EGAT Magazine | l ก.ย. - ต.ค. 2557

Page 1

ISSN 1905-9892 ปี ที่ ๘ ฉบั บ ที่ ๕ เดื อ น กั น ยายน-ตุ ล าคม พ.ศ. ๒๕๕๗

แสงสว่างแรกของประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อ ๑๓๐ ปีที่แล้ว ด้วยโคมไฟระย้า ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการมีไฟฟ้าใช้ในประเทศ โดยมี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความมั่นคงให้ระบบไฟฟ้า แม้เวลาผ่านไป ๔๕ ปี แต่ กฟผ.

ยังยืนหยัดท�ำหน้าที่เหมือนวันแรกที่ได้รับมอบหมาย โดยยึดมั่นในค�ำว่า “รักองค์การ มุ่งงานเลิศ เทิดคุณธรรม”

www.egat.co.th



กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๒ ๖

เปิดบ้าน กฟผ. บทความพิเศษ

๑๐

พลังงานวันนี้

๑๒

โรงไฟฟ้าในอนาคต

๑๖

เส้นทางสู่ธุรกิจ

๑๘

จับเข่าเล่าประสบการณ์

๒๒

อนุรักษ์พลังงาน

๑๓๐ ปี แสงแรกแห่งสยาม แสงแห่งความสุขของคนไทย แหล่งถ่านหินของตุรกีกับศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ

เคล็ด (ไม่) ลับ การเพิ่มสมรรถนะโรงไฟฟ้า พิชิตโจทย์...ยกระดับ กฟผ. ขึ้นสู่หัวแถวของโลก

EGAT BEST แผนยุทธศาสตร์ กฟผ. เพือ่ มุง่ สูร่ ะดับโลก

xxxxxxxxxxxx xxxxxxxx

“ก๊าซท�ำมือ” พลังงานหมุนเวียน จากเศษอาหาร สู่ก๊าซหุงต้ม

๒๔ อ้อมกอดสีเขียว

กฟผ. มุ่งมั่นดูแลสิ่งแวดล้อมด้านกลิ่น สร้างความเชื่อมั่นต่อชุมชนแม่เมาะ

คนต้นแบบ ๑๑ สุดยอดพนักงานขับรถ กฟผ. เดินทางกว่า ๒ แสนกิโลเมตร ไร้อุบัติเหตุ

๒๘ ๓๐

นวัตกรรม

จิ๋วแต่แจ๋วกับระบบผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก จากพลังงานน�ำ้ วนอิสระ

๓๔ นานาทัศนะ

Green Society for ECO-Life

๓๖

ใจเขาใจเรา

๔๐

ของดีรอบบ้านเรา

๔๒

๔๖

การบริหารความร่วมมือระหว่าง กฟผ. กับผู้ประกอบการเอกชน

ผ้าทอมือบ้านเชี่ยวหลาน

กฟผ. ไม่ไปไม่รู้

๔๕ ปี กฟผ. พาบุกใต้พิภพ สัมผัสประสบการณ์แปลกใหม่ กับ ๗ ความเป็นที่สุด โรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา

ท่องโลกกว้าง

เปิดประสบการณ์ เยือนจีนและฮ่องกง ชมโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฯ

๔๘ ท้ายเล่ม

“เหมืองแม่เมาะ” เหมืองถ่านหินลิกไนต์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ของไทย

Hello

EDITOR’S NOTE

แม้ เวลาผ่านไป ๔๕ ปีแล้วก็ตาม ค�ำว่า “รักองค์การ มุง่ งานเลิศ เทิดคุณธรรม” ยังเป็นเบ้าหลอมของคนใน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มาโดยตลอด และน�ำมาซึ่งความเป็นเอกลักษณ์ของคน กฟผ. ที่มีความ ใฝ่สมั ฤทธิต์ อ่ ภารกิจในหน้าทีส่ งู มาก ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั จนทุกคน เรียกว่า “วัฒนธรรมองค์การ” จึงไม่ใช่เรือ่ งแปลกส�ำหรับ คน กฟผ. ทีย่ อมรับและน�ำวัฒนธรรมองค์การ เป็นสิง่ ยึดเหนีย่ วในการประพฤติปฏิบตั ติ นให้เหมาะสม เสมือนเสาหลัก ของ กฟผ. ก็ว่าได้ แต่การทีจ่ ะมีวฒ ั นธรรมทีเ่ ข้มเเข็งและประสบผลได้เป็นอย่างดีนนั้ ต้องมี การก�ำหนดค่านิยมองค์การ กฟผ. เพือ่ เป็นแนวทางให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน กฟผ. ได้ยดึ ถือ นัน่ คือ FIRM-C เพือ่ เป็นรากฐานและน�ำไปสูว่ ฒ ั นธรรมองค์การ ซึง่ เป็นปัจจัยในการขับเคลือ่ น ส่งเสริมให้องค์การประสบผลส�ำเร็จตาม วิสยั ทัศน์ทตี่ งั้ ไว้ ในการเป็นองค์การชัน้ น�ำในกิจการไฟฟ้าในระดับสากล ส�ำหรับค่านิยม กฟผ. ทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านทุกคนรูจ้ กั ในนาม FIRM-C ประกอบ ไปด้วย Fairness ตั้งมั่นในความเป็นธรรม Integrity ยึดมั่นในคุณธรรม Responsibility & Accountability ส�ำนึกในความรับผิดชอบและหน้าที่ Mutual Respect เคารพในคุณค่าของคน Commitment to Continuous Improvement and Teamwork มุง่ มัน่ ในการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและท�ำงานเป็นทีม ดังนั้น ผลจากการด�ำเนินงานของ กฟผ. ที่น�ำเอาค่านิยมองค์การ และ วัฒนธรรมองค์การ เป็นสิ่งยึดถือเหล่านั้น สุดท้ายย่อมส่งผลประโยชน์ ต่อประเทศชาติ สังคม ชุมชน ผู้ใช้ไฟฟ้า และผู้ปฏิบัติงานทั้งสิ้น กองบรรณาธิการ


กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

กระทรวงพลังงาน และ กฟผ. เปิดตัวผลิตภัณฑ์เบอร์ 5 ใหม่ ปี ๒๕๕๗ และ หลอด LED ชนิด Bulb กล่อง กฟผ. พร้อมจ�ำหน่ายตุลาคมนี้ เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗ นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน เป็นประธานในงาน “ก้าวสู่ ทศวรรษที่ ๓ พันธกิจสร้างความคุ้มค่าสู่สังคมไทย” พร้อมด้วย นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ผูว้ า่ การ การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมเป็นสักขีพยาน ในพิธีลงนามความร่วมมือโครงการฉลากประหยัด ไฟฟ้าเบอร์ 5 ปี ๒๕๕๗ และพิธีลงนามความร่วมมือ การวางจ�ำหน่ายหลอด LED ชนิด Bulb รูปแบบกล่อง กฟผ. พร้อมมอบโล่แก่ผู้ประกอบการ ที่ติดฉลาก เบอร์ 5 โดยในปี ๒๕๕๗ ได้รับเกียรติจากผู้บริหาร กระทรวงพลังงาน กฟผ. และผู้ประกอบการอุปกรณ์ ไฟฟ้าเบอร์ 5 เข้าร่วมงานฯ ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม A-B โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพฯ

นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการ กฟผ. กล่าวว่า เพือ่ เป็นการส่งเสริมการใช้อปุ กรณ์สอ่ งสว่างประสิทธิภาพ สูงในระบบแสงสว่าง กฟผ. ได้จดั ท�ำ “โครงการส่งเสริม การใช้อปุ กรณ์แสงสว่าง LED” ตัง้ แต่ปี ๒๕๕๖ ซึง่ เป็น นวัตกรรมทางเทคโนโลยีไฟฟ้าแสงสว่างทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง และมีอตั ราการใช้งานเติบโตในระดับสูงมากในปัจจุบนั ดังนั้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการใช้หลอด LED ไปสู่ภาคประชาชนอีกทางหนึ่ง กฟผ. จึงจัดกิจกรรม ส่งเสริมการใช้หลอด LED ด้วยการประสานงานกับ ผู้ประกอบการลดราคา LED ชนิด Bulb ในราคา พิเศษ และบรรจุลงในกล่อง กฟผ. พร้อมประสานงาน การจัดจ�ำหน่ายผ่านผู้จัดจ�ำหน่ายชั้นน�ำทั่วประเทศ ซึง่ คาดว่าจะสามารถส่งเสริมกลไกราคาตลาดอุปกรณ์ LED ในประเทศได้อย่างยั่งยืน

กฟผ. มอบลูกถ้วยไฟฟ้าแรงสูงให้ อบจ. กระบี่ ส�ำหรับโครงการ “รวมใจชาวกระบี่ สร้างบ้านปลา ถวายพ่อ” เมือ่ วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ นายวรพจน์ อินทร์ทอง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการภาคใต้ เป็น ผู้แทน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มอบ ลูกถ้วยไฟฟ้าแรงสูง ให้แก่ นายสมศักดิ์ กิตติธรกุล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ เพื่อใช้ใน โครงการ “รวมใจชาวกระบี่ สร้างบ้านปลา ถวายพ่อ” ณ ห้องประชุม องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ โดยมี นายวิวฒ ั น์ สิรเิ กียรติกลุ ผูอ้ ำ� นวยการโรงไฟฟ้า ภาคใต้ นายอดุลย์ เป็งถา หัวหน้าโครงการศึกษาเพือ่ พัฒนาขยายก�ำลังผลิตโรงไฟฟ้ากระบี่ โดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. เจ้าหน้าทีอ่ งค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ สือ่ มวลชน และประชาชนในต�ำบลตลิ่งชัน อ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมาก นายวรพจน์ อินทร์ทอง กล่าวว่า การน�ำลูกถ้วย ไฟฟ้าแรงสูงมามอบให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ เกิดขึน้ เนือ่ งมาจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่

ได้จดั ท�ำโครงการ “รวมใจชาวกระบี่ สร้างบ้านปลา ถวายพ่อ” เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่องในวโรกาสทรงมีพระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมทางทะเล น�ำมา วางเป็นบ้านปลา เพื่อเป็นที่หลบภัยของสัตว์น�้ำ ขนาดเล็ก จากศัตรู จนน�ำมาสูก่ ารเพิม่ จ�ำนวนสัตว์นำ�้ ในทะเล ยิ่งไปกว่านั้น คณะผู้บริหารของ กฟผ. ได้น�ำคณะองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ และ คณะสื่อมวลชน ร่วมปล่อยลูกปลากะพง จ�ำนวน ๓,๐๐๐ ตัว เพื่อเพิ่มจ�ำนวนปลาในทะเลอันดามัน ณ บริเวณเขือ่ นด้านหน้าองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ อีกด้วย


กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

“EGAT Green Running กฟผ. มินิมาราธอน ครั้งที่ ๑๘” คึกคัก นักวิ่งลมกรดทั่วประเทศร่วมประลองฝีเท้า กว่า ๒,๐๐๐ คน เมือ่ วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๗ นายบุญมาก สมิทธิลลี า รองผู้ว่าการพัฒนาระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศ ไทย (กฟผ.) พร้อมด้วยนายสุรศักดิ์ วิ ชิ น โรจน์ จ รั ล นายกเทศมนตรีเมืองบางกรวย ร่วมกันเป็นประธานเปิดงานเดินวิง่ การกุศล “EGAT Green Running กฟผ. มินิมาราธอน ครั้งที่ ๑๘” ซึง่ ในปีนมี้ ผี ส้ ู มัครเข้าร่วมเดิน-วิง่ จ�ำนวนกว่า ๒,๐๐๐ คน ณ ส�ำนักงานกลาง กฟผ. บางกรวย จังหวัดนนทบุรี การจัดการแข่งขันในปีนี้ กฟผ. มีแนวคิดรณรงค์ เพื่อลดโลกร้อน ภายใต้ชื่องาน EGAT Green Running จึงมีกิจกรรมรณรงค์ต่างๆ อาทิ เบอร์วิ่ง ท�ำด้วยผ้าขนหนูทสี่ ามารถน�ำกลับไปใช้ตอ่ ได้ การใช้ ภาชนะใส่อาหารทีท่ ำ� จากวัสดุธรรมชาติ เช่น กระทง ใบตองส�ำหรับข้าวกล้องไข่เจียว การใช้แก้วกระดาษ แทนถ้วยพลาสติก และการแจกถุงผ้าแทนถุงพลาสติก เป็นต้น ในปีนี้เป็นปีที่ ๒ ที่ กฟผ. ได้ร่วมกับ

เทศบาลบางกรวย จัดกิจกรรมดังกล่าวขึน้ ณ กฟผ. โดยประเภทชาย ส�ำนักงานใหญ่ อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี อันดับที่ ๑ นายสุทัศน์ กัลยานกิตต์ ด้วยเวลา ๓๕.๓๕ นาที นอกจากนี้ นายบุญมาก สมิทธิลลี า ยังกล่าวต่อไปว่า อั น ดั บ ที ่ ๒ นายเขมทัต จันทรประภา เงินค่าสมัคร คนละ ๒๐๐ บาท ได้เปลี่ยนเป็นเงิน ด้วยเวลา ๓๕.๔๗ นาที บริจาค เพื่อมอบเป็นทุนการศึกษาทั้งหมด ๗๕ อั น ดั บ ที ่ ๓ จ.ต.ขวั ญชัย ขอสินกลาง ทุนๆ ละ ๒,๐๐๐ บาท โดยมีผปู้ ระสงค์ทจี่ ะมอบทุน ด้วยเวลา ๓๖.๕๖ นาที การศึกษาให้กบั นักเรียนเพิม่ อีก ๒๓ ทุน รวมเป็นเงิน

ทั้งสิ้น ๑๙๖,๐๐๐ บาท ส่วนรายได้ที่เหลือจะมอบ ประเภทหญิง เป็นเงินท�ำบุญให้กับวัดโดยรอบ กฟผ. ในพื้นที่ อันดับที่ ๑ นางสาวรุวารี ธนาเอกนิธิวัฒน์ อ�ำเภอบางกรวย หรือการกุศลอื่นๆ ต่อไป ด้วยเวลา ๔๔.๒๕ นาที อั น ดั บ ที ่ ๒ นางสาวกั ญ คูสุวรรณ ส�ำหรับผลการแข่งขัน ประเภทวิง่ มินมิ าราธอนระยะทาง ด้วยเวลา ๔๓.๑๘ นาที ๑๐.๕ กิโลเมตร ผู้ชนะเลิศทั้งชายและหญิง ได้รับ อั น ดั บ ที ่ ๓ นางสาวสุภาวดี เย็นบุตร โทรศัพท์และบัตรของขวัญ มูลค่า ๑,๕๐๐ บาท ด้วยเวลา ๔๔.๓๘ นาที อันดับที่ ๒ ได้รับบัตรของขวัญ มูลค่า ๑,๐๐๐ บาท และอันดับที่ ๓ ได้รบั บัตรของขวัญ มูลค่า ๕๐๐ บาท


กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

กฟผ. ร่วมเฉลิมพระเกียรติ ๘๒ พรรษา องค์ราชินี น�ำโครงการแว่นแก้วและโครงการปลูกป่า จัดแสดงในงานโครงการหลวง ครั้งที่ ๔๕ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จ ทรงเป็นประธานเปิดงาน โครงการหลวง ครั้งที่ ๔๕ ภายใต้ชอื่ งาน “เทิดไท้องค์ราชินคี รบรอบ ๘๒ พรรษา ด้วยผลผลิตจากน�้ำพระทัยอันยิ่งใหญ่สู่พสกนิกร” โดยมีนายรังสรรค์ อัฐมโนลาภ ผู้ช่วยผู้ว่าการกิจการ สังคม พร้อมด้วยนางสุทัศนีย์ ไวยนิยา ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกิจการสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) พร้อมคณะ เป็นผู้แทน กฟผ. เฝ้ารับเสด็จ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ

ชัน้ ๑ เชิญชวนประชาชนบริจาคทรัพย์ และประมูลแว่น ของเหล่าศิลปิน ดารา สนับสนุนโครงการแว่นแก้ว เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสที่มีปัญหาทางสายตา โดยไม่คิดมูลค่า ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชน เป็นจ�ำนวนมาก โดยได้รับบริจาคเงินวันละไม่ต�่ำกว่า ๔๐,๐๐๐ บาท และโครงการที่สอง เป็นการน�ำเสนอ ผลงาน ๒๐ ปี โครงการปลูกป่า กฟผ. ซึง่ แสดงให้เห็นว่า ตลอดระยะเวลา ๒๐ ปี ที่ผ่านมา กฟผ. ได้น้อมน�ำ แนวพระราชด�ำริมาเป็นแนวทางในการอนุรกั ษ์ผนื ป่า ให้คงอยู่กับประเทศไทยมาโดยตลอด

ภายในงาน กฟผ. ได้น�ำ ๒ โครงการที่จัดขึ้นเพื่อ เฉลิมพระเกียรติ ตามแนวพระราชด�ำรัส สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาจัดแสดง คือ โครงการแว่นแก้ว ในปีนี้ กฟผ. ได้จัดกิจกรรม ประชาสัมพันธ์ “ขอใจเธอ..แลกสายตา” ขึ้น บริเวณ

กฟผ. ร่วมมือ สอศ. จัดแข่งขัน การประกอบอาหารจากข้าวกล้อง เมือ่ วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๗ นายสถิตย์ สุขอนันต์ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายปฏิบตั กิ ารด้านการใช้ไฟฟ้า การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นผู้แทน กฟผ. มอบเงินสนับสนุนการด�ำเนินงานแข่งขันการประกอบ อาหารจากข้าวกล้อง “ASEAN Attention for Brown Rice” จ�ำนวน ๖๐๐,๐๐๐ บาท แก่นายเอกนิษฐ์ คลังแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซึง่ กิจกรรม ดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนือ่ งใน วโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ รวมถึงรณรงค์การบริโภค ข้าวกล้อง พร้อมสร้างทางเลือกใหม่ในการบริโภค ข้าวกล้องให้หลากหลาย และพัฒนาบุคลากรของ ประเทศให้มคี วามรูแ้ ละความช�ำนาญในทักษะวิชาชีพ ด้านอาหารและโภชนาการให้ทัดเทียมกับนานา ประเทศ ณ บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษม ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)

ส�ำหรับผลการแข่งขัน มีดงั นี้ รางวัลชนะเลิศได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา ได้รบั เงินรางวัล ๒๐,๐๐๐ บาท รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ได้แก่ วิทยาลัย อาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา ได้รับเงินรางวัล ๑๕,๐๐๐ บาท รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ได้แก่ วิทยาลัย อาชีวศึกษาธนบุรี ได้รับเงินรางวัล ๑๐,๐๐๐ บาท และประเภทสถานศึกษาจากประเทศเพื่อนบ้าน รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ นักศึกษาจากประเทศกัมพูชา วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรนิ ทร์ ได้รบั เงินรางวัล ๒๐,๐๐๐ บาท รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ได้แก่ นักศึกษา จาก สปป.ลาว วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ได้รบั เงินรางวัล ๑๕,๐๐๐ บาท รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ นักศึกษาจากประเทศพม่า วิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้รบั เงินรางวัล ๑๐,๐๐๐ บาท โดยทุกทีมได้รบั โล่รางวัล เกียรติบตั ร และเหรียญรางวัล


กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

งานเดิน-วิ่งฯ แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน ครั้งที่ ๒๓ นักวิ่งจากทั่วประเทศร่วมประลองฝีเท้าบนเส้นทางเนินเขาอย่างคับคั่ง เมือ่ วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๗ พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ องคมนตรี เป็นประธานเปิดการแข่งขันเดิน-วิง่ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ แม่เมาะฮาล์ฟ มาราธอน ครั้งที่ ๒๓ ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งจัดโดยจังหวัดล�ำปาง อ�ำเภอแม่เมาะ และ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม และน�ำรายได้ จากการด�ำเนินงานมอบแก่ กองทุนสงเคราะห์และพัฒนา จังหวัดล�ำปาง และอ�ำเภอแม่เมาะ ส�ำหรับเป็นทุนในกิจกรรม สาธารณประโยชน์ และส่งเสริมการศึกษาอีกทั้งยังเป็นการ แนะน�ำสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วภายในจังหวัดล�ำปาง และอ�ำเภอแม่เมาะ ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ทั้งยังเป็นการเผยแพร่กิจกรรม เดิน-วิง่ เพือ่ สุขภาพ ซึง่ เป็นการออกก�ำลังกายทีง่ า่ ยและเหมาะสม กับทุกเพศทุกวัย ให้เป็นทีน่ ยิ มแพร่หลายในหมูป่ ระชาชนทัว่ ไป ณ โรงเรียนแม่เมาะวิทยา อ�ำเภอแม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง

กฟผ. คว้า ๒ รางวัลดีเด่น Thailand Energy Awards 2014 ด้านส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานฯ และประเภทสื่อมวลชน นายประภาส วิชากูล รองผูว้ า่ การกิจการสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) เปิดเผยว่า กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ได้ประกาศผล การประกวดรางวัล Thailand Energy Awards 2014 เพื่อ ยกย่องหน่วยงาน และบุคลากรทีม่ สี ว่ นส่งเสริม สนับสนุนให้เกิด การอนุรกั ษ์พลังงาน และการพัฒนาพลังงานทดแทนทีม่ ผี ลงาน ดีเด่น เป็นตัวอย่างที่ดีแก่องค์กรต่างๆ โดย กฟผ. ได้รับรางวัล ดีเด่นทางด้านผูส้ ง่ เสริมการอนุรกั ษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ๒ รางวัล คือ รางวัลดีเด่นประเภทสมาคม องค์กร หน่วยงาน ทีส่ ง่ เสริมการอนุรกั ษ์พลังงานฯ และรางวัลดีเด่นประเภทสือ่ มวลชน จากเว็บไซต์ www.egat.co.th

การประกวดในครั้งนี้ ส่งผลให้หน่วยงานต่างๆ มีความสนใจ และตื่นตัวในเรื่องการอนุรักษ์พลังงานมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเห็นได้ จากการที่มีหน่วยงานต่างๆ ทั่วประเทศส่งผลงานการอนุรักษ์ พลังงานเข้าประกวดกว่า ๒๙๐ ราย ซึ่งจะส่งผลดีต่อการใช้ พลังงานภายในประเทศในภาพรวมเป็นอย่างมาก ทัง้ นี้ กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) จะมีการจัดพิธี มอบรางวัล Thailand Energy Awards 2014 ให้แก่หน่วยงาน ที่ได้รับรางวัลต่อไป


กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๑๓๐ ปี แสงแรกแห่งสยาม แสงแห่งความสุขของคนไทย เรียบเรียง : กองสื่อสารภายนอก

หลายคนคงประหลาดใจเมือ่ ทราบว่า ประเทศไทยหรือสยามมีไฟฟ้าใช้ หลังประเทศอังกฤษเพียง ๒ ปี ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๒๗ หรือ เมื่อ ๑๓๐ ปีที่ผ่านมา เมื่อมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าเพื่อจุดโคมไฟระย้า ณ พระทีน่ งั่ จักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง นับเป็นการเริม่ ต้น การมีไฟฟ้าของไทยมาตั้งแต่บัดนั้น และการผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่เชิง พาณิชย์เป็นครั้งแรกนั้น ได้น�ำมาใช้เดินรถรางด้วยไฟฟ้าสายแรกของ เมืองไทยด้วย


๙๗

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

“จากพระนครสู่ภูมิภาค” ผูใ้ ห้กำ� เนิดกิจการไฟฟ้าในประเทศไทยคือจอมพลเจ้าพระยา สุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) เมื่อครั้งมีบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าหมื่นไวยวรนาถ โดยท่านได้ติดตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า เดินสายไฟฟ้า และติดดวงโคมไฟฟ้าทีก่ รมทหารหน้าซึง่ เป็น ที่ตั้งกระทรวงกลาโหมในปัจจุบัน ในวันที่เปิดทดลองใช้ เป็นครั้งแรกนั้น ปรากฏว่าบรรดาขุนนาง ข้าราชการ และ ประชาชน มาดูแสงไฟฟ้าอย่างแน่นขนัดด้วยความตื่นตา ตืน่ ใจ เมือ่ ความทราบฝ่าละอองธุลพี ระบาท พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ ติดตัง้ ไฟฟ้าแสงสว่างขึน้ ในวังหลวงเป็นครัง้ แรก เมือ่ วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๒๗ ซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ จากนัน้ มา ไฟฟ้า ก็เริ่มแพร่หลายไปตามวังเจ้านาย และตามหัวเมืองต่างๆ กิจการผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย เริม่ ก่อตัวเป็นรูปเป็นร่างขึน้ เมื่ อ บริ ษั ท จากประเทศเดนมาร์ ก ได้ ข อสั ม ปทานผลิ ต กระแสไฟฟ้า เพือ่ ใช้เดินรถรางจากบางคอแหลมถึงพระบรม มหาราชวังเป็นครั้งแรก และได้ขยายการผลิตไฟฟ้าเพื่อ

แสงสว่าง โดยติดตั้งระบบผลิตที่มั่นคงถาวรขึ้นที่วัดเลียบ (ทีต่ งั้ การไฟฟ้านครหลวงในปัจจุบนั ) ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ โรงไฟฟ้าขึน้ อีก ๑ แห่ง เรียกว่า การไฟฟ้าหลวงสามเสน ซึง่ ต่อมามีฐานะเป็นกองหนึง่ ของกรมโยธาเทศบาล กระทรวง มหาดไทย และในทีส่ ดุ ได้รวมเข้ากับกิจการไฟฟ้ากรุงเทพฯ (วัดเลียบ) ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ เป็นการไฟฟ้านครหลวง ในปั จ จุ บั น ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลพื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานคร สมุทรปราการ และ นนทบุรี รวม ๓ จังหวัด ในส่วนภูมภิ าคก็มกี ารทยอยก่อสร้างไฟฟ้าให้ชมุ ชนขนาดใหญ่ ระดับจังหวัด และอ�ำเภอต่าง ๆ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แต่ในช่วง สงครามโลกครั้งที่ ๒ กิจการไฟฟ้า ขาดแคลนอะไหล่ และ น�้ำมันเชื้อเพลิง ระบบผลิต ช�ำรุดทรุดโทรม จนถึง ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ สภาวะทางเศรษฐกิจเริม่ ดีขนึ้ ประเทศไทยเริม่ พัฒนา ท้องถิน่ ให้เจริญขึน้ จนมีการจัดตัง้ องค์การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๗ และได้รับการสถาปนาเป็นการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ณ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๐๓ จนถึงปัจจุบัน


“ไฟฟ้าพัฒนา”

กิจการไฟฟ้าพัฒนามาตามยุคสมัยต่าง ๆ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ได้มกี ารรวมกิจการไฟฟ้า ๓ หน่วยงานด้านการผลิตไฟฟ้า ๓ หน่วยงาน คือการลิกไนท์ การไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ และ การไฟฟ้ายันฮี เป็น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. เพือ่ แยกหน่วยงาน ด้านการผลิต และจ�ำหน่ายไฟฟ้าออกจากกัน โดยมีการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเป็นหน่วยงานด้านจ�ำหน่าย

“พลังงานไฟฟ้ามั่นคง”

ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ซึง่ เป็นจุดเริม่ ต้นของพัฒนาการกิจการไฟฟ้ามาอย่างยาวนาน ถึง ๑๓๐ ปี ก่อให้เกิดระบบผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ ด้วยโรงไฟฟ้า และเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อน ที่ใช้เชื้อเพลิงน�้ำมัน ถ่านหินลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ และโรงไฟฟ้า พลังน�ำ้ ขนาดใหญ่ ตลอดจนการขยายระบบส่งไฟฟ้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ครอบคลุมการจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้ทั่วประเทศ และยังเชื่อมโยง กับประเทศเพือ่ นบ้านพร้อมทีจ่ ะพัฒนาไปสูร่ ะบบส่งไฟฟ้าอาเซียน (ASEAN Power Grid : APG) เหล่านีค้ อื โครงสร้างพืน้ ฐานทีแ่ ข็งแกร่ง ท�ำให้ระบบไฟฟ้าไทย มีความมั่นคง เชื่อถือได้ และสามารถรักษา ค่าไฟให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน ตลอดจนประเทศมีความพร้อมในการเข้าสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และศักยภาพการแข่งขันในระดับสากล

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗


กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

“พัฒนาพลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” นอกเหนือจากการวางแผนพัฒนาแหล่งผลิตไฟฟ้าและเชื้อเพลิงแล้ว กฟผ. ได้ให้ความส�ำคัญต่อ การศึกษาและพัฒนาไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนมากขึ้น เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังน�้ำขนาดเล็ก เพื่อเป็นโครงการน�ำร่อง และยังสามารถ จ่ายไฟเชิงพาณิชย์ส�ำรองในระบบหลักได้ด้วย เช่น โรงไฟฟ้ากังหันลมล�ำตะคอง โรงไฟฟ้าเซลล์ แสงอาทิตย์เขื่อนสิรินธร และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทับสะแก เป็นต้น

“๑๓๐ ปี ไฟฟ้าก้าวไกล เมืองไทยก้าวหน้า” จากแสงไฟดวงน้อยเมือ่ ๑๓๐ ปีทผี่ า่ นมา ทีส่ ร้างความตืน่ ตาตืน่ ใจให้ผคู้ น ได้จดุ ประกายแห่งความฝัน และความสุขของคนไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จนพัฒนามาเป็นโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสร้าง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม กฟผ. จะยังสานต่อความหวังคนไทย ในการสร้างความมัน่ คงทางพลังงานอย่างยัง่ ยืน เพือ่ สร้าง ความสุขให้คนไทยตลอดไป

กฟผ. ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย


แหล่งถ่านหินของตุรกี

กับศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ เรียบเรียง : สุภร เหลืองก�ำจร

ประเทศตุรกี ก�ำลังเผชิญกับความท้าทายด้านการ เจริญเติบโตของประชากรและเศรษฐกิจ ในขณะ เดียวกันมีความจ�ำเป็นต้องการลดการน�ำเข้าพลังงาน ได้ด้วยการใช้ถ่านหินลิกไนต์ และถ่านหินแข็ง (Hard Coal) ทีม่ สี ำ� รองอยูภ่ ายในประเทศ พร้อมทัง้ การใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด โดยไม่ให้เกิด ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม

ตุรกีก็เช่นกันมีปัญหาด้านพลังงานมาเป็นเวลานาน และเป็นประเทศหนึง่ ทีข่ าดความมัน่ คงด้านเชือ้ เพลิง และขาดการพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน โดยปัจจุบัน ต้องน�ำเข้าน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติกว่าร้อยละ ๙๐ และร้อยละ ๙๘ ตามล�ำดับ จากประเทศอิหร่าน และรัสเซีย ทัง้ นีย้ งั รวมถึงถ่านหินแข็งทีใ่ ช้ในประเทศ ส่วนใหญ่ก็ยังเป็นการน�ำเข้าเช่นกัน ท�ำให้รัฐบาล มีนโยบายที่จะลดการน�ำเข้าพลังงาน


ปัจจุบนั โรงไฟฟ้าและเหมืองถ่านหินทีเ่ คยด�ำเนินการ โดยรั ฐ วิ ส าหกิ จ ของประเทศได้ ถู ก ขายให้ ภ าค เอกชนไป ทั้งที่ประเทศยังมีเชื้อเพลิงพลังงานหลัก จากถ่ านหิ น ลิ ก ไนต์ และถ่านหินแข็งซึ่งมีอยู่ใ น ปริมาณไม่มาก มีการประมาณการว่าประเทศตุรกี มีปริมาณถ่านหินส�ำรองอยูม่ ากกว่า ๑๓ พันล้านตัน ซึ่ ง มาจากลิ ก ไนต์ ปริ ม าณ ๑๑.๘ พันล้านตัน และ ถ่านหินแข็งปริมาณ ๑.๓ พันล้านตัน แต่นั่น คือตัวเลขประมาณการเท่านั้น ทั้งที่จริงแล้วพื้นที่ ส่วนใหญ่ของประเทศตุรกียังไม่ได้รับการส�ำรวจหา แหล่งถ่านหิน นั่นหมายความว่าปริมาณถ่านหิน ส�ำรองของประเทศ อาจมีมากกว่าทีป่ ระมาณการไว้

ปัจจุบนั ประเทศตุรกี ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังความร้อน และพลังน�้ำเป็นส่วนใหญ่ ในปี ๒๕๕๕ โรงไฟฟ้า พลังงานก๊าซผลิตไฟร้อยละ ๔๓.๖ พลังน�ำ้ ผลิตได้ ร้อยละ ๒๔.๒ ถ่านหินลิกไนต์ และถ่านหินแข็ง ในประเทศร้อยละ ๑๖.๒ และถ่านหินแข็งน�ำเข้า แผนกลยุทธ์ถ่านหินของประเทศตุรกี ก็คือ การลด ร้อยละ ๑๒.๒ นอกจากนั้นตุรกียังมีแผนจะเพิ่ม การน�ำเข้าและเพิ่มการใช้ ลิกไนต์ และถ่านหินแข็ง ก�ำลังผลิตจากพลังงานนิวเคลียร์อีกด้วย ทีม่ อี ยูใ่ นประเทศเพือ่ น�ำไปผลิตไฟฟ้า โดยใช้เทคโนโลยี ถ่านหินสะอาด โดยมีเป้าหมายว่าจะเพิ่มก�ำลังผลิต ติดตั้งของโรงไฟฟ้า ถ่านหินเพิ่มขึ้นเป็น ๑๘,๐๐๐ เมกะวัตต์ ในอีก ๑๐ ปีข้างหน้า ซึง่ จากการส�ำรวจทีด่ ำ� เนินการอยูค่ าดว่าจะพบแหล่ง ถ่านหิน อีกกว่า ๕.๘ พันล้านตัน แม้วา่ ถ่านหินลิกไนต์ ทีพ่ บจะมีคณ ุ ภาพต�ำ่ ก็ตาม แต่ยงั เป็นแหล่งพลังงาน ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในเวลานี้ ไม่วา่ จะเป็นในเหตุผลด้านราคา ปริมาณส�ำรอง การลงทุนและต้นทุนการผลิต

ที่มา : PennEnergy วันที่ : ๒๓ กันยายน ๒๕๕๗ http://www.powerengineeringint.com/articles/2014/08/turkey-scoal-resource-a-potential-economic-boon-iea-report.html


๑๒

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

โรงไฟฟ้าในอนาคต

Plant For Future

เคล็ ด (ไม่ ) ลั บ การเพิ่มสมรรถนะโรงไฟฟ้า

พิชิตโจทย์...ยกระดับ กฟผ. ขึ้นสู่หัวแถวของโลก เรื่อง : สุรินทร์ หล่อฤๅทัย ภาพ : กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการ กฟผ.

การจะขับเคลือ่ นให้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ให้สามารถเติบโตอย่างยัง่ ยืน จ�ำเป็นต้องแสดง ออกถึงความเป็นมืออาชีพ เพือ่ ให้ได้รบั การยอมรับ และการสนับสนุนการด�ำเนินงานจากสังคม ซึง่ หนึง่ ในนัน้ ก็คอื การเพิม่ สมรรถนะของโรงไฟฟ้าให้อยูใ่ น ระดับต้นๆ ของโลก

ระบบไฟฟ้าของประเทศ ทางออกของ กฟผ. ก็คือ การแสดงออกถึงความเป็นมืออาชีพ ทีส่ ามารถดูแล ความมัน่ คงด้านพลังงานไฟฟ้า และรักษาระดับราคา พลังงานไฟฟ้าให้เหมาะสม ควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สังคมยอมรับและ สนับสนุนการด�ำเนินงาน

นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการ กฟผ. ประกาศ ในงานวันคล้ายวันสถาปนา กฟผ. ครบรอบ ๔๕ ปี เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ที่ผ่านมาว่า สัดส่วนก�ำลังผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. ลดลงอย่างต่อเนือ่ ง หลังจากนโยบายภาครัฐเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามา แข่งขัน จนปัจจุบนั มีสดั ส่วนก�ำลังผลิตไฟฟ้ารวมกัน มากกว่าครึง่ หนึง่ ของทัง้ ระบบ ท�ำให้ กฟผ. ไม่สามารถ รักษาสัดส่วนก�ำลังผลิต เพือ่ รักษาความมัน่ คงให้แก่

“สิง่ จ�ำเป็นที่ กฟผ. ต้องท�ำ คือ การพยายามลดการ พึง่ พาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า และน�ำถ่านหิน มาใช้ทดแทน เนื่องจากเป็นเชื้อเพลิงราคาถูกและ มีปริมาณส�ำรองอยูม่ าก รวมถึงการพยายามลดต้นทุน ในการผลิตไฟฟ้าด้วยการเพิม่ สมรรถนะ (Performance) ของโรงไฟฟ้าควบคูไ่ ปด้วย เพือ่ ให้โรงไฟฟ้าของ กฟผ. อยูใ่ นอันดับต้นๆ ของโลก เมือ่ เปรียบเทียบกับมาตรฐาน สากล”


๑๓

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นายสมยศ ธีระวงศ์สกุล รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า ฉายภาพการบริหารจัดการด้านการผลิตไฟฟ้าให้มี ความมั่นคง มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และ มีต้นทุนที่เหมาะสม โดยได้มีการแบ่งกลุ่มโรงไฟฟ้า ที่มีความหลากหลายตามลักษณะของการผลิตเชิง กลุ่ม (Fleet Management) ส่วนการสั่งการเดิน เครื่องโรงไฟฟ้าที่มีความพร้อมอยู่ในระบบขณะนั้น ต้องเริ่มจากโรงไฟฟ้าที่มีต้นทุนการผลิตต�่ำที่สุดไล่ ไปตามล�ำดับ เช่นกัน โรงไฟฟ้าชั้นน�ำของโลกจึงให้ ความส�ำคัญกับเรือ่ งดังกล่าวเป็นอย่างมาก เห็นได้จาก การทีท่ วีปอเมริกาเหนือ มี North American Electric Reliability Corporation (NERC) ขณะทีส่ หภาพ ยุโรปมี The Union of the Electricity Industry (EURELECTRIC) ท�ำหน้าทีเ่ ป็นองค์กรระดับภูมภิ าค ทีเ่ กีย่ วข้องกับการก�ำหนดมาตรฐาน และจัดท�ำรายงาน นายสมยศ ธีระวงศ์สกุล รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า

ข้อมูลสมรรถนะของโรงไฟฟ้าในภูมิภาค ผลการ ศึกษามุมมองด้านสมรรถนะ (Performance) หรือของ กระบวนการผลิตไฟฟ้าประกอบไปด้วยมุมมองหลัก ๓ ประการ คือ ๑. มุมมองด้านความพร้อมใช้งานของโรงไฟฟ้า (Availability) ๒. มุมมองด้านความมั่นคงเชื่อถือได้ของโรงไฟฟ้า (Reliability) ๓. มุมมองด้านประสิทธิภาพการผลิต (Efficiency) หรืออัตราค่าความร้อนที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ต่อหน่วย (Heat Rate) ส�ำหรับ กฟผ. ในฐานะผู้ผลิตไฟฟ้าชัน้ น�ำในระดับสากล ก็ให้ความส�ำคัญกับเรื่องนี้ โดยจัดท�ำระบบดัชนี สมรรถนะการผลิต โดยมีต้นแบบมาจากระบบ


๑๔

ดั ช นี สมรรถนะการผลิ ต ของ NERC ซึ่งเรียกว่า Generating Availability Data System (GADS) พร้อมทั้งเริ่มน�ำมาใช้งานอย่างเป็นทางการตั้งแต่ วันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๐ และมีการน�ำข้อมูล ดัชนีสมรรถนะโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ไปเทียบเคียง (Benchmarking) กับ NERC ในมุมมองด้านความ พร้อมใช้งาน และมุมมองความมั่นคงเชื่อถือได้ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ขณะเดียวกัน ได้มีการ ก�ำหนดเรือ่ งปัจจัยค่าความพร้อมจ่ายไฟฟ้า (GWEAF) และอัตราค่าความร้อนทีใ่ ช้ในการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วย (Heat Rate) เป็นตัวชีว้ ดั การด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้า ในรูปแบบ KPI (Key Performance Index) ด้วยเช่นกัน

รักษาทั้งในแผนและนอกแผนให้ลดลง แม้ว่าจะมี โรงไฟฟ้าที่มีอายุการใช้งานสูงอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ก็ตาม ดังนัน้ ในการเปรียบเทียบกับโรงไฟฟ้าในระดับ สากล พบว่า สมรรถนะการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. ดีกว่าค่าเฉลีย่ ของ NERC (มีคา่ ความพร้อมจ่ายไฟฟ้า ของกลุ่มโรงไฟฟ้าพลังความร้อน ร้อยละ ๘๕.๘๘ และของกลุ่มโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ร้อยละ ๘๖.๗๖) แต่ยังเป็นรองกลุ่มหัวแถวของระดับโลก (Top Decile World Class) อยู่เล็กน้อย (มีค่า ความพร้อมจ่ายไฟฟ้าของกลุม่ โรงไฟฟ้าพลังความร้อน ร้อยละ ๙๒.๕ และของกลุม่ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ร้อยละ ๙๕) จึงตั้งเป้าหมายในการเพิ่มสมรรถนะ “ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ จนถึงปัจจุบนั ค่าความพร้อม ให้สามารถเทียบเคียงกับกลุม่ หัวแถวของระดับโลก จ่ายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า กฟผ. โดยรวม มีค่าสูงกว่า พร้อมทัง้ มีการระบุไว้ในบันทึกข้อตกลงการประเมิน ร้อยละ ๙๒.๑ เมื่อปี ๒๕๕๖ ซึ่งมีค่าสูงขึ้นกว่า ๑๐ ผลการด�ำเนินงานของ กฟผ. อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน” ปีทแี่ ล้ว อยูท่ รี่ อ้ ยละ ๘๐ แสดงให้เห็นถึงความสามารถ นอกจากนีค้ า่ ความพร้อมจ่ายไฟฟ้า ส่วนหนึง่ มาจาก ในการควบคุมระยะเวลาการหยุดเครื่องเพื่อบ�ำรุง ปัจจัยส�ำคัญทีส่ ง่ ผลให้โรงไฟฟ้าไม่สามารถเดินเครือ่ ง

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ได้โดยไม่หยุดพักก็คือ การหยุดเดินเครื่องเพื่อซ่อม บ�ำรุงตามแผน (Planned Outage) และการหยุด เดิ น เครื่ อ งเพื่ อ ซ่ อ มบ� ำ รุ ง นอกแผน/ฉุ ก เฉิ น (Forced Outage) ดังนั้น หากสามารถลดทั้ง ๒ ส่วนนี้ลงได้ค่าความพร้อมจ่ายไฟฟ้าก็ย่อมเพิ่มขึ้น “หากต้องการก้าวขึ้นไปสู่ระดับหัวแถวของโลก แต่ละโรงไฟฟ้ามีสิ่งที่ต้องท�ำเพิ่มเติมอีกมากมาย ในอนาคต เช่น การสร้างโมเดลความพร้อมจ่าย (Availability Model) เพื่อให้รู้ว่าแต่ละโรงไฟฟ้า มีจดุ อ่อนและมักประสบปัญหาจากอุปกรณ์อะไรบ้าง เพื่อที่จะได้ดูแลบริหารจัดการในส่วนดังกล่าวมิให้ เกิดเหตุขัดข้องขึ้น” ส่วนเรือ่ งของอัตราการใช้เชือ้ เพลิงเพือ่ การผลิตไฟฟ้า ต่อหน่วยนั้น เป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไปว่า ขึ้นอยู่กับ เทคโนโลยีเป็นหลัก โรงไฟฟ้ารุน่ ใหม่จงึ มีอตั ราการใช้ เชือ้ เพลิงเพือ่ การผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยทีด่ กี ว่าโรงไฟฟ้า


๑๕

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

รุ่นเก่าเสมอ ยิ่งในปัจจุบันเทคโนโลยีมีการพัฒนา อย่างรวดเร็วมาก ทั้งที่ระยะเวลาของเทคโนโลยี ห่างกันเพียงไม่กี่ปี การพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้า แห่งใหม่ในอนาคต อาจต้องปรับแนวคิดจากเดิม ที่ก�ำหนดว่า ต้องเป็นเทคโนโลยีที่มีประสบการณ์ ในการใช้งานไม่ต�่ำกว่า ๓ ปี เพื่อความน่าเชื่อถือ ซึ่งท�ำให้เสียโอกาสในการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ใหม่ ทีส่ ดุ ทัง้ ทีส่ ามารถเลือกใช้วธิ กี ารเพิม่ ความน่าเชือ่ ถือ ในรูปแบบอื่นได้ เช่น การเลือกใช้บริการงานบ�ำรุง รักษาเครื่องกังหันก๊าซระยะยาว (Long Term Services Agreement) เป็นต้น เพื่อให้ กฟผ. ได้ โ รงไฟฟ้ า ใหม่ ที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ทั น สมั ย และมี ประสิทธิภาพสูง

๑. การพยายามลดการสูญเสียความร้อนในอุปกรณ์ หลัก (Major Loss) โดยให้แต่ละโรงไฟฟ้า วิเคราะห์ออกมาว่า เกิดความสูญเสียความร้อน ในอุปกรณ์หลักส่วนใดบ้าง และเกิดจากสาเหตุใด เพื่อน�ำไปสู่การแก้ปัญหาดังกล่าว ๒. การปรับปรุง (Upgrade) อุปกรณ์ในโรงไฟฟ้า ทีส่ ง่ ผลให้คา่ อัตราการใช้เชือ้ เพลิงเพือ่ การผลิต ไฟฟ้าต่อหน่วยไม่ดี ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบของ การซ่อม (Repair) และการเปลี่ยน (Replace) ๓. การเปลีย่ นเทคโนโลยีใหม่ หรือการสร้างโรงไฟฟ้า ใหม่ขึ้นมาทดแทน

ดังนัน้ ทัง้ ๓ วิธนี ี้ ช่วยให้โรงไฟฟ้าเก่ามีคา่ ประสิทธิภาพ ทางด้านโรงไฟฟ้าเก่า มีความพยายามปรับปรุงค่า ที่สูงขึ้นได้ ส่วนจะใช้วิธีการใดนั้นขึ้นอยู่กับความ อัตราการใช้เชื้อเพลิงเพื่อการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วย เหมาะสมและความคุ้มค่าในการลงทุนตามแต่ละ มาโดยตลอดเช่นเดียวกัน โดยด�ำเนินการใน ๓ ส่วน กรณี และหากในอนาคต กฟผ. มีสดั ส่วนของโรงไฟฟ้า ได้แก่ แห่งใหม่ที่มาทดแทนโรงไฟฟ้าแห่งเก่าที่หมดอายุ

การใช้งาน ก็จะส่งผลดีต่อค่าอัตราการใช้เชื้อเพลิง เพื่อการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยโดยรวมด้วยเช่นกัน การเพิม่ สมรรถนะของโรงไฟฟ้า มิใช่เรือ่ งง่าย แม้เพียง ร้อยละ ๑ เพิม่ ขึน้ มา ก็ตอ้ งใช้ความพยายามและการ ทุม่ เททัง้ พลังสมอง พลังกาย และพลังใจ เป็นอย่างมาก ซึง่ ผลตอบแทนความส�ำเร็จนัน้ ก็มหาศาลและคุม้ ค่า ต่อความเหนือ่ ยยากเช่นเดียวกัน ซึง่ เป้าหมายส�ำคัญ ของการเพิม่ สมรรถนะของโรงไฟฟ้านัน้ มิได้เป็นเพียง แค่การพยายามท�ำให้ กฟผ. ได้รับการยอมรับใน ระดับโลกเท่านัน้ แต่ยงั เป็นความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจในการ ลดต้น ทุน ทางด้านพลังงานไฟฟ้าเพื่อ ประโยชน์ และความสุขของคนไทยทั้งประเทศอีกด้วย


๑๖

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

EGAT BEST แผนยุทธศาสตร์ กฟผ. เพื่อมุ่งสู่ระดับโลก เรื่อง : สุรินทร์ หล่อฤาทัย

แผนยุทธศาสตร์ เปรียบเสมือนแผนทีส่ ำ� คัญระดับ องค์การทีร่ ะบุวา่ องค์การควรจะเดินไปบนเส้นทางใด ด้วยวิธกี ารอย่างไร เพือ่ ให้สามารถประสบความส�ำเร็จ ตามเป้าหมายที่วางไว้ หากไม่มีแผนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมายก็จะยาก ล�ำบากยิ่งขึ้น

สถานการณ์แวดล้อมในระดับโลกมีการเปลีย่ นแปลง อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น พร้อมกับการแข่งขันจาก ผูเ้ ล่นในระดับโลกทีเ่ พิม่ มากขึน้ รวมถึงปัจจัยทีเ่ ป็น ความท้าทายและความกดดันจากสังคมหลายประการ จ�ำเป็นต้องมีการวิเคราะห์สถานการณ์ลว่ งหน้าและ ก�ำหนดแผนในระยะยาวเพิ่มขึ้นเป็น ๑๐ ปี ให้ นายวราวุธ ศิริผล ผู้ช่วยผู้ว่าการนโยบาย ทีผ่ า่ นมา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ครอบคลุมมุมมองตัง้ แต่ระดับโลก เชือ่ มโยงลงมาถึง ระดั บ ภู ม ภ ิ าคอาเซี ย น ระดั บ ประเทศ จนกระทั ง ่ ถึ ง มีการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ภายใต้ชอื่ “แผนวิสาหกิจ จากเงื่อนไขดังกล่าวท�ำให้การก�ำหนดยุทธศาสตร์ กฟผ.” เป็นประจ�ำทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดย ระดับองค์การ ให้ เ หมาะสมกั บ องค์ ก ารเป็ น เรื่ อ งที่ ย ากยิ่ ง ขึ้ น จะก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงานขององค์การล่วงหน้า นายวราวุธ ศิริผล ผู้ช่วยผู้ว่าการนโยบาย กฟผ. จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ผู ้ ช ่ ว ยที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญพิ เ ศษ ภายใต้กรอบระยะเวลา ๕ ปี แต่ในปัจจุบนั โครงสร้าง กล่าวถึงแนวทางการวางยุทธศาสคตร์ กฟผ. เพื่อ กฟผ. จึงได้จ้างบริษัท McKinsey & Company อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงที่ ร วดเร็ ว ดั ง กล่ า วว่ า ประเทศไทย ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญด้านการจัดท�ำแผน


๑๗

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ยุทธศาสตร์ พร้อมทั้งมีองค์ความรู้ ประสบการณ์ ตลอดจนเครือข่ายผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจาก ทัว่ โลก มาเป็นทีป่ รึกษาในการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ กฟผ. ฉบับใหม่ (ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๘) ซึ่งมีชื่อภาษาอังกฤษว่า Building Excellence for Society and Thailand 2015-2025 หรือ EGAT BEST 2015-2025 ส�ำหรับ EGAT BEST 2015-2025 จะเน้นความเป็น EGAT Group เพือ่ สร้างพลังร่วม (Synergy) ระหว่าง กฟผ. กับบริษัทในเครือ จึงได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ใหม่ ให้สะท้อนเป้าหมายในภาพรวมของ EGAT Group คือ การเป็นกลุ่มองค์การด้านกิจการไฟฟ้าของ อาเซียนที่มีความสามารถระดับโลก (Global-Top Quartile ASEAN Integrated Utility Group) ประกอบไปด้วย ๓ ยุทธศาสตร์หลัก ได้แก่ ๑. การพัฒนาระดับความสามารถด้านการผลิต และส่ ง พลั ง งานไฟฟ้ า ให้ ก ้ า วไปสู ่ ร ะดั บ โลก (Global-Top Quartile Player) ๒. การใช้ ค วามเชี่ ย วชาญเพื่ อ สร้ า งการเติ บ โต (Regional Power Specialist) ๓. การแบ่งปันองค์ความรู้และประสบการณ์ของ กฟผ. ออกสู่สังคม (Learning For Society) ทั้งนี้ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ฉบับใหม่ กฟผ. มีงาน ทีต่ อ้ งด�ำเนินการ รวมถึงการปรับปรุงและพัฒนางาน ในหลายส่วน เพือ่ ให้แผนประสบผลอย่างเป็นรูปธรรม ซึง่ จากการวิเคราะห์มงี านส�ำคัญทีต่ อ้ งเร่งด�ำเนินการ ๔ ส่วน คือ ๑. การปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการผลิตไฟฟ้า ไปสู่ระดับโลก (Global-Top Quartile) และ การปรับปรุงงานด้านการก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้า (เพื่อให้สามารถลดระยะเวลาในการด�ำเนินงาน และค่าใช้จ่ายลงประมาณร้อยละ ๓๐) ๒. การวางแผนขยายธุรกิจเกี่ยวเนื่องทั้งในและ ต่างประเทศ ๓. การวางแผนถ่ายทอดความรู้สู่สังคม ๔. การติดตามและเร่งรัดการด�ำเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร์ฉบับใหม่

ซึ่งงานทั้ง ๔ ส่วนดังกล่าว กฟผ. ร่วมกับบริษัท ที่ปรึกษา ด�ำเนินการ พร้อมมีการวางรากฐาน เพื่อ พัฒนาศักยภาพของบุคลากร กฟผ. ในลักษณะ Coaches

ส� ำ หรั บ แนวทางที่ จ ะใช้ เ พื่ อ ให้ ก ารรุ ก ตลาดต่ า ง ประเทศมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ในการจัดท�ำแผน EGAT BEST 2015-2025 จึงได้มีการประเมิน โอกาสทางธุรกิจของ กฟผ. (ตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ ถึงปลายน�ำ้ ) ไว้ ประมาณ ๙ ทางเลือก พร้อมทั้งเรียงล�ำดับตาม ส่วนเรือ่ งการดูแลรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม (CSR) ซึ่งเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญไม่แพ้เรื่องอื่น ความส�ำคัญและความน่าสนใจ ซึง่ ๓ ทางเลือกแรก จะมุง่ เน้นเรือ่ งการแบ่งปันองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์ ได้แก่ ของ กฟผ. ออกสู่สังคม (Learning for Society) ๑. การเข้ า ไปท� ำ โครงการในสหภาพเมี ย นมาร์ โดยมีแนวคิดการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ของ กฟผ. (ทัง้ ด้านโรงไฟฟ้าและระบบส่งไฟฟ้า) แม้ปจั จุบนั เพื่อใช้เป็นแหล่งการเรียนรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าที่ สหภาพเมียนมาร์ใช้ไฟฟ้าอยู่เพียง ๑ ใน ๑๐ ส�ำคัญในระดับอาเซียน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้มี ของไทย แต่ผลจากการเปิดประเทศเมือ่ ไม่นานมานี้ ส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ทุกกลุ่ม และเป็น จะพลิ ก โฉมสหภาพเมี ย นมาร์ เ ป็ น อย่ า งมาก ประโยชน์ต่อประเทศชาติในภาพรวม เปรียบเทียบอย่างง่ายว่า หากวันข้างหน้าเศรษฐกิจ นายวราวุธ ศิรผิ ล ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การนโยบาย กล่าวอีกว่า ของสหภาพเมียนมาร์เติบโตจนความต้องการใช้ไฟฟ้า ที่ผ่านมา กฟผ. มุ่งเน้นการเติบโตด้วยตลาดภายใน ก้าวขึน้ มาอยูร่ ะดับเดียวกับไทย ก็หมายความว่า ประเทศ ซึง่ มีการแบ่งโควตา (ระหว่างส่วนของ กฟผ. สหภาพเมียนมาร์ยังสามารถเติบโตได้อีกมาก กับ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน) อย่างค่อนข้างชัดเจน ตาม จึงถือเป็นโอกาสดีที่ กฟผ. จะต้องรีบเข้าไปตัง้ แต่ นโยบายภาครัฐทีส่ ะท้อนผ่านแผนพัฒนาก�ำลังผลิต ระยะแรกเริม่ โดยอาศัยความเป็นประเทศเพือ่ นบ้าน ไฟฟ้าของประเทศไทย ทั้งยังมีความเสี่ยงจากการ ที่มีความสัมพันธ์อันดี และมีพรมแดนติดกัน ที่ได้รับมอบหมายภารกิจที่ค่อนข้างยาก และความ กระนั้น ก็มิอาจประมาทประเทศคู่แข่งอื่นๆ ได้ เสีย่ งจากการถูกลดทอนสัดส่วนก�ำลังการผลิตไฟฟ้า กลยุทธ์ที่ดี ก็คือ กฟผ. ต้องเข้าไปช่วยพัฒนา เสียส่วนแบ่งทางการตลาดให้กบั ผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชน คุณภาพชีวิตของชาวสหภาพเมียนมาร์ด้วย ๒. การเป็นผูน้ ำ� เข้าเชือ้ เพลิง โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติ ดังนั้น หากต้องการเติบโตอย่างยั่งยืน และเติบโต อัดเหลว (LNG) ซึง่ ในอนาคตนับวันประเทศไทย มากกว่าโควตาในประเทศที่ได้รับมอบหมาย กฟผ. จะต้องมีการน�ำเข้าจากต่างประเทศในปริมาณ ต้องพยายามขยายการลงทุนออกไปยังต่างประเทศ ที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และปัจจุบัน กฟผ. โดยเฉพาะประเทศเพือ่ นบ้านในกลุม่ อาเซียน เนือ่ งจาก ก็เป็นผู้ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติรายใหญ่อยู่แล้ว ตลาดในภูมภิ าคย่อมมีขนาดใหญ่กว่าตลาดในประเทศ ๓. การพัฒนาโรงไฟฟ้าชีวมวล เพราะเป็นโรงไฟฟ้า กระนัน้ การแข่งขันกลับยิง่ เพิม่ ขึน้ มากกว่าเดิม มีการ พลังงานหมุนเวียนที่รัฐบาลให้การสนับสนุน วิเคราะห์กันว่า โอกาสที่เพิ่มขึ้นมา ๒ เท่า จะมีการ และโอกาสยังเปิดกว้างอีกมาก ส่วนทางเลือก แข่งขันที่เพิ่มขึ้นถึง ๔ เท่า เนื่องจากคู่แข่งมีทั้งผู้ อื่นๆ จะพิจารณาด�ำเนินการในล�ำดับต่อไป ประกอบการในประเทศนัน้ ๆ รวมถึงผูป้ ระกอบการ จากต่างแดน โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศพัฒนาแล้ว ทั้ ง หมดเป็ น แนวคิ ด และกรอบในการด� ำ เนิ น ซึ่งความต้องการใช้ไฟฟ้าในประเทศขยายตัวน้อย กิจการของ กฟผ. และ กลุ่มบริษัทในเครือ ในอีก จนต้องออกมาแสวงหาตลาดนอกภูมิภาค จะเห็น ๑๐ ปีข้างหน้า เพื่อก้าวสู่การเป็นองค์การด้าน ได้วา่ การรุกตลาดต่างประเทศก็มใิ ช่เรือ่ งง่าย จึงต้อง กิ จ การไฟฟ้ า ของอาเซี ย นที่ มี ค วามสามารถ มีเทคนิคและกลยุทธ์ที่ดี รวมถึงความสัมพันธ์ที่ดี ระดับโลก กับประเทศเป้าหมาย


๑๘

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

“รักองค์การ มุ่งงานเลิศ เทิดคุณธรรม” อยู่ในสายเลือดของคน กฟผ. เรื่อง : กฤษณ์ สุนทรชาติ


๑๙

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

กว่าที่องค์การหนึ่งจะสามารถพัฒนาองค์การให้เจริญ ก้าวหน้าได้อย่างยั่งยืนนั้น สิ่งส�ำคัญประการหนึ่ง คือ ทุ ก คนในองค์ ก ารต้ อ งมี พ ฤติ ก รรมที่ เ กิ ด ขึ้ น จากคน ในองค์การ โดยมีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และยึดถือ ปฏิบัติกันมาจนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในองค์การนั้น หรือที่เรียกกันว่า “วัฒนธรรมองค์การ” วัฒนธรรมองค์การ จึงเป็นเรือ่ งทีอ่ งค์การต่างๆ ให้ความ ส�ำคัญ รวมทั้งตระหนักที่จะเสริมสร้างและกระตุ้นให้ คนในองค์การแสดงพฤติกรรมทีส่ อดคล้องและเหมาะสม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม้จะมี อายุองค์การถึง ๔๕ ปี เทียบเท่ากับวัยกลางคนแล้ว แต่อดีตผู้ว่าการ กฟผ. คนแรก นายเกษม จาติกวณิช นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์ ได้มีการวางรากฐานวัฒนธรรมองค์การไว้อย่างแยบยล ล้วนเกิดจากความทุ่มเท และการปฏิบัติให้เห็นเป็น ตั้งแต่ก่อตั้งองค์กร หากย้อนไปช่วงหนึ่งของการท�ำงานในอดีตสมัยสร้าง แบบอย่าง จากตัวท่านเอง จนผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อน โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ร่วมงาน เกิดการยอมรับและน�ำไปใช้เป็นแนวทาง หน่วยที่ ๑ ขนาด ๗๕ เมกะวัตต์ ซึง่ ใช้เวลาก่อสร้าง ๑ ปี ประพฤติปฏิบัติ จนฝังอยู่ในสายเลือดของผู้บริหาร ๘ เดือนเท่านั้น ซึ่งคุณเกษม จาติกวณิช เคยเล่าว่า และผู้ปฏิบัติงาน ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น จนกลายเป็น การสร้างโรงไฟฟ้า ๗๕ เมกะวัตต์ ยากกว่าการสร้าง วัฒนธรรมของ กฟผ. “รักองค์การ มุ่งงานเลิศ เทิด โรงไฟฟ้าขนาด ๖๐๐ เมกะวัตต์ในสมัยนี้เสียอีก เพราะ คุณธรรม” จนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้การด�ำเนินงานของ ต้องพบกับอุปสรรคมากมายในการก่อสร้าง อีกทั้งต้อง กฟผ. เจริญก้าวหน้าและได้รับความเชื่อถือ

ท�ำงานกันทั้งกลางคืนและกลางวัน แต่เมื่อแล้วเสร็จ ถึงแม้วา่ เวลาจะผ่านมาถึง ๔๕ ปี เกิดความเปลีย่ นแปลง ความยากล�ำบากนี้ท�ำให้เรารู้ว่า นี่แหละ คือ หัวใจของ ต่างๆ มากมายทัง้ ใน กฟผ. และสังคมภายนอก แต่ กฟผ. ก็ยังมีการปลูกฝังวัฒนธรรมองค์การที่ดีงามนี้อย่างไม่ คน กฟผ. ที่พร้อมใจกัน สามัคคีกัน “...ผมคิดว่าความส�ำเร็จของการท�ำงานเวลานั้น คง หยุดยัง้ โดยน�ำค่านิยม FIRM-C ให้สอดรับกับวัฒนธรรม สืบเนื่องมาจากพลังของคนหนุ่มสาว ผมในฐานะ องค์การมาใช้และส่งเสริมให้คนในองค์การน�ำค่านิยม หัวหน้าอายุ ๓๒ ปี ลูกน้องของผมอยูใ่ นวัยหนุม่ ทัง้ สิน้ ไปสูก่ ารปฏิบัติจริง คนรุ่นเหล่านี้ พวกเขาเป็นคนเปี่ยมความฝัน เขาจะ ทุม่ เทเต็มทีเ่ สมอ และแรงกายแรงใจก็จะบริสทุ ธิ์ ไม่เห็น แก่ผลประโยชน์ลาภยศ ไม่ตอ้ งการคอร์รปั ชัน โกงกิน งานของเราจึงรุดหน้าอย่างรวดเร็ว แม้กระทั่งเกิด อุปสรรคหลายครั้งหลายหนก็ตาม”๑

นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์ รองผู้ว่าการบริหาร กฟผ. เป็นบุคคลหนึ่งที่ได้รับถ่ายทอดวัฒนธรรมจากอดีต เผยว่า ทุกองค์การย่อมมีวฒ ั นธรรมเป็นของตนเอง และ มีค่านิยมเป็นตัวก�ำหนดพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน หรือเป็นสิ่งชี้น�ำแนวทางการด�ำเนินงาน วัฒนธรรม แต่ ละแบบสามารถสร้างความส�ำเร็จให้องค์การได้ทงั้ สิน้ “ในอดีตนั้นงานส�ำเร็จลงได้ด้วยคน และพูดจาเป็น เสียงเดียวกัน” สิง่ ทีค่ ณ ุ เกษม จาติกวณิช กล่าวไว้ไม่ใช่ การก�ำหนดวัฒนธรรมองค์การรูปแบบใดนั้น ขึ้นอยู่กับ เรื่องง่ายที่จะท�ำให้ทุกคนเห็นและตระหนักต่อภารกิจ กลยุทธ์ขององค์การ ความจ�ำเป็นของเงื่อนไขต่างๆ

๑ หนังสือ อนุสรณ์ ๔๕ ปี โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ๒๕๐๔ – ๒๕๔๘ หน้า ๑๙


๒๐

รวมทัง้ สภาพแวดล้อม ดังนัน้ วัฒนธรรมของ กฟผ. เกิดจาก การเป็นรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่ มีระเบียบแบบแผน รวมถึง มีลำ� ดับชัน้ ในการท�ำงานเพือ่ ให้องค์การมีเสถียรภาพมัน่ คง ซึง่ เป็นลักษณะของวัฒนธรรมแบบราชการ (Brueaucratic Culture) แต่ปัจจุบัน ยุคสมัยที่เปลี่ยนเเปลงแบบก้าว กระโดด ท�ำให้ทกุ องค์การต้องเผชิญกับการเปลีย่ นเเปลง ท�ำให้เกิดการปรับตัวเองอยู่เสมอ เพื่อให้ทันต่อกระเเส การเปลี่ยนเเปลง จึงต้องเน้นการปฏิบัติการเชิงรุก ให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนือ่ ง คนในองค์การมีความขยันขันแข็ง และมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปรับปรุงระบบการท�ำงานให้คล่องตัว เปิดรับ ฟังความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกันมากขึน้ ยิง่ ในปัจจุบนั กฟผ. ได้วางเป้าหมายขององค์การที่จะก้าวสู่การเป็นองค์การ ชัน้ น�ำด้านกิจการไฟฟ้าของโลก Global Top Quartile ยิง่ ต้องท�ำให้ กฟผ. ต้องน�ำลักษณะวัฒนธรรมแบบมุง่ ผล ส�ำเร็จ (Achievement Culture) เข้ามาผสมผสานมากขึน้ ดังนั้น วัฒนธรรมองค์การ กฟผ. โดยเฉพาะค�ำว่า “มุ่งงานเลิศ” จึงตอกย�้ำการเป็นวัฒนธรรมแบบมุ่งผล ส�ำเร็จอย่างชัดเจน ทัง้ นี้ กฟผ. ได้มกี ารส่งเสริมให้บคุ ลากรมีพฤติกรรมตามที่ องค์การคาดหวังไว้ ตามค่านิยม FIRM-C ผ่านการรณรงค์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ผู้ ปฏิบัติงาน กฟผ. ได้รับรู้และยอมรับน�ำไปสู่การปฏิบัติ เกิดเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของคน กฟผ. สะท้อนถึง ภาพลั ก ษณ์ ที่ เ ป็ น คนดี คนเก่ง เพือ่ ให้เป็นทีภ่ าคภูมใิ จ ของคนไทยและเป็นทีไ่ ว้วางใจของสังคมทัว่ ไป โดยพฤติกรรม เหล่านัน้ ประกอบไปด้วย

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

Fairness ตั้งมั่นในความเป็นธรรม Integrity ยึดมั่นในคุณธรรม Responsibility & Accountability ส�ำนึกในความรับผิดชอบและหน้าที่ Mutual Respect เคารพในคุณค่าของคน Commitment to Continuous Improvement and Teamwork มุง่ มัน่ ในการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง และท�ำงานเป็นทีม จากรากฐานที่ผู้บริหาร กฟผ. ในอดีตได้วางไว้ วันนี้ได้ กลายเป็นฟันเฟืองส�ำคัญซีห่ นึง่ ทีข่ บั เคลือ่ นยุทธศาสตร์ ขององค์การ พร้อมๆ กับการปฏิบัติซ�้ำๆ ต่อเนื่องจนท�ำ ให้คำ� ว่า “รักองค์การ มุง่ งานเลิศ เทิดคุณธรรม” มีความ เข้มแข็งและเข้มข้นทัง้ องค์การ มีเป้าหมายในการท�ำงาน เป็นแนวทางเดียวกัน แม้แต่ผปู้ ฏิบตั งิ านใหม่กต็ าม ยังได้ มีการน�ำค่านิยม FIRM-C เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการ ปฐมนิเทศผู้ปฏิบัติงานใหม่ การประชุม อบรม เพื่อให้ ซึมซาบและน�ำไปปฏิบัติได้ นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์ กล่าวทิ้งท้าย การที่จะก้าวไปสู่ Global Top Quartile ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่เป็นเรื่องโชคดีของ กฟผ. ที่มีค่านิยม FIRM-C และ วัฒนธรรมองค์การ “รักองค์การ มุง่ งานเลิศ เทิดคุณธรรม” เป็นเสาหลักและพืน้ ฐานในการพัฒนาองค์การ ซึง่ ทัง้ สอง สิ่งนี้ได้หล่อหลอมให้ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ทุกคนที่มีความ หลากหลาย ให้มีวิถีการท�ำงาน และประพฤติปฏิบัติตน ไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อน�ำองค์การสู่ความส�ำเร็จตาม เป้าหมายที่วางไว้ รวมทั้งเป็นองค์การที่ได้รับความไว้ วางใจจากผู้มีส่วนได้เสียจากทุกภาคส่วน และที่ส�ำคัญ เป็นองค์การแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย


กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๒๑


๒๒

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

“ก๊พลังางานหมุ ซท�นำเวียมืน อจากเศษอาหาร ” สู่ก๊าซหุงต้ม เรื่องและภาพ : แผนกสื่อสารงานเชื้อเพลิง

โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากของเสียในครัวเรือน ชุมชนเกาะปอ อ�ำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เกิดขึน้ จากความร่วมมือระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) กับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ซึ่งเป็น หน่วยงานการศึกษาทีค่ น้ คว้าวิจยั การใช้พลังงาน หมุนเวียน เพือ่ แก้ปญ ั หาความขาดแคลนพลังงาน ในพื้นที่ภาคใต้ ร่วมกับศูนย์การเรียนรู้พลังงาน ทางเลือกเพื่อสุขภาพชุมชนภาคใต้

“ก๊าซท�ำมือ” และส่งเสริมการพัฒนาชุมชนให้สามารถ พึง่ พาตนเองได้ดว้ ยตนเองอย่างแท้จริง โดย ผศ.ดร.อุษา อ้นทอง อาจารย์วิกาญดา ทองเนื้อแข็ง และกลุ่ม นิสติ อาสาก๊าซชีวภาพ มหาวิทยาลัยทักษิณ เป็นคณะ ในการด�ำเนินโครงการ

การผลิตก๊าซชีวภาพ สามารถท�ำได้โดยการน�ำของ เสียจากเศษอาหารภายในครัวเรือน เศษขยะอินทรีย์ จากการท�ำประมงที่น�ำไปทิ้งลงทะเลมาหมักเป็น ก๊าซหุงต้ม โดย กฟผ. ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณ โครงการผลิตก๊าซชีวภาพ มีเป้าหมายเพือ่ ช่วยเหลือ เป็นระบบบ่อหมักก๊าซชีวภาพ ทีใ่ ช้เทคโนโลยีการบ�ำบัด ชุมชนบนเกาะห่างไกลทางภาคใต้ ให้มีพลังงาน ของเสียอินทรีย์แบบไร้อากาศ ซึ่งเป็นเทคโนโลยี หมุนเวียนจากการใช้ทรัพยากร มุ่งเน้นเรื่องระบบ หนึ่งที่ให้ก๊าซชีวภาพเป็นผลพลอยได้ ก๊าซชีวภาพครัวเรือน ที่ชาวชุมชนรู้จักกันในนาม


๒๓

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ก๊าซชีวภาพเป็นก๊าซผสมทีป่ ระกอบด้วยก๊าซมีเทน (CH4) ร้อยละ ๖๐-๗๐ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ร้อยละ ๒๘-๓๘ และก๊าซอืน่ ๆ ได้แก่ ก๊าซไฮโดรเจน (H2) ก๊าซไนโตรเจน (N2) และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ (H2S) เป็นต้น

ก๊าซระบายตามท่อไปสู่ถังเก็บก๊าซ ที่มีท่อต่อไปยัง เตาหุงต้ม เพื่อใช้ในการประกอบอาหาร โดยก๊าซ ชี ว ภาพจะเริ่ ม เกิ ด อย่ า งคงที่ ห ลั ง จากเริ่ ม ใส่ เ ศษ อาหาร ๒ สัปดาห์ นายโชคดี ระโสยบุตร และนางโอภา บ่อหนา สอง สามีภรรยาอาชีพประมงชายฝัง่ เป็นครัวเรือนแรกๆ ที่ เข้าร่วมโครงการนีต้ งั้ แต่เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ ทีผ่ า่ นมา บอกว่า ปัจจุบนั ตนมีถงั หมัก ๒ ถัง และถังเก็บก๊าซ ๒ ถัง มีปริมาณก๊าซเพือ่ ใช้หงุ ต้มในครัวเรือนได้อย่างเพียงพอ และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อก๊าซหุงต้ม ได้เป็น อย่างดี และรอบๆ บ้านก็ไม่มีของเสียให้เกิดแมลง อีกด้วย

วิธกี ารผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษอาหารนี้ ภายหลังจาก เตรียมถังเรียบร้อยแล้วก็นำ� มูลวัว จ�ำนวน ๑๘ ลิตร ผสมกับน�ำ้ สัดส่วนเท่าๆ กัน ใส่ในถังพลาสติกขนาด ๒๐๐ ลิตร โดยถังนี้จะเจาะท่อด้านล่างเพื่อระบาย กากอาหาร และเจาะท่อด้านบนเพือ่ ระบายน�ำ้ หมัก รวมทั้งมีท่อต่อไปยังถังพลาสติกขนาด ๒๐๐ ลิตร ที่ใช้ในการเก็บก๊าซชีวภาพ หลังจากที่หมักมูลวัว ๑ สัปดาห์ ก็ใส่เศษอาหารที่เหลือจากการบริโภค “เป็นประโยชน์เยอะ ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จา่ ยในบ้าน ลงไปในถังวันละไม่เกิน ๒ ลิตร เพื่อให้จุลินทรีย์ เศษน�ำ้ หมักก็เป็นปุ๋ยชีวภาพใช้รดต้นไม้ พืชผักที่ ในถังท�ำการย่อยสลายเศษอาหารเหล่านี้ จนเกิด ปลูกริมบ้าน และเศษปลาเศษปูที่ติดมากับอวน

ที่ผ่านมาต้องแกะแล้วไปทิ้งทะเล ตอนนี้เอามาใส่ ถังหมัก ท�ำให้ก๊าซมีพลังงานมากขึ้น” นายโชคดี ระโสยบุตร กล่าว โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากของเสียในครัวเรือน สร้างประโยชน์ดา้ นการอนุรกั ษ์ พลังงาน เพือ่ ทดแทน เชื้อเพลิงหลัก ในขณะที่สิ่งแวดล้อมยังลดปัญหา มลพิษทางน�้ำ ลดกลิ่นเหม็นของขยะ และลดการ ปล่อยก๊าซมีเทนขึน้ สูช่ นั้ บรรยากาศ เป็นการช่วย อัตราการเกิดภาวะเรือนกระจก ซึ่งเป็นต้นเหตุ ท�ำให้อณ ุ หภูมขิ องโลกสูงขึน้ เรียกได้วา่ โครงการนี้ มีแต่ได้กับได้


กฟผ. มุ่งมั่นดูแลสิ่งแวดล้อมด้านกลิ่น

สร้างความเชื่อมั่นต่อชุมชนแม่เมาะ เรื่องและภาพ : ประชาสัมพันธ์เหมืองแม่เมาะ

เหมืองแม่เมาะ ทีด่ ำ� เนินการโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ถือเป็นเหมืองถ่านหิน ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภาคพืน้ เอเชียอาคเนย์ โดยมีภารกิจ ส�ำคัญในการจัดหาถ่านหิน ซึง่ ได้แก่ ถ่านหินลิกไนต์ ทีโ่ รงไฟฟ้าแม่เมาะน�ำมาใช้เป็นเชือ้ เพลิงในการผลิต กระแสไฟฟ้า สร้างความมัน่ คงทางด้านพลังงานให้กบั ประเทศ พร้อมกับการดูแลชุมชนและสิง่ แวดล้อม โดยรอบ ซึง่ เป็นอีกหนึง่ ภารกิจทีม่ คี วามส�ำคัญไม่นอ้ ย กว่าการสร้างความมั่นคงทางด้านพลังงาน

การดูแลด้านสิ่งแวดล้อมของ กฟผ. ให้ความส�ำคัญ ต่อผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ทัง้ ด้านกลิน่ ฝุน่ เสียง น�้ำ และแรงสั่นสะเทือน ตั้งแต่ ในขั้นตอนของการ วางแผน การด�ำเนินงาน รวมถึงการควบคุมดูแล เพื่อให้อยู่ในเกณฑ์ที่ก�ำหนด นอกจากนั้น ยังน�ำ เทคโนโลยีและอุปกรณ์ทที่ นั สมัยมาใช้ในการเฝ้าระวัง ซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญและมีการด�ำเนินการมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะด้านกลิ่นที่เกิดขึ้นจากการลุกไหม้ของ ถ่านลิกไนต์ในบริเวณการท�ำเหมือง


นายกนก ดุสติ โสภณ หัวหน้าแผนกตรวจสอบคุณภาพ สิง่ แวดล้อมเหมือง ได้ให้สมั ภาษณ์ถงึ สาเหตุการเกิด กลิน่ ว่า ถ่านลิกไนต์เมือ่ สัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ แล้วจะเกิดปฏิกริ ยิ าสะสมความร้อน เมือ่ มีอณ ุ หภูมิ สูงขึ้นระดับหนึ่งจะเกิดการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ ปล่อยควัน ไอน�ำ ้ ก๊าซ และกลิน่ โดยปัญหาการเผาไหม้ จะมีมากหรือน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ ของถ่านลิกไนต์ รวมทั้งปัจจัยภายนอก เช่น สภาพ อากาศ ลักษณะการท�ำเหมือง ดังนั้นในการจัดการ นอกจากมีมาตรการแก้ไขแล้ว จะต้องมีมาตรการ ป้องกันเฝ้าระวังในการติดตามตรวจสอบเป็นประจ�ำ

เพือ่ ให้แน่ใจว่าการควบคุมกลิน่ ทีเ่ กิดจากถ่านลุกไหม้ ปรับปรุงการตรวจสอบให้รวดเร็วทันสมัย โดยหา ได้รับการดูแลผลกระทบควบคู่ไปกับการท�ำเหมือง เครื่องมือที่ทันสมัยมาใช้งานตรวจสอบพบก่อน เหมืองแม่เมาะเริม่ น�ำเทคโนโลยีมาใช้เพือ่ เฝ้าระวัง ที่ จ ะเกิ ด การลุ ก ไหม้ ซึ่ ง ปี ๒๕๔๙-๒๕๕๐ ในการตรวจสอบพื้นที่ลุกไหม้ในอดีตจะใช้วิธีให้ กองวิศวกรรมธรณี กฟผ. ได้ท�ำการจัดซื้อกล้อง เจ้าหน้าที่ส�ำรวจด้วยสายตา ซึ่งเป็นการด�ำเนินงาน ในเชิงรับและด้วยพืน้ ทีบ่ อ่ เหมืองมีขนาดใหญ่ ท�ำให้ อาจจะไม่ครอบคลุมทุกพืน้ ที่ ดังนัน้ ผูบ้ ริหารเหมือง แม่เมาะโดยผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การเหมืองแม่เมาะ ได้ให้ความ ส�ำคัญในเรื่องนี้ จึงได้มีการแต่งตั้งคณะท�ำงานการ จัดการสิ่งแวดล้อมด้านกลิ่นเพื่อรับผิดชอบในการ ก�ำหนดแนวทางป้องกันแก้ไขและเห็นว่าควรมีการ


Inpit+Dump.(พื้นที่+4.1)

กองถ่านในบ่อ(พื้นที่+C)

กองถ่านนอกบ่อ(Leonardite)

Infrared Thermography จ�ำนวน ๑ เครื่อง ซึ่งจับรังสีหรือวัตถุที่แผ่รังสีความร้อนออกมา และ แปลงความร้อนเป็นสัญญาณไฟฟ้า จากนั้นแปลง สัญญาณไฟฟ้าเป็นสัญญาณภาพ เมือ่ ศึกษาอุณหภูมิ ผิวถ่านในบ่อเหมืองและบนที่ทิ้งดินพบว่า ที่ ๖๐ องศาเซลเซียส ขึ้นไป สามารถเกิดการลุกไหม้หรือ เห็นควันเฉลี่ยภายใน ๔ และ ๒ วัน ตามล�ำดับ โดย ปี ๒๕๕๑ คณะท�ำงานการจัดการสิง่ แวดล้อมด้านกลิน่ จึงได้กำ� หนดเกณฑ์อณ ุ หภูมสิ ำ� หรับใช้ตรวจสอบและ แจ้งเตือนการเข้าดับ โดยหากอุณหภูมิมากกว่า ๖๐ องศาเซลเซียส มีโอกาสติดไฟสูงต้องเข้าดับภายใน

๒ วัน และอุณหภูมิ ๕๕- ๖๐ องศาเซลเซียส มีโอกาสติดไฟปานกลางต้องเข้าดับภายใน ๓ วัน พัฒนางานอย่างต่อเนื่องป้องกันก่อนเกิดเหตุ นายกนก ดุสิตโสภณ กล่าวเพิ่มเติมว่าในปี ๒๕๕๒ ได้มีการพัฒนาโดยการก�ำหนดพื้นที่ให้ชัดเจนและ ระยะเวลาการเข้าดับให้เข้มงวดกว่าเดิม โดยจัดโซน พื้นที่พิเศษ ได้แก่ บนที่ทิ้งดินและในบ่อ ต้องท�ำการ เข้าดับภายใน ๑ วัน และพื้นที่ปกติได้แก่ บริเวณ ไกลชุมชนหรือไม่มกี จิ กรรมขุดขนต้องเข้าดับภายใน ๒ วัน และนับตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ เป็นต้นมา เพื่อความ


ที่ทิ้งดิน(Line+C+เก่า)

ถ่านตาม+Slope

รวดเร็วในการตรวจสอบและครอบคลุมพืน้ ทีใ่ ห้มากขึน้ จากการขยายบ่อเหมืองด้านใต้ จึงเปลี่ยนค�ำเรียก จากการใช้อณ ุ หภูมเิ ป็นจุดความร้อน (HotSpot) แทน พร้อมปรับเกณฑ์ตวั แทนอุณหภูมจิ ดุ ความร้อนเข้มงวด ไปเป็น ๕๕ องศาเซลเซียส หลังจากตัง้ กองสิง่ แวดล้อม เหมื อ งแม่ เ มาะ ทางแผนกตรวจสอบคุณ ภาพ สิง่ แวดล้อมเหมือง กฟผ. ได้รบั โอนงานส�ำรวจพืน้ ที่ ลุกไหม้จากแผนกฟืน้ ฟูสภาพเหมือง กฟผ. มาด�ำเนินการ แทนจึงได้จดั ซือ้ กล้อง Infrared Thermography เพิ่มและวางแผนให้มีเจ้าหน้าที่ส�ำรวจเป็น ๒ คน เพื่อท�ำให้งานเฝ้าระวังมีประสิทธิภาพมากขึ้น

วิธแี ละผลส�ำรวจด้วยกล้อง Infrared Thermography ส�ำหรับวิธกี ารส�ำรวจนัน้ จะมีแผนปฏิบตั งิ านรายวัน ให้เจ้าหน้าทีส่ ำ� รวจตามเส้นทางทีก่ ำ� หนดในและบน ที่ทิ้งดิน เมื่อพบจะท�ำการปักป้าย วัดพิกัด จากนั้น โทรศัพท์แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบในแต่ละพื้นที่ พร้อมกับจัดท�ำรายงานเป็นทางการแจ้ง e-mail อีกครัง้ โดยจะประเมินผลพืน้ ทีล่ กุ ไหม้เทียบกับเกณฑ์ ของระบบคุณภาพ ISO ๑๔๐๐๑ ซึง่ ก�ำหนดไว้ตอ้ ง ไม่เกิน ๑๐๐ ตารางเมตรต่อวัน

ตารางเมตร/วัน ไม่เกินเกณฑ์ควบคุมที่ก�ำหนด เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่ามีพื้นที่ลุกไหม้ ลดลงร้อยละ ๓๗ เห็นได้ว่าในปี ๒๕๕๖ หากไม่มี การตรวจสอบพบจุดความร้อนก่อนที่จะเกิดการ ลุกไหม้เกิดขึ้น เชื่อว่ามีความเสี่ยงสูงที่จะมีพื้นที่ ลุกไหม้เกินเกณฑ์กำ� หนด ดังนัน้ การเฝ้าระวังผลกระทบ สิ่งแวดล้อมด้านกลิ่น จึงเป็นอีกภารกิจหนึ่งที่ต้อง ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากเป็นการลด ผลกระทบด้านกลิน่ แล้ว ยังเป็นการสร้างความเชือ่ มัน่ ผลการส�ำรวจ ปี ๒๕๕๖ เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ให้กับชุมชนใกล้เคียง เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่าง ระบบคุณภาพมีพื้นที่ลุกไหม้เกิดขึ้นสูงสุด ๗๕.๖ กัลยาณมิตรที่ดีต่อกัน


๒๘

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๑๑ สุดยอดพนักงานขับรถ กฟผ. เดินทางกว่า ๒ แสนกิโลเมตร ไร้อบุ ั ติเหตุ เรื่องและภาพ : ทีมข่าวประชาสัมพันธ์

“อุบตั เิ หตุบนท้องถนนก่อให้เกิดความสูญเสียทัง้ ชีวติ และ ทรัพย์สินแก่ประชากรไทยเป็นอย่างมาก ในแต่ละปีมีผู้ เสียชีวติ บนท้องถนนกว่า ๑๓,๐๐๐ ราย ไม่รวมผูบ้ าดเจ็บ ทีไ่ ม่สามารถประมาณการตัวเลขอย่างเป็นทางการได้ ซึง่ เมือ่ พิจารณาถึงมูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ประเมินได้วา่ อุบัติเหตุทางถนนก่อให้เกิดความสูญเสียถึง ๒๓๒,๘๕๕ ล้านบาทต่อปี (กรมทางหลวง , ๒๐๐๗)” การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีภารกิจในการผลิต จัดหาให้ได้มา จัดส่ง จ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้าฯ จึงมีหน่วยงาน ต่างๆ ในภูมิภาคทั่วประเทศ จึงต้องเดินทางด้วยรถยนต์ ซึง่ เป็นผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังในการท�ำงาน EGAT Magazine จึงขอ แนะน�ำ ๑๑ สุดยอดพนักงานขับรถ กฟผ. ที่ได้รับรางวัล ประกาศเกียรติคณ ุ โครงการสะสมไมล์ ไร้อบุ ตั เิ หตุ ประจ�ำปี ๒๕๕๕ จัดโดย คณะท�ำงานรณรงค์อบุ ตั เิ หตุยานพาหนะ กฟผ.

ซึง่ เป็นพนักงานขับรถทีส่ ามารถขับครบระยะทาง ๒๐๐,๐๐๐ กิโลเมตร โดยไม่เกิดอุบัติเหตุ ได้แก่ ๑. นายเดช เร็วชัย จากฝ่ายการผลิตเหมืองแม่เมาะ ๒. นายธานี จันนาค จากฝ่ายการผลิตเหมืองแม่เมาะ ๓. นายพรชัย พานิช จากฝ่ายก่อสร้างระบบส่ง ๔. นายบุญเชิด แสงจันทร์ จากฝ่ายก่อสร้างระบบส่ง ๕. นายสมศักดิ์ เกิดนาค จากฝ่ายก่อสร้างระบบส่ง ๖. นายปรีชา เฉลิมวัฒน์ จากฝ่ายบริการ ๗. นายกิตช์ฐพงศ จันทร์เรือง จากโรงไฟฟ้าน�้ำพอง ๘. นายวรศักดิ์ สอนอาสา จากฝ่ายโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๙. นายปัญญา นาถาบ�ำรุง จากโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑๐. นายวิรัตน์ บ้านพรวน จากฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ ๑๑. นายสิงหา เปรมบ�ำรุง จากฝ่ายพัฒนาบุคลากร


๒๙

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๑. ร่างกายต้องพร้อม และต้องควบคุมอารมณ์ให้ได้ การทีจ่ ะออกรถทุกๆ ครัง้ ต้องมัน่ ใจว่าร่างกายของ ตนเองอยู่ในสภาพสมบูรณ์เต็ม ๑๐๐ ได้พักผ่อน มาอย่างเพียงพอ ไม่ดมื่ แอลกอฮอล์ และเรือ่ งของ อารมณ์ระหว่างการขับขี่ หลายครั้งที่ไม่สามารถ หลีกเลีย่ งโทสะทีเ่ กิดจากการขับขีบ่ นท้องถนนได้ เพราะต้องใช้ทางร่วมกับคนมากมายที่มีทั้งดี และไม่ดี แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ ตัวเราเองจะต้องควบคุม อารมณ์ไว้ให้ได้ ถ้อยทีถ้อยอาศัย หลีกเลี่ยงการ กระทบกระทัง่ ไม่แซง ไม่ปาด ไม่ขบั จี้ เพราะอาจ ท�ำให้เกิดเหตุบานปลายและเกิดอุบัติเหตุได้

๓. ปฏิบตั ติ ามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด และไม่ประมาท ขับไม่เกินความเร็วทีก่ ำ� หนด หลายๆ ครัง้ ทีผ่ โู้ ดยสาร เรียกร้องให้ขบั เร็ว ให้ถงึ ทีห่ มายเร็วๆ หรือบางครัง้ ต้องขับใช้ความเร็วเนือ่ งจากเป็นงานฉุกเฉิน ส�ำคัญ ที่จะต้องรู้ข้อจ�ำกัดของตัวเองว่าขับใช้ความเร็ว ได้แค่ไหนทีย่ งั ปลอดภัยอยู่ ไม่ฝนื ตัวเอง อย่าหลงลืม ว่าสิ่งส�ำคัญที่สุดคือความปลอดภัยของตนเอง และผูโ้ ดยสาร เพราะทุกๆ คนมีครอบครัว มีหน้าที่ การงานทีต่ อ้ งรับผิดชอบ ถ้าเกิดอะไรร้ายแรงขึน้ มา ก็จะมีแต่เสียกับเสีย ทั้ง ๑๑ ท่าน ได้กล่าวเสริมว่า “โครงการนี้เป็น โครงการที่ดีมาก ท�ำให้พนักงานขับรถใน กฟผ. มีพฤติกรรมการขับขีพ่ าหนะได้อย่างปลอดภัยยิง่ ขึน้ ตระหนักถึงเรื่องความปลอดภัยในทุกๆ ครั้งของ การขับขี่ และ เพือ่ ตัวพนักงานขับรถเอง ตัวผูโ้ ดยสาร รวมทัง้ องค์การก็จะได้ลดค่าใช้จา่ ยจากความเสียหาย ทางยานพาหนะลงได้อีกด้วย” สุดท้ายนีพ้ ปี่ รีชา เฉลิมวัฒน์ ในฐานะผูม้ ปี ระสบการณ์ สูงสุดในกลุม่ ผูไ้ ด้รบั รางวัล เพราะในปีหน้า พีป่ รีชา ก็จะเกษียณอายุแล้ว ได้ทิ้งข้อคิดในการท�ำงานใน กฟผ. แก่ผปู้ ฏิบตั งิ านทุกคนว่า

๒. สภาพรถต้องสมบูรณ์ ทุกครัง้ ก่อนออกรถ จะต้อง ตรวจเช็ ค สภาพของรถยนต์ ว ่ า อยู ่ ใ นสภาพดี พร้อมใช้งานหรือไม่ ลมยาง ผ้าเบรค ต้องเช็ค อย่างสม�่ำเสมอ เดินส�ำรวจรอบรถยนต์ ซึ่งทาง กฟผ. จะมีแบบฟอร์มการตรวจเช็ครถ ก็ต้อง ตรวจเช็คให้เรียบร้อย ไม่หละหลวม แล้วเคยทราบกันไหมว่า หลักในการขับขีใ่ ห้ปลอดภัย ของสุดยอดพนักงานขับรถ ของ กฟผ. ทัง้ ๑๑ ท่าน ต่างบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า “ในการขับรถทุกครัง้ เป้าหมาย คือ ให้ถงึ ทีห่ มายด้วยความปลอดภัย ตัง้ สติ ก่อนสตาร์ท ต้องมีความรับผิดชอบต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของทั้งตนเอง ผู้โดยสาร และ กฟผ. คิดอยู่เสมอว่า ผู้โดยสารได้มอบความไว้วางใจให้ดูแลชีวิตระหว่าง เดินทาง ดังนัน้ ตนเองจะต้องดูแลความปลอดภัยของ ผู้โดยสารให้ดีที่สุด” โดยได้ยึดหลักส�ำคัญ ๓ ข้อ ในการขับรถ ได้แก่

“ขอฝากถึงผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ทุกคน ไม่ว่าจะอยู่ ในส่วนงานอะไรก็ตาม ขอให้ทำ� หน้าทีข่ องตัวเองอย่าง เต็มที่ คิดอยูเ่ สมอว่าจะท�ำงานให้องค์การเดินหน้า ต่อไปได้ ใครท�ำหน้าทีอ่ ะไรอยูก่ ข็ อให้ทำ� ให้ดที สี่ ดุ เพราะทุกๆ คนมีความส�ำคัญกับองค์การทั้งสิ้น และร่วมกันสนับสนุนภารกิจองค์การ เป็นกระบอก เสียงให้กบั กฟผ. ให้ดำ� เนินงานต่างๆ ได้อย่างราบรืน่ เช่น การสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ รักษาภาพลักษณ์ของ องค์การ สือ่ สารกับบุคคลรอบๆ ตัว ขอให้ชว่ ยกัน คนละไม้คนละมือครับ” การใช้รถใช้ถนนร่วมกันเป็นเรือ่ งส�ำคัญ ซึง่ สาเหตุ ที่ EGAT Magazine ฉบับนี้ น�ำสาระดีๆ เรื่องนี้ มาเพื่ อ เป็ น เครื่ อ งเตื อ นสติ ข องผู ้ ใ ช้ ร ถใช้ ถ นน ร่วมกันครับ


๓๐

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

จิ๋วแต่แจ๋ว

กับระบบผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก จากพลังงานน�้ำวนอิสระ เรื่อง : กฤษณ์ สุนทรชาติ ภาพ : กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

เวลานี้ความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศสูงขึ้น ทุกๆ ขณะ แม้ว่าจะมีการแสวงหาพลังงานอย่าง หลากหลายแล้วก็ตาม เพื่อให้ได้มาซึ่งทางเลือก หรือทางรอด แต่ความยั่งยืนในอนาคต ยังต้องใช้ ความรูค้ วามสามารถเพือ่ ผลักดันนวัตกรรมใหม่ๆ จากพลังงานทดแทน เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นในวันนี้ และน�ำไปขยายผลในอนาคต แต่ความต้องการลึกๆ ของผูใ้ ช้ไฟฟ้า นัน่ คือ พลังงาน ราคาถูก และไม่ก ่อให้เกิดมลพิษ ซึ่งหนีไม่พ ้น พลังน�้ำ แต่ครั้นจะสร้างเขื่อนก็เป็นเรื่องยากมากๆ มีแรงเสียดทานของสังคม ชุมชน เป็นตัวขับเคลื่อน การสร้างฝายก็มีข้อจ�ำกัด ต้องมีความสูงอย่างน้อย ๑.๕ เมตร จึงจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาได้ แต่การคิดนอกกรอบนี่เอง ท�ำให้เกิดระบบผลิต ไฟฟ้าขนาดเล็กจากพลังงานน�้ำวนอิสระ (Water Free Vortex Power Plant) ที่มีระดับความสูง ของน�้ำไม่ถึง ๑.๕ เมตร ทลายข้อจ�ำกัดดังกล่าว และเป็ น อี ก ทางเลื อ กหนึ่ ง ในการผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ มี คุณสมบัติง่าย คือ มีระดับน�้ำไม่สูง งบประมาณ

ไม่แพง ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ต้องการ พื้นที่มากนัก ล่าสุด เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๗ นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) พร้อมด้วยนายสหรัฐ บุญโพธิภกั ดี วิศวกรระดับ ๑๓ รักษาการ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด นายพินิจ ศิริพฤกษ์พงษ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารงานวิจัย และพัฒนา และนางสุทัศนีย์ ไวยนิยา ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกิจการสังคม เป็นผูแ้ ทน กฟผ. ร่วมตรวจดูความ ก้าวหน้าของระบบผลิตไฟฟ้าพลังน�้ำไหลวน ขนาด ก�ำลังผลิต ๖ กิโลวัตต์ ทีใ่ ห้เงินสนับสนุนกับเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จ�ำนวน ๖๕๐,๐๐๐ บาท โดยมีนายสมโภชน์ มณีรัตน์ หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เป็นผู้รับมอบ ณ บริเวณล�ำห้วย ทับเสลา เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัด อุทัยธานี


๓๑

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ทั้งนี้ นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการ กฟผ. กล่าวว่า ระบบผลิตไฟฟ้าพลังน�้ำไหลวน ที่ กฟผ. มอบให้กับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งนั้น ถือเป็นพลังงานสะอาดที่น�ำน�้ำจากธรรมชาติมาใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งตรงกับวัตถุประสงค์ของ ป่าห้วยขาแข้ง และปณิธานของ คุณสืบ นาคะเสถียร ทีต่ อ้ งการอนุรกั ษ์ระบบนิเวศของป่า และธรรมชาติ ให้คงอยูค่ ก่ ู บั ป่าห้วยขาแข้งอย่างสมบูรณ์ โดยพลังงาน ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากฝายพลังน�้ำไหลวนในครั้งนี้ เป็น อีกหนึ่งพลังงานทางเลือกที่ กฟผ. ได้น�ำระบบผลิต ไฟฟ้าต้นแบบพลังงานน�ำ้ วนอิสระมาประยุกต์ใช้จริง ในโครงการร่วมกับเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้ง และก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดภายในศูนย์การเรียนรู้ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และบริเวณที่พัก นักท่องเทีย่ วภายในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้ง

ต้นทุนต�่ำ ใช้พื้นที่น้อย ไม่เป็นอันตรายกับสัตว์น�้ำ ไม่มผี ลกระทบกับระบบนิเวศดัง้ เดิม เหมาะสมกับ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประเทศที่เป็นพื้นที่ราบ ที่มีระดับ น�้ำ ประมาณ ๑-๑.๕ เมตร โดยการ ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน�้ำวนอิสระ เป็นการใช้พลังงาน การหมุนวนของน�้ำในบ่อน�้ำวน โดยน�้ำจะถูกเร่ง ความเร็วด้วยวิธีการท�ำให้เกิดน�้ำไหลวนซึ่งอาศัย ระดับความสูงของน�้ำไม่มาก จากนั้นพลังงานจลน์ ที่ท�ำให้น�้ำไหลวนจะถ่ายทอดไปสู่ใบของกังหันเพื่อ หมุนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าต่อไป

ถึงแม้วา่ จะต้องดึงน�ำ้ จากแหล่งธรรมชาติเข้ามาในบ่อ แต่กไ็ ม่มผี ลกระทบต่อระบบนิเวศ ซึง่ จากการศึกษา พบว่าวัตถุหรือสิ่งมีชีวิตที่ติดเข้ามาภายในเครื่อง ก�ำเนิดไฟฟ้าก็สามารถไหลคืนสู่แหล่งน�้ำดังเดิม โดยที่ไม่เป็นอันตรายต่อการด�ำรงชีวิตของสัตว์น�้ำ พร้อมกันนี้ นายพินจิ ศิรพิ ฤกษ์พงษ์ ในฐานะกรรมการ ทั้งนี้ ทางเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งแจ้งว่า ส่งเสริมโรงไฟฟ้าชุมชนต้นแบบ กล่าวว่า ระบบผลิต หากโครงการนี้ ด� ำ เนิ น การส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว งจะมี ก าร ไฟฟ้าขนาดเล็กจากพลังงานน�ำ้ วนอิสระ (Water Free ขยายผลตามอุทยานต่างๆ ต่อไป Vortex Power Plant) ก่อสร้างได้งา่ ยและประสิทธิภาพสูง


๓๒

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ส�ำหรับระบบผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กจากพลังงานน�ำ้ วน อิสระ เป็นการประยุกต์นำ� เอาการหมุนวนของกระแสน�ำ้ ในธรรมชาติทสี่ ามารถพบเห็นได้ทวั่ ไป มาใช้ในการผลิต พลังงานไฟฟ้า โดยระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานน�้ำวน อิสระนี้ เป็นระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานจลน์ที่อาศัย หลักการของกระแสน�้ำวนอิสระในการเร่งความเร็ว ของน�้ำ จากน�้ำที่มีความเร็วต�่ำ ให้เป็นกระแสน�้ำ ความเร็วสูง หลักการนี้ไม่จ�ำเป็นต้องการระดับน�้ำ ที่สูงมากนัก

๑. ได้แหล่งเก็บกักน�ำ้ ไว้ให้สตั ว์ปา่ เพราะการสร้างฝาย จะช่วยชะลอการไหลของน�้ำได้เป็นอย่างดี ๒. ได้ระบบน�ำ้ ประปาผิวดิน ช่วยสร้างความชุม่ ชืน้ ให้แก่ผนื ป่า และมีนำ�้ ประปาไว้ใช้อปุ โภคบริโภค ให้กับนักท่องเที่ยว รวมทั้งเจ้าหน้าที่เขตฯ ๓. ได้พลังงานที่สะอาดจากธรรมชาติไว้ใช้ภายใน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เพื่อรองรับ นัก วิชาการ และนัก ท่องเที่ยว ซึ่งตรงตาม วัตถุประสงค์ของเขตฯ และชุมชนในพื้นที่ก็ ด้านนายสมโภชน์ มณีรัตน์ หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์ เห็นด้วยกับสร้างฝายในครั้งนี้ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง กล่าวถึงประโยชน์ที่ได้รับจาก หลังจากติดตั้งเป็นที่เรียบร้อยต้องขอบคุณ กฟผ. โครงการนีว้ า่ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้งได้รบั ที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสังคมในการดูแลรักษา ประโยชน์จากการสร้างฝายในครั้งนี้ ๓ ประการ ผืนป่าห้วยขาแข้งให้คงอยูก่ บั ประเทศไทย และร่วมกัน ประกอบด้วย สร้างพลังงานที่สะอาดให้กับธรรมชาติ ซึ่งจากนี้ไป กฟผ. จะเป็นเสมือนเพื่อนคู่คิดของป่าห้วยขาแข้ง ในเรื่องพลังงานไฟฟ้าต่อไป


๓๓

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ส�ำหรับ โครงการสร้างฝายผลิตไฟฟ้าพลังน�ำ้ ไหลวน ขนาดก�ำลังผลิต ๖ กิโลวัตต์ เป็นความร่วมมือ ระหว่าง กฟผ. กับ ดร. สรวิช สายเกษม ทีป่ รึกษามูลนิธิ อุทยานสิง่ แวดล้อมนานาชาติสริ นิ ธร ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง และร่วมพัฒนา ระบบดังกล่าว เพือ่ เป็นตัวอย่างในการพัฒนาพลังงาน สะอาด และเกิดประสิทธิภาพ

ต้องใช้น�้ำมันดีเซลประมาณเดือนละ ๔๐๐ ลิตร ซึ่ง ไม่เพียงพอต่อกิจกรรมการด�ำเนินงาน

นับได้วา่ ระบบผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กจากพลังงานน�ำ้ วน อิสระ เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสมกับสภาพ แวดล้ อ มในลั ก ษณะเช่ น เขตรั ก ษาพั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า ห้วยขาแข้งเป็นอย่างยิง่ เพราะเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม อีกทัง้ ยังไม่ตอ้ งปรับแต่งธรรมชาติมากนัก ยิง่ ไปกว่านัน้ ไม่ท�ำลายระบบนิเวศ คาดว่าคงเป็นต้นแบบที่ดี เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้ง เป็นพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหรืออุทยานแห่งชาติ ทางธรรมชาติทสี่ ำ� คัญ จ�ำเป็นต้องมีเจ้าหน้าทีพ่ กั อาศัย อีกหลายๆ แห่งทัว่ ประเทศทีจ่ ะน�ำไปเป็นแบบอย่าง เพือ่ ดูแลรักษาธรรมชาติ และสัตว์ปา่ ให้คงอยูต่ อ่ ไป ในการพัฒนาต่อไป จึงเป็นเขตป่าไม้ทตี่ อ้ งมีการดูแลเป็นพิเศษ ห้ามปัก เสาพาดสายระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เข้ามาในพื้นที่ ปัจจุบันเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใช้พลังงานจากเซลล์ แสงอาทิตย์ขนาด ๑๐ กิโลวัตต์ ร่วมกับเครือ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้าจากเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็ก ๑๕ กิโลวัตต์


GREEN SOCIETY

for ECO-LIFE เรื่องและภาพ : ทีมข่าวประชาสัมพันธ์

วิกฤตการณ์โลกร้อนทีแ่ ผ่ขยายสร้างผลกระทบและ ความเสียหายไปทัว่ ทุกมุมโลกอยูใ่ นขณะนี้ นับว่าเป็น สถานการณ์อันเลวร้ายที่มนุษย์ต้องเผชิญยากจะ หลีกเลี่ยงได้ ช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา ประเด็น เกี่ยวกับสภาวะโลกร้อน ได้รับความสนใจจาก ทุกภาคส่วนเป็นอย่างมาก ซึ่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็เป็นอีกหนึง่ หน่วยงาน ของประเทศไทยทีใ่ ห้ความส�ำคัญในเรือ่ งดังกล่าว จึงได้จัดงานวันสิ่งแวดล้อม กฟผ. ขึ้น ติดต่อกัน เป็นปีที่ ๙ เพื่อขานรับที่จะเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการลดภาวะโลกร้อนให้กับประเทศไทยอย่าง จริงจัง

ภายในงานวันสิ่งแวดล้อม กฟผ. ประจ�ำปี ๒๕๕๗ เพียง ๒ ตันต่อปี ซึง่ เราทุกคนสามารถช่วยลดภาวะ มีหนึ่งกิจกรรมที่เป็นน่าสนใจคือการเสวนาในเรื่อง โลกร้อนได้ด้วยการลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว การ “Green Society for ECO-Life” โดยผูท้ รงคุณวุฒิ รับประทานอาหารให้หมดไม่เหลือทิ้ง เป็นต้น ทัง้ ๓ ท่าน ซึ่งแต่ละท่านได้แนะน�ำวิธีการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกไว้อย่างน่าสนใจ นางประเสริฐสุข จามรมาน ผู้อ�ำนวยการองค์การ บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก กล่าวว่า ประเทศไทย โดยองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ได้ให้ ความส�ำคัญในเรือ่ งการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และได้ทำ� การวิจยั จนพบว่า คนไทยหนึง่ คนจะปล่อย ก๊าซเรือนกระจกประมาณ ๔-๕ ตันต่อปี ซึ่งถือว่า เป็นจ�ำนวนทีม่ ากเกินไป ทางหน่วยงานจึงเริม่ รณรงค์ เชิญชวนให้คนไทยหันมาลดการปล่อยก๊าซให้เหลือ

นางประเสริฐสุข จามรมาน


สิ่งแวดล้อมนั้นมีหลากหลายวิธี หนึ่งในนั้นคือการ ออกแบบและก่อสร้างอาคารทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โดยอยากให้นักออกแบบทุกคน เลือกใช้วัสดุและ อุปกรณ์ในการก่อสร้าง ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่เริ่มก่อสร้างจนจบกระบวนการ นอกจากนี้ การลดชั่วโมงในการใช้คอมพิวเตอร์ให้เหลือเพียง ทพ.อนุศักดิ์ คงมาลัย ๖ ชั่วโมงต่อวัน และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็น ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้แล้ว ยังช่วย มิตรกับสิ่งแวดล้อม ก็ถือเป็นการลดการปล่อยก๊าซ ให้ร่างกายของเราแข็งแรงขึ้นด้วย ซึ่ง ทพ.อนุศักดิ์ เรือนกระจกได้เป็นอย่างดี ได้แปลความหมายของการปั่นจักรยาน และการ ด้าน ทพ.อนุศกั ดิ์ คงมาลัย รองประธานชมรมจักรยาน เดิน (BIKE & WALK) ไว้ง่ายๆ ดังนี้ B = Benefit ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิงห์ อินทรชูโต แห่งประเทศไทย กล่าวว่า อยากเชิญชวนให้ผป้ ู ฏิบตั งิ าน I = Improvement K = Keep-up E = Energy ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สิงห์ อินทรชูโต อาจารย์คณะ กฟผ. ทุกคน หันมาให้ความส�ำคัญในเรื่องการเดิน A = Activate N = Noble D = Delight W = Wealth, สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึง่ เป็น และการใช้จกั รยานในชีวติ ประจ�ำวันให้มากขึน้ ซึง่ ข้อดี Well Being A = Authentic L = Longevity นักออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า การดูแล ของการปั่นจักรยานและการเดินนั้นนอกจากจะ K = Key for Life


๓๖

การบริหารความร่วมมือระหว่าง กฟผ. กับผู้ประกอบการเอกชน เรื่อง : กลุ่มงานธรรมาภิบาล

การบริ ห ารงานภาครั ฐ ในอดี ต มั ก ถู ก มองว่ า มี โครงสร้ า งการบั ง คั บ บั ญ ชาที่ ซั บ ซ้ อ น ส่ ง ผล ให้การท�ำงานมีความล่าช้าไม่สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้อย่างทันท่วงที ด้วยเหตุนจี้ งึ มีความพยายามจะปฏิรปู การบริหาร งานภาครัฐให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น แนวทางการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ได้รับการกล่าวถึงอย่างมากว่า เป็นแนวทางที่สามารถช่วยท�ำให้ภาครัฐสามารถ ส่งมอบสินค้า และบริการให้กับประชาชนได้ดีกว่า ในอดีต ภาครัฐควรน�ำเครือ่ งมือการบริหารงานของ ภาคเอกชนเข้ามาประยุกต์ใช้ การด�ำเนินงานต้องมี

การก�ำหนดเป้าหมายและก�ำหนดตัวชี้วัดในเชิง ปริมาณ นอกจากนีย้ งั ต้องให้ความส�ำคัญกับผลผลิต เน้ น วิ นั ย ของผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านและการใช้ ท รั พ ยากร อย่างประหยัด ซึ่งถือว่าเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินงานของภาครัฐได้ จากแนวทางที่ กล่าวมาข้างต้น การเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามา มีสว่ นร่วมในการด�ำเนินงานกับภาครัฐ เพือ่ ก่อให้เกิด ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public Private Partnership) เนื่องจากการร่วมมือกัน ของทั้ ง สองฝ่ า ยจะก่ อ ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย น ทรัพยากรซึ่งกันและกัน ซึ่งถือว่าเป็นแนวทางหนึ่ง ในการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการบริหารงานของ ภาครัฐได้ด้วยเช่นกัน


๓๗

ดังนัน้ เมือ่ กล่าวถึง “ทรัพยากร” โดยเฉพาะการได้มา หรื อการรักษาทรั พยากรถื อว่าเป็นปัจจัยส�ำ คัญ ต่อการอยู่รอดขององค์การ จากสาระส�ำคัญของ ทฤษฎีการพึง่ พาทรัพยากร (Resource Dependence Theory) ได้ระบุวา่ องค์การจะอยูร่ อดได้ตอ้ งอาศัย ทรัพยากรต่างๆ เช่น แรงงาน เงินทุน วัตถุดบิ การจัดการ ความรู้ เพือ่ ใช้ในกระบวนการผลิตและการให้บริการ ดังนัน้ องค์การจึงพยายามปรับตัวเข้ากับสิง่ แวดล้อม เพื่อให้สามารถเข้าถึงและใช้ทรัพยากรเหล่านั้น หากองค์การมีไม่เพียงพอ การได้มาซึง่ ทรัพยากรนัน้ สามารถท�ำได้หลายรูปแบบ กลยุทธ์การพึง่ พาแบบอาศัย ซึง่ กันและกัน (Symbiotic Interdependencies) ใช้ จั ด การกั บ การพึ่ ง พาทรั พ ยากรจากภายนอก

องค์การได้ ในรูปของการสร้างพันธมิตร โดยใช้วิธี การสร้างข้อตกลงระหว่างองค์การในการใช้ทรัพยากร ร่วมกัน และเพือ่ แสวงหาโอกาสในการด�ำเนินธุรกิจ ร่วมกัน จึงอาจสรุปได้วา่ แนวทางการเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินงานภาครัฐ อาจท�ำได้โดยอาศัยความ ร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งถือว่า เป็นกลยุทธ์แบบพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน โดยภาครัฐ มีเงินทุน ขณะทีภ่ าคเอกชนมีองค์ความรู้ เทคโนโลยี และแรงงานที่มีความเชี่ยวชาญ โดยภาครัฐและ ภาคเอกชนต่างก็มแี รงจูงใจของตนเอง หากความร่วมมือ ระหว่ า งสองฝ่ า ยเป็ น ไปด้ ว ยดี บ รรลุ ผ ลตามแรง จูงใจตามที่คาดหวังไว้ ก็จะท�ำให้ทั้งสองฝ่ายได้ผล ประโยชน์ด้วยกันทั้งคู่ (Win-Win Situation)


๓๘

ในความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนนั้นมี หลายรูปแบบ เช่น การให้สมั ปทาน การร่วมทุน การ ท�ำสัญญาให้เอกชนเช่าด�ำเนินการ ที่แพร่หลาย และพบมากในปัจจุบัน คือ การท�ำสัญญาว่าจ้าง (Contracting Out) ให้เอกชนเข้ามาด�ำเนินการ กิ จ กรรมต่ า งๆ เช่ น การรักษาความปลอดภัย การท� ำ ความสะอาด การก่อสร้างหรือปรับ ปรุง อาคารสถานที่ เป็นต้น ความร่วมมือระหว่างกัน ในรูปแบบของการท�ำสัญญาว่าจ้างนั้น ภาครัฐ จะมีฐานะเป็นเจ้าของ (Principal) ขณะทีภ่ าคเอกชน มีบทบาทเป็นตัวแทน (Agent) จากหลักของทฤษฎี ตัวแทน (Agency Theory) เป็นความสัมพันธ์ทเี่ กิด จากความยินยอมพร้อมใจของทัง้ สองฝ่าย โดยฝ่ายที่ มอบอ�ำนาจ คือ ฝ่ายเจ้าของ และฝ่ายที่ได้การรับ

มอบอ�ำนาจ คือ ตัวแทน ซึง่ ตามธรรมชาติแล้ว มนุษย์ มีความเห็นแก่ตัวและมักจะแสวงหาผลประโยชน์ ให้กบั ตนเอง ดังนัน้ เมือ่ มีการท�ำงานร่วมกันมักจะเกิด ปัญหาจากตัวแทนขึน้ ไม่วา่ จะเป็นการขาดคุณธรรม ของตัวแทน การปกปิดข้อมูลหรือข่าวสาร ท�ำให้ ผลประโยชน์ระหว่างเจ้าของและตัวแทนไม่สอด คล้องกัน เพื่อลดปัญหาดังกล่าว เจ้าของจ�ำเป็น ต้องมีการก�ำกับดูแลทีด่ ี โดยการสร้างระบบการติดตาม ทีย่ ดึ หลักธรรมาภิบาล อันประกอบไปด้วยหลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักการมีสว่ นร่วม และหลักความคุม้ ค่า เพือ่ ปกป้อง ผลประโยชน์ของฝ่ายเจ้าของ

การด�ำเนินงานของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) อาจไม่สามารถด�ำเนินการได้อย่างราบรื่น หากขาดความร่วมมือจากภาคเอกชน เนื่องจากมี ลักษณะงานหลายประเภทที่ กฟผ. จ�ำเป็นต้องว่าจ้าง ผู้ประกอบการภาคเอกชนเข้ามาด�ำเนินการแทน โดยมีหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของ กฟผ. เป็น ผู้ก�ำกับดูแล ขณะที่ผู้ประกอบการมีทรัพยากรที่ กฟผ. ขาดแคลน เช่น องค์ความรู้ เทคโนโลยี รวมทัง้ แรงงานจ�ำนวนมากที่มีทักษะและความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน อาทิ งานก่อสร้างโรงไฟฟ้าฯ งานรักษา ความปลอดภัย งานก่อสร้างปรับปรุงดูแลอาคาร สถานที่ เป็นต้น


๓๙

บ่อยครัง้ ก็พบว่า ผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกมา ไม่มีความซื่อตรง และไม่มีความรับผิดชอบ มักจะ เกิดปัญหาความขัดแย้งกับ กฟผ. เช่น งานที่ไม่ได้ มาตรฐานตามระบุในสัญญา การละทิ้งงาน หรือ ไม่สามารถด�ำเนินการให้แล้วเสร็จได้ทันตามเวลาที่ ก�ำหนด ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงาน

ควรให้ผู้รับผิดชอบเข้ามาร่วมกันหาแนวทางการ กฟผ. ได้ในอนาคต ความต้องการให้ กฟผ. เป็น แก้ไขปัญหา ไม่ด�ำเนินการโดยพลการซึ่งอาจจะ องค์การที่มีธรรมาภิบาล อาจไม่ได้หมายความ ก่อให้เกิดผลเสียหายตามมา เพียงแค่ตอ้ งการให้การด�ำเนินงานของ กฟผ. ต้องยึด ในปัจจุบัน กฟผ. ได้ให้ความส�ำคัญกับการละเมิด หลักธรรมาภิบาลเท่านั้น หลักธรรมาภิบาลยังต้อง ธรรมาภิบาลของผู้ประกอบการเป็นอย่างมาก จึงมี สามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการก�ำกับภาคเอกชน การก�ำหนดมาตรการที่เป็นรูปธรรม โดยมีคณะ ทีเ่ ข้ามาด�ำเนินงานร่วมกับ กฟผ. ได้อกี ด้วย หาก กฟผ. ท� ำ งานจั ด ท� ำ ระบบฐานข้ อ มู ล ผู ้ ป ระกอบการที่ สามารถบู ร ณาการหลั ก ธรรมาภิ บ าลให้ เ กิ ด ขึ้ น ละเมิดธรรมาภิบาล ท�ำหน้าที่ติดตามการด�ำเนิน ในสองมิติข้างต้นนี้ได้จริง ไม่เพียงแต่จะช่วยส่งผล งานและมีการประเมินผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็นคูส่ ญ ั ญา ให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล กับ กฟผ. ในประเด็นการละเมิดหลักธรรมาภิบาล ซึ่งเป็นผลดีแก่ กฟผ. โดยตรงเท่านั้น ยังเป็นการ หากผูป้ ระกอบการละเมิดหลักธรรมาภิบาลที่ กฟผ. ส่งเสริมให้เกิดธรรมาภิบาลในภาคเอกชน อันจะส่ง ได้กำ� หนดไว้ จะถูกบทลงโทษตามลักษณะการละเมิด ผลดี แ ก่ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในสั ง คมวงกว้ า งได้ อี ก ด้ ว ย

ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากผูป้ ระกอบการเหล่านีจ้ ะลดน้อยลง หรือหมดไป หากหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบมีการติดตาม การด� ำ เนิ น งานของผู ้ ป ระกอบการโดยยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าลอย่ า งเคร่ ง ครั ด ในทุ ก กระบวนการ ตามหลักนิติธรรม ผู้ประกอบการต้องด�ำเนินการ ตามที่ได้ระบุไว้ในสัญญา หากผู้ประกอบการพบ อุปสรรคในการท�ำงานทั้งที่เกิดจากปรากฏการณ์ เช่น การถูกตักเตือน หรือการพิจารณาให้เป็น ทีค่ าดไม่ถงึ หรือข้อบกพร่องจาก กฟผ. ผูป้ ระกอบการ ผูท้ งิ้ งาน ซึง่ อาจส่งผลให้ไม่สามารถท�ำธุรกรรมร่วมกับ


ผ้าทอมือบ้านเชี่ยวหลาน

เรื่องและภาพ : ประชาสัมพันธ์เขื่อนรัชชประภา

ผ้าทอมือบ้านเชี่ยวหลาน นับเป็นผ้าทอที่มีคุณภาพ เพราะสมาชิกส่วนมากเป็นสมาชิกของโครงการ ศิลปาชีพบ้านเชีย่ วหลาน ซึง่ เริม่ ก่อตัง้ เมือ่ ปี ๒๕๔๓ โดยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานอาคาร อุปกรณ์การทอผ้า เพือ่ ให้สมาชิก ได้ฝกึ หัดการทอผ้า โดยมีวทิ ยากรจากศูนย์ศลิ ปาชีพ บ้านท่านหญิง อ�ำเภอวิภาวดี มาสอนให้ การทอผ้า นับเป็นหัตถกรรมอย่างหนึง่ ทีท่ ำ� สืบต่อ กันมาเป็นเวลานาน และยังนับว่าเป็นศิลปะอย่างหนึง่ ที่ผู้เป็นช่างทอจะต้องมีความสามารถในการใช้สี ของเส้นด้ายมาประกอบกันให้เกิดความสวยงาม เหมาะสมและแต่งแต้มสีท�ำให้เกิดลวดลาย

ปัจจุบนั สมาชิกได้ดำ� เนินโครงการขยายผลศูนย์ศลิ ปาชีพ บ้านเชีย่ วหลาน จัดตัง้ วิสาหกิจชุมชนกลุม่ ผ้าทอมือ บ้านเชีย่ วหลาน ๒๕๕๖ ขึน้ มีนางสาวชืน่ จิต ช่วยสงค์ เป็นประธานกลุ่ม มีสมาชิกจ�ำนวน ๙ คน ตั้งอยู่ บ้านเลขที่ ๓๗๐ หมู่ ๔ ต�ำบลเขาพัง อ�ำเภอบ้านตาขุน

จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณ จากโครงการสายใยแห่งความสัมพันธ์ เขือ่ นรัชชประภา เพือ่ สนับสนุนให้ราษฎรในเทศบาลต�ำบลบ้านเชีย่ วหลาน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในการเพิ่มรายได้ให้กับ ครอบครัว เพราะอาชีพหลักของราษฎรในหมู่บ้าน เชี่ยวหลาน คือ ท�ำสวนยางและสวนปาล์ม หลังจากทีเ่ ขือ่ นรัชชประภา ได้สนับสนุนงบประมาณไปนัน้ ก็ได้ไปเยีย่ มเยียนสมาชิก และเวลาเขือ่ นรัชชประภา มีกิจกรรมที่ส�ำคัญทั้งภายในและภายนอก ก็ได้เชิญ กลุ่มผ้าทอมือบ้านเชี่ยวหลาน ๒๕๕๖ มาออกร้าน นิทรรศการ เพือ่ ประชาสัมพันธ์และสนับสนุนกิจกรรม ของชุมชนอยู่เสมอ


ผ้าทอมือบ้านเชีย่ วหลาน มีจดุ เด่นคือ ความเหมือน ทีแ่ ตกต่าง หากดูอย่างผิวเผินก็ไม่ตา่ งไปจากผ้าขาวม้า ผ้าถุงทั่วๆ ไป แต่ของกลุ่มศิลปาชีพบ้านเชี่ยวหลาน มีความต่างที่ลายผ้า แม้จะเป็นแค่ลายเส้น แต่จะไม่ เหมือนทีอ่ นื่ ๆ เพราะผ้าแต่ละผืน มีการทอลายและ สีจะไม่ซำ�้ กัน ทุกลายทุกสีจะทอแค่ผนื เดียว เพราะมี จุดประสงค์ไว้วา่ เราจะไม่ทอผ้าใหล หมายถึง น�ำฝ้าย เดียวหลายผืน นอกจากจะมีลกู ค้าสัง่ เท่านัน้ เพราะฉะนัน้ ลูกค้ามัน่ ใจได้วา่ ถ้าซือ้ ผ้าทอของเราจะไม่ซำ�้ ใครแน่นอน

สีพื้นทั่วไปตัดลายเส้น และผ้าขาวม้าลายลูกหวาย ราคาผ้าขาวม้าสีพนื้ ผืนละ ๒๐๐-๒๕๐ บาท ผ้าขาวม้า มีลายลูกหวายผืนละ ๓๐๐ - ๓๕๐ บาท ส่วนผ้าถุงก็มี ๒ แบบ แบบสีพนื้ ทัว่ ไปผืนละ ๓๕๐ บาท ส่วนอีกแบบ เป็นผ้าถุงลายลูกแก้ว ผืนละ ๔๕๐-๕๐๐ บาท ผ้าพันคอ ราคา ๑๕๐ บาทขึน้ ไป ผ้าคลุมไหล่ราคา ๒๐๐ บาท ขึน้ ไป ส่วนผ้าชิน้ ทัว่ ไปราคาไม่ตายตัว ขึน้ อยูก่ บั ลายผ้า บางช่วงจะมีเสือ้ ส�ำเร็จรูปและผลิตภัณฑ์แปรรูปอืน่ ๆ รวมทัง้ จะมีผลิตภัณฑ์จากผ้าถุงบาเต๊ะ ซึง่ เป็นเอกลักษณ์ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์สว่ นใหญ่ เน้นผ้าทีส่ มาชิกทอกันเอง ของภาคใต้ นอกจากนั้น ตอนนี้ทางกลุ่มก็พยายาม เช่น ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ผ้าขาวม้า ผ้าถุง ผ้าชิน้ ส�ำหรับ แปรรูปสินค้าอืน่ ๆ เพิม่ เติม เช่น ผ้ารองจาน ผ้ารองแก้ว ตัดส�ำเร็จรูป ผ้าขาวม้าจะมี ๒ แบบ แบบแรกทอด้วย ผ้าปูโต๊ะ กระเป๋า หวังว่าเราจะมีผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ไว้รองรับความต้องการของลูกค้าในอนาคตด้วย

ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วทีม่ าเยือนเขือ่ นรัชชประภา อยากจะ หาของฝาก หรือจะดูวธิ กี ารทอผ้ามือบ้านเชีย่ วหลาน ๒๕๕๖ ไปแวะชมและเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ได้ที่โซน จ�ำหน่ายสินค้าที่ระลึก ท่าเรือเทศบาลต�ำบลบ้าน เชี่ยวหลาน และร้านจ�ำหน่ายสินค้าที่ระลึกอ�ำเภอ เมืองสุราษฎร์ธานี และปลายปีนี้ ทางกลุ่มจะสร้าง โรงทอไว้เป็นจุดจ�ำหน่ายสินค้า เพือ่ รองรับนักท่องเทีย่ ว และผู้ที่มาศึกษาดูงาน รวมทั้งเป็นสถานที่เรียนรู้ แก่นกั เรียนในชุมชนด้วย หากสนใจติดต่อได้ทเี่ บอร์ โทรศัพท์ ๐ ๘๗ ๒๗๐ ๐๗๗๔


๔๒

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๔๕ ปี กฟผ. พาบุกใต้พิภพ สัมผัสประสบการณ์แปลกใหม่

กับ ๗ ความเป็นที่สุด โรงไฟฟ้าลำ�ตะคองชลภาวัฒนา เรื่อง : กองสื่อสารภายนอก ภาพ : กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

๔๕ ปี ของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ปีทยี่ งิ่ ใหญ่ที่ กฟผ. เติบโตก้าวหน้ามาอย่างยาวนาน ในกิจการไฟฟ้า กฟผ. จึงจัดกิจกรรมสุดแสนพิเศษ เปิดบ้าน กฟผ. พาพบประสบการณ์แปลกใหม่ ใต้พิภพกับภารกิจส�ำคัญของ กฟผ. ในการเป็น ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรม ซึ่งได้น�ำผู้ร่วม กิจกรรม ๔๕ คู่ ทัง้ ประชาชนและสือ่ มวลชน เดินทาง ไปเยีย่ มชมโรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา จังหวัด นครราชสีมา เมื่อปลายเดือนสิงหาคม ที่ผ่านมา

การเปิดบ้านแบบ UNSEEN EGAT ครั้งนี้ ผู้ร่วม เดิ น ทางได้ ขึ้ น ไปสู ด อากาศอั น บริ สุ ท ธิ์ พ ร้ อ มชม ธรรมชาติที่สวยงามตระการตา บริเวณอ่างพักน�้ำ ตอนบน และเยีย่ มชมกังหันลมบนยอดเขายายเทีย่ ง ซึ่งเป็นท�ำเลที่ได้ชื่อว่ามีศักยภาพพลังงานลมดีที่สุด แห่งหนึ่งของประเทศไทย จากนั้น เดินทางลงมายัง ริมอ่างเก็บน�ำ้ ล�ำตะคอง บริเวณอุโมงค์ทางเข้าโรงไฟฟ้า ใต้ภูเขา เพื่อสัมผัสประสบการณ์สุดพิเศษใต้พิภพ และความเป็นทีส่ ดุ ของโรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา ซึ่งผู้ร่วมกิจกรรมต้องเดินเท้าจากปากอุโมงค์ไปยัง ที่ตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า โดยอุโมงค์ยาวประมาณ


๔๓

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๑,๖๐๐ เมตร ซึ่งตลอดเส้นทางมีเพียงแสงไฟจาก หมวกเซฟตี้เท่านั้นที่ส่องทางให้ความสว่าง ท�ำให้ ได้สมั ผัสถึงชีวติ ของวิศวกรและช่าง กฟผ. ทีจ่ ะต้อง ท�ำงานอย่างยาวนานอยู่ในอุโมงค์ที่ลึก เพื่อบรรลุ ภารกิจในการผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย อี ก นั ย หนึ่ ง หากไม่ มี ไ ฟฟ้ า ใช้อยู่ใ นความมืด มิด ประชาชนจะใช้ชีวิตประจ�ำวันได้อย่างยากล�ำบาก ท�ำให้เห็นถึงความส�ำคัญของการมีไฟฟ้าใช้อย่าง เพียงพอ โดยมี คุณสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการ กฟผ. และคุณประภาส วิชากูล รองผูว้ า่ การกิจการสังคม

มาต้อนรับและน�ำชมโรงไฟฟ้าใต้ดนิ ทีม่ คี วามเป็นทีส่ ดุ ๗ ประการ ตอกย�้ำพันธกิจหลักในการเป็นองค์กร ที่พร้อมจะน�ำเสนอวิธีการผลิตไฟฟ้าที่ดีที่สุดให้แก่ คนไทย มุง่ เดินหน้าสร้างความมัน่ คงของระบบพลังงาน ไทยควบคูไ่ ปกับการดูแลสิง่ แวดล้อมและชุมชนโรงไฟฟ้า ล�ำตะคองชลภาวัฒนานับเป็นต้นแบบโรงไฟฟ้าใต้ดนิ ของไทย และเป็นโรงไฟฟ้าทีร่ วบรวมความเป็นทีส่ ดุ ไว้ถึง ๗ ประการ นั่นคือ


๔๔

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นางสาวนันฐกานต์ พูลศิริ

๑. เป็นโรงไฟฟ้าทีม่ วี ธิ กี ารสร้างทีย่ ากทีส่ ดุ เนือ่ งจาก ต้องขุดอุโมงค์ใต้ดินเพื่อสร้างโรงไฟฟ้า ๒. เป็นโรงไฟฟ้าใต้ดนิ แห่งเดียวของไทยทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ๓. เป็นโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ทีม่ กี ำ� ลังการผลิตติดตัง้ สูงทีส่ ดุ ๔. เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้ปั๊มน�้ำขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ๕. มีอา่ งเก็บน�ำ้ ทีอ่ ยูบ่ นยอดเขาทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ซึง่ เอาไว้ใช้ เป็นอ่างพักน�้ำ ๖. เป็นโรงไฟฟ้าที่เป็นที่สุดของความยาวอุโมงค์ ท้ายน�้ำ ๗. เป็นโรงไฟฟ้าทีใ่ ช้ทสี่ ดุ เทคโนโลยีไฟเบอร์ออพติก ในการควบคุมการเดินเครื่องจากระยะไกลได้

“รู้สึกตื่นเต้นและดีใจมากที่ได้ร่วมเดินทางมาครั้งนี้ ส่วนตัวไม่เคยได้มีโอกาสเข้ามาเยี่ยมชมโรงไฟฟ้า มาก่อน ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ได้เปิดประสบการณ์ ใต้พภิ พกับ กฟผ. รูส้ กึ ทึง่ และตืน่ เต้นมากทีไ่ ด้เดินฝ่า ความมืดเข้าไปในอุโมงค์ใต้ดนิ ในตอนกลางคืน และ ที่พิเศษคือท่านผู้บริหาร กฟผ. ให้เกียรติมาน�ำทีม เดินเยีย่ มชมโรงไฟฟ้าด้วยตัวเอง ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่า ท่านใส่ใจกับเรือ่ งพลังงานอย่างมาก และใส่ใจเรือ่ งของ ความรูส้ กึ ของประชาชน ให้เข้ามาเห็นและสัมผัสกับการ ผลิตไฟฟ้าอย่างใกล้ชิด” นางสาวนันฐกานต์ พูลศิริ หนึ่งในผู้โชคดี กล่าว


๔๕

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นายณัฐพล รองศรีแย้ม

“จากการร่วมเดินทางนี้ ท�ำให้เข้าใจได้ว่า พลังงาน ไฟฟ้า คือ สิง่ จ�ำเป็นพืน้ ฐานของการพัฒนาประเทศ ในทุกๆ ด้าน ภารกิจที่ กฟผ. พยายามท�ำอยูต่ อนนี้ คือ ค้นหาวิธผี ลิตพลังงานไฟฟ้าทีด่ ที สี่ ดุ กระทบต่อ ธรรมชาติน้อยที่สุด เพื่อให้คนไทยได้มีพลังงานใช้ เช่น โรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนาแห่งนี้ ต้องบุก เข้ามาสร้างถึงใต้ดิน เพราะต้องการให้โรงไฟฟ้า แห่งนี้กระทบกระเทือนธรรมชาติน้อยที่สุด สิ่งนี้ สะท้อนให้เห็นได้ชัดเจนถึงภารกิจหลักของ กฟผ. ที่ทุ่มเทท�ำงานให้กับคนไทยทั้งประเทศได้มีไฟฟ้า ใช้ไม่ขาดแคลน” นายณัฐพล รองศรีแย้ม อีกหนึ่ง ในผู้โชคดี กล่าวเสริม

หลังจากเยีย่ มชมโรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนากัน เสร็จสิ้นเรียบร้อย ถึงคิว หนุ่มว่าน ธนกฤต ศิลปิน นักร้องชื่อดัง ผู้ออกมาปิดท้ายค�่ำคืนแห่งความ ประทับใจด้วยมินคิ อนเสิรต์ สุด Exclusive ปิดท้าย ทริปพิเศษ โดย กฟผ. น�ำผูร้ ว่ มเดินทางไปท�ำความดี มอบหลอดไฟประหยัดพลังงาน LED ให้กบั โรงเรียน บ้านหมูสี ต�ำบลหมูสี อ�ำเภอปากช่อง จังหวัด นครราชสีมา เพื่อกระตุ้นจิตส�ำนึกรู้รักษ์พลังงาน และเน้นย�้ำความส�ำคัญของการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ สุขใจ...ที่ได้ท�ำ


เปิดประสบการณ์

เยือชมโรงไฟฟ้ นจีนาและฮ่ อ งกง พลังงานนิวเคลียร์ โรงไฟฟ้าเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด และพลังงานหมุนเวียน

เรื่องและภาพ : แพรวพิสาข์ เถาลัดดา

สุภาษิตไทยกล่าวไว้วา่ “สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น” ร้อยคนเล่า หรือจะเท่าเห็นเอง ซึ่งในการสื่อสาร ข้ อ มู ล ที่ มีค วามซั บ ซ้ อ น เข้า ใจยาก มีผลต่อ ความคิ ด เห็ น ความรู ้ สึ ก นึ ก คิดของคน ยิ่ง เป็น เรื่องยากที่จะบอกเล่าให้เข้าใจ การได้ไปสัมผัส ของจริง ตาดู หูฟัง กายสัมผัส สมองคิด จึงเป็น วิธที จี่ ะได้รบั ข้อมูลอย่างครบถ้วน เป็นข้อเท็จจริง ทีไ่ ม่ผา่ นการปรุงแต่ง ซึง่ จะท�ำให้เกิดความเข้าใจ ได้ดีที่สุด

นัน่ ก็คอื “การศึกษาดูงานทางด้านการสร้างความรู้ ความเข้าใจและการยอมรับโรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาด พลังงานนิวเคลียร์ และพลังงานหมุนเวียน และการ อยูร่ ว่ มกันของชุมชนกับโรงไฟฟ้า เพือ่ เป็นการเตรียม ความพร้อมในการด�ำเนินการโครงการในอนาคต” โดยน�ำกลุ่มนักวิชาการ บุคลากรด้านการศึกษา สือ่ มวลชน และประชาชนทัว่ ไปทีค่ ดั เลือกมาจากสือ่ Social Network รวมทั้งหมด ๕ รุ่น บินลัดฟ้า ไปเยี่ยมชมการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้าพลังงาน เมื่อปี ๒๕๕๖ ที่ผ่านมา ฝ่ายวิศวกรรมนิวเคลียร์ นิวเคลียร์ ดายาเบย์ (Daya Bay Nuclear Power สายงานรองผู้ว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้า การไฟฟ้า Plant) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โรงไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้จดั โครงการดีๆ ขนึ้ เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด แคสเทิ้ลพีค (Castle Peak Power Station) และ อาคาร ZERO CARBON

BUILDING ในเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ซึ่งเป็น อาคารที่ใช้พลังงานหมุนเวียนในอาคาร โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ดายาเบย์ (Daya Bay Nuclear Power Plant) เป็นโรงไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียร์เชิงพาณิชย์แห่งแรกของจีน เริม่ เดินเครือ่ ง จ่ายกระแสไฟในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยให้ก�ำลังการ ผลิตไฟฟ้ากว่า ๑,๙๖๘ เมกะวัตต์ จากเครือ่ งปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ จ�ำนวน ๒ เครื่อง พลังงานไฟฟ้าที่ผลิต ได้กว่า ร้อยละ ๗๐ ได้สง่ ให้เกาะฮ่องกง ส่วนทีเ่ หลืออีก ร้อยละ ๓๐ ส่งให้ชาวจีนในมณฑลกวางตุง้ สถานทีต่ งั้ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ได้มีการท�ำการศึกษามาเป็น อย่างดีวา่ มีความปลอดภัยจากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ


๔๗

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ออกไป ตัวอาคารออกแบบให้สามารถป้องกันกระแส ลมร้อน และใช้ประโยชน์จากทัง้ พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลม โดยด้านนอกอาคารล้อมรอบด้วย สวนสีเขียวทีเ่ ปิดให้สาธารณชนมาใช้พนื้ ทีอ่ ย่างอิสระ

ข้างหน้า เราคงต้องคิดกันหนัก ว่าจะเอาไฟฟ้าทีไ่ หน ใช้กนั ซึง่ ต้องฝากทาง กฟผ. สือ่ สารข้อมูลทีถ่ กู ต้อง ชัดเจนให้แก่ประชาชน ส่วนตัวเองนั้นก็จะช่วย ประชาสัมพันธ์ผ่านทางเครือข่ายของตัวเองเท่าที่ จะท�ำได้ค่ะ”

อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่สร้างจาก คอนกรีตเสริมเหล็กกล้าหนากว่า ๑ เมตร สามารถ ป้องกันการรัว่ ไหลของรังสีได้เป็นอย่างดี รวมถึงกรณี ที่เครื่องบินพุ่งชนอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ โรงไฟฟ้าเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด แคสเทิ้ลพีค (Castle Peak Power Station) สร้างขึน้ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ประกอบด้วยเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าจ�ำนวน ๘ เครือ่ ง มีกำ� ลังผลิตไฟฟ้ารวม ๔,๑๑๐ เมกะวัตต์ เพือ่ แจกจ่าย ให้กับชาวฮ่องกง ด้วยเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด โดยการลดการปล่อยซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ผงฝุ่น ออกมาน้อยที่สุด ซึ่งในปัจจุบัน บริ ษั ท ได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า มี เ ทคโนโลยี ถ ่ า นหิ น สะอาดที่มีประสิทธิภาพล�ำดับต้นๆ ของโลก

อาคาร Zero Carbon Building (ZCB) บนฝั่ง เกาลูนของเกาะฮ่องกง คือ อาคาร Zero Carbon Emission แห่งแรกของเกาะฮ่องกง ออกแบบโดย บริษัท Ronald Lu & Partners โดยได้รับการ สนับสนุนจากรัฐบาลฮ่องกง อาคารแห่งนี้มีหลังคา ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าไว้ใช้ ภายในตึกและจ�ำหน่ายส่วนทีผ่ ลิตเกินความต้องการ

และเมือ่ วันที่ ๑๐ – ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๖ ผูเ้ ขียนได้มี โอกาสเดินทางไปศึกษาดูงานร่วมกับกลุม่ ประชาชน ผู้ชนะกิจกรรมผ่านเครือข่าย Social Network เฟซบุคเพจ “มัน่ ใจคนไทยเกิน ๑ ล้านคน อยากให้ สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์” ทัง้ หมด ๑๐ คน ต่างพูด เป็นเสียงเดียวว่า “เกินกว่าค�ำว่าคุ้ม” ที่ได้มาดูการ ท�ำงานของโรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ เพราะจะหาโอกาส อย่างนี้ไม่ง่ายส�ำหรับประชาชนทั่วไป จึงขอยกเอา ความประทับใจและความคิดเห็นต่อกิจกรรมศึกษา ดูงานในครัง้ นีจ้ ากผูร้ ว่ มเดินทางบางส่วน ซึง่ เป็นเสียง สะท้อนจากประชาชนส่วนหนึง่ ให้ได้รบั ทราบกันค่ะ

เริ่มต้นด้วย นางสาวชญานิษฐ์ จ�ำปี หรือคุณแอมป์ นิสิตปริญญาโทสาขานิวเคลียร์ จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีความสนใจด้านพลังงานนิวเคลียร์ และศึกษาอย่างลึกซึง้ บอกกับเราว่า “ส่วนตัวเห็นด้วย กับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย เพราะคลุ ก คลี กั บ วงการนิ ว เคลี ย ร์ อ ยู ่ แ ละรู ้ ถึ ง ประโยชน์ ทุกๆ อย่างในโลกล้วนมีขอ้ ดีและข้อเสีย ในตัวเองทัง้ นัน้ เพียงแต่วา่ สิง่ ไหนมีขอ้ ดีมากกว่ากัน เช่นเดียวกันกับโรงไฟฟ้าแต่ละประเภท ก็มีข้อดี และข้อจ�ำกัดแตกต่างกันไป เราต้องรู้จักวิเคราะห์ และแยกแยะว่าประโยชน์คอื อะไร และมีการจัดการ อย่างไรกับข้อจ�ำกัดต่างๆ ให้เกิดปัญหาน้อยที่สุด หากมัวแต่ต่อต้าน คัดค้านในทุกๆ เรื่อง ในอนาคต

นายอรรถพล สมทรง หรือ คุณอั้ม พนักงานอิสระ กล่าวว่า “ใจจริงอยากได้โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ และโรงไฟฟ้าเทคโนโลยีถา่ นหินสะอาดในประเทศไทย อยู่แล้ว เพราะเป็นโรงไฟฟ้าที่สร้างความมั่นคง ด้านพลังงานให้กับประเทศไทยได้ ยิ่งได้มาดูด้วย ตัวเอง ท�ำให้ทราบว่าโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ มีการบริหารจัดการทีด่ มี าก ดูแลรักษาความปลอดภัย สูงสุด และการทีว่ ดั ค่ารังสีในทุกๆ ที่ ทีเ่ ราได้เดินทาง ไปในทริปนี้ ท�ำให้เห็นว่าค่ารังสีทบี่ ริเวณโรงไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์หรือแม้แต่ทเี่ ก็บกากกัมมันตรังสี ทีใ่ ช้แล้ว ยังมีคา่ ต�ำ่ กว่าทีอ่ นื่ ๆ ทีเ่ ราใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน เสียอีก เช่น สนามบิน บนเครื่องบิน และในอาคาร ส�ำนักงาน โรงไฟฟ้าเทคโนโลยีถ่านหินสะอาดก็ เช่นเดียวกัน มีการควบคุมมลภาวะ ดูแลสิง่ แวดล้อม เป็นอย่างดี ซึง่ ผมก็จะช่วยบอกเล่าประสบการณ์ดๆี ในครั้งนี้กับคนใกล้ตัวครับ” จากเสียงของประชาชนผูใ้ ช้ไฟฟ้าซึง่ ได้รบั ข้อมูลที่ ถูกต้องและชัดเจน สะท้อนให้เห็นว่า ยังมีประชาชน ทีเ่ ปิดใจยอมรับและสนับสนุนการท�ำงานของภาครัฐ รวมถึงการด�ำเนินงานของ กฟผ. ทีจ่ ะต้องสือ่ สาร ข้อมูลสถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของไทยในปัจจุบนั ให้เห็นว่าถึงเวลาแล้วทีท่ กุ คนควรเปิดใจรับข่าวสาร ข้อเท็จจริงเกีย่ วกับโรงไฟฟ้าใหม่ อันจะน�ำไปสูค่ วามรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง เพือ่ ประเทศไทยจะได้มคี วาม มั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้าในอนาคต สุดท้ายนี้ ขอฝากเฟซบุคเพจ “มัน่ ใจคนไทยเกิน ๑ ล้านคน อยากให้สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์” เพื่อติดตาม ข้อมูลข่าวสาร ร่วมเป็นสื่อบุคคลในการสื่อสาร ข้อมูลโรงไฟฟ้าใหม่ เพื่ออนาคตของความมั่นคง ในระบบไฟฟ้าไทย


๔๘

กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

เหมืองแม่เมาะ

เหมืองถ่านหินลิกไนต์ที่ใหญ่ที่สุดของไทย

เรื่องและภาพ : ประชาสัมพันธ์เหมืองเเม่เมาะ

ก่อนจบเล่ม แวะหน้านีก้ นั ก่อนครับ ท่านทราบหรือ ไม่วา่ เหมืองถ่านหินที่ใหญ่ทสี่ ดุ และเป็นแห่งเดียว ในประเทศไทย คือ ที่ไหน? แน่นอนว่าต้องเป็น “เหมืองแม่เมาะ” ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) นัน่ เอง ซึง่ ทีน่ มี่ อี ะไรมากกว่านัน้ ลองติดตามกันครับ กฟผ. แม่เมาะ นับเป็นโรงไฟฟ้าแห่งเดียวที่มีการ ขุดถ่านหินในประเทศมาใช้ในการผลิตไฟฟ้า โดย เหมืองแม่เมาะ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ ๓๐ ตารางกิโลเมตร กว้าง ๔ กิโลเมตร และยาว ๗.๕ กิโลเมตร ถ่านหิน แหล่งแม่เมาะเป็นถ่านหินชัน้ คุณภาพลิกไนต์ มีปริมาณ ส� ำ รองทางธรณี วิ ท ยา (Geology Resource) ทั้งหมด ๑,๑๔๐ ล้านตัน ปริมาณถ่านหินลิกไนต์ ส�ำรองที่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ประมาณ ๘๑๔ ล้านตัน ปัจจุบันใช้ไปแล้ว ๓๙๒ ล้านตัน เหลืออีกประมาณ ๔๒๒ ล้านตัน ซึ่งยังเหลือใช้ ได้อีกอย่างน้อย ๓๕ ปี ปัจจุบันเหมืองแม่เมาะ ได้ท�ำการขุดถ่านหินจ�ำนวนประมาณ ๑๖ ล้านตัน ต่อปี เพือ่ ป้อนให้โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ�ำนวน ๑๐ หน่วย รวมก�ำลังผลิต ๒,๔๐๐ เมกะวัตต์ และจ่ายกระแส ไฟฟ้าไปยังจังหวัดต่างๆ ทัง้ ภาคเหนือตอนบนและล่าง เชื่อมต่อไปยังภาคกลาง จนถึงกรุงเทพมหานคร และเชื่ อ มโยงกั บ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ด้ ว ย โดยก�ำลังผลิตของโรงไฟฟ้าแม่เมาะทัง้ หมด ปัจจุบนั

คิดเป็นประมาณร้อยละ ๑๐ ของก�ำลังผลิตของทั้ง ประเทศ ถ่านหินเป็นเชือ้ เพลิงราคาถูก ส่งผลให้ราคาค่าไฟฟ้า ทีผ่ ลิตได้จากเชือ้ เพลิงถ่านหินของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ มีราคาไม่ถึง ๒ บาทต่อหน่วย ซึ่งหากเป็นเชื้อเพลิง ประเภทอื่น อาทิ ก๊าซธรรมชาติ LNG จะมีราคา ประมาณ ๔ บาทต่อหน่วย หรือหากเป็นน�ำ้ มันดีเซล จะมีราคาถึง ๑๐ บาทต่อหน่วย ซึง่ การจัดหาเชือ้ เพลิง ในการผลิตไฟฟ้าที่มีคุณภาพและราคาไม่แพงเป็น หน้าทีท่ สี่ ำ� คัญอีกอย่างหนึง่ ของ กฟผ. เพือ่ คนให้คนไทย ได้ใช้ไฟในราคาที่เป็นธรรมและเหมาะสมครับ

EGAT Magazine

จัดท�ำโดย ฝ่ายสือ่ สารองค์การ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ทีป่ รึกษา ธาตรี ริว้ เจริญ เยาวลักษณ์ โหตรภวานนท์ ยุวดี ธงสุวรรณ รัชดา ทองอยู่ อนิรจุ น์ เอีย่ มกิจการ ศรดิษฐ ชืน่ ชูศกั ดิ์ บรรณาธิการ ยุทธชาติ เพียรมานะกิจ หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณัฐกา ปีตะเสน กองบรรณาธิการ กฤษณ์ สุนทรชาติ แพรวพิสาข์ เถาลัดดา อัครพล รักศรีรงุ่ เรือง ชโลบล ธงปาริน นฤชล นุชประมูล ภาพและศิลปกรรม กองผลิตสือ่ ประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสือ่ สารองค์การ สมาชิกและ จัดส่ง แผนกบริการงานเผยแพร่ โทร. ๐ ๒๔๓๖ ๔๘๒๑ จัดพิมพ์โดย กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสาร องค์การ ส�ำนักกองบรรณาธิการ แผนกข่าวสารประชาสัมพันธ์ภายใน อาคารประชาสัมพันธ์ กฟผ. ส�ำนักงานใหญ่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บางกรวย นนทบุรี ๑๑๑๓๐ โทร. ๐ ๒๔๓๖ ๔๘๒๓ EGAT Magazine เผยแพร่ความรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าและการด�ำเนินงานของ กฟผ. ทั้งนี้ ความคิดเห็นเป็นของ ผู้เขียนมิใช่ของ กฟผ. บรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขหรือปรับปรุงต้นฉบับเพื่อความเหมาะสม




ISSN 1905-9892 ปี ที่ ๘ ฉบั บ ที่ ๕ เดื อ น กั น ยายน-ตุ ล าคม พ.ศ. ๒๕๕๗

แสงสว่างแรกของประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อ ๑๓๐ ปีที่แล้ว ด้วยโคมไฟระย้า ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการมีไฟฟ้าใช้ในประเทศ โดยมี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความมั่นคงให้ระบบไฟฟ้า แม้เวลาผ่านไป ๔๕ ปี แต่ กฟผ.

ยังยืนหยัดท�ำหน้าที่เหมือนวันแรกที่ได้รับมอบหมาย โดยยึดมั่นในค�ำว่า “รักองค์การ มุ่งงานเลิศ เทิดคุณธรรม”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.