ไขข้อกังวล อันตรายหรือไม่ ถ้าอยู่ใกล้สายส่งไฟฟ้าแรงสูง

Page 1

จะต้องปฏิบัติอย่างไร เมื่อมีสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ผ่านในที่ดินที่อยู่อาศัยหรือพื้นที่ท�ำกิน

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. อาศัยอ�ำนาจตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 และพระราชบัญญัติการประกอบ กิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ประกาศและก�ำหนดเขตระบบโครงข่าย ไฟฟ้า ส�ำหรับด�ำเนินการก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาเพื่อประโยชน์ แห่งความปลอดภัยในการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า โดยจ�ำกัดสิทธิ บางประการในการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า ทั้งนี้ เ พื่ อ ความปลอดภั ย ทางไฟฟ้า และป้อ งกันผลกระทบที่อ าจ เกิดขึ้นต่อร่างกาย ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนตามมาตรฐาน ก�ำหนด โดยกรรมสิทธิ์ในที่ดินยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ถือครอง ตามโฉนดที่ดินก�ำหนด กฟผ. มีหน้าที่ให้บริการหากต้องการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่ หรือพัฒนาที่ดิน ทั้งในและใกล้แนวเขตระบบ โครงข่ า ยไฟฟ้ า สามารถปรึ ก ษาเพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง ระเบี ย บและ ข้ อ ก� ำ หนดในการด� ำ เนิ น การเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย ได้ ต าม มาตรฐานก�ำหนด การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า ที่ต้องขออนุญาตจาก กฟผ. ได้แก่

1

การขุดดิน

3

การเปลี่ยนแปลงของ ระดับพื้นดินในเขต ระบบโครงข่ายไฟฟ้า

2

การถมดินหรือกองวัสดุ

4

การก่อสร้างสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ถนน ลานจอดรถ รั้ว สายส่งไฟฟ้าแรงต�่ำ คลองส่งน�้ำ ท่อก๊าซ และอื่นๆ

แม้สายส่งไฟฟ้าแรงสูง จะมีสนามไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็กแผ่ออกมา แต่ไม่เป็นอันตราย ต่อประชาชนที่พักอาศัย ในบริเวณใกล้เคียง แต่อย่างใด ไ ข ข้ อ กั ง ว ล

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 53 หมู่ 2 ถนนจรัญสนิทวงศ์ ต�ำบลบางกรวย อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 www.egat.co.th

อันตราย ห รื อ ไ ม่ ถ้ า อ ยู่ ใ ก ล้ ส า ย ส่ ง ไ ฟ ฟ้ า แ ร ง สู ง

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย


อันตรายที่คนส่วนใหญ่กังวลมากที่สุดเมื่ออยู่ใกล้ สายส่งไฟฟ้าแรงสูงคือ จะเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน หรื อ ไม่ เป็ น ต้ น ว่ า จะได้ รั บ อั น ตรายจากกระแสไฟฟ้ า ในสายส่ ง ไฟฟ้ า แรงสู ง หรื อ ไม่ สายส่ ง ไฟฟ้ า แรงสู ง มี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาท�ำอันตรายกับผู้ท่ีอยู่ในบริเวณ ใกล้เคียงหรือไม่ สายส่งไฟฟ้าแรงสูงจะเป็นสาเหตุให้เกิด ฟ้าผ่าในพื้นที่มากขึ้นหรือไม่ และเมื่อมีสายส่งไฟฟ้าแรงสูงพาดผ่านพื้นที่อยู่อาศัย หรือพื้นที่ท�ำกินแล้วจะต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง เราจะไปดูค�ำตอบกัน

ท�ำความรู้จักกับสายส่งไฟฟ้าแรงสูง สายส่งไฟฟ้าแรงสูง คือ ส่วนประกอบที่ส�ำคัญของระบบส่งพลังงาน ไฟฟ้า ท�ำหน้าที่น�ำกระแสไฟฟ้าจากแหล่งผลิตไฟฟ้าไปยังกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้า ทั่วประเทศ โดยจะมีสถานีไฟฟ้าแรงสูงเป็นสถานีที่แปลงแรงดันไฟฟ้า ให้เหมาะสมส่งต่อไปยังการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และการไฟฟ้านครหลวง เพื่อจ�ำหน่ายให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าในแต่ละพื้นที่อีกทอดหนึ่ง สายส่งไฟฟ้าแรงสูง และสถานีไฟฟ้าแรงสูงเป็นระบบส่งพลังงาน ไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าที่สูงมาก ต้องใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยควบคุมการส่งจ่าย พลังงานไฟฟ้าให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งดูแลโดยหน่วยงาน “การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ.” ด้วยแรงดันไฟฟ้าที่สูง และส่งพลังงานไฟฟ้า ในปริมาณมาก กฟผ. ได้ออกแบบการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าแรงสูงให้มีความปลอดภัย ไม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ ประชาชน และทรั พ ย์ สิ น ของประชาชนที่ แ นวสายส่ ง ไฟฟ้ า พาดผ่าน และยังมีการประกาศก�ำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า ส�ำหรับด�ำเนินการ ก่ อ สร้ า งและบ� ำ รุ ง รั ก ษา รวมถึ ง ห้ า มกระท� ำ การที่ อ าจเป็ น อั น ตราย ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสียหายกับระบบส่งพลังงานไฟฟ้า เพื่อประโยชน์แห่งความปลอดภัยในการ ส่ ง จ่ า ยพลั ง งานไฟฟ้ า และเป็ น การป้ อ งกั น ผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ร่ า งกาย ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ตามมาตรฐานก�ำหนด สายส่งไฟฟ้าแรงสูงจึงไม่เป็นอันตรายต่อการใช้ชีวิตตามปกติของประชาชน ในพื้นที่ใกล้แนวสายส่งไฟฟ้า ทั้งนี้ขอให้ประชาชนปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการปลูกสร้างอาคาร โรงเรือน ต้นไม้หรือสิ่งอื่นใด ติดตั้งสิ่งใด เจาะ หรือขุดพื้นดิน ถมดิน ทิ้งสิ่งของ หรือกระท�ำด้วยประการใดๆ ที่อาจท�ำให้เกิด อันตรายหรือเป็นอุปสรรคในเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า

สายส่งไฟฟ้าแรงสูงมีสนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก และเป็นอันตรายหรือไม่ ระบบไฟฟ้าแรงสูงของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปัจจุบนั มีระดับแรงดันตัง้ แต่ 115,000 โวลต์ 230,000 โวลต์ และ 500,000 โวลต์ เป็นส่วนใหญ่ การเรียกระดับแรงดันไฟฟ้าของไฟฟ้าแรงสูงมักจะเรียก เป็นหน่วยของพันโวลต์ว่า กิโลโวลต์ (kilovolt) หรือ เควี (kV) เช่น 500,000 โวลต์ เรียกว่า 500 กิโลโวลต์ หรือ 500 เควี เป็นต้น การเกิดแรงดันไฟฟ้าหรือมีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจะมีสนามไฟฟ้าเกิดขึ้น ยิ่งค่า ความต่างศักย์มาก ค่าสนามไฟฟ้าก็จะมากตามไปด้วย ส่วนสนามแม่เหล็กนั้นจะขึ้นอยู่กับกระแสไฟฟ้า ในสายตัวน�ำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้ายิ่งสูงค่าสนามแม่เหล็กก็จะยิ่งมาก การออกแบบสายส่ ง ไฟฟ้ า ของการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทยได้ อ อกแบบตามมาตรฐานทาง วิศวกรรม ทั้งด้านความแข็งแรงของเสาไฟฟ้า และความสูงของเสาไฟฟ้าที่จะท�ำให้สนามไฟฟ้า และ สนามแม่เหล็กที่แผ่ลงมายังด้านล่างสายส่งไฟฟ้าไม่เป็นอันตรายต่อผู้ที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง รวมถึง ผู้ที่สัญจรผ่านไปมาด้วย โดยผลการวัดค่าสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กใต้แนวสายส่งไฟฟ้าแรงสูงจะมี ค่าต�่ำกว่าค่ามาตรฐานที่จะเป็นอันตรายที่ก�ำหนดโดยองค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ก�ำหนดไว้ ดังนั้น จึงมั่นใจได้ว่า แม้สายส่งไฟฟ้าแรงสูงจะมีสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กแผ่ออกมา แต่ไม่เป็นอันตรายต่อประชาชนที่พักอาศัยในบริเวณใกล้เคียงแต่อย่างใด

สายส่งไฟฟ้ามีผล ท�ำให้เกิดฟ้าผ่าในพื้นที่เพิ่มขึ้นหรือไม่

สายส่งไฟฟ้าแรงสูง ไม่ได้ท�ำให้เกิดฟ้าผ่า เพิ่มมากขึ้นแต่อย่างใด

ฟ้าผ่า เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะในช่วง ฤดูฝน และบางครั้งได้สร้างความสูญเสียให้กับชีวิตและทรัพย์สินดังที่ตกเป็นข่าว การเกิดฟ้าผ่า คือการถ่ายเทประจุไฟฟ้าระหว่างก้อนเมฆฝนฟ้าคะนองกับพื้นดิน เมื่อมีต้นไม้สูง คน สัตว์ สิ่งของ หรือสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ในพื้นที่โล่งแจ้ง ก็จะท�ำให้ มีโอกาสที่ประจุไฟฟ้าวิ่งตรงเข้าไปยังจุดนั้น แทนที่จะวิ่งลงพื้นดินโดยตรง กฟผ. มีระบบตรวจจับเหตุการณ์ฟ้าผ่าสามารถระบุต�ำแหน่งของการเกิด ฟ้าผ่าได้ในพื้นที่ทั่วประเทศไทย ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบตรวจจับเหตุการณ์ ฟ้าผ่าคือ น�ำข้อมูลไปประกอบการออกแบบก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าแรงสูงเพื่อให้ ทนต่อสภาพการเกิดฟ้าผ่าในพื้นที่ที่จะก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าแรงสูง และยังน�ำ ข้อมูลมาวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดข้อขัดข้องของสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ท�ำให้ การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องนั้นท�ำได้ในเวลาที่รวดเร็ว จากการตรวจสอบข้ อ มู ล จ� ำ นวนครั้ ง ของการเกิ ด ฟ้ า ผ่ า ในพื้ น ที่ ใ กล้ แ นว สายส่งไฟฟ้าแรงสูงทั้งก่อนและหลังการน�ำสายส่งไฟฟ้าแรงสูงเข้าใช้งาน รวมถึง การจ�ำลองสถานการณ์สมมติ พบว่า จ�ำนวนครัง้ ของการเกิดฟ้าผ่าไม่มคี วามแตกต่าง กันอย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสายส่งไฟฟ้าแรงสูงไม่ได้มีผลท�ำให้การเกิด เหตุการณ์ฟ้าผ่าเพิ่มมากขึ้นแต่อย่างใด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.