EGAT News | October 2016

Page 1

ธ สถิตในดวงใจไทยนิรันดร์ ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

พระราชประวัติรัชกาลที่ ๙

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระนามเดิมว่า “พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมพิ ลอดุลยเดช” เสด็จพระราชสมภพเมือ่ วันจันทร์ขนึ้ ๑๒ ค�ำ่ เดือนอ้าย ปีเถาะ จุลศักราช ๑๒๘๙ รัตนโกสินทรศก ๑๔๖ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐ ณ โรงพยาบาลเมานต์ออเบิรน์ เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ ๓ ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมีพระเชษฐภคินี คือ สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล ทรงสืบสาย พระโลหิตโดยตรง ย้อนไปถึงพระปฐมบรมกษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี

มหาภูมพิ ลอดุยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรี นฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” และได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการเป็น สัจจะวาจาว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข แห่ ง มหาชนชาวสยาม” ในการนีไ้ ด้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนา เฉลิมพระเกียรติยศ สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ พระอัครมเหสี เป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี

พระราชประวัติการศึกษา

ประสูติพระราชโอรส – พระราชธิดา

เมื่อพระชนมายุได้ ๕ พรรษา ทรงเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอี กรุงเทพมหานคร จากนั้นเสด็จไปศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ที่โรงเรียนเมียร์มองต์ (MERRIMENT) เมืองโลซานน์ (LAUSANNE) ทีป่ ระเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในปีพทุ ธศักราช ๒๔๗๘ และทรงเข้าศึกษาต่อที่ CEDE NOUBELLE DE LA SUES ROMANCE CHILLY ซึง่ เป็นโรงเรียนเอกชนนานาชาติ และทรงได้รบั ประกาศนียบัตร บาเชอลิเย เอ แลทร์ จากการศึกษาดังกล่าว ทรงรอบรู้ หลายภาษา ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน และลาติน ในระดับอุดมศึกษา ทรงเข้าศึกษาในแผนกวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเมืองโลซานน์ ต่อมาในปีพทุ ธศักราช ๒๔๘๑ ได้เสด็จนิวตั ประเทศไทยพร้อมด้วยพระบรมเชษฐาธิราช พระบรมราชชนนี และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์

ทรงครองราชสมบัติ

ขณะทีพ่ ระชนมพรรษา ๑๘ พรรษา รัฐบาลได้กราบบังคมทูลอัญเชิญขึน้ ครอง ราชย์ เป็นพระมหากษัตริยร์ ชั กาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เมือ่ วันที่ ๙ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธย ว่า “สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช” และรั ฐ บาลได้ แ ต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส� ำ เร็ จ ราชการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น แทนพระองค์ เนื่องจากยังทรงพระเยาว์และต้องทรงศึกษาต่อในต่างประเทศ ณ กรุงโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และต่อมาได้ทรงหมัน้ หม่อมราชวงศ์สริ กิ ติ ิ์ กิตยิ ากร เมือ่ วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๔๙๒ โดยพระราชทานพระธ�ำมรงค์วงที่สมเด็จพระบรมราชชนก ทรงใช้หมั้นสมเด็จพระราชชนนี พระราชพิธรี าชาภิเษกสมรสวันที่ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงประกอบพิธี ราชาภิเษกสมรส กับหม่อมราชวงศ์สริ กิ ติ ิ์ กิตยิ ากร ณ วังสระปทุม กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็ จ พระศรี ส วริ น ทิ ร าบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานหลัง่ น�ำ้ พระมหาสังข์ ทรงจดทะเบียนสมรสตาม กฎหมายเช่นเดียวกับประชาชน และได้ทรง สถาปนาหม่อมราชวงศ์สริ กิ ติ ิ์ กิตยิ ากร ขึน้ เป็น สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์

พระบรมราชาภิเษก

วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงประกอบพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ตามโบราณขัตติยราชประเพณี ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทร

วันที่ ๕ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุ ล ยเดช เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น พร้ อ มด้ ว ย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกครั้ง เพื่อ ทรงรักษาพระสุขภาพ และเสด็จนิวัตพระนคร เมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๔ ประทับ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน และ พระที่นั่งอัมพรสถาน ทัง้ สองพระองค์ทรงมีพระราชธิดา และพระราชโอรส ๔ พระองค์ ดังนี้ ๑) ทูลกระหม่อม หญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี ประสูตเิ มือ่ วันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ ๒) สมเด็จพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ประสูตเิ มือ่ วันที่ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ๓) สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสริ นิ ธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรม ราชกุ ม ารี ประสู ติ เ มื่ อ วั น ที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ และ ๔) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๐๐

พระองค์ทรงผนวช

วันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช ทรงผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงจ�ำพรรษา ณ พระต�ำหนัก ปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร ปฏิบัติ พระศาสนกิจเป็นเวลา ๑๕ วัน ระหว่ า งนี้ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินี ทรงปฏิบตั พิ ระราช กรณียกิจแทนพระองค์ ต่อมาทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรม ราชินีนาถ

สถาปนาพระปรมาภิไธย รัชกาลที่ ๘

วั น ที่ ๘ มิ ถุ น ายน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๙ เพื่ อ ให้ ส มพระเกี ย รติ ต าม โบราณขัตติยราชประเพณี ด้วยพระจริยวัตรอันเปีย่ มด้วยพระกตัญญูกตเวทิตาธรรม อันเป็นทีแ่ ซ่ซอ้ งสรรเสริญ ทรงสถาปนาพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิดล อดุลยเดชวิมลรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช ใหม่เป็น “พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล อดุลยเดชวิมลรามาธิบดี จุฬาลงกรณราชปรียวรนัดดา มหิตลานเรศวรางกูร ไอศูรยสันตติวงศวิสทุ ธ์ วรุตมขัตติยศักตอรรคอุดม จักรีบรมราช วงศนิวฐิ ทศพิธราชธรรมอุกฤษฎนิบณ ุ อดุลยกฤษฎาภินหิ ารรังสฤษฏ์ สุสาธิตบูรพาธิการ


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

ไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ ธัญอรรคลักษณวิจิตรโสภาคย สรรพางค์ มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคล อเนกนิกรชนสโมสรสมมต ประสิทธิ วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สรรพรัฐทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ วิศษิ ฏศักตอัครนเรศรามาธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดี พระอัฐมรามาธิบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร”

ทรงมีพระอัจฉริยภาพ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระราชทานความรักอันยิง่ ใหญ่ แก่อาณาประชาราษฎร์ และทรงมีพระราชภารกิจเพือ่ ประโยชน์สขุ ของอาณาประชาราษฎร์ ปรากฏเป็นทีป่ ระจักษ์เทิดทูนพระเกียรติคณ ุ ทัง้ ในหมูช่ าวไทยและชาวโลก จึงทรงได้รบั การสดุดแี ละการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิจ์ ากทุกสาขาวิชาการเป็นจ�ำนวนมาก ทัง้ ยังมีพระอัจฉริยภาพด้านดนตรีอย่างสูงส่ง ทรงพระราชนิพนธ์เพลงอันไพเราะนับแต่ พระเยาว์จนถึงปัจจุบนั รวม ๔๗ เพลง นักดนตรีทงั้ ไทยและต่างประเทศน�ำไปบรรเลง อย่างแพร่หลายเป็นที่ประจักษ์ นอกจากนั้นยังทรงเป็นนักกีฬาชนะเลิศรางวัลเหรียญทองในการแข่งขัน กีฬาซีเกมส์ ทรงได้รับยกย่องเป็น “อัครศิลปิน” ของชาติ นอกจากนี้ยังทรง สร้างสรรค์งานจิตรกรรมและวรรณกรรมอันทรงคุณค่าไว้เป็นทรัพย์สนิ ทางปัญญา ของชาติ เช่น ทรงพระราชนิพนธ์ แปลเรือ่ ง ติโต นายอินทร์ผปู้ ดิ ทองหลังพระ และ พระราชนิพนธ์เรื่องชาดกพระมหาชนก พระราชทานคติธรรมในการด�ำรงชีวิตด้วย ความวิริยะอุตสาหะอดทนจนพบความส�ำเร็จแก่พสกนิกรทั้งปวง

ต้นก�ำเนิดโครงการพระราชด�ำริ

จากนั้นได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปประทับพักผ่อน ณ พระราชวังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ เกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ โครงการ พระราชทานแห่งแรก “ถนนสายห้วยมงคล” ให้แก่ “ลุงรวย” และชาวบ้านที่มา ช่วยกันเข็นรถพระที่นั่งขึ้นจากหล่มดิน แม้ “ห้วยมงคล” อยู่ห่างอ�ำเภอหัวหินเพียง ๒๐ กิโลเมตร แต่ไม่มีถนนหนทาง ชาวบ้านได้รับความเดือนร้อนในการด�ำรงชีวิต ถนนสายห้ ว ยมงคลจึ ง เป็ น ถนนสายส� ำ คั ญ ที่ น� ำ ไปสู ่ โ ครงการในพระราชด� ำ ริ เพื่อบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขแก่พสกนิกร และอีกมากกว่า ๒,๐๐๐ โครงการในปัจจุบัน

โครงการชั่งหัวมัน

จากความเอาพระทัยใส่ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีท่ รงมีตอ่ เกษตรกรชาวไทยในการพัฒนาส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรมให้ประสบความ ส�ำเร็จและสามารถเลีย้ งดูตนเองและครอบครัวได้อย่างยัง่ ยืน จึงทรงมีพระราชด�ำริให้ จัดหาทีด่ นิ เพือ่ ท�ำโครงการด้านการเกษตร ในปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้ทรงซือ้ ทีด่ นิ ๑๒๐ ไร่ ใน อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี และต่อมากลางปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ ทรงซื้อ

ที่ดินแปลงติดกันเพิ่มเติมที่บ้านหนองคอไก่ ต.เขากระปุก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี จ�ำนวน ๒๕๐ ไร่ พระราชทานพันธุ์มันเทศ งอกออกมาจากหัวมัน ตั้งโชว์ไว้บน ตาชั่งในห้องทรงงานที่วังไกลกังวล ให้น�ำมาปลูกไว้บนที่ดินและพระราชทานชื่อ โครงการว่า “โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�ำริ” เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์รวบรวม พืชเศรษฐกิจนานาชนิดและแนวทางให้กับเกษตรกร

ฝนหลวง – กังหันชัยพัฒนา

ในปีพทุ ธศักราช ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินเพื่อทรงเยี่ยมพสกนิกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณ เทือกเขาภูพาน จ.สกลนคร ทรงสังเกตมีปริมาณเมฆมากปกคลุมเหนือพื้นที่ ระหว่างเส้นทางบิน แต่ไม่สามารถรวมตัวเกิดเป็นฝนตก ทั้งที่เป็นช่วงฤดูฝน และสภาพพืน้ ดินแห้งแล้ง ขาดแคลนน�ำ้ อุปโภค บริโภค และท�ำการเกษตร ประชาชน ประสบความเดือดร้อนแสนสาหัส ด้วยสายพระเนตรทีย่ าวไกลและทรงความอัจฉริยะ ของพระองค์ ด้วยคุณลักษณะของนักวิทยาศาสตร์ ทรงสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลใน ขั้นต้น จึงได้มีพระราชด�ำริว่า จะทรงค้นหาวิธีการท�ำให้เกิดฝนตกนอกเหนือจาก การได้รับจากธรรมชาติ โดยการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์กับทรัพยากรที่ มีอยู่ จนท�ำให้เกิดมีศักยภาพของการเป็นฝนให้ได้ หรือเรียกว่า “ฝนหลวง” หรือ “ฝนเทียม” โดยประยุกต์ผลการวิจยั ค้นคว้าทางวิชาการด้านฝนเทียมจากประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอิสราเอล จนเป็นที่ประจักษ์ไปทั่วโลก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชด�ำริให้ สร้างแหล่งกักเก็บน�้ำหรือโครงการแก้มลิง เพื่อป้องกันน�้ำท่วมและเก็บน�้ำไว้ใช้ยาม หน้าแล้ง ทรงคิดค้น “กังหันน�้ำชัยพัฒนา” หรือเครื่องกลเติมอากาศไปในน�้ำ เป็น กังหันแบบทุน่ ลอย ใช้บำ� บัดน�ำ้ เสียจากแหล่งชุมชน แหล่งอุตสาหกรรม และแหล่งน�ำ้ ทางการเกษตร สามารถปรับระดับน�ำ้ เสียให้กลับมาใช้ได้ในชีวติ ประจ�ำวัน จนได้รบั การยอมรับจากนานาอารยประเทศ

พสกนิกรแซ่ซ้องสรรเสริญ

ขณะทีป่ วงประชาชาวไทยต่างมีความจงรักภักดีเป็นทีป่ รากฏในวาระส�ำคัญ เช่น ศุภวาระเถลิงถวัลยราชสมบัตคิ รบ ๒๕ ปี พระราชพิธรี ชั ดาภิเษก ๙ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๕๑๔ พระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ พระราชพิธรี ชั มังคลาภิเษกทรงด�ำรงสิรริ าชสมบัตยิ าวนานกว่าพระมหากษัตริยท์ กุ พระองค์ วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ มหามงคลสมัยฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๕๐ ปี ๙ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ พระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ พระราชพิธฉี ลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖๐ ปี ระหว่างวันที่ ๘ – ๑๓ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔ รัฐบาลและประชาชนชาวไทยได้พร้อมใจกัน จัดงานเฉลิมพระเกียรติและถวายพระพรชัยมงคลด้วยความกตัญญูกตเวที ส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาทีส่ ดุ มิได้อย่างสมพระเกียรติทกุ วาระ q


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

กฟผ. กับการด�ำเนินโครงการสนองพระราชด�ำริ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ทีท่ รงมีพระอัจฉริยภาพหลากหลายด้าน จนน�ำมาซึง่ โครงการในพระราชด�ำริ และ โครงการหลวงนับหมืน่ นับพันโครงการ กฟผ. หนึง่ ในหน่วยงานของรัฐ ภาคภูมใิ จ เป็นอย่างยิง่ ทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ในการร่วมถวายงานตามพระราชด�ำริ และโครงการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ซึง่ ทรงเป็น “พระบิดา แห่งการพัฒนาพลังงานไทย” ผ่านโครงการต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นด้านพลังงาน ด้านการปลูกป่า และงานด้านอื่นๆ อีกมากมายอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อเป็นการสนองตอบ พระมหากรุณาธิคุณอันล้นเกล้าล้นกระหม่อม บนค�ำสัญญาที่ กฟผ. ได้ให้ไว้แก่ ประเทศว่า “ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย”

“เขื่อนของพ่อ” เขื่อนภูมิพล

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นกษัตริย์ที่มี สายพระเนตรยาวไกล ทรงเล็งเห็น ว่าน�ำ้ และไฟฟ้าเป็นปัจจัยส�ำคัญ ในการด�ำรงชีวติ พระองค์ทา่ น ทรงมีพระราชด�ำรัสเห็นชอบ กับรัฐบาลในสมัยนัน้ ว่าควรมี เขื่อนเพื่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้ และ เพื่อท�ำการผลิตกระแสไฟฟ้า ให้เพียงพอต่อความต้องการ ของประชาชน การไฟฟ้ า ยั น ฮี ซึ่ ง เป็ น รัฐวิสาหกิจด้านไฟฟ้าในขณะนัน้ (ก่อนจะมีการควบรวมกับการลิกไนท์ และ การไฟฟ้า ตะวันออกเฉียงเหนือ เป็น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) เป็นผู้รับผิดชอบใน การก่อสร้างเขือ่ นยันฮี ในปี พ.ศ.๒๔๙๖ ซึง่ ต่อมาได้รบั พระราชทานพระปรมาภิไธย ชื่อเขื่อนว่า “เขื่อนภูมิพล” ในปี พ.ศ.๒๕๐๐ จนกระทัง่ ปี พ.ศ.๒๕๐๗ การด�ำเนินการก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดเขือ่ นเมือ่ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๐๗ และพระองค์ได้ทรงมีพระราชด�ำรัสในวันประกอบพิธี เปิดไว้ดังนี้ “เราเห็นพ้องกับรัฐบาลว่าโครงการอเนกประสงค์โครงการแรกของประเทศไทย นีเ้ ป็นจุดเริม่ ต้นในการพัฒนาเศรษฐกิจก้าวใหม่ให้ไพศาลออกไป ปัจจุบนั น�ำ้ เป็นปัจจัย หล่อเลีย้ งชีวติ และน�ำ้ กับไฟฟ้าส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของชีวติ เมือ่ พลเมืองเพิม่ มาก และเร็วก็ต้องเพิ่มน�้ำและไฟฟ้าให้ทันความต้องการของพลเมือง”

เขือ่ นภูมพิ ลแห่งนีเ้ ป็นเขือ่ นอเนกประสงค์ขนาดใหญ่ และเป็นเขือ่ นคอนกรีต รูปโค้งที่ใช้ในการกักเก็บน�้ำเพื่อการเกษตร และยังเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าที่ส�ำคัญของ ประเทศไทย โดยมีกำ� ลังการผลิต ไฟฟ้าได้ประมาณปีละ ๑,๐๖๒ ล้านกิโลวัตต์-ชัว่ โมง นอกจากนี้ ในปั จ จุ บั น เขื่ อ นภู มิ พ ล ยั ง เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ที่ส�ำคัญของประเทศไทยที่มี นักท่องเทีย่ วไปเยือนประมาณ ๒๗ ล้านคนต่อปี

“โครงการพลังน�้ำขนาดเล็กอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ”

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงห่วงใยพสกนิกร ทุกครัง้ ทีเ่ สด็จฯ ในท้องถิน่ ทุรกันดารหรือในพืน้ ทีห่ า่ งไกล จะทรงสนพระทัยสอบถาม ถึงความเป็นอยู่ โดยเฉพาะเรื่องน�้ำบริโภคและท�ำการเกษตร ด้วยทรงมีพระราช ประสงค์ให้แต่ละชุมชนใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด พึ่งพาตนเองได้ กฟผ. จึงสนองแนวพระราชด�ำริ ด้วยการก่อสร้างเขื่อนขนาดเล็กเพื่อเก็บกักน�้ำและ ผลิตกระแสไฟฟ้าไว้ใช้ในชุมชน ประกอบด้วย


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

๑. โรงไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านยาง จังหวัดเชียงใหม่

เป็นโรงไฟฟ้าอีกแห่งหนึ่งซึ่งแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ด้านการน�ำพลังงานน�ำ้ มาผลิตกระแสไฟฟ้า ได้เป็นอย่างดี พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ องคมนตรี เล่าว่า “พระองค์ทา่ นทรงมีความรูว้ า่ การผลิตไฟฟ้าจากพลังน�ำ้ สามารถท�ำได้สองแบบ แบบแรกได้จากการทีน่ ำ�้ ไหลจากทีส่ งู ลงมาพัดกังหันเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า ส่วนอีกแบบ หนึง่ คือน�ำ้ ไหลในทางราบซึง่ หากไหลอยูต่ ลอดเวลาก็ทำ� ให้กงั หันเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า หมุนได้เช่นกัน เมื่อพระองค์ทอดพระเนตรเห็นทางน�้ำไหลอยู่ตลอดเวลาที่บ้านยาง จึงทรงมีพระราชด�ำริให้ศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการสร้างโรงไฟฟ้าที่นี่ ทรงมี พระราชประสงค์ให้ผลิตไฟฟ้าเพือ่ น�ำไปใช้ในการด�ำเนินงานของโรงงานแปรรูปผลไม้ เพราะเวลานั้นยังไม่มีไฟฟ้าเข้าถึงหมู่บ้านดังกล่าว”

กฟผ. จึงก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านยางในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๖ เมือ่ แล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปทรงเปิดโรงไฟฟ้าในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๗ โรงไฟฟ้าบ้านยางสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ ๐.๔ ล้านกิโลวัตต์ ต่อชั่วโมง นอกจากช่วยให้โรงงานแปรรูปผลไม้สามารถด�ำเนินงานได้แล้ว ยังช่วย จ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่หมู่บ้านยางและหมู่บ้านใกล้เคียงอีกด้วย

เขือ่ นห้วยกุม่ นอกจากช่วยบรรเทา ความเดือดร้อนของเกษตรกรบริเวณ ล�ำน�ำ้ พรมตอนล่างครอบคลุมพืน้ ที่ เกษตรกรรมประมาณ ๘๐,๐๐๐ ไร่ แ ล้ ว ยั ง เป็ น เขื่ อ นที่ ส ามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ปีละประมาณ ๑๓,๐๐๐ กิโลวัตต์ตอ่ ชัว่ โมงอีกด้วย เป็ น อี ก โครงการพระราชด� ำ ริ ที่ ทรงค�ำนึงถึงความเดือดร้อนของ ประชาชนเป็นส�ำคัญ ขณะเดียวกัน ก็เป็นตัวอย่างของการใช้ทรัพยากร เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด

๔. เขื่อนพรมธารา จังหวัดชัยภูมิ

๒. โรงไฟฟ้าพลังน�้ำคลองช่องกล�่ำ จังหวัดสระแก้ว

เมือ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปทอดพระเนตรการก่อสร้างเขื่อนจุฬาภรณ์ ทรงมีพระราชด�ำริว่าล�ำห้วยซึ่งเป็น สาขาของแม่น�้ำพรมเหนือเขื่อนจุฬาภรณ์ เป็นล�ำห้วยขนาดใหญ่มีน�้ำไหลตลอดปี สมควรศึกษารายละเอียดเพื่อพิจารณาก่อสร้างเขื่อนหรือฝายขนาดเล็กและเจาะ อุโมงค์ผันน�้ำลงมายังเขื่อนจุฬาภรณ์

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชด�ำริให้ ก่อสร้างเขื่อนช่องกล�่ำตอนบน เขื่อนช่องกล�่ำตอนล่าง และเขื่อนท่ากระบาก โดย แล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๒๔ เมือ่ วันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๒๔ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมเยียนราษฎรในพื้นที่ ทรงมีพระราชด�ำริให้ พิจารณาน�ำน�ำ้ ทีร่ ะบายจากเขือ่ นมาใช้ประโยชน์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าก่อนระบายน�ำ้ ไปใช้ในการเกษตร และทรงมีพระราชด�ำริให้เพิ่มความสูงของเขื่อนคลองช่องกล�่ำ ตอนบนอีก ๒ เมตร หรือตามความเหมาะสมเพือ่ ให้อา่ งเก็บน�ำ้ มีความจุมากขึน้ และ สามารถเพิ่มก�ำลังผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้นตามไปด้วย กฟผ. จึงพัฒนาสร้างเป็นโรงไฟฟ้าพลังน�้ำคลองช่องกล�่ำตอนบน ที่ต�ำบล หนองน�้ำใส อ�ำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าใช้กับเครื่อง สีข้าวและไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะในหมู่บ้าน ๓ แห่งคือ คลองทราย คลองคันโท และท่ากระบาก ของจังหวัดสระแก้ว

กฟผ. จึงท�ำการศึกษาและก่อสร้างเขือ่ นพรมธาราขึน้ ท�ำให้สามารถผันน�ำ้ มาลงเขือ่ นจุฬาภรณ์ได้ถงึ ปีละ ๒ ล้านลูกบาศก์เมตร ส่งผลให้เขือ่ นจุฬาภรณ์สามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพิ่มขึ้นอีกปีละประมาณ ๒ ล้านกิโลวัตต์ต่อชั่วโมง เขื่อนพรมธาราเป็นเครื่องพิสูจน์ที่แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพในการ ประดิษฐ์คิดค้น ดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่เพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้สูงสุด

เดิมบริเวณดังกล่าวซึง่ เป็นพืน้ ทีป่ า่ เชิงเขาบรรทัดแถบชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดสระแก้ว มีสภาพป่าเสือ่ มโทรมถูกบุกรุกท�ำลาย ราษฎรประสบปัญหาขาดแคลนน�ำ้ ในการท�ำการเกษตร และในเวลานัน้ ยังเป็นพืน้ ทีท่ มี่ กี ารสูร้ บกับผูก้ อ่ การร้ายอีกด้วย

๓. โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนห้วยกุ่ม จังหวัดชัยภูมิ

เมือ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนิน เปิดเขือ่ นจุฬาภรณ์ ทรงมีพระราชด�ำริให้ กฟผ. ศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการสร้าง เขื่อนอีกแห่งบริเวณใต้เขื่อนจุฬาภรณ์ห่างออกไปประมาณ ๔๐ กิโลเมตร เพื่อแก้ไข ปัญหาการขาดแคลนน�ำ้ ของเกษตรกร พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ องคมนตรี และอดีตผู้ว่าการ กฟผ. เล่าถึงการเสด็จพระราชด�ำเนินในครั้งนั้นว่า “พอกราบบังคมทูลว่าเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมทีเ่ สด็จฯ มาเปิด เขื่อนเล็กๆ พระองค์ท่านก็ทรงมีรับสั่งว่า “นี่คือเขื่อนที่ใหญ่ที่สุดของฉันแล้ว””


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

๕. โรงไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านขุนกลาง จังหวัดเชียงใหม่

โรงไฟฟ้าบ้านขุนกลาง ตัง้ อยูบ่ นดอยอินทนนท์ เขตต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอ จอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก สร้างขึ้นตามโครงการพระราช ด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อจะน�ำพลังงาน น�ำ้ ในบริเวณน�ำ้ ตกสิรภิ มู ิ ซึง่ อยูใ่ นบริเวณหมูบ่ า้ นขุนกลาง มาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาในด้านอืน่ ๆ ของโครงการ หลวงอินทนนท์ ในอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์

การก่อสร้างโรงไฟฟ้าบ้านขุนกลาง เริม่ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ แล้วเสร็จ ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ภายในโรงไฟฟ้าติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า จ�ำนวน ๒ ชุด ขนาดก�ำลังผลิตชุดละ ๙๐ กิโลวัตต์ รวมก�ำลังผลิต ๑๘๐ กิโลวัตต์ ให้พลังงานไฟฟ้า ๗๐๐,๐๐๐ กิโลวัตต์ ชั่วโมงต่อปี เมื่อแล้วเสร็จ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสร็จพระราชด�ำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดโรงไฟฟ้าบ้านขุนกลางเมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๗

๖. โรงไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านสันติ จังหวัดยะลา

ในการก่อสร้างเขือ่ นบางลาง จังหวัดยะลา ซึง่ เป็นโครงการพัฒนาแหล่งน�ำ้ แห่งแรกของภาคใต้ตอนล่างนัน้ เต็มไปด้วยความยากล�ำบากในการก่อสร้าง เนือ่ งด้วย ในขณะนัน้ ยังมีการต่อสูก้ บั ผูก้ อ่ การร้าย โดยในระหว่างการก่อสร้าง พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาทีเ่ ขือ่ นแห่งนีห้ ลายครัง้ ด้วยพระราชประสงค์จะพระราชทาน ก�ำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและทรงมีพระราชกระแสรับสั่งว่า “คนที่เข้าถึงพื้นที่ได้ ย่อมมีโอกาสท�ำงานส�ำเร็จ”

ในวันที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๑ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินทรงวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างเขือ่ นบางลาง พระองค์ ได้เสด็จฯ ไปยังฝายละแอ ซึง่ เป็นฝายทดน�ำ้ ขนาดเล็กจากคลองละแอทีส่ ร้างด้วยการ เจาะอุโมงค์ขนาดเล็ก และต่อท่อส่งน�้ำไปให้ประชาชนในหมู่บ้านสันติใช้ พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ซึ่งเวลานั้นด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นผู้ว่าการ กฟผ. กราบบังคมทูลว่า น�้ำประปาไหลแรงเพราะต่อน�้ำลงมาจากที่ สูงท�ำให้ก๊อกน�้ำเสียเป็นประจ�ำ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีรับสั่งว่า “ถ้าน�้ำแรง ท�ำไมไม่คิดท�ำไฟฟ้าด้วย” จากแนวพระราชด�ำริดังกล่าว กฟผ. จึงก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านสันติ ขึ้นบริเวณเหนือเขื่อนบางลาง โดยติดตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าขนาด ๑,๒๗๕ กิโลวัตต์ จ�ำนวน ๑ เครื่อง และติดตั้งท่อส่งน�้ำยาว ๑,๘๐๐ เมตร สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้า ได้ในปี พ.ศ.๒๕๒๘ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านสันติ นับเป็นโรงไฟฟ้าใต้ภูเขาแห่งแรกของ ประเทศไทยทีม่ กี ารควบคุมด้วยเทคโนโลยีขนั้ สูงด้วยการเดินเครือ่ งในระบบอัตโนมัติ สามารถสั่งการและควบคุมการเดินเครื่องโดยตรงจากโรงไฟฟ้าเขื่อนบางลาง ช่วยอ�ำนวยประโยชน์แก่ราษฎรในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี

๗. โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล จังหวัดเชียงใหม่

โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เขือ่ นแม่งดั สมบูรณ์ชล เดิมเป็นฝายกัน้ น�ำ้ ขนาดเล็ก ปิดกัน้ ล�ำน�ำ้ แม่งดั ในพืน้ ทีต่ ำ� บลช่อแล อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ได้เกิดอุทกภัยขึน้ ท�ำให้ฝายได้รบั ความเสียหายจนใช้การไม่ได้ กรมชลประทาน จึงได้พิจารณาด�ำเนินการซ่อมแซมฝาย ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินไปยังโครงการดังกล่าว และทรงมีพระราชด�ำริว่า “โครงการประเภทไหนถ้าพิจารณาดูแล้วเห็นว่าสามารถอ�ำนวยประโยชน์ ได้มากกว่า ก็สมควรจะเลือกสร้างโครงการประเภทนั้น” กรมชลประทาน และ กฟผ. จึงได้รว่ มมือกันก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เขือ่ น แม่งัดสมบูรณ์ชลในปี พ.ศ.๒๕๒๐ โดยกรมชลประทานด�ำเนินการสร้างเขื่อนและ กฟผ. ดูแลเรื่องโรงไฟฟ้าแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๒๘ ตัวเขือ่ นมีลกั ษณะเป็นเขือ่ นดินถมสูง ๕๙ เมตร ยาว ๑,๙๕๐ เมตร อ่างเก็บน�ำ้ มี ค วามจุ ๒๖๕ ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร สามารถส่ ง น�้ ำ ให้ พื้ น ที่ เ พาะปลู ก ได้ ๑๘๘,๐๐๐ ไร่


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

กฟผ. ได้กอ่ สร้างโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ และติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าขนาด ๔,๕๐๐ กิโลวัตต์ จ�ำนวน ๒ เครื่อง รวม ๙,๐๐๐ กิโลวัตต์ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ปีละ ประมาณ ๒๙ ล้านกิโลวัตต์ต่อชั่วโมง

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล” เมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๙ และเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนเมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๙ นอกจากพระวิสยั ทัศน์รอบด้านเกีย่ วกับการใช้พลังงานน�ำ้ แล้ว พระองค์ยงั ได้ทรงริเริม่ การศึกษาวิจยั เรือ่ งพลังงานทดแทนรูปแบบต่างๆ ผ่านโครงการส่วน พระองค์สวนจิตรลดาอย่างเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีพระราชด�ำริให้นำ� พืชผลการเกษตรมาผลิตเป็นพลังงานทดแทน เพือ่ ให้คนไทยสามารถพึง่ พาตัวเอง ได้ในด้านพลังงาน รวมทัง้ รองรับปัญหาราคาพืชผลการเกษตรตกต�ำ่ ตลอดจน เป็นการน�ำเศษวัสดุเหลือใช้มาท�ำประโยชน์ให้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ และสร้างระบบนิเวศให้เกิด ความสมดุล อีกทัง้ ยังจุดประกายให้คนไทยตระหนักในคุณค่าของการอนุรกั ษ์และ การพัฒนาพลังงานทีย่ งั่ ยืน ซึง่ กฟผ. ได้เป็นส่วนหนึง่ ในการร่วมถวายงานตาม พระราชด�ำริในโครงการด้านพลังงานทดแทน ดังนี้

มิเตอร์วัดแรงดันและกระแสไฟฟ้าสลับ และมิเตอร์วัดพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จาก ระบบ ต่อเชื่อมระบบดังกล่าวเข้ากับระบบสายส่งของการไฟฟ้านครหลวง

โครงการผลิตเชื้อเพลิงแกลบอัดแท่ง

ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรง มีพระราชด�ำริให้นำ� แกลบทีไ่ ด้จากการสีขา้ วของโรงสีขา้ วตัวอย่างจากสวนจิตรลดา มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงดินและน�ำมาท�ำเป็นเชื้อเพลิงแท่ง จึงมีการจัดสร้าง โรงบดแกลบขึ้นภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา การด� ำ เนิ น งานในขั้ น แรก เป็ น การน� ำ แกลบผสมปู น มาร์ลและปุย๋ เคมีเพือ่ ใช้ในการ ปรับปรุงดิน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาจัดซือ้ เครือ่ งอัด แกลบให้เป็นแท่ง เพือ่ ใช้แทน เชื้อเพลิงชนิดอื่น รวมทั้ง จ�ำหน่ายแก่บุคคลภายนอก โครงการแกลบอัดแท่งยังคงมีการทดลองและพัฒนาขั้นตอนการผลิตตาม พระราชด�ำริอยูต่ ลอดเวลา อย่างเช่นในปี พ.ศ.๒๕๒๘ มีพระราชด�ำริให้ทดลองอัดแกลบ ผสมผักตบชวาเพือ่ ทดลองน�ำผักตบชวาทีเ่ ป็นวัชพืชตามแหล่งน�ำ้ มาท�ำเป็นเชือ้ เพลิงแท่ง ปี พ.ศ.๒๕๒๙ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี พระราชทานค� ำ แนะน� ำ ให้ ติ ด ตั้ ง เตาก� ำ เนิ ด ความร้ อ นแทนขดลวดความร้ อ น ที่เครื่องอัดแกลบ เพื่อเป็นการประหยัดกระแสไฟฟ้า หลังจากนัน้ เนือ่ งจากแกลบที่ อัดแล้ว ไม่สามารถรักษาสภาพให้เป็น แท่งเมือ่ ถูกน�ำ้ หรือน�ำ้ ฝนจะแปรสภาพ เป็นแกลบเหมือนเดิม จึงน�ำแกลบ ที่อัดแล้วไปเผาให้เป็นถ่านซึ่งช่วย ให้สะดวกขึ้น เพราะไม่มีควันและ ได้ความร้อนสูงกว่า ซึ่งโรงงาน แอลกอฮอล์ได้ใช้แกลบอัดแท่งเป็น เชื้อเพลิงเช่นกัน นอกจากนั้นยัง จ�ำหน่ายแก่บคุ คลภายนอก รวมทัง้ เคยส่งไปให้ผู้อพยพในค่ายผู้ประสบภัยของสหประชาชาติด้วย ในปี พ.ศ.๒๕๔๕ – ๒๕๔๘ กฟผ. ศึกษาและพัฒนาน�ำแกลบที่มีคุณสมบัติ เป็นเชื้อเพลิงชีวมวลมาท�ำประโยชน์ในการให้พลังงานความร้อนและน�ำไปใช้เป็น แหล่งพลังงานให้กับเครื่องท�ำความเย็นแบบดูดซึมชนิดใช้น�้ำร้อน (Hot Water Fired Absorption Chiller) ผลิตน�้ำเย็นส�ำหรับอาคารควบคุมสภาวะแวดล้อม เพื่อ การเพาะเห็ดเขตหนาว และใช้กับเครื่องปรับอากาศให้กับอาคารวิจัยเห็ด อาคาร วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งศาลามหามงคลภายในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เพื่อเป็นโครงการตัวอย่างให้แก่ผู้ที่สนใจน�ำไปประยุกต์ใช้ต่อไป

การพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์

ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอัน เนื่องมาจากแนวพระราชด�ำริโครงการหลวง ฯลฯ มีการน�ำพลังงานแสงอาทิตย์ มาใช้หลากหลายรูปแบบ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับการใช้งานเป็นส�ำคัญ และเป็นการพัฒนาคิดค้นเทคโนโลยีทสี่ ามารถผลิตเองได้ภายในประเทศ ซึง่ นอกจาก เป็นการน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในการด�ำเนินการภายในโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริต่างๆ แล้ว ยังเป็นตัวอย่างและแหล่งความรู้แก่ประชาชนที่ สนใจน�ำพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ประโยชน์ภายในครัวเรือนหรือประกอบธุรกิจของ ตนเองอีกด้วย ในปี พ.ศ.๒๕๔๒ กฟผ. ได้ด�ำเนินงานสนองพระราชด�ำริใน “โครงการ บ้านพลังงานแสงอาทิตย์” ซึง่ ได้รบั บริจาคอุปกรณ์จากหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน โดย กฟผ. ด�ำเนินการติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์จ�ำนวน ๑๔ แผง สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ๙.๔๕ แอมแปร์ ติดตัง้ เครือ่ งแปลงกระแสไฟฟ้า ตูส้ วิตช์ ควบคุมการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ และตูบ้ อร์ดมิเตอร์ แสดงสภาวะการท�ำงาน ของระบบ ประกอบด้วยมิเตอร์วดั แรงดันและกระแสไฟฟ้าตรงของเซลล์แสงอาทิตย์

ด้วยพระอัจฉริยภาพทางด้านการใช้พลังงานน�ำ้ ทีท่ รงค�ำนึงถึงประโยชน์ของ ประชาชนทุกหมูเ่ หล่า ไม่วา่ จะเป็นเกษตรกร ผูใ้ ช้ไฟฟ้า หรือผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากน�ำ้ ท่วม รวมถึงทรงริเริม่ การพัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทย ซึง่ แนวพระราชด�ำริ ของพระองค์ได้เป็นแนวทางให้ประชาชนได้นำ� ไปศึกษาพัฒนาต่อ พระอัจฉริยภาพ และสายพระเนตรอันกว้างไกลของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เป็นไปเพื่อบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุข และเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทยอย่าง แท้จริง... q

(ต


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงปลูกต้นไม้ ณ เขื่อนภูมิพล และเขื่อนอุบลรัตน์ อันเป็นสิริมงคลแก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปวงข้าพระพุทธเจ้าน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ และจะขอเดินตามรอยพ่อ ปลูกต้นไม้คนื ผืนป่าให้แก่แผ่นดิน เป็นแหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธาร ดังพระราชปณิธาน ของพระองค์ท่านตลอดไป

“ต้นสัก” ทรงปลูก ณ เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก

พระราชกรณียกิจ : วันที่ ๑๗ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๓ เวลา ๑๐.๑๕ น. พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนิน ออก ณ บริเวณทีป่ ระทับแรมเขือ่ นภูมพิ ล ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ฉายพระบรม ฉายาลักษณ์ร่วมกับพนักงาน กฟผ. แล้วเสด็จฯ ไปทรงปลูกต้นไม้ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงปลูกต้นสัก สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ ทรงปลูกต้นราชพฤกษ์ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชด�ำเนินไปประทับ เฮลิคอปเตอร์ ณ สนามกอล์ฟ เขื่อนภูมิพล นายเกษม จาติกวณิช ผู้ว่าการ กฟผ. นายปฏิพทั ธ์ อารยะศาสตร์ นายทองโรจน์ พจนารถ รองผูว้ า่ การฯ และนาวาอากาศตรี ก�ำธน สินธวานนท์ ผู้ช่วยผู้ว่าการฯ (ยศในขณะนั้น) กับพนักงาน กฟผ. และ ครอบครัว เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทส่งเสด็จ

“ต้นสนฉัตร” ทรงปลูก ณ เขือ่ นอุบลรัตน์ อ�ำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น

พระราชกรณียกิจ : วันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ เวลา ๑๐.๕๕ น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนินโดยรถยนต์พระทีน่ งั่ ไปทรงปลูกต้นสนฉัตร ณ บริเวณ สันเขือ่ นอุบลรัตน์ แล้วเสด็จฯ ทรงเยีย่ มราษฎรทีอ่ าศัยอยูใ่ นบริเวณเขือ่ นอุบลรัตน์ ซึง่ มาเฝ้าทูลละอองธุลพี ระบาทรับเสด็จ ณ บริเวณลานจอดเฮลิคอปเตอร์เป็นจ�ำนวนมาก ทรงมีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรเหล่านั้นโดยทั่วกัน แล้วประทับเฮลิคอปเตอร์ พระทีน่ งั่ ไปยังท่าอากาศยานอุดรธานี โดยมีนายเกษม จาติกวณิช ผูว้ า่ การ กฟผ. และ นาวาอากาศตรี ก�ำธน สินธวานนท์ ผู้ช่วยผู้ว่าการฯ (ยศในขณะนั้น) เฝ้าทูลละออง ธุลีพระบาท q ทีม่ า : หนังสือต้นไม้ทรงปลูก จัดท�ำโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิติ แห่งประเทศไทย ตีพมิ พ์ พ.ศ. ๒๕๕๔


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

สืบสานตามแนวพระราชด�ำริ กฟผ. กับการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อม

นอกจากพระราชสมัญญานามที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงได้รับการเทิด พระเกียรติจากปวงชนชาวไทยในการเป็น “พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย” แล้ว พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ยังทรงเป็นนักพัฒนาทางด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมเพือ่ บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข และเพื่อยกระดับความอยู่ดีมีสุขของประชาชนของพระองค์ โดย กฟผ. ได้ด�ำเนินโครงการต่างๆ สืบสานตาม แนวพระราชด�ำริเพื่อเทิดพระเกียรติพระองค์ท่าน ดังนี้

๑. โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระราชทาน พระราชด� ำ ริ เ ป็ น อเนก ประการ ในการท�ำนุบำ� รุงสิง่ แวดล้อม และทรัพยากรป่าไม้ ของประเทศ ทรงพระราชทาน พระราชด�ำริการพัฒนา ด้านต่างๆ ควบคู่กับการ อนุรักษ์เสมอ ด้วยทรง จั ด การใช้ ท รั พ ยากรสิ่ ง แวดล้อมให้เกิดประโยชน์ แก่ พ สกนิ ก รมากที่ สุ ด ประกอบกับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ได้ทรงทราบฝ่าละอองธุลพี ระบาทสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงห่วงใย ปัญหาป่าไม้ทถี่ กู บุกรุกท�ำลายกระทบต่อการด�ำรงชีพของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ท�ำให้เกิดภัยธรรมชาติ ได้แก่ ความแห้งแล้งและอุทกภัยบ่อยครัง้ ตลอดจนผลกระทบ ทางเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของชาติ ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น จึงได้ทรงมีพระราชกระแสตามหนังสือส�ำนักราชเลขาธิการ ที่ รล๐๐๐๙/๑๑๙๕๑ ลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๓๕ ให้หามาตรการหยุดยั้งการท�ำลายป่าและเร่งฟื้นฟู บ�ำรุงต้นน�ำ้ ล�ำธาร รัฐบาลในสมัยนัน้ จึงสนองพระราชกระแสของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และจะน้อมเกล้าฯ ถวายการให้หน่วยงานต่างๆ และประชาชน ปลูกป่าเป็นราชสักการะ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ทรงครองราชย์ปีที่ ๕๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงเกิดเป็นโครงการปลูกป่า ถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ทรงครองราชย์ปีที่ ๕๐ ขึ้น กฟผ. ได้เข้าร่วม สนับสนุนโครงการปลูกป่า ถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ เนือ่ งในวโรกาสทีพ่ ระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงครอง ราชย์ปีที่ ๕๐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยได้จดั ตัง้ หน่วยงานขึน้ มารับผิดชอบ ภายใต้ ชื่ อ “โครงการ ป ลู ก ป ่ า ถ า ว ร เ ฉ ลิ ม พระเกียรติฯ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย”

ปัจจุบันการด�ำเนินงานตลอดระยะเวลา ๒๒ ปี กฟผ. สามารถคืนผืนป่าให้ ประเทศไทยได้ ๔.๔ แสนไร่ ซึง่ สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ๘.๔ ล้านตัน ผลิตก๊าซออกซิเจน ๖.๑ ล้านตัน และหลังจากปี พ.ศ. ๒๕๕๘ กฟผ. มีเป้าหมาย ปลูกป่าเพิ่มปีละ ๒๐,๐๐๐ ไร่

๒. โครงการปลูกต้นไม้รอบบ้านพ่อ

คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เห็ น ชอบให้ มี กิ จ กรรม เฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช เนือ่ งใน วโรกาสแห่ ง การบรม ราชาภิเษกปีที่ ๖๐ และ เฉลิ ม พระชนมพรรษา ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี มีหนังสือ ที่ นร. ๐๑๑๑ /ว.๖๑๕ ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๓ เรือ่ งการจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสแห่งการบรม ราชาภิเษกปีที่ ๖๐ และกระทรวงพลังงานได้ก�ำหนดให้หน่วยงานในสังกัดจัดท�ำ โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ ในโอกาสส�ำคัญยิง่ ภายใต้หวั ข้อ “ลดโลกร้อนถวายพ่อ” กฟผ. ได้ให้ความส�ำคัญต่อการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึ ง จัดท�ำ “โครงการปลูก ต้นไม้รอบบ้านพ่อ” ร่วม เฉลิมพระเกียรติในโอกาส ส�ำคัญยิ่ง และเป็นการ สนองแนวพระราชด�ำริ ที่ทรงห่วงใยทรัพยากร ป่ า ไม้ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม โดย กฟผ. จะด� ำเนิ น การฟื้นฟูสภาพพื้นที่ป่า อนุรักษ์เสื่อมโทรม และ พื้นที่สาธารณประโยชน์ด้วยการปลูกและบ�ำรุงรักษาต้นไม้ในจ�ำนวน ๔,๐๐๐ ไร่ ที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

s

อ่านต่อหน้า ๑๐


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

๓. โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

๔. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตามทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระราชด�ำรัส เรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๐ ความว่า “..สิ่งส�ำคัญคือ เราพออยูพ่ อกิน อุม้ ชูตวั เราได้ให้มคี วามพอเพียงแก่ตวั เอง พึง่ ตนเองได้ หมายความ ว่าให้สามารถด�ำรงชีวติ ได้อย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยูอ่ ย่างประมาณตน มีกนิ มีใช้ตามอัตภาพ แล้วที่เหลือจึงขายเป็นรายได้ต่อไป” กฟผ. ได้ดำ� เนิน “โครงการชีววิถเี พือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” โดยน้อมน�ำ แนวพระราชด�ำริปรัชญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มาปฏิ บั ติ ใ ห้ เ กิ ด เป็ น รูปธรรมมาอย่างยาวนาน และอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ เพือ่ เสริมสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจในการ เกือ้ กูลซึง่ กันและกันระหว่าง ธรรมชาติและการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ โดยมุง่ เน้นการน�ำจุลนิ ทรียท์ มี่ ปี ระสิทธิภาพมาใช้แทนสารเคมี ในการด�ำเนินงาน ๔ กิ จ กรรม ได้ แ ก่ การเกษตร การประมง การปศุ สั ต ว์ และการจั ด การ สิ่งแวดล้อม โดยการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ ราษฎร เพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองและลดค่า ใช้จา่ ย ส่งผลให้เป็นชุมชนทีเ่ ข้มแข็ง นอกจากนี้ ยังมีการคัดเลือกชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางโครงการชีววิถฯี เพือ่ พัฒนาคุณภาพ ชีวติ ของชุมชนในพืน้ ทีร่ อบโรงไฟฟ้า เขือ่ น และ ใต้แนวสายส่งไฟฟ้าของ กฟผ. ให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ของชุมชน โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงปัจจุบัน มีชุมชนต้นแบบทั้งหมด ๒๖ แห่ง นอกจากนี้ กฟผ. ยังได้ร่วมมือกับ สอศ. ในการน�ำโครงการชีววิถฯี เข้าด�ำเนินการ ในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี วิทยาลัยประมง วิทยาลัยการอาชีพ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยผล การด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมาประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี ในแต่ละปีสามารถสร้างเครือข่าย และขยายผลได้ไม่นอ้ ยกว่า ๑๒๐ ชุมชน ๕๐ โรงเรียน และประชาชนทัว่ ไปกว่า ๑๐๐,๐๐๐ คน จนน�ำมาสูค่ วามร่วมมือโครงการชีววิถเี พือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนในครัง้ ที่ ๕ ซึง่ กฟผ. ให้ความร่วมมือในการขยายองค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำริปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการส่งเสริม การน�ำจุลินทรีย์ท่ีมีประสิทธิภาพ (EM) มาใช้ทดแทนสารเคมีในชีวิต ประจ�ำวันของประชาชน พร้อมทั้ง สนับสนุนงบประมาณ บุคลากร และข้ อ มู ล ด้ า นวิ ช าการ ในการ

ด�ำเนินโครงการฯ เพื่อสร้างความ รู้ความเข้าใจให้กับชุมชนสามารถ น�ำไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างต่อเนือ่ ง ส่งผล ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ สิง่ แวดล้อม น�ำไปสูก่ ารสร้างชุมชน ที่เข้มแข็งให้เพิ่มมากขึ้น

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงเล็งเห็นความส�ำคัญ ของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทรงเริ่มงานพัฒนาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ความหลากหลายทางชีวภาพตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๓ เป็นต้นมา โดยมีพระราชด�ำริ ให้ด�ำเนินการรวบรวมรักษาพันธุ์พืชต่างๆ ที่หายากและก�ำลังจะหมดไป ต่อมาใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงสาน พระราชปณิธานต่อ โดยพระราชทานให้โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา เป็นผู้ด�ำเนินการจัดสร้างธนาคารพืชพรรณขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๖ เป็นต้นมา

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ในระยะที่ผ่านมาถึงปัจจุบัน มีหน่วยงานต่างๆ ร่วมสนองพระราชด�ำริเป็นจ�ำนวนมาก โดยพืน้ ทีแ่ ละกิจกรรมของ โครงการได้ขยายและกระจายออกไปสูภ่ มู ภิ าคต่างๆ รวมทัง้ มีแนวทางการด�ำเนินงาน ที่หลากหลายมากขึ้นโดยล�ำดับ และได้บรรลุผลก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ โดยประจักษ์ชัดแล้ว

ส�ำหรับ กฟผ. ได้ร่วมสืบสานพระราชปณิธานในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มาตลอดระยะเวลากว่า ๑๐ ปี สร้างความหลากหลายทางระบบนิเวศให้แก่โลก ผ่าน โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และน�ำมรดกทางภูมิปัญญามาพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้สู่ การมีสำ� นึกต่อการอนุรกั ษ์ทรัพยากรให้ยงั่ ยืน โดยด�ำเนินกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช ปลูกรักษาพันธุกรรมพืช และสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช

๕. ผ้าป่ามหากุศลเฉลิมพระเกียรติฯ เพื่อสนับสนุนโครงการทุนเล่าเรียน หลวงส�ำหรับพระสงฆ์ไทย

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระอนุสรณ์ค�ำนึง ถึงว่า โดยที่พระภิกษุสามเณรเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติตามพระวินัยโดยเคร่งครัดและ ธ�ำรงรักษา ตลอดจนเผยแผ่พระธรรมค�ำสอนแก่ประชาชนทั่วไป อันเป็นการสร้าง


ฉบับที่ ๒๖๙ ปักษ์ที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

ทั้งนี้เพื่อเป็นการสนองพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช ทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จดั ตัง้ โครงการทุนเล่าเรียนหลวงส�ำหรับ พระสงฆ์ไทย และจรรโลงพระพุทธศาสนาให้ดำ� รงอยูต่ ลอดไป กฟผ. และบริษทั ในเครือ พร้อมผูป้ ฏิบตั งิ านได้รว่ มกันบริจาคเงินสมทบโครงการดังกล่าวเป็นประจ�ำทุกปีอย่าง ต่อเนือ่ ง โดย “การถวายผ้าป่ามหากุศลเฉลิมพระเกียรติฯ เพือ่ สนับสนุนโครงการ ทุนเล่าเรียนหลวงส�ำหรับพระสงฆ์ไทย”

๖. โครงการข้าวกล้องเบอร์ 5

ความสงบร่มเย็นให้เกิดขึน้ แก่สงั คม ประเทศชาติ และแก่โลก หากพระภิกษุสงฆ์และ สามเณรมีโอกาสได้รับการศึกษาพุทธธรรมในขั้นสูง สามารถค้นคว้าและท�ำความ เข้าใจพระไตรปิฎกอย่างแตกฉาน จะสามารถเข้าถึงแก่นแท้ของพุทธศาสนานีไ้ ด้ดว้ ย ตนเอง และน�ำไปปฏิบตั อิ ย่างถูกต้องจนบรรลุธรรมแล้วน�ำไปสัง่ สอนพุทธบริษทั ต่อไป ได้อย่างไม่ผดิ เพีย้ น การบ�ำรุงพระภิกษุสามเณรให้ได้ศกึ ษาพระธรรมวินยั อย่างลึกซึง้ แตกฉาน เป็นทางส�ำคัญที่จะช่วยจรรโลงและเผยแผ่พระพุทธศาสนาสืบไป เนื่องใน มหามงคลวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญ พระชนมพรรษา ๗๖ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๖ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกองทุนเล่าเรียนหลวงส�ำหรับพระสงฆ์ไทยเมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗ พร้อมพระราชทานทุนปฐมฤกษ์จ�ำนวนหนึ่งให้เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๗

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงเป็นต้นแบบการเสวย ข้าวกล้องเป็นพระกระยาหารหลัก รวมถึงพระราชด�ำรัสของพระองค์ทไี่ ด้พระราชทาน ในวโรกาสเสด็จพระราชด�ำเนินทรงเกีย่ ว ข้าวโครงการพัฒนาส่วนพระองค์ ต�ำบล บางแตน อ�ำเภอบ้านสร้าง จังหวัด ปราจีนบุรี เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ ให้คนไทยบริโภคข้าวกล้องเพือ่ สุขภาพทีด่ ี นอกจากนี้ จากการศึกษา การใช้ไฟฟ้าในกระบวนการสีขา้ วพบว่า การขัดสีข้าวเปลือกให้เป็นข้าวขาว ถึง ๓ ครั้งนั้น จะต้องใช้ไฟฟ้า ปริมาณมากถึงร้อยละ ๖๐ ของ กระบวนการขัดสีขา้ วทัง้ หมด ขณะ เดียวกัน ข้าวทีต่ อ้ งผ่านการขัดสีถงึ ๓ ครั้ง ท�ำให้จมูกข้าวและเยื่อหุ้ม เมล็ดข้าวซึง่ เป็นส่วนทีอ่ ดุ มไปด้วย คุณค่าของสารอาหารนานาชนิด ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหลุด ออกไปด้วย กฟผ. จึงได้ดำ� เนิน “โครงการ ข้าวกล้องเบอร์ 5” ขึน้ เพือ่ รณรงค์ และส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนคน ไทยหั น มาบริ โ ภคข้ า วกล้ อ ง เพื่อสุขภาพที่ดี สนองพระราช ด� ำ รั ส ของพระองค์ และยั ง เป็นการเสริมสร้างรายได้ให้ แก่กลุ่มเกษตรกร ไปพร้อมๆ กับการดูแลรักษา สภาพแวดล้อมจากการลดหรือชะลอการก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากการประหยัดไฟฟ้า ในกระบวนการสีข้าวได้อีกทางหนึ่ง q


“พ่อของแผ่นดิน”

ในความทรงจ�ำของคน กฟผ. ตลอดรัชสมัยทีพ ่ ระองค์ทรงครองสิรริ าชสมบัติ ๗๐ ปี พระราชกรณียกิจ พระราชจริยวัตร และพระเมตตา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช ที่มีต่อปวงชนชาวไทยและชาว กฟผ. สร้างความ ปลื้มปิติ ความประทับใจ อันถือเป็นสิริมงคลสูงสุดในชีวิตการท�ำงาน และนี่คือส่วนหนึ่งของความทรงจ�ำ ที่ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ที่ได้เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายงานในโอกาสต่างๆ ที่มิอาจลืมเลือน ได้เวลาเสด็จฯ ต่อไปยังโรงไฟฟ้าคอมไบน์ไซเคิล ผมได้ตาม ไปส่งเสด็จฯ ที่ประตูห้องควบคุมการเดินเครื่อง พระองค์ ท่านทรงเอือ้ มพระหัตถ์มาแตะทีไ่ หล่ซา้ ยของผม เหตุการณ์นี้ เป็นสิง่ ทีผ่ มไม่คาดคิด จึงเป็นความทรงจ�ำทีไ่ ม่เคยลืมเลือน ตราบถึงทุกวันนี้ นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได้ ทีข่ อเทิดไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อม จวบจนชีวติ จะหาไม่

นายสมบูรณ์ มณีนาวา อดีตผู้ว่าการ กฟผ.

ผมได้มโี อกาสครัง้ หนึง่ และเป็นครัง้ เดียวในชีวติ ที่ ได้รบั เสด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในคราวเสด็จฯ มาประกอบพิธเี ปิดเขือ่ นสิรกิ ติ แิ์ ละโรงไฟฟ้า เมื่อปี ๒๕๒๐ เป็นความปิติยินดียิ่งที่ได้มีโอกาสใกล้ชิด ได้ ฟังรับสั่งจากพระสุรเสียงของพระองค์ หลังเสร็จพิธีเปิดเขื่อนและโรงไฟฟ้าแล้ว จังหวัด อุตรดิตถ์จัดให้ประชาชนจากทุกอ�ำเภอ มาเฝ้าฯ รับเสด็จ กฟผ. เขือ่ นสิรกิ ติ ์ ได้จดั ให้ผป้ ู ฏิบตั งิ าน กฟผ. และครอบครัว เฝ้าฯ รับเสด็จด้วยเป็นคณะสุดท้าย เมือ่ ผมกราบบังคมทูลเบิกตัว ขอน�ำ ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. และครอบครัว มาเฝ้าฯ รับเสด็จแล้ว พระองค์ได้มีรับสั่งเริ่มด้วยความเป็นอยู่ของผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนว่า “เมื่อมาอยู่เพื่อเริ่มงานแต่แรกมีความเป็นอยู่ ล�ำบากไหม” “ประชาชนมีความเป็นอยูย่ ากล�ำบากใช่ไหม” เมื่อได้รับสั่งถามในเรื่องต่างๆ แล้ว ในที่สุดพระองค์รับสั่ง ถามเรื่องความเป็นอยู่อีกว่า “ปัจจุบนั นีม้ คี วามเป็นอยูด่ ขี นึ้ หรือไม่” ผมได้ตอบ ไปว่า ดีขึ้น และสะดวกขึ้นกว่าเดิม พระองค์ก็รับสั่งถาม สุดท้ายว่า “แล้วประชาชนล่ะ” ผมมีความประทับใจทีพ่ ระองค์เริม่ ต้นรับสัง่ ถาม ถึงความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นสิ่งแรกและก็จบลงว่า ความเป็นอยูข่ องประชาชนดีขนึ้ ไหม การรับสัง่ ของพระองค์ ท่านครั้งนี้ ได้ก่อให้เกิดความตระหนักในความรับผิดชอบ ขององค์การต่อประชาชนในพืน้ ทีแ่ ละงานอันควร และเป็น ก�ำลังใจให้ดำ� เนินการเพือ่ ประชาชนให้มากและเข้มแข็งต่อไป พระองค์ทรงเป็นขวัญและเป็นพลังแห่งความส�ำเร็จ

ในการถวายรายงานการด�ำเนินงานโครงการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้า พระองค์ท่านได้ให้ความสนพระราช หฤทัยซักถามทางด้านเทคนิคและวิศวกรรมในกระบวนการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังน�ำ้ และน�ำ้ ทีผ่ ลิตไฟฟ้าแล้วได้สง่ น�ำ้ ไปให้ ราษฎรใช้ในพืน้ ทีเ่ พาะปลูกการเกษตรและการบริโภคอุปโภค ได้อย่างไร พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างทีด่ ใี นการดูแลประชาชน โดยหลักทศพิธราชธรรม ด้วยหลักธรรม ด้วยหลักคุณความดี และทรงห่วงใยชีวติ ความเป็นอยูข่ องพสกนิกรเป็นอย่างมาก โดยส่วนตัวได้น้อมน�ำพระราชด�ำรัสของพระองค์ท่านมา เป็นแรงบันดาลใจในการใช้ชวี ติ และท�ำความดีแก่สงั คมและ ประเทศชาติตลอดมา

นายกรศิษฏ์ ภัคโชตานนท์ ผู้ว่าการ กฟผ.

ผมประทับใจในพระราชกรณียกิจของพระองค์ ทรงทุ่มเทพระวรกายอย่างเต็มที่ ต่อสู้ และแก้ไขปัญหา ความยากจนของคนในชาติ ทรงบุกป่าฝ่าดงเข้าไปใน ทุกพื้นที่เพื่อพสกนิกรของพระองค์ อีกทั้งทอดพระเนตร ทุกอย่างในทางที่ดี และพระราชทานแนวทางแก้ปัญหา ให้เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา จะช่วยแก้ปัญหาให้ประชาชนได้ ตลอดจนผมได้นอ้ มน�ำปรัชญาเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียงของ พระองค์ทา่ นมาปฏิบตั ติ าม เนือ่ งจากเห็นแนวทางทีพ่ ระองค์ ทรงใช้ยาสีฟนั จนหมดหลอดอย่างคุม้ ค่า รวมทัง้ การใส่เสือ้ ผ้า จะไม่ยึดติดกับแบรนด์เนม จากนั้นก็ได้ติดตามพระราช กรณียกิจมาตลอด ซึง่ เวลาทีพ่ ระองค์ทา่ นเสด็จฯ มาตรวจ เยีย่ มโครงการต่างๆ ก็ได้เสด็จฯ มาประทับแรมทีเ่ ขือ่ นของ กฟผ. ซึง่ นับเป็นบุญของคน กฟผ. ทีไ่ ด้มโี อกาสเฝ้ารับเสด็จฯ

นายสุกรี โมทนา หัวหน้าแผนกโสตทัศนูปกรณ์ ฝ่ายสื่อสารองค์การ

ผมได้รับเลือกมาท�ำหน้าที่ดูแลไฟในการถ่าย ท�ำภาพยนตร์พิธีเปิดโรงไฟฟ้าแม่เมาะ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จฯ มาประกอบพิธเี ปิด ผมท�ำหน้าทีย่ นื ถือไฟเพือ่ ส่องให้กบั กองถ่ายฯ เป็นครัง้ แรก ซึ่ ง พบอุ ป สรรคคื อ บริ เ วณนั้ น เป็ น พื้ น ที่ ข นาดเล็ ก และ คับแคบมาก ไม่สามารถใช้ขาตั้งไฟได้ ความรูส้ กึ ในตอนนัน้ คือ ตืน่ เต้นมาก ต้องยืนถือไฟ ประมาณ ๑๐ นาที แต่กม็ คี วามภาคภูมใิ จมากทีไ่ ด้ถวายงาน อย่างใกล้ชิด จึงต้องท�ำหน้าที่ให้ดีที่สุด ภาพการถวายงานในครั้งนั้น ผมได้น�ำไปติดไว้ที่ ผนังบ้าน เป็นความภูมใิ จให้กบั ตัวผมและครอบครัวอย่างมาก อีกทัง้ ยังได้นอ้ มน�ำแนวพระราชด�ำริหลักเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของตนเอง

นายปราโมทย์ อินสว่าง อดีตรองผู้ว่าการบริหาร

นายวิทยา คชรักษ์ อดีตผู้ว่าการ กฟผ.

วันที่ ๘ มกราคม ๒๕๒๘ วันที่ในชีวิตไม่อาจ ลืมได้ เพราะเป็นวันที่ผมมีความปลาบปลื้มและภูมิใจที่สุด ในช่วงการท�ำงานที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เนือ่ งจากได้มโี อกาสกราบบังคมทูลรายงานถวายพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ ห้องควบคุม การเดินเครือ่ งในโอกาสทีเ่ สด็จฯ มาเปิดโรงไฟฟ้าบางปะกง โรงไฟฟ้าบางปะกงมีเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า ขนาด ๕๕๐ เมกะวัตต์ จ�ำนวน ๒ เครือ่ ง ใช้กา๊ ซธรรมชาติ เป็นเชือ้ เพลิงหลัก เป็นโรงไฟฟ้าทีม่ กี ำ� ลังผลิตสูงสุดในเวลานัน้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงใช้เวลา ประมาณ ๓๐ นาที ซักถามและมีพระราชปฏิสันถารกับ อดี ต ผู ้ ว ่ า การเกษม จาติ ก วณิ ช และท่ า นองคมนตรี พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ ทุกๆ วินาทีในขณะนั้น เป็นช่วงทีผ่ มรูส้ กึ ตืน่ เต้นและมีคา่ ทีส่ ดุ เหนือสิง่ ใดๆ ครัน้ เมือ่

ผมรูส้ กึ ปลาบปลืม้ ปิตหิ าทีส่ ดุ มิได้ ทีไ่ ด้ถวายงาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ถึง ๓ ครัง้ ครั้ ง แรก ได้ ถ วายงานเป็ น พลขั บ รถยนต์ พ ระที่ นั่ ง เมื่อครั้งพระองค์เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรเขื่อนห้วยกุ่ม จ.ชัยภูมิ ครั้งที่ ๒ เมื่อพระองค์เสด็จฯ ทอดพระเนตร ความก้าวหน้าของโครงการแม่งัด จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๘ และครั้งที่ ๓ ครั้งที่เสด็จฯ ไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๙ ครั้งเมื่อพระองค์เสด็จฯ ทอดพระเนตรความ ก้าวหน้าโครงการแม่งัด ในฐานะผู้อ�ำนวยการโครงการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้า จึงมีโอกาสถวายรายงานอย่างใกล้ชดิ เป็น ครัง้ แรก รูส้ กึ ตืน่ เต้นและกังวลว่า จะถวายรายงานอย่างไร แต่ในทีส่ ดุ ในขณะทีพ่ ระองค์กา้ วย่างพระบาทเสด็จฯ ลงมา เพื่อทอดพระเนตรความก้าวหน้าในงานก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระหว่างที่ผมเดินตามเสด็จ มีความรู้สึกว่า พระองค์ท่าน ส่งพลังจิตทีแ่ สดงถึงความเมตตาทีไ่ ด้พระราชทานให้แก่ผม ซึง่ เกิดความรูส้ กึ เช่นนัน้ จริงๆ จึงท�ำให้เราสบายใจได้อย่าง ประหลาด แผนกข่าวสารประชาสัมพันธ์ภายใน

นายเจด็จ ทองปัญญา วิศวกรระดับ ๘ ฝ่ายการผลิต โรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ในเวลานัน้ ผมท�ำหน้าทีห่ วั หน้าประจ�ำแผงควบคุมและ ได้ทราบว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช จะเสด็จฯ มาทรงเปิดโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ถือเป็นความโชคดี ทีส่ ดุ ในชีวติ เพราะได้อยูใ่ กล้ทา่ นมาก ความรูส้ กึ ในตอนนัน้ คือ รู้สึกประหม่าและขนลุกตลอดเวลาที่ท่านประทับอยู่ใน ห้องควบคุมการเดินเครือ่ งประมาณ ๑๐ นาที ในช่วงเวลา นัน้ ผมภาวนาเพียงอย่างเดียวคือ ขออย่าให้มเี หตุฉกุ เฉินใดๆ เกิดขึ้นกับแผงควบคุม ขอให้ทุกอย่างผ่านไปด้วยความ เรียบร้อย หลังจากการเสด็จฯ มาเปิดโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ทางประชาสัมพันธ์ได้ส่งภาพนี้มาให้ รู้สึกดีใจมากเพราะ ไม่ คิ ด ว่ า จะมี ภ าพประวั ติ ศ าสตร์ นี้ เป็ น บุ ญ อย่ า งยิ่ ง ส�ำหรับผม q


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.