กิจการ กฟผ.

Page 1

จัดทำ�โดย กองสารสนเทศ ฝ่ายสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พิมพ์ครั้งที่ 3 จำ�นวน 50,000 เล่ม พิมพ์ที่ กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย www.egat.co.th



ค�ำน�ำ

1

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การก�ำกับ ดูแลของกระทรวงพลังงาน จัดตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบดูแลกิจการไฟฟ้าของประเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการการใช้ไฟฟ้าที่ขยายตัวตามการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ และสังคม มีการพัฒนาการผลิตไฟฟ้าหลากหลายรูปแบบและใช้เชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ความต้องการไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ระบบไฟฟ้าของ ประเทศมีความมั่นคง เชื่อถือได้ ซึ่งตลอดระยะเวลากว่า 45 ปีที่ผ่านมา นอกจากภารกิจ หลักในการบริหารจัดการระบบการผลิตและการส่งไฟฟ้าแล้ว กฟผ. ยังดูแลด้านสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งพัฒนาองค์การให้เป็นผู้น�ำด้านการอนุรักษ์พลังงานและ การรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และจะมุ่งมั่นปฏิบัติภารกิจเพื่อความสุขคนไทย ต่อไป

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พฤษภาคม 2557


3

2

กิจการ กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 (พ.ร.บ. กฟผ.) ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 โดยรวมหน่วยงานด้านการผลิตและส่งพลังงานไฟฟ้า 3 แห่ง ได้แก่ การไฟฟ้ายันฮี การลิกไนท์ และการไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ เข้าเป็นหน่วยงานเดียวกัน มีอ�ำนาจหน้าที่จัดหาพลังงานไฟฟ้าให้แก่ประชาชน โดยการผลิต จัดส่ง และจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้าให้แก่การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) ผูใ้ ช้ไฟฟ้า รายอื่นๆ ตามที่กฎหมายก�ำหนด รวมทั้งประเทศใกล้เคียง ตลอดจนด�ำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องด้านพลังงานไฟฟ้า ผลิต และขายลิกไนต์ ปัจจุบัน กฟผ. เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงพลังงาน โดยมีคณะกรรมการก�ำกับ กิจการพลังงาน (กกพ.) หรือเรคกูเลเตอร์ ท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแล ก�ำหนดกฎเกณฑ์ รวมทั้ง ก�ำหนดราคาค่าไฟฟ้าเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้บริโภค และผู้ผลิต ครอบคลุมไปถึง การดูแลความมั่นคงในระบบไฟฟ้า

วิสัยทัศน์ เป็นองค์การชั้นน�ำในกิจการไฟฟ้าในระดับสากล

พันธกิจ ผลิต จัดให้ได้มา จัดส่งหรือจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า และประกอบธุรกิจเกีย่ วเนื่อง รวมถึงการผลิตและขายลิกไนต์ กว่า 45 ปี ของการพัฒนากิจการไฟฟ้า กฟผ. เติบโตขึน้ เป็นส่วนหนึง่ ของสังคมไทย โดยผู้ปฏิบัติงานยึดมั่นวัฒนธรรมองค์การ “รักองค์การ มุ่งงานเลิศ เทิดคุณธรรม” อย่าง เหนียวแน่น และปฏิบัติติดต่อกันสืบมา


5

4 ผู้ผลิตกระแสไฟฟ้าหลักของประเทศ โครงสร้างกิจการไฟฟ้าของประเทศไทยเป็นรูปแบบที่กำ�หนดให้ กฟผ. เป็น ผูผ้ ลิต ส่งไฟฟ้า และเป็นผูซ้ อื้ ไฟฟ้าแต่เพียงรายเดียว รวมทัง้ เป็นผูด้ แู ลศูนย์ควบคุมระบบ ไฟฟ้า (System Operator) ในการสัง่ เดินเครือ่ งผลิตไฟฟ้า หรือทีเ่ รียกว่าระบบ Enhanced Single Buyer (ESB) โครงสร้างอุตสาหกรรมไฟฟ้าไทย

โครงสร้างกิจการไฟฟ้าแบบ Enhanced Single Buyer

กฟผ.

ผู้ผลิต ไฟฟ้า รายเล็ก

นโยบาย

q

ระบบส่งของ กฟผ. (system operator)

การส่งไฟฟ้า

การจำ�หน่าย

ผู้ใช้ไฟฟ้า

q

หน่วยงานภาครัฐ

การผลิตไฟฟ้า

ต่าง ประเทศ

ผู้ผลิต ไฟฟ้า เอกชน รายใหญ่

q

กฟน.

กฟภ. q

ผู้ใช้ไฟฟ้า กำ�กับดูแล

กกพ.

q

ผู้ใช้ไฟฟ้าตรงในเขต นิคมอุตสาหกรรม

ปัจจุบัน กฟผ. มีกำ�ลังผลิตติดตั้งประมาณร้อยละ 45 ของระบบ ส่วนที่เหลือเป็น กำ�ลังผลิตจากผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าเอกชนในประเทศ และรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศ เพื่อนบ้าน

ก�ำลังผลิตในระบบ ก�ำลังผลิตติดตั้ง (เมกะวัตต์) โรงไฟฟ้าของ กฟผ. 15,010.13 โรงไฟฟ้าเอกชนและประเทศเพื่อนบ้าน ] ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) 12,741.69 ] ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) 3,524.60 ] รับซื้อจากต่างประเทศ 2,404.60

ร้อยละ

รวมก�ำลังผลิตในระบบ

100.00

33,681.02

44.57 37.83 10.46 7.14

ระบบผลิตไฟฟ้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556


7

6 โรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ ของ กฟผ.

ประเภทของโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าของ กฟผ. แบ่งออกเป็น 5 ประเภทคือ โรงไฟฟ้าพลังความร้อน โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน และโรงไฟฟ้า ดีเซล รวมทั้งสิ้น 39 แห่ง โดยมีแหล่งผลิตไฟฟ้าใหญ่ๆ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ มีก�ำลังผลิตรวม 15,010.13 เมกะวัตต์

ประเภทโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (6 แห่ง) โรงไฟฟ้าพลังความร้อน (3 แห่ง)

ก�ำลังผลิต (เมกะวัตต์) 6,866.00 4,699.00

โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ (22 แห่ง) 3,435.74 โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน (8 แห่ง) 4.99 โรงไฟฟ้าดีเซล (1 แห่ง) 4.40 ก�ำลังผลิตรวมของ กฟผ. 15,010.13

คิดเป็นร้อยละ 45.74 31.31 22.89 0.03 0.03 100.00 ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

โรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ 1. เขื่อนภูมิพล 2. เขื่อนสิริกิติ์ 3. เขื่อนอุบลรัตน์ 4. เขื่อนสิรินธร 5. เขื่อนจุฬาภรณ์ 6. เขื่อนน�้ำพุง 7. เขื่อนศรีนครินทร์ 8. เขื่อนวชิราลงกรณ 9. เขื่อนท่าทุ่งนา 10. เขื่อนแก่งกระจาน 11. เขื่อนบางลาง 12. เขื่อนบ้านสันติ 13. เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล 14. เขื่อนห้วยกุ่ม 15. เขื่อนรัชชประภา 16. เขื่อนปากมูล 17. เขื่อนล�ำตะคองชลภาวัฒนา 18. เขื่อนเจ้าพระยา รวม โรงไฟฟ้าพลังน�้ำขนาดเล็ก 19. เขื่อนคลองช่องกล�่ำ 20. เขื่อนบ้านยาง 21. เขื่อนบ้านขุนกลาง 22. เขื่อนห้วยกุยมั่ง รวม รวม

ก�ำลังผลิตติดตั้ง (เมกะวัตต์) 779.20 500.00 25.20 36.00 40.00 6.00 720.00 300.00 39.00 19.00 72.00 1.28 9.00 1.06 240.00 136.00 500.00 12.00 3,435.74 0.02 0.12 0.20 0.10 0.44 3,436.18 ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556


9

8 ก�ำลังผลิตติดตั้ง โรงไฟฟ้า เชื้อเพลิง (เมกะวัตต์) โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 1. บางปะกง (เครื่องที่ 1, 2) 1,052.00 น�้ำมันเตา, ก๊าซ บางปะกง (เครื่องที่ 3, 4) 1,152.00 น�้ำมันเตา, ก๊าซ 2. แม่เมาะ (เครื่องที่ 4-7); 2,180.00 ลิกไนต์ (เครื่องที่ 8-13) 3. กระบี่ 315.00 น�้ำมันเตา รวม 4,699.00 โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 1. บางปะกง ชุดที่ 3-4 628.00 ก๊าซธรรมชาติ บางปะกง ชุดที่ 5 710.00 ก๊าซธรรมชาติ 2. พระนครใต้ ชุดที่ 1 316.00 ก๊าซธรรมชาติ ชุดที่ 2 562.00 ก๊าซธรรมชาติ ชุดที่ 3 710.00 ก๊าซธรรมชาติ 3. น�้ำพอง ชุดที่ 1-2 650.00 ก๊าซธรรมชาติ 4. วังน้อย ชุดที่ 1-2 1,224.00 ก๊าซธรรมชาติ วังน้อย ชุดที่ 3 686.00 ก๊าซธรรมชาติ 5. จะนะ ชุดที่ 1 710.00 ก๊าซธรรมชาติ 6. พระนครเหนือ ชุดที่ 1 670.00 ก๊าซธรรมชาติ รวม 6,866.00 โรงไฟฟ้าดีเซล 1. แม่ฮ่องสอน 4.40 น�้ำมันดีเซล รวม 4.40 โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน 1. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนใต้พิภพฝาง 0.30 2. โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ - - คลองช่องกล�่ำ 0.02 - แหลมพรหมเทพ 0.01 - สันก�ำแพง 0.02 - ผาบ่อง 0.50 - เขื่อนสิรินธร 1.01 3. โรงไฟฟ้ากังหันลม - แหลมพรหมเทพ 0.19 - ล�ำตะคอง 2.50 รวม 4.55 รวมก�ำลังผลิตของ กฟผ. 15,010.13 ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ปัจจุบันระบบผลิตไฟฟ้าของประเทศทั้งของ กฟผ. และโรงไฟฟ้าเอกชน ยังคงใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักถึงร้อยละ 67.42 ถ่านหินและลิกไนต์ร้อยละ 19.24 ซื้อ ไฟฟ้าจากต่างประเทศร้อยละ 7.24 พลังน�้ำร้อยละ 3.12 พลังงานทดแทนร้อยละ 1.94 น�้ำมันเตาและน�้ำมันดีเซลร้อยละ 1.04

สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2556

น�้ำมันดีเซล/น�้ำมันเตา 1.04% ถ่านหิน 19.24%

พลังงานทดแทน 1.94% พลังน�้ำ 3.12% ซื้อไฟฟ้า ต่างประเทศ 7.24%

ก๊าซธรรมชาติ 67.42%


11

10

ระบบส่งไฟฟ้า

บริษัทในเครือ

เครือข่ายระบบส่งไฟฟ้าของ กฟผ. มีสายส่งไฟฟ้ารวมความยาวทัง้ สิน้ 32,384.24 วงจร-กิโลเมตร สถานีไฟฟ้าแรงสูงรวม 213 สถานี

ภายใต้ พ.ร.บ. กฟผ. เปิดโอกาสให้ กฟผ. สามารถด�ำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องด้าน พลังงานไฟฟ้า และงานอื่นๆ ที่ส่งเสริมกิจการ ซึ่ง กฟผ. ได้น�ำทรัพยากร องค์ความรู้ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของบุคลากรมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมอบ หมายให้บริษัทในเครือพิจารณาลงทุนด้านพลังงานที่มีผลตอบแทนคุ้มค่า ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ นับเป็นอีกแนวทางหนึง่ เพือ่ สนับสนุนให้องค์การสามารถเติบโตได้ในระดับ สากล ซึ่ง กฟผ. ได้ลงทุนในธุรกิจด้านการผลิตไฟฟ้าและธุรกิจเกี่ยวเนื่อง รวม 5 บริษัท ได้แก่ บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน�้ำเย็น จ�ำกัด บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด

แรงดันไฟฟ้า (กิโลโวลต์) 500 230 132 115 69 300 (HVDC) รวมทั้งระบบ

ความยาวสายส่ง (วงจร-กิโลเมตร) 4,167.17 14,505.65 8.71 13,660.650 19.00 23.07 32,384.24

จำ�นวนสถานีแรงสูง พิกัดหม้อแปลง (สถานี) (เมกะโวลต์แอมแปร์) 11 20,849.99 71 51,160.04 - 133.40 131 14,617.49 - - 388.02 213 87,148.94 ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556


13

12

แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าในอนาคต เนื่องจากความต้องการไฟฟ้าของประชาชนเพิ่มขึ้นทุกปี แต่ประเทศไทยมีแหล่ง พลังงานจ�ำกัด ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความเสี่ยงด้านพลังงานในอนาคตได้ กอปรกับบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้รองรับสิทธิการมีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงการขนาด ใหญ่ ท�ำให้การพัฒนาไฟฟ้าในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การวางแผน การก่อสร้าง และการผลิต ต้องมีกระบวนการที่ได้รับการยอมรับจากประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพิจารณาถึง ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย และวิถีชีวิตของชุมชน ในการจัดท�ำแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP 2010) กระทรวง พลังงานได้จัดการรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียภาคส่วนต่างๆ พร้อมทั้งน�ำปัจจัย ทีเ่ กีย่ วข้องมาร่วมพิจารณา ได้แก่ ความต้องการไฟฟ้าในอนาคต การทดแทนโรงไฟฟ้าเก่า ประสิทธิภาพและความมั่นคงในระบบไฟฟ้า การก�ำหนดสัดส่วนและทางเลือกเชื้อเพลิง ที่เหมาะสม รวมทั้งการใช้พลังงานหมุนเวียนและการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบัน คือ แผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ต่อมาเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556 ครม. ได้มีมติเห็นตามมติคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ที่ได้เห็นชอบแผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี พ.ศ. 2554-2573 และเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ครม. ได้เห็นชอบแผนพัฒนา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกใหม่ พ.ศ. 2555-2564 ซึ่งเป็นแผนอนุรักษ์ พลังงานฯ และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนฯ ที่จะน�ำมาประกอบการจัดท�ำแผน PDP ฉบับใหม่ที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ โดยส�ำนักนโยบายและแผนพลังงาน

โครงการที่ กฟผ. ได้รับอนุมัติให้ก่อสร้างในช่วงปี พ.ศ. 2557-2562 โรงไฟฟ้า สถานที่ตั้ง เชื้อเพลิง ก�ำลังผลิต ก�ำหนดแล้วเสร็จ (จังหวัด) (เมกะวัตต์) พ.ศ. โรงไฟฟ้าวังน้อย ชุดที่ 4 อยุธยา ก๊าซธรรมชาติ 768.7 2557 โรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2 สงขลา ก๊าซธรรมชาติ 782.2 2557 โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 2 นนทบุรี ก๊าซธรรมชาติ 848.3 2559 โรงไฟฟ้าทดแทนแม่เมาะ ล�ำปาง ลิกไนต์ 540.0 2561 เครื่องที่ 4-7 โรงไฟฟ้าเทคโนโลยี กระบี่ ถ่านหิน 800.0 2562 ถ่านหินสะอาด โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ลม แสง อาทิตย์ น�้ำ 718.7 2557-2562 หมุนเวียน


15

14

การพัฒนาพลังงานหมุนเวียน กฟผ. ได้จัดท�ำแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียน 15 ปี (พ.ศ. 2551-2565) เพื่อ วางแผนผลิตไฟฟ้าให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาก�ำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศ และแผน แม่บทพลังงานทดแทนของประเทศ 20 ปี เพือ่ ลดการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลและช่วยบรรเทา ภาวะโลกร้อน มีเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนให้เป็นร้อยละ 20 ของการ ใช้พลังงานของประเทศภายในปี พ.ศ. 2565 นอกจากนี้ ยังมีการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิต ไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) ที่ใช้พลังงาน หมุนเวียนเป็นเชื้อเพลิง อาทิ ก๊าซชีวภาพ ชีวมวล ขยะ วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ ฯลฯ โดยให้สว่ นเพิม่ ราคาไฟฟ้าทีร่ ฐั บาลก�ำหนด (Adder) เพื่อชดเชยและสร้างแรงจูงใจ เนื่องจากการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนมีต้นทุนสูง กว่าการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงหลัก

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน

สถานที่ตั้ง เชื้อเพลิง ก�ำลังผลิต ก�ำหนดแล้วเสร็จ (จังหวัด) (เมกะวัตต์) พ.ศ.

โครงการกังหันลมล�ำตะคอง ระยะที่ 2 นครราชสีมา ลม โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ประจวบคีรีขันธ์ แสงอาทิตย์ ทับสะแก โครงการโรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา นครราชสีมา น�้ำ

18 5

2558 2558

500

2560

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ ตลอดระยะเวลา 45 ปีที่ผ่านมา กฟผ. ได้รับการยอมรับและได้รับรางวัลแห่งความ ส�ำเร็จต่างๆ ทั้งในระดับประเทศและระดับสากล ระดับประเทศ กฟผ. ได้รับรางวัลรัฐวิหากิจดีเด่นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 25482556 จ�ำนวน 17 รางวัล จากรางวัลประเภทต่างๆ ได้แก่ รางวัลคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ดีเด่น (พ.ศ. 2548) จ�ำนวน 1 รางวัล รางวัลการบริหารจัดการองค์กรดีเด่น จ�ำนวน 7 รางวัล (พ.ศ. 2554-2555) รางวัลการด�ำเนินการเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น จ�ำนวน 6 รางวัล (พ.ศ. 2549-2556) และรางวัลนวัตกรรมดีเด่น พ.ศ. 2554-2556 จ�ำนวน 3 รางวัล นอกจากนี้ กฟผ. ยังได้รับรางวัลในการประกวด Thailand Energy Awards 2013 จากโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนบ้านคลองเรืออีกด้วย ระดับสากล กฟผ. ได้รับรางวัลในระดับอาเซียนจากการประกวด ASEAN Energy Awards 2013 จ�ำนวน 4 รางวัล ได้แก่ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Community-based off-Grid Category หรือโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยง กับระบบส่งไฟฟ้า จากผลงานโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนบ้านคลองเรือ ซึ่งเป็นความร่วมมือ ระหว่าง กฟผ. กับคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ประเภท Best Practices-Clean Coal Use and Technology in Power Generation Category จากผลงานของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Best Practices in Surface Coal Mining Category จากผลงานของเหมือง แม่เมาะ และรางวัล Excellence in Energy Management ได้แก่ นายสุทศั น์ ปัทมสิรวิ ัฒน์ อดีตผู้ว่าการ กฟผ. ในการท�ำหน้าที่ Power HAPUA Chairman and Governor EGAT of Thailand รางวัลแห่งความภาคภูมิใจทั้งหมดนี้ เป็นเครื่องหมายที่แสดงให้เห็นถึงความ มุ่งมั่นตั้งใจ มุ่งสู่การเป็นองค์การหลักด้านพลังงานไฟฟ้าควบคู่กับการเป็นองค์การที่รับ ผิดชอบต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม


16 รักษาสิ่งแวดล้อม หน้าที่ส�ำคัญควบคู่กับการด�ำเนินงานตามภารกิจหลักของ กฟผ. คือการอนุรักษ์ พลังงานและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบายสิ่งแวดล้อม กฟผ. ดังนี้ 1. ให้ทุกหน่วยงานปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ มาตรฐานและข้อก�ำหนดด้าน สิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด 2. เลือกใช้เทคโนโลยีที่สะอาดในการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าเพื่อให้โรงไฟฟ้าของ กฟผ. สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3. สนับสนุนให้ทุกโรงไฟฟ้าจัดท�ำระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน สากลและรักษาระบบอย่างต่อเนื่อง 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานการจัดการด้านใช้ไฟฟ้า (Demand Side Management - DSM) และโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism - CDM) เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้า และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน 5. เสริมสร้างจิตส�ำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ ให้มีการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพทั้งภายในองค์การและสังคมโดยรวม 6. ประกาศนโยบายสิ่งแวดล้อมไปสู่พนักงานทั้งหมดของ กฟผ. และผู้เกี่ยวข้อง ให้น�ำไปปฏิบัติและเผยแพร่ต่อสาธารณชน เพื่อด�ำเนินการตามแนวนโยบายสิ่งแวดล้อม ขององค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง

17 ผู้น�ำด้านการอนุรักษ์พลังงาน กฟผ. มุง่ สูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน ทีเ่ น้นการสร้างประสิทธิภาพและ แรงจูงใจในการลดใช้พลังงาน โดยได้ด�ำเนินการด้านการจัดการใช้ไฟฟ้า (Demand Side Management - DSM) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2536 จนถึงปัจจุบัน สามารถลดความต้องการใช้ ไฟฟ้าของประเทศลดลงได้กว่า 3,000 เมกะวัตต์ ประหยัดพลังงานไฟฟ้าสูงสุดได้ 19,000 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สู่บรรยากาศได้ 11 ล้านตัน จากกิจกรรมส�ำคัญ ได้แก่ - โครงการฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ส่งเสริมการใช้อุปกรณ์ ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง จากผลิตภัณฑ์ติดฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 จ�ำนวนเครื่องใช้ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงที่ได้รับ การติดฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 ตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงปัจจุบันรวม 21 ผลิตภัณฑ์ - โครงการหลอดผอมเบอร์ 5 รณรงค์ส่งเสริมให้หน่วยงานต่างๆ เปลี่ยนมาใช้ หลอดผอมเบอร์ 5 ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบันมากกว่า 13 ล้านหลอด - โครงการส่งเสริมการใช้อปุ กรณ์แสงสว่าง LED กฟผ. ด�ำเนินการโครงการน�ำร่อง เปลี่ยนโคมไฟถนนภายใน เขต เขื่อน โรงไฟฟ้าของ กฟผ. จ�ำนวน 8 แห่ง จากการศึกษา พบว่า หลอดไฟ LED สามารถลดการใช้ไฟฟ้าได้ประมาณร้อยละ 60-70 - โครงการห้องเรียนสีเขียว มุง่ ส่งเสริมทัศนคติ ปลูกฝังจิตส�ำนึกต่อการใช้พลังงาน อย่างประหยัดผ่านเยาวชนอย่างต่อเนื่อง จ�ำนวน 414 โรงเรียน และปรับเป็นโรงเรียน สีเขียวแล้ว 92 โรงเรียน รวมถึงขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงอีกกว่า 800 โรงเรียน รวมถึงขยายผลสูโ่ รงเรียนเครือข่าย ซึง่ ตัง้ อยู่ใกล้เคียงอีกกว่า 800 โรงเรียน ร่วมลดโลกร้อน กฟผ. ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการด�ำเนินกิจกรรมเพื่อลดผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ จึงได้ดำ� เนินกิจกรรมด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม และพัฒนา โครงการต่างๆ ของ กฟผ. ในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น จัดท�ำโครงการ อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูทรัพยากรป่าไม้ เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีป่ า่ ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ด�ำเนิน การปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าทั้งที่มีอยู่เดิมและโรงไฟฟ้าใหม่เพื่อลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก ผ่านโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดของ กฟผ. (Clean Development Mechanism : CDM) อาทิ โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำท้ายเขื่อนชลประทาน 6 แห่ง โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เขือ่ นสิรนิ ธร จังหวัดอุบลราชธานี ตลอดจนโครงการปรับปรุง ประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าแม่เมาะหน่วยที่ 10-11 จังหวัดล�ำปาง ซึ่งถือเป็นโครงการ CDM ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยในปัจจุบัน


19

18 รับผิดชอบสังคมและชุมชน กฟผ. ตระหนักอยู่เสมอว่า “ประชาชน” คือศูนย์กลางของการพัฒนา จึงด�ำเนิน งานด้วยความรับผิดชอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดูแลกระบวนการผลิต และการบริหาร จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน พร้อมทั้งด�ำเนิน โครงการและกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ อาทิ โครงการเฉลิมพระเกียรติ โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ โครงปลูกต้นกล้า ป่าต้นน�้ำถวายพ่อ โครงการปลูกป่าต้นน�้ำเขื่อนสิริกิติ์ โครงการปลูกต้นไม้รอบบ้านพ่อ โครงการพลังงานเพื่อชุมชน มอบเงินสนับสนุนเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง สร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้ำไหลวน ขนาด 3-6 กิโลวัตต์ โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนบ้าน คลองเรือ อ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร โครงการเพื่อสังคม โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โครงการ Move World Together โครงการแว่นแก้ว โครงการ EGAT’s Tutor Camp โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ และอาชีพ โครงการธนาคารปูมา้ คลองนาทับ จังหวัด สงขลา โครงการคืนถิ่นกุ้งก้ามกรามสู่ลุ่มน�้ำตาปี-พุมดวง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โรงงาน วิสาหกิจชุมชนถ่านอัดแท่ง อ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ โครงการสนับสนุนกีฬา สนับสนุนกีฬายกน�้ำหนักไทยสู่ระดับสากล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน โครงการ EGAT ยกน�้ำหนักเยาวชนชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย สนับสนุนสมาคมเรือพายแห่งประเทศไทย จัดการแข่งขันเรือพายชิงชนะเลิศแห่ง ประเทศไทย

บทสรุป ในการพัฒนากิจการไฟฟ้าของประเทศ กฟผ. ได้น�ำปัจจัยและข้อจ�ำกัดต่างๆ มา บูรณาการเพื่อสร้างความสมดุลในทุกมิติ ทั้งการวางแผนก�ำลังผลิตไฟฟ้า การเลือกใช้ เทคโนโลยีการผลิต กระบวนการการมีส่วนร่วม ตลอดจนการดูแลสังคม ชุมชนและ สิ่งแวดล้อม ด้วยเจตนารมณ์และความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังที่สร้าง ความสุขให้แก่ทุกชีวิตไทย ทั้งในวันนี้ และวันหน้า

“กฟผ. ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย”


20

บันทึก



จัดทำ�โดย กองสารสนเทศ ฝ่ายสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พิมพ์ครั้งที่ 3 จำ�นวน 50,000 เล่ม พิมพ์ที่ กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย www.egat.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.