�กับดูแลที่ดี

บริษัทใน กลุ่ม กฟผ. มีนโยบายในการดำ�เนินกิจการอย่างมีธรรมาภิบาล สามารถตรวจสอบได้ ตระหนักถึง ความสำ�คัญของสิทธิมนุษยชน มีความเป็นธรรมในการจ้างงาน และมีความโปร่งใสในดำ�เนินกิจการ และหลีกเลี่ยง กิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เห็นได้จากนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่แต่ละบริษัท ประกาศสู่สาธารณะ ได้แก่ การกำ�หนดแนวทางดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืนของ RATCH และปรากฏชัดอยู่ในพันธกิจ 2 ใน 5 ข้อ คือ “มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมและดำ�เนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม และสร้างบรรยากาศ การทำ�งานที่น่าพึงพอใจและมั่นคง รวมทั้งสร้างแรงจูงใจการทำ�งานให้แก่พนักงาน” เช่นเดียวกันกับวิสัยทัศน์ของ EGCO ในการ “เป็นบริษัทไทยชั้นนำ�ที่ดำ�เนินธุรกิจไฟฟ้าอย่างยั่งยืน ในประเทศไทยและภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก ด้วย ความใส่ใจที่จะธำ�รงไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาสังคม” เป็นต้น

ล ม วา

่ำ� ต ด เะ อีย


79

การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

กลุ่ม กฟผ. ให้ความสำ�คัญและปฏิบัติตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและอนามัย มีการดูแลและควบคุม ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจจะเกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจตามที่กฏหมายกำ�หนด และมีการส่งเสริมกิจกรรม ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติร่วมด้วย อาทิเช่น “มาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย” โรงไฟฟ้าของ RATCH ได้แก่ โรงไฟฟ้าราชบุรไี ด้รบั ใบรับรอง ระบบมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย OHSAS 18001 และมาตรฐาน ISO 14001 และโรงไฟฟ้าประดูเ่ ฒ่า ได้รบั ใบรับรองระบบคุณภาพสำ�หรับการผลิตกระแสไฟฟ้า ISO 9001: 2008 นอกจากนี้ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ยังได้รับการขึ้นทะเบียนโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (United Nation Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) อีกด้วย “โครงการหนึ่งป่าต้นนำ�้ หนึ่งต้นกำ�เนิดพลังงาน” EGCO ร่วมกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน กระทรวงพลังงาน พัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานต้นน�ำ้ ขนาดเล็กระดับชุมชน เพือ่ ส่งเสริมให้ชมุ ชนอนุรกั ษ์พน้ื ทีป่ า่ ต้นน�ำ้ และสามารถพึง่ ตนเองในด้านพลังงานได้อย่างยัง่ ยืน เป็นประโยชน์แก่ชมุ ชนมากกว่า 150 ครัวเรือน และสามารถ อนุรกั ษ์พน้ื ทีป่ า่ ต้นน�ำ้ ไว้ได้กว่า 33,000 ไร่ ปัจจุบนั โครงการดำ�เนินการแล้ว 3 แห่ง คือ หมูบ่ า้ นสันดินแดง อำ�เภอ จอมทอง หมูบ่ า้ นโป่งสะแยน และหมูบ่ า้ นห้วยวอก อำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ และอยูร่ ะหว่างดำ�เนินการแห่งที่ 4 ทีห่ มูบ่ า้ นฮากเกีย้ ะ-ห้วยหลวง อำ�เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ “โครงการคนรักษ์ปา่ ป่ารักษ์ชมุ ชน” เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างบริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จำ�กัด (มหาชน) กับกรมป่าไม้ เพื่อดำ�เนินโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติด้านป่าชุมชน ครอบคลุมทุกภาคส่วนของ ประเทศไทย สนับสนุนให้ชมุ ชนบริหารจัดการป่าชุมชนของตนเอง ช่วยรักษาพืน้ ทีป่ า่ และเพิม่ พืน้ ทีป่ า่ ไม้ของประเทศ เพือ่ เป็นแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทัง้ เพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ของป่าชุมชนเพือ่ ให้เกิดความหลากหลาย ทางชีวภาพ


80 กิจกรรมเพื่อสังคม

กลุ่ม กฟผ. ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะชุมชนโดยรอบพื้นที่กิจการ จึงมีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชนบริเวณสำ�นักงานใหญ่และรอบโรงไฟฟ้าอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนี้ ยังมีโครงการต่างๆ ที่มุ่งเน้นการพัฒนา คุณภาพชีวิตและสังคม ซึ่งครอบคลุมทั้งด้านการศึกษา อาชีพ จริยธรรม และศาสนา อาทิเช่น

“โครงการรวบรวมข้อมูลและจัดทำ�แผนที่แหล่งเรียนรู้ อำ�เภอขนอม” เพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้ของเยาวชน และส่งเสริมความยั่งยืนของชุมชน โดย EGCO ร่วมกับมูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในท้องถิ่น ดำ�เนินการสำ�รวจพืน้ ทีต่ �ำ บลท้องเนียน ตำ�บลควนทอง และตำ�บลขนอม จังหวัด สุราษฎร์ธานี เพือ่ ระบุแหล่งเรียนรูด้ า้ นภูมปิ ญ ั ญาและวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ พลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติของอำ�เภอขนอม

กิจกรรม Energy for Life on Tour ภายใต้โครงการ “พลังงานเพื่อชีวิต ลดโลกร้อน ด้วยวิถีพอเพียง” โดย EGCO เป็นชุดนิทรรศการและกิจกรรมเคลือ่ นที่ ใน 10 โรงเรียนทีเ่ ข้าร่วม โครงการ เพือ่ เสริมความรูค้ วามเข้าใจด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม ให้กับเยาวชน พร้อมการเปิดโอกาสให้เยาวชนได้แสดงความรู้ ความสามารถในการตอบคำ�ถามด้านการอนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อม

“กิ จ กรรมเปิ ด บ้าน DCAP” DCAP นำ � ชุ ม ชนรอบโรง ไฟฟ้าเข้าเยี่ยมชมการดำ�เนินงาน เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลผลการดำ�เนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเพื่อรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ต่างๆ จากชุมชนโดยรอบ

“ทอดผ้าป่าสามัคคี บริจาคผ้าห่มกันหนาวและ ถุงยังชีพ ณ วัดมงคลคีรีเขตร์ จังหวัดตาก” จัดโดย EGATi และพันธมิตรร่วมทุนโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ� ฮัจยี ร่วมกับ กฟผ. และกองทัพภาคที่ 3 และมี ประชาชนในพื้ น ที่ ทั้ ง ชาวไทยและชาวเมี ย นมาร์ ตลอดจนตัวแทนจากหน่วยงานราชการเข้าร่วม

“กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา” ผูป้ ฏิบตั งิ าน กฟผ. ร่วมกับพนักงาน EDS ทำ�บุญถวายภัตตาหาร เพล ณ วัดพืชนิมิตร ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับ เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี


กฟผ. มุงหวังใหหนังสือรายงานเลมนี้เปนพลังเล็กๆ ที่ขับเคลื่อนสังคมไปสูสังคมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและพอเพียง จึงใชตัวอักษรในการพิมพดวยฟอนตแหงชาติที่ปลอดลิขสิทธิ์ ใชกระดาษพิมพที่ใชกระดาษเกาเปนสวนผสม ใชหมึกพิมพสกัดจากถั่วเหลืองที่ปราศจากสารเคมี และเผยแพรขอมูลในรูปแบบอีบุกผานเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อลดการใชกระดาษเกินจำเปน


·Ø‹§´Í¡ºÑǵͧàËÁ×ͧáÁ‹àÁÒÐ

Electricity Generating Authority of Thailand Bang Kruai, Nonthaburi 11130, Thalland Tel. +66 (0) 2436 0000 Fax. +66 (0) 2436 4695 http://www.egat.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.