ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

Page 1

ความปลอดภัย ในการใชไฟฟาภายในบาน


สารบัญ

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

3 3

travel guide book

HIO N

FAS

DESIGN

GRAPHIC

DESIG

the

WORLD

history v.2

DESIGN

FASHION

N

ไฟฟ้าท�ำอันตรายแก่ร่างกายได้อย่างไร วิธีช่วยเหลือผู้ถูกไฟฟ้าดูด

4

4 6 8

การช่วยเหลือเบื้องต้นด้วยวิธีปฐมพยาบาล

travel guide book

IGN

FASH DES

DESIGN

GRAPHIC

history v.2

DESIGN

FASHION

ION

เราป้องกันอันตรายจากอุปกรณ์ไฟฟ้าได้อย่างไร the

WORLD

ท�ำอย่างไรจึงจะปลอดภัยจากการใช้ไฟฟ้า

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

1


ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ไฟฟ้าอยู่ใกล้ตัวเราจนหลายๆ คนมองข้ามความระมัดระวัง และใส่ใจในความ ปลอดภัย อุบตั เิ หตุจากไฟฟ้าส่วนใหญ่เกิดขึน้ จากความไม่รวู้ า่ ไฟฟ้ามีอนั ตรายแค่ไหน และท�ำอย่างไรจึงจะปลอดภัยจากการยุ่งเกี่ยวกับไฟฟ้า ปัจจุบัน มีการประชาสัมพันธ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีคุณภาพต้องได้รับการรับรอง ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ผู้อุปโภคส่วนใหญ่ก็รับทราบ แต่การให้ความสนใจและ ใส่ใจยังอาจไม่เต็มที่ การให้ความรู้และการปลูกฝังจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย จึง เป็นพื้นฐานที่ส�ำคัญของการลดความสูญเสียจากไฟฟ้า

ไฟฟ้าท�ำอันตรายแก่ร่างกายได้อย่างไร

ผู้ที่ได้รับอันตรายจากไฟฟ้านั้น เนื่องจากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเข้าไป แตะสายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ช�ำรุดและมีไฟฟ้ารั่วอยู่ จึงกลายเป็นการต่อเข้าไป เป็นส่วนหนึ่งในวงจรไฟฟ้าหรือท�ำให้ครบวงจร ในขณะที่ร่างกายส่วนอื่นสัมผัสอยู่กับ พื้นดินหรือที่ชื้นแฉะ กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านร่างกายลงสู่พื้นดินครบวงจร ท�ำให้เกิด อันตรายไฟดูดขึ้นได้ ผู้ถูกไฟฟ้าดูดส่วนมากไม่สามารถบังคับให้ตัวเองหลุดพ้นออกมาได้เอง หาก ไม่มีผู้เข้ามาช่วยได้ทัน ก็อาจมีอันตรายถึงชีวิตได้

2

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

3


วิธีช่วยเหลือผู้ถูกไฟฟ้าดูด ข้อควรระวังในขณะช่วยเหลือผู้ถูกไฟฟ้าดูด

1. อย่าใช้มือเปล่าแตะต้องตัวผู้ถูกไฟฟ้าดูดเด็ดขาด 2. รีบหาทางตัดกระแสไฟฟ้าโดยเร็ว ด้วยการถอดปลั๊ก ปลดสวิตช์ หรือ คัท เอาท์ หรือเต้าเสียบออก

อีกที ท�ำเช่นนี้เป็นจังหวะๆ เท่ากับจังหวะหายใจปกติ (ผู้ใหญ่นาทีละ 12-15 ครั้ง เด็กเล็กนาทีละ 20-30 ครัง้ ) ถ้าเป่าปากไม่ได้ให้ปดิ ปากผูป้ ว่ ยแล้วเป่าเข้าทางจมูกแทน ถ้าผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นและไม่หายใจด้วย ให้นวดหัวใจสลับกับการเป่าปาก ถ้ามีผู้ช่วยเหลือเพียงคนเดียวก็ให้เป่าปาก 2 ครั้ง สลับกับการนวดหัวใจ 15 ครั้ง หรือถ้ามีผู้ช่วยเหลือสองคนก็ให้นวดหัวใจสลับกับการเป่าปาก โดยเป่าปาก 1 ครั้ง นวดหัวใจ 5 ครั้ง

3. ใช้วตั ถุทไี่ ม่เป็นสือ่ ไฟฟ้า เช่น ผ้า ไม้แห้ง เชือกทีแ่ ห้ง สายยาง หรือพลาสติก ที่แห้งสนิท เขี่ยสายไฟให้หลุดจากตัวผู้ประสบภัย สวมถุงมือยาง หรือผ้าแห้งพันมือ ให้หนา ผลัก ดัน หรือฉุดให้ผู้ประสบภัยหลุดออกมาโดยเร็ว

การปฐมพยาบาลช่วยให้ฟน้ื นี้ ต้องรีบท�ำทันที หากช้าเกินกว่า 4-6 นาที โอกาส ที่จะฟื้นมีน้อย ขณะพาไปส่งแพทย์ก็ควรท�ำการปฐมพยาบาลไปด้วยตลอดเวลา

4. หากบริเวณนั้นมีน�้ำขัง อย่าลงไปยืนในน�้ำ ต้องเขี่ยสายไฟออกให้พ้น หรือ ตัดกระแสไฟฟ้าก่อน

¡Òê‹ÇªÕÇÔµ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ CPR

การช่วยเหลือเบื้องต้นด้วยวิธีปฐมพยาบาล

1. หากหัวใจหยุดเต้น (ตรวจโดยเอาหูฟังที่หน้าอกหรือจับชีพจร) ให้ใช้วิธี “นวดหัวใจภายนอก” โดยเอามือกดตรงหัวใจให้ยุบลงไป 3-4 เซนติเมตร เป็นจังหวะ เท่าจังหวะการเต้นของหัวใจ (ผู้ใหญ่วินาทีละ 1 ครั้ง เด็กเล็กวินาทีละ 2 ครั้ง) นวด 10-15 ครั้งเอาหูแนบฟังครั้งหนึ่ง 2. หากไม่หายใจ (ตรวจโดยดูการขยายของซีโ่ ครงและหน้าอก) ให้ใช้วธิ เี ป่าลม เข้าทางปากหรือจมูกของผู้ป่วย ดังนี้ การเป่าปาก จับผู้ป่วยนอนหงาย ใช้หัวแม่มือง้างปลายคางผู้ป่วยให้ปาก อ้าออก หากมีเศษอาหารหรือวัสดุใดๆ ให้ล้วงออกให้หมด แล้วจับศีรษะให้เงยหน้า มากๆ ประกบปากกับผู้ป่วยให้สนิทแล้วเป่าลมเข้าไปอย่างแรงจนปอดผู้ป่วยขยาย ออก (ซี่โครงและหน้าอกพองขึ้น) แล้วปล่อยให้ลมหายใจของผู้ป่วยออกเอง แล้วเป่า

¤Ø³æ ໚¹Í‹ҧäúŒÒ§

»ÅØ¡ ÍŒÒÇ! äÁ‹ËÒÂã¨

ໆһҡ

à» ´ à»†Ò µŒÍ§»˜ Á

âÍ Ð! ªÕ¾¨ÃäÁ‹àµŒ¹

á»Ð

»˜ Á

¨Ò¡¹Ñé¹¡ç ‘à»†Ò’ áÅŒÇ¡ç ‘»˜ Á’ ÊÅѺ¡Ñ¹ä»à´ÕëÂÇ¡ç¿„œ¹ ¶ŒÒäÁ‹¿„œ¹â·ÃËÒ˹‹Ç¡ٌÀÑ·ÕèÍÂÙ‹ã¡ÅŒ·ÕèÊØ´

4

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

5


เราป้องกันอันตรายจากอุปกรณ์ไฟฟ้าได้อย่างไร เพือ่ การป้องกันกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย (ไฟดูด) การติดตัง้ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า จึงควรให้ความส�ำคัญกับอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้ 1. การต่อสายดิน (Ground) สายดินคือ สายไฟที่ออกแบบไว้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ใช้เครื่องใช้ ไฟฟ้า โดยปลายด้านหนึ่งจะต้องมีการต่อลงดิน ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งจะต่อเข้ากับ ส่วนที่เป็นโลหะของวัตถุหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า กรณีไม่มส ี ายดินต่อที่อุปกรณ์

++ +

6

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

การต่อสายดินเพื่อเป็นทางให้กระแสไฟฟ้าที่อาจรั่วไหลออกมาจากอุปกรณ์ ไฟฟ้า ไหลลงดินโดยผ่านทางสายดินที่ต่อไว้ แทนที่จะไหลผ่านตัวคน ซึ่งอุปกรณ์ ไฟฟ้าหลายชนิดมีสายดินต่อมาให้เรียบร้อยแล้ว เช่น ตู้เย็น เตารีด เครื่องซักผ้า เตา ไมโครเวฟ หม้อหุงข้าว เป็นต้น สังเกตได้จากปลั๊กไฟจะมีสามขา เต้าเสียบที่ใช้ตาม มาตรฐาน มอก.-166 ใหม่ จึงเป็นแบบ 3 รูกลมหรือแบน ชนิดที่มีสายดิน หากเป็น อุปกรณ์ชนิดทีไ่ ม่มสี ายดิน ผูใ้ ช้งานก็ควรต่อสายดินจากโครงโลหะของเครือ่ งไฟฟ้านัน้ ลงดินโดยตรง ซึ่งอาจต่อสายดินเข้ากับท่อประปาที่เป็นโลหะหรือต่อเข้ากับแท่งโลหะ ไร้สนิม (Ground Rod) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร ยาวไม่น้อยกว่า 150 เซนติเมตร ฝังลึกจากผิวดินอย่างน้อย 30 เซนติเมตร ก็จะได้ระบบสายดินที่สมบูรณ์ 2. การใช้สวิตช์ตดั วงจร อัตโนมัติ (Earth leakage circuit breaker) เรารู้จักกันในชื่อ “เครื่องกันไฟดูด” หรือเครื่องตัดไฟฟ้าอัตโนมัติ แบ่งป็น 2 ประเภทคือ เครื่องตัดไฟรั่วที่สามารถใช้ตัดไฟได้ทั้งไฟรั่วและกระแสลัดวงจร และ เครื่องตัดไฟรั่วที่ต้องใช้ร่วมกับเบรกเกอร์หรือฟิวส์ ซึ่งการติดตั้งเครื่องนี้ควรมีการติด ตั้งพร้อมกับระบบสายดิน มีการติดตั้งเข้าสายอย่างถูกต้อง รวมถึงมีการทดสอบและ ตรวจสอบอยู่เป็นประจ�ำด้วย 3. การดูแลฉนวนป้องกันไฟฟ้า ฉนวนหุม้ สายไฟหรือหุม้ สายอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ สามารถช�ำรุดฉีกขาดได้หาก ใช้งานอย่างไม่ระมัดระวัง เช่นการดึงหรือกระชากผ่านของมีคมหรือวัตถุที่มีขอบและ มุมแข็ง การวางไว้บนพืน้ ทีม่ วี ตั ถุหนักๆ เคลือ่ นทับอยูบ่ อ่ ยๆ หรือเดินเหยียบกันตลอด เวลา จึงควรมีการตรวจสอบสภาพฉนวนของสายไฟฟ้าอยูบ่ อ่ ยๆ และรีบซ่อมแซมทันที หากพบการช�ำรุดเสียหาย หรือจัดการเดินสายไฟและมีที่หุ้มปิดสายไฟให้เรียบร้อย

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

7


ตำ่

ดมี าก

ตำ่

ดี

เกณฑพลังงานป

เกณฑพลังงานป

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต)

กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต) เครื่องหมายการคา รุน

เครื่องหมายการคา รุน

กระทรวงพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

ปานกลาง อใช

ดี

ดี

ตำ่

ดมี าก

เกณฑพลังงานป

เกณฑพลังงานป

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต)

กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต) เครื่องหมายการคา รุน

เครื่องหมายการคา รุน

กระทรวงพลังงาน

ปานกลาง อใช

ดี

เกณฑพลังงานป

ปานกลาง อใช

ดี

เกณฑพลังงานป

กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต) เครื่องหมายการคา รุน

กระทรวงพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต)

เครื่องหมายการคา รุน

เครื่องหมายการคา รุน

กระทรวงพลังงาน

ปานกลาง อใช

ดี

เกณฑพลังงานป

ปานกลาง อใช

ตำ่

กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต)

ดี ดมี าก

ดมี าก เกณฑพลังงานป

เกณฑพลังงานป

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต)

ดี ดมี าก

ดมี าก

ตำ่

ปานกลาง อใช

ตำ่

กระทรวงพลังงาน

ดี

ดี

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ

กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต) เครื่องหมายการคา รุน

เกณฑพลังงานป

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ

กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต)

เกณฑพลังงานป

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ

ดี ดมี าก

ตำ่

ปานกลาง อใช

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ

ปานกลาง อใช

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ

ดมี าก

ดมี าก

ตำ่

ปานกลาง อใช

ตำ่

กระทรวงพลังงาน

ดมี าก

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

ปานกลาง อใช

ดี

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ

ปานกลาง อใช

ดมี าก

8

ปานกลาง อใช

ดมี าก

- ใช้อุปกรณ์ติดตั้งที่ได้มาตรฐาน - มีการออกแบบที่ถูกต้องและปลอดภัย ตามมาตรฐาน - ติดตัง้ โดยผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถอย่าง ถูกต้อง - มีระบบการตรวจสอบการติดตั้งที่ถูกต้อง และปลอดภัยตามมาตรฐาน - มีการตรวจสอบบำ�รุงรักษาตามรอบระยะ เวลา 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เต้าเสียบและ - มีการกำ�หนดมาตรฐานความปลอดภัย เต้ารับ (ชุดสายพ่วง) และส่วนที่มีการติด ในเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด โดยหน่วยงานที่ ตั้งเพิ่มเติมเพื่อรองรับการใช้งานเครื่องใช้ เกี่ยวข้อง (สมอ.) ไฟฟ้า - มีคู่มือในการใช้สินค้าอย่างถูกต้องและ ปลอดภัย 1. การติดตัง้ ระบบไฟฟ้า เช่น การเดินสาย การต่อสาย อปกรณ์ประกอบต่างๆ เช่น สวิตช์ เต้ารับ อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย เช่ น เครื่ อ งตั ด ไฟฟ้ า รั่ ว และอุ ป กรณ์ ป้องกันกระแสไฟฟ้าเกิน เป็นต้น

ความปลอดภัยจากการใช้ไฟฟ้า

ตำ่

ส่วนที่อาจเกิดอันตรายจากการใช้ไฟฟ้า

องค์ประกอบทีจ่ ะท�ำให้เกิดอันตรายจากการใช้ไฟฟ้านัน้ มีอยูส่ องส่วน คือ ส่วน ของการติดตั้ง และส่วนของเครื่องใช้ไฟฟ้า

ตำ่

การเดินสายไฟควรเลือกจ้างช่างไฟฟ้าที่มีประสบการณ์สูง เลือกใช้สายไฟที่ มีขนาดเหมาะสมต่อการใช้งาน อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ ที่ใช้ในงาน เช่น สวิตช์ตัดตอน หลอดไฟฟ้า บัลลาสต์ สตาร์ตเตอร์ เต้าเสียบ ควรเลือกใช้ชนิดที่ได้รับการรับรอง จาก มอก. ซึ่งข้อก�ำหนดต่างๆ สามารถสอบถามได้ที่ส�ำนักงานการไฟฟ้าในพื้นที่ (กฟน. หรือ กฟภ.)

1. ทุกครั้งที่ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ขอให้ตรวจสอบสายไฟและเต้าเสียบ (ปลั๊กไฟ) ของเครื่องว่าช�ำรุดหรือไม่ 2. หลีกเลี่ยงการน�ำเครื่องใช้ไฟฟ้าไปใช้ในบริเวณที่ชื้นแฉะ หรือฝนสาดถึงได้ 3. เมื่อจะเสียบปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้า ต้องดูให้แน่ใจว่าไม่ได้เปิดสวิตช์เครื่องอยู่ เมื่อเลิกใช้ให้ปิดสวิตช์ที่เครื่องใช้ไฟฟ้าก่อนแล้วจึงถอดปลั๊ก 4. อย่าวางอุปกรณ์ไฟฟ้าทีม่ คี วามร้อนไว้ใกล้วสั ดุตดิ ไฟ เช่น วางโคมไฟไว้ใกล้ ผ้าม่าน 5. อย่าแตะต้องอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าในขณะที่ตัวเปียก 6. ฉนวนครอบสวิตช์หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าช�ำรุด ควรซ่อมแซมให้เรียบร้อย

การเดินสายไฟและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า

ข้อแนะน�ำในการใช้ไฟฟ้า

ตำ่

ท�ำอย่างไรจึงจะปลอดภัยจากการใช้ไฟฟ้า

เกณฑพลังงานป

ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณไฟฟา MODE : STANDBY POWER 1วัตต (สถานะขณะรอใชงาน) ประเภท : เครื่องปรับอากาศ กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต)

เครื่องหมายการคา รุน

เครื่องหมายการคา รุน

กระทรวงพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

กำลังไฟฟาพรอมใชงาน (วัตต)

เครื่องหมายการคา รุน

เครื่องหมายการคา รุน

กระทรวงพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

9


7. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีเปลือกหุ้มภายนอกท�ำด้วยโลหะทุกชนิด เช่น ตู้เย็น หม้อหุงข้าว เตาไมโครเวฟ เตารีด เครื่องซักผ้า เครื่องท�ำน�้ำอุ่น เป็นต้น ต้องติดตั้ง สายดิน 8. อย่าน�ำสิง่ ของวางบนเครือ่ งใช้ไฟฟ้าหรือใช้ผา้ คลุม หรือตัง้ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ในทีอ่ บั อากาศ เพราะจะท�ำให้ทำ� งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ช�ำรุดง่าย และกินไฟมาก และอาจเกิดเพลิงไหม้ได้ 9. เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีก่ นิ ไฟมาก เช่น หม้อหุงข้าว เครือ่ งซักผ้า เตาไฟฟ้า ควร เป็นเต้ารับเดี่ยว อย่าพยายามใช้ร่วมเต้ารับกับเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น 10. อย่าใช้ขั้วต่อแยกเสียบปลั๊กหลายทาง อาจเป็นการใช้ไฟเกินก�ำลัง และ เกิดไฟไหม้ได้ 11. อย่าให้สายไฟฟ้าลอดใต้เสื่อหรือพรม หรือปล่อยให้ของหนักบีบทับสาย ไฟ เพราะอาจท�ำให้ฉนวนแตกช�ำรุด 12. การเดินสายไฟชั่วคราวไปใช้งานภายนอก อุปกรณ์ต่างๆ ต้องเป็นชนิด กันน�้ำและทนแสงแดดได้ วงจรไฟฟ้าหรือเต้ารับนั้น ต้องมีการติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว

10

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

13. อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ภายนอกอาคารควรเป็นชนิดกันน�้ำได้ 14. หมัน่ ท�ำความสะอาดและบ�ำรุงรักษาพัดลมให้ใช้งานได้ดี เพราะพัดลมทีม่ ี คุณภาพต�่ำ หากเปิดทิ้งไว้นานๆ มอเตอร์จะร้อน และเกิดไฟไหม้ได้ 15. อย่าใช้ลวดท�ำราวตากผ้าขึงผ่านหรือพาดสายไฟฟ้า 16. อย่าใช้บันไดโลหะในการซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้า โดยไม่สวมรองเท้ายาง หรือรองเท้านิรภัยส�ำหรับงานไฟฟ้า 17. ติดตั้งเสาอากาศทีวี ห่างจากสายไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 3 เมตร หรือในระยะ ที่ล้มแล้วไม่โดนสายไฟ 18. อย่าใช้น�้ำมันไวไฟล้างเครื่องใช้ไฟฟ้าในขณะที่ยังเสียบปลั๊กอยู่ 19. ห้ามเปิดหรือปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด เมื่อมีการรั่วไหลของก๊าซหุงต้ม ภายในบ้าน 20. เมือ่ ไฟฟ้าดับให้ปดิ สวิตช์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทุกชนิดทีเ่ ปิดค้างอยูท่ นั ที รวมถึง ถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความเย็น เช่น ตู้เย็น หรือเครื่องปรับอากาศ และเปิดซ�้ำ หลังจากนั้นอย่างน้อย 3 นาที 21. อย่าแก้ไขไฟฟ้าเองโดยไม่มีความรู้ความช�ำนาญเรื่องไฟฟ้าเพียงพอ 22. ฝึกฝนให้รจู้ กั วิธแี ก้ไขและป้องกัน รวมทัง้ การช่วยเหลือปฐมพยาบาล เมือ่ มีอุบัติเหตุทางไฟฟ้าเกิดขึ้น

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

11


12

ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน


ความปลอดภัยในการใชไฟฟาภายในบาน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) 53 หมู 2 ถนนจรัญสนิทวงศ ตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย นนทบุรี 11130


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.