วารสารนโยบายพลังงาน ฉบับพิเศษ ปี 2558

Page 1

นโยบายพลง ั งาน

วารสาร

ฉบับพิเศษ ป 2558

ISSN 0859-3701

www.eppo.go.th

แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 แผนอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2558-2579 แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 แผนบริหารจัดการกาซธรรมชาติ แผนบริหารจัดการน้ำมันเชื้อเพลิง


เทคโนโลยีพลังงานจากต่างประเทศ

พลังงานจากไบโอแก๊ส

ในประเทศสวีเดน นโยบายการส่งเสริมการประหยัดพลังงานในประเทศไทยอีกหนึง่ ทางออกที่ส�ำคัญมากๆ คือการร่วมกันใช้พลังงานทดแทน อันเนื่อง มาจากน�้ำมันในประเทศค่อนข้างมีน้อย ต้องน�ำเข้ามาจากต่างประเทศ เป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบันหลายคนหันมาใช้แก๊สกันมากขึ้นซึ่งก็ถือเป็น จุดเริม่ ต้นทีด่ ี ฉบับนีว้ ารสารนโยบายพลังงานมีตวั อย่างดีๆ จากประเทศ สวีเดน ที่ท�ำให้เห็นว่าพลังงานจากไบโอแก๊สมีก�ำลังในการขับเคลื่อน มากพอไม่แพ้น�้ำมันเลยทีเดียว เป้าหมายที่ชัดเจนของประเทศสวีเดน ที่จะเป็นประเทศแรกของโลกในการปลดแอกจากการใช้น�้ำมันให้ได้ ภายในปี 2558 ท�ำให้สวีเดนมุ่งหน้าสู่พลังงานทดแทน และพัฒนาจน ท�ำให้รถยนต์ รถแท็กซี่ รถขนขยะ และรถบัสหันมาใช้พลังงานจาก ไบโอแก๊สมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่เพียงแค่ใช้ไบโอแก๊สกับรถยนต์และรถโดยสารเล็กๆ แต่สวีเดน ยังได้พฒ ั นารถไฟทีว่ งิ่ ด้วยพลังงานจากไบโอแก๊สเป็นขบวนแรกของโลก อีกด้วย ถึงแม้จะบรรทุกผูโ้ ดยสารได้เพียงแค่ 54 คน และวิง่ ด้วยความเร็ว 130 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง และยังต้องคอยเติมเชือ้ เพลิงทุกๆ 600 กิโลเมตร แต่รถไฟขบวนนี้ก็มีดีที่เชื้อเพลิง จนได้ชื่อว่าเป็นรถไฟแห่งอนาคต ขบวนแรกของโลกทีว่ งิ่ ด้วยเชือ้ เพลิงจากไบโอแก๊ส ทีไ่ ด้จากของเหลือใช้ ในครัวเรือนและในภาคเกษตรกรรมคือฟาร์มเลี้ยงสัตว์

การใช้ไบโอแก๊สเป็นเชื้อเพลิงในประเทศสวีเดน เป็นนโยบาย ที่รัฐบาลสวีเดนให้ความส�ำคัญเป็นอันดับต้นๆ โดยปัจจุบันมีรถบัส มากกว่า 779 คัน และรถยนต์อีกกว่า 4,000 คัน หันมาใช้เชื้อเพลิงที่ เป็นส่วนผสมจากน�ำ้ มันกับไบโอแก๊สหรือแก๊สธรรมชาติ ถือเป็นตัวอย่าง ดีๆ ที่ประเทศไทยน่าจะน�ำไปพัฒนาในอนาคต


ทักทาย วารสารนโยบายพลั ง งานฉบั บ พิ เ ศษนี้ ส� ำ นั ก งานนโยบายและ แผนพลังงานมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะพาท่านผู้อ่านทุกท่านไปพบกับ 5 แผนบู ร ณาการพลั ง งานแห่ ง ชาติ ซึ่ ง เป็ น กรอบที่ ก ระทรวงพลั ง งาน ได้ จั ด ท� ำ ขึ้ น เพื่ อ ความมั่ น คงด้ า นพลั ง งานของประเทศชาติ ต ามนโยบาย รัฐบาล รวมทั้งการเตรียมความพร้อม เข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ซึ่ ง การจั ด ท� ำ แผน บูรณาการพลังงานแห่งชาติทั้ง 5 แผนนี้ ประกอบด้วย แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย แผนอนุรักษ์ พลังงาน แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย และแผนบริหารจัดการ น�้ำมันเชื้อเพลิง โดยแผนต่ างๆ มีรายละเอียดที่น่ าสนใจ อย่างไรนั้นสามารถติดตามได้ในวารสารนโยบายฉบับพิเศษ เล่มนี้ คณะท�ำงาน

ติดตามข่าวสารด้านพลังงานจากเราได้ที่

วารสารนโยบายพลังงาน

ช่องทางใหม่ ในการติดตาม สถานการณ์พลังงาน

รองรับระบบปฏิบัติการ iOS และ Android

ดาวน์โหลด วารสารนโยบายพลังงาน ได้ที่ http://www.ebooks.in.th/Eppo-journal และอ่านแบบออนไลน์ได้ที่ http://issuu.com/eppojournal http://en.calameo.com/accounts/1521738

เจ้าของ ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ที่ปรึกษา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน จัดท�ำโดย คณะท�ำงานวารสารนโยบายพลังงาน ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2612 1555 โทรสาร 0 2612 1357-8 www.eppo.go.th ออกแบบและจัดพิมพ์ บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด โทร. 0 2642 5241-3,0 2247 2339-40 โทรสาร 0 2247 2363 www.DIRECTIONPLAN.org


ฉบับพิเศษ ปี 2558 www.eppo.go.th

6 สารบัญ

20

ENERGY LEARNING ZONE

6

20 34 54 64

ไฟฟ้า : แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของ ประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 อนุรักษ์พลังงาน : แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2558-2579 นโยบายพลังงาน : แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579

34 54

ปิโตรเลียม : แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเลียม : แผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง

ENERGY GAME ZONE

70 71

เกมพลังงาน : ค้นหาค�ำศัพท์ “ประหยัดพลังงาน 5R” การ์ตูนประหยัดพลังงาน : รวมพลังหาร 2 เปลี่ยนใหม่ประหยัดชัวร์ สูตร 2+2+2

64


กระทรวงพลังงานวางกรอบแผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติ ทีใ่ ห้ความส�ำคัญ ใน 3 ด้าน ประกอบด้วยด้านความมัน่ คงทางพลังงาน (Security) ในการตอบสนอง ต่ อ ปริ ม าณความต้ อ งการพลั ง งานที่ ส อดคล้ อ งกั บ อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทาง เศรษฐกิจ อัตราการเพิม่ ของประชากร และอัตราการขยายตัวของเขตเมือง รวมถึง การกระจายสัดส่วนของเชื้อเพลิงให้มีความเหมาะสม ด้านเศรษฐกิจ (Economy) ทีต่ อ้ งค�ำนึงถึงต้นทุนพลังงานทีม่ คี วามเหมาะสมและไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะยาว การปฏิรปู โครงสร้างราคาเชือ้ เพลิง ประเภทต่างๆ ให้สอดคล้องกับต้นทุน และให้มีภาระภาษีที่เหมาะสม เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของประเทศไม่ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย รวมถึงส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม (Ecology) เพิ่มสัดส่วนการผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในประเทศ และการผลิตพลังงานด้วย เทคโนโลยีประสิทธิภาพสูง เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน กระทรวงพลังงานได้วางกรอบแผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติ โดยจัดท�ำ เป็น 5 แผนหลัก ได้แก่ (1) แผนพั ฒ นาก� ำ ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศไทย (Thailand Power Development Plan : PDP) (2) แผนอนุรักษ์พลังงาน (Energy Efficiency Plan : EEP) (3) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan : AEDP) (4) แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย (Gas Plan) (5) แผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง (Oil Plan)

นโยบายพลังงาน

3


PDP 2015

EEP 2015

AEDP 2015

GAS PLAN

OIL PLAN

แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า ของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 [ Power Development Plan : PDP 2015 ]

4

นโยบายพลังงาน


การจัดท�ำแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 (แผน PDP 2015) ได้ด�ำเนินการให้มี ความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยคาดการณ์ว่าจะมีการเติบโตทางเศรษฐกิจ ระยะยาวที่ร้อยละ 3.94 ต่อปี และเป็นการก�ำหนดสัดส่วนเชื้อเพลิงให้มีความหลากหลาย เพื่อสร้างสมดุลของ การใช้เชื้อเพลิง การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า

การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าเป็นหัวใจส�ำคัญของการจัดท�ำแผน PDP 2015 โดยความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดของ ระบบเกิดขึ้น เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558 มีค่าเท่ากับ 27,345.80 เมกะวัตต์ ในขณะที่ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าสูงสุด ณ เดือน มกราคม 2559 อยูท่ ี่ 39,756.45 เมกะวัตต์ และเนือ่ งจากไฟฟ้าเป็นสินค้าทีไ่ ม่สามารถกักเก็บได้ ความต้องการในแต่ละช่วงเวลา ไม่เท่ากัน จึงจ�ำเป็นต้องมีการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ซึ่งจะพยากรณ์ทั้งค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak Demand) ซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ (kW) หรือ เมกะวัตต์ (1 MW = 1,000 kW) และพยากรณ์ค่าความต้องการพลังงานไฟฟ้า (Energy Demand) ซึง่ มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์-ชัว่ โมง (kWh) หรือ กิกะวัตต์-ชัว่ โมง (GWh = 106 kWh) เหตุทตี่ อ้ งพยากรณ์เป็น 2 กรณี เนื่องจากสามารถคาดการณ์ได้ว่า ในแต่ละปีความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดจะเพิ่มขึ้นในปริมาณเท่าใด เพื่อวางแผน สร้างโรงไฟฟ้า ระบบสายส่ง ระบบสายจ�ำหน่าย รองรับความต้องการไฟฟ้าสูงสุดทีจ่ ะเกิดขึน้ ในขณะเดียวกันก็ตอ้ งการทราบว่า ความต้องการพลังงานไฟฟ้าที่ใช้เป็นปริมาณเท่าใด เพื่อวางแผนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ารองรับความต้องการไฟฟ้า ในแต่ละปีควบคู่กันไปด้วย ดังนั้นการพยากรณ์พลังไฟฟ้าสูงสุดจะน�ำไปสู่การวางแผนการลงทุน เช่น โรงไฟฟ้า ระบบส่งและ จ�ำหน่าย ส่วนการพยากรณ์พลังงานไฟฟ้าจะน�ำไปสู่การลงทุน และเตรียมการในการจัดหาเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า นโยบายการกระจายเชื้อเพลิง

นโยบายการกระจายเชื้อเพลิง เพื่อลดความเสี่ยงการพึ่งพาเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่ง อาทิ ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานหมุนเวียน เพิ่มสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าถ่านหินโดยใช้เทคโนโลยีสะอาด และลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงหลักให้เหลือไม่เกิน 40% ในปี 2579 รวมไปถึงแผนการจัดสรรโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอนาคตโดยค�ำนึงถึง สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ควบคู่ไปกับการพัฒนาโรงไฟฟ้าและมุ่งพัฒนาทางเลือกเทคโนโลยีถ่านหินสะอาดที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทยน�ำมาใช้ เป็นเทคโนโลยีทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูงตลอดอายุของการผลิตไฟฟ้าถึง 30 ปี และจะก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนน้อยที่สุด

นโยบายพลังงาน

5


ไฟฟ้า

แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของ ประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 (Power Development Plan : PDP 2015) การจั ด ท� ำ แผนพั ฒ นาก� ำ ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ของ ประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 (แผน PDP 2015) โดยกระทรวงพลังงานร่วมกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทยเป็นแผนหลักในด้านการพัฒนา ก� ำ ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศ โดยมี เ ป้ า หมายใน การเสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้าลดการพึ่งพา ก๊าซธรรมชาติ เพิม่ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน เทคโนโลยีสะอาด การจัดหาไฟฟ้าจากต่างประเทศ เพิ่ ม ขึ้ น เพิ่ ม สั ด ส่ ว นการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน หมุ น เวี ย น รวมทั้ ง พั ฒ นาระบบส่ ง ไฟฟ้ า ระบบ จ�ำหน่ายไฟฟ้าเพือ่ รองรับการพัฒนาพลังงานทดแทน และการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ในการจัดท�ำค่าพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จัดท�ำประมาณการแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว (GDP) ปี 2557-2579 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 3.94 ต่อปีใช้อัตราการเพิ่มของ ประชากรเฉลี่ยร้อยละ 0.03 ต่อปี และมีการประยุกต์ใช้แผนอนุรักษ์ พลังงาน (EEDP) โดยมีเป้าหมายลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในปี 2579 เท่ากับ 89,672 ล้านหน่วย รวมทั้งได้พิจารณากรอบของแผนพัฒนา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) ส�ำหรับภาคการผลิต ไฟฟ้าในปี 2579 ซึง่ จะมีกำ� ลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเข้าระบบ จ�ำนวน 19,634.4 เมกะวัตต์ ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าที่ใช้ในการจัดท�ำแผน PDP 2015 เมื่อรวมผลของแผนอนุรักษ์พลังงานและแผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือกแล้วในช่วงปี 2557-2579 ความต้องการพลังงาน ไฟฟ้ารวมสุทธิของประเทศมีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ ร้อยละ 2.67 ต่อปี โดย ในปี 2579 ค่าพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ารวมสุทธิ (Energy) และพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิ (Peak) ของประเทศมีค่าประมาณ 326,119 ล้านหน่วย และ 49,655 เมกะวัตต์ตามล�ำดับ

6

นโยบายพลังงาน


สถานการณ์ความต้องการไฟฟ้าของประเทศ ปีที่ผ่านมา ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak) สุทธิ ของระบบ กฟผ. เกิดขึ้นเมื่อวันพุธที่ 23 เมษายน 2557 เวลา 14:26 น. ที่ 26,942.1 เมกะวัตต์ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 37.5 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นจากความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak) สุทธิของ ระบบ กฟผ. ในปี 2556 จ�ำนวน 344.0 เมกะวัตต์ หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.29 ซึ่งความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak) สุทธิ ของระบบ กฟผ. ในปี 2556 อยู่ที่ 26,598.1 เมกะวัตต์ ส�ำหรับ ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสุทธิของระบบ กฟผ. ในปี 2557 มีค่าเท่ากับ 177,580 ล้านหน่วย ซึ่งสูงกว่าความต้องการ พลังงานไฟฟ้าสุทธิของระบบ กฟผ. ปี 2556 ที่มีค่าเท่ากับ 173,535 ล้านหน่วย โดยเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวน 4,045 ล้านหน่วย หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.33 ส�ำหรับค่าประมาณการความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด สุทธิของประเทศในปี 2557 (ณ เวลาเดียวกันกับ ระบบ กฟผ.) มีค่าเท่ากับ 27,633.5 เมกะวัตต์ เพิ่มขึ้นจากปี 2556 จ�ำนวน 549.0 เมกะวัตต์ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.03 และความต้องการ พลังงานไฟฟ้าสุทธิของประเทศปี 2557 มีคา่ เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 จ�ำนวน 5,338.8 ล้านหน่วย หรือคิดเป็นร้อยละ 3.01 แนวทางการจัดท�ำแผน PDP 2015 ให้ความส�ำคัญกับ ความมั่นคงระบบไฟฟ้า โดยครอบคลุมระบบผลิตไฟฟ้า ระบบ ส่งไฟฟ้า และระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้ารายพื้นที่ จึงพิจารณาพื้นที่ ซึ่งมีโอกาสและมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดไฟฟ้าดับเป็นบริเวณ กว้างใน 2 พื้นที่คือ

2. พิจารณาความมั่นคงของระบบไฟฟ้าในภาคกลาง และกรุงเทพฯ และปริมณฑล เนือ่ งจากการใช้ไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ มีปริมาณสูงคิดเป็น ประมาณร้อยละ 30 ปัจจุบันต้องพึ่งพาการส่งไฟฟ้าภาคอื่นๆ ท�ำให้มคี วามเสีย่ งด้านความมัง่ คง ประกอบกับโรงไฟฟ้าในพืน้ ที่ จะหมดอายุลง มีผลให้กำ� ลังผลิตไฟฟ้าในพืน้ ทีล่ ดลง ประกอบกับ เป็นพื้นที่ซึ่งมีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ และมี การใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจ�ำเป็นต้องสร้าง โรงไฟฟ้าทดแทนเพื่อรักษาความมั่นคงของระบบไฟฟ้าให้อยู่ ในเกณฑ์มาตรฐาน ในช่วงปี 2562-2568 ดังนี้ • ปี 2562 โรงไฟฟ้าพระนครใต้ทดแทน เครื่องที่ 1-5 ก�ำลังผลิตไฟฟ้าสุทธิ1,300 เมกะวัตต์และโรงไฟฟ้าบางปะกง ทดแทน เครื่องที่ 1-2 ก�ำลังผลิตไฟฟ้าสุทธิ 1,300 เมกะวัตต์ • ปี 2565 โรงไฟฟ้าพระนครใต้ทดแทน ชุดที่ 1-2 ก�ำลังผลิต ไฟฟ้าสุทธิ 1,300 เมกะวัตต์ • ปี 2566 โรงไฟฟ้าวังน้อยทดแทน ชุดที่ 1-2 ก�ำลังผลิต ไฟฟ้าสุทธิ 1,300 เมกะวัตต์ • ปี 2568 โรงไฟฟ้าวังน้อยทดแทน ชุดที่ 3 ก�ำลังผลิต ไฟฟ้าสุทธิ 1,300 เมกะวัตต์

1. พิจารณาความมั่นคงของระบบไฟฟ้าในภาคใต้ ความต้องการไฟฟ้าของภาคใต้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณ ร้อยละ 3 ต่อปี ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็นต้องพัฒนาโรงไฟฟ้า เพิ่มเติม 3 โรง ในช่วงปี 2562-2567 ดังนี้ • ปี 2562 โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ ก�ำลังผลิตไฟฟ้าสุทธิ 800 เมกะวัตต์ • ปี 2564 โรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา เครื่องที่ 1 ก�ำลังผลิต ไฟฟ้าสุทธิ 1,000 เมกะวัตต์ • ปี 2567 โรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา เครื่องที่ 2 ก�ำลังผลิต ไฟฟ้าสุทธิ 1,000 เมกะวัตต์

นโยบายพลังงาน

7


สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงการผลิตไฟฟ้าในแผน PDP 2015

ส�ำหรับเชือ้ เพลิงประเภทถ่านหิน ปัจจุบนั มีปริมาณการใช้ อยู่ที่ 10-15% แผนใหม่ปรับเพิ่มเป็น 17% พลังงานหมุนเวียน ปัจจุบันใช้กันอยู่ที่ 8% เพิ่มเป็น 15-20% เนื่องจากพลังงาน ทดแทนบางประเภทยั ง มี ต ้ น ทุ น สู ง และไม่ มี เ สถี ย รภาพพอ หากเพิ่มสัดส่วนพลังงานทดแทนมากเกินไปอาจจะท�ำให้เกิด ปัญหาได้ แผนการผลิตไฟฟ้าทีด่ คี วรใช้พลังงานพืน้ ฐานเป็นหลัก ก่ อ นโดยมี พ ลั ง งานทดแทนเข้ า มาเสริ ม และซื้ อไฟฟ้ า จาก ประเทศเพือ่ นบ้านเพิม่ 7% เป็น 15-20% ซึง่ จะต้องเจรจาซือ้ ไฟฟ้า จากประเทศเมียนมาและกัมพูชาเพิม่ ขึน้ แต่พลังงานหลักอย่าง ก๊าซธรรมชาติจะค่อยๆ ปรับลดลงเป็น 37% ในอนาคต

แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP 2015) จากแนวทางในการจัดท�ำแผนฯ ข้างต้น สามารถสรุปใจความส�ำคัญของแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ปี 2558-2579 (PDP 2015) ได้โดยสังเขปดังนี้ เมื่อสิ้นแผนฯ ในปลายปี 2579 จะมีก�ำลังผลิตไฟฟ้ารวมสุทธิ 70,335 เมกะวัตต์ โดยประกอบด้วยก�ำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบนั ณ สิน้ ปี 2557 เท่ากับ 37,612 เมกะวัตต์ ก�ำลังผลิตของโรงไฟฟ้าใหม่รวม 57,459 เมกะวัตต์ มีการปลดก�ำลังผลิตโรงไฟฟ้าเก่าที่หมดอายุในช่วงปี 2558-2579 จ�ำนวน 24,736 เมกะวัตต์ ก�ำลังผลิตไฟฟ้าในช่วงปี 2558-2579

- ก�ำลังผลิตไฟฟ้า ณ ธันวาคม 2557 - ก�ำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ ในช่วงปี 2558-2579 - ก�ำลังผลิตไฟฟ้าที่ปลดออกจากระบบ ในช่วงปี 2558-2579 - รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้าทั้งสิ้น ณ สิ้นปี 2579

8

นโยบายพลังงาน

37,612 57,459 -24,736 70,335

เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์


ก�ำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ในช่วงปี 2558-2579

ก�ำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ ในช่วงปี 2558-2579 เท่ากับ 57,459 เมกะวัตต์ แยกตามประเภทโรงไฟฟ้า ดังนี้ โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน - ในประเทศ - ซื้อไฟฟ้าต่างประเทศ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำแบบสูบกลับ โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าพลังความร้อน - โรงไฟฟ้าถ่านหิน/ลิกไนต์ - โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ - โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส - ซื้อไฟฟ้าต่างประเทศ รวม

21,648 12,105 9,543 2,101 4,119 17,478 12,113 7,390 2,000 1,250 1,473 57,459

เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์

ก�ำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ในช่วงปี พ.ศ. 2558-2569

โครงการโรงไฟฟ้าตามแผนฯช่วงนี้ (10 ปีแรก) ส่วนใหญ่เป็นโครงการที่มีภาระผูกพันตามสัญญาฯ และเป็นโครงการ เพื่อเสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้า ในพื้นที่ที่เป็นจุดเสี่ยงและมีความส�ำคัญ โดยก�ำลังผลิตไฟฟ้าใหม่รวม 36,804 เมกะวัตต์ มีรายละเอียดดังนี้ โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน - ในประเทศ - ซื้อไฟฟ้าต่างประเทศ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำแบบสูบกลับ โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าพลังความร้อน - โรงไฟฟ้าถ่านหิน/ลิกไนต์ - ซื้อไฟฟ้าต่างประเทศ รวม

10,644 8,101 2,543 1,300 4,119 14,878 5,863 4,390 1,473 36,804

เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์

ก�ำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ในช่วงปี 2570-2579

โครงการทีบ่ รรจุในแผนฯ ช่วงนี้ (10 ปีหลัง) เป็นโครงการโรงไฟฟ้าในประเทศ และรับซือ้ ไฟฟ้าจากต่างประเทศ เพือ่ สนองต่อ ความต้องการใช้ไฟฟ้า และทดแทนโรงไฟฟ้าเก่าทีห่ มดอายุ โดยมีกำ� ลังผลิตไฟฟ้าใหม่เพิม่ ขึน้ 20,655 เมกะวัตต์ มีรายละเอียดดังนี้ โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน - ในประเทศ - ซื้อไฟฟ้าต่างประเทศ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำแบบสูบกลับ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (2x1,300) โรงไฟฟ้าพลังความร้อน - โรงไฟฟ้าถ่านหิน (3x1,000) - โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (2x1,000) - โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส (5x250) รวม

11,004 4,004 7,000 801 2,600 6,250 3,000 2,000 1,250 20,655

เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ นโยบายพลังงาน

9


ก�ำลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนภายในประเทศ จากนโยบายของรั ฐ บาลที่ มี เ ป้ า หมายจะใช้ พ ลั ง งาน ทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 (AEDP) เพื่อ ทดแทนการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิล ให้ได้รอ้ ยละ 30 ภายในปี 2579 ในส่วนของภาคการผลิตไฟฟ้า แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของ ประเทศฉบับนี้ ได้บรรจุโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ตามกรอบรวมทั้งประเทศ จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 19,634.4 เมกะ วัตต์ โดยก�ำลังผลิตดังกล่าวเป็นก�ำลังผลิตติดตั้ง เมื่อน�ำมา จัดท�ำแผนฯ จะใช้เป็นก�ำลังผลิตตามสัญญาเท่ากับ 17,678.9 เมกะวัตต์ โดยประกอบด้วยก�ำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญาในระบบ ปัจจุบัน ณ สิ้นปี 2557 จ�ำนวน 5,872.1 เมกะวัตต์ หักออกด้วย ก�ำลังผลิตทีห่ มดอายุสญ ั ญาจ�ำนวน 298.1 เมกะวัตต์ เป็นก�ำลัง ผลิตไฟฟ้าใหม่จำ� นวน 12,104.9เมกะวัตต์ ก�ำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ จากพลังงานหมุนเวียนในช่วงปี 2558-2569 เท่ากับ 8,101.2 เมกะวัตต์ และช่วงปี 2570-2579 เท่ากับ 4,003.7 เมกะวัตต์ โดยมีรายละเอียดดังนี้

ก�ำลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนช่วงปี 2558-2579

10

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนใหม่ในช่วงปี 2558-2569 - พลังงานแสงอาทิตย์ - พลังลม - พลังน�้ำ - ชีวมวล - ก๊าซชีวภาพ - ขยะ - พืชพลังงาน รวม

3,292.5 1,643.7 191.0 2,122.6 199.1 373.2 279.1 8,101.2

เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนใหม่ในช่วงปี 2570-2579 - พลังงานแสงอาทิตย์ - พลังลม - พลังน�้ำ - ชีวมวล - ก๊าซชีวภาพ - ขยะ - พืชพลังงาน รวม

1,077.6 910.2 86.9 1,363.9 108.2 56.0 400.9 4,003.7

เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์

นโยบายพลังงาน


บทบาทภาคเอกชนในการผลิตไฟฟ้า แผน PDP 2015 ได้บรรจุโครงการโรงไฟฟ้าใหม่ ที่รับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน รายเล็ก (SPP) รวมถึงการรับซื้อไฟฟ้าต่างประเทศที่มีข้อผูกพัน (Commit) และได้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. แล้ว ในช่วงปี 2558-2568 แบ่งได้ดังนี้ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (Independent Power Producer : IPP) ในช่วงปี 2558-2567 ที่ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (PPA) กับ กฟผ. แล้วจ�ำนวน 7 โครงการ รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้า 8,070เมกะวัตต์ ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ดังนี้ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ช่วงปี 2558-2567

โครงการ บริษัท กัลฟ์เจพียูที จ�ำกัดชุดที่ 1 และชุดที่ 2 ทดแทนโรงไฟฟ้าขนอม ชุดที่ 1 บริษัท เนชั่นแนลเพาเวอร์ซัพพลาย จ�ำกัด เครื่องที่ 1-4 บริษัท กัลฟ์ เอสอาร์ซี จ�ำกัดชุดที่ 1 บริษัท กัลฟ์ เอสอาร์ซี จ�ำกัดชุดที่ 2 บริษัท กัลฟ์ พีดี จ�ำกัดชุดที่ 1 บริษัท กัลฟ์ พีดี จ�ำกัดชุดที่ 2 รวม

ก�ำลังผลิตไฟฟ้า ตามสัญญา (เมกะวัตต์) 1,600 930 540 1,250 1,250 1,250 1,250 8,070

จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ (ปี) 2558 2559 2559-2560 2564 2565 2566 2567

ผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (Small Power Producer : SPP) ในช่วงปี 2558-2568 ก�ำหนดให้มีการรับซื้อไฟฟ้า จาก SPP จ�ำนวน 97 โครงการ รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้า 5,922 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น (1) ระบบการผลิตพลังงานความร้อน และไฟฟ้าร่วมกัน (Cogeneration) จ�ำนวน 41 โครงการ รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้า 3,660 เมกะวัตต์ (2) ระบบการผลิต พลังงานความร้อนและไฟฟ้าร่วมกัน (Cogeneration) ต่ออายุสัญญาจ�ำนวน 25 โครงการ รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้า 424 เมกะวัตต์ (3) พลังงานหมุนเวียน จ�ำนวน 31 โครงการ รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้า 1,838 เมกะวัตต์ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (Very Small Power Producer : VSPP) ในช่วงปี 2558-2579 ก�ำหนดให้มี การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP (ตามแผน AEDP) ก�ำลังผลิต ไฟฟ้ารวม 9,735.6 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น (1) พลังงานหมุนเวียน รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้า 9,701 เมกะวัตต์ (2) ระบบการผลิต พลังงานความร้อนและไฟฟ้าร่วมกัน (Cogeneration) รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้า 34.6 เมกะวัตต์ นโยบายพลังงาน

11


โครงการซื้อไฟฟ้าต่างประเทศในช่วงปี 2558-2562 มีโครงการฯที่ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (PPA) กับ กฟผ. จ�ำนวน 4 โครงการ รวมก�ำลังผลิตไฟฟ้า 3,316 เมกะวัตต์ ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ดังนี้ โครงการรับซื้อไฟฟ้าต่างประเทศช่วงปี 2558-2562

โครงการ หงสาลิกไนต์ เครื่องที่ 1-3 พลังน�้ำเขื่อนไซยะบุรี พลังน�้ำเขื่อนเซเปียน-เซน�้ำน้อย พลังน�้ำเขื่อนน�้ำเงี๊ยบ 1 รวม

ก�ำลังผลิตไฟฟ้า ตามสัญญา (เมกะวัตต์) 3x491 1,220 354 269 3,316

จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ (ปี) 2558-2559 2562 2562 2562

แผนพัฒนาระบบส่งไฟฟ้า ด้านการพัฒนาความเชื่อถือได้และคุณภาพของไฟฟ้า (Power Reliability and Quality) การพิ จ ารณาคุ ณ ลั ก ษณะด้ า นความเชื่ อ ถื อ ได้ แ ละ คุณภาพก�ำลังไฟฟ้าเป็นประเด็นที่การไฟฟ้าทั้งสามหน่วยงาน ของประเทศไทยให้ความส�ำคัญ และการไฟฟ้าทั่วโลกยอมรับ ในการใช้ประกอบการประเมินระบบไฟฟ้า ประเด็นยุทธศาสตร์นี้ เป็นการพิจารณาทางด้านเทคนิคซึ่งครอบคลุมทั้งความเชื่อถือ ได้ของระบบไฟฟ้าและคุณภาพไฟฟ้า (Reliability and Quality) โดยการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดจะต้องท�ำให้มีระบบ ไฟฟ้ามีความสามารถในการผลิตไฟฟ้าทีเ่ พียงพอ มีความต่อเนือ่ ง ของพลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ และไม่มปี ญ ั หาคุณภาพของแรงดัน และกระแสไฟฟ้าที่อาจส่งผลให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ ในระบบไฟฟ้าได้ ด้านความยั่งยืนและประสิทธิภาพของการผลิตและใช้พลังงาน (Energy Sustainability and Efficiency) การพิจารณาคุณลักษณะด้านความยัง่ ยืนและประสิทธิภาพ ของการผลิตและใช้พลังงานเป็นประเด็นทีห่ ลายประเทศทัว่ โลก ให้ความสนใจ เนือ่ งจากความต้องการในการหาแหล่งพลังงาน แหล่ ง ใหม่ เ พื่ อ ทดแทนการใช้ พ ลั ง งานจากแหล่ ง เชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิลทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ำกัดและการบริหารจัดการการใช้พลังงาน 12

นโยบายพลังงาน

อย่างมีประสิทธิภาพเป็นการช่วยลดความต้องการใช้เชือ้ เพลิงลง และช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ ของโลกในปัจจุบันด้วย โดยการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริด จะช่วยให้มีการผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ช่วยลดต้นทุน บรรเทาปัญหาการจัดหาแหล่งเชือ้ เพลิง และ ช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ จะต้องรองรับ การผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยพลังงานหมุนเวียนในปริมาณมากได้ ด้านการพัฒนาการท�ำงานและการให้บริการของหน่วยงาน การไฟฟ้าฯ (Utility Operation and Service) การพิจารณาคุณลักษณะด้านการท�ำงานและการบริการ ของการไฟฟ้ามีความจ�ำเป็นที่จะต้องท�ำการประเมินควบคู่ ไปกั บ การพั ฒ นาเทคโนโลยี ห รื อ นวั ต กรรมใหม่ ข องระบบ โครงข่ า ยสมาร์ ท กริ ด เนื่ อ งจากการใช้ ง านระบบโครงข่ า ย สมาร์ทกริดสามารถสื่ออย่างมีนัยส�ำคัญได้ว่า การท�ำงานของ ทั้งระบบไฟฟ้าและกิจการไฟฟ้าต้องพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น ดังนั้นจึงต้องมีดัชนีวัดผลมารองรับคุณลักษณะด้านนี้ โดย การพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดจะช่วยให้การด�ำเนินงาน ของการไฟฟ้าฯ ทัง้ ทางด้านเทคนิคและการให้บริการ มีประสิทธิภาพ และมีความถูกต้องแม่นย�ำมากขึ้น ซึ่งจะลดระยะเวลาในการ ปฏิบัติงานต่างๆ ลง และส่งผลต่อการให้บริการแก่ผู้ใช้ไฟฟ้า ที่ดีขึ้นโดยตรง


ด้านการก�ำหนดมาตรฐานความเข้ากันได้ของอุปกรณ์ในระบบ (Integration and Interoperability)

ด้ า นการพั ฒ นาศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ และ อุตสาหกรรม (Economic and Industrial Competitiveness)

การพิจารณาคุณลักษณะด้านการผสมผสานและความ สามารถในการท�ำงานร่วมกันเป็นประเด็นส�ำคัญทีจ่ ะต้องได้รบั การพิจารณาอย่างรอบคอบเนือ่ งจากการพัฒนาระบบโครงข่าย สมาร์ทกริดจะก่อให้เกิดนวัตกรรมการพัฒนาอุปกรณ์ใหม่ๆ เป็นจ�ำนวนมาก อุปกรณ์เหล่านี้จะต้องมีการรับส่งข้อมูลต่อกัน ตลอดเวลา การรวมทุกอุปกรณ์ในระบบเข้าด้วยกันเพื่อรองรับ การใช้มาตรฐานควบคุมที่มีความสอดคล้องและเป็นไปใน รูปแบบเดียวกันจ�ำเป็นที่จะต้องมีการออกแบบอย่างเป็นระบบ นอกจากประโยชน์ในการรวมอุปกรณ์ในระบบเข้าด้วยกันแล้ว ยังมีประเด็นอื่นที่ต้องพิจารณาจากคุณลักษณะด้านนี้ด้วย เช่น ความง่ายในการเชือ่ มต่อพลังงานหมุนเวียนเข้าสูร่ ะบบ การผลิต ไฟฟ้าจากภาคผู้ใช้ไฟฟ้าต้องสามารถส่งเข้าสู่ระบบได้ทันที และระยะเวลาในการเชือ่ มต่อระหว่างระบบไฟฟ้าจะต้องสัน้ ลง เป็นต้น โดยการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดจะต้องช่วยให้ อุปกรณ์ต่างๆ ในระบบสามารถท�ำงานประสานกันได้มากขึ้น โดยอาศัยเทคโนโลยี ICT ซึ่งจะส่งเสริมให้เกิดรูปแบบการให้ บริการใหม่ๆ แก่ผู้ใช้ไฟฟ้าได้อีกด้วย

การพิจารณาคุณลักษณะด้านการพัฒนาศักยภาพการ แข่งขันทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมมีความจ�ำเป็นจะต้อง น�ำมาพิจารณา เนือ่ งจากการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริด มีผลกระทบโดยตรงต่อภาคเศรษฐกิจและภาคอุตสาหกรรม ทั้งด้านการลงทุนในประเทศที่เพิ่มขึ้น อัตราการจ้างแรงงาน ทีเ่ พิม่ ขึน้ และการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเพือ่ สร้างนวัตกรรม ใหม่ เช่น เครือ่ งใช้ไฟฟ้าแบบสมาร์ท (Smart Appliances) และ พาหนะไฟฟ้า (Electric Vehicle : EV) เป็นต้น แต่การพัฒนา ระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดโดยพึ่งพาการน�ำเข้าเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเพียงอย่างเดียวจะเป็นการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนและ ส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นในการพัฒนา ระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดซึง่ เป็นเทคโนโลยีใหม่ในประเทศไทย สามารถสร้างองค์ความรู้และสามารถพัฒนาเทคโนโลยีตาม ประเทศอืน่ ได้ทนั จึงจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องให้ความส�ำคัญกับการสร้าง บุคลากร และการส่งเสริมอุตสาหกรรมภายในประเทศด้วย โดยการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดควรมีส่วนช่วยใน การกระตุ้นการเติบโตของภาคเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของ ประเทศไปพร้อมๆ กัน นโยบายพลังงาน

13


รายชื่อโครงการ/แผนงานระบบส่งไฟฟ้าในช่วงปี พ.ศ. 2558-2579 PDP 2015

14

ชื่อโครงการ โครงการ/แผนงาน ที่ กฟผ. ได้รับอนุมัติและอยู่ระหว่างก่อสร้าง 1. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยะที่ 3 2. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าระยะที่ 12 3. โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคตะวันออก เพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า 4. โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคตะวันตกและภาคใต้ เพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า 5. โครงการปรับปรุงและขยายระบบส่งไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ระยะที่ 1 : ส่วนสถานีไฟฟ้า แรงสูง 6. โครงการปรับปรุงและขยายระบบส่งไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ระยะที่ 1 : ส่วนสายส่ง ไฟฟ้าแรงสูง 7. โครงการปรับปรุงและขยายระบบส่งไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ระยะที่ 2 8. โครงการระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสาลิกไนต์ 9. โครงการระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP 2007) 10. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าหลักเพื่อรองรับโรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กระบบ Cogeneration ตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าปี พ.ศ. 2553 11. โครงการระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนน�้ำงึม 3 และ น�้ำเทิน 1 12. โครงการพัฒนาระบบส่งไฟฟ้าบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร และอ�ำนาจเจริญ เพื่อรับซื้อไฟฟ้า จากโครงการใน สปป.ลาว 13. โครงการพัฒนาระบบส่งไฟฟ้าบริเวณจังหวัดเลย หนองบัวล�ำภู และขอนแก่น เพื่อรับซื้อไฟฟ้าจาก โครงการใน สปป.ลาว

ปีก�ำหนดแล้วเสร็จ

ชื่อโครงการ โครงการ/แผนงาน ที่ กฟผ. มีแผนศึกษาเพื่อขออนุมัติ 1. โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และ กรุงเทพมหานคร เพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า 2. โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคเหนือตอนบน เพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า 3. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยะที่ 4 4. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยะที่ 5 5. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยะที่ 6 6. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าระยะที่ 13 7. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าระยะที่ 14 8. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าระยะที่ 15 9. โครงการพัฒนาระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ 10. โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคใต้ เพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า 11. โครงการพัฒนาระบบเคเบิลใต้ทะเลไปยังบริเวณอ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเสริมความ มั่นคงระบบไฟฟ้า 12. โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคเหนือตอนบน เพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า ระยะที่ 2 13. โครงการปรับปรุงและขยายระบบส่งไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ระยะที่ 3 14. โครงการปรับปรุงและขยายระบบส่งไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ระยะที่ 4 15. โครงการระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ ระยะที่ 3 (IPP 2012) 16. โครงการระบบส่งไฟฟ้าเพื่อเชื่อมต่อโรงไฟฟ้าใหม่ภายในประเทศ 17. โครงการระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้าน 18. โครงการเชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้าระหว่างประเทศแบบระบบต่อระบบ 19. โครงการพัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าสมาร์ทกริด

ปีก�ำหนดแล้วเสร็จ

นโยบายพลังงาน

2559-2561 2559-2563 2560 / 2562 2562 / 2565 2560 2562 2563 2558 2556-2563 2560 2560 2561 2561

2562 / 2564 / 2566 2562 / 2564 2562-2568 2569-2575 2576-2582 2562-2568 2569-2575 2576-2582 2563-2579 2563 / 2566 2564 2567-2572 2560-2564 2565-2569 2564-2569 2561-2579 2568-2579 2562-2579 2558-2579


โครงการที่ส�ำคัญในปี 2559 1. ลด Demand

1.1 Demand Response และโครงการรณรงค์ประหยัดไฟหน้าร้อน ลด Peak ปี 2559 ให้อยู่ในระดับ 28,500 MW

1.2 โครงการลดการใช้พลังงานในภาครัฐ กระตุ้นให้หน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยงาน จ�ำนวน 8,297 หน่วยงาน ลดการใช้ พลังงานลง 10% เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน ดัชนีการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index : EUI)

นโยบายพลังงาน

15


1.3 โครงการลดการใช้พลังงานในภาคประชาชน รณรงค์การประหยัดพลังงานเพิ่มมากขึ้น มีการน�ำมาตรการต่างๆ มาใช้อย่างเห็นผล เช่น โครงการรวมพลังหาร 2 เปลีย่ นใหม่ ประหยัดชัวร์ ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 หลอด LED รวมทัง้ มาตรการต่างๆ ทัง้ ในภาคทีอ่ ยูอ่ าศัย ธุรกิจ และอุตสาหกรรม โดยส่งผลให้ใน 20 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้ถึง 89,000 ล้านหน่วย โครงการ “หารสอง เปลี่ยนใหม่ประหยัดชัวร์” ในปี 2559

2. บริหาร Supply

2.1 การติดตามโรงไฟฟ้าตาม PDP 2015 ก�ำหนดเป้าหมายการจ่ายจ่ายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบในปี 2559 ดังนี้ โครงการโรงไฟฟ้าใหม่ของ กฟผ. จะจ่ายไฟฟ้าเข้าสู่ ระบบจ�ำนวนทั้งสิ้น 870.3 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย โรงไฟฟ้า พระนครเหนือ ชุดที่ 2 จ�ำนวน 848.3 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้า เขื่อนบางลาง จ�ำนวน 12 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ เขือ่ นสิรนิ ธร จ�ำนวน 0.3 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ กฟผ. จ�ำนวน 10 เมกะวัตต์ รับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน คือ โรงไฟฟ้า หงสา 3 เครื่องที่ 3 จ�ำนวน 491 เมกะวัตต์ 16

นโยบายพลังงาน

โครงการจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน จะจ่ายไฟฟ้าเข้าสู่ ระบบจ�ำนวน 2,440 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย - โครงการรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า จากผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า เอกชน รายใหญ่ (IPP) ได้แก่ โรงไฟฟ้าทดแทนการปลดโรงไฟฟ้า ขนอมชุดที่ 1 จ�ำนวน 930 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้า NPS เครื่องที่ 1-2 จ�ำนวน 270 เมกะวัตต์ - โครงการรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า จากผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า เอกชน รายเล็ก (SPP) จ�ำนวน 1,240 เมกะวัตต์ ได้แก่ Firm (Cogen) จ�ำนวน 810 เมกะวัตต์ และ Non-firm (RE+Cogen) จ�ำนวน 430 เมกะวัตต์


2.3 แผนงานสื่อสารการจัดท�ำแผน PDP 2015 จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์และสร้างความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับการจัดท�ำแผน PDP และเทคโนโลยีโรงไฟฟ้า ประเภทต่างๆโดยเฉพาะโรงไฟฟ้าเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด 2.4 งานศึกษาเชิงนโยบาย

ติดตามการจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ เช่น Solar ค้างท่อ และโครงการภายใต้ Adder โดยในปี 2558 (ข้อมูล ณ 30 ก.ย.58) จ�ำนวน 4,476 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย ส่วน Solar ค้างท่อ จ�ำนวน 968 เมกะวัตต์ Solar Rooftop จ�ำนวน 63 เมกะวัตต์ Adder (ไม่รวม Solar) จ�ำนวน 389 เมกะวัตต์ และ Adder Solar จ�ำนวน 106 เมกะวัตต์ ส�ำหรับในปี 2559 ตั้งเป้าหมาย ในส่วน Adder จ�ำนวน 619.4 เมกะวัตต์ และ FiT Solar จ�ำนวน 600 เมกะวัตต์ ติดตามแผนการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ในรูปแบบ FiT ได้แก่ FiT จังหวัดชายแดนภาคใต้ (COD ปี 60) จ�ำนวน 46 เมกะวัตต์ FiT Solar ราชการ (COD ปี 59) จ�ำนวน 600 เมกะวัตต์ FiT Bidding (ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ฯลฯ) (COD ปี 60) จ�ำนวน 500 เมกะวัตต์ FiT ขยะชุมชน (COD ปี 60) จ�ำนวน 104 เมกะวัตต์ และ FiT ขยะอุตสาหกรรม (COD ปี 62) จ�ำนวน 50 เมกะวัตต์ 2.2 ติดตามโครงการพัฒนาระบบสายส่ง การติดตามการพัฒนาระบบส่งเพื่อรองรับความ ต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น เสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้า และรองรับการเชื่อมต่อโรงไฟฟ้าประเทศเพื่อนบ้าน ตามแผน PDP 2015 (ติดตามการด�ำเนินงานรายไตรมาส)

2.4.1 การจัดท�ำอัตรารับซื้อไฟฟ้าจาก SPP GiT-RE จัดท�ำอัตรา FiT ส�ำหรับ SPP เสนอ กพช. เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มี FiT ของ SPP-RE 2.4.2 การศึ ก ษาแผนการด� ำ เนิ น งานด้ า นไฟฟ้ า ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จัดท�ำแผนระบบไฟฟ้าในพื้นที่เขตเศรษฐกิจ พิเศษ น�ำเสนอ กบง. ภายใน ม.ค.59 และศึกษาอัตราค่าไฟฟ้า ในบริเวณพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และ AEC ให้แล้วเสร็จ พร้อมน�ำเสนอ กบง. ภายใน ส.ค.59 เขตเศรษฐกิจพิเศษ 6 เขต ประกอบด้วย 1) อ.แม่สอด จ.ตาก 2) อ.เมือง จ.มุกดาหาร 3) อ.เมือง จ.หนองคาย 4) อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว 5) อ.คลองใหญ่ จ.ตราด 6) อ.สะเดา จ.สงขลา 2.4.3 การศึกษา Smart Grid กบง.พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงานเพื่อ ขับเคลือ่ นแผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของ ประเทศไทยในระยะสั้น (พ.ศ. 2560-2564) ภายใน ก.ค.59 (EVs)

2.4.4 การขับเคลื่อนการใช้งาน Electric Vehicles

ศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนการใช้งาน EVs ในประเทศไทย ดังนี้ • ก�ำหนดจ�ำนวนเป้าหมาย • ก�ำหนดนโยบายในการส่งเสริม เช่น ภาษี สิทธิพิเศษ • โครงการน�ำร่องการใช้งาน EVs • ก�ำหนดมาตรฐานการอัดประจุ • การก�ำหนดโครงสร้างค่าไฟฟ้า ค่าบริการ • รูปแบบการอนุญาตการให้บริการสถานี • ส่งเสริมงานวิจัย ฯลฯ นโยบายพลังงาน

17


PDP 2015

EEP 2015

AEDP 2015

GAS PLAN

OIL PLAN

แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 [ Energy Efficiency Plan : EEP 2015 ]

18

นโยบายพลังงาน


แผนอนุรักษ์พลังงานที่ผ่านมาได้ใช้กลยุทธ์และมาตรการทั้งการบังคับด้วยกฎระเบียบรวมไปถึงการส่งเสริม ในด้านต่างๆ และให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคและการให้ความรู้ ตลอดจนการประชาสัมพันธ์รูปแบบต่างๆ เพือ่ สร้างความตระหนักของสาธารณชนในการอนุรกั ษ์พลังงาน ในภาพรวมนัน้ ให้ความส�ำคัญกับการใช้มาตรการ แบบผสมผสานทั้งการบังคับด้วยกฎระเบียบและมาตรฐานและการส่งเสริมและสนับสนุนด้วยการจูงใจการกระจายงานด้าน การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานไปยังหน่วยงาน/องค์กรภาครัฐและเอกชนที่มีความพร้อมด้านทรัพยากรและความเชี่ยวชาญ เช่น การไฟฟ้าฯ และสมาคมอุตสาหกรรมต่างๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงพลังงาน รวมไปถึงการใช้มาตรการที่จะ ส่งผลกระทบในวงกว้างเพือ่ สร้างความตระหนักและการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการใช้พลังงานของผูใ้ ช้พลังงานและพฤติกรรม การตัดสินใจของผูป้ ระกอบการ และการเปลีย่ นทิศทางตลาด (Market Transformation) โดยเพิม่ นวัตกรรมในการรณรงค์และ ประชาสัมพันธ์ เช่น การเชื่อมโยงการอนุรักษ์พลังงานกับการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดปัญหาภาวะโลกร้อน การให้เอกชนเป็น หุ้นส่วนที่ส�ำคัญ (Public-Private Partnership) ในการส่งเสริมและด�ำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงานการใช้มืออาชีพและบริษัท จัดการพลังงาน (ESCO) เป็นกลไกส�ำคัญ เพื่อให้ค�ำปรึกษาและด�ำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงานที่ต้องใช้เทคนิคที่สูงขึ้น และ เพิ่มการพึ่งพาตนเองด้านเทคโนโลยีเพื่อลดต้นทุนเทคโนโลยี และเพิ่มโอกาสการเข้าถึงเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูง รวมทั้งเสริมสร้างธุรกิจผลิตสินค้าที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูงอีกด้วย จุดเด่นของแผนอนุรักษ์พลังงาน

การอนุรักษ์พลังงานในแผนงานฉบับนี้มีความหมาย 2 นัย คือ (1) การประหยัดหรือการลดการใช้พลังงานที่ไม่จําเป็น และ (2) การเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ซึง่ หมายถึงการทํางานทีไ่ ด้ผลลัพธ์เท่าปกติแต่ใช้พลังงานน้อยลง โดยมีเป้าหมาย ที่จะลดความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ลง 30% ในปี 2579 เมื่อเทียบกับปี 2553 ในส่วนของภาคเศรษฐกิจที่จะ ต้องมีการอนุรักษ์พลังงานมากที่สุดคือ ภาคขนส่ง (13,400 ktoe ในปี 2573) และภาคอุตสาหกรรม (11,300 ktoe ในปี 2573) จุดเด่นอีกอย่างของแผนอนุรกั ษ์พลังงานคือ จะก่อให้เกิดผลการประหยัดพลังงานสะสมเฉลีย่ 14,500 ktoe ต่อปี คิดเป็นมูลค่า 272,000 ล้านบาทต่อปี และหลีกเลี่ยงการปล่อย CO2 สะสมเฉลี่ย 49 ล้านตันต่อปีและรวมไปถึงการเพิ่มมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการการเปลีย่ นแปลงทิศทางตลาด (Market Transformation) และพฤติกรรมของผูใ้ ช้พลังงาน โดยการบังคับให้ตดิ ฉลาก แสดงประสิทธิภาพพลังงานของอุปกรณ์เครื่องใช้อาคารและยานยนต์เพื่อให้ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น รวมไปถึงมาตรการ ส่งเสริมการใช้ยานยนต์ที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูง เป็นต้น

นโยบายพลังงาน

19


อนุรักษ์พลังงาน

แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (Energy Efficiency Plan : EEP 2015)

ในช่วงระยะสั้นถึงระยะปานกลางมีการพยากรณ์ว่าราคาน�้ำมันในตลาดโลก จะอยู ่ ใ นระดั บ ที่ ต�่ ำ กว่ า 50 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล ดั ง นั้ น กระทรวงพลั ง งาน จึงเห็นว่าเป็นโอกาสมที่ดีในการยกระดับความเข้มข้นของการขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์ พลังงาน ซึ่งมีความจ�ำเป็นที่จะต้องปรับปรุงแผนเดิม (พ.ศ. 2554-2573) ให้มีความ เหมาะสมมากยิ่งขึ้น โดยสมมติฐานที่ใช้ในการจัดท�ำแผนอนุรักษ์พลังงานได้บูรณาการร่วมกับ อีก 4 แผนหลักของกระทรวงพลังงาน ได้แก่ แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย แผนพัฒนา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย และแผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง โดยใช้ สมมติฐานการคาดการณ์ความต้องการพลังงานในอนาคตประกอบด้วย • อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) • อัตราการเพิ่มของประชากร • แบบจ�ำลองที่พัฒนาขึ้นใช้ข้อมูลสถิติย้อนหลังปี พ.ศ. 2537-2556

20

นโยบายพลังงาน


เป้าหมายและภาพรวมการลดใช้พลังงาน

ในช่วงปี 2558-2579 ได้กำ� หนดเป้าหมายลดความเข้มข้นของการใช้พลังงาน 30% ซึง่ ในปี 2579 จะสามารถลดการใช้พลังงาน ได้กว่า 56,142 ktoe โดยใช้มาตรการหลักต่างๆ ได้แก่ มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานและอาคารควบคุม, มาตรฐาน อาคารก่อสร้างใหม่เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์ เครื่องจักร และวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, บังคับ ใช้เกณฑ์มาตรฐานอนุรักษ์พลังงานส�ำหรับผู้ผลิตและจ�ำหน่าย, ช่วยเหลือและอุดหนุนการด�ำเนินงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน, ส่งเสริมการใช้แสงสว่างเพื่ออนุรักษ์พลังงาน และการอนุรักษ์พลังงานภาคขนส่ง ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงาน

กระทรวงพลังงานได้ทบทวนแผนอนุรักษ์พลังงานในช่วงปี พ.ศ. 2554-2573 โดยจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็นทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง และน�ำมาปรับปรุงเป็นแผนอนุรักษ์พลังงานในช่วงปี พ.ศ. 2558-2579 โดยยังคงใช้มาตรการผสมผสานทั้ง การบังคับ (Push) ด้วยมาตรการก�ำกับดูแลผ่านพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2550 (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) ควบคูก่ บั การจูงใจ (Pull) ด้วยมาตรการทางการเงินโดยการสนับสนุนช่วยเหลืออุดหนุนจากกองทุนเพือ่ ส่งเสริม การอนุรกั ษ์พลังงาน นอกจากนโยบายหลักของรัฐบาลในการยกเลิก/ทบทวนการอุดหนุนราคาพลังงานเพือ่ ส่งสัญญาณให้ผบู้ ริโภค ตระหนักเรื่องราคาเป็นไปตามกลไกตลาดแล้ว กระทรวงพลังงานยังได้ด�ำเนินการใน 4 กลุ่มเศรษฐกิจ คือ ภาคอุตสาหกรรม ภาคอาคารธุรกิจ/อาคารของรัฐ ภาคบ้านอยู่อาศัยและภาคขนส่ง โดยปรับทิศทางด้วยการพิจารณามาตรการที่สามารถเห็นผลได้ เชิงประจักษ์ใน 3 กลยุทธ์ 10 มาตรการ ในการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ

นโยบายพลังงาน

21


3 กลยุทธ์แผนอนุรักษ์พลังงาน

1. กลยุทธ์ภาคบังคับ (Compulsory Program)

2. กลยุทธ์ภาคความร่วมมือ (Voluntary Program)

1.1 มาตรการบังคับใช้ พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2550 ก�ำกับอาคาร/โรงงานที่ติดตั้งหม้อแปลง ไฟฟ้าขนาดตั้งแต่ 1,000 kW หรือ 1,175 kVA ขึ้นไป หรือใช้ไฟฟ้าจากระบบความร้อนไอน�้ ำหรือพลังงาน สิ้นเปลืองอื่นตั้งแต่ 20 ล้านเมกะจูลขึ้นไป จ�ำนวน 7,870 อาคาร และ 11,335 โรงงาน และอาจน�ำมาตรการช�ำระ ค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้ามาบังคับใช้ จะลดความต้องการใช้พลังงานลงร้อยละ 28 คิดเป็นไฟฟ้า 1,674 ktoe คิดเป็นความร้อน 3,482 ktoe 1.2 มาตรการก�ำหนดมาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารใหม่ (Building Code) จ�ำนวน 4,130 อาคาร โดยประสาน ร่วมมือกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงมหาดไทย ลดความต้องการใช้พลังงานลงร้อยละ 36 ของความต้องการ ใช้พลังงานในอาคารใหม่ คิดเป็นไฟฟ้า 1,166 ktoe รวมทัง้ ด�ำเนินการส่งเสริมมาตรฐานขัน้ สูง ให้มมี าตรการสนับสนุน เพื่อยกระดับอาคารที่ก่อสร้างใหม่ให้ได้ระดับการประเมินมาตรฐานอาคารเขียวในระดับสากล เช่น มาตรฐาน LEED หรือมาตรฐาน TREES ของสถาบันอาคารเขียวไทย เป็นต้น 1.3 มาตรการก�ำหนดติดฉลากแสดงประสิทธิภาพการใช้พลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า 22 อุปกรณ์ และอุปกรณ์ความร้อน 8 อุปกรณ์ จะลดความต้องการใช้พลังงานในอุปกรณ์แต่ละประเภทได้ร้อยละ 6-35 คิดเป็นไฟฟ้า 2,025 ktoe คิดเป็นความร้อน 2,125 ktoe 1.4 มาตรการก�ำหนดให้ผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการด้านไฟฟ้าต้องช่วยให้ผู้ใช้บริการหรือผู้ใช้ไฟฟ้าเพิ่มประสิทธิภาพใน การใช้ไฟฟ้า Energy Efficiency Resource Standard (EERS) จะลดความต้องการใช้พลังงานลงร้อยละ 0.3 โดยที่ ไม่ลดผลผลิต คิดเป็นไฟฟ้า 500 ktoe 2.1 มาตรการช่วยเหลือ อุดหนุนด้านการเงิน เพื่อเร่งให้มีการตัดสินใจลงทุนเปลี่ยนอุปกรณ์ และเกิดการบริหารจัดการ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ จะลดความต้องการใช้พลังงานลงร้อยละ 10-30 คิดเป็นไฟฟ้า 1,285 ktoe คิดเป็น ความร้อน 8,234 ktoe โดยมีรูปแบบการสนับสนุน เช่น • ผ่านองค์กรหรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบ ครบวงจร (Turnkey) ที่เข้ามาช่วยรับภาระความเสี่ยง (Risk Retention) การลงทุนและด�ำเนินการแทนเจ้าของ กิจการ หรือที่เรียกว่า Energy Service Company : ESCO • เป็นเงินลดภาระดอกเบี้ยเงินกู้ เช่น เงินกู้อัตราดอกเบี้ยต�่ำ (Soft Loan) เงินทุนหมุนเวียน (Revolving funds) การร่วมทุน (Joint Venture) เป็นเงินให้เปล่า (Grant) เป็นต้น 2.2 มาตรการส่งเสริมการใช้แสงสว่างเพือ่ อนุรกั ษ์พลังงานโดยเปลีย่ นหลอดไฟฟ้าแสงสว่างในอาคารภาครัฐ 2 ล้านหลอด และทางสาธารณะ 3 ล้านหลอด เป็น Light Emitting Diode (LED) นอกจากจะลดความต้องการใช้พลังงานลง ร้อยละ 50 คิดเป็นไฟฟ้า 928 ktoe แล้วยังส่งเสริมตลาด LED ท�ำให้ราคาถูกลงจนประชาชนสามารถซื้อไปใช้ได้ แพร่หลาย 2.3 มาตรการอนุรักษ์พลังงานภาคขนส่ง • ก�ำกับราคาเชื้อเพลิงในภาคขนส่งให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง ส่งผลให้ผู้บริโภคตระหนักเรื่องราคาพลังงานและ เปลี่ยนลักษณะการใช้พลังงาน คิดเป็นพลังงานที่ลดลง 456 ktoe • สนับสนุนนโยบายของกระทรวงการคลังในการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ทจี่ ะเริม่ จัดเก็บตามปริมาณ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จะลดความต้องการใช้พลังงานลงได้ร้อยละ 27 คิดเป็น 13,731 ktoe

22

นโยบายพลังงาน


• เพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งน�้ำมันของประเทศ โดยพัฒนาระบบขนส่งน�้ำมันทางท่อ จะช่วยลดการใช้น�้ำมันได้ ประมาณ 40 ล้านลิตรต่อปี หรือคิดเป็น 34 ktoe • สนับสนุนนโยบายและแผนงานของกระทรวงคมนาคมในการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานการจราจรและขนส่ง โดยเฉพาะการเปลี่ยนจากล้อเป็นราง ที่จะลดความต้องการใช้พลังงานลงร้อยละ 78 คิดเป็น 9,745 ktoe • ศึกษา วางแผน และด�ำเนินการรองรับการใช้ยานยนต์พลังงานไฟฟ้า จะลดความต้องการใช้พลังงานลง 1,123 ktoe • กระทรวงพลังงานจะช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการขนส่ง - ด้านวิศวกรรมเพื่อลดต้นทุนการขนส่ง เช่น การเปลี่ยนอุปกรณ์ การปรับปรุงรถ การเลือกใช้ยางรถยนต์ การจัดการรถเที่ยวเปล่า ฯลฯ ซึ่งจะลดความต้องการใช้พลังงานลงร้อยละ 10-12 คิดเป็น 3,633 ktoe - ด้านพัฒนาบุคลากรในการขับขี่เพื่อการประหยัดพลังงาน (ECO Driving) ซึ่งจะลดความต้องการใช้พลังงาน ลงร้อยละ 25 คิดเป็น 1,491 ktoe 2.4 มาตรการส่งเสริมการศึกษา วิจยั พัฒนาเทคโนโลยีอนุรกั ษ์พลังงาน การป้องกันและแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมจากการ อนุรักษ์พลังงาน และการก�ำหนดนโยบายและวางแผนพลังงาน

3. กลยุทธ์สนับสนุน (Complementary Program)

3.1 มาตรการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร และสร้างก�ำลังคนด้านพลังงาน 3.2 มาตรการสนับสนุนการรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า และเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้พลังงาน

10 มาตรการแผนอนุรักษ์พลังงาน 1. มาตรการการจัดการโรงงานและอาคารควบคุม

ปัจจุบันมีโรงงานควบคุม 5,285 โรงงาน และอาคารควบคุม 3,008 อาคาร มีการใช้พลังงาน 21,430 ktoe และ 1,144 ktoe ตามล�ำดับจากการประเมินในปี 2579 จะเพิ่มจ�ำนวนเป็น 11,300 โรงงาน และ 6,100 อาคาร มีการใช้พลังงาน 41,600 ktoe และ 3,500 ktoe แนวทางด�ำเนินการก�ำกับดูแลให้มรี ะบบจัดการพลังงานเป็นไปตามมาตรฐานทีก่ ำ� หนดอย่างเข้มข้น มีการติดตามอย่าง เป็นระบบและส่งเสริมให้โรงงานและอาคารยกระดับประสิทธิภาพการผลิตและการใช้พลังงานได้ด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง

นโยบายพลังงาน

23


แผนด�ำเนินการ ü ก�ำกับดูแลให้โรงงานควบคุมและอาคารควบคุมมีระบบจัดการพลังงานเป็นไปตามมาตรฐาน ü พัฒนาระบบให้มีผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ü ขึ้นทะเบียนและอบรมพัฒนาผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ü พัฒนารูปแบบการก�ำกับดูแลและแก้ไขกฎระเบียบและกฎหมาย ü การพัฒนาระบบการติดตามมีระบบสารสนเทศฐานข้อมูลและดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงานรองรับ ü เตรียมน�ำระบบค่าธรรมเนียมพิเศษมาประยุกต์ใช้กับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมที่ไม่สามารถลด การใช้พลังงาน ตามเป้าหมายที่ก�ำหนดขึ้นเองได้ ü คาดว่าจะเกิดการลงทุนของโรงงานและอาคารควบคุม

2. มาตรการใช้เกณฑ์มาตรฐานอาคาร

ปัจจุบันการบังคับใช้กฎหมายอนุรักษ์พลังงานกับอาคารสร้างใหม่ที่มีขนาดใหญ่ (พื้นที่ใช้สอยมากกว่า 2,000 ต.ร.ม.) เพื่อให้ออกแบบตามมาตรฐาน BEC ที่กฎกระทรวงก�ำหนด พพ. ได้เตรียมความพร้อมรองรับการด�ำเนินการเรียบร้อยแล้ว โดยรอ การก�ำหนดให้มาตรฐาน BEC เป็นหนึ่งในข้อบังคับใช้ในการขออนุญาตก่อสร้างร่วมกับ พ.ร.บ. ควบคุมอาคารของกรมโยธาธิการฯ

แนวทางด�ำเนินการจึงเป็นการประสานให้กรมโยธาธิการฯ ก�ำหนดให้มาตรฐาน BEC เป็นหนึง่ ในข้อบังคับใช้ในการขออนุญาต ก่อสร้างพร้อมกับใช้มาตรการส่งเสริมอาคารก่อสร้างใหม่ ใช้เกณฑ์มาตรฐานอาคาร (BEC) รวมทั้งส่งเสริมมาตรฐานขั้นสูงให้มี มาตรการสนับสนุนเพื่อยกระดับอาคารที่ก่อสร้างใหม่ให้ได้ระดับการประเมินมาตรฐานอาคารเขียวในระดับสากลเช่นมาตรฐาน LEED หรือมาตรฐาน TREES ของสถาบันอาคารเขียวไทย

24

แผนด�ำเนินการ ü บังคับใช้กฎหมายให้อาคารก่อสร้างใหม่ตามกระทรวงพลังงานก�ำหนด (อาคารสร้างใหม่หรือต่อเติม เกิน 2,000 ตรม.) ผ่านศูนย์ประสานงานการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ส่งเสริมอาคารก่อสร้างใหม่ด�ำเนินการตามกระทรวงพลังงานก�ำหนด ü ริเริ่มมาตรการสนับสนุนให้อาคารใหม่ได้รับการประเมินมาตรฐานอาคารเขียวในระดับสากล เช่น LEED หรือ TREES ü ส่งเสริมการก่อสร้างอาคาร NET ZERO ENERGY BUILDING ü คาดว่าจะเกิดการลงทุนเพิ่มเติมในการก่อสร้างอาคารใหม่ตามเกณฑ์มาตรฐานอาคาร ü

นโยบายพลังงาน


3. มาตรการใช้เกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์

ปัจจุบันมีการจัดท�ำมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องจักรอุปกรณ์แล้ว 57 ผลิตภัณฑ์ และได้น�ำมาตรฐานมาใช้ เป็นเกณฑ์ของฉลากประหยัดพลังงานจ�ำนวน 27 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ • กฟผ. ติดฉลากเบอร์ 5 อุปกรณ์ไฟฟ้า จ�ำนวน 19 ผลิตภัณฑ์ • พพ. ติดฉลากเบอร์ 5 อุปกรณ์ความร้อน จ�ำนวน 8 ผลิตภัณฑ์

แนวทางด�ำเนินการเป็นการยกระดับเกณฑ์ประสิทธิภาพพลังงานของการติดฉลากเบอร์ 5 เพือ่ ส่งเสริมให้ผผู้ ลิตและจ�ำหน่าย พัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นอุปกรณ์หลักที่ใช้พลังงานร้อยละ 70 ของการใช้ภายในบ้าน ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น หลอดไฟ เตาแก๊ส ยังรวมไปถึงเครื่องยนต์ขนาดเล็ก และเพิ่มรายการผลิตภัณฑ์ติดฉลากขั้นสูงเบอร์ 5 ในอุปกรณ์ที่มี ผลกระทบด้านพลังงานสูง เช่น ยางรถยนต์ เป็นต้น

แผนด�ำเนินการ ü ส่งเสริมเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงานโดยการติดฉลากต่อเนื่อง o อุปกรณ์ไฟฟ้า โดย กฟผ. o อุปกรณ์ความร้อน โดย พพ. ü เพิ่มรายการเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงานโดยการติดฉลากและทบทวนและยกระดับเกณฑ์ มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานของอุปกรณ์ ü คาดว่าจะเกิดการลงทุนเพิ่มเติมในการปรับปรุงอุปกรณ์

นโยบายพลังงาน

25


4. มาตรการบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานการประหยัดพลังงานส�ำหรับผู้ผลิตและจ�ำหน่ายพลังงาน (EERS)

เป็นมาตรการที่ก�ำหนดให้ผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการด้านไฟฟ้าจะต้องช่วยให้ผู้ใช้บริการหรือผู้ใช้ไฟฟ้าเพิ่มประสิทธิภาพใน การใช้ไฟฟ้า Energy Efficiency Resource Standard (EERS) และเป็นมาตรการใหม่ยังไม่เคยด�ำเนินการในประเทศไทยมาก่อน จ�ำเป็นต้องมีการศึกษารูปแบบกลไกทีเ่ หมาะสมในการน�ำมาประยุกต์ใช้กบั ประเทศไทย และก�ำหนดระบบกลไกตรวจสอบติดตามที่ เหมาะสม เพื่อใช้ด�ำเนินการต่อเนื่อง และเป็นกลไกที่ส�ำคัญของแผนในระยะถัดไป

แผนด�ำเนินการ ü พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานการประหยัดพลังงานให้ผผู้ ลิตและจ�ำหน่ายพลังงานไฟฟ้าต้องด�ำเนินการ อนุรกั ษ์พลังงานให้กบั ลูกค้าของตนเองหรือตามที่จะมีการก�ำหนดข้อตกลงกัน ü พัฒนากฎหมายรองรับการด�ำเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานการประหยัดพลังงานฯ ü ก�ำกับให้ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายพลังงานไฟฟ้าต้องด�ำเนินการ อนุรักษ์พลังงานให้กับลูกค้าของตนเอง ü คาดว่าจะเกิดการลงทุนในการปรับปรุงอุปกรณ์ 5. มาตรการสนับสนุนด้านการเงิน

ส่งเสริมการด�ำเนินการอนุรักษ์พลังงานด้วยการอุดหนุนการลงทุนปรับปรุงเครื่องจักรอุปกรณ์ให้ประหยัดพลังงาน โดย พัฒนาการอุดหนุนผลประหยัดให้เป็นรูปแบบที่อิงตามปริมาณผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง (Performance Base) มากขึ้น จากเดิม ที่อุดหนุนตามปริมาณการลงทุน (Cost base)

ขยายกลุ่มเป้าหมายไปสู่ภาคที่อยู่อาศัยและภาคขนส่ง เพิ่มการสนับสนุนกลุ่มเป้าหมายที่เจาะจง (การน�ำความร้อนทิ้งกลับ มาใช้) เน้นการเพิ่มระดับการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิต และปรับรูปแบบโปรแกรมให้เป็นแบบต่อเนื่องช่วงละ 3 ปีแทนแบบเดิม (ปีต่อปี)

26

นโยบายพลังงาน


แผนด�ำเนินการ ü อุดหนุนผลประหยัดในเครื่องจักรและอุปกรณ์มาตรฐาน (SOP) ü อุดหนุนผลประหยัดโดยวิธีประกวดราคา (DSM Bidding) ü เงินหมุนเวียนดอกเบี้ยต�่ำ (Soft loan) เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ü เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานโดยบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO Revolving Fund) ü การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี (Tax Incentive) เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ü คาดว่าจะเกิดการลงทุนในการปรับปรุงอุปกรณ์

6. มาตรการส่งเสริมการใช้หลอดแอลอีดี

หลอดไฟแสงสว่างที่ใช้ในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นชนิด fluorescent ซึ่งปัจจุบันมีหลอด Light Emitting Diode (LED) ที่ลดความต้องการใช้ไฟฟ้าได้ร้อยละ 30-70 และมีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า ซึ่งจะน�ำมาทดแทนหลอดไฟฟ้าแบบเดิม แต่ด้วย ราคาสูง จ�ำเป็นต้องส่งเสริมการตลาดให้เกิดการใช้อย่างแพร่หลาย

แนวทางด�ำเนินการ สนับสนุนการใช้งานหลอดแอลอีดีด้วยกลยุทธ์ที่จะผลักดันราคาของหลอดไฟ LED ให้มีราคาต�่ำลงเพื่อ ให้ประชาชนและผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงหลอดไฟ LED ได้ง่ายขึ้น ร่วมกับการปรับเปลี่ยนหลอดไฟในส่วนของภาครัฐเป็น ตัวอย่างแก่ภาคเอกชน และลดการใช้พลังงานของภาครัฐ แผนด�ำเนินการ ü น�ำร่องเปลี่ยนหลอดไฟในอาคารภาครัฐ ü สนับสนุนการใช้งานหลอดแอลอีดีด้วยกลไกราคา ü ใช้โคมไฟถนนหลอด LED ü ใช้โคมไฟสาธารณะ LED คาดว่าจะเกิดการลงทุนในการปรับเปลี่ยนหลอดไฟ ü นโยบายพลังงาน

27


7. มาตรการอนุรักษ์พลังงานภาคขนส่ง

แนวทางด�ำเนินการ แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ก�ำกับราคาเชื้อเพลิงในภาคขนส่งให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง 1) ปรับโครงสร้างราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงต่างๆ ให้สะท้อนต้นทุนการจัดหาของเชื้อเพลิงแต่ละประเภท 2) ปรับโครงสร้างอัตราภาษีสรรพสามิตให้เป็นธรรมกับผู้ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงทุกประเภท กลุ่มที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงในยานยนต์ 1) สนับสนุนให้ประชาชนเลือกซื้อรถยนต์ที่มีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน โดยการจัดเก็บภาษีตามปริมาณการปล่อย CO2 ซึ่งสะท้อนถึงการสิ้นเปลืองน�้ำมันโดยตรง และติดฉลากแสดงอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 2) ส่งเสริมให้ประชาชนเลือกใช้ยางประหยัดเชื้อเพลิง โดยการติดฉลากแสดงประสิทธิภาพ กลุ่มที่ 3 ส่งเสริมการบริหารจัดการการใช้รถบรรทุกและรถโดยสาร 1) พัฒนาผู้ประกอบการขนส่ง โดยสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญให้ความรู้ และแนะน�ำมาตรการ ในการจัดการ ทีมงาน เทคโนโลยี การขนส่ง และการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้เข้าใจและมีทักษะการขับขี่ 2) สนับสนุน ส่งเสริม การปรับปรุงรถบรรทุกและรถโดยสารด้วยการสนับสนุนด้านการเงิน กลุ่มที่ 4 1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่งเพื่อการเปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง ตามแผนกระทรวงคมนาคมในการพัฒนา รถไฟฟ้า 12 สาย และรถไฟทางคู่ทั่วประเทศ 3,150 กิโลเมตร 2) เพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งน�้ำมันของประเทศ โดยพัฒนาระบบขนส่งน�้ำมันทางท่อ 3) ศึกษา วางแผนและด�ำเนินการรองรับการใช้ยานยนต์พลังงานไฟฟ้า แผนด�ำเนินการ ยกเลิก/ทบทวนการอุดหนุนราคาพลังงาน (ดีเซล) ü สนับสนุนการใช้ยานยนต์ประหยัดพลังงานภาษีและฉลากแสดงประสิทธิภาพ ü การติดฉลากแสดงประสิทธิภาพพลังงานในยางรถยนต์ ü การบริหารจัดการขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงาน ü การขับขี่เพื่อการประหยัดพลังงาน (ECO Driving) ü ส่งเสริมเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานส�ำหรับภาคขนส่ง ü ส่งเสริมการอุดหนุนผลการประหยัดพลังงานส�ำหรับภาคขนส่ง ü การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และระบบเชื่อมต่อ ü การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง รถไฟรางคู่ ü ขยายระบบขนส่งน�้ำมันทางท่อ ü ใช้รถยนต์ไฟฟ้า EV ü คาดว่าจะเกิดการลงทุนในการปรับยานพาหนะ ü

28

นโยบายพลังงาน


8. มาตรการส่งเสริมการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีอนุรักษ์พลังงาน

พัฒนางานวิจยั อย่างเป็นระบบเพือ่ การพึง่ พาตนเองและเหมาะสมกับประเทศ เริม่ จากการวิจยั ไปจนถึงผลักดันสูเ่ ชิงพาณิชย์ และมีการน�ำไปใช้อย่างแพร่หลาย รวมไปถึงกรอบการวิจยั การศึกษาวิจยั พัฒนาเทคโนโลยีอนุรกั ษ์พลังงาน การป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิง่ แวดล้อมจากการอนุรกั ษ์พลังงาน และการก�ำหนดนโยบายและวางแผนพลังงาน เพือ่ รองรับการด�ำเนินการตาม 7 มาตรการหลัก อีกทั้งมุ่งเน้นงานวิจัยที่มีศักยภาพการพัฒนาไปสู่เชิงพาณิชย์ และมีผลกระทบต่อการใช้พลังงานสูงก่อน แผนด�ำเนินการ ü พัฒนากลยุทธ์และแผนงานวิจัย และทบทวนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง ü จัดตั้งคณะท�ำงานขับเคลื่อนงานวิจัยการอนุรักษ์พลังงาน ü พัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศของการวิจัย พัฒนาด้านอนุรักษ์พลังงาน ü สนับสนุนการวิจัย พัฒนาด้านอนุรักษ์พลังงาน ระดับ Lab Scale ü สนับสนุนการวิจัย พัฒนาด้านอนุรักษ์พลังงาน ระดับ Scale Up ü สนับสนุนการวิจัย พัฒนาด้านอนุรักษ์พลังงาน ระดับ Pilot ü พัฒนาระบบกลไกและกิจกรรมผลักดันงานวิจัยให้ไปสู่ตลาดเชิงพาณิชย์ 9. มาตรการพัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน

• สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะด้านการอนุรักษ์พลังงาน ครอบคลุมทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และ ครบทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง • กรอบการพัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน เพื่อรองรับการด�ำเนินการตาม 7 มาตรการหลัก 1. ฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการด�ำเนินการตามกฎหมาย 2. เพิ่มความรู้และทักษะการเลือกซื้อ และการใช้งานอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงที่ถูกต้องให้กับประชาชน 3. ฝึกอบรม เพิ่มความรู้ และทักษะการเลือกซื้อ และการขับขี่ยานยนต์อย่างมีประสิทธิภาพ 4. พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ นักวิจัยทุกระดับอย่างเหมาะสม 5. พัฒนาบุคลากรหน่วยงานภาครัฐที่ก�ำกับดูแลด้านอนุรักษ์พลังงาน แผนด�ำเนินการ ü พัฒนากลยุทธ์และแผนงานพัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน และทบทวนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง ü พัฒนาระบบและด�ำเนินการติดตามประเมินผล ü สนับสนุนทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี-เอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ ü สนับสนุนให้ทุนวิจัยนักศึกษาระดับปริญญาตรี-ปริญญาเอก ü พัฒนาหลักสูตรส�ำหรับบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบบุคลากรหน่วยงานภาครัฐ ü พัฒนาสื่อการเรียนการสอนเพิ่มความรู้ และทักษะการเลือกซื้อและการใช้งานอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงที่ถูกต้องให้กับ เยาวชนและประชาชน ü พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ü กิจกรรมพัฒนาบุคลากรเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินการตาม 7 มาตรการหลัก

นโยบายพลังงาน

29


10. มาตรการประชาสัมพันธ์สร้างปลูกจิตส�ำนึกการอนุรักษ์พลังงาน

• สนับสนุนการรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกใช้พลังงานอย่างรูค้ ณ ุ ค่า และเปลีย่ นพฤติกรรมการใช้พลังงานครอบคลุมทุกภาคส่วน และครบทุกระดับ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง • กรอบการประชาสัมพันธ์ กิจกรรมณรงค์สร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินการตาม 7 มาตรการหลัก 1. การประชาสัมพันธ์ รณรงค์สร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์พลังงาน บุคลากรในสถานประกอบการ ตั้งแต่ระดับบริหาร ถึงพนักงาน 2. ประชาสัมพันธ์ รณรงค์สร้างค่านิยมในการสร้างอาคารประหยัดพลังงาน 3. ประชาสัมพันธ์ จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างความรู้และค่านิยม ให้ประชาชนเลือกใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงเบอร์ 5 เช่น เครื่องปรับอากาศ ยางรถยนต์ และหลอด LED 4. ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับต้นทุนการจัดหาน�้ำมันเชื้อเพลิงในภาคขนส่งทุกประเภทอย่าง ต่อเนื่องและจริงจัง • ใช้กิจกรรมรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกแบบผสมผสาน และต่อเนื่อง ได้แก่ การโฆษณา กิจกรรมการประกวด และกิจกรรมการมีส่วนร่วม แผนด�ำเนินการ ü พัฒนากลยุทธ์และแผนการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และทบทวนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง üพัฒนามาตรฐานและประเมินระดับพฤติกรรมการอนุรักษ์ และพัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศ üรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกแบบผสมผสานและต่อเนื่อง ได้แก่ การโฆษณา กิจกรรมการประกวด และกิจกรรมการมีส่วนร่วม üกิจกรรมรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินการตาม 7 มาตรการหลัก üประเมินระดับพฤติกรรมการอนุรักษ์

30

นโยบายพลังงาน


การปรั บ กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ ขั บ เคลื่ อ น การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานด้ ว ย 3 กลยุ ท ธ์ 10 มาตรการ 4 กลุ ่ ม เศรษฐกิ จ นี้ จะช่วยให้ บ้านเรือน และอาคารโรงงาน ต่างๆ ลดการใช้พลังงานลงช่วยลดต้นทุน การผลิตของผู้ประกอบการและยังช่วย กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ของประเทศที่ ค ่ อ ยๆ ฟื้นตัวด้วย นอกจากนี้ยังเป็นการรณรงค์ สร้างจิตส�ำนึกสร้างวินัยให้ทุกภาคส่วน ร่วมมือกันใช้พลังงานอย่างประหยัดและ รู้คุณค่าของพลังงานอีกด้วย

การสนับสนุนพลังงานจังหวัด

นอกจากนี้ยังมอบหมายให้พลังงานจังหวัดร่วมสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงานผ่านการผลักดันการอนุรักษ์พลังงานในพื้นที่ อุตสาหกรรม ให้ค�ำปรึกษาด้านกฎหมายพลังงานในท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านพลังงานอย่างทั่วถึง ให้ความร่วมมือกับ หน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ และส�ำรวจการใช้พลังงานในภาครัฐ

นโยบายพลังงาน

31


PDP 2015

EEP 2015

AEDP 2015

GAS PLAN

OIL PLAN

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 [ Alternative Energy Development Plan : AEDP 2015 ]

32

นโยบายพลังงาน


ในการจัดท�ำแผน AEDP 2015 ได้น�ำค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามแผนอนุรักษ์พลังงาน (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) กรณีที่สามารถบรรลุเป้าหมายลดความเข้มการใช้พลังงานลงร้อยละ 30 ในปี 2579 เมื่อเทียบกับปี 2553 คาดการณ์ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ณ ปี 2579 จะอยู่ที่ระดับ 131,000 พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe) ค่าพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสุทธิของประเทศจากแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า ของประเทศไทย (Power Development Plan : PDP 2015) ในปี 2579 มีค่า 326,119 ล้านหน่วยหรือเทียบเท่า 27,789 ktoe ค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานความร้อน ในปี 2579 เท่ากับ 68,413 ktoe และค่าพยากรณ์ความต้องการใช้เชื้อเพลิง ในภาคขนส่งจากแผนบริหารจัดการน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ในปี 2579 มีคา่ 34,798 ktoe มาเป็นกรอบในการก�ำหนดเป้าหมายเพิม่ สัดส่วน การใช้พลังงานทดแทน รวมทัง้ พิจารณาถึงศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทนทีส่ ามารถน�ำมาพัฒนาได้ ทัง้ ในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพ ภายใต้แผน AEDP 2015 เป็นร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2579 ทิศทางการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศตามแผน AEDP 2015

เพือ่ ให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาพลังงานทดแทนให้เป็นพลังงานหลักของประเทศทดแทนการน�ำเข้าน�ำ้ มันได้ในอนาคต เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ สนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยีพลังงานทดแทนในประเทศ และ เพื่อวิจัยพัฒนาส่งเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนสัญชาติไทยให้สามารถแข่งขันในตลาดสากล โดยได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทนตามแผน AEDP 6 ประเด็น ประกอบด้วย 1. การส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิตและการใช้พลังงานทดแทนอย่างกว้างขวาง 2. การปรับมาตรการจูงใจส�ำหรับการลงทุนจากภาคเอกชนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ 3. การแก้ไขกฎหมาย และกฎระเบียบที่ยังไม่เอื้อต่อการพัฒนาพลังงานทดแทน 4. การปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบสายส่ง สายจ�ำหน่ายไฟฟ้า รวมทั้งการพัฒนาสู่ระบบ Smart Grid 5. การประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจต่อประชาชน 6. การส่งเสริมให้งานวิจัยเป็นเครื่องมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนแบบครบวงจร

นโยบายพลังงาน

33


นโยบายพลังงาน

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2015) การจัดท�ำแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2015) ให้ความส�ำคัญในการส่งเสริมการผลิตพลังงานจาก วัตถุดิบพลังงานทดแทนที่มีอยู่ภายในประเทศให้ได้เต็มตามศักยภาพ การพัฒนาศักยภาพ การผลิตพลังงานทดแทนด้วยเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสม และการพัฒนาพลังงานทดแทน เพื่อผลประโยชน์ร่วมในมิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน

การพัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นผลมาจากนโยบายส่งเสริมการผลิตการใช้พลังงาน ทดแทน โดยการใช้งานอยู่ในรูปของพลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยในปี 2557 ประเทศไทยมี การใช้พลังงานทดแทนทั้งสิ้น 9,025 พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ (ktoe) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 9.6 หรือคิดเป็นร้อยละ 11.9 ของ การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย

34

นโยบายพลังงาน


ผลการด�ำเนินงานด้านพลังงานทดแทน ปี 2555-2557

พลังงานทดแทน

หน่วย

เมกะวัตต์ ไฟฟ้า* พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ เมกะวัตต์ 1. แสงอาทิตย์ เมกะวัตต์ 2. พลังงานลม เมกะวัตต์ 3. พลังน�้ำขนาดเล็ก เมกะวัตต์ 4. ชีวมวล เมกะวัตต์ 5. ก๊าซชีวภาพ เมกะวัตต์ 6. ขยะชุมชน พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ ความร้อน พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ 1. แสงอาทิตย์ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ 2. ชีวมวล พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ 3. ก๊าซชีวภาพ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ 4. พลังงานขยะ ล้านลิตร/วัน เชื้อเพลิงชีวภาพ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ 1. เอทานอล ล้านลิตร/วัน 2. ไบโอดีเซล ล้านลิตร/วัน การใช้พลังงานทดแทน (พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ) การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ) สัดส่วนพลังงานทดแทนต่อการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (%)

2555 2,786 1,138 376.72 111.73 101.75 1,959.95 193.40 42.72 4,886 3.50 4,346.00 458.00 78.20 4.20 1,270 1.40 2.80 7,294 73,316 9.95

ผลการด�ำเนินงาน 2556 3,788 1,341 823.46 222.71 108.80 2,320.78 265.23 47.48 5,279 4.50 4,694.00 495.00 85.00 5.50 5.50 2.60 2.90 8,232 75,214 10.94

2557 4,494 1,467 1,298.51 224.47 142.01 2,451.82 311.50 65.72 5,775 45.10 5,144.00 528.00 98.10 6.10 1,783 3.21 2.89 8,232 75,214 11.91

*รวมการผลิตไฟฟ้านอกระบบ (Including off grid power generation) และไม่รวมการผลิตไฟฟ้าจากพลังน�้ำขนาดใหญ่

เป้าหมายการพัฒนาพลังงานทดแทน

การพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นส่วนหนึ่งของการก�ำหนดนโยบายพลังงานในภาพรวมที่จ�ำเป็นต้องบูรณาการร่วมกับ แผนพลังงานอื่นๆ เพื่อให้การขับเคลื่อนสอดคล้องกันในการจัดท�ำแผน AEDP 2015 ได้น�ำค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงาน ขั้นสุดท้ายตามแผนอนุรักษ์พลังงาน (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) กรณีที่สามารถบรรลุเป้าหมายลดความเข้มการใช้ พลังงาน (Energy Intensity) ลงร้อยละ 30 ในปี 2579 เมื่อเทียบกับปี 2553 แล้วคาดการณ์ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ณ ปี 2579 จะอยู่ที่ระดับ 131,000 พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ (ktoe) ค่าพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสุทธิของประเทศ จากแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (Power Development Plan : PDP 2015) ในปี 2579 มีค่า 326,119 ล้านหน่วย หรือเทียบเท่า 27,789 ktoe ค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานความร้อน ในปี 2579 เท่ากับ 68,413 ktoe และค่าพยากรณ์ ความต้องการใช้เชื้อเพลิงในภาคขนส่งจากแผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง ในปี 2579 มีค่า 34,798 ktoe มาเป็นกรอบใน การก�ำหนดเป้าหมายเพิม่ สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนรวมทัง้ พิจารณาถึงศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทนทีส่ ามารถน�ำมาพัฒนาได้ ทั้งในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพภายใต้แผน AEDP 2015 เป็นร้อยละ 30 ของการใช้พลังงาน ขั้นสุดท้ายในปี 2579

นโยบายพลังงาน

35


เป้าหมายการพัฒนาพลังงานทดแทนภายใต้แผน AEDP ในปี 2579

การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน

กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนมาตั้งแต่ปี 2532 โดยให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) รับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดเล็ก (Small Power Produce : SPP) ที่ผลิตพลังงานไฟฟ้า และความร้อนร่วม (Cogeneration) จากกากหรือเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร โดยน�ำพลังงานความร้อนทีเ่ หลือจากกระบวนการ ผลิตไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าเพื่อขายเข้าระบบสายส่ง เป็นการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพและช่วยแบ่งเบาภาระ การลงทุนของภาครัฐในระบบการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าด้วย ต่อมาได้ขยายผลสูก่ ารรับซือ้ ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนประเภทอืน่ ๆ ทั้งพลังงานแสงอาทิตย์ ก๊าซชีวภาพ ขยะ พลังน�้ำ พลังงานลม จากผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (Very Small Power Produce : VSPP) ขนาดไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ เพื่อกระจายโอกาสไปยังพื้นที่ห่างไกลให้มีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้า ช่วยลดความสูญเสียใน ระบบไฟฟ้า และลดการลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่เพือ่ จ�ำหน่ายไฟฟ้า โดยสนับสนุนผ่านมาตรการส่วนเพิม่ ราคารับซือ้ ไฟฟ้า (Adder) ทั้งนี้ อัตราส่วนเพิ่มและระยะเวลาในการสนับสนุนจะแตกต่างกันตามประเภทพลังงานทดแทน โดยมีส่วนเพิ่มอัตรา รับซือ้ ไฟฟ้าพิเศษส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานีนราธิวาส และ 4 อ�ำเภอในจังหวัดสงขลา จากมาตรการจูงใจดังกล่าวท�ำให้การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนมีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยใน ปี 2550 มีสดั ส่วนปริมาณไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนทีผ่ ลิตได้รวมการผลิตไฟฟ้านอกระบบ (Including off grid power generation) ทั้งประเทศร้อยละ 4.3 และเพิ่มเป็นร้อยละ 9.87 ในปี 2557 (ไม่รวมพลังน�้ำขนาดใหญ่)

36

นโยบายพลังงาน


เป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน

กระทรวงพลังงานมีประเด็นการพิจารณาเพื่อก�ำหนดเป้าหมายการพัฒนาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับศักยภาพของเชื้อเพลิงวัตถุดิบ และความสามารถในการรองรับ ระบบไฟฟ้า ดังนี้ • ศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทนคงเหลือของแต่ละเทคโนโลยี ประเมินจากศักยภาพของเชื้อเพลิงพลังงานทดแทนที่มีอยู่ทั้งหมด หักด้วยปริมาณเชื้อเพลิงพลังงาน ทดแทนส่วนที่น�ำไปใช้แล้วส�ำหรับแต่ละประเภทเชื้อเพลิงพลังงานทดแทน • ความต้องการการใช้ไฟฟ้า ประเมินจากการพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้ารายสถานีไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) น�ำมาปรับค่าให้สอดคล้องกับแผน EEP 2015 ซึง่ มีคา่ พยากรณ์ความต้องการ ใช้ไฟฟ้าขั้นสุดท้ายของทั้งประเทศ ณ ปี 2579 เท่ากับ 326,119 ล้านหน่วย • ความสามารถของสายส่งในการรองรับไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานทดแทน ในแผน PDP 2015 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้ประเมินศักยภาพสายส่งในการรองรับ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนรายสถานีไฟฟ้าและรายปี ตั้งแต่ปี 2558-2567 ซึ่งมีข้อจ�ำกัดในการรองรับ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยหลังจากปี 2567 เป็นต้นไป ปัญหาข้อจ�ำกัดจะหมดไป ซึ่งจะสามารถ วางแผนพัฒนาสายส่งไฟฟ้าให้สอดรับกับเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ ได้อย่างเต็มที่

นโยบายพลังงาน

37


• การจัดล�ำดับเทคโนโลยีตามราคาต้นทุนส�ำหรับการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงพลังงานทดแทน ประเภทต่างๆ (Merit Order from Levelized Cost of Electricity : LCOE) และตามนโยบายของรัฐบาล ในด้านผลประโยชน์เชิงสังคมและสิ่งแวดล้อมจากโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน (Society Cost) พิจารณาจาก ต้นทุนค่าก่อสร้าง (Construction Cost) ค่าเดินระบบ (Operation Cost) และ ค่าบ�ำรุงรักษา (Maintenance Cost) ของโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน รวมถึงค่าเชื้อเพลิงวัตถุดิบ (Fuel Cost) ในกรณีที่เป็นพลังงานจากชีวมวล พลังงานจากขยะ และพลังงานจากก๊าซชีวภาพที่ผลิตจาก พืชพลังงาน ทัง้ นี้ ราคาต้นทุนสุทธิในการผลิตไฟฟ้าจากจะคิดเป็นช่วงตลอดอายุโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน ทดแทน และพิจารณาตามล�ำดับความส�ำคัญตามนโยบายการส่งเสริมของรัฐบาลจากปริมาณผลกระทบ ที่จะลดได้ (เทียบเป็นมูลค่าเงิน) จากการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเมื่อน�ำพลังงานทดแทนมาใช้ ผลิตไฟฟ้า รวมถึงมูลค่าการจ้างงานที่จะเกิดขึ้น • การจัดสรรการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานทดแทนเชิงพื้นที่ (RE Zoning) เป็นการก�ำหนดเป้าหมายปริมาณก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานทดแทนประเภทต่างๆ โดย ใช้หลักการ Renewable Energy Supply-Demand Matching โดยน�ำศักยภาพคงเหลือของแหล่งพลังงาน ทดแทนมาจัดเรียงตาม Merit Order เชิงนโยบายของเทคโนโลยีพลังงานทดแทนต่างๆ ให้สอดคล้องกับ ความต้องการใช้ไฟฟ้าในพื้นที่ และพิจารณาข้อจ�ำกัดของสายส่งที่รับได้ตามขั้นตอน ดังนี้ (1) จัดท�ำ Merit Order ตามต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนและมูลค่าผลประโยชน์เชิง สังคมและสิง่ แวดล้อม และปรับล�ำดับ Merit Order ให้สอดคล้องกับนโยบายการส่งเสริมพลังงานขยะและ พลังงานชีวภาพของภาครัฐ เพือ่ สร้างประโยชน์รว่ มกับเกษตรกรและชุมชน รวมถึงการเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า ของประชาชนในพื้นที่ห่างไกล ได้ล�ำดับ Merit Order ดังต่อไปนี้ 1 ขยะ

2

3

4

5

ชีวมวล

ก๊าซชีวภาพ จากน�้ำเสีย/ ของเสีย

พลังน�้ำ ขนาดเล็ก

ก๊าซชีวภาพ จากพืช พลังงาน

6

7

พลังงานลม พลังงาน แสงอาทิตย์

8 พลังงาน ความร้อน ใต้พิภพ

(2) จัดสรรเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าของแต่ละประเภทเชื้อเพลิงพลังงานทดแทน ส�ำหรับในแต่ละ โซนพืน้ ที่ โดยน�ำปริมาณพลังงานไฟฟ้าส่วนทีม่ กี ารติดตัง้ แล้ว รวมทัง้ ทีม่ แี ผนงานจะถูกน�ำไปใช้ (โครงการ ทีผ่ กู พันกับภาครัฐ) มาเป็นฐานในการพิจารณา เพือ่ ให้ทราบส่วนต่างของปริมาณการผลิตไฟฟ้าทีจ่ ะต้อง ด�ำเนินการเพิ่มเติม (โครงการใหม่) ให้เป้าหมายการผลิตไฟฟ้าในโซนพื้นที่นั้น เพียงพอและสอดคล้อง กับข้อจ�ำกัดที่น�ำมาพิจารณาในทุกข้อ อันประกอบด้วย ข้อจ�ำกัดด้านปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้า ส่วนเพิ่ม และข้อจ�ำกัดด้านศักยภาพสายส่ง เป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนแต่ละประเภทเชือ้ เพลิงตามแผน AEDP 2015 มีสดั ส่วน การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงพลังงานทดแทนในภาพรวมของทั้งประเทศ ที่ร้อยละ 20 ของปริมาณความ ต้องการพลังงานไฟฟ้า (Energy) รวมสุทธิ ซึ่งสอดคล้องตามกรอบการก�ำหนดสัดส่วนเชื้อเพลิงในการ ผลิตไฟฟ้าของแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 (PDP 2015) ที่ระบุว่าจะ ให้มีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนอยู่ในช่วงร้อยละ 15-20 ภายในปี 2579 38

นโยบายพลังงาน


สถานภาพและเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนแต่ละประเภทเชื้อเพลิง

ประเภทเชื้อเพลิง 1. ขยะชุมชน 2. ขยะอุตสาหกรรม 3. ชีวมวล 4. ก๊าซชีวภาพ (น�้ำเสีย/ของเสีย) 5. พลังน�้ำขนาดเล็ก 6. ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) 7. พลังงานลม 8. พลังงานแสงอาทิตย์ 9. พลังน�้ำขนาดใหญ่ รวมเมกะวัตต์ติดตั้ง (เมกะวัตต์) รวมพลังงานไฟฟ้า (ล้านหน่วย) ความต้องการพลังงานไฟฟ้าทั้งประเทศ (ล้านหน่วย) สัดส่วนผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน (%)

สถานภาพ สิ้นปี 2557* (เมกะวัตต์) 65.72 2,451.82 311.50 142.01 224.47 1,298.51 4,494.03 17,217 174,467 9.87

เป้าหมายปี 2579 (เมกะวัตต์) 500.00 50.00 5,570.00 600.00 376.00 680.00 3,002.00 6,000.00 2,906.40** 19,684.40 65,588.07 326,119.00 20.11

* รวมการผลิตไฟฟ้านอกระบบ (Including off grid power generation) และไม่รวมการผลิตไฟฟ้าจากพลังน�้ำขนาดใหญ่ ** เป็นก�ำลังการผลิตติดตั้งที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน โดยพลังน�้ำขนาดใหญ่ถูกรวมเป็นเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในแผน AEDP 2015 การส่งเสริมพลังงานทดแทนภาคไฟฟ้า ในปี 2559

นโยบายพลังงาน

39


การผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทน

อุตสาหกรรมหลักทีม่ กี ารใช้เชือ้ เพลิงพลังงานทดแทนเพือ่ ผลิตความร้อนจะเป็นอุตสาหกรรมเกษตรทัง้ สิน้ ได้แก่ อุตสาหกรรม น�ำ้ ตาล อุตสาหกรรมผลิตน�ำ้ มันปาล์ม อุตสาหกรรมแป้งมันส�ำปะหลัง อุตสาหกรรมแปรรูปไม้ อุตสาหกรรมกระดาษ โรงสีขา้ วและ ฟาร์มปศุสตั ว์ ซึง่ ล้วนเป็นอุตสาหกรรมทีม่ เี ศษวัสดุเหลือทิง้ และของเสียจากกระบวนการผลิต ทีส่ ามารถน�ำมาท�ำเป็นวัตถุดบิ ในการ ผลิตพลังงานในรูปของเชือ้ เพลิงชีวมวลและก๊าซชีวภาพจากน�ำ้ เสียเพือ่ ลดภาระค่าใช้จา่ ยจากการจัดซือ้ เชือ้ เพลิงจากภายนอกมาใช้ ท�ำให้วัสดุเหลือทิ้งประเภทเชื้อเพลิงชีวมวล ได้แก่ ชานอ้อย แกลบ เศษไม้ ใยปาล์ม กะลาปาล์ม และขี้เลื่อย ได้รับความนิยมใน การน�ำไปเป็นเชื้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรมเกษตรอย่างกว้างขวาง นโยบายรัฐบาลที่ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนด้วยระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วมเป็นส่วนหนึ่งที่ กระตุน้ ให้เกิดการลงทุนเพิม่ ประสิทธิภาพระบบผลิตพลังงาน รวมไปถึงการสนับสนุนระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์และน�ำ้ เสีย จากโรงงาน การน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตน�้ำร้อนและอบแห้งในภาคธุรกิจ เป็นต้น การเพิ่มสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงพลังงาน ทดแทนเพื่อลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรมในการลดต้นทุนการผลิต โดยการน�ำ ของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ ลดภาระค่าใช้จ่ายจากเชื้อเพลิงฟอสซิล และสร้างสุขภาวะที่ดีต่อชุมชนรอบโรงงานด้วย การใช้พลังงานความร้อนจากพลังงานทดแทนปี 2553-2557

ความร้อนจากพลังงานทดแทน ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ พลังงานขยะ แสงอาทิตย์ รวม

ปี 2553 3,449 311 1.1 1.8 3,763

ปี 2554 4,123 402 1.7 2.0 4,529

ความร้อน (ktoe) ปี 2555 4,346 458 78.2 4.0 4,886

ปี 2556 4,694 495 85.0 4.5 5,279

ปี 2557 5,184 488 98 5.1 5,775

ชีวมวลเป็นพลังงานทดแทนที่มีสัดส่วนมากที่สุดในการผลิตความร้อน โดยในปี 2557 มีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 89 ของ การผลิตพลังงานความร้อนจากพลังงานทดแทนทั้งหมด ก๊าซชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 9 และที่เหลือเป็นพลังงานความร้อนจากขยะ และพลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ การผลิตพลังงานความร้อนจากขยะและพลังงานแสงอาทิตย์ยงั เป็นส่วนทีต่ อ้ งการการสนับสนุนให้เกิด การใช้ประโยชน์ในภาคบริการและภาคครัวเรือนให้มากขึ้น

40

นโยบายพลังงาน


เป้าหมายการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทน

ความต้องการพลังงานเพื่อการผลิตความร้อน เป็นสัดส่วนที่ส�ำคัญในความต้องการพลังงานของประเทศ ซึ่งมีอัตรา การเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและแปรผั น ตรงกั บ สถานการณ์ ท างเศรษฐกิ จ เช่ น การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม การขยายตัวของเมืองและชุมชน และอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว รวมถึงภาคการเกษตรทีม่ กี ารปรับตัวเป็นภาคอุตสาหกรรมเกษตร การก�ำหนดเป้าหมายส่งเสริมการผลิตความร้อนพิจารณาตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ (1) การคาดการณ์ความต้องการพลังงานเพื่อผลิตความร้อน ได้คาดการณ์ความต้องการพลังงานเพื่อผลิตความร้อน ในปี 2579 โดยมีปริมาณทั้งสิ้น 68,413 ktoe ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ความต้องการพลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศ ตามแผน EEP 2015 ความต้องการพลังงานไฟฟ้าตามแผน PDP 2015 และความต้องการเชื้อเพลิงในภาคขนส่งตามแผนบริหาร จัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง (2) การประเมินศักยภาพการผลิตความร้อน จะพิจารณาจากทรัพยากรพลังงานทดแทนใน 4 กลุ่ม ดังนี้ (2.1) การผลิตความร้อนจากวัตถุดิบพลังงานทดแทนคงเหลือ ได้แก่ ขยะ ชีวมวล และก๊าซชีวภาพ โดยเป็นศักยภาพ เชื้อเพลิงคงเหลือหลังจากหักส่วนที่ประเมินเพื่อน�ำไปผลิตเป็นพลังงานประเภทอื่นแล้ว ศักยภาพการผลิตพลังงานความร้อนจากวัตถุดิบพลังงานทดแทนคงเหลือ

ประเภทเชื้อเพลิง

หน่วย

1. ขยะ ล้านตัน • ขยะสะสมในพื้นที่ฝังกลบ ตัน/ปี • ยางรถยนต์ใช้แล้ว ตัน/วัน • ขยะชุมชน* 2. ชีวมวล ล้านตัน/ปี • ชีวมวลคงเหลือ • ชีวมวลที่เพิ่มขึ้นจากแผนกระทรวง ล้านตัน/ปี เกษตรและสหกรณ์ 3. ก๊าซชีวภาพ • ปริมาณน�้ำเสีย/ของเสีย ล้าน ลบ.ม./ปี

ศักยภาพ คงเหลือ

ศักยภาพในการน�ำมาผลิตพลังงาน ไฟฟ้า น�้ำมันไพโรไลซิส ความร้อน

30.80 547,500 68,088

35,000

4,690

24.64 383,250 4,500

48.52

37.43

-

42.51

3,411

1,142

-

1,245

31.42

* ขยะชุมชนสามารถรวบรวมมาผลิตพลังงานได้เพียงบางส่วนเนื่องจากยังไม่มีระบบการจัดเก็บและรวบรวมในบางท้องถิ่น

(2.2) การผลิตความร้อนจากไม้โตเร็ว พิจารณาจากศักยภาพของพื้นที่ดินเสื่อมโทรมในการปลูกไม้โตเร็ว โดยคัดเลือก พื้นที่ในการศึกษาเป็นพื้นที่เสื่อมโทรมในระดับวิกฤติและระดับรุนแรง ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม นอกเขตชลประทานเป็น หลัก ซึง่ ไม่เหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก เพือ่ ไม่ให้เกิดผลกระทบในการแย่งพืน้ ทีเ่ พาะปลูกพืชอาหาร พบว่า ประเทศไทย มีพื้นที่ที่มีศักยภาพส�ำหรับการปลูกไม้โตเร็วประมาณ 4 ล้านไร่ เมื่อประเมินการใช้พื้นที่ดังกล่าวเพียง 1 ใน 3 หรือ 1.45 ล้านไร่ จะสามารถผลิตชีวมวลได้ประมาณ 18 ล้านตันต่อปี

นโยบายพลังงาน

41


(2.3) การผลิตความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยประเมินศักยภาพจากกลุม่ เป้าหมายทีม่ คี วามต้องการใช้พลังงาน แสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน ใน 3 เทคโนโลยี ได้แก่ ระบบน�้ำร้อนแสงอาทิตย์ ระบบอบแห้งแสงอาทิตย์ และระบบท�ำความเย็น ด้วยความร้อนแสงอาทิตย์ คิดเป็นเป้าหมายส่งเสริมการผลิตความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์รวม 1,200 ktoe • ระบบน�ำ้ ร้อนแสงอาทิตย์ กลุม่ เป้าหมาย คือ โรงแรม รีสอร์ท และโรงพยาบาล ซึง่ ใช้นำ�้ ร้อนส�ำหรับการให้บริการ แขกผู้เข้าพัก หรือผู้ป่วย และในการซักล้างภายในองค์กร รวมถึงกลุ่มผู้ใช้น�้ำร้อนในกระบวนการอุตสาหกรรม และที่อยู่อาศัย โดยมีเป้าหมายติดตั้งระบบน�้ำร้อนแสงอาทิตย์ ราว 9.17 ล้านตารางเมตร หรือเทียบเท่าการ ผลิตพลังงานความร้อน 1,160 ktoe • ระบบอบแห้งแสงอาทิตย์ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อบแห้งทั้งในระดับครัวเรือนและระดับ อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก ให้ใช้ระบบอบแห้งแสงอาทิตย์แทนการตากแดดตามธรรมชาติ ซึ่งมัก ได้รับความเสียหายจากแมลง ฝุ่นละออง และความชื้นในอากาศ ซึ่งจะช่วยยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อบแห้ง โดยมีเป้าหมายส่งเสริมการติดตั้งระบบอบแห้งแสงอาทิตย์ 75,000 ตารางเมตร หรือเทียบเท่าการผลิต พลังงานความร้อน 5 ktoe • ระบบท�ำความเย็นแสงอาทิตย์ จะเป็นการน�ำน�้ำร้อนแสงอาทิตย์ มาเป็นแหล่งความร้อนให้กับระบบผลิต ความเย็นประเภทดูดซับความร้อน (Absorption Chiller) สามารถน�ำไปใช้งานได้ในอาคารขนาดใหญ่ เช่น อาคารส�ำนักงาน โรงแรม ศูนย์การค้า และโรงพยาบาล เป็นต้น โดยมีเป้าหมายส่งเสริมการใช้งานระบบ ท�ำความเย็นแสงอาทิตย์ราว 300,000 ตารางเมตร หรือเทียบเท่าการผลิตพลังงานความร้อน 35 ktoe (2.4) การผลิตความร้อนจากพลังงานทางเลือกอื่น คือ แหล่งวัตถุดิบที่อยู่ระหว่างการส�ำรวจ หรือการวิจัยพัฒนา ที่อาจ มีศกั ยภาพในอนาคต หากมีการพัฒนาเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม และต้นทุนสามารถแข่งขันได้กบั เชือ้ เพลิงพลังงานประเภทอืน่ ๆ เช่น พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น สถานภาพและเป้าหมายการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทนแต่ละประเภทเชื้อเพลิง

ประเภทเชื้อเพลิง

1. ขยะ 2. ชีวมวล 3. ก๊าซชีวภาพ 4. พลังงานแสงอาทิตย์ 5. พลังงานความร้อนทางเลือกอื่น* รวม ความต้องการพลังงานความร้อนทั้งประเทศ สัดส่วนผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทน (%) *อาทิ ความร้อนใต้พิภพ น�้ำมันจากยางรถยนต์ใช้แล้ว เป็นต้น

42

นโยบายพลังงาน

สถานภาพ สิ้นปี 2557 (ktoe) 98.10 5,144.00 528.00 5.10 5,775.20 33,419.54 17.28

เป้าหมายปี 2579 (ktoe) 495.00 22,100.00 1,283.00 1,200.00 10.00 25,088.00 68,413.40 36.67


การส่งเสริมพลังงานทดแทนภาคความร้อน ในปี 2559

นโยบายพลังงาน

43


การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากพลังงานทดแทน

กว่าทศวรรษแล้วที่กระทรวงพลังงานได้รับแนวพระราชด�ำริเรื่องพลังงานทดแทนมาถือปฏิบัติเป็นนโยบายหลักในการสร้าง ความมั่นคงด้านพลังงานและสร้างพื้นฐานด้านพลังงานทดแทนให้กบั ประเทศไทย โดยเฉพาะการทดแทนการใช้น�้ำมันเบนซินและ น�้ำมันดีเซลด้วยเชื้อเพลิงชีวภาพที่สามารถผลิตได้ในประเทศ กระทรวงพลังงานได้ด�ำเนินการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอย่างเป็นรูปธรรมตั้งแต่ปี 2547 ทั้งการอนุญาตให้ตั้งโรงงาน ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ การเพิ่มสถานีบริการจ�ำหน่ายเชื้อเพลิงชีวภาพ และประชาสัมพันธ์สร้างความเชื่อมั่นต่อเชื้อเพลิงชีวภาพ อย่างไรก็ตามการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพก็ยังไม่เพิ่มอย่างมีนัยส�ำคัญจนกระทั่งในปี 2551 เกิดวิกฤตการณ์พลังงานโลก ท�ำให้ราคา น�้ำมันดิบเพิ่มสูงกว่า 150 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ส่งผลให้ความต้องการเชื้อเพลิงชีวภาพในประเทศเพิ่มขึ้น เพื่อทดแทนและ ลดการน�ำเข้าน�้ำมันดิบ การใช้ไบโอเอทานอลเพิ่มจาก 0.71 ล้านลิตรต่อวัน เป็น 1.29 ล้านลิตรต่อวัน และการใช้ไบโอดีเซล เพิ่มจาก 0.80 ล้านลิตรต่อวัน เป็น 1.40 ล้านลิตรต่อวัน การใช้ไบโอดีเซลเริ่มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญอีกครั้งในปี 2554 เมื่อกระทรวงพลังงานได้เพิ่มสัดส่วนผสมไบโอดีเซลในเนื้อ น�้ำมันดีเซลที่อัตราส่วนร้อยละ 3-5 และในปี 2557 ได้เพิ่มสัดส่วนผสมไบโอดีเซลเป็นร้อยละ 7 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปริมาณ น�้ำมันปาล์มดิบซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลมีความผันผวนทางฤดูกาลมาก ท�ำให้ในบางช่วงเวลา กระทรวงพลังงานต้อง ลดสัดส่วนการผสมไบโอดีเซลลงเพื่อให้สมดุลกับวัตถุดิบในประเทศ ในปี 2557 ประเทศไทยมีโรงงานผลิตไบโอดีเซลเพิ่มเป็น 10 แห่ง ก�ำลังการผลิตรวม 4.96 ล้านลิตรต่อวัน และใช้ไบโอดีเซลเพื่อทดแทนน�้ำมันดีเซลรวม 1,054.92 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 2.89 ล้านลิตรต่อวัน ส�ำหรับเอทานอลมีสัดส่วนการใช้เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดในปี 2556 เนื่องจากกระทรวงพลังงานได้ประกาศยกเลิกการใช้ น�้ำมันเบนซิน ออกเทน 91 ซึ่งมีสัดส่วนการใช้ถึงร้อยละ 40 ของปริมาณการใช้น�้ำมันเบนซินทั้งหมด และจากราคาน�้ำมันดิบโลก ในช่วงปี 2556-2557 ทีม่ แี นวโน้มสูงขึน้ จึงท�ำให้ประชาชนหันมาใช้นำ�้ มันแก๊สโซฮอลเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การใช้เอทานอล เพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยในปี 2557 มีโรงงานผลิตเอทานอลเพิ่มเป็น 22 แห่ง ก�ำลังการผลิตรวม 5.31 ล้านลิตรต่อวัน และมีการใช้ เอทานอลรวม 1,185.50 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 3.25 ล้านลิตรต่อวัน

44

นโยบายพลังงาน


การใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ (เอทานอลและไบโอดีเซล) ปี 2553-2557

เชื้อเพลิงชีวภาพ เอทานอล ไบโอดีเซล รวม

ปี 2553 1.2 1.7 2.9

ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิง (ล้านลิตรต่อวัน) ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 1.2 1.4 2.6 2.1 2.7 2.9 3.3 4.1 5.5

ปี 2557 3.2 2.9 6.1

เป้าหมายการผลิตเชื้อเพลิงในภาคขนส่งจากพลังงานทดแทน

การก�ำหนดเป้าหมายส่งเสริมการผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพจะพิจารณาจากความต้องการพลังงานในภาคขนส่งและความสามารถ ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยพิจารณาตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. การคาดการณ์ความต้องการเชื้อเพลิงในภาคขนส่ง โดยใช้ผลการวิเคราะห์ความต้องการเชื้อเพลิงในภาคขนส่งตามแผน บริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง ณ ปี 2579 พบว่ามีความต้องการเชื้อเพลิงในภาคขนส่งทั้งสิ้น 34,798 ktoe 2. การประเมินศักยภาพการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เชื้อเพลิงชีวภาพที่ใช้ในปัจจุบันผลิตจากพืชอาหาร (เชื้อเพลิงชีวภาพ รุ่นที่ 1) วัตถุดิบหลักในการผลิตมาจาก อ้อย มันส�ำปะหลัง และปาล์มน�้ำมัน ซึ่งถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของประเทศ จึงได้ น�ำร่างยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มาประกอบการพิจารณาก�ำหนดเป้าหมายด้วย โดยกระทรวงพลังงานสนับสนุน ให้น�ำผลผลิตทางการเกษตรส่วนที่เหลือใช้จากการบริโภคภายในประเทศและการส่งออกแล้วมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงาน เพื่อสร้างสมดุลระหว่างพืชพลังงานและอาหารที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศในการประเมินศักยภาพจะพิจารณาจาก ทรัพยากรพลังงานทดแทนใน 5 กลุ่ม ดังนี้ สถานภาพและเป้าหมายการผลิตเชื้อเพลิงในภาคขนส่งจากพลังงานทดแทน

1. ไบโอดีเซล 2. เอทานอล 3. น�้ำมันไพโรไลซิส 4. ก๊าซไบโอมีเทนอัด (ตันต่อวัน) 5. เชื้อเพลิงทางเลือกอื่น* รวม (ktoe) ความต้องการเชื้อเพลิงในภาคขนส่งทั้งประเทศ สัดส่วนผลิตเชื้อเพลิงพลังงานทดแทนภาคขนส่ง (%)

สถานภาพ ณ สิ้นปี 2557 ล้านลิตร/วัน ktoe 909.28 2.89 872.88 3.21

1,782.16 26,801.00 6.65

เป้าหมายปี 2579 ล้านลิตร/วัน ktoe 4,404.82 14.00 2,103.50 11.30 170.87 0.53 2,023.24 4,800.00 10.00 8,712.43 34,798.00 25.04

*อาทิ Bio-oil, ไฮโดรเจน เป็นต้น

นโยบายพลังงาน

45


พลังงานทดแทนเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ

46

นโยบายพลังงาน


การส่งเสริมพลังงานทดแทนภาคขนส่ง ในปี 2559

นโยบายพลังงาน

47


ค่าเป้าหมายตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน ในปี 2579

กระทรวงพลังงานได้ก�ำหนดค่าเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน ทั้งในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และ เชื้อเพลิงชีวภาพภายใต้แผน AEDP 2015 เป็นร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2579 ค่าเป้าหมายตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน ในปี 2579

ประเภทพลังงาน ไฟฟ้า 1. ขยะชุมชน 2. ขยะอุตสาหกรรม 3. ชีวมวล 4. ก๊าซชีวภาพ (น�้ำเสีย/ของเสีย) 5. พลังน�้ำขนาดเล็ก 6. ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) 7. พลังงานลม 8. พลังงานแสงอาทิตย์ 9. พลังน�้ำขนาดใหญ่ ความร้อน 1. พลังงานขยะ 2. ชีวมวล 3. ก๊าซชีวภาพ 4. พลังงานแสงอาทิตย์ 5. พลังงานความร้อนทางเลือกอื่น เชื้อเพลิงชีวภาพ 1. ไบโอดีเซล 2. เอทานอล 3. น�้ำมันไพโรไลซิส 4. ก๊าซไบโอมีเทนอัด 5. เชื้อเพลิงทางเลือกอื่น การใช้พลังงานทดแทน (พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ) การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ) สัดส่วนพลังงานทดแทนต่อการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (%)

48

นโยบายพลังงาน

เป้าหมาย ปี 2579 พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ ล้านลิตร/วัน ล้านลิตร/วัน ล้านลิตร/วัน ตัน/วัน พันตันเทียบเท่าน�้ำมันดิบ

5,588.24 19,684.40 500.00 50.00 5,570.00 600.00 376.00 680.00 3,002.00 6,000.00 2,906.40 25,088.00 495.00 22,100.00 1,283.00 1,200.00 10.00 8,712.43 14.00 11.30 0.53 4,800.00 10.00 39,388.67 131,000.00 30


ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทน

กระทรวงพลังงานก�ำหนดยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทนในปี 2558-2579 ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเตรียมความพร้อมด้านวัตถุดิบและเทคโนโลยีพลังงานทดแทน เป้าประสงค์ การพัฒนาความสามารถในการผลิต บริหารจัดการวัตถุดิบ ด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม กลยุทธ์ การผลิตไฟฟ้า การผลิตความร้อน การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ กลยุทธ์ 1.1 พัฒนาวัตถุดิบทางเลือกอื่น • ก�ำหนดพื้นที่ (Zoning) การส่งเสริมการปลูกพืชส�ำหรับใช้เป็นวัตถุดิบพลังงานทดแทน และพื้นที่ที่มีศักยภาพเพื่อผลิตพลังงาน • พัฒนาและส่งเสริมวัตถุดิบอื่นๆ ที่ยังไม่มีการใช้ประโยชน์มาใช้เป็นแหล่งเชื้อเพลิง เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ของเสียจากกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรม โดย ทดแทน บูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง วิจัยพัฒนาวัตถุดิบทางเลือก ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพที่ไม่ใช่ พืชอาหาร เช่น ข้าวฟ่าหวาน เซลลูโลส และสาหร่าย เป็นต้น กลยุทธ์ 1.2 พัฒนาการรูปแบบการบริหาร • ส่งเสริมให้มกี ารบริหารจัดการวัตถุดบิ พลังงานทดแทนอย่างเป็นระบบ เช่น ระบบการขนส่ง จัดการและการใช้วตั ถุดบิ พลังงานทดแทน ระบบการผลิตแบบพันธสัญญา (Contract farming) • พัฒนาและก�ำหนดมาตรฐาน คุณสมบัตเิ ชือ้ เพลิงพลังงานทดแทนเพือ่ การจ�ำหน่ายเชิงพาณิชย์ ให้มีประสิทธิภาพ เช่น มาตรฐานเชื้อเพลิงอัดแท่ง (Pellet) น�้ำมันไพโรไลซิส เป็นต้น • ส่งเสริมการแปรรูปพลังงานทดแทนเพื่อน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิง ทดแทนเชื้อเพลิงหลัก หรือเชื้อเพลิงร่วม (Co-firing) เช่น เชื้อเพลิงแท่งตะเกียบ (Biomass Pellet) หรือ Bio-coke ในการผลิตพลังงาน กลยุทธ์ 1.3 ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี • ส่งเสริมการใช้ชิ้นส่วน อุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีที่ผลิตภายในประเทศ (local content) ทีเ่ หมาะสมกับความสามารถการผลิตและ • พัฒนาชิ้นส่วน อุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ๆ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน การใช้พลังงานทดแทน ในแต่ละพื้นที่ และสามารถต่อยอดได้ในเชิงพาณิชย์ • ก�ำหนดมาตรฐานวัสดุ อุปกรณ์ ระบบติดตั้ง และระบบทดสอบประสิทธิภาพการท�ำงาน (Performance) ของเทคโนโลยีพลังงานทดแทน • วิ จั ย พั ฒ นาระบบสะสม • พั ฒ นาเทคโนโลยี ผ ลิ ต • ศึกษา พัฒนาเทคโนโลยี พลังงานไฟฟ้าทีเ่ หมาะสม พลังงานประสิทธิภาพสูง ยานยนต์ให้ใช้เชื้อเพลิง หรือเทคโนโลยีขั้นสูง ชีวภาพในส่วนผสมที่สูง ขึ้นได้ • พัฒนาไบโอดีเซลคุณภาพ สูง เช่น H-FAME, BHD เป็นต้น • พั ฒ นาระบบผลิ ต ก๊ า ซ ไบโอมีเทนอัด (CBG)

นโยบายพลังงาน

49


ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเตรียมความพร้อมด้านวัตถุดิบและเทคโนโลยีพลังงานทดแทน เป้าประสงค์ การพัฒนาความสามารถในการผลิต บริหารจัดการวัตถุดิบ ด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม กลยุทธ์ การผลิตไฟฟ้า การผลิตความร้อน การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ กลยุทธ์ 1.4 ปรับปรุงระบบโครงสร้าง จัดตั้งศูนย์ทดสอบอุปกรณ์ เทคโนโลยี และรับรองอุปกรณ์ผลิตพลังงานทดแทน พื้นฐานเพื่อรองรับการผลิตการใช้พลังงาน • ปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งระบบ • ส่ ง เสริ ม การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ • เพิ่ ม สถานี บ ริ ก ารน�้ ำ มั น ทดแทนอย่างเหมาะสม เชื้อเพลิงชีวภาพให้ทั่วถึง สายส่งเพื่อรองรับการผลิต ก�ำจัดขยะมูลฝอยรวม ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน • ส่งเสริมการพัฒนารูปแบบ อาคารธุรกิจ ที่อยู่อาศัย (Smart grid) • ศึ ก ษาแนวทางพั ฒ นา ให้ ส ามารถใช้ พ ลั ง งาน โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ เ พื่ อ ทดแทนได้ เช่น การติดตัง้ รองรั บ พลั ง งานทดแทน ระบบผลิ ต น�้ ำ ร้ อ นจาก รูปแบบใหม่ๆ เช่น เทคโนโลยี พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เป็นต้น เซลล์เชื้อเพลิง เป็นต้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มศักยภาพการผลิต การใช้ และตลาดพลังงานทดแทน เป้าประสงค์ การผลักดันความสามารถในการผลิตและความต้องการพลังงานทดแทน กลยุทธ์ การผลิตไฟฟ้า การผลิตความร้อน กลยุทธ์ 2.1 สนับสนุนครัวเรือนและชุมชน • สนับสนุนระบบผลิตไฟฟ้า • ส่งเสริมการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ให้มีส่วนร่วมในการผลิตการใช้พลังงาน ในชุมชน หรือหน่วยงาน ผลิตความร้อนประสิทธิภาพ ทดแทน ภาครัฐอืน่ ๆ ในพืน้ ทีห่ า่ งไกล สูงในครัวเรือน เช่น เตาถ่าน • สนั บ สนุ น การจั ด ตั้ ง กลุ ่ ม แ ล ะ เ ต า ก ๊ า ซ หุ ง ต ้ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสี เ ขี ย ว ประสิทธิภาพสูง เตาวิสาหกิจ (Distributed Green ชุมชน Generation : DGG) ให้ • ส นั บ ส นุ น ร ะ บ บ ผ ลิ ต ผลิตไฟฟ้าโดยใช้วัตถุดิบที่ พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น ด ้ ว ย เทคโนโลยีที่ใช้งานได้ง่าย มีอยู่ในพื้นที่ • ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าใช้ เช่น การใช้กา๊ ซชีวภาพจาก เอง ในหน่วยงานภาครัฐ ขยะอิ น ทรี ย ์ เ พื่ อ ทดแทน อาคารธุรกิจ หรือบ้านพัก ก๊าซหุงต้ม อาศัย (Self consumption) • ส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งาน • พั ฒ นาระบบผลิ ต ไฟฟ้ า ท ด แ ท น ใ น โ ร ง ง า น แบบผสมผสานที่เหมาะสม อุ ต สาหกรรมและสถาน กั บ ส ภ า พ พื้ น ที่ เ ช ่ น ประกอบการ เช่น CBG RDF เพือ่ ทดแทนน�ำ้ มันเตา พลั ง งานลมมาใช้ ร ่ ว มกั บ และก๊าซ LPG พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น

การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ • ส่งเสริม การผลิตการใช้ เชื้อเพลิงชีวภาพในระดับ ชุมชน

กลยุทธ์ 2.2 ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนด้าน ส่งเสริมการลงทุนพลังงานทดแทนด้วยมาตรการทางภาษีและมาตรการสนับสนุนทางการเงิน พลังงานทดแทนอย่างเหมาะสมแก่ผผู้ ลิต อย่างเหมาะสม และผู้ใช้ทั้งในและต่างประเทศ • สนับสนุนการซื้อขายไฟฟ้า • ศึ ก ษาแนวทางก� ำ หนด • ก�ำหนดโครงสร้างราคาที่ เข้ า ระบบสายส่ ง ด้ ว ยวิ ธี มาตรการสนั บ สนุ น การ เหมาะสมเพื่ อ สร้ า งแรง ประมูลแข่งขัน (Competitive ผลิตความร้อนจากพลังงาน จูงใจให้เกิดการใช้ และ bidding) ทดแทน (Renewable Heat สามารถสะท้อนต้นทุนการ • สนั บ สนุ น ระบบซื้ อ ขาย Incentive) ผลิตที่แท้จริง • ส ่ ง เ ส ริ ม ใ ห ้ มี ก า ร ใ ช ้ ไฟฟ้า แ บ บ วิ ธี หั ก ล บ เ ชื้ อ เ พ ลิ ง ชี ว ภ า พ ใ น หน่วย (Net metering) เพือ่ หน่ ว ยงานภาครั ฐ อย่ า ง ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าใช้เอง จริงจังและเป็นรูปธรรม • ทบทวนปรั บ ปรุ ง อั ต รารั บ • ส่ ง เสริ ม การผลิ ต และ ซื้ อ ไฟฟ้ า ให้ เ หมาะสมกั บ จ�ำหน่ายเทคโนโลยียานยนต์ สถานการณ์ หรือเครือ่ งยนต์ทใี่ ช้เชือ้ เพลิง ชีวภาพในส่วนผสมทีส่ งู ขึน้ ได้ 50

นโยบายพลังงาน


ค่าเป้าหมายตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน ในปี 2579 (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มศักยภาพการผลิต การใช้ และตลาดพลังงานทดแทน เป้าประสงค์ การผลักดันความสามารถในการผลิตและความต้องการพลังงานทดแทน กลยุทธ์ การผลิตไฟฟ้า การผลิตความร้อน การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ กลยุ ท ธ์ 2.3 ส่ ง เสริ ม การลดต้ น ทุ น • ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอุปกรณ์ เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตการใช้ การผลิ ต และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพธุ ร กิ จ พลังงาน • สนับสนุนการเพิ่มมูลค่าของเสียจากกระบวนการผลิตและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง พลังงานทดแทน กลยุทธ์ 2.4 พัฒนากฎหมายด้านพลังงาน • ผลักดันกฎหมายพลังงานทดแทน ทดแทน พร้อมทัง้ เร่งรัดการปรับปรุงแก้ไข • ปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อสนับสนุนการพัฒนาพลังงานทดแทน และเพื่อความปลอดภัยใน กฎหมายและกฎระเบี ย บเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การผลิต การขนส่ง และการบริโภค การพัฒนาพลังงานทดแทนอย่างเหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างจิตส�ำนึกและเข้าถึงองค์ความรู้ ข้อเท็จจริงด้านพลังงานทดแทน เป้าประสงค์ การสร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจต่อการผลิตการใช้พลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน กลยุทธ์ การผลิตไฟฟ้า การผลิตความร้อน การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ กลยุทธ์ 3.1 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ • พัฒนาระบบฐานข้อมูลพลังงานทดแทนที่ถูกต้อง ทันสมัย พร้อมรองรับการเชื่อมต่อกับ บริ ห ารจั ด การฐานข้ อ มู ล ด้ า นพลั ง งาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทดแทน • ส่ผลั กดัมนการด� กฎหมายพลั งานทดแทน กลยุทธ์ 3.2 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ • งเสริ ำเนินกิจงกรรมหรื อโครงการด้านพลังงานทดแทน เช่น การประกวดแข่งขัน • ปรั บ ปรุ ง กฎระเบี ย บเพื อ ่ สนั บ สนุ นาพลังงานทดแทน ความปลอดภั ยใน ข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้ และข้อมูลสถิติ • เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่นาการพั วสารฒและองค์ ความรู้ ผ่าและเพื นสื่อต่า่องๆ เช่น เว็บไซต์ ง และการบริ พลังงานทดแทน สืการผลิ ่อสิ่งพิตมพ์การขนส่ วิทยุ โทรทั ศน์ เป็นต้โนภค • พัฒนาและปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร เอกสารวิชาการ และข้อมูลสถิติให้มีความทันสมัย กลยุทธ์ 3.3 พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจด้านพลังงานทดแทน เพื่อ สร้างความสามารถในการใช้ประโยชน์ จากพลังงานทดแทนทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ

• พั ฒ นาหลั ก สู ต รด้ า นพลั ง งานทดแทนในหน่ ว ยงานสถาบั น การศึ ก ษาและสถาน ประกอบการต่างๆ • ฝึกอบรม ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจด้านพลังงานทดแทนให้กบั หน่วยงาน องค์กรอืน่ ๆ เพื่อการน�ำไปประยุกต์ใช้

กลยุทธ์ 3.4 พัฒนาเครือข่ายด้านพลังงาน ทดแทนที่เกี่ยวข้อง และสนับสนุนการมี ส่วนร่วมของเครือข่ายทัง้ ในระดับประเทศ และในระดับนานาชาติ

• จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ด้านพลังงานในระดับชุมชน หรือภูมิภาค • สร้างความร่วมมือ หรือสนับสนุนเครือข่ายด้านพลังงานทดแทนในระดับชุมชนเพื่อสร้าง การยอมรับ ลดการต่อต้าน • พัฒนาความสัมพันธ์ในระดับนานาชาติให้แน่นแฟ้น เพือ่ สร้างความร่วมมือ การแลกเปลีย่ น ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน

การเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนทั้งในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพภายใต้แผน AEDP 2015 เป็นร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2579 จะเทียบเท่ากับการลดใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้ราว 39,388 ktoe ลดใช้ เชือ้ เพลิงฟอสซิลได้ 590,820 ล้านบาท หากประเมินเป็นก๊าซเรือนกระจกทีล่ ดได้จากการเผาไหม้เชือ้ เพลิงฟอสซิลเพือ่ ผลิตพลังงาน ได้ราว 140 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เลยทีเดียว นับว่าเป็น 1 ใน 5 แผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติที่ทางกระทรวงพลังงานให้ ความส�ำคัญ และเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายตามกรอบทีก่ ระทรวงพลังงานได้วางไว้นนั่ คือ ความมัน่ คงทางพลังงาน (Security) เศรษฐกิจ (Economy) และสิ่งแวดล้อม (Ecology) นั่นเอง

นโยบายพลังงาน

51


PDP 2015

EEP 2015

AEDP 2015

GAS PLAN

OIL PLAN

แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ [ Gas Plan ]

52

นโยบายพลังงาน


แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ ให้ควมส�ำคัญกับการวางแผนด�ำเนินงานเพือ่ รองรับความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติ ให้มีเพียงพอในอนาคต ทั้งในด้านการลดใช้หรือพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ และในด้านยืดอายุการจัดหาก๊าซธรรมชาติ จากแหล่งในประเทศ การจัดหา LNG น�ำเข้าเท่าที่จ�ำเป็นเพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ รวมทั้ง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เพื่อรองรับแผนจัดหาก๊าซธรรมชาติในระยะยาว จัดหาก๊าซธรรมชาติโดยเฉพาะการน�ำเข้า LNG จนถึงปี 2565 เพื่อให้สามารถจัดหาก๊าซธรรมชาติเพียงพอต่อ ความต้องการใช้ในอนาคต จ�ำเป็นต้องมีการวางแผนการลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ทั้งระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และท่าเรือรับ LNG อย่างเหมาะสม โดยค�ำนึงถึงทัง้ ด้านเศรษฐศาสตร์ สิง่ แวดล้อม และความมัน่ คง เพือ่ สอดคล้องกับนโยบาย ส่งเสริมการแข่งขัน เช่น เกณฑ์การก�ำกับให้เกิด TPA อย่างเป็นรูปธรรม เป็นต้น 4 แนวทางส�ำคัญของแผนการบริหารจัดก๊าซธรรมชาติในระยะยาว

• ลดการใช้ก๊าซธรรมชาติซึ่งมีต้นทุนสูงขึ้นรวดเร็วจากการน�ำเข้า LNG • รักษาระดับการผลิตจากแหล่งในประเทศให้ยาวนานขึ้น โดยกระตุ้นการส�ำรวจและพัฒนาแหล่งในประเทศและ การใช้เทคโนโลยี • การหาแหล่งและการบริหารจัดการ LNG ที่มีประสิทธิภาพ • มีโครงสร้างพืน้ ฐานและแนวทางด้านการแข่งขัน ทัง้ ทางกายภาพ (โครงข่ายท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และท่าเรือรับ LNG) และกติกาที่สอดรับกับแผนจัดหา (Third Party Access : TPA)

นโยบายพลังงาน

53


ปิโตรเลียม

แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan)

การวางแผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติของประเทศ (Gas Plan 2015) ให้รองรับต่อความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ ให้มีเพียงพอในอนาคต ซึ่งได้บูรณาการกับแผนพัฒนาก�ำลัง ผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP 2015) แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP) และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) โดยวางเป้าหมายการด�ำเนินงานใน 4 ด้านส�ำคัญ คือ 1. ลดการใช้ก๊าซธรรมชาติซึ่งมีต้นทุนสูงขึ้นรวดเร็วจาก การน�ำเข้า LNG 2. รักษาระดับการผลิตจากแหล่งในประเทศให้ยาวนาน ขึ้น โดยกระตุ้นการส�ำรวจและพัฒนาแหล่งในประเทศและ การใช้เทคโนโลยี 3. การหาแหล่ ง และการบริ ห ารจั ด การ LNG ที่ มี ประสิทธิภาพ 4. มี โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานและแนวทางด้ า นการแข่ ง ขั น ทั้งทางกายภาพ (โครงข่ายท่อส่งก๊าซธรรมชาติและท่าเรือรับ LNG) และกติกาที่สอดรับกับแผนจัดหา (Third Party Access : TPA) 54

นโยบายพลังงาน


โดยการด�ำเนินงานทั้ง 4 ด้านจะส่งผลให้ประเทศสามารถจัดหาก๊าซธรรมชาติเพื่อรองรับต่อความต้องการ โดยสามารถ ลดการน�ำเข้า LNG ในอนาคตได้ ณ ปลายแผน ปี 2579 ลดลงกว่า 25 ล้านตันต่อปี จากที่คาดการณ์ในแผนเดิมว่าประเทศไทย ต้องน�ำเข้าก๊าซธรรมชาติ 100% ในรูปของ LNG เพื่อตอบสนองต่อความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติของประเทศ เป็นปริมาณถึงกว่า 47 ล้านตันต่อปี (ประมาณ 6,500 ล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่อวัน) ในปี 2579 รวมทัง้ วางกรอบแนวทางการจัดหาและบริหารจัดการ LNG ในอนาคต ให้เกิดการแข่งขันเพื่อให้สอดคล้องกับแผน PDP 2015 กระทรวงพลังงานจึงได้ด�ำเนินการจัดท�ำแผนจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะยาว ภายใต้แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2558-2579 เสนอต่อ กพช. เพื่อพิจารณา โดยได้จัดท�ำแผนจัดหาใน 3 กรณี คือ 1. กรณีฐาน

เป็นกรณีที่ประเทศสามารถด�ำเนินการพัฒนาโรงไฟฟ้า โดยกระจายเชื้อเพลิง ลดสัดส่วนการพึ่งพิงก๊าซธรรมชาติเพื่อ ผลิตไฟฟ้า การจัดหาไฟฟ้าจากต่างประเทศ การส่งเสริมการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน และการมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ณ ปลายแผน และการประหยัดพลังงาน โดยประเทศสามารถ ด�ำเนินการได้ตามแผน PDP 2015 แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP) และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) ความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติจะเพิม่ ขึน้ จากระดับวันละ 4,810 ล้านลูกบาศก์ฟุตในปี 2558 เป็น 5,099 ล้านลูกบาศก์ฟุต ต่อวัน ในปี 2562 หรือคิดเป็นอัตราเติบโตเฉลีย่ ร้อยละ 1.6 ต่อปี แต่ในระยะยาวคาดว่าลดลงมาอยู่ที่ระดับวันละ 4,344 ล้าน

ลูกบาศก์ฟุต ในปี 2579 การจัดหาก๊าซธรรมชาติจากแหล่ง ในประเทศจะอยู่ที่ระดับวันละประมาณ 3,300-3,400 ล้าน ลูกบาศก์ฟุต จนถึงปี 2565 หลังจากนั้นจะลดลงอย่างต่อเนื่อง เหลือเพียงวันละ 1,270 ล้านลูกบาศก์ฟตุ ในปี 2579 ก๊าซธรรมชาติ จากเมียนมาร์จะมีอัตราลดลงอย่างต่อเนื่องหลังจากปี 2558 จนหมดไปในปี 2572 LNG น�ำเข้าเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 10.7% ต่อปี ในช่วงปี พ.ศ. 2558-2579 จากการน�ำเข้าเฉลี่ยวันละประมาณ 484 ล้าน ลูกบาศก์ฟุต หรือปีละประมาณ 3.5 ล้านตัน ในปี 2558 เพิ่มเป็นวันละประมาณ 3,073 ล้านลูกบาศก์ฟุต หรือปีละ ประมาณ 22 ล้านตัน ในปี 2579

แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะยาว

นโยบายพลังงาน 55


2. กรณีคิดความเสี่ยงด้านความต้องการใช้จากการชะลอโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน

ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในแต่ละปีสูงขึ้นกว่ากรณีฐาน จากวันละ 4,810 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2558 เป็น 5,528 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ในปี 2562 หรือคิดเป็นอัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.5 ต่อปี และในระยะยาวคาดว่าสูงขึ้นอีกเล็กน้อย มาอยู่ที่ระดับวันละ 5,658 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2579 การจัดหาก๊าซธรรมชาติจากแหล่งในประเทศจะอยู่ที่ระดับวันละประมาณ 3,300-3,400 ล้านลูกบาศก์ฟุต จนถึงปี 2565 หลังจากนั้นจะลดลงอย่างต่อเนื่องเหลือเพียงวันละ 1,270 ล้านลูกบาศก์ฟุตในปี 2579 ก๊าซธรรมชาติจากเมียนมาร์จะมีอัตราลดลงอย่างต่อเนื่องหลังจากปี 2558 จนหมดไปใน ปี 2572 การน�ำเข้า LNG เพิ่มขึ้น มากกว่ากรณีฐาน เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 12.4% ต่อปี ในช่วงปี พ.ศ. 2558-2579 จากการน�ำเข้าเฉลี่ยวันละ ประมาณ 484 ล้านลูกบาศก์ฟุต หรือปีละประมาณ 3.5 ล้านตัน ในปี 2558 เพิ่มเป็นวันละประมาณ 4,382 ล้านลูกบาศก์ฟุต หรือ ปีละประมาณ 31.3 ล้านตัน ในปี 2579

3. กรณีสัมปทานที่จะสิ้นสุดอายุในปี 2565 และ 2566 ผลิตไม่ต่อเนื่อง

ส่งผลให้ปริมาณการจัดหาก๊าซธรรมชาติจากแหล่งหลัก ในประเทศลดลงในช่วงปี 2561-2568 เนื่องจากคาดว่าผู้รับ สั ม ปทานจะหยุ ด การลงทุ น ในการเจาะหลุ ม และพั ฒ นา แท่ น หลุ ม ในระยะยาวคาดการณ์ ก ารใช้ จ ะเหมื อ นเช่ น กรณีฐาน ความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติจะอยูท่ วี่ นั ละ 4,344 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2579

ผลกระทบจากการลดลงของการจัดหาก๊าซธรรมชาติจาก สัมปทานหมดอายุ ท�ำให้ความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติสงู กว่า การจัดหาก๊าซธรรมชาติจากแหล่งในประเทศและที่น�ำเข้าจาก เมียนมาร์มาก หากต้องน�ำเข้า LNG เพื่อมาทดแทนส่วนจัดหา ที่หายไป คาดว่าจ�ำเป็นต้องน�ำเข้า LNG สูงถึง 1,785 ล้าน ลูกบาศก์ฟุตต่อวัน (หรือประมาณ 13 ล้านตันต่อปี) ในปี 2561

การบริหารจัดการแปลงสัมปทานที่จะหมดอายุในปี 2565-2566

56

นโยบายพลังงาน


และเพิ่มสูงถึง 2,580 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน หรือ 18 ล้านตัน ต่อปี ในปี 2565 การคาดการณ์การใช้และการจัดหาก๊าซธรรมชาติของ ประเทศบ่งชีช้ ดั เจนในทุกกรณีวา่ ประเทศมีแนวโน้มทีต่ อ้ งจัดหา LNG น�ำเข้าเป็นปริมาณมากคิดเป็นมูลค่าหลายแสนล้านบาท ต่อปีในอนาคต ส่งผลให้ธุรกิจ LNG มีความส�ำคัญทั้งในด้าน ความมั่นคงทางพลังงานและเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ รั ฐ จึ ง ต้ อ งพิ จ ารณาแนวทางในด้ า นการส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การ แข่งขันในธุรกิจ LNG รวมทั้งการก�ำกับดูแลด้านการจัดหาและ บริหารจัดการ LNG ที่เหมาะสม

ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ ความต้องการก๊าซธรรมชาติของประเทศไทยยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 25532557) มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 5.6 ต่อปี ทั้งนี้ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติของประเทศไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ ในภาคการผลิตไฟฟ้า ส�ำหรับในช่วง 10 ปีข้างหน้า ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติจะเพิ่มสูงขึ้นทั้งในภาคการผลิตไฟฟ้า ภาคอุตสาหกรรม และภาคขนส่ง คาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากระดับวันละ 4,810 ล้านลูกบาศก์ฟุต (ที่ค่าความร้อน 1,000 บีทียู ต่อ ก๊าซธรรมชาติ 1 ลูกบาศก์ฟุต) ในปี 2558 เป็น 5,099 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ในปี 2562 หรือคิดเป็นอัตราเติบโตเฉลี่ย ร้อยละ 1.6 ต่อปี แต่ในระยะยาวคาดว่าลดลงมาอยู่ที่ระดับวันละ 4,344 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2579 เนื่องจากคาดว่า การใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคไฟฟ้าจะลดลงจากนโยบายการกระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดยมีรายละเอียดคาดการณ์ ความต้องการใช้ในภาคส่วนต่างๆ ดังนี้ ภาคการผลิตไฟฟ้า

ในแผน PDP 2015 ได้ให้ความส�ำคัญกับการกระจาย เชือ้ เพลิงเพือ่ ลดความเสีย่ งการพึง่ พิงเชือ้ เพลิงชนิดใดชนิดหนึง่ และค�ำนึงถึงต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสม โดยการเพิ่ม สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด การจัดหา ไฟฟ้าจากต่างประเทศ การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียน และการมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ณ ปลายแผน ทั้งนี้ ได้บูรณาการแผน PDP 2015 กับแผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP) ซึ่งมีเป้าหมายลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ณ ปี 2579 เท่ากับ 89,672 ล้ า นหน่ ว ย และแผนพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ พลังงานทางเลือก (AEDP) ซึง่ จะมีกำ� ลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนเข้าระบบจ�ำนวน 19,634 เมกะวัตต์ในปี 2579 ผลของ การด�ำเนินงานข้างต้น คาดว่าจะท�ำให้สัดส่วนการใช้ก๊าซ ธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าตามแผน PDP 2015 ลดลงจาก ร้อยละ 64 ในปี 2557 เป็นร้อยละ 37 ในปี 2579 นโยบายพลังงาน 57


โดยคาดว่าความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติในภาคไฟฟ้าจะเปลีย่ นแปลงเล็กน้อย จากวันละ 2,787 ล้านลูกบาศก์ฟตุ ในปี 2558 เพิ่มเป็นเฉลี่ยวันละ 3,037 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2576 หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 0.5 ต่อปี หลังจากนั้น คาดว่าความต้องการใช้ จะลดลงเหลือประมาณวันละ 2,609 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2579 ภาคปิโตรเคมี

การใช้กา๊ ซธรรมชาติในภาคปิโตรเคมีขนึ้ อยูก่ บั อัตราก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยทีผ่ า่ นโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ซึง่ ปัจจุบนั มีทงั้ สิน้ จ�ำนวน 6 โรง ก�ำลังรับก๊าซธรรมชาติรวม (Feed Gas) ที่ 2,740 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน โดยคาดว่าความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ ในภาคปิโตรเคมีจะคงที่ เฉลี่ยวันละประมาณ 1,000 ล้านลูกบาศก์ฟุต จากปัจจุบันจนถึงปี 2568 หลังจากนั้น อัตราการใช้ ก๊าซธรรมชาติในภาคปิโตรเคมีจะลดลงตามอัตราการผลิตก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทย โดยคาดว่าจะความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติ ในภาคปิโตรเคมีจะลดลงมาอยู่ที่วันละประมาณ 450 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2579 การสร้างความรู้ความเข้าใจ และสร้างเครือข่ายด้านปิโตรเลียม

ภาคอุตสาหกรรม

คาดการณ์ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคอุตสาหกรรมสอดคล้องแผนการขยายโครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ เพิ่มเติม โดยปัจจุบัน ปตท. อยู่ระหว่างด�ำเนินการก่อสร้างโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบก ระยอง-แก่งคอย (ท่อเส้นที่ 4) และ โครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติไปสู่ภูมิภาค ได้แก่ โครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติ นครสวรรค์ และโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติ นครราชสีมา โดยหาข้อมูลจากการส�ำรวจตลาดในภาคอุตสาหกรรมในพืน้ ทีร่ อบแนวท่อส่งก๊าซฯ ปัจจุบนั และในอนาคตของ ปตท. 58

นโยบายพลังงาน


(ประกอบไปด้วย ท่อส่งก๊าซฯ บนบก เส้นที่ 1, 2, 3 และ 4 ท่อตะวันตก รวมถึงท่อภูมิภาค (ท่อนครสวรรค์ และท่อนครราชสีมา) และโครงข่ายระบบท่อจัดจ�ำหน่ายทั้งหมด) ส่งผลให้ความต้องการก๊าซธรรมชาติในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยคาดว่า ความต้องการใช้ก๊าซฯ ในภาคอุตสาหกรรมจะมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 5.5 ในช่วงปี 2557-2562 และจะมีอัตราการเติบโต เฉลี่ยลดลงเหลือร้อยละ 0.2 ในระยะยาว (ช่วงปี 2562-2579) ซึ่งจะท�ำให้อัตราการใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น จากปัจจุบันใช้วันละประมาณ 700 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2558 เป็นวันละ 900 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2579 ภาคขนส่ง

คาดการณ์ความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติในภาคขนส่งสอดคล้องกับนโยบายรัฐฯ ทีส่ ง่ เสริมการใช้กา๊ ซธรรมชาติในภาคขนส่ง โดยเฉพาะรถบรรทุกและรถขนส่งสาธารณะ และนโยบายการปรับโครงสร้างราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงตามแผนน�้ำมัน และโครงสร้าง ราคาก๊าซ NGV ส่งผลให้แนวโน้มการใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคขนส่งเติบโตเพียงเล็กน้อย โดยคาดว่าการใช้ก๊าซธรรมชาติใน ภาคขนส่งจะมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.4 ในช่วงปี พ.ศ. 2558-2562 ในระยะยาวคาดว่าอัตราการเติบโตเฉลี่ยลดลงเหลือ ร้อยละ -0.4 (ช่วงปี 2562-2579) โดยอัตราการใช้จะอยู่ที่วันละประมาณ 340 ล้านลูกบาศก์ฟุต ในปี 2579

แผนด�ำเนินงานเพื่อรองรับแผนการบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ กระทรวงพลังงานได้วางกรอบการด�ำเนินงานในส่วนส�ำคัญๆ เพื่อรองรับแผนการบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ ดังนี้ 1. ลดการใช้ ก ๊ า ซธรรมชาติ ซึ่ ง มี ต ้ น ทุ น สู ง ขึ้ น รวดเร็วจากการน�ำเข้า LNG

• ส่งสัญญาณด้านราคา รวมถึงการปรับ Pool Pricing

เพื่ อ ให้ ผู ้ ใ ช้ ก ๊ า ซธรรมชาติ ร ายใหม่ ๆ พิ จ ารณาต้ น ทุ น ทาง เศรษฐศาสตร์ของโครงการจากราคาก๊าซธรรมชาติที่อิงกับ ราคาก๊าซ LNG ไม่ใช่ราคาเฉลี่ยระหว่างก๊าซในอ่าวและก๊าซ น�ำเข้า LNG (ราคา Pool) ส�ำหรับแนวทางการปรับราคา Pool ทาง ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และคณะกรรมการ ก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) อยู่ในระหว่างด�ำเนินการศึกษา คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในไตรมาสที่ 1 ปี 2559

• ลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติจากการกระจายเชื้อเพลิง

ตามแผน PDP 2015 ลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิต ไฟฟ้า โดยด�ำเนินการพัฒนาโรงไฟฟ้าตามแผน PDP 2015 เน้น การเพิ่มสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด และการเพิ่มสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนตาม แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) จาก ร้อยละ 8 เป็นร้อยละ 20 ของปริมาณความต้องการไฟฟ้ารวม ของประเทศ จากก�ำลังผลิตติดตั้ง 7,490 MW ในปี 2557 เป็น 19,634 MW ในปี 2579 นโยบายพลังงาน 59


• เร่งมาตรการประหยัดพลังงานของก๊าซธรรมชาติเพือ่ อุตสาหกรรมตามแผน EEP 2015 โดยมีแผนด�ำเนินการใน 6 มาตรการ

ส�ำคัญ คือ 1) การจัดการโรงงานและอาคารควบคุม 2) การใช้เกณฑ์มาตรฐานอาคาร 3) การใช้เกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์ (HEPs & MEPs) 4) การสนับสนุนด้านการเงิน 5) การส่งเสริม LED และ 6) การบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานการประหยัดพลังงาน ส�ำหรับผู้ผลิตและจ�ำหน่ายพลังงาน โดยหากด�ำเนินการได้ส�ำเร็จคาดว่าจะสามารถลดการใช้ไฟฟ้าได้ทั้งสิ้น 89,672 ล้านหน่วย ในช่วงปี 2558-2579

• ส่งเสริมการใช้ก๊าซธรรมชาติ (NGV) ส�ำหรับรถยนต์ขนส่งสาธารณะและรถบรรทุก • บริหารจัดการแหล่งก๊าซในอ่าว ในระยะสัน้ ลดปริมาณ

2. รั ก ษาระดั บ การผลิ ต จากแหล่ ง ในประเทศให้ ยาวนานขึ้น โดยกระตุ้นการส�ำรวจและพัฒนา แหล่งในประเทศและการใช้เทคโนโลยี

• การเปิดให้ยื่นขอสิทธิส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม

รอบใหม่ เพื่อส่งเสริมการส�ำรวจหาปิโตรเลียมอย่างต่อเนื่อง โดยมีการค้นพบก๊าซธรรมชาติแล้ว จ�ำนวน 3 แปลงที่จะเปิด ในอ่าวไทย คาดว่ามีปริมาณส�ำรองประมาณ 0.3 ล้านล้าน ลูกบาศก์ฟุต จากการประเมินเบื้องต้นคาดว่าแปลงที่ยังพอมี ศักยภาพเตรียมจะเปิดอาจมีปริมาณทรัพยากร ก๊าซธรรมชาติ 1-5 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต และน�้ำมันดิบ 20-50 ล้านบาร์เรล ทั้งนี้การเปิดให้ส�ำรวจครั้งใหม่ คาดว่าจะช่วยให้เกิดการลงทุน ไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาท

• การบริหารจัดการสัญญาสัมปทานที่จะสิ้นสุด เพื่อ

รักษาระดับการผลิตก๊าซธรรมชาติแหล่งส�ำคัญในอ่าวไทยให้ ผลิตคงทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง และพัฒนาทรัพยากรปิโตรเลียมทีย่ งั คง มีอยูข่ นึ้ มาได้หลังหมดอายุสมั ปทานแล้ว โดยกระทรวงพลังงาน อยู่ในระหว่างด�ำเนินการพิจารณาหาแนวทางในการบริหาร จัดการแปลงดังกล่าวให้เหมาะสม ภายในกรอบระยะเวลา 1 ปี ตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม 2558 60

นโยบายพลังงาน

Gas Bypass ที่โรงแยกก๊าซ โดยร่วมกับ ปตท. จัดท�ำแผนการ ลดปริมาณ Bypass Gas (ก๊าซที่ไม่ผ่านโรงแยกก๊าซธรรมชาติ) เนือ่ งจากปัจจุบนั ในอ่าวไทยและพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาร่วมไทย-มาเลเซีย สามารถผลิตก๊าซธรรมชาติได้เฉลี่ย 3,700 ล้านลูกบาศก์ฟุต ต่อวัน แต่โรงแยกก๊าซทั้ง 6 โรง มีขีดความสามารถในการรับ ก๊าซธรรมชาติได้เพียง 2,740 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ท�ำให้ มีก๊าซธรรมชาติที่จะไม่ผ่านโรงแยกก๊าซฯ กว่า 900 ล้าน ลูกบาศก์ฟตุ ต่อวัน ซึง่ หากลดปริมาณการส่งก๊าซลงจะสามารถ ช่วยยืดอายุแหล่งผลิตไปได้อีก และเป็นการใช้ประโยชน์ก๊าซ จากอ่าวไทยให้ได้ประโยชน์สงู สุด ทัง้ นีเ้ ห็นควรพิจารณาน�ำเข้า LNG ในขณะที่มีราคาที่เหมาะสมใกล้เคียงกับราคาก๊าซในอ่าว เพื่อมาทดแทนหากต้องลดการผลิตก๊าซในอ่าวไทยลง และ ในระยะยาว สนั บ สนุ น การพั ฒ นาแหล่ ง ขนาดเล็ ก มาก (Marginal Field) และสนับสนุนการเพิ่ม Recovery Rate

• พิจารณาพัฒนาแหล่งก๊าซธรรมชาติร่วมกับประเทศ

เพื่อนบ้าน

3. การหาแหล่งและการบริหารจัดการ LNG ที่มี ประสิทธิภาพ

• เพิม่ จ�ำนวนผูจ้ ดั หาและจ�ำหน่าย เพือ่ สร้างการแข่งขัน

ภายในประเทศ เนื่องจากประเทศมีแนวโน้มต้องการน�ำเข้า LNG ในอนาคตเพิ่มขึ้นอีกมาก จากปัจจุบันน�ำเข้าประมาณ 2 ล้านตันต่อปี เป็น 24 ล้านตันต่อปี ในระยะ 20 ปีขา้ งหน้า คิด เป็น 70% ของการจัดหาก๊าซธรรมชาติของประเทศ ณ เวลานั้น ตามสถิติ ประเทศที่มีปริมาณการน�ำเข้า LNG มากกว่า 3.5 ล้านตันต่อปี จะมีจ�ำนวนผู้น�ำเข้ามากกว่า 1 ราย กระทรวง พลังงานมีนโยบายเพิ่มจ�ำนวนผู้จัดหา LNG เพื่อสนับสนุนให้ เกิดการแข่งขันในธุรกิจ LNG จึงต้องมีกรอบกฏหมายและ การบริหารจัดการเพื่อรองรับการแข่งขันที่จะเกิดขึ้น โดยมี


4. มีโครงสร้างพืน ้ ฐานและแนวทางด้านการแข่งขัน ทัง ้ ทางกายภาพ (โครงข่ายท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และท่ า เรื อ รั บ LNG) และกติ ก าที่ ส อดรั บ กั บ แผนจัดหา (Third Party Access : TPA)

ประเด็นพิจารณาที่ส�ำคัญ คือ 1. ปรับกลไกราคาก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับตลาดใหม่จาก Pool Price เป็น LNG Market Price (อยู่ระหว่างด�ำเนินการศึกษาโดย สนพ. และ กกพ.) 2. ก�ำหนด เงื่อนไข TPA ส�ำหรับ LNG Terminal

• เสริมสร้างความร่วมมือในการจัดหาก๊าซธรรมชาติ

ระดับ AEC ผ่านทาง ASCOPE รวมทั้งพิจารณาจัดตั้ง AEC LNG Buyer Club

จากแผนจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะยาวบ่งชีว้ า่ โครงสร้าง พืน้ ฐานทีม่ อี ยูแ่ ละอยูใ่ นระหว่างก่อสร้างอยูใ่ นปัจจุบนั (รับ LNG สูงสุดไม่เกิน 10 ล้านตันต่อปี) สามารถรองรับการจัดหา ก๊าซธรรมชาติโดยเฉพาะการน�ำเข้า LNG ได้จนถึงปี 2565 เพือ่ ให้สามารถจัดหาก๊าซธรรมชาติเพียงพอต่อความต้องการใช้ ในอนาคต จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารวางแผนการลงทุ น พั ฒ นา โครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ทัง้ ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติและท่าเรือ รับ LNG อย่างเหมาะสม โดยค�ำนึงถึงทั้งด้านเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และความมั่นคง รวมทั้งกติกาที่สอดคล้องกับ นโยบายส่งเสริมการแข่งขัน เช่น เกณฑ์การก�ำกับให้เกิด TPA อย่างเป็นรูปธรรม เป็นต้น

• จัดตัง้ ส�ำนัก LNG เพือ่ ให้การสนับสนุนและดูแลความ

เสี่ยงการจัดหา รวมถึงการจัดสร้างฐานข้อมูล และเครื่องมือ การวิเคราะห์ (Global LNG Database and Analytical Tools) - ในระยะ 20 ปีข้างหน้า จ�ำนวน LNG น�ำเข้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อีก 12-15 เท่าจากปัจจุบนั คิดเป็นมูลค่าการน�ำเข้ากว่า 400,000 ล้านบาทต่อปี รวมทั้งแนวนโยบายส่งเสริมให้เกิดการแข่งขัน ในด้ า นการจั ดหา LNG ย่อ มส่งผลให้จ�ำนวนผู ้ จั ด หาและ ผูจ้ ำ� หน่ายเพิม่ ขึน้ ในอนาคต จึงต้องมีการพิจารณาด้านแนวทาง ก�ำกับการจัดหาและบริหารจัดการ LNG ทีเ่ หมาะสม (การศึกษา เรื่องการปรับโครงสร้างกิจการก๊าซธรรมชาติทั้งระบบ อยู่ใน ระหว่างการศึกษาโดย สนพ.และ กกพ.) ส�ำหรับแผนจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะยาว ได้จัดท�ำใน 3 กรณี ซึ่งกรณีฐานเป็นกรณีที่กระทรวงพลังงานเลือกที่จะใช้ อ้างอิงส�ำหรับวางแผนการด�ำเนินงานในส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้การใช้และการจัดหาก๊าซธรรมชาติในอนาคต เป็นไปตามแผนการจัดหากรณีฐาน กระทรวงพลังงานจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการโครงการส�ำคัญๆ ได้แก่ การสร้างโรงไฟฟ้า ถ่านหินเพือ่ กระจายเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้า แผน AEDP และแผน EEDP การเปิดให้สทิ ธิสำ� รวจและผลิตปิโตรเลียมรอบใหม่ การบริหารจัดการสัมปทานที่จะสิ้นสุดอายุ ฯลฯ ให้ส�ำเร็จ รวมถึงการวางแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการจัดหา ก๊าซธรรมชาติและการน�ำเข้า LNG ในอนาคต ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการน�ำเข้า LNG ในปัจจุบันมีก�ำลังสูงสุดที่ 5 ล้านตันต่อปี และทีก่ ำ� ลังอยูใ่ นระหว่างก่อสร้าง ซึง่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2560 นัน้ รวมแล้วจะสามารถรองรับได้สงู สุด 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งส�ำหรับแผนจัดหาก๊าซธรรมชาติในกรณีฐานนั้น โครงสร้างพื้นฐานฯ ดังกล่าว จะเพียงพอต่อการน�ำเข้า LNG ได้ถงึ ปี พ.ศ. 2565 ดังนัน้ จ�ำเป็นทีป่ ระเทศต้องเตรียมแนวทางในการบริหารจัดการและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเพือ่ รองรับ ความต้องการ LNG ที่เพิ่มสูงขึ้น เพื่อไม่ให้ประเทศเกิดการขาดแคลนก๊าซธรรมชาติในอนาคต นโยบายพลังงาน 61


PDP 2015

EEP 2015

AEDP 2015

GAS PLAN

OIL PLAN

แผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง

[ Oil Plan ]

62

นโยบายพลังงาน


แผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิงของประเทศระยะยาว ปี พ.ศ. 2558- 2579 มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการก�ำหนด ทิศทางการบริหารจัดการน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงให้สอดคล้องกับเป้าหมายทีร่ ะบุภายใต้แผนอืน่ ๆ โดยเฉพาะแผนอนุรกั ษ์ พลังงาน และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก โดยมีเป้าหมายเพือ่ ใช้เป็นกรอบส�ำหรับการด�ำเนิน นโยบายและการจัดท�ำแผนด้านน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงในอนาคต โดยค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมต่างๆ รวมถึงความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ใน อนาคตซึ่งอาจส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการพัฒนาด้านพลังงานของประเทศ จากผลการพยากรณ์ข้อมูลปริมาณความต้องการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงท�ำให้เกิดเป็นการจัดท�ำแผนสนับสนุนมาตรการ ประหยัดน�้ำมันเชื้อเพลิงในภาคขนส่งตามแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) ขึ้น รวมไปถึงการบริหารจัดการชนิดของน�้ำมันเชื้อเพลิงและปรับโครงสร้างราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เหมาะสม ทั้งยังมีการผลักดัน การใช้เชือ้ เพลิงเอทานอลและไบโอดีเซล ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2015) จะเห็นได้ว่าแผนนี้เป็นการด�ำเนินการตามแผนต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกัน ท�ำให้ 5 แผนบูรณาการพลังงานระยะยาวประสบความส�ำเร็จมากยิ่งขึ้น 5 หลักการในจัดท�ำแผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง

1. สนับสนุนมาตรการประหยัดน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงในภาคขนส่งตามแผนอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) 2. บริหารจัดการชนิดของน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เหมาะสม 3. ปรับโครงสร้างราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เหมาะสม 4. ผลักดันการใช้เชื้อเพลิงเอทานอลและไบโอดีเซลตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 25582579 (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2015) 5. สนับสนุนการลงทุนในระบบโครงสร้างพื้นฐานน�้ำมันเชื้อเพลิง

นโยบายพลังงาน

63


ปิโตรเลียม

แผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง (Oil Plan) การก�ำหนดนโยบายและจัดท�ำแผนพลังงาน ของประเทศที่กระทรวงพลังงานได้ด�ำเนินการมา อย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่ามีการเชื่อมโยงนโยบาย จากแผนพลังงานทุกแผนมาประกอบกัน โดยเฉพาะ แผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง ที่เชื่อมโยงกับ แผนพลังงานด้านอืน่ ๆ เพือ่ ให้เกิดความสมดุลของ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ ก�ำหนดทิศทางนโยบายการพัฒนาพลังงานได้อย่าง เป็นรูปธรรม

64

นโยบายพลังงาน

การจัดท�ำแผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง

แผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิงเป็นการผสมผสานกันระหว่าง แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2558-2579 กับแผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 โดยเริ่มจากการพยากรณ์ปริมาณ ความต้องการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลปริมาณ ความต้องการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเดียวกับแผนอนุรักษ์พลังงาน ตามแผนบริ ห ารจั ด การน�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง นี้ “น�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ” หมายความรวมถึง น�้ำมัน ก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง และ ก๊าซธรรมชาติสำ� หรับยานยนต์ โดยแผนจะมุง่ เน้นการบริหารจัดการน�ำ้ มัน เชื้อเพลิงในภาคขนส่ง เนื่องจากเป็นภาคส่วนที่มีการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ในสัดส่วนสูงทีส่ ดุ โดยแผนอนุรกั ษ์พลังงานได้มกี ารประเมินความต้องการ ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงในกรณีฐาน (Business as Usual : BAU) ว่าในปี 2579 จะมีความต้องการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงในภาคขนส่ง 65,459 ktoe โดยตาม แผนได้กำ� หนดแนวทางมาตรการอนุรกั ษ์พลังงานในภาคขนส่งแบ่งแนวทาง ด�ำเนินการออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ก�ำกับราคาเชือ้ เพลิงในภาคขนส่งให้สะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริง กลุ่มที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงในยานยนต์ กลุ่มที่ 3 ส่งเสริมการบริหารจัดการการใช้รถบรรทุกและรถโดยสาร กลุ่มที่ 4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง


ผลการพยากรณ์ข้อมูลปริมาณความต้องการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง

สาขาเศรษฐกิจ

ชนิดน�้ำมัน

สาขาขนส่ง

เบนซิน ดีเซล LPG ก๊าซธรรมชาติ น�้ำมันเครื่องบิน น�้ำมันเตา รวมสาขาขนส่ง เบนซิน ดีเซล LPG ก๊าซธรรมชาติ น�้ำมันเครื่องบิน น�้ำมันเตา รวม

รวมทุกสาขา

ปี 2569 9,303 17,086 4,601 5,731 7,206 1,010 44,937 9,381 23,972 8,986 5,731 7,217 1,699 56,985

BAU

ปี 2579 12,934 24,309 8,001 9,269 10,036 909 65,459 13,012 32,389 13,022 9,269 10,047 1,598 79,338

ปี 2569 4,683 9,898 2,785 4,020 7,206 1,010 29,602 4,760 16,784 7,170 4,020 7,217 1,699 41,650

EEP100%

หน่วย : ktoe

ปี 2579 4,523 10,067 4,264 5,447 10,036 909 35,246 4,600 18,147 9,285 5,447 10,047 1,598 49,125

ที่มา : ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน หมายเหตุ : BAU = Business as Usual EEP = Energy Efficiency Plan ktoe = kilo ton of oil equivalent จัดท�ำแผน 5 หลักการ

จากผลการพยากรณ์ขอ้ มูลปริมาณความต้องการใช้นำ�้ มัน เชือ้ เพลิงในข้างต้นกรมธุรกิจพลังงานจึงได้นำ� มาบริหารจัดการ โดยก�ำหนดเป็นหลักการจัดท�ำแผน 5 หลักการ ดังนี้ สนั บ สนุ น มาตรการประหยั ด น�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ใน ภาคขนส่งตามแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) บริหารจัดการชนิดของน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เหมาะสม ปรับโครงสร้างราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เหมาะสม ผลักดันการใช้เชื้อเพลิงเอทานอลและไบโอดีเซล ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2015) สนับสนุนการลงทุนในระบบโครงสร้างพืน้ ฐานน�ำ้ มัน เชื้อเพลิง

มาตรการและการบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง

1. สนับสนุนมาตรการประหยัดน�้ำมันเชื้อเพลิงในภาค ขนส่งตามแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 ก�ำหนดเป้าหมาย ที่จะลดความเข้มการใช้พลังงานลงร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2553 โดยมีมาตรการประหยัดพลังงานกับ 4 กลุ่มเศรษฐกิจ ได้แก่ ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม อาคาร ธุรกิจขนาดใหญ่ และอาคารธุรกิจขนาดเล็กและบ้านอยู่อาศัย ส�ำหรับในภาคขนส่งมีเป้าหมายการประหยัดพลังงานอยู่ที่ 30,213 ktoe โดยมี ม าตรการสนั บ สนุ น การใช้ ย านยนต์ ป ระหยั ด พลังงาน, โครงการติดฉลากแสดงประสิทธิภาพพลังงานใน ยางรถยนต์, การบริหารจัดการขนส่งเพือ่ การประหยัดพลังงาน, เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานโดยบริษัทจัดการ พลังงาน, อุดหนุนผลการประหยัดพลังงานส�ำหรับภาคขนส่ง (SOP+DSM), การพัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานคมนาคมขนส่ง รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน, การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน คมนาคมขนส่ง รถไฟรางคู่ และเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง น�้ำมันของประเทศ โดยพัฒนาระบบขนส่งน�้ำมันทางท่อ นโยบายพลังงาน

65


2. บริหารจัดการชนิดของน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เหมาะสม การบริหารจัดการชนิดของน�้ำมันและชนิดของเชื้อเพลิงให้มีความเหมาะสมแก่ผู้ใช้ โดยก๊าซปิโตรเลียมเหลวจะมีมาตรการ ด้านราคา อาทิ ให้ราคา LPG สะท้อนต้นทุนที่แท้จริงจากทุกแหล่งจัดหา, พิจารณาการเก็บภาษีสรรพสามิตตามค่าความร้อน โดยเปรียบเทียบกับกลุ่มน�้ำมันเบนซิน-แก๊สโซฮอล เพื่อลดการบิดเบือนกลไกตลาด ในด้านของก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์จะมี มาตรการด้านราคา อาทิ การปรับราคาขายปลีก NGV ให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง, อุดหนุนราคาขายปลีก NGV ส�ำหรับรถโดยสาร สาธารณะและรถบรรทุก, เก็บภาษี มาตรการการขยายสถานีบริการ NGV สรรพสามิต เช่นเดียวกับน�้ำมัน เชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ในภาคขนส่งชนิดอืน่ นอกจากนี้ ยั ง มี ม าตรการด้ า น สถานีบริการ อาทิ สนับสนุนให้มี สถานีบริการก๊าซธรรมชาติเฉพาะ ตามแนวท่อก๊าซ, ให้จดั ตัง้ ศูนย์พกั รถขนส่งสินค้าพร้อมสถานีบริการ ก๊าซธรรมชาติ (NGV Terminal Hub) รวมไปถึงมาตรการด้านรถ ที่จะสนับสนุนให้ใช้ NGV เฉพาะ ในกลุ่มรถโดยสารสาธารณะและ รถบรรทุก การลดชนิดน�้ำมันเชื้อเพลิง (กลุ่มเบนซิน-แก๊สโซฮอล)

ในส่ ว นของการบริ ห าร จัดการชนิดของน�้ำมันเชื้อเพลิง เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรฐาน ภู มิ ภ าคอาเซี ย นจึ ง ได้ มี ก ารลด ชนิ ด ของน�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง และ การผลั ก ดั น ให้ มี ก ารใช้ น�้ ำ มั น เชื้อเพลิงมาตรฐานเดียวกัน โดย จะผลักดันให้มีการใช้เอทานอล ตามศักยภาพของรถยนต์ และ พิ จ ารณาปรั บ ชนิ ด ของน�้ ำ มั น เชือ้ เพลิงในกลุม่ เบนซิน-แก๊สโซฮอล ให้ ส อดคล้ องกั บ เทคโนโลยี ข อง รถยนต์ โดยอยู ่ บ นพื้ น ฐานของ ความสมดุลของโรงกลั่น ในส่วน ของมาตรการด้านราคา จะก�ำหนด ส่วนต่างราคาขายปลีกน�้ำมันแก๊สโซฮอลชนิดต่างๆ ให้เหมาะสมและผลักดันให้มีการจัดตั้งคณะท�ำงานด้านการก�ำหนดมาตรฐาน คุณภาพน�้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในภาคการขนส่งของอาเซียน 3. ปรับโครงสร้างราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เหมาะสม เพื่อให้โครงสร้างราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงมีความสอดคล้องกับต้นทุนและให้มีภาระภาษีที่เหมาะสมระหว่างน�้ำมันเชื้อเพลิง ต่างชนิดและผู้ใช้ต่างประเภท เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานของประเทศ โดยที่ มติ กพช. เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2557 ได้ก�ำหนดกรอบและแนวทางการปรับโครงสร้างราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงที่เกี่ยวข้องกับภาคขนส่ง ดังนี้ 66

นโยบายพลังงาน


1) ราคาพลังงานต้องสะท้อนต้นทุนแท้จริง 2) ราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ขนส่ง ควรจะมีอัตราภาษี สรรพสามิตที่ใกล้เคียงกัน 3) กองทุ น น�้ ำ มั น ใช้ เ พื่ อ รั ก ษาเสถี ย รภาพราคาและ ส่งเสริมพลังงานทดแทน 4) ลดการชดเชยข้ามประเภทเชื้อเพลิง (Cross Subsidy) 5) ค่าการตลาดควรอยู่ในระดับที่เหมาะสม 6) เก็บเงินกองทุนน�้ำมันฯ ของน�้ำมันเชื้อเพลิงในแต่ละ ประเภท ในอัตราที่ใกล้เคียงกันตามค่าความร้อน 3.1 การปรับโครงสร้างราคาน�้ำมัน • ปรับอัตราภาษีสรรพสามิตของกลุ่มน�้ำมันเบนซิน และน�้ำมันดีเซลให้ใกล้เคียงกันมากขึ้นอยู่ในช่วง 2.85 ถึง 5.55 บาทต่อลิตร โดยให้สะท้อนต้นทุนมลภาวะและถนนช�ำรุด • ก�ำหนดส่วนต่างของราคาขายปลีกน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ที่เหมาะสม • ค่ า การตลาดของผู ้ ค ้ า น�้ ำ มั น เบนซิ น และดี เ ซล โดยเฉลี่ยควรอยู่ในระดับที่เหมาะสมและเป็นธรรม 3.2 ปรับโครงสร้างราคา LPG • ก�ำหนดราคาต้นทุน LPG ให้สะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริง จากทุกแหล่งจัดหา • พิ จ ารณาปรั บ อั ต ราภาษี ส รรพสามิ ต ตาม ค่าความร้อนโดยเปรียบเทียบกับกลุม่ น�ำ้ มันเบนซิน-แก๊สโซฮอล เพื่อลดการบิดเบือนกลไกตลาด 3.3 ปรับโครงสร้างราคา NGV • ปรับราคาให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง • พิจารณาจัดเก็บภาษีสรรพสามิต 4. ผลักดันการใช้เชือ้ เพลิงเอทานอลและ ไบโอดีเซล ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579

ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ น�้ ำ มั น แก๊ ส โซฮอล อี 20 และน�้ ำ มั น แก๊สโซฮอล อี 85 • โครงการส่งเสริมการใช้รถยนต์และรถจักรยานยนต์ อี 85 ในส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ • ก�ำหนดส่วนต่างราคาน�้ำมันแก๊สโซฮอลให้จูงใจ • ส่งเสริมด้านภาษีส�ำหรับยานยนต์ที่ใช้เอทานอล เป็นเชื้อเพลิงในสัดส่วนสูง 4.2 ส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลในภาคขนส่ง • ส่งเสริมการใช้ บี 20 ในรถบรรทุกขนาดใหญ่ เฉพาะกลุ่ม • ใช้มาตรการทางภาษีเพือ่ ส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล ในสัดส่วนที่สูงขึ้นเพื่อรองรับโครงสร้างภาษีรถยนต์ใหม่ด้วย เทคโนโลยี H-FAME 5. สนับสนุนการลงทุนในระบบโครงสร้างพื้นฐานน�้ำมัน เชื้อเพลิง มีการสนับสนุนระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพโดยการ พัฒนาระบบการขนส่งน�้ำมันทางท่อ ซึ่งมีมาตรการเปิดให้ เอกชนเป็นผูด้ ำ� เนินการพัฒนาโครงการก่อสร้างระบบท่อขนส่ง น�้ำมันไปยังภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อให้ เกิดการแข่งขันอย่างเสรี โดยให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กระทรวง พลังงานก�ำหนดและขอความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ ต่างๆ ให้การสนับสนุนโดยอนุญาตให้วางท่อขนส่งน�้ำมันใน เขตทีด่ นิ ของหน่วยงานราชการนัน้ ๆ ได้ อาทิเช่น กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท การรถไฟแห่งประเทศไทย กรมชลประทาน และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เพื่อจูงใจให้เอกชน มาลงทุน โดยกระทรวงพลังงานจะร่วมมือกับภาคเอกชนทีส่ นใจ การด�ำเนินงานตามภารกิจ

สนับสนุนการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพตาม ศักยภาพการผลิตของวัตถุดิบทางการเกษตร โดยไม่ให้ส่งผลกระทบต่ออาหาร และค�ำนึงถึง เทคโนโลยียานยนต์ ขนส่ง

4.1 ส่ ง เสริ ม การใช้ เ อทานอลในภาค

• ผ ลั ก ดั น ใ ห ้ มี ก า ร ใ ช ้ น�้ ำ มั น แก๊ ส โซฮอลตามศั ก ยภาพของรถยนต์ โดย ประชาสั ม พั น ธ์ ส ร้ า งความเชื่ อ มั่ น และ นโยบายพลังงาน

67


ลงทุนพิจารณาแนวท่อน�้ำมัน จุดตั้งคลังน�้ำมัน และปริมาณการขนส่งน�้ำมันผ่านท่อ นอกจากนี้ยังก�ำหนดให้มีหน่วยงานก�ำกับดูแล การประกอบกิจการท่อขนส่งน�ำ้ มัน โดยปัจจุบนั คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เป็นผูก้ ำ� กับดูแลท่อขนส่งก๊าซธรรมชาติ อยู่แล้วในปัจจุบัน จึงควรมอบให้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลท่อขนส่งน�้ำมันด้วย ในส่วนของยุทธศาสตร์การส�ำรองน�้ำมันเพื่อสนับสนุนการลงทุนในระบบโครงสร้างพื้นฐานน�้ำมันเชื้อเพลิง จะด�ำเนินการ ศึกษาเพื่อก�ำหนดแนวทางการส�ำรองน�้ำมันทางยุทธศาสตร์ โดยที่ • การส�ำรองทางยุทธศาสตร์เป็นภาระของภาครัฐ • การส�ำรองทางการค้าตามกฎหมายเป็นภาระของภาคเอกชน • จ�ำนวนวันส�ำรองทางยุทธศาสตร์ขึ้นอยู่กับภาวะวิกฤติของโลก เช่น สงคราม ผู้ผลิตเกิดภัยพิบัติ • จ�ำนวนวันส�ำรองทางการค้าขึ้นอยู่กับภาวะปกติแต่มีเหตุการณ์ไม่คาดคิด เช่น อุบัติเหตุ การขนส่งมีปัญหา ภารกิจที่ขอความร่วมมือจากพลังงานจังหวัด ภารกิ จ ด้ า นต่ า งๆ ที่ ข อ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ จ า ก พลังงานจังหวัด ได้แก่ รถขนส่งน�้ำมัน การ ขอใบอนุ ญ าตส� ำ หรั บ รถ ขนส่ ง น�้ ำ มั น ใหม่ ใ ห้ ข อ อนุญาตทีก่ รมธุรกิจพลังงาน โดยตรง กรณี ที่ ไ ด้ ยื่ น ขอ อนุญาตไว้ทพี่ ลังงานจังหวัด แล้ ว ให้ ส ่ ง เรื่ อ งต่ อ มาที่ กรมธุรกิจพลังงาน ก า ร เ ก็ บ ตั ว อ ย ่ า ง น�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ให้ ท� ำ การเก็ บ ตั ว อย่ า งน�้ ำ มั น ตามก� ำ หนด และจั ด ส่ ง ตัวอย่างให้ได้ตามระยะเวลา ที่ระบุ การตรวจสอบน�้ำมันเชื้อเพลิงคงเหลือ ออกประกาศปริมาณการส�ำรองน�้ำมัน และชี้แจงหลักเกณฑ์วิธีวัดปริมาณน�้ำมัน คงเหลืออย่างสม�่ำเสมอ การรับแจ้งจดและตรวจสอบข้อมูล ปรับปรุงข้อมูลการแจ้งเปลี่ยนแปลงรายการของผู้ค้าน�้ำมัน และการเลิกกิจการของ ผู้ขนส่งน�้ำมัน คู่มือส�ำหรับประชาชน รวบรวมปัญหาและอุปสรรคจากการให้บริการประชาชน รวมทั้งให้ท�ำการส�ำรวจคิดเห็นและ ความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้บริการ เพื่อใช้ในการจัดท�ำเป็นคู่มือต่อไป การขยายแนวท่อขนส่งน�้ำมัน เข้าไปมีส่วนร่วมในการรับฟังความคิดเห็นการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) และ ประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่ยิ่งขึ้น การเปลี่ยนเป็นถังก๊าซคอมโพสิตแทนถังก๊าซเหล็กใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ ถังก๊าซคอมโพสิตมีความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่ รัฐและประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนใต้มากกว่า จึงต้องเพิ่มความเข้นข้นในการประชาสัมพันธ์ ติดตาม และประสานงานต่างๆ

การก�ำหนดทิศทางการบริหารจัดการด้านน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเพือ่ ให้สอดคล้องกับแผนอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องด้านพลังงาน โดยมุง่ เน้น การบริหารจัดการน�้ำมันเชือ้ เพลิงในทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์พลังงานในปัจจุบนั เพือ่ สร้าง ความแข็งแกร่งให้กับการพัฒนาพลังงานของประเทศไทยในอนาคตด้วย 68

นโยบายพลังงาน


บทสรุป กระทรวงพลังงานได้มแี นวนโยบายทีจ่ ะบูรณาการแผนพัฒนาพลังงานเข้าด้วยกัน (Energy Development Plans Integration) ทั้งหมด 5 แผน ได้แก่ (1) แผน PDP (2) แผน EEP (3) แผน AEDP (4) แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ และ (5) แผนบริหาร จัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อให้การบริหารจัดการพลังงานของประเทศเป็นไปในแนวทางเดียวกันอย่างเป็นระบบ โดยนโยบาย ด้านพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดนี้เห็นชอบโดยยึดหลัก ด้านความมั่นคงทางพลังงาน (Security) ต้องจัดหาไฟฟ้าให้เพียงพอต่อ ความต้องการใช้ไฟฟ้าและใช้เชื้อเพลิงหลากหลาย รวมทั้งมีความเหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงจากการพึ่งพาเชื้อเพลิงชนิดใด ชนิดหนึ่งมากเกินไป ด้านเศรษฐกิจ (Economy) ต้องค�ำนึงถึงต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสม และค�ำนึงการใช้ไฟฟ้าอย่างมี ประสิทธิภาพในภาคเศรษฐกิจต่างๆ และด้านสิง่ แวดล้อม (Ecology) ต้องลดผลกระทบทีเ่ กิดกับสิง่ แวดล้อมและชุมชน โดยเฉพาะ เป้าหมายในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ก้าวส�ำคัญภายใต้แผนบูรณาการพลังงานระยะยาว

แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของ ประเทศไทย (PDP)

แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลั ง งานทางเลื อ ก (AEDP) : พลังงานหมุนเวียน

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลั ง งานทางเลื อ ก (AEDP) : Bio-fuels

น�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ

ภาคเศรษฐกิจ

รายละเอียด • เพิม่ สมดุลการใช้พลังงาน โดย เพิ่มการน�ำเทคโนโลยีถ่านหิน สะอาดมาใช้ในการผลิตไฟฟ้า มากขึ้น • Coal Center • ยกเลิกการชดเชยราคาน�้ำมัน เพื่อให้สะท้อนราคาต้นทุนใน ตลาดโลก • กระตุ ้ น การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ผ่ า นมาตรการส่ ง เสริ ม การ อนุรักษ์พลังงานต่างๆ • แนวทางปฏิบตั สิ ำ� หรับพลังงาน หมุนเวียนแต่ละประเภท ตาม หลัก Cost Effectiveness : o ผลักดัน : ขยะ ชีวมวล และ ก๊าซธรรมชาติ o ด� ำ เนิ น การต่ อ เนื่ อ ง : พลังงานแสงอาทิตย์ o ติดตาม : พลังงานลม • เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ ผ ล ผ ลิ ต ภ า ค การเกษตร เพื่อลดการน�ำเข้า น�้ ำ มั น , เพิ่ ม ปริ ม าณ Biofuels และสร้างรายได้ให้แก่ เกษตรกร • ยื ด อายุ แ หล่ ง ทรั พ ยากรใน ประเทศ โดยมีนโยบายกระตุน้ การส�ำรวจและผลิตในประเทศ และบริหารจัดการสัมปทานที่ จะสิ้นสุด • มาตรการช่วยเหลือผู้มีรายได้ น้อยโดยตรง เพื่อตอบสนอง ความต้องการเฉพาะกลุ่ม

ผลลัพธ์ • เพิ่ ม สั ด ส่ ว นการใช้ ถ ่ า นหิ น จากเดิม 20% เป็น 25% • ใช้ถา่ นหินสะอาด 20% จากเดิม ใช้ถ่านหินปกติทั้งหมด • เป้าหมายลด Energy Intensity 30%

• เพิ่ ม สั ด ส่ ว นการใช้ พ ลั ง งาน ทดแทนในการผลิตไฟฟ้าเป็น ร้อยละ 20 (ปัจจุบันประมาณ ร้อยละ 9)

• เป้าหมายใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ ร้อยละ 20-25 ในภาคขนส่ง (ปัจจุบัน 7%) • เพิ่ม GDP 50,000 ล้านบาท/ปี • จ� ำ กั ด อั ต ราการลดลงของ การผลิ ต ก๊ า ซธรรมชาติ จ าก แหล่งในประเทศ เป็น 2-5% ต่อปี (จากเดิม 11% ต่อปี) • เพิ่มวงเงินในระบบเศรษฐกิจ ประมาณ 380,800 ล้านบาท เพื่อน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด นโยบายพลังงาน

69


เกมพลังงาน

ค้นหาค�ำศัพท์ “ประหยัดพลังงาน 5R” ขอเชิญผู้อ่านวารสารนโยบายพลังงานร่วมสนุกกับเกมค้นหาค�ำศัพท์ “ประหยัดพลังงาน 5R” ในช่องปริศนาด้านล่างตามค�ำใบ้ ที่ก�ำหนดให้

R

R

R

R

R

R

R

R

R

E

E

E

S

E

E

E

L

E

P

P

O

K

D

S

C

P

I

A

S

B

R

U

E

P

R

R

I

E

R

E

C

Y

C

L

E

R

Y

E

U

E

Y

U

I

Y

R

E

R

S

U

E

Y

C

S

R

E

N

E

W

A

B

L

E

ค�ำใบ้

R……………………………….

การแปรรูปสิ่งที่ใช้แล้ว เพื่อน�ำกลับมาใช้อีก

R……………………………….

ลดการใช้วัสดุต่างๆ หรือใช้เท่าที่จ�ำเป็น

R………………………………. การน�ำสิ่งของกลับมาใช้ใหม่

R……………………………….

การซ่อมแซมของที่เสียแล้ว ให้ใช้งานได้เหมือนเดิม

R……………………………….

การทดแทน เช่น การใช้พลังงานสะอาด พลังงาน หมุนเวียน

ท่านผู้อ่านสามารถร่วมสนุก โดยส่งค�ำตอบพร้อมชื่อ-ที่อยู่และ เบอร์โทรศัพท์ (ตัวบรรจง) มาที่ โทรสาร 0 2247 2363 หรือ บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22B ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 วงเล็บมุมซองว่า เกมพลังงาน ผู้ที่ตอบถูก 5 ท่าน จะได้รับของรางวัล “ตัวต่อนาโนบล็อค” ส่งให้ถึงบ้าน

ชือ่ -นามสกุล……………………………………….......…………………………………………………….............................………………. ทีอ่ ยู… ่ ………………………………............................…………………….......……………………………………………..……………….. ………………………………………………………………………………………………………........….............................……………….. โทรศัพท์………………………………………โทรสาร…...…………….......………………E-mail…………....…....................……….…… 70

นโยบายพลังงาน


การ์ตูนประหยัดพลังงาน


ฉบับพิเศษ ปี 2558 www.eppo.go.th

แบบสอบถามความเห็น “วารสารนโยบายพลังงาน” ฉบับพิเศษ ปี 2558

คณะท� ำ งานวารสารนโยบายพลั ง งาน มี ค วามประสงค์ จ ะส� ำ รวจความคิ ด เห็ น ของท่ า นผู ้ อ ่ า น เพื่ อ น� ำ ข้ อ มู ล มาใช้ ป ระกอบการปรั บ ปรุ ง วารสาร นโยบายพลังงานให้ดียิ่งขึ้น ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็น 10 ท่านแรกจะได้รับของที่ระลึกจากคณะท�ำงานฯ เพียงแค่ท่านตอบแบบสอบถามและเขียนชื่อ-ที่อยู่ ตัวบรรจงให้ชัดเจน ส่งไปที่ คณะท�ำงานวารสารนโยบายพลังงาน ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 หรือโทรสาร 0 2612 1358 หากท่านใดต้องการสมัครสมาชิกวารสารฯ รูปแบบไฟล์ pdf สมัครได้ที่ e-mail : eppojournal@gmail.com

ชื่อ-นามสกุล...................................................................................................หน่วยงาน....................................................................................... อาชีพ/ต�ำแหน่ง.............................................................................................โทรศัพท์................................................................................................... ที่อยู่.........................................................................................................................................................อีเมล.............................................................. กรุณาท�ำเครื่องหมาย ü ลงในช่อง และเติมข้อความที่สอดคล้องกับความต้องการของท่านลงในช่องว่าง

1 ท่านอ่าน “วารสารนโยบายพลังงาน” จากที่ใด 10 ท่านสนใจรับไฟล์วารสารทางอีเมลหรือไม่ ที่ท�ำงาน/หน่วยงานที่สังกัด สนใจ (โปรดกรอกอีเมล..............................................................) ที่บ้าน หน่วยงานราชการ/สถานศึกษา ห้องสมุด ไม่สนใจ www.eppo.go.th อื่นๆ.................................. 11 ท่านมีเพื่อนที่สนใจรับไฟล์วารสารทางอีเมลหรือไม่ 2 ท่านอ่าน “วารสารนโยบายพลังงาน” ในรูปแบบใด มี (โปรดกรอกอีเมล....................................................................) แบบรูปเล่ม ไฟล์ pdf ทางอีเมล E-Magazine ไม่มี 3 ท่านอ่าน “วารสารนโยบายพลังงาน” เพราะเหตุใด 12 คอลัมน์ภายใน “วารสารนโยบายพลังงาน” ที่ท่านชื่นชอบ ข้อมูลเป็นประโยชน์ต่อการท�ำงาน ข้อมูลหาได้ยากจากแหล่งอื่น (โปรดท�ำเครื่องหมาย ü) ข้อมูลอยู่ในความสนใจ มีคนแนะน�ำให้อ่าน ประเด็น มาก ปานกลาง น้อย อื่นๆ........................................... เทคโนโลยีพลังงานจากต่างประเทศ 4 ท่านใช้เวลาอ่าน “วารสารนโยบายพลังงาน” กี่นาที แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย 0-10 นาที แผนอนุรักษ์พลังงาน 11-20 นาที 21-30 นาที​ี แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 41-50 นาที 51-60 นาที ี 31-40 นาที แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ มากกว่า 60 นาที​ี แผนบริหารจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง 5 ความพึงพอใจต่อรูปแบบ “วารสารนโยบายพลังงาน” ปก ความน่าสนใจ มาก ปานกลาง น้อย เกมพลังงาน สอดคล้องกับเนื้อหา มาก ปานกลาง น้อย การ์ตูนประหยัดพลังงาน 13 “วารสารนโยบายพลังงาน” มีประโยชน์อย่างไร เนื้อหา ความน่าสนใจ มาก ปานกลาง น้อย มาก ปานกลาง น้ อ ย ตรงความต้องการ ประเด็น มาก ปานกลาง น้อย น�ำไปใช้ประโยชน์ได้ มาก ปานกลาง น้อย ท�ำให้รู้และเข้าใจเรื่องพลังงาน ความทันสมัย มาก ปานกลาง น้อย ท�ำให้รู้สถานการณ์พลังงาน ภาพประกอบ ความน่าสนใจ มาก ปานกลาง น้อย น�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ สอดคล้องกับเนื้อหา มาก ปานกลาง น้อย ได้ความรู้รอบตัว ท�ำให้เข้าใจเนื้อเรื่องดีขึ้น มาก ปานกลาง น้อย อื่นๆ............................................. ขนาด เล็กไป พอดี ใหญ่ไป ..................................................... ส�ำนวนการเขียน ความเข้าใจ ง่าย ยาก ไม่เข้าใจ ..................................................... ขนาดตัวอักษร เล็กไป พอดี ใหญ่ไป รูปแบบตัวอักษร อ่านง่าย อ่านยาก 14 ท่านต้องการให้ “วารสารนโยบายพลังงาน” เพิ่มคอลัมน์เกี่ยวกับ ขั ด ตา สบายตา การใช้สี อะไรบ้าง ขนาดรูปเล่ม เล็กไป พอดี ใหญ่ไป ....................................................................................................

6 ความพึงพอใจภาพรวมของ “วารสารนโยบายพลังงาน” .................................................................................................... มาก ปานกลาง น้อย .................................................................................................... 7 ระยะเวลาการเผยแพร่ “วารสารนโยบายพลังงาน” ที่ท่านต้องการ 15 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ราย 1 เดือน ราย 2 เดือน ราย 3 เดือน .................................................................................................... 8 ท่านเคยอ่าน “วารสารนโยบายพลังงาน” บนเว็บไซต์ของส�ำนักงานหรือไม่ .................................................................................................... เคย ไม่เคย .................................................................................................... 9 ท่านสนใจรับ “วารสารนโยบายพลังงาน” รูปแบบใด แบบเล่ม (ส่งไปรษณีย์) แบบไฟล์ pdf (ส่งอีเมล) แบบ E-Magazine (อ่านทางเว็บไซต์) ขอขอบคุณทุกท่านที่ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น


ความเคลื่อนไหวใน กบข.


à»ÅÕè¹! à¤Ã×èͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈàºÍà 5

1

»Ò¹¡ÅÒ§

´Õ 2 3 4

5

´ÕÁÒ¡

μèÓ

㪌 ¾Í

5 2016

ࡳ± ¾Åѧ§Ò¹»‚

©ÅÒ¡áÊ´§ÃдѺ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ÍØ»¡Ã³ ä¿¿‡Ò »ÃÐàÀ· : à¤Ã×èͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈ VARIBLE SPEED »ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾μÒÁÄ´Ù¡ÒÅ : (ºÕ·ÕÂÙ/ªÑèÇâÁ§/ÇÑμμ )

㪌¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò (˹‹ÇÂ/»‚) ¤‹Òä¿¿‡Ò (ºÒ·/»‚) ÂÕèËŒÍ ¢¹Ò´ ªØ´á¿¹¤ÍÂÅ ÃØ‹¹

SEER

ÃØ‹¹ ºÕ·ÕÂÙ/ªÑèÇâÁ§ ªØ´¤Í¹à´¹«Ôè§ÃØ‹¹

*¤‹Òä¿¿‡Ò·Õèà¡Ô´¢Ö鹨ÃÔ§¢Öé¹ÍÂÙ‹¡Ñº¡ÒÃ㪌§Ò¹ÍØ»¡Ã³ áÅÐÍÑμÃÒ¤‹Òä¿¿‡Ò

¡¿¼.

»ÃÐËÂÑ´ä¿ 30% àÁ×èÍà·Õº¡Ñºà¤Ã×èͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈ Fixed Speed

“Êѧà¡μ¤‹Ò SEER ÂÔè§ÊÙ§ÂÔ觻ÃÐËÂÑ´”

¡ÃзÃǧ¾Åѧ§Ò¹


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.