โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เส้นทางสู่ความเป็นเลิศ

Page 1

เส น ทางสู ค วามเป น เลิ ศ TQC

ประจำป

2558

โรงไฟฟาแมเมาะ

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย



สารจากประธาน คณะกรรมการรางวั ล คุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ

นายสมภพ อมาตยกุล โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้สร้างการยอมรับจากสังคมในการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน เพือ่ ลดความเสีย่ งด้านพลังงานของประเทศ มีวสิ ยั ทัศน์ทมี่ คี วามท้าทายในการ “ก้าวสูค่ วามเป็นผูน้ า� ในการผลิตไฟฟ้าใน ระดับสากล และเป็นทีเ่ ชือ่ มัน่ ของสังคม” รฟม. ค�านึงถึงความต้องการ ความคาดหวังของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย เน้นการปฏิบตั ิ ตามกฎหมายโดยเฉพาะการควบคุมคุณภาพสิง่ แวดล้อมอย่างจริงจัง และได้พฒั นาองค์กรตามแนวทางของรางวัลคุณภาพ แห่งชาติ เพื่อก้าวข้ามความท้าทายหลายด้านไปสู่วิสัยทัศน์ที่ก�าหนดไว้ มุ่งมั่นสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคม ปฏิบัติ ตามระบบการก�ากับดูแล โดยมีพนื้ ฐานอยูบ่ นความมีคณุ ธรรม จริยธรรม และความโปร่งใส มีจติ ส�านึกในความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งมั่นที่จะปฏิบัติให้ดีกว่าเกณฑ์ที่กฎหมายก�าหนดในทุกๆ ด้าน ผูบ้ ริหารระดับสูงให้ความส�าคัญต่อการชีน้ า� และสร้างความยัง่ ยืน ก�าหนดทิศทางองค์กร และแผนปฏิบตั กิ ารทีเ่ อาชนะ ความท้าทายจากความต้องการของลูกค้าให้บรรลุเป้าหมาย กระจายตัวชีว้ ดั ไปถึงตัวบุคคล มีการติดตามผลการด�าเนินการ วิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อปรับปรุงแก้ไข สื่อสารทิศทางขององค์กรและการตัดสินใจที่ส�าคัญแบบสองทิศทาง เปิดโอกาส ให้มีการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น กระตุ้นให้มีผลการด�าเนินการที่ดี มีนโยบายส่งเสริมนวัตกรรม จัดสรรงบประมาณและ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา น�าระบบพัฒนาบริหารจัดการโรงไฟฟ้า การสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตผลพลอยได้จากการผลิต ไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ กระบวนการที่ไม่ใช่สมรรถนะหลัก ไม่คุ้มค่า ได้ให้ผู้ส่งมอบและพันธมิตรที่มีศักยภาพ ด�าเนินการแทน องค์กรประเมินความพึงพอใจ ความผูกพัน ความไม่พึงพอใจ และน�าไปใช้เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ให้เหนือกว่าความคาดหวัง สร้างความผูกพันกับลูกค้า ก�าหนดวิธกี ารจัดการกับข้อร้องเรียนลูกค้า ด�าเนินการแก้ไขอย่าง ทันท่วงที สร้างความผูกพัน พึงพอใจและสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานบุคลากร ส่งผลให้ความผูกพันต่อองค์กรมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง บุคลากรมีความรู้ มีขีดความสามารถ มีการหมุนเวียนงาน เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และเทคโนโลยีใหม่ในการออกแบบกระบวนการผลิตท�าให้สามารถตอบสนองความต้องการ มีความ มั่นคงในระบบ ตรงตามความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า มีความสามารถด�าเนินการให้ดีกว่าเป้าหมายและ คู่เทียบระดับสากล เช่น อัตราความสูญเสียพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ ค่าความร้อนในการผลิต ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย บุคลากรต�่ากว่ากรอบอัตราก�าลัง และค่าพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตต่อคนดีกว่าเป้าหมาย ในนามของคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ขอแสดงความยินดีกับโรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทยที่ได้รับรางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ Thailand Quality Class ประจ�าปี 2558 และมีความเชื่อมั่นว่า แนวทางการบริหารจัดการองค์กรของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยจะเป็นแบบอย่างส�าหรับองค์กร ที่สนใจน�าไปพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพได้เป็นอย่างดี นายสมภพ อมาตยกุล ประธานคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ


สารคณะกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการรางวั ล คุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ

ดร.สันติ กนกธนาพร ขอแสดงความยินดีกับ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ที่ได้รับรางวัลการบริหาร สู่ความเป็นเลิศ Thailand Quality Class ประจ�าปี 2558 โดยถือได้ว่า องค์กรได้มีแนวทางในการบริหาร จัดการองค์กรที่มีความพร้อมที่จะก้าวไปถึงระดับของความเป็นเลิศเทียบชั้นสากล ผู้น�าระดับสูงของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มีการน�าองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ ให้ความส�าคัญกับจริยธรรม มีวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ชัดเจนด้านการสร้างจริยธรรม ค่านิยม และการ ก�ากับดูแลกิจการที่ดี มีการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ มีการคาดการณ์ผลการด�าเนินการในอนาคต และมี รายงานผลการด�าเนินการทีเ่ ป็นระบบ ท�าให้องค์กรสามารถมุง่ ไปในทิศทางเดียวกัน อีกทัง้ ยังมีความโดดเด่น ในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม มีการสื่อสารเชิงรุก และสร้างความยอมรับจากชุมชน และสังคม ด้วยแผน ปฏิบัติการที่เป็นระบบ มีความสอดคล้องกันทั้งนโยบาย กลยุทธ์ กิจกรรม ตัวชี้วัด และเป้าหมาย ส่งผลให้ สังคมลดความกังวลต่อการปฏิบัติการขององค์กร และสนับสนุนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ สิ่งที่น่าศึกษาอีกประการ ได้แก่ การก�าหนดองค์ประกอบความพึงพอใจและความผูกพันของบุคลากร ที่เป็นระบบ การสร้างวัฒนธรรมการสื่อสาร รวมถึงการจัดการความก้าวหน้าในอาชีพซึ่งส่งผลต่อความ ผูกพัน และการสร้างผลงานที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การด�าเนินการที่มุ่งเน้นการปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ ยังเป็นตัวอย่างที่น่าศึกษาขององค์กรภาครัฐวิสาหกิจที่มุ่งมั่นเตรียมความพร้อมรับมือกับความท้าทายใหม่ๆ ในการด�าเนินกิจการได้เป็นอย่างดี ในโอกาสนี้ ขอแสดงความขอบคุณต่อผู้บริหาร และบุคลากรขององค์กร ในความมุ่งมั่นทุ่มเทให้กับการ ปรับปรุงระบบคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และขอฝากให้องค์กรได้แบ่งปันประสบการณ์ความส�าเร็จตามแนวทาง สู่ความเป็นเลิศ เพื่อเป็นแบบอย่าง และเป็นแรงบันดาลใจให้องค์กรต่างๆ ปรับปรุงผลการด�าเนินการ และ ผลลัพธ์ของตนเอง ซึ่งจะส่งผลดีต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย

ดร.สันติ กนกธนาพร ผู้อ�านวยการสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ กรรมการและเลขานุการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ


CONTENTS สารบั ญ โครงร่างองค์กร

5

โรงไฟฟ้าแม่เมาะกับการน�าองค์กร

9

การจัดท�ากลยุทธ์ และการน�าไปปฏิบัติ

12

การมุ่งเน้นลูกค้า

15

การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุง ผลการด�าเนินการขององค์กร

18

การมุ่งเน้นบุคลากร

22

การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ

26

ผลลัพธ์

29

ท�าเนียบผู้ตรวจประเมิน

32


สารจากผูบริหาร โรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะ การไฟฟ้ า ฝ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย

นายนิกูล ศิลาสุวรรณ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เชื่อมั่นในกรอบแนวคิด “การมุ่งสู่ความเป็นเลิศตามเกณฑ์ TQA” ว่า จะสามารถน�า รฟม. ไปสู่ความยั่งยืน ช่วยให้โรงไฟฟ้าแม่เมาะบรรลุวิสัยทัศน์ที่ก�าหนดไว้ได้อย่างแน่นอน พิสูจน์ได้จาก ผลลัพธ์การด�าเนินงานบริหารก่อนและหลังการได้รางวัล TQC ในปี 2556 พบว่ามีผลลัพธ์ด้านต่างๆ ทั้ง 5 ด้าน ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแสดงถึงความเข้าใจในแนวทางบริหารจัดการองค์กรตามกรอบแนวคิดมาก ขึ้น และมั่นใจว่ามาถูกทาง จึงด�าเนินการปรับปรุงอย่างจริงจังในปี 2557-2558 ในหลายกระบวนการที่สร้าง มูลค่าเพิ่มให้โรงไฟฟ้าแม่เมาะทั้งสิ้น เช่น ระบบการน�าองค์กร การวางแผนเชิงกลยุทธ์และการน�าไปปฏิบัติ การจัดการความรู้ การจัดการนวัตกรรมที่เป็นระบบชัดเจน มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น รวมถึงการถ่ายทอดสื่อสาร สู่การปฏิบัติอย่างทั่วถึง และเริ่มเกิดการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลจริงมากยิ่งขึ้น จนมีความพร้อมและมั่นใจว่า มีพัฒนาการในระดับที่น่าพอใจ จึงยื่นสมัครขอรับรางวัลในปี 2558 และประสบความส�าเร็จอีกครั้งหนึ่ง โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จะน�า “โอกาสในการปรับปรุง (Opportunity for Improvement: OFIs)” จากผู้ตรวจ ประเมินในรายงานป้อนกลับ (Feedback Report) ทีม่ คี ณุ ค่า มาทบทวน ปรับปรุง พัฒนาการด�าเนินงาน การบริหารงานของ รฟม. ให้ดียิ่งๆ ขึ้น และจะกลับมายื่นขอรับรางวัล TQA อีกครั้งในปี 2560 เพื่อ มุ่งมั่นในการก้าวต่อไปจนกว่าจะคว้ารางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ภายในปี 2562 นอกจากนี ้ จุดหมายต่อไปของเราคือ การเป็นโค้ช ให้คา� แนะน�า และถ่ายทอดความรู ้ การด�าเนินงาน การบริหารงานตามแนวทางเกณฑ์ TQA ให้แก่หน่วยงานภายในของ กฟผ. (ได้แก่ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ โรงไฟฟ้าน�้าพอง โรงไฟฟ้าบางปะกง เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนวชิราลงกรณ์ เขื่อนรัชชประภา เขื่อนศรีนครินทร์ และโรงไฟฟ้าพลังน�้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) เราจะมุ่งมั่นด�าเนินงานตามแนวคิดของ TQM เพื่อให้ได้ระดับสูงสุด คือ รางวัล TQA

นายนิกูล ศิลาสุวรรณ ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า

4 | Thailand Quality Class 2015


5 โครงร่ำงองค์กร โรงไฟฟ้ า แม่ เ มาะ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย

โรงไฟฟ้าแม่เมาะ (รฟม.) ได้น�าเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ มาเป็นแนวทางการบริหารจัดการ ซึ่งก่อให้เกิดการบูรณาการ กระบวนการท�างานต่างๆ บุคลากรเกิดการเรียนรู้ และพัฒนา อย่างต่อเนื่อง น�าไปสู่ความส�าเร็จของงานที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ รฟม. เป็นโรงไฟฟ้าแห่งแรกของประเทศไทย ที่ ได้รับรางวัล “การบริหารสู่ความเป็นเลิศ (TQC)” นับเป็นความภาคภูมิใจและเป็นเกียรติอย่างยิ่งของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ซึ่งจะน�าไปสู่ การพัฒนา กฟผ. และประเทศชาติอย่างยั่งยืนต่อไป


ลั ก ษณะองค์ ก ร สถานที่ ตั้ ง

อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง

ความเป็ น มา รฟม. ก่อตั้งขึ้น เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าต้นทุนต�่ำจากเชื้อเพลิงถ่านหินลิกไนต์ภายใน ประเทศ เพือ่ ลดการน�ำเข้าเชือ้ เพลิง และสร้างความมัน่ คงให้ระบบผลิตไฟฟ้าของประเทศ ลั ก ษณะธุ ร กิ จ เป็นโรงไฟฟ้าแห่งหนึ่งของ กฟผ. ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2518 ผลิตพลังงานไฟฟ้า โดยอยู่ ภายใต้ การก�ำกับของคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงานตามพระราชบัญญัติการ ประกอบกิจการพลังงานปี พ.ศ. 2550 ปัจจุบนั ติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าจ�ำนวน 10 เครือ่ ง มีก�ำลังการผลิตติดตั้งรวมทั้งสิ้น 2,400 MW ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ปีละประมาณ 18,000 ล้านหน่วย (GWh) ใช้ถ่านหินลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิง ประมาณ 16 ล้านตัน/ปี ส่งมอบ พลังงานไฟฟ้าทั้งหมดให้แก่ สายงานระบบส่ง (รวส.) กฟผ. จ�ำนวนพนักงาน 2,738 คน จากสถานการณ์ปัจจุบัน การผลิตพลังงานไฟฟ้าในประเทศ มีสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงที่ ไม่สมดุล ต้องพึง่ พาก๊าซธรรมชาติถงึ 70% ดังนัน้ กฟผ. จึงต้องสร้างการยอมรับโรงไฟฟ้า ถ่านหินจากสังคม เพื่อลดความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศ อันเป็นความท้าทายหนึ่ง ของ กฟผ. รฟม. จึงก�ำหนดวิสัยทัศน์ “ก้าวสู่ความเป็นผู้น�ำในการผลิตไฟฟ้าในระดับ สากล และเป็นที่เชื่อมั่นของสังคม ภายในปี พ.ศ. 2562” โดยมีค่านิยม “FIRMC” F : Fairness I : Integrity R : Responsibility & Accountability M : Mutual Respect to People C : Commitment to Continuous Improvement and Teamwork 6 | Thailand Quality Class 2015


ลักษณะของวัฒนธรรม จุดประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ สมรรถนะหลัก เจตจ� ำ นง

รฟม. ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น มา เพื่ อ ผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า ต้ น ทุ น ต�่ ำ จากเชื้ อ เพลิ ง ถ่ า นหิ น ลิ ก ไนต์ ภายในประเทศ ทดแทนและลดการน� ำ เข้ า เชื้ อ เพลิ ง จากต่ า งประเทศ สร้ า งความ มั่ น คงให้ ร ะบบผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศ โดยถู ก ก� ำ หนดให้ ผ ลิ ต จ่ า ยไฟฟ้ า อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง (Base Load)

วิ สั ย ทั ศ น์

“เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ชั้ น น� ำ ในระดั บ สากล และเป็ น ที่ เ ชื่ อ มั่ น ของสั ง คม”

พั น ธกิ จ

“ผลิ ต ไฟฟ้ า อย่ า งมี คุ ณ ภาพ มั่ น คง ต้ น ทุ น ที่ เ หมาะสม ใส่ ใ จสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น กั ล ยาณมิ ต รกั บ ชุ ม ชน และผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านมี ค วามสุ ข ในการท� ำ งาน”

ค่ า นิ ย ม

ตั้ ง มั่ น ในความเป็ น ธรรม ยึ ด มั่ น ในคุ ณ ธรรม ส� ำ นึ ก ในความรั บ ผิ ด ชอบและหน้ า ที่ เคารพในคุ ณ ค่ า ของคน มุ ่ ง มั่ น ในการพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและการท� ำ งาน เป็ น ที ม

วั ฒ นธรรม

รั ก องค์ ก าร มุ ่ ง งานเลิ ศ เทิ ด คุ ณ ธรรม

สิ่งส�ำคัญที่มีผลต่อวิธีการด�ำเนินงาน รฟม. ค�ำนึงถึง ความต้องการ ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วน เสียและมุ่งสร้างความสมดุลให้กับทุกกลุ่ม รฟม. มุ่งเน้นการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างจริงจังโดยเฉพาะ ด้านการควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย

ความต้ อ งการ *ความคาดหวัง

ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย

ความต้ อ งการ *ความคาดหวัง

องค์กรแม่ (กฟผ.)

• ผลการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศ • อยู่ร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืน • ความสามารถบริหารแผน ลงทุน • การบริหารค่าใช้จ่ายการ ด�ำเนินงาน • พัฒนาองค์ความรู้และสร้าง นวัตกรรม

ผู้ปฏิบัติงาน

• สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน • คุณภาพชีวิตในการท�ำงาน • ความสัมพันธ์กับเพื่อน • ภารกิจงานที่รับผิดชอบ • องค์กรและระบบบริหาร

ลูกค้า (รวส.)

• ปฏิบัติตามข้อตกลง PPA อย่างเคร่งครัด (*ผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อ เนื่อง ความสัมพันธ์และร่วม มือที่ดี การมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหา สามารถตอบ สนองการปลี่ยนแปลง แรงดันของระบบไฟฟ้าได้)

สังคม/ชุมชน

• การด�ำเนินการไม่เกิดผล กระทบเชิงลบต่อวิถีชีวิต • คุณภาพชีวิตที่ดี • การส่วนร่วมในการแก้ไข ปัญหา

Thailand Quality Class 2015 | 7


กฎหมาย กฎระเบียบ การด� ำ เนิ น งาน

กฎหมาย/กฎระเบี ย บ (หน่ ว ยงานผู ้ ค วบคุ ม )

ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม

• พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

พ.ศ. 2535

• ประกาศกระทรวงค่าปริมาณสารเจือปนจากโรงไฟฟ้า

(กรมควบคุมมลพิษ กรมโรงงานอุตสาหกรรม)

• พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

(กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน)

พ.ศ. 2535

บทบาทที่ส�ำคัญของผู้ส่งมอบ พันธมิตร และคู่ความร่วมมือ ประเภท

องค์ ก รที่ ส� ำ คั ญ

บทบาทที่ ส� ำ คั ญ

เหมืองแม่เมาะ

ส่งมอบเชื้อเพลิงหลัก (ถ่านหิน) และหินปูน

ผู้ผลิตอุปกรณ์หลัก

ส่งมอบอะไหล่ ชิ้นส่วนอุปกรณ์หลักในการผลิต

พันธมิตร

สายงานรองธุรกิจ (รวธ.) กฟผ.

ให้บริการงานซ่อมตามวาระ

คู่ความร่วมมือ

• สวทช. (MTEC) • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ

ให้การสนับสนุนด้านวิชาการ

ผู้ส่งมอบ

เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)

ในการด�ำเนินงาน รฟม. ต้องเผชิญความท้าทายในหลายด้าน ซึ่งต้องพยายามข้ามผ่านไปให้ได้ เพื่อ มุ่งสู่วิสัยทัศน์ พันธกิจที่ต้องการ “ก้าวสู่ความเป็นผู้น�ำในการผลิตไฟฟ้าในระดับสากล และเป็นที่เชื่อมั่น ของสังคม ภายในปี พ.ศ. 2562” ความท้าทายเชิงกลยุทธ์และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่ส�ำคัญ มุ ม มอง

ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ที่ส�ำคัญ (Strategic Challenge: SC)

ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจที่ส�ำคัญ (Strategic Advantage: SA)

ด้านธุรกิจ

MC1 อุปกรณ์โรงไฟฟ้าไม่รองรับ คุณภาพถ่านที่เปลี่ยนไป

MA1 เป็นโรงไฟฟ้าฐานที่มีต้นทุนเชื้อเพลิงต�่ำสุด ของประเทศ

ด้านการปฏิบัติการ

MC5 ความสูญเสียนอกแผน ค่อนข้างสูง MC6 ระบบบริหารงาน รฟม. ยังไม่สามารถสร้างความยั่งยืน ให้องค์กร

MA2 มีหน่วยงานรองรับการซ่อมบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์การ ผลิต ทั้งในขณะเดินเครื่องและตามวาระได้ด้วยตนเอง

ด้านรับผิดชอบต่อ สังคมในวงกว้าง

MC2 ชุมชนกังวลต่อการด�ำเนิน กิจกรรมการผลิตไฟฟ้า

MA3 มีระบบบริหาร CSR-DIW สร้างความเชื่อมั่นให้ ชุมชนอย่างต่อเนื่อง

ด้านทรัพยากร บุคคล

MC3 พฤติกรรมผู้ปฏิบัติงานไม่ สอดคล้องกับ ค่านิยม จรรยาบรรณองค์กร MC4 ผู้ปฏิบัติงานขาดจิตส�ำนึกเรื่อง ความปลอดภัย MC7 มีการสูญเสียอัตราก�ำลังและ ขีดความสามารถ MC8 การสื่อสารและสร้างความ ผูกพันยังไม่ทั่วถึง

MA4 ผู้ปฏิบัติงานมีประสบการณ์ ทักษะ ความสามารถด้าน เดินเครื่องผลิตไฟฟ้าและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าถ่านหิน

8 | Thailand Quality Class 2015


9 โรงไฟฟำแม่เมำะ กับกำรน�ำองค์กร ผู้บริหำรระดับสูง ให้ความส�าคัญต่อการชี้น�าและสร้างความยั่งยืน ผ่าน “ระบบน�าองค์กร” เริ่มจากก�าหนดทิศทางองค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม จัดท�าวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และ แผนปฏิบัติการที่สามารถเอาชนะความท้าทาย ใช้ความ ได้เปรียบ ตอบสนองความต้องการลูกค้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกกลุ่มอย่างสมดุล เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และสอดคล้อง ไปในทิศทางเดียวกัน ได้มีการกระจายตัวชี้วัด และ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ลงไปถึงตัวบุคคล โดยใช้ X-Matrix อีกทั้งในที่ประชุมทุกระดับ ยังมีการติดตามผลการด�าเนินการ ผ่านระบบ MAE MOH COCKPIT : MMCP หากมีแนวโน้ม ที่เบี่ยงเบน ผู้รับผิดชอบจะวิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อปรับปรุงแก้ไข และน�าผลการทบทวนมาจัดล�าดับความส�าคัญในการปรับปรุง ผลการด�าเนินการและสร้างนวัตกรรม ผ่านการใช้เครื่องมือ พัฒนาคุณภาพต่างๆ จากการด�าเนินการดังกล่าวเป็นผลให้ เกิดโครงการและกิจกรรมพัฒนาที่ ได้รับรางวัลทั้งในระดับชาติ และระดับ กฟผ. จ�านวนมาก ผลงานพัฒนาคุณภาพต่างๆ จัดเก็บใน KM CORNER เพื่อเป็นคลังความรู้


1

วางแผนเชิงกลยุทธ์ รู ป 2.1-1

สร้ างความยั่งยืน -จัดการนวัตกรรม (รู ป 6.2-3) -ปรั บปรุ งกระบวนการ (รู ป 6.1.4)

5

ตัง้ มั่นใน ความเป็ นธรรม

ทางานเป็ นทีม

6

มุ่งมั่นในการ พัฒนาอย่ าง ต่ อเนื่อง

-สื่อสาร สร้ างความผูกพัน - จูงใจให้ รางวัล

ความต้ องการ ความคาดหวัง ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย

ลูกค้ า บุคลากร ผู้ส่งมอบ พันธมิตร ชุมชน กฟผ. ปั จจัยภายใน ภายนอก

ยึดมั่นในคุณธรรม 3

สานึกในความ รับผิดชอบและ หน้ าที่

เคารพในคุณค่ าของคน

2

มอบหมาย “ตัวชีว้ ัด/ เป้าหมาย” และติดตาม

ทาให้ ปฏิบัติ จริงจังและเรี ยนรู้

4

ส่ งเสริมปฏิบัตติ าม กฏหมาย/จริยธรรม/ ค่ านิยม

ผู้บริหารสูงสุด สื่อสารทิศทางขององค์กรและการตัดสินใจที่ส�าคัญแบบสองทิศทาง โดยเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยน เสนอข้อคิดเห็น และสอบถาม กระตุ้นให้มีผลการด�าเนินการที่ดี โดยก�าหนดให้มีข้อตกลงประเมินผลการ ปฏิบัติงานรายบุคคล และส่งเสริมด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น คัดเลือกกิจกรรมพัฒนาคุณภาพงานทุกเดือน จัดประกวดหน่วยงานระดับกองดีเด่น และมอบเกียรติบัตรยกย่องชมเชยในที่ประชุมระดับผู้บริหาร การก�ากับดูแลองค์กร รฟม. มุ่งมั่นสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมชุมชน โดย ปฏิบัติตามระบบการก�ากับดูแลของ กฟผ. ซึ่งใช้หลักการ ก�ากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ประกอบด้ ว ยหลั ก นิ ติ ธ รรม หลั ก คุ ณ ธรรม หลั ก ความ โปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และ หลักความคุ้มค่า โดยมีพื้นฐานอยู่บนความมีคุณธรรม จริยธรรม และความโปร่งใส ค่าเฉลี่ยรายปของกาซซัลเฟอร์ไดออกไซด์

มีจิตส�านึกในความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนผู้มีส่วนได้เสียได้รับประโยชน์ ที่เหมาะสม และมีการตรวจสอบจากหน่วยงานอิสระภายในโดย ส�านักตรวจสอบภายใน (สนตน.) และ ภายนอกโดยส�านักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) และสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) 10 | Thailand Quality Class 2015


ความมุ่งมั่นต่อการปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม พลังงานไฟฟ้า เป็นผลิตภัณฑ์ของ รฟม. ซึ่งไม่มีผลกระทบในเชิงลบต่อสังคม แต่การด�ำเนินงานบาง ประเด็นอาจสร้างความกังวลต่อสาธารณะ เช่น การจัดการสิ่งแวดล้อม รฟม. ก�ำหนดนโยบายและมุ่งมั่น ที่จะปฏิบัติให้ดีกว่าเกณฑ์ที่กฏหมายก�ำหนดในทุกๆ ด้าน มีการก�ำหนดช่องทางการรับฟังความกังวลของ สาธารณะ ผ่านเว็บไซต์ และติดตามทุกเดือน จัดตั้งไตรภาคี ระหว่างส่วนราชการ ชุมชน กฟผ.แม่เมาะ โดยน�ำความกังวลของชุมชนมาเตรียมการเชิงรุก ผ่านขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ รฟม. ส่งเสริมจริยธรรม โดยใช้จรรยาบรรณ กฟผ. และค่านิยม FIRM C เป็นตัวก�ำหนดพฤติกรรมที่เหมาะสม การคัดเลือกบุคคล FIRM C และการเดินรณรงค์วันแห่งความซื่อตรงทุกปี ความรับผิดชอบต่อสังคมในวงกว้าง และการสนับสนุนชุมชนที่ส�ำคัญ รฟม. ให้ความส�ำคัญกับความผาสุกและผลประโยชน์ของสังคมในวงกว้าง โดยจัดท�ำแผนปฏิบัติการ แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และน�ำเกณฑ์รางวัล CSR-DIW มาประยุกต์ใช้ รวมถึงให้การสนับสนุนและมีส่วน ร่วมสร้างความสมบูรณ์ให้กับระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในวงกว้างอย่างต่อเนื่อง เริ่มจาก การพบปะผู้น�ำชุมชน และค้นหา “ความต้องการและความคาดหวัง” ของชุมชน น�ำมาก�ำหนดวัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ด้านชุมชน ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และจัดสรรงบประมาณด�ำเนินการ แผนงาน โครงการ กิจกรรม เพื่อความเข้มแข็งของชุมชน ก�ำหนดนโยบายจิตอาสา 1 ฝ่าย 1 ต�ำบล ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์การด�ำเนินการซึ่ง รฟม.ให้ความส�ำคัญ ได้แก่ ระดับภาพลักษณ์ ระดับสถานการณ์ สื่อสาร ระดับสัมพันธภาพ ระดับการยอมรับของชุมชน มีแนวโน้มดีขึ้น รฟม. ได้รับรางวัล CSR-DIW จากกรมโรงงานในปี พ.ศ.2552 รางวัล CSR-DIW Continuous Awards อย่างต่อเนื่อง 3 ปีติดต่อกัน และในปี 2556 ได้รับรางวัล CSR-DIW Advance ระดับ 4 ร่วมเป็นเครือข่าย สร้างวัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture)

Thailand Quality Class 2015 | 11


12 กำรจัดท�ำกลยุทธ์ และกำรน�ำไปปฏิบัติ กระบวนการจั ดท� า กลยุ ทธ์ มี ผู ้ เกี่ ย วข้ อ งที่ ส�า คั ญ ได้ แ ก่ คณะกรรมการบริ หารผู ้ ช ่ วยผู ้ ว่ า การผลิ ตไฟฟ้ า 2 (คบ.ชฟฟ2.) คณะท�างานยุ ทธศาสตร์ ความเสี่ ย ง ควบคุ มภายในและ ประเมินผลผู ้ ช ่ วยผู ้ ว่ า การผลิ ตไฟฟ้ า 2 (คยส-ชฟฟ2.) และหน่วยงานระดั บฝ่ า ย กอง และแผนก ด�าเนิน การตั้ ง แต่ เดื อ นกรกฎาคมถึ ง เดื อ นธั นวาคม โดยก� า หนด กรอบเวลาของการวางแผนเป็ น 2 ระยะ คื อ แผนระยะสั้ น 1 ปี สอดคล้องกับรอบการประเมินผล กฟผ. และสายงาน รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า สอดคล้องกับแผนการผลิตสายงาน ระบบส่ง แผนการซ่อมบ�ารุงโรงไฟฟ้าตามวาระ และแผนการส่งถ่าน ส่วนแผนระยะยาว 5 ปี สอดคล้องกับแผนการท�าเหมือง ของผู้ส่งมอบเหมืองแม่เมาะ แผนวิสาหกิจ กฟผ. ยุทธศาสตร์ สายงานผลิตไฟฟ้า และวงรอบการจัดท�างบลงทุนระยะยาว


1. วิเคราะห์ ข้อมูลนาเข้ าและปั จจัยเสี่ยง

ก.ค. - ส.ค.

2. ทบทวนทิศทางองค์ กร

ส.ค.

3. กาหนด SO เป้าหมาย และผู้รับผิดชอบ

ส.ค.

4. จัดทาแผนปฏิบัตกิ ารรองรับ SO

ก.ย. – ต.ค.

5. พิจารณาแผนรองรับ SO และจัดสรรการใช้ ทรัพยากร

ต.ค.

6. ถ่ ายทอดทิศทาง / ตัวชีว้ ดั / แผนปฏิบัติการรองรับ SO

พ.ย. - ธ.ค.

7. จัดทาแผนปฏิบัตกิ าร / ตัวชีว้ ัด ระดับฝ่ าย กอง และ แผนก แล้ วถ่ ายทอดลงไปตามลาดับ

8. ติดตาม/ วิเคราะห์ / รายงาน ความก้ าวหน้ าแผนและตัววัด

9. ทบทวนผลเทียบกับ SO และแผนปฏิบัติการฯพร้ อมจัดลาดับความสาคัญ

10. จัดทารายงานสรุ ป / ทบทวนกระบวนการ

พ.ย.

รายเดือน

รายไตรมาส

รายไตรมาส / ปี

รฟม.สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม โดยมีนโยบายส่งเสริมนวัตกรรมที่ชัดเจน มีการจัดสรรงบประมาณ และจัดตั้งกลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (วพ-ฟม.) ในปี 2554 เพื่อสนับสนุน การด� ำ เนิ น งาน รวมทั้ ง แต่ ง ตั้ ง คณะท� ำ งานพั ฒ นาองค์ ก รแห่ ง นวั ต กรรมและการเรี ย นรู ้ ชฟฟ2. (คพนร-ชฟฟ2.) เพื่อก�ำกับการด�ำเนินการตามนโยบายและแผนปฏิบัติการรองรับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ “L2 พัฒนาไปสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม” นอกจากนี้ ยังมีการประสานงานกับคู่ความร่วมมือ คือ ส�ำนักงาน พั ฒนาวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีแ ห่ง ชาติ (สวทช.) และสถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) เพื่อขอค�ำปรึกษาและด�ำเนินการงานวิจัยร่วมกับผู้ปฏิบัติงานของ รฟม. โอกาสเชิงกลยุทธ์ที่ส�ำคัญของ รฟม. ปี 2556 คือ การเพิ่มประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าโดยการเปลี่ยน Low Pressure Turbine และ High Pressure Turbine ส่วนในปี 2557 คือ การน�ำระบบพัฒนาบริหารจัดการ โรงไฟฟ้าแบบ Model Plant ตามแนวทางของ Mckinsey เข้าใช้งาน และการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการน�ำ เถ้าลอย เถ้าหนัก และยิปซัมที่เป็น By Product จากการผลิตพลังงานไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ รฟม. มี 4 ระบบงาน ได้แก่ ระบบงานบริหารองค์กร ระบบผลิตและบ�ำรุงรักษา ระบบงานสังคม และชุมชน และระบบงานสนับสนุน คบ.ชฟฟ2. ตัดสินใจเรื่องระบบงาน โดยใช้แนวคิด Supply Chain Management, Value Chain, SIPOC และ COPIS ร้อยเรียงกระบวนการตามล�ำดับ ให้สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ตามวิสัยทัศน์ และพันธกิจ คบ.ชฟฟ2. ตั ด สิ น ใจว่ า หากกระบวนการใดตอบสนองโดยตรงกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ ค่ า นิ ย ม เป็นสมรรถนะหลัก มีขีดความสามารถ ผลการด�ำเนินการดี คุ้มค่าทางต้นทุน และไม่ขัดต่อนโยบาย กฟผ. รฟม.จะด�ำเนินการเอง แต่หากไม่ใช่สมรรถนะหลัก ไม่คุ้มค่า และเป็นสมรรถนะหลักของผู้ส่งมอบ พันธมิตร รฟม.จะ Outsource ให้ผู้ส่งมอบและพันธมิตรที่มีศักยภาพด�ำเนินการกระบวนการนั้นแทน ทั้งนี้การตัดสินใจดังกล่าวจะน�ำไปใช้ประกอบการพิจารณาขีดความสามารถและอัตราก�ำลัง มีคณะท�ำงาน ติดตามและน�ำข้อมูลป้อนกลับมาใช้ในการปรับปรุงทุกปีในช่วงก่อนเริ่มการจัดท�ำระบบงาน

Thailand Quality Class 2015 | 13


ระบบงานผลิตพลังงานไฟฟา โรงไฟฟาแม่เมาะ

Financial & Stakeholders

แผนทีก่ ลยุทธ์ ผูช้ ่วยผูว้ ่าการผลิตไฟฟ้า 2 ปี 25582562

วิสัยทัศน์ : “เป็นผู้ผลิตไฟฟ้า ชั้นนาในระดับสากล และ เป็นที่เชื่อมั่นของสังคม” พันธกิจ : “ผลิตไฟฟ้าอย่างมีคุณภาพ มั่นคง ต้นทุนที่เหมาะสม ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม เป็นกัลยาณมิตรกับชุมชน และผู้ปฏิบัติงานมีความสุขในการทางาน” S1 ผลิตไฟฟ้าอย่างมีคุณภาพ มั่นคง ต้นทุนที่เหมาะสม

S3 ผู้ปฏิบัติงานมีความ พึงพอใจและ ความผูกพัน

S2 ชุมชนให้การยอมรับ

T1 ด้านการดาเนินงาน

T2 ด้านชุมชน

Internal Process

“ความเป็นเลิศด้านการการดาเนินงาน” P1. เพิ่มความพร้อมจ่ายและ เพิ่มประสิทธิภาพ C P5. เพิ่มศักยภาพพัฒนาธุรกิจใหม่

“การยอมรับจากชุมชน”

P2. ปรับปรุง รฟม. ให้ใช้ถ่านที่มีค่า CaO สูงได้ C

P3. สื่อสารเชิงรุกและสร้างการ ยอมรับจากชุมชนและสังคม C

P4. เพิ่มศักยภาพระบบบริหารงาน C

Learning & Growth

T3 ด้านบุคลากร “ผู้ปฏิบัติงาน เป็นคนดี คนเก่ง มีความผูกพัน” L1. เสริมสร้างจริยธรรม ค่านิยม และการกากับดูแลกิจการที่ดี C

L2 พัฒนาไปสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม

C

L3 จัดการทรัพยากรบุคคล

C

ส� า หรั บ การจั ด ท� า แผนปฏิ บั ติ ก ารและการถ่ า ยทอดสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบแต่ ล ะวั ต ถุ ป ระสงค์ เชิงกลยุทธ์ที่ คบ.ชฟฟ2. มอบหมาย จัดท�าแผนปฏิบัติการรองรับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ โดยเริ่มจากระบุ ประเด็นปัญหาที่ส�าคัญ และส่งผลกระทบกับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ หรือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง จากนั้น ค้นหาสาเหตุ แล้วก�าหนดวัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการรองรับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ก�าหนดตัวชี้วัด แผนปฏิบัติการ ระบุกิจกรรมที่ต้องด�าเนินการ แล้วมอบหมายให้หน่วยงานตามความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง จัดท�าแผนปฏิบัติการของหน่วยงานรองรับ ส่วนการน�าแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ รฟม.ถ่ายทอดแผนปฏิบัติ การรองรับกลยุทธ์สู่การปฏิบัติตาม Balanced Scorecard และถ่ายทอดตัวชี้วัดลงไปตามล�าดับชั้น ระดับฝ่าย กอง แผนก จนถึงบุคคล มีการติดตามประเมินผลตามระบบการวัดผลด�าเนินการ และระบบ การจัดการผลการปฏิบัติงาน 14 | Thailand Quality Class 2015


15 กำรมุ่งเน้นลูกค้ำ รฟม. ได้จัดตั้งคณะท�างานลูกค้าสัมพันธ์ (คลส-ฟม.) เพื่อ ด�าเนินงานต่างๆ เกี่ยวกับลูกค้า (สายงานระบบส่ง (รวส. กฟผ.) รับฟังเสียงของลูกค้าโดยใช้กระบวนการรับฟัง ดังรูป

ส�าหรับช่องทางการรับฟัง การปฏิสัมพันธ์ และการสังเกต มีหลากหลายช่องทาง มีพนักงานประจ�าศูนย์อ�านวยการ เดินเครื่องซึ่งท�างานเป็นกะตลอด 24 ชั่วโมง เปดรับฟังเสียง จากลูกค้าตลอดเวลา ผ่านทางโทรศัพท์สายตรง โทรศัพท์ โทรสาร E mail และ Web Site ส่วน คลส-ฟม. มีการเข้าเยี่ยมเยียนลูกค้า การประชุมร่วมกัน การประเมินความ พึงพอใจ ความผูกพัน และความไม่พึงพอใจ โดยใช้แบบประเมิน ท�าให้ได้รับสารสนเทศที่ รฟม. สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ การสนับสนุนลูกค้า และด้านการท�า ธุรกรรม เพื่อตอบสนองให้เหนือกว่าความคาดหวังของลูกค้า


การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของลูกค้า รฟม.ใช้แบบสอบถามในการประเมินความพึงพอใจ และความผูกพันตลอดจนความไม่พึงพอใจ ของ รวส. แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการด�ำเนินงานของสายงาน รวฟ. ในด้านต่างๆ 4 ด้านเปรียบเทียบกับคู่เทียบ คือ 1) ด้านคุณภาพไฟฟ้าและข้อตกลงการซื้อขายไฟฟ้า 2) ด้านการติดต่อสื่อสาร 3) ด้านบุคลากร และ 4) ด้านภาพลักษณ์ของโรงไฟฟ้า ส่วนที่ 3 ความไม่พึงพอใจต่อการด�ำเนินงานของสายงาน รวฟ.ในด้าน ต่างๆ 4 ด้าน และค�ำถามปลายเปิดด้านอื่นๆ ส่วนที่ 4 ความผูกพันต่อการด�ำเนินงานของสายงาน รวฟ. ซึ่งได้ปรับปรุงจากปี 2557 โดยแยกส่วนที่ 2 ความพึงพอใจไม่พึงพอใจ เป็น 2 ส่วน เพื่อวัดความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจแยกจากกัน วิธีการดังกล่าวท�ำให้ รฟม. ได้สารสนเทศด้านความพึงพอใจ ความผูกพัน และความไม่พึงพอใจ ที่สามารถน�ำไปใช้เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ท�ำให้เหนือกว่าความคาดหวังและน�ำไปสร้าง ความผูกพันกับลูกค้าได้ ผลิตภัณฑ์และการสนับสนุนลูกค้า รฟม. ก�ำหนดความต้องการด้านผลิตภัณฑ์และบริการของ รวส. ตามข้อตกลง โดยลักษณะของ ผลิตภัณฑ์และการส่งมอบของ รฟม. เป็นคุณลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมไฟฟ้า มี รวส. เป็นผู้รับซื้อ พลังงานไฟฟ้าทั้งหมดรายเดียว ดังนั้น ข้อตกลง จึงเป็นข้อก�ำหนดของผลิตภัณฑ์และบริการของการจ่าย พลังงานไฟฟ้าของทุกโรงไฟฟ้าในระบบของ รวส. ข้อตกลงสามารถทบทวนและปรับปรุงได้ตามเงื่อนไข ที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา พลังงานไฟฟ้าไม่สามารถดัดแปลงรูปแบบผลิตภัณฑ์ได้ แต่สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงข้อก�ำหนด ของผลิตภัณฑ์ตามที่ระบุไว้ในข้อตกลง เพื่อตอบสนองความต้องการและท�ำให้เหนือกว่าความคาดหวัง ของลูกค้า (รวส.) ตัวอย่าง เช่น ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงความถี่ ในระบบส่งก�ำลังไฟฟ้าได้อย่าง ทันท่วงที ท�ำให้ลูกค้ามีความมั่นใจในระบบควบคุมของ รฟม. นอกจากนี้ รฟม. ยังได้พัฒนาปรับปรุง การตอบสนองการควบคุมด้านแรงดันไฟฟ้าระบบ KV Control ให้ลูกค้าสามารถควบคุมการปรับแรงดัน ในระบบก�ำลังไฟฟ้าได้ด้วยรีโมทจากศูนย์ควบคุมระบบส่วนกลาง ความสามารถดังกล่าว จะช่วยเสริม เสถียรภาพความมั่นคงในระบบส่งก�ำลังไฟฟ้าเขตภาคเหนือและแรงดันในระบบควบคุมของ กฟผ. รฟม.เปิดช่องทางให้ รวส. สืบค้นหาข้อมูลสารสนเทศของ รฟม. ได้ทางเว็บไซต์ www.maemoh. egat.co.th และการสนับสนุนผ่านกลไกการสื่อสารที่ส�ำคัญ เช่น โทรศัพท์ Party Line โทรสาร เว็บไซต์ และการประชุมร่วม รฟม. ท�ำธุรกรรมตามข้อตกลงกับ รวส. ได้ตลอดเวลาโดยใช้เว็บไซต์ so.egat.co.th เช่น การออกเอกสาร Daily Declaration & Confirmation Statement และเอกสารโต้ตอบอื่นๆ ซึ่ง รฟม. ก�ำหนดให้เจ้าหน้าที่ประจ�ำศูนย์อ�ำนวยการเดินเครื่องโรงไฟฟ้า หน่วยที่ 4-13 ท�ำหน้าที่ติดต่อประสานงาน และให้ข้อมูลป้อนกลับได้โดยตรงต่อเจ้าหน้าที่ของศูนย์ควบคุมก�ำลังไฟฟ้าแห่งชาติ ท�ำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องทันท่วงที หากการติดต่อทางเว็บไซต์ ขัดข้อง รฟม.จะเปลี่ยนมาใช้โทรสารเป็นระบบส�ำรอง

16 | Thailand Quality Class 2015


วิเครำะห์ข้อมูลของ ลูกค้ ำ ทบทวนและปรับปรุง วิธีกำร

จัดทำแผนกำร ดำเนินกำรประจำปี

ติดตำมประเมินผล แผนกำรดำเนินกำร

สื่อสำรผู้เกี่ยวข้ องเข้ ำ ร่วมกิจกรรม ปฏิบตั ิตำมแผน เสริมสร้ ำงควำมสัมพันธ์

วิธีการสร้างและจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า รฟม. มีกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า 6 ขั้นตอน ตามรูป โดยวิเคราะห์ข้อมูลของลูกค้า จากการรับฟัง มาเป็นข้อมูลในการจัดท�ำแผนงานประจ�ำปี เช่น กิจกรรมการประชุมเยี่ยมเยือนปีละ 2 ครั้ง เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์และรับฟังเสียงของลูกค้าแบบการสื่อสารสองทาง ประชุมประสานงาน ประจ�ำเดือนด้านประสิทธิภาพ ร่วมวางแผนการผลิตและบ�ำรุงรักษาระยะสั้น/ระยะยาว ร่วมฝึกซ้อม แผนฉุกเฉิน “การกู้คืนระบบหลังไฟฟ้าดับ (Black Out Restoration)” สร้างความเชื่อมั่น และเตรียม ความพร้อมรับสถานการณ์ การจัดการกับข้อร้องเรียน คลส-ฟม. ก�ำหนดวิธีการจัดการกับข้อร้องเรียนลูกค้าเพื่อให้มั่นใจว่าข้อร้องเรียนสามารถด�ำเนินการ แก้ไขอย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิผล สร้างความผูกพันพึงพอใจและสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า ดังนี้ รับข้อร้องเรียน/ข้อคิดเห็นจากลูกค้าผ่านวิธีการรับฟังเสียงลูกค้า ส�ำหรับปัญหาสามารถแก้ไขได้ทันที จะสั่งการให้แก้ไขปัญหาหรือข้อร้องเรียนเบื้องต้นก่อน เมื่อด�ำเนินการแก้ไขเสร็จจะแจ้งผลให้ลูกค้าทราบ ทันที หากเป็นปัญหาที่ต้องใช้เวลานานในการแก้ไขหรือมีหลายหน่วยงานเกี่ยวข้อง จะเชิญผู้เกี่ยวข้อง ประชุมค้นหาสาเหตุและก�ำหนดแนวทางแก้ไข พร้อมทั้งมอบหมายให้พนักงานประจ�ำศูนย์อ�ำนวยการ เดินเครื่องแจ้งความคืบหน้าในการแก้ไขให้ลูกค้าทราบเป็นระยะ คลส-ฟม. จะรวบรวมข้อร้องเรียน วิเคราะห์ จัดท�ำเป็นสารสนเทศ ซึง่ สามารถน�ำไปใช้งานในด้านต่างๆ ได้ เช่น เป็นข้อมูลน�ำเข้าในการจัดท�ำ แผนกลยุทธ์ เป็นข้อก�ำหนดในการออกแบบหรือปรับปรุงกระบวนการ และทบทวนวิธีการจัดการกับข้อร้อง เรียนทุกปี เช่น ในปี 2557 ได้จัดท�ำโปรแกรมรับข้อร้องเรียน ให้กับผู้ปฏิบัติงานและลูกค้า สามารถด�ำเนิน การป้อนข้อร้องเรียนต่างๆ เข้าระบบ ท�ำให้ได้รับทราบข้อร้องเรียนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ ติดตาม แก้ไข ชี้แจง ซึ่งโปรแกรมข้อร้องเรียน Online บน Webpage ของ รฟม. ช่วยเพิ่มช่องทางการร้องเรียนได้ทัน ต่อเหตุการณ์ เสริมสร้างให้เกิดความพึงพอใจและความผูกพัน Thailand Quality Class 2015 | 17


18 กำรวัด กำรวิเครำะห์ และกำรปรับปรุงผล กำรด�ำเนินกำรขององค์กร การวัดผลการด� า เนิ นการของ รฟม. มี การคั ดเลื อ ก รวบรวม วั ด วิ เคราะห์ และปรั บปรุ งผลการด� า เนิ นการ มีทั้งหมด 8 ขั้ นตอน ดั ง ตาราง โดย รฟม. แบ่ ง ตั วชี้ วั ดเป็ น 2 ระดับ คือ ระดั บองค์ กร และระดั บปฏิ บัติการ ภายใต้ เกณฑ์ การคัดเลื อ กตั วชี้ วั ด ซึ่ ง คบ.ชฟฟ2. เป็ นผู ้ คัดเลื อ กระดั บ องค์กร และฝ่ า ย กอง แผนกเป็ นผู ้ คัดเลื อ กระดั บปฏิ บัติการ จากนั้นเปรี ย บเที ย บและก� า หนดเป้ า หมาย แล้ วกระจาย ตัว ชี้วัดด้ว ย X-Matrix ไปยั ง ฝ่ า ย กอง แผนก และบุ คคล วิธีก ารดัง กล่ า วท� า ให้ ไ ด้ ตัวชี้ วั ดที่ สอดคล้ อ งในแนวทาง เดียวกัน ส� า หรั บเกณฑ์ การคั ดเลื อ ก คบ.ชฟฟ2. จะทบทวน ทุกปี ในระหว่ า งการวางแผนกลยุ ทธ์


การคัดเลือก รวบรวม วัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการด�ำเนินการ กิจกรรม ขั้นตอน P1 P2 ตรวจวัด

P3 D1 D2

วิเคราะห์ และทบทวน

ปรับปรุง

C1 C2 A1

วิธีการ

ผู้รับผิดชอบ

คบ.ชฟฟ2. คยส-ชฟฟ2. คบ.ชฟฟ2. คยส-ชฟฟ2. คัดเลือก/รวบรวม ตัวชี้วัด ฝ่าย กอง แผนก คบ.ชฟฟ2. เปรียบเทียบและก�ำหนด คยส-ชฟฟ2. เป้าหมาย ฝ่าย กอง แผนก กระจายตัวชี้วัด ด้วย X-Matrix คยส-ชฟฟ2. ฝ่าย กอง แผนก คยส-ชฟฟ2. วัด และรายงานผล ฝ่าย กอง แผนก คบ.ชฟฟ2. วิเคราะห์และทบทวนผล คยส-ชฟฟ2. การด�ำเนินงาน ฝ่าย กอง แผนก คบ.ชฟฟ2. จัดล�ำดับความส�ำคัญ คยส-ชฟฟ2. ฝ่าย กอง แผนก คบ.ชฟฟ2. ปรับปรุงและสร้างนวัตกรรม ของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ คยส-ชฟฟ2. ฝ่าย กอง แผนก

เวลา/ความถี่ ระดับองค์กร ระดับปฏิบัติการ

ก�ำหนดหลักเกณฑ์คัดเลือก ตัวชี้วัด

ก.ค. ส.ค.-ก.ย.

-

-

ต.ค.-พ.ย.

ส.ค.-ก.ย.

-

-

ต.ค.-พ.ย. พ.ย.-ธ.ค.

ไตรมาส

ทุกเดือน

ไตรมาส

ทุกเดือน

ไตรมาส

ทุกเดือน

ไตรมาส

ทุกเดือน

ตัวชี้วัดส�ำคัญจะถูกรวบรวมไว้ในระบบ MMCP สามารถเรียกดูได้ทุกที่ทุกเวลาผ่านระบบ Intranet กฟผ. ซึ่งระบบ MMCP ใช้ติดตามการปฏิบัติงานประจ�ำวันของทุกหน่วยงานตลอดจนผลการด�ำเนินการ ขององค์กร ฝ่าย กอง แผนก และ ชฟฟ2. จึงติดตามการด�ำเนินงานในทุกระดับตามเวลา ความถี่ ที่ก�ำหนดไว้ผ่านระบบ MMCP ดังกล่าว เมื่อวิเคราะห์แนวโน้มพบความเบี่ยงเบนเทียบกับเป้าหมาย (GAP) จะรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องน�ำเข้าประชุมทุกเดือน เพื่อพิจารณาทบทวนผลการด�ำเนินการ ที่ประชุม วิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวและจัดล�ำดับความส�ำคัญในการปรับปรุงแก้ไขให้สามารถบรรลุตามเป้าหมาย ที่วางไว้ จากการทบทวนผลการด�ำเนินการ น�ำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการ ตลอดจนเป็นข้อมูลน�ำเข้าในการ วางแผนกลยุทธ์และน�ำเข้าระบบการจัดการนวัตกรรม เพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด อีกทั้งจะ เกิดองค์ความรู้จากหน่วยงานที่มีผลการด�ำเนินการดีเป็น Best Practices ขึ้น น�ำเข้าสู่ระบบการจัดการ องค์ความรู้ เพื่อแบ่งปันโดยใช้ระบบการจัดการความรู้ ท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิธีปฏิบัติ ที่เป็นเลิศถูกน�ำไปขยายผลต่อไป กระบวนการจัดการความรู้ของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เริ่มต้นจาก คพนร-ชฟฟ2 ก�ำหนด Key Organization Knowledge จากกระบวนการส�ำคัญ ที่เป็น Core Competency เพื่อใช้เป็นประเด็นหลักในการสร้างความรู้ โดยใช้เครื่องมือด้านพัฒนาคุณภาพ ต่างๆ ความรู้ที่เกิดขึ้นจะถูกรวบรวมเก็บเข้าไว้ใน KM Corner โดยเจ้าของความรู้ที่ได้รับความเห็นชอบ จากผู้บังคับบัญชาตามล�ำดับชั้น และอนุมัติโดยผู้อ�ำนวยการฝ่าย

Thailand Quality Class 2015 | 19


การถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากร จะใช้การประชุมของหน่วยงาน การประชุมเทคนิค และการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในการสัมมนาของกลุ่มวิชาชีพ (CFT) นอกจากนั้นยังมีการแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้กับลูกค้า ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และคู่ความร่วมมือ เป็นระยะๆ ตลอดทั้งปี ความรู้เหล่านี้จะถูกจัดเก็บไว้ในคลัง ความรู้ KM Corner ทุกครั้ง ในทุกปี กลุ่มวิชาชีพ (CFT) จะคัดเลือกวิธีปฏิบัติที่ท�าให้ผลลัพธ์ของงานดีขึ้น การท�างานมีประสิทธิภาพ มากขึ้น สามารถน�าไปขยายผลได้ และเพิ่มคุณภาพชีวิตการท�างานชัดเจน เป็น Best Practice โดย ชฟฟ2. สั่งการเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง น�า Best Practice ดังกล่าว ไปแบ่งปันและประยุกต์ใช้ใน การท�างาน กระบวนการจัดการความรู้โรงไฟฟาแม่เมาะ

ความรู้ข้างต้นที่ถูกจัดเก็บใน KM Corner พนักงานทุกคนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา ความรู้ทุกเรื่อง จะถูกน�าไปขยายผลสู่การปฏิบัติจริง โดยจัดท�าเป็นคู่มือมาตรฐานการท�างาน ตามกระบวนการออกแบบ จัดการ และปรับปรุงกระบวนการต่อไป จากการทบทวนและปรับปรุงกระบวนการจัดการความรู้ในปี 2557 พบว่าวิธีการเดิมขาดการก�าหนด Key Organization Knowledge และกระบวนการคัดเลือก-การถ่ายทอด Best Practices ไม่ชัดเจน และ เมื่อมีการก�าหนดขั้นตอนดังกล่าวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีความรู้ตรงกับความต้องการของ รฟม. มากยิ่งขึ้น วิธีการเรียนรู้โรงไฟฟาแม่เมาะ

20 | Thailand Quality Class 2015


ข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ ปลอดภัยและสามารถรักษาความลับทางธุรกิจ รฟม. จ�าแนกกลุ่มของสารสนเทศและก�าหนดให้มีผู้รับผิดชอบในแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจน ควบคุมก�ากับ ดูแลให้เป็นไปตามมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ กฟผ. ด้วยการน�าเอา ISO 27001 มา ปรับใช้ จ�าแนกสารสนเทศที่จ�าเป็นไว้ 10 ประเภท และตรวจสอบโดยหน่วยงานเจ้าของระบบงาน เพื่อ ท�าให้มั่นใจว่าระบบมีความพร้อมใช้งานและข้อมูลมีความทันสมัยเสมอ ระบบส่วนใหญ่ถูกปรับปรุงข้อมูล โดยอัตโนมัติจากแหล่งก�าเนิดข้อมูลหรือปรับปรุงตามความถี่ที่ก�าหนด การจัดการข้อมูลสารสนเทศโรงไฟฟาแม่เมาะ

ความเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งานง่ายของ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ในการจัดหามีการก�าหนดมาตรฐานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ มีสัญญาบ�ารุง รักษา 5 ปี ทั้งนี้ ระบบเครือข่ายสารสนเทศ รฟม. อยู่ภายใต้ Firewall ของ กฟผ. และคอมพิวเตอร์ทุก เครื่องจะต้องมีโปรแกรมป้องกัน Virus ที่ปรับปรุงฐานข้อมูล Virus อย่างอัตโนมัติ มีบริการ WSUS เพื่อใช้ Update Patch ป้องกันช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ มีหน่วยงานบ�ารุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ พัฒนาซอฟต์แวร์ ข้อมูลและสารสนเทศของ รฟม. ถูกจัดเก็บใน Server แบบ Virtual Machine (VM) ที่ให้บริการตลอด เวลา โดยมี Administrator ดูแลรับผิดชอบในการให้บริการและปรับปรุงข้อมูล มีการ Off-Site Backup VM ไว้ที่เหมืองแม่เมาะ เพื่อให้มีความพร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลาแม้ในภาวะฉุกเฉิน โดยก�าหนดวิธีการ เตรียมการรองรับภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งการฟนฟูและก�าหนดผู้รับผิดชอบการจัดการภาวะฉุกเฉินที่มีผล กระทบกับข้อมูลและสารสนเทศ ซึ่งหน่วยงานผู้เป็นเจ้าของข้อมูล (Data) เป็นผู้ท�าการประเมินความเสี่ยง ของข้อมูล และซ้อมกู้คืนระบบงานสารสนเทศที่ส�าคัญทุกปี การจัดการฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รฟม.

Thailand Quality Class 2015 | 21


22 กำรมุ่งเน้นบุคลำกร การบริหารขีดความสามารถและอัตราก�าลังบุคลากร รฟม.บริห ารขี ดความสามารถและอั ตราก� า ลั ง เริ่ มจาก 1) น�าข้อมู ลกรอบนโยบาย แผนปฏิ บั ติการรองรั บ วัตถุป ระสงค์ เชิ ง กลยุ ทธ์ ระบบงาน มาจั ดโครงสร้ า ง องค์กร ระบุ ภาระงานที่ มอบหมาย 2) หน่วยงานระดั บฝ่ า ย กอง แผนก ประเมิ นความต้ อ งการ ขีดความสามารถ และวิ เคราะห์ อั ตราก� า ลั งที่ จ�า เป็ น ด้วยวิธี Workload Analysis ต� า แหน่ ง ที่ ต้ อ งการเพิ่ ม จะระบุคุ ณ สมบั ติ ขี ดความสามารถ ทั กษะที่ จ�า เป็ น รวมทั้งการรั บรองมาตรฐาน (Certifications) ตามลักษณะงานพิ เศษตามที่ กฎหมายก� า หนด 3) ส่งให้ค ณะท� า งานจั ดการและพั ฒ นาทรั พยากรบุ คคล (คทบ-ฟม.) รวบรวม จั ดท� า แผนความต้ อ งการ อัตราก� า ลั ง 4) เสนอ คบ.ชฟฟ2. พิ จารณาให้ ความเห็ นชอบ 5) ส่งเรื่องเสนอ คณะกรรมการบริหาร รองผู้ว่าผลิตไฟฟ้า (คบ.รวฟ.) พิจารณาอนุมัติ และส่งไปที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล (อทบ.) เพื่ อ สรรหา 6) ผู้ปฏิบัติงานที่ ขีดความสามารถ ไม่ เป็ นไปตามที่ ต้ อ งการ จะพัฒ นาโดยจั ดท� า เป็ นแผนพั ฒ นาบุ คลากรประจ� า ปี จากการด� า เนิ นการดั ง กล่ า วท� า ให้ รฟม. มี กรอบความ ต้องการขี ดความสามารถและแผนอั ตราก� า ลั ง 10 ปี และแผนพั ฒ นาบุ คลากรประจ� า ปี


การบริหารขีดความสามารถและอัตราก�าลัง

การบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากร เพื่อให้มีผลการด�าเนินการที่ดีและสร้างความผูกพัน รฟม. จัดการผลการปฏิบัติงาน ตามรูป ส่งผลให้ ระดับความผูกพันมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง คทบ-ฟม. ทบทวนการจัดการผลการปฏิบัติงานทุกปี โดย ผลการทบทวนปี 2557 เพิ่มการน�านโยบายการพัฒนาคุณภาพงานเป็นปัจจัยในข้อตกลงการปฏิบัติงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยก�าหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายการท�างานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ QCC, KAIZEN, BAR, AAR เพื่อส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมในองค์การ ท�าให้เกิดประโยชน์และส่งผลต่อการมุ่งเน้น ลูกค้า ธุรกิจ การบรรลุแผน และเพิ่มขั้นตอนที่ 5 ทบทวนปัจจัยเพื่อการประเมินครั้งต่อไป เนื่องจากใน ระหว่างปีผู้ปฏิบัติงานอาจได้รับภารกิจที่เปลี่ยนแปลงจากผู้บังคับบัญชา การจัดการผลการปฏิบัติงานของ รฟม. ขั้ น ตอน

กิ จ กรรม

ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ

ระยะเวลำ

ผู้บังคับบัญชา ร่วมกับ ผู้ใต้บังคับบัญชา

ธ.ค.,มิ.ย. (งวด 6 เดือนแรก และ 6 เดือนหลัง)

ให้ค�าปรึกษาโดยใช้วิธี Coaching จัดอบรม และ/หรือ On The Job Training

ผู้บังคับบัญชา

ตลอดปี

3.1 ประเมินผลการปฏิบัติงานและเชิงพฤติกรรม 3.2 แจ้งผลการประเมินให้ผู้ถูกประเมินทราบ 3.3 จัดเก็บข้อมูลในระบบ PMSP ของ กฟผ.

ผู้บังคับบัญชา

2 ครั้ง (ก.ค.,ม.ค.)

การขึ้นเงินเดือนประจ�าปี การแต่งตั้ง • เลื่อนระดับ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี) • จัดท�าแผนพัฒนาบุคลากรประจ�าปี

ผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชา/ คทบ-ฟม.

พ.ย. ต.ค. ม.ค. ก.พ. เม.ย. ส.ค.

วิธีการและปัจจัยในการประเมิน

ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา

ปีละ 1 ครั้ง

1. ก�าหนดเป้าหมาย 1.1 ก�าหนด“ตัวชี้วัด เป้าหมายรายบุคคล” รายบุคคล แบบมีส่วนร่วม โดยใช้ X-Matrix - ผลการปฏิบัติงาน 70% - ผลการปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม 30%

1.2 จัดท�าข้อตกลงประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล 2. การติดตาม

• •

3. ประเมินผล/ แจ้งผล 4. น�าผลการ ประเมินไปใช้

5. ทบทวน

Thailand Quality Class 2015 | 23


การจัดการความผูกพันและความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน รฟม. ก�าหนดองค์ประกอบความผูกพันและความพึงพอใจ ตามการจัดการความผูกพันฯ โดยร่วมกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปี 2551 ทบทวนปัจจัยโดยรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจาก ก) กรอบแนวคิดสากล เรื่อง Employee Satisfaction and Engagement ข) สัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง ค) ทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จากนั้นน�ามาวิเคราะห์เพื่อก�าหนดองค์ประกอบส�าคัญที่ขับเคลื่อนความ ผูกพัน และตรวจสอบความน่าเชื่อถือทางสถิติ ท�าให้ได้ 9 องค์ประกอบ ซึ่งมีนัยส�าคัญที่มีความสัมพันธ์ ต่อความผูกพันสูง โดยวิธีการก�าหนดองค์ประกอบดังกล่าว ไม่มีความแตกต่างของกลุ่มบุคลากร วิธีการ ข้างต้นทบทวนทุกปี ผลการทบทวนปี 2557 ได้น�าประเด็นข้อเสนอแนะของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานต่างๆ มาประกอบการทบทวนแบบส�ารวจ การจัดการความผูกพันและความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน

การพัฒนาวิธีก�าหนดองค์ประกอบความผูกพันและความพึงพอใจ

จากการจัดการความผูกพันและความพึงพอใจของผูป้ ฏิบตั งิ าน รฟม.น�าข้อมูลผลการส�ารวจความผูกพัน ตัวชี้วัดความผูกพัน และผลลัพธ์ทางธุรกิจที่ส�าคัญเข้าระบบวิเคราะห์ในโปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิติ โดยหาค่าสหสัมพันธ์ (Correlation) แปลผลและสรุปตามกระบวนเชือ่ มโยงผลลัพธ์ทางธุรกิจ เพือ่ ระบุโอกาส ในการปรับปรุงความผูกพันและผลลัพธ์ทางธุรกิจ เช่น กิจกรรมเสริมสร้างความผูกพัน และความพึงพอใจ ในแผนปฏิบัติก ารรองรับ วัตถุป ระสงค์เชิ ง กลยุ ท ธ์ การจั ด การทรั พยากรบุ คคล ก� าหนดให้ ผู้ บ ริ ห าร ระดับ 11 ขึ้นไป พบปะผู้ปฏิบัติงานอย่างไม่เป็นทางการ (ฝ่ายละ 2 ครั้ง/ปี) ชฟฟ2. และผู้น�าระดับสูง สื่อสารผ่านเสียงตามสายทุกสัปดาห์ สื่อสารช่องทางการร้องเรียนของผู้ปฏิบัติงาน ตามแผนเสริมสร้าง ความผูกพันและความพึงพอใจ ส่งผลให้ความสามารถในการผลิตมีแนวโน้มดีขึ้น

24 | Thailand Quality Class 2015


การพัฒนาบุคลากรและผู้น�ำ รฟม. มุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ขีดความสามารถ เพียงพอต่อการยกระดับสู่การเป็นผู้ผลิต ไฟฟ้าชั้นน�ำในระดับสากล โดยจัดระบบการเรียนรู้และการพัฒนา ส�ำหรับผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร เพื่อตอบสนองความต้องการ ด้านการเรียนรู้ และพัฒนา ทั้งเรื่องที่เป็นความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน และความต้องการขององค์กร รฟม. รวบรวมความต้องการเหล่านั้น มาพิจารณาความจ�ำเป็น จัดท�ำแผนฝึกอบรมประจ�ำปี ในการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาเฉพาะระดับบุคคล มีการหมุนเวียนงานเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถ ทั้งในต�ำแหน่งบังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ ส�ำหรับผู้บังคับบัญชา นอกจากแนวทาง ของ รฟม. แล้ว กฟผ. ยังก�ำหนดแนวทางการพัฒนาให้มีความรู้ตามต�ำแหน่งบังคับบัญชา กลุ่มบริหาร กลุ่มปฏิบัติการ ต้องอบรมหลักสูตรเส้นทางตามต�ำแหน่งงานเพื่อเตรียมรับต�ำแหน่งที่สูงขึ้น ตามรู ป ส� ำ หรั บ การถ่ า ยโอนความรู ้ จ ากผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ เ กษี ย ณอายุ ห รื อ ลาออกได้ ด� ำ เนิ น การ โดย คพนร-ชฟฟ2. CFT/หน่วยงาน โดยการสัมภาษณ์ หรือเล่าประสบการณ์ในการท�ำงาน จัดเก็บไว้ใน คลังความรู้ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถน�ำไปใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม ผู้บริหาร

หลักสูตรตามต�ำแหน่ง

การพัฒนาผู้ช่วยผู้ว่าการขึ้นไป การพัฒนาผู้อ�ำนวยการฝ่าย/เทียบเท่า การพัฒนาต่อเนื่องผู้ปฏิบัติงานระดับ 11/ผช. ฝ่าย การพัฒนาผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่าย/เทียบเท่า การพัฒนาผู้ปฏิบัติงานระดับ 11 การพัฒนาต่อเนื่องหัวหน้ากอง/เทียบเท่า การพัฒนาเพื่อประเมินหัวหน้ากอง/เทียบเท่า การพัฒนาต่อเนื่องหัวหน้าแผนก/เทียบเท่า การพัฒนาเพื่อประเมินหัวหน้าแผนก/เทียบเท่า

ESEP EDDP EEP EADP EGRP III ELDP ELCE EMDP EMCE

หลักสูตรเตรียมความพร้อม การพัฒนาต่อเนื่องผู้ปฏิบัติงานระดับ 10 EGRP I การพัฒนาเพื่อประเมินผู้ปฏิบัติงานระดับ 10 ECE II การพัฒนาต่อเนื่องผู้ปฏิบัติงานระดับ 9 EGRP II การพัฒนาเพื่อประเมินผู้ปฏิบัติงานระดับ 9 ESCE การพัฒนาต่อเนื่องผู้ปฏิบัติงานระดับ 8 EGRP I การพัฒนาเพื่อประเมินผู้ปฏิบัติงานระดับ 8 ECE I การพัฒนาต่อเนื่องผู้ปฏิบัติงานอายุไม่เกิน 33 ปี (โดดเด่น) EYDP การพัฒนาต่อเนื่องผู้ปฏิบัติงานอายุไม่เกิน 33 ปี EYEP การพัฒนาเพื่อประเมินผู้ปฏิบัติงานอายุไม่เกิน 33 ปี ECE โครงการปฐมนิเทศต่อเนื่อง 2 ปี EODP

ผู้ปฏิบัติงาน

ฝ่าย กอง แผนก จะใช้ผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน และผลการประเมินสมรรถนะ เทียบกับ แผนการพัฒนาและเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงานรายบุคคลประจ�ำปี ในการประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ของระบบการเรียนรู้และพัฒนา และเป็นตัววัดผลส�ำเร็จของกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร เช่น จ�ำนวนความรู้ที่จัดเก็บในคลังความรู้สะสม จ�ำนวนกิจกรรมพัฒนางานสะสมเพิ่มขึ้น

Thailand Quality Class 2015 | 25


26

กำรมุ่งเน้น กำรปฏิบัติกำร การออกแบบกระบวนการผลิ ต รฟม. ร่ วมกั บฝ่ า ย วิศ วกรรม กฟผ.จะใช้ ประสบการณ์ ใ นการสร้ า งโรงไฟฟ้ า ที่ ผ่านมา และเทคโนโลยี ใ หม่ จากผู ้ ผลิ ตที่ มีอ ยู ่ ใ นตลาด มา ประกอบในการออกแบบ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผลิ ตภั ณ ฑ์ ตรงตามความ ต้องการของลู กค้ า มาก� า หนดเป็ น Characteristic ในการ ควบคุมการเดิ นเครื่ อ งผลิ ต ท� า ให้ มั่นใจว่ า คุ ณ ภาพทาง ไฟฟ้าทั้งความถี่ แ ละแรงดั น สามารถตอบสนองความ ต้องการของ รวส. ได้ ทันท่ วงที เสริ มเสถี ย รภาพความ มั่นคงในระบบส่ ง ในเขตภาคเหนื อ ตอบสนองผู ้ เกี่ ย วข้ อ งได้ อย่างมีป ระสิ ทธิ ผลและประสิ ทธิ ภาพ โดยก� า หนดเป็ นข้ อ ก�าหนดของกระบวนการที่ ส�า คั ญ ให้ น�า ข้ อ ก� า หนดของ ผลิตภัณฑ์ วิ เคราะห์ ร่ วมกั บข้ อ มู ลที่ รวบรวมจากแหล่ ง ต่างๆ จัด ท� า ข้ อ ก� า หนดที่ส�า คั ญ ให้ สอดคล้ อ งกั บข้ อ ก� า หนด ของผลิตภั ณ ฑ์ ตรงตามความต้ อ งการและความคาดหวั ง ของลูก ค้า และผู ้ มีส่ วนได้ ส่ วนเสี ย


การออกแบบ จัดการ และปรับปรุงกระบวนการท�างาน

ส่วนการก�าหนดข้อก�าหนดของพลังงานไฟฟ้า ด�าเนินการโดยใช้แผนพัฒนาพลังงานไฟฟ้าระดับประเทศ (PDP) เป็นข้อมูลน�าเข้า ซึ่งข้อก�าหนดที่ส�าคัญของกระบวนการ คือ สามารถเดินเครื่องอย่างต่อเนื่อง มั่นคง ควบคุมต้นทุนค่าบ�ารุงรักษา และลดเวลาการซ่อมบ�ารุงรักษาตามวาระ Minor Inspection/Major Overhaul : MI/MO รฟม. ปรับปรุงและลดความแปรปรวนของกระบวนการ ดังรูป หากพบความเบี่ยงเบน จะก�าหนดผู้รับ ผิดชอบหรือกลุ่มแบบ Cross Functional Team ท�าการวิเคราะห์สาเหตุโดยใช้เครื่องมือ Root Cause Analysis แผนภูมิก้างปลา Why-Why Analysis จากนั้นก�าหนดมาตรการแก้ไข ป้องกันการเกิดซ�้า ผลการปรับปรุงกระบวนการที่เป็น Best Practices จะถูกน�าไปถ่ายทอดในกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ลปรร.) และรวบรวมเข้าคลังความรู้ การประชุมระดับฝ่ายประจ�าเดือน จะมีการน�าเสนอผลงาน การปรับปรุงของหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดการขยายผลการปรับปรุง และถูกรวบรวมจัดเก็บในคลังความรู้ เว็บไซต์ KM Corner รฟม. ควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการ โดย “การออกแบบขั้นตอน ในกระบวนการ” ก�าหนดให้ทุกกระบวนการค�านึงถึงต้นทุนในการออกแบบที่มุ่งเน้นต้นทุนที่แข่งขันได้” โดย กฟผ. ก�าหนดให้จัดท�างบประมาณท�าการภายใต้กรอบ CPI-X (Consumer Price Index-X) เพื่อ ควบคุมโครงสร้างค่าไฟฟ้าเริ่มตั้งแต่การออกแบบทุกกระบวนการ โดยพิจารณาต้นทุนเป็นปัจจัยส�าคัญใน ออกแบบ รฟม. ใช้ระบบการบริห ารจัดการแบบบู ร ณาการ (Integrated Management System: IMS) เป็นเครื่องมือในการลดต้นทุนด้านการตรวจสอบ การทดสอบ และการตรวจประเมินกระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการท�างาน

Thailand Quality Class 2015 | 27


การเตรียมพร้อมด้านความปลอดภัย และการเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน รฟม. ด�ำเนินการตามระบบ มอก.18001 /OHSAS มีการก�ำหนดนโยบายด้านความปลอดภัยทุกปี นอกจากนี้ ได้จัดท�ำโครงการเพื่อ ป้องกันอุบัติเหตุและลดความสูญเสีย เช่น โครงการถนนสีขาว โครงการรณรงค์ความปลอดภัยงานซ่อม MI/MO การตรวจสอบความปลอดภัยก่อนท�ำงาน (Completely Check Completely Find out : CCCF) ส่งผลให้การด�ำเนินงาน ดัชนีการประสบอันตรายมีค่าลดลง และส่งผลให้ รฟม.ได้รับรางวัลสถานประกอบ การดีเด่นระดับประเทศอย่างต่อเนื่อง และประยุกต์ใช้ ISO 22301(BCM) ในปี 2558 ในการบริหารจัดการ ท�ำให้ธุรกิจด�ำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง มีแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน กรณีเกิดไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้าง เรียกว่าเหตุการณ์ Black Out เมื่อ รฟม. ถูกตัดขาดออกจากระบบส่งไฟฟ้า ท�ำให้ไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้งาน ตามปกติ ระบบจ่ายไฟฟ้าส�ำรองจากแบตเตอรี่และเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน จะท�ำการจ่ายกระแสไฟฟ้า ไปยังอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นต้องใช้งาน เพื่อป้องกันความเสียหายจากอุปกรณ์โรงไฟฟ้า รวมทั้งระบบแสงสว่าง ในจุดที่จ�ำเป็น จากนั้นเริ่มปฏิบัติตามแผนกู้คืนระบบของ กฟผ. ต่อไป การจัดการนวัตกรรม

กระบวนการจัดการนวัตกรรม รฟม. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมอย่างเป็นรูปธรรม มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมที่ตอบสนองต่อทิศทาง ของโอกาสเชิงกลยุทธ์ ค�ำนึงถึงความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นส�ำคัญ รวมถึง การสร้างบรรยากาศให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในองค์กร โดยมุ่งเน้นให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับมีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นและเสนอแนวทางการแก้ปญั หาการท�ำงานด้วยงานวิจยั และพัฒนา งานสิง่ ประดิษฐ์ รวมถึ ง งานคุ ณ ภาพอื่ น ๆ ด้ ว ยกระบวนการส่ ง เสริ ม งานวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ ต่ อ ยอดสู ่ ง านนวั ต กรรม ตามทิศทางความต้องการในแต่ละฝ่าย อีกทั้งยังได้สร้างคู่ความร่วมมือด้านเทคโนโลยีทั้งภาคเอกชนและ รัฐบาล เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในทีมสร้างนวัตกรรมซึ่งมีบทบาทต่อการยกระดับเทคโนโลยีของ รฟม. ให้สูงขึ้นเป็นหน่วยงานชั้นน�ำด้านนวัตกรรมการผลิตไฟฟ้าในระดับนานาชาติ

28 | Thailand Quality Class 2015


29 ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณ ฑ์และกระบวนการที่ สนองความ ต้ อ งการและความคาดหวังของลู กค้ า คื อ ความพร้ อ มจ่ า ย เทียบเท่า (EAF) อัตราความสู ญ เสี ย นอกแผนเที ย บเท่ า (EUOF) พลังงานไฟฟ้าที่ผลิ ตได้ (NAG) ความสามารถ ในการผลิต (NCF) ค่าความร้อนในการผลิ ตพลั ง งานไฟฟ้ า (GHR) อัตราการ on Governor Free (GF) อั ตราการ on Automatic Generation Control (AGC) และ ต้ นทุ นการ ผลิตต่อหน่วย ซึ่งหากพิจารณาจาก รฟม. ที่ เป็ นโรงไฟฟ้ า ฐาน ค่าเชื้อเพลิงราคาถูก รฟม. ยั งสามารถด� า เนิ นการให้ ค่ า EAF, EUOF และ NCF ดีก ว่ า เป้ า หมายและคู ่ เที ย บระดั บ สากล NERC และ Top Decile ส่ วนพลั งงานไฟฟ้ า ที่ ผลิ ต ได้ (NAG) เพิ่ม ขึ้นอย่างต่อเนื่ อ ง โดยสู งกว่ า รฟก. และ BLCP ตามรู ป

พลังงานไฟฟ้าที่ผลิ ตได้ (NAG)


จากกระบวนการผลิตที่ต้องควบคุมการผลิตให้เป็นไปตามแผน และต้องก�ากับดูแลการปล่อยมลสาร ที่ปล่องให้ดีกว่ากฎหมาย และดีกว่าเป้าหมายของ รฟม. ที่เข้มงวดกว่า คือ ค่าความเข้มข้นของ NOx ค่าความเข้มข้นของ SO2 และปริมาณฝุ่นละอองรวม นอกจากนี้ยังควบคุมค่าประสิทธิภาพการก�าจัด ก๊าซซัลเฟอร์ออกไซด์ได้ดีกว่าค่าออกแบบ และดีกว่าค่าเป้าหมายที่เข้มงวดกว่าได้อย่างสม�่าเสมอ ค่าความเข้มข้นของ NOx ที่ปล่อง

ค่าความเข้มข้นของ SO2 ที่ปล่อง

ปริมาณฝุนละอองรวมที่ปล่อง

ประสิทธิภาพการก�าจัดกาซซัลเฟอร์ออกไซด์

GWh) 25,000

SPP nonFirm

ในด้านของน�้าGWh) ทิ้งที่ออกสู่ล�ารางสาธารณะ ก็สามารถควบคุมได้ดีกว่SPPาทีnonFirm ่กฎหมายก�าหนดอย่างต่อเนื่อง Firm 25,000 คือ ค่20,000 า BOD, TDS, COD และ ค่า pH นอกจากนี้เน้นเรื่องการสร้างสิ่งแวดล้ อมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น Pump Firm การปลู20,000 กป่า สร้างฝาย การปรับปรุงอุปกรณ์การผลิตไฟฟ้าเพื่อลดปริมSPP าณการใช้ ถ่านหิน ส่งผลให้ CO2 Pump 15,000 Emission ลดลง ทั้งนี้ รฟม. ได้รับการรับรองตามระบบการบริหารจัดการ ISO9001 ISO14001 มอก.18001 OHSAS ตั ้งแต่ปี 2542 พร้อมทั้งได้รับเกียรติบัตร CSR-DIW จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็นโรงไฟฟ้า 15,000 10,000 แรกของประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน และอยู่ระหว่างการรับรองโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ระดั บ 4 วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) จากส�านักปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 10,000 5,000 รฟม. 5,000กระตุ้นเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ผ่านกระบวนการจัดซื้อและจัดจ้างแรงงานท้องถิ่น ปีละไม่น้อ0ยกว่าพันล้านบาท ตลอดจนสนับสนุนการศึกษาวัฒนธรรมผ่านสมาคมพัฒนาแม่เมาะ โดยการ บริจาคปีล0ะ 30 ล้านบาท แม้ว่าบุคลากรที่ต้องการต�่ากว่ากรอบอัตราก�าลัง รฟม. สามารถรักษาค่าพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ ต่อคน ได้ดีกว่าเป้าหมาย และไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานตามเป้าหมาย (DI = 0) อัตราการตรวจวัด ด้านสุขศาสตร์ท�าได้ 100 % ตั้งแต่ปี 2553 และมีอัตราผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับการตรวจสุขภาพดีกว่า เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังส่งเสริมกิจกรรมพัฒนางานและการจัดการความรู้ จนมีความรู้ ในคลังมากกว่า 5,000 เรื่อง ส่งผลต่อความผูกพันที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2552 30 | Thailand Quality Class 2015


ส�าหรับด้านส่วนแบ่งตลาด รฟม. ถือเป็นแหล่งผลิตหลักของภาคเหนือ โดยพลังงานไฟฟ้าจาก รฟม. แต่ละปี เกินกว่าความต้องการใช้ในภาคเหนือ และสามารถส่งเข้าระบบจ่ายไฟฟ้าภาคกลางและภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือได้ ถือเป็นการลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าในภาพรวมของ กฟผ. ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟาในภาคเหนือ GWh) 25,000

SPP nonFirm SPP Firm

20,000

Pump

15,000

10,000

5,000

0

รางวัลระดับชาติที่ ได้รับปี 2558 ASEAN Coal Awards 2015 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2558 รับรางวัลชนะเลิศในงาน 2015 ASEAN Energy Awarding Ceremony ของที่ประชุมรัฐมนตรีพลังงาน อาเซียนครั้งที่ 33 (ASEAN Energy Business Forum – AEBF 2015) 1. รางวัลชนะเลิศ ด้านโรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด หรือ Best Practice of Clean Coal Use and Technology in Power Generation ในหัวข้อ “โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินสะอาด โรงไฟฟ้าแม่เมาะหน่วยที่ 12 (Eco-Efficient Electricity of the Mae Moh lignite-Fired Power Generating Unit 12” 2. รางวัลชนะเลิศ (ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ Corporate Social Responsibility ในหัวข้อ “โรงไฟฟ้าแม่เมาะกับความเป็นกัลยาณมิตรสู่ชุมชน (Mae Moh Power Plant’s CSR : The Best Neighborhood of Mae Moh Community)” 43rd International Exhibition of Inventions of Geneva 2015 ณ Palexpo กรุงเจนีวา ประเทศสมาพันธรัฐสวิส เมื่อวันที่ 15 -19 เมษายน 2558 รางวัล Bronze medal ในหัวข้อ “อุปกรณ์ปรับสายพานไม่ให้เอียง (Slide) หรือเท แบบอัตโนมัติ : Auto Belt Alignment” ในงาน “43rd International Exhibition of Inventions of Geneva” ซึ่งจัดขึ้น ณ Palexpo กรุงเจนีวา ประเทศสมาพันธรัฐสวิส โดยการสนับสนุนของรัฐบาลสวิส และองค์กรทรัพย์สิน ทางปัญญาแห่งโลก

The Taipei International Invention Show & Technomart (INST 2015) ณ กรุงไทเป ประเทศไตหวัน เมื่อวันที่ 1-3 ตุลาคม 2558

รางวัล Leading Innovation Award และ Honorable Mention จากผลงานสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง “Dry Ash Air Compressor Monitoring System” โดยผลงานดังกล่าวเป็นหนึ่งในตัวแทนของประเทศไทย ที่ส�านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้พิจารณาคัดเลือกสิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมของนักวิจัย และนักประดิษฐ์ ที่มีความโดดเด่น สร้างสรรค์ และสามารถน�าไปใช้งานได้จริง Thailand Quality Class 2015 | 31


อนุ กรรมการด้ า นเทคนิ ค รางวั ล คุ ณภาพแห่ ง ชาติ และผู ้ ตรวจประเมิ น รางวั ลคุ ณภาพแห่ ง ชาติ

1

1. นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล

ประธานอนุกรรมการ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 14 ปี

2

3

3. นางสาวพรทิพย์ กาญจนนิยต

4. นายริตูราจ ชาห์

5. ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล

อนุกรรมการ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 13 ปี

7

6. พ.ต.ท.ดร.นภดล ทองนพเนื้อ อนุกรรมการ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ป

อนุกรรมการ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 13 ปี

อนุกรรมการ สำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

8

9

10

7. รศ.ดร.นพ.จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์

8. นางสาวจรัญญา บุรพรัตน์

9. ดร.พนาสัณฑ์ เกาะสุวรรณ์

10. ดร.บุญดี บุญญากิจ

อนุกรรมการ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ตรวจประเมิน 9 ปี

อนุกรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมแป้งข้าวสาลีไทย จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

32 | Thailand Quality Class 2015

5

2. รศ.รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

อนุกรรมการ บริษัท ไทยอคริลิคไฟเบอร์ จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 12 ปี

6

4

อนุกรรมการ ธนาคารกรุงเทพ จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

อนุกรรมการ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี


ผู ้ ต รวจประเมิ น รางวั ลคุ ณภาพแห่ ง ชาติ

1

5

2

6

1. นายพันธ์ศักดิ์ กุมมาลือ

7

3. ดร.นงลักษณ์ ปานเกิดดี

บริษัท คาราบาวกรุ้ป จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 13 ปี

6. นายพงศธร วงศ์ชัยวัชรกูล 7. รศ.พญ.มะลิ รุ่งเรืองวานิช บริษัท ทีโอที จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 12 ปี

6

3

8

1. ผศ.นพ.ไชยวิทย์ ธนไพศาล 2. ศ.นพ.บวรศิลป์ เชาวน์ชื่น คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

6. ดร.สกลทร นทีสวัสดิ์ บริษัท ซีพี ออลล์ จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

7. นายสุวรรณ เหรียญเสาวภาคย์ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 12 ปี

9

10

4. รศ.พญ.ปรียานุช แย้มวงษ์

5. นพ.สิทธิศักดิ์ พฤกษ์ปิติกุล

มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 13 ปี

บริษัท แอลทีซีไอ จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 13 ปี

9. นางสาวสุนันทา คเชศะนันทน์ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 12 ปี

10.รศ.พญ.โฉมศรี โฆษิตชัยวัฒน์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

5

2

7

บริษัท วิริยะโชติคอมเมอร์เชียล จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 13 ปี​ี

8. ศ.นพ.สงวนสิน รัตนเลิศ

มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ประสบการณ์ตรวจประเมิน 12 ปี

1

4

8

2. นายกาสชัย แจ่มขจรเกียรติ

บริษัท จีพีเอสเทค จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 14 ปี

3

9 3. รศ.นพ.เรืองศักดิ์ ลีธนาภรณ์ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

8. รศ.จันทนี อิทธิพานิชพงศ์ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

4

11

10 4. นางสาววลีพร ธนาธิคม สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

9. ภญ.จุรีรัตน์ พฤกษ์ปิติกุล บริษัท แอลทีซีไอ จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

5. นางศิริลักษณ์ เกี่ยวข้อง คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ประสบการณ์ตรวจประเมิน 11 ปี

10.รศ.ดร.ชุลีรัตน์ จรัสกุลชัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

11.น.ท.บดินทร์ วิจารณ์ บริษัท เอดีแอลไอ จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

Thailand Quality Class 2015 | 33


ผู ้ ต รวจประเมิ น รางวั ลคุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ

1

5

6

7

1. นายประสิทธิ์ สุวรรณวิทยา

2. พ.อ.ทพ.มารวย ส่งทานินทร์

ที่ปรึกษา ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี​ี

6. ดร.สุวิชากร ชินะผา

7. ดร.อธิศานต์ วายุภาพ

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

บริษัท เซนติโนวา จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

7

1. ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 9 ปี

6. นพ.กิตติพงศ์ เรียบร้อย โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 8 ปี

7

2. ผศ.วิมล รอดเพ็ชร

3. ดร.วัฒนา วินิตวัฒนคุณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

8. นางอรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล สำานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

8

9 4. นางสาววิดาพร ตันติวัฒนกูล

10.พ.อ.นพ.ดุสิต สถาวร

บริษัท ซีพีแรม จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 9 ปี

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 9 ปี

7. นางจุรีรัตน์ สุวรรณวิทยา

8. ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย ประสบการณ์ตรวจประเมิน 8 ปี

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ประสบการณ์ตรวจประเมิน 9 ป

5

10

3. ผศ.ดร.ศิริรัตน์ วงศ์ประกรณ์กุล 4. รศ.นพ.สุเมธ พีรวุฒิ สำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)

วิทยากรที่ปรึกษาอิสระ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

9. นายเจริญ แก้วสุกใส

9

10 5. นายสุธี ปิงสุทธิวงศ์

บริษัท ซีพี ออลล์ จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 10 ปี

4

3

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 9 ปี ที่ปรึกษาอิสระ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 8 ปี

4

8

2

1

6

3

2

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 9 ปี

9. รศ.ดร.เต ซอร์หยุ่น (1) Assumption University, (2) King Saud University ประสบการณ์ตรวจประเมิน 8 ปี

11 5. นายสุวรรณ ผิวแดง บริษัท ทีที คอร์ปอเรชั่น จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 9 ปี

10.นางสาวรัชฎา อสิสนธิสกุล สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 8 ปี

11.ผศ.ดร.ศจี ศิริไกร 34 | Thailand Quality Class 2015

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 8 ปี


ผู ้ ต รวจประเมิ น รางวั ลคุ ณภาพแห่ ง ชาติ

1

5

6

6. นายกิตติพัทธ์ จิรวัสวงศ์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 8 ปี

7. ศ.พญ.จามรี ธีรตกุลพิศาล

ธุรกิจส่วนตัว ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

1

6 1. นายปกรณ์ โฆษวณิชการ บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

6. นพ.อุดม ลีลาทวีวุฒิ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

2. นายปริทัศน์ ชัยเจริญวรรณ People Learn Co.,Ltd ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

7. ศ.นพ.กรีฑา ธรรมค�าภีร์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

10

9

3. ผศ.พญ.กรัณฑ์รัตน์ สุนทรพันธ์ 4. นพ.กิตติโชติ ตั้งกิตติถาวร คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

8. นางจาริณี จิระพันธุ์ บริษัท ไทยออยล์ จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

2

7

4

8

7

1. ผศ.เสาวลักษณ์ สุขประเสริฐ 2. รศ.ดร.อนันต์ มุ่งวัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์ตรวจประเมิน 8 ปี

3

2

8

9. ดร.ชัยยุทธ เลิศพาชิน

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลารครินทร์

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

5

9

3. นายวรวุฒิ แจ้งศุภนิมิต บริษัท แอ็ตต้าอุตสาหกรรม จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

8. อ.นพ.จิโรจน์ สูรพันธุ์ คณะแพทย์ศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

สำานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

10. ผศ.นพ.ธนะรัตน์ บุญเรือง

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

4

3

5. นายกิตติพงศ์ เตมียะประดิษฐ์

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชตะพานหิน ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

10 4. นางสันทนา จันทร์เนียม โรงพยาบาลบำารุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

9. ศ.นพ.ชัยรัตน์ ฉายากุล คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

11 5. นพ.สุรัตน์ ตันติทวีวรกุล โรงพยาบาลกระบี่ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 7 ปี

10. ดร.ทัศไนย เปียระบุตร ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

11. พล.อ.ต.ศ.ดร.วินัย จันทร์เปล่ง โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตยิ าธิราช

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

Thailand Quality Class 2015 | 35


ผู ้ ต รวจประเมิ น รางวั ลคุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ

1

5

6

1. นางศราวดี แสงสุข ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

6. ผศ.เชิญโชค ศรขวัญ

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

1

6

3. นายอภิชาติ แก้วกิ่ง

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

7. รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจ�ารัสเลิศ

มหาวิทยาลัยมหิดล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

8. นายทินกร อิศรางกูร ณ อยุธยา บริษัท ทีโอที จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

1. ผศ.ดร.ภญ.เบญจพร กิ่งรุ้งเพชร์ 2. ดร.เพ็ญนี ภูมิธรานนท์

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

6. รศ.ดร.ภก.สมภพ ประธานธุรารักษ์ 7. ผศ.ดร.สมยศ วัฒนากมลชัย

8. ผศ.นพ.สิทธิชา สิริอารีย์

มหาวิทยาลัยมหิดล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

9

ธนาคารแห่งประเทศไทย (สายออกบัตรธนาคาร)

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

9. นางสาวนงนาค เจริญผลพิริยะ 10. รศ.ดร.บุญมาก ศิริเนาวกุล

4

3. ดร.ไพโรจน์ บาลัน

บริษัท บิลเลี่ยน เมส อินดัสตรี้ จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี การไฟฟ้านครหลวง ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

3

8

10

9

4. ผศ.ดร.จินดา เจริญพรพาณิชย์ 5. อ.นพ.ชัช สุมนานนท์

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 6 ปี

2

7 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

8

7

2. นายสมบูรณ์ รักมนุษย์

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน)

4

3

2

มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

5

10 4. พญ.วราภรณ์ ภูมิสวัสดิ์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

11 5. ผศ.นพ.วัฒนา ชาติอภิศักดิ์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลมหานครเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

9. พล.อ.ต.นพ.อนุตตร จิตตินันทน์ 10. รศ.ดร.ชุติมา ธรรมรักษา เสนาธิการ กรมแพทย์ทหารอากาศ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 5 ปี

ศูนย์นานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

11. นายเชษฐพงศ์ สินธารา 36 | Thailand Quality Class 2015

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี


ผู ้ ต รวจประเมิ น รางวั ลคุ ณภาพแห่ ง ชาติ

1

5

6

1. ดร.ฐิติวัฒน์ สืบแสง

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

6 1. นายวิศิษฎ์ อริยะ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

บริษัท สิงห์ เอสเตท จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี​ี

9 4. นางธนาภรณ์ ศิริโชติ

8. รศ.ดร.รัชพล สันติวรากร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

2

1

8

บริษัท ไทยออยล์ จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

7. ผศ.นพ.รังสรรค์ ภูรยานนทชัย

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเหล่มเก่า ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

4

3. ดร.ธนธร โดดไทย

ที่ปรึกษาอิสระ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

6. นพ.พนา พงศช�านะภัย

6. นางอารยา เจริญกุล

7

2. นายทวี รัตนจรัสกุล

บริษัท สหยูเนี่ยน จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

3

2

7 2. ผศ.ดร.สันต์ชัย รัตนนนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

3

8

7. ศ.ดร.นพ.กมลพร แก้วพรสวรรค์ 8. ผศ.นพ.ฉัตรชัย มิ่งมาลัยรักษ์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

9. นายวันชัย ตันจารุพันธ์

โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

10. ศ.ดร.วิภาดา คุณาวิกติกุล คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

5

9

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

5. ผศ.นพ.ธนินนิตย์ ลีรพันธ์

บริษัท ซีพีแรม จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

4

3. นางสุดใจ ธนไพศาล

10

10 11 4. นายองอาจ เลิศขจรสิน โรงพยาบาลกรุงเทพพิษณุโลก ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

9. รศ.ดร.บวร ปภัสราทร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

5. นายอาคม อาจแสง บริษัท ซีพี ออลล์ จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 4 ปี

10. นายประจักษ์ ใจเย็น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

11. นายประทีป ประภามณฑล ธนาคารแห่งประเทศไทย ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

Thailand Quality Class 2015 | 37


ผู ้ ต รวจประเมิ น รางวั ลคุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ

1

5 1. นายประพล สันติลินนท์

6

คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

บริ ษั ท ปตท.สำ า รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม จำ า กั ด (มหาชน)

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

6. นางสาวณัฐนารถ ประสมศรี 7. นายธเนศ ชินประภาพ

8. รศ.นพ.ธันย์ สุภัทรพันธุ์

บริษัท ซีพีแรม จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

บริษัท โกลบอล ยูทิลิตี้ เซอร์วิส จำากัด

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

7

6

มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

6. นพ.สมชาย ยงศิริ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

มหาวิทยาลัยมหิดล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

2. รศ.ดร.วนิดา แก่นอากาศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

7. ศ.นพ.สารเนตร์ ไวคกุล คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

9 4. รศ.พญ.สุพินดา คูณมี

8

9. ดร.นนทวัฒน์ สุขผล

บริษัท นำ้าตาลมิตรผล จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

8. นายสุชาติ จันทร์เสน่ห์ บริษัท ไทยอคริลิคไฟเบอร์ จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

5. นายจรูญ วงษา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

10. นางนภัสนันท์ นามวงษา

ธนาคารออมสิน ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

4

9 3. ดร.วีรินยาอร เหลืองบริบูรณ์

10

คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

3

2

1

1. ผศ.เบญจวรรณ อุบลศรี

8

7

2. รศ.พญ.ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา 3. นายวินัย พรทิพย์วรเวทย์

บริษัท ซีพี ออลล์ จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 3 ปี

4

3

2

10

4. นางศุภมิตรา ด่านพานิช บริษัท ปตท.สำารวจและผลิตปิโตรเลียม จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

9. นายอดิเรก ตันเต่งผล บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

บริษัท ฮานาไมโครอิเล็คโทรนิคส์ จำากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

5

11 5. นางสมใจ บุญญพงษ์ บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

10. นายอนุชา ศุภสิทธิจันทร์ บริษัท ปัญญธารา จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

11. ดร.อาภากร สุปัญญา สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

38 | Thailand Quality Class 2015

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี


ผู ้ ต รวจประเมิ น รางวั ลคุ ณภาพแห่ ง ชาติ

1

6

2

7

8

1. น.อ.หญิงอิศรญา สุขเจริญ 2. นายกมล พงษ์ประยูร โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ประสบการณ์ตรวจประเมิน 2 ปี

6. นางสาวฐิติพร พลปัถพี

มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

7. นายณัฐพัชร์ ล้อประดิษฐ์พงษ์

บริษัท ไทยอคริลิคไฟเบอร์ จำากัด ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

9

3. พญ.กันยรัตน์ กตัญญู

บริษัท ซีพี ออลล์ จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

5

4

3

8. นายทิวา สุวรรณภูชัย

10 4. รศ.ดร.เฉลิมพร องศ์วรโสภณ

5. นพ.ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

โรงพยาบาลพระพุทธบาท ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

9. ผศ.นพ.ธรา ธรรมโรจน์

บริษัท ไออาร์พีซี จำากัด (มหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

11

10. ผศ.นพ.บวรรัฐ วนดุรงค์วรรณ

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

มหาวิทยาลัยมหิดล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

11. ศ.ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

2

1

7

8

9

1. นางเบญจมาศ แก้ ว พรหมมาลย์ 2. นางปิยรัตน์ สุนทรพงศ์ สำานักงานกองทุนเสริมสร้างสุขภาพ แห่งชาติ (สสส)

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

6. รศ.ดร.วิเชียร ชุติมาสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำาเข้าแห่งประเทศไทย

ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

6

5

10

11

12

3. พญ.ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ 4. ผศ.พญ.เยาวนุช คงด่าน สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

5. นางสาววรารัตน์ อิทธิวิบูลย์

โรงพยาบาลรามาธิบดี ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

ธนาคารแห่งประเทศไทย ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

10. รศ.สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์

7. รศ.ดร.สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล

8. ศ.นพ.สมนึก ด�ารงกิจชัยพร

9. ทพ.สุรกิจ วิสุทธิวัฒนากร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

มหาวิทยาลัยมหิดล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

มหาวิทยาลัยมหิดล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

11. พ.ต.ต.นพ.อนันตศักดิ์ อภัยรัตน์ โรงพยาบาลพญาไท 2 ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

4

3

มหาวิทยาลัยมหิดล ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

12. รศ.อุษณีย์ ค�าประกอบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประสบการณ์ตรวจประเมิน 1 ปี

Thailand Quality Class 2015 | 39


เส้นทางสู่ความเป็นเลิศ ประจ�ำปี 2558 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จัดท�ำโดย :

ส�ำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม ชั้น 15 อาคารยาคูลท์ 1025 ถนนพหลโยธินแขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

พิมพ์ที่ :

บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน)

พิมพ์ครั้งที่ 1 : เมษายน 2559 จ�ำนวนพิมพ์ : 1,000 เล่ม จ�ำนวนหน้า :

40 หน้า

© copyright 2009 สงวนสิทธิ์ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดย ส�ำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม ห้ามลอกเลียนแบบท�ำส�ำเนา ส่วนใดส่วนหนึ่ง ของหนังสือเล่มนี้ นอกจากได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก ส�ำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม เท่านั้น


สำนักงานรางวัลคุณภาพแหงชาติ

สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ ชั้น 15 อาคารยาคูลท 1025 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2619-5500 ตอ 630-636 สายตรง 0-2619-8086 โทรสาร 0-2619-8085 E-mail: tqa@ftpi.or.th Website: www.tqa.or.th

โรงไฟฟาแมเมาะ

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ที่อยู 800 หมูที่6 ต.แมเมาะ อ.แมเมาะ จ.ลำปาง 52220


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.