ชี้แจงโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ ตอบคำถามทุกข้อสงสัย

Page 1



ภาพจาก http://bookthailandnow.com

สารบัญ

ข้อมูลทั่วไป...............................................................................................4 ตอบทุกค�ำถาม และข้อกังวลสงสัย

1 ก�ำลังผลิตไฟฟ้าภาคใต้ไม่เพียงพอจริงหรือ........................... .......................6

2 ท�ำไมต้องสร้างโรงไฟฟ้าที่จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยว....... ..............9 3 ท�ำไมเลือกใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน.................................................................. 10 4 การขนส่งถ่านหินกระทบการท่องเที่ยวหรือไม่............................... ..........13 5 การมีส่วนร่วมของประชาชน และความโปร่งใส .......................................17 6 อะไรคือ โรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด..................................... ........19 7 การใช้น�้ำของโรงไฟฟ้ามีผลกระทบหรือไม่............................................. ...22 8 การดูแลสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิต.............................................. ..23 9 สิทธิประโยชน์ของชุมชนรอบโรงไฟฟ้า.....................................................27 10 สรุปผลกระทบของโรงไฟฟ้าถ่านหิน และมาตรการป้องกัน .....................28 11 ทั่วโลกเลิกใช้ถ่านหินจริงหรือ ...................................................................30


ค่านิยมหลักจังหวัดกระบี่ “สร้างกระบี่ให้น่าอยู่ มุ่งสู่การบริการ บริหารแบบมีส่วนร่วม ตามประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาคือ ศูนย์กลางการท่องเที่ยวฝั่งทะเลอันดามัน เชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและสุขภาพ แหล่งเกษตรอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน และการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี”

2

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


โรงไฟฟ้ากระบี่...จากวันวานถึงวันนี้

โรงไฟฟ้าลิกไนต์กระบี่เดิม

โรงไฟฟ้ากระบี่ปัจจุบัน

ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ เป็นโรงไฟฟ้า พลังงานความร้อน ใช้ถ่านหินลิกไนต์จากเหมืองกระบี่เป็น เชื้อเพลิง ก�ำลังผลิตรวม 60 เมกะวัตต์ เริ่มจ่ายกระแสไฟฟ้า ตั้งแต่ปี พ.ศ.2507 และปลดออกจากระบบเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2538 เนื่องจากหมดอายุการใช้งาน ประกอบกับ ส�ำรองถ่านหินลดน้อยลง รวมอายุการใช้งานประมาณ 31 ปี

สถานที่ตั้งเดียวกันกับโรงไฟฟ้ากระบี่เดิม ใช้น�้ำมัน เตาเป็นเชื้อเพลิง ก�ำลังผลิต 340 เมกะวัตต์ เริ่มเดินเครื่อง จ่ายกระแสไฟฟ้า เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2547 กฟผ. ยังได้ ปรับปรุงอุปกรณ์โรงไฟฟ้ากระบี่ให้สามารถใช้น�้ำมันปาล์มดิบ ร่วมกับน�ำ้ มันเตาในการเดินเครือ่ งผลิตไฟฟ้า มาตัง้ แต่ปี 2556 และปรับปรุงเพิ่มเติมเสร็จเมื่อเดือนเมษายน 2558 โดยเพิ่ม การใช้น�้ำมันปาล์มดิบผลิตไฟฟ้าในอัตรา 18 ตัน/ชั่วโมง ทั้งนี้ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรสวนปาล์มในภาวะราคาปาล์มดิบ ตกต�่ำและล้นตลาด

พ.ศ. 2547

พ.ศ. 2507 โรงไฟฟ าลิกไนต กระบี่ ผลิตไฟฟ า โดยใช ถ านหินลิกไนต จากเหมืองกระบี่

โรงไฟฟ ากระบี่

เดิ​ินเคร�่องจ ายไฟฟ า โดยใช น�ำมันเตาเป นเช�้อเพลิง

พ.ศ. 2538

พ.ศ. 2556

โรงไฟฟ าลิกไนต กระบี่

โรงไฟฟ ากระบี่

ปลดออกจากระบบ รวมอายุ การใช งาน 31 ป

ปรับปรุงการใช เช�้อเพลิงให สามารถ ใช น�ำมันปาล มดิบร วมกับน�ำมันเตา

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 3


Q A

ues tion ns wer

โครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่

ข้อมูลทั่วไป

โครงการโรงไฟฟาถ่านหินกระบี่ เป็นหนึ่ง ในโครงการโรงไฟฟ ้ า ที่ จ ะก่ อ สร้ า งขึ้ น ตามแผน พัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า พ.ศ.2555-2573 (PDP 2010) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 เพื่อตอบสนองการ พัฒนาเศรษฐกิจของภาคใต้ ที่เติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 5-6 ต่อปี ขณะทีใ่ นพืน้ ทีภ่ าคใต้ยงั ไม่มแี หล่ง ผลิตไฟฟา้ หลักอย่างเพียงพอ ต้องพึง่ พาสายส่งเชือ่ ม โยงจากภาคกลาง ดังนัน้ การมีโรงไฟฟา้ ในภาคใต้ จึง ช่วยเสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้า และเกิดการ กระจายสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงของประเทศ

สถานที่ตั้ง: โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ต้ังอยู่

ภายในบริเวณพื้นที่โรงไฟฟ้ากระบี่เดิม ที่อําเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่

ก�ำลังการผลิต: โรงไฟฟ้าถ่านหินขนาดก�ำลังผลิต

สุทธิไม่ต�่ำกว่า 780 เมกะวัตต์ (ก�ำลังผลิตติดตั้งประมาณ 870 เมกะวัตต์)

เชื้อเพลิง: ใช้เชื้อเพลิงถ่านหินคุณภาพดี ประเภทซับ

บิทูมินัสหรือบิทูมินัส น�ำเข้าจากออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย

เทคโนโลยีทใี่ ช้: ระบบเผาไหม้ และหม้อไอน�ำ้ ของโรง

ไฟฟ้าชนิด Ultra Supercritical ซึ่งเป็นเทคโนโลยีหม้อน�้ำที่มี ประสิทธิภาพที่สุดในเชิงพาณิชย์

ความก้าวหน้าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของ กฟผ. จนถึงปัจจุบัน 11 พฤษภาคม 2555

เริ่มศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA)

25 สิงหาคม 2555

จัดเวทีรบั ฟังความคิดเห็นของประชาชนและผูม้ สี ว่ นได้ เสีย ในการก�ำหนดขอบเขตและแนวทางการ ประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (ค.1)

1 พฤศจิกายน ถึง 2 ธันวาคม 2555

ส�ำรวจและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียในขั้นตอนการประเมินและจัดท�ำ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (ค.2)

12 ตุลาคม 2557

จัดเวทีรบั ฟังความคิดเห็นของประชาชนและผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในการทบทวนร่างรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (ค.3)

18 ธันวาคม 2557

น�ำส่งรายงาน EHIA โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ ต่อส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณา

12 กุมภาพันธ์ 2558

คณะกรรมการผู้ช�ำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (คชก.) พิจารณา รายงาน EHIA โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ ครั้งที่ 1

9 กรกฎาคม 2558

กฟผ. น�ำส่งรายงานชี้แจงเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่

4

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


20 กรกฎาคม 2558

เครือข่ายปกป้องถ่านหินกระบี่ได้ยื่นข้อเรียกร้องให้รัฐบาลยุติโครงการ

2 กันยายน 2558

กฟผ. ถอนเล่มรายงานชี้แจงเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ เพื่อยุติขั้นตอนการ พิจารณารายงานฯ

17 ธันวาคม 2558

นายกรัฐมนตรีมคี ำ� สัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการศึกษาการด�ำเนินโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินจังหวัดกระบี่

21 มกราคม 2559

ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1/2559 มีมติให้แต่งตั้งอนุกรรมการฯ เพื่อด�ำเนินการศึกษาและ ก�ำหนดรอบระยะเวลา 8 เดือน

20 ตุลาคม 2559

คณะกรรมการฯ ส่งสรุปผลการพิจารณาให้นายกรัฐมนตรีทราบ

7, 22, 29 พฤศจิกายน และ 27 ธันวาคม 2559 มกราคม 2560

นายกรัฐมนตรีสั่งการให้ด�ำเนินกระบวนการมีส่วนร่วมและสร้างความเข้าใจในพื้นที่ กฟผ. รวบรวมข้อมูลการแสดงออกของประชาชนในพื้นที่ และด�ำเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมและ สร้างความเข้าใจในพื้นที่

17 กุมภาพันธ์ 2560

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติเห็นชอบให้ กฟผ. ด�ำเนินโครงการโรงไฟฟ้า ถ่านหินกระบี่ โดยให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม รวมถึงน�ำข้อเสนอของไตรภาคีมาประกอบการ พัฒนาโครงการ

27 กุมภาพันธ์ 2560

นายกรัฐมนตรีมีค�ำสั่งให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยศึกษา และท�ำความเข้าใจ EHIA และ EIA ใหม่ โดยเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม

เส นทาง โรงไฟฟ าถ านหินกระบี่ ป 2555

11 พฤษภาคม 2555 เร�่มศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล อม และสุขภาพ (EHIA)

12 ตุลาคม 2557

การรับฟ งความคิดเห็นของ ประชาชน ครั้งที่ 3 (ค.3)

17 ธันวาคม 2558

แต งตั้งคณะกรรมการไตรภาคี

มกราคม 2560

กฟผ. รวบรวมการแสดงออก ของคนในพื้นที่รอบโครงการโรงไฟฟ า

แผน PDP2010 Rev.3 โครงการโรงไฟฟ าถ านหินกระบี่

25 สิงหาคม 2555

การรับฟ งความคิดเห็นของ ประชาชน ครั้งที่ 1 (ค.1)

กรกฎาคม 2558 มีการชุมนุมต อต านโรงไฟฟ า

20 ตุลาคม 2559 คณะกรรมการฯ ส งผลสรุปให นายกฯ

17 กุมภาพันธ 2560

กพช. มีมติเห็นชอบให กฟผ. ดำเนิน 20 กุมภาพันธ 2560 โครงการโรงไฟฟ าถ านหินกระบี่ โดยให เกิดกระบวนการมีส วนร วม นายกรัฐมนตร�มีคำสั่งให ศึกษา รวมถึงนำข อเสนอของไตรภาคี และจัดทำ EHIA และ EIA ใหม มาประกอบการพัฒนาโครงการ

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 5


Q A

1 ก�ำลังผลิตไฟฟ้าภาคใต้ ไม่เพียงพอจริงหรือ ก�ำลังผลิตไฟฟ้าภาคใต้ใกล้เคียงกับความต้องการไฟฟ้า แต่ก�ำลังผลิตจากโรงไฟฟ้าหลักน้อยกว่าความต้องการไฟฟ้า ท�ำให้ตอ้ งพึง่ พาไฟฟ้าจากภาคกลาง วันละ 200-600 เมกะวัตต์ โดยภาคใต้มีความต้องการไฟฟ้าสูงสุดอยู่ที่ 2,713 เมกะวัตต์ ขณะที่ ภาคใต้มีก�ำลังการผลิตในพื้นที่ 3,089 เมกะวัตต์ แต่ มี โรงไฟฟ้ า หลั ก ที่ ส ามารถเดิ น เครื่ อ งตามที่ สั่งการได้ (Firm) เพียง 2,406 เมกะวัตต์ เนื่องจาก

กําลังผลิตไฟฟ าในพืน้ ที่ ภาคใต ป 2559

• โรงไฟฟ้าพลังน�้ำมีข้อจ�ำกัดเรื่องปริมาณน�้ำ • โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน (SPP) มีจ�ำนวน 29 เมกะวัตต์ ซึ่งผลิตไฟฟ้าได้ไม่แน่นอน • โรงไฟฟ้ากระบี่ใช้น�้ำมันเตา มีต้นทุนการผลิตสูง จะใช้เดินเครื่องเสริมระบบเฉพาะกรณีที่มีการหยุดซ่อมบ�ำรุง โรงไฟฟ้าหรือแหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติตามแผนไม่สามารถ รองรับการช่วยระบบฉุกเฉินได้

รับไฟฟ าจากภาคกลาง

3,089 MW

200-600 MW

ความต องการไฟฟ า ภาคใต

กำลังผลิตเดินเคร�่อง ได ตลอดเวลา (Firm)

2,713 MW

โรงไฟฟ าหลักทีเ่ ดินเครือ่ ง ผลิต 24 ชม. ได

กำลังผลิตไฟฟา 930 MW

2,406 MW

โรงไฟฟ าขนอม จ.นครศร�ธรรมราช

กำลังผลิตที่มีข อจำกัด ในการสั่งการ (Non-Firm)

กำลังผลิตไฟฟา 1,476 MW

กำลังผลิตไฟฟา 240 MW

โรงไฟฟ าจะนะ จ.สงขลา

โรงไฟฟ าพลังน�ำเข�่อนรัชชประภา จ.สุราษฎร ธานี

กำลังผลิตไฟฟา 315 MW โรงไฟฟ ากระบี่ จ.กระบี่

กำลังผลิตไฟฟา 72 MW

โรงไฟฟ าพลังน�ำเข�่อนบางลาง จ.ยะลา

6

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


กำ�ลังการผลิตของไทยล้นเกิน ไม่จำ�เป็นต้องสร้างโรงไฟฟ้าใน ภาคใต้จริงหรือไม่

Q A

ก�ำลังผลิตไฟฟ้าจะต้องมีมากกว่าความต้องการไฟฟ้า จ�ำนวนหนึ่ง เพื่อจ่ายไฟฟ้าเมื่อเกิดกรณีต่างๆ เช่น โรงไฟฟ้า หรือระบบส่งไฟฟ้าขัดข้อง การขัดข้องด้านการส่งเชื้อเพลิง ความต้องการไฟฟ้าเติบโตมากกว่าที่คาด การจ่ายไฟฟ้าที่ไม่ แน่นอนของโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ก�ำลังผลิตไฟฟ้าของไทยที่จ่ายไฟฟ้าได้อย่างมั่นคง (Firm) มากกว่าความต้องการไฟฟ้า ร้อยละ 22 ถือว่าไม่สงู เกิน ไป ซึง่ เมือ่ ดูขอ้ มูลของต่างประเทศจะพบได้วา ่ ในกลุม่ ประเทศ OECD หรือประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วมีสงู กว่าประเทศไทยเป็นส่วน

ใหญ่ เช่น ออสเตรีย อยู่ที่ร้อยละ 102, เดนมาร์ก ร้อยละ 32, สเปน ร้อยละ 100 ประกอบกับระบบไฟฟ้าในปัจจุบันมีการใช้พลังงาน หมุนเวียนมากขึน้ จ�ำเป็นต้องมีโรงไฟฟ้าหลัก เพือ่ รองรับความ ไม่แน่นอนของพลังงานหมุนเวียนอย่างเพียงพอ

กำลังผลิตส วนที่มากกว าความต องการใช ไฟฟ าสูงสุด ของกลุ มประเทศ OECD ป 2557 200%

โรงไฟฟ า Firm โรงไฟฟ า Non Firm/พลังงานหมุนเว�ยน

180% 160%

ประเทศไทยมีกำลังผลิตหลัก ที่พึ่งพาได (Firm) มากกว าความต องการไฟฟ า สูงสุด ร อยละ 22 ต่ำกวาคาเฉลี่ย ของประเทศอื่นๆ

140% 120% 100% 80% 60% 40%

ไทย

0%

ออสเตรเลีย ออสเตร�ย เบลเยียม ช�ลี สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร ก เอสโตเนีย ฟ นแลนด ฝรั่งเศส เยอรมนี กร�ซ ฮังการ� อิตาลี เกาหลีใต ลักเซมเบิร ก เม็กซ�โก เนเธอร แลนด นิวซ�แลนด นอร เวย โปแลนด โปรตุเกส สโลวาเกีย สโลว�เนีย สเปน สว�เดน สว�ตเซอร แลนด ตุรกี สหราชอาณาจักร มาเลเซ�ย จ�น

20%

ความตองการ ใชไฟฟาสูงสุด

ที่มา : IEA 2014/ กฟผ. (ต.ค. 2559)

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 7


ทำ�ไมไม่ส่งไฟฟ้า จากภาคกลาง แทนการสร้างโรงไฟฟ้า

Q A

ภาคใต้ควรมีกำ� ลังผลิตในพืน้ ทีอ่ ย่างเพียงพอ เพือ่ รักษา ความสมดุล ทั้งทางด้านก�ำลังผลิตภายในพื้นที่ และระบบ ส่งไฟฟ้า ไม่ควรพึ่งพาด้านใดด้านหนึ่งมากเกินไป จะช่วยให้ รองรับเหตุฉุกเฉินต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - โรงไฟฟ้า ในพื้นที่อย่างเพียงพอช่วยรักษาคุณภาพ ไฟฟ้าทั้งทางด้านแรงดัน และความถี่ - ระบบส่งไฟฟ้า ช่วยส่งผ่านก�ำลังไฟฟ้าภายในพื้นที่ และถ่ายเทก�ำลังไฟฟ้าระหว่างภูมิภาค เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่น ในการควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้าของประเทศ

การสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน เพื่อต้องการกำ�ไรจาก ค่าความพร้อมจ่ายจริงหรือไม่

Q A

ในความเป็นจริงทั้ง กฟผ. และโรงไฟฟ้าเอกชน จะไม่ ได้ประโยชน์อะไร เพราะหากไม่ได้ผลิตไฟฟ้า โรงไฟฟ้าเอกชน จะได้รับค่าไฟฟ้าเฉพาะในส่วนค่าความพร้อมจ่าย (AP) แต่จะ ไม่ได้รับในส่วนของค่าพลังงานไฟฟ้า (EP) เนือ่ งจาก ค่าซือ้ ไฟฟ้าจากเอกชน ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. ค่า AP (ค่าความพร้อมจ่าย) ซึ่งเป็นค่าลงทุนและบ�ำรุง รักษา 2. ค่าพลังงานไฟฟ้า (EP) เป็นค่าการผลิตไฟฟ้า เช่นเดียว กับการเช่ารถ ที่เจ้าของรถจะคิดราคาเป็น 2 ส่วน คือ ค่าเช่า กับค่าน�้ำมัน ถ้าเช่ารถมาแล้ว ใช้น้อยก็จ่ายค่าน�้ำมันน้อย แต่ ค่าเช่าต้องจ่ายเป็นรายวัน การที่สัญญาซื้อขายไฟฟ้า แบ่งค่าไฟฟ้าเป็น 2 ส่วน เพือ่ ความเป็นธรรมทัง้ 2 ฝ่าย และเป็นหลักประกันให้คา่ ไฟฟ้า ตลอดอายุโครงการมีราคาถูก เนื่องจากเอกชนไม่ต้องบวก

8

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่

ความเสี่ยงในการลงทุนไปในราคาเสนอขายไฟฟ้า แต่จะต้อง มีความพร้อมเดินเครือ่ ง รวมทัง้ การเพิม่ หรือลดการเดินเครือ่ ง ตามที่ศูนย์ฯ สั่งการ หากท�ำไม่ได้ก็จะต้องถูกปรับ ในส่วนของค่า EP โรงไฟฟ้าจะได้คา่ เชือ้ เพลิงตามอัตรา ความสิ้นเปลือง (Heat Rate) ที่ประมูลมาตั้งแต่ต้น หากการ ผลิตไม่มีประสิทธิภาพ ใช้เชื้อเพลิงสิ้นเปลือง โรงไฟฟ้าต้องรับ ผิดชอบส่วนเกินเอง ในทางกลับกัน ถ้ามีประสิทธิภาพใช้เชื้อ เพลิงน้อยกว่า ก็จะมีก�ำไรเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ราคาขายไฟฟ้าทั้ง AP และ EP มาจากการ ประมูลโรงไฟฟ้าเอกชน ในแต่ละรอบ ที่ผู้ที่เสนอราคาต�่ำที่สุด จะเป็นผู้ชนะการประกวดราคา


2 ท�ำไมต้องสร้างโรงไฟฟ้า ที่จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็น เมืองท่องเที่ยว

Q A

เหตุผลที่ กฟผ. เลือกจังหวัดกระบี่เป็นพื้นที่โครงการ โรงไฟฟ้าของภาคใต้ เนื่องจาก

ส�ำหรับข้อกังวลต่อผลกระทบการท่องเทีย่ ว จากข้อเท็จ จริงพบว่า เมืองและประเทศท่องเที่ยวของโลก มีโรงไฟฟ้า ถ่านหินตัง้ อยูใ่ นเมืองส�ำคัญๆ อุทยานแห่งชาติทางทะเล และ ชุมชน ทั้งในประเทศญี่ปุ่น เยอรมนี มาเลเซีย เกาหลีใต้ ฯลฯ โดยที่ยังมีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นตลอดเวลา เห็นได้จาก สถิติของนักท่องเที่ยว และเม็ดเงินที่ได้จากการท่องเที่ยวของ มาเลเซียระหว่างปี 2541- 2556 เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

- เพื่อเป็นโรงไฟฟ้าหลักของภาคใต้ทางฝั่งอันดามัน

- สร้างในพื้นที่ที่มีโรงไฟฟ้ากระบี่ปัจจุบัน ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่มีโครงสร้างระบบไฟฟ้ารองรับ - ใช้เส้นทางเดินเรือขนส่งถ่านหิน เส้นทางเดียวกัน กับเรือบรรทุกน�้ำมันเตา - เรือบรรทุกถ่านหินกินน�ำ้ ลึกเท่ากับเรือทีบ่ รรทุกน�ำ้ มัน เตามายังโรงไฟฟ้าในปัจจุบัน โดยไม่ต้องขุดลอกร่องน�้ำ

รีสอร์ท Avani Sepang Goldcoast ในประเทศมาเลเซีย ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินจิมาห์ 4 กิโลเมตร

โรงไฟฟ้าถ่านหินจิมาห์ ในประเทศมาเลเซีย ใกล้ กั บ ช่ อ งแคบมะละกา ตั้ ง อยู ่ บ ริ เวณปากแม่ น�้ ำ Sungai Sepong Beson River รัฐเนกรี เซมบิลัน ซึ่งอยู่ไม่ไกลจาก กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และ การท่องเที่ยวบริเวณใกล้เคียงที่เป็นพื้นที่ป่าชายเลนที่มีความ อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด รวมทั้ง ยังเป็นแหล่งจับปลาของชาวประมงพื้นบ้านอีกด้วย

“เชื่อมั่นว่าหากมีโรงไฟฟ้าถ่านหินเกิดขึ้นในพื้นที่ จะช่วยให้ พลังงานไฟฟ้าเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของธุรกิจการท่องเที่ยว เนื่องจากจะลดปัญหาไฟฟ้าตกและดับ”

นายเอกวิทย์ ภิญโญธรรมโนทัย กรรมการผู้จัดการ พีซลากูน่า รีสอร์ทแอนด์สปา ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 9


Q A

3 ท�ำไมเลือกใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน • โรงไฟฟ้าถ่านหิน เป็นโรงไฟฟ้าฐานที่สามารถจ่าย ไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ท�ำให้ระบบไฟฟ้า มีความมั่นคง

• ปั จ จุ บั น เทคโนโลยี โ รงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น มี ค วาม ทันสมัย สามารถควบคุมมลสารได้ดีกว่าที่กฎหมายก�ำหนด หลายเท่าตัว

• เชื้ อ เพลิ ง ถ่ า นหิ น มี ป ริ ม าณส� ำ รองจ� ำ นวนมาก สามารถใช้ได้ถึง 200 ปี ราคาถ่านหินมีเสถียรภาพและไม่ แพง จะท�ำให้ราคาค่าไฟฟ้าของประเทศไทยไม่สูง

Q A

ถ่านหินมีราคาถูก เพราะไม่ ได้คิดต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม จริงหรือ ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าโดยถ่านหินได้รวมต้นทุนการ จัดการด้านสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐานแล้ว โดยต้นทุนการ ป้องกันด้านสิ่งแวดล้อมคิดเป็นร้อยละ 20 ของโรงไฟฟ้า ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการลงทุนติดตั้งระบบควบคุม มลสารทางอากาศ อุปกรณ์ลดเสียง ระบบบ�ำบัดน�้ำจาก กระบวนการผลิต ฯลฯ โรงไฟฟ้าถ่านหิน Isoko ประเทศญี่ปุ่น

“เทคโนโลยีล่าสุดที่เราใช้กัน อัลตรา ซุปเปอร์ คริติคอล เป็นการ เผาที่อุณหภูมิและความดันสูงท�ำให้มลพิษน้อยลงๆ ไม่น่ากลัวเหมือน ภาพในอดีต” รศ.สมศักดิ์ สายสินธุ์ชัย อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


Q A

ทำ�ไมไม่ ใ ช้ พ ลั ง งานหมุ น เวี ย น แทนโรงไฟฟ้าถ่านหิน • พลังงานจากชีวมวล มีบางฤดูกาล • พลังงานแสงอาทิตย์ มีเฉพาะช่วงกลางวัน • พลังงานลม ผลิตได้ไม่แน่นอน

กฟผ. สนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ตามศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในพื้นที่ โดยมีโรงไฟฟ้า หลั ก คอยค�้ ำ ระบบ ในช่ ว งที่ พ ลั ง งานหมุ น เวี ย นผลิ ต ไม่ ไ ด้ ในกรณีต่างๆ เช่น

ทำ�ไมไม่ใช้ก๊าซธรรมชาติ

Q A

ประเทศไทยใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าเกือบ ร้อยละ 70 จาก 3 แหล่งคือ 1. เมียนมา 6,500 เมกะวัตต์ 2. อ่าวไทยและน�ำเข้า LNG 10,500 เมกะวัตต์ 3. อ่าวไทยและ JDA 1,900 เมกะวัตต์ ในอนาคตก๊าซธรรมชาติจากแหล่งในอ่าวไทยและ แหล่งในเมียนมาก�ำลังจะหมดลง หากประเทศไทยยังคงใช้ ก๊าซธรรมชาติในสัดส่วนที่สูง ก็ต้องพึ่งพาการน�ำเข้าก๊าซเหลว (LNG) เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งมีราคาแพง จึงจ�ำเป็นที่จะต้อง บริหารความเสี่ยง

• ลดสั ด ส่ ว นการผลิ ต จากก๊ า ซธรรมชาติ ให้เหลือร้อยละ 30 - 40 • ถ่านหินเพิ่มจากร้อยละ 18 เป็นร้อยละ 23 • พลังงานหมุนเวียนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 10 เป็นร้อยละ 20

นอกจากนี้แล้ว เมื่อเปรียบเทียบราคาของเชื้อเพลิง แต่ละชนิดในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา จะพบว่า ในระยะยาว ราคาถ่านหินมีเสถียรภาพมากกว่า และต้นทุนถูกกว่าทั้ง LNG และน�้ำมัน

Q A

เปร�ยบเทียบราคาเช�้อเพลิงหลักของเอเช�ยแปซ�ฟก 20 ป ยอนหลัง

ues tion ns wer

น�ำมันดิบดูไบ ราคาเพิ่ม 5.5% ต อป

20 15

LNG (ญี่ปุ นนำเข า) ราคาเพิ่ม 5.6% ต อป

10 5

2558

2557

2556

2555

2554

2553

2552

2551

2550

2549

2548

2547

2545

2544

2543

2542

2541

2540

0

2546

ถ านหิน (ญี่ปุ นนำเข า) ราคาเพิ่ม 2.5% ต อป

2539

เหร�ยญสหรัฐ/ล านบีทียู

25

ที่มา : คำนวณจากข อมูลที่เผยแพร ใน BP Statistical Review of World Energy 2016

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 11


การซื้อหุ้นเหมืองถ่านหิน ในอินโดนีเซียเพื่อนำ�มาใช้กับโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่หรือไม่

Q A

เหมืองถ่านหินทีบ่ ริษทั กฟผ. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (EGATi) ถึงแม้วา่ จะเป็นเหมืองถ่านหินประเภทซับบิทมู นิ สั แต่ มีค่าความร้อนต�่ำกว่าที่โรงไฟฟ้ากระบี่ใช้ เนื่องจากโรงไฟฟ้า กระบี่มีข้อจ�ำกัดเรื่องการขนส่งถ่านผ่านร่องน�้ำตื้น จึงต้อง เลือกใช้ถ่านซับบิทูบินัสที่มีค่าความร้อนที่สูง เพื่อให้โรงไฟฟ้า ใช้ปริมาณถ่านหินลดลง ซึง่ จะช่วยลดปริมาณเรือขนส่งถ่านหิน

ดังนั้น ถ่านหินจากเหมืองที่บริษัท EGATi ไปซื้อ ไม่สามารถน�ำมาใช้กับโรงไฟฟ้ากระบี่ได้ การลงทุนของ EGATi ในเหมืองถ่านหินต่างประเทศนัน้ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการท�ำธุรกิจไฟฟ้า เพราะยังมีประเทศอืน่ อีกมากมายที่ยังสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน เช่น เวียดนาม ที่บริษัท EGATi ก�ำลังไปลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน เป็นต้น

Q A

ภาคใต้เป็นพื้นที่ที่ปลูกปาล์ม เหตุใดจึงไม่ใช้น�้ำมันปาล์ม เป็นเชื้อเพลิงแทนถ่านหิน กฟผ. สนับสนุนการใช้ปาล์มผลิตไฟฟ้า โดยได้ด�ำเนิน การปรับปรุงอุปกรณ์อุ่นน�้ำมันปาล์มที่โรงไฟฟ้ากระบี่ เพื่อให้ สามารถเผาไหม้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นและเริ่มรับซื้อน�้ำมัน ปาล์มดิบ มาตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2556 และเพื่อเป็นการช่วย เหลือชาวสวนปาล์มในระยะยาว - ในเดือนตุลาคม 2557 กฟผ. ได้เริ่มปรับปรุงอุปกรณ์ โรงไฟฟ้ากระบี่ ให้สามารถเพิม่ สัดส่วนน�ำ้ มันปาล์มดิบจากร้อย ละ 10 เป็นร้อยละ 25 ท�ำให้สามารถใช้นำ�้ มันปาล์มดิบได้สงู สุด 18 ตันต่อชั่วโมง

รถขนส่งน�้ำมันปาล์มมาที่โรงไฟฟ้ากระบี่

- การใช้น�้ำมันเตาเพิ่มขึ้นหรือน�ำน�้ำมันปาล์มดิบมา ผสมมากขึ้น ทั้ง 2 กรณี มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ยสูงกว่า 2 เท่า ตัว ท�ำให้คา่ ใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ ขึน้ จากแผนการผลิตเดิม จะถูกส่งผ่าน ไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าทางค่าเอฟที

- ศักยภาพการใช้นำ�้ มันปาล์มดิบของโรงไฟฟ้ากระบี่ คิดเป็น 1 ใน 4 ของก�ำลังการผลิตน�ำ้ มันปาล์มดิบของจังหวัด กระบี่ หรือร้อยละ 8 ของก�ำลังการผลิตของประเทศ - ในปี 2556-2558 กฟผ. เคยรับซื้อเพื่อพยุงราคาใน ช่วงราคาตกต�่ำกว่า 25 บาทต่อลิตร ปัจจุบัน น�้ำมันปาล์ม ดิบมีราคา 31-32 บาทต่อลิตร การน�ำไปผลิตเพื่อการบริโภค จึงมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงกว่าน�ำมาใช้ผลิตไฟฟ้า

10 8 6 4 2 0

12

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


Q A

4 การขนส่งถ่านหินกระทบ การท่องเที่ยวหรือไม่ เพื่อลดผลกระทบจากการขนส่งถ่านหิน โดยไม่ต้อง ขุดลอกร่องน�ำ้ โครงการโรงไฟฟ้ากระบีจ่ งึ ได้ลดขนาดเรือขนส่ง ถ่านหินลง โดยจะใช้เรือบรรทุกถ่านหินเป็นเรือระบบปิดขนาด 10,000 เดทเวทตัน บรรทุกถ่านหินล�ำละประมาณ 8,000 ตัน จากต่างประเทศ วันละไม่เกิน 2 ล�ำ

นอกจากนี้ งานวิ จั ย จากคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ยืนยันว่า การเดินเรือขนส่งน�้ำมันเตาส�ำหรับโรงไฟฟ้ากระบี่ ตลอด 10 กว่าปีผ่านมา ไม่สร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศและ แนวปะการัง

เส้นทางการเดินเรือขนส่งถ่านหินใช้เส้นทางเดียวกับ เรือขนส่งน�้ำมันเตาที่ห่างจากแหล่งท่องเที่ยว แนวปะการัง และจุดด�ำน�้ำ เกินกว่า 10 กิโลเมตรขึ้นไป มีเพียง 2 จุด ที่อยู่ห่าง 4-6 กิโลเมตร

ระยะห างระหว างเส นทางเดินเร�อขนส งถ านหิน กับแหล งท องเที่ยวของ จ.กระบี่ ส วนใหญ เกินกว า 10 กิโลเมตร อ.เหนือคลอง

จ.กระบี่

หาดยาว

อ.คลองท่อม

เกาะศรีบอยา

เกาะปู

.

9KM

M. เกาะพีพีดอน 13K

เกาะพีพี

อ.เกาะลันตา

Q A

16KM. 13KM. เกาะบิด๊ะนอก

เกาะพีพีเล

เกาะลันตา

.

ินเร�อ างเด

เกาะบิด๊ะใน

เส นท

15KM.

10KM

.

ถ านห ขนส ง

8KM

.

ิน

เกาะห้า

ues tion ns wer

เกาะปอ

17KM

10KM.

เกาะไหง

M.

14K

M.

36K

หินม่วง

M.

35K

หินแดง

.

เกาะรอกใน 6KM

เกาะรอกนอก

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 13


Q A

เรือขนส่งถ่านหินจะกระทบต่อ แหล่งหญ้าทะเลหรือไม่ เส้นทางเดินเรือขนส่งถ่านหินเป็นเส้นทางเดียวกับ ร่องน�้ำปากคลองศรีบอยา ไม่เกิน 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพื่อ เรือขนส่งน�้ำมันเตาของโรงไฟฟ้ากระบี่ปัจจุบัน ซึ่งไม่ได้ ลดผลกระทบจากคลืน่ และการกวนตะกอนในบริเวณนัน้ รวม แล่นผ่านแนวหญ้าทะเล โดยจ�ำกัดความเร็วของเรือขณะเข้าสู ่ ทัง้ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางเรือด้วย

ท่าเทียบเรือบ้านคลองรั้ว ของโรงไฟฟ้ากระบี่ปัจจุบัน

14

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


Q A

ถ้าเรือถ่านหินล่ม จะกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมหรือไม่

ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุเรือล่ม ถ่านหินจะถูกจ�ำกัดให้ อยู่ภายในเรือ ไม่สามารถกระจายออกนอกเรือได้ เนื่องจาก เรือบรรทุกถ่านหินได้ออกแบบให้มีฝาปิดมิดชิด ก่อนหน้านี้ เคยเกิดกรณีเรือขนส่งถ่านหินของเอกชน ล่มบริเวณโค้งบางปู ปากแม่น�้ำเจ้าพระยา กรมเจ้าท่าชี้แจงว่า ถ่านหินมีองค์ประกอบหลักเป็นคาร์บอน เมือ่ อยูใ่ นน�ำ้ จะไม่มี ปฏิกิริยาทางเคมีเกิดขึ้นและไม่ท�ำให้เกิดปัญหาน�้ำขุ่น

โรงไฟฟ้าถ่านหินจิมาห์ และท่าเทียบเรือในประเทศมาเลเซีย

ส่วนก�ำมะถันที่มีอยู่ในถ่านหินจะเกิดก๊าซซัลเฟอร์ ส่วนการกู้เรือจะใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด�ำเนินการตาม ไดออกไซด์ ก็ ต ่ อ เมื่ อ เกิ ด การเผาไหม้ เ ท่ า นั้ น นอกจากนี ้ หลักมาตรฐานสากล มีตวั อย่างการศึกษาผลประทบหลังจากทีม่ เี รือบรรทุกถ่านหิน ล่ม บริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในปี 2543 จากการตรวจ วิเคราะห์น�้ำทะเลในบริเวณนั้น ไม่พบมลสารหรือโลหะหนัก ปนเปื้อนในน�้ำทะเล

Q A

เรือถ่านหินมีโอกาสไหม้ กลางทะเลหรือไม่ กฟผ. ได้กำ� หนดมาตรการป้องกันไฟไหม้เรือขนส่งดังนี้

1. ฉี ด เคลื อ บที่ ผิ ว ถ่ า นหิ น เพื่ อ รั ก ษาคุ ณ ภาพ ถ่านหิน ป้องกันการฟุ้งกระจาย และป้องกันการลุกไหม้ 2. ออกแบบให้เรือบรรทุกถ่านหินกระบี่ กฟผ. มีมาตรฐานด้านความปลอดภัย ป้องกันการรั่วไหลตามหลัก สากล

เส นทาง

นอกจากนี้ การขนส่งถ่านหินโดยเรือบรรทุก เช่นจาก ประเทศอินโดนีเซียมีโอกาสเกิดการลุกไหม้นอ้ ยมาก เนือ่ งจาก ถ่านหินจะสามารถลุกติดไฟได้เอง เมื่อเวลาผ่านไปประมาณ 14-20 วัน หรืออุณหภูมติ อ้ งถึงจุดติดไฟคือประมาณ 90 องศา เซลเซียส ภายใต้การกองไว้โดยไม่มีการจัดการใดๆ แต่ระยะทางและระยะเวลาการเดินเรือจากประเทศ อินโดนีเซียมายังท่าเทียบเรือบ้านคลองรั้วใช้เวลา 6-9 วัน

ระยะทาง ระยะเวลา (ไมล ทะเล)

(วัน)

South Sumatra

1,310

6.02

East Kalimantan

1,861

8.62 ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 15


Q A

แนวสายพานลำ�เลียง ส่งผลกระทบต่อป่าชายเลนหรือไม่ แนวสายพานล�ำเลียงถ่านหิน ขนส่งถ่านหินจากท่า เทียบเรือบ้านคลองรัว้ ไปยังอาคารเก็บถ่านหินภายในโรงไฟฟ้า ระยะทาง 9 กิโลเมตร เป็นแบบระบบปิดทั้งหมด

ส�ำหรับสายพานล�ำเลียงช่วงที่ผ่านป่าชายเลนมีการ ก่อสร้างอุโมงค์ลอดใต้พนื้ ดินเป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร เพือ่ ลด ผลกระทบต่อพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนซึง่ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีช่ มุ่ น�ำ้ (Ramsar Site) และส่วนระยะทางที่เหลือ 7 กิโลเมตรจะเป็นสายพาน บนพื้นดิน ซึ่งจะท�ำการก่อสร้างถนนคู่ขนานสายพาน เพื่อให้

ชุมชนได้ใช้ประโยชน์ รวมทั้งก่อสร้างก�ำแพงกันเสียงบริเวณ ที่ผ่านชุมชน และปลูกต้นไม้ตลอดแนว โดยการใช้เส้นทางดัง กล่าวจะมีการชี้แจงและสร้างความเข้าใจ โดยจ่ายค่าทดแทน และการเยียวยาให้แก่ราษฎรที่อยู่ในแนวสายพานดังกล่าว เมือ่ ถ่านหินเดินทางตามสายพานมาถึงยังโรงไฟฟ้าแล้ว ถ่านหินจะถูกเก็บไว้อย่างมิดชิดในอาคารเก็บถ่านหินแบบปิด มีหลังคาและผนังด้านข้าง มีระบบดูแลป้องกันไฟไหม้และฝุ่น

ขั้นตอนการลำเลียงถ านหินจากท าเทียบเร�อ มายังโรงไฟฟ าถ านหินกระบี่ 1 ลำเลียงถ านหินจากเร�อ เข าสู สายพานลำเลียง

2 ถ านหินถูกลำเลียง ภายใต สายพานระบบป ด

3 สายพานลำเลียงถ านหิน ระบบป ดบนพื้นดิน จะก อสร างถนนคู ขนาน และบางส วนทำอุโมงค ลอดป าชายเลน

4 ถ านหินจะถูกเก็บใน อาคารเก็บถ านหิน ระบบป ด

16

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


5 การมีส่วนร่วมของประชาชน และความโปร่งใส

Q A

การดำ�เนินงาน EIA/EHIA มีความชอบธรรมหรือไม่ กฟผ. เปิดกว้างให้ชุมชนและประชาชนแสดงความคิด เห็นประกอบการจัดท�ำรายงาน EIA และ EHIA ประกอบด้วย

• ในส่วนโครงการท่าเทียบเรือบ้านคลองรั้ว ได้จัด รับฟังความคิดเห็นของประชาชนจ�ำนวน 3 ครั้ง ได้แก่

• การจัดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน Pre Public เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2555 มีผู้เข้าร่วม ประชุม 646 คน

- ค.1 เมื่อวั​ันที่ 9 มี​ีนาคม 2557 มี​ีผู้เข้าร่วมประชุม 940 คน

• การรับฟังความเห็นของผู้มีส่วนได้เสียจ�ำนวน 3 ครั้ง ได้แก่

- ค.2 เมื่อวันที่ 28 เมษายน - 22 สิงหาคม 2557 มีผู้เข้าร่วมประชุม 332 คน

- ค.1 เมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม 2555 มีผเู้ ข้าร่วมประชุม 638 คน

- ค.3 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2557 มีผู้เข้าร่วม ประชุม 1,505 คน

ทั้งนี้ ประชาชนสามารถติดตาม และตรวจสอบร่าง - ค.2 เมื่อวันที่ 10-26 พฤศจิกายน 2555 มีผู้เข้า EHIA และ EIA ได้ที่ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร กฟผ. และทางเว็บไซต์ ร่วมประชุม 903 คน กฟผ. www.egat.co.th - ค.3 เมือ่ วันที่ 12 ตุลาคม 2557 มีผเู้ ข้าร่วมประชุม 1,636 คน

การจัดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 17


ทำ�ไมจึงเปิดประมูลก่อสร้าง การก่อสร้างโรงไฟฟ้ากระบี่ ก่อนการอนุมัติ EHIA

Q A

เนื่องจาก กระบวนการการคัดเลือกผู้รับเหมาเพื่อ ออกแบบ จัดหาอุปกรณ์ และก่อสร้างโรงไฟฟ้าต้องใช้เวลานาน เกือบ 2 ปี และต้องใช้ระยะเวลาในการสร้างอีกประมาณ 4 ปี ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานตามแผน PDP 2015 กฟผ. จึงได้เปิดการประกวดราคา คูข่ นานกับการจัดท�ำ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ (EHIA)

ซึง่ กฟผ. ได้ระบุเงือ่ นไขการสงวนสิทธิก์ ารออกเอกสาร สนองรับราคา (Letter of Intent - LOI) เมื่อโครงการฯ ได้ รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ซึ่งหมายความว่า หาก โครงการไม่ได้รับการอนุมัติถือว่า การประกวดราคาดังกล่าว จะไม่มีผลผูกพันใดๆ

การเปิดซองประกวดราคาโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2559

“หากโครงการไม่ได้รับการอนุมัติ จากคณะรัฐมนตรีถือว่า การประกวดราคาดังกล่าวจะไม่มีผลผูกพันใดๆ” “ผมเป็นคนพื้นที่ที่นี่มาตั้งแต่เกิด และเป็นหนึ่งในคนที่ ลงชื่อสนับสนุนโรงไฟฟ้ากระบี่ ไม่รู้เหมือนกันว่า เขาค้านกัน ท�ำไม เพราะทุกวันไฟฟ้ามันไม่พอใช้ เมื่อก่อนยังต้องดึงไฟ จากมาเลเซียมาใช้” นายแดง นาคหวัง สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ต.ปกาสัย จ.กระบี่

18

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


Q A

6 อะไรคือ โรงไฟฟ้าถ่านหิน เทคโนโลยีสะอาด ตามนิยามของ IEA (International Energy Agency) หมายถึง โรงไฟฟ้าถ่านหินที่ใช้เทคโนโลยีประสิทธิภาพสูง ปล่อยก๊าซคารบ์อนไดออกไซด์ในระดับต�่ำ รวมทั้งสามารถ ก�ำจัดมลสารต่างๆ อาทิ ฝุน่ ละออง ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ หรือ ดักจับโลหะหนัก ดั ง นั้ น โรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น เทคโนโลยี ส ะอาดกระบี่ ที่ใช้เทคโนโลยี Ultra Supercritical ซึ่งมีประสิทธิภาพ การเผาไหม้ สู ง ประหยั ด การใช้ เชื้ อ เพลิ ง และช่ ว ยลด

โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ จะใช้เทคโนโลยีที่ดี ทีส่ ดุ ในเชิงพาณิชย์ โดยระบบเผาไหม้และหม้อไอน�ำ้ เทคโนโลยี

การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ระบบก�ำจัดมลสาร ประกอบด้ ว ย ระบบก� ำ จั ด ก๊ า ซออกไซด์ ข องไนโตรเจน (SCR) ระบบดักจับฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิต (ESP) ระบบก�ำจัด ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (FGD) และระบบดักจับสารปรอท (ACI) จึงถือเป็นโรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาดตาม มาตรฐานสากล มีการใช้งานกันแพร่หลายในประเทศต่างๆทัว่ โลก อาทิ 35 ประเทศในกลุ่ม OECD ออสเตรเลีย จีน เกาหลี ญี่ปุ่น มาเลเซีย

แบบ Ultra Supercritical ที่เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ ลด CO2 ได้ร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับระบบเดิม (Subcritical)

ปร�มาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ของเทคโนโลยีโรงไฟฟาตางๆ กรัม

ปร�มาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ตอการผลิตไฟฟา 1 หนวย

1,200

Subcritical

ปลอย CO2 ประมาณ 1,100 กรัม/ไฟฟา1หนวย

1,000

Ultra supercritical

Supercritical

ปลอย CO2 ประมาณ 800 กรัม/ไฟฟา1หนวย

advanced-USC ไมมี

800 600

Carbon Capture Storage (CCS)

อยูระหวางการพัฒนา นำมาใชในเช�งพาณิชย

400

มี

200 0

Carbon Capture Storage (CCS)

25

30

35 40 45 ประสิทธิภาพของโรงไฟฟา (%)

50

จับ CO2 ได 55

90% ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 19


Q A

ต้นทุนค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน มีราคาแพง แล้วค่าไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน จะถูกได้อย่างไร แม้วา ่ โรงไฟฟ้าถ่านหินจะมีคา่ ก่อสร้างสูงกว่าโรงไฟฟ้า ทีใ่ ช้กา๊ ซธรรมชาติ ทว่า ต้นทุนค่าเชือ้ เพลิงถูกกว่าโรงไฟฟ้าก๊าซ ท�ำให้ต้นทุนค่าไฟฟ้าตลอดอายุโครงการของโรงไฟฟ้าถ่านหิน ถูกกว่าก๊าซธรรมชาติ ประกอบกับหากเชือ้ เพลิงมีราคาผันผวน

ค าก อสร าง

โรงไฟฟ า และ

ค าเช�้อเพลิง ค าเช�้อเพลิง (EP) ค าก อสร าง โรงไฟฟ า (AP)

5.64

บาท/กิโลวัตต

5 4 3

2.67 1.31

2 1

(50%)

3.06 2.58

(80%)

1.36

(50%) 0.48

0

(20%) โรงไฟฟ าถ านหิน

--------------------

ต นทุน

เช่น ราคาถ่านหินและก๊าซธรรมชาติเพิม่ ขึน้ 1 เท่าตัวจะกระทบ ค่าไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน ร้อยละ 66 แต่จะกระทบค่า ไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าก๊าซถึงร้อยละ 91

โรงไฟฟ าเช�้อเพลิง ก าซธรรมชาติ

ตาม PDP2015

5.16

(91.5%)

3.98 2.62

(66%)

1.36

0.48

(37%)

(8.5%)

โรงไฟฟ าถ านหิน

โรงไฟฟ าเช�้อเพลิง ก าซธรรมชาติ

กรณีที่ราคาเช�้อเพลิง เพิ่มข�้นหนึ่งเท าตัว

โรงไฟฟ้ากระบี่จะใช้เทคโนโลยี โรงไฟฟ้าของประเทศจีน จริงหรือ

Q A

2. หม้ อ ไอน�้ ำ และอุ ป กรณ์ ก� ำ จั ด มลสารนั้ น เป็ น ผลจากการประกวดราคาทีบ่ ริษทั จีนเสนอราคาต�ำ่ ทีส่ ดุ โครงการโรงไฟฟ้ากระบีจ่ ะใช้อปุ กรณ์หลักทีเ่ ป็นเทคโนโลยีจาก เทคโนโลยีของสหรัฐ ซึง่ ผลิตในจีน ทว่า มีการควบคุมมาตรฐาน โดยวิศวกรจากสหรัฐ ซึง่ เป็นรูปแบบเดียวกับการทีจ่ นี เป็นฐาน 2 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐ และเยอรมนี ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ของ 1. เครื่ อ งผลิ ต ไฟฟ้ า แบบกั ง หั น ไอน�้ ำ (Turbine บริษัทชั้นน�ำต่างๆ ทั่วโลก Generator) เป็นเทคโนโลยีจากเยอรมนี และผลิตในเยอรมนี

20

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


Q

เหตุใดจึงไม่พาสื่อมวลชนไปดู โรงไฟฟ้าถ่านหินจีน แต่กลับไป ดูงานในประเทศที่ไม่ได้มาสร้าง โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่

A

การน�ำคณะสื่อมวลชนไปดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น และ ยุ โรปนั้ น เพื่ อ ไปดู เ ทคโนโลยี ข องโรงไฟฟ้ า ที่ จ ะน� ำ มาใช้ ใ น ประเทศไทย และดูตัวอย่างการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เป็นต้นแบบที่ดีของโลก ซึ่งสื่อมวลชนได้ประจักษ์ว่า โรง ไฟฟ้าถ่านหินในญี่ปุ่น และยุโรปไม่ได้ส่งผลกระทบกับวิถีชีวิต และสิ่งแวดล้อมโดยรอบ

โรงไฟฟ้าถ่านหิน GHK Mannheim ก�ำลังผลิตรวม 2,586 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ใจกลางเมืองแมนไฮม์ ในเยอรมนี

โรงไฟฟ้าถ่านหินมัตซึอุระ จังหวัดนางาซากิ ประเทศญี่ปุ่น ก�ำลังผลิตรวม 2,000 เมกะวัตต์

การตกปลาเป็นงานอดิเรกของชาวเมืองมัตซึอุระ

โรงไฟฟ้ากระบี่สามารถใช้เชื้อ เพลิงชีวมวลร่วมกับถ่านหิน ได้หรือไม่

Q A

โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบีแ่ ห่งใหม่ออกแบบให้ใช้ ชีวมวลอัดแท่ง 2% ควบคู่ไปกับถ่านหินได้ ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 21


ไอน�ำระเหย

7 การใช้น�้ำของโรงไฟฟ้า มีผลกระทบหรือไม่

หอหล อเย็น

การดูดน�้ำไปใช้ระบายความร้อน ในโรงไฟฟ้าจะกระทบต่อสัตว์น�้ำ วัยอ่อนหรือไม่

Q A

โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ได้ออกแบบให้มีคลอง ชักน�้ำ โดยจะไม่สูบน�้ำโดยตรงจากคลองปกาสัย ทําให้ลด ความเร็วในการสูบน�้ำลงเหลือ 0.3 เมตร/วินาที ซึ่งสัตว์น�้ำวัย อ่อน และสัตว์น�้ำโตเต็มวัย สามารถว่ายหนีออกไปได้

น�้ำร้อนที่ปล่อยลงสู่แหล่งน�้ำ จะกระทบต่อระบบนิเวศ และมีสารปนเปื้อนหรือไม่

Q A

คลองชักน�ำ

อ างรับน�ำหอคอยหล อเย็น

เคร�่องควบแน น

คลอง ปกาสัย

บ อพักน�ำทิ้ง

นอกจากนี้ ยังได้ออกแบบให้มีตะแกรง 2 ชั้น ขนาด ช่องเปิด 5 และ 1 เซนติเมตร เพื่อป้องกันสัตว์น�้ำที่อาจถูกสูบ ติดเข้ามา

Q A

น�้ำทิ้งจากโรงไฟฟ้าจะปนเปื้อน แหล่งน�้ำธรรมชาติหรือไม่

น�้ำจากระบบหล่อเย็น เมื่อผ่านจากหอหล่อเย็นแล้ว น�้ำจากกระบวนการผลิต และน�้ำทิ้งจากการอุปโภคจะพักไว้ที่อ่างเก็บน�้ำ 1 วัน เพื่อลดอุณหภูมิให้ใกล้เคียง บริโภคจะน�ำไปบ�ำบัด และน�ำกลับมาใช้ใหม่ภายในโรงไฟฟ้า ธรรมชาติ ก่อนปล่อยสู่คลองปกาสัย ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อ โดยไม่ระบายออกสู่ภายนอกพื้นที่โรงไฟฟ้า ระบบนิเวศในแหล่งน�้ำ

น�ำในโครงการโรงไฟฟ าถ านหินกระบี่ คลองปกาสัย

ใช น�ำจากคลองปกาสัย

1

น�ำที่ใช ในระบบหล อเย็น

อ างเก็บน�ำ 1 วัน

22

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่

2

น�ำที่ใช ในโรงไฟฟ า

บำบัด


8 การดูแลสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิต

Q A

โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่จะสร้าง ผลกระทบต่อพื้นที่ชุ่มน�้ำหรือ แรมซาร์ไซต์หรือไม่ ตามพันธกรณีอนุสญ ั ญาแรมซาร์ (พืน้ ทีช่ มุ น�ำ้ ทีม่ คี วาม ส�ำคัญที่ได้รับการขึ้นทะเบียน) อนุญาตให้มีการใช้ประโยชน์ โดยระบุ ว ่ าจะต้ อ งมี การศึ ก ษาผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มตาม กฎหมาย เพื่อพิจารณาการใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน�้ำอย่าง ชาญฉลาด

ตัวอย่างโรงไฟฟ้าถ่านหินทันจุงบิน ประเทศมาเลเซีย ก�ำลังผลิต 2,100 เมกะวัตต์ โรงแรกจ่ายไฟฟ้าในปี 2549 และ สร้างเพิม่ อีก 2 โรง ล่าสุดจ่ายไฟฟ้าในปี 2559 โดยไม่มผี ลกระ ทบต่อพืน้ ทีแ่ ละการขึน้ ทะเบียนแรมซาร์ไซต์ 3 แห่ง ทีต่ งั้ อยู่ โดยรอบคือ Palau Kukup , Tanjung Pai และ Sungai Pulai

สถานที่ตั้งของโรงไฟฟ าถ านหินทันจ�งบิน ประเทศมาเลเซ�ยกับแรมซาร ไซต

Sungai Pulai

โรงไฟฟ าถ านหินทันจ�งบิน กำลังผลิต 2,100 เมกะวัตต แรมซาไซต Palau Kukup Tanjung Pai

ที่มา : http://www.ramsar.org/

ส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้ากระบี่ ได้ก�ำหนดมาตราการ อนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน�้ำและป่าชายเลน รวมทั้งการจัดท�ำรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) เพื่อขอความเห็น ชอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส�ำนักงานนโยบายและ

แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง กรมประมง ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบก่อน เข้าด�ำเนินการในแรมซาร์ไซต์

สถานที่ตั้งของโครงการ โรงไฟฟ าถ านหินกระบี่กับแรมซาร ไซต

แรมซาไซต

โครงการโรงไฟฟ าถ านหินกระบี่ กำลังผลิต 800 เมกะวัตต

ที่มา : http://www.ramsar.org/

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 23


โรงไฟฟ้าถ้่านหินกระบี่จะทำ�ให้ เกิดมลภาวะจากฝุ่น PM 2.5 หรือไม่

Q A

โรงไฟฟ้ า กระบี่ มี เ กณฑ์ ค วบคุ ม มลสารจากปล่ อ ง จากการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศใน โรงไฟฟ้าดีกว่ามาตราฐานของประเทศไทย และเป็นไปตาม การจัดท�ำรายงาน EHIA พบว่า ความเข้มข้นของฝุ่นละออง มาตรฐานสากล โดยได้ออกแบบให้ติดตั้งอุปกรณ์ดักฝุ่นที่มี ขนาดเล็กมาก หรือ PM2.5 ในบรรยากาศจะมีค่าสูงสุดเฉลี่ย ประสิทธิภาพสูง สามารถดักฝุ่นได้มากกว่าร้อยละ 99 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 13.20 ไมโครกรัม/ลบ.ม. ซึ่งจะอยู่ภายใต้ เกณฑ์แนะน�ำขององค์การอนามัยโลก (WHO) คือไม่เกิน 25 ไมโครกรัม/ลบ.ม.

ขณะเดียวกัน โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบีย่ งั มีการ ควบคุมค่าฝุ่นละออง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และออกไซด์ของ

24

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่

ไนโตรเจน จากปล่องโรงไฟฟ้าดีกว่าค่ามาตรฐานของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


การเผาถ่านหินจะทำ�ให้ มีโลหะหนักออกสู่สิ่งแวดล้อม จริงหรือไม่

Q A

โรงไฟฟ้าถ่านหิน นับเป็นอุตสาหกรรมที่มีอุปกรณ์ ทันสมัยที่สุด ในการควบคุมโลหะหนักและสารปนเปื้อนใน กระบวนการผลิต โดยโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ได้ ก�ำหนดคุณสมบัติของถ่านหินน�ำเข้าให้มีสารเจือปน (โลหะ หนัก) ในปริมาณต�่ำมาก

และเพิ่มประสิทธิภาพในการดักจับไอปรอท โดยการ ติดตัง้ อุปกรณ์ดกั จับสารปรอท (Activated Carbon Injection : ACI) เพิ่มเติม

นอกจากนี้ จากผลการตรวจวั ด โลหะหนั ก ในเถ้ า ถ่านหินประเภทบิทูมินัส หรือซับบิทูมินัสพบว่ามีปริมาณ ส�ำหรับโลหะหนักทีจ่ ะปนเปือ้ นในอากาศในรูปของไอ โลหะหนักน้อยมาก จะมีอยูเ่ พียงชนิดเดียวคือ ปรอท (Hg) โครงการได้มกี ารก�ำหนด คุณสมบัติของถ่านให้มีปริมาณปรอทในถ่านน้อยมาก ไม่เกิน 0.1 มิลลิกรัม ต่อถ่านหิน 1 กิโลกรัม การระบายสารปรอทจากปล องของโรงไฟฟ าถ านหินกระบี่

แบบไม ติดตั้ง ACI และติดตั้ง ACI ไม ติดตั้ง ACI

0.0080

มิลลิกรัม/ลูกบาศก เมตร

ติดตั้ง ACI

0.0016

มิลลิกรัม/ลูกบาศก เมตร

*ค ามาตรฐานคุณภาพอากาศที่ระบายออกจากแหล งกำเนิดของปรอทอยู ที่ 2.4 มิลลิกรัม/ลูกบาศก เมตร*

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 25


Q A

โรงไฟฟ้าจัดการขี้เถ้า และยิปซัมอย่างไร การออกแบบบ่อทิ้งขี้เถ้าและยิปซัมของ กฟผ. ได้ให้ ความสําคัญและคํานึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ซึ่งได้ ออกแบบบ่อเป็นระบบปิด โดยไม่มีการระบายน�้ำภายในบ่อ ออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก

อย่างไรตาม ในกรณีที่พบว่าเถ้าหรือยิปซัมแห้งและมี โอกาสฟุ้งกระจาย กฟผ. ได้กําหนดให้มีมาตรการฉีดพรมน�้ำ ในบ่อเพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่นเถ้าและยิปซัม รวม ถึงการกําหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขการฟุ้งกระจายของ เถ้าจากการขนส่งด้วยรถบรรทุก ดังนี้

- ตรวจวิเคราะห์น�้ำชะ เดือนละ 1 ครั้ง

- กําหนดให้ฉีดพรมน�้ำในพื้นที่ของบ่อทิ้งเถ้าที่มีการ ฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง

- ทําการปลูกต้นไม้ยืนต้น 3 ชั้น เรือนยอด สลับ ฟันปลา หรือกําแพงกันลม

- ขนส่งโดยมีวัสดุปกคลุมอย่างมิดชิด

- จํากัดความเร็วของยานพาหนะในพื้นที่โครงการ ไม่เกิน 40 กิโลเมตร/ชั่วโมง

- พื้นที่บ่อฝังกลบถูกออกแบบให้มีระบบป้องกันการ ซึมผ่านของน�้ำชะโดยปูพื้นด้วยพลาสติกความหนา แน่นสูง (HDPE) หนา 1.5 มิลลิเมตร เพื่อกันน�้ำซึม ลงดิน

นอกจากนี้ โครงการได้พิจารณาเพิ่มเติมมาตรการ ติดตามตรวจสอบด้านการจัดการของเสีย โดยกําหนดให้มี การสุ่มตรวจองค์ประกอบของเถ้าหนัก เถ้าลอย รวมทั้งยิปซัม ปีละ 1 ครัง้ ก่อนน�ำไปฝังกลบหรือน�ำกลับไปใช้ประโยชน์ หรือ - มี ร ะบบกรองโดยใช้ แ ผ่ น ใยสั ง เคราะห์ และหิ น ส่งกําจัดอย่างถูกวิธีต่อไป คัดขนาด

บ อทิ้งเถ า

ของโครงการโรงไฟฟ าถ านหินกระบี่ สายพานแบบป ดลำเลียงเถ าหนัก เถ าถ านหิน

น�ำในบ อทิ้งเถ า ระดับก นบ อ

พลาสติกความหนาแน นสูง (HDPE) หนา 1.5 มม.

100 ซม.

ดินเหนียว

พลาสติกมีความหนาแน นสูง (HDPE) ดินเหนียว

ระบบระบายน�ำใต ดิน

น�ำก นบ อเถ าหนัก บ อบำบัดน�ำ

“ทัว่ โลกมีการผลิตถ่านหินเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะจีนมีอตั รา การผลิตถ่านหินทีเ่ พิม่ มาก ประเทศอืน่ ๆรวมกันแล้วก็มกี ารผลิตทีเ่ พิม่ ขึ้นเช่นกัน ดังนั้นการที่มีคนบอกว่าบอกว่าทั่วโลกเขาเลิกใช้ถ่านหิน เพื่อผลิตไฟฟ้าจึงเป็นเรื่องเท็จ” รศ.ดร.ภิญโญ มีช�ำนะ นักวิชาการอิสระด้านถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด และอดีตอาจารย์และหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และ ปิโตรเลียม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

26

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


9 สิทธิประโยชน์ของชุมชน

รอบโรงไฟฟ้า

ชุมชนใดบ้างที่อยู่ในพื้นที่ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์จาก กองทุนรอบโรงไฟฟ้า

Q A

พื้นที่ประมงซึ่งอยู่ในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า

ตามมติของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 ให้ขยายเขตพืน้ ทีก่ องทุน พัฒนาชุมชนรอบโรงไฟฟ้าให้เกินกว่ารัศมี 5 กิโลเมตร กล่าว

คือ จากเดิมครอบคลุมพื้นที่เพียง 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลปกาสัย และคลองขนาน เพิ่มเป็นให้ครอบคลุมพื้นที่ตลอดเส้นทาง ขนส่งถ่านหิน ในต�ำบลเกาะศรีบอยา และตลิ่งชัน โดยคาดว่า จะท�ำให้ประชาชนในพื้นที่อีกประมาณ 3,320 ครัวเรือนได้รับ ผลประโยชน์จากกองทุน

“ผลประโยชน์ของชุมชน

ตลอดอายุโครงการ 30 ปี รวมกว่า 3,600 ล้านบาท”

Q ประโยชน ที่ชุมชนจะได รับ A สิทธิประโยชน์ที่จะได้มีอะไรบ้าง

เง�นกองทุนพัฒนาไฟฟ า ระหว างก อสร าง 4 ป รวมเป นเง�น 160 ล านบาท รายได จากการผลิตไฟฟ าตลอดอายุโครงการ 30 ป

รวมกว า 3,600 ล านบาท

โรงไฟฟ ากระบี่จะเป นแหล งท องเที่ยว

และแหล งเร�ยนรู ด านพลังงานและการจัดการสิ่งแวดล อม

ชุมชนได ประโยชน จากการสร างถนน คู ขนานกับสายพานลำเลียงถ านหิน

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 27


10 สรุปผลกระทบของโรงไฟฟ้าถ่านหิน และมาตรการป้องกัน ผลกระทบ การเผาไหม้ ทำให เกิดฝุ น ก าซมลสาร และโลหะหนัก สู บรรยากาศ

• กำหนดคุณสมบัติถ านหินนำเข าให มีสารเจ�อปน โลหะหนัก ในปร�มาณต่ำมาก • ติดตั้งอุปกรณ ดักฝุ น (ESP) และก าซมลสาร • ติดตั้งอุปกรณ ดักจับสารปรอท (ACI) • ติดตั้งเคร�่องกำจัดก าซซัลเฟอไดออกไซด (FGD) • ติดตั้งเคร�่องกำจัดก าซออกไซด ของไนโตรเจน (SCR) • เทคโนโลยีเผาไหม แบบ LOW NOx Burner ช วยลดการ ปล อยก าซออกไซด ของไนโตรเจน • ควบคุมฝุ นและมลสารจากปล อง โดยกำหนดเกณฑ ควบคุม ตามมาตรฐานสากล ซ�่งดีกว ามาตรฐานของประเทศไทย • ตรวจวัด และติดตามคุณภาพอากาศรอบพื้นที่โรงไฟฟ า อย างสม่ำเสมอ

เกิดก าซคาร บอนไดออกไซด

• ใช เทคโนโลยี Ultra-supercritical ทำให ลดการใช เช�้อเพลิง และลดก าซคาร บอนไดออกไซด ได ถึงร อยละ 20 เมื่อเทียบกับ เทคโนโลยีเดิม (Subcritical)

ขี้เถ้าและยิปซั่ม

• ออกแบบพื้นที่บ อฝ งกลบข�้เถ าและยิปซั่ม ให มีระบบป องกัน น�ำรั่วซ�มลงดิน โดยปูพื้นด วยแผ นโพลีเอทิลีน ชนิดความ หนาแน นสูง (HDPE) หนา 1.5 มิลลิเมตร • ไม มีการระบายน�ำภายในบ อข�้เถ า ออกสู ภายนอก

น�ำจากบ อทิ้งข�้เถ า จะปนเป อน น�ำใต ดินและแหล งน�ำธรรมชาติ

การใช้น้ำ สัตว น�ำวัยอ อนจะถูดดูดเข าไป ในระบบหล อเย็น

28

มาตรการป้องกัน

• ออกแบบให มีคลองชักน�ำ โดยไม สูบน�ำโดยตรงจากคลอง ปกาสัย ช วยลดความเร็วในการสูบน�ำเหลือ 0.3 เมตร/ว�นาที ซ�่งสัตว น�ำวัยอ อนสามารถว ายหนีได • ปลายคลองชักน�ำมีตะแกรง 2 ชั้น ขนาดช องเป ด 5 และ 1 เซนติเมตร ลดปร�มาณสัตว น�ำที่อาจถูกสูบติดเข ามาให น อย ที่สุด

ระบบหล อเย็นจะปล อยน�ำร อน สู ภายนอก

• ควบคุมอุณหภูมิน�ำระบายความร อนที่ปล อยออกคลอง ปกาสัยให อุณหภูมิใกล เคียงธรรมชาติ

การใช น�ำของโรงไฟฟ า จะทำให มีสารปนเป อนออกสู แหล งน�ำ ธรรมชาติ

• น�ำระบายความร อน เป นน�ำที่ผ านการปรับสภาพให มีความ สะอาดสูง ไม มีสารปนเป อนที่เป นอันตรายต อสิ่งแวดล อม • น�ำใช และน�ำในกระบวนการผลิตไฟฟ า ไม มีการปล อยออกนอก โรงไฟฟ า จะนำมาบำบัด หมุนเว�ยนใช ในโรงไฟฟ า

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


ผลกระทบ

มาตรการป้องกัน

การขนส่งถ่านหินทางเรือ เร�อถ านหินมีโอกาสล มได

• ใช เร�อขนส งถ านหินแบบมีฝาป ดมิดช�ด หากเร�อล มถ านหินจะ อยู ในระวางเร�อ ก อนจะทำการกู เร�อโดยผู เช�่ยวชาญ

ถ านหินจะฟุ งกระจาย ร วงหล น ลงน�ำ

• การขนถ านหินที่ท าเร�อใช ระบบสกูร ป องกันการร วงหล น ฟุ งกระจาย • ถ านหินไม เกิดปฏิกิร�ยาในน�ำทะเล

กระทบแหล งหญ าทะเล และ แนวปะการัง

• กำหนดเส นทางเดินเร�อไม ให แล นผ านแนวหญ าทะเล และแหล ง ปะการัง • ควบคุมความเร็วเร�อช วงเข าร องน�ำไม เกิน 10 กิโลเมตรต อ ชั่วโมง ลดการกวนตะกอนท องน�ำ

กระทบทัศนียภาพการ ท องเที่ยว

• กำหนดเส นทางเดินเร�อห างจากจ�ดท องเที่ยวและดำน�ำกว า 10 กิโลเมตร มีเพียง 2 จ�ด ที่มีระยะห าง 4 – 6 กิโลเมตร

กระทบการสัญจร และประมง

• ลดขนาดเร�อถ านหินให เล็กลงเป นขนาด 10,000 ตัน ใช เส นทาง เดินเร�อเดียวกับเร�อน�ำมันเตากระบี่ ที่ไม ส งผลต อสิ่งแวดล อม และชุมชน ตลอดระยะเวลา 10 ป ที่ผ านมา • เร�อขนส งจะแล นไป-กลับ ไม เกินวันละ 2 ลำ

การลำเลียงถ่านหิน เกิดเสียงและฝุ น

• สายพานลำเลียงระบบป ดมิดช�ด ป องกันเสียง และการร วง หล นของถ านหิน

เส นทางลำเลียงกระทบ ป าชายเลน

• ก อสร างอุโมงค ลำเลียงช วงที่ผ านคลองและป าชายเลน ความ ยาว 2 กิโลเมตร เพื่อลดผลกระทบให น อยที่สุด

เส นทางลำเลียงกระทบพืน้ ที่ สาธารณะและชุมชน

• สายพานบนพื้นดินความยาว 7 กิโลเมตร ทำการก อสร างถนน คู ขนานสายพาน เพื่อให ชุมชนได ใช ประโยชน รวมทั้งก อสร าง กำแพงกันเสียงบร�เวณที่ผ านชุมชน และปลูกต นไม ตลอดแนว • จ ายค าทดแทนและการเยียวยาให แก ราษฎรที่อยู ในแนวสายพาน

การเก็บถ่านหิน จะมีฝุ นจากลานกองถ านหิน

• ออกแบบเป นอาคารเก็บถ านหินระบบป ด

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 29


11 ทั่วโลกเลิกใช้ถ่านหินจริงหรือ รายงานองค์กรพลังงานระหว่างประเทศ หรือ International Energy Agency (IEA) ระบุว่า ปัจจุบัน ถ่านหิน ยังครองสัดส่วนเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าสูงที่สุด คือร้อยละ 40 เหตุผลที่ถ่านหินยังเป็นพลังงานหลักของโลก คือ ปริมาณส�ำรอง ที่ยังมีอยู่มาก ราคาถูก การขนส่งที่สะดวก โดย IEA ยังคาดการณ์ ด้วยว่า ถ่านหินจะยังคงครองสัดส่วนการใช้เป็นเชื้อเพลิง ผลิตไฟฟ้ามากที่สุดต่อไป จนถึงปี 2583

ประเทศพัฒนาแล ว ออสเตรเลีย เยอรมนี ถานหิน

62.8%

ถานหิน

เกาหลีใต สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน ถานหิน

ถานหิน

31.6%

กาซธรรมชาติ

กาซธรรมชาติ ลม

แสงอาทิตย หมุนเวียนอื่นๆ

น้ำ

น้ำมันชนิดตางๆ

20.8%

4.5% 2.4%

1.5%

5.3% 2.7%

*ข้อมูลระหว่างปี 2557-2558

กาซธรรมชาติ

นิวเคลียร

นิวเคลียร

31% กาซธรรมชาติ

ลม

ชีวมวล

แสงอาทิตย ขยะ

น้ำ อื่นๆ

12% 13%

12% 7% 6%

1%

4% 5%

*ข้อมูลปี 2559

น้ำมันชนิดตางๆ

หมุนเวียน น้ำ

น้ำ

ลม ชีวมวล

4%

แสงอาทิตย

1%

*ข้อมูลปี 2558

ถานหิน

28.4%

กาซธรรมชาติ

กาซธรรมชาติ

33%

นิวเคลียร 20%

6%

19%

ตุรกี

ถานหิน

33%

39%

40%

อาเซ�ยน

อื่นๆ

6%

4.7%

1.6% 1%

0.6%

*ข้อมูลปี 2558

นิวเคลียร

หมุนเวียน

น้ำ

44%

น้ำ

37.8%

อินโดนิเซีย กัมพูชา ถานหิน

ถานหิน

53%

กาซธรรมชาติ

1.1%

4.7%

9.6% น้ำมันชนิดตางๆ 9%

*ข้อมูลปี 2558

ลม

25.8% 4.4%

*ข้อมูลปี 2558

หมุนเวียน น้ำมันชนิดตางๆ

ฟลิปปนส ถานหิน

46%

น้ำ

กาซธรรมชาติ

12% 11%

*ข้อมูลปี 2558

48.11%

น้ำมันชนิดตางๆ ชีวมวล

3.65% 0.85%

*ข้อมูลปี 2558

หมุนเวียน น้ำ

ถานหิน

ถานหิน

41%

47.4%

24%

มาเลเซีย เวียดนาม

14%

*ข้อมูลปี 2559

7% 1% 1% 1%

18%

กาซธรรมชาติ

น้ำ

กาซธรรมชาติ

35.5%

24%

แสงอาทิตย ลม ชีวมวล

37.1%

ไทย ถานหิน

น้ำ น้ำมัน

46.3% 10.7%

อื่นๆ

*ข้อมูลปี 2559

1.1%

0.9%

กาซธรรมชาติ

อื่นๆ

หมุนเวียน

26% 1.4%

*ข้อมูลปี 2559

น้ำ

นำเขา

66.9% 5.2% 1.9%

7.5%

*ข้อมูลปี 2559

จีน ในปี 2559 จีนมีก�ำลังผลิตไฟฟ้าทั้งหมด 1,605,000 เมกะวัตต์ โดยเป็นสัดส่วนของโรงไฟฟ้าถ่านหินมากที่สุด คือ ร้อยละ 59

ว่าเศรษฐกิจจะโต จึงวางแผนสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินเพิ่มขึ้น แต่เมื่อเศรษฐกิจโลกไม่โตตามคาด ท�ำให้ปัจจุบันจีน มีก�ำลัง ส�ำรองสูงถึงกว่าร้อยละ 60

จีนเป็นประเทศที่บริโภคถ่านหินมากที่สุดในโลก โดย ในปี 2559 จีนมีสัดส่วนการใช้ถ่านหิน ผลิตไฟฟ้าร้อยละ 64

และด้วยเหตุทจี่ นี เป็นประเทศทีป่ ล่อยก๊าซเรือนกระจก มากที่สุดในโลก จีนจึงพยายามเพิ่มสัดส่วนพลังงานทดแทน เพื่อให้เห็นถึงความพยายามในการมีส่วนร่วมลดปัญหาโลก ร้อน

ส�ำหรับข่าวที่จีนจะยกเลิกการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน จ�ำนวน 103 โรงนั้น สาเหตุเป็นเพราะ ก่อนหน้านี้ จีนวางแผน

30

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


การใช้ไฟยามค�่ำคืนในนครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน

อย่างไรก็ตาม ในอนาคต ตามแผนพลังงงานฉบับที่ 13 ปี 2559 - 2563 (China’s 13th Five Year Plan on Energy Development) จีนมีแผนที่จะเพิ่มก�ำลังการผลิต จากเชือ้ เพลิงทุกประเภท รวมไปถึงโรงไฟฟ้าถ่านหิน พร้อมกับ ปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าถ่านหินเดิม โดยมีแผนจนถึงปี 2563 ดังนี้

• พลังงานแสงอาทิตย์ จะเพิม่ เพิม่ เกือบ 2 เท่าตัว จาก 43,000 เมกะวัตต์ เป็น 110,000 เมกะวัตต์

• ถ่ า นหิ น : เพิ่ ม การใช้ ถ ่ า นหิ น อี ก ราว 200,000 เมกะวัตต์ เป็น 1,100,000 เมกะวัตต์ พร้อมกับปรับปรุง ประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าถ่านหินเดิม

การวางแผนเชื้อเพลิงของจีนมุ่งสนับสนุนการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ และสอดคล้องกับปริมาณการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกที่จีนได้ให้สัตยาบันไว้ในตกลงปารีส (COP21)

• นิวเคลียร์ : เพิ่มก�ำลังผลิตเป็น 58,000 เมกะวัตต์ • พลังงานลม : จะเพิม่ เกือบเท่าตัวจาก 129,000 เมกะ วัตต์ เป็น 210,000 เมกะวัตต์

• ก๊ า ซธรรมชาติ : เพิ่ ม ก� ำ ลั ง ผลิ ต โรงไฟฟ้ า ก๊ า ซ ธรรมชาติเป็น 110,000 เมกะวัตต์

เป าหมายกำลังผลิตโรงไฟฟ าจ�น ในป 2563

ตามแผนพัฒนาพลังงานจ�นฉบับที่ 13 ป 2559 – 2563 1,100,000

1,000,000

โรงไฟฟ าใหม โรงไฟฟ าป จจ�บัน

800,000

200,000

เมกะวัตต

1,200,000

ช�วมวล

นิวเคลียร

ก าซ

แสงอาทิตย

ลม

380,000 81,000

58,000

50,000

15,000

มากกว า 110,000

มากกว า 210,000 67,000

0

110,000

30,000

200,000

15,000

400,000

60,000

600,000

น�ำ

ถ านหิน

เป้าหมายก�ำลังผลิตไฟฟ้าจีน ในปี 2563 http://en.cnesa.org/latest-news/2016/11/22/power-sector-reforms-announced-in-chinas-13th-five-year-plan ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 31


สหรัฐอเมริกา ในปี 2550 สหรัฐอเมริกามีสัดส่วนการใช้ถ่านหินผลิต ไฟฟ้าถึงร้อยละ 48 ปั จ จุ บั น เนื่ องจากราคาก๊าซธรรมชาติข องสหรัฐ ฯ ถูกลงมาก จึงท�ำให้มีสัดส่วนการใช้ถ่านหินลดลงมาเท่ากับ ก๊าซธรรมชาติเท่ากัน คือ ร้อยละ 33 ส�ำหรับประเด็นการน�ำเสนอข่าวว่า ในช่วงที่ผ่านมา สหรัฐสัง่ ปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินเป็นจ�ำนวนมาก สาเหตุเป็น เพราะ โรงไฟฟ้าถ่านหินในสหรัฐอเมริกามีอายุมากกว่า 50 ปี จึงไม่ โรงไฟฟ้าถ่านหิน Jeffrey Energy Center ประเทศสหรัฐอเมริกา คุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจในการปรับปรุงโรงไฟฟ้าถ่านหินเก่าให้มี ประสิทธิภาพและการปล่อยมลสารตามทีก่ ฎหมายสิง่ แวดล้อม อย่างไรก็ตาม สภาพปัจจุบนั ทีร่ าคาก๊าซธรรมชาติขยับ ฉบับใหม่ก�ำหนด ตัวสูงขึ้น อีกทั้งนโยบายของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ที่ จะยกเลิกแผนพลังงานสะอาด จึงท�ำให้ IEA คาดการณ์ว่า ประกอบกับราคาก๊าซธรรมชาติที่ตกต�่ำ ท�ำให้บริษัท ถ่านหินจะครองสัดส่วนเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้ามากกว่าก๊าซ ไฟฟ้ า ตั ด สิ น ใจเลื อกลงทุนในโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติแ ทน ธรรมชาติ ในปี 2562 นี้ เพื่อให้ได้ผลก�ำไรที่สูงกว่า ในปี 2559 สหรัฐจึงมีการใช้ก๊าซ ธรรมชาติผลิตไฟฟ้าร้อยละ 34 มากกว่าถ่านหิน ซึ่งมีสัดส่วน อยู่ที่ร้อยละ 30 แต่ผลที่เกิดตามมาจากการสูญเสียแหล่งผลิตไฟฟ้า ราคาถูกอย่างถ่านหิน คือ ค่าไฟฟ้าที่เพิ่มสูงขึ้น และยังมีแนว โน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยระหว่างปี 2554-2559 ค่าไฟฟ้า เฉลี่ยประเภทที่อยู่อาศัยของสหรัฐปรับสูงขึ้นร้อยละ 23

32

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่


เยอรมนี เยอรมนี ประเทศชั้ น น� ำ ของโลก และเป็ น หนึ่ ง ใน ประเทศที่มีการส่งเสริมการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนยังต้อง พึ่งพาโรงไฟฟ้าหลักในการผลิตไฟฟ้า โดยในปี 2559 เยอรมนี มีก�ำลังผลิตติดตั้ง 195,690 เมกะวัตต์ เป็นก�ำลังผลิตของ ถ่านหินร้อยละ 25 และแม้จะมีก�ำลังผลิตติดตั้งของลมและ แสงอาทิตย์เป็นปริมาณรองลงมาจากถ่านหิน คือร้อยละ 23 และ 20 ตามล�ำดับ (ข้อมูล : https://www.energy-charts. de/power_inst.htm) แต่ถา่ นหินยังคงครองสัดส่วนการผลิต ไฟฟ้าสูงสุด ถึงร้อยละ 40 ขณะเดียวกัน เยอรมนีเองก็มีแผนที่จะสร้างโรงไฟฟ้า ถ่านหินเพิ่มเติมอีกในอนาคต

โรงไฟฟ้าถ่านหิน Lunen ประเทศเยอรมนี

แผนการก อสร างโรงไฟฟ าถ านหินของเยอรมนี โรงไฟฟ า

กำลังการผลิต (เมกะวัตต )

ชนิดถ านหิน

เดินเคร�่อง

Stade (DOW)

900

บิทูมินัส/ซับบิทูมินัส

2561

Industriepark, Brunsbttel

800

บิทูมินัส/ซับบิทูมินัส

หลัง 2563

Lunen

900

บิทูมินัส/ซับบิทูมินัส

หลัง 2563

Herne

750

บิทูมินัส/ซับบิทูมินัส

หลัง 2563

Stade (EON)

1,100

บิทูมินัส/ซับบิทูมินัส

หลัง 2563

Profen

660

ลิกไนต

หลัง 2563

Niederaussem/Bergheim

1,100

ลิกไนต

หลัง 2563

ที่มา : Germany Power Grid Development Plan 2012, Federal Network Agency

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 33


ญี่ปุ่น เดิ ม ญี่ ปุ ่ น ใช้ พ ลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ถ่ า นหิ น และก๊ า ซ ธรรมชาติเหลว (LNG) เป็นพลังงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจ กระทั่งเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อปี 2554 ญี่ปุ่นต้องประสบ เหตุการณ์พลิกผันด้านพลังงาน โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ถกู ปิดตัวลงกว่า 40 โรง ส่งผลให้ตั้งแต่ปี 2556 สัดส่วนพลังงาน นิวเคลียร์ลดลงจากร้อยละ 28 เป็นร้อยละ 2 สัดส่วนเชื้อเพลิง ถ่านหินเพิม่ จากร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 30 และก๊าซ LNG จาก ร้อยละ 29 เป็นร้อยละ 43

ปัจจุบันทิศทางพลังงานไฟฟ้าของญี่ปุ่นมีลักษณะการ ใช้เชื้อเพลิงแบบผสมผสาน ไม่พึ่งพิงเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่ง มากไปจนเกิดปัญหาเช่นในอดีต โดยในปลายแผนปี 2573 ญีป่ นุ่ ต้องการให้ประเทศก้าวสูส่ ดั ส่วนพลังงานทีส่ มดุล คือ ลด สัดส่วนก๊าซ LNG ลงให้เหลือร้อยละ 27 และเพิ่มสัดส่วนจาก การพัฒนาพลังงานหมุนเวียนซึ่งรวมถึงพลังน�้ำ ร้อยละ 22-24 พลังงานนิวเคลียร์ ร้อยละ 20-22 และถ่านหิน ร้อยละ 26

สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของก๊าซ LNG ท�ำให้ประชาชนต้อง แบกภาระค่าไฟฟ้าที่แพงขึ้น ญี่ปุ่นจึงต้องกลับมาทบทวน สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าใหม่อีกครั้ง

สัดส วนเช�้อเพลิงที่ใช ผลิตไฟฟ าของญี่ปุ น ป 2558 ถ านหิน ก าซธรรมชาติ น�ำมัน นิวเคลียร

9% 1%

44%

ชี้แจงโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่

น�ำ

5%

แสงอาทิตย , ลม และอื่นๆ

พลังงานหมุนเว�ยน

14%

32%

ในส่วนของการพัฒนาโรงไฟฟ้าถ่านหิน ญี่ปุ่นมีแผน จะสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินอีก 45 โรง ด้วยเทคโนโลยี Ultra Supercritical และเป็นเทคโนโลยีเดียวกันกับที่ใช้ที่โครงการ

34

9%

โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 26 ของญี่ปุ่น


มาเลเซีย มาเลเซียมีกำ� ลังผลิตไฟฟ้า รวม 26,522 เมกะวัตต์ ส่วน ใหญ่หรือกว่า 22,000 เมกะวัตต์ เป็นก�ำลังผลิตที่ตั้งอยู่บน

คาบสมุทรมาเลเซีย ทีเ่ หลืออยูใ่ นรัฐซาบาร์ และรัฐซาราวัค โดย เป็นก�ำลังผลิตของโรงไฟฟ้าถ่านหิน ทั้งหมด 9,690 เมกะวัตต์

ในปี 2559 มาเลเซียเพิ่งเดินเครื่องโรงไฟฟ้าถ่านหิน Tanjung Bin ขนาดก�ำลังผลิต 1,000 เมกะวัตต์ไป และใน

อนาคต ปี 2560 - 2566 มาเลเซียมีแผนที่จะสร้างโรงไฟฟ้า ถ่านหินเพิ่มเติมมากว่า 4,600 เมกะวัตต์

ตอบคำ�ถาม

ทุกข้อสงสัย 35


โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ อนาคตแห่งความมั่นคงทางพลังงาน

โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ จะเป็นทางเลือกพลังงานส�ำคัญ ที่จะสร้างความมั่นคง ทางพลังงานของภาคใต้ และช่วยกระจายการใช้เชื้อเพลิงของประเทศ ซึ่ง กฟผ. ได้เลือกสรรเทคโนโลยีที่ดีที่สุด ภายใต้ความรับผิดชอบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยพร้อมชี้แจง แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนรับฟังข้อเสนอแนะจากสังคมทุกภาคส่วน ในทุกค�ำถามและข้อสงสัย เพื่อสร้างความเข้าใจอันดี และคลายความวิตกกังวลของสังคมและชุมชน




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.