EGAT Magazine | มี.ค. - เม.ย. 2558

Page 1



มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๒ เปิดบ้าน กฟผ. ๖ บทความพิเศษ

ก๊าซลง ค่าไฟฟ้าลงตาม แต่สมดุลพลังงาน จะช่วยสร้างเสถียรภาพในระยะยาว ๑๐ พลังงานวันนี้ สัดส่วนการใช้ก๊าซผลิตไฟฟ้าของเยอรมนีลดลง และพึ่งก๊าซจากรัสเซียน้อยลง ๑๒ โรงไฟฟ้าในอนาคต เสียงจากผู้เชี่ยวชาญ ถึงความจำ�เป็นต้องก่อสร้างโรงไฟฟ้าในตอนนี้ ๑๖ เส้นทางสู่ธุรกิจ กฟผ. และกลุ่มราชบุรีโฮลดิ้ง นำ�ร่อง ระบบการซือ้ ขายใบอนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ๑๘ จับเข่าเล่าประสบการณ์ ก็เพราะหัวใจเราผูกพัน ๒๒ อนุรักษ์พลังงาน ชาวคลองเรือเตรียมผลิตนํา้ มันพืชและไบโอดีเซล ใช้พลังงาน จากโรงไฟฟ้าชุมชน เพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร ๒๔ Infographic รู้หรือไม่...ลด CO2 อยู่ที่ใจ ๒๖ อ้อมกอดสีเขียว เรื่องเล่าจากป่าเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว ๓๐ คนต้นแบบ สิทธิชัย รัตนโฆสิต เจ้าของรางวัล “ประชาบดี” ทำ�คุณประโยชน์แก่ผู้อยู่ในภาวะยากลำ�บาก ๓๒ นวัตกรรม นักวิทยาศาสตร์ กฟผ. สมองใส คิดค้นชุดทดสอบแบคทีเรียโคลิฟอร์มในนํ้าดื่ม ๓๖ นานาทัศนะ CSR ที่อยู่ในใจประชาชน ๓๘ ใจเขาใจเรา การพัฒนาชุมชน ๔๒ ของดีรอบบ้านเรา กลุ่มผลิตภัณฑ์สมุนไพรบ้านเชี่ยวหลาน ๔๔ กฟผ. ไม่ไปไม่รู้ ครบรอบ ๒๙ ปี โรงไฟฟ้าเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล ๔๘ ท้ายเล่ม เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดที่นำ�มาใช้ในประเทศไทย

ทักทาย

EDITOR’S NOTE

ตั้งแต่ปี ๒๕๓๗ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เข้าร่วม โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนือ่ งในวโรกาสทรงครองราชย์ปที ี่ ๕๐ จนถึงเวลานีก้ เ็ ป็นเวลากว่า ๒๐ ปีแล้ว ที่ กฟผ. เดินหน้าปลูกป่าตั้งแต่ยอดดอย ป่าต้นนํ้าสายสำ�คัญของประเทศ จนถึงป่าโกงกางริมชายทะเลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดภาวะ โลกร้อน และอนุรักษ์ป่าต้นนํ้าไม่ให้ถูกทำ�ลาย ล่าสุด กฟผ. ได้จัดโครงการ ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อปลูกป่าเพิ่มอีก ๑๓,๐๐๐ ไร่ ส่งผลให้ กฟผ. คืนสมดุลให้กบั ธรรมชาติจากการปลูกต้นไม้ไปกว่า ๘๐ ล้านต้น บนพื้นที่ประมาณ ๔ แสนไร่ โดยสามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ได้มากกว่า ๘๐ ล้านตัน และ กฟผ. ยังมีโครงการที่จะปลูกป่าต่อไป ให้ได้ปีละ ๒๐,๐๐๐ ไร่ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ เป็นต้นไป ทั้งนี้การดำ�เนินงานโครงการต่างๆ กฟผ. จะให้ความสำ�คัญกับการมี ส่วนร่วมของชุมชน เพือ่ สร้างความยัง่ ยืนให้กบั ชุมชน ตัวอย่างทีเ่ ห็นเด่นชัด คือ ชุมชนบ้านคลองเรือ ตำ�บลปากทรง อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ที่ มี ค วามต้ อ งการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต โดยนำ � ศั ก ยภาพของชุ ม ชนที่ มี แหล่งนํ้ามาพัฒนาให้เกิดโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชนบ้านคลองเรือ วันนี้ชุมชน บ้านคลองเรือได้กา้ วข้ามความสำ�เร็จดังกล่าวไปแล้ว และกำ�ลังทำ�โครงการ ใหม่ๆ ที่จะนำ�พืชผลทางการเกษตรจากผลปาล์มมาแปรรูปเป็นไบโอดีเซล เพราะเชื่อว่าจะทำ�ให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นไป ดังสุภาษิตที่นักพัฒนาชุมชนได้กล่าวไว้ “ให้ปลาแก่เขาไปจนสิ้น เขามี เพียงมีพอกินไปวันวัน สอนเขาให้เลี้ยงและหามัน ชั่วชีวันเขามีปลา ไม่ปรารมภ์” ลองพลิกไปอ่านเรื่อง “การพัฒนาชุมชน” ก็จะทำ�ให้เรา ได้คำ�ตอบว่า แนวทางการทำ�งานด้านชุมชน ทำ�อย่างไรถึงจะเป็นประสบ ผลสำ�เร็จ และสอดคล้องกับความต้องการของคนในชุมชน กองบรรณาธิการ


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

เปิดบ้าน กฟผ.

กฟผ. จัดพิธีสมโภช

EGAT Event

องค์หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์ทั้ง ๔ องค์

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จัดพิธสี มโภชองค์หลวงพ่อเจ็ดกษัตริยท์ งั้ ๔ องค์ ทีป่ ระดิษฐาน อยู่ที่สำ�นักงานกลาง กฟผ. อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี หลังจากที่คณะอนุกรรมการบริหารจัดการ เงินบริจาคหลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์และศาลท่านปู่สันทนะ-เจ้าแม่โสภิตา ได้ดำ�เนินการบูรณะองค์หลวงพ่อ เจ็ดกษัตริย์ โดยในพิธมี หี ลวงปูส่ มหมาย จิตตปาโล วัดป่าดอนกระต่าย อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และนายสุนชัย คำ�นูณเศรษฐ์ ผูว้ า่ การ กฟผ. เป็นประธานฝ่ายฆราวาส จุดเทียนเครือ่ งบูชา ในพิธีสมโภชองค์หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์ โดยมีผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. เข้าร่วมพิธีอย่างเนืองแน่น ณ มณฑลพิธีหน้าองค์หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์ สำ�นักงานกลาง กฟผ. เมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ สำ�หรับการประกอบพิธีสมโภชในครั้งนี้ ทางคณะอนุกรรมการฯ ได้จัดให้มีพิธีสมโภชขึ้นระหว่างวันที่ ๑๒ - ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ โดยมีพระคุณเจ้าที่นิมนต์มาร่วมพิธีสมโภช ดังนี้

๑. หลวงปู่สมหมาย จิตตปาโล วัดป่าดอนกระต่าย อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม ๒. พระอาจารย์สาคร ธัมมาวุโธ วัดเวฬุวัน อำ�เภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ๓. หลวงตาแยง สุขกาโม วัดเจติยาคีรีวิหาร (ภูทอก) อำ�เภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ๔. พระอาจารย์สมบูรณ์ กันตสีโล วัดป่าสมบูรณ์ธรรม อำ�เภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ๕. พระอาจารย์ประเสริฐ ถาวโร วัดบ้านม่วง อำ�เภอลืออำ�นาจ จังหวัดอำ�นาจเจริญ ๖. พระอาจารย์ผดุง ปัญญาวโร วัดป่าโนนค้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดยโสธร ๗. พระอาจารย์อัมพร ปัญญาวโร วัดป่าสันติมงคล อำ�เภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ๘. พระอาจารย์บุญเกิด อริโย วัดอัมพวันม่วงน้อย อำ�เภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ๙. พระอาจารย์นิคม นิคมวโร วัดเวฬุวัน อำ�เภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑๐. พระอาจารย์วิรัตน์ ปภาธโร วัดอรุณรังสี อำ�เภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑๑. พระอาจารย์สุรินทร์ กุสลจิตโต วัดป่าศิลาอาสน์ อำ�เภอเมือง จังหวัดยโสธร


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

กฟผ. จัดงาน “เชิญพีเ่ ยีย่ มบ้าน กฟผ. ๒๕๕๘” บรรยากาศอบอุน่ อดีตผู้บริหารให้คำ�ชี้แนะที่เป็นประโยชน์ต่อการทำ�งาน เมือ่ วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘ นายสุนชัย คำ�นูณเศรษฐ์ ผูว้ า่ การการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นประธานเปิดงาน “เชิญพี่เยี่ยมบ้าน กฟผ. ๒๕๕๘” พร้อมให้การต้อนรับอดีตผู้ว่าการ กฟผ. อาทิ พลอากาศเอก กำ�ธน สินธวานนท์ องคมนตรี นายปรีชา จูงวัฒนา นายวีระวัฒน์ ชลายน นายวิทยา คชรักษ์ นายสิทธิพร รัตโนภาส นายไกรสีห์ กรรณสูต และนายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ รวมทั้งอดีตผู้บริหารระดับสูง มาร่วมงานอย่างคับคัง่ ซึง่ บรรยากาศภายในงานเป็นไปด้วยความอบอุน่ ณ หอประชุมเกษม จาติกวณิช ชัน้ ๙ อาคาร ต.๐๔๐ สำ�นักงานกลาง กฟผ. ด้านพลอากาศเอก กำ�ธน สินธวานนท์ องคมนตรี กล่าวว่า ดีใจและมีความสุขมากที่วันนี้ ได้กลับมาเจอน้องๆ ชาว กฟผ. และดีใจที่ได้เห็นผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. รุ่นใหม่ มีความรัก ความสามัคคีกัน พร้อมกันนี้อยากฝากให้ผู้บริหารรุ่นใหม่ทุกคนมุ่งมั่นทำ�งานโดยยึดถือ ประโยชน์ของประเทศชาติและ กฟผ. เป็นที่ตั้ง ทำ�งานด้วยความสุจริต โปร่งใส และทำ�หน้าที่ ที่ตนเองได้รับมอบหมายอย่างดีที่สุด

กฟผ. มอบโรงไฟฟ้าพลังนํา้ บ้านนํ้าเพียงดิน ให้กับชุมชนผาบ่อง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

เมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ นายสุรพล พนัสอำ�พล ผู้ว่าราชการจังหวัด แม่ฮ่องสอน เป็นประธานในพิธีรับมอบโรงไฟฟ้าพลังนํ้าบ้านนํ้าเพียงดิน โดยมี นายณัฐจพนธ์ ภูมเิ วียงศรี ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การโรงไฟฟ้าพลังนํา้ เป็นตัวแทนการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) พร้อมด้วยนายณัฐวุฒิ แจ่มแจ้ง ผู้อำ�นวยการ เขือ่ นภูมพิ ล ตลอดจนผูบ้ ริหารและผูป้ ฏิบตั งิ านของ กฟผ. ได้รว่ มเป็นสักขีพยาน ในพิธีมอบโรงไฟฟ้าพลังนํ้าบ้านนํ้าเพียงดินให้กับองค์การบริหารส่วนตำ�บล ผาบ่อง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นผู้ดูแลและดำ�เนินการต่อไป โดยโรงไฟฟ้า พลังนํ้าแห่งนี้มีกำ�ลังผลิต ๔๐ กิโลวัตต์ ติดกับชายแดนไทย-พม่า ด้านทิศ ตะวันตกของจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีประชาชนอาศัยอยู่ประมาณ ๗๐ ครัวเรือน ส่วนใหญ่ทำ�การเกษตร ไม่มีไฟฟ้าใช้ โรงไฟฟ้าแห่งนี้เกิดขึ้นเนื่องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ เมื่อวันที่ ๕ ธั น วาคม ๒๕๓๐ โดย กฟผ. ได้ ดำ � เนิ น การก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า พลั ง นํ้ า บ้านนํ้าเพียงดินขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติและเฉลิมฉลองในโอกาสดังกล่าว ต่อมาเมื่อปี ๒๕๓๒ เกิดเหตุการณ์สู้รบตามแนวชายแดน ทำ�ให้โรงไฟฟ้า ถูกทำ�ลายจนไม่สามารถเดินเครือ่ งได้ กฟผ. จึงเข้าไปสำ�รวจและฟืน้ ฟูจนสามารถ จ่ายไฟฟ้าได้ในปี ๒๕๔๘ และเพิ่มกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าจาก ๒๐ กิโลวัตต์ เป็น ๔๐ กิโลวัตต์ รวมถึงร่วมจัดตั้ง “โครงการผู้ใช้ไฟฟ้าหมู่บ้าน” เพื่อให้ประชาชน สามารถบริหารการใช้ไฟฟ้าได้ด้วยตนเอง


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

โครงการแว่นแก้ว เตรียมจัดกิจกรรมยิ่งใหญ่ เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นายสหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผู้ว่าการกิจการสังคม เป็นประธานเปิดการประชุมโครงการ แว่นแก้ว ประจำ�ปี ๒๕๕๘ เพือ่ สรุปผลการดำ�เนินงานของโครงการตลอดปี ๒๕๕๗ และวางแผน การดำ�เนินโครงการต่อในปี ๒๕๕๘ ร่วมกับพันธมิตรของโครงการฯ โดยมีแพทย์หญิงสุพัตรา จามรสุวรรณ จักษุแพทย์ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) นายจิตบุญ จันทพันธ์ ผู้จัดการฝ่าย Retails Operation บริษัทหอแว่นกรุ๊ป จำ�กัด พร้อมคณะ เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุม V2 ร้านออเร้นจ์เฮ้าส์ อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘ นายสหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผู้ว่าการกิจการสังคม กล่าวว่า เนื่องในปี ๒๕๕๘ เป็นปีมหามงคลที่สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา กฟผ. ร่วมกับพันธมิตร โครงการฯ จัดทำ� “โครงการแว่นแก้ว เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เพื่อถวายความจงรักภักดี สำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ และสานต่อพระราชดำ�ริของ พระองค์ในการช่วยเหลือผู้ยากไร้ที่มีปัญหาทางสายตาทั่วประเทศ โดยโครงการแว่นแก้วได้ตั้งเป้าหมาย ว่าจะช่วยเหลือแก้ไขปัญหาทางสายตาแก่ผู้ด้อยโอกาสในสังคมเพิ่มอีก ๖๐,๐๐๐ คน ภายในปี ๒๕๕๘ นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงคุณภาพของเลนส์และกรอบแว่นตาให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นโดยบริษัท หอแว่นกรุ๊ป จำ�กัด เพื่อนำ�มามอบให้กับประชาชนทั่วประเทศที่เข้ารับบริการ ซึ่งจะทำ�ให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่าอันละ ๒๕๐ บาท จึงขอเชิญชวนประชาชนทั่วประเทศร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการเปิ ด โลกทั ศ น์ ท างสายตาให้ กั บ ผู้ ด้ อ ยโอกาสและผู้ ป ระสบปั ญ หา ทางสายตาทั่ ว ประเทศ โดยสามารถร่ ว มบริ จ าคเงิ น ผ่ า นบั ญ ชี ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “เงินบริจาคโครงการ แว่นแก้ว” เลขที่บัญชี ๗๓๔-๐-๑๙๑๕๒-๖ ได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

เขื่อนภูมิพลทำ�พิธีเปิด “โครงการ ๙๖๐ ฝาย

ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”

นายมนตรี ชนะชัยวิบูลวัฒน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตาก เป็นประธานในพิธีเปิด “โครงการ ๙๖๐ ฝาย ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เฉลิมพระเกียรติเนือ่ งใน โอกาสมหามงคล เจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ณ ลำ�ห้วยวังกระเจา เขื่อนภูมิพล โดยก่ อ นทำ � พิ ธี เ ปิ ด ได้ มี ก ารถวายราชสดุ ดี และถวายพระพรชั ย มงคลแด่ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเขื่อนภูมิพล นำ�โดยนายณัฐวุฒิ แจ่มแจ้ง ผู้อำ�นวยการเขื่อนภูมิพล หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ คณะแพทย์ พยาบาล โรงพยาบาลสามเงา คณะอาจารย์ นักเรียน นักศึกษา โรงเรียนสามเงาวิทยาคม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตาก เข้าร่วมในพิธีและร่วมแรงร่วมใจกันสร้างฝาย ณ ลำ�ห้วย วังกระเจา ได้ทั้งหมด ๑๐ ฝายใหญ่ นอกจากนี้ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตาก พร้อมด้วย หัวหน้าส่วนและผู้บริหารเขื่อนภูมิพลได้เดินให้กำ�ลังใจแก่ผู้มาร่วมสร้างฝายทุกจุดด้วย หลังจากนัน้ ผูม้ าร่วมงานได้รว่ มกันรับประทานอาหารกลางวันพร้อมกัน บรรยากาศเป็นไปอย่าง สนุกสนานและอิ่มเอมใจที่ได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้แก่ประเทศ เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

กฟผ. รับมอบใบประกาศนียบัตรความสำ�เร็จ ๓ โครงการนำ�ร่อง เข้าร่วมพัฒนาโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจได้สำ�เร็จ

นายณัฐจพนธ์ ภูมิเวียงศรี ผู้ช่วยผู้ว่าการโรงไฟฟ้าพลังนํ้า เป็นตัวแทนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) รับมอบใบประกาศนียบัตรความสำ�เร็จ ของการพัฒนาโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER) จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน): อบก. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยได้รับเกียรติจากนายสุนันต์ อรุณนพรัตน์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานมอบใบประกาศนียบัตรความสำ�เร็จฯ ครั้งนี้ เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม ซี ชั้นแอล โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ ทั้งนี้ โครงการของ กฟผ. ทั้ง ๓ โครงการนำ�ร่อง ได้แก่ ๑. โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าท้ายเขื่อนนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก (Naresuan Hydro Power Project) ๒. โครงการระบบผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมขนาด ๒ x ๑.๒๕ เมกะวัตต์ ลำ�ตะคอง จังหวัดนครราชสีมา (2 x 1.25 MW Lamtakhong Wind Turbines Generators, Thailand) ๓. โครงการโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชนบ้านคลองเรือ (Khlong Ruea Off-Grid Hydro Power Project) จังหวัดชุมพร โดยโครงการที่ ๑ และ ๒ เป็นสองโครงการแรกของประเทศไทยที่รับการทวนสอบปริมาณการลด ก๊าซเรือนกระจก ซึง่ สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ๑๖,๙๑๔ ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี

กฟผ. สร้างชื่อขายคาร์บอนเครดิต

จากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ๑.๕ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์ โครงการปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพโรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะเครื่ อ งที่ ๑๐ - ๑๑ ช่ ว ยลด คาร์ บ อนไดออกไซด์ (CO 2) และขายคาร์ บ อนเครดิ ต ได้ ปี ล ะเกื อ บ ๔ แสนตั น คาร์บอนไดออกไซด์เป็นเวลา ๔ ปี นับเป็นโครงการ CDM ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นโครงการ CDM จากการปรับปรุงเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในโลก นายสุนชัย คำ�นูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า การปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าแม่เมาะ หน่วยที่ ๑๐ - ๑๑ กำ�ลังผลิตติดตัง้ เครือ่ งละ ๓๐๐ เมกะวัตต์ แล้วเสร็จในปี ๒๕๕๒ สามารถเพิ่มกำ�ลังผลิตจริงได้เครื่องละไม่น้อยกว่า ๕ เมกะวัตต์ และใช้เชือ้ เพลิงลดลง ทำ�ให้สามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงด้วย ซึง่ กฟผ. ได้รบั การรับรอง ปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากกรรมการบริหาร CDM ของสหประชาชาติ (CDM Executive Board) เมือ่ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ (CCR Issuance) ปีละ ๓.๙๔ แสนตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อปี ครอบคลุม ระยะเวลา ๔ ปี รวม ๑.๕ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์ สำ�หรับการขายคาร์บอนเครดิตงวดแรก เป็นปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดได้ในปี ๒๕๕๖ โดยได้ทำ�สัญญาซื้อ-ขาย ไว้กับบริษัท Vattenfall Energy Trading Netherlands N.V. ในราคาตลาดคาร์บอนเครดิตตันละ ๑ - ๒ ยูโร คิดเป็นเงิน ประมาณ ๕.๘ ล้านบาท แม้ว่าจะเป็นจำ�นวนเงินไม่มาก แต่ก็แสดงให้เห็นว่า กฟผ. สามารถทำ�โรงไฟฟ้าแม่เมาะให้เป็น เทคโนโลยีสะอาดได้ จนได้รบั การยอมรับในระดับสากล รวมทัง้ ยังเป็นโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าทีส่ ามารถ ขายคาร์บอนเครดิตขนาดใหญ่ที่สุดในโลกในปัจจุบัน อนึ่ง คาร์บอนเครดิตคือ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่สามารถลดได้จากการดำ�เนินโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า CDM (Clean Development Mechanism) ซึ่งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วต้องการคาร์บอนเครดิต เนื่องจากมีพันธกรณีที่จะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามที่ระบุไว้ในพิธีสารเกียวโต


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

บทความพิเศษ

Feature

ก๊าซลง ค่าไฟฟ้าลงตาม

แต่สมดุลพลังงานจะช่วยสร้างเสถียรภาพในระยะยาว เรื่อง : กองสารสนเทศ ฝ่ายสื่อสารองค์กร


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นับเป็นข่าวดีของคนไทยทุกคนที่ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) มีแนวโน้ม ลดลงตามราคาก๊าซธรรมชาติเหลวในตลาดโลก ทั้งยังส่งผลให้ ราคาเชื้ อ เพลิ ง อื่ น ๆ ลดลงตามไปด้ ว ย แต่ ก ารสร้ า งสมดุ ล ทางพลังงานยังคงมีความจำ�เป็น และเป็นหลักประกันให้เกิด เสถียรภาพของราคาค่าไฟฟ้าในระยะยาว ราคาก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas - LNG) ของโลก ในช่วงไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมา ได้ลดลงค่อนข้างมาก อันเป็นผลมาจากการ พัฒนาแหล่งก๊าซธรรมชาติจากหินดินดาน (Shale Gas) จำ�นวนมาก ในทวีปอเมริกาเหนือ ปัจจุบันราคาก๊าซธรรมชาติอ้างอิงของ ประเทศสหรัฐอเมริกา หรือที่เรียกว่า US Henry Hub มีราคา เพียง ๓ - ๔ ดอลลาร์สหรัฐต่อล้านบีทียู อย่างไรก็ตาม ราคาซื้อขาย LNG ตามสัญญาและราคาตลาดจร (Spot Market) ในยุโรปและเอเชียยังแพงกว่าสหรัฐฯ หลาย เท่าตัว ดร.โชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้บริหาร ปตท. ระบุว่า ต้นทุน ในการนำ�เข้า LNG ประกอบด้วยต้นทุนในการปรับสภาพก๊าซ ให้เป็นของเหลว (Liquefaction) ต้นทุนค่าขนส่ง (Shipping) และต้นทุนการปรับสภาพก๊าซจากของเหลวให้กลับมาเป็นไอ (Regasification) ประมาณกันว่า ต้นทุน Liquefaction นั้นอยู่ที่ประมาณ ๓ ดอลลาร์สหรัฐต่อล้านบีทียู ค่าขนส่งก็ขนึ้ อยูก่ บั ระยะทาง ซึง่ ประเมินว่า การขนส่ง LNG จากสหรัฐฯ มายังภูมิภาคเอเชียจะประมาณ ๓ - ๔ ดอลลาร์สหรัฐต่อล้านบีทียู และยังมีต้นทุน Regasification ที่ประมาณ ๒ - ๓ ดอลลาร์สหรัฐ ต่อล้านบีทียู ยังไม่รวมค่าจองก๊าซธรรมชาติสำ�หรับ นำ�มาผลิต LNG ค่าขนส่งทางท่อมายังโรงปรับสภาพ ก๊าซมาเป็นของเหลว และส่วนต่างกำ�ไรที่คาดว่า จะต้องถูกบวกเข้าไปอีก รวมแล้วน่าจะเพิ่มไปอีก ๑ - ๒ ดอลลาร์สหรัฐต่อล้านบีทียู

นักวิเคราะห์หลายสำ�นักต่างมองว่า ราคา LNG ยกเว้นในสหรัฐอเมริกา จะยังอยูใ่ นระดับสูง โดยเฉพาะราคา LNG ในตลาดเอเชียทีอ่ า้ งอิงราคา นำ�เข้าของประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากเป็นผู้นำ�เข้ารายใหญ่ถึงร้อยละ ๕๐ ของปริมาณนำ�เข้าทั้งหมด โดยเอเชียเป็นภูมิภาคที่มีความต้องการ นำ�เข้า LNG มากทีส่ ดุ จากญีป่ นุ่ จีน เกาหลีใต้ อินเดีย สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย

ที่มา: BP Statistical Review of World Energy June 2014 สำ�หรับก๊าซธรรมชาติที่นำ�มาผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย มาจากแหล่ง ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยราวร้อยละ ๖๐ และนำ�เข้าอีกร้อยละ ๔๐ โดยที่ ป ริ ม าณการผลิ ต ก๊ า ซธรรมชาติ ใ นประเทศเริ่ ม ลดลงเรื่ อ ยๆ จนมีการคาดการณ์ว่า จะเหลือใช้อีก ๗ ปี ขณะที่ปริมาณการใช้ก๊าซ ธรรมชาติกลับเพิม่ สูงขึน้ ทำ�ให้ตอ้ งนำ�เข้า LNG สูงขึน้ จากปัจจุบนั ทีน่ �ำ เข้า ปีละ ๒ ล้านตัน ซึ่งหมายถึงสัดส่วนของราคาของก๊าซธรรมชาติที่แพง จะถูกนำ�มาเฉลี่ยในสูตรราคาก๊าซธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ทั้งนี้ ราคาก๊าซธรรมชาติที่ กฟผ. ซื้อจาก ปตท. ประกอบด้วยราคา เนื้อก๊าซเฉลี่ย รวมค่าการตลาดและอัตราค่าผ่านท่อ ซึ่งในเดือน กันยายน ๒๕๕๗ มีราคาเท่ากับ ๓๑๓.๖๓ บาทต่อล้านบีทียู มีรายละเอียดการคำ�นวณคือ ราคาก๊าซที่ กฟผ. ซื้อจาก ปตท. (1) = ราคาเนื้อก๊าซเฉลี่ย (2) + ค่าการตลาด (3) + อัตราค่าผ่านท่อ (4)

ค่าเชื้อเพลิงเป็นต้นทุนการผลิตไฟฟ้ากว่าร้อยละ ๕๐ และเชื้อเพลิงที่สำ�คัญ และมีผลต่อค่า Ft ที่สุดคือ ก๊าซธรรมชาติ เพราะเป็นเชื้อเพลิงที่ กฟผ. และผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหญ่ (IPP) ใช้ในการผลิตไฟฟ้ารวมกันราวร้อยละ ๖๕ แม้ว่าการปรับตัวลดลงของราคาก๊าซธรรมชาติจะช่วยให้ค่าไฟฟ้าถูกลง แต่หากสัดส่วนก๊าซธรรมชาติในประเทศลดลงก็จะทำ�ให้ตน้ ทุนก๊าซธรรมชาติ สูงขึ้นได้เช่นกัน

(1) = (2) + (3) + (4) = 288.49 + 2.15 + 21.99 = 313.63 บาทต่อล้านบีทียู ราคาเนือ้ ก๊าซเฉลีย่ 288.94 บาทต่อล้านบีทยี ู คำ�นวณจากการเฉลีย่ ถ่วงนํ้าหนักตามสัดส่วนปริมาณก๊าซจากแหล่งอ่าวไทย พม่า และ LNG ที่เท่ากับร้อยละ 67.14, 28.91 และ 3.95 ดังนี้ (2)

ราคาเนื้อก๊าซเฉลี่ย = 241.48 x 67.14 เปอร์เซ็นต์ + 377.54 x 28.91 เปอร์เซ็นต์ + 435.78 x 3.95 เปอร์เซ็นต์ = 288.49 บาทต่อล้านบีทียู

ที่มา: กระทรวงพลังงาน นอกจากนี้ บทเรียนในอดีตจากการผันผวนของราคานาํ้ มัน หรือความขัดแย้ง ระหว่างประเทศ รวมทั้งอุบัติเหตุโรงไฟฟ้า ทำ�ให้ประเทศต่างๆ พยายาม ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่งมากเกินไป เห็นได้จากตัวอย่าง การสร้างสมดุลทางพลังงานของประเทศชั้นนำ�ต่างๆ เช่น

สหรัฐอเมริกา เป็นประเทศที่ราคาก๊าซธรรมชาติถูกที่สุด

แต่สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าเป็นผลมาจาก การแข่งขันด้านต้นทุนการผลิตของโรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ ซึ่งถ่านหินยังคงมีสัดส่วนสูงสุดในปัจจุบัน


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

เยอรมนี มีนโยบายส่งเสริมการนำ�พลังงานทดแทนมาใช้ผลิตไฟฟ้าอย่างจริงจัง ทำ�ให้ปจั จุบนั กำ�ลังผลิตติดตัง้ โรงไฟฟ้าแสงอาทิตย์สงู ทีส่ ดุ ถึง ๓๘,๑๒๔ เมกะวัตต์ ซึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ ๙๐ เป็นการติดตั้งบนหลังคาบ้าน (Solar Rooftop) คิดเป็น สัดส่วนกำ�ลังผลิตติดตัง้ จากเซลล์แสงอาทิตย์รอ้ ยละ ๒๑ แต่สามารถผลิตพลังงาน ได้ร้อยละ ๖ ส่วนพลังงานลมมีสัดส่วนกำ�ลังผลิตติดตั้งร้อยละ ๒๐ แต่มีสัดส่วน การผลิตพลังงานร้อยละ ๙ โดยที่การผลิตพลังงานจากลิกไนต์และถ่านหินยังมี สัดส่วนสูงสุดที่ร้อยละ ๔๖

ญี่ปุ่น เป็นประเทศที่ไม่มีแหล่งพลังงานของตนเอง จึงสร้างสมดุล

ของแหล่งพลังงานในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน แต่ภายหลังเหตุการณ์ อุบตั เิ หตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในปี ค.ศ. ๒๐๑๑ ได้ทดแทนการผลิตไฟฟ้า ด้วยการใช้ LNG และอยูร่ ะหว่างการปรับปรุงและนำ�โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ กลับมาเดินเครื่องเพิ่มขึ้น

ในสถานการณ์ปัจจุบัน ไม่เพียงแต่ก๊าซธรรมชาติเท่านั้น ราคาพลังงานทุกประเภททั้งเชื้อเพลิง ฟอสซิ ล และพลั ง งานทดแทนก็ กำ � ลั ง ถู ก ลง นั บ เป็ น โอกาสดี ใ นการมี พ ลั ง งานต้ น ทุ น ตํ่ า และการปรับสมดุลการผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนที่เหมาะสมจากแหล่งต่างๆ เช่น ถ่านหิน พลังงาน หมุนเวียนรูปแบบต่างๆ อาทิ ชีวมวล ขยะ ลม และแสงอาทิตย์ ซึ่งจะช่วยสร้างหลักประกันที่ดี ในด้านความมั่นคงของระบบไฟฟ้าและเสถียรภาพทางราคาพลังงานในระยะยาว


๑๐

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

พลังงานวันนี้

ENERGY Today

สัดส่วนการใช้ก๊าซผลิตไฟฟ้า ของเยอรมนีลดลง และพึ่งก๊าซจากรัสเซียน้อยลง เรียบเรียง : สุภร เหลืองกำ�จร น โ ย บ า ย พ ลั ง ง า น ข อ ง เ ย อ ร ม นี ที่ เ รี ย ก ว่ า Energiewende หรื อ นโยบายพลั ง งานใหม่ เป็ น ความพยายามที่ จ ะลดสั ด ส่ ว นการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลังงานนิวเคลียร์และเชื้อเพลิงฟอสซิล สะท้อน ให้เห็นถึงความต้องการของรัฐบาลที่จะลดปริมาณ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้ลดลงร้อยละ ๗๐ ในปี ๒๕๘๓ เมื่อเทียบกับปริมาณการปล่อยก๊าซ ชนิดนี้ในปี ๒๕๓๓ พร้อมกับปิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทัง้ หมดให้ได้ภายในปี ๒๕๖๕ นโยบายนีห้ นุนให้มกี าร ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานหมุนเวียนมากขึน้ ในระยะยาว

แต่ ก ารตั ด สิ น ใจปิ ด โรงไฟฟ้ า นิ ว เคลี ย ร์ ทั้ ง ๘ โรง อย่างทันทีทันใดในปี ๒๕๕๔ หลังจากเกิดเหตุกับ โรงไฟฟ้าฟุกุชิมะ ทำ�ให้เยอรมนีต้องเลือกใช้ถ่านหิน มาแทนที่ สั ด ส่ ว นของโรงไฟฟ้ า พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ที่หายไป โดยในช่วง ๒ ปีที่ผ่านมา มีการผลิตไฟฟ้า ด้วยเชื้อเพลิงถ่านหินเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ ๑๑ ทำ�ให้ ปัจจุบันเยอรมนีมีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน มากกว่าร้อยละ ๔๕ ในทางกลับกัน ปริมาณไฟฟ้า ที่ผลิตจากก๊าซกลับลดลงมากกว่า ๑ ใน ๓ ของช่วง ระหว่างปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๖ และในปี ๒๕๕๗ ลดลง อย่ า งไรก็ ต าม ในช่ ว งที่ น โยบายยั ง ไม่ ป ระสบผล มากกว่าร้อยละ ๒๔ ซึ่งเป็นผลที่ไม่ได้คาดคิด ยังคงมีการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลอย่างถ่านหินและก๊าซ ธรรมชาติอยู่ และการดำ�เนินตามนโยบายดังกล่าว กลับส่งผลให้การใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า ลดลง จากข้อสันนิษฐานเบื้องต้นมีความเชื่อว่า นโยบาย พลั ง งานใหม่ ข องเยอรมนี จ ะทำ � ให้ มี ก ารใช้ ก๊ า ซ ผลิ ต ไฟฟ้ า มากกว่ า ถ่ า นหิ น เนื่ อ งจากการใช้ ก๊ า ซ ผลิ ต ไฟฟ้ า น่ า จะสะอาดปลอดภั ย ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม มากกว่ า เพราะโรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น ปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าโรงไฟฟ้าก๊าซถึง ๒ เท่า และยั ง มี เ ถ้ า ลอยที่ ม าจากกระบวนการผลิ ต ที่ มี รังสีมากกว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ถึง ๑๐๐ เท่าในการ ผลิตไฟฟ้าปริมาณเท่ากัน

เหตุผลหนึง่ ทีก่ ารใช้นโยบายพลังงาน Energiewende กลับส่งผลตรงข้ามก็คือ พลังงานแสงอาทิตย์มีต้นทุน ตํ่าลง ส่งผลให้มีการใช้ก๊าซน้อยลงแทนที่จะเป็นการ ใช้ถ่านหินน้อยลง เยอรมนีเหมือนกับสหรัฐอเมริกา และอังกฤษในแง่ที่ว่า ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด เกิดขึ้นในช่วงกลางวัน และความต้องการจะลดลง ในช่วงกลางคืน สอดคล้องกับพลังงานแสงอาทิตย์ที่ สามารถผลิตไฟฟ้าได้เกินความต้องการในช่วงกลางวัน จึ ง ถู ก นำ � มาใช้ เ ป็ น พลั ง งานเสริ ม ในช่ ว งที่ มี ค วาม ต้องการไฟฟ้าสูงสุด


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๑๑ เหตุผลหนึ่ง ที่การใช้นโยบายพลังงาน Energiewende กลับส่งผลตรงข้าม ก็คือ พลังงานแสงอาทิตย์ มีต้นทุนตํ่าลง

ไม่พอใจโดยการขายต่อก๊าซทีน่ �ำ เข้ามาส่วนหนึง่ ให้กบั วิ ธี ที่ ดี ใ นการเพิ่ ม ความมั่ น คงด้ า นพลั ง งานของ ยู เ ครนอี ก ด้ ว ย ทำ � ให้ ค วามขั ด แย้ ง มี ที ท่ า จะทวี ประเทศเยอรมนี คื อ การเชื่ อ มโยงระบบส่ ง กั บ ประเทศแถบสแกนดิเนเวียและประเทศอื่นๆ ใน ความรุนแรงและการค้าจะยิ่งมีข้อจำ�กัดเพิ่มขึ้น มี คำ � ถามว่ า หากเยอรมนี ยั ง ต้ อ งพึ่ ง พาก๊ า ซเป็ น ยุโรปทีม่ พี ลังงานนํา้ อยูม่ หาศาล การขยายคลัง LNG เชื้อเพลิงเสริมในช่วงที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด พร้อมเพิม่ การนำ�เข้าก๊าซราคาถูกจากสหรัฐอเมริกา โดยไม่ต้องพึ่งก๊าซจากรัสเซียได้หรือไม่ หลายคน อย่ า งไรก็ ต าม โครงการทั้ ง หลายเหล่ า นี้ ต้ อ งใช้ มองว่าเยอรมนียงั มีพลังงานหมุนเวียนอืน่ ๆ ทีส่ ามารถ เวลานานในการดำ�เนินการ ซึ่งจากราคาขายส่ง รองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในแต่ละ ไฟฟ้าของเยอรมนีที่มีราคาตํ่าในปัจจุบัน จึงเป็น ช่วงเวลา เช่น ชีวมวล นํ้า และขยะ อย่างไรก็ตาม ข้อกังวลว่า จะมีแรงจูงใจเพียงพอหรือไม่สำ�หรับ พลังงานเหล่านี้อาจจะถูกพัฒนาเต็มประสิทธิภาพ การลงทุนในโครงการเหล่านี้ ประกอบกับสถานการณ์ แล้ ว เนื่ อ งจากเยอรมนี เ ผาขยะไปในปริ ม าณที่ การเมื อ งที่ เ ผชิ ญ หน้ า ระหว่ า งยุ โรปกั บ รั ส เซี ย เหตุ ก ารณ์ ค วามขั ด แย้ ง ระหว่ า งรั ส เซี ย กั บ ยู เ ครน มากกว่าจะนำ �มาใช้ผลิตไฟฟ้า ขณะที่การพัฒนา ที่ยังตึงเครียดอยู่ เยอรมนีจะมีเวลารอให้โครงการ ที่ยังคงส่งผลกระทบต่อการจัดส่งก๊าซให้ประเทศ โรงไฟฟ้ า พลั ง นํ้ า ก็ ต้ อ งการภู มิ ศ าสตร์ ที่ เ หมาะสม ต่างๆ แล้วเสร็จได้มากน้อยเพียงใด ในยุโรป อาจทำ�ให้การลดการพึ่งพาพลังงานก๊าซ รวมทัง้ ยังมีขอ้ กังวลเกีย่ วกับความสะอาดของการเผา ของเยอรมนีเป็นเรื่องดี แม้ว่าจะมีการเจรจาระหว่าง ชีวมวลที่เป็นวัสดุจากการเกษตร สหภาพยุ โรป รั ส เซี ย และยู เ ครน เพื่ อ หาข้ อ ยุ ติ เรื่องการขนส่งก๊าซ เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๗ ที่มา: บทความเรื่อง Germany’s energy mix: Getting out of gas, Germany’s แต่กย็ งั ไม่มที ที า่ ว่าจะได้ขอ้ ยุติ เยอรมนียงั ทำ�ให้รสั เซีย reliance on Russian gas is falling, The Economist วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๘ เหตุผลสำ�คัญคือ โรงไฟฟ้าก๊าซสามารถเดินเครื่อง และหยุดเดินเครื่องได้ง่ายและรวดเร็วกว่าโรงไฟฟ้า ถ่านหินหรือนิวเคลียร์ ปกติโรงไฟฟ้าก๊าซจะใช้ผลิต ไฟฟ้าสนองความต้องการที่มีสูงสุดในช่วงกลางวัน แต่ เ นื่ อ งจากปั จ จุ บั น มี พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แ ละ พลังงานหมุนเวียนอื่นๆ มากขึ้น ซึ่งสามารถใช้เป็น พลังงานเสริมในช่วงความต้องการสูงสุดได้ โรงไฟฟ้า ก๊ า ซจึ ง ไม่ ถู ก สั่ ง ให้ เ ดิ น เครื่ อ ง ส่ ง ผลให้ โรงไฟฟ้ า ก๊าซธรรมชาติผลิตไฟฟ้าเพียงแค่ครึง่ หนึง่ ของกำ�ลังผลิต ที่มีอยู่เท่านั้นเอง ทำ�ให้บริษัทผู้ผลิตเองต้องสูญเสีย รายได้


โรงไฟฟ้าในอนาคต

Plant for Future

เสียงจากผู้เชี่ยวชาญ

ถึงความจำ�เป็นต้องก่อสร้างโรงไฟฟ้าในตอนนี้

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นองค์การที่มีภารกิจสำ�คัญในการจัดหาพลังงานไฟฟ้า เพื่อความสุขของคนทั้งประเทศ การดำ�เนินงานมีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม ดังนั้น จึงต้องมีการสื่อสารเพื่อความเข้าใจในภารกิจและกระบวนการดำ�เนินงาน ด้วยความสำ�คัญดังกล่าว กฟผ. ได้จัดกิจกรรมนำ�ตัวแทนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ เช่น สื่อมวลชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน และสิง่ แวดล้อม สถาบันการศึกษา ไปศึกษาดูงานโรงไฟฟ้าต่างๆ ในต่างประเทศ โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าเทคโนโลยี ถ่านหินสะอาด ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยสร้างความมั่นคงให้กับระบบไฟฟ้าของประเทศ ส่งผลให้ได้รับ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้เดินทางไปดูงานอันเป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินงานของ กฟผ.


๑๓ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ ๑๒ - ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ กฟผ. ได้จัดกิจกรรม ศึกษาดูงานโรงไฟฟ้าเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด ณ ประเทศญี่ปุ่น หนึ่ ง ในผู้ ร่ ว มเดิ น ทางครั้ ง นั้ น คื อ คุ ณ ประเสริ ฐ สุ ข จามรมาน ผู้อำ�นวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ มหาชน) ได้แสดงความคิดเห็นที่ได้จากการศึกษาดูงานว่า “สิ่งที่เป็นประโยชน์มากจากการดูงานในครั้งนี้คือ ได้รับทราบว่า ประเทศที่ มี เ ทคโนโลยี ที่ ก้ า วหน้ า อย่ า งประเทศญี่ ปุ่ น ก็ มี ก าร เตรียมความพร้อมเรื่องพลังงานเป็นอย่างมาก ญี่ปุ่นเป็นประเทศ ที่นำ�เข้าพลังงานทั้งหมด ประเทศไทยเองส่วนใหญ่ก็ต้องพึ่งพิง พลังงานจากต่างประเทศ ฉะนั้นจะบริหารจัดการอย่างไรให้มี พลังงานเพียงพอที่จะใช้เพื่อการพัฒนาประเทศ และความเป็นอยู่ ของประชาชนตามมาตรฐานที่ควรจะเป็น

คุณประเสริฐสุข จามรมาน


๑๔

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

“ประเทศไทยยังขาดองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับ เรื่องของพลังงาน คนยังมีความกังวลว่าพลังงานใน หลากหลายรู ป แบบนั้ น จะมี ผ ลกระทบเชิ ง ลบต่ อ สิ่งแวดล้อม การที่หลายประเทศโดยเฉพาะประเทศ ทีก่ �ำ ลังพัฒนาหันกลับมาใช้ถา่ นหินนัน้ ไม่ได้เป็นสิง่ ที่ ผิดปกติไปจากประเทศอืน่ ๆ ประเทศไทยก็เหมือนกับ หลายๆ ประเทศที่ กำ � ลั ง พั ฒ นา เราจำ � เป็ น ต้ อ ง เลือกสิ่งที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของประเทศไทย เราคงต้องหันมาพึ่งพิงการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน ตามนโยบายรัฐบาลอย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น ประเด็น อยู่ที่ว่า เราจะจัดการอย่างไรให้การผลิตไฟฟ้าจาก ถ่ า นหิ น เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ขณะเดี ย วกั น ก็ ล ด ผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนให้มากที่สุด ซึ่งเชื่อว่าทาง กฟผ. กระทรวง พลังงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถช่วยกัน บริหารจัดการได้ และเชื่อมั่นว่าทาง กฟผ. ก็คงต้อง เลือกสิ่งที่ดีที่สุดสำ�หรับคนไทย “ส่วนการสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ มองว่ายังมีความจำ�เป็น สำ�หรับประเทศไทย เพราะว่าขณะนีน้ อกจากปริมาณ ไฟฟ้าบางพื้นที่ไม่เพียงพอแล้ว ปริมาณสำ�รองก็ตํ่า จนเกิ น ไป ขณะเดี ย วกั นก็ ต้ องคำ�นึงถึงความเห็น ของประชาชนในพื้นที่ คิดว่า กฟผ. ก็ยินดีที่จะรับฟัง ความคิ ด เห็ น ของประชาชนที่ อ ยู่ ใ นพื้ น ที่ ที่ กฟผ. จะเข้าไปสร้างโรงไฟฟ้า สิ่งที่ กฟผ. ทำ�ก็เพื่อบริการ ประชาชน ไม่ได้ท�ำ ด้วยเจตนารมณ์ของการหารายได้ เพราะว่าหน่วยงานของรัฐนั้นมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การให้บริการประชาชนทีด่ ี ดังนัน้ ภารกิจใหญ่หลวง ของ กฟผ. คือ ต้องดำ�เนินการในเชิงรุกให้มากยิ่งขึ้น เพื่ อ ที่ จ ะสร้ า งความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ ง และเกิ ด การ ยอมรับกันอย่างจริงใจ “ส่วนตัวก็หวังว่าประชาชนในพื้นที่ซึ่งรู้จักและเข้าใจ พืน้ ทีข่ องตนเองเป็นอย่างดี น่าจะร่วมมือกันให้ขอ้ มูล ที่ถูกต้องกับหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบในการทำ� โครงการต่างๆ ไม่ใช่เฉพาะแต่ กฟผ. เท่านั้น จะได้ ช่วยกันวิเคราะห์ว่าควรจะเลือกไปในทิศทางไหน เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ ชุ ม ชนและประเทศของเรา มากที่สุด ทุกสิ่งทุกอย่างจัดการได้บนพื้นฐานของ ข้อมูลที่ถูกต้อง และต้องยอมรับข้อมูลที่เป็นวิชาการ ด้วย มิใช่เลือกเอาแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อฝ่ายใด ฝ่ายหนึง่ สิง่ เหล่านัน้ ไม่กอ่ ให้เกิดประโยชน์อย่างยัง่ ยืน ให้กับชุมชนและประเทศของเรา


๑๕

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

“ต้องมองประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก บ้านเรา ขาดแคลนพลั ง งานสำ � รอง การที่ รั ฐ เองเลื อ กใช้ พื้ น ที่ ใ ดพื้ น ที่ ห นึ่ ง ไม่ ไ ด้ ห มายความว่ า เป็ น การ สร้างภาระให้กับพื้นที่นั้น กลับมองว่าการที่พื้นที่ใด พื้นที่หนึ่งได้รับเลือกว่ามีความเหมาะสม เป็นการ สร้ า งประโยชน์ ใ ห้ กั บ คนในชุ ม ชนได้ ม ากกว่ า แค่ ผลิตไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว สิ่งที่ดีๆ น่าจะเกิดขึ้นได้ อีกมากมาย ในขณะเดียวกัน เราคงต้องช่วยกันดูว่า เราจะแก้ไขปัญหาหรือจุดอ่อนหรือผลกระทบต่างๆ ได้อย่างไร “แม้วา่ ตัวเองจะอยูใ่ นองค์กรทีท่ �ำ งานด้านสิง่ แวดล้อม แต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ป ฏิ เ สธการสร้ า งโรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น ต้ อ ง ยอมรับว่า ประเทศไทยยังต้องการการพัฒนา ยังต้อง คำ�นึงถึงเศรษฐกิจ ต้องใช้พลังงานที่มีต้นทุนไม่สูงนัก และจัดการได้ แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องมีการบริหาร จัดการที่ดี ปัจจุบันเรายังไม่มีเทคโนโลยีที่ดีมากพอ ที่ จ ะไม่ ใ ห้ มี ก ารปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก การที่ จ ะ บอกว่าประเทศไทยจะมีโรงไฟฟ้าที่จะไม่มีการปล่อย ก๊าซใดๆ ออกไปเลย จากสภาพการณ์ในปัจจุบัน และอีก ๑๐ - ๒๐ ปีข้างหน้า มีโอกาสน้อยมาก เป็น ภาระของ กฟผ. และกระทรวงพลังงานที่จะต้องทำ� ความเข้าใจให้ได้ว่า ไม่ว่าจะใช้พลังงานประเภทใด มาผลิตไฟฟ้า กฟผ. ก็จะสามารถจัดการได้ ต้อง สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ ป ระชาชน ขอยกตั ว อย่ า ง เทคโนโลยี IGCC – Integrated Gasification Combined Cycle ที่มีความก้าวหน้า สามารถ ใช้ กั บ ถ่ า นหิ น ได้ ทุ ก ประเภท ลดการปล่ อ ยก๊ า ซ ในขณะเดียวกันก็ต้องใช้เงินลงทุน กฟผ. จะเลือก ทางใดให้เป็นประโยชน์ต่อการลงทุนมากทีส่ ุด ควบคู่ ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม

“ยังมีเทคโนโลยี CCS – Carbon Capture and Storage ที่เรายังทำ�ไม่ได้ อยากให้ทาง กฟผ. ลอง นำ�ผู้เกี่ยวข้องไปดูงานในด้านนี้ด้วย เราอาจมุ่งไปที่ การประหยัดพลังงานโดยใช้เทคโนโลยีทมี่ ปี ระสิทธิภาพ ทั้งนี้ ขอแจ้งเป็นข้อมูลว่า นับจากปี ค.ศ. ๒๐๒๐ ทุกประเทศที่ลงนามในอนุสัญญาแห่งประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC: United Nations Framework Convention on Climate Change) กำ�หนดให้ทุกประเทศต้องเสนอ เป้ า หมายในการลด CO2 ซึ่ ง ประเทศไทยก็ เ ป็ น หนึ่ ง ในนั้ น การปลู ก ป่ า ที่ กฟผ. พยายามทำ � อยู่ สามารถช่วยดูดซับ CO2 ได้จริง แต่ไม่ได้หมายความว่า เราจะปล่ อ ยก๊ า ซเท่ า ไรก็ ไ ด้ แล้ ว ใช้ วิ ธี ป ลู ก ต้ น ไม้ มาทดแทน เพราะไม่ ทั น การณ์ กว่ า ต้ น ไม้ จ ะโต ต้องใช้เวลาอย่างน้อย ๕ ปี ขอเสนอแนะการปลูกป่า โกงกางเพราะเป็นป่าที่สามารถดูดซับได้มากกว่า ๔ เท่า และยังเป็นแหล่งเลีย้ งสัตว์นาํ้ นานาชนิดอีกด้วย” ทั้งหมดนี้คือความคิดเห็นส่วนหนึ่งที่ กฟผ. ได้รับ จากผู้ร่วมเดินทางศึกษาดูงานโรงไฟฟ้าเทคโนโลยี ถ่านหินสะอาด ซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ การดำ�เนินงาน ของ กฟผ. ในอนาคต ด้วยการนำ�ความคิดเห็นเหล่านี้ ไปปรับใช้ในการทำ�งาน คำ�นึงถึงสังคมและสิง่ แวดล้อม เพื่อให้เกิดการยอมรับและเชื่อมั่นจากประชาชน โดยทั่วไป


เส้นทางสู่ธุรกิจ

Road to BUSINESS

กฟผ. และกลุ่มราชบุรีโฮลดิ้ง นำ�ร่อง

ระบบการซื้อขายใบอนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ

การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ เพิ่ ม มากขึ้ นทั่ ว โลกเกิ ด จากกิ จ กรรม ของมนุ ษ ย์ ทั้ ง สิ้ น นำ � มาซึ่ ง ผลกระทบต่ า งๆ มากมาย ที่ ผ่ า นมา หลายประเทศมีแนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาอย่าง ต่ อ เนื่ อ งโดยการกำ � กั บ และควบคุ ม การสร้ า งความตระหนั ก และ การใช้แรงจูงใจให้ผู้ก่อมลพิษลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เรื่อง : ประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าราชบุรี


๑๗ ปัจจุบันจึงมีเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยผ่านการสร้างแรงจูงใจ ๒ รูปแบบ คือ

๑. การกำ�หนดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการซื้อขายแลกเปลี่ยน

สิทธิในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อควบคุมปริมาณก๊าซเรือนกระจกในตลาด คาร์ บ อนทั้ ง ที่ เ ป็ น ตลาดภาคบั ง คั บ แบบทางการและตลาดที่ เ กิ ด จากความ สมัครใจ ซึ่งประเทศไทยเข้าร่วมด้วยความสมัครใจโดยผ่านโครงการกลไก การพัฒนาที่สะอาด หรือ Clean Development Mechanism (CDM) มีการ ส่งเสริมและพัฒนาโครงการ CDM อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มี Certified Emission Reductions (CERs) ไปขายเป็นรายได้และเป็นแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการ เข้ามาลงทุนมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโครงการด้านพลังงานทดแทน และพบว่า มาตรการส่งเสริมด้านการเงินการคลังยังมีข้อจำ�กัดในการพัฒนาโครงการ CDM หลายประการ

๒. การจัดเก็บภาษีคาร์บอน เป็นการกำ�หนดด้านราคาเพื่อควบคุมพฤติกรรม

การใช้สินค้าที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ประเทศไทยมีการศึกษาความเป็นไปได้ ในการจัดเก็บภาษีคาร์บอนสำ�หรับดีเซล เบนซิน และก๊าซแอลพีจี แต่ยังไม่มี การดำ�เนินการจัดเก็บในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การนำ�เครื่องมือทั้งการ ซื้อขายก๊าซเรือนกระจกในตลาดคาร์บอนและภาษีคาร์บอน มีเป้าหมายในการ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศ และกระตุน้ ให้มกี ารพัฒนาเทคโนโลยี ที่สะอาดมากขึ้น ดังนั้น บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ผลิตไฟฟ้า ราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) โดยนายสมนึก จินดาทรัพย์ กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี จำ � กั ด และนางวราภรณ์ คุ ณ าวนากิ จ หั ว หน้ า กองบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ฝ่ายสิ่งแวดล้อมโครงการ ตัวแทนการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เข้าร่วมพิธีลงนามบันทึกความร่วมมือ โครงการนำ�ร่องระบบการซือ้ ขายใบอนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ของประเทศไทย กับองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. โดยนางประเสริฐสุข จามรมาน ผู้อำ�นวยการองค์การบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) และศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดย รศ. ดร.ทวีวงศ์ ศรีบุรี กรรมการผู้อำ�นวยการศูนย์บริการ วิ ช าการแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย พร้ อ มด้ ว ยผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า และบริ ษั ท ปิโตรเคมีอนื่ อีก ๔ แห่ง เมือ่ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องกรุงเทพฯ ๒ ชัน้ M โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ สำ � หรั บ ระบบการซื้ อ ขายใบอนุ ญ าตปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกภาคสมั ค รใจ ของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Trading Scheme) หรือ ระบบ Thailand V-ETS เป็นกลไกหนึ่งในสามกลไกที่ อบก. ได้พัฒนาขึ้นภายใต้ ตลาดคาร์บอนภาคสมัครใจของประเทศไทย เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับ ภาคเอกชนและหน่วยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องมีขดี ความสามารถในการบริหารจัดการ และลดก๊าซเรือนกระจกภายในองค์กรของตนเอง เพราะจากเวทีการเจรจา ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศระดับโลก ประเทศไทยได้ให้คำ�มั่นที่จะ ลดก๊าซเรือนกระจกให้ได้ร้อยละ ๗ - ๒๐ ในปี ๒๕๖๓ เป็นต้นไป

โครงการนำ�ร่องระบบการซือ้ ขายใบอนุญาต ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกภาคสมั ค รใจ ของประเทศไทยจะเป็นเครื่องมือที่ช่วย ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของมาตรการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ของโรงไฟฟ้ า ที่ ผ่ า นมา ขณะเดี ย วกั น ยังเป็นกลไกผลักดันการพัฒนาแนวทางและเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก ของโรงไฟฟ้า กฟผ. โรงไฟฟ้าราชบุรี และโรงไฟฟ้าแห่งอื่นในกลุ่มบริษัทฯ ที่เป็น รูปธรรมและสามารถตอบสนองเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ในระยะยาวด้วย สำ � หรั บ กฟผ. ได้ จั ด ส่ ง โรงไฟฟ้ า เข้ า ร่ ว มโครงการฯ จำ � นวน ๗ แห่ ง ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าแม่เมาะ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนบางปะกง โรงไฟฟ้า พลังความร้อนร่วมพระนครใต้ โรงไฟฟ้าวังน้อย โรงไฟฟ้ากระบี่ โรงไฟฟ้าจะนะ และโรงไฟฟ้านาํ้ พอง ทัง้ นี้ กฟผ. ได้ด�ำ เนินการพัฒนาโครงการลดก๊าซเรือนกระจก ในรูปแบบต่างๆ มาอย่างต่อเนื่อง ในฐานะองค์กรที่เป็นผู้นำ�ในการผลิตไฟฟ้า ควบคู่ไปกับการดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสังคม อาทิ โครงการกลไก การพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) โครงการ ลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER) โครงการปลูกป่าถาวร เฉลิมพระเกียรติฯ โครงการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า เป็นต้น สำ � หรั บ โรงไฟฟ้ า ราชบุ รี เป็ น โรงไฟฟ้ า ภายใต้ ก ารบริ ห ารของบริ ษั ท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จำ�กัด ถือเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าที่มีบทบาทสำ�คัญในการ เสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ ด้วยกำ�ลังผลิตติดตั้ง ๓,๖๔๕ เมกะวัตต์ การดำ � เนิ น งานของโรงไฟฟ้ า ราชบุ รี มุ่ ง หมายความยั่ ง ยื น ด้ า นพลั ง งาน กล่ า วคื อ ผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ เพื่ อ ความมั่ น คงของระบบไฟฟ้ า ในราคาเป็นธรรมที่ทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงไฟฟ้าได้ และเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ตลอดระยะเวลา ๑๔ ปี โรงไฟฟ้าราชบุรีได้ดำ�เนินมาตรการ ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งที่แหล่งผลิตคือ โรงไฟฟ้า และดูแลผืนป่า เพื่อรักษาแหล่งกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ควบคู่กันไป


๑๘

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

จับเข่าเล่าประสบการณ์

ROUND Table เรื่อง : อัครพล รักศรีรุ่งเรือง ภาพ : กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

ก็เพราะ หัวใจ ทุ ก วั น นี้ บางองค์ ก ารได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ เรื่องการเสริมสร้างขีดความสามารถของ บุ ค ลากร จนหลงลื ม ไปว่ า ความผู ก พั น ในองค์ ก ารเริ่ ม ลดลงหรื อ จื ด จางจนขาด ความเป็ น หนึ่ ง เดี ย ว ฉะนั้ น ความผู ก พั น จึงถูกตีราคาค่างวดมากกว่าความพึงพอใจ และเป็ นกุ ญ แจสำ � คั ญ ที่ ผู ก มั ด ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน และการอยู่ร่วมกันในองค์การไปนานๆ และ พั ฒ นาไปอย่ า งช้ า ๆ แต่ มั่ นคง กลายเป็ น แรงผลักดันและเกิดแรงจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงาน อุทิศตนเพื่อองค์การ

เราผูกพัน


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

สำ�หรับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นองค์การหนึ่ง ทีม่ คี วามผูกพันอันเกิดจากเนือ้ งานจนเกิดความสามัคคี แม้เวลาจะผ่านไป เนิ่นนานแล้วก็ตาม แต่รุ่นพี่ๆ ยังจำ�คืนวันแห่งความสุขที่เคยร่วมงานกัน โดยเฉพาะอดี ต ผู้ว่าการ กฟผ. ได้ม อบข้อคิด ดีๆ จากประสบการณ์ การทำ�งานในอดีต เพื่อเป็นแนวทางในการทำ�งาน ผ่านงาน “เชิญพี่ เยี่ ย มบ้ า น กฟผ. ๒๕๕๘” เพื่ อ แสดงออกถึ ง ความรั ก ความผู ก พั น ระหว่างน้องพี่ชาว กฟผ. ที่ยังรู้สึกห่วงใยในการทำ�งานของรุ่นน้องๆ พร้อมที่จะช่วยเหลือให้คำ�แนะนำ�และเกื้อหนุน กฟผ. อยู่ตลอดเวลา นับเป็นวัฒนธรรมองค์การที่บ่งบอกถึงสายสัมพันธ์อันแน่นแฟ้น พลอากาศเอก กำ�ธน สินธวานนท์ องคมนตรี อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนที่ ๒ กล่าวว่า รูส้ กึ ยินดีทกุ ครัง้ ทีไ่ ด้กลับมาเยีย่ มบ้าน กฟผ. วันนี้บ้านหลังนี้โก้หรูขึ้นมาก หากเทียบกับอดีต เมื่อหันมามอง ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนภายในองค์การ ก็ ยิ่ ง รู้ สึ ก ดี ใ จ เพราะทุ ก คนมี กิ ริ ย าท่ า ทางที่ ก ระฉั บ กระเฉง ทะมัดทะแมง พร้อมที่จะทำ�งาน อย่ า งเต็ ม ศั ก ยภาพ โดยเฉพาะ ได้ เ ห็ น พนั ก งานหญิ ง ผู้ บ ริ ห ารหญิ ง ที่มีบุคลิกดี สมาร์ท สอดคล้องกับภารกิจ ของ กฟผ. ในปั จ จุ บั น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น แต่ อั ต รา กำ�ลังคนยังคงเท่าเดิม แสดงให้เห็นว่าผู้ปฏิบัติงานของ กฟผ. มีศักยภาพ มากขึ้น สำ�หรับโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ที่กระบี่นั้น ได้รับข้อมูลมาว่าไม่ใช่ปัญหาในเรื่อง ของเทคนิคหรือเทคโนโลยีในการสร้างโรงไฟฟ้า แต่เป็นเรื่องของการ ทำ�ความเข้าใจ กฟผ. เติบโตได้ต้องพูดความจริง ต้องทำ�ให้ประชาชน รู้ว่าเราเป็นคนดี คิดดี ทำ�ดี ต้องทำ�ให้ประชาชนเข้าใจ ต้องตีโจทย์ให้แตก ว่าทำ�อย่างไรทีจ่ ะทำ�ให้คนมีอ�ำ นาจเข้าใจเรือ่ งต่างๆ ของ กฟผ. เราต้องพูด แบบตรงไปตรงมา พูดแบบมีเกียรติ วันนี้ กฟผ. จะใหญ่โตได้ ไม่ใช่ ใหญ่ โ ตเพี ย งแค่ ตึ ก หรื อ อาคาร แต่ กฟผ. ต้ อ งใหญ่ โ ตเพราะเขา เข้าใจเรา ต้องทำ�ให้เขาเห็นว่าเราเป็นคนซือ่ สัตย์ ซือ่ ตรง และมีเกียรติยศ เรื่องสุดท้ายที่อยากฝากไว้คือ การปลูกฝังคุณธรรมให้กับผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ทุกคน อยากให้คนภายนอกเห็นแล้วรู้ทันทีว่า อย่างนี้แหละคือ คน กฟผ. หรืออย่างนีแ้ หละทีค่ น กฟผ. ไม่ท�ำ กัน ขอให้เราเป็นคน กฟผ. ที่เป็นตัวอย่างที่ดีของประเทศชาติ และมุ่งมั่นทำ�งานอย่างเต็มศักยภาพ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายทีว่ างไว้ ขอให้ทกุ คนอยูอ่ ย่างรัก กฟผ. ทำ�งานอย่าง เป็นเลิศ และเทิดคุณธรรม

๑๙ นายเผ่าพัชร ชวนะลิขิกร อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนที่ ๓ ได้ฝากข้อคิดดีๆ ผ่านบทสัมภาษณ์มาถึงผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ว่า ทุกคนที่ทำ�งานอยู่ใน กฟผ. จะอยู่ในตำ�แหน่งใดหรือหน้าที่ใด ก็เป็นเหมือนคนในครอบครัวเดียวกัน วันนี้ กฟผ. พัฒนา เติบโต และ แข็งแรงขึ้นมาก เป็นเพราะคน ในบ้านไม่ทะเลาะกัน พวกเรา ทุ ก คนมี ค วามรั ก และความ สามัคคี เป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน ขอให้พวกเราทุกคนรักกันเช่นนี้ ตลอดไป ส่วนการทำ�งานนัน้ ขอให้นกึ ถึงประโยชน์ ต่อ กฟผ. ประชาชน และประเทศชาติที่จะได้รับ เป็นหลัก ซึ่งเมื่อเราทุกคนรับรู้ว่าภารกิจที่เราได้ลงมือทำ�ไปนั้นเป็นการ สร้างความสุขให้กบั ประชาชนและส่งผลดีตอ่ สังคมและบ้านเมือง เราก็จะ ยิ่งรักและทุ่มเทในการทำ�งานมากยิ่งขึ้น ขอให้ทุกคนเจริญด้วยความคิดดี ที่มุ่งมั่นทำ�ดีต่อบ้านเมือง เจริญด้วยพระพรชัยมงคลตลอดไป นายปรีชา จูงวัฒนา อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนที่ ๕ กล่าวว่า รู้สึกยินดี เป็นอย่างยิ่งที่ กฟผ. สามารถรักษาเสถียรภาพในเรื่องของการจ่ายไฟฟ้า ได้เป็นอย่างดี ตลอดปีที่ผ่านมาไม่มีไฟตก ไฟดับ ที่สำ�คัญผลประกอบการยังคง อยู่ ใ นระดั บ ที่ ดี ม าก สำ � หรั บ เรื่ อ ง การทำ � งานนั้ น รู้ สึ ก เห็ น ใจที่ มี ความตั้ ง ใจทำ � อะไรดี ๆ ให้ กั บ สังคม อาทิ ในเรื่องการเลือกใช้ เชื้อเพลิงที่มีต้นทุนตํ่า เพื่อจะ ทำ � ให้ ป ระชาชนได้ ใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ มี ราคาไม่ แ พง แต่ สั ง คมอาจยั ง ไม่เข้าใจ ซึง่ ตลอดระยะเวลาที่ กฟผ. ได้ดำ�เนินภารกิจมา ผู้ว่าการทุกท่าน ได้ตั้งปณิธานไว้ว่า ทุกกระบวนการทำ�งาน จะต้ อ งไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง เชื่ อ ว่ า ทุกคนรับรู้ แต่ทำ�ไมสังคมยังไม่เข้าใจ กฟผ. ตรงนี้ ก็เป็นเรื่องที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ รู้สึกเห็นใจพวกเราทุกคนมากๆ


๒๐

นายวีระวัฒน์ ชลายน อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนที่ ๖ นายวิทยา คชรักษ์ อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนที่ ๗ และนายสมบัติ ศานติจารี อดีตผูว้ า่ การ กฟผ. คนที่ ๑๐ ทั้งสามท่านได้กล่าวเน้นเรื่องของการดูแลและรักษา สุ ข ภาพ เพราะผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน กฟผ. ทุ ก คนถื อ เป็ น ทรัพยากรที่สำ�คัญที่สุดในการขับเคลื่อนให้ กฟผ. เจริญ เติบโตไปข้างหน้า หากผูป้ ฏิบตั งิ าน กฟผ. มีสขุ ภาพร่างกาย ที่ ไ ม่ แข็ ง แรง ก็ จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ ภารกิ จ ของ กฟผ. โดยเฉพาะผู้ปฏิบัติงานที่มีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป ควรหมั่น ตรวจสุขภาพโดยเฉพาะโรคหัวใจ พร้อมเป็นกำ�ลังใจ และขอให้ ทุ ก คนมี ค วามหวั ง มี ค วามอดทน คิดทำ�งานเพื่อนำ�พาองค์กรไปสู่แนวทางที่ดี ที่เป็น ประโยชน์ต่อประเทศชาติและบ้านเมืองตลอดไป

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นายสิทธิพร รัตโนภาส อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนที่ ๘ ได้แนะแนวทาง ในการทำ � งานว่ า อยากเห็ น ภาพความเชื่ อ มโยงระบบไฟฟ้ า แรงสู ง ASEAN Power Grid เพราะเชื่ อ ว่ า จะมี ป ระโยชน์ ทางด้านไฟฟ้าให้กับประเทศไทยอย่างมาก การที่ จ ะเกิ ด ASEAN Power Grid ขึน้ ได้นนั้ อาเซียนต้องทำ�ระบบสายส่ง ให้เป็น Third Party Access เพือ่ ให้ ทุกคนได้เข้ามาใช้ Access เดียวกัน ประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ จาก ASEAN Power Grid จะทำ�ให้ระบบไฟฟ้า มีความมัน่ คงยิง่ ขึน้ เนือ่ งจากภาคใต้ ของอาเซี ย นมี เชื้ อ เพลิ ง ประเภท ฟอสซิ ล (Fossil) เป็ น จำ � นวนมาก ซึ่ ง เหมาะกั บ การทำ � เป็ น โรงไฟฟ้ า ฐาน (Base Load Plants) ส่ ว นภาคเหนื อ ของ อาเซี ย นมี นํ้ า สามารถทำ � เป็ น โรงไฟฟ้ า เพื่ อ เสริ ม ความมั่ น คงในกรณี ที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง (Peak Load Plants) ได้ นายไกรสีห์ กรรณสูต อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนที่ ๙ กล่าวว่า ด้วยบทบาท ทีว่ นั นีไ้ ด้รบั หน้าทีใ่ ห้เป็นคณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน (Regulator) และต้องเข้ามาดูเรื่องค่าไฟฟ้า ต้องดูให้ผู้ประกอบการมีกำ�ไรพอสมควร จึงจำ�เป็นที่จะต้องหาจุดที่เหมาะสมของค่าไฟฟ้า ซึ่งในอนาคต กฟผ. ยังจะมีข้อจำ�กัดเรื่อง ของปริ ม าณไฟฟ้ า สำ � รองที่ ม ากขึ้ น เพราะการใช้ ไ ฟฟ้ า ในประเทศจะ ลดลง อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ลุ่ ม ของผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้าเอกชนอยู่มาก ทั้งนี้ขอให้ กำ�ลังใจให้พวกเราทุกคน รวมทั้ง ขอให้พวกเราดูแลรักษาสุขภาพ หมั่นออกกำ�ลังกาย ที่สำ�คัญควร ศึกษาพระธรรม ปฏิบัติธรรม และ ควรฝึกการนั่งสมาธิด้วย

๒๑ นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนที่ ๑๑ กล่าวว่า ในช่วงเวลานี้เป็นช่วงที่ดีสำ�หรับ กฟผ. เพราะทุกคนทุกหน่วยงานพูด ตรงกันว่า ต้องสร้างโรงไฟฟ้าที่ภาคใต้ โดยเฉพาะการก่อสร้างโครงการ โรงไฟฟ้าจังหวัดกระบี่ แม้ว่าต้นทุนอาจจะสูงบ้าง แต่เป็นเรื่องที่ กฟผ. ต้องมีการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องเกิดความเข้าใจใน ประเด็นต่างๆ อย่างครอบคลุม นอกจากนี้ เรือ่ งเกีย่ วกับ กฟผ. และบริษทั ในเครือ (Synergy EGAT Group) ควรต้อง มีการร่วมมือกันเพื่อก้าวไปในประเทศ เพื่อนบ้าน ซึ่งจะเป็นโอกาสอันดี ในการพัฒนาระบบไฟฟ้าภายใน ประเทศ “ดังนัน้ ในการเตรียมความพร้อม สำ�หรับผู้สืบทอดตำ�แหน่งงาน จึ ง อยากฝากผู้ บ ริ ห ารหรื อ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งว่ า การทำ � งาน ให้ สำ � เร็ จ ถ้ า คิ ด ในช่ ว ง ๕ ปี จะเห็ น ว่ า เป็ น ช่ ว งที่ ผ่ า นไปเร็ ว มาก หากมีการจัดลำ�ดับความสำ�คัญของงาน และมีการถ่ายโอนงาน เพื่อวางแผนการพัฒนางาน กันไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ รวมทั้งต้องหาโอกาสใหม่ๆ ให้มากขึ้น เพราะเรา ต้ อ งพั ฒ นาตนเองและองค์ ก ารให้ ทั น ต่ อ การทำ � งานสมั ย ใหม่ เชื่ อ ว่ า ผูบ้ ริหารทุกคนทำ�ได้ และจะทำ�ได้ดี ขอเป็นกำ�ลังใจ และยินดีทจ่ี ะปวารณาตัว ในการที่จะเข้ามาช่วยงาน กฟผ.” นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ กล่าว ข้ อ คิ ด ดี ๆ จากอดี ต ผู้ ว่ า การทั้ ง ๙ ท่ า น ล้ ว นมี ค วามหมายและมี ส่วนช่วยในการพัฒนา กฟผ. ให้เจริญเติบโตไปข้างหน้าอย่างครอบคลุม ทุกมิติ ซึ่งทุกมุมมองที่แสดงออกมานั้นล้วนแสดงออกถึงความรัก ความผู ก พั น ความเป็ น ห่ ว งเป็ น ใยต่ อ บ้ า น กฟผ. หลั ง นี้ อ ย่ า งไม่ เสื่อมคลาย


๒๒

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

อนุรักษ์พลังงาน

ชาวคลองเรือ เตรียมผลิตนํ้ามันพืชและไบโอดีเซล ใช้พลังงานจากโรงไฟฟ้าชุมชน เพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร

เรื่องและภาพ : แผนกสื่อสารงานเชื้อเพลิง

ENERGY Saving

ชุมชนบ้านคลองเรือ ตำ�บลปากทรง อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร เป็นชุมชนตัวอย่างที่อยู่ห่างไกลจากความเจริญ มีประชากร ทั้งหมดไม่ถึง ๔๐๐ คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แบบผสมผสาน สวนผลไม้ กาแฟ ยางพารา และปาล์มนํา้ มัน ทำ�ให้ ประสบกับปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและองค์ความรู้ต่างๆ ความต้องการของชาวคลองเรือที่ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทำ � ให้ เ กิ ด โรงไฟฟ้ า พลั ง นํ้ า ชุ ม ชนบ้ า นคลองเรื อ ดำ � เนิ น งาน ภายใต้โครงการการจัดการความรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ ภาคใต้ (ปี ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔) โดยความร่วมมือระหว่างฝ่าย สื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ และมหาวิ ท ยาลั ย ชี วิ ต นครศรี ธ รรมราช โดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วม การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ชุมชน การสนับสนุนด้านวิชาการจาก กฟผ. และหน่วยงาน ภาคีเครือข่าย เป็นการให้ความสำ�คัญกับชุมชนที่ดูแลรักษาป่า มากว่า ๒๐ ปี จนกลายเป็นแหล่งต้นนํ้าที่อุดมสมบูรณ์และ


มี ศั ก ยภาพในการนำ � มาใช้ ใ นการผลิ ต ไฟฟ้ า เปิ ด โอกาสให้ ชุ ม ชน สร้ า งโรงไฟฟ้ า ด้ ว ยตั ว ชุ ม ชนเองจนประสบความสำ � เร็ จ สามารถ จ่ายไฟฟ้าได้ตั้งแต่ปี ๒๕๕๕ เป็นต้นมา โดยชุมชนทำ�การเดินเครื่อง และบำ�รุงรักษาโรงไฟฟ้าด้วยตัวเอง ผลจากความเพียรในการดูแลป่า มากว่ า ๒๐ ปี ทำ � ให้ ชุ ม ชนคลองเรื อ รํ่ า รวยทรั พ ยากร มี นํ้ า พืชเศรษฐกิจอย่างพอเพียง และหนึง่ ในผลผลิตทางการเกษตรคือ ปาล์ม หากมีการนำ�มาแปรรูปเป็นไบโอดีเซลแล้ว เชื่อว่าจะทำ�ให้คนในชุมชน มีรายได้เพิ่มขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จนเมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ได้มีการประชุมหารือร่วมกัน เพือ่ พัฒนาเพิม่ มูลค่าพืชผลทางการเกษตรภายในชุมชน โดยนำ�พลังงาน ไฟฟ้าที่ผลิตจากโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชนบ้านคลองเรือมาใช้ในการ แปรรู ป ปาล์ ม นํ้ า มั น เป็ น นํ้ า มั น พื ช สำ � หรั บ ปรุ ง อาหารและนํ้ า มั น ไบโอดีเซล ทั้งนี้ นายมนัส คล้ายรุ่ง ผู้ใหญ่บ้านบ้านคลองเรือ ได้เชิญ นายศิริพงษ์ รุ่งเรือง ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงานทดแทนและวิสาหกิจ ชุมชน นายกรสกล กิตติอำ�พน หัวหน้าแผนกสื่อสารงานเชื้อเพลิง ฝ่ายสื่อสารองค์การ กฟผ. และผู้แทนชาวบ้านกลุ่มผู้ปลูกปาล์มนํ้ามัน บ้านคลองเรือ ตำ�บลปากทรง อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร หารือร่วมกัน นายมนัส คล้ายรุ่ง กล่าวว่า บ้านคลองเรือมีผู้ปลูกปาล์มนํ้ามันรวม ๓๐ ครัวเรือน ได้ผลผลิตปาล์มสดรวมประมาณ ๖๖ ตันต่อเดือน ปกติน�ำ ไป จำ�หน่ายที่จุดรับซื้อในราคาตันละประมาณ ๕,๐๐๐ บาท หักค่าใช้จ่าย แล้วเหลือเป็นรายได้ประมาณตันละ ๓,๕๐๐ บาท และราคาจำ�หน่าย ไม่แน่นอน จึงมีความสนใจต้องการแปรรูปปาล์มนํ้ามัน โดยทางฝ่าย สื่อสารองค์การ กฟผ. ได้ประสานงานกับมูลนิธิสถาบันพัฒนาพลังงาน ทดแทนแห่งเอเชียแปซิฟิก เพื่อหาทางแปรรูปผลปาล์มสด ด้านนายศิริพงษ์ รุ่งเรือง กล่าวว่า ปาล์มสดจำ�นวน ๑ ตัน สามารถ นำ�มาผลิตเป็นนํ้ามันพืชปรุงอาหารได้ประมาณ ๓๕๐ - ๔๐๐ ลิตร (ขวด) ซึ่งหากหักค่าใช้จ่ายจะมีรายได้ประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาทต่อตัน นอกจากนีย้ งั สามารถนำ�ไปผลิตเป็นนํา้ มันไบโอดีเซลได้ดว้ ย อย่างไรก็ดี จะต้องคำ�นึงถึงการหาตลาดเพื่อรับซื้อนํ้ามันปาล์มที่แน่นอนให้ได้ เสียก่อน โดยชาวบ้านคลองเรือจะต้องดำ�เนินการหาตลาดเองทั้ง ในส่วนของนํา้ มันพืชปรุงอาหารและนํา้ มันไบโอดีเซล จึงจะทำ�การผลิตได้ และจะต้ องดำ � เนิ น การในรู ป ของสหกรณ์ ห รื อ กลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน บ้านคลองเรือ ทัง้ นี้ ฝ่ายสือ่ สารองค์การ กฟผ. ได้ประสานความร่วมมือ กับมูลนิธิสถาบันพัฒนาพลังงานทดแทนแห่งเอเชียแปซิฟิก เตรียมนำ� เครื่องหีบนํ้ามันไปใช้ทดลองทำ�การผลิตภายในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗ เพื่อให้เห็นกระบวนการในการผลิตอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งการ ดำ�เนินงานของ กฟผ. เพื่อสนับสนุนด้านวิชาการแก่ชาวบ้านคลองเรือ ดังกล่าว เป็นการติดตามประเมินผลการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชน บ้านคลองเรือในด้านการนำ�พลังงานไฟฟ้าไปใช้พฒ ั นาเศรษฐกิจชุมชน ให้ เ กิ ด ผลอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม สร้ า งรายได้ แ ละความเป็ น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น จากการมีไฟฟ้าใช้ในชุมชน ที่ผ่านมาชุมชนคลองเรือเป็นที่รู้จักในฐานะโรงไฟฟ้าพลังนํ้าชุมชน บ้านคลองเรือ เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับ ระบบสายส่งไฟฟ้าของประเทศ (Off-Grid) เป็นที่ยอมรับในระดับ

ประเทศและระดับอาเซียน พิสูจน์ได้จากรางวัลชนะเลิศ Thailand Energy Awards 2013 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ASEAN Energy Awards 2013 และรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม หรือ CSR ปี ๒๕๕๖ ปั จ จุ บั น บ้ า นคลองเรื อ เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร และพลั ง งานชุ ม ชนอย่ า งยั่ ง ยื น มี ผู้ แ ทนชุ ม ชนจากจั ง หวั ด ต่ า งๆ เข้าเยี่ยมชมและดูงานเป็นจำ�นวนมาก ชาวบ้านคลองเรือได้พยายาม พัฒนาด้วยการนำ�พลังงานไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์ในกิจการของหมู่บ้าน ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยได้จัดสร้างโรงผลิตนํ้าดื่มบรรจุขวด โรงผลิตนํ้าแข็ง และกำ�ลังจะขยับไปอีกก้าว โดยมีแผนงานพัฒนา เศรษฐกิ จ ชุ ม ชนจากการสร้ า งโรงผลิ ต นํ้ า มั น ปาล์ ม โรงอบหมาก ซึง่ เป็นการสร้างงานในชุมชน ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเป็นต้นแบบของหมู่บ้านอื่นๆ ต่อไป การเตรียมการผลิตนํ้ามันปาล์มของชาวคลองเรือจะเป็นบทพิสูจน์ อีกบทหนึ่งของการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นการนำ�พลังงานจาก โรงไฟฟ้ า ชุ ม ชนมาช่ ว ยเสริ ม เศรษฐกิ จ ในหมู่ บ้ า น สร้ า งรายได้ เพิม่ ขึน้ สร้างความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ เพราะนํา้ มันปาล์มเป็นได้ทงั้ อาหาร และพลังงาน ซึง่ หมายถึงความมัน่ คงในชีวติ ทีน่ า่ จับตามองอย่างยิง่

นายมนัส คล้ายรุ่ง

นายศิริพงษ์ รุ่งเรือง


๒๔

จ ใ ่ ี ท ่ ู ย อ O ูร้หรือไม่...ลด C 2 โลก

รู้แล้ว...

ซึ่งทำ�ให้

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คือตัวการสำ�คัญที่ทำ�ให้ เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก

ร้อนขึ้น

ชั้นเรือนกระจก

CO 2 CO 2

อื

นั้ เร

สี และสะท้อนกลับมายังโล ง ั ร บ ั ซ ด ู กด จ ะ ร นก

รู้หรือยัง

20 ปีของเครื่องใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5 ลดการปล่อย CO2 ได้ 10.7 ล้านตัน/ปี

รู้ไหม...

ช่วยลด CO2

ต้นไม้ 1 ต้นดูดซับ CO2 ได้ 1 ตัน 10 ปี โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติฯ กฟผ. ปลูกต้นไม้ 80 ล้านต้นในพื้นที่ 4 แสนไร่ จะลด CO2 ได้ 80 ล้านตัน

รู้แล้วช่วยกัน

ON OFF

LED

ทุกๆ 1 หน่วยของการใช้ไฟฟ้า คือการปล่อย CO2 สู่บรรยากาศถึง 0.5 กิโลกรัม ถ้าเราช่วยกันประหยัดไฟ นอกจากจะได้ใจ ได้ช่วยโลกแล้ว ยังได้ประหยัดเงินอีกด้วย


๒๕

CO2

รังสีผ่านชั้นบร

รยากาศ

CO

2

รู้หรือเปล่า

CO2 0.507 kg/หน่วย 0.405 kg/หน่วย

2579

แผน PDP 2015 จะปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าเก่า และใช้เทคโนโลยีทันสมัยในโรงไฟฟ้าใหม่ เพื่อลด CO2 ในการผลิตไฟฟ้าจาก 0.507 กิโลกรัม/หน่วย เหลือ 0.405 กิโลกรัม/หน่วย หรือลดลงอีกร้อยละ 20 ใน 20 ปี

รู้ด้วย...

ประเทศเราจะเพิ่มการใช้พลังงานทดแทน ในการผลิตไฟฟ้าจากร้อยละ 11 เป็นร้อยละ 20 ในปี 2564

“รแู้ ลว้ นะตวั เอง”


๒๖

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

อ้อมกอดสีเขียว

Care the EARTH

เรื่องเล่าจากป่าเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว

เรื่อง : กฤษณ์ สุนทรชาติ ภาพ : กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

ยิ่งนานวันยิ่งทำ�ให้รู้สึกว่ามนุษย์เราห่างไกลจากธรรมชาติ จาก “ป่า” ออกไปทุกที ทั้งๆ ที่บรรพบุรุษของเราได้ใช้ ประโยชน์จากป่ามานาน จนวันนี้จิตสำ�นึกแห่งการรักษ์ป่า ค่อยๆ มลายหายไป พร้อมกับพื้นที่ป่าที่ลดลงทุกขณะ ส่งผลให้เกิดภัยแล้ง ขาดแคลนนํ้าในที่สุด


๒๗

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ด้ ว ยเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของป่ า ไม้ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงได้เข้าร่วม โครงการปลูกป่าถาวร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส ทรงครองราชย์ปีที่ ๕๐ ตั้งแต่ปี ๒๕๓๗ โดย ระดมปลูกป่า ทั่วประเทศกว่า ๓.๘๔ แสนไร่ ตั้งแต่บนภูเขาสูงแหล่งต้นนํ้า สายสำ�คัญจรดชายทะเล จนถึงปัจจุบัน กฟผ. ยังคงดำ�เนินการ ปลูกป่าอย่างต่อเนื่องเหมือนวันแรกๆ ที่ได้เริ่มโครงการฯ ถึงแม้ว่าโครงการปลูกป่า กฟผ. ถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ จะจบลง ไปแล้ว แต่ กฟผ. ยังคงเดินหน้าปลูกป่าต่อไป โดยในปี ๒๕๕๑ ปลูกป่าในโครงการฟืน้ ฟูระบบนิเวศป่าและนํา้ ภาคเหนือ ๕,๐๐๐ ไร่ ปี ๒๕๕๓ ปลูกป่าในโครงการปลูกต้นไม้รอบบ้านพ่อ ๕,๐๐๐ ไร่ ปี ๒๕๕๔ ปลู ก ป่ า โครงการปลู ก ต้ น กล้ า ป่ า ต้ น นํ้ า ถวายพ่ อ ๕,๐๐๐ ไร่ ปี ๒๕๕๕ ปลูกป่าโครงการปลูกป่าต้นนํ้าเขื่อนสิริกิติ์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ๑๐,๐๐๐ ไร่ ปี ๒๕๕๗ โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๑๓,๐๐๐ ไร่ และหลังจากปี ๒๕๕๘ เป็นต้นไป กฟผ. จะปลูกป่าอย่างต่อเนื่อง ปีละ ๒๐,๐๐๐ ไร่

ตลอด ๒๐ ปีของโครงการปลูกป่าฯ กฟผ. ได้ร่วมคืนสมดุลให้กับ ธรรมชาติ โดยปลูกต้นไม้ไปกว่า ๘๐ ล้านต้นในพื้นที่ประมาณ ๔ แสนไร่ มีอัตราการรอดสูงถึงร้อยละ ๘๘ และสามารถดูดซับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ได้มากกว่า ๘๐ ล้านตัน (ต้นไม้ ๑ ต้นต่อ ๑ ตัน ตลอดอายุของไม้แต่ละประเภท)

สำ�หรับโครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เพื่ อ สำ � นึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณ และเฉลิมพระเกียรติในปีมหามงคลเนื่องใน โอกาสที่พระองค์มีพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยในปี ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ กฟผ. จึงได้ด�ำ เนินการปลูกป่าบก และป่าชายเลน ๑๓,๐๐๐ ไร่ ในพื้นที่ป่าต้นนํ้าและป่าชุมชน จั ง หวั ด น่ า น ป่ า ชายเลนจั ง หวั ด ชุ ม พรและนครศรี ธ รรมราช เน้นการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดำ�เนินโครงการฯ

การดำ�เนินงานของโครงการปลูกป่า กฟผ. เฉลิมพระเกียรติฯ ในช่วง ๒๐ ปีที่ผ่านมา นอกจากเพื่อสนองพระราชดำ�ริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แล้ว ยังเป็นการสร้างสมดุลให้กับ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไปพร้อมกับสร้างอาชีพให้กับชุมชน ผ่ า นการจ้ า งแรงงานท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ทำ � นุ บำ � รุ ง ต้ น ไม้ ตั้ ง แต่ เริ่ ม ทำ�การปลูก และที่สำ�คัญคือ เป็นการปลูกฝังจิตสำ�นึกให้ประชาชน รู้สึกรักและเอาใจใส่ต่อทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม


๒๘ สำ�หรับการดำ�เนินงานของโครงการปลูกป่าฯ กฟผ. จะให้ความ สำ�คัญกับการเลือกสรร พรรณไม้ที่เหมาะสมกับท้องถิ่น ภายใต้ การมีส่วนร่วมของคนในท้องถิ่น และหน่วยงานต่างๆ มาร่วม โครงการฯ ให้คนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปลูกและบำ�รุงรักษา ต้นไม้ โดย กฟผ. และคนในชุมชนจะร่วมบำ�รุงรักษาต้นไม้ ๒ ปี เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า ต้ น ไม้ ทุ ก ต้ น ที่ ป ลู ก จะสามารถเจริ ญ เติ บ โตได้ ก่อนทีจ่ ะส่งคืนพืน้ ทีใ่ ห้กรมป่าไม้ในสภาพทีเ่ รียกว่า “ป่า” ดูได้จาก ความสำ�เร็จจากการดำ�เนินโครงการปลูกป่าฯ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ โครงการฯ ป่าพรุโต๊ะแดง ป่ารอบศูนย์ราชการุณย์ สภากาชาดไทย เขาล้าน จังหวัดตราด โครงการพัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ นาํ้ ปากพนัง อันเนือ่ ง มาจากพระราชดำ � ริ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เกาะนก พื้ น ที่ ปากแม่ นํ้ า บางปะกง จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ป่ า ร้ อ ยไร่ อุ ท ยาน สิง่ แวดล้อมนานาชาติสริ นิ ธร จังหวัดเพชรบุรี ป่าชายเลนคลองนาทับ จังหวัดสงขลา ดอยมูเซอ อำ�เภอเมือง จังหวัดตาก และป่าในอำ�เภอ พบพระ จังหวัดตาก เป็นต้น กฟผ. รู้สึกภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งที่ร่วมพลิกฟื้นผืนป่าเหล่านั้น ให้กลับมามีชวี ติ อีกครัง้ เพือ่ เป็นแหล่งอาหารและอาชีพของชาวบ้าน เป็นแหล่งต้นนํ้าลำ�ธาร และเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่า ซึ่งสภาพป่า ปัจจุบนั มีความเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี นึ้ โดยก่อนเริม่ โครงการฯ จะพบว่า สภาพป่าไม้มีแต่ความแห้งแล้ง มักเกิดปัญหาไฟป่าเป็นประจำ� นอกจากนี้ การดำ�เนินโครงการปลูกป่าฯ ของ กฟผ. ยังส่งผลให้ กฟผ. ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติจากหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ รางวัล

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

สื่อมวลชนดีเด่นประเภทรายการโทรทัศน์ รางวัลกิตติคุณสัมพันธ์ “สังข์เงิน” ครั้งที่ ๑๘ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ รางวัลโครงการดีเด่น ของชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ และรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ นำ�มาซึ่งความภาคภูมิใจแก่คนในองค์การ ทั้งนี้ความสำ�เร็จเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ หากไม่ได้รับการสนับสนุน จากชุมชนในพื้นที่ ลองไปรับฟังเรื่องเล่าจากป่าจากท่านเหล่านี้กัน

อ.สวาสดิ์ เถาว์กลอย คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย “จากวิกฤติอาชีพประมงที่จับสัตว์นํ้าได้ น้อยลง และการรุกพื้นที่ทำ�นากุ้ง ผมจึง รวมกลุ่มพี่น้องที่ทำ�อาชีพประมงเปลี่ยนวิธี จับปลาและช่วยกันปลูกป่าชายเลน โดยได้รบั ความช่วยเหลือจาก กฟผ. ทำ�ให้ปา่ ชายเลนทัง้ ๒ ฝัง่ คลองประสงค์ จั ง หวั ด กระบี่ ระยะทาง ๒๐ กิ โ ลเมตร ได้รับการฟื้นฟูจนสมบูรณ์ กลายเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์นํ้า เล็กๆ รวมถึงเป็นแหล่งแพร่พันธุ์สัตว์นํ้าทางธรรมชาติ ทำ�ให้ ชาวประมงจับปลาได้มากขึน้ และกลายมาเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว เชิงอนุรักษ์อีกด้วย”

คุณสง่า บุญถี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๕ อำ�เภอสามเงา จังหวัดตาก “พวกเราหากิ น กั บ ป่ า หากเรามั ว แต่ ห า ประโยชน์จากป่าอย่างเดียว ป่าก็จะหมด ไปพร้ อ มกั บ สั ต ว์ ป่ า ผมรั บ ไม่ ไ ด้ ถ้ า จะต้ อ งเห็ น ป่ า ในสภาพแห้ ง แล้ ง จึ ง มี แนวคิ ด ควรจะคื น อะไรให้ กั บ ป่ า บ้ า ง เริ่ ม จากการทำ � ฝายชะลอนํ้ า ปลู ก ป่ า คืนธรรมชาติ ปัจจุบันเราทำ�อยู่ประมาณ ๕,๐๐๐ ไร่ ใ นพื้ น ที่ ป่ า ชุ ม ชนและของ เขื่ อ นภู มิ พ ล เราจะดึ ง คนในชุ ม ชนให้ มี ส่ ว นร่ ว ม มากขึ้ น แม้ ว่ า เราจะเป็ น คนกลุ่ ม เล็ ก ๆ แต่ ก็ ตั้ ง ใจที่ จ ะ บูรณะป่าคืนสู่แผ่นดินต่อไป”


๒๙

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

คุณอุกริช พึ่งโสภา ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน “ต้องขอขอบคุณ กฟผ. ที่เล็ง เห็น ความสำ�คัญของการปลูกป่า ซึ่งเป็น แหล่งทรัพ ยากรธรรมชาติอัน มีค่า และเป็นแแหล่งต้นนํ้าลำ�ธาร เมื่อ กฟผ. มีโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ เพื่อปณิธานอันมุ่งมั่น ของการดำ�เนินรอยตามพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินนี าถ ตลอดระยะเวลา ๒๐ ปี ในขณะที่ จั ง หวั ด น่ า นก็ มี ‘การสร้ า งเมื อ งน่ า นน่ า อยู่ คู่ ป่ า ต้ น นํ้ า ’ จึ ง เป็ น โอกาสที่ ดี ที่ จ ะได้ ร่ ว มกั น ดำ � เนิ น รอยตามแนวพระราชดำ � ริ เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรป่ า ไม้ แ ละแหล่ ง ต้ น นํ้ า ให้ อ ยู่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น เกิดประโยชน์สูงสุด”

คุณบัณฑูร ลํ่าซำ� ประธานกรรมการ ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน) “จากการที่ผมได้มีโอกาสไปสัมผัสความเพียร พยายามระดับท้องถิ่นที่จะแก้ปัญหาการ ตัดไม้ท�ำ ลายป่า ซึง่ เป็นปัญหาทีย่ าก เรา จะปล่อยปัญหานี้โดยการเอาหูไปนา เอาตาไปไร่ไม่ได้ เพราะต่อให้วันนี้ คิ ด ว่ า ไม่ ใช่ ปั ญ หา แต่ วั น ข้ า งหน้ า ก็กลายเป็นปัญหาอยู่ดี การที่ กฟผ. มีโครงการปลูกป่าฯ เกิดขึน้ มาโดยตลอด เป็ น สิ่ ง ที่ น่ า ชื่ น ชม เราทุ ก คนต้ อ งช่ ว ยกั น เราต้องปลูกป่าให้มากและรวดเร็วกว่าการตัดทำ�ลาย ของคนบางกลุ่ม”

คุณสุทัศนีย์ ไวยนิยา ผู้อำ�นวยการฝ่ายกิจการสังคม กฟผ. “เนือ่ งในโอกาสครบรอบ ๒๐ ปี โครงการ ปลูกป่า กฟผ. เฉลิมพระเกียรติฯ ได้จดั ทำ� หนั ง สื อ ‘เรื่ อ งเล่ า จากป่ า ’ เพื่ อ บอกเล่ า เรือ่ งราวความเป็นมาของโครงการปลูกป่า กฟผ. เฉลิมพระเกียรติฯ ตลอดระยะเวลา ๒๐ ปีที่ผ่านมา รวมทั้งยังได้บอกเล่า เบื้ อ งหลั ง ความสำ � เร็ จ ในเรื่ อ งความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง กฟผ. กั บ ชุ ม ชน และองค์การต่างๆ ที่ร่วมกันปลูกป่า ที่สำ�คัญ ‘เรื่องเล่าจากป่า’ ยังเป็น หนังสือเล่มเดียวในเมืองไทยที่จะมีเสียงจากป่าดังขึ้นมาทันทีที่คุณเปิดอ่าน คุณจะรู้สึกเหมือนว่าคุณกำ�ลังนั่งอ่านหนังสือเล่มนี้อยู่ในป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีเสียงร้องของนกนานาชนิด ช่วยสร้างอารมณ์สุนทรีย์เพิ่มขึ้น”

ทั้งนี้ สามารถสั่งจองเพื่อเป็นเจ้าของหนังสือเล่มนี้ได้ที่ร้านหนังสือนายอินทร์ เพื่ อ ร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการสื บ สานการอนุ รั ก ษ์ ผื น ป่ า ของไทย เนื่ อ งจาก รายได้หนังสือทั้งหมดจะนำ�ไปมอบแก่กองทุนผู้พิทักษ์ป่า มูลนิธิสืบนาคะเสถียร เพื่อนำ�ไปเป็นทุนการศึกษาของบุตรข้าราชการที่เสียชีวิตจากการดูแลรักษาป่า ในหน้าที่ ๒๐ ปีของโครงการปลูกป่าฯ นอกจาก กฟผ. จะได้มีส่วนร่วมในการปลูก ต้นกล้าทัว่ ประเทศแล้ว ยังได้มสี ว่ นร่วมปลูกต้นกล้าในใจคน รณรงค์ให้คนไทย มี หั ว ใจสี เขี ย ว ช่ ว ยเพิ่ ม พื้ น ที่ สี เขี ย วให้ กั บ ชุ ม ชนตนเอง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ความจริงที่ว่า คนกับป่าสามารถอยู่ร่วมกันได้


๓๐

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

คนต้นแบบ

The IDOL

สิทธิชัย รัตนโฆสิต เจ้าของรางวัล “ประชาบดี” ทำ�คุณประโยชน์แก่ผู้อยู่ในภาวะยากลำ�บาก เรื่อง : แพรวพิสาข์ เถาลัดดา

รางวัล “ประชาบดี” เป็นรางวัลที่ทรงคุณค่า มอบเพื่อสนับสนุน และเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ผทู้ ปี่ ระกอบคุณงามความดี ดูแลช่วยเหลือ ผู้อยู่ในภาวะยากลำ�บาก ให้สามารถดำ�รงชีวิตได้อย่างมีความสุข ไม่ย่อท้อต่อความยากลำ�บาก และเพื่อส่งเสริมเจตคติเชิงบวกในการ อยู่ร่วมกันอย่างเอื้ออาทร มีทัศนคติที่ดี เห็นคุณค่าและศักดิ์ศรี ของผู้ด้อยโอกาส เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาสังคม


๓๑

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

คำ�ว่าประชาบดีมีความหมายที่ลึกซึ้ง ซึ่งมาจากคำ�ว่า “พระประชาบดี ” หมายถึ ง เทพผู้ เ ป็ น ที่ พึ่ ง ของ ประชาชน เป็นบุตรของพระพรหม หรือเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า เทพมเหศักดิ์ ซึ่งเป็นผู้ให้การสงเคราะห์ แก่ประชาชน และมีบริวารซึ่งเป็นฤ ๅษี ๗ ตน หรือ สัปตฤ ๅษี ได้รับมอบหมายจากพระพรหมให้มาสร้าง มนุษย์และสัตว์อนื่ ๆ เมือ่ ทรงสร้างเสร็จแล้ว ได้ถนอม เลี้ยงดูบุตรด้วยความเมตตากรุณาโดยไม่คำ�นึงถึง ผลตอบแทนแม้แต่นอ้ ย นัยสำ�คัญอันนีจ้ งึ กลายมาเป็น เครื่องหมายประจำ�กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ในที่สุด

คุณสิทธิชยั รัตนโฆสิต เล่าให้ฟงั ว่า “ผมมีความสุขเมือ่ ได้ ช่วยเหลือผู้ประสบความเดือดร้อนและร่วมกิจกรรม สาธารณประโยชน์ จึงตัง้ ใจทีจ่ ะใช้เวลาว่างทำ�กิจกรรม เป็นจิตอาสา เมื่อปี ๒๕๕๔ เกิดเหตุการณ์นํ้าท่วมที่ จังหวัดนครปฐม ด้วยผมมีความสามารถในการตัดผม จึงสมัครเข้าร่วมชมรมช่างผมเสริมสวยของเทศบาล นครนครปฐม บริการตัดผมฟรีแก่ผทู้ ปี่ ระสบอุทกภัย นํ้ า ท่ ว มและบริ จ าคทุ น ทรั พ ย์ ณ ตำ � บลห้ ว ยพลู อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม และศูนย์พักพิง ผู้ประสบอุทกภัย ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ดังนั้น รางวัล “ประชาบดี” จึงเป็นรางวัลที่ยกย่อง เชิ ด ชู เ กี ย รติ ผู้ ทำ�ความดี แ ก่ สั ง คม และเสี ย สละ เพื่อส่วนรวม เป็นแบบอย่างที่ดีต่อประชาชน โดย ผู้ที่ได้รับรางวัลจะได้รับเสื้อคนดีของสังคม โดย EGAT Magazine ฉบับนี้ ขอแนะนำ�ท่านผู้อ่าน ให้รู้จักกับ คุณสิทธิชัย รัตนโฆสิต ช่างระดับ ๗ ประจำ�โรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้ อ นราชบุ รี จั ง หวั ด ราชบุรี ทีไ่ ด้อทุ ศิ ตนช่วยเหลือผูย้ ากไร้และอยูใ่ นภาวะ ยากลำ�บาก และร่วมกิจกรรมสาธารณประโยชน์ตา่ งๆ ไม่ว่าจะงานเล็กงานใหญ่ ด้วยความรักที่จะได้เป็น ผู้ให้โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน จนได้รับรางวัลการันตี ความมี จิ ต อาสามากมาย ซึ่ ง ล่ า สุ ด ได้ รั บ รางวั ล “ประชาบดี ” ประเภทบุ ค คลที่ ทำ � คุ ณ ประโยชน์ แก่ ผู้ อ ยู่ ใ นภาวะยากลำ � บาก ประจำ � ปี ๒๕๕๗ ประทานรางวัลโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทิ นั ด ดามาตุ เมื่ อ วั น ที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ ที่ผ่านมา

ร่วมกับคุณครูสรกฤช เจียรเอก จึงเป็นจุดเริ่มต้น ที่ ม าร่ ว มทำ � งานด้ า นการช่ ว ยเหลื อ ผู้ ด้ อ ยโอกาส ร่วมกับเทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ เช่น อาสาตัดผม ให้กับเด็กนักเรียนที่ครอบครัวมีฐานะยากจนของ โรงเรี ย นโพรงมะเดื่ อ (ศรี วิ ท ยากร) ให้ ค วามรู้ กับกลุ่มอาชีพผู้ด้อยโอกาส ร่วมบริจาคอุปกรณ์ เครื่ อ งใช้ สำ � หรั บ ประกอบอาชี พ ให้ ก ลุ่ ม อาชี พ ผู้ด้อยโอกาส จนปัจจุบันกลุ่มอาชีพผู้ด้อยโอกาส “ปกติผมจะตัดผมให้กบั เด็กนักเรียนฟรี ตามโรงเรียน มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ จำ � หน่ า ย ได้ แ ก่ ยาดม ยาหม่ อ ง ใกล้ ๆ บ้ า นพั ก และผู้ ด้ อ ยโอกาสในอำ � เภอเมื อ ง นํ้ายาล้างจาน นํ้ายาซักผ้า กล้วยฉาบ เป็นต้น” นครปฐมมาโดยตลอด บางครั้งจะนำ�อาหาร ขนม คุณสิทธิชัย รัตนโฆสิต ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า การทำ� และของเล่นแจกเด็กๆ ในโอกาสต่างๆ นอกจากนี้ ความดีเพื่อส่วนรวมต้องทำ�โดยไม่หวังผลตอบแทน ยังร่วมกับทางเทศบาลและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล “ผมชอบที่จะเป็นผู้ให้ แค่นี้ผมก็มีความสุข และเมื่อ ส่งเสริมสุขภาพตำ�บลโพรงมะเดือ่ ไปเยีย่ มบ้านผูป้ ว่ ย เราทำ�ความดีจนมีผู้อื่นรับรู้ รางวัลต่างๆ ที่ได้รับ ติดเตียง ไปตัดผมให้ผทู้ ี่มฐี านะยากจนตามหมูบ่ ้าน ก็ ถื อ เป็ น ผลพลอยได้ และเป็ น กำ � ลั ง ใจให้ ตั้ ง ใจ ต่ า งๆ ตลอดจนได้ บ ริ จ าคทุ น ทรั พ ย์ แ ละเครื่ อ ง ทำ�ความดีต่อไป กิจกรรมที่ผมทำ�ทั้งหมด ผมก็จะ อุปโภคบริโภคแก่ผู้ด้อยโอกาสที่อาศัยอยู่บริเวณ นำ�ไปลงในเฟซบุ๊กส่วนตัวของผมไว้ ซึ่งการที่เราได้ ริมทางรถไฟ และได้ไปเยี่ยมเยียนเพื่อเป็นกำ�ลังใจ แบ่งปันประสบการณ์ผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์คถือเป็น ให้ผู้ด้อยโอกาสอย่างสมํ่าเสมอและต่อเนื่อง” ประโยชน์ เพราะจะทำ�ให้ผู้อื่นที่มีจิตอาสาอยากทำ� คุณสิทธิชัยได้เล่าถึงเหตุการณ์ที่ได้ช่วยเหลือบุคคล กิจกรรมเพื่อสังคมเหมือนกัน มีช่องทางที่จะมาร่วม ที่อยู่ในภาวะยากลำ�บากที่รู้สึกประทับใจว่า “ผมได้ ทำ�ความดีด้วยกัน เป็นเหมือนการขยายผลให้เกิด มีโอกาสรู้จักกับคุณครูสรกฤช เจียรเอก ครูโรงเรียน กิ จ กรรมดี ๆ เพิ่ ม ขึ้ น และมี ค นที่ ม าทำ � กิ จ กรรม โพรงมะเดื่อ (ศรีวิทยากร) ตำ�บลโพรงมะเดื่อ อำ�เภอ เพื่อสังคมมากขึ้นด้วยครับ” เมือง จังหวัดนครปฐม ทางเฟซบุ๊ก คุณครูได้เขียน บทความประชาสั ม พั น ธ์ ก ารช่ ว ยเหลื อ ลู ก ศิ ษ ย์ ในห้องเรียนคนหนึ่งชื่อ เด็กหญิงอุไรวรรณ กัณฑา (น้องออย) ป่วยเป็นโรคกล้ามเนือ้ ลีบ แขนขาอ่อนแรง ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ต้องหยุดการเรียน กะทันหัน น้องออยเป็นเด็กกำ�พร้าพ่อแม่แยกทางกัน มียา่ เป็นผูด้ แู ล มีฐานะยากจน ผมเริม่ ให้การช่วยเหลือ โดย บริจาคเครื่องอุปโภคบริโภคและทุนทรัพย์

คุณสิทธิชยั รัตนโฆสิต ถือเป็นบุคคลต้นแบบทีค่ ำ�นึง ถึงประโยชน์ของส่วนรวม ใส่ใจสังคม ชุมชน และ สิ่งแวดล้อม อุทิศตนอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ เป็นตัวอย่างทีด่ ใี นการทำ�งานเพือ่ สังคม ทำ�ความดี เพื่อผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน ขอร่วมแสดง ความชื่นชมกับบุคคลต้นแบบด้วยค่ะ


๓๒

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นวัตกรรม

INNOVATION

นักวิทยาศาสตร์ กฟผ. สมองใส

คิดค้นชุดทดสอบ

แบคทีเรียโคลิฟอร์ม

ในนํ้าดื่ม

เรื่อง : ชโลบล ธงปราริน

“นํ้า” เป็นสิ่งสำ�คัญอย่างยิ่งต่อชีวิตมนุษย์

ร่ า งกายมนุ ษ ย์ มี นํ้ า เป็ น ส่ ว นประกอบถึ ง ๗๐ เปอร์ เ ซ็ น ต์ หากร่ า งกายขาดนํ้ า อาจถึ ง แก่ ความตายได้ คุ ณ ภาพนํ้ า ดื่ ม ก็ เ ป็ น สิ่ ง สำ�คั ญ นํ้าที่จะดื่มต้องเป็นนํ้าที่สะอาด หากนํ้าไม่สะอาด เชื้ อ โรคที่ เจื อ ปนก็ ทำ�ให้ ม นุ ษ ย์ เจ็ บ ป่ ว ยและถึ ง แก่ ความตายได้เช่นกัน


๓๓

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

เมื่อตระหนักถึงความสำ�คัญของนํ้า คนกลุ่มหนึ่ง ได้ทุ่มเทความสามารถเพื่อตรวจสอบคุณภาพนํ้าดื่ม ภายในการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ประกอบด้ว ย นายสุ มิ ต ร จำ � ปา หั ว หน้ า แผนก อนามั ย สิ่ ง แวดล้ อ มและควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ นางสิ นี น าฏ สุ น ทรหิ รั ญ วงศ์ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ การแพทย์ระดับ ๘ และนางสาววิชชุลดา สีจันทา นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ระดับ ๔ แผนกอนามัย สิ่งแวดล้อมและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายแพทย์และ อนามัย ด้วยความตั้งใจในการทำ�งานและอุปนิสัย นักวิทยาศาสตร์ของพวกเขา ส่งผลให้พวกเขาคิดค้น และพั ฒ นางานที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ องค์ ก รอย่ า ง ต่อเนือ่ ง โดยผลงานล่าสุดคือ “การคิดค้นชุดทดสอบ แบคทีเรียโคลิฟอร์มในนาํ้ ดืม่ ” ทำ�ให้ผลงานนี้ ได้รบั รางวัลมูลนิธิกำ�ธน สินธวานนท์ ประจำ�ปี ๒๕๕๕ ประเภทชมเชย สาขาสังคมและสิ่งแวดล้อม

คุ ณ สุ มิ ต ร จำ � ปา เล่ า ว่ า แผนกของเราทำ � หน้ า ที่ ตรวจสอบและรับผิดชอบตรวจสอบคุณภาพนํ้าดื่ม ทางด้านจุลชีววิทยาให้กบั หน่วยงาน กฟผ. ทัง้ ส่วนกลาง และภู มิ ภ าค ด้ ว ยจำ � นวนผู้ ป ฏิ บั ติ ง านในแผนก ที่ มี จำ � กั ด ไม่ เ พี ย งพอต่ อ การตรวจสอบนํ้ า ดื่ ม ได้ ทั่วถึง จึงเกิดแนวคิดว่าควรจะมีวิธีการตรวจสอบที่ ผู้ปฏิบัติงานทั่วไปสามารถตรวจวิเคราะห์คุณภาพ นํา้ ดืม่ ได้เองภายในหน่วยงาน โดยไม่ตอ้ งใช้เครือ่ งมือ ที่ราคาแพงหรือต้องใช้ความชำ�นาญของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจ อี ก ทั้ ง วิ ธี ก ารทดสอบนํ้ า ดื่ ม ทาง จุลชีววิทยาต้องใช้เวลานาน ๙๖ ชัว่ โมงจึงจะทราบผล แผนกของเราจึ ง พยายามคิ ด ค้ น หาวิ ธี ก ารที่ เ ป็ น ชุ ด ตรวจง่ า ยๆ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านทั่ ว ไปสามารถทำ � ได้ ที่สำ�คัญใช้ระยะเวลาการตรวจสั้นลง เพื่อสามารถ แก้ไขปัญหาคุณภาพนํ้าได้ทันเหตุการณ์ เพราะหาก พบว่ามีเชื้อแบคทีเรียโคลิฟอร์มปนเปื้อนอยู่ในนํ้าดื่ม จะทำ�ให้เกิดโรคอันตรายได้หลายชนิด อาทิ ไทฟอยด์ และอหิวาตกโรค เป็นต้น


๓๔

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ในปี ๒๕๔๖ แผนกของเราได้มีการคิดค้นวิธีการ ทดสอบแบคทีเรียโคลิฟอร์มในนํ้าดื่มขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งสามารถลดระยะการแสดงผลจาก ๙๖ ชั่วโมง เหลือ ๔๘ ชั่วโมง และหาวิธีลดระยะการแสดงผล อย่างต่อเนื่อง โดยค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัย ต่ า งๆ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ ทำ � การทดลองกั น หลายสู ต ร หลายรู ป แบบ และใช้ เ วลาทดลอง หลายเดือน จนกระทั่งในปี ๒๕๕๕ จึงได้ชุดทดสอบ แบคทีเรียโคลิฟอร์มชุดใหม่ ซึ่งได้รับรางวัลมูลนิธิ กำ�ธนฯ ปี ๒๕๕๕ รางวัลสิ่งประดิษฐ์และคิดค้น ที่เป็นประโยชน์แก่ กฟผ. รางวัลดีมาก ปี ๒๕๕๖ และได้รับรางวัล Golden Prize ในงาน Thailand Quality Prize 2014 ซึ่งชุดทดสอบนี้สามารถลด ระยะเวลาแสดงผลคุณภาพนํา้ เหลือเพียง ๒๔ ชัว่ โมง เท่านั้นเอง


๓๕

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

“ก่อนทีจ่ ะคิดค้นชุดทดสอบแบคทีเรียโคลิฟอร์ม ในนํ้าดื่ม ทีมงานมีผลงานมาแล้วหลายผลงาน อาทิ เจลกำ�จัดแมลงสาบ ลูกบอลกำ�จัดแมลงสาบ และได้ จดสิทธิบัตรแล้ว ๓ ผลงาน แผนกของเราพัฒนางาน อยู่ ต ลอดเพราะวิ ท ยาการและองค์ ค วามรู้ ใ หม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา ต้องก้าวตามให้ทัน อีกทั้งพวกเรา มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น ที่ จ ะตอบสนองภารกิ จ ของ องค์กรให้ดที สี่ ดุ เรามีหน้าทีร่ บั ผิดชอบสุขภาพอนามัย ของผู้ปฏิบัติงาน จำ�เป็นต้องทำ�ให้ดีที่สุดเพื่อดูแล บุคลากรซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีค่าขององค์กร รางวัล ที่ได้รับเป็นความภาคภูมิใจทั้งต่อตนเองและแผนก ที่ได้ทำ�ประโยชน์ให้กับองค์กร ทำ�ให้เกิดแรงผลักดัน ที่จะพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันโรงไฟฟ้า และเขือ่ นต่างๆ ได้เบิกชุดทดสอบนํา้ ดืม่ นีไ้ ปตรวจเอง

โดยแผนกของเราจะผลิ ต ชุ ด ตรวจไว้ ร องรั บ ให้ เพี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการของหน่ ว ยงานต่ า งๆ” คุณสินีนาฏ สุนทรหิรัญวงศ์ กล่าวทิ้งท้าย ที ม คิ ด ค้ น ชุ ด ทดสอบแบคที เ รี ย โ ค ลิ ฟ อ ร์ ม ใ น นํ้ า ดื่ ม นี้ ป รั บ ป รุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการดำ � เนิ น งานให้ ดี ยิ่งขึ้น ส่งผลให้องค์กรมีวิทยาการ ที่ ทั น สมั ย และเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ทำ�ให้องค์กรมีการพัฒนาต่อเนื่อง อย่างไม่หยุดยั้ง

หลักการทำ�งาน ของชุดทดสอบแบคทีเรียโคลิฟอร์มในนํ้าดื่ม • นำ�นํา้ ดืม่ ทีต่ อ้ งการตรวจใส่ลงในชุดทดสอบทีผ่ สม “แอล-ซีสเทอีน” (L-Cysteine) ซึ่งจะมีผลทำ�ให้เชื้อแบคทีเรียโคลิฟอร์มโตเร็ว • เชื้ อ โคลิ ฟ อร์ ม ที่ ป นเปื้ อ นอยู่ ใ นนํ้ า จะผลิ ต “ก๊ า ซไข่ เ น่ า หรื อ ไฮโดรเจนซัลไฟด์” และทำ�ปฏิกิริยากับสารประกอบเหล็กที่อยู่ ในชุดตรวจ • เมื่ อ ไฮโดรเจนซั ล ไฟด์ ทำ � ปฏิ กิ ริ ย ากั บ เหล็ ก จะได้ เ ป็ น ตะกอนดำ � ส่ ง ผลให้ นํ้ า ยาในชุ ด ตรวจเปลี่ ย นจากสี เ หลื อ งเป็ น สี ดำ � ภายใน ๒๔ ชั่วโมง


๓๖

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นานาทัศนะ

The OPINION

CSR ที่อยู่ในใจประชาชน เรื่อง : วิมลทิพย์ นามเขื่อนแพทย์

ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างก้าวกระโดด ทำ�ให้เกิด ธุรกิจต่างๆ ขึน้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภค และในสมัยนี้ การทำ�ธุรกิจมักควบคู่กับความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ภายใต้หลักจริยธรรมและการกำ�กับดูแล ที่ดี เพื่อนำ�ไปสู่การดำ�เนินธุรกิจให้ประสบความสำ�เร็จอย่างยั่งยืน

นอกจากนั้นองค์กรภาครัฐและภาคธุรกิจยังต้องคำ�นึงถึงบทบาท ของตนที่ต้องปฏิบัติอย่างสอดคล้องกับความคาดหวังของสังคม โดยจะต้องทำ�ด้วยความสมัครใจ ผู้บริหารรวมถึงบุคลากรทุกคน ในองค์กรจะต้องมีบทบาทเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ ที่ตอบแทน ในสิ่งที่ดีงามสู่สังคมอย่างจริงจัง

ไปด้วย เพราะไฟฟ้าคือกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เป็นความ กินดีอยู่ดี เป็นตัวชี้วัดความเจริญของมนุษยชาติ จนถึงเป็นดัชนี คุณภาพชีวิตของสังคม จึงเห็นได้ว่า ภารกิจของ กฟผ. มิใช่ภารกิจ ทีม่ งุ่ แต่จะผลิตไฟฟ้าอย่างเดียว แต่ตอ้ งกระทำ�ควบคูไ่ ปกับการสงวน และรักษาทรัพยากร ต้องสร้างดุลยภาพในการผลิต มิฉะนั้นผลเสีย กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของทุกองค์กรจะต้องปฏิบัติ ก็จะเกิดขึ้นได้ ทั้งโดยตรงจากตัวธรรมชาติเอง และจากประชาชน ด้วยความจริงใจ ไม่ทำ�กิจกรรมเพียงเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ ผู้ได้รับผลกระทบ องค์ ก รหรื อ กิ จ กรรมที่ พ นั ก งานขององค์กรไม่ไ ด้มีส่ว นร่ว มเลย ''นานาทัศนะ'' ฉบับนี้ เรามาฟังเสียงจากประชาชนหลากหลายอาชีพ หรือทำ �ด้วยความไม่เต็มใจ แต่ต้องเป็นการร่วมกันดำ �เนินการ ว่าเขาได้รับรู้หรือได้ยินข่าวสารกิจกรรมเพื่อสังคมของทาง กฟผ. ทำ�กิจกรรมที่น้อมนำ�องค์กรและสมาชิกในองค์กร เป็นส่วนหนึ่ง ในเรื่องอะไรบ้าง ของชุมชนและสังคม เกิดความใกล้ชิด ความร่วมมือกันในกิจกรรม ของชุมชนและสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เน้นการพัฒนา ที่รากฐานของสังคม มือข้างหนึ่งของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) อยู่ใน ฐานะทีป่ ระกอบภารกิจด้านพลังงาน คือ การผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอ เพื่อสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศในราคาที่เป็นธรรม แต่ ข ณะเดี ย วกั น มื อ อี ก ข้ า งหนึ่ ง ก็ คำ � นึ ง ถึ ง การดู แ ลสิ่ ง แวดล้ อ ม


นางสาววรรณวิพา ทองหลอม นักเรียนโรงเรียนรัตนาธิเบศร์ “กิจกรรมเพื่อสังคมที่เคยรับรู้มา จะมีโครงการห้องเรียนสีเขียว เพราะทางโรงเรียนนั้นมีชมรม เกี่ยวกับห้องเรียนสีเขียว ซึ่งโครงการห้องเรียนสีเขียวจัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ และนิสัยในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและรักษาสิ่งแวดล้อม โดยเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง พร้อมเพิ่มความสนุกสนานเพื่อให้เกิดทัศนคติในการ ใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและสามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ ซึ่งทางโรงเรียนได้มีโอกาสใช้ห้องเรียนสีเขียวนี้ มาให้ความรู้ และความเข้าใจแก่นักเรียนในโรงเรียน อย่างเช่น การเปิด โอกาสให้นักเรียนได้ทราบวิธีการหรือกระบวนการทำ�งาน ของไฟฟ้า หรือการใช้เครื่องกังหันนํ้าเพื่อใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้า ซึ่งจะทำ�ให้เด็กในโรงเรียนมีความรู้ในเรื่อง การทำ�งานของไฟฟ้า”

นางสาวปรียาภรณ์ มั่นคง พนักงานบัญชี สหกรณ์แท็กซี่แอร์พอร์ต จำ�กัด “ได้รจู้ กั กับโครงการแว่นแก้ว ซึง่ เป็นโครงการที่ กฟผ. จัดขึน้ เพือ่ ให้ผทู้ มี่ ปี ญ ั หาด้านสายตาสามารถเข้ารับการตรวจวัดสายตา และรับแว่นตาได้โดยไม่คดิ มูลค่า เพือ่ แก้ไขปัญหาสายตาแก่ผดู้ อ้ ยโอกาสหรือขาดทุนทรัพย์ ให้มโี อกาสมองเห็นได้อย่างปกติ ทัง้ นีโ้ ครงการฯ ได้เปิดให้มกี ารรับบริจาคแว่นตาทีไ่ ม่ใช้แล้ว หรือบริจาคเงิน เพือ่ เป็นการสมทบทุนในโครงการฯ ซึง่ ดิฉนั มีโอกาสบริจาคเงินเข้าสมทบทุน เพือ่ ช่วยเหลือโครงการ เพราะพาคุณแม่ไปตรวจสายตาในโครงการฯ เหมือนกัน ดิฉนั คิดว่า โครงการนี้เป็นกิจกรรมที่ดี เพราะมีอีกหลายคนที่มีปัญหาด้านสายตา แต่ไม่มีโอกาส ในการรักษา ซึ่งกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่ช่วยคนในสังคมเป็นอย่างมาก”

นายณัฐกุล โสวทัต นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา “เท่าทีเ่ คยได้ทราบข่าวสารเกีย่ วกับกิจกรรมเพือ่ สังคม ของทาง กฟผ. จะมีกิจกรรมโครงการปลูกป่าฯ ซึ่งทาง กฟผ. ได้จัดขึ้นเป็นประจำ� ครั้งหนึ่ง ผมเคยมี ป ระสบการณ์ เข้ า ไปร่ ว มกิ จ กรรม การปลู ก ป่ า ที่ กฟผ. ได้ จั ด กิ จ กรรม เพื่ อ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โดยปลูกต้นไม้เป็นปฐมฤกษ์ร่วมกัน ‘โครงการ ปลูกต้นไม้รอบบ้านพ่อ’ ในครัง้ นัน้ กฟผ. เปิดโอกาส ให้ประชาชนและผูท้ สี่ นใจร่วมปลูกป่าปลูกต้นไม้เองได้ ณ สถานที่จริง ซึ่งผมได้ไปปลูกต้นไม้ที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน (ป่าละอู) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผมรู้สึกว่ากิจกรรมเพื่อสังคมนี้มีประโยชน์อย่างมาก ต่อสังคม เพราะปัจจุบันธรรมชาติได้ถูกทำ�ลายไปอย่างมาก ทำ�ให้เกิดมลพิษ ซึ่งถ้าเราร่วมกันช่วยกันดูแลรักษาธรรมชาติเอาไว้ เช่น การหันมาช่วยกัน ปลูกป่า ก็จะช่วยให้สภาพแวดล้อมในสังคมกลับมาดีขึ้น”

โครงการ CSR ต่างๆ ที่ กฟผ. ทำ�ด้วยใจมอบให้ดว้ ยความรัก เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการอนุรักษ์ทรัพยากร ให้ความรู้ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดียิ่งขึ้น และมีการ ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติฯ ที่เริ่ม มาตั้งแต่ปี ๒๕๓๖ โครงการแว่นแก้วเริ่มต้นในปี ๒๕๓๘ และโครงการ ห้องเรียนสีเขียวเริ่มดำ�เนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๐ ซึ่งเวลานั้นยังไม่มีคำ�ว่า CSR กฟผ. เพียงดำ�เนินกิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคมด้วยความตั้งใจ จนถึงวันนี้ กฟผ. ยังคงเดินหน้าโครงการฯ ต่อไป เฉกเช่นการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.


๓๘

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ใจเขาใจเรา

Keep in MIND

การพัฒนาชุมชน

เรื่อง : สุรินทร์ คำ�แพร ภาพ : กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสารองค์การ


๓๙

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

“เด็ดดอกไม้ดอกหนึ่งยังกระเทือนถึงดวงดาว” แสดงให้เห็นถึง ข้อเท็จจริงที่ว่า สรรพสิ่งล้วนมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ดังนั้น เพื่อให้เข้าใจถึงความต้องการที่แท้จริงของชุมชน หน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องจึงจำ�เป็นต้องศึกษาข้อมูลต่างๆ ของชุมชนอย่างรอบด้าน เนื่องจากชุมชนแต่ละแห่งมีความแตกต่างหลากหลาย (Diversity) ทัง้ ในแง่ความคิดและการกระทำ� รวมถึงความแตกต่างทางชาติพนั ธุ์ วัฒนธรรม ประเพณี และลักษณะทางภูมิศาสตร์ จึงจำ�เป็นต้องมี การปรับเปลีย่ นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาให้สอดคล้องและเหมาะสม กับสภาพความเป็นอยู่ของชุมชน เปรียบเสมือน “ตัดเสื้อไซส์เดียว แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนทุกรูปแบบ เกิดขึ้นเพื่อมุ่งแก้ไข ไม่สามารถใส่ได้ทุกคน” ปัญหาความเดือดร้อนของผู้คนในชุมชน โดยเฉพาะปัญหาเรื่อง นักพัฒนาชุมชนจึงถือเป็นผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญในการขับเคลื่อนงาน ปากท้ อ งและความเป็ น อยู่ โดยหน่ ว ยงานภาครั ฐ หรื อ เอกชน พัฒนาชุมชนให้ประสบความสำ�เร็จ เนื่องจากเป็นผู้ที่จะต้องลงไป ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ พ ยายามหาวิ ธี ก ารหรื อ กระบวนการที่ จ ะช่ ว ยให้ ทำ�งานร่วมกับคนในชุมชน ด้วยการเข้าไปให้คำ�แนะนำ� ให้ความ คนในชุมชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทั้งยังได้พัฒนาวิธีการหรือ ช่วยเหลือ แต่ไม่ใช่เป็นผูเ้ ข้าไปทำ�ให้ และด้วยเหตุผลทีว่ า่ งานพัฒนา กระบวนการดังกล่าวอยู่เสมอ เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ ชุมชนเป็นกระบวนการให้การศึกษาแก่คนในชุมชน เพือ่ ให้สามารถ สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คิด ตัดสินใจ และดำ�เนินการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ตลอดจน

“...การพั ฒ นาจะต้ องเป็ นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศ ทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศตามสังคมวิทยา คือ นิสัยใจคอ ของคนเรา จะไปบังคับให้คนคิดอย่างอืน่ ไม่ได้ เราต้องแนะนำ� เราเข้าไป ไปช่วย โดยที่ จะคิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง” (พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)

คำ�ว่า “ชุมชน” ก็มิได้มีนิยามที่ตายตัว แต่จะปรับเปลี่ยนไปตาม ศาสตร์ด้านการพัฒนาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนใหญ่จะเป็นไปใน เชิงอุดมคติ เพื่อสื่อถึงโครงสร้างของชุมชนที่ควรจะเป็น หรือควร จะมีในภาพรวม แต่สงิ่ สำ�คัญก็คอื จะต้องมีกระบวนการสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างบรรดาสมาชิกของชุมชนทั้งภายในและภายนอก เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนสามารถแสดงสิทธิ์ ออกเสียง และมี ส่วนร่วมในการกำ�หนดโครงสร้าง ตลอดจนกฎและกติกาที่จำ�เป็น สำ�หรับชุมชน

สามารถสนองความต้องการของตนเองและส่วนรวมได้ การพัฒนา จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมีกระบวนการ (Process) และมีการ กำ�หนดทิศทางเป้าหมายที่แน่นอน (Ultimate Goal) ที่อาจเป็นได้ ทั้งการกระทำ�จากภาครัฐหรือภาคเอกชน หรือเป็นความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคน ในชุมชนให้ดีขึ้น เพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ ซึ่งมิใช่เพียงรายได้ ของประชาชนเพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงความพึงพอใจและ ความสุขของชุมชนด้วย


ที่ผ่านมาพบว่า หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนต่างมีนโยบาย ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม (Corporate Social Responsibility หรือ CSR) นำ�สิ่งของ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ไปมอบให้ชุมชน เข้าไปดำ�เนินการจัดสร้างสิ่งต่างๆ ภายในชุมชน หรือให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ โดยเน้นด้านวัตถุมากกว่าการ ให้ความรู้ ให้คำ�แนะนำ� หรือให้ความช่วยเหลือตามหลักของการ พัฒนาที่แท้จริง เช่นนี้ผู้รับผิดชอบโครงการจะเป็นเพียงบุคลากรที่ ปฏิบัติหน้าที่ภายในองค์กรนั้นๆ แต่ขาดความรู้ทางด้านการพัฒนา ชุมชน ในทางปฏิบัติจึงมีฐานะเป็นเพียง “ผู้ประสานงาน” เท่านั้น ปัญหาทีพ่ บคือ ผูป้ ระสานงานจะติดตามความก้าวหน้าของโครงการ บรรลุตามแผนงานที่วางไว้หรือไม่ เพื่อที่จะได้มีผลงานนำ�เสนอ ต่อผู้บริหาร และเมื่อโครงการสำ�เร็จตามแผนก็ถือว่าหน้าที่ของ ตนเองเสร็จสิ้นแล้ว โดยไม่มีการติดตามและประเมินผลภายหลัง จบโครงการ ทำ�ให้หลายโครงการทำ�จบแล้วจบเลย ไม่มีการพัฒนา ไม่มกี ารต่อยอด ไม่มคี วามต่อเนือ่ ง สิง่ เหล่านีเ้ ป็นผลอันเนือ่ งมาจาก การที่หน่วยงานไม่เข้าใจว่าการพัฒนาชุมชนที่แท้จริงเป็นอย่างไร และการที่บุคลากรผู้ดำ�เนินงานโครงการขาดความรู้ความเข้าใจ เกีย่ วกับงานพัฒนา และด้วยเหตุทวี่ า่ งานพัฒนาชุมชนไม่เหมือนกับ ศาสตร์อนื่ เนือ่ งจากต้องลงไปทำ�งานร่วมกับชุมชนซึง่ ต้องใช้ศาสตร์ และศิลป์ในการดำ�เนินงาน ประกอบกับงานพัฒนาชุมชนเองก็ไม่ได้ มีสูตรสำ�เร็จตายตัว ดังนั้น ๑+๑ จึงอาจไม่เท่ากับ ๒ แต่อาจเป็น ๔, ๕, ๖ หรืออาจติดลบก็ได้ ซึ่งไม่สามารถกำ�หนดแน่นอนได้ว่า งานจะสำ � เร็ จ เมื่ อ ไร หรื อ ลงไปทำ � แล้ ว อาจไม่ สำ � เร็ จ เลยก็ ไ ด้ ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยหลายประการ

นั ก พั ฒ นาชุ ม ชนจึ ง มี บ ทบาทสำ � คั ญ ในการเข้ า ไปช่ ว ยเพิ่ ม ศักยภาพของชุมชน โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่จำ�เป็นต่อ การพัฒนา และเป็นที่ปรึกษาหรือเป็นพี่เลี้ยงให้กับคนในชุมชน เพือ่ ให้คนในชุมชนสามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างยัง่ ยืน ดังสุภาษิต ที่ ว่ า “ให้ ป ลาแก่ เขาไปจนสิ้ น เขามี เ พี ย งมี พ อกิ น ไปวั น วั น สอนเขาให้เลี้ยงและหามัน ชั่วชีวันเขามีปลาไม่ปรารมภ์” อ้างอิง

1. โกวิทย์ พวงงาม. การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น. 2. ปาริชาติ วลัยเสถียร. หลักการพัฒนาชุมชน. 3. วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์. พัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎีการพัฒนา.


จำ�เป็นต้องมีการปรับเปลี่ยน ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ให้สอดคล้องและเหมาะสม กับสภาพความเป็นอยู่ของชุมชน เปรียบเสมือน ‘ตัดเสื้อไซส์เดียว ไม่สามารถใส่ได้ทุกคน’


๔๒

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ของดีรอบบ้านเรา

กลุ่มผลิตภัณฑ์สมุนไพร

บ้านเชี่ยวหลาน

เรื่อง : ประชาสัมพันธ์ เขื่อนรัชชประภา

ก้ า วเล็ ก ๆ ที ล ะก้ า วของกลุ่ ม ผลิ ต ภั ณฑ์ จ าก สมุนไพร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล เชี่ยวหลาน-ไกรสร ได้แรงสนับสนุนจากเขื่อน รัชชประภา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และที่ขาดไม่ได้คือ แรงหนุนจากชุมชนที่มี ส่วนร่วมในการดำ�เนินงาน จนเวลานี้ ผลิตภัณฑ์ เหล่านี้กลายเป็นที่รู้จักและมีมูลค่าเพิ่มขึ้น


๔๓

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากสมุ น ไพร โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตำ � บล เชี่ ย วหลาน-ไกรสร ผลิ ต โดยกลุ่ ม ชมรมผู้ สู ง อายุ โรงพยาบาล ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตำ � บลเชี่ ย วหลาน-ไกรสร ได้ ผ ลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ หลากหลายชนิดจากสมุนไพร มีทั้งลูกประคบสมุนไพร สมุนไพร แช่เท้า นํ้ามันไพล ยาหม่อง และนํ้าสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เป็นต้น

ให้การสนับสนุนงบประมาณ และมีการต่อยอดโดยผลิตสินค้า จากสมุนไพรเพิ่มขึ้น เช่น สมุนไพรแช่เท้า นํ้ามันไพล ยาหม่อง และนํ้าสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เป็นต้น ปัจจุบันผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำ�บลเชี่ยวหลาน-ไกรสร เป็นที่รู้จักและเป็นที่สนใจของตลาด มีลูกค้าสนใจสั่งซื้อสินค้าเป็นจำ�นวนมากทั้งในและต่างจังหวัด นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการจัดการสวน สมุนไพร ทำ�ให้ชมรมมีความเข้มแข็ง สร้างงาน สร้างเงิน สร้างรายได้ ให้กับสมาชิกของชมรมเป็นกอบเป็นกำ� และสร้างชื่อเสียงชุมชน บ้านเชี่ยวหลานให้เป็นที่รู้จัก

ด้วยเล็งเห็นถึงประโยชน์ของสมุนไพรและความตั้งใจของกลุ่ม ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร เขื่อนรัชชประภาจึงเข้าไปมีส่วนร่วมผ่าน โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน ของกองบริหาร เขื่อนรัชชประภา โดยให้ ก ารสนั บ สนุ น งบประมาณมาตั้ ง แต่ ปี ๒๕๕๔ จนถึ ง ปัจจุบัน สร้างความภาคภูมิใจให้กับเขื่อนรัชชประภาเป็นอย่างยิ่ง ทีส่ ามารถส่งเสริมให้ชมุ ชนมีความเข้มแข็ง ช่วยสร้างงาน สร้างอาชีพ สมุนไพรที่นำ�มาทำ�สินค้าต่างๆ ล้วนเป็นสมุนไพรในชุมชน แต่เดิม สร้างรายได้ และสร้างชื่อเสียงให้กับชุมชนได้อีกทางหนึ่ง จะปลูกในบริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลเชี่ยวหลานกลุ่มผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล ไกรสร แต่ เ นื่ อ งจากพื้ น ที่ มี จำ � นวนจำ � กั ด ผลผลิ ต ไม่ เ พี ย งพอ เชี่ยวหลาน-ไกรสร แต่เดิมเป็นกลุ่มเล็กๆ จัดตั้งโดยนางมาลี ชูศรี ต่อความต้องการ ปัจจุบันจึงส่งเสริมให้สมาชิกของชมรมปลูก ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลเชี่ยวหลาน-ไกรสร สมุนไพรบริเวณบ้านเรือนและทีด่ นิ ของสมาชิก จากนัน้ จะนำ�มาผลิต และเจ้าหน้าที่ โดยสอนให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ได้นำ�สมุนไพรในชุมชน สินค้าต่างๆ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลเชีย่ วหลาน-ไกรสร มาทำ�ประโยชน์ด้วยการทำ�ลูกประคบ ซึ่งปัจจุบันเขื่อนรัชชประภา โดยมีเจ้าหน้าทีด่ า้ นสมุนไพรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล เชี่ยวหลาน-ไกรสร ให้ความรู้และดูแลด้านการผลิตสินค้า หากสนใจผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรเหล่านี้ สามารถติดต่อได้ที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลเชี่ยวหลาน-ไกรสร ตำ�บล เขาพัง อำ�เภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี หรือโทรศัพท์ ๐-๗๗๓๔-๖๑๐๖, ๐๘-๙๗๒๔-๖๓๙๗


๔๔

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

กฟผ. ไม่ไปไม่รู้

ครบรอบ ๒๙ ปี

Unseen EGAT

โรงไฟฟ้า

เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล


๔๕

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

เขือ่ นแม่งดั สมบูรณ์ชล เป็นโครงการพัฒนาแหล่งนํา้ อเนกประสงค์ ที่ สำ�คั ญ อี ก แห่ ง หนึ่ ง ในภาคเหนื อ เกิ ด จากความร่ ว มมื อ ระหว่ า งการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) กับกรมชลประทาน โดย กรมชลประทานรับผิดชอบในการสร้างเขื่อนและ อาคารประกอบต่ า งๆ ส่ ว น กฟผ. รั บ ผิ ด ชอบ โรงไฟฟ้ า และระบบส่ ง พลั ง ไฟฟ้ า เมื่ อ ก่ อ สร้ า ง แล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานนามว่ า “เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล” เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๒๙ และเสด็ จ พระราชดำ � เนิ น มาทรงเป็ น ประธานในพิธีเปิดเขื่อน เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๙ จากวันนั้นจวบวันนี้ เป็นเวลา ๒๙ ปีแล้ว ที่ โ รงไฟฟ้ า เขื่ อ นแม่ งั ด สมบู ร ณ์ ช ลได้ ทำ�หน้ า ที่ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า และบริ ห ารจั ด การนํ้ า เพื่ อ พื้ น ที่ ภาคเหนือตอนบนอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ พร้ อ มทั้ ง ใส่ ใจห่ ว งใยดู แ ลชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม รอบโรงไฟฟ้าอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ตลอดระยะเวลา ๒๙ ปี โรงไฟฟ้ า เขื่ อ นแม่ งั ด สมบูรณ์ชลได้สร้างคุณอเนกอนันต์แก่ประเทศชาติ โดยนํ้าที่ระบายจากเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชลเพื่อการ ชลประทานตั้งแต่ปี ๒๕๒๙ แยกเป็นนํ้าที่ระบายเพื่อ ชลประทานโดยไม่ผ่านเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า ๓,๙๖๘ ล้านลูกบาศก์เมตร นำ�ไปใช้ในพื้นที่เพื่อการเกษตร ๓๐,๐๐๐ ไร่ และมีนํ้าที่ระบายผ่านเครื่องกำ�เนิด ไฟฟ้า ๕,๐๑๑ ล้านลูกบาศก์เมตร นำ�ไปใช้ในพื้นที่ การเกษตร ๑๕๘,๐๐๐ ไร่ ปั จ จุ บั น โรงไฟฟ้ า เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชลผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ ๕๔๘ ล้ า นหน่ ว ย สามารถประหยั ด เงิ น ในการนำ�เข้ า นํ้ามันเตาเพื่อใช้ผลิตไฟฟ้าจำ�นวน ๑๘๒ ล้านลิตร เป็นเงินทั้งสิ้น ๕,๔๗๐ ล้านบาท

นอกจากความมุ่ ง มั่ น ด้ า นการผลิ ต กระแสไฟฟ้ า และการบริหารจัดการนํ้าแล้ว โรงไฟฟ้าพลังนํ้า เขือ่ นแม่งดั สมบูรณ์ชลยังได้รว่ มโครงการ CSR-DIW for Beginner ซึ่งเป็นโครงการที่ช่วยส่งเสริมให้ องค์กรฝึกทำ�โครงการ CSR ในเบื้องต้น เพื่อเป็นการ พัฒนาตนเองให้พร้อมดำ�เนินกิจกรรมเพือ่ การพัฒนา สังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน มีการดำ�เนิน กิจกรรมร่วมกับชุมชนและหน่วยงานราชการ องค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น อาทิ โครงการ “พัฒนาสูตร อาหารปลา...สู่ชุมชน” ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสำ�นักงานประมงอำ�เภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ การจั ด กี ฬ าประเพณี ป ระจำ�ปี ร ะหว่ า งหน่ ว ยงาน ราชการกับชุมชนที่อยู่รอบโรงไฟฟ้า โดยมีหน่วยงาน ชลประทานเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล องค์การบริหาร ส่วนตำ�บลบ้านเป้า อุทยานแห่งชาติศรีลานนา เทศบาล เมืองเมืองแกนพัฒนา เทศบาลตำ�บลแม่หอพระ และ ชุมชนบ้านช่อแล เพื่อสร้างสายสัมพันธ์ความสามัคคี และยึดถือเป็นประเพณีที่ปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่อง ตั้ ง แต่ ส มั ย ก่ อ สร้ า งเขื่ อ นแม่ งั ด ฯ มอบผ้ า ห่ ม ต้ า นภั ย หนาวให้ กั บ ชุ ม ชนบริ เวณรอบโรงไฟฟ้ า เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชลและโรงไฟฟ้าบ้านขุนกลาง


๔๖ สำ�หรับปี ๒๕๕๘ และการก้าวสู่ทศวรรษที่ ๓ ของ โรงไฟฟ้าเขือ่ นแม่งดั สมบูรณ์ชล ทาง กฟผ. จะดำ�เนิน โครงการ EGAT Irrigation Valve Based Micro Hydro Project ลำ�รางชลประทาน เขื่อนแม่งัด สมบูรณ์ชล ซึ่งเป็นการนำ�นํ้าที่ระบายเพื่อการเกษตร ของกรมชลประทานมาไหลผ่านเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า Micro Turbine เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า โดยคาดการณ์ ว่า หากโครงการแล้วเสร็จจะสามารถผลิตกระแส ไฟฟ้าได้ปีละประมาณ ๑๐ ล้านหน่วย ซึ่งนับเป็น การนำ�นํ้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ตลอดระยะเวลา ๒๙ ปีที่ผ่านมา โรงไฟฟ้าเขื่อน แม่ งั ด สมบู ร ณ์ ช ลได้ ทำ � หน้ า ที่ ผ ลิ ต กระแสไฟฟ้ า เพื่อความสุขของประชาชนคนไทย ใส่ใจคุณภาพ ชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยรอบ และจะ ยังคงมุง่ มัน่ รักษาประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนา โรงไฟฟ้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ความเจริ ญ ของ ประเทศชาติต่อไป


มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

แหล่งท่องเที่ยวใกล้เขื่อนฯ เขือ่ นแม่งดั สมบูรณ์ชลเป็นเขือ่ นทีส่ ร้างขึน้ ตามพระราชดำ�ริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีชอ่ื เดิมว่า “เขือ่ นแม่งดั ” ตั้ ง อยู่ บ นลำ�นํ้ า แม่ งั ด สาขาแม่ นํ้ า ปิ ง อำ�เภอแม่ แ ตง จังหวัดเชียงใหม่ และอยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติศรีลานนา เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วพั ก ผ่ อ นอี ก แห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ โดยเฉพาะบริ เวณอ่ า งเก็ บ นํ้ า เหนื อ เขื่ อ น มีทศั นียภาพทางธรรมชาติทงี่ ดงาม มีบริการแพท่องเทีย่ ว เป็นจำ�นวนมากให้บริการนักท่องเที่ยวพร้อมสิ่งอำ�นวย ความสะดวก เช่น ร้านอาหาร กีฬาทางนํ้า เป็นต้น เพื่อรองรับการท่องเที่ยวที่กำ�ลังจะเติบโตขึ้นทุกขณะ

นอกจากนี้ ยั ง มี ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ น่ า สนใจบริ เวณใกล้ เ คี ย ง คือ วัดบ้านเด่น หรือ “วัดบ้านเด่นสะหรีศรีเมืองแกน” เดิมชื่อ “วัดศรีบุญเรือง” เป็นวัดที่สร้างตามแบบศิลปะล้านนาประยุกต์ ตั้ ง เด่ น เป็ น สง่ า บนเนิ น เตี้ ย ๆ ซึ่ ง สามารถเห็ น ได้ ใ นระยะไกล จึงเรียกกันว่า “วัดบ้านเด่น” เป็นวัดทีม่ คี วามวิจติ รงดงามตระการตา ด้วยศิลปะสถาปัตยกรรมไทยล้านนา ภายใต้แนวคิดที่ว่าให้เป็น สถานทีพ่ กั ผ่อนทางจิตใจมากกว่าการประกอบพิธกี รรมทางศาสนา จึงเป็นธรรมกุศโลบายในการสร้างวัดให้งดงาม เพื่อดึงดูดผู้คนให้ เข้าวัด ชมความสวยงามทีแ่ ฝงไว้ดว้ ยคติธรรม เป็นการชักนำ�ชาวโลก ยุคนี้ให้ใกล้ชิดศาสนา และซึมซับในคำ�สอนขององค์พุทธศาสดา พร้อมๆ ไปกับการเที่ยวชมพุทธสถานแห่งนี้ ศาสนสถานและศาสนสมบั ติ ทั้ ง หมดภายในวั ด ก่ อ สร้ า งโดย ครูบาเจ้าเทือง นาถสีโล (พระครูไพศาลพัฒนโกวิท) วัดหัวคง ตำ�บลขัวมุง อำ�เภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับนิมนต์จาก ครู บ าไชยา วั ด ป่ า ป้ อ ง อำ�เภอดอยสะเก็ ด จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ มาเป็นประธานในการก่อสร้างตั้งแต่ริเริ่มจนถึงปัจจุบัน

๔๗


๔๘

มีนาคม - เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ท้ายเล่ม เทคโนโลยี ถ่ า นหิ น สะอาดเป็ น กระบวนการดู แ ลและป้ อ งกั น ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ครอบคลุมขั้นตอนการผลิตกระแสไฟฟ้า ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น โดยแบ่งออกเป็น ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ๑. ขัน้ ตอนก่อนการเผาไหม้เชือ้ เพลิง (Pre-Combustion Technology) เป็ น การคั ด เลื อ กถ่ า นหิ น คุ ณ ภาพดี ประเภทซั บ บิ ทู มิ นั ส หรื อ บิทมู นิ สั ทีใ่ ห้คา่ ความร้อนสูง แต่มปี ริมาณมลสารประเภทกำ�มะถันตํา่ (น้อยกว่าร้อยละ ๑) นำ�ไปทำ�ความสะอาดเพือ่ กำ�จัดสิง่ เจือปนต่างๆ ออกจากถ่านหิน เช่น ฝุ่นละออง เศษดิน เศษหิน เป็นต้น เพื่อลด ปริมาณเถ้ากำ�มะถัน ซึง่ จะช่วยเพิม่ ค่าความร้อนและลดการระบาย มลสารลง (ขั้นตอนนี้จะดำ�เนินการที่เหมืองถ่านหิน ก่อนขนส่ง มายังโรงไฟฟ้า)

LAST Page

เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

ที่นำ�มาใช้ในประเทศไทย

๒. ขัน้ ตอนระหว่างการเผาไหม้เชือ้ เพลิง (Combustion Technology) เป็นการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและปรับปรุงระบบเตาเผาและ หม้อไอนํ้าให้มีประสิทธิภาพสูง เพื่อลดมลสารที่เกิดขึ้นจากการ เผาไหม้เชื้อเพลิง ถ่านหิน ได้แก่ • Pulverized Fuel (PF) Combustion เป็นวิธีการเผาไหม้ ถ่านหิน โดยถ่านหินจะถูกบดให้มีขนาดเล็กแล้วพ่นเข้าไป ในเตาเผาพร้อมอากาศ ทำ�ให้ประสิทธิภาพการเผาไหม้ สูงขึ้น ปัจจุบันมีการพัฒนาประสิทธิภาพในการเผาไหม้ ถ่านหินเพิ่มขึ้นถึงประมาณร้อยละ ๔๐ - ๕๕

๓. ขั้ น ตอนหลั ง การเผาไหม้ เชื้ อ เพลิ ง (Post-Combustion Technology) เป็นการกำ�จัดมลสารที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้ โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆ ได้แก่ เครื่องดักจับฝุ่นด้วยการใช้ไฟฟ้าสถิต เครื่องกำ�จัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เครื่องกำ�จัดก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ ปั จ จุ บั น เทคโนโลยี เ ครื่ อ งกำ�จั ด มลสารต่ า งๆ มี • หัวพ่นเชื้อเพลิงระบบ Dry Low NOx Burner โดยใช้วิธี ประสิทธิภาพในการกำ�จัดมากกว่าร้อยละ ๙๐ ทำ�ให้การระบาย การพ่นเชื้อเพลิงเป็นละอองผสมกับอากาศก่อนที่จะเข้าสู่ มลสารดังกล่าวอยู่ในเกณฑ์ที่กฎหมายกำ�หนด และไม่ก่อให้เกิด การเผาไหม้ เพือ่ ลดการสูญเสียเชือ้ เพลิงและช่วยให้อณ ุ หภูมิ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ในห้ อ งเผาไหม้ ล ดลง เพื่ อ ควบคุ ม การเกิ ด ออกไซด์ ข อง กฟผ. ให้ความเชือ่ มัน่ ว่าจะดำ�เนินการต่างๆ เพือ่ ให้เป็นเทคโนโลยี ไนโตรเจน (NOx) ถ่านหินสะอาดอย่างแท้จริง

EGAT magazine

จัดทำ�โดย ฝ่ายสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ที่ปรึกษา ธาตรี ริ้วเจริญ เยาวลักษณ์ โหตรภวานนท์ ยุวดี ธงสุวรรณ รัชดา ทองอยู่ อนิรุจน์ เอี่ยมกิจการ ศรดิษฐ ชื่นชูศักดิ์ บรรณาธิการ ยุทธชาติ เพียรมานะกิจ หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณัฐกา ปีตะเสน กองบรรณาธิการ กฤษณ์ สุนทรชาติ แพรวพิสาข์ เถาลัดดา ชโลบล ธงปราริน อั ค รพล รั ก ศรี รุ่ ง เรื อ ง สุ ริ น ทร์ หล่ อ ฤ ๅทั ย ภาพและศิ ล ปกรรม กองผลิ ต สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ฝ่ า ยสื่ อ สารองค์ ก าร สมาชิกและจัดส่ง แผนกบริการงานเผยแพร่ โทร. ๐-๒๔๓๖-๔๘๒๑ จัดพิมพ์โดย กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสาร องค์การ สำ�นักกองบรรณาธิการ แผนกข่าวสารประชาสัมพันธ์ภายใน อาคารประชาสัมพันธ์ กฟผ. สำ�นักงานใหญ่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๓๐ โทร. ๐-๒๔๓๖-๔๘๒๓ EGAT magazine เผยแพร่ความรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าและการดำ�เนินงานของ กฟผ. ทั้งนี้ ความคิดเห็นเป็นของผู้เขียน มิใช่ของ กฟผ. บรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขหรือปรับปรุงต้นฉบับเพื่อความเหมาะสม




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.