วารสารนโยบายพลังงาน ฉบับ 115 ส ค ก ย 59

Page 1

ฉบับที่ 115 สิงหาคม - กันยายน 2559

คน

พลังงาน “ชวลิต พิชาลัย”

ทิศทาง

นโยบายดานพลังงาน สาธารณรัฐเกาหลีและประเทศไทย

สถานการณการปลอยกาซ

สถานการณ

จากภาคการใชพลังงาน ชวง 6 เดือนแรกของป 2559

(สิงหาคม 2559)

คารบอนไดออกไซด ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง


EPPO TALK สวัสดีครับ ผูอานทุกทาน ในโอกาสวาระเกษียณอายุราชการ 30 กันยายน 2559 น�้ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ขอใชพน้ื ทีส่ ำคัญ เพือ่ ถายทอดเรือ่ งราวของบุคคลทีท่ ำคุณประโยชนใหแกประเทศชาติ ทีเ่ คยมีบทบาทสำคัญใน สนพ.แหงน�ค้ อื “ทานชวลิต พิชาลัย” รองปลัดกระทรวงพลังงาน (อดีต ผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน) ที่เคยรวมทุกขรวมสุข สรรสรางสิ�งดีๆ มากมายใหกบั องคกรและประเทศชาติของเรา รอยเทาทีส่ ำคัญ ทุกยางกาว คือ รองรอยที่จะฝากไวใหจดจำและเรียนรู ผานการเดินทางบนเสนทางราชการในฐานะผูเ ชีย่ วชาญดาน พลังงานคนหนึง� ของประเทศ วารสารนโยบายพลังงานฉบับน�้ ไดมโี อกาสไปพูดคุยกับทานชวลิต พิชาลัย ทีท่ า นไดถา ยทอด บทเรียนดีๆ ทีน่ า สนใจไวเปนอนุสรณใหรนุ นองไดเปนแนวทาง ในการดำเนินงานตลอดจนรวมกันภาคภูมิใจในเกียรติประวัติ ที่ทานไดสั�งสมมาอยางยาวนานเพื่อประโยชนของสวนรวม บทบันทึกอีกหนึง� หนาประวัตศิ าสตรของคนพลังงานทีท่ มุ เท และรับผิดชอบเพือ่ สังคม บนพืน้ ฐานการทำงานทีเ่ ต็มไปดวย เจตนคติที่ดีและสรางสรรค ตัวอยางของบุคคลที่ควรคาแก การจดจำ วารสารฉบับน�้ จึงขอเปนอีกหนึง� แรงใจ ทีร่ ว มอวยพร และอำลาทานชวลิต พิชาลัย ดวยใจรักและเคารพอยางสูง และขอสัญญาวาพวกเราชาว สนพ. จะตัง้ ใจและมุง มัน� ทำงาน คุณภาพเพื่อรวมกันจรรโลงสังคมใหนาอยูและเพื่อพัฒนา พลังงานของประเทศใหยั�งยืนสืบไป

( นายทวารัฐ สูตะบุตร ) ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

เจาของ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ที่ปร�กษา ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน จัดทำโดย คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุร� แขวงทุงพญาไท เขตราชเทว� กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2612 1555 โทรสาร 0 2612 1357-8 www.eppo.go.th ออกแบบและจัดพ�มพ บร�ษัท ดร�มเว�รค แอดเวอรไทซ�่ง จำกัด โทร. 0 2195 7402-4 โทรสาร 0 2118 0661 www.dreamworkad.com


CONTENT

04 สรุปขาว 05 กิจกรรมภาพเปนขาว 06 SCOOP สัมภาษณรองชวลิต บทความดานสถานการณพลังงาน สถานการณพลังงานไทย ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559

45

บทความดานสถานการณพลังงาน ในชวง 6 เดือนแรก

54

ใบตอบรับ

55

เกม

บทความดานอนุรักษ�พลังงาน

สถานการณ การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด จากภาคการใชพลังงานชวง 6 เดือนแรกของป 2559

25 30

บทความดานอนุรักษพลังงาน

39

บทความดานนโยบายพลังงาน

สถานการณ การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด

บทความดานปโตรเลียม

สถานการณราคาน้ำมันเชื้อเพลิง

ทิศทางนโยบายดานพลังงาน สาธารณรัฐเกาหลีและประเทศไทย


ภาพเปนขาว

08 สรุปขาว 2559 ความคืบหนา การตอสัมปทานแหลงเอราวัณ และบงกช นายอารีพงศ ภูช อุม ปลัดกระทรวงพลังงาน เผยถึงความคืบหนา การตอสัมปทานวาตองเรงดำเนินการตออายุสญั ญาแหลงเอราวัณ และบงกช เพือ่ สรางความชัดเจนและความเชือ่ มัน� ใหกบั ผูป ระกอบการ ไมใหลดกำลังผลิตจากปกติท่ี 2,100 ลูกบาศกฟตุ /วัน ความชัดเจน ที่วา คือ การแกไข พ.ร.บ.ปโตรเลียม และ พ.ร.บ.ภาษีเงินได ปโตรเลียม นั้นนอกจากจะมีรูปแบบสัมปทานที่ใชในปจจุบัน ยังเพิ�มระบบแบงปนผลผลิต และระบบจางผลิต โดยเฉพาะใน สวนของระบบแบงปนผลผลิตนั้นปจจุบันมีประเทศมาเลเซียที่ ใชระบบน�้ สวนความคืบหนาของการแกไข พ.ร.บ.ทัง้ 2 ฉบับนัน้ ขณะน�้อยูในระหวางการพิจารณาของ สนช.

นโยบายของนายกรัฐมนตร�ที่ใหนำรถไฟฟาสงเสร�ม การทองเที่ยวในไทย โดยเฉพาะรถสามลอสาธารณะ (รถตุกตุก) ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เผยวา นโยบายของนายกรัฐมนตรี ทีใ่ หนำรถไฟฟาสงเสริมการทองเทีย่ ว ในไทย โดยเฉพาะรถสามลอ สาธารณะ (รถตุก ตุก ) ซึง� ขณะน�้ สนพ. ศึกษาวาจะสามารถนำรถตุกตุก ที่ใชงานอยูในปจจุบันใหดัดแปลง เครือ่ งยนตไปใชเปนรถยนตไฟฟา (อีว)ี ไดหรือไม หากทำไดคาดวา ในระยะแรกจะดัดแปลงสภาพรถตุก ตุก ทีม่ อี ยูข ณะน�ใ้ หใชพลังงานไฟฟา ได 100-200 คัน ซึง� ตอนน�ก้ ำลังดูวา จะนำเงินกองทุนเพือ่ สงเสริมการ อนุรกั ษพลังงานมาสนับสนุนอยางไร อยางไรก็ตาม สนพ. ไดรว มกับ สถาบันยานยนตไฟฟาไทย ดำเนินโครงการสนับสนุนการลงทุนสถาน� อัดประจุไฟฟาใหกบั หนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน จำนวน 100 สถาน� เพือ่ เตรียมความพรอมรองรับ การใชงานรถอีวี และกระตุน ใหประชาชนทั�วไปหันมาใชยานยนต

04

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

หากประเทศไทยมีการใชยานยนต ไฟฟา ราคา จำหนายตองไมตีราคารถยนตตลาดลาง พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหนาคณะ รักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ในฐานะประธานการประชุม คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) เปดเผยวา หากประเทศไทยมีการใชยานยนตไฟฟา ราคาจำหนายตองไมตี ราคารถยนตตลาดลาง อาจกระทบกับทีป่ ระเทศไทยเปนศูนยกลาง การผลิตรถยนตอโี คคาร ตองศึกษาหลายอยาง ไมใชของใหม ดีกวา เพราะบางอยางของเกาดีกวา โดยยานยนต ไฟฟาเปน มิตใิ หม ในวันขางหนา ซึง� จะตองตอบไดวา วันขางหนาจะสามารถ ลดกาซเรือนกระจกไดเทาไร ภายใน 30 ป ดาน พล.อ.อนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน กลาววา รัฐบาล กำลังกำหนดมาตรการสงเสริมดานภาษีสำหรับรถยนตไฟฟา (อีว)ี และใหการสนับสนุนคายรถยนตในการนำเขารถอีวมี าทดลอง ตลาดภายใตเงื่อนไขตองผลิตในประเทศดวย พรอมกำหนด มาตรการสงเสริมดานภาษี สำหรับรถยนตไฟฟาทีน่ ำเขานำรอง 5,000 คัน ภายในป 2560 เพือ่ สงเสริมการใชใหได 1.2 ลานคัน ในป 2579

ผอ.สนพ. เผยวา ไดเตร�ยมเง�นกองทุน เพ�่อสงเสร�มการอนุรักษพลังงาน ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน(สนพ.เผยวา ไดเตรียมเงินกองทุนเพือ่ สงเสริมการ อนุรกั ษพลังงาน เพือ่ ผลักดันงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับเทคโนโลยี ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) เน��อง จากเปนสวนหนึง� ทีจ่ ะผลักดันใหแผน AEDP 2015 ดำเนิน ไปตามกำหนดการที่วางไว ทั้งน�้ สนพ. เตรียม ประกาศ ใหทนุ วิจยั ในเรือ่ งระบบการกักเก็บพลังงาน เพือ่ ชวยขยาย ผลในเรื่องของเทคโนโลยีและระบบการกักเก็บพลังงานที่ มีประสิทธิภาพ โดยฝมือคนไทย ซึ�งมีเปาหมายของการ นำไปใชไดจริงภายในระยะเวลา 2 ป เพือ่ ใหเกิดประโยชน สำหรับพืน้ ทีห่ า งไกลและขาดแคลนแหลงพลังงานสำรอง ลดปญหาความไมเสถียรของพลังงานไฟฟาทีผ่ ลิตจากแหลง พลังงานทดแทน


ภาพเปนขาว อบรมเชิงปฏิบัติการ เร�่อง การบร�หารจัดการกองทุนเพ�่อสงเสร�ม การอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการและมุงผลสัมฤทธิ์ พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน พรอมทีป่ รึกษารัฐมนตรีฯ พลเอก สุรศักดิ์ ศรีศกั ดิ์ และเลขานุการรัฐมนตรีฯ พลเอก ธนา วิทยาวิโรจน ใหเกียรติเขารวม กิจกรรมการฝกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง การบริหารจัดการกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษ พลังงานแบบบูรณาการและมุง ผลสัมฤทธิ์ จัดโดย สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) โดยมี นางเอมอร ชีพสุมล รองผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ดร.ชัยพัฒน สหัสกุล ประธานอนุกรรมการประเมินผลโครงการภายใตกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ผูบริหารและเจาหนาที่ สนพ. เขารวมอบรมฯ ณ โรงแรมโนโวเทล แพลทินัม กรุงเทพฯ ในวันที่ 2 กันยายน 2559 การอบรมครัง้ น�เ้ ปนการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ครัง้ ที่ 2 จากจำนวน ทัง้ หมด 4 ครัง้ เพือ่ รวมกันพัฒนาเกณฑในการกลัน� กรองและพิจารณาอนุมตั โิ ครงการภายใต กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงานตามหลักสากล

สัมมนารับฟ�งความคิดเห็น โครงการศึกษาและพัฒนาแนวทาง ในการสงเสร�มการใชยานยนต ไฟฟา (Electric Vechicles)

อบรมใหความรูเร�่อง “แผนการขับเคลื่อนภารกิจดาน พลังงานเพ�่อสงเสร�มการใชงานยานยนต ไฟฟา (EV) นางเอมอร ชีพสุมล รองผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) เปนประธานเปดการอบรมใหความรู เรื่อง “แผนการขับเคลื่อนภารกิจดานพลังงานเพื่อสงเสริม การใชงานยานยนต ไฟฟา (EV) ในประเทศไทย” โดยมี ผศ.ดร.ยศพงษ ลออนวล นายกสมาคมยานยนตไฟฟาไทย เปนวิทยากรบรรยาย ซึง� ไดรบั ความสนใจจากเจาหนาที่ สนพ. เจาหนาทีจ่ ากหนวยงานอืน่ ในกระทรวงพลังงาน ผูแ ทนจาก สำนักงาน กกพ. และการไฟฟาทัง้ 3 แหง เขารวมการอบรม ณ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ถ.เพชรบุรี เมือ่ วันที่ 13 กันยายน 2559 การอบรมครัง้ น�้ จัดขึน้ เพือ่ เปนการแลก เปลีย่ นองคความรูร ะหวางบุคลากรในสังกัดกระทรวงพลังงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของในการขับเคลื่อนภารกิจสงเสริม การใชงานยานยนตไฟฟา (EV) ในประเทศไทย ภายใตแผน อนุรกั ษพลังงาน (EEP 2015) ซึง� มีเปาหมายทีจ่ ะลดความเขม การใชพลังงาน โดยเฉพาะในภาคขนสง เน��องจากเปนภาค ที่ใชพลังงานมากที่สุด กระทรวงพลังงาน โดยสำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน และกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษ พลังงานจึงไดมกี ารศึกษาและเตรียมความพรอมในการรองรับ ใหครอบคลุมทุกดาน ทั้งความตองการใชไฟฟา การจัดตั้ง สถาน�ชารจไฟฟา และมาตรการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน เปนประธานเปดการสัมมนารับฟงความคิดเห็น โครงการศึกษาและพัฒนาแนวทางในการสงเสริมการใชยานยนต ไฟฟา (Electric Vechicles) จัดโดย สถาบันวิจยั และใหคำปรึกษาแหงมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร วันที่ 31 สิงหาคม 2559 ณ โรงแรมเดอะสุโกศล ทั้งน�้ โครงการที่ สนพ. โดยกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน ไดสนับสนุน ทุนวิจยั แกมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เพือ่ ศึกษาและพัฒนาแนวทางในการ สงเสริมเพือ่ ประเมินการประหยัดพลังงานจากการใชยานยนตไฟฟา และ วิเคราะหผลกระทบตอการใชพลังงานในระดับมหภาค รวมถึงการประเมิน ผลดานเศรษฐศาสตรและดานพลังงานในภาคขนสง โดยผลการศึกษา พบวาหากสามารถสงเสริมใหมีการใชไดตามแผน จะเสริมสรางความ แข็งแกรงทางเศรษฐกิจ โดยไมสง ผลกระทบตออุตสาหกรรมการผลิตรถยนต ทำใหผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศขยายตัวตอเน�อ� ง และชวยประหยัด เชือ้ เพลิงดานการขนสงเฉลีย่ ปละ 1.7 หมืน่ ลานบาท จากแบบจำลองทาง เศรษฐศาสตร เพือ่ ประเมินผลประหยัดพลังงานจากการเปลีย่ นไปใชยานยนต ไฟฟาในอนาคตตามแผนขับเคลือ่ นฯ พบวา ภายในป พ.ศ. 2558 ถึง 2579 การใชยานยนตไฟฟาจะทำใหความตองการการใชพลังงานไฟฟาจะเพิ�ม ขึ้นเฉลี่ย 608 กิกะวัตต-ชั�วโมงตอป แตสามารถลดปริมาณการใชเชื้อ เพลิงฟอสซิลลง 334 ลานลิตรตอป หรือคิดเปนมูลคา 5,417 ลานบาทตอป ซึ�งหากเปรียบเทียบผลประหยัดเปนหนวยไฟฟาแลว พบวาจะสามารถ ประหยัดพลังงานไดเฉลี่ย 2,323 กิกะวัตต-ชั�วโมงตอป นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

05


SCOOP

นายชวลิต พิชาลัย

Mr.Chavalit Pichalai รองปลัดกระทรวงพลังงาน

Deputy Permanent Secretary of Energy สถานที่ทำงาน กระทรวงพลังงาน 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคาร B ถนนวิภาวดีแขวงจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 Ministry of Energy 555/2 Energy Complex, Building B, Chatuchak, Bangkok 10900 โทรศัพท (Tel.) 0 2140 6133 โทรสาร (Fax) 0 2140 6139 ที่อยู 1035/49 ถนนกรุงเทพ – นนทบุรี ซอยกรุงเทพฯ – นนทบุรี 35 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 1035/49 Bangkok – Nonthaburi rd, Wongsawang, Bangsue District, Bangkok 10800 โทรศัพท (Tel.) 0 2585 6520 ประวัติการศึกษา ปริญญาโท MPA สาขา Public Administration Carleton University ประเทศแคนาดา (Canada) ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สาขา พัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ Master of Art (Development Economics) Nida ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Bachelor of Economic (Finance) Thammasat University

06

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


14 ก.ค. 2558 – ปจจุบนั Jul./14/2015 – Present

รองปลัดกระทรวงพลังงาน Deputy Permanent Secretary of Energy

ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน Director General Energy Policy and Planning Office (EPPO)

ผู้ตรวจราชการกระทรวงพลังงาน Inspector General

รองอธิบดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ Deputy Director General, Department of Mineral Fuels (DMF) รองผูอ้ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน Deputy Director General, Energy Policy and Planning Office (EPPO)

7 ก.ค. 2557 – 13 ก.ค. 2558 Jul.7/2014 – Jul./13/2015

19 ต.ค. 2555 – 6 ก.ค. 2558 Oct./19/2012 – Jul./6/2015

4 ม.ค. 2555 – 18 ม.ค. 2555 Jan./4/2012 – Oct./18/2012

19 มี.ค. 2550 – 3 ม.ค. 2555 Mar./19/2007 – Jan./3/2012

ประสบการณในการทำงาน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

07


Good Jods รายชื่อผลงาน

ที่โดดเดน

01 02 03 04 05

การปรับโครงสร้างราคาพลังงาน Restructure Energy Price of Thailand การจัดทำแผน DPD 2015 Formulate the Long Term Power Development Plan 2015 การจัดทำแผน EEP 2015 Formulate the Long Term Energy Efficiency Plan การจัดทำโครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ Formulate the Nuclear Power Project in Thailand การจัดทำเอกสาร ถาม – ตอบ การสำรวจ ขุดเจาะ และการให้สัมปทานปิโตรเลียม Formulate the Q & A Ducument for Petoleum Exploration in ThailandRestructure Energy Price of Thailand

01

02

งานวิจัยดีเด่น (รางวัลชมเชย) เรื่อง กลยุทธ์การสื่อสารโรงไฟฟ้าจาก พลังงานนิวเคลียร์ จากสถาบัน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ปีการศึกษา 2551

03

นักศึกษาเก่าดีเด่น ปี 2558 จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

08

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ศิษย์เก่าดีเด่นปี 2558 จากสมาคม ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รางวัลเกียรติคุณที่ ไดรับ

04

Asian Excellence in Energy Management by Individual (ในงาน Asian Energy Award) ในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ปี 2558 จาก Asian Centre For Energy (ACE)


คน

พลังงาน งาน พลัง คน

พลังงานที่ลุกโชนแหงสำนึกรับผิดชอบ และพลังใจที่ ไมเคยดับมอด ของคนพลังงานคนนี้

“ชวลิต พิชาลัย”

รองปลัดกระทรวงพลังงาน

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

09


แรงบันดาลใจ .. ใจที่ยิ่งใหญบันดาลแรงที่ ไมเคยออนลา “ใจที่สำนึกในหน้าที่ คือสิ่งที่ยิ่งใหญ่ หากจิตตระหนักรู้อยู่เสมอว่าเรามีหน้าที่อะไร ทำสิ่งนั้นให้ดี สิ่งที่อยู่ตรงหน้า ไม่ตอ้ งไปมองส่วนอืน่ แม้วา่ มันจะเล็ก ดูราวกับไม่สำคัญ แต่หากเราละเลย จะเสียหายแน่” จุดเริม่ ต้นการสนทนาทีป่ ระหนึง่ ว่า คือ แรงบันดาลใจที่ผลักดันให้เกิดการทำงานที่สำเร็จ ที่มาของเคล็ดลับนานัปการที่ท่านชวลิต พูดเหมือนเป็นเรื่องปกติ ทีไ่ ม่ใช่เคล็ดลับแต่อย่างใด

“เรารับราชการ นั่นหมายถึงทำประโยชน์ให้ส่วนรวม เรารับใช้แผ่นดิน แผ่นดินที่ เรารักและศรัทธา ศรัทธาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 เราเดินตาม รอยพระองค์ท่าน ท่านไม่ได้อยู่อย่างสบาย ท่านก็ทรงงาน เราก็ต้องทำงาน ความสำเร็จไม่จำเป็นว่างานนั้นต้องได้รางวัล งานนั้นต้องเด่น เราทำเพื่อให้งาน สำเร็จ ในยุคท่านปิยสวัสดิ์ เราต้องทำเองทุกอย่าง ทัง้ งานหลัก งานเลขา งานเอกสาร งานธุรการ วางฎีกาเอง ซ่อมตึกเอง ไม่ใช่แค่ทำในด้านทีต่ วั เองจบมา กลับดึกดืน่ แค่ไหน ก็ทำกัน ไม่บ่น ไม่รู้สึกเหนื่อย เพราะเป้าเราไม่ได้มีแต่ตำแหน่งหรือขั้น หากมองแต่จะเอาตำแหน่งสำคัญ จะเอาความภูมใิ จทีไ่ หนมาทำงาน เมือ่ ไม่ภมู ใิ จ ทำงานก็ไม่มีความสุข เพราะฉะนั้นเราอย่าไปคาดหวังใดๆ บางทีแผนการณ์ชีวิต ก็คาดการณ์ยาก สิง่ ทีส่ ำคัญมากกว่าคือ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ทำงานให้สำเร็จ ในทุกงานที่ได้รับมอบหมาย เราจะสร้างคุณค่าในตัวเองขึ้นมาได้”

รองชวลิต กล่าวถึงจุดเริ่มต้นที่ผลักดันให้ท่านมีความสุข ในชีวิตการทำงานในวันนี้ได้

10

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


รายได ไมสำคัญเทากับรายเหลือ หลายคนอาจมองว่า การรับราชการเงินเดือนน้อย ทำงานเพียงแค่หน้าทีก่ ร็ สู้ กึ หนักหนา รูส้ กึ เกินเงินเดือน แต่บางคนทีร่ ายได้ดเู ยอะก็จริง แต่สดุ ท้ายแล้วหนีส้ นิ เยอะมาก เงินเหลือแทบจะไม่มี ไม่ตา่ งอะไรกับคนที่ รายได้นอ้ ย แต่หนีส้ นิ ไม่มี รูจ้ กั ประหยัด และหารายได้เสริม ตัวอย่างทีผ่ มยึดมาตลอดคือ คุณพ่อรับราชการ ชั้นจัตวา เป็นอาจารย์สอนด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีวันหนึ่ง เครื่องวัดออกซิเจนระเบิดทะลุผนัง ปีนั้นคุณพ่อก็ไม่ได้สองขั้น สมัยก่อนคุณพ่อลำบากกว่าเราหลายเท่า ประเด็นสำคัญคือต้องอดทน ขยัน สมัยนีย้ คุ ทีต่ อ้ งกินต้องใช้ทง้ั สิน้ ก็ลองใช้เวลาว่างหารายได้เสริม อย่างผมชอบการสอนหนังสือ บรรยาย เขียนบทความ สอนเกีย่ วกับหลักเศรษฐศาสตร์ ทีส่ ำคัญคือ การนำเอาวิชาทีต่ ดิ ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์

BIG IMPACT “...แต่ถ้าเมื่อไรเรื่องที่เป็นลบ เราลงชื่อเราเอง เพื่อลดแรงปะทะ ถ้าเรื่องเป็นบวกนี่ต้องยกให้นาย เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับส่วนรวม อยู่ในวงการราชการทุกคนอาจต้องมีแรงปะทะ ทุกคนคาดหวังความก้าวหน้า แต่ในขณะเดียวกัน ฐานการเติบโตของข้าราชการเป็นปิรามิด ฐานกว้างกว่าจะมาถึงจุดบน ๆ ซึ่งขณะนี้มีการ ปรับเปลี่ยนเป็นยุทธวิธีสลายแท่งของระบบ กพ. ให้ขึ้นเป็นเส้นฉาก แต่พอถึงเวลาทุกคนไปไม่ได้ สะดุด แต่ในความหมายที่ต้องการเป็นคงจะเป็น เรื่องที่ต้องการให้เงินเดือนขึ้น แต่พอถึงจุดหนึ่ง เงินเดือนขึ้นไม่ได้” มุมมองของท่านชวลิตมองว่า ในรูปแบบเดิมแม้จะไปถึงเป้าหมายที่สูงได้ยาก แต่ระหว่างทางกลับมีสิ่งที่น่าค้นหาและ น่าประทับใจให้เห็น

อีกแง่มมุ ทีท่ า่ นชวลิตสะท้อนให้เห็นว่า การทำงาน ของท่านคำนึงถึงผลของงานโดยแท้จริง ไม่ยดึ ติด กับชือ่ เสียง เกียรติยศใด ๆ ความทุม่ เททำให้งาน สร้างคุณค่าได้มากยิง่ ขึน้

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

11


ปรามิดแหงพี่นอง การบริหารงานแบบปิรามิดทีม่ ฐี านกว้างแบบรูปสามเหลีย่ ม ในความเห็นท่านชวลิต มองว่า การมีฐานทีม่ น่ั คง มีรนุ่ พีร่ นุ่ น้อง พีส่ อนน้อง มีการพัฒนาทีมเวิรค์ ทีด่ ี จะเป็นบันได ไปสูจ่ ดุ หมายปลายทาง ตอนอยูส่ ภาพัฒน์ทเ่ี ติบโตมาได้กเ็ พราะรุน่ พีส่ อนมา ผมทำหน้าที่ run model ผลกระทบของราคาน้ำมันทางมหภาค เป็น model ธนาคารโลก รุ่นพี่ให้ หลักเราว่า “ชวลิตอย่าเอาแต่ใส่ทกุ อย่างทีเ่ ค้าให้ใส่ ต้องอ่านให้ออกว่าใส่แล้วจะเกิดผล กระทบอะไร” ในทางกลับกัน หากเราสงสัยก็ถามรุ่นพี่ ถ้าเราอยากเป็นพหูสูตรต้องรู้จัก ใช้หลัก สุ จิ ปุ ลิ ฟัง คิด ถาม เขียน เช่น สมัยท่านปิยสวัสดิ์ สอนการทำนโยบายเสนอ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติต้องคิดแผนขึ้นมา นำเสนอข้อเปรียบเทียบให้ เห็นตัวเลือกอันไหนดีที่สุด คล้ายการทำ SWOT วิเคราะห์สาระสำคัญ เปรียบเทียบ ข้อดีขอ้ เสีย และฝ่ายเลขานุการต้องเสนอความเห็น ไม่ใช่ไม่มที ม่ี า มีเหตุผลแสดงประกอบ อีกหลักการทำงานที่รุ่นพี่สอนรุ่นน้องอย่างผม คือ ท่านเมตตา ท่านจะบอกว่า “อยากรู้ ว่าตัวเองพัฒนาถึงไหน ตอนเข้าประชุมเสนอความเห็น ให้เราคิดในใจไว้ก่อน ปกติไป จะให้ไปนัง่ ข้างหลังคอยจดวาระ ให้เราคิดไว้กอ่ นว่าถ้าเป็นเราจะพูดอะไร เมือ่ ถึงโอกาส ที่เราได้ไปนั่งข้างหน้า ความคิดเราเหมือนได้ฝึกฝนมาแล้ว พอเราไปใช้ของจริงก็มี ความเชือ่ มัน่ เปรียบเหมือนกับนักมวยหรือนักดาบ หากไม่ออกศึกก็ไม่เก่ง เราต้องผ่าน กระบวน การเรียนรู้จากหน้างานจริง นี่คือ on the job training

12

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


MIND SET

หากกล่าวถึงการทำงานให้มีความสุขเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จนั้น ท่านชวลิตไม่ได้มองเรื่องไกลตัว แต่อย่างใด แต่ให้ยอ้ นมองดูทต่ี วั เรา ปรับทีต่ วั เรา ทีเ่ รียกว่า MIND SET หรือ เจตนคติ หลายคนอาจมีตวั เอง เป็นศูนย์กลางว่าความคิดตัวเองถูกต้อง หรือเรียกว่า INWORD LOOKING ไม่เชื่อถือในคนอื่น เปรียบ เสมือนชาล้นถ้วยทีใ่ ครเติมอะไรให้กร็ บั ไม่ได้ แม้จะมีสง่ิ ดีๆ เข้ามาให้เรียนรูก้ จ็ ะหมดโอกาสเพราะทุกอย่าง ถูกปิดรับ ด้วยเจตนคติเหล่านี้ทำให้บุคคลที่มีคุณภาพไม่สามารถพัฒนาตัวเองไปได้ไกล ดังนั้น ขอเพียง แค่ยอมเปิดใจฟังความคิดเห็นคนอื่น ยอมเรียนรู้จากคนอื่นด้วย พร้อมกับเสนอแนวคิดเราควบคู่ไปด้วย เพื่อเลือกหาสิ่งที่ดีที่สุด เปลี่ยนมาเป็น OUTWORD LOOKING โดยมองที่แนวคิดผู้อื่นร่วมด้วยและปรับ ให้เข้ากับสถานการณ์ งานก็จะมีแต่พฒ ั นา “ในโลกนีไ้ ม่มขี าว ไม่มด ี ำ ไม่มใี ครทำอะไรได้ถก ู ต้อง

และดีทส ่ี ด ุ สำคัญตรงเราต้องเรียนรูจ ้ ากข้อผิดพลาด ทีเ่ รียกว่า “ผิดเป็นครู” แต่อย่าให้ผด ิ ซ้ำซาก ข้อนี้สำคัญควรมองโลกให้เป็นดังธรรมชาติ รู้จักธรรมชาติของคนธรรมดา คนทุกคนไม่ได้ สมบูรณ์แบบ แต่ไม่ได้แปลว่าเราจะต้องใช้โอกาสนี้เพื่อเปิดโอกาสในการทำพลาด บางสิ่ง แม้เพียงเรือ ่ งเล็กน้อยในทางตรงข้ามก็ไม่ควรพลาดอย่างยิง่ จุดทีเ่ ราคิดว่าเล็กน้อยแต่ผใู้ หญ่ เค้ามองว่าสำคัญ ยกตัวอย่างเช่น การจั่วหัว แม้ว่าเนื้อหาจะดีทุกอย่างใช้เวลาทำมาเนิ่นนาน แต่ขึ้นต้นผิดนิดเดียวผู้ใหญ่ก็ไม่อยากแม้แต่จะเปิดดู ดังนั้น จำเป็นต้องใส่ใจในรายละเอียด เหมือนน้ำหมึกหยดเล็กๆ บนผ้าขาวที่เห็นชัด จิตวิทยา คือ ทุกคนล้วนอยากได้สิ่งที่ดีที่สุด ข้อผิดพลาดบางอย่างดูเหมือนเล็กน้อย นี่เป็นตัวอย่างในเรื่องของการใส่ใจรายละเอียดใน การทำงานให้รอบคอบเรื่องเล็กน้อยก็ควรใส่ใจ จุดเล็กๆ เหล่านี้ล้วนเป็นภาพลักษณ์ที่ดีที่

7

น่าเชื่อถือ”

เกงและมีคุณธรรม ดวย สัปปุริสธรรม รูเหตุ รูผล รูตน รูประมาณ รูกาล รูสถาน รูบุคคล การเริม ่ ทำงานให้ดห ี ลายคนละเลยการอ่าน job description ทีว่ า่ ขอบเขตหน้าทีข ่ องตนคืออะไรความ สัมพันธ์ทต ่ี อ ้ งไปต่องานกับหน่วยงานอืน ่ เป็นอย่างไร สิง่ ทีต ่ วั เองต้องทำให้กบ ั องค์กร รูใ้ นเหตุทต ่ี อ ้ งทำ รูใ้ นผล ทีจ ่ ะออกมาเมือ ่ ลงมือทำในทางเลือกนัน ้ พร้อมกับต้องประเมินให้เห็นว่า ความสามารถตนมีแค่ไหน จะต้อง เพิ่มเติมอะไร แน่นอนว่าทางที่ดีคือ ทุกคนต้องหมั่นเรียนรู้ เรียนรู้จากเอกสาร วารสาร หรือสิ่งรอบตัว มีขอ ้ มูลดีๆ อยูม ่ ากมาย นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ลองหยิบยกข้อมูลทีม ่ ม ี าหัดวิเคราะห์ คาดการณ์อนาคต วิเคราะห์ผลกระทบ ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย นีค ่ อ ื การเรียนรูจ ้ ากของจริง ลองหัดคิด หัดสรุป หัดบันทึก หรือคิดง่ายๆ ว่า ภายใต้ความไม่พร้อมเราจะทำอย่างไรเพื่อให้งานเดินหน้าต่อไปได้ หัดแก้ไขปัญหา ลองหัดวางแผนซ้อมเมือ ่ เกิดปัญหาฉุกเฉินหัดเตรียมพร้อม เช่น เมือ ่ เกิดสงครามในอ่าวเปอร์เซีย ทุกคนควร ทำหน้าที่อะไรบ้าง เตรียมแผนอย่างไร เป็นต้น ทุกหน้าที่ทุกตำแหน่งทำได้หมดที่ต้อง active หัดพัฒนา คุณภาพงาน แม้เพียงในเนือ ้ งานแค่จด ั ประชุม บางคนมองว่างานของตัวเองเล็กน้อยแค่การจัดประชุม แต่หา รู้ไม่ว่าหากมีการเตรียมความพร้อมที่ดี ก็จะสร้างความประทับใจ สร้างภาพลักษณ์ได้ นั่นคือ รู้กาล รู้สถาน รูบ ้ ค ุ คล จากประสบการณ์เมือ ่ ครัง้ ไปประชุมระหว่างประเทศเป็นการประชุมการฑูต ข้อสังเกตุทผ ่ี มได้มาคือ เขาจะไม่เหมือนบ้านเรา ถ้ามีแขกมาประธานต้องนั่งตรงกลาง เพื่อให้เกียรติแขกที่มาให้แขกรู้สึกอบอุ่น ได้รับการต้อนรับที่ดี ไม่ต้องนั่งหัวโต๊ะ นี่ฝั่งเขานี่ฝั่งเรา สิ่งเหล่านี้เกิดจากความเป็นคนช่างสังเกตุ ไม่ต้อง ไปเรียนที่ไหนเรียนจากการทำงานจริง

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

13


3T

ทามกลาง ความขัดแยง

ประสบการณ์ที่ต้องผ่านสถานการณ์จริงในการรับมือกับความขัดแย้งในช่วงที่ท่านชวลิต รับราชการนั้นมีมากมาย อาทิ ตอนทำหน้าที่รับม็อบขณะเป็นผู้ตรวจราชการ สิ่งสำคัญคือ ทัศนคติของเรา อย่ามองเค้าว่า เป็นศัตรู ต้องเคารพในความคิดของเขา ต้องมองว่าพวกเขาต่างก็มคี วามหวังดีกบั ประเทศ แล้วมา ดูกันว่าข้อมูลตรงไหนที่ยังเข้าใจไม่ตรงกัน เราต้องใช้หลัก 3 T คือ 1. Truth ความจริง หลักที่ความจริงเป็นสิ่งไม่ตาย 2. Transparency ความโปร่งใส ที่อยู่ในภาวะที่พอดี เปิดเผยตรงไปตรงมา ทำอย่างนี้ เพราะอะไร ไม่ทำเพราะอะไร 3. Make a Trust สร้างความน่าเชื่อถือ ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือหลักที่ใช้แก้ไขปัญหาความขัดแย้งต่างๆ อันแรก ต้องให้เกียรติเขา การ โอภาปราศรัย การบริการเขาด้วยน้ำใจไมตรี เช่น น้ำเย็น ห้องน้ำ ถ้ามองเป็นศัตรูก็อย่าให้ทาน ให้ร้อน ๆ จะได้กลับ ถ้าให้เกียรติเขาเชิญขึ้นมาคุยอย่างมิตร แค่ความเห็นต่างกัน ไม่จำเป็นต้อง ทำร้ายกัน หากบางครั้งบางม็อบจะแรง เช่น ม็อบก๊าซ LPG มีคนใช้ปืนยิง แล้วผมต้องขึ้นบนเวที สถานการณ์นี้ต้องใช้ปฏิภาณร่วมด้วย พูดสั้นๆ กระชับ รู้เวลา สำคัญคือ สติ ว่าจะทำอย่างไรให้ ต้องผ่านไปด้วยดี ให้ปลอดภัยทุกคน มีการประเมินสถานการณ์ทด่ี ี การบริหารความขัดแย้งในองค์กร ก็เช่นกัน หลักธรรมง่ายๆ คือ ใช้หลักอริยะสัจ 4 • ทุกข์ รู้ว่าความขัดแย้ง กับใคร • สมุทัย ไม่พอใจเรื่องอะไร เหตุแห่งทุกข์ • นิโรธ หาวิธีที่จะทำให้ปัญหานั้นหยุดลง • มรรค นำไปสู่แนวทางแก้ปัญหา และนำ 3 T มาใช้ในแนวทางแก้ปัญหานี้

ผูนำที่ดี

ไม่นำอย่างเดียวแต่ต้องฉุดคนข้างหลังให้ก้าวตามไป ด้วยเพื่อให้เป็นขบวน

สำคัญคือทำอย่างไรให้เขาผูกพันตามมา จะใช้กฎ คำสั่ง หรือใช้ความสัมพันธ์รุ่นพี่รุ่นน้อง แสดงให้เห็นเป้าหมายร่วมกัน สร้างศรัทธา มุ่งส่วนรวมก่อนเรื่องส่วนตัว เมื่อศรัทธาเกิด การร่วมมือก็จะง่ายขึ้น สิ่งเหล่านี้ต้องทำต่อเนื่อง มาเป็นเวลานาน ไม่ใช่เพิง่ ทำ ผูน้ ำบางคนอาจมอง แค่ภาพลักษณ์ทด่ี ภี ายนอก แต่ทจ่ี ริงแล้วต้องดีจาก ภายในด้วย และต้องดีแบบเสมอต้นเสมอปลาย ไม่เช่นนั้นศรัทธาจะค่อยๆ หายไป

14

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


ความภูมิใจ ตลอดระยะเวลาของชีวิตราชการ 30 ปี ทุกลมหายใจคือ ความตั้งใจที่จะสร้าง ประโยชน์เพื่อองค์กรเพื่อส่วนรวม หากจะกล่าวถึงความสำคัญของแต่ละงานเห็นว่าจะ กล่าวภายในหน้าหนังสือไม่จบสิ้น จึงหยิบยกความภูมิใจในผลงานที่ผ่านมา โดยท่าน รองชวลิตเล่าให้ฟงั ว่า “ความภูมใิ จในงาน งานเล็กงานใหญ่ภมู ใิ จทัง้ สิน้ เอาทีเ่ ห็นชัด

และสำคัญคือ การมีสว่ นช่วยในการจัดตัง้ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติ ทีแ่ ต่เดิมเป็นแค่กอง สำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี เป็นหนึง่ ในทีมงาน ทีช่ ว่ ยผลักดันหน่วยงานนีใ้ ห้เกิดขึน้ จากนัน้ จึงเปลีย่ นเป็นกรม กระทรวง และเปลีย่ นสู่ “สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)” พร้อมกันนี้ท่านรองชวลิตได้บอก ถึงทีม่ าของสัญลักษณ์ของกระทรวงอีกด้วย “การตัง้ สัญลักษณ์กระทรวงพลังงาน เดิมจะใช้สญ ั ลักษณ์ Big Bang แต่สว่ นใหญ่เห็นว่าไม่เกีย่ วข้อง ดังนัน้ เมือ่ ขับรถ ผ่านศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ์ิ เห็นตรา โลกุตระ ของอาจารย์ชลูด นิม่ เสมอ ที่ได้แนวคิดจากพระพุทธรูปสุโขทัย ที่มีความหมายของการตรัสรู้ มองอีกด้าน หนึ่งคือ เหมือนเปลวไฟ ที่เปรียบเสมือนพลังงานอย่างหนึ่ง จึงนำมาเป็นตรา สัญลักษณ์ของ สนพ. และตัง้ สนพ. ได้สำเร็จ” งานทีภ่ มู ใิ จต่อมาคือ งานฝ่ายเลขานุการ ของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ มีโอกาสรับหน้าทีเ่ ขียนรายงานการประชุม ให้กบั ฝ่ายเลขาฯ “เมือ่ ก่อนคนน้อย มีขา้ ราชการประจำ อยูเ่ พียงแค่ 5 คน นอกนัน้ เป็น ลูกจ้าง ทุกอย่างต้องทำเอง เป็นจุดที่เราได้เรียนรู้ทักษะต่างๆ มากมาย” แม้ว่าจะเป็น แค่งานส่วนสนับสนุนแต่จะเห็นว่าท่านรองชวลิต ให้ความรูส้ กึ ภูมใิ จอย่างมาก เนือ่ งจาก ท่านเห็นคุณค่าในการเรียนรู้เป็นสำคัญ “อีกบทบาทที่ภูมิใจคือ ได้มีโอกาสดูแล

ด้านการซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน ขณะนั้นดำรงตำแหน่ง ผอ.กองไฟฟ้า สนพ. ทำให้เราได้เรียนรู้การดำเนินการซื้อขายไฟ ส่วนใหญ่มาจากพลังงานน้ำ ลดปัญหาคาร์บอนไดออกไซด์ ตลอดจนทำให้คนไทยได้ใช้ไฟถูกลง ล่าสุดคือ บทบาทความรับผิดชอบด้านงานต่างประเทศของกระทรวงพลังงาน ความร่วมมือ ระหว่างประเทศในอาเซียนทั้งการซื้อขายไฟฟ้า การส่งเสริมพลังงานทดแทน ความช่วยเหลือเมือ่ เกิดเหตุฉกุ เฉิน นำไปสูก่ ารเปิด AEC ด้านพลังงาน ทีม่ าของ รางวัล Asian Excellence in Energy Management by Individual (ในงาน Asian Energy Award) ในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ปี 2558 จาก Asian Centre For Energy (ACE) สุดท้ายทีภ่ มู ใิ จคือ งานด้านการปรับโครงสร้างราคา น้ำมันในปี 2557 ทีม่ าของรางวัล ศิษย์เก่าดีเด่น จากสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในปี 2558”

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

15


วางรากฐานความพรอม

สูโรงไฟฟานิวเคลียร ท่านรองชวลิตเป็นอีกบุคคลหนึง่ ทีไ่ ด้วางรากฐานด้านการสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์เพื่อรองรับความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าในอนาคตไว้อย่างรัดกุม ตั้งแต่การศึกษา การเตรียมการ การวางโครงสร้างพื้นฐาน ด้านกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ด้านข้อผูกพันระหว่างประเทศ ด้านการสื่อสาร ด้านความ ปลอดภัย ด้านเทคนิคทีร่ วมด้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้า การเลือกทีต่ ง้ั การป้องกัน การรั่วไหลของรังสี ได้ศึกษาไว้ครบรอบด้านถึง 19 ประเด็น แต่เมื่อเกิด แผ่นดินไหว 9 ริกเตอร์ในญี่ปุ่น โครงการจึงต้องหยุดชะงัก ซึ่งในขณะนี้ ทุกอย่างได้ถูกเตรียมไว้อย่างรัดกุม เหลือแต่ ข้อตกลงบรรลุความเข้าใจ เมื่อไรที่ประเทศต้องการใช้งานก็สามารถนำโครงการออกมาสานต่อได้ทันที ถือได้ว่าประโยชน์ที่ท่านรองชวลิตและทีมงานอีกหลายท่านได้ร่วมกันคิด ร่วมกันสร้างได้เกิดคุณค่าไว้อย่างมหาศาล

16

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


ภาพพจนขององคกรที่ดี

ตองเกิดจากความจริง

TRUTH

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน หน้าที่หลักคือ การทำให้เกิดนโยบายและแผน ดังนัน้ การผลักดันให้เกิดนโยบายทีด่ ี ก็จะเกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพ ซึง่ หมายรวมถึง ด้านการวางแผนผลิตไฟฟ้า มีโรงไฟฟ้าเท่าที่จำเป็น ส่งเสริมพลังงานสะอาด ตลอดจน ทำอย่างไรให้มกี ารจัดเตรียมพลังงานให้เพียงพอต่อความต้องการทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว และ ราคาทีเ่ หมาะสม ให้คนไทยใช้พลังงานทีไ่ ม่แพง ทีส่ ำคัญคือ การส่งเสริมการมีสว่ นร่วม ของภาคประชาชน ซึง่ ขณะนีค้ วามขัดแย้งทีเ่ กิดขึน้ ตอนนีเ้ กิดจากภาคประชาชนทีไ่ ม่เข้าใจ ในข้อมูล ให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทขับเคลื่อนเป็นส่วนหนึ่งด้วย องค์กรดีไม่ได้เกิดขึน้ จากผูน้ ำอย่างเดียว ทุกคนล้วนมีสว่ นในการสร้างและลบชือ่ เสียง ให้กับองค์กร ที่สำคัญคือ ต้องมุ่งไปสู่การคำนึงถึงคนที่มีรายได้น้อยเป็นสำคัญ ทำให้เขา ลืมตาอ้าปากได้ มีอาชีพมีรายได้ จากสถิตริ ายจ่ายด้านพลังงานของคนมีรายได้นอ้ ยเกือบ 40% นัน่ หมายถึงถ้าลดรายจ่ายด้านพลังงานลงอีก 20% ก็นา่ มีรายเหลือได้อกี เยอะ ยกตัวอย่าง เช่น เราสนับสนุนเทคโนโลยี องค์ความรู้ ส่งเสริมเรือ่ งปุย๋ อินทรียจ์ ากก๊าซชีวภาพ มาใช้แทน LPG ช่วยพวกเขาปรับให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากสิ่งที่เขามี ไม่ให้มีช่องโหว่เงินหล่นทิ้ง หลอดไฟหลอดตะเกียบหากยังใช้ได้อยู่อีก 2 ปี ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนเป็น LED ทั้งหมด ปรับทุกอย่างให้เหมาะสมกับภูมิเศรษฐกิจของท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ ในหลวง

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

17


T ยังคงใชไดตลอด C T Teamwork การทำงานเป็นทีม T Think out of Box คิดนอกกรอบ ที่ไม่ใช่หลุดโลก C Citizen Center เอาประชาชนเป็นศูนย์กลาง C Can do ต้องคิดว่าทำได้ ซึ่งเป็นการปรับเจตนคติ ว่างานที่มันยากทั้งหลาย ที่ท้าทายเราต้องคิดว่าเราทำได้ไว้ก่อน ไม่เช่นนั้นจะเริ่มไม่ได้

มุงมั่นตั้งใจ เพื่อไทยทุกคน สโลแกนนี้ หลายองค์กรสามารถนำไปใช้ได้ การพัฒนาในสาขาพลังงานจะมีการเติบโต ต่อไปได้อย่างต่อเนือ่ ง เป็นลักษณะการเติบโตทีม่ ภี มู คิ มุ้ กัน ไม่วา่ จะเกิดเหตุฉกุ เฉินในภาวะ เศรษฐกิจโลกอย่างไร เราจะยังอยู่ได้ เสมือนภูมิคุ้มกันเมื่อยามเผชิญกับโรคภัยไข้เจ็บ ถ้าร่างกายเราแข็งแรง แม้วา่ จะไปเจอเชือ้ โรคอย่างไรก็ยงั อยูไ่ ด้ ทีส่ ำคัญคือ ต้องพอประมาณ คือ อนุรักษ์พลังงานและส่งเสริมพลังงานทดแทน บ้านเราเป็นเมืองเกษตร แต่เราพึ่งพิง พลังงานจากต่างประเทศเยอะ เราจำเป็นต้องประหยัดพลังงาน ไม่ได้หมายความแค่ปิดไฟ ดับไฟ แต่ลงลึกไปถึงเรื่อง การดูเรื่องการดูอุปกรณ์ตัวไหนกินไฟ ลดชั่วโมงลง เปลี่ยน พฤติกรรมการใช้ไฟและแบบมีเหตุมีผล ประหยัดค่าไฟได้ 10 บาท แต่ประสิทธิภาพการ ทำงานน้อยลงมูลค่า 200 บาท ต้องมองในลักษณะเหตุและผล

18

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


ฝกใจใหเขมแข็ง

เพื่อฝาอุปสรรคที่มี การทำงานราชการ เราต้องคิดว่า เราทำเพื่อในหลวง ทำเพื่อแผ่นดินและทำเพื่อประชาชน ดังนั้น เมื่ออยู่ในหน้าที่ต้องทำหน้าที่ที่รับผิดชอบให้ดีที่สุด รักษาเกียรติของตัวเองและองค์กรด้วยความซื่อสัตย์ และความขยันขันแข็งในการทำงาน ตลอดจนมีเจตนคติที่ต้อง เปิดหู เปิดตา เปิดใจ ที่จะรับฟังความคิด เห็นผูอ้ น่ื อีกสิง่ ทีส่ ำคัญคือ ในชีวติ การทำงานไม่มอี ะไรทีร่ าบรืน่ สำคัญคือ ในช่วงทีเ่ กิดปัญหาทำอย่างไร ให้เราอยู่ได้ สิ่งที่ช่วยได้คือ ธรรมะ หลักธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในฐานะประธานชมรม พุทธศาสนาของกระทรวง ข้อธรรมะจะช่วยให้เรานำมาปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน ได้ เรียกว่า ฆราวาสธรรม ประกอบด้วย สัจจะ คือ เรื่องความจริง ความซื่อสัตย์สุจริต ธรรมะ คือ ต้องข่มใจ ต้องรักษามิตรไมตรีไว้ ในการทำงาน ขันติ คือ ความอดทน ต้องเรียนรู้เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ อะไรที่ช่วยคนอื่นได้ ต้องยินดีที่ช่วยทันที จาคะ คือ การแบ่งปัน ทั้งสิ่งของ และความรู้ ซึ่งหมายรวมถึงการให้อภัย ซึ่งจะช่วย ลดความเครียดไปในตัว หลักเหล่านี้จะช่วยพัฒนาใจเราให้สูงขึ้นด้วย ถ้าเราพัฒนาจิตใจให้เข้มแข็งแล้ว ก็จะทำให้เราผ่านพ้นอุปสรรคไปได้เสมอ” บนเส้นทางการทำงานทีไ่ ม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ แต่ทา่ นรองชวลิตกลับทำงานด้วยหัวใจทีเ่ บิกบาน อยูต่ ลอด ไม่เคยมีใครเห็นท่านโกรธ ท่านดุ ท่านต่อว่าคนอืน่ ๆ สิง่ เหล่านีค้ งไม่ได้เรียกว่าท่านไม่ได้เผชิญกับ ความทุกข์หรือปัญหา แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่าระหว่างการเดินทางเราควรต้องเตรียมรับมือกับปัญหา อย่างไรให้ใจเราเป็นสุขก็เพียงพอ ความสำเร็จของแต่ละคนอาจขนาดไม่เท่ากัน แต่ใครจะทำความรู้จัก กับความสำเร็จในใจได้ก่อนกัน สิ่งนั้นคือเส้นทางที่ท่านรองชวลิตฝากไว้เป็นบทเรียนแก่รุ่นน้องจากรุ่นพี่ ที่กำลังเดินต่อไป ในอีกบทบาทหนึ่งเท่านั้น....

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

19


คำนิยม

“ท่านรองชวลิต เป็นคนที่ซื่อสัตย์สุจริตมาก ฝากเงินไว้ให้ถือ 100 ล้าน ยังไม่น่าห่วงเลย..”

จากทาน ดร. ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน (ประธานกรรมการบริษัท ปตท จำกัดมหาชน)

ระยะเวลากว่า 36 ปีทร่ี จู้ กั กับท่านรองชวลิต พิชาลัย รองปลัดกระทรวงพลังงาน ท่านปิยสวัสดิย์ อ้ นนึกไปถึงเมือ่ วันวาน ทีย่ งั ร่วมบุกเบิกงานมาด้วยกัน จากสถานทีร่ ว่ มงานกันแห่งแรก สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือทีเ่ ราเรียกว่า “สภาพัฒน์ฯ เมือ่ ปี 2523 ท่านปิยสวัสดิไ์ ด้เล่าถึงความรูส้ กึ ทีป่ ระทับใจต่อท่านชวลิต ว่า “เมือ่ สมัยอยู่

สภาพัฒน์ฯ ด้วยกัน ทำงานร่วมกันตัง้ แต่ เรือ่ งวางแผน สร้างแบบจำลองเศรษฐกิจ ซึง่ ช่วงนัน้ เป็นหน่วยงานเล็กๆ มีกันอยู่ 10 คน อยู่ฝ่ายเทคนิควางแผน แต่ไม่ใช่แค่ทำงานด้านวางแผนพลังงานอย่างเดียว เราต้องทำทุกอย่าง ตั้งแต่ถ่ายเอกสาร จนถึงทำแบบจำลองเศรษฐกิจ ติดต่อพบผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน เพื่อพัฒนาความรู้ รวมไป จนถึงงานเขียนวาระ คือ ทำในทุกด้านทัง้ ด้านวิชาการ ด้านเทคนิค และงานด้านธุรการ เราทำได้ ท่านชวลิตทำได้ เพราะท่านไม่เกีย่ งงาน ขยัน ตัง้ ใจ เห็นท่านกลับดึกๆ ก็ไม่เคยบ่นอะไร สิง่ เหล่านีผ้ มเชือ่ ว่าท่านทุม่ เทกับงานมาก ท่านจึงเติบโตขึ้นมาจากคนที่ยอมทำทุกอย่าง” ท่านปิยสวัสดิ์มองจากอดีตเชื่อมโยงมาถึงวินาทีนี้ที่ท่านรองชวลิต ประสบความสำเร็จมาจนกระทัง่ ทุกวันนี้ ท่านปิยสวัสดิ์ เห็นในคุณค่าทีท่ า่ นรองชวลิตสัง่ สมความเพียรมาตลอดอายุราชการ ระหว่างที่เล่าถึงเส้นทางอายุราชการที่ผ่านมาด้วยกัน ด้วยแววตาชื่นชมและภูมิใจ “อีกเรือ่ งคือ ท่านรองชวลิต เป็นคนทีซ่ อ่ื สัตย์สจุ ริตมาก ฝากเงินไว้ให้ถอื 100 ล้าน ยังไม่นา่ ห่วงเลย..” ท่านปิยสวัสดิ์ กล่าวถึงความสุจริตของท่านรองชวลิตด้วยถ้อยคำเปรียบเปรยที่เต็มไปด้วยรอยยิ้มและความรู้สึกดีที่เป็นอย่างที่พูดจริงๆ “ 30 กว่าปี ผมยังไม่เคยเห็นท่านด่าใคร ไม่เคยเห็นเขาโกรธใคร มีใครเคยเห็นบ้าง ท่านเป็นคนจิตใจดีมาก ได้พบภรรยา ทำงานอยู่กองเดียวกัน ก็เป็นคนมีจิตใจดีเหมือนกันอีก” ท่านปิยสวัสดิ์ กล่าวถึง ในตำแหน่งล่าสุดของท่านรองชวลิต พิชาลัย “กระทรวงพลังงาน โชคดีทไ่ี ด้ทา่ นชวลิต เป็นรอง ปลัดกระทรวงพลังงาน เพราะท่านรูง้ านในทุกด้าน ประกอบกับมีความซือ่ สัตย์สจุ ริตมาก งานด้านพลังงานเกีย่ วพันกับเม็ดเงิน จำนวนมาก ท่านรองทำหน้าที่อย่างไม่มีที่ติ” “ผมหวังว่าท่านจะมีเวลาดูแลสุขภาพตัวเองมากขึน้ ได้ออกกำลังกายมากขึน้ ส่วนด้านจิตใจนัน้ ท่านปฏิบตั ธิ รรมอยูแ่ ล้ว คงไม่ต้องห่วง และอยากให้ใช้ความรู้ที่มีอยู่ต่อไป ใช้ชีวิตให้สนุก” ท่านปิยสวัสดิ์ ทิ้งท้ายด้วยความเป็นห่วงในโอกาส เกษียณอายุราชการในปี 2559 นี้ แก่ท่านรองชวลิต พิชาลัย

20

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


“ประสบการณ์ที่มีค่า อย่าทิ้งให้สูญเปล่า”

คำนิยม จาก ทาน เมตตา บั น เทิ ง สุ ข (อดีตรองปลัดกระทรวงพลังงาน) เมื่อได้พูดคุยกับท่านเมตตา บันเทิงสุข อดีตรองปลัดกระทรวงพลังงาน และอดีตผู้อำนวยการสำนักนโยบายและ แผนพลังงาน อีกหนึง่ ท่านทีเ่ คยร่วมงานกับท่านรองชวลิต พิชาลัย รองปลัดกระทรวงพลังงาน จากความคุน้ เคยในการทำงาน ร่วมกันและความประทับใจที่มีต่อท่านรองชวลิตว่า “ท่านชวลิต เป็นทีมงานในกลุ่มแรกๆ ยุคก่อตั้ง สำนักนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) ที่เริ่มมาจาก สภาพัฒน์ฯ ด้วยกัน เราเป็นเหมือนเพื่อน ทำงานมาในรุ่นๆ ใกล้ๆ กัน ท่านชวลิต เป็นคนดีที่น่าคบหา เป็นคนที่ดูแลทุกคน คอยดูแลทีมงาน ดูแลเพื่อนๆ ท่านดีกับทุกคน ไม่เคยมีใครที่เห็นท่านโกรธ ทุกคนจะประทับใจ ในการให้ความยินดีที่จะช่วยเหลือน้องๆ ของท่านชวลิตมาก” และเมือ่ พูดถึงความโดดเด่นในการทำงาน ท่านเมตตาได้เล่าถึงบทบาทความเป็นผูน้ ำทีด่ ใี นแง่มมุ ของท่านรองชวลิตว่า

“ในสมัยผมเป็นผู้อำนวยการ สนพ. ได้มีการทำงานที่เกี่ยวข้องกับท่าน โดยท่านมาช่วยงานด้านอนุรักษ์พลังงาน ดูแลงานทุกอย่าง ทีส่ ำคัญผมเห็นอย่างหนึง่ ในตัวท่านทีม่ อี ย่างเสมอต้นเสมอปลายคือ การเป็นผูน้ ำทีมทีช่ ว่ ยผลักดัน ลูกทีมได้ดมี ากคนหนึง่ ท่านจะไม่ใช่ผนู้ ำทีค่ อยออกคำสัง่ หรือสร้างผลงานคนเดียว แต่ทา่ นเปิดโอกาสให้ผรู้ ว่ มทีม ได้ใช้ทักษะ ฝึกประสบการณ์ในการทำงาน เพื่อสร้างผลงาน โดยท่านคอยเป็นที่ปรึกษา แก้ปัญหาต่างๆ ให้ ด้วยความเต็มใจ กระตุ้นให้ทีมงานเดินหน้าอย่างเต็มที่ ซึ่งจุดนี้เองผมกลับมองว่า เป็นผู้นำที่ดี ผู้นำลักษณะนี้ จะช่วยพัฒนาทีมและเกิดการพัฒนาองค์กรต่อไป องค์กรอย่างเราต้องการคนแบบนี้ ยิ่งในยุคแรกๆ ของ สนพ. ทีเ่ ป็นยุคบุกเบิก ทุกคนยังใหม่ ต้องเริม่ เรียนรูใ้ หม่หมด โอกาสทีจ่ ะสร้างผลงาน จะผ่านอุปสรรค ต้องอาศัยความ ร่วมมือร่วมใจและแรงผลักดันที่ดีจากผู้นำทีม” ท่านเมตตากล่าวด้วยความชื่นชม ด้วยโอกาสที่ท่านรองชวลิต จะเกษียณอายุราชการในเดือน กันยายน 2559 นี้ ท่านเมตตา บันเทิงสุข ได้ฝากความห่วงใยมาให้เพื่อนเก่าคนนี้ “เป็นห่วงเรือ่ งสุขภาพของท่าน รักษาสุขภาพให้ดี และกลับมาแลกเปลีย่ นประสบการณ์ดๆ ี ให้รนุ่ น้องๆ ฟัง นำความรู้ ทีม่ สี ร้างคุณค่าให้ชวี ติ จะช่วยให้มสี ขุ ภาพใจดี และสุขภาพกายก็ดไี ปด้วย ประสบการณ์ของท่านมีคา่ มาก อย่าทิง้ ให้สญ ู เปล่า จะสามารถมาต่อเติมพลังงานการเรียนรู้ให้น้องๆ รุ่นต่อไปได้อย่างดี เป็นประโยชน์กับองค์กรและประเทศชาติต่อไป”

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

21


คำนิยม

“ท่านมหา ใจดี ตัง้ ใจทำงาน”

จาก ทาน นายวีระพล จิรประดิษฐกุล

(กรรมการกำกับกิจการพลังงาน)

“ท่านเป็นคนรุน่ เก่าทีร่ เู้ รือ่ งพลังงานเป็นอย่างดี เป็นบุคคลทีม่ อี งค์ความรูด้ า้ นพลังงานคนหนึง่ เป็นประโยชน์ ทีจ่ ะสามารถให้ชว่ ยงานกับกระทรวงได้มาก โดยเฉพาะพลังงานไฟฟ้าสมัยเป็น ผอ.กองไฟฟ้าที่ สนพ. เป็นบุคคล ทีต่ ง้ั ใจทำงาน ละเอียด ใจเย็น เป็นพ่อพระ ใครว่า ใครดุ ก็ไม่วา่ ตอบโต้ รวมถึงกับลูกน้องก็ไม่เคยว่าลูกน้องเลย ตั้งแต่เห็นมา ลูกน้องรักท่านทุกคนและยังเป็นที่รักของเพื่อนๆ อีกด้วย” ท่านวีรพล กล่าวถึงท่านรองชวลิตในทุกบทบาท ทุกมิตคิ วามสัมพันธ์ทค่ี รบถ้วนชัดเจน โดยไม่ตอ้ งกลัน่ กรอง คำพูดอะไรมาก เป็นคำพูดที่ออกมาจากใจจริง หากจะขอคำนิยามให้กับท่านรองชวลิต ท่านวีรพล นึกถ้อยคำ ที่ติดปากใน หมู่เพื่อนง่ายๆ ว่า “ท่านมหา” จึงให้คำนิยามที่บอกถึงตัวตนท่านชวลิตได้อย่างรวดเร็วว่า

“ท่านมหา ใจดี ตั้งใจทำงาน” ในหมู่เพื่อนๆ เรียกกันว่า “ท่านมหา เพราะท่านเป็นคนชอบศึกษาธรรมะ ชอบไหว้พระ เข้าวัด ฟังธรรม นำมาใช้จริงในชีวิตได้ดี ท่านนำธรรมะมาใช้ในการทำงาน ทำให้งานทุกงานของ ท่านล้วนแต่เป็นผลทีอ่ อกมาจากความตัง้ ใจ จะเห็นว่าท่านรับผิดชอบในหน้าทีอ่ ย่างสูง มีความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจทำงาน แบบทีเ่ รียกว่า ไม่เกีย่ งหน้าที่ ทำงานเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวมจริงๆ บางครัง้ ท่านกลับดึกดืน่ ไม่เคยบ่นเหนือ่ ยกับงาน ในบทบาทของผูน้ ำผมไม่เคยเห็นท่านว่าใคร ไม่วา่ จะมีใครทำอะไรให้ไม่พอใจ ก็ไม่เคยมีใครได้ยนิ ว่าท่านดุ ท่านบ่น หรือว่า อาจเป็นเพราะท่านฝึกธรรมะมาดี ท่านเป็นคนจิตใจดี มีเมตตา ชอบช่วยเหลือทุกคน” ความที่มีจิตใจ อ่อนโยน แต่หนักแน่นในความตั้งใจเพื่อการงานที่มีประสิทธิภาพของท่านรองชวลิต ชัดเจนจนสะท้อนผ่านเรื่อง เล่าในความทรงจำของเพื่อนร่วมงานได้อย่างดี

ฝากถึงท่านชวลิต ในโอกาสที่ท่านรองชวลิต เกษียณอายุราชการ ท่านวีรพลเองมีความเป็นห่วงในด้านเดียวคือ ด้านสุขภาพ จึงอยากฝากถึงท่านรองชวลิตว่า “อยากให้ดแู ลสุขภาพให้ดี หลายเรือ่ งทีท่ า่ นต้องรับผิดชอบเรือ่ งยากๆ ก่อนเกษียณ เป็นห่วงจึงอยากให้ดแู ลสุขภาพบ้าง ในโอกาสปีนเ้ี ป็นจังหวะดีทไ่ี ด้มเี วลาพักผ่อนช่วงเกษียณอายุราชการ ใช้เวลา ในช่วงเกษียณให้มคี วามสุข”

22

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


คำนิยม

นิยามสั้นๆ “ธรรมะนำการบริหาร”

จาก

ผอ.ทวารัฐ สูตะบุตร

ผูอำนวยการสำนักนโยบายและแผนพลังงาน

“ธรรมะนำการบริหาร” หากจะกล่าวเป็นคำสัน้ ๆ ทีส่ ะท้อนตัวตนของรองชวลิตได้ชดั เจนทีส่ ดุ ผอ.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ้ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ได้ให้คำนิยามคำนีเ้ มือ่ พูดถึงท่านรองชวลิต พิชาลัย ในวาระเกษียณอายุ ราชการในปี 2559 นี้ ด้วยท่านรองชวลิตเป็นบุคคลที่ถือได้ว่า ใช้หลักธรรมะในการทำงานตลอดจนใช้หลักธรรมนำมา ดำเนินชีวิตประจำวันเลยก็ว่าได้ ตลอดอายุราชการของท่าน ได้ทุ่มเท มุ่งมั่น ให้ความสำคัญกับทุกๆ งานที่ท่านทำ ไม่ เกี่ยงว่างานเล็กหรืองานใหญ่ ผอ.ทวารัฐ กล่าวถึงช่วงเวลาที่เคยทำงานร่วมกับท่านรองชวลิตไว้ว่า “ในช่วงที่ท่านเป็น

ผอ.กองไฟฟ้า ใน สนพ. รัฐบาลมีนโยบายเปิดเสรีกจิ การพลังงาน เริม่ จากกิจการไฟฟ้า ให้มกี ารแข่งขันเต็มรูปแบบ และเชือ่ มโยงกับภาระกิจด้านกิจการก๊าซธรรมชาติและการจัดหาเชือ้ เพลิงของโรงไฟฟ้า มีงานหลายส่วนทีต่ อนนัน้ ผมเป็นข้าราชการกรมทรัพยากรธรณีทร่ี บั มาดำเนินงาน และมีโอกาสได้ทำงานร่วมกับท่านตอนแปรรูปโรงไฟฟ้า ราชบุรี และยุคนั้นเองมีกระแสต่อต้าน หรือ MOB เกิดขึ้นมากมาย การดำเนินงานค่อนข้างเผชิญกับปัญหามาก เพราะโรงไฟฟ้า Delay ทำให้เกิดภาระ Take or pay ในฝั่งของการรับซื้อก๊าซทางของประเทศพม่าตลอดจนมี ความตึงเครียดในด้านความสัมพันธ์ระหว่างไทยและพม่า การซือ้ ก๊าซต้องบินไปเจรจากันบ่อยครัง้ ท่านรองชวลิต เป็นอีกคนทีเ่ ป็นกลไกในการขับเคลือ่ น และการรับมือกับกระแสต่อต้านนี้ ด้วยใช้หลักความจริงใจเข้าหา ยุคนัน้ มีแต่เรื่องร้อนให้ต้องแก้ปัญหา ท่านรองชวลิตถือได้ว่าทุ่มเท และให้ความสำคัญกับงานจนทุกอย่างลุล่วงไปได้ ด้วยดี” พลังสำคัญ พลังอย่าง workhorse “ต่อมาในช่วงปี 2549 และได้มาคลุกคลีร่วมงานทำงานใกล้ชิดกับท่านรองชวลิตอีกครั้ง ในการบุกเบิกด้านพลังงาน นิวเคลียร์ ท่านรองชวลิตดำรงตำแหน่ง ผอ.โครงการ ท่านได้ลงมือปฏิบัติในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นงานด้านวิชาการ ด้าน มวลชนสัมพันธ์ ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้าน Technology selection ด้าน Site Selection เรามองเห็นว่า ท่านรองชวลิตเป็นเสมือน workhorse หรือฟันเฟืองสำคัญในการขับเคลือ่ นโครงการ ให้ความสำคัญกับผลสัมฤทธิข์ องงาน ไม่ใช่แค่โครงการนี้ แต่เป็นในทุกๆ โครงการที่ได้รับมอบหมาย” “ในปี 2557 ทีท่ า่ นชวลิตดำรงตำแหน่ง ผอ. สนพ. เมือ่ เห็นจังหวะทีร่ าคาน้ำมันลง ก็ได้ฝากผลงานทีน่ า่ ชืม่ ในด้านการปรับ โครงสร้างภาษีน้ำมัน และต่อมาในปี 2558 ซึ่งงานล่าสุดที่ผมมาสานงานต่อ ท่านได้วางรากฐานการเปิดเสรีกิจการ LPG ปรับโครงสร้างให้เกิดการแข่งขันกว้างขวางมากยิง่ ขึน้ ระบบปัจจุบนั ทีใ่ ช้คอื ผลงานของท่านรองชวลิตจนเป็นมติสำคัญใน เดือน ก.พ. 2558 มีการปรับสูตรในการคำนวณต้นทุน LPG ใหม่หมด ผู้ผลิตทุกรายต้องอยู่ในระบบนี้” นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

23


ประทับใจในทักษะ และความจริงใจ ที่ฝากไว้ในทุกผลงาน หากพูดถึงในด้านการบริหารงานของท่านรองชวลิต ผอ.ทวารัฐ ให้แสดงความประทับใจว่า “ท่านซือ่ สัตย์ ตรงไปตรงมา จริงใจกับผูร้ ว่ มงานซึง่ ถือเป็น จุดเด่น ของท่านรองชวลิต “ท่านเป็น

คนธรรมะธรรมโม มีความจริงใจต่อผู้ร่วมงาน มีความรับผิดชอบสูง ตรงไปตรงมา ไม่เคย พูดโกหก ใจเย็น เรียกสั้นๆ ว่า เอาธรรมะนำการบริหาร” ผลงานสุดท้าย ทีป่ ระทับใจมากในช่วงก่อนเกษียณของท่านรองชวลิต คือ “การไปเจรจากับ ประเทศพม่า ยังไม่ทนั ประชุมเลย แต่เมือ่ การประชุมเริม่ ก็สรุปจบได้ทนั ที เป็นการเจรจาเรือ่ งการ สร้าง LNG เพื่อป้อนกลับประเทศไทย แต่ก่อนพม่าไม่ยอมให้ลงไปสำรวจ จึงได้บินมาเจรจา ไฟล์ทตอนนัน้ เป็นไฟล์ทเช้า เมือ่ รับจากสนามบินจึงเริม่ ต้นทีก่ ารทานข้าวด้วยกันก่อน ท่านรองชวลิต เริม่ สร้างมิตรภาพประหนึง่ เสมือนเพือ่ นทีท่ กั ทายพูดคุยเรือ่ งสัพเพเหระ วัฒนธรรมอาหารการกิน อาทิ สูตรแกงทีน่ า่ ทานของพม่า พระพุทธรูป และเรือ่ งอืน่ ๆ พร้อมบอกว่าจะรีบประชุมให้เสร็จกัน เพื่อจะได้ไปดูหยกพม่าต่อ ผู้บริหารฝั่งพม่าเห็นด้วย เมื่อเริ่มประชุมท่านชวลิตจึงพูดตรงๆ ว่า “ทางประเทศไทยมีความลำบากในการปรับสมดุลก๊าซทัง้ ทางฝัง่ ตะวันตก ตะวันออก เพราะฉะนัน้ กลไก LNG ทางฝัง่ พม่าซึง่ เป็นฝัง่ ตะวันตกนัน้ สำคัญมาก เราทราบดีวา่ พม่ามีวสิ ยั ทัศน์ทด่ี ใี นการ ที่จะเป็น Player ด้าน LNG เหมือนกัน น่าจะมาหาความร่วมมือด้วยกัน” ด้วยความจริงใจและ ตรงไปตรงมา และทักษะการสร้างความสัมพันธ์สว่ นตัว เมือ่ ฝัง่ ตรงข้ามเห็นในความจริงใจ จึงทำให้ ความสัมพันธ์ราบรืน่ และง่ายต่อการเจรจาโดยตอบตกลงเห็นด้วย โดยไม่ตอ้ งเสียเวลากันทัง้ สองฝ่าย นี่คือแง่มุมที่สะท้อนให้เห็นทักษะด้านทำงาน ที่เปลี่ยนเรื่องยากเป็นเรื่องง่าย ด้วยหลักที่ท่านรอง ชวลิตใส่ความจริงใจลงไปในการทำงาน ทำให้อุปสรรคต่างๆ ผ่านพ้นไปด้วยดี” ตัวอย่างความ ประทับใจจากท่าน ผอ.สนพ. ที่มีต่อท่านรองชวลิต

ฝากถึงท่านรองชวลิต สุดท้ายสิ่งที่รุ่นน้องๆ หลายท่านฝากถึงผู้บริหารรุ่นพี่ อย่างท่านรองชวลิ ต พิ ช าลั ย นั ่ นคื อ เรื ่ องสุ ข ภาพ “อยากให้ท่านชวลิต ดูแลเรื่องสุขภาพ ผมเป็นห่วง สุขภาพท่านมากๆ ท่านน่าจะได้มีเวลาดูแลร่างกาย พักผ่อน ฟืน้ ฟูสขุ ภาพให้ดขี น้ึ จะได้ใช้ชวี ติ ในวัยเกษียณ อย่างมีความสุข น้องๆ ทุกคนทีร่ จู้ กั ท่านก็หว่ งท่านเรือ่ งนี้ เช่นกัน”

24

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


อนุรักษพลังงาน

สถานการณ

การปลอยกาซ

คารบอนไดออกไซด จากภาคการใชพลังงานชวง 6 เดือนแรกของป 2559 การปล่อยก๊าซ CO2 จากภาคการใช้พลังงานของประเทศไทยในช่วง 6 เดือนแรก ของปี 2559 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับการใช้พลังงาน ของประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยการปล่อยก๊าซ CO2 จากภาคการผลิตไฟฟ้า ภาคขนส่ง และภาค เศรษฐกิจอื่นๆ (ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ภาค อุตสาหกรรมลดลง ทัง้ นี้ ภาคการผลิตไฟฟ้ามีสดั ส่วนการปล่อยก๊าซ CO2 มากทีส่ ดุ และ น้ำมันสำเร็จรูปเป็นเชือ้ เพลิงหลักทีม่ กี ารปล่อยก๊าซ CO2 มากทีส่ ดุ การเปรียบเทียบดัชนีการ ปล่อยก๊าซ CO2 ภาคพลังงานของประเทศไทยกับต่างประเทศพบว่า ประเทศไทยยังคง มีอตั ราการปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ การใช้พลังงานต่ำกว่าค่าเฉลีย่ ของโลกและมีแนวโน้มค่อยๆ ลดลง ในขณะที่อัตราการปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า (kWh) ใกล้เคียงกับ ค่าเฉลี่ยของโลกและมีแนวโน้มค่อยๆ ลดลง เช่นกัน โดยมี รายละเอียดดังนี้ 1. ภาพรวมการปลอยกาซ CO2 จากภาคการใชพลังงาน

การปลอยกาซ CO2 จากภาคการใชพลังงานของประเทศในชวงทีผ่ า นมามีแนวโนมเพิม� ขึน้ นับ ตั้งแตหลังภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ จาก 145.45 ลานตัน CO2 ในป 2541 เปน 254.43 ลานตัน CO2 ในป 2558 หรือเพิม� ขึน้ เฉลีย่ รอยละ 3.3 ตอป ทัง้ น�้ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 ปริมาณ การปลอยกาซ CO2 เพิ�มขึ้นรอยละ 2.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน อยูที่ระดับ 130.60 ลานตัน CO2 ซึ�งสอดคลองกับการใชพลังงานของประเทศที่เพิ�มขึ้นรอยละ 3.1 การปลอยกาซ CO2 และการใชพลังงานของไทย

2556

2557

2558

(ม.ค.-มิ.ย.) 2558 2559 2557

การใชพลังงาน 125,666 129,034 129,806 65,556 (KTOE) การปลอยกาซ CO2 242.36 250.49 254.43 128.03 (ลานตัน CO2)

การเปลีย่ นแปลง(%) 2558 2559(ม.ค.-มิ.ย.)

67,577

2.7

0.6

3.1

130.60

3.4

1.6

2.0 นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

25


การปลอยกาซ CO2 (ลานตัน CO2)

การปลอยกาซ CO2

140,000 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0

254 1 254 2 254 3 254 4 254 5 254 6 254 7 254 8 254 9 255 0 255 1 255 2 255 3 255 4 255 5 255 6 255 7 255 8

การใชพลังงาน

การใชพลังงาน (KTOE)

300 250 200 150 100 50 0

2. การปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงานแยกรายชนิดเชื้อเพลิงและภาคเศรษฐกิจ เชือ้ เพลิงฟอสซิลทีก่ อ ใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ไดแก น้ำมันสำเร็จรูป ถานหิน/ลิกไนต และกาซธรรมชาติ โดยในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 น้ำมันสำเร็จรูปมีสดั สวนการปลอยกาซ CO2 สูงทีส่ ดุ คือ รอยละ 38 รองลงมาคือ กาซธรรมชาติ และถานหิน/ลิกไนตซง�ึ มีสดั สวน รอยละ 34 และรอยละ 28 ตามลำดับ ทัง้ น�้ การปลอยกาซ CO2 จากการใชนำ้ มันสำเร็จรูป เพิม� ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 4.9 และจากการใชถา นหิน/ลิกไนตเพิม� ขึน้ รอยละ 1.8 ในขณะทีก่ ารปลอยกาซ CO2 จากการใชกาซธรรมชาติลดลงรอยละ 0.9 การปลอยกาซ CO2 รายชนิดเชื้อเพลิง

น้ำมันสำเร็จรูป ถานหิน/ลิกไนต กาซธรรมชาติ รวม

2556

2557

2558

(ม.ค.-มิ.ย.) 2558 2559

91.4 67.1 83.8 242.4

91.1 73.8 85.6 250.5

94.8 72.1 87.5 254.4

47.5 36.3 44.3 128.0

49.8 36.9 43.9 130.6

การปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงานรายชนิดเชื้อเพลิง ลานตัน CO2

120 100 80 60 40 20 0

สัดสวน (%) 2559 (ม.ค.-มิ.ย.) 38 28 34 100

หนวย : ลานตัน CO2 การเปลี่ยนแปลง (%)

2557

2558

-0.3 9.9 2.1 3.4

4.0 -2.2 2.3 1.6

2559 (ม.ค.-มิ.ย.)

4.9 1.8 -0.9 2.0

สัดสวนการปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงาน รายชนิดเชื้อเพลิง

น้ำมันสำเร็จรูป กาซธรรมชาติ ถานหิน/ลิกไนต

กาซธรรมชาติ น้ำมันสำเร็จรูป 43.9 49.8

34%

2559*

38%

2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

ถานหิน/ ลิกไนต 36.9

การปลอยกาซ CO2

2.0% จากชวงเดียวกันของปกอน

28%

รวมทั้งสิ้น 130.6 ลานตัน CO2 * เดือน ม.ค.- มิ.ย.

ภาคเศรษฐกิจหลักทีก่ อ ใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ไดแก ภาคการผลิตไฟฟา ภาคการขนสง และภาคอุตสาหกรรม โดยในชวง 6 เดือนแรก ของป 2559 ภาคการผลิตไฟฟาซึง� มีสดั สวนการปลอยกาซ CO2 สูงสุด คือ รอยละ 38 มีการปลอยกาซเพิม� ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ น รอยละ 3.9 ภาคการขนสงมีสดั สวนการปลอยกาซ CO2 รองลงมาอยูท ร่ี อ ยละ 28 มีการปลอยกาซเพิม� ขึน้ รอยละ 5.2 และ ภาคเศรษฐกิจอืน่ ๆ ซึง� มีสดั สวนการปลอยกาซรอยละ 8 มีการปลอยกาซเพิม� ขึน้ รอยละ 3.2 ในขณะที่ ภาคอุตสาหกรรมมีสดั สวนการปลอยกาซ CO2 อยูท ร่ี อ ยละ 26 มีการปลอยกาซลดลงรอยละ 4.1

26

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


การปลอยกาซ CO2 รายสาขาเศรษฐกิจ

หนวย : ลานตัน CO2 หมายเหตุ : (ม.ค.-มิ.ย.) สัดสวน (%) การเปลี่ยนแปลง (%) 2556 2557 2558 2559 2559 สาขาเศรษฐกิจอืน่ ๆ 2558 2559 (ม.ค.-มิ.ย.) 2557 2558 (ม.ค.-มิ .ย.) หมายถึง ภาคครัวเรือน 38 2.8 -1.2 3.9 เกษตรกรรม พาณิชยกรรม ภาคการผลิตไฟฟา 96.4 99.1 97.9 48.6 50.5 64.5 65.3 69.1 34.6 36.4 28 1.2 5.2 และกิจกรรมอืน่ ๆ 5.9 ภาคการขนสง 26 -4.1 8.5 1.6 ภาคอุตสาหกรรม 61.7 66.9 68.0 35.1 33.7 8 -3.1 1.1 3.2 ภาคเศรษฐกิจอื่นๆ 19.8 19.2 19.4 9.8 10.1 242.4 250.5 254.4 128.0 130.6 100 3.4 2.0 1.6 รวม

การปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงานรายสาขาเศรษฐกิจ ลานตัน CO2

100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

การผลิตไฟฟา

สัดสวนการปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงาน รายสาขาเศรษฐกิจ

อื่นๆ10.1 ขนสง

อุตสาหกรรม 33.7

26%

อุตสาหกรรม

2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

อื่นๆ หมายเหตุ : สาขาเศรษฐกิจอืน่ ๆ หมายถึง ภาคครัวเรือน เกษตรกรรม พาณิชยกรรม และกิจกรรมอืน่ ๆ

การปลอยกาซ CO2

2.0% จากชวงเดียวกันของปกอน

8%

ผลิตไฟฟา 50.5

2559* 38% ขนสง 36.4 28%

รวมทั้งสิ้น 130.6 ลานตัน CO2 * เดือน ม.ค.- มิ.ย.

ภาคการผลิตไฟฟา เชื้อเพลิงหลักที่กอใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ในภาคการผลิตไฟฟา ไดแก กาซธรรมชาติ และถานหิน/ลิกไนต สวนน้ำมันสำเร็จรูป (น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตา) ซึ�งปกติใชเปน เชื้อเพลิงสำรองในการผลิตไฟฟามีปริมาณการปลอยกาซเพียงเล็กนอย ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 การปลอยกาซ CO2 จากการใชกาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาคิดเปนสัดสวนรอยละ 61 ของปริมาณ การปลอยกาซในการผลิตไฟฟาทัง้ หมด มีการปลอยกาซอยูท ร่ี ะดับ 30.6 ลานตัน CO2 เพิม� ขึน้ รอยละ 0.1 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น การปลอยกาซจากการใชถา นหิน/ลิกไนตในการผลิตไฟฟา ซึง� มีสดั สวนรอยละ 38 มีการปลอยกาซเพิม� ขึน้ รอยละ 10.2 เน�อ� งจากโรงไฟฟา เก็คโค-วัน มีการหยุดซอมบำรุงตามแผนในชวงระหวางเดือนมกราคมถึงชวงตนเดือนกุมภาพันธ 2558 ทำใหเมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปนป้� ริมาณการใชถา นหินเพือ่ เปนเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟาเพิม� ขึน้ สงผลใหปริมาณการปลอย CO2 เพิม� ขึน้ ตามดวย และการปลอยกาซ CO2 จากการใชน้ำมันสำเร็จรูปในการผลิตไฟฟา ซึ�งมีสัดสวนรอยละ 1 มีการปลอยกาซเพิ�มขึ้นรอยละ 15.5 สัดสวนการปลอยกาซ CO2 ภาคการผลิตไฟฟา รายชนิดเชื้อเพลิง

70 60 50 40 30 20 10 0

กาซธรรมชาติ ถานหิน/ลิกไนต

น้ำมันสำเร็จรูป 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

ลานตัน CO2

การปลอยกาซ CO2 ภาคการผลิตไฟฟา

การปลอยกาซ CO2

3.9% จากชวงเดียวกันของปกอน

น้ำมันสำเร็จรูป 0.6

1%

ถานหิน/ลิกไนต 19.3

2559*

38%

กาซธรรมชาติ ขนสง 30.6 36.4

61% 28%

รวมทั้งสิ้น 50.5 ลานตัน CO2 * เดือน ม.ค.- มิ.ย.

ภาคการขนสง เชื้อเพลิงหลักที่กอใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ในภาคการขนสงเกิดจากการใชน้ำมันสำเร็จรูป ไดแก น้ำมันเบนซิน

น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา น้ำมันเครือ่ งบิน (เฉพาะใชในประเทศซึง� มีปริมาณไมมากนัก) และ LPG ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 การปลอย กาซ CO2 จากการใชนำ้ มันสำเร็จรูปคิดเปนสัดสวนรอยละ 92 ของปริมาณการปลอยกาซในภาคขนสงทัง้ หมด อยูท ร่ี ะดับ 33.4 ลานตัน CO2 เพิม� ขึน้ รอยละ 6.6 จากชวงเดียวกันของปกอ น ทัง้ น�้ การสงเสริมการใชเชือ้ เพลิงชีวภาพ ไดแก เอทานอลและไบโอดีเซล (ซึง� ไมกอ ใหเกิด การปลอยกาซ CO2) มีการจูงใจดานราคาสงผลใหมผี หู นั มาใชนำ้ มันมากขึน้ ในขณะทีก่ ารปลอยกาซ CO2 ทีเ่ กิดจากการใชกา ซธรรมชาติ ในภาคขนสง (NGV) ซึง� คิดเปนสัดสวนรอยละ 8 มีการปลอยกาซทีร่ ะดับ 3.0 ลานตัน CO2 ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 7.9 ตามปริมาณการใช NGV ทีป่ รับตัวลดลงเน�อ� งจากราคาขายปลีกน้ำมันสำเร็จรูปในประเทศลดลงตัง้ แตชว งปลายป 2557 ทำใหผใู ชรถยนต บางสวนหันไปใชน้ำมันแทนซึ�งมีสถาน�บริการน้ำมันจำนวนมากทำใหมีความสะดวกมากกวา นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

27


สัดสวนการปลอยกาซ CO2 ภาคการขนสง รายชนิดเชื้อเพลิง

70 60 50 40 30 20 10 0

น้ำมันสำเร็จรูป

กาซธรรมชาติ 3.0

8%

2559* กาซธรรมชาติ 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

ลานตัน CO2

การปลอยกาซ CO2 ภาคการขนสง

การปลอยกาซ CO2

น้ำมันสำเร็จรูป 33.4

92%

รวมทั้งสิ้น 36.4 ลานตัน CO2 * เดือน ม.ค.- มิ.ย.

5.2% จากชวงเดียวกันของปกอน

ภาคอุตสาหกรรม เชือ้ เพลิงหลักทีก่ อ ใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ในภาคเศรษฐกิจน�้ ไดแก ถานหิน/ลิกไนต กาซธรรมชาติ และน้ำมัน สำเร็จรูป ตามลำดับ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 การปลอย กาซ CO2 ในภาคอุตสาหกรรมลดลงทุกชนิดเชือ้ เพลิงเมือ่ เทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอ น โดยการปลอยกาซจากการใชถา นหิน/ลิกไนต ในกระบวนการผลิตภาคอุตสาหกรรมซึ�งมีสัดสวนรอยละ 52 ของ ปริมาณการปลอยกาซในภาคอุตสาหกรรมทัง้ หมด มีการปลอยกาซ ลดลงรอยละ 6.0 การปลอยกาซจากการใชกาซธรรมชาติในภาค อุตสาหกรรม ซึง� มีสดั สวนรอยละ 30 มีการปลอยกาซลดลงรอยละ 1.6 และการปลอยกาซจากการใชน้ำมันสำเร็จรูปในภาคอุตสาหกรรม ซึ�งมีสัดสวนรอยละ 17 มีการปลอยกาซลดลงรอยละ 2.5 40 35 30 25 20 15 10 5 0

ถานหิน/ลิกไนต กาซธรรมชาติ

น้ำมันสำเร็จรูป 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

ลานตัน CO2

การปลอยกาซ CO2 ภาคอุตสาหกรรม

การปลอยกาซ CO2

4.1% จากชวงเดียวกันของปกอน

สัดสวนการปลอยกาซ CO2 ภาคอุตสาหกรรม รายชนิดเชื้อเพลิง

น้ำมัน สำเร็จรูป กาซธรรมชาติ 5.8 10.2 17%

31%

2559*

52%

ถานหิน/ลิกไนต 17.7

รวมทั้งสิ้น 33.7 ลานตัน CO2

* เดือน ม.ค.- มิ.ย.

ภาคเศรษฐกิจอืน่ ๆ การปลอยกาซ CO2 ในภาคเศรษฐกิจอืน่ ๆ (ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม) เกิดจากการใชนำ้ มัน

สำเร็จรูปเพียงอยางเดียว (สวนใหญเปน LPG) โดยในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 มีการปลอยกาซ CO2 จากการใชนำ้ มันสำเร็จรูปรวม 10.1 ลานตัน CO2 เพิม� ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 3.2 3. ดัชนีการปลอยกาซ CO2 ภาคพลังงานของไทย

การปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงาน ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 ประเทศไทย มีการปลอยกาซ CO2 เฉลีย่ 2.00 พันตัน CO2 ตอการใชพลังงาน 1 KTOE เมือ่ เปรียบเทียบการปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงานของประเทศไทยกับตางประเทศ จากคาเฉลีย่ ของป 2556 พบวาประเทศไทย มีการปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงาน อยูใ นระดับทีใ่ กลเคียงกับคาเฉลีย่ ของประเทศในกลุม สหภาพยุโรป และอยูใ นระดับต่ำกวาประเทศใน ภูมภิ าคเอเชีย (ไมรวมประเทศจีน) คาเฉลีย่ ของโลก รวมทัง้ ประเทศสหรัฐอเมริกาและจีน โดยการปลอยกาซ CO2 ของโลกอยูท ร่ี ะดับ 2.40 พันตัน CO2 ตอการใชพลังงาน 1 KTOE ในขณะที่ประเทศไทยมีการปลอยกาซ CO2 อยูที่ระดับ 2.00 พันตัน CO2 ตอการใชพลังงาน 1 KTOE เน�อ� งจากการสนับสนุนการใชพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบตางๆ ซึง� ไมกอ ใหเกิดมลพิษทางอากาศ รวมทัง้ มีการปรับเปลีย่ นมา ใชเชื้อเพลิงที่สะอาดเปนมิตรตอสิ�งแวดลอมมากขึ้น การปลอยกาซ CO2 ตอหนวยการผลิตไฟฟา (kWh) ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 ประเทศไทยมีการปลอยกาซ CO2 จากภาคการผลิต ไฟฟาเฉลีย่ ทีร่ ะดับ 0.502 กิโลกรัม CO2 ตอ 1 kWh ลดลงเล็กนอยจากปกอ นซึง� มีการปลอยกาซ CO2 เฉลีย่ ทีร่ ะดับ 0.509 กิโลกรัม CO2 ตอ 1 kWh โดยการปลอยกาซ CO2 จากภาคการผลิตไฟฟาของประเทศไทยมีแนวโนมลดลงอยางตอเน��อง เน��องจากการสนับสนุนการ

เพิ�มสัดสวนการใชพลังงานทดแทนเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาใหมากขึ้น

28

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


3.0 2.9 2.8 2.7 2.6 2.5 2.4 2.3 2.2 2.1 2.0 1.82. 1.9 1.8 1.7 1.6 1.5

จีน 3.01

โลก 2.40 อเมริกา 2.36 เอเซีย 2.20 ยุโรป 2.06

2.25

2.00

*

254 2546 2547 2548 2559 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 9

254 5

253 2534 2535 2536 2537 2538 2549 2540 2541 2542 2543 4

พันตัน CO2/ KTOE

การปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงาน

* เดือน ม.ค.- มิ.ย.

ที่มา : คาเฉลี่ยการปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงานตางประเทศ ณ ป พ.ศ. 2556 จาก IEA 2015 การใชพลังงาน หมายถึง การใชพลังงานขั้นตนโดยรวมถึงการใชพลังงานทดแทน

พ.ศ. CO2 พ.ศ. CO2

2534 1.82 2547 2.11

2535 1.87 2548 2.07

2536 2.01 2549 2.04

2537 2538 2.10 2.14 2550 2551 2.03 2.01

2539 2.22 2552 2.01

2540 2541 2.25 2.19 2553. 2554 1.97 1.95

2542 2.19 2555 1.99

2543 2.14 2556 1.93

พันตัน CO2/KTOE

2544 2.11 2557 1.94

2545 2.10 2558 1.96

2546 2.09 2559* 2.00

การปลอยกาซ CO2 ตอหนวยการผลิตไฟฟา กิโลกลัม CO2/ KTOE

0.8 0.7

0.685

0.656

จีน 0.764 เอเซีย 0.707

0.6

โลก 0.536

0.5

อเมริกา 0.503

0.4

0.502

ยุโรป 0.334

0.3

253 2534 2535 2536 2537 2538 2549 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2559 2550 2551 2552 2553 2 4 255555 6 255 2557 2558 9

*

* เดือน ม.ค.- มิ.ย.

ที่มา : คาเฉลี่ยการปลอยกาซ CO2 ตอหนวยการผลิตไฟฟาตางประเทศ ณ ป พ.ศ. 2554 จาก IEA 2015

พ.ศ. CO2 พ.ศ. CO2

2534 2535 2536 2537 2538 2539 0.685 0.657 0.640 0.633 0.609 0.648 2547 2548 2549 2550 2551 2552 0.581 0.571 0.571 0.571 0.570 0.560

กิโลกรัม CO2/kWh

2540 2541 2542 2543 2544 0.656 0.636 0.646 0.634 0.604 2553. 2554 2555 2556 2557 0.551 0.530 0.529 0.532 0.532

2545 2546 0.587 0.573 2558. 2559* 0.509 0.502

เมื่อเปรียบเทียบการปลอยกาซ CO2 ตอ kWh ของประเทศไทยกับตางประเทศ จากคาเฉลี่ยของป 2554 พบวาประเทศไทยมีการ ปลอยกาซ CO2 สูงกวาประเทศในกลุม สหภาพยุโรป ประเทศสหรัฐอเมริกา แตยงั ต่ำกวาคาเฉลีย่ ของโลก ซึง� อยูท ร่ี ะดับ 0.536 กิโลกรัม CO2 ตอ 1 kWh เน�อ� งจากปจจัยดานเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟาของกลุม ประเทศดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิง� ประเทศในกลุม สหภาพยุโรป และประเทศสหรัฐอเมริกา ทีม่ กี ารใชนวิ เคลียรซง�ึ เปนเชือ้ เพลิงที่ไมกอ ใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ในการผลิตไฟฟาคิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 28 และรอยละ 23 ของเชือ้ เพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟาทัง้ หมด ตามลำดับ อยางไรก็ตาม การปลอยกาซ CO2 ตอ kWh ของประเทศไทย ยังมีคา ต่ำกวาประเทศจีนและประเทศในภูมภิ าคเอเชีย โดยประเทศไทยมีการปลอยกาซ CO2 อยูท ร่ี ะดับ 0.502 กิโลกรัม CO2 ตอ 1 kWh นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

29


ปโตรเลียม

สถานการณ ราคา

น้ำมันเชื้อเพลิง (สิงหาคม 2559)

1 ราคาน้ำมันดิบ สิงหาคม 2559 ราคาน้ำมันดิบดูไบและเวสตเท็กซัส เฉลีย่ อยูท ร่ี ะดับ $43.70 และ $44.75 ตอบารเรล ปรับตัวเพิม� ขึน้ จากเดือนทีแ่ ลว $1.24 และ $0.06 ตอบารเรล ตามลำดับ จากการเก็งกำไรของนักลงทุนหลังมีกระแสวาประเทศซาอุดอี าระเบีย และกลุม ประเทศสมาชิกอืน่ ๆ ในกลุม โอเปกเห็นดวยกับกลุม ประเทศนอกกลุม โอเปกในเรือ่ งของการตรึงกำลังผลิตในเดือนหนา ขณะที่กลุมประเทศผูสงออกน้ำมัน (โอเปก) มีกำหนดประชุมอยางไมเปนทางการในวันที่ 26 - 28 กันยายน 2559 นอกรอบการประชุมพลังงานระหวางประเทศ ทีแ่ อลจีเรีย เน�อ� งจากทีผ่ า นมาราคาน้ำมันดิบอยูในระดับทีต่ ำ่ เกินไปและสงผล กระทบตอผูผลิตตางๆ ในกลุมโอเปก โดยเฉพาะผูผลิตที่มีตนทุนสูงอยางเชน อิหรานและเวเนซุเอลา นอกจากน�้ราคา น้ำมันดิบยังไดรับแรงหนุนจากนักลงทุนและกองทุนที่ทำการซื้อกลับ (Short Covering) อีกทั้งไดรับแรงสนับสนุนจาก ผูผ ลิตน้ำมันดิบในบริเวณอาวเม็กซิโกไดรบั ผลกระทบจากพายุฤดูรอ นในมหาสมุทรแอตแลนติก ซึง� สงผลใหผผู ลิตน้ำมันดิบ และกาซธรรมชาติตองอพยพคนงานออกมาจากแทนขุดเจาะและหยุดกระบวนการผลิต โดยปริมาณการผลิตน้ำมัน ในอาวเม็กซิโกคิดเปน รอยละ 20 ของปริมาณการผลิตน้ำมันทั้งหมดในสหรัฐฯ

30

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


2 ราคากลางน้ำมันสำเร็จรูปตลาดภูมิภาคเอเชีย สิงหาคม 2559 ราคาน้ำมันเบนซินออกเทน 95 และ 92 เฉลีย่ อยูท ่ี ระดับ $54.23 และ $51.57 ตอบารเรล ปรับตัวเพิ�มขึ้นจากเดือนที่แลว $2.29 และ $2.11 ตามลำดับ จากอุปทานทีม่ แี นวโนม ปรับลดลงในชวงของการปดซอมบำรุงของโรงกลัน� น้ำมันในภูมภิ าค ประกอบกับตลาดน้ำมันเบนซินยังไดรบั แรงหนุนหลังมีการรายงานปริมาณการสงออกจาก ประเทศจีนในเดือนกรกฎาคม 2559 ทีป่ รับ ลดลงรอยละ 12 เมือ่ เทียบกับเดือนกอนหนา อีกทั้งโรงกลั�นน้ำมัน ในประเทศเกาหลีใตมีแผนจะลดหนวยผลิตน้ำมันเบนซินในชวง ครึง� หลังของเดือนกันยายน สวนน้ำมันดีเซล เฉลีย่ อยูท ร่ี ะดับ $53.48 ตอบารเรล ปรับตัว ลดลงจากเดือนที่แลว $0.81 ตอบารเรล จากอุปสงคยังคงซบเซาจากภาวะเศรษฐกิจ ทีย่ งั ไมฟน ตัวและอุปสงคทล่ี ดลงจากหนามรสุมในประเทศอินเดียและการหามทำการประมง ในประเทศจีน ขณะที่อุปทานภายในภูมิภาคยังคงลนตลาดและไมสามารถระบายไปยัง ทวีปยุโรปได เน�อ� งจากสวนตางราคาไมคมุ ในการสงออก อีกทัง้ ปริมาณน้ำมันดีเซลคงคลัง ภายในภูมภิ าคปรับตัวเพิม� ขึน้ อยางตอเน�อ� งเปนผลมาจากการทีป่ ระเทศจีนยังคงเพิม� ปริมาณ การสงออกน้ำมันดีเซลจนแตะระดับสูงสุดเปนประวัตกิ ารณ ในขณะทีอ่ ปุ สงคไมสามารถ ปรับตัวเพิ�มขึ้นได

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

31


20

32

EPPO NEWS

นโยบาย พลังงาน

เบนซิล

ดีเซล

เตา1500%S

น้ำมันกาด

Jul-16

Apr-16

Jan-16

Oct-15

Jul-15

เบรนท

Apr-15

Jan-15

Oct-14

Jul-14

Apr-14

ดูไบ

Jan-14

Oct-13

Jul-13

Apr-13

Price(USD/BBL)

Jan-13

Oct-12

Jul-12

Apr-12

Jul-16

Apr-16

Jan-16

Oct-15

Jul-15

Apr-15

Jan-15

Oct-14

Jul-14

Apr-14

Jan-14

Oct-13

Jul-13

Apr-13

Jan-13

Oct-12

Jul-12

Apr-12

Jan-12

20

Jan-12

Price(USD/BBL)

CRUDE OIL PRICE MOVEMENT

160

140

120

100

80

60

40

เวสเท็กซัส

S’PORE SPOT PROUUCT PRICE

160

140

120

100

80

60

40


3 ราคาขายปลีกน้ำมันเชื้อเพลิงของไทย

สิงหาคม 2559 จากสถานการณราคาน้ำมันในตลาดโลกและภาวะเงินเฟอของคาเงินบาท ของไทย รวมทัง้ การสงเสริมพลังงานทดแทนและฐานะกองทุนน้ำมันเชือ้ เพลิง และการปรับภาษี สรรพสามิต อัตรากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง สงผลใหราคาขายปลีกน้ำมันเบนซินออกเทน 95, แกสโซฮอล 95 E10, E20, E85, แกสโซฮอล 91 และดีเซล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2559 อยูท ่ี ระดับ 32.16, 25.05, 22.54, 18.19, 25.05 และ 23.69 บาท/ลิตร ตามลำดับ ราคาเฉลี่ยน้ำมันเชื้อเพลิง 2556 2557 2558 2559 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย)

ก.พ.

น้ำมันดิบ (หนวย : เหรียญสหรัฐฯ /บารเรล) 105.45 96.63 50.84 38.58 29.30 ดูไบ 109.07 99.48 52.74 41.94 32.80 เบรนท 97.98 93.24 48.67 40.95 30.46 เวสตเท็กซัส น้ำมันสำเร็จรูปตลาดจรสิงคโปร (หนวย : เหรียญสหรัฐฯ /บารเรล) เบนซินออกเทน 95 119.00 110.97 69.17 53.52 44.51 เบนซินออกเทน 92 116.03 108.16 66.08 50.57 41.40 123.28 112.69 64.48 48.85 38.46 ดีเซลหมุนเร็ว ราคาขายปลีกของไทย (หนวย : บาท/ลิตร) 2556 2557 2558 2559 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) ก.พ. เบนซินออกเทน 95 46.56 46.25 34.04 30.89 29.06 แกสโซฮอล 95 (E10) 38.95 38.84 27.59 23.90 22.10 36.50 36.38 26.75 23.50 21.68 แกสโซฮอล 91 แกสโซฮอล 95 (E20) 33.90 34.22 25.22 21.38 19.54 แกสโซฮอล 95 (E85) 22.83 24.07 21.98 17.88 16.89 29.97 29.63 24.53 22.69 20.69 ดีเซลหมุนเร็ว

หนวย : บาทตอลิตร

2556 2557 2558 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) เบนซินออกเทน 95 2.08 2.32 2.58 แกสโซฮอล 95 (E10) 1.58 1.71 1.72 แกสโซฮอล 91 1.65 1.74 1.68 แกสโซฮอล 95 (E20) 1.88 1.89 1.50 แกสโซฮอล 95 (E85) 6.15 4.86 2.37 ดีเซลหมุนเร็ว 1.46 1.61 1.72 เฉลี่ยรวม 1.55 1.69 1.72 คาการกลั�นของผูคาน้ำมัน (หนวย : บาท/ลิตร) เฉลี่ยรวม 2.2224 2.3035 2.4336

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

2559 มิ.ย. ก.ค.

35.14 39.44 37.82

39.03 42.49 41.07

44.27 47.96 46.73

46.26 49.04 48.73

42.46 45.82 44.69

43.70 46.11 44.75

52.77 49.62 45.52

54.59 51.50 48.08

59.16 56.02 54.85

59.14 56.52 58.14

51.94 49.47 54.28

54.23 51.57 53.48

เม.ย. 31.96 25.00 24.58 22.44 18.49 23.89

2559 พ.ค. 32.56 25.60 25.18 23.04 18.89 25.09

มิ.ย. 31.56 24.60 24.18 22.04 17.99 24.69

ก.ค. 30.36 23.25 22.98 20.74 16.69 23.49

ส.ค. 32.16 25.05 24.78 22.54 18.19 23.69

มี.ค. 31.16 24.20 23.78 21.64 18.19 21.89

ส.ค.

ค่าการตลาดและค่าการกลั่นเฉลี่ยของผู้ค้าน้ำมัน 2559 (เฉลี่ย) 2.68 1.76 1.67 1.97 4.17 1.78 1.81

ก.พ. 3.08 2.03 1.93 2.10 4.17 1.60 1.76

มี.ค. 2.45 1.54 1.44 1.70 4.24 1.84 1.78

เม.ย. 2.64 1.75 1.64 1.92 4.31 1.69 1.74

1.7738 1.8355 1.7360 1.5476

พ.ค. 2.63 1.84 1.73 2.12 4.58 1.78 1.84 1.8263

2559 มิ.ย. 2.47 1.72 1.61 2.04 4.74 1.79 1.81 1.8265

ก.ค. 2.82 1.89 2.05 3.13 3.03 1.88 1.94

ส.ค. 2.56 1.42 1.40 1.96 3.50 1.78 1.73

1.7783 1.3414 นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

33


อัตราเงินส่งเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง 31 ม.ค. 59 6.7500 เบนซินออกเทน 95 แกสโซฮอล 95 (E10) 0.6500 0.6050 แกสโซฮอล 91 แกสโซฮอล 95 (E20) -2.400 แกสโซฮอล 95 (E85) -9.2300 0.5800 ดีเซลหมุนเร็ว 0.2331 LPG (บาท/กก.)

29 ก.พ. 59 6.7500 0.6500 0.6050 -2.400 -9.2300 0.5800 -0.4116

31 มี.ค. 59 6.3100 0.2540 0.2090 -2.7520 -9.2960 0.1400 -0.3636

30 เม.ย. 59 6.3100 0.2540 0.2090 -2.7520 -9.2960 0.1400 -0.7095

31 พ.ค. 59 6.3100 0.2540 0.2090 -2.7520 -9.2960 0.1400 -0.5899

30 มิ.ย. 59 6.3100 0.2540 0.2090 -2.7520 -9.2960 0.1400 -0.5960

หนวย : บาทตอลิตร 31 ก.ค. 59 31 ส.ค. 59 6.3100 6.3100 0.3500 0.3500 0.3500 0.3500 -3.0000 -3.0000 -9.3500 -9.3500 0.0100 0.0100 0.0647 0.3908

โครงสร้างราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2559 หนวย : บาทตอลิตร

ราคาน้ำมัน ณ โรงกลั�น ภาษีสรรพสามิต ภาษีเทศบาล กองทุนน้ำมันฯ กองทุนอนุรักษพลังงาน ภาษีมูลคาเพิ�ม (ขายสง) รวมขายสง คาการตลาด ภาษีมูลคาเพิ�ม (คาการตลาด) รวมขายปลีก

เบนซิน 95 13.9651 6.3000 0.6300 6.3100 0.2500 1.9219 29.3770 2.6010 0.1821 32.16

แกสโซฮอล 95(E10) 15.0105 5.6700 0.5670 0.3500 0.2500 1.5293 23.3768 1.5637 0.1095 25.05

แกสโซฮอล 91 14.7733 5.6700 0.5670 0.3500 0.2500 1.5127 23.1230 1.5486 0.1084 24.78

แกสโซฮอล 95 (E20) 16.0531 5.0400 0.5040 -3.0000 0.2500 1.3193 20.1664 2.2183 0.1553 22.54

4 สถานการณกาซปโตรเลียมเหลว (LPG)

แกสโซฮอล 95 (E85) 21.0188 0.9450 0.0945 -9.3500 0.2500 0.9071 13.8654 4.0417 0.2829 18.19

สิงหาคม 2559 ราคากาซ LPG ตลาดโลกปรับตัวลดลง มาอยูท ่ี 287 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ลดลงจากเดือนกอนหนา 14 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ซึ�งราคาที่ลดลงเน��องดวยภาวะอุปทาน LPG ที่ลนตลาดตั้งแตมีการขยายคลองปานามาเสร็จสิ้น ทำใหเกิดการขนสงกาซ LPG จากสหรัฐอเมริกามายังฝงทวีปเอเชียมากขึ้น เน��องมาจากคาใชจายในการขนสงที่ลดลง อีกทัง้ อิรกั ยังมีการสงออกกาซ LPG เปนครัง้ แรกของประเทศ เน�อ� งมาจากกำลังการผลิต มีมากกวาความตองการในประเทศ ในขณะที่ภาวะการแขงขันการคาขายกาซ LPG ของสหรัฐอเมริกาและตะวันออกกลางในตลาดเอเชียยังคงมีอยู จึงคาดการณวา ราคากาซ LPG มีแนวโนมทีจ่ ะทรงตัวอยูในระดับต่ำตอไปแตจะปรับตัวกลับขึน้ มาสูงตามราคาน้ำมัน ตลาดโลกอีกครั้งในฤดูหนาว

34

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ดีเซล หมุนเร็ว 13.7333 5.6500 0.5650 0.0100 0.2500 1.4146 21.6229 1.9319 0.1352 23.69


LPG PRICE MOVEMENT Price(S/Ton)

Price(Baht/Kg.)

600

25

500

20

400

15

300 10

200 100

5

0

0

มิ.ย.-58 ก.ค.-58 ส.ค.-58 ก.ย.-58 ต.ค.-58 พ.ย.-58 ธ.ค.-58 ม.ค.-59 ก.พ.-59* มี.ค.-59 เม.ย.-59 พ.ค.-59 มิ.ย.-59 ก.ค.-59 ส.ค.-59 ราคาตลาดโลก(CP) (S/TonX) ราคาLPG เฉลี่ยแบบถวงน้ำหนัก (S/TonX) ราคาขายปลีก (บาท/กก.) * ตั้งแต ก.พ. 59 เปนตนไปเปนราคาขายปลีกเฉพาะกาซ LPG ที่ออกจากคลังกาซจังหวัดชลบุรี

2556 2557 2558 2559 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) ราคากาซ LPG (หนวย : เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 868 799 424 322 ตลาดโลก (CP) 542 529 474 427 โรงแยกกาซธรรมชาติ 740 704 403 302 โรงกลั�นน้ำมัน 927 895 508 407 นำเขา 542 529 340 426 ปตท.สผ. 462 387 LPG Pool 15.76 13.80 LPG Pool (บาท/กก.) ราคาขายปลีกของไทย (หนวย : บาท/กก.) 18.13 18.13 18.13 18.13 ครัวเรือนรายไดนอ ย 18.55 22.36 23.49 20.57 ครัวเรือน 29.74 29.07 23.69 20.57 อุตสาหกรรม 21.38 21.80 23.69 20.57 ขนสง เดือน

ก.พ.

มี.ค.

2559 เม.ย. พ.ค.

297 425 277 382 421 378 13.73

302 432 282 387 428 383 13.68

332 437 312 417 432 396 14.03

347 425 327 432 428 394 13.91

344 420 324 429 424 391 13.92

301 422 281 386 426 374 13.25

287 418 267 372 426 367 12.93

18.13 20.50 20.50 20.50

18.13 20.29 20.29 20.29

18.13 20.29 20.29 20.29

18.13 20.29 20.29 20.29

18.13 20.29 20.29 20.29

18.13 20.29 20.29 20.29

18.13 20.29 20.29 20.29

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

35


โครงสร้างราคาก๊าซ LPG เดือน ราคาน้ำมัน ณ โรงกลั�น ภาษีสรรพสามิต ภาษีเทศบาล กองทุนน้ำมันฯ กองทุนอนุรักษพลังงาน ภาษีมูลคาเพิ�ม (ขายสง) รวมขายสง คาการตลาด ภาษีมูลคาเพิ�ม (คาการตลาด) รวมขายปลีก

ม.ค. 59 14.9550 2.1700 0.2170 0.2331 0.0000 1.2303 18.8054 3.2566 0.2280 22.29

ก.พ. 59 13.7306 2.1700 0.2170 -0.4116 0.0000 1.0994 16.8054 3.2566 0.2280 20.29

มี.ค. 59 13.6826 2.1700 0.2170 -0.3636 0.0000 1.0994 16.8054 3.2566 0.2280 20.29

5 สถานการณราคากาซ LNG

เม.ย. 59 14.0285 2.1700 0.2170 -0.7095 0.0000 1.0994 16.8054 3.2566 0.2280 20.29

พ.ค. 59 13.9089 2.1700 0.2170 -0.5899 0.0000 1.0994 16.8054 3.2566 0.2280 20.29

มิ.ย. 59 13.9150 2.1700 0.2170 -0.5960 0.0000 1.0994 16.8054 3.2566 0.2280 20.29

ราคาเฉลี่ยกาซธรรมชาติของประเทศไทย ณ เดือน กรกฎาคม 2559 อยูที่ 200.8302 บาท/ลานบีทียู ราคา Spot LNG เฉลี่ยเดือนกรกฎาคม 2559 ปรับตัว เพิม� ขึน้ จากเดือนกอน 0.493 เหรียญสหรัฐฯ/ลานบีทยี ู มาอยูท ร่ี ะดับ 5.630 เหรียญสหรัฐฯ/ ลานบีทยี ู จากปริมาณอุปสงคในตลาด Spot LNG ทีเ่ พิม� ขึน้ จากทัง้ ภูมภิ าคแอตแลนติก และแปซิฟก อาทิ มีความตองการซือ้ จากประเทศอารเจนตินา อินเดียและจากประเทศ นำเขา LNG หลักไดแก ญีป่ นุ และเกาหลีใตท่ไี ดปรับเพิม� ขึน้ เน�อ� งจากประสบกับฤดูรอ น ทีอ่ ณุ หภูมสิ งู กวาคาเฉลีย่ ตลอดเดือนกรกฎาคมทำใหความตองการไฟฟาปรับตัวสูงขึน้ ในขณะที่อุปทาน Spot LNG ตึงตัวจากรายงานขาววาโครงการ Angola LNG ซึ�งมี กำลังการผลิต LNG ประมาณ 5 - 6 เทีย่ วเรือตอเดือน หรือ 5.2 ลานตันตอป มีแผน ปดตรวจสอบอุปกรณการผลิตและการสงมอบโรงงานของผูร บั เหมา (Bechtel) ใหกบั บริษทั Chevron ซึง� เปน operator ของโครงการฯ เปนระยะเวลาประมาณ 8 สัปดาห ซึง� แผนการปดตรวจสอบดังกลาวมีระยะเวลานานกวาทีต่ ลาดคาดการณไวประมาณ 4 สัปดาห พรอมกันน�้โครงการ Gorgon LNG ยังปดซอมแซมทอทีร่ ว�ั ตัง้ แตปลายเดือน มิถุนายนที่ผานมา โดยโครงการฯ มีแผนการสงมอบ LNG จำนวน 5 เที่ยวเรือ แต ปจจุบันสามารถสงมอบใหได 1 เที่ยวเรือ เทานั้น

36

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

หนวย : บาทตอลิตร ก.ค. 59 ส.ค. 59 13.2543 12.9282 2.1700 2.1700 0.2170 0.2170 0.0647 0.3908 0.0000 0.0000 1.0994 1.0994 16.8044 15.7060 3.2566 3.2566 0.2280 0.2280 20.29 20.29


6 ราคากาซ NGV

ปจจุบันราคาขายปลีกกาซ NGV (สถาน�ภายในรัศมี 50 กม. จากสถาน�แม) ตั้งแตวันที่ 16 สิงหาคม 2559 จนถึงวันที่ 15 กันยายน 2559 สำหรับรถยนต สวนบุคคลอยูท ่ี 12.38 บาท/กก. และสำหรับรถโดยสารสาธารณะอยูท ่ี 10.00 บาท/กก. สำหรับสถาน�ลูกที่อยูไกลจากสถาน�แมมากที่สุด (ไมรวมภาษี อบจ.) อยูที่ 15.34 บาท/กก. ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2559 ปริมาณการจำหนายกาซ NGV ลดลงมาอยูที่ ประมาณ 7,984 ตันตอวัน (หรือประมาณ 287 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน) และมี สถาน�บริการ NGV สะสมจำนวน 502 สถาน� แบงเปน สถาน�แม 20 สถาน�และ สถาน�ลูก 482 สถาน�

7 สถานการณเอทานอลและไบโอดีเซล

การผลิตเอทานอล ผูประกอบการผลิตเอทานอล จำนวน 21 ราย กำลัง

การผลิต รวม 5.04 ลานลิตร/วัน แตมรี ายงานการผลิตเอทานอลเพือ่ ใชเปนเชือ้ เพลิง 16 ราย มีปริมาณการผลิตประมาณ 3.21 ลานลิตร/วัน โดยราคาเอทานอล แปลงสภาพเดือนสิงหาคม 2559 อยูที่ 23.37 บาท/ลิตร

การผลิตไบโอดีเซล ผูผ ลิตไบโอดีเซลทีไ่ ดคณุ ภาพตามประกาศของกรมธุรกิจ

พลังงาน จำนวน 12 ราย โดยมีกำลังการผลิตรวม 4.925 ลานลิตร/วัน การผลิต อยูที่ประมาณ 3.76 ลานลิตร/วัน ราคาไบโอดีเซลในประเทศเฉลี่ยเดือนสิงหาคม 2559 อยูที่ 35.51 บาท/ลิตร

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

37


ปริมาณการจำหน่ายและราคา 2556 (เฉลี่ย)

2557 (เฉลี่ย)

ราคา (หนวย : บาทตอลิตร) 25.43 27.22 เอทานอล 28.95 32.45 ไบโอดีเซล ปริมาณการจำหนาย (หนวย : ลานลิตรตอวัน) 2556 2557 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) 1.54 1.37 เบนซิน 7.49 แกสโซฮอล 95 (E10) 8.28 3.68 แกสโซฮอล 95 (E20) 2.63 0.91 แกสโซฮอล 95 (E85) 0.38 9.12 9.84 แกสโซฮอล 91 2.59 3.25 เอทานอล 53.34 56.21 ดีเซลหมุนเร็ว 2.13 2.72 B100

2558 (เฉลี่ย)

2559 (เฉลี่ย)

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

26.51 31.02

23.10 35.31

22.94 31.80

23.10 35.14

23.10 36.18

22.78 37.82

22.80 40.14

23.37 35.51

2558 (เฉลี่ย) 1.32 10.27 4.57 0.82 11.54 3.45 62.73 4.08

8 ฐานะกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง

2559 (เฉลี่ย) 1.33 10.43 4.74 2.84 11.25 3.48 62.94 4.09

ฐานะกองทุนน้ำมันฯ ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2559 มีสินทรัพยรวม 50,876 ลานบาท หน�้สินกองทุน 9,155 ลานบาท ฐานะกองทุนน้ำมันสุทธิ 41,721 ลานบาท

38

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

2559

ก.พ. 1.37 10.55 4.66 0.82 11.40 3.48 64.37 4.18

มี.ค. 1.32 10.42 4.64 0.81 11.20 3.44 64.20 4.17

2559 เม.ย. 1.33 10.80 5.10 0.89 11.59 3.65 62.52 4.06

พ.ค. 1.33 10.40 4.82 0.86 11.12 3.50 63.70 4.14

มิ.ย. 1.37 10.66 4.62 0.83 11.10 3.46 60.67 3.94


นโยบายพลังงาน

ทิศทางนโยบายดานพลังงาน

สาธารณรัฐเกาหลีและประเทศไทย: ความเหมือน ขอคิดจากประสบการณการพัฒนา และโอกาสพัฒนาความรวมมือ ภายหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จบลง ตามมาด้วยความตึงเครียดจากสงครามเกาหลี และสงครามเย็น สาธารณรัฐเกาหลี หรือ เกาหลีใต้กลับสามารถทีจ่ ะขับเคลือ่ นตัวเอง จากสถานะประเทศกำลังพัฒนาจนกลายเป็นประเทศทีม่ กี ารเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นอันดับต้นๆ ของโลก พร้อมทัง้ เป็นผูน้ ำของโลกในด้านเทคโนโลยีได้ในระยะเวลา ไม่ถงึ 30 ปี ในขณะทีป่ ระเทศไทยซึง่ ยังอยูใ่ นระดับเดียวกันหรือ ดีกว่าสาธารณรัฐ เกาหลีในสมัยนัน้ ยังไม่สามารถพัฒนาและยกระดับประเทศให้มกี ารเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจในระดับเดียวกันได้ ด้วยเหตุนี้ บทเรียนหรือประสบการณ์จาก สาธารณรัฐเกาหลี (The Korean Experience) ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในมิติด้านพลังงาน จึงเหมาะสมที่จะนำมาเป็นตัวอย่างในการพัฒนา ให้แก่ประเทศไทย

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

39


1. ความเหมือนของสาธารณรัฐเกาหลีและประเทศไทยในมิตดิ า นพลังงาน สถานการณดา นพลังงานของสาธารณรัฐเกาหลีและประเทศไทย นั้นนับวามีความใกลเคียงกันอยูมาก โดยตางเปนประเทศที่ขาด แคลนทรัพยากรดานพลังงาน ซึ�งพลังงานนั้นถือเปนทรัพยากร สำคัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศทีเ่ นน การผลิตเพือ่ การสงออก และเมือ่ ขาดแคลนทรัพยากรดานพลังงาน จึงมีความจำเปนตองพึ�งพาการนำเขาพลังงานจากตางประเทศ อยางไรก็ดี ในกรณ�ของสาธารณรัฐเกาหลีนั้นมีสถานการณดาน พลังงานที่อยูในภาวะที่นาวิตกกังวลมากกวาประเทศไทย โดย สาธารณรัฐเกาหลีมีสัดสวนการพึ�งพาการนำเขาพลังงานจากตาง ประเทศคิดเปนรอยละ 96 ซึ�งมากกวาประเทศไทยซึ�งอยูที่ระดับ นิวเคลียร 10.4%

รอยละ 56 ทัง้ น�้ เน�อ� งจากสาธารณรัฐเกาหลีนน้ั มีแหลงเชือ้ เพลิงฟอสซิล อยูอยางจำกัด โดยไมมีแหลงน้ำมันดิบภายในประเทศและแหลง กาซธรรมชาติทม่ี อี ยูก ผ็ ลิตไดไมเพียงพอตอความตองการในการใช จะมีเพียงถานหินแอนทราไซดซึ�งสามารถผลิตไดภายในประเทศ แตปริมาณการใชถา นหินชนิดน�้ในปจจุบนั ก็ลดลงเรือ่ ยๆเน�อ� งจาก ตนทุนการผลิตทีส่ งู มากขึน้ และความตองการใชถา นหินที่ใหความ รอนทีส่ งู ขึน้ ของภาคอุตสาหกรรม สำหรับสัดสวนการใชพลังงาน ขัน้ ตนของสาธารณรัฐเกาหลี มีการใชนำ้ มันมากทีส่ ดุ ทีร่ อ ยละ 37.8 ตามมาดวยถานหินทีร่ อ ยละ 29.3 และกาซธรรมชาติคดิ เปนรอยละ 18.7 พลังงานนิวเคลียรคดิ เปน 10.4 และพลังงานหมุนเวียนรอยละ 3.8 พลังงานหมุนเวียน 3.8% น้ำมัน 37.8%

กาซธรรมชาติ 18.7%

ถานหิน 29.3%

40

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ที่มา: 2014 Yearbook of Energy Statistics, Korea Energy Economics Institute


เมื่อสาธารณรัฐเกาหลีตองพึ�งพาการนำเขาทรัพยากรดาน พลังงานจากตางประเทศเปนจำนวนมากทำใหความมั�นคงดาน พลังงานและการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจขึน้ อยูก บั ปจจัยภายนอก ประเทศอยางหลีกเลีย่ งไมได เชน ความผันผวนของราคาพลังงาน ในตลาดโลก ความไมสงบทางการเมืองในกลุม ประเทศสงออกน้ำมัน การขนสงเชือ้ เพลิงผานเสนทางทีม่ คี วามเสีย่ ง เชน ชองแคบฮอรมซุ และชองแคบมะละกา ซึง� อาจเกิดเหตุการณความไมสงบ อาทิ การปดลอม การกอการราย และโจรสลัด ฯลฯ นอกจากนัน้ สาธารณรัฐเกาหลี ยังมีขอจำกัดในการเขาถึงแหลงทรัพยากรพลังงาน เน��องจาก สภาพภูมริ ฐั ศาสตร (Geopolitics) ของประเทศทีเ่ ปนคาบสมุทรถูกลอม ดวยทะเลอยูทางดานทิศใต ตะวันออก และตะวันตก รวมทั้งมี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี หรือเกาหลีเหน�ออยู ทางทิศเหน�อ ซึ�งหากพิจารณาถึงสถานะความสัมพันธระหวางทั้ง สองประเทศก็ยงั ถือวาอยูในสภาวะสงคราม ดังนัน้ การเขาถึงแหลง ทรัพยากรพลังงาน เชน ในสหพันธรัฐรัสเซียที่มีทรัพยากรน้ำมัน หรือกาซธรรมชาติมหาศาลผานระบบขนสงทางทอบนบกจึงไม สามารถเปนไปได และตองขนสงผานทางทะเลเทานั้น ดวยเหตุน้� เพือ่ เปนการกระจายความเสีย่ งในการจัดหาพลังงาน สาธารณรัฐเกาหลีจงึ ไดมกี ารกำหนดทิศทางนโยบายพลังงานเพือ่ รับกับความเสีย่ งจากการพึง� พาการนำเขา โดยกำหนดไวใน “แผน พลังงานพืน้ ฐานแหงชาติ” (National Energy Basic Plan) ซึง� เปน แผนพลังงานทีก่ ระทรวงการคา อุตสาหกรรม และพลังงาน (Ministry of Trade, Industry and Energy: MOTIE) มีหนาทีต่ อ งจัดทำตาม ที่บัญญัติไวในมาตราที่ 4 ของ Rational Energy Utilization Act ทั้งน�้ แผนดังกลาวมีกำหนดระยะเวลามากกวา 10 ป และจะตอง มีการจัดทำขึ้นใหมทุกๆ 5 ป พรอมทั้งตองไดรับการอนุมัติจาก คณะมนตรีแหงรัฐ (State Council) ปจจุบัน สาธารณเกาหลีอยู ระหวางการดำเนินการใช National Energy Basic Plan ฉบับที่ 2 ซึ�งมีแนวนโยบายที่สำคัญ ดังตอไปน�้

1. การพัฒนาพลังงานอยางยัง� ยืน (Sustainability) โดยพัฒนา ระบบพลังงานทีเ่ ปนมิตรตอสิง� แวดลอม ใหความสำคัญกับการบริหาร จัดการ ความตองการใชพลังงาน (Demand-side management) ดวยการลดการใชพลังงานขัน้ สุดทายลงรอยละ 13 ภายในป ค.ศ. 2035 (พ.ศ.2578) พรอมทั้งสงเสริมการใชพลังงานในรูปแบบใหมและ พลังงานหมุนเวียน (New and renewable energy) ดวยการกำหนด ใหมสี ดั สวนของพลังงานหมุนเวียนรอยละ 11 ของการจัดหาพลังงาน ขัน้ ตนภายในปค.ศ. 2035 (พ.ศ. 2578) อยางไรก็ดี สาธารณรัฐเกาหลี ยังคงคำนึงถึงการจัดหาแหลงทรัพยากรพลังงานจากตางประเทศ แตเนนในเรื่องการกระจายแหลงการนำเขา โดยใหความสนใจกับ การนำเขากาซธรรมชาติจากหินดินดาน (Shale Gas) ในทวีปอเมริกา เหน�อและในสาธารณรัฐประชาชนจีน 2. การขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมพลังงานดวยระบบตลาด (Market System) โดยการลดบทบาทภาครัฐในอุตสาหกรรมพลังงานเพื่อ เพิม� ประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการแขงขัน โดยการเปด เสรีภาคพลังงาน ผานการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) และการลดกฎเกณฑ (Deregulation) พรอมทัง้ สงเสริมการลงทุน จากทั้งในและตางประเทศ 3. การมุง สูก ารเปนผูน ำดานเทคโนโลยีพลังงานและตลาดพลังงาน โดยสงเสริมการวิจยั และการพัฒนา (R&D) ดานพลังงาน และการ จัดทำแผนแมบทการพัฒนาเทคโนโลยีดา นพลังงานในสาขาทีเ่ ห็นวา มีความเหมาะสมกับสภาพในปจจุบนั เพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ดานพลังงานจนกอใหเกิดเปนอุตสาหกรรมเชิงยุทธศาสตรทจ่ี ะนำ ไปสูการสงออก และตอบสนองนโยบายเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค (Creative economy) ของรัฐบาล 4. การเปนศูนยกลางดานพลังงานของเอเชีย โดยการสงเสริมความ รวมมือดานพลังงานกับประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉ�ยงเหน�อ โดยเฉพาะ สหพันธรัฐรัสเซีย และสาธารณรัฐประชาชนจีน พิจารณา ถึงความเปนไปไดในการสรางความรวมมือดานพลังงานกับสาธารณ รัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีในเรือ่ งทอสงน้ำมันและกาซธรรมชาติ รวมทัง้ สงเสริมความรวมมือกับองคการระหวางประเทศและกรอบ ความรวมมือระหวางประเทศ

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

41


2. ขอคิดจากประสบการณการพัฒนาของสาธารณรัฐเกาหลี จากแผนพลังงานพืน้ ฐานแหงชาติของสาธารณรัฐเกาหลีจะเห็นไดวา ทิศทางนโยบายพลังงาน ของไทยและสาธารณรัฐเกาหลีมคี วามใกลเคียงกันอยูม าก ในปจจุบนั ประเทศไทยไดมกี ารจัดทำ แผนบูรณาการพลังงานระยะยาวของประเทศ (Thailand Integrated Energy Blueprint: TIEB) ซึ�งประกอบไปดวยแผนพลังงาน 5 แผนที่ครอบคลุม 5 สาขาพลังงาน ไดแก ไฟฟา น้ำมัน กาซธรรมชาติ พลังงานทดแทน และการอนุรกั ษพลังงาน เพือ่ ความมัน� คง มัง� คัง� และยัง� ยืนใน ดานพลังงานของประเทศ โดยประเทศไทยใหความสำคัญกับการบริหารจัดการความตองการใช พลังงาน (Demand-side management) ดวยการตัง้ เปาหมายการลดความเขมขนในการใชพลังงาน (Energy Intensity) ลงรอยละ 30 ในป ค.ศ. 2036 (พ.ศ.2579) เทียบกับปฐาน ค.ศ. 2010 (พ.ศ.2553) สำหรับดานการบริหารการจัดหาพลังงาน (Supply-side management) ประเทศไทย สงเสริมการใชพลังงานทดแทน ดวยการตั้งเปาหมายใหมีสัดสวนพลังงานทดแทนรอยละ 30 ของการใชพลังงานทัง้ หมดภายในป ค.ศ. 2036 (พ.ศ.2579) นอกจากน�้ เพือ่ สรางความมัน� คง ใหแกประเทศ ยังไดเนนใหมกี ารกระจายแหลงเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟา โดยลดการผลิตไฟฟา จากกาซธรรมชาติ เพิม� สัดสวนการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน ถานหิน และการรับซือ้ ไฟฟา จากประเทศเพือ่ นบาน นอกจากนัน้ ยังใหความสำคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรพลังงาน ทีส่ ำคัญของประเทศคือ กาซธรรมชาติ ดวยการชะลอการเติบโตของการใชกา ซธรรมชาติ รักษา ระดับการผลิตของแหลงภายในประเทศ การจัดหากาซธรรมชาติเหลว (LNG) พรอมทัง้ พัฒนา โครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับ อยางไรก็ดี สิง� ทีแ่ ตกตางกันและทำใหสาธารณรัฐเกาหลีมคี วามโดดเดน คือ การทีส่ าธารณรัฐเกาหลี ตัง้ เปาหมายในการเปนผูน ำดานเทคโนโลยีพลังงานเพือ่ ทีจ่ ะพัฒนาไปสูก ารเปนประเทศผูส ง ออก เทคโนโลยีพลังงาน ซึง� เมือ่ พิจารณาแลวจะเห็นวาสาธารณรัฐเกาหลีมศี กั ยภาพเพียงพอในการกาว ไปสูเ ปาหมายดังกลาวได เน�อ� งจากปจจุบนั รัฐบาลใหความสำคัญกับการพัฒนาดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีเปนอยางมากเพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยรัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีมีการจัดสรรงบประมาณดาน R&D เปนจำนวนมาก มี การสงเสริมบริษัทขนาดกลางและขนาดยอม (SME) หรือธุรกิจเกิดใหม (Startups) พรอมทั้ง สนับสนุนใหบริษัทเอกชนขนาดใหญของประเทศ (Chaebol) ที่เปนบริษัทชั้นนำของโลก เชน Samsung Hyundai LG ฯลฯ ชวยเหลือจากบริษัทเกิดใหมเหลาน�้ นอกจากน�้ ภาครัฐยังสราง บรรยากาศในการคนควาวิจัยและประดิษฐคิดคน โดยจัดตั้งศูนยเศรษฐกิจเชิงสรางสรรคและ นวัตกรรม (Center for Creative Economy and Innovation) ในเมืองใหญตางๆ ทั�วประเทศ 18 แหง โดยเปนความรวมมือระหวางรัฐบาลกลาง รัฐบาลทองถิน� และบริษทั เอกชน เพือ่ เปน ศูนยกลางทำหนาที่ใหคำแนะนำและสนับสนุนทางดานการเงิน ขอกฎหมาย และอุปกรณ เทคโนโลยีตางๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการประดิษฐคิดคน และการวิจัยอยางครบวงจร

42

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


สำหรับเทคโนโลยีดา นพลังงานนัน้ รัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีมแี ผน ที่จะบริหารจัดการการใชพลังงานโดยจะนำเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Communication Technology: ICT) ซึง� สาธารณรัฐเกาหลี ถือเปนหนึง� ในผูน ำของโลก มาปรับใชในภาคพลังงาน โดยมีโครงการ ที่ใหความสนใจ ไดแก การกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ทัง้ น�้ ภาครัฐมีเปาหมายวา การพัฒนาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมดังกลาวจะมิใชแคเพียงเพือ่ นำ มาใชภายในประเทศเทานัน้ แตยงั ตองการเปนผูน ำดานเทคโนโลยี ดานพลังงานในตลาดโลก ดังนัน้ อาจถึงเวลาทีป่ ระเทศไทยจะตอง ตระหนักถึงความสำคัญในการสงเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีดา นพลังงาน โดยเริม� ตนจากการพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับ การใชภายในประเทศ เพือ่ ลดการพึง� พาเทคโนโลยีดา นพลังงานจาก ตางประเทศ โดยอาจใชแนวทางการพัฒนาของสาธารณรัฐเกาหลีท่ี เริ�มจากการนำเทคโนโลยีจากตางประเทศมาใชและเลียนแบบ (Adoption & Imitation) เพือ่ ลดชองวางทางเทคโนโลยีและ ไลตาม ประเทศตางๆใหทัน ซึ�งภาครัฐ ทั้งกระทรวงพลังงาน กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และกระทรวงศึกษาธิการ จะตองมี บทบาทสำคัญในการวางรากฐานผานระบบการศึกษา การสราง โครงสรางพืน้ ฐานสำหรับการวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน สถาบันวิจยั ของรัฐ (Government Research Institute: GRI) การจัดสรรงบประมาณอยางเพียงพอ การเลือกสาขาเทคโนโลยีที่ จะสงเสริม เพื่อใหเกิดการตอยอดตอไป 3. โอกาสในการพัฒนาความรวมมือระหวางสาธารณรัฐเกาหลีและ ประเทศไทย เมือ่ พิจารณาถึงสถานการณดา นพลังงานและประสบการณในการ พัฒนาของสาธารณรัฐเกาหลีแลว สิ�งที่ประเทศไทยสามารถหยิบ ยกมาเปนโอกาสในการพัฒนาความรวมมือในดานพลังงานกับ สาธารณรัฐเกาหลี มีดังน�้ 3.1 ดานปโตรเลียม 3.1.1 การสำรองน้ำมันทางยุทธศาสตร (Strategic Petroleum Reserve) เน�อ� งจากสาธารณรัฐเกาหลีตอ งพึง� พาการนำเขาพลังงาน จากตางประเทศในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะ น้ำมัน ดังนั้น การสำรองน้ำมันทางยุทธศาสตรจึงมีความสำคัญ ซึ�งในปจจุบันสาธารณรัฐเกาหลีมีการสำรองน้ำมันอยูที่ 298 วัน นับเปนประเทศทีม่ จี ำนวนวันการสำรองน้ำมันมากทีส่ ดุ อันดับตนๆ ของประเทศสมาชิกของทบวงการพลังงานโลก (IEA) ดังนัน้ ประเทศ ไทยสามารถแลกเปลีย่ นความรูแ ละประสบการณดา นการเตรียมความ พรอมในการสำรองน้ำมันทางยุทธศาสตร โดยเฉพาะดานเทคโนโลยี การกักเก็บสำรองน้ำมัน ซึง� สาธารณรัฐเกาหลีมกี ารกักเก็บทัง้ ใตดนิ และบนบก แมวา ปจจุบนั สภาวะการขาดแคลนน้ำมันอาจเกิดขึน้ ได

ยากเน�อ� งจากการผลิตน้ำมันมีมากเกินความตองการของตลาด แตการแลกเปลี่ยนความรูจะเปนประโยชนตอการวางแผนสำรอง น้ำมันทางยุทธศาสตรของประเทศเพือ่ เสริมสรางความมัน� คงดาน พลังงานของประเทศในอนาคต 3.1.2 การบริหารการขนสงเพื่อลดตนทุน (Co-loading) สาธารณรัฐเกาหลีและประเทศไทยตางเปนประเทศที่มีการนำเขา และสงออกน้ำมัน ผลิตภัณฑปโ ตรเลียมและปโตรเคมีโดยการขนสง ทางทะเลเปนจำนวนมาก ดังนัน้ หากมีการศึกษาถึงความเปนไปได เพือ่ สรางความรวมมือหรือแนวทางในการบริหารจัดการขนสงระหวางกัน เพื่อลดตนทุนและใหการขนสงเกิดประสิทธิภาพมากยิ�งขึ้นจะเปน ประโยชนใหแกทั้งสองฝายตอไป 3.2 ดานนิวเคลียร 3.2.1 เทคโนโลยีโรงไฟฟานิวเคลียร รัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลี กำหนดใหอตุ สาหกรรมโรงไฟฟานิวเคลียรเปน 1 ในอุตสาหกรรม ทีจ่ ะขับเคลือ่ นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ และไดมี ความพยายามทีส่ ง ออกการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร โดยตัง้ เปา หมายทีจ่ ะเปนผูส ง ออกเทคโนโลยีนวิ เคลียรอนั ดับ 3 ของโลก หรือ คิดเปนสวนแบงการตลาดรอยละ 20 ภายในป ค.ศ.2030 (พ.ศ.2573) และในป ค.ศ.2009 (พ.ศ. 2552) สาธารณรัฐเกาหลีชนะการประมูล สรางโรงไฟฟานิวเคลียร 4 โรงในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ดวยเหตุน้� เทคโนโลยีการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรของสาธารณรัฐเกาหลี จึงอาจเปนทางเลือกหนึ�งใหแกประเทศไทยไดพิจารณา เน��องจาก ประเทศไทยก็มแี ผนการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร 2 โรง จำนวน รวม 2,000 เมกะวัตต ตามแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟาของ ประเทศไทย (PDP2015) นอกจากน�้ ประเทศไทยอาจขอความรวมมือ หรือการสนับสนุนในการจัดฝกอบรมบุคลากรเพือ่ เตรียมโครงสราง พื้นฐานเพื่อรองรับการผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียร 3.2.2 การยอมรับจากประชาชน(Public Acceptance) เน�อ� ง จากสาธารณรัฐเกาหลีถือเปนประเทศที่ประสบความสำเร็จในการ ผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรและมีกระแสตอตานนอย เน�อ� งจากมีหนวยงานคือ Korea Nuclear Energy Promotion Agency (KONEPA) ที่ทำหนาที่ประชาสัมพันธ สรางความเขาใจใหแก ประชาชนอยูอยางสม่ำเสมอ และแมวาจะเกิดอุบัติเหตุโรงไฟฟา นิวเคลียร Fukushima Daiichi สาธารณรัฐเกาหลีก็ยังสามารถ เดินหนาโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรตอ ไปได โดยสามารถนำเครือ่ ง ปฏิกรณปรมาณูเขาระบบไดอีก 2 เครื่องและมีโครงการที่จะสราง เพิม� เติมอีกในอนาคต ดวยเหตุน้� ประเทศไทยจึงสามารถเรียนรูแ ละ แลกเปลีย่ นประสบการณในการสือ่ สารสาธารณะวาควรมีการดำเนิน การในรูปแบบใดเพื่อใหไดรับการยอมรับจากประชาชนในที่สุด

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

43


3.3 ดานการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน 3.3.1 โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) แผนพลังงานของสาธารณรัฐเกาหลีมแี นวคิด ทีจ่ ะนำเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) มาพัฒนาใชกบั ภาคพลังงานเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน ในประเทศ โดยเฉพาะเรื่องโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ซึ�งประเทศไทยก็มีแผนแมบท พัฒนาระบบโครงขาย Smart Grid พ.ศ.2558-2579 ดังนัน้ ประเทศไทยจึงสามารถติดตามพัฒนา การเทคโนโลยีจากสาธารณรัฐเกาหลี รวมทั้งสามารถแลกเปลี่ยนความรูหรือแนวทางการพัฒนา โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ ซึ�งนอกจากจะสงเสริมใหเกิดการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพแลว ยังสรางความมั�นคงใหแกระบบไฟฟาจากเพื่อรองรับการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน 3.3.2 เซลลเชือ้ เพลิง (Fuel Cell) สาธารณรัฐเกาหลีมีการพัฒนาเทคโนโลยีเซลลเชื้อเพลิง อยางรวดเร็ว ซึ�งถือวาเปนพลังงานสะอาด ไมกอใหเกิดมลภาวะทางอากาศ และในปจจุบันมี สถานทีผ่ ลิตพลังงานจากเซลลเชือ้ เพลิงที่ใหญทส่ี ดุ ในโลก คือ “Gyeonggi Green Energy Facility” ณ เมือง Hwasung ซึ�งมีกำลังผลิตไฟฟา 59 เมกะวัตต และยังสามารถใหความรอนแกระบบทำ ความรอนภายในทองถิน� ไดอกี ดวย พรอมทัง้ มีแผนทีจ่ ะพัฒนาการผลิตพลังงานจากเซลลเชือ้ เพลิง ตอไปในอนาคต ประเทศไทยจึงควรศึกษาความกาวหนารวมทั้งแนวโนมของเทคโนโลยีดังกลาว จากสาธารณรัฐเกาหลีเพื่อเปนแหลงพลังงานทางเลือกใหมทดแทนพลังงานจากฟอสซิล เอกสารอางอิง ภาษาไทย สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.(2558). รายงานสถิติพลังงานของประเทศไทย 2558. กรุงเทพฯ, ประเทศไทย: บริษัท อัมรินทรพริ้นติ้งแอนด พลับบิชชิ�ง จำกัด (มหาชน). สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน. (2558). รายงานผล ผลงานรัฐบาลรอบ 1 ป พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ระหวางวันที่ 12 กันยายน 2557 12 กันยายน 2558. 26 ธันวาคม 2558. กรุงเทพฯ, ประเทศไทย: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน. ภาษาอังกฤษ Chung, Woo Jin. (2014). Update on ROK Energy Sector and Energy Policies. NAPSNet Special Reports. Retrieved December 26, 2015, from Nautilus Institute for Security and Sustainability Website http://nautilus.org/napsnet/napsnet-special-reports/update-on-rok-energy-sector-and-energy-policies/ Gyeonggi Center for Creative Economy and Innovation. (2015). Presentation from a site visit to Republic of Korea December 14, 2015 for HiPPS Capability Development Program. KDI, OCSC. Hutchinson, George. (2014). Korea's Evolving Energy Strategy-A Different Shade of Green : External Challenges and Opportunities for the Park Geun-Hye Administration. Retrieved December 25, 2015, from Korea Economic Institute of America Website http://keia.org/sites/ default/files/publications/koreaseconomy_2013_chapter2.pdf IEA. (2015). IEA Closing Oil Stock Levels in Days of Net Imports: September 2015. Retrieved December 28, 2015 from IEA Website http://www.iea.org/netimports/ Korea Energy Economics Institute. (2015). 2014 Yearbook of Energy Statistics. Retrieved December 26, 2015, from Korea Energy Economic Institute Website http://www.keei.re.kr/keei/ download/YES2014.pdf. Korea Energy Economics Institute. (2015). Basic Directions of the Second National Energy Plan. Retrieved December 26, 2015 from Korean Energy Economics Institute Website http://www.keei.re.kr/main.nsf/index_en.html?open&p=%2Fmain.nsf%2Fmain_en.html&s= Overton, Thomas. (2014) World’s Largest Fuel Cell Plant Opens in South Korea. Retrieved December 29, 2015 from Power Magazine Website http://www.powermag.com/worlds -largest-fuel-cell-plant-opens-in-south-korea/

44

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


สถานการณพลังงาน

สถานการณพลังงานไทย ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 “

ชวง 6 เดือนแรกของป 2559 การใชพลังงานเชิงพาณิชยขน้ั สุดทายเพิม่ ขึน้ รอยละ 2.8 สอดคลองกับ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศทีป่ รับตัวดีขน้ึ จากการขยายตัวของการลงทุน การผลิตภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ และการทองเทีย่ ว ประกอบกับราคาพลังงานทีแ่ มเริม่ ปรับตัวสูงขึน้ ตัง้ แตตน ปตามราคา ตลาดโลกแตยังคงอยูในระดับต่ำ โดยการใชน้ำมันสำเร็จรูป เพิ่มขึ้นทุกประเภท โดยเฉพาะการใชใน ภาคขนสง จากปจจัยราคาขายปลีกที่ยังอยูในระดับต่ำ ยกเวน การใชกาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ที่ลดลงในเกือบทุกสาขาเศรษฐกิจ ทั้งนี้ความตองการใชที่ลดลง สงผลใหการนำเขา LPG ลดลง ตอเนือ่ งมาตัง้ แตป 2558 ดานการใชไฟฟาเพิม่ ขึน้ ในทุกสาขาเศรษฐกิจ ยกเวนการใชเพือ่ สูบน้ำภาค เกษตรกรรมที่ลดลงจากภาวะภัยแลง โดย Peak ในระบบ กฟผ. ของปนี้ เกิดขึ้นเมื่อวันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2559 ทีร่ ะดับ 29,619 เมกะวัตต สูงกวา Peak ของปทผ่ี า นมารอยละ 8.3 ขณะทีก่ ารใช กาซธรรมชาติลดลง เนื่องจากแหลงกาซของเมียนมาหยุดจายกาซชวงตนป ประกอบกับแหลงกาซ สำคัญในประเทศมีการผลิตลดลง

1. อุปสงคและอุปทานพลังงาน ความตองการใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน อยูท ร่ี ะดับ 2,127 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบ ตอวัน เพิ�มขึ้นรอยละ 1.3 โดยเพิ�มขึ้นทุกประเภทพลังงาน ยกเวนการใชกาซธรรมชาติ ซึ�งลดลง รอยละ 1.8 เน��องจากแหลงกาซธรรมชาติของเมียนมาหยุดจายกาซเพื่อซอมบำรุงอุปกรณ ทำให ปริมาณกาซธรรมชาติในระบบลดลง และการใชถานหินนำเขา ซึ�งลดลงรอยละ 0.6 ขณะที่การใช น้ำมันเพิม� ขึน้ รอยละ 4.7 จากราคาน้ำมันในตลาดโลกทีย่ งั อยูในระดับต่ำ เชนเดียวกับการใชลกิ ไนต เพิม� ขึน้ รอยละ 7.6 ดานการใชไฟฟาพลังน้ำ/ไฟฟานำเขา เพิม� ขึน้ รอยละ 9.9 จากการนำเขาไฟฟาจาก สปป.ลาว ที่เพิ�มขึ้น นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

45


การใช การผลิต และการนำเขาพลังงานเช�งพาณิชยขั�นตน

หนวย : พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน

การผลิตพลังงานเชิงพาณิชยขน้ั ตน อยูท ร่ี ะดับ 1,027 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 0.7 โดยเปนการเพิ�มขึ้นของการผลิต น้ำมันดิบ และลิกไนต ซึง� เพิม� ขึน้ รอยละ 16.6 และ รอยละ 6.2 ตามลำดับ เน�อ� งจากมีแหลงน้ำมันดิบ เขาใหม ไดแก แหลงบอรัง และแหลงสุรินทร ขณะทีก่ ารผลิตคอนเดนเสท และกาซธรรมชาติ ลดลงรอยละ 3.0 และรอยละ 2.5 ตามลำดับ จาก การทีแ่ หลงกาซสำคัญในอาวไทยมีการผลิตลดลง ดานการผลิตไฟฟาพลังน้ำ ลดลงรอยละ 17.0 จากปริมาณน้ำในเขื่อนที่เหลือนอยจากภาวะ ภัยแลงชวงตนป การนำเขา (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชยขน้ั ตน อยูท ร่ี ะดับ 1,328 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบ ตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 2.6 โดยการนำเขาถานหิน และไฟฟาเพิ�มขึ้นรอยละ 2.9 และรอยละ 32.7 ตามลำดับ เปนผลจากโรงไฟฟาหงสา หนวยที่ 3 ของ สปป.ลาว เริม� จายไฟเขาระบบ ดานการนำเขา กาซธรรมชาติและกาซธรรมชาติเหลว (LNG) เพิม� ขึน้ รอยละ 0.3 เน�อ� งจากชวงตนปแหลงกาซ ยาดานา เยตากุน และซอติกา หยุดจายกาซเพือ่ ซอมบำรุงอุปกรณทำใหการนำเขากาซธรรมชาติ ในชวงดังกลาวลดลง โดยมีการนำเขา LNG เพิม� ขึน้ เพือ่ ชดเชยกาซในสวนทีข่ าด ขณะทีก่ าร นำเขาน้ำมันดิบ ลดลงรอยละ 9.2

46

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

การใช การผลิต การนำเขา (สุทธิ) การเปลี่ยนแปลงสต็อก การใชที่ไมเปนพลังงาน (Non-Energy use) การนำเขา/การใช(%)

2558 2,079 1,015 1,251 -162 349

2558 2,099 1,020 1,295 -144 360

60

62

ม.ค.-มิ.ย. 2559 เปลี่ยนแปลง% 1.3 2,127 0.7 1,027 2.6 1,328 -165 393 9.2 62

2. การใชพลังงานเช�งพาณิชยขั�นสุดทาย การใชพลังงานเชิงพาณิชยขน้ั สุดทาย อยูท ร่ี ะดับ 1,475 พันบารเรลเทียบเทา น้ำมันดิบตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 2.8 สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศทีป่ รับตัว ดีขน้ึ โดยการใชนำ้ มันสำเร็จรูป เพิม� ขึน้ รอยละ 5.0 การใชไฟฟา เพิม� ขึน้ รอยละ 6.0 ขณะที่การใชถานหินนำเขา ลดลงรอยละ 6.2 และกาซธรรมชาติ และลิกไนต มีการใชลดลงรอยละ 2.5 และรอยละ 14.5 ตามลำดับ หนวย : พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน

ม.ค.-มิ.ย. 2559 เปลี่ยนแปลง% 2558 2558 2.8 1,419 1,435 1,475 ปริมาณการใช 5.0 809 770 น้ำมันสำเร็จรูป 763 6.0 317 299 302 ไฟฟา -6.2 169 180 ถานหินนำเขา 172 -14.5 6 6 6 ลิกไนต -2.5 175 180 กาซธรรมชาติ 176 มูลคาการนำเขาพลังงาน อยูท ร่ี ะดับ 358 พันลานบาท ลดลงรอยละ 25.7 โดย มูลคาการนำเขาน้ำมันดิบ และกาซธรรมชาติ ลดลงรอยละ 32.6 และรอยละ 38.7 ตามลำดับ จากราคาตลาดโลกทีย่ งั คงปรับตัวลดลง ประกอบกับปริมาณการนำเขา ทีน่ อ ยลงดวย ดานมูลคาการนำเขาถานหิน และ LNG ลดลงรอยละ 4.5 และรอยละ 26.4 ตามลำดับ ขณะที่มูลคาการนำเขาน้ำมันสำเร็จรูป เพิ�มขึ้นรอยละ 5.0 จาก ปริมาณการนำเขาที่เพิ�มขึ้นเน��องจากมีการปดซอมบำรุงโรงกลั�นน้ำมันหลายแหง และมูลคาการนำเขาไฟฟา เพิม� ขึน้ รอยละ 58.9 ตามการนำเขาไฟฟาจาก สปป.ลาว ที่เพิ�มขึ้น


3. น้ำมันดิบและคอนเดนเสท การผลิตน้ำมันดิบและคอนเดนเสท มีปริมาณ 262 พันบารเรลตอวัน คิดเปนสัดสวน รอยละ 25 ของปริมาณความตองการใชในโรงกลัน� เพิม� ขึน้ รอยละ 8.6 โดยการผลิตน้ำมันดิบ เพิม� ขึน้ รอยละ 17.3 เน�อ� งจากแหลงน้ำมันดิบขนาดใหญยงั คงมีการผลิตเพิม� ขึน้ ประกอบกับ มีแหลงน้ำมันดิบเขาใหมชวงตนป ขณะที่การผลิตคอนเดนเสทลดลงรอยละ 2.4 จากการ ผลิตที่ลดลงของแหลงผลิตสำคัญ - การนำเขาและสงออกน้ำมันดิบ การนำเขาน้ำมันดิบลดลงรอยละ 6.2 โดยลดลงทุกแหลง ทัง้ การนำเขาจากกลุม ประเทศตะวันออกกลาง ตะวันออกไกล และแหลงอืน่ ๆ ทัง้ น�ป้  2559 เริ�มมีการสงออกน้ำมันจากแหลงวาสนา แหลงสงขลา แหลงนงเยาว และแหลงมโนราห ซึ�งโรงกลั�นในประเทศไมสามารถกลั�นได หลังจากหยุดการสงออกตั้งแตปลายป 2557 - กำลังการกลัน� น้ำมันดิบ มีความสามารถในการกลัน� รวมทัง้ สิน้ 1,252 พันบารเรลตอวัน โดยมีการใชนำ้ มันดิบเพือ่ การกลัน� 1,065 พันบารเรลตอวัน คิดเปนสัดสวนรอยละ 85 ของ ความสามารถในการกลัน� ทัว� ประเทศ ซึง� ลดลงรอยละ 5.8 เน�อ� งจากมีโรงกลัน� น้ำมันหลายแหง ปดซอมบำรุง

การจัดหาและการใชน้ำมันดิบ การจัดหา นำเขา น้ำมันดิบ คอนเดนเสท รวม 868 241 91 149 2556 805 233 94 139 2557 875 248 96 152 2558 833 262 96 166 2559 (ม.ค.-มิ.ย.) อัตราการเปลี่ยนแปลง% -7.3 -3.2 3.5 2557 -7.3 8.8 6.5 1.4 2558 10.0 -6.2 8.6 -2.4 2559 (ม.ค.-มิ.ย.) 17.3 ป

หนวย : พันบารเรลตอวัน

รวมทั้งสิ้น 1,109 1,038 1.123 1,095 -6.4 8.3 -3.5

การใช สงออก ใชในโรงกลั�น 1,078 25 1,029 7 1,132 1 1,065 23 -73.1 -88.2 -

-4.6 10.1 -5.8

4. กาซธรรมชาติ และกาซโซลีนธรรมชาติ (NGL) - การจัดหากาซธรรมชาติ รวมทัง้ ประเทศอยูท ร่ี ะดับ 5,063 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ลดลง รอยละ 1.2 โดยเปนการผลิตภายในประเทศรอยละ 75 ลดลงรอยละ 1.9 และนำเขาจาก ตางประเทศรอยละ 25 เพิ�มขึ้นรอยละ 0.8 โดยเปนการนำเขา LNG เพิ�มขึ้นเพื่อชดเชย กาซธรรมชาติจากแหลงยาดานา เยตากุน และซอติกา ทีห่ ยุดจายกาซเพือ่ ซอมบำรุงอุปกรณ ในชวงตนป

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

47


- การใชกา ซธรรมชาติ อยูท ร่ี ะดับ 4,734 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ลดลงรอยละ 1.4 เปน การลดลงของการใชเปนเชื้อเพลิงในโรงแยกกาซ ซึ�งลดลงรอยละ 5.9 และการใช NGV ที่ลดลงรอยละ 7.9 ขณะที่การใชเปนเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม เพิ�มขึ้นรอยละ 1.3 ดานการใชเพือ่ ผลิตไฟฟามีการใชอยูใ นระดับคงที่ หรือเพิม� ขึน้ เล็กนอย รอยละ 0.1 เน�อ� งจาก ชวงที่เมียนมาหยุดจายกาซ โรงไฟฟาฝงตะวันตก ไดแก โรงไฟฟาพลังความรอนราชบุรี และโรงไฟฟาพลังความรอนรวมราชบุรี เปลี่ยนไปใชเชื้อเพลิงอื่นในการผลิตไฟฟาแทน - การผลิตกาซโซลีนธรรมชาติ (NGL) อยูที่ระดับ 18,319 บารเรลตอวัน ลดลงรอยละ 3.1 โดยนำไปใชในอุตสาหกรรมตัวทำละลาย (Solvent) ภายในประเทศรอยละ 93 ทีเ่ หลือ สงออกไปจำหนายตางประเทศรอยละ 7

การใชกาซธรรมชาติรายสาขา สาขา ผลิตไฟฟา อุตสาหกรรม โรงแยกกาซ เชื้อเพลิงสำหรับรถยนต (NGV) การใช

2558 2,859 651 950 304 4,764

หนวย : ลานลูกบาศกฟุตตอวัน

ม.ค.-มิ.ย. 2558 2559 เปลี่ยนแปลง% 0.1 2,898 2,884 1.3 675 680 -5.9 943 883 -7.9 313 287 -1.4 4,829 4,734

5. ผลิตภัณฑน้ำมันสำเร�จรูป - ภาพรวมน้ำมันสำเร็จรูป การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป ลดลงรอยละ 1.9 เน�อ� งจากโรงกลัน� น้ำมันในประเทศหลายแหงปดซอมบำรุง โดยการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปลดลงในเกือบทุกประเภท ยกเวนการผลิตกลุม เบนซิน และน้ำมันกาด ทีม่ กี ารผลิตเพิม� ขึน้ ดานการใชนำ้ มันสำเร็จรูป เพิม� ขึน้ รอยละ 2.6 โดยเพิม� ขึน้ เกือบทุกประเภทตามความตองการใชทเ่ี พิม� ขึน้ โดยเฉพาะการ ใชในภาคขนสง เปนผลจากราคาขายปลีกในประเทศ ที่แมจะเริ�มปรับตัวสูงขึ้นตั้งแตตนป ตามราคาตลาดโลกแตยังคงอยูในระดับต่ำ ประกอบกับการปรับโครงสรางราคา LPG และ NGV ใหสะทอนตนทุนทีแ่ ทจริง ทำใหผใู ชรถยนต LPG และ NGV บางสวนหันมาใชนำ้ มัน เบนซินและดีเซลแทน สงผลใหการใช LPG ลดลงในเกือบทุกภาคเศรษฐกิจ การนำเขาและ สงออกน้ำมันสำเร็จรูป การนำเขาเพิม� ขึน้ รอยละ 8.4 เพือ่ รองรับความตองการใชในประเทศ ที่เพิ�มขึ้น รวมทั้งทดแทนในสวนที่โรงกลั�นน้ำมันในประเทศปดซอมบำรุง ดานการสงออก ลดลงรอยละ 22.4 - น้ำมันเบนซิน การผลิตน้ำมันกลุม เบนซิน เพิม� ขึน้ รอยละ 11.1 การใชนำ้ มันกลุม เบนซิน เพิม� ขึน้ รอยละ 11.5 ซึง� ขยายตัวในระดับสูง โดยเฉพาะการใชในกลุม แกสโซฮอลจากปจจัย ดานราคาที่จูงใจ การนำเขาและสงออกน้ำมันกลุมเบนซิน การนำเขาเพิ�มขึ้นรอยละ 51.8 จากความตองการใชในประเทศทีเ่ พิม� สูงขึน้ โดยเฉพาะในกลุม แกสโซฮอล สงผลใหตอ งนำเขา เบนซินพืน้ ฐานเพือ่ นำมาผสมเปนแกสโซฮอลเพิม� ขึน้ ขณะทีก่ ารสงออกน้ำมันกลุม เบนซิน ลดลงรอยละ 1.9

48

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


- น้ำมันดีเซล การผลิตน้ำมันดีเซล ลดลงรอยละ 9.9 การใชนำ้ มัน ดีเซล เพิม� ขึน้ รอยละ 4.8 จากปจจัยดานราคาทีย่ งั คงอยูในระดับต่ำ และความตองการใชขนสงผลผลิตทางการเกษตรในรอบฤดูเก็บเกีย่ ว ชวงตนป การนำเขาและสงออกน้ำมันดีเซล การนำเขาน้ำมันดีเซล เพิม� ขึน้ ถึงกวา 5 เทาตัว เพือ่ รองรับความตองการใชทอ่ี ยูใ นระดับสูง สวนการสงออกลดลงรอยละ 22.1 เน��องจากมีความตองการใช ภายในประเทศสูง - น้ำมันเตา การผลิตน้ำมันเตา ลดลงรอยละ 2.0 การใชนำ้ มันเตา เพิม� ขึน้ รอยละ 16.1 โดยสวนใหญใชเปนเชือ้ เพลิงภาคอุตสาหกรรม การนำเขาและสงออกน้ำมันเตา การนำเขาน้ำมันเตา ลดลงรอยละ 29.6 เชนเดียวกับการสงออก ที่ลดลงรอยละ 7.4 - น้ำมันเครือ่ งบิน การผลิตน้ำมันเครือ่ งบิน ลดลงรอยละ 5.1 การ

ใชน้ำมันเครื่องบิน เพิ�มขึ้นรอยละ 6.8 ตามการขยายตัวของภาค

2559 (ม.ค.-มิ.ย.) เบนซิน เบนซิน แกสโซฮอล 91 แกสโซฮอล 95 เบนซินพื้นฐาน ดีเซล น้ำมันกาด น้ำมันเครื่องบิน น้ำมันเตา กาซปโตรเลียมเหลว*

รวม

การใช 180 8 71 101 403 0.2 111 41 193

928

การทองเทีย่ วซึง� มีจำนวนนักทองเทีย่ วเดินทางเขาประเทศเพิม� ขึน้ การนำเขาและสงออกน้ำมันเครือ่ งบิน การนำเขาเพิม� สูงขึน้ อยางมาก ตามความตองการใชทเ่ี พิม� ขึน้ ดานการสงออก ลดลงรอยละ 82.7 - กาซปโตรเลียมเหลว (LPG โพรเพน และบิวเทน) การผลิต

LPG ลดลงรอยละ 0.4 จากการผลิตของโรงกลั�นน้ำมันที่ลดลง ขณะที่การผลิตจากโรงแยกกาซธรรมชาติเพิ�มขึ้น การใช LPG ลดลงรอยละ 12.1 โดยลดลงเกือบทุกภาคเศรษฐกิจ ยกเวนภาค อุตสาหกรรมทีย่ งั คงมีการใชเพิม� ขึน้ โดยภาคขนสงลดลงเน�อ� งจาก ผูใชรถยนตบางสวนหันไปใชน้ำมันซึ�งมีราคาถูกลงทดแทน ภาค ปโตรเคมีลดลงจากการเปลีย่ นไปใชแนฟทาเปนวัตถุดบิ ในการผลิต แทน LPG การนำเขาและสงออก LPG การนำเขา LPG ลดลง รอยละ 61.2 จากความตองการใชที่ลดลง ดานการสงออก LPG เพิ�มขึ้นรอยละ 67.3 โดยสงออกไปยังประเทศเพื่อนบานที่ไม สามารถนำเขา LPG ไดเองและรองขอผานรัฐบาลไทย

ปริมาณ (พันบารเรล/วัน) เปลี่ยนแปลง (%) การจั ด หาและการใช นสำเร�าจรูป การสงออก การผลิต การนำเขา การสงออก การใช การผลิต น้ำมัการนำเข 205 26 23 11.5 11.1 51.8 1.9 11 2 -3.5 -3.3 -7.5 94 21 3.2 4.9 9.8 101 0.01 19.9 19.6 -92.2 26 51.8 419 28 69 4.8 -9.9 584.4 -22.1 38 0.4 6.4 58.8 57.1 117 3 5 6.8 -5.1 4,324.9 -82.7 96 3 55 16.1 -2.0 -29.6 -7.4 176 18 2 -12.1 -0.4 -61.2 67.3

1,050

77

154

2.6

-1.9

8.4

-22.4

* รวมการใชเพื่อเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

49


- การใชพลังงานภาคขนสงทางบก อยูท ร่ี ะดับ 13,149 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ�มขึ้นรอยละ 3.6 โดยเปนการเพิ�มขึ้นของการใชน้ำมันเบนซิน และดีเซล รอยละ 11.5 และรอยละ 4.9 ตามลำดับ ขณะที่การใช LPG และ NGV ลดลงรอยละ 16.0 และรอยละ 7.9 เน��องจากราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศที่ยังคงอยูในระดับต่ำตาม ราคาตลาดโลก ทำใหผูใชรถยนต LPG และ NGV บางสวนหันมาใชน้ำมันเบนซิน และดีเซลแทน

6. ถานหิน/ลิกไนต - การจัดหาลิกไนต/ถานหิน อยูท ร่ี ะดับ 9,080 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิม� ขึน้ รอยละ 4.3 โดยการผลิตลิกไนตเพิม� ขึน้ รอยละ 6.8 จากการเพิม� การผลิตของเหมือง แมเมาะของ กฟผ. ซึ�งคิดเปนสัดสวนรอยละ 95 ของการผลิตลิกไนต ในประเทศ และการนำเขาถานหินเพิ�มขึ้นรอยละ 3.5 - การใชลกิ ไนต/ถานหิน อยูท ร่ี ะดับ 8,990 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิม� ขึน้ รอยละ 1.8 ทั้งน�้การใชลิกไนตเพิ�มขึ้นรอยละ 8.2 จากการใชในการผลิตไฟฟาที่เพิ�มขึ้น ขณะที่การใชในภาคอุตสาหกรรมลดลง ดานการใชถานหินนำเขา เพิ�มขึ้นรอยละ 7.7 โดยเพิม� ขึน้ ทัง้ การใชในภาคการผลิตไฟฟาของ SPP และ IPP และการใชภาค อุตสาหกรรม

การผลิตและการใชลิกไนต/ถานหิน

หนวย : พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ

2558 การจัดหา การผลิตลิกไนต การไฟฟาฝายผลิตฯ เหมือนเอกชน การนำเขาถานหิน ความตองการ การใชลิกไนต ผลิตกระแสไฟฟา อุตสาหกรรม การใชถานหิน ผลิตกระแสไฟฟา (SPP และ IPP) อุตสาหกรรม

50

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

17,549 3,859 3,613 245 13,690 17,573 3,883 3,588 295 13,690

5,124 8,566

2558 8,706 1,961 1,816 145 6,745 8,834 1,969 1,808 161 6,866

2,410 4,456

2559 9,080 2,098 1,989 108 6,982 8,990 2,130 1,992 138 6,859

2,657 4,203

ม.ค. - มิ.ย. เปลี่ยนแปลง% สัดสวน (%) 4.3 6.8 100 9.0 95 -21.7 5 3.5 1.8 8.2 100 10.2 94 -14.0 6 7.7 100 10.2 39 61 6.4


7. ไฟฟา - กำลังผลิตในระบบไฟฟา ณ สิน้ เดือนมิถนุ ายน 2559 อยูท ร่ี ะดับ 41,097 เมกะวัตต เพิม� ขึน้ จากป 2558 จำนวน 2,282 เมกะวัตต เน��องจากโรงไฟฟาพลังน้ำเขื่อนแควนอยบำรุงแดน เครือ่ งที่ 1-2 และโรงไฟฟาพลังความรอนรวมพระนครเหน�อ ชุดที่ 2 เขาระบบในเดือนมกราคม โรงไฟฟาหงสา หนวยที่ 3 ของ สปป. ลาว เขาระบบในเดือนมีนาคม โรงไฟฟาขนอมหนวยที่ 4 เขาระบบในเดือนมิถนุ ายน ทดแทนหนวยที่ 2 และ 3 ทีป่ ลดจากระบบในเดือนเดียวกัน ตลอดจน มีโรงไฟฟา SPP เขาระบบเพิม� ขึน้ ทัง้ น�้ คิดเปนการผลิตติดตัง้ ของ กฟผ. รอยละ 40 รับซือ้ จาก IPP รอยละ 36 รับซือ้ จาก SPP รอยละ 14 และนำเขาจาก สปป.ลาว และแลกเปลีย่ นกับมาเลเซีย รอยละ 10 - การผลิตพลังงานไฟฟา อยูท จ่ี ำนวน 100,452 กิกะวัตตชว�ั โมง เพิม� ขึน้ รอยละ 5.3 โดยการ ผลิตไฟฟาจากเชือ้ เพลิงตางๆ เพิม� ขึน้ เกือบทุกชนิดเชือ้ เพลิง ทัง้ การผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ ถานหิน/ลิกไนต พลังงานหมุนเวียน และไฟฟานำเขา/แลกเปลีย่ น ขณะทีก่ ารผลิตไฟฟาจากพลังน้ำ ลดลงรอยละ 16.5 จากปริมาณน้ำในเขือ่ นทีเ่ หลือนอยเน�อ� งจากภาวะภัยแลงชวงตนป และการ ผลิตไฟฟาจากน้ำมันเตาและน้ำมันดีเซล ลดลงรอยละ 48.1

- ความตองการใชพลังไฟฟาสูงสุดสุทธิ (Peak) Peak ในระบบ กฟผ. ของป 2559 เกิดขึ้น เมื่อวันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2559 เวลา 22.28 น. ที่ระดับ 29,619 เมกะวัตต สูงกวา Peak ของปที่ผานมา ซึ�งเกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน 2558 เวลา 14.02 น. อยู 2,273 เมกะวัตต หรือเพิ�มขึ้นรอยละ 8.3

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

51


- การใชไฟฟา รวมทั้งสิ้น 91,544 กิกะวัตตชั�วโมง เพิ�มขึ้นรอยละ 6.3 โดยเพิ�มขึ้นใน ทุกสาขาเศรษฐกิจ ยกเวนการใชเพือ่ สูบน้ำในภาคเกษตรกรรมทีม่ กี ารใชไฟฟาลดลงรอยละ 31.4 เน��องจากภาวะภัยแลง ทั้งน�้การใชไฟฟาในภาคอุตสาหกรรม เพิ�มขึ้นรอยละ 3.1 จากการใชไฟฟาของกลุม อุตสาหกรรมขนาดใหญทเ่ี พิม� ขึน้ ภาคครัวเรือน เพิม� ขึน้ รอยละ 10.6 จากสภาพอากาศทีร่ อ นอบอาว ประกอบกับมีการแขงขันฟุตบอลชิงแชมปแหงชาติ ยุโรป สงผลใหมกี ารใชไฟฟาเพิม� ขึน้ ภาคธุรกิจ และกิจการขนาดเล็ก เพิม� ขึน้ รอยละ 7.7 และ 7.8 ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการทองเทีย่ ว องคกรทีไ่ มแสวงหากำไร เพิม� ขึน้ รอยละ 15.2 ไฟไมคดิ มูลคา เพิม� ขึน้ รอยละ 7.3 และสาขาเศรษฐกิจอืน่ ๆ เพิม� ขึน้ รอยละ 5.7

การใชไฟฟารายสาขา สาขา ครัวเรือน กิจการขนาดเล็ก ธุรกิจ อุตสาหกรรม องคกรที่ไมแสวงหากำไร เกษตรกรรม ไฟไมคิดมูลคา อื่นๆ รวม

หนวย : กิกะวัตตชั�วโมง

2558 41,286 19,768 33,219 74,773 179 387 2,743 2,478 174,833

2558 20,293 9,675 16,255 37,049 85 206 1,345 1,203 86,112

ม.ค. - มิ.ย. เปลี่ยนแปลง% สัดสวน (%) 2559 25 10.6 22,448 11 7.8 10,434 19 7.7 17,502 42 3.1 38,207 0.1 15.2 98 0.2 -31.4 142 2 7.3 1,443 1 5.7 1,271 100 6.3 91,544

- คาเอฟที ชวงเดือนมกราคม - เมษายน อยูที่อัตรา -4.80 สตางคตอหนวย และ ชวงเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม อยูที่อัตรา -33.29 สตางคตอหนวย ปรับลดลง 28.49 สตางคตอหนวย เน��องจากราคาเชื้อเพลิงอยูในระดับต่ำ ประกอบกับเงินบาทแข็งคาขึ้น ทำใหตนทุนในการผลิตไฟฟาลดลง

8. ฐานะกองทุนน้ำมันเช�้อเพลิง - ฐานะกองทุนน้ำมันเชือ้ เพลิง ชวง 6 เดือนแรกของป 2559 มีเงินภาษีสรรพสามิตและ ภาษีศลุ กากรสงเขากองทุนน้ำมันเชือ้ เพลิงทัง้ สิน้ 92,135 ลานบาท โดย ณ สิน้ เดือนมิถนุ ายน 2559 มีฐานะกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง 44,518 ลานบาท

52

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


10

ºÑÞÞÑµÔ »ÃСÒà »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ÊÓËÃѺàÂÒǪ¹ 1. µÑ¡ÍÒËÒà àÃÒ·Ò¹ãËŒËÁ´ 2. àÁ×èÍäÁ‹ãªŒª‹Ç¡ѹ» ´ä¿ 3. ª‹Ç¡ѹ¤¹ÅйԴ » ´¹éÓãˌʹԷ àÁ×èÍäÁ‹ãªŒ 4. à» ´·ÕÇÕ àÃÒ´Ù´ŒÇ¡ѹ 5. ¡ÃдÒɹÑé¹ à¢Õ¹¤ØŒÁ Êͧ˹ŒÒ 6. ·Ò§à´ÕÂǡѹ仴ŒÇ¡ѹ »ÃÐËÂÑ´¹éÓÁѹµÑé§àÂÍÐ 7. Å´áÍà ÊÑ¡¹Ô´ äÁ‹µŒÍ§µÔ´àÊ×é͡ѹ˹ÒÇ 8. ´Ô¹Êͧ͢àÃÒ ãªŒãËŒËÁ´á·‹§ 9. Âҧź àÃÒ㪌¨¹ËÁ´ 10. ¶×Ͷا¼ŒÒËÃ×ÍµÐ¡ÃŒÒ äÁ‹µŒÍ§§ŒÍ¶Ø§¾ÅÒʵԡ

ใบอนุญาตเลขที่ ปน.(น.)/3451 ปณศ. สามเสนใน ถาฝากสงในประเทศไมตองผนึกตราไปรษณ�ย

บริการธุรกิจตอบรับ

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถนนเพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

อส


แบบสอบถามความเห็น “วารสารนโยบายพลังงาน”

ฉบับที่ 115 สิงหาคม 2559 - กันยายน 2559 www.eppo.go.th คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน มีความประสงคจะสำรวจ ความคิดเห็นของทานผูอาน เพ�่อนำขอมูลมาใชประกอบการปรับปรุง วารสารนโยบายพลังงานใหดียิ�งข�้น ผูรวมแสดงความคิดเห็น 10 ทานแรกจะไดรับของที่ระลึกจากคณะทำงานฯ เพ�ยงแคทานตอบ

แบบสอบถามและเข�ยนชื่อ-ที่อยูตัวบรรจงใหชัดเจน สงไปที่ คณะทำงาน วารสารนโยบายพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุร� แขวงทุงพญาไท เขตราชเทว� กทม. 10400 หร�อโทรสาร 0 2612 1358

หากทานใดตองการสมัครสมาชิกวารสารฯ รูปแบบไฟล pdf สมัครไดที่ e-mail : eppojournal@gmail.com ชื่อ-นามสกุล…………………………………………………………….หนวยงาน……………………………………………………… อาชีพ/ตำแหนง……………………………………………………………………….. โทรศัพท……………………………………….. ที่อยู…………………………………………………………………………………………………………อีเมล………………………..

กรุณาทำเคร�่องหมาย ลงในชอง และเติมขอความ ที่สอดคลองกับความตองการของทานลงในชองวาง 1. ทานอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” จากที่ใด ที่ทำงาน/ หนวยงานที่สังกัด ที่บาน หนวยงานราชการ/สถานศึกษา หองสมุด www.eppo.go.th อื่นๆ 2. ทานอาน “วารสารนโยบาลพลังงาน” ในรูปแบบใด แบบรูปเลม ไฟล pdf ทางอีเมล E-Magazine 3. ทานอาน “ วารสารนโยบายพลังงาน” เพราะเหตุผลใด ขอมูลเปนประโยชนตอการทำงาน ขอมูลหาไดยากจากแหลงอื่น ขอมูลอยูในความสนใจ มีคนแนะนำใหอาน อื่นๆ……………………….. 4. ทานใชเวลาอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” กี่นาที 0-10 นาที 11-20 นาที 21-30 นาที 31-40 นาที 41-50 นาที 51-60 นาที มากกวา 60 นาที 5. ความพึงพอใจตอรูปแบบ “วารสารนโยบายพลังงาน” ปก

ความนาสนใจ สอดคลองกับเน�อ้ หา เน�อ้ หา ความนาสนใจ ตรงความตองการ นำไปใชประโยชนได ความทันสมัย ภาพประกอบ ความนาสนใจ สอดคลองกับเน�อ้ หา ทำใหเขาใจเน�อ้ เรือ่ งดีขน้ึ ขนาด สำนวนการเขียน ความเขาใจ ขนาดตัวอักษร เล็กไป รูปแบบตัวอักษร อานงาย การใชสี ขัดตา ขนาดรูปเลม เล็กไป

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก เล็กไป งาย พอดี อานยาก สบายตา พอดี

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง พอดี ยาก

นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย ใหญไป ไมเขาใจ ใหญไป ใหญไป

6. ความพึงพอใจภาพรวมของ “วารสารนโยบายพลังงาน” มาก ปานกลาง นอย 7. ระยะเวลาการเผยแพร “วารสารนโยบายพลังงาน” ที่ทานตองการ ราย 1 เดือน ราย 2 เดือน ราย 3 เดือน

8. ทานเคยอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” บนเว็บไซต ของสำนักงานหรือไม เคย ไมเคย 9. ทานสนใจรับ “วารสารนโยบายพลังงาน” รูปแบบใด แบบเลม(สงไปรษณ�ย) แบบไฟล pdf (สงอีเมล) แบบ E-Magazine (อานทางเว็บไซต) 10. ทานสนใจรับไฟลวารสารทางอีเมลหรือไม สนใจ (โปรดกรอกอีเมล………………………………..) ไมสนใจ 11. ทานมีเพื่อนที่สนใจรับไฟลวารสารทางอีเมลหรือไม มี (โปรดกรอกอีเมล……………………………………) ไมมี 12. คอลัมนภายใน “วารสารนโยบายพลังงาน” ทีท่ า นชืน่ ชอบ (โปรดทำเครือ่ งหมาย ) ประเด็น

สรุปขาวพลังงานตามไตรมาส กิจกรรมภาพเปนขาว สัมภาษณรองชวลิต การอนุรกั ษพลังงานการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด สถานการณราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ทิศทางพลังงานเกาหลีและไทย สถานการณพลังงานในชวง 6 เดือนแรก

มาก ปานกลาง นอย

13. “วารสารนโยบายพลังงาน” มีประโยชนอยางไร ประเด็น

มาก ปานกลาง นอย

ทำใหรูและเขาใจเรื่องพลังงาน ทำใหรูสถานการณพลังงาน นำไปใชในชีวิตประจำวันได ไดความรูรอบตัว อื่นๆ …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………..

14. ทานตองการให “วารสารนโยบายพลังงาน” เพิม� คอลัมนเกีย่ วกับอะไรบาง

……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

15. ขอเสนอแนะเพิม� เติม

……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

ขอขอบคุณทุกทานที่ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น


รวมเลนเกม

รอบรูพลังงาน

LNG คืออะไร รูคำตอบแลวรีบสงมา

แกวสตารบัค

รอคุณอยู

คำตอบ ชื่อ-นามสกุล …………………………………………………………………………………………………………….. ที่อยู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………. โทรศัพท ………………………… โทรสาร …………………… Email ………………………………………………. สงคำตอบพรอมชื่อ-ที่อยู และ เบอรโทรศัพท (ตัวบรรจง) มาที่ โทรสาร 02 118 0661 หรือ บริษทั ดรีมเวิรค แอดเวอรไทซิง� จำกัด 111/18 หมูบ า นธาราดี ถ.ราชพฤกษ ต.บางรักนอย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 วงเล็บมุมซองวา เกมพลังงาน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.