Eppo v 114

Page 1


EPPO TALK สวัสดีครับ ผูอานทุกทาน วารสารนโยบายพลังงานฉบับนี้ นอกจากสถานการณ์ ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง สถานการณ์พลังงานไทย ที่นำมาให้ ผู้อ่านติดตามความเคลื่อนไหวกันทุกฉบับแล้ว ฉบับนี้จะได้ รับทราบเรื่องราวของแผนระบบรับส่งและโครงสร้างพื้นฐาน ก๊าซธรรมชาติ เพื่อสร้างความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ โดยครอบคลุมถึงโครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas Pipeline Network) และโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับ การจัดหา/นำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG Receiving Facilities) มาทดแทนการจัดหาก๊าซธรรมชาติผา่ นทางโครงข่ายระบบท่อ ส่งก๊าซธรรมชาติ ทั้งจากในประเทศ และนำเข้าจากประเทศ เพื่อนบ้าน ที่มีแนวโน้มลดลงและหมดไปในอนาคต อีกทั้ง สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ร่วมกับ สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ดำเนินโครงการส่งเสริม การอนุรกั ษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรม และจูงใจให้ผปู้ ระกอบการ SMES ดำเนินการประหยัดพลังงานเพือ่ แลกรับสิทธิประโยชน์ ด้านพลังงาน โดยตัง้ เป้ามีผเู้ ข้าร่วมโครงการไม่นอ้ ยกว่า 500 แห่ง ลดต้นทุนค่าไฟ 500,000 บาท ต่อแห่งต่อปี คงปฏิเสธ ไม่ได้วา่ พลังงานเป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับทุกคน เพราะเราทุกคน ต่างก็ใช้พลังงานในชีวิตประจำวันแทบทั้งสิ้น จึงไม่ใช่หน้าที่ ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นหน้าที่ของทุกคน

( นายทวารัฐ สูตะบุตร ) ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

เจาของ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ที่ปร�กษา ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน จัดทำโดย คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุร� แขวงทุงพญาไท เขตราชเทว� กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2612 1555 โทรสาร 0 2612 1357-8 www.eppo.go.th ออกแบบและจัดพ�มพ บร�ษัท ดร�มเว�รค แอดเวอรไทซ�่ง จำกัด โทร. 0 2195 7402-4 โทรสาร 0 2118 0661 www.dreamworkad.com


CONTENT

04 สรุปขาว 07 กิจกรรมภาพเปนขาว 09 กาซธรรมชาติ LNG บทความดานสถานการณพลังงาน การใชน้ำมันสำเร�จรูปในชวง 6 เดือนแรก ของป 2559 มีการใชเพ��มข�้นรอยละ 5.0

36

บทความดานสถานการณพลังงาน ในชวง 6 เดือนแรก

41

บทความดานสถานการณพลังงาน ในชวง 3 เดือนแรก

50

ใบตอบรับ

51

เกมส

บทความดานอนุรักษ�พลังงาน

ดำเนินการประหยัดพลังงาน เพ��อแลก รับสิทธิประโยชนดานพลังงาน 4 เดง

19

บทความดานอนุรักษพลังงาน โครงการสงเสร�ม การอนุรักษพลังงาน

23 26

บทความดานไฟฟา การบร�หารจัดการ น้ำมันปาลม บทความดานปโตรเลียม (มิถุนายน - กรกฎาคม 2559)


06 สรุปขาว 2559 สถานการณราคา NGV อยูในชวงขาลง ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน เปดเผยวา สถานการณราคา NGV อยูใ นชวงขาลง จึงคาดภายในไตรมาส 4 ปน้� ราคาจะลดต่ำสุดมาอยูท ่ี ระดับ 11.90 บาทตอกิโลกรัม จากนโยบายลอยตัวราคาพลังงานและมติ กบง.เห็นชอบลอยตัวราคา NGV แบบมีเงือ่ นไขตัง้ แต 21 ม.ค. - 15 ก.ค.59 โดยขอ บมจ.ปตท.กำหนดเพดานราคาใหตำ่ กวา 13.50 บาท ตอกิโลกรัม ปรับราคาขายปลีกสำหรับรถยนตทว�ั ไปใหสะทอนตนทุน และมีมติใหปรับคาดำเนินการเฉลีย่ จาก 3.734 บาทตอกิโลกรัม ลด 3.436 บาทตอกิโลกรัม

เห็นชอบแนวทางแก ไขปญหาโรงไฟฟาชีวมวล ตามมติ กพช. นายวีระพล จิรประดิษฐกุล กรรมการกำกับกิจการพลังงาน เผยวา ทีป่ ระชุมคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานเมือ่ วันที่ 15 มิ.ย. เห็น ชอบแนวทางแกไขปญหาโรงไฟฟาชีวมวลตามมติ กพช. ทีก่ ำหนด ใหโรงไฟฟาชีวมวลสามารถเลือกรูปแบบการซือ้ ขายไฟฟาจากระบบ สวนเพิม� รับซือ้ ไฟฟา Adder มาเปนระบบ FiT ทีส่ ะทอนตนทุนจริง โดยเรกูเลเตอรจะดำเนินการออกกฎระเบียบและการประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เพื่อใหมีผลในทางปฏิบัติเปนทางการตอไป

04

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

เห็นชอบราง พ.ร.บ.ปโตรเลียม 2 ฉบับ พล.อ.อนันตพร กาญจนรัตน รมว.กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา หลัง จากที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบราง พ.ร.บ.ปโตรเลียม 2 ฉบับ คือพระราชบัญญัตปิ โ ตรเลียม พ.ศ 2514 และพระราชบัญญัตภิ าษีเงินได ปโตรเลียม พ.ศ….คาดวาขัน้ ตอนของกฎหมายจะแลวเสร็จและประกาศ ใชอยางเปนทางการภายใน 1 ป เพือ่ ใหพรอมตอการเปดประมูลทันที จึงไดสง�ั ใหกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ จัดทำรายละเอียด หลักเกณฑการ เปดประมูล (TOR) สำรวจและผลิตปโตรเลียมรอบใหม และแหลง สัมปทานเดิมที่จะหมดอายุลงใหแลวเสร็จภายใน 1 ป

ประเทศไทยอาจไมตองนำเขา แอลพ�จี นายวิฑูรย กุลเจริญวิรัตน อธิบดี ธพ. เปดเผยวา ประเทศไทย อาจไมตอ งนำเขา แอลพีจี ในเดือน ก.ค. น�้ เน�อ� งจากกำลังการผลิต ภายในประเทศเพิ�มสูงขึ้นจนเพียงพอกับ ความตองการที่ลดลง โดยถาไมมีการนำเขาจริงจะถือเปนครั้งแรกในรอบ 8 ป นับ ประเทศไทยเริม� นำเขากาซแอลพีจีในป 2551 เกิดจากการปรับ โครงสรางพลังงานและสถานการณราคาน้ำมันดิบตกต่ำ โดยความ ตองการกาซแอลพีจเี ดือน เม.ย.อยูท ่ี 470,000 ตันตอเดือน


07 สรุปขาว 2559 รวมพลังหาร 2 เปลี่ยนใหม ประหยัดชัวร ป 2 ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เปดเผยวา จากการเดินหนาโครงการ รวมพลังหาร 2 เปลีย่ นใหม ประหยัดชัวร ป 2 สามารถกระตุน คนไทยใหเปลีย่ นใชอปุ กรณไฟฟา ประหยัดไฟเบอร 5 โดยเฉพาะหลอดไฟ LED เครื่องปรับอากาศ ที่มีคา SEER สูง ไดมีกระแสตอบรับที่ดี สามารถลดความตองการ ใชไฟฟาสูงสุด (Peak) ไดทง้ั ประเทศ และยังมีการลงนามความรวมมือ 10 บริษัทชั้นนำ ทั้งหางสรรพสินคา ดิสเคาตสโตร โมเดิรนเทรด ตลอดจนรานคาออนไลน ใหมกี จิ กรรมสงเสริมการตลาดสนับสนุนให ประชาชนตัดสินใจเลือกซื้ออุปกรณ ไฟฟาประหยัดไฟเบอร 5 ในปที่ ผานมา สวนในป 2559 ยังคงกระตุนใหทุกภาคสวน ทั้งภาคเอกชน ธุรกิจ SME รวมถึงภาคประชาชนตระหนักถึงการใชพลังงานอยางรู คุณคา และลงทุนเปลี่ยนอุปกรณประหยัดไฟฟาที่ไดประสิทธิภาพสูง เพื่อลดคาใชจายดานพลังงานตอไป

กฟผ. และ กฟภ. ลงพ�้นที่เขตเศรษฐกิจพ�เศษ พล.อ.อนันตพร กาญจนรัตน รมว.พลังงาน เผยวา เมื่อ เร็วๆ น�ไ้ ดสง�ั การให กฟผ. และ กฟภ. ลงพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจ พิเศษทีร่ ฐั บาลกำหนดไว 6 พืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดน คือ ตาก สระแกว ตราด มุกดาหาร สงขลา และหนองคาย เพือ่ ตรวจ สอบความพรอมดานพลังงานไฟฟา-ระบบสายสงวารองรับ ในกรณ�ทม่ี คี วามตองการใชไฟฟาเพิม� ขึน้ ไดหรือไม ซึง� เบือ้ ง ตนนัน้ ทัง้ 2 หนวยงานระบุระบบเดิมสวนหนึง� สามารถรองรับ ความตองการใชไฟฟาที่เพิ�มขึ้นได แตในกรณ�ที่ความตอง การใชไฟเพิม� ขึน้ อยางมีนยั สำคัญก็สามารถ สรางสถาน�ไฟฟา ไดทนั ที, ในกรณ�ทต่ี อ งสรางโรงไฟฟาเพิม� เติมก็ให กฟผ. เปน ผูพ ฒั นาโรงไฟฟาขนาดเล็ก ในรูปแบบพลังความรอนรวมไอน้ำ ทีใ่ ชกา ซธรรมชาติเปนเชือ้ เพลิง แตในกรณ�ทเ่ี อกชนตองการ ลงทุนสรางโรงไฟฟาก็สามารถดำเนินการได แตกำลังการ ผลิตทั้งหมดจะตองใชในโรงงานเทานั้น จะไมรับเขาระบบ

ผูสำรวจและผลิตปโตรเลียมตัดสินใจถอนแทนข�ด เจาะหลุมผลิตออกจากประเทศไทย นายวีระศักดิ์ พึง� รัศมี อธิบดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ เผยวา ผูส ำรวจและผลิตปโตรเลียมตัดสินใจถอนแทนขุดเจาะหลุม ผลิตออกจากประเทศไทยเกือบครึ�งเมื่อเทียบกับปกอน เหตุการณนส้� ะทอนวาจะไมมกี ารขุดเจาะปโตรเลียมเพิม� ขึน้ ใน ประเทศไทย ปจจุบนั ประเทศไทยเหลือแทนขุดเจาะ 13 แทน ลดลงจากป 58 ทีม่ ที ง้ั หมด 24 แทน แทนขุดเจาะในอาวไทย ลดลงจาก 18 แทน เหลือ 12 แทน และไมมบี ริษทั ใดขุดหลุม สำรวจในอาวไทยแลวโดยทีเ่ หลือสวนใหญเปนของเชฟรอน และปตท.สผ. ซึง� ลงทุนเพือ่ รักษากำลังการผลิตเน�อ� งจากแหลง เอราวัณของเชฟรอน และแหลงบงกชองปตท.สผ. กำลังจะ หมดสัญญาสัมปทาน นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

05


อธิบดี ธพ.เปดเผยวา ไมสามารถคุมน้ำมัน เกรดพร�เมียมได

07 สรุปขาว 2559

นายวิฑรู ย กุลเจริญวิรตั น อธิบดี ธพ.เปดเผยวา ไมสามารถคุม น้ำมันเกรดพรีเมียมได แมเปน ผลิตภัณฑที่ขัดกับนโยบาย ลดหัวจายน้ำมันของกระทรวงพลังงาน เพราะประเทศไทยเปน ตลาดเสรี ซึง� น้ำมันเกรดพรีเมียมถือเปนสินคาฟุม เฟอย ผูใ ชกเ็ ปน กลุม รถหรูและมีกำลังซือ้ จึงมีแนวคิดจะเสนอใหทป่ี ระชุม กบง. เก็บภาษีเต็มเพดานที่ 10 บาทตอลิตร จากปจจุบันเรียกเก็บ ภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซลอยูท ่ี 5.65 บาทตอลิตรและน้ำมัน เบนซินอยูท ่ี 6.30 บาทตอลิตร จะทำใหรฐั บาลมีรายไดเพิม� ราว 40 ลานบาท ตอวันหรือ 1,200 ลานบาทตอเดือน

กระทรวงพลังงานไดวางกรอบการพัฒนาเพ�่อสงเสร�ม ยานยนต ไฟฟา(EV) พล.อ.อนันตพร กาญจนรัตน รมว.กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา กระทรวงพลังงาน ไดวางกรอบการพัฒนาเพือ่ สงเสริมยานยนตไฟฟา(EV) เพือ่ ลดใชพลังงานในภาคขนสง ตามแผนอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ. 2558-2579 โดยไดมอบให สนพ. จัดทำมาตรการการ สงเสริมการใชงานรถยนตไฟฟาประเภทไฮบริดปลัก๊ อิน และยานยนตไฟฟาประเภท แบตเตอรี่ รวมทัง้ สิน้ 1.2 ลานคัน ภายในป 2579 โดยคาดวาในเดือน ส.ค.น�จ้ ะสามารถ ประกาศหลักเกณฑและการสนับสนุนดานโครงสรางพืน้ ฐาน โดยแบงเปน 4 ระยะ โดย ชวงน�อ้ ยูในการทำงานระยะที่ 1 ระหวางป 2559-2560 เปนขัน้ ของการเตรียมความ พรอมดานกฎหมายการขออนุญาตและการสนับสนุนการวิจยั เรือ่ งแบตเตอรี่ โดยเนน นำรองกลุม รถโดยสารสาธารณะ เตรียมความพรอมดานสถาน� Charging Station และ ดานอืน่ ๆ ระยะที่ 2 ป 2561 - 2563 ดำเนินวิจยั อยางเขมขนตอเน�อ� ง ทัง้ เรือ่ งสมรรถนะ แบตเตอรี่ มอเตอร รวมทั้งเพิ�มจำนวนรถและจุด Charging Station ระยะที่ 3 ป 2564 - 2578 ชวงขยายผลการศึกษาใหไดตามเปาที่ตั้งไว และระยะที่ 4 ป 2579 เปนตนไป คาดหวังวารถยนตไฟฟาจะเขามาแทนที่รถน้ำมันไดอยางเต็มที่

กกพ. จะเรงเปดรับซื้อไฟฟาจากพลังงานทดแทน 4 โครงการ นายวีระพล จิรประดิษฐกุล กรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เผยวา กกพ. จะเรงเปดรับซือ้ ไฟฟาจากพลังงานทดแทน 4 โครงการ รวม 1,099 เมกะวัตต ภายในปน้� เน�อ� งจากอำนาจ ม.44 ทีย่ กเวนกฎหมายผังเมืองเพือ่ อำนวยความสะดวก ใหการลงทุนพลังงานทดแทนกำลังจะหมดลงในวันที่ 19 ม.ค. ปหนา หากผลักดัน โครงการตางๆ ไดตามเปาหมายจะสงผลใหมกี ารลงทุนเฉลีย่ 60 ลานบาทตอเมกะวัตต รวม 60,000 ลานบาท และเม็ดเงินจะทยอยเขาสูร ะบบกอนโครงการจะเริม� จายไฟฟา เชิงพาณิชย (COD) ในป 2561-2562 นอกจากน�้ กกพ. จะทำการเปดรับฟงความคิด เห็นจากประชาชน เรือ่ งอัตราการเก็บเงินคาไฟฟาจากการชารจแบตเตอรีร่ ถยนตไฟฟา (รถอีว)ี ซึง� จะมีการเรียกเก็บในระดับราคาที่ไมเทากันทัง้ วัน เน�อ� งจากตองนำอัตราคา ไฟฟาประเภทกิจการขนาดกลางตามชวงเวลาของการใชตามประกาศอัตราคาไฟ ของ กฟน. เขามาบวกรวมกับคาอื่นๆ ดวย

06

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


ภาพเปนขาว รวมถวายพระพรชัยมงคลแด พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ 70 ป ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) พรอมดวยผูบริหารและขาราชการ สนพ. รวมถวายพระพร ชัยมงคลแด พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เน�อ� งในโอกาสมหามงคล เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 70 ป ในวันที่ 9 มิถุนายน 2559 ดวยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที ่ ท รงมี ต  อ ประเทศชาติ แ ละปวงชนชาวไทยอย า งหาที ่ ส ุ ด มิ ไ ด ณ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

เปดการประชุมวิชาการ EGAT R&D Forum 2016 ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน เปนประธานเปดการประชุมวิชาการ EGAT R&D Forum 2016 ภายใตแนวคิด Innovation for Future Drive ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์

งานสัมมนาเปดโครงการ “สงเสร�มการอนุรักษพลังงาน ในภาคอุตสาหกรรม (Energy Points) ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน เปนประธานเปด งานสัมมนาเปดโครงการ “สงเสริมการอนุรกั ษพลังงานในภาค อุตสาหกรรม (Energy Points)” ภายใตการสนับสนุนโดย กองทุน เพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ซึ�ง สนพ. รวมกับ สถาบัน พลังงานเพือ่ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) สงเสริมใหผปู ระกอบการ SMEs รวมประหยัดพลังงาน โดยพัฒนาระบบใหจูงใจเพื่อใหผูประกอบการดำเนินกิจกรรม การอนุรกั ษพลังงาน และสรางความรู สรางความเขาใจ รวมทัง้ สนับสนุนเงินลงทุนในการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรและอุปกรณ เพือ่ การประหยัดพลังงานทันที 30% ณ โรงแรม ดิเอมเมอรัลด รัชดา

การประชุมวิชาการครั้งน�้ เปนเวทีเผยแพรผลงานดานวิจัยและพัฒนา ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) และพันธมิตร ใหสังคม รับรูและนำไปใชประโยชนอยางเปนรูปธรรมและสงเสริมใหประชาชน ไดเห็นถึงความสำคัญของการวิจยั ทีม่ ตี อ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ภายในงานมีการจัดเวทีเสนาความรูเรื่อง Smart Substation : EGAT CCS IEC 61850 เพื่อเผยแพรองคความรูในการพัฒนาระบบควบคุม ของสถาน�ไฟฟาที่ใชมาตรฐาน IEC 61850 และการเสวนาเรือ่ ง ยานยนต ไฟฟา Electric Vehicle เพือ่ แลกเปลีย่ นความความรูใ นการพัฒนารถยนต ไฟฟา รวมถึงการจัดนิทรรศการผลงานวิจัยและสิ�งประดิษฐตางๆ เพื่อ เผยแพรขอมูลใหนักวิชาการ อาจารย และประชาชน ทราบถึงความกาว หนาดานเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อนประเทศไทยไปสูความ มั�นคงดานพลังงาน และพรอมพัฒนาไปสูความยั�งยืนตอไป

ทัง้ น�้ ผูป ระกอบการ SMEs ทัว� ประเทศ สามารถสะสม Energy Points พรอมกันได ตัง้ แตวนั ที่ 28 กรกฎาคม 2559 ถึงวันที่ 17 ตุลาคม 2559 น�้ โดยสามารถสมัครผานเว็บไซต www. energypoints.info หรือสอบถามรายละเอียดเพิ�มเติมไดที่ www.eppo.go.th นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

07


ภาพเปนขาว เยี่ยมชมระบบจำหนายไฟฟาใตดิน ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน พรอมผูบ ริหาร และเจาหนาที่ สำนักนโยบายไฟฟาของ สนพ. เยีย่ มชมระบบจำหนายไฟฟาใตดนิ ตามแผนปรับปรุงและขยายระบบจำหนายพลังไฟฟาของการไฟฟา นครหลวง (กฟน.) ณ การไฟฟานครหลวง สำนักงานใหญเพลินจิต ระบบจำหนายไฟฟาใตดนิ ของ กฟน. เปนระบบสายสงกลางเมือง ทีส่ ามารถรองรับไฟฟาขนาด 230 กิโลโวลต จากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) สถาน�บางกะป และสงผานกระแสไฟฟามา ทางอุโมงคสายสงเสนผานศูนยกลาง 2.62 เมตร ที่ระดับความลึก 34 เมตร ระยะทาง 7 กิโลเมตร ลอดใตแนวคลองแสนแสบ อุโมงครถ ไฟฟาใตดนิ และอุโมงคระบายน้ำของกรุงเทพฯ เขาสูส ถาน�ชดิ ลม เพือ่ สงตอไปยัง 20 สถาน�สายสงในเขตกรุงเทพมหานครชัน้ ใน ซึง� เปน หนึง� ในอุโมงคสายสงไฟฟาทีส่ รางขึน้ เพือ่ รองรับความตองการใชไฟฟาในยานธุรกิจทีข่ ยายตัวเพิม� ขึน้ อยางตอเน�อ� ง และสามารถลดความ เสี่ยงทางกายภาพที่อาจเกิดขึ้นกับสายไฟฟาแรงสูงบนพื้นดิน เชน อุบัติเหตุ หรือลมพายุในฤดูกาลตางๆ

ลงพ�้นที่ภาคใตเพ�่อติดตามการดำเนินโครงการ ที่ไดรับการสนับสนุน ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน พรอมดวย น.ส.ชนานัญ บัวเขียว ผูอ ำนวยการสำนักนโยบายอนุรกั ษพลังงานและพลังงานทดแทน, ผูบ ริหาร และเจาหนาที่ สนพ. ลงพืน้ ทีภ่ าคใตเพือ่ ติดตามการดำเนินโครงการทีไ่ ดรบั การสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน อาทิ โครงการ สงเสริมพลังงานทดแทนในระดับชุมชน (Community ESCO Fund) ทีม่ ลู นิธสิ ขุ -แกว แกวแดง อ.เมือง จ.ยะลา ซึง� เปนองคกรการกุศลสาธารณะ ตั้งเปนศูนยเรียนรูพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต เพือ่ ใหเยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนในพืน้ ที่ ไดเรียนรูแ ละเขาใจในเรือ่ งของพลังงานทดแทน และอนุรกั ษพลังงานโดย มี ดร.รุง แกวแดง ประธานมูลนิธิ สุข- แกว แกวแดง ใหการตอนรับ

“แนวคิดและเคร�่องมือในการบร�หารจัดการกองทุน แบบบูรณาการและมุงผลสัมฤทธิ์” พล.อ.อนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน เปน ประธานเปดการประชุม “แนวคิดและเครื่องมือในการบริหารจัดการ กองทุนแบบบูรณาการและมุง ผลสัมฤทธิ”์ โดยมี ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ ำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษก กระทรวงพลังงาน กลาวรายงาน ณ ศูนยเอ็นเนอรยี่ คอมเพล็กซ กระทรวงพลังงาน ทัง้ น�้ เพือ่ ใหโครงการตางๆ มีผลสัมฤทธิแ์ ละประสบความสำเร็จจะตองมี องคประกอบ 4 ประการ ดังน�้ 1) ผูพ ฒั นาโครงการตองมีความรู (Knowledge) 2) ทีมงานของผูพัฒนาโครงการจะตองมีทักษะ (Skill) ไมวาจะเปน ทักษะทางชาง หรือ ทักษะทางการสือ่ สาร 3) โครงการทีพ่ ฒ ั นาตองมี นวัตกรรม (Innovation) และ 4) การประสานงานโครงการจะตองเปน ไปแบบบูรณาการ (Integration) ซึง� สนพ. จะนำไปปฏิบตั เิ พือ่ ใหเกิดการ กลัน� กรอง ติดตาม และประเมินผลโครงการตางๆ ของกองทุนเพือ่ สงเสริม การอนุรักษพลังงาน ตอไป

08

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ทั้งน�้มูลนิธิไดดำเนินโครงการผลิตกาซชีวภาพจากมูลวัวเพื่อผลิตไฟฟา ดวยการกอสรางระบบผลิตกาซชีวภาพขนาด 400 ลูกบาศกเมตร ซึ�ง กาซชีวภาพที่ผลิตไดสามารถนำไปใชในเครื่องกำเนิดไฟฟาขนาด 18 กิโลวัตต เพือ่ ผลิตไฟฟาและใชในมูลนิธิ ชวยลดคาใชจา ยดานไฟฟาไดป ละ 55,000 บาท และโครงการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม ดวยการติดตัง้ กังหันลมเพือ่ ผลิตไฟฟาขนาดกำลังผลิต 200 วัตต จำนวน 10 ชุด โดยใช ประโยชนจากกระแสไฟฟาทีไ่ ดในการใหแสงสวางและสูบน้ำสำหรับคอกวัว เพื่อใชในมูลนิธิ ฯ ชวยลดคาใชจายไฟฟาลงไดปละ 15,000 บาท


SCOOP

á¼¹ÃкºÃѺʋ§áÅÐâ¤Ã§ÊÌҧ

พ�้นฐานกาซธรรมชาติ เพื่อความมั่นคง (LNG)

1. ประมาณการความตองการใชและแผนจัดหากาซ ธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปจากแผนบร�หารจัดการ กาซธรรมชาติ พ.ศ. 2558 - 2579 (แผน Gas Plan 2015) การดำเนินโครงการโรงไฟฟาถานหินตามแผน PDP 2015 ใน ชวงป 2558 จนถึงปจจุบนั มีโครงการโรงไฟฟาถานหินบางโครงการ มีแนวโนมทีจ่ ะไมสามารถดำเนินการใหแลวเสร็จไดตามกำหนดการ ที่ระบุไวในแผน PDP 2015 ประกอบกับในชวงปลายป 2558 ทีผ่ า นมาเกิดวิกฤตการณราคาน้ำมันโลกตกต่ำซึง� สงผลใหราคากาซ ธรรมชาติทง้ั ในประเทศและในตลาดโลกมีราคาลดลงจนกาซธรรมชาติ มีราคาอยูในระดับทีส่ ามารถแขงขันกับการผลิตไฟฟาโดยเชือ้ เพลิง อืน่ ได ดังนัน้ เพือ่ ลดความเสีย่ งในดานความมัน� คงอันเน�อ� งมาจาก ความสามารถในการผลิตไฟฟามีแนวโนมจะลดลงจากที่ไมสามารถ

ดำเนินการกอสรางโรงไฟฟาไดตามแผน PDP 2015 กระทรวง พลังงานจึงไดพจิ ารณาแนวทางในการแกไขปญหาเพือ่ ใหความมัน� คง ในการผลิตไฟฟาใหคงอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสม ซึง� กระทรวงพลังงาน มีความจำเปนตองปรับเปลีย่ นแผนบริหารเชือ้ เพลิงสำหรับผลิตไฟฟา ในระยะสัน้ และระยะกลางใหสอดคลองกับสถานการณทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป โดยมีแผนในการเพิม� การใชกา ซธรรมชาติ ในการผลิตไฟฟาทดแทน โรงไฟฟาถานหินทีอ่ าจไมสามารถดำเนินการไดตามแผน

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

09


1.1 ประมาณการความตองการใชกาซธรรมชาติ ความตองการใชกา ซธรรมชาติในระยะยาวทีค่ ลอดคลองกับแผน PDP 2015 ในกรณ�ฐาน (Base case) ทีก่ ระทรวงพลังงานมีแผนในการลดการใชกา ซธรรมชาติสำหรับผลิตไฟฟาลง โดยในป 2579 จะมีสดั สวนของการใชกา ซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาลดลงเหลือประมาณ รอยละ 37 ซึง� จะสงผลใหในป 2579 จะมีความตองการใชกา ซธรรมชาติอยูในระดับประมาณ 4,344 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน จากที่การดำเนินโครงการโรงไฟฟาถานหินตามแผน PDP 2015 ในชวงป 2558 ทีผ่ า นมาจนถึงปจจุบนั นัน้ ไมสามารถดำเนินการไดตามแผน ประกอบกับการดำเนินงานตาม แผนพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan : AEDP) และ แผนอนุรักษพลังงาน (Energy Efficiency Plan : EEP) มีแนวโนมที่จะขับ เคลื่อนใหเกิดผลสัมฤทธิ์ลาชากวาแผน (สวนหนึ�งมาจากสาเหตุที่ราคาน้ำมันตกต่ำ) และ อาจจะสงผลใหไมสามารถดำเนินการใหบรรลุเปาหมายที่วางแผนไว จากเหตุผลดังกลาว ขางตน กระทรวงพลังงานจึงไดดำเนินการพิจารณาเชือ้ เพลิงทีจ่ ะนำมาใชในการผลิตไฟฟา ทดแทนโรงไฟฟาถานหินรวมถึง AEDP และ EEP ทีม่ แี นวโนมอาจจะไมเปนไปตามเปาหมาย โดยมีปจจัยในการพิจารณาในหลายมิติประกอบกันไมวาจะเปน ในดานความมั�นคงในการ จัดหาเชื้อเพลิง ความพรอมของโครงสรางพื้นฐานในการรองรับการจัดหาและจัดสง เชื้อเพลิง ตนทุนของเชื้อเพลิงซึ�งจะเปนพลังงานตั้งตนสำหรับผลิตไฟฟาที่จะไมสงผลให ตนทุนการผลิตไฟฟาเพิ�มสูงขึ้นจนกระทบตอความสามารถในการแขงขันของประเทศและ กระทบตอภาคประชาชน การยอมรับของประชาชน รวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตอ สภาวะแวดลอม ซึง� กระทรวงพลังงานไดทำการพิจารณาพบวาในปจจุบนั กาซธรรมชาติจะ เปนเชือ้ เพลิงสำหรับผลิตไฟฟาทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ จากทีป่ ระเทศมีโครงสรางพืน้ ฐานทีม่ คี วาม พรอม โครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติสำหรับสงเชือ้ เพลิงไปยังโรงไฟฟาทีส่ ำคัญ ประชาชน ใหความยอมรับมากกวาโรงไฟฟาถานหิน รวมถึงเปนเชื้อเพลิงที่สะอาดสงผลกระทบตอ ชุมชนและสภาวะแวดลอมต่ำ ประกอบกับในชวงปลายป 2558 ทีผ่ า นมา เกิดวิกฤตการณ ราคาน้ำมันโลกตกต่ำซึ�งสงผลใหราคากาซธรรมชาติทั้งในประเทศและในตลาดโลกมีราคา ลดลงจนอยูในระดับทีส่ ามารถแขงขันกับการผลิตไฟฟาโดยถานหิน ดังนัน้ กระทรวงพลังงาน จึงไดพิจารณาปริมาณความตองการใชกาซธรรมชาติที่จะมีปริมาณเพิ�มสูงขึ้นจากการนำ มาใชเพือ่ ผลิตไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาถานหินที่ไมเปนไปตามแผน PDP 2015 รวมถึงเพือ่ ทดแทนการดำเนินการ AEDP และ EEP ที่มีแนวโนมไมเปนไปตามเปาหมาย โดยมีราย ละเอียดสรุปไดดังน�้

10

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


(1) ความตองการใชกา ซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาทีป่ รับเพ�ม� สูงข�น้ จากแผน PDP 2015 ในกรณ�ฐาน (Base case) เน�อ� งจากจะมีการนำกาซธรรมชาติไปใชเปนเชือ้ เพลิงทดแทน การผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาถานหินที่ไมสามารถดำเนินการไดตามกำหนดการทีร่ ะบุไวใน แผน PDP 2015 (ตัวอยางเชน โรงไฟฟาถานหิน (IPP) ของบริษทั เนชัน� แนลเพาวรซบั พลาย) รวมถึงโรงไฟฟาถานหินทีม่ แี นวโนมจะดำเนินการลาชาจากกำหนดการตามแผน PDP 2015 กำลังผลิตติดตั้งรวมทั้งสิ้นประมาณ 3,340 เมกะวัตต (2) ความตองการใชกาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาที่ปรับเพ��มสูงข�้น จากการนำ กาซธรรมชาติไปใชในการผลิตไฟฟาทดแทนในกรณ�ที่แผน AEDP และ EEP ที่อาจจะ สามารถดำเนินการตามเปาหมายไดเพียงรอยละ 70 ทัง้ น�้ จากการนำกาซธรรมชาติไปใชในการผลิตไฟฟาทดแทนตามขางตน จะสงผลให ปริมาณความตองการใชกาซธรรมชาติ ในป 2579 ปรับเพิ�มขึ้นจากกรณ�ฐานที่มีความ ตองการใชกาซธรรมชาติอยูในระดับ 4,344 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ปรับเพิ�มขึ้นเปน ประมาณ 5,653 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

11


3) นำเขาในรูปแบบกาซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas: LNG) ผานทาง LNG Receiving Terminal (ปจจุบันมีอยู เพียงแหงเดียวไดแก Map Ta Phut LNG Terminal)

กาซธรรมชาติใหเปนไปตามทีก่ ำหนดไวตามแผนนัน้ ผูผ ลิตมีความ จำเปนตองลงทุนเพือ่ พัฒนาแหลงกาซธรรมชาติอยางตอเน�อ� งเพือ่ คงกำลังการผลิตไว จึงสงผลใหอาจเกิดความเสีย่ งทีอ่ ตั ราการผลิตกาซ ธรรมชาตินน้ั อาจจะลดต่ำลงได ดังนัน้ จึงมีความจำเปนตองมีการ บริหารจัดการเพือ่ ลดความเสีย่ งทีอ่ ตั ราการผลิตกาซธรรมชาติจาก แหลงผลิตในอาวไทยอาจจะมีการผลิตทีไ่ มตอ เน�อ� ง หรือไมสามารถ รักษาระดับอัตราการผลิตในระดับทีเ่ ปนอยูก อ นสัมปทานหมดอายุได ทั้งน�้จากประมาณการความตองการใชกาซธรรมชาติที่มีแนวโนม เพิ�มสูงขึ้นและประเด็นความเสี่ยงในการบริหารจัดการแหลงกาซ ธรรมชาติทส่ี มั ปทานจะสิน้ อายุลงดังกลาวขางตน สงผลกระทบตอ ปริมาณการจัดหากาซธรรมชาติและการจัดหา LNG ตามแผนบริหาร จัดการกาซธรรมชาติระยะยาว พ.ศ. 2558 - 2579 (Gas Plan 2015) ตองมีการปรับเปลีย่ นใหเหมาะสมและสอดคลองกับสถานการณความ ตองการใชกาซธรรมชาติและการจัดหากาซธรรมชาติที่จะเปลี่ยน แปลงไป

สำหรับการจัดหากาซธรรมชาติเพื่อรองรับปริมาณความตอง การใชกา ซธรรมชาติของประเทศทีค่ าดวาจะเพิม� สูงขึน้ เปน 5,653 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวันนัน้ จะตองมีการพิจารณาแนวทางการจัดหา กาซธรรมชาติใหเหมาะสม โดยจะมีประเด็นในการจัดหากาซ ธรรมชาติทต่ี อ งพิจารณาเพิม� เติม เน�อ� งจากการจัดหากาซธรรมชาติ จากอาวไทยจะยังคงมีความเสี่ยงและความไมชัดเจนในเรื่องของ การบริหารจัดการแหลงผลิตทีส่ มั ปทานจะสิน้ อายุลงในชวงป 2565 - 2566 แตยงั คงมีปริมาณสำรองเหลืออยูแ ละจะสามารถรักษาอัตรา การผลิตกาซธรรมชาติตอไปได แตการรักษาระดับอัตราการผลิต

(2) ทั�งนี้ในสวนของการพ�จารณาปรับแผนจัดหากาซธรรม ชาติและ LNG ตามแผน Gas Plan 2015 นั้น กรมเชื้อเพลิง ธรรมชาติ(ชธ.) และ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.) ไดมกี ารพิจารณาโดยคำนึงถึงประเด็นความเสีย่ งในเรือ่ งของการบริหาร จัดการแหลงผลิตในอาวไทยทีส่ มั ปทานจะหมดอายุลงในชวงป 2565 - 2566 โดยแบงออกเปน 2 กรณ� คือ กรณ�ทส่ี ามารถบริหารจัดการ ใหสามารถคงกำลังการผลิตตามสัญญาได ซึ�งจะกำหนดใหเปน กรณ�ฐานใหม (New Base Case) และกรณ�ไมเปนไปตามกรณ�ฐาน (Alternative Case) ซึ�งเปนกรณ�ที่กระทรวงพลังงานไมสามารถ

1.2 การจัดหากาซธรรมชาติของประเทศไทย (1) การจัดหากาซธรรมชาติของประเทศไทยในปจจุบันแบง การจัดหาออกเปน 3 สวน ไดแก 1) จากแหลงกาซธรรมชาติภายในประเทศทั้งบนบกและใน ทะเล (อาวไทย) รวมถึงพืน้ ทีพ่ ฒ ั นารวมระหวางประเทศ ผานทาง ระบบทอสงกาซธรรมชาติ 2) นำเขากาซธรรมชาติจากแหลงกาซธรรมชาติในประเทศ เพื่อนบาน (ประเทศเมียนมา) ผานทางระบบทอสงกาซธรรมชาติ

12

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


1) กรณีฐานใหม (New Base Case) เพื่อรองรับความตองการใชกาซธรรมชาติที่เพิ�มสูงขึ้นจากการที่โรงไฟฟาถานหินลาชา จะมี การปรับแผนจัดหากาซธรรมชาติและ LNG โดยมีสมมติฐานวา กระทรวงพลังงานจะสามารถบริหาร จัดการใหแหลงผลิตในอาวไทยทีส่ มั ปทานจะสิน้ อายุลงในชวงป 2565 - 2566 ยังคงสามารถผลิต ตอไปไดอยางตอเน�อ� ง โดยคาดวาในป 2565 ศักยภาพของประเทศสำหรับการจัดหากาซธรรมชาติ จากแหลงผลิตในอาวไทยจะอยูท ป่ี ระมาณ 3,227 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ทัง้ น�ใ้ นสวนของการนำเขา LNG นั้น คาดวาในป 2565 ประเทศจะมีความตองการนำเขา LNG เพื่อรองรับความตองการ ใชกาซธรรมชาติที่เพิ�มสูงขึ้นสูงกวาประมาณการความตองการ LNG ในแผน Gas Plan 2015 ทีป่ ระมาณ 8.9 ลานตันตอป เพิม� ขึน้ เปน 13.5 ลานตันตอป และคาดวาชวงทายแผนในป 2579 ประเทศจะตองการนำเขา LNG เพิม� สูงถึงประมาณ 31.3 ลานตันตอป (โดยจะมีการนำเขา LNG สูงสุดในปริมาณ 32.5 ลานตันตอป ในป 2576) 2) กรณีไมเปนไปตามกรณีฐาน (Alternative Case) เพื่อรองรับความตองการใชกาซธรรมชาติที่เพิ�มสูงขึ้นจากการที่โรงไฟฟาถานหินลาชา จะมี การปรับแผนจัดหากาซธรรมชาติและ LNG โดยมีสมมติฐานวาการจัดหากาซธรรมชาติจากแหลง ในอาวไทยมีการปรับเปลีย่ นไปจากแผน Gas Plan 2015 โดยประเทศจะมีนโยบายทีต่ อ งการยืดอายุ การผลิตของแหลงกาซธรรมชาติในอาวไทยใหสามารถยืดอายุการผลิตออกไปเปนเวลาอยางนอย 10 ป ซึง� หากตองการยืดอายุการผลิตออกไปน�จ้ ะสงผลใหมคี วามจำเปนตองลดอัตราการเรียกรับ กาซธรรมชาติจากแหลงในสัมปทานจะสิน้ อายุลงในชวงป 2565 - 2566 จะคงเหลือไมเกิน 1,500 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน โดยสำหรับในสวนของการนำเขา LNG คาดวาในป 2565 ประเทศจะมี ความตองการนำเขา LNG เพือ่ รองรับความตองการใชกา ซธรรมชาติทเ่ี พิม� สูงขึน้ รวมถึงเพือ่ ทดแทน ปริมาณการผลิตกาซธรรมชาติทล่ี ดลง ซึง� จะสงผลใหความตองการ LNG จะสูงกวาประมาณการ ความตองการ LNG ที่ระบุในแผน Gas Plan 2015 ที่ประมาณ 8.9 ลานตันตอป เพิ�มเปน 15.5 ลานตันตอป และคาดวาชวงทายแผนในป 2579 ประเทศจะตองการนำเขา LNG เพิม� สูงถึง 31.3 ลานตันตอป (โดยจะมีการนำเขา LNG สูงสุดในปริมาณ 31.8 ลานตันตอป ในป 2577) นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

13


(3) จากแผนจัดหากาซธรรมชาติทง�ั 2 กรณี ชธ. และ สนพ. พบวาในป 2565 ประเทศจะมีความตองการนำเขา LNG ในปริมาณ ประมาณ 13.5 – 15.5 ลานตันตอป และในชวงปลายแผนในป 2579 คาดวาประเทศจะมีความตองการนำเขา LNG เพิม� สูงขึน้ ถึง 31.3 ลานตันตอป ซึ�งประเทศจะมีความจำเปนตองมีการเตรียม ความพรอมโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการนำเขา LNG ใหมี ความสามารถทีจ่ ะรองรับการนำเขา LNG ในปริมาณดังกลาวน�้ได

แผนระบบรับสงและโครงสรางพ�น� ฐานกาซธรรมชาติ เพ��อความมั�นคง จากประมาณการความตองการใชกา ซธรรมชาติของประเทศไทยใน ระยะยาว (ป 2558 - 2579) และการจัดหากาซธรรมชาติของประเทศ ไทยในปจจุบนั รวมถึงคาดการณแนวโนมการจัดหากาซธรรมชาติ ในอนาคต จึงมีความจำเปนที่จะตองมีระบบรับสงและโครงสรางพื้นฐานกาซ ธรรมชาติทส่ี ามารถรองรับการจัดหาและจัดสงกาซธรรมชาติไดความ ตองการกาซธรรมชาติของประเทศ พรอมทัง้ เสริมสรางความมัน� คง ทางพลังงานของประเทศ โดยมีรายละเอียดแบงออกเปน 2 สวนดังน�้

14

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

สวนที่ 1 โครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติ (Natural Gas Pipeline Network) : มีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางความมั�นคง ในการจัดหาและจัดสงกาซธรรมชาติของประเทศซึ�งประกอบ ไปดวย - การปรับปรุงโครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติและโครงสราง พืน้ ฐานประกอบการจัดสงกาซธรรมชาติในปจจุบนั ใหสามารถรองรับ การจัดหาและจัดสงกาซธรรมชาติตามความตองการกาซธรรมชาติ ไดอยางปลอดภัยและเพียงพอตอความตองการของประเทศใน อนาคต - การขยายโครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติ เพือ่ รองรับการ จัดหาและจัดสงกาซธรรมชาติ ในระยะยาว • สวนที่ 2 โครงสรางพืน้ ฐานเพือ่ รองรับการจัดหา/นำเขากาซ ธรรมชาติเหลว (LNG Receiving Facilities) : มีวัตถุประสงค เพื่อรองรับการจัดหา/นำเขา LNG ในปริมาณที่สูงกวา 10 MTA ซึง� เปนการเตรียมความพรอมสำหรับการจัดหา LNG มาทดแทน การจัดหากาซธรรมชาติผา นทางโครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติ ทัง้ จากในประเทศ (แหลงในอาวไทยและแหลงบนบก) และนำเขา จากประเทศเพื่อนบาน ที่มีแนวโนมลดลงและหมดไปในอนาคต


สรุปแผนระบบรับสงและโครงสรางพ�น� ฐานกาซธรรมชาติเพ�อ� ความมัน� คง ที่ กพช.และ ครม. เห็นชอบใหดำเนินโครงการ โครงการ กำหนด สวนที่ 1 : โครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติ (Natural Gas Pipeline Network) การลงทุนในระยะที่ 1 1.1 การปรับปรุงแทนผลิต อุปกรณ และ ระบบทอ เพื่อรองรับการสง กาซธรรมชาติใหแก โรงไฟฟาขนอมใหม 1.2 โครงการระบบทอสงกาซธรรมชาติ ในทะเล เชื่อม แหลงอุบล (อาวไทย) 1.3 โครงการสถาน�เพิ�มความดันกาซธรรมชาติ (Compressor) บนระบบ ทอสงกาซธรรมชาติ วังนอย-แกงคอย การลงทุนในระยะที่ 2 1.4 โครงการระบบทอสงกาซธรรมชาติ บนบกเสนที่ 5 จาก ระยอง ไปยัง ระบบทอสงกาซธรรมชาติ ไทรนอย–โรงไฟฟาพระนครเหน�อ/พระนครใต 1.5 โครงการระบบทอสงกาซธรรมชาติ บนบก จากสถาน�ควบคุมความดัน กาซธรรมชาติ ราชบุรี-วังนอย ที่ 6 (RA#6) ไปยัง จ.ราชบุรี

กำหนด แลวเสร็จ 2560 2562 2562 2564 2564

หมายเหตุ

ครม. เห็นชอบใหดำเนิน โครงการโดยมอบหมาย ให ปตท. เปนผูดำเนิน โครงการ (30 มิ.ย. 2558)

ครม. เห็นชอบใหดำเนิน โครงการโดยมอบหมาย ให ปตท. เปนผูดำเนิน โครงการ (27 ต.ค. 2558)

สวนที่ 2 : โครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการจัดหา/นำเขากาซธรรมชาติเหลว (LNG Receiving Facilities) ครม. เห็นชอบใหดำเนิน 2.1 โครงการขยายกำลังการแปรสภาพ LNG ของ Map Ta Phut LNG 2562 โครงการโดยมอบหมาย Terminal เพิ�มเติมอีก 1.5 ลานตันตอป ให ปตท. เปนผูดำเนิน 2.2 โครงการ LNG Receiving Terminal แหงใหม จ.ระยอง 2565 โครงการ 12 ก.ค. 2559 สำหรับรองรับการนำเขา LNG ในปริมาณ 5 ลานตันตอป ครม. เห็นชอบให กฟผ. 2.3 โครงการ Floating Storage and Regasification Unit (FSRU) 2567 ไปศึกษาความเหมาะสม พื้นที่อาวไทยตอนบน สำหรับรองรับการนำเขา LNG ในป ดานเทคนิคและเศรษฐศาสตร ปริมาณ 5 ลานตันตอป (12 ก.ค. 2559)

2.1 สวนที่ 1 : โครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติ (Natural Gas Pipeline Network) การลงทุนระยะที่ 1 โครงการที่ 1.1 : การปรับปรุงแทนผลิต อุปกรณ และ ระบบทอ เพือ่ รองรับการสงกาซธรรมชาติ ใหแก โรงไฟฟาขนอมใหม • รายละเอียดโครงการและกำหนดแลวเสร็จในเบื้องตน - ประเมินสภาพ ตรวจสอบ และ ปรับปรุงระบบทอสงกาซธรรมชาติและอุปกรณประกอบ ระบบทอสงกาซธรรมชาติในทะเลจาก ERP - โรงแยกกาซธรรมชาติ ขนอมขนาด 24 นิ้ว ระยะทางประมาณ 161 กิโลเมตร อุปกรณประกอบการสงกาซธรรมชาติ อาทิ อุปกรณบนแทนผลิต ERP, Metering Station รวมถึง PIG Launcher-Receiver หนวยควบคุมจุดกลัน� ตัวสำหรับควบคุมคุณภาพกาซธรรมชาติ (DPCU) ทีช่ ายฝง อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช - ประมาณการเงินลงทุนรวม 3,400 ลานบาท - กำหนดแลวเสร็จในป 2560

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

15


2.1 สวนที่ 1 : โครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติ (Natural Gas Pipeline Network) การลงทุนระยะที่ 1 โครงการที่ 1.2 : โครงการระบบทอสงกาซธรรมชาติ เชือ่ มในทะเล แหลงอุบล รายละเอียดโครงการและกำหนดแลวเสร็จในเบื้องตน ดำเนินการวางทอสงกาซธรรมชาติเชื่อมจากแหลงผลิตมายังระบบทอสงกาซธรรมชาติสายประธาน ในทะเล เสนที่ 3 ของ ปตท. ทั้งน�้มีรายละเอียดโครงการ ดังน�้ กอสรางทอสงกาซธรรมชาติในทะเลขนาด 16 นิว้ ระยะทางประมาณ 76 กิโลเมตร ความสามารถในการสงกาซธรรมชาติ 100 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน กำหนดสงกาซธรรมชาติไดในป 2562 โครงการที่ 1.3 : โครงการสถาน�เพิม� ความดันกาซธรรมชาติ (Compressor) บนระบบทอสงกาซธรรมชาติ วังนอย-แกงคอย • รายละเอียดโครงการและกำหนดแลวเสร็จในเบื้องตน - กอสรางสถาน�เพิม� ความดันกาซธรรมชาติบน ระบบทอสงกาซธรรมชาติ วังนอย-แกงคอย - กำลังการสงกาซธรรมชาติของสถาน�เพิม� ความดันกาซธรรมชาติ รวมประมาณ 39 MW - กำหนดสงกาซธรรมชาติไดในป 2562 การลงทุนระยะที่ 2 (ชวงป 2558 - 2564) โครงการที่ 1.4 : โครงการระบบทอสงกาซธรรมชาติ บนบกเสนที่ 5 จาก ระยอง ไปยัง ทอสงกาซธรรมชาติไทรนอยโรงไฟฟาพระนครเหน�อ/พระนครใต • รายละเอียดโครงการและกำหนดแลวเสร็จในเบื้องตน

จุดเริ�มตนโครงการ

จุดสิ้นสุดโครงการ

ขนาดทอโดยประมาณ 3 (นิว้ ) ระยะทางโดยประมาณ 3 (กิโลเมตร) กำหนดแลวเสร็จ

สวนที่ 1 จ.ระยอง 1

โครงการระบบทอสงกาซธรรมชาติบนบก เสนที่ 5 สวนที่ 2 สวนที่ 3 จุดแยกจากจุดแยกจากทอสง จุดสิ้นสุดโครงการทอเสนที่ กาซธรรมชาติ บนบก เสนที่ สวนที่ 1 (ระบบทอสงกาซฯ 5 (ประมาณ KP 150 2) นครสวรรค ในพื้นที่ ไปยัง โรงไฟฟาบางปะกง จ.พระนครศรีอยุธยา)

ระบบทอสงกาซฯ นครสวรรค (ในพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา)

โรงไฟฟาบางปะกง

42

36

สถาน�ควบคุมกาซธรรมชาติ ราชบุรี-วังนอย 6 (RA#6) ซึง� เปนตำแหนงเริม� ตนของระบบ ทอสงกาซธรรมชาติ ไทรนอย-โรงไฟฟาพระนครเหน�อ/ พระนครใต 42

315

25

95

2564

หมายเหตุ : 1 ระบบทอสงกาซธรรมชาติบนบก เสนที่ 5 รับกาซธรรมชาติจาก Map Ta Phut LNG Terminal และ LNG Terminal แหงใหม (จ.ระยอง) 2 ตำแหนงประมาณ KP150 นั้นเปนการประเมินในเบื้องตน ทั้งน�้อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมเมื่อดำเนินการกอสราง 3 ขนาดทอ และ ระยะทาง เปนการประเมินในเบื้องตนอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมเมื่อดำเนินการออกแบบจริง ทอสงกาซธรรมชาติบนบก เสนที่ 5 มีความสามารถในการจัดสงกาซธรรมชาติประมาณ 800 MMscfd

16

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


โครงการที่ 1.5 : โครงการระบบทอสงกาซธรรมชาติ บนบก จากสถาน�ควบคุมความดัน กาซธรรมชาติ ราชบุรี-วังนอย ที่ 6 (RA#6) ไปยัง จ.ราชบุรี • รายละเอียดโครงการและกำหนดแลวเสร็จในเบื้องตน โครงการระบบทอสงกาซธรรมชาติ บนบก จากสถาน�ควบคุมความดัน กาซธรรมชาติ ราชบุรี-วังนอย ที่ 6 (RA#6) ไปยัง จ.ราชบุรี จุดเริ�มตนโครงการ จุดสิ้นสุดโครงการ ขนาดทอโดยประมาณ 3 (นิว้ ) ระยะทางโดยประมาณ 3 (กิโลเมตร) กำหนดแลวเสร็จ

พืน้ ที่ในบริเวณ RA#6 อ.ไทรนอย จ.นนทบุรี ระบบทอสงกาซธรรมชาติ ราชบุรี (จาก ชายแดน ไทย-เมียนมาร ไปยัง จ.ราชบุร)ี (ในพืน้ ที่ จ.ราชบุร)ี 30 120 2564

หมายเหตุ : * ขนาดทอสงกาซธรรมชาติ และ ระยะทางเปนการประเมินในเบือ้ งตนอาจมีการปรับเปลีย่ นตามความเหมาะสมเมือ่ ดำเนินการออกแบบจริง

2.2 สวนที่ 2 : โครงสรางพ��นฐานเพ��อรองรับการจัดหา/นำเขากาซธรรมชาติเหลว (LNG Receiving Facilities) โครงการลำดับที่ 2.1 : โครงการขยายกำลังการแปรสภาพ LNG ของ Map Ta Phut LNG Terminal • รายละเอียดโครงการ งบประมาณการดำเนินการ และ กำหนดแลวเสร็จในเบื้องตน - กอสรางขยายหนวยแปรสภาพ LNG จากของเหลวเปนกาซ รวมถึงอุปกรณประกอบของ Map Ta Phut LNG Receiving Terminal จ.ระยอง ใหสามารถรองรับ LNG ในปริมาณ 1.5 ลานตันตอป (เทียบเทากาซธรรมชาติประมาณ 210 MMscfd) - กำหนดสงกาซธรรมชาติไดในป 2562

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

17


โครงการลำดับที่ 2.2 : โครงการ LNG Receiving Terminal แหงใหม จ.ระยอง รายละเอียดโครงการและกำหนดแลวเสร็จในเบื้องตน - กอสราง LNG Receiving Terminal โครงการ LNG Receiving Terminal แหงใหม ในพืน้ ที่ จ.ระยอง เพือ่ รองรับการนำเขา กักเก็บและแปรสภาพ LNG จากของเหลวเปนกาซ ในระยะที่ 1 ที่สามารถรองรับการแปรสภาพ LNG เปนกาซในปริมาณ 5 ลานตันตอป - การดำเนินงานในระยะที่ 1 ประกอบไปดวย การกอสราง ทาเทียบรับเรือ LNG ถังกักเก็บ LNG (อยางนอย 2 ถัง เพือ่ ใหเกิดความยืดหยุนในการบริหารจัดการ LNG Receiving Terminal) - หนวยแปรสภาพ LNG จากของเหลวเปนกาซเพื่อรองรับ การแปรสภาพ LNG ในปริมาณ 5 ลานตันตอป (เทียบเทา กาซ ธรรมชาติประมาณ 700 MMscfd) - ดำเนินการออกแบบและกอสรางในระยะที่ 1 โดยเตรียมความ พรอมของฐานรากทัง้ หมดใหมคี วามพรอมทีจ่ ะสามารถขยาย กำลังการแปรสภาพ LNG จากของเหลวเปนกาซเพิม� ไดอกี 2.5 ลานตัน (รวมกำลังการแปรสภาพ LNG สูงสุดเปน 7.5 ลานตันตอป หรือ เทียบเทา 1,050 MMscfd) - อุปกรณประกอบการดำเนินการ LNG Receiving Terminal รวมถึงระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ ที่ใชสำหรับกระบวนการ รองรับการนำเขา และแปรสภาพ LNG เพือ่ เสริมสรางความ มัน� คงใหแกการดำเนินการ (Operate) ของ LNG Receiving Terminal - กำหนดสงกาซธรรมชาติไดในป 2565

18

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

โครงการลำดับที่ 2.3 : โครงการ FSRU พื้นที่อาวไทยตอนบน • รายละเอียดโครงการและกำหนดแลวเสร็จในเบื้องตน - เปนโครงการกอสรางเรือ FSRU เพือ่ รองรับการนำเขาและ แปรสภาพ LNG จากของเหลวเปนกาซในปริมาณ 5 ลาน ตันตอป - ทาเทียบเรือเพือ่ รองรับการจอดของ FSRU รวมถึงกำแพง/ อุปกรณปองกันคลื่นในทะเล (Breakwater) - ระบบทอสงกาซธรรมชาติเพื่อเชื่อมจาก FSRU ไปยังโรง ไฟฟาพระนครใตและเชื่อมโยงโครงขายระบบทอสงกาซ ธรรมชาติของประเทศในปจจุบัน ระยะทางประมาณ 40 กิโลเมตร - กำหนดสงกาซธรรมชาติไดในป 2567 - ใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไปศึกษา ความเหมาะสมดานเทคนิคและเศรษฐศาสตรของโครงการ สำหรับรองรับการนำเขา LNG ในปริมาณ 5 ลานตันตอป เพือ่ จัดสงกาซธรรมชาติใหแกโรงไฟฟาพระนครใตพระนครเหน�อ รวมทั้งจัดสงกาซธรรมชาติเขาสูโครงขายระบบทอสง กาซธรรมชาติ


อนุรักษพลังงาน

โครงการสงเสร�ม

การอนุรักษพลังงาน

ในภาคอุตสาหกรรม นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

19


การดำเนินงานที่ผานมา ในปงบประมาณ 2557

กองทุนเพ�่อสงเสร�มการอนุรักษพลังงาน โดย สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) รวมกับ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) ได ดำเนินโครงการสงเสร�มการอนุรักษพลังงานใน ภาคอุตสาหกรรม เพ�อ่ สงเสร�มการอนุรกั ษพลังงาน ในภาคอุตสาหกรรม และจ�งใจใหผูประกอบการ SMEs ดำเนินการประหยัดพลังงาน เพ�่อแลกรับ สิทธิประโยชนดานพลังงาน 4 เดง โดยตั้งเปามี ผูเ ขารวมโครงการไมนอ ยกวา 500 แหง ลดตนทุน คาไฟ 500,000 บาทตอแหงตอป

ส.อ.ท.ไดรบั การสนับสนุนจาก กองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน โดย สนพ. ใน การดำเนินโครงการจัดตัง้ ศูนยการเผยแพร แนวทางการอนุรกั ษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม เพื่อเผยแพรแนวทางการอนุรักษพลังงาน ใหกับผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมทั�ว ประเทศ พรอมทั้งรับฟงความคิดเห็นและ ความตองการของภาคอุตสาหกรรม ซึง� จาก การดำเนินงานพบวา ภาคอุตสาหกรรมให การตอบรับถึงความยินดีที่ภาครัฐเล็งเห็น ความสำคัญของการอนุรักษพลังงานในทุก พืน้ ทีท่ ว�ั ประเทศ และเสนอแนะความตองการ ของภาคอุตสาหกรรมในรูปแบบตางๆ ใหภาครัฐ ชวยสงเสริม อาทิเชน การสนับสนุนเงินทุน การสนับสนุนผูเชี่ยวชาญมาใหคำแนะนำ การสนับสนุนดานขอมูลความรู และการ สนับสนุนในดานการสรางจิตสำนึกใหกับ พนักงานภายในองคกร เปนตน

เพ�่อใหการดำเนินงานมีความตอเนื่อง ส.อ.ท. ในฐานะตัวแทนของภาค อุตสาหกรรมที่มีสมาชิกกวา 8,000 แหงทั่วประเทศ จึงเล็งเห็นถึงโอกาสทีจ่ ะชวยสงเสริมจูงใจให ผูป ระกอบการภาคอุตสาหกรรมเริม� ตระหนัก ถึงความสำคัญ และเริ�มนำแนวทางการ อนุรักษพลังงานมาประยุกต ใชดวยตนเอง อยางจริงจังเพือ่ ความยัง� ยืน จึงเสนอขอรับ การสนับสนุนจาก กองทุนเพื่อสงเสริมการ อนุรักษพลังงาน ดำเนิน “โครงการสงเสริม การอนุรักษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม” เพือ่ เปนการเริม� ปลูกฝงใหการอนุรกั ษพลังงาน เปนปจจัยสำคัญทีภ่ าคอุตสาหกรรมจะตอง ตระหนักถึงอยางตอเน�อ� ง และยัง� ยืนตลอดไป

20

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


โครงการสงเสร�มการอนุรักษพลังงาน ในภาคอุตสาหกรรม

จะรวบรวมแหลงความรูดานการอนุรักษ พลังงานที่มีอยูในปจจุบัน รวมกับขอมูล ความรูที่พัฒนาขึ้นจากโครงการจัดตั้งศูนย การเผยแพรแนวทางการอนุรักษพลังงาน ในภาคอุ ต สาหกรรม ที ่ น ำมาขยายผล เผยแพรใหผปู ระกอบการผานกิจกรรมตางๆ การเผยแพรแนวทางการอนุรกั ษ พลั ง งานเพื ่ อ ส ง เสริ ม ให ผ ู  ประกอบการขนาดกลาง และขนาดยอม (SMEs)

สามารถนำความรูด า นการอนุรกั ษพลังงาน ไปประยุกตใชดวยตนเองรวมกับคำแนะนำ ของผูเชี่ยวชาญในแตละพื้นที่ ซึ�งประกอบ ไปดวยวิศวกร และผูแทนจากหนวยงานที่ เกี่ยวของดานพลังงานและอุตสาหกรรม ผานทางศูนยการเผยแพรแนวทางการอนุรกั ษ พลังงานประจำกลุม จังหวัด (กรุงเทพฯ และ ศูนยการเผยแพรฯ 18 แหง ตามภูมภิ าคตางๆ ทั�วประเทศ) โดยมีรายละเอียดดังน�้

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

21


โครงการสงเสร�มการอนุรักษพลังงาน ในภาคอุตสาหกรรม มีวิธีการสนับสนุนใหผูประกอบการ SMEs ใหเริ�มประหยัดพลังงานไดดวย 4 ขั้นตอน งายๆ ดวยการสะสมคะแนน เรียกวา “Energy Points” โดยการสะสมคะแนนเริ � ม จาก คะแนนที่ 1 ผูประกอบการหรือผูบริหาร ประกาศนโยบายการอนุรกั ษพ ลังงาน (Policy) และประชาสัมพันธ ใหพนักงานทราบโดย ทัว� ถึง

22

(Training) เขาเยีย่ มชม (Site Visit) โรงงาน ตนแบบหรือโรงงานอนุรักษพลังงานดีเดน (Model Factory) และไดรับคำปรึกษาจาก ผูเ ชีย่ วชาญ (One Day Audit) เปนตน เพือ่ ขอรับการสนับสนุนเงินลงทุนในการปรับปรุง คะแนนที่ 3 ผูป ระกอบการหรือ Energy Man หรือเปลี่ยนแปลงอุปกรณเพื่อการประหยัด ดำเนินการวางแผนการอนุรกั ษพลังงานประจำป พลั ง งานในอั ต ราร อ ยละ 30 แต ไ ม เ กิ น (Planning) เพือ่ ดำเนินการลดการใชพลังงาน 300,000บาท ตอแหง ในการปรับปรุงหรือ เปลีย่ นแปลงเครือ่ งจักร ในโรงงาน อนุรักษพลังงาน (Energy Man) เพื่อเปน ผูติดตอประสานงานกับผูบริหาร พนักงาน หนวยงานตางๆ ภายนอก เพื่อดำเนินการ อนุรกั ษพ ลังงานได

คะแนนที่ 2 ผูประกอบการหรือผู บริหาร ดำเนินการแตงตั้งผูประสานงานดานการ

คะแนนที่ 4 ผูประกอบการหรือผู บริหาร ตองดำเนินการทบทวนแผนการอนุรักษ พลังงาน (Review Plan) หลังจากไดรับ ความรูตางๆ ดานการอนุรักษผูพลังงาน เช น การอบรมให ความรู  ด  า นพลั ง งาน

โดยผูป ระกอบการ SMEs ตองสะสมคะแนน ใหครบทั้ง 3 คะแนน จึงจะสามารถนำมา แลกรับสิทธิประโยชนดานพลังงานตางๆ และดำเนินการสะสมคะแนนที่ 4 ได โดย มีรายละเอียดขั้นตอนดังน�้

เปาหมายโครงการ ตลอดระยะเวลา 12 เดือน

5 ktoe/ป หรือคิดเปนการลดตนทุนคาไฟฟา 500,000 บาท/แหง/ป

ส.อ.ท. จะสงเสริมใหผปู ระกอบการ SMEs ที่สนใจเขารวมโครงการ ดำเนินกิจกรรม การอนุรักษพลังงานใหเกิดขึ้นอยางเปน รูปธรรมดวยตนเอง โดยมีผูประกอบการ SMEs เขารวมโครงการไมนอ ยกวา 500 แหง และมีผลประหยัดดานพลังงานไมนอยกวา

สนพ. ขอเชิญชวนผูประกอบการ SMEs มารวมกันชวยชาติประหยัดพลังงาน โดย สามารถเริม� สะสม Energy Point พรอมกัน ไดตง้ั แตวนั พฤหัสบดีท่ี 28 กรกฎาคม 2559 ถึงวันจันทรที่ 17 ตุลาคม 2559 น�้เทานั้น หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ � ม เติ ม ได ท ี ่

สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โทร 02-345-1253 เว็บไซต www.iie.or.th หรือ ติดตอสภาอุตสาหกรรมจังหวัด 18 แหง (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลพบุรี ฉะเชิงเทรา นครปฐม เพชรบุรี สุราษฎรธาน� ภูเก็ต สงขลา ชลบุรี อุดรธาน� สกลนคร ขอนแกน อุบลราชธาน� นครราชสีมา เชียงใหม เชียงราย พิษณุโลก และ นครสวรรค)

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

แหลงขอมูล 1. สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 2. สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย















สถานการณพลังงาน

สถานการณพลังงานไทย ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 และแนวโนมป 2559

1. สถานการณการใชพลังงาน 6 เดือนแรกของป 2559 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ไดจดั ทำสถานการณการใชพลังงาน 6 เดือนแรก ของป 2559 โดยภาพรวมการใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน 6 เดือนแรกของป 2559 คาดวา เพิ�มขึ้นรอยละ 2.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ซึ�งสอดคลองกับที่สำนักงานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) รายงานวาเศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรก ขยายตัวรอยละ 3.2 และป 2559 เศรษฐกิจไทยจะขยายตัวรอยละ 3.0 - 3.5 โดยสาเหตุหลักมา จากการใชจา ยและการลงทุนภาครัฐทีข่ ยายตัวอยางตอเน�อ� งโดยเฉพาะการลงทุนยกระดับโครง สรางพืน้ ฐานขนาดใหญดา นการคมนาคมขนสง และจำนวนนักทองเทีย่ วจากตางประเทศที่ จะเดิน ทางมาทองเที่ยวในประเทศไทยเพิ�มมากขึ้น ประกอบกับราคาน้ำมันที่คาดวาจะอยูในระดับต่ำ

1.1 ความตองการใชพลังงานขั้นตน ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 อยูที่ระดับ 2,155 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 2.7 โดยเพิม� ขึน้ ทุกประเภทพลังงานตาม ภาวะเศรษฐกิจทีค่ าดวาจะขยายตัว ยกเวนการใชกา ซธรรมชาติ ซึง� ลดลงรอยละ 1.0 เน�อ� งจาก แหลงยาดานาไดหยุดจายกาซธรรมชาติไปเมื่อวันที่ 25 - 28 กุมภาพันธ 2559 และวันที่ 10 19 เมษายน 2559 และแหลงซอติกา หยุดจายกาซธรรมชาติไปเมือ่ วันที่ 19 - 28 มีนาคม 2559 ในขณะเดียวการใชน้ำมันเพิ�มขึ้นรอยละ 4.8 และการใชถานหินเพิ�มขึ้นรอยละ 4.7 จากการที่ ภาคอุตสาหกรรมใชถา นหินทดแทนเชือ้ เพลิงชนิดอืน่ สวนการใชลกิ ไนตเพิม� ขึน้ รอยละ 5.1 ใน ขณะที่การใชพลังน้ำ/ไฟฟานำเขาเพิ�มขึ้นรอยละ 28.1

36

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ปริมาณการใช น้ำมัน กาซธรรมชาต ถานหิน ลิกไนต พลังน้ำ / ไฟ


ช

ติ

ฟฟานำเขา

การใชพลังงานขั�นตน

ป

2556

2557

ปริมาณการใช น้ำมัน กาซธรรมชาติ ถานหิน ลิกไนต พลังน้ำ / ไฟฟานำเขา อัตราการเปลี่ยนแปลง (% yoy) น้ำมัน กาซธรรมชาติ ถานหิน ลิกไนต พลังน้ำ / ไฟฟานำเขา

2,010 730 909 226 101 46 1.3 2.8 2.2 -2.9 2.5 -17.6

2,053 734 916 262 97 44 2.1 0.6 0.8 16.1 -3.3 -3.6

หนวย:พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน ม.ค. - มิ.ย P 2558 2558 2559 2,155 2,099 2,080 812 775 767 917 926 919 291 277 274 84 80 78 53 41 41 2.7 1.5 1.3 4.8 3.5 4.5 -1.0 1.7 0.3 4.7 9.5 4.8 5.1 -22.9 -20.2 28.1 -20.3 -5.8

หมายเหตุ : P ประมาณการขอมูลเดือนมิถุนายน 2559 (เบื้องตน)

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

37


สัดสวนการใชพลังงานเช�งพาณิชยขันตน ม.ค. - มิ.ย. 2559 ลิกไนต 4 %

พลังน้ำ/ไฟฟา นำเขา 2%

ถานหิน นำเขา 14%

กาซธรรมชาติ 42%

น้ำมัน 38%

1.2 สถานการณพลังงานแตละชนิด 1) การใชน้ำมันสำเร็จรูปในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 มี การใชเพิ�มขึ้นรอยละ 5.0 อยูที่ระดับ 25,276 ลานลิตรโดยการใช เบนซินเพิม� ขึน้ รอยละ 11.6 ซึง� ขยายตัวในระดับสูงเน�อ� งจากราคา ขายปลีกน้ำมันในประเทศทีย่ งั คงอยูในระดับต่ำตามราคาตลาดโลก ประกอบกับผูใ ชรถยนต LPG และ NGV หันกลับมาใชนำ้ มันมาก ขึน้ เน�อ� งจากราคาถูกและมีความสะดวกดานสถาน�บริการทีม่ ที ว�ั ถึง มากกวา สำหรับการใชดีเซลเพิ�มขึ้นรอยละ 4.2 เน��องจากราคาที่ อยูในระดับต่ำ การใชนำ้ มันเครือ่ งบินเพิม� ขึน้ รอยละ 6.1 ตามการ ขยายตัวของภาคการทองเทีย่ ว สวนน้ำมันเตาการใชเพิม� ขึน้ รอยละ 22.8 โดยสวนใหญใชเปนเชื้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรม และใช เปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา 2) การใช LPG ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 มีการใชลดลง รอยละ 11.5 เน��องจากความตองการใชที่ลดลงในสาขาเศรษฐกิจ เน��องจากการใช LPG ในภาคครัวเรือนมีสัดสวนสูงสุดรอยละ 34 มีการใชลดลงรอยละ 0.1 เปนการลดลงอยางตอเน�อ� งตัง้ แตเริม� ปรับ โครงสรางราคาขายปลีก LPG ใหสะทอนตนทุนที่แทจริง สวน อุตสาหกรรมปโตรเคมี มีสัดสวนการใชรอยละ 28 มีการใชลดลง รอยละ 23.8 เน�อ� งจากมีการใช แนฟทาเปนวัตถุดบิ แทนการใช LPG ขณะเดียวกันการใชภาคขนสงมีสัดสวนรอยละ 25 มีการใชลดลง รอยละ 15.6 จากราคาน้ำมันทีต่ ำ่ ลง ขณะทีภ่ าคอุตสาหกรรม และ การใชเองภายในโรงกลั�น มีการใชเพิ�มขึ้นรอยละ 2.5 และรอยละ 10.2 ตามลำดับ

38

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


การใชน้ำมันสำเร�จรูป หนวย:ลานลิตร ป

2556

2557

2558

ปริมาณการใช เบนซิน ดีเซล กาซ+เครื่องบิน น้ำมันเตา LPG อัตราการเปลี่ยนแปลง (% yoy) เบนซิน ดีเซล กาซ+เครื่องบิน น้ำมันเตา LPG

45,894 8,195 20,907 5,573 2,175 9.044 2.6 6.4 1.6 9.2 -8.9 1.1

46,170 8,506 21,084 5,524 2,093 8,963 0.6 3.8 0.8 -0.9 -3.8 -0.9

48,146 9,632 21,942 6,044 2,062 8,466 4.3 13.2 4.1 9.4 -1.5 -5.5

ม.ค. - มิ.ย. P

2558

2559

24,080 4,663 11,117 3,026 1,029 4,245 3.5 14.0 2.7 7.8 -7.3 -4.4

25,276 5,204 11,585 3,211 1,262 4,014 5.0 11.6 4.2 6.1 22.8 -5.5

หมายเหตุ 1.P ประมาณการขอมูลเดือนมิถุนายน 2559 (เบื้องตน) 2. ไมรวมการใช LPG ที่ใชเปน Feed stocks ในปโตรเคมี

การใช LPG,โพรเพนและบิวเทน หนวย:ลานลิตร ป

2556

2557

2558

การใช ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต อุตสาหกรรมปโตเคมี ใชเอง อัตราการเปลี่ยนแปลง (% yoy) ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต อุตสาหกรรมปโตเคมี ใชเอง

7,525 2,409 602 1,775 2,641 98 1.9 -20.9 -1.9 67.3 -3.4 -10.6

7,523 2,188 577 1,974 2,675 110 -0.1 -9.2 -4.2 11.2 1.3 11.8

6,695 2,094 594 1,731 2,124 153 -11.0 -4.3 3.0 -12.3 -20.6 39.3

ม.ค. - มิ.ย. P

2558

2559

3,426 1,035 294 891 1,133 72 -8.0 -6.0 4.5 7.7 -14.6 44.0

3,030 1,034 301 752 863 79 -11.5 -0.1 2.5 -15.6 -23.8 10.2

หมายเหตุ P ประมาณการขอมูลเดือนมิถุนายน 2559 (เบื้องตน) นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

39


3) ไฟฟา การใชไฟฟา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2559 มีปริมาณ 90,802 กิกะวัตตชว�ั โมง เพิม� ขึน้ รอยละ 5.4 สาเหตุเน�อ� งจากสภาพอากาศ ทีร่ อ นจัดเปนเวลานาน ประกอบกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทีม่ แี นวโนมปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น คาเอฟที ตัง้ แตเดือนพฤษภาคม 2559 ไดมกี ารปรับโครงสรางคาไฟฟาของประเทศไทย ทำให คาเอฟทีเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2559 อยูท อ่ี ตั รา -33.29 สตางคตอ หนวย ลดลงจากเดิม ที่ระดับ- 28.49 สตางคตอหนวย

คาไฟฟาตามสูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) เดือนเรียกเก็บ ม.ค. 58 - เม.ย. 58 พ.ค. 58 - ส.ค. 58 ก.ย. 58 - ต.ค. 58 พ.ย. 58 - ธ.ค. 58 ม.ค. 59 - เม.ย. 59 พ.ค. 59 - ส.ค. 59

FT ขายปลีก 58.96 49.61 46.38 -3.23 -4.80 -33.29

เปลี่ยนแปลง -10.04 -9.35 -3.23 -49.61 -1.57 -28.49

2. แนวโนมการใชพลังงานป 2559 แนวโนมการใชพลังงานป 2559 จัดทำขึ้นภายใตสมมติฐานการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่รอยละ 3.0 - 3.5 จากการประมาณการของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) โดยมีปจจัยสนับสนุนจากการสงออกและการทองเที่ยวที่คาดวาจะปรับตัวดีขึ้นตามการฟนตัวของ เศรษฐกิจโลก รวมทัง้ การลงทุนของภาคเอกชนและภาครัฐ ประกอบกับการลดลงของราคาน้ำมันดิบ ในตลาดโลกซึ�งคาดวา ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยจะอยูในชวง 35 - 45 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยจะอยูในชวง 35.5 -36.5 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ และจำนวนนักทองเที่ยว อยูที่ 32.5 – 34.0 ลานคน ความตองการพลังงานเชิงพาณิชยขน้ั ตน โดยภาพรวมการใชพลังงานป 2559 คาดวาจะเพิม� ขึน้ รอยละ 2.6 ตามภาวะเศรษฐกิจทีค่ าดวาจะขยายตัว โดยทีค่ วามตองการน้ำมันจะเพิม� ขึน้ รอยละ 4.4 การใชถา นหินและ ลิกไนตจะเพิม� ขึน้ รอยละ 1.8 และ 3.0 ตามลำดับ และการใชพลังน้ำ/ไฟฟานำเขา เพิม� ขึน้ รอยละ 36.5 ในขณะทีก่ ารใชกา ซธรรมชาติลดลงรอยละ 0.3 ทัง้ น�ก้ ารใชกา ซธรรมชาติจะลดลง เน��องจากแหลง JDA จะหยุดซอมบำรุงประจำประหวางวันที่ 20 – 31 สิงหาคม 2559 น้ำมันสำเร็จรูป คาดวาการใชน้ำมันสำเร็จรูปป 2559 จะเพิ�มขึ้นรอยละ 4.4 โดยการใชน้ำมัน เบนซินเพิ�มขึ้นรอยละ 9.7 และการใชน้ำมันดีเซลจะเพิ�มขึ้นรอยละ 3.2 จากราคาขายปลีกที่คาดวา จะยังคงอยูในระดับต่ำ สวนการใชนำ้ มันเครือ่ งบินคาดวาจะเพิม� ขึน้ รอยละ 5.7 ตามการขยายตัวของ ภาคการทองเทีย่ ว รวมทัง้ การใชนำ้ มันเตาจะเพิม� ขึน้ รอยละ 22.6 ขณะทีก่ ารใช LPG จะลดลงรอยละ 4.3 มาอยางตอเน��อง การใชไฟฟาป 2559 คาดวาการใชไฟฟาป 2559 จะมีแนวโนมเพิ�มขึ้นรอยละ 3.9 เน��องจาก สภาพอากาศที่รอนจัดเปนเวลานาน และภาวะเศรษฐกิจที่คาดวาจะปรับตัวดีขึ้น

40

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


สถานการณพลังงานไทย ในชวง 3 เดือนแรกของป 2559

ชวง 3 เดือนแรกของป 2559 การใชพลังงานเชิงพาณิชยขน้ั สุดทายเพิม่ ขึน้ รอยละ 4.7 สอดคลอง กับภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ปรับตัวดีขึ้นจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐการขยาย ตัวของภาคบริการและการทองเที่ยว ประกอบกับราคาพลังงานที่ยังคงอยูในระดับต่ำ จากอุปทาน สวนเกินในตลาดโลก โดยเปนการเพิม่ ขึน้ เกือบทุกประเภทพลังงาน ยกเวนการใชกา ซธรรมชาติทล่ี ดลง เนื่องจากแหลงกาซของเมียนมาร หยุดจายกาซเพื่อซอมบำรุงอุปกรณ ดานการใชน้ำมันสำเร็จรูป เพิ่มขึ้นทุกประเภทโดยเฉพาะการใชในภาคขนสง จากราคาขายปลีกที่ยังอยูใ นระดับต่ำ ยกเวนการ ใชกาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ที่ลดลงในภาคปโตรเคมีและภาคขนสง ตลอดจนการใช NGV ที่ลดลง เนื่องจากผูใชรถยนตบางสวนหันกลับไปใชน้ำมันแทน และในสวนการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นเกือบทุกภาค เศรษฐกิจยกเวนการใชเพื่อสูบน้ำในภาคเกษตรกรรมที่ลดลง จากภาวะภัยแลง

1. อุปสงคและอุปทานพลังงาน - ความตองการใชพลังงานเชิงพาณิชยขน้ั ตน อยู ทีร่ ะดับ 2,150 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 2.3 โดยเพิม� ขึน้ ทุกประเภทพลังงาน ยกเวนการใชกาซธรรมชาติ ซึ�งลดลงรอยละ 3.3 เน�อ� งจากแหลงกาซธรรมชาติของเมียนมารหยุด จายกาซเพือ่ ซอมบำรุงอุปกรณ ขณะทีก่ ารใชนำ้ มัน เพิ�มขึ้นรอยละ 5.5 จากราคาน้ำมันในตลาดโลก ทีย่ งั อยูใ นระดับต่ำ เชนเดียวกับการใชไฟฟาพลังน้ำ /ไฟฟานำเขา เพิม� ขึน้ รอยละ 29.6 จากไฟฟานำ เขาที่เพิ�มขึ้น ดานการใชถานหินนำเขา เพิ�มขึ้น รอยละ 9.0 และการใชลกิ ไนต เพิม� ขึน้ รอยละ 2.5 ตามลำดับ - การผลิตพลังงานเชิงพาณิชยขน้ั ตน อยูท ร่ี ะดับ 1,043 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 1.1 โดยเพิม� ขึน้ เกือบทุกประเภท ยกเวน การผลิตกาซธรรมชาติ ที่ลดลงรอยละ 2.4 จาก การทีแ่ หลงกาซสำคัญในอาวไทยมีการผลิตลดลง

ดานการผลิตไฟฟาพลังน้ำ ลดลงรอยละ 0.9 จาก ปริมาณน้ำในเขื่อนที่เหลือนอย ขณะที่การผลิต น้ำมันดิบเพิ�มขึ้นรอยละ 19.5 เน��องจากมีแหลง น้ำมันดิบเขาใหม ไดแก แหลงบอรัง และแหลง สุรนิ ทร ขณะทีก่ ารผลิตคอนเดนเสท และลิกไนต เพิ�มขึ้นรอยละ 0.1 และรอยละ 0.9 ตามลำดับ - การนำเขา (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน อยูท ร่ี ะดับ 1,279 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบ ตอวัน เพิม� ขึน้ รอยละ 4.3 โดยการนำเขาถานหิน และไฟฟาเพิ�มขึ้นรอยละ 2.6 และรอยละ 61.8 ตามลำดับ เปนผลจากโรงไฟฟาหงสา หนวยที่ 3 ของ สปป.ลาว เริม� จายไฟเขาระบบ ขณะทีก่ ารนำ เขากาซธรรมชาติและกาซธรรมชาติเหลว (LNG) ลดลงรอยละ 6.4 เน�อ� งจากแหลงกาซยาดานาของ เมียนมารหยุดจายกาซระหวางวันที่ 25-28 กุมภาพันธ 2559 และแหลงซอติกาหยุดจายกาซระหวางวันที่ 19-28 มีนาคม 2553 สวนการนำเขาน้ำมันดิบ ลดลง รอยละ 3.4 นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

41


การใช การผลิต และการนำเขาพลังงานเช�งพาณิชยขั�นตน

หนวย : พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน

การใช การผลิต การนำเขา (สุทธิ) การเปลี่ยนแปลงสต็อก การใชที่ไมเปนพลังงาน (Non-Energy use) การนำเขา/การใช(%)

2558 2,080 1,016 1,251 -162 349

2558 2,102 1,032 1,266 -197 352

60

58

ม.ค.-มี.ค. 2559 เปลี่ยนแปลง% 2.3 2,150 1.1 1,043 4.3 1,279 -230 402 14.2 59

2. การใชพลังงานเช�งพาณิชยขั�นสุดทาย หนวย : พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน

- การใชพลังงานเชิงพาณิชยขน้ั สุดทาย อยูท ร่ี ะดับ 1,498 พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน เพิ�มขึ้น รอยละ 4.7 สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ที่ปรับตัวดีขึ้น โดยการใชนำ้ มันสำเร็จรูป เพิม� ขึน้ รอยละ 5.7 และการใช ไฟฟา เพิ�มขึ้นรอยละ 6.2 การใชถานหินนำเขา เพิ�มขึ้น รอยละ 5.6 ขณะทีก่ า ซธรรมชาติ และลิกไนต มีการใช ลดลง รอยละ 2.3 และรอยละ 12.4 ตามลำดับ

มูลคาการนำเขาพลังงาน อยูท ร่ี ะดับ 163 พันลานบาท ลดลงรอยละ 26.0 โดยมูลคาการนำเขาน้ำมันดิบ และ กาซ ธรรมชาติ ลดลงรอยละ 31.4 และรอยละ 43.8 ตามลำดับ จากราคาตลาดโลกทีย่ งั คงปรับตัวลดลง ประกอบกับปริมาณ

ปริมาณการใช น้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟา ถานหินนำเขา ลิกไนต กาซธรรมชาติ

2558 1,419 763 302 172 6 176

2558 1,430 775 283 187 6 179

ม.ค.-มี.ค. 2559 เปลี่ยนแปลง% 4.7 1,498 5.7 819 6.2 301 5.6 197 -12.4 6 -2.3 175

การนำเขาทีน่ อ ยลงดวย สำหรับมูลคาการนำเขาถานหิน และ LNG ลดลง รอยละ 4.8 และรอยละ 24.8 ตาม ลำดับ ขณะทีม่ ลู คาการนำเขาไฟฟา และ มูลคาการนำเขาน้ำมันสำเร็จรูป เพิม� ขึน้ รอยละ 81.4 และรอยละ 1.9 จาก ปริมาณการนำเขาที่เพิ�มขึ้น

3. น้ำมันดิบและคอนเดนเสท - การผลิตน้ำมันดิบและคอนเดนเสท มีปริมาณ 270 พันบารเรล ตอวัน คิดเปนสัดสวนรอยละ 25ของปริมาณ ความตองการใชใน โรงกลัน� เพิม� ขึน้ รอยละ 11.6 เน�อ� งจาก แหลงน้ำมันดิบและคอนเดนเสท ขนาดใหญยงั คงมีการผลิต เพิม� ขึน้ โดยการผลิตน้ำมันดิบเพิม� ขึน้ รอยละ 20.8 และ คอนเดนเสท เพิ�มขึ้นรอยละ 1.3 การนำเขาและสงออกน้ำมันดิบ การนำเขาน้ำมันดิบ เพิ�มขึ้น รอยละ 0.2 โดยสัดสวนการนำเขาน้ำมันดิบจาก กลุมประเทศตะวันออกไกล และแหลงอื่นๆ ลดลงทั้งน�้ป 2559 เริม� มีการสงออกน้ำมันจากแหลง วาสนาและแหลง

42

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

สงขลา ซึง� โรงกลัน� ในประเทศไมสามารถกลัน� ได หลังจากหยุดการ สงออกตั้งแตปลายป 2557 - กำลังการกลัน� น้ำมันดิบ มีความสามารถในการกลัน� รวมทัง้ สิน้ 1,252 พันบารเรลตอวัน โดยมีการใชนำ้ มันดิบเพือ่ การกลัน� 1,102 พันบารเรลตอวัน คิดเปนสัดสวนรอยละ 88 ของความสามารถใน การกลัน� ทัว� ประเทศ ซึง� ลดลงรอยละ 1.7 เน�อ� งจากมีโรงกลัน� น้ำมัน หลายแหงปดซอมบำรุง


การจัดหาและการใชน้ำมันดิบ ป 2556 2557 2558 2559 (ม.ค.-มี.ค.) อัตราการเปลี่ยน% 2557 2558 2559 (ม.ค.-มี.ค.)

หนวย : พันบารเรลเทียบเทาน้ำมันดิบตอวัน

การจัดหา นำเขา น้ำมันดิบ คอนเดนเสท รวม 868 241 91 149 805 233 94 139 875 248 96 152 844 270 98 171 -7.3 10 20.8

3.5 1.4 1.3

-7.3 8.8 0.2

-3.2 6.5 11.6

รวมทั้งสิ้น 1,109 1,038 1.123 1,113 -6.4 8.3 1.9

การใช สงออก ใชในโรงกลั�น 1,078 25 1,029 7 1,132 1 1,102 21 -73.1 -88.2 -

-4.6 10.1 -1.7

4. กาซธรรมชาติ และกาซโซลีนธรรมชาติ (NGL) - การจัดหากาซธรรมชาติ รวมทัง้ ประเทศอยูท ร่ี ะดับ 5,019 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ลดลงรอยละ 2.3 โดยเปนการ ผลิตภายในประเทศรอยละ 77 ลดลงรอยละ 1.3 และนำเขาจากตางประเทศรอยละ 23 ลดลงรอยละ 5.3 จากการที่ แหลงกาซยาดานาและซอติกาหยุดซอมบำรุง - การใชกา ซธรรมชาติ อยูท ร่ี ะดับ 4,604 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ลดลงรอยละ 3.1 เปนการลดลงของการใชเกือบ ทุกสาขา ทั้งการใชเพื่อผลิตไฟฟา ลดลงรอยละ 1.6 เน��องจากโรงไฟฟาฝงตะวันตกเปลี่ยนไปใชเชื้อเพลิงอื่นแทน ชวงที่เมียนมารหยุดจายกาซ การใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ปโตรเคมีและอื่นๆ ลดลงรอยละ 9.2 และ การใช NGV ลดลงรอยละ 6.3 ขณะที่การใชเปนเชื้อเพลิง ในโรงงานอุตสาหกรรม เพิ�มขึ้นรอยละ 1.3 - การผลิตกาซโซลีนธรรมชาติ (NGL) อยูท ร่ี ะดับ 18,055 บารเรลตอวัน ลดลงรอยละ 10.9 โดยนำไปใชในอุตสาหกรรม ตัวทำละลาย (Solvent) ภายในประเทศรอยละ 93 และสงออกไปจำหนายตางประเทศรอยละ 7

การใชกาซธรรมชาติรายสาขา สาขา ผลิตไฟฟา อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมปโตรเคมีและอื่นๆ เชื้อดพลิงสำหรับรถยนต (NGV) การใช

หนวย : พันบารเรลตอวัน

2558 2,859 651 950 304 4,764

ม.ค.-มี.ค. 2558 2559 เปลี่ยนแปลง% -1.6 2,839 2,762 1.3 663 664 -9.2 985 884 -6.3 317 294 -3.1 4,803 4,604

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

43


5. ผลิตภัณฑน้ำมันสำเร�จรูป - ภาพรวมน้ำมันสำเร็จรูป การผลิตน้ำมัน สำเร็จรูป เพิม� ขึน้ รอยละ 2.0 โดยเพิม� ขึน้ ใน เกือบทุกประเภทยกเวนการผลิตดีเซล และ น้ำมันเครือ่ งบิน ทีม่ กี ารผลิตลดลง โดยการ ผลิตเบนซินเพิม� ขึน้ จากการเพิม� ปริมาณการ ผลิตน้ำมันกลุม แกสโซฮอลตามความตองการ ใชทเ่ี พิม� ขึน้ ดานการใชนำ้ มันสำเร็จรูป เพิม� ขึน้ รอยละ 4.1 โดยเพิม� ขึน้ เกือบทุกประเภท ตามความตองการใชทเ่ี พิม� ขึน้ โดยเฉพาะการ ใชในภาคขนสง เปนผลจากราคาขายปลีก ในประเทศที่ยังคงอยูในระดับต่ำทำใหผูใช รถยนต LPG และ NGV บางสวนหันมาใช น้ำมันเบนซินและดีเซลแทน สงผลใหการใช LPG ลดลงทัง้ ในภาคขนสงและภาคปโตรเคมี การนำเขาและสงออกน้ำมันสำเร็จรูป การ นำเขาเพิม� ขึน้ รอยละ 11.0 เพือ่ รองรับความ ตองการใชในประเทศทีเ่ พิม� ขึน้ รวมทัง้ ทดแทน ในสวนทีโ่ รงกลัน� น้ำมันในประเทศหลายแหง ปดซอมบำรุง และดานการสงออกลดลงรอยละ 16.5 - น้ำมันเบนซิน การผลิตน้ำมันเบนซิน เพิ�มขึ้นรอยละ 15.1 การใชน้ำมันเบนซิน เพิม� ขึน้ รอยละ 12.2 ซึง� ขยายตัวในระดับสูง

44

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

โดยเฉพาะการใชในกลุม แกสโซฮอลจากปจจัย ดานราคาทีจ่ งู ใจ การนำเขาและสงออกน้ำมัน เบนซิน การนำเขาเพิม� ขึน้ ถึงรอยละ 126.2 เน�อ� งจาก โรงกลัน� น้ำมันหลายแหงปดซอม บำรุงสงผลใหตอ งนำเขาเบนซินพืน้ ฐานสำหรับ นำมาผสมเปนแกสโซฮอลเพิม� สูงขึน้ ขณะที่ การสงออกเบนซินลดลงรอยละ 19.2 - น้ำมันดีเซล การผลิตน้ำมันดีเซล ลดลง รอยละ 4.6 การใชนำ้ มันดีเซล เพิม� ขึน้ รอยละ 5.9 จากความตองการใชขนสงผลผลิตทาง การเกษตรในชวงฤดูเก็บเกีย่ วตามรอบฤดูกาล การนำเขาและสงออกน้ำมันดีเซล การนำเขา น้ำมันดีเซลเพิม� ขึน้ ถึงกวา 5 เทาตัว เน�อ� ง จากฐาน ปกอ นหนาทีอ่ ยูใ นระดับต่ำ สวนการ สงออกลดลงรอยละ 18.6 เน�อ� งจากมีความ ตองการใชภายในประเทศสูง - น้ำมันเตา การผลิตน้ำมันเตา เพิ�มขึ้น รอยละ 4.9 การใชนำ้ มันเตา เพิม� ขึน้ รอยละ 30.0 โดยสวนใหญใชเปนเชื้อเพลิงภาค อุตสาหกรรม การนำเขาและสงออกน้ำมัน เตา การนำเขาลดลงรอยละ 45.2 สวนการ สงออกน้ำมันเตาเพิ�มขึ้นรอยละ 1.8

- น้ำมันเครือ่ งบิน การผลิตน้ำมันเครือ่ งบิน ลดลงรอยละ 2.7 การใชนำ้ มันเครือ่ งบินเพิม� ขึ้นรอยละ 6.2 ตามการขยายตัวของภาค การทองเทีย่ วซึง� มีจำนวนนักทองเทีย่ วเดิน ทางเขาประเทศเพิ�มขึ้น การนำเขาและสง ออกน้ำมันเครื่องบิน การนำเขาเพิ�มสูงขึ้น อยางมากตามความตองการใชที่เพิ�มขึ้น ดานการสงออก ลดลงรอยละ 75.5 - กาซปโตรเลียมเหลว (LPG โพรเพน และบิวเทน) การผลิต LPG เพิม� ขึน้ รอยละ 0.2 จากการผลิตของโรงกลัน� น้ำมันทีเ่ พิม� ขึน้ ขณะที่การผลิตจากโรงแยกกาซธรรมชาติ ลดลง การใช LPG ลดลงรอยละ 10.0 โดย เปนการลดลงของภาคขนสงเน��องจากผูใช รถยนตบางสวนหันไปใชนำ้ มันซึง� มีราคาถูก ลงทดแทน และการลดลงของภาคอุตสาหกรรม ปโตรเคมี จากการเปลีย่ นไปใชแนฟทาเปน วัตถุดิบในการผลิตแทน LPG การนำเขา และสงออก LPG การนำเขา LPG ลดลง รอยละ 66.4 จากการผลิตในประเทศทีเ่ พิม� ขึน้ ประกอบกับความตองการใชที่ลดลง และ ดานการสงออก LPG เพิม� ขึน้ รอยละ 87.1 การจัดหาและการใชน้ำมันสำเร็จรูป


การจัดหาและการใชน้ำมันสำเร�จรูป 2559 (ม.ค.-มี.ค.) เบนซิน เบนซิน แกสโซฮอล 91 แกสโซฮอล 95 เบนซินพื้นฐาน ดีเซล น้ำมันกาด น้ำมันเครื่องบิน น้ำมันเตา กาซปโตรเลียมเหลว

รวม

การใช 177 8 70 99 406 0.2 117 43 196

940

ปริมาณ (พันบารเรล/วัน) การผลิต การนำเขา การสงออก 203 30 23 11 2 93 21 99 0.01 30 425 22 66 36 0.3 128 3 7.0 101 3 62 180 15 1.8

1,072

73

160

การใช 12.2 -2.8 3.7 20.8 5.9 7.2 6.2 30.0 -10.0

4.1

เปลี่ยนแปลง (%) การผลิต การนำเขา การสงออก 15.1 126.2 19.2 22.3 -4.1 8.7 27.7 21 -95.7 126.2 -4.6 593.5 -18.6 55.4 27.5 -2.7 6,200.3 -75.5 4.9 -45.2 1.8 0.2 -66.4 87.1

2.0

11

-16.5

- การใชพลังงานภาคขนสงทางบก อยูท ร่ี ะดับ 6,592 พันตัน เทียบเทาน้ำมันดิบ เพิม� ขึน้ รอยละ 4.5 โดยเปนการเพิม� ขึน้ ของ การใชนำ้ มันเบนซิน และดีเซล รอยละ 12.2 และรอยละ 6.1 ตาม ลำดับ ขณะที่การใช LPG และ NGV ลดลงรอยละ 15.5 และ รอยละ 7.4 เน�อ� งจากราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศทีป่ รับลดลง มาอยูในระดับต่ำ ตามราคาตลาดโลก ทำใหผูใชรถยนต LPG และ NGV บางสวนหันกลับไปใชน้ำมันแทน

6. ถานหิน/ลิกไนต - การจัดหาลิกไนต/ถานหิน อยูที่ระดับ 4,251 พันตันเทียบ เทาน้ำมันดิบ เพิ�มขึ้นรอยละ 3.4 โดยการผลิตลิกไนตเพิ�มขึ้น รอยละ 2.2 และการนำเขาถานหินเพิม� ขึน้ รอยละ 3.7 ทัง้ น�ร้ อ ยละ 94 ของการผลิตลิกไนตในประเทศผลิตจากเหมืองแมเมาะของ กฟผ. สวนที่เหลือรอยละ 6 เปนการผลิตจากเหมืองเอกชน - การใชลิกไนต/ถานหิน อยูที่ระดับ 4,796 พันตันเทียบเทา น้ำมันดิบ เพิ�มขึ้นรอยละ 8.7 โดยการใชลิกไนตเพิ�มขึ้นรอยละ 3.6 ทัง้ น�ร้ อ ยละ 93 ของการใชลกิ ไนตเปนการใชในภาคการผลิต ไฟฟาของ กฟผ. สวนทีเ่ หลือรอยละ 7นำไปใชในภาคอุตสาหกรรม ดานการใชถา นหินนำเขาเพิม� ขึน้ รอยละ 9.7 โดยเพิม� ขึน้ ทัง้ การ ใชในภาคการผลิตไฟฟาของ SPP และ IPP และการใชภาค อุตสาหกรรม

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

45


การผลิตและการใชลิกไนต/ถานหิน

หนวย : พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ

2558 การจัดหา การผลิตลิกไนต การไฟฟาฝายผลิตฯ เหมือนเอกชน การนำเขาถานหิน ความตองการ การใชลิกไนต ผลิตกระแสไฟฟา อุตสาหกรรม การใชถานหิน ผลิตกระแสไฟฟา (SPP และ IPP) อุตสาหกรรม

17,549 3,859 3,613 245 13,690 17,573 3,883 3,588 295 13,690

5,124 8,566

2558 4,113 976 911 65 3,137 4,411 979 899 80 3,432

1,132 2,301

2559 4,251 997 941 56 3,254 4,796 1,015 944 71 3,782

1,325 2,456

ม.ค. - มี.ค. เปลี่ยนแปลง% สัดสวน (%) 3.4 2.2 100 3.3 94 -14.3 6 3.7 8.7 3.6 100 5.0 93 -11.4 7 9.7 100 15.6 35 65 6.8

7. ไฟฟา - กำลังผลิตในระบบไฟฟา ณ สิน้ เดือนมีนาคม 2559 อยูท ร่ี ะดับ 40,337 เมกะวัตต เพิม� ขึน้ จากป 2558 จำนวน 1,523 เมกะวัตต เน��องจากโรงไฟฟาพลังน้ำ เขื่อนแควนอยบำรุงแดน เครือ่ งที่ 1-2 และโรงไฟฟาพลังความรอนรวมพระนครเหน�อ ชุดที่ 2 เขาระบบในเดือนมกราคม โรงไฟฟาหงสา หนวยที่ 3 ของ สปป. ลาว เขาระบบในเดือนมีนาคม และโรงไฟฟาขนาดเล็ก (SPP) เขาระบบเพิม� ขึน้ ทัง้ น�ค้ ดิ เปนการผลิตติดตัง้ ของ กฟผ. รอยละ 40 รับซือ้ จาก IPP รอยละ 36 รับซือ้ จาก SPP รอยละ 14 และนำเขาจาก สปป.ลาว และแลกเปลีย่ นกับมาเลเซีย รอยละ 10 - การผลิตพลังงานไฟฟา อยูท จ่ี ำนวน 47,541 กิกะวัตตชว�ั โมง เพิม� ขึน้ รอยละ 5.6 โดยการ ผลิตไฟฟาจากเชือ้ เพลิงตางๆ เพิม� ขึน้ เกือบทุกชนิดเชือ้ เพลิง ทัง้ การผลิตไฟฟาจากถานหิน/ลิกไนต พลังงานหมุนเวียน พลังน้ำ และไฟฟานำเขา/แลกเปลีย่ น ขณะทีก่ ารผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ ลดลงรอยละ 1.2 เน�อ� งจากแหลงกาซธรรมชาติจากเมียนมารหยุดจายกาซ และการผลิตไฟฟาจาก น้ำมันเตาและน้ำมันดีเซล ลดลงรอยละ 39.1

46

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS


- ความตองการใชพลังไฟฟาสูงสุดสุทธิ ชวง 3 เดือนแรกของป 2559 เกิดขึน้ เมือ่ วันพุธ ที่ 23 มีนาคม 2559 เวลา 14.30 น. อยูท ร่ี ะดับ 27,242 เมกะวัตต ต่ำกวาพลังไฟฟาสูงสุด สุทธิของปทผ่ี า นมาซึง� เกิดเมือ่ วันพฤหัสบดีท่ี 11 มิถนุ ายน 2558 เวลา 14.02 น. อยู 104 เมกะวัตต หรือลดลงรอยละ 0.4 อยางไรก็ดียังไมใช Peak ของป - การใชไฟฟา รวมทั้งสิ้น 43,282 กิกะวัตตชั�วโมง เพิ�มขึ้นรอยละ 6.6 โดยเพิ�มขึ้นใน ทุกสาขาเศรษฐกิจ ยกเวนการใชเพือ่ สูบน้ำในภาคเกษตรกรรมทีม่ กี ารใชไฟฟาลดลงรอยละ 19.9 เน�อ� งจากภาวะภัยแลง ทัง้ น�ก้ ารใชไฟฟาใน ภาคอุตสาหกรรม เพิม� ขึน้ รอยละ 3.2 จากการใช ไฟฟาของกลุมอุตสาหกรรมขนาดใหญที่เพิ�มขึ้น ภาคครัวเรือน เพิ�มขึ้นรอยละ 11.0 จาก สภาพอากาศทีร่ อ นอบอาวทำใหมกี ารใชเครือ่ งใชไฟฟาเพิม� ขึน้ ภาคธุรกิจ และกิจการขนาดเล็ก ตางเพิม� ขึน้ รอยละ 8.8 ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการทองเทีย่ ว สวนราชการและ องคกรที่ไมแสวงหากำไร เพิม� ขึน้ รอยละ 29.4 ไฟไมคดิ มูลคา เพิม� ขึน้ รอยละ 6.9 และสาขา เศรษฐกิจอื่นๆ เพิ�มขึ้นรอยละ 7.0

การใชไฟฟารายสาขา

หนวย : กิกะวัตตชั�วโมง

สาขา

2558

ครัวเรือน กิจการขนาดเล็ก ธุรกิจ อุตสาหกรรม สวนราชการและองคกรที่ไมแสวงกำไร เกษตรกรรม ไฟไมคิดมูลคา อื่นๆ รวม

41,286 19,768 33,219 74,773 179 387 2,743 2,478 174,833

2558 8,835 4,419 7,618 18,325 35 100 680 573 40,584

ม.ค. - มี.ค. เปลี่ยนแปลง% สัดสวน (%) 2559 23 11.0 9,810 11 8.8 4,806 19 8.8 8,288 44 3.2 18,914 0.1 29.4 45 0.2 -19.9 80 2 6.9 727 1 7.0 613 100 6.6 43,282

- คาเอฟที ชวงเดือนมกราคม - เมษายน 2559 อยูท อ่ี ตั รา -4.80 สตางคตอ หนวย ปรับ ลดลง 1.57 สตางคตอ หนวย เมือ่ เปรียบเทียบกับคาเอฟทีทป่ี รับตามโครงสรางอัตราคาไฟฟา ใหมป 2558 เน��องจากแนวโนมราคาเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาที่ปรับตัวลดลง

8. ฐานะกองทุนน้ำมันเช�้อเพลิง - ฐานะกองทุนน้ำมันเชือ้ เพลิง ชวง 3 เดือนแรกของป 2559 มีเงินภาษีสรรพสามิตและภาษี ศุลกากรสงเขากองทุนน้ำมันเชือ้ เพลิงทัง้ สิน้ 42,815 ลานบาท โดย ณ สิน้ เดือนมีนาคม 2559 มีฐานะกองทุนน้ำมันเชือ้ เพลิง 44,535 ลานบาท

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

47


ขัน้ ตอนการจัดการขอรองเรียน สนพ. ผูร อ งเรียน

ชองทางการรองเรียน • • • • • • •

การยืน่ หนังสือรองทุกข การสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส กลองรับความคิดเห็น ศูนยขอ มูลขาวสาร สนพ. ศูนยบร�การรวมกระทรวงพลังงาน กองตรวจประเมินผล (กตป.) สป.พน. ศูนยบร�การประชาชน สำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตร�

ศูนยประสานราชการใสสะอาด สนพ. (ระบบการจัดการรับเร�อ่ ง รองเร�ยน/รองทุกข)

หนวย งานอืน่

หนวยงาน (ภายใน สนพ.) ระบบจัดการขอรองเรียน พิจารณาตรวจ สอบ ขอเท็จจริง หมายเหตุ 1. กรณีเปนเรือ่ งทีไ่ มซบั ซอน หนวยงานจะตองดำเนินการใหแลวเสร็จภายใน 15 วันทำการ 2. กรณีเปนเรือ่ งทีซ่ บั ซอนจะตองดำเนินการใหแลวเสร็จภายใน 30 วันทำการ กรณีวนิ จิ ฉัยไมเสร็จ ขยายเวลาไดไมเกิน 30 วันทำการ 3. ศูนยปฏิบตั กิ ารตอตานการทุจริตคอรรปั ชัน่ สนพ. สรุปขอรองเรียนและผลการพิจารณาสงให ศูนยปฏิบตั กิ ารตอตานการทุจริตคอรรปั ชัน่ กระทรวงพลังงาน ทุกวันที่ 10 ของเดือน

ดำเนินการ จัดการ ขอรองเรียน

สำเนา กองตรวจ และ ประเมินผล

ยุติเรื่อง / แจงผล

สำเนา

แจงผล

ศูนยประสาน ราชการใส สะอาด สนพ.

ระบบการจัดการรับเรือ่ งรองเรียน / รองทุกข

ผูรองเรียน

แจงการดำเนิน การขัน� ตน แกผรู อ งเร�ยน ภายใน 7 วัน ทำการ

ผอ.สนพ. เสนอภายใน 3 วัน

ศูนยประสานราชการ ใสสะอาด สนพ.

ผูร อ งเรียน

ศูนยบร�การรวม

กลุม ชวยอำนวยการและ สือ่ สารองคกร สบก.

ศูนยรบั เร�อ่ ง ราวรองทุกข ของรัฐบาล 1111

ลงทะเบียน รับเร�อ่ งรองเร�ยน

คณะทำงานศูนยประสานราชการ ใสสะอาดสนพ. /หนวยงานภายใน สนพ. ทีเ่ กีย่ วของ พ�จารณาขอรองเร�ยน

ไมเขาขาย สนพ.

เกีย่ วกับ สนพ. ไมซบั ซอน ตรวจสอบ ดำเนินการให แลวเสร�จภายใน 15 วันทำการ

แจงผล

48

นโยบาย พลังงาน EPPO NEWS

ซับซอน

ดำเนินการให แลวเสร�จภายใน 30 วันทำการ

กรณีวน� จิ ฉัยไมเสร�จ ขยายเวลา พ�จารณาได ไมเกิน 30 วัน


หลอด LED ดีกวา หลอดไสและหลอดฟลูออเรสเซนตอยางไร มาดูกนั ! 1. ไมตอ งใชไอปรอทหร�อฉาบเร�องแสง 2. ประหยัดไฟมากกวาหลอดฟลูออเรสเซนตถงึ 60% 3. ประหยัดไฟมากกวาหลอดไสถงึ 90% 4. มีอายุการใชงานนานถึง 100000 ชัว่ โมง 5. ไมมคี วามรอนจากหลอดไส เพียงแคเปลีย่ นจากการใชหลอดไฟแบบเดิมๆ มาใชหลอด LED แทนเพียงแคนก้ี ส็ ามารถประหยัดคาไฟฟาตอปไดมากกวาการใชหลอดไฟแบบเดิมตัง้ แต 15-75%

ใบอนุญาตเลขที่ ปน.(น.)/3451 ปณศ. สามเสนใน ถาฝากสงในประเทศไมตองผนึกตราไปรษณ�ย

บริการธุรกิจตอบรับ

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถนนเพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

อส


แบบสอบถามความเห็น “วารสารนโยบายพลังงาน”

ฉบับที่ 114 มิถุนายน 2559 - กรกฎาคม 2559 www.eppo.go.th คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน มีความประสงคจะสำรวจ ความคิดเห็นของทานผูอาน เพ�่อนำขอมูลมาใชประกอบการปรับปรุง วารสารนโยบายพลังงานใหดียิ�งข�้น ผูรวมแสดงความคิดเห็น 10 ทานแรกจะไดรับของที่ระลึกจากคณะทำงานฯ เพ�ยงแคทานตอบ

แบบสอบถามและเข�ยนชื่อ-ที่อยูตัวบรรจงใหชัดเจน สงไปที่ คณะทำงาน วารสารนโยบายพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุร� แขวงทุงพญาไท เขตราชเทว� กทม. 10400 หร�อโทรสาร 0 2612 1358

หากทานใดตองการสมัครสมาชิกวารสารฯ รูปแบบไฟล pdf สมัครไดที่ e-mail : eppojournal@gmail.com ชื่อ-นามสกุล…………………………………………………………….หนวยงาน……………………………………………………… อาชีพ/ตำแหนง……………………………………………………………………….. โทรศัพท……………………………………….. ที่อยู…………………………………………………………………………………………………………อีเมล………………………..

กรุณาทำเคร�่องหมาย ลงในชอง และเติมขอความ ที่สอดคลองกับความตองการของทานลงในชองวาง 1. ทานอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” จากที่ใด ที่ทำงาน/ หนวยงานที่สังกัด ที่บาน หนวยงานราชการ/สถานศึกษา หองสมุด www.eppo.go.th อื่นๆ 2. ทานอาน “วารสารนโยบาลพลังงาน” ในรูปแบบใด แบบรูปเลม ไฟล pdf ทางอีเมล E-Magazine 3. ทานอาน “ วารสารนโยบายพลังงาน” เพราะเหตุผลใด ขอมูลเปนประโยชนตอการทำงาน ขอมูลหาไดยากจากแหลงอื่น ขอมูลอยูในความสนใจ มีคนแนะนำใหอาน อื่นๆ……………………….. 4. ทานใชเวลาอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” กี่นาที 0-10 นาที 11-20 นาที 21-30 นาที 31-40 นาที 41-50 นาที 51-60 นาที มากกวา 60 นาที 5. ความพึงพอใจตอรูปแบบ “วารสารนโยบายพลังงาน” ปก

ความนาสนใจ สอดคลองกับเน�อ้ หา เน�อ้ หา ความนาสนใจ ตรงความตองการ นำไปใชประโยชนได ความทันสมัย ภาพประกอบ ความนาสนใจ สอดคลองกับเน�อ้ หา ทำใหเขาใจเน�อ้ เรือ่ งดีขน้ึ ขนาด สำนวนการเขียน ความเขาใจ ขนาดตัวอักษร เล็กไป รูปแบบตัวอักษร อานงาย การใชสี ขัดตา ขนาดรูปเลม เล็กไป

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก เล็กไป งาย พอดี อานยาก สบายตา พอดี

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง พอดี ยาก

นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย นอย ใหญไป ไมเขาใจ ใหญไป ใหญไป

6. ความพึงพอใจภาพรวมของ “วารสารนโยบายพลังงาน” มาก ปานกลาง นอย 7. ระยะเวลาการเผยแพร “วารสารนโยบายพลังงาน” ที่ทานตองการ ราย 1 เดือน ราย 2 เดือน ราย 3 เดือน

8. ทานเคยอาน “วารสารนโยบายพลังงาน” บนเว็บไซต ของสำนักงานหรือไม เคย ไมเคย 9. ทานสนใจรับ “วารสารนโยบายพลังงาน” รูปแบบใด แบบเลม(สงไปรษณ�ย) แบบไฟล pdf (สงอีเมล) แบบ E-Magazine (อานทางเว็บไซต) 10. ทานสนใจรับไฟลวารสารทางอีเมลหรือไม สนใจ (โปรดกรอกอีเมล………………………………..) ไมสนใจ 11. ทานมีเพื่อนที่สนใจรับไฟลวารสารทางอีเมลหรือไม มี (โปรดกรอกอีเมล……………………………………) ไมมี 12. คอลัมนภายใน “วารสารนโยบายพลังงาน” ทีท่ า นชืน่ ชอบ (โปรดทำเครือ่ งหมาย ) ประเด็น

สรุปขาวพลังงานตามไตรมาส กิจกรรมภาพเปนขาว กาซธรรมชาติ LNG การอนุรกั ษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม น้ำมันปาลมในกิจการพลังงาน สถานการณราคาน้ำมันเชื้อเพลิง สถานการณพลังงานในชวง 6 เดือนแรก สถานการณพลังงานในชวง 3 เดือนแรก

มาก ปานกลาง นอย

13. “วารสารนโยบายพลังงาน” มีประโยชนอยางไร ประเด็น

มาก ปานกลาง นอย

ทำใหรูและเขาใจเรื่องพลังงาน ทำใหรูสถานการณพลังงาน นำไปใชในชีวิตประจำวันได ไดความรูรอบตัว อื่นๆ …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………..

14. ทานตองการให “วารสารนโยบายพลังงาน” เพิม� คอลัมนเกีย่ วกับอะไรบาง

……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

15. ขอเสนอแนะเพิม� เติม

……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

ขอขอบคุณทุกทานที่ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น


รวมเลนเกม

เพียงเขียนชื่อตนไมที่คุณชอบปลูก พรอมเหตุผล คุณก็มีสิทธิ์รับรางวัล

แกวสตารบัค

จำนวน 3 ราวัล

ชื่อ-นามสกุล …………………………………………………………………………………………………………….. ที่อยู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………. โทรศัพท ………………………… โทรสาร …………………… Email ……………………………………………….

สงคำตอบพรอมชื่อ-ที่อยู และ เบอรโทรศัพท (ตัวบรรจง) มาที่ โทรสาร 02 118 0661 หรือ บริษทั ดรีมเวิรค แอดเวอรไทซิง� จำกัด 111/18 หมูบ า นธาราดี ถ.ราชพฤกษ ต.บางรักนอย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 วงเล็บมุมซองวา เกมพลังงาน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.