SCOOP
นางเอมอร ชีพสุมล
รองผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
ผูเ ขาใจและเขาถึงศาสตรและศิลป แหงการบร�หารงานและบร�หารคน ตำแหน งป จจ�บัน
รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการทั�วไป) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ประวัติการทำงาน
ป พ.ศ. 2551-2554 รับราชการในตำแหน�ง ผูอำนวยการกองนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2554 ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน การวางแผนยุทธศาสตรพลังงาน (นักวิเคราะหนโยบายและแผนเชีย่ วชาญ) สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2554-2556 ผูอำนวยการศูนยพยากรณ และสารสนเทศพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2556-2558 ผูอำนวยการสำนักบริหารกลาง สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 10 กันยายน 2558 - 30 กันยายน 2560 ดำรงตำแหน�งรองผูอำนวยการ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
6
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
เสียงหัวเราะ และรอยยิ�ม ที่ไดสัมผัสทุกครั้งในการกลาวทักทายจากพ�่คิ�ม เปนเสียงที่คน สนพ. คุนเคย และเปนเสมือน แรงบันดาลใจใหกับพ�่นองชาวสนพ. กาวสูองคกรรูปแบบสุขภาวะ ความสุขที่เกิดข�้นระหวางงานเกิดข�้นไดทุกเมื่อ อยูที่มุมมอง และการเลือกเก็บเกี่ยว เธอคนนี้สรางประสบการณ ใหมในการทำงานในรูปแบบของน้ำคำและน้ำใจ สามารถสรางสรรคทกุ สิง� ทีด่ งี ามข�น้ ไดเสมอ ประตูหอ งทำงานของพ�ค่ ม�ิ ไมเคยปด เปดตอนรับใหทกุ ความทุกขและความสุข ไดมาแลกเปลี่ยนกันทุกเมื่อ กวา 38 ป ของเธอคนนี้บนเสนทางของความภูมิใจที่ไดเปนสวนหนึ่งของคนพลังงานที่ใช วาใครจะเปนไดทุกคน
ก าวแรกสู คนพลังงาน ส งผ าน DNA ที่ทุ มเทและตั้งใจ เริม� ไดเขามาเปนสวนหนึง� ของกระทรวงพลังงาน ในสวนของสำนักงาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ เมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2536 จนกระทั�งไดมีการจัดตั้งกระทรวงพลังงานในป 2545 เปลี่ยนชื่อ หน�วยงานเปนสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานในขณะไดรับ ทำหนาที่ในสวนการบริหารงานบุคคล รวมถึงงานในสำนักงาน เลขานุการกรม และไดหมุนเวียนทำงานในกองตางๆ เรื่อยมา มีการเรียนรู สั�งสมประสบการณมาโดยตลอด การเปลี่ยนแปลง ไมใชปญหา งานทุกอยางมีความยากงาย มีความเรงดวนของ
ปญหาตางกัน แตหากเราทำงานดวยความตั้งใจ พรอมจะเรียนรู ทั้งภาพลึก และภาพกวาง ทำงานดวยความรวมมือรวมใจ งานยาก งานหนักก็จะผานมันไปได ลักษณะการทำงานของคนที่น�จากรุน สูรุน เรียกวา DNA ของคนองคกรน�้คือ ทำงานอยางตั้งใจ ทุมเท เต็มที่มาโดยตลอด ไมเคยเปลี่ยนอยูแลว วัฒนธรรมเราเปนแบบนั้น เบอร 1 ของที่น�ในตอนนั้น ทานเลขาธิการ ทำงานแบบเต็มรอย ทุกคำถามมีคำตอบ เราเชื่อมั�นในผูนำ จึงสงผานวัฒนธรรมน�้ รุนตอรุนนับแตนั้นมา
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
7
“ทุกคนตางมีวถ� ขี องตัวเอง มีรปู แบบการจัดการในแบบ ของตน เพ�ยงแคขอใหมงุ มัน่ ตัง้ ใจ สุจร�ต ถามตัวเองวา สิง� ทีท่ ำนัน้ ถูกตองหร�อยัง หากคิดดี ทำดีแลว ก็ทำตอไป บนพ�น้ ฐานของความสุจร�ต ขางหนาไมรวู า เปนอยางไร ขอแคทำวันนี้ใหดที ส่ี ดุ ”
น้ำเง�นไม สำคัญเท า น้ำใจ น้ำคำ การทำงานทุกอยางอยูบนพื้นฐานกับการสื่อสารกับคน ดวยเปน คนที่ชอบพบปะผูคน ไดพูดคุย จึงชวยใหมีสวนที่ทำใหงานราบรื่น คิดวางานทุกอยางถาเราไดคุย ก็จะไมมีปญหา ถาสงสัยของใจ หากไดสอบถามพูดคุย ก็จะเขาใจกันมากขึ้น งานทุกอยางเกิด ปญหาขึ้นไดเสมอ แตหากเพียงเราคุยกันได ปญหาก็จะจบได โดยงาย เราทุกคนแตกตางกันได แตตองเปดโอกาสรับฟงความ คิดเห็นซึ�งกันและกัน บนหลักการและเหตุผลโดยเฉพาะงาน HR หากทุกคนสามารถสรางสัมพันธภาพทีด่ ตี อ กันใหเกิดขึน้ ได บรรยากาศ ในการทำงานมันก็จะงายขึ้น น้ำคำ และน้ำใจ ที่หยิบยื่นใหผูอื่นนั้น เปนเรื่องสำคัญ เจอกันทุกวันพูดแตสิ�งดีๆ มีน้ำใจใหกัน ยิ้มใหกัน คือเราสรางมิตร 1 คน ดีกวาสรางศัตรู ดังนั้นน้ำเงินยังไมสำคัญ เทาน้ำใจและน้ำคำ แมแคเพียงคำทักทาย ก็สรางความรูสึกดีๆ ใหเกิดขึ้นแลว งาน ตาง ๆ ก็จะชวยลดปญหาและอุปสรรคลงได ไมวาคนรุนใหมหรือรุนเกา ก็ตามเชื่อวา ถาเราสงสัญญาณบวก ใหเขา เขาจะรับไดทันที ชองวางระหวาง Gen ไมเคยเกิดขึ้น งานทุกอยางก็จะประสานงานไดงาย
8
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
สุขในงาน สู องค กรสุขภาวะ เรามีแนวคิดในการทำงานทีม่ งุ เนน การสรางความสุขในการทำงาน อะไรทีเ่ ปนสาเหตุของความคับของใจ อันจะกอใหเกิดปญหาความเครียด เกิดความขัดแยง เราจึงควรวางแนวทางแบบแผนรองรับอยางเปน รูปแบบ มีการบริหารงานที่มุงเนนในเรื่องความสุขของคนในองคกร เน��องจากเราใชเวลาในที่ทำงานไมนอยกวาสาม ในสี่ของแตละวัน หากเราตองการมีคณุ ภาพชีวติ ในการทำงานทีเ่ ปนสุข ก็ตอ งทำองคกร เปนองคกร สุขภาวะ : Healthy Organization ซึ�งประกอบดวย
• การเปนผูบริหารตนแบบที่ดีผูบริหารจะตองกลาคิดกลาตัดสินใจ กลารับผิดชอบ แสวงหาความรูเพิ�มเติมอยางสม่ำเสมอ รูจักใชคน ใหเหมาะสมกับงานโดยไมลำเอียง จะตองประพฤติปฏิบัติตนเปน แบบอยางที่ดี
• การแบงหนาที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน คนในองคกรทุกคน รูวาตัวเองรับผิดชอบเรื่องอะไร ควรปรับโครงสรางองคกรและ กระบวนการปฏิบัติงานใหมีความสับสนนอยที่สุด
• การประเมินผลงานตองเชือ่ มโยงกับผลตอบแทน ตองมีการกำหนด
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีแผนทางกาวหนา และแผนการ สืบทอดตำแหน�ง มีการประเมินผลอยางโปรงใส และเปนธรรม
• การคิดตางอยางสรางสรรค เปดโอกาสใหทุกคนในองคกรได
คิดริเริ�ม นำเสนอ เปดรับฟงแนวคิดใหมๆ เปดใจเรียนรูจากผูอื่น มีความยืดหยุน เห็นตางไดบนหลักการและเหตุผล
• การสรางความสำนึกเปนองคกรของคนดี องคกรตองพัฒนา
ใหขาราชการเปนคนดี มีความซื่อสัตยสุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ตองสรางกิจกรรมเพื่อปลูกฝง อุดมการณ และปรัชญา การเปนขาราชการที่มีเกียรติและศักดิ์ศรี ทั้งน�้ การสรางองคกรสุขภาวะดังกลาวขางตน มุงเนนในเรื่องของ การสรางสำนึกที่ดีในการอยูรวมกันภายในองคกร และการสราง ความสุขในการทำงานเปนสำคัญ เมื่อคนในองคกรมีความสุขใน การทำงาน เห็นคุณคาและประโยชนที่เกิดจากการทำงาน ก็จะ สรางสรรคงานที่มีคุณประโยชนแกตนเอง สังคม และประเทศชาติ
ความภูมิใจในฐานะคนพลังงาน งานที่เราทำมันเปลี่ยนแปลงโลกได จับตองได แตละโครงการถึงมือ ประชาชนจริง อาทิ โครงการที่เพิ�งไปสัมผัสมาอยางโครงการ กองทุนดานการสูบน้ำชวยภัยแลงดวยพลังงานแสงอาทิตย หรือ solar cell จากที่สูบได10 คิว เปน 30 คิว เราเห็นเราภูมิใจมาก ประชาชนไดประโยชนจริงๆ ภาคพลังงานน��สำคัญมีผลกระทบตอ หลายภาคสวน คนทำงานดานน�ต้ อ งรอบคอบ คิดรอบดานใหมากทีส่ ดุ ทุกอยางละเอียดออน จึงตองทำดวยความตั้งใจ เพราะไมใชใคร จะมาอยูตรงจุดน�้ไดงาย ภูมิใจที่ไดเปนหนึ�งจุดเล็กๆ ที่สรางสิ�งดีๆ เพื่อสังคม เพื่อประเทศชาติจากการไดพูดคุยกับผูหญิงคิดบวก ของสนพ. “พีค่ ม้ิ ” ของเราเชือ่ วาหลายคนคงมองเห็นปญหาเล็กลง ไดอยางที่พี่คิ้มกลาวไว เพียงแคไดพูดคุย เปดรับฟงความเห็น ซึ�งกันและกัน มอบน้ำคำ และน้ำใจที่ดีตอกัน ความสุขเกิดขึ้นได เสมอ ทุกปญหาก็จบลงได แมเวลาของบทบาทหนาที่ของพี่คิ้ม กำลังจะจบลง แตรองรอย แหงสิ�งดีงามที่พี่ฝากไวใหกับ สนพ. คงย้ำเตือนใหนองๆ ไดตระหนักถึงความสุขที่ไมอาจซื้อไดดวยเงิน ปญหาไมใชสิ�งที่หนักเกินไป แคเปดใจเขาหากันทุกความทรงจำดีๆ จะคงอยูในใจของ พวกเราเสมอ…
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
9
นางสาวจิ ร ะภาพร ไหลมา ผูอำนวยการศูนยพยากรณและสารสนเทศพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
ผูฝ ากแรงบันดาลใจในการสรางงาน สูความสำเร็จอยางไมยอทอ ตำแหน งป จจ�บัน ผูอำนวยการศูนยพยากรณและสารสนเทศพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ประวัติการศึกษา ปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาสถิติ ปริญญาโทจาก Florida Institute of Technology สหรัฐอเมริกา สาขา Operation Research ประวัติการทำงาน ป พ.ศ. 2524 เริม� รับราชการทีส่ ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี ตำแหน�งเจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 3 ป พ.ศ. 2538 ยายมารับราชการทีส่ ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแหงชาติ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี ตำแหน�ง เจาหนาทีว่ เิ คราะหนโยบายและแผน 5 ฝายวิเคราะหและ ประมาณการพลังงาน ป พ.ศ. 2544 ดำรงตำแหน�งหัวหนาฝายนโยบายและ แผนพลังงาน ป พ.ศ. 2546 เมือ่ ปรับโครงสรางกระทรวงพลังงาน ดำรง ตำแหน�งหัวหนาสวนยุทธศาสตรนโยบายและแผนสำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2551 ดำรงตำแหน�งผูอำนวยการกลุมบริหาร ยุทธศาสตรพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2554 ดำรงตำแหน�งผูอ ำนวยการกองนโยบายและ แผนพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ป พ.ศ. 2557 จนเกษียนอายุราชการ ดำรงตำแหน�ง ผูอ ำนวยการศูนยพยากรณและสารสนเทศพลังงาน สำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน ประสบการณ การทำงาน เปนหัวหนากลุม ผูป ระสานงานหลักในสวนฝายเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ และคณะกรรมการ บริหารนโยบายพลังงาน กำกับดูแลและวิเคราะหโครงการในสวนกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ชวงป 2551-2557 กำกับดูแลนโยบายพลังงานกับสิง� แวดลอมโดยเปนกรรมการ ในคณะกรรมการผูชำนาญการดานโครงการพลังงาน (EIA) ของสำนักงานนโยบายและแผนสิ�งแวดลอม
10
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
กำกับดูแลนโยบายพลังงานเกีย่ วของกับขอตกลงระหวางประเทศ ดานสิง� แวดลอม อาทิ แผนปฏิบตั กิ าร 21 และ โครงการ CDM เปนผูประสานงานหลักของกระทรวงพลังงานในการดำเนินงาน ดานพลังงานภายใตกรอบความรวมมือ BIMSTEC ชวงป 2546-2553 เปนผูป ระสานงานหลักของกระทรวงพลังงานในดำเนินงานพลังงาน กับภาวะโลกรอน ภายใตอนุสัญญาวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศของโลก (UNFCC) เปนผูแ ทนของประเทศไทยในคณะกรรมการพยากรณดา นพลังงาน ของโลก ภายใตควารวมมือองคการพลังงานโลก (World Energy Council) เปนเลขานุการคณะกรรมการจัดเตรียมความพรอมการจัดตั้ง โรงไฟฟานิวเคลียรของประเทศไทย เปนคณะกรรมการกำกับดานวิชาการโครงการพัฒนาระบบจัดเก็บ และรวบรวมขอมูลกาซเรือนกระจกของประเทศไทย ระยะที่ 2 เปนคณะกรรมการในคณะกรรมการประสานนโยบายและการ ดำเนินงานดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการขนสง ที่ยั�งยืน เปนคณะกรรมการในคณะกรรมการดานการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ภาคการบินเปนคณะกรรมการในคณะกรรมการ โครงการ ความรวมมือไทย-เยอรมันการปรับปรุงประสิทธิภาพ การใชพลังงานและการบรรเทาผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศในภาคขนสงทางบกของภูมภิ าคอาเซียน ระยะที่ 2 เปนคณะอนุกรรมการพยากรณและจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิต ไฟฟาของประเทศ เปนคณะกรรมการในคณะอนุกรรมการการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศดานการประสานทาทีเจรจาและความรวมมือระหวาง ประเทศ เปนคณะกรรมการในคณะอนุกรรมการจัดทำรายงานสถานการณ คุณภาพสิ�งแวดลอมของประเทศไทย เปนทำงานจัดทำคาพยากรณความตองการไฟฟา
จ�ดเร��มต นแห งการเร�ยนรู หากมองยอนกลับไปในวันแรกเขารับราชการที่สภาพัฒนฯ จาก ขาราชการที่ทำงานดานการคาดการณดานประชากรศาสตร สูการ เปลีย่ นแปลงของบทบาทหนาทีค่ รัง้ สำคัญในชีวติ โดยมีทา นปยะสวัสดิ์ เปนผูชักชวนใหมาทำงานที่น� แตเดิมใชชื่อสำนักงานคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) ถือเปนการเปลี่ยนแปลงอยางมาก จากที่เคยทำงานเชิงสังคมตองผันสูการทำงานในเชิงเศรษฐกิจทำให ตองเริม� ตัง้ ตนวาจะตองศึกษาหาขอมูลใหมทง้ั หมด จะทำอยางไรรูส กึ ยาก ทุกทีที่มีการเปลี่ยนแปลงแน�นอนวาเราตองเริ�มหาขอมูลใหมทักษะ การทำงานดานสถิติยังคงไดนำมาใช แตที่สำคัญบทบาทภาระหนาที่ ในบริบทที่เปลี่ยนไปทำใหเราตองเผชิญกับการรับมือเพื่อใหงานที่ ไดรับความไววางใจออกมาไดดีที่สุด จึงเริ�มเก็บขอมูลทุกอยางทั้งที่ อยูต รงหนาเราและขอมูลรอบดาน โดยการทำงานไมเพียงแคมองดาน หนาเราดานเดียวตองมองใหรอบ รูใหรอบ อาทิ อนุรักษพลังงาน ปโตรเลียม ไฟฟา จึงตองเรียนรูงานในสวนของหนาที่อื่นๆ วาทำ อะไรกันบาง ทั้งในและตางประเทศ พลังงานในยุคนั้นองคความรู สวนใหญมาจากตางประเทศ ความยากเริ�มเขามาทาทายเราอีก งานที่เคยทำมานั้นไมเคยมีสวนเกี่ยวกับภาษาเลย พอทำที่น�ตอง ดูเรื่องความรวมมืออาเซียน เอเปค มาทำงานดานความรวมมือ ตางประเทศ ภาษาอังกฤษสำคัญมากทั้งการพูด การฟง การอาน ทำให รูวาภาษานั้นจำเปนอยางมากจนในที่สุดดานอุปสรรคทั้งหลาย ก็ผานไปได อุปสรรคแรกอาศัยการเรียนรูจากคนรอบขาง เมื่อกอน สนพ. อยูก นั เหมือนพีเ่ หมือนนอง ลำบากมาดวยกัน มีกนั ไมกค่ี น เกิดการเรียนรูจากการไดชวยงานกันจุดนั้นเองที่เราไดรับองคความรู ทุกอยางเขามาโดยไมรตู วั จากความสัมพันธทเ่ี กือ้ กูลกันนัน� เอง อุปสรรค ตอมาดานภาษา การขวนขวายหาความรูเพิ�มเติมในสิ�งที่เราไมถนัด เทานั้นที่ทำใหเราผานไปได จึงตัดสินใจไปศึกษาตอปริญญาโทที่ สหรัฐอเมริกา และเราก็ผานบททดสอบเหลาน�้ไปไดดวยดี
เสนทางที่ยาวนานของผูหญิงตัวเล็กๆ คนหนึ่ง ผูซึ่ง ไมมีคำวา “ทำไม ได” ทุกบทบาท ทุกหนาที่ เธอคนนี้ ใชพลังใจและพลังสติปญญา และความมานะเพ�่อให ไดมาซึ่งความสำเร็จแบบ 100% และวันนี้เธอภูมิใจที่ ฝากแรงบันดาลใจในการทำงาน และผลงานทีข่ บั เคลือ่ น พันธกิจขององคกรสนพ. ใหเปนเสมือนหัวรถจักรทาง พลังงาน นำพาคุณภาพชีว�ตประชาชนคนไทยใหกาว ไปในอนาคตที่สดใสตอไป มุมมอง แงคิด ที่ ไดพ�ดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณดวยกัน ในวารสารฉบับนี้ เชื่อวาอีกหลายทานคงจะไดเร�ยนรู ยิ�มใหกับบทเร�ยนดีๆ “พ�่แหมม” ฝากไว ไปพรอมกัน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
11
สุดทาย ในพ�น้ ทีบ่ า น สนพ. แหงนี้ มีความประทับใจ และเร�อ่ งราวมากมาย ที่ ไมมวี นั ลืมเลือน ความเปนพ�เ่ ปนนอง ไมวา ผานมากีย่ คุ กีส่ มัยก็ยงั คงอยู และจะอยูในใจตลอดไป….
ทำหน าที่ของตนเองให ดีที่สุดไม ว าอะไรจะเกิดข�้น เมื่อกลับมาทำงานในป 2540 เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงขององคกร องคกรขยายขึ้นมีคนรุนใหมเขามาทำงานมากขึ้น มีการกอตั้งองคกร กำกับกิจการพลังงาน คนรุนเกาๆ ก็ไดยายไปดูแลในสวนน�้เกือบหมด เหลือแตคนใหม เห็นในความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมองคกร คนมากขึ้น ความแตกตางมากขึ้น แขงขันกันมากขึ้น แน�นอนวา ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เราตองปรับตัว ไมสนใจสิ�งรอบขางที่จะ มากระทบเรา สนใจในหนาที่ของตน ทำหนาที่ของตนเองใหดีที่สุด ความสุขเกิดขึ้นเมื่องานสำเร็จ 100% งานทุกงานต องอาศัยหลักการเกื้อกูลกัน พันธมิตรคือสิ�งสำคัญ หลักในการทำงานงายๆ คือ ตองมีเปาหมายชัดเจน โดยทั้งน�้ตอง ไมเดือดรอนคนอื่น แตการสรางพันธมิตรตางหากเปนสิ�งสำคัญ การทำงานที่เกื้อกูลกัน เราหยิบยื่นความชวยเหลือใหผูอื่นเสมอ ถึงไมไดในขณะน�แ้ ตไมนง�ิ นอนใจทีจ่ ะชวยเหลือคนอืน่ สุดความสามารถ เมื่อเขาเห็นความจริงใจของเราที่คิดจะชวยเหลือ เมื่อใดที่เราตองการ ความชวยเหลือ คนอื่นมักจะไมเคยปฏิเสธ เราไดสรางมิตรภาพที่ ดีงามอยางตอเน��อง ไมตองเสแสรงมันออกมาจากความตั้งใจ สิ�งที่ได คือ งานในภาพรวมออกมาสำเร็จ ทุกคนมีความสุข ทำงานด านพลังงาน ต องมองให ไกลกว าประชาชน หนาที่ที่เราอยูตรงน�้ คือ คิดนโยบาย วางแผน ผลลัพธสุดทายคือ
12
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
ประชาชน ดังนัน้ เราจึงตองรอบรู มีการศึกษาคนควา และวางแผน ใหถวนถี่ ใครถามอะไรมาเราตองตอบได ตองมองใหไกลกวา ประชาชน ไมอยางนั้นกำหนดแผนและนโยบายไมได ประชาชนตอง ไดประโยชน สูงสุด การทำงานพลังงานเปนเรื่องละเอียดออน ตอง รอบคอบทุกคำ ทุกตัวเลข ทุกตัวอักษร ตองแมนยำ ถึงจะสราง ความชัดเจนใหประชาชนไดเชื่อมันในความมั�นคงทางพลังงงาน ของประเทศตอไป Big Data คือ ก าวที่ต องให ความสำคัญในขณะนี้ ปจจุบันการทำงานตองเชื่อมโยงขอมูลถึงกันหมด ระบบขอมูลจะ เปนระบบสำคัญของประเทศ ตองเอาระบบดิจิตอลเขามาใชใหเกิด ประโยชนสูงสุดในทุกสวน เชื่อมโยง อุปกรณ องคความรู บุคลากร ใหมีประสิทธิภาพ ตองสรางเปน Big data เก็บไวไมใชแคขอมูล ของหน�วยงานแตเพียงสวนเดียว แตเปนขอมูลภาพรวมทั้งหมด ตรงน�้สำคัญมาก จึงอยากฝากรุนตอไปใหคำนึงถึงสวนน�้ดวย ชีวต� ราชการ ชีวต� ทีม่ เี กียรติ จ�งต องซือ่ สัตย เพ�อ่ รับใช แผ นดิน พลังที่เราทุมเททั้งหมด งานที่ดำเนินไประหวางทาง อาจตองเจอ อุปสรรคบาง แตเราจะผานพนไปดวยดี ดวยความตั้งใจ เคารพและ ใหเกียรติทุกคนที่ทำงานรวมกัน เปดใจเรียนรูสิ�งใหมๆ เพื่อพัฒนา งานที่ไดรับมอบหมายใหเกิดประโยชนที่สุด บนพื้นฐานของความ ซื่อสัตย ใหสมกับเกียรติของคนรับราชการ ผูรับใชแผนดินฝากให นองๆ รุนหลัง ขอใหมีหัวใจบริการ ขาราชการไมใชคนสั�ง แตเปน คนบริการประชาชน ตองมี service mind
มุทิตาจ�ต แด "พ�่ค้ิม" คุณเอมอร ชีพสุมล ในชีวิตการทำงานของขาราชการ สำหรับ คุณเอมอร ชีพสุมล ที่ผมมักจะเรียกติดปากวา พีค่ ม้ิ ของพีๆ่ นองๆ ชาว สนพ. ตลอดระยะเวลาในการทีร่ บั ราชการและชีวติ ในการทำงาน ของพีค่ ม้ิ นัน้ พีค่ ม้ิ ไดรว มคิด รวมทำ รวมสราง อุทศิ เวลา ทุม เทในการทำงานของ ทางราชการใหกบั สนพ. มาอยางยาวนาน ซึง� ผมคิดวา พีค่ ม้ิ เปนผูม คี วามรู ยุตธิ รรม อุทศิ ตน ดวยความวิรยิ ะอุตสาหะ มีความรับผิดชอบ เปนเจานายทีล่ กู นองควร เอาเปนแบบอยาง ซึง� การเกษียณ อายุราชการเปนการพนจากการทำหนาที่ และความรับผิดชอบในราชการเทานัน้ แตภาระหนาที่ ทีพ่ ค่ี ม้ิ ไดสง�ั สมมา อยางยาวนัน้ ผมมัน� ใจวาพีค่ ม้ิ สามารถนำประสบการณ มาทำคุณประโยชน ใหกบั ประเทศชาติไดอีก โอกาสน�ผ้ มจึงขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัยและสิง� ศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั หลาย ในสากลโลก ตลอดจนผลแหงคุณงามความดีทท่ี า นไดสง�ั สมมาตลอดชีวติ ราชการ จงดลบันดาลให พีค่ ม้ิ ดำรงชีวติ หลังเกษียณอยางมีความสุข รมเย็นมีสขุ ภาพพลานามัยทีส่ มบูรณแข็งแรง เปนรมโพธิร์ ม ไทร ใหสังคม และประเทศชาติตอไป
มุทติ าจ�ต แด "พ�แ่ หม ม" คุณจ�ระภาพร ไหลมา การเปนขาราชการ โดยเฉพาะขาราชการที่มีภารกิจสำคัญในการดูแล ประเทศชาติถอื วาเปนผูท ม่ี ภี ารกิจทีส่ ำคัญและยิง� ใหญ คุณจิระภาพร หรือ พีแ่ หมม ก็ผานชวงเวลานั้นมาตลอดอายุการรับราชการ เพราะตองอุทิศเวลา ทุมเท ในการทำงาน ถึงแมพแ่ี หมม จะมีรปู รางเล็ก แตภารกิจงานของพีแ่ หมมนัน้ เรียกไดวา ใหญระดับชาติเสมอ เพราะพีแ่ หมมเปนผูด แู ลขอมูลดานพลังงาน และรวมถึงขอมูลที่ตอโยงไปถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือภาวะโลกรอน ดวยภารกิจดังกลาวจะตองมีการทำงานที่หลากหลาย ประสานงานแนวนโยบายรอบดานโดยสวนตัวผมมั�นใจวาพี่แหมม ได ปฏิบตั งิ านงานระหวางการรับราชการที่ สนพ. ไดอยางสมบูรณแบบทีส่ ดุ บัดน�้ พี่แหมมก็จะไดเวลาที่จะเปน "บทใหมของชีวิต" ที่จะไดพักใจ พักกาย ผมขอชื่นชมและภาคภูมิใจในพี่แหมม ที่ไดมีโอกาสทำงานรวมกัน และ ขออำนาจแหงพระศรีรัตนตรัย ตลอดจนสิ�งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ไดโปรด ดลบันดาลใหพี่แหมมไดพบแตสิ�งดีงาม มีสุขภาพกายที่แข็งแรง มีความสุข สมความปรารถนาในสิ�งที่หวังทุกประการนะครับ
ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผู อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
13
เน��องในวาระเกษียณอายุ ราชการของพี่สาวทั้งสองทาน การไดทำงานจนครบเกษียณ อายุราชการนั้น นับเปนเกียรติ ประวัติของ บุคคลที่รับราชการ เมือ่ สิน้ สุดระยะเวลาปฏิบตั ริ าชการ ถือวาทาน ไดบรรลุภารกิจการ ปฏิบตั ริ าชการของทานแลว ตลอด ระยะเวลาทีผ่ า นมาทานรอง เอมอร ชีพสุมล และผูอ ำนวยการศูนย จิระภาพร ไหลมา ไดปฏิบตั หิ นาที่ และสรางผลงานที่มีประโยชนแก สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เปนอยางมาก
มุทิตาจ�ต… แด ผู เกษียณอายุราชการ รองผู อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (คุณเอมอร ชีพสุมล)
ผมรูสึกโชคดีที่ไดมีโอกาสรวมงานกับทานรองฯ เอมอร มาก ตลอดเวลาที่ผมเขามาทำงานที่ สนพ. ไดรับความโอบออมอารีย ความชวยเหลือ เกื้อกูล ตลอดจนคำแนะนำที่เปนประโยชน นอกจาก ตัวผมแลว ผมเชื่อวา ทานรองฯ เอมอร (หรือพี่คิ้ม) เปนแบบอยาง ทีด่ ขี องขาราชการและเจาหนาที่ี สนพ. ในการทำงานทีอ่ ทุ ศิ ตนคงใน หลักการ มุงเนน ประโยชนสวนรวมและประเทศชาติเปนสำคัญ อีกทั้ง ทานยังเปนผูมี จริยธรรม คุณธรรม อันสูงสงเปนที่ประจักษ ซึ�งเรา จะเห็นไดจาก การบริหาร การปกครอง การตัดสินใจที่ตรงไปตรงมา ยึดมั�นตาม ระเบียบแบบแผน ที่ดีงามตลอดมา ขอใชโอกาสน�้ขอบคุณพี่คิ้ม ที่เสมือนเสาหลักของ สนพ. มา ตลอด 25 ป และขอใหพค่ี ม้ิ สุขภาพแข็งแรง สดใส มีความสุขตลอดไป ผู อำนวยการศูนย พยากรณ และสารสนเทศพลังงาน (คุณจ�ระภาพร ไหลมา)
ผมไดรูจักและรวมงานกับพี่แหมม จิระภาพร มานานตั้งแต สมัยที่ผมทำงานที่กองแผนงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน ซึ�งขณะนั้นพี่แหมมเปนผูอำนวยการกองนโยบาย และแผนพลังงาน พี่แหมมเปนคนที่มีมาตรฐานการทำงานสูง เปนคน ที่มีระเบียบมีหลักการ มีความมุงมั�นตั้งใจในการทำงานในหนาที่ นอกจากน�้พี่แหมมยังบริหารงานและบริหารคนที่เปนระบบ แตเต็ม ไปดวยความเปนกันเอง ทานสอนงาน และเปดโอกาส และสนับสนุน ผูใตบังคับบัญชาอยางเต็มที่ ในวาระที่พี่แหมมถึงวัยเกษียณอายุราชการน�้ ผมขอขอบคุณ พี่แหมมที่อุทิศตนทำงานอยางสุดความสามารถ เปนที่พึ�งและเปน แบบอยางใหแกนอง ๆ ที่ สนพ. มาโดยตลอด ขอบคุณครับ นายประเสริฐ สินสุขประเสริฐ รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
14
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
ในโอกาสน�้ ขออำนาจสิ�งศักดิ์สิทธิ์ที่ทานเคารพนับถือดลบันดาล ใหพี่ทั้งสองทาน มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ มีความสุข สำเร็จในสิ�งที่มุงหวัง และกลับมาเยี่ยมนองๆ ชาว สนพ. บางนะคะ นางสาวสมศรี แกวนุกูลกิจ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการวางแผนยุทธศาสตรพลังงาน
ผมและพี่คิ้ม (คุณเอมอร) พี่แหมม (คุณจิระภาพร) ถือวาเปนลูกหมอ รุนแรกๆ ของสำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) เลยก็วาได ตั้งแตหน�วยงานกอตั้งขึ้นมาในป 2535 จากเดิมคือ สำนักงานคณะ กรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี จนถึงป 2545 เมื่อรัฐบาลไดรวม หน�วยงานดานพลังงานมาอยูดวยกัน เปนกระทรวงพลังงาน สพช. จึงได ปรับเปลี่ยนองคกรเปน สนพ. ภายใตกระทรวงพลังงานจนถึงปจจุบัน ผมและพี่ๆ ทั้งสองไดทำงานรวมกันมา ผานรอนผานหนาวมาดวยกัน จนถึงปจจุบันเกือบ 25 ปเทากับอายุราชการของผม พี่คิ้มเปนคน น�ารัก คุยสนุก เสียงดัง พูดเร็ว ซึ�งจัดวาเปนเอกลักษณอันโดดเดน ทีย่ ากจะหาคน สนพ. เลียนแบบได สวนพีแ่ หมมจัดวาเปนนักวิชาการจา จบปริญญาโทจากตางประเทศ ตัวเล็ก ใจนักเลง หนาตาอาจจะดูดุ นิดนึง แตใจดี ผมวา สนพ. โชคดีมากๆ ที่มีขาราชการที่ดีที่ทำ ประโยชนใหแกประเทศชาติอยางพี่ๆ ทั้งสอง สมควรที่ขาราชการ รุน หลังๆ จะไดนำไปเปนแบบอยางในการทำงาน และการดำรงชีวติ ในสังคมยุคน�้ ในวาระที่พี่ทั้งสองตองเกษียณอายุราชการไปตามวัย ของตัวเอง ผมคอนขางรูสึกใจหาย แตก็รูสึกดีใจที่พี่ๆ จะไดพักผอน เสียที หลังจากที่ตรากตรำทำงานหนักมาตลอดจนอายุครบ 60 ป ในปน�้แลว ผมขอใหคุณพระศรีรัตนตรัย คุณความดี บุญกุศลทั้งหลาย ที่พี่ไดทำมาและสะสมมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันไดโปรดดลบันดาล ประทานพรใหพี่ทั้งสองประสบแตความสุขความเจริญ มีสุขภาพกาย สุขภาพใจสมบูรณแข็งแรงตลอดไปครับ นายทิพากร พูลสวัสดิ์ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานนโยบายและแผนอนุรักษพลังงาน และพลังงานทดแทน
ยามพ�่ไป เราเพ�่อนนอง ตางรองหา ยามพ�่กลาวลา น้ำตาไหล ยังเคารพ อยากพบหาเมื่อหางไกล นานแสนนานยังอาลัยไมขอลืม พ�่จะอยูในความทรงจำของชาว ตส. สนพ. ไมเคยลืม กลุ มตรวจสอบภายใน
เน��องในโอกาสวาระการเกษียณอายุราชการของ “คุณเอมอร ชีพสุมล” รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน หรือ “พีค่ ม้ิ ” และ “คุณจิระภาพร ไหลมา” ผูอ ำนวยการศูนยพยากรณ และสารสนเทศพลังงาน หรือ “พี่แหมม” สำนักนโยบายไฟฟา ขอขอบคุณและซาบซึ้งใจอยางยิ�ง ที่ทานไดปฏิบัติภารกิจรวมกัน อันเปนกำลังสำคัญของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานตลอดมา จนครบวาระเกษียณอายุราชการในปน�้ คุณประโยชนตางๆ ที่ทาน ไดมอบกับสำนักงาน จะคงอยูในความทรงจำของคนรุน หลังตอไป ขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย สิง� ศักดสทิ ธิท์ ง้ั หลาย จงบันดาล ใหทา นและครอบครัว ประสบแตความสุข ความเจริญ มีพลานามัย แข็งแรง ตลอดไป สำนักนโยบายไฟฟ า
จากใจน องถึงพ�่
เดือนกันยายนของทุกป เปนวาระการเกษียณอายุราชการของ ผูบริหาร และเจาหนาที่หน�วยงานราชการทั้งหลาย เชนเดียวกับที่น� ทีม่ ผี เู กษียณอายุราชการ 2 ทาน คือ รองเอมอร ทีน่ อ งๆ เรียกวา พีค่ ม้ิ และพี่จิระภาพร ที่นองๆ เรียก พี่แหมม หากนับเวลาตั้งแตเริ�มรับ
ราชการจนเขาสูวัยเกษียณ คงจะเปนระยะเวลาอันยาวนานที่พี่ทั้ง 2
ไดปฏิบตั ภิ ารกิจตามตำแหน�งหนาทีด่ ว ยความขยัน อดทน และเสียสละ และไดทำคุณประโยชนตา งๆ ใหกบั ราชการโดยสรางผลงานไวมากมาย นอกจากน�ย้ งั เปนกำลังสำคัญของ สนพ. ในการรวมคิด รวมทำ รวมสราง งานใหเกิดผลสำเร็จ และไดมีคำแนะนำใหแกนองๆ สำหรับนำไปใช ปรับปรุง แกไข และพัฒนาการทำงานใหดีขึ้นเสมอ นองๆ สนอ. ขอแสดงมุทิตาจิตแดพี่คิ้ม และพี่แหมม และขอ อาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย สิง� ศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั หลาย จงดลบันดาลใหพค่ี ม้ิ และพี่แหมม ประสบแตความสุข ความเจริญ มีสุขภาพแข็งแรงตลอดไป สำนักนโยบายอนุรักษ พลังงานและพลังงานทดแทน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
15
ทุกนาทีที่เราเคยไดรวมผูกพันบนเสนทางพลังงานมาดวยกัน จากเรือลำเล็ก ๆ อบอุนใกลชิด เหมือนพี่เหมือนนอง สูเรือลำใหญ ลองนาวาเพือ่ ประชาชนในยุคทีท่ กุ คนตางตองทุม เทกำลังกาย กำลังใจ กำลังสติปญ ญา เพือ่ ใหไดมาซึง� ความมัน� คงทางพลังงาน และความอยูด กี นิ ดี ทางเศรษฐกิจและสังคม พี่ทั้งสอง คือกำลังสำคัญ คือแบบอยาง ใหกบั นอง ๆ ในหลายแงมมุ งานของเราไมไดอยูเ สนทางทีร่ าบเรียบนัก แตพี่ ๆ ก็แสดงใหเห็นวา ไมมีอะไรทำไมได ขอแคทำใหดีที่สุด พีค่ ม้ิ ผูม องโลกในแงดี ยิม้ หวาน ๆ และคำพูดทีเ่ ต็มไปดวยความอบอุน ทุกครัง้ ทีท่ กุ คนไดอยูใกล พีเ่ ปนผูห ญิงเกงทีเ่ ต็มไปดวยความสามารถ พี่ทั้งสองไดฝากรองรอยแหงความทรงจำที่ดีทั้งในดานการงานและ ในดานการดำเนินชีวติ ไวใหพวกเราไดดำเนินรอยตาม… เกษียณอายุราชการ เปนเพียงวาระทีท่ ำใหเราหางกันไปไกล แตพ่ี ๆ ยังอยูใ นใจพวกเราเสมอ จากใจ…สำนักบร�หารกลาง
EGY Info Sep 2017
อาทิตยเคลื่อน เลื่อนลอย คอยใหค่ำ สุดทายคำวา “เกษียณ” เว�ยนมาถึง แตผลงาน ยังฝากไว ใหคำนึง ความลึกซึ้ง จึงอาวรณ กอนอำลา
สุวฤกษคราเกษียณเว�ยนมาถึง วาระซึ่งครบหารอบกอบเกียรติศร� เอมอรยิ�งมิ�งหลาเอกนาร� ผองนองพ�่อาลัยลนทนดวงใจ จิระภาพรผุดผาดพ�ลาศลักษณ สองเอกอัครมิ�งมิตรพ�สมัย นอมอำนาจแหงองครัตนตรัย อำนวยชัยทานทั้งสองปองสุขเทอญ จากใจ .. ศูนยพยากรณและสารสนเทศพลังงาน
16
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
ดวยรักและผูกพัน.. กองนโยบายและแผนพลังงาน
ทรัพยากรบุคคล มีความสำคัญทีส่ ดุ ในการทีจ่ ะบริหารองคกร ใหบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล สูงสุด ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 น�้ สนพ. ของเรามีบุคลากรที่ มีคุณคายิ�งตองเกษียณอายุราชการจำนวน 2 ทาน คือ 1. นางเอมอร ชีพสุมล รองผู อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 2.นางสาวจ�ระภาพร ไหลมา ผู อำนวยการศูนย พยากรณ และสารสนเทศพลังงาน การปฏิบัติงานในชีวิตราชการของทั้ง 2 ทาน มาอยาง ยาวนานจนเกษียณอายุนบั วาไดสรางคุณประโยชนใหกบั สนพ. สังคม และประเทศชาติ อยางหาทีเ่ ปรียบไมได การเกษียณอายุ ราชการนับเปนวาระที่น�าใจหายในชวงหนึ�งของชีวิตแต ความรัก ความเคารพ ความคิดถึงและความผูกพันยังคงอยูกับพวกเรา
ตลอดไป พวกเราขออวยพรใหผลบุญของความดีทท่ี า นไดสง�ั สมมา จงดลบันดาลใหทานทั้ง 2 จงประสบกับความสุข ความเจริญ มีสขุ ภาพทีแ่ ข็งแรงไดเปนทีพ่ ง�ึ ของคนรุน นองๆ เมือ่ ทานมีโอกาส กลุ มพัฒนาระบบบร�หาร
เมื่อถึงวันเวลาฟาก็เปลี่ยน ตองอำลาจากกันแสนอาลัย คุณความดีประจักษเปนหลักฐาน พัฒนาชาติไทย (สนพ.) ใหยืนยง ระยะทางจักเปนเคร�่องพ�สูจนมา ผานรอนเย็นอุปสรรคมามากมาย ขออัญเชิญพระไตรรัตนมาปกปอง เกียรติภูมิจะปรากฏเปนหลักเร�อน
กาลเกษียณเว�ยนมานาใจหาย แตสายใยความผูกพันยังมั่นคง ตรากตรำงานอยางซือ่ สัตยมไิ หลหลง เกียรติดำรงกองปรากฏมิวางวาย วันเวลาบอกคุณคาของคนได ความดีงามที่สรางไวมิมีเลือน จงคุมครองใหมีสุขหาใครเหมือน คอยย้ำเตือนตราตร�งตราบนิรันดร
ตั้งแตเร�่มเดิมที ที่เราเห็น ไมเคยเปน อยางเชนทุกวันนี้ มีเพ�ยงหองเล็กๆ คนนอยๆอยางที่มี มาวันนี้เปลี่ยนไป เหมือนพร�บตา คนๆ หนึ่งยอมทำ ไมทอถอย ไมยอมเหนื่อยแมแตนอย แมออนลา คนๆ นี้ ยอมแมที่ สละเวลา เพ�่อความกาวหนา ขององคกร อยางมั่นคง จนวันนี้ องคกรมีหนาตา ใครๆ ตางไดรูวา ไดบรรลุวัตถุประสงค มีทุกสิ�ง ทุกอยางตามเจตจำนงค และเสร�มสงใหเจร�ญ ยิ�งข�้นไป และวันนี้ พวกเราจะสานตอ เจตนา จะไมทอ ตอสิ�งใหน ไมวาวันขางหนาจะเปนอยางไร จะกาวไป ตามความคิดทาน อยาง มั่นคง จากใจถึงใจ สำนักนโยบายป โตรเลียมและป โตรเคมี
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
17
อนุรักษ พลังงาน
ยานยนต ไฟฟา (EV)
ในประเทศไอรแลนด
Electric car stock (thousands)
จากกระแสการอนุรักษสิ�งแวดลอมและความผันผวนของราคาน้ำมัน ทำใหปจจุบันเทคโนโลยียานยนต ไฟฟา (EV) ไดรับความนิยม เพิ�มมากขึ้น โดยในป 2559 ทั�วโลกมีปริมาณรถยนต ไฟฟาประเภท Battery Electric Vehicles (BEVs) and Plug-in Hybrid Electric Vehicles (PHEVs) สะสมรวมทัง้ สิน้ กวา 2 ลานคัน เพิม� ขึน้ รอยละ 60 โดยมียอดขายทัว� โลก 718,823 คัน เพิม� ขึน้ รอยละ 40 เมือ่ เทียบกับป 2558
1400 BEV PHEV 1200 1000 800 600 400 200 0 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016
ที่มา: International Energy Agency (IEA)
18
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
Others Sweden Netherlands United Kingdom Germany France Japan Norway United States China
CHAdeMO
สำหรับประเทศไอรแลนดยังมีการใช รถยนตไฟฟาไมมากนัก โดยในป 2559 มี รถยนต ไฟฟาประเภท BEVsและ PHEVs สะสมรวมทั้งสิ้น 1,801 คัน แตรัฐบาลมี นโยบาย สงเสริมใหมกี ารใชยานยนตไฟฟา เพิม� ขึน้ โดยการสงเสริมใหมสี ถาน�ชารทไฟฟา ใหครอบคลุมทัว� ประเทศ ทัง้ น�้ หนวยงานที่ รับผิดชอบในดานสถาน�ชารทไฟฟา คือ Electricity Supply Board (ESB) ซึ�งเปน หนวยงานทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ภายใตพระราชบัญญัติ การจัดหาไฟฟา (The Electricity (Supply) Act 1927) โดยมีรัฐบาลถือหุนรอยละ 95 นอกจากน�้ รัฐบาลยังมีเงินสนับสนุนสำหรับ ผูซื้อรถยนต ไฟฟา โดยสนับสนุน ผาน หนวยงาน The Sustainable Energy Authority of Ireland (SEAI) ซึ�งเปนหนวยงานของ รัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นภายใตพระราชบัญญัติ ความยัง� ยืนดานพลังงาน (The Sustainable Energy Act 2002) โดย SEAI จะสนับสนุน เงินสำหรับผูซ อ้ื รถยนตไฟฟาประเภท BEV หรือ PHEV จำนวน 5,000 ยูโร นอกจากน�้ หากรถยนตไฟฟาดังกลาวมีการลงทะเบียน รับสิทธิประโยชนดา นภาษี (Vehicle Regis tration Tax: VRT) ซึง� จะตองผานการทดสอบ ตามมาตรฐานทีก่ ำหนด ผูซ อ้ื รถไฟฟาจะได รับเงินสนับสนุนเพิม� เติมอีก สำหรับรถยนต ไฟฟาประเภท BEV จำนวน 5,000 ยูโร และสำหรับรถยนต ไฟฟาประเภท PHEV จำนวน 2,500 ยูโร
Comdo (CCS)
Fast AC (43kW+)
Type-2 <23kW
Other
Icon information
1. A semi-solid vehicle indicates tnat some connectors of the seiected charging type are in use, but others are still availabie. 2. A soid vehicle indicates that all connectors of the seiected charging type are in use , no spaces are currently availdle. 3. All connectors of the selected charging type are of service. 4. The paier coniourd icons (blue ro green) indicate that the cherge point does not have not have the ability to communicate, or that it is
ภาพแสดงแผนที่สถาน�ชารทไฟฟาทั�วประเทศไอรแลนด
ภาพแสดงแทนชารทไฟฟาของ EBS ในประเทศไอรแลนด
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
19
Astana
EXPO 2017 ณ กรุงอัสตานา
สาธารณรัฐคาซัคสถาน
ปจจุบนั โลกไดมกี ารพัฒนาการใชพลังงานและพลังงานสีเขียว (Green Technology) งานนิทรรศการโลก Astana Expo 2017 จึงไดถกู จัดขึน้ ภายใตแนวคิดน�้ โดยจัดขึน้ ณ กรุงอัสตานา เมืองหลวง ของสารณรัฐคาซัคสถาน โดยมี 115 ประเทศ มารวมกันนำเสนอ ถึงเรือ่ งราวความสำเร็จในหัวขอพลังงานแหงอนาคต (Future Energy) องคกรระหวางประเทศทีเ่ กีย่ วของกวา 21 องคกร อาทิ สหประชาชาติ ยูเนสโก และธนาคารโลก ไดใหความสนใจตองานมหกรรมโลก ในครั้งน�้ดวยเชนกัน
In an instinct of self-preservation, the world is beginning to make a concerted effort to move forwards into the realm of smart power consumption and green technology. EXPO 2017, held in the capital of Kazakhstan, is dedicated to this theme. 115 countries will demonstrate their achievements in the field of future energy. 21 authoritative international organisations, including the United Nations, UNESCO, UNIDO and the World Bank have shown an interest in this event.
20
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
งานนิทรรศการโลก Astana Expo 2017 ไมเพียงนำเสนอความสำเร็จทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเกีย่ วกับพลังงาน แตรวมถึง วัฒนธรรมของแตละประเทศและกิจกรรมตาง ๆ The Open Stage เวทีในรมทีม่ พี น้ื เปดดานหนาสำหรับรองรับผูช มไดมากถึง 6,000 คน เวทีน�้ถือเปนเวทีที่ใหญที่สุดในงาน โดยจะมีการแสดงที่ทาทายและนาตื่นเตน และสอดแทรกความรูไปในตัว เชน การแสดงที่ชื่อวา The Symphony of the Great Steppe ที่มีนักแสดงกวา 600 ชีวิตมารวมในการสรางสรรคการแสดงครั้งน�้ มีการผสมผสานระหวาง การเคลื่อนไหวรางกาย กับดนตรีที่ใชในการแสดง นอกจากน�้ยังมีฉากการแสดงที่ดูนาตื่นตาตื่นใจพรอมกับเทคนิคพิเศษสุดอลังการ การแสดงน�้จะนำผูชมทุกทานยอนภาพประวัติศาสตรของชาวคาซัคสถาน ตั้งแตตำนานการกำเนิดจนถึงปจจุบัน EXPO 2017 is not only a platform on which to demonstrate the latest achievements in science and technology, but also an opportunity to explore our rich cultural heritage and enjoy the activities and entertainments on offer. You can spend a whole day here and have no regrets about how you have used your time. Let us start with the Open Stage, a covered stage with an open space in front of it for an audience of up to 6,000 people. This, the largest stage at the EXPO, will host one of the most ambitious, spectacular and informative shows of EXPO 2017, called The Symphony of the Great Steppe. Almost 600 actors will participate in this production and, combining the language of calisthenics and music with vivid background scenery and special effects, will take the audience on a visual journey through the history of the Kazakh people, from the mythological creation of the world to the present day. This will be staged during the first week of the EXPO.
The Open Stage เปนการแสดงดนตรี เพื่อเฉลิมฉลองดนตรีพื้นเมืองสมัยใหม กับการแสดงทีช่ อ่ื วา the Spirit of Tengri Festiva และการแสดงดนตรีทเ่ี ปนทีน่ ยิ ม ของคนทองถิ�น กับการแสดงที่ชื่อวา the Sound Gakku Festival
The Open Stage will host a celebration of modern ethnic music with performances from the Spirit of Tengri festival, and of local pop music from the Sound of Gakku festival.
MTV channel รวมกับศิลปนและนักดนตรี ระดับโลก อาทิ DJ Steve Aoki และ วง No Mad Karma ไดมาแสดงในงานมหกรรมครัง้ น�้ สาวกดนตรีคลาสสิกยังคงไดดื่มด่ำไปกับ “The Battle of the Orchestras”
It will also host the MTV channel with its world-famous stars and musicians such as DJ Steve Aoki and the band No Mad Karma. Fans of classical music will enjoy “The Battle of the Orchestras” นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
21
22
ภายในงานมีการอภิปรายเสวนาเกีย่ วกับวัฒนธรรมงานศิลปะรวมสมัย การประชุมและการบรรยายภาพยนตรสารคดี
Here you will find yourself engaged in cultural discussions, the contemporary arts, conferences and lectures, documentary films and excursions.
การเยีย่ มชมศูนยศลิ ปะรวมสมัยอัสตานา (the Asatana Contemporary Arts Centre) คุณจะไดสมั ผัสกับความคิดสรางสรรคงานศิลปะ งานวิจยั และการเรียนรู ตามลำดับ
Idea. Art. Research. Study. You can follow this sequence by visiting the Astana Contemporary Arts Centre.
อีกทัง้ ยังไดเห็นถึงความรวมมือของสถาบันวัฒนธรรมที่ใหญทส่ี ดุ ในรัสเซียและฝรัง� เศส คือ The Garage Museum of Contemporary Arts แหงกรุงมอสโค และ The Association of the National Museums of France and the Grand Palais แหงกรุงปารีส ในการ ทำงานรวมกันเพื่อความยิ�งใหญของการจัดงานนิทรรศการครั้งน�้ โดยใชเวลาการทำงานถึง 2 ป
For the last two year, two of the largest cultural institutes in Russia and France - the Garage Museums of Contemporary Arts in Moscow and the Association of the National Museums of France and the Grand Palais in Paris - have been collaborating to create a special programme for this Expo.
ชั้นแรกของศูนยศิลปะ เปนสถานที่จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshops) ภายใตหัวขอวา “การเรียนรูจากประสบการณจริง” (knowledge through practical experience) เพือ่ สงเสริมใหผเู ขา รวมงานไดเรียนรูแ ละคิดนอกกรอบ สำหรับ The Garage Museum การจัดกิจกรรมและการแสดง คำนึงถึงการอำนวยความสะดวก ใหแกผูพิการ มีการใชภาษามือในการพาเดินชมงาน อีกทั้งหุน จำลองของการแสดงงานยังเปดใหสัมผัสไดดวยมือ
The first floor of the Art Centre is occupied by workshops that are based on the principle of “knowledge through practical experience.” They will be open every day of the Expo, helping participants to learn and think “outside the box.” It’s worth mentioning that, courtesy of the Garage Museum, all the activities and displays in the pavilion have been adapted to accommodate visitors with every form of disability, and tours are translated into sign language and the models are on display can be explored by touch.
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
ชั้นที่ 2 เปนการแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับศิลปนกับหุนยนต (Artists & Robots) โดยมีศิลปนรวมสมัยกวา 17 ทาน จาก 13 ประเทศ การแสดงนิทรรศการน�จ้ ะจัดขึน้ ณ the Grand Palais กรุงปารีส ในป 2019 สวนการแสดงรอบปฐมทัศนจะถูกจัด ณ กรุงอัสตานา โดยมี Miguel Chevalier ผูบ กุ เบิกศิลปะดิจทิ ลั และ Jerome Netre ผูอ ำนวยการ development for the Association of the National Museums of France and Grand Palais รวมถึง Jean-Luc Sore จาก European Photography Museum On the second floor is a unique exhibition of Artists & Robots, in which 17 contemporary artists from 13 countries have participated. The exhibition will go to the Grand Palais in Paris in 2019, but the premiere will be held at EXPO 2017 in Astana. The curators of this project are Miguel Chevalier, one of the pioneers of digital art, Jerome Netre, the director of development for the Association of the National Museums of France and Grand Palais, and Jean-Luc Sore from the European Photography Museum.
นอกจากนัน้ ยังเปนพืน้ ทีแ่ สดงงานนิทรรศการเกีย่ วกับการวิจยั และ จุดเดนของศตวรรษที่ 21 (Research and Landmarks reached in the 21st Century) ศิลปนในแตละยุคลวนมีความตองการที่ อยากจะนำเอาเครือ่ งจักรกลมาใชเปนอุปกรณในการผลิตงานศิลปะ จนมาวันที่ความกาวล้ำทางเทคโนโลยีมาถึง ความฝนของเหลา ศิลปนจึงเปนจริง ซึง� ภายในพืน้ ที่ 733 ตารางเมตรจะเปนการจัด แสดงของสือ่ ศิลปะ (Media Art) การวาดภาพคนและการแกะสลัก จากหุน ยนตผลงานหลายชิน้ ถูกวาดขึน้ ภายในงานโดยใหผเู ขาชม งานมีปฏิสัมพันธและมีสวนรวมกับงาน
The second floor of the Art Centre is devoted to an exhibition on research and landmarks reached in the 21st century. Artists from different eras have dreamed about a machine that will create works of art, and finally technical progress has made this dream come true. The 733 square metres of the interactive exhibition will be filled with the best examples of media art, with life drawing and sculptures created by robots. Many works will be created in real time and involve spectators in a process of creative interaction.
ในชวงปที่ผานมา Anna Bronovitskaya และ Nikolay Malinin นักประพันธผมู ชี อ่ื เสียงทีท่ ำการประพันธหนังสือ Moscow: Architecture of Soviet Modernism 1955-1991 ไดทำงานรวมกับทีม สถาปนิกจากโครงการ Arcode Almaty ในการระบุชอ่ื และพรรณนา ตัวอยางงานสถาปตยกรรมหลังยุคสงครามทีป่ ระณ�ตทีส่ ดุ และยังจัด ใหมีการประชุมนานาชาติ ณ ศูนยศิลปะรวมสมัย ระหวางวันที่ 22 - 23 กรกฎาคม และคาดวาจะนำผลงานของ Yuri Palmin ชางภาพดานสถาปตยกรรม จัดแสดงในงานนิทรรศการเชนกัน
For the last year, the authors of the famous book Moscow: Architecture of Soviet Modernism 1955-1991, Anna Bronovitskaya and Nikolay Malinin, have been working in cooperation with architects from the project “Arcode Almaty”, to identify and describe the finest examples of post-war architecture in this city. Their work will culminate in an International Conference of Modernism in Kazakhstan, which will take place at the Art Centre between 22nd and 23rd July. The work of the architectural photographer, Yuri Palmin, will be on display for the duration of EXPO 2017. นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
23
ประชาชนชาวคาซัคสถานหนึง� ในหาไมสามารถ เขาถึงแหลงพลังงานได เพือ่ เปนการแกปญ หา เชลลผสู นับสนุนและพันธมิตรในการจัดงาน มหกรรมน�้ มีซมุ แสดงนิทรรศการทีส่ นับสนุน และสงเสริมความคิดเกีย่ วกับพลังงานทดแทน หรือพลังงานทางเลือก (Alternative Energy)
One in five people has no access to energy. In consideration of this Shell, the sponsor and global partner of EXPO 2017, will build a pavilion to support creative ideas for alternative energy.
หองปฏิบัติการดานพลังงานของเชลลจะ เปนแหลงเรียนรูใ นรูปแบบของความบันเทิง แบบ Interactive ที่ผานการเคลื่อนไหวใน รูปแบบการเลนเกมส
Shell's Energy Laboratory will be entertaining as well as educational, as visitors will be able to discover more about existing forms of energy through physical interaction in the form of a game. The pavilion will consist of several interactive exhibits, which will operate based on the principle of "understanding throughplay".
เชน ผูเขาชมงานจะไดเลนฟุตบอลไฟฟา ความพิเศษอยูท ก่ี ารแตะลูกฟุตบอลจะเปน การกระตุน เครือ่ งกำเนิดไฟฟาภายในลูกบอล ใหสรางพลังงานขึน้ มา โดยพลังงานน�ส้ ามารถ นำไปชารตโทรศัพทมือถือหรือใชเปนพลัง งานสรางแสงสวางภายในงาน
For instance, visitors will be able to play "Electrical Football", There will be a specially designed football, which when kicked will activate the energy generator placed inside the ball. The energy produced can be used to charge mobile phones or to illuminate the pavilion.
ยังมีเกมสทส่ี รางความประทับใจใหแกผเู ขา ชมงานคือ การแขงขันกังหันผลิตพลังงาน โดยจะเปนการเปลีย่ นพลังงานจลน พลังงาน ทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นไหวรางกายของผูเ ขา ชมงานไปเปนพลังงานไฟฟาโดยทีมทีส่ ะสม พลังงานมากทีส่ ดุ จะเปนผูช นะ
Another game, which will definitely impress visitors, is a race inside power-generating turbines. These covert kinetic energy, produced by visitors, into electricity. The team that produces the most energy will win.
ในฐานสุดทาย ผูเ ขาชมงานสามารถสรางดาวเคราะหเปนของตัวเองโดยดาวเคราะหนน้ั จะถูกออกแบบตามคำตอบทีผ่ เู ขาชมงานไดตอบไวใน แตละฐาน ขอมูลคำตอบเหลาน�้จะถูกเก็บไวในบัตรอิเล็กทรอนิกสของของแตละคน ที่ไดรับตอนเขางาน บัตรน�้จะถูกใชในการเลือกธาตุ ทีเ่ ปนเอกลักษณเฉพาะเจาะจงในการสรางดาวเคราะหแหงอนาคต โดยภาพของดาวเคราะหจะถูกขยายใหเห็นเปนภาพขนาดใหญในภายหลัง เมื่อเดินมาถึงชวงสุดทายภายในหองปฏิบัติการทางพลังงาน ผูเขาชมงานจะมีความเขาใจมากขึ้นถึงความจำเปนที่วามนุษยในยุคถัดไป จะตองใชความคิดเชิงนวัตกรรมในการออกแบบโลกแหงอนาคต At the final stage, visitors can create their own planet based on the answers they have provided during their interaction with the previous exhibits. This information is collected on the electronic card carried by each visitor, which is given out at the entrance to the pavilion. It will be used to select the unique elements that will make up their future planet, which will then be projected on a big screen. At the end of their journey through the Energy Laboratory, visitors will take with them the clear understanding that the next generation need to use innovative thinking to shape their future.
24
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
เกาะ
Samsø
แบบอยาง
การพัฒนาพลังงานทดแทน
“เราจะเป น Fossil Free Island ในป 2030” คำกลาวของ นาย Jesper Roug Kristensen วิศวกรผูด แู ลโครงการของ Samsø Energy Academy หรือสถาบัน พลังงานเกาะแซมโซ และเปนชาวเกาะ Samsø โดยกำเนิด ที่แจงตอคณะผูบริหารของกระทรวงพลังงานนำโดย พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน และคณะสือ่ มวลชน ในการเดินทางศึกษาดูงาน ดานพลังงาน ณ ประเทศเดนมารก และ นอรเวย คำพูดของนาย Jesper ทำใหคณะผูดูงานสงสัยวาเกาะเล็กๆ ในคาบสมุทรจัตแลนด ทีม่ ขี นาด 114 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอยูเ พียงประมาณ 3,700 คน ทีป่ ระชากรสวนใหญ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การประมง และการทองเทีย่ ว จะสามารถทำตามเปาหมายทีต่ ง้ั ไวหรือไมแตเมือ่ เทาความ ไปวาเกาะแหงน�้เปนตนแบบของ เกาะพะลวย Green Island ของเมืองไทยแลว ก็ยิ�งนาสนใจวาเปาหมายที่ตั้งไว อาจจะเปนไปไดจริง
Samsø Island - Renewable Energy Development Model “Our vision is to be Fossil Free Island by 2030.” The above was said by Mr. Jesper Roug Kristensen, Samsø Energy Academy’s engineer and manager who is a native Samsø islander, to the management from the Ministry of Energy, led by General Anantaporn Kanjanarat, Minister of Energy, together with accompanying mass media representatives, on a study visit to energy projects in Denmark and Norway. Mr. Jesper’s remark had raised doubt among the visiting delegation whether this tiny island off the Jutland Peninsula, covering an area of 114 square kilometers with a population of only about 3,700 of which the majority earn their living from agriculture, fishery and tourism, would be able to reach the said target. However, when reference was made to this island as the prototype of Paluay Green Island in Thailand, it became interesting to expect that the said target would be quite feasible
26
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
จ�ดเร�่มตน และการพัฒนาพลังงานทดแทน
Commencement and Development of Renewable Energy
เกาะ Samsø หรือที่คนไทยเรียก “แซมโซ” เดิมทีพลังงาน ที่ใชบนเกาะทัง้ หมดตองนำเขาจากแผนดินใหญทง้ั ไฟฟาและกาซ ตอมาหลังจากมีผบู ริหารในรัฐบาลของเดนมารกไดไปศึกษาดูงาน ดานพลังงานทดแทนทีป่ ระเทศญีป่ นุ จึงไดมคี วามคิดหาพืน้ ทีต่ วั อยาง ในการใชพลังงานทดแทนแบบ 100% หลังจากสำรวจความเหมาะสม แลวจึงเลือกเกาะ Samsø ซึ�งเปนเกาะที่มีรายไดต่ำเปนอันดับ 4 ของประเทศเดนมารกใหเปนตนแบบเมืองทีม่ กี ารใชพลังงานทดแทน ในป ค.ศ.1997
Formerly, all energy consumed on Samsø Island, both electricity and gas, had to be imported from the mainland. Later, after having taken a study visit on renewable energy in Japan, the Danish government’s management had an initiative to create a model location of a 100% transition to energy self-sufficiency through the use of renewable energy. After exploration of feasibility had been undertaken, Samsø Island, an island with the fourth lowest revenue of Denmark, was selected to be the prototype renewable energy-fueled island in 1997.
โดยเริ�มตนจากการประชุมประชาคมบนเกาะ Samsø ถึงเรื่อง การพัฒนาพลังงานทดแทน ชาวบานทีม่ ารวมประชุมมีทง้ั เห็นดวย และไมแนใจในศักยภาพของพลังงานทดแทนรวมถึงผลกระทบที่ อาจจะมีตอ ชีวติ ความเปนอยูแ ละเรือ่ งของมลภาวะทีจ่ ะเกิดขึน้ ดังนัน้ จึงมีการติดตัง้ กังหันลมผลิตไฟฟาในพืน้ ทีท่ ช่ี าวบานเห็นดวยกอน ซึง� การติดตัง้ นัน้ ดำเนินการโดยองคกรปกครองทองถิน� และสหกรณ ในทองถิน� ผลจากการติดตัง้ ในชวงแรกเปนทีน่ า พอใจสามารถจายไฟ ไดอยางตอเน��องดวยศักยภาพพื้นที่ของเกาะ Samsø มีลมพัด อยางสม่ำเสมอ อาคารที่รับไฟจากกังหันลมดังกลาวไดสามารถ ซือ้ ไฟฟาไดในราคาทีถ่ กู กวาปกติเน�อ� งจากรัฐบาลสนับสนุนดวยการ งดเวนภาษีฟอสซิลที่จัดเก็บอยูที่ 50% และภาษีมูลคาเพิ�ม 25% พรอมกับสรางรายไดใหกับสหกรณเจาของกังหันลมอีกดวย The project started with the organization of a public forum on Samsø Island to discuss renewable energy development. Some of the participating local citizens agreed with the concept while others still felt uncertain about the potential of renewable energy, including possible impact on their way of living as well as pollution that might occur. As a result, a wind turbine for power generation was installed by the municipality and the local cooperative firstly in the area where local residents had given their consent. The performance after the installation at the first stage proved to be satisfactory; electricity could be supplied uninterruptedly due to the constant wind potential on Samsø Island. Buildings supplied with electricity from that wind turbine could buy electricity at a price lower than the normal price owing to the government support by exempting 50% fossil tax and 25% value added tax.
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
27
เมือ่ ผลทีอ่ อกมาไมไดมผี ลกระทบตามทีก่ งั วล ประชาชนทัง้ เกาะจึง ยอมรับและสนับสนุนใหติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตไฟฟาเพิ�มขึ้น จากนัน้ มีมกี ารวางแผนการพัฒนาระบบพลังงานทดแทนบนเกาะ และกำหนด KPI ดวยความรวมมือขององคกรปกครองทองถิ�น ชุมชน และสถาบันพลังงาน โดยองคกรปกครองทองถิ�นไดออก เทศบัญญัติมาประกอบการติดตั้งระบบพลังงานทดแทน เชน การกำหนดพื้นที่ติดตั้ง การกำหนดมาตรการบำรุงรักษา และ ระเบียบการใชงาน พรอมทั้งสงเสริมใหมีการลดการใชพลังงาน ดวย ปจจุบนั มีการติดตัง้ กังหันลมบนเกาะ 11 ตน กำลังการผลิต ตนละ 1 เมกะวัตต และกังหันลมในทะเล 10 ตน กำลังการผลิต ตนละ 2.3 เมกะวัตต รวมกำลังการผลิตสูงสุด 34 เมกะวัตต สามารถ รองรับความตองการใชพลังงานไฟฟาทั้งเกาะไดและเหลือพอสง ไปขายยังแผนดินใหญไดอีกกวา 60% ของกำลังการผลิตไฟฟา ทัง้ หมด แตในบางครัง้ อาจมีการนำเขาไฟฟาจากแผนดินใหญบา ง ในชวงที่ไมสามารถผลิตไฟฟาไดแตในภาพรวมแลวยังคงไดกำไร จากการขายไฟอยู นอกจากองคกรปกครองทองถิน� สหกรณ และ เอกชนเปนเจาของกังหันลมแลว ยังมีประชาชนบนเกาะอีกกวา 450 คน เปนผูถ อื หุน ในระบบผลิตพลังงานบนเกาะดวย สรางรายได้ ใหกบั ทองถิน� อยางมาก อนึง� มีการลงทุนทัง้ สิน้ 55 ลานยูโร โดยไดรบั การสนับสนุนเงินทุนจากสหภาพยุโรป และทองถิน� (เทศบาลและ ประชาชน) รวมลงทุน
28
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
In addition, income could be generated for the cooperative that owns the wind turbine. When the outcome had proven to create no impact, as initially concerned, all citizens on the island accepted and supported the installation of more wind turbines to generate electricity. Then, with the collaboration among the municipality, the community and the Energy Academy, a detailed plan was formulated for renewable energy system development on the island and KPIs were also specified. Municipal laws were issued by the municipality regarding renewable energy system installation, for example, the determination of locations for system installation, the establishment of maintenance measures and the regulation on system operation, together with promotion of energy consumption reduction. Presently, there are 11 onshore wind turbines, with a capacity of 1 MW each, and 10 offshore wind turbines, with a capacity of 2.3 MW each, thus making a total generating capacity of 34 MWp. This can serve the power demand of the entire island and the surplus of more than 60% of the total generating capacity can be sold to the mainland. Sometimes import of electricity from the mainland may be needed, particularly when electricity cannot be generated; however, on the whole profits can be gained from electricity selling. Apart from the municipality, cooperatives and individuals that are owners of wind turbines, over 450 islanders are shareholders of energy production systems on the island, which has created considerable revenue for the locality. In this regard, the total investment amounted to 55 million EURO, supported by funding from the European Union with joint ventures by the locality (the municipality and local citizens).
นอกจากน�ด้ ว ยประเทศเดนมารกเปนประเทศทีม่ สี ภาพอากาศทีห่ นาวเย็นจึงมีการนำชีวมวลอันไดแกเศษวัสดุทางการเกษตร เชน หญา, ฟาง ในพืน้ สงไปยังโรงผลิตพลังงานความรอนพลังงานชีวมวล และสงน้ำรอนไปยังอาคารทีพ่ กั อาศัยในบริเวณโดยรอบ ทัง้ น�้ โรงผลิตความรอนดังกลาวผูด ำเนินการคือสหกรณทางการเกษตรในพืน้ ที่ ซึง� จะเปนผูจ ดั หาชีวมวล จัดเก็บรายไดโดยจะมี เจาหนาทีจ่ าก Samsø Energy Academy เปนวิศวกรดูแลควบคุมโดยแรกเริม� ไดรบั การสนับสนุนเงินกูด อกเบีย้ ต่ำจากรัฐบาล แตใชระยะเวลาดำเนินงานไมนานก็สามารถชำระเงินกูไ ดหมด เมือ่ เปรียบเทียบความคุม คาแลวพบวาชีวมวลทีเ่ ปนกอนฟาง 1 กอน หนักประมาณ 600 กิโลกรัม ราคา 350 เดนมารกโครน เมือ่ นำมาเผาแลวสามารถผลิตความรอนไดเทากับน้ำมันจำนวน 200 ลิตร ซึง� ราคาน้ำมันจะแพงกวาถึง 6 เทา ทำใหชมุ ชนสามารถควบคุมราคาพลังงานความรอน และสรางงานใหกบั ประชาชนในทองถิน� อีกดวย ปจจุบนั มีโรงผลิตความรอนพลังงานชีวมวลบนเกาะทัง้ สิน้ 4 แหง มีพน้ื ทีบ่ ริการครอบคลุมเกือบทัง้ เกาะแตถา อาคารใด อยูนอกเขตพื้นที่บริการ ก็สามารถติดตั้งแผงทำความรอนพลังงานแสงอาทิตยเองได
In addition, given the cold weather in Denmark, biomass, such as agricultural waste and residue, like grass and straw, in each locality will be delivered to biomass-fueled heating plants to produce and supply hot water to residential buildings in the vicinities of the plants. The operators of these heating plants are local agricultural cooperatives who will be biomass suppliers and will collect the money earned; the staff from Samsø Energy Academy will act as supervising engineers. At the beginning, support was given by the government in the form of soft loans, but it took only a short time of operation to completely pay back the loans. Considering the cost-effectiveness of such plants, it is found that one straw bale of about 600 kilograms costs 350 Danish Krone; when incinerated, it can produce heat equal to the use of 200 liters of oil of which the price is six times more expensive. Therefore, the community can control the price of heat energy, and employment can be generated for local people as well. At present, there are altogether four biomass-fueled heating plants on the island, with service areas covering almost all over the island. If any buildings are located outside the service areas, they will be able to install solar thermal collectors of their own.
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
29
30
Samsø Fossil Free Island 2030
Samsø Fossil Free Island 2030
หลังจากที่เกาะ Samsø สามารถใชพลังงานทดแทนผลิต ไดทั้งไฟฟาและความรอน จึงมีการกำหนดเปาหมายขั้นตอไป คือการเปนเกาะที่ปราศจากการใชพลังงานฟอสซิล หรือ Fossil Free Island ในป ค.ศ. 2030 โดยมีการกำหนดแนวทางการพัฒนา พลังงานเพือ่ ไปสูจ ดุ หมายดังกลาวไดแกการสงเสริมใหเกิดการใช ยานยนต ไฟฟาขึ้นบนเกาะ โดยมีการติดตั้งจุดประจุไฟฟา หรือ Changing Station ทัว� เกาะแบบใหบริการฟรี ซึง� ไฟฟาทีน่ ำมาใช บางสวนมาจากแผงผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ปจจุบนั มีปริมาณ รถยนตไฟฟาทัง้ สิน้ 50% ของทัง้ หมดและจะเพิม� ใหมากขึน้ โดยเฉพาะ รถประจำทางที่จะทยอยเปลี่ยนเปนรถประจำทางไฟฟา อาคาร สถานทีร่ าชการมีการติดตัง้ แผงผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยเพือ่ ผลิตไฟฟาใชเองภายในอาคาร นอกจากน�้เรือขนสงระหวางเกาะ และแผนดินใหญมีแผนจะเปลี่ยนจากเดิมที่ใชกาซ LNG มาใช กาซชีวภาพ หรือ CBG ที่สามารถผลิตไดเองบนเกาะ พรอมทั้ง สรางระบบ Smart Energy Systems เพือ่ สรางเครือขายพลังงาน จากทุกแหลงบนเกาะเพือ่ สงเสริมและสามารถทดแทนกันไดหาก แหลงพลังงานบางแหงไมสามารถผลิตไดตามปกติ สวนองคกร ปกครองทองถิน� ไดเตรียมออกเทศบัญญัตเิ กีย่ วกับวัฏจักรเศรษฐกิจ สีเขียวเพือ่ ใหเกิดการผลิตและการใชทย่ี ง�ั ยืนครบทัง้ วงจร ตัง้ แตการผลิต เชน การทำฟารมออรแกนิก จนถึงผูซ อ้ื สินคาไปแลวจะมีการกำจัด ของเสียหลังการบริโภคอยางไร เชน การกำจัดน้ำเสีย ระบบจัดการ ขยะ พรอมทั้งสนับสนุนใหมีการทำอินเทอรเน็ตบอรดแบรนด ทัว� ทัง้ เกาะโดยใหบริการฟรีในความเร็ว 20/20 Mbps เพือ่ สนับสนุน การทำงานที่บาน หรือที่ไหนก็ไดโดยไมจำเปนตองเดินทาง และ ดวยเศรษฐกิจที่สำคัญบนเกาะนอกจากดานเกษตรกรรมและการ ประมงแลว การทองเที่ยวก็เปนรายไดที่สำคัญของเกาะจึงมีการ พัฒนาใหเปนแหลงทองเทีย่ วสีเขียว ตัวอยางเชนสนามกอลฟซึง� สนามกอลฟที่สวยงาม ไมใชปุยเคมี แตใชปุยออรแกนิกทั้งหมด ในขณะที่เครื่องจักรและรถกอลฟก็ใชพลังงานไฟฟา
After both electricity and heat can be produced from renewable energy on Samsø Island, the next target has been set, that is, to become “Fossil Free Island by 2030.” In order to achieve this target, the approach for energy development has been determined; one is to promote the use of electric vehicles (EV) on the island. Charging stations have been installed in all areas of the island to provide free charging service. A portion of the electricity used for EV charging is generated from solar PV panels. Currently, EVs constitute 50% of the total vehicles used on the island, and the number of EVs will be increasing, especially when the existing buses are gradually replaced by electric ones. Buildings and government premises are encouraged to install solar PV panels to produce electricity for own consumption in the buildings. Moreover, a plan has been set to change the fuel for ferries between the island and the mainland, from LNG to biogas, or compressed biogas (CBG), which can be produced on the island. Also, smart energy systems will be created to build up energy networks of all resources on the island in order to support and to be able to substitute for one another in case certain energy resources cannot produce energy as usual. The municipality is going to issue a municipal law on green economic cycle to forge ahead with comprehensive and sustainable production and utilization - from the production, e.g. organic farming, to consumers who have bought products and who should know how to manage waste after their consumption, for instance, wastewater disposal and waste management system. In addition, support will be given to the installation of broadband internet across the island to provide free services at a speed of 20/20 Mbps so as to support working from home or anywhere, with no need to travel. With regard to major economic activities on the island, apart from agriculture and fishery, tourism has generated significant revenue for the island; therefore, efforts have been made on the transition of the island to be Green Tourist Destination, e.g. the golf course which is magnificent without the use of chemical fertilizer but organic one, and machines as well as golf carts run on electric energy.
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
จากความมุงมั�น ตั้งใจ ความรวมมือของประชาชน องคกร ปกครองทองถิน� และรัฐบาล สงผลใหเกาะ Samsø เปนเกาะทีม่ ี การผลิตและใชพลังงานทดแทนไดเกือบ 100% ดังนัน้ เปาหมายที่ จะเปนเกาะที่ปราศจากการใชพลังงานจากฟอสซิล หรือ Fossil Free Island ในอีก 13 ปขางหนาก็เปนเปาหมายที่ไมไกลเกิน ความเปนจริงและจะเปนตัวอยางแนวทางการพัฒนาและการดำเนินงาน บนเกาะพะลวย Green Island ของเมืองไทย ไดกา วตามและเปน แบบอยางใหพน้ื ทีอ่ น่ื ๆในการพัฒนาใชพลังงานอยางยัง� ยืนตอไป
With the determination, intention and cooperation of all citizens, the municipality and the government, Samsø Island can be almost 100% self-sufficiency through renewable energy generation and utilization. As a result, the target to be “Fossil Free Island” in the next 13 years will not be too far to reach, and Samsø Island will serve as a model of the approach for development and operation on Paluay Green Island in Thailand and as an example for other locations of how to develop and use energy in a sustainable manner.
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
31
สถานการณ พลังงาน
สถานการณพลังงาน 6 เดือนแรกของป 2560 และแนวโนมป 2560 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได จัดทำสถานการณ พลังงาน 6 เดือนแรกของป 2560 โดยภาพรวมการใช พลังงานขัน้ ต นเพ�ม� ข�น้ ร อยละ 9.2 สอดคล องกับอัตราการเจร�ญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของไทย (GDP) ไตรมาสแรกขยายตัวร อยละ 3.3 ซึ่งมีป จจัยสนับสนุนจากการขยายตัวเร งข�้นของการ ใช จ ายภาคครัวเร�อน การส งออกสินค าและบร�การรวมถึงการขยายตัวต อเนื่องของการลงทุนรวม ทั้งนี้มีการใช พลังงานทดแทนเพ��มข�้นร อยละ 34.3 ตามนโยบายส งเสร�มการใช พลังงานทดแทนของภาครัฐ จากการประมาณการประสิทธิภาพการใช พลังงานรวมของประเทศ (Energy Intensity) ป 2560 มีคาเทากับ 8.59 ลดลงรอยละ 1.6 เทียบกับปกอน แสดงใหเห็นถึงแนวโนมการ ใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพ ทั้งน�้ ในชวงเดือนมิถุนายน 2560 ได เกิดเหตุขัดของในระบบสงจาย กาซธรรมชาติจากแหลงพัฒนา รวมไทย-มาเลเซีย หรือแหลง JDA-A18 สงผลใหโรงไฟฟาจะนะ ชุดที่ 2 ที่ใชกาซธรรมชาติเปน
เชื้อเพลิงตองหยุดการเดินเครื่อง กระทรวง พลังงานโดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ ไทย (กฟผ.) ไดปรับมาใชน้ำมันดีเซลและ น้ำมันเตาเดินเครื่องโรงไฟฟาจะนะชุดที่ 1 และโรงไฟฟากระบี่ และรับซื้อไฟฟาจาก ประเทศมาเลเซีย รวมทั้งมีการสงไฟฟาจาก ภาคกลางเขามาเสริมเพื่อรักษาความมั�นคง ของระบบไฟฟาภาคใต ใหอยูในระดับที่ สามารถ จายไฟฟาไดอยางเพียงพอ ซึ�ง ปจจัยเหลาน�ส้ ง ผลตอสถานการณพลังงานของ ประเทศในชวงครึ�งปแรกของป 2560 ดังน�้
การใช การผลิต และการนำเขาพลังงานขั้นตน การใชพลังงานขัน้ ตน เพิม� ขึน้ รอยละ 9.2 โดยเปนการเพิม� ขึน้ ของการใชพลังงาน เกือบทุกประเภทยกเวนการใชกา ซธรรมชาติทม่ี กี ารใชลดลงรอยละ 0.7 เน�อ� งจากมี ปรับโรงไฟฟาบางปะกงหนวยที่ 3 เปนโรงไฟฟาประเภทสำรองฉุกเฉิน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
47
การผลิตพลังงานขัน้ ตน อยูท ร่ี ะดับ 975 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน ลดลงรอยละ 5.2 โดยเปนลดลงของการผลิตน้ำมันดิบ คอนเดนเสท และกาซธรรมชาติ ตามการผลิตที่ลดลงของแหลงผลิตภายในประเทศ และการหยุดจายกาซของแหลง JDA-A18 ในชวง เดือนมิถุนายน 2560 จากเหตุขัดของในระบบสงจายกาซธรรมชาติ การนำเขาพลังงานขัน้ ตน (สุทธิ) อยูท ร่ี ะดับ 1,370 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 3.2 โดยเปนการเพิม� ขึน้ ของ การนำเขาพลังงานทุกประเภท การนำเขาพลังงานไฟฟาจากประเทศเพือ่ นบานเพิม� ขึน้ จากการจายไฟเขาระบบของโรงไฟฟาหงสาตัง้ แต เดือนมีนาคม 2559 และการนำเขากาซธรรมชาติ และ LNG เพิ�มขึ้น เน��องจากการผลิตกาซธรรมชาติในประเทศไทยไมเพียงพอ มูลคาการนำเขาพลังงาน อยูท ร่ี ะดับ 477 พันลานบาท เพิม� ขึน้ รอยละ 33.0 เปนการเพิม� ขึน้ ของพลังงานเกือบทุกประเภท โดยเฉพาะ มูลคาการนำเขาน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ปรับตัวเพิม� ขึน้ รอยละ 42.5 และ 16.5 ตามลำดับ ซึง� เปนการปรับตัวเพิม� ขึน้ ตามราคาน้ำมัน ในตลาดโลก ในสวนของการนำเขาถานหิน การนำเขาไฟฟา และการนำเขากาซธรรมชาติเหลว (LNG) มีมลู คาการนำเขาเพิม� ขึน้ รอยละ 22.4 27.5 และ 80.0 ตามลำดับ ในขณะทีม่ ลู คาการนำเขากาซธรรมชาติลดลงรอยละ 10.2 ตามปริมาณการนำเขากาซธรรมชาติทล่ี ดลง
การใช พลังงานขั้นต น
หนวย:พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน
ป
2557
ปริมาณการใช 2,558 น้ำมัน 734 กาซธรรมชาติ 916 ถานหิน/ลิกไนต 359 พลังงานหมุนเวียน 518 พลังน้ำ/ไฟฟานำเขา 30 อัตราการเปลี่ยนแปลง (% yoy) 2.2 น้ำมัน 0.6 กาซธรรมชาติ 0.8 ถานหิน/ลิกไนต 10.1 พลังงานหมุนเวียน 2.1 พลังน้ำ/ไฟฟานำเขา -3.1
สถานการณพลังงานแตละชนิด น้ำมันสำเร็จรูป การใชน้ำมันสำเร็จรูปอยูที่ระดับ 141.4 ลานลิตร ตอวัน เพิ�มขึ้นรอยละ 1.9 จากชวงเดียวกันของปกอน โดยมี รายละเอียดดังน�้ น้ำมันดีเซล ปริมาณการใชเฉลี่ยอยูที่ 65.6 ลานลิตรตอวัน เพิ�มขึ้น รอยละ 2.4 จากชวงเดียวกันของปกอนเน��องจากมีความตองการ ใชในการขนสงสินคาเกษตรในชวงไตรมาสแรกของป 2560 เพิม� ขึน้ สงผลใหปริมาณการใชเฉลีย่ ในชวงไตรมาสแรก เพิม� ขึน้ ถึง 1.8 ลานลิตรตอวัน และทำใหภาพรวมการใชนำ้ มันดีเซลครึง� ปแรกเพิม� ขึน้
48
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
2558 2,632 767 919 352 563 31 2.9 4.5 0.3 -2.0 8.6 4.3
2559 2,695 798 901 358 599 40 2.4 4.0 -1.9 1.6 6.4 28.2
ม.ค.-มิ.ย. 2559 2,731 811 910 365 610 36 2.4 4.7 -1.8 2.0 5.3 20.5
2560 2,981 827 903 384 819 48 9.2 1.9 -0.7 5.2 34.3 35.2
น้ำมันเบนซินและแกสโซฮอล ปริมาณการใชเฉลีย่ อยูท ่ี 29.9 ลานลิตร ตอวัน เพิ�มขึ้นรอยละ 4.5 จากปกอน โดยเปนเพิ�มขึ้นของการ ใชน้ำมันกลุมแกสโซฮอล 95 ตามความตองการใชที่เพิ�มขึ้น โดยเฉพาะการใชในภาคขนสง เน��องจากปริมาณรถยนตที่เพิ�ม มากขึ้น ประกอบกับราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศที่ยังคงอยูใน ระดับที่ไมสูงมากนัก อีกทั้งผูใชรถยนต LPG และ NGV หันมา ใชน้ำมันทดแทนเน��องจากราคาถูก และมีความสะดวกดานสถาน� บริการที่ทั�วถึงมากกวา น้ำมันเครือ่ งบิน มีปริมาณการใชเฉลีย่ อยูท ่ี 18.6 ลานลิตรตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 4.6 จากชวงเดียวกันของปกอ น ตามการขยายตัว
ของภาคการทองเทีย่ วทีม่ จี ำนวนนักทองเทีย่ วตางชาติเดินทางเขา ประเทศเพิม� ขึน้ จากภาวะเศรษฐกิจโลกทีเ่ ริม� มีแนวโนมดีขน้ึ LPG โพรเพน และบิวเทน การใชอยูท ร่ี ะดับ 3,061 พันตัน เพิม� ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 1.6 โดยภาคครัวเรือน มีสดั สวน การใชสูงสุดคิดเปนรอยละ 34 ปริมาณการใชเพิ�มขึ้นรอยละ 1.9 รองลงมา คือ การใชเปนวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปโตรเคมี มีสดั สวน รอยละ 31 มีการใชเพิม� ขึน้ ถึงรอยละ 10.9 และ ภาคอุตสาหกรรม
มีการ ใชเพิม� ขึน้ รอยละ 4.5 ตามการสงออกสินคาอุตสาหกรรมที่ ขยายตัวดีขึ้น สวนการใชภาคขนสงคิดเปนรอยละ 22 การใชลดลง รอยละ 9.8 จากการปรับลดลงของราคาขายปลีกน้ำมันสงผลใหผใู ช รถยนต LPG บางสวนหันมาใชน้ำมันทดแทน ประกอบกับปริมาณ รถยนต LPG ที่มีแนวโนมลดลง กาซธรรมชาติ มีปริมาณการใชอยูท ร่ี ะดับ 4,692 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ลดลงรอยละ 1.4 โดยการใชเพื่อผลิตไฟฟาลดลงรอยละ 6.1
การใชนำ้ มันสำเร็จรูป
การใช LPG โพรเพนและบิวเทน หนวย:พันตัน
หนวย:ลานลิตรตอวัน
2558
2559
131.9 ปริมาณการใช 26.4 เบนซินและแกสโซฮอล 60.1 ดีเซล 16.6 เครื่องบิน* 5.6 น้ำมันเตา 23.2 LPG** อัตราการเปลีย่ นแปลง (% YoY) 4.3 13.2 เบนซินและแกสโซฮอล 4.1 ดีเซล 9.4 เครื่องบิน* -1.5 น้ำมันเตา -5.5 LPG**
136.7 29.0 61.9 17.7 6.2 21.9 3.7 9.8 3.0 6.9 10.2 -5.7
ป
ม.ค.-มิ.ย. 2559 2560 138.7 141.4 28.6 29.9 64.0 65.6 17.7 18.6 6.6 6.0 21.8 21.5 4.3 1.9 10.9 4.5 4.2 2.4 6.2 4.6 15.5 -9.4 -6.9 -1.6
ป
2557
2558
2559
การใช ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต อุตสาหกรรมปโตรเคมี ใชเอง อัตราการเปลีย่ นแปลง (% YoY) ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต อุตสาหกรรมปโตรเคมี ใชเอง
7,515 2,188 577 1,974 2,675 102 -0.1 -9.2 -4.2 11.2 1.3 3.4
6,695 2,094 594 1,731 2,124 153 -10.9 -4.3 3.0 -12.3 -20.6 50.6
6,134 2,110 610 1,466 1,810 137 -8.4 0.8 2.8 -15.3 -14.8 -10.5
ม.ค.-มิ.ย. 2559 2560 3,012 3,061 1,034 1,054 301 314 748 675 865 959 58 64 -12.1 1.6 -0.05 1.9 2.2 4.5 -16.0 -9.8 -23.7 10.9 -12.1 -8.8
หมายเหตุ * น้ำมันเครื่องบินและน้ำมันกาด ** ไมรวมการใช LPG ที่ใชเปน Feed stocks ในปโตรเคมี
การใชกา ซธรรมชาติรายสาขา ลานลูกบาศกฟุต/วัน 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 2553
2554
NGV อุตสาหกรรม โรงแยกกาซ ผลิตไฟฟา 2555
2556
2557
2558
2559
2560*
การใชป 2560* ผลิตไฟฟา โรงแยกกาซ อุตสาหกรรม NGV 248 ปริมาณการใช (ลานลูกบาศกฟุต/วัน) 2,724 1,008 712 -14.2 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) -6.1 13.5 4.1 5 สัดสวน (%) 58 22 15
รวม 4,692 -1.4 100
หมายเหตุ * ขอมูล ม.ค.-มิ.ย.60
การใชลกิ ไนต/ถานหิน
หนวย: พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ
2558
2559
ปริมาณ
ความตองการใช 17,573 17,909 9,505 3,883 4,319 2,161 การใชลิกไนต 3,588 4,064 2,037 ผลิตกระแสไฟฟา 256 123 อุตสาหกรรม 295 การใชถานหิน 13,690 13,590 7,344 ผลิตกระแสไฟฟา (IPP/SPP) 5,124 5,221 2,477 อุตสาหกรรม 8,566 8,369 4,868
หมายเหตุ * ขอมูล ม.ค.-มิ.ย.60 (เบื้องตน)
2560*
เปลี่ยนแปลง สัดสวน (%)
(%)
4.6 1.4 2.3 -10.7 5.6 -7.2 13.6
100 94 6 100 34 66
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
49
และการใชเพื่อเปนเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต (NGV) มีการใชลดลง ถึงรอยละ 14.2 ในขณะที่การใชกาซธรรมชาติในอุตสาหกรรม ปโตรเคมี และอืน่ ๆ เพิม� ขึน้ รอยละ 13.5 และการใชเปนเชือ้ เพลิง ในโรงงานอุตสาหกรรมเพิ�มขึ้นรอยละ 4.1 ตามการปรับตัวของ เศรษฐกิจที่มีแนวโนมดีขึ้น ลิกไนต/ถานหิน มีการใชอยูท ร่ี ะดับ 9,505 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ�มขึ้นจากปกอนรอยละ 4.6 ลิกไนต การใชอยูที่ 2,161 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ�มขึ้น รอยละ 1.4 โดยรอยละ 94 ของปริมาณการใชลิกไนตเปนการใช ในภาคการผลิตไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
(กฟผ.) เพิ�มขึ้นรอยละ 2.3 สวนที่เหลือรอยละ 6 นำไปใชในภาค อุตสาหกรรมอาทิ อุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต ในกระบวนการ ผลิตปูน และอุตสาหกรรมกระดาษ เปนตน การใชลิกไนต ใน อุตสาหกรรมลดลงรอยละ 10.7 ถานหินนำเขา การใชอยูท ่ี 7,344 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบเพิม� ขึน้ รอยละ 5.6 โดยใชในภาคอุตสาหกรรม เพิ�มขึ้นรอยละ 13.6 และ ใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของ SPP และ IPP ลดลงรอยละ 7.2 สวนหนึ�งมาจากโรงไฟฟาเก็คโค-วัน หยุดซอมบำรุงในชวง เดือนมกราคม 2560
ไฟฟา กำลังผลิตในระบบไฟฟ า (System Generating Capacity) ณ เดือนมิถนุ ายน 2560 อยูท ่ี 41,723.25 เมกะวัตต ลดลง 167 เมกะวัตต เมือ่ เทียบกับกำลังการผลิต ณ เดือนธันวาคม 2560 โดยการไฟฟ าฝ ายผลิตแห งประเทศไทย (กฟผ.) มีกำลัง ผลิตในระบบไฟฟ าสูงสุด คิดเป นสัดส วนร อยละ 38.5 รองลง มาคือผู ผลิตไฟฟ าเอกชนรายใหญ (IPP) ร อยละ 35.8 ผู ผลิต ไฟฟ าเอกชนรายเล็ก (SPP) ร อยละ 16.4 และซื้อ/แลกเปลี่ยน กับต างประเทศร อยละ 9.3 ความตองการพลังไฟฟาสูงสุดสุทธิ (Net Peak Generation Requirement) Peak ของป 2560 เกิดเมือ่ วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 14.20 น. โดยในระบบของ 3 การไฟฟาอยูท ่ี 30,303.4 เมกะวัตต ลดลงรอยละ 2.2 (Peak ในระบบ กฟผ. อยูท ่ี 28,578.4 เมกะวัตต) การใชไฟฟา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2560 อยูท ่ี 91,983 ลานหนวย เพิม� ขึน้ รอยละ 0.5 จากชวงเดียวกันของปกอ น โดยเพิม� ขึน้ ในเกือบ ทุกสาขาเศรษฐกิจ ยกเวนบานอยูอาศัยและภาคธุรกิจที่มีการใช ไฟฟาลดลงเล็กนอยเน�อ� งจากอุณหภูมทิ ต่ี ำ่ กวาปกอ น ภาคเกษตร กรรมมีอัตราความตองการใชไฟฟาเพิ�มขึ้นสูงสุดเน��องจากราคา สินคาเกษตรปรับตัวดีขึ้น สวนภาคอุตสาหกรรมมีการใชไฟฟา เพิ�มขึ้นเล็กนอย การผลิตไฟฟา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2560 อยูที่ 100,450 ลานหนวย ใกลเคียงกันกับปกอ น โดยเชือ้ เพลิงทีใ่ ชในการผลิตไฟฟา สูงสุด ไดแก กาซธรรมชาติ คิดเปนสัดสวนรอยละ 60 ของการ ผลิตไฟฟาทัง้ หมด ในสวนของการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน (รวมพลังงานน้ำ) คิดเปนสัดสวนรอยละ 7.5 ซึ�งมีการใชเพิ�มขึ้น ตามนโยบายกระจายแหลงเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟาและการ สงเสริมการใชพลังงานทดแทนของกระทรวงพลังงาน
คาไฟฟาตามสูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) หนวย: สตางคตอหนวย
เดือนเรียกเก็บ ม.ค.59-เม.ย.59 พ.ค.59-ส.ค.59 ก.ย.59-ธ.ค.59 ม.ค.60-เม.ย.60 พ.ค.60-ส.ค.60
Ft ขายปลีก -4.80 -33.29 -33.29 -37.29 -24.77
เปลี่ยนแปลง -1.57 -28.49 0.00 -4.00 12.52
คาเอฟที ในป 2560 มีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ ครั้งที่ 1 : ชวงเดือนมกราคม - เมษายน 2560 อยูที่อัตรา -37.29 สตางคตอหนวย ปรับลดลง 4.00 สตางคตอหนวย จากชวงเดือน กันยายน - ธันวาคม 2559 ซึ�งอยูที่อัตรา -33.29 ครั้งที่ 2 : ชวงเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2560 อยูที่อัตรา -24.77 สตางคตอหนวย ปรับเพิ�มขึ้น 12.52 สตางคตอหนวย
50
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
แนวโนมพลังงานป 2560 จากประมาณการเศรษฐกิจไทย โดย สศช. คาดว าเศรษฐกิจไทยในป 2560 จะขยายตัวร อยละ 3.3 - 3.8 โดยมีป จจัย สนับสนุนจากการฟ�น� ตัวของการส งออกตามการปรับตัวดีขน้� ของเศรษฐกิจประเทศคูค า ราคาสินค าในตลาดโลกและการลงทุน ภาครัฐตลอดจน การขยายตัวของภาคการท องเทีย่ ว การปรับตัวดีขน้� ของการผลิตสินค าเกษตรทีส่ ง ผลให รายได เกษตรกรตามราคา สินค าเกษตรทีย่ งั อยูใ นเกณฑ ดี อีกทัง้ การปรับตัวดีขน้� ของตลาดรถยนต ในประเทศตามความต องการซือ้ รถยนต ทค่ี าดว าจะเพ�ม� ข�น้ ขณะที่ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกขยับตัวสูงข�้นแต ยังคงอยู ในระดับต่ำ โดยคาดว าราคาน้ำมันดิบดูไบในป 2560 อยู ใน ช วง 47-57 ดอลลาร สรอ. ต อบาร เรล และอัตราแลกเปลีย่ นมีแนวโน มอ อนค าลงเฉลีย่ อยูใ นช วง 35.0–36.0 บาทต อดอลลาร สรอ. ทั้งนี้ สนพ. ประมาณการความต องการพลังงานของประเทศป 2560 ภายใต สมมติฐานดังกล าว สรุปได ดังนี้ ความตองการพลังงานขัน้ ตน ป 2560 คาดวาอยูท ร่ี ะดับ 2,924 พันบารเรลเทียบเทา น้ำมันดิบตอวัน เพิ�มขึ้นรอยละ 8.5 เมื่อ เทียบกับป 2559 ตามภาวะเศรษฐกิจที่ ขยายตัว โดยคาดการณวาการใชพลังงาน จะเพิ�มขึ้นทุกประเภท ทั้งน�้ การใชน้ำมัน เพิม� ขึน้ รอยละ 2.0 จากการใชนำ้ มันเบนซิน และแกสโซฮอล น้ำมันดีเซล และน้ำมัน เครือ่ งบิน การใชถา นหิน/ลิกไนตเพิม� ขึน้ รอยละ 5.3 การใชพลังงานทดแทนคาดวาจะเพิม� ขึน้ รอยละ 31.1 มากในชวงตนปและการใชไฟฟา พลังน้ำ/ไฟฟานำเขาคาดวาจะเพิ�มขึ้นรอยละ 16.0 น้ำมันสำเร็จรูป ป 2560 เพิม� ขึน้ รอยละ 2.0 เมื่อเทียบกับป 2559 โดย การใชน้ำมัน ดีเซล คาดวาจะเพิม� ขึน้ รอยละ 2.3 สวนการ ใชเบนซินและแกสโซฮอล เพิม� ขึน้ รอยละ 4.3 เปนผลมาจากราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก ที่คาดวาจะยังคงอยูในระดับที่ไมสูงมาก ประกอบกับที่กระทรวงพลังงานมีนโยบาย ปรับโครงสรางราคา LP ใหสะทอนตนทุน ที่แทจริงและเปดเสรี LPG ที่จะเริ�มในเดือน สิงหาคม 2560 ซึ�งอาจทำใหราคา LPG ปรับตัวสูงขึ้น ประชาชนบางสวนจึงหัน กลับมาใชน้ำมันตามเดิม รวมทั้งประมาณ การภาวะเศรษฐกิจของ ศสช. ที่คาดวา ตลาดรถยนต ในประเทศจะปรับตัวดีขึ้น การใชน้ำมันเครื่องบิน คาดวาจะเพิ�มขึ้น รอยละ 4.6 ตามแนวโนมการขยายตัวของ ภาคการทองเที่ยว สวนการใชน้ำมันเตา คาดวาจะลงลงรอยละ 7.3 เมื่อเทียบกับ ฐานที่สูงในป 2559 ในขณะที่การใช LPG ในสวนที่ไมรวมการใชใน Feed stocks ของอุตสาหกรรมปโตรเคมี คาดวาจะลดลง รอยละ 1.6
แนวโนมการใชพลังงานขัน้ ตน ป 2560 หนวย: พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน
2557
2558
2559
H1 2,981 827 903 384 819 48 9.2 1.9 -0.7 5.2 34.3 35.2
2560f H2 ทั้งป 2,866 2,923 801 814 900 902 370 377 751 785 46 45 8.5 7.7 2.0 2.1 0.8 0.04 5.3 5.5 27.7 31.1 1.0 16.0
2,558 2,632 2,695 การใชพลังงานรวม 798 767 734 น้ำมัน 901 919 916 กาซธรรมชาติ 358 352 359 ถานหิน/ลิกไนต 599 563 518 พลังงานทดแทน 40 31 30 พลังน้ำ/ไฟฟานำเขา 2.4 2.9 2.2 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 4.0 4.5 0.6 น้ำมัน -1.9 0.3 0.8 กาซธรรมชาติ 1.6 10.1 -2.0 ถานหิน/ลิกไนต 6.4 8.6 2.1 พลังงานทดแทน 28.2 4.3 -3.1 พลังน้ำ/ไฟฟานำเขา หมายเหตุ *H1 ขอมูล ม.ค.-มิ.ย. (ประมาณการขอมูลเดือนมิถุนายน (เบื้องตน)) H2 ขอมูล ก.ค.-ธ.ค. f ขอมูลประมาณการ
แนวโนมการใชนำ้ มันสำเร็จรูป ป 2560 หนวย: ลานลิตร/วัน
การใชน้ำมันสำเร็จรูป เบนซินและแกสโซฮอล ดีเซล เครื่องบิน* น้ำมันเตา LPG** อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) เบนซินและแกสโซฮอล ดีเซล เครื่องบิน* น้ำมันเตา LPG**
2557
2558
2559
26.5 23.3 57.8 15.1 5.7 24.6 0.6 3.8 0.8 -0.9 -3.8 -0.9
131.9 26.4 60.1 16.6 5.6 23.2 4.3 13.2 4.1 9.4 -1.5 -5.5
136.7 29.0 61.9 17.7 6.2 21.9 3.7 9.8 3.0 6.9 10.2 -5.7
H1 141.1 29.9 65.6 18.6 6.0 21.5 1.9 4.5 2.4 4.6 -9.4 -1.6
2560f H2 ทั้งปี 137.4 139.4 30.6 30.2 61.2 63.4 18.5 18.5 5.8 5.6 21.5 21.5 2.0 2.0 4.3 4.2 2.3 2.2 4.6 4.7 -5.0 -7.3 -1.7 -1.6
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
51
LPG โพรเพน และบิวเทน ป 2560 คาดวาจะมีการใชเพิ�มขึ้นรอยละ 2.1 โดยการใชในรถยนต คาดวาจะลดลงรอยละ 8.8 เน��องจากมีการปรับโครงสรางราคา LPG ใหสะทอนตนทุนที่แทจริง ทำให ราคา LPG ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่ราคาน้ำมันอยูในระดับไมสูงมาก ทำใหผูใช LPG บางสวนหันไปใช น้ำมันแทน สวนการใชในอุตสาหกรรมปโตรเคมี คาดวาจะมีการใชเพิม� ขึน้ รอยละ 11.6 เน�อ� งจากราคา น้ำมันยังอยูในระดับต่ำ ในขณะทีภ่ าคครัวเรือนคาดวาการใชเพิม� ขึน้ รอยละ 2.5 และภาคอุตสาหกรรม คาดวาจะมีการใชเพิ�มขึ้นรอยละ 3.7 ตามแนวโนมการขยายตัวของเศรษฐกิจ
แนวโนมการใช LPG โพรเพนและบิวเทน ป 2560
การใช LPG รวม ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต ปโตรเคมี ใชเอง อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต ปโตรเคมี ใชเอง หมายเหตุ
2557
2558
2559
7,515 2,188 577 1,974 2,675 102 -0.1 -9.2 -4.2 11.2 1.3 3.4
6,695 2,094 594 1,731 2,124 153 -10.9 -4.3 3.0 -12.3 -20.6 50.6
6,134 2,110 610 1,466 1,810 137 -8.4 0.8 2.8 -15.3 -14.8 -10.5
H1 ขอมูล ม.ค.-มิ.ย. H2 ขอมูล ก.ค.-ธ.ค.
นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS
2560f H2 3,202 1,109 319 662 1,061 51 2.6 3.0 3.0 -7.8 12.3 -30.3
ทั้งป 6,262 2,163 633 1,337 2,020 109 2.1 2.5 3.7 -8.8 11.6 -20.3
f ขอมูลประมาณการ
กาซธรรมชาติ ป 2560 คาดวาการใชจะลดลงจากป 2559 เล็กนอยรอยละ 0.6 จากการใชที่ลดลงในภาคขนสงเน��องจากผูใช NGV บางสวนเปลีย่ นกลับไปใชนำ้ มันเปนเชือ้ เพลิง ในขณะทีภ่ าค การผลิตไฟฟาลดลงเน��องจากไดมีการปรับโรงไฟฟาบางปะกง หนวยที่ 3 ของ กฟผ. ไปเปนโรงไฟฟาประเภทสำรองฉุกเฉิน ไฟฟา ป 2560 คาดวาจะมีการใชไฟฟาอยูที่ 186,187 ลานหนวย เพิ�มขึ้นรอยละ 1.8 เมื่อเทียบกับป 2559 ตามการ ขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจที่คาดวาจะปรับตัวดีขึ้น ความตองการ พลังไฟฟาสูงสุด (Peak) ในระบบของ 3 การไฟฟา ป 2560 เกิดขึน้ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2560 ซึ�งอยูที่ระดับ 30,303.4 เมกะวัตต ลดลงรอยละ 2.2 เมื่อเทียบกับป 2559 ซึ�งอยูที่ระดับ 30,972.7 หรือลดลง 669.3 เมกะวัตต (Peak ในระบบ กฟผ. ป 2560 อยูที่ 28,578.4 เมกะวัตต ลดลงรอยละ 3.5 เมื่อเทียบกับป 2559)
52
H1 3,061 1,054 314 675 959 58 1.6 1.9 4.5 -9.8 10.9 -8.8
หนวย : พันตัน
ป
กิกะวัตตชั�วโมง
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560f
148,855 161,779 164,341 168,685 174,833 182,847 186,187
หมายเหตุ
การเปลี่ยนแปลง กิกะวัตตชั�วโมง รอยละ (%) -0.3 -446 8.7 12,924 1.6 2,562 2.6 4,344 3.6 6,148 4.6 8,014 1.8 2,361
f ขอมูลประมาณการ
“คิดกอนใช” โทรทัศน ไมปดโทรทัศนดวยรีโมทคอนโทรล ปดที่ตัวเครื่องและถอดปลั๊กเมื่อเลิกใชงาน ตั้งโทรทัศนหางจากผนังอยางนอย 10 ซม. และอยูในที่ที่อากาศถายเทสะดวก
พัดลม หมั�นทำความสะอาดเปนประจำ เลือกใชขนาดที่เหมาะสม
กระติกน้ำรอน ใสนำ้ เฉพาะปริมาณทีต่ อ งการใช ถอดปลั๊กเมื่อน้ำเดือดแลวกรอกใสกระติก
ไฟฟาแสงสวาง เลือกใชหลอด LED หมั�นทำความสะอาดหลอดไฟและโคมไฟ
ประหยัดไฟไม ใช เร�่องยาก ตูเย็น
เคร�่องซักผา
ตั้งหางผนังอยางนอย 15 ซม. เลือกขนาดความจุท่ี เหมาะสมและแชเฉพาะ ของทีจ่ ำเปน
ซักครัง้ ละมากๆ ตาม ปริมาณทีเ่ ครือ่ งกำหนดสูงสุด แชผากอนเขาเครื่องชวยให กำจัดกลิ�นสกปรกไดดีขึ้น
คอมพ�วเตอร
เตาร�ด
ปดจอเมื่อไมใชงาน นานกวา 15 นาที เลือกซือ้ เครือ่ งที่มีระบบประหยัด ไฟฟาเทานั้น
เคร�่องปรับอากาศ ทำความสะอาดเครือ่ งปละ 2 ครัง้ ไมนำของรอนเขาหองแอร เปดที่ 25 องศา ปรับอุณหภูมิ ขึ้น 1 องศา ประหยัดไฟ 10%
รีดผาครั้งละมากๆ ไมพรมน้ำจนชุม ตากผาใหเรียบรอย ลดการยับประหยัดเวลา
หมอหุงขาวไฟฟา เลือกขนาดความจุที่ เหมาะสม ไมเปดฝาหมอหุงขาว ขณะที่ขาวยังไมสุก
แบบสอบถามความคิดเห็น “วารสารนโยบายพลังงาน”
ฉบับที่ 120 มิถุนายน - กรกฎาคม 2560 www.eppo.go.th คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน มีความประสงค จะสำรวจ ความคิดเห็นของท านผู อ าน เพ�่อนำข อมูลมาใช ประกอบการปรับปรุง วารสารนโยบายพลังงานให ดียิ�งข�้น ผู ร วมแสดงความคิดเห็น 10 ท านแรกจะได รับของที่ระลึกจากคณะทำงานฯ เพ�ยงแค ท านตอบ
แบบสอบถามและเข�ยนชื่อ-ที่อยู ตัวบรรจงให ชัดเจน ส งไปที่ คณะทำงาน วารสารนโยบายพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุร� แขวงทุ งพญาไท เขตราชเทว� กทม. 10400 หร�อโทรสาร 0 2612 1358
หากทานใดตองการสมัครสมาชิกวารสารฯ รูปแบบไฟล pdf สมัครไดที่ e-mail : eppojournal@gmail.com ชื่อ-นามสกุล…………………………………………………………….หนวยงาน……………………………………………………. อาชีพ/ตำแหนง……………………………………………………………………….. โทรศัพท……………………………………… ที่อยู…………………………………………………………………………………………………………อีเมล………………………
กรุณาทำเคร�่องหมาย ลงในช อง และเติมข อความ ที่สอดคล องกับความต องการของท านลงในช องว าง 1. ทานอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” จากที่ใด ที่ทำงาน/ หนวยงานที่สังกัด ที่บาน หนวยงานราชการ/สถานศึกษา หองสมุด www.eppo.go.th อื่นๆ 2. ทานอาน “วารสารนโยบาลพลังงาน” ในรูปแบบใด แบบรูปเลม ไฟล pdf ทางอีเมล E-Magazine 3. ทานอาน “ วารสารนโยบายพลังงาน” เพราะเหตุผลใด ขอมูลเปนประโยชนตอการทำงาน ขอมูลหาไดยากจากแหลงอื่น ขอมูลอยูในความสนใจ มีคนแนะนำใหอาน อื่นๆ……………………….. 4. ทานใชเวลาอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” กี่นาที 0-10 นาที 11-20 นาที 21-30 นาที 31-40 นาที 41-50 นาที 51-60 นาที มากกวา 60 นาที 5. ความพึงพอใจตอรูปแบบ “วารสารนโยบายพลังงาน” ปก
ความนาสนใจ สอดคลองกับเน�อ้ หา เน�อ้ หา ความนาสนใจ ตรงความตองการ นำไปใชประโยชนได ความทันสมัย ภาพประกอบ ความนาสนใจ สอดคลองกับเน�อ้ หา ทำใหเขาใจเน�อ้ เรือ่ งดีขน้ึ ขนาด สำนวนการเขียน ความเขาใจ ขนาดตัวอักษร เล็กไป รูปแบบตัวอักษร อานงาย การใชสี ขัดตา ขนาดรูปเลม เล็กไป
มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก เล็กไป งาย พอดี อานยาก สบายตา พอดี
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง พอดี ยาก
นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย ใหญไป ไมเขาใจ ใหญไป ใหญไป
6. ความพึงพอใจภาพรวมของ “วารสารนโยบายพลังงาน” มาก ปานกลาง นอย 7. ระยะเวลาการเผยแพร “วารสารนโยบายพลังงาน” ที่ทานตองการ ราย 1 เดือน ราย 2 เดือน ราย 3 เดือน
8. ทานเคยอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” บนเว็บไซต ของสำนักงานหรือไม เคย ไมเคย 9. ทานสนใจรับ “วารสารนโยบายพลังงาน” รูปแบบใด แบบเลม (สงไปรษณ�ย) แบบไฟล pdf (สงอีเมล) แบบ E-Magazine (อานทางเว็บไซต) 10. ทานสนใจรับไฟลวารสารทางอีเมลหรือไม สนใจ (โปรดกรอกอีเมล………………………………..) ไมสนใจ 11. ทานมีเพื่อนที่สนใจรับไฟลวารสารทางอีเมลหรือไม มี (โปรดกรอกอีเมล……………………………………) ไมมี 12. คอลัมนภายใน “วารสารนโยบายพลังงาน” ทีท่ า นชืน่ ชอบ (โปรดทำเครือ่ งหมาย ) ประเด็น
กิจกรรมภาพเปนขาว ความสุขในการทำงานจากวันวานถึงวันน�้ ยานยนตไฟฟา (EV) Astana EXPO 2017 เกาะ Samso การเผยแพรความรูด า นการจัดทำแผน PDP การซื้อขายไฟฟาจากประเทศลาว เปดเสรีธรุ กิจ LPG เต็มรูปแบบ สถานการณพลังงานไทย
มาก ปานกลาง นอย
13. “วารสารนโยบายพลังงาน” มีประโยชนอยางไร ประเด็น
มาก ปานกลาง นอย
ทำใหรูและเขาใจเรื่องพลังงาน ทำใหรูสถานการณพลังงาน นำไปใชในชีวิตประจำวันได ไดความรูรอบตัว อื่นๆ …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………..
14. ทานตองการให “วารสารนโยบายพลังงาน” เพิม� คอลัมนเกีย่ วกับอะไรบาง
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
15. ขอเสนอแนะเพิม� เติม
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
ขอขอบคุณทุกท านที่ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น