ME to WE (MOSO Campaign)

Page 1


แผนกลยุทธการการสื่อสารเพื่อสงเสริมภาพลักษณ กระทรวงการพัฒนาสังคมมนุษย (MOSO.) จัดทําโดย: Workshop กลุมที่ 1’ MPR รุน 37 ธนยศ ภูวภิรมยขวัญ กฤษณ ไพรํา วิทยาคม จิ๊บจอย ศิริลักษณ มานะวงศเจริญ บี ณัฐพร ตั้งวงศศาณต ณัฐ เรืองลดา ปุณยลิขิต ขวัญ บุปผาพรรณ พานทอง เนอ วิทูรณ ชมชายผล ตี๋ สุรชาติ บุญชูวงค เดียว


ขอมูลและเอกสารอางอิงในรายงานฉบับนี้ มีไวเพื่อเปนกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรูเทานั้น อาจมี การใชชื่อ ตราสัญลักษณ หรือ สื่อตางๆ ที่คลายกับหนวยงานที่มีอยูจริง ทั้งนี้ เพื่อเปนแนวทาง เพื่อการศึกษา อีกทั้งตัวเลข หรือขอมูลตางๆ หลายสวน อาจเปนตัวเลขที่ไดรับการดัดแปลง แกไข และไมอาจอางอิงวาเปนตัวเลขที่ถูกตองตามความเปนจริงได ทั้งนี้ไมถือวาคณะผูจัดทํา รายงานรับรอง รับประกัน หรือเห็นพองไมวาโดยชัดแจงหรือปริยายตอความถูกตอง ครบถวน หรือความนาเชื่อถือของขอมูลที่ปรากฏอยูในรายงานฉบับนี้ คณะผูจัดทํารายงาน ไมพึงรับผิด ตอคาเสียหายที่ตองชดใชพิเศษ โดยตรง ที่เกี่ยวเนื่อง หรือคาเสียหายอื่นใดที่เปนผลจากการ สูญเสีย ที่เกิดจากขอมูล หรือการใชขอมูลตามที่ปรากฏอยูในรายงานฉบับนี้ โดย: Workshop กลุมที่ 1’ MPR รุน 37


การสือ่ สารเพื่อสงเสริมภาพลักษณ กระทรวงการพัฒนาสังคมมนุษย (MOSO.) Ministry of Social and Human Development (MOSO)


บทคัดยอ กระทรวงพัฒนาสังคมมนุษย กระทรวงพัฒนาสังคมมนุษย กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ 2545.ศ.โดยมีวิสัยทัศนคือ “เปนกระทรวงหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม เพื่อนําไปสูสังคมที่ดีงาม และอยูเย็น เปนสุขรวมกัน” ภายใตแนวคิดหลัก คือ “ครอบครัวอบอุน สังคมเขมแข็ง”ชีวิตพอเพียง คือ เงื่อนไขสําคัญที่) (จะทําใหสังคมไทยพัฒนาอยางยั่งยืน และภายใตการบริหารงานของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี มีนายอิสสระ สมชัย ปฏิบัติหนาที่ในฐานะ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาสังคมมนุษย งาน ของกระทรวงการพัฒนาสังคมมนุษย เปนงานที่มีความสําคัญเนื่องจากเปนงานที่เกี่ยวของกับชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนโดยตรง ยิ่งในภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ประชาชนไดรับความเดือดรอน สงผลถึงคุณภาพชีวิต และผลกระทบตอ สังคมในภาพรวม กระทรวงพัฒนาสังคมฯ ก็ยิ่งตองรับภาระหนักในการเขาชวยเหลือเยียวยา โดยรัฐบาลชุดปจจุบันไดให ความสําคัญกับการพัฒนาสังคม การจัดสวัสดิการสังคมและความมั่นคงของมนุษยมาก มีนโยบายเรงรัดปรับปรุงแกไข ปญหาคุณภาพที่อยูอาศัย คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอมชุมชน โดยเฉพาะชุมชนผูมีรายไดนอยใหดียิ่งขึ้น โดยปรับปรุง คุณภาพและขยายการใหบริการสาธารณูปโภคใหทั่วถึง ปจจุบันกระทรวงมีอัตรากําลังทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 12,168 คน จากสภาวะเศรษฐกิจโลกในปจจุบันไดสงผลกระทบตอปญหาเศรษฐกิจและ สังคมของทุกประเทศ โดยเฉพาะสภาพสังคมไทยไดเกิดการเปลี่ยนแปลงตอ ความสัมพันธของคนในสังคม เกิดปญหาความออนแอของสถาบันครอบครัว ปญหาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน การถูกทอดทิ้งของผูสูงอายุ ปญหา การคา มนุษ ย และการเขาไมถึงระบบสวัสดิการและบริการที่จําเปนของรัฐ ปญหาดังกลาวสงผลกระทบตอประชาชน ครอบครัว ชุมชนและสังคมไทยมาก ยิ่งขึ้น กระทรวงการพัฒนาสังคมมนุษย ซึ่งมีหนาที่ในการพัฒนาคนและสังคม จึงใหความสําคัญกับนโยบายสังคมและคุณภาพ ชีวิต ตามนโยบายของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภา เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2551 ในการสรางความมั่นคงในชีวิตของประชาชน กลุมเปาหมาย ครอบครัว ชุมชน และสังคม โดยเนนการสรางสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยใหคนสามารถพัฒนาศักยภาพ อยางเต็มที่ มีกลไกในการพิทักษคุมครองสิทธิ และสรางโครงขายการคุมครองทางสังคม การขจัดความรุนแรงและพัฒนา ครอบครัวสูความอบอุนเขมแข็ง และการพัฒนาชุมชนสังคมอยางมั่นคง ภายใตการดําเนินงาน ดังนี้ ดานการพัฒนาคนโดยการสรางสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยใหคนสามารถ พัฒนาศักยภาพไดอยางเต็มที่ เพื่อใหเด็ก เยาวชน สตรี ผูดอยโอกาสและผูสูงอายุ ไดมีโอกาสพัฒนาขีดความสามารถของตนเอง ในดานการพัฒนาศักยภาพเด็กและ เยาวชน กระทรวงฯ ได ดํ า เนิ น โครงการคาราวานเสริ ม สร า งเด็ ก โครงการพื้ น ที่


สรางสรรคสําหรับเด็กและเยาวชน การจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนระดับชาติ ระดับจังหวัด และระดับอําเภอ เพื่อเสริมสราง ภูมิคุมกันทางสังคม ดานการพัฒนาศักยภาพสตรี ไดดําเนินการสงเสริมและพัฒนาทักษะในการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ การสงเสริมความเสมอภาคระหวางหญิง ชาย การขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีทุกรูปแบบ การรณรงคและสงเสริมใหสตรีมีสวนรวม กระบวนการตัดสินใจทางการเมืองและ เขาไปมีสวนรวมแกไขปญหาและพัฒนาประเทศ ดานการพัฒนาผูดอยโอกาส คนยากจน คนเรรอน ขอทาน กระทรวงฯ ไดสงเสริมและพัฒนาใหสามารถอยูรวมในสังคมไดอยางมีศักดิ์ศรี และสามารถ เขาถึงบริการสังคมขั้นพื้นฐาน โดยจัดบริการบานพักชั่วคราว เพื่อฟนฟูพัฒนาศักยภาพ และสรางโอกาสในการมีงานทํา การชวยเหลือแบงเบาภาระรายจายของประชาชนผูมี รายได น อ ย ด ว ยการให บ ริ ก ารรั บ จํ า นํ า ในสถานธนานุ เ คราะห ข องกระทรวง ในอั ต รา ดอกเบี้ยขั้นต่ํา ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ไดดําเนินการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ สงเสริมทักษะการประกอบอาชีพ และโอกาสในการเขาสูตลาดแรงงาน การ ผลักดันใหมีการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการทั้งในดานกายภาพ เชน อาคาร สถานที่ ดานการเขาถึงขอมูล ขาวสาร เจตคติเชิงสรางสรรคตอความพิการและคนพิการ และดานกฎหมาย ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ ไดดําเนินการเตรียมความพรอมผูสูงอายุและครอบครัว เพื่อเขาสูสังคมผูสูงอายุ อยางมีคุณภาพ การสงเสริมใหผูสูงอายุไดใชทักษะและประสบการณ ในการทํา ประโยชน ตลอดจนสงเสริมใหผูสูงอายุมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม


ดานการพัฒนาครอบครัว เพื่อสงเสริมความเขมแข็งของสถาบันครอบครัว กระทรวงฯ ไดดําเนินโครงการสายใยรักแหง ครอบครัว ในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร โครงการ ศูนย รวงศเธอพระองคเจาวัย สานสายใยรักแหงครอบครัว ในพระอุปถัมภ พระเจาว 3 ศรี รั ศ มิ์ พระวรชายาฯการรณรงค ใ ห วั น อาทิ ต ย เ ป น วั น ครอบครั ว โครงการศู น ย พั ฒ นา ครอบครัว ในชุมชน โครงการครอบครัวคุณธรรมนําสังคมไทยเขมแข็ง ดานการพัฒนาชุมชน และสังคมอยางมั่นคง เพื่อสงเสริมใหชุมชนและสังคม เกิดความเคลื่อนไหว รวมกันเฝาระวัง และพัฒนาชุมชนทองถิ่น โดยสนับสนุนการจัดตั้ง สภาองคกรชุมชน ตําบล และจังหวัดในการเปนเวทีกลาง เพื่อรวมกันแกไขปญหาและพัฒนางานของชุมชน สนับสนุนการ จัดสวัสดิการชุมชน การจัดทําแผนชุมชน การดําเนินโครงการบานเอื้ออาทร และบานมั่นคง เพื่อใหประชาชนมีที่อยูอาศัย เปนของตนเอง เมื่อพิจารณาขอบขายงานของกระทรวงแลว เปนภารกิจยิ่งใหญ ครอบคลุมวิถีชีวิตประจําวันของคนทั้งประเทศ เปน ภารกิจที่ตองอาศัยเจตนารมณอันแนวแน และความรวมมือ รวมใจ จากทุกหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของ เพื่อใหการ ดําเนินงาน เปนไปในทิศทางเดียวกัน และเพื่อสนองตอบนโยบายของรัฐบาล ที่พยายามผลักดันโครงการตางๆ ปญหา สังคมเปนปญหาที่ทับถมมานาน เกิดจากความไมสมดุลในการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังนั้นจึงเปนนโยบายเรงดวนของรัฐ โดย กระทรวงฯ เปนผูปฏิบัติ ประสานงานกับทุกหนวยงาน ทุกๆ กระทรวง ที่จะชวยกันแกไข และสรางรากฐานที่มั่นคงแก สังคมไทย แกประชาชนคนไทยทุกๆ กลุมอยางเทาเทียม และเสมอภาค อาทิ การแกไขปญหาความยากจน การดูแล สวัสดิการสังคมสําหรับผูสูงอายุ การสงเสริมความเสมอภาคระหวางชายหญิง การสงเสริมและพัฒนาสถาบันครอบครัว และการผลักดันกฎหมายคนพิการ ใหมีผลบังคับใช รวมไปถึง การสงเสริมอาชีพ และการสรางรายได และสวัสดิการ สังคมอื่น ๆ ลวนเปนภารกิจเรงดวน ที่ตองการแรงขับเคลื่อน สนับสนุนใหบังเกิดผลเพื่อนําไป “สูสังคมที่ดีงาม และอยูเย็น เปนสุขรวมกัน”


by MPR 37 Group1


01 ขอมูล MOSO ความเปนมา วัตถุประสงค วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรองคกร ผูมีสวนไดเสีย การวิเคราะห SWOT ของ MOSO


ความเปนมาของ MOSO องคกร:

กระทรวงการพัฒนาสังคมมนุษย หรือ MOSO. Ministry of Social Development and Human Security (MOSO)

ความหมายของการพัฒนาสังคมมนุษย ความหมายตามคําจํากัดความของแผนพัฒนางานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะหแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2545 – 2549) กลาวไว ดังนี้ “การพัฒนาสังคม” หมายถึง กระบวนการการเปลี่ยนแปลงที่ดีทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม เพื่อประชาชนจะไดมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น ทั้งดานอาหาร การศึกษา สุขภาพอนามัย การมีงานทํา มีรายไดที่เพียงพอใน การครองชี พ ประชาชนได รั บ ความเสมอภาพ ความยุ ติ ธ รรม มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ทั้ ง นี้ ประชาชนจะต อ งมี ส ว นร ว มใน กระบวนการเปลี่ยนแปลงทุกขั้นตอนอยางเปนระบบ “ความมั่นคงของมนุษย” หมายถึง การที่ประชาชนไดรับหลักประกันดานสิทธิความปลอดภัย การสนองตอบตอความจํา เปนขั้นพื้นฐาน สามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีศักดิ์ศรี ไมประสบปญหาความยากจน ไมสิ้นหวังและมีความสุข ตลอดจนไดรับโอกาสอยางเทาเทียมกันในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ความหมายตามเอกสารของโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (UNDP) อธิบายวา ความมั่นคงของมนุษย หมายถึง การที่ ประชาชนสามารถแสดงออกในทางเลือกของตนอยางปลอดภัยและเปนอิสระ และประชาชนยังคงมีความแนใจไดวา โอกาสที่มีอยูในวันนี้จะยังคงอยูในวันพรุงนี้ ประชาชนควรจะมีศักยภาพ และไดรับอํานาจมากพอที่จะดูแลรับผิด ชอบ ตัวเอง มีโอกาสที่จะแสวงหาความตองการของตนเอง และรายไดที่พอ เพียงในการดํารงชีวิต ทั้งนี้ UNDP ไดประกาศ องคประกอบของความมั่นคงของมนุษย จํานวน 7 องคประกอบดังนี้ 1. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 2. ความมั่นคงทางอาหาร 3. ความมั่นคงทางสุขภาพ 4. ความมั่นคงทางสิ่งแวดลอม 5. ความมั่นคงทางบุคคล 6. ความมั่นคงทางชุมชน 7. ความมั่นคงทางการเมือง

by MPR 37 Group1


วัตถุประสงค กระทรวงการพัฒนาสังคมและมนุษย หรือ MOSO. มีอํานาจหนาที่ตามกฎหมายในการพัฒนาสังคม การสรางความเปน ธรรมและความเสมอภาคในสังคม การสงเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัว และชุมชน รวมทั้งรับผิดชอบในการดูแลกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองและพัฒนา ไดแก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.

พระราชบัญญัติสภาองคกรชุมชน พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ พ.ศ.2550 พระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 พระราชบัญญัติคุมครองผูถูกกระทําดวยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ.2546 พระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 และที่แกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติการฌาปนกิจสงเคราะห พ.ศ.2545 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคาประเวณี พ.ศ.2539 พระราชบัญญัติการเคหะแหงชาติ พ.ศ.2537 และที่แกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติการรับเด็กเปนบุตรบุญธรรม พ.ศ.2522 และที่แกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 และที่แกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ.2507 พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติจัดการฝกและอบรมเด็กบางจําพวก พ.ศ.2479 พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน(องคการมหาชน) พ.ศ.2543 และที่ แกไขเพิ่มเติม

วิสัยทัศน เปนองคกรธรรมภิบาล เปนกระทรวงหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม เพื่อนําไปสูสังคมที่ดีงาม และอยูเย็นเปนสุข รวมกัน

พันธกิจ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดกําหนดภารกิจในการปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2552-2555 ไว 3 ประการ คือ การสรางโอกาสกับผูที่ประสบปญหาทางสังคม สามารถเขาถึงบริการดานสวัสดิการสังคม การคุมครอง ปกปอง และพัฒนาตลอดจนการสรางหลักประกันในการดํารงชีวิต ใหกับประชาชนกลุมเปาหมาย ซึ่งมีทั้งกลุมเปาหมาย หลัก ผูที่ตกเปนเหยื่อ และกลุมที่มีรายไดนอย รวมทั้งเสริมสรางความรวมมือกับภาคีทุกภาคสวนของสังคมในการสงเสริม สังคมคุณธรรม โดยแบงเปนหัวขอไดดังนี้

by MPR 37 Group1


1) พัฒนากลไกการคุมครองทางสังคม 2) พัฒนาระบบการมีสวนรวมของทุกภาคสวน 3) พัฒนาศักยภาพของบุคลากรใหทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

คานิยมองคกร ซื่อสัตย ทํางานเปนทีม มืออาชีพ จิตมุงบริการ

ยุทธศาสตรองคกร สังคมไทยที่พึงปรารถนา คือสังคมที่ดีงามและอยูเย็นเปนสุขรวมกัน ซึ่งหมายถึง สังคมแหงความพอเพียงสันติ มีเศรษฐกิจ พอเพียง ไมทอดทิ้งกัน มีความเปนธรรม มีวัฒนธรรม มีความเขมแข็งทางสังคม สามารถรักษาความสมดุลในตัวเอง และ กับโลกภายนอกทามกลางความเปลี่ยนแปลง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย จึงไดดําเนินการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตรสังคม เพื่อเปนเครื่องมือสรางสรรคสังคมแหงการอยูเย็นเปนสุขดวยกัน ซึ่งประกอบดวย 4 ประเด็น ยุทธศาสตร ดังนี้ 1. การพัฒนาสวัสดิการสังคมและสรางความมั่นคงในการดํารงชีวิต - กลุมเปาหมายมีโอกาสเขาถึงการคุมครองและสวัสดิการอยางทั่วถึงในทุกพื้นที่ 2. สงเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาปองกัน และ แกไขปญหาสังคม - ประชาชนทุกกลุมเปาหมายไดรับการคุมครองและปองกันปญหาทางสังคม - ประชาชนกลุมเปาหมายไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. เสริมพลัง และสรางการมีสวนรวม - กลุมเปาหมายและชุมชนมีศักยภาพและมีสวนรวมในการพัฒนาสังคม 4. สงเสริมระบบการบริหารราชการตามหลักธรรมมาภิบาล - ภาคประชาชนและบุคลากรมีความเชื่อมั่นในการบริหารราชการแผนดิน

by MPR 37 Group1


การพัฒนาสวัสดิการ สังคมและสรางความ มั่นคงในการ ดํารงชีวิต

สงเสริมการขับเคลื่อน การพัฒนาปองกัน และแกไขปญหาทาง สังคม

เสริมพลัง และสราง การมีสวนรวม

สงเสริมระบบการ บริหารราชการตาม หลักธรรมาภิบาล

by MPR 37 Group1


ผูมีสวนไดเสีย สําหรับการวิเคราะหผูมีสวนไดเสีย และผูที่เกี่ยวของ เมื่อพิจารณาตามปจจัย 3 ดาน ซึ่งไดแก ปจจัยแวดลอมและสังคม (Environmental & Societal) ปจจัยที่มีผลโดยตรงตอการดําเนินการขององคกรหรือกลุมเปาหมายภายนอกองคกร (Economic & Target Groups) และปจจัยสุดทายคือปจจัยเชิงองคกรซึ่งเปนกลุมเปาหมายภายใน (Organizational) จะ สามารถแบงออกเปนกลุมยอยตามแผนภาพดานลาง Environmenta l & Societal Economic & Target Groups

Organization al

ENVIRONMENTAL & SOCIETAL - รัฐบาล หรือผูมีอํานาจในการ ควบคุม - กลุม NGOs - สื่อตางๆ (Media) - ผูจัดอันดับ เชน สถาบันวิจัย ตางๆ - อื่นๆ

ECONOMIC & TARGET GROUPS - Customer / User เด็กและเยาวชน, สตรี, ผูสูงอายุ, ผูพิการ, ผูดอยโอกาส, ผูติดเชื้อ เอดส, ผูประสบภัย, ครอบครัว และชุมชน, ชาวเขา, ผูเดือนรอน ดานที่อยูอาศัย - นักลงทุน / ผูบริจาค - อื่นๆ

ORGANIZATIONAL - บุคลากรของ MOSO - ผูบริหาร MOSO - หนวยงาน กองงาน ตางๆ - อื่นๆ

ทั้งนี้การพัฒนาแผนประชาสัมพันธที่จะนําเสนอจะมุงเนนไปที่สองกลุมหลัง ซึ่งถือวาเปนกลุมผูมีสวนไดเสียหลัก โดย กลุมเปาหมายภายในองคกรจะเปนกลไกในการขับเคลื่อนใหเกิดคุณภาพในกลุมเปาหมายภายนอกองคกร ซึ่งอยูใน ขอบเขตที่องคกรสามารถควบคุมได ในขณะที่กลุมปจจัยแวดลอมและสังคมเปนกลุมที่องคกรสามารถควบคุมไดยาก หรือไมสามารถควบคุมได เชน รัฐบาล ซึ่งอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงดานนโยบาย หรือการออกกฎหมายที่มีผลกระทบตอ การทํางานของกระทรวง เปนตน

by MPR 37 Group1


การวิเคราะห SWOT ของ MOSO STRENGTHS WEAKNESSES 1. เปนองคกรที่ดูแลชวยเหลือความเปนอยูที่ดีคนทุกก 1. เปนองคกรมีหนวยงานภายในจํานวนมาก ซึ่งเกิดการการ ชวงเวลาและทุกระดับชั้น รวมหนวยงานจากหลากหลายสังกัด ทําใหขาดการ 2. มีหนวยงานภายในที่มีชื่อเสียงหลายหนวยงาน อาทิ การ ทํางานอยางบูรณการ เคหะแหงชาติ สถานธนานุรักษ 2. ขาดนโยบายการดําเนินที่ชัดเจนจากผูบริหาร 3. มีหนวยงานกระจายอยูทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทําให 3. เปนองคกรที่ตองทํางานรวมกับหนวยงานราชการอื่นๆ สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายไดสะดวกและรวดเร็ว ทําใหการทํางานขาดความคลองตัว 4. ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ ไมตองหา) 4. ขั้นตอนการดําเนินงานซับซอน และใชเวลา (งบประมาณในการดําเนินการเอง 5. ขาดการประชาสัมพันธองคกรใหเปนที่รูจักอยาง 5. ผูบริหารเห็นความสําคัญ อนุมัติใหทาํ โครงการตาง ๆ ไดดี แพรหลาย มีงบประมาณเพียงพอในการจัดทําโครงการ 6. หนวยงานภายในไมใหความสําคัญกับงาน ประชาสัมพันธองคกร เนื่องจากหนวยงานภายในเนน 6. ผูบริหารใหความสําคัญกับการสงเสริมและ(ปจจุบัน) การประชาสัมพันธที่ตัวหนวยงาน สนับสนุนภาพลักษณที่ดีขององคกร 7. การสื่อสารภายในไมทั่วถึงและไมมีทศิ ทางที่ชัดเจน 7. ผูบริหารเขามามีสวนรวมในการดําเนินการของ(ปจจุบัน) 8. แตละหนวยงานจะทําประชาสัมพันธหนวยงาน และ องคกร ประชาสัมพันธสวนกลางขาดการสนับสนุนดาน 8. บุคลากรมีความรูเฉพาะดานซึ่งตรงกับงานที่ตองดูแล งบประมาณ 9. การจัดทําโครงการตางๆไดรับความรวมมือเปนอยางดีจาก 9. ตราสัญลักษณขององคกรไมเปนที่รูจักของ หนวยงานภายนอกและสื่อตางๆ กลุมเปาหมาย เนื่องจากมีหนวยงานราชการหลาย หนวยงาน ใชรูปแบบที่คลายคลึงกัน และขาดการ โฆษณาและประชาสัมพันธตราสัญลักษณให กลุมเปาหมายรับรูเทาที่ควร 10. บุคคลากรภายในจํานวนมากยังคงยึดติดกับคานิยมการ ทํางานแบบขาราชการเปนหลัก ทําใหไมสามารถ ปฏิบัติงานไมเต็มศักยภาพ 11. บุคลากรภายในขาดจิตสํานึกในดานงานบริการและการ ทํางานเชิงรุก 12. บุคลากรภายในขาดการมีสวนรวมในองคกร 13. เจาหนาไมเพียงพอ ทําใหไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได อยางตอเนื่อง 14. เนื่องจากเปนงานดานการดูแลคน ซึ่งที่ตองใชระยะเวลา ในการดําเนินการใหประสบผลสําเร็จ (Time Intensive)

by MPR 37 Group1


15. สถานที่ตั้งอยูในหนวยงานราชการ ทําใหติดภาพการ ทํางานแบบราชการ สงผลใหเกิดการเขาถึงยาก OPPORTUNITIES 1. หนวยงานภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนกิจกรรม. เปนอยางดี 2. ไดรับการสนับสนุนจากสื่อเปนอยางดี 3. องคกรทองถิ่นใหการสนับสนุน 4. ชุมชนใหความรวมมือดี 5. สามารถดําเนินงานในเชิงรุก

THREATS 1. มีหนวยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนที่ใหบริการ คลายคลึงกัน ทําใหเกิดความซ้ําซอนในการทํางานกับ หนวยงานอื่นๆ 2. นโยบายมาจากหลายทิศทางและเปลี่ยนแปลงระหวาง ปงบประมาณบอยทําใหปรับแผนนโยบายไดชา 3. มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เชนรัฐมนตรี ประจํา กระทรวงฯที่สงผลตอนโยบายการทํางาน 4. ความคาดหวังของผูรับบริการ และสื่อมวลชนสูงขึ้น 5. การเมืองที่ไมแนนอนมีการปรับเปลี่ยนนโยบายได งบประมาณลาชา 6. สภาพสังคมเปลี่ยนแปลง 7. สภาพเศรษฐกิจไมดี 8. วัฒนธรรมทองถิ่นเปลี่ยน

by MPR 37 Group1


02 การปรับปรุงภาพลักษณ MOSO ภาพลักษณปจจุบัน ผลการวิเคราะหภาพลักษณจากเครื่องมือ SWOT การปรับปรุงภาพลักษณ MOSO เชิงบูรณาการ ตนแบบแบรนด MOSO การปรับปรุงระบบตราสัญลักษณ


ภาพลักษณปจจุบัน เครื่องหมายประจํากระทรวง 1. เปนรูปวงกลมสายตรงกลางวงกลมเปนรูปพระประชาบดีประทับอยูเหนือแทน (ประชาบดีเปนเทพที่พึ่งของ ประชาชน) 2. มีลายกนกเปน ภาพศีรษะฤาษี 7 ตน อยูรอบวงกลมเดียวกัน ซึ่งแสดงถึงความรวมมือของทุกสวนในสังคม และหมายถึงความมั่นคงของมนุษยและความมั่นคงของสังคม 7 ดาน 3. เบื้องลางมีอักษร" กระทรวงการพัฒนาสังคมมนุษย "

สีชมพู ที่บอกถึงความรมเย็น ความสงบสุข

STATE ENTERPRISES / PUBLIC ORGANIZATIONS สถาบันพัฒนาองคกร ชุมชน

สํานักงานธนานุเคราะห

การเคหะแหงชาติ

by MPR 37 Group1


ผลการวิเคราะหภาพลักษณจากเครื่องมือ SWOT อางอิงจากการวิเคราะห SWOT องคกรของ MOSO จะพบวามีสวนที่เกี่ยวของกับภาพลักษณที่เปนสวนที่สามารถปรับปรุง และพัฒนาไดทั้งในสวนที่เกี่ยวของกับการสื่อสารภายนอกองคกรและภายนอกองคกร

ปญหาในสวนที่เกี่ยวของกับการสื่อสารภายนอกองคกร 1. เปนองคกรมีหนวยงานภายในจํานวนมาก ซึ่งเกิดการรวมหนวยงานจากหลากหลายสังกัด ทําใหขาดความเปน เอกภาพในแงของ brand 2. ขาดการประชาสัมพันธองคกรใหเปนที่รูจักอยางแพรหลาย 3. การออกแบบสื่อประชาสัมพันธมีการใชแนวทางการออกแบบที่สอดคลองกัน ทําใหเอกลักษณขององคกรไมโดดเดน 4. ตราสัญลักษณขององคกรไมเปนที่รูจักของกลุมเปาหมาย เนื่องจากมีหนวยงานราชการหลายหนวยงาน ใชรูปแบบที่ คลายคลึงกัน และขาดการโฆษณาและประชาสัมพันธตราสัญลักษณใหกลุมเปาหมายรับรูเทาที่ควร 5. หนวยงานภายในเนนการประชาสัมพันธที่ตัวหนวยงาน โดยไมเนนการประชาสัมพันธตัวบริการซึ่งมีความหลากหลาย และมีความใกลชิดกับประชาชน 6. ติดภาพการทํางานแบบราชการ และมีสถานที่ตั้งอยูในหนวยงานราชการ ทําประชาชนรูสึกวาเขาถึงยากถึงแมบริการ ของ MOSO จะเปนบริการที่ใกลตัวประชาชนก็ตาม ตัวอยางปญหา: ตราสัญลักษณขององคกรไมเปนที่รูจักของกลุมเปาหมาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ

กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา

กระทรวงการตางประเทศ

จังหวัดบุรีรัมย

กระทรวงแรงงาน

กระทรวงอุตสาหกรรม

by MPR 37 Group1


จากภาพตราสัญลักษณของหนวยงานรัฐตางๆ จะพบวามีลักษณะที่คลายคลึงกัน และมีรายละเอียดการออกแบบมากทํา ใหไมคอยเปนที่จดจําของประชาชนทั่วไป 7. ตัวอยางปญหา: การออกแบบสื่อประชาสัมพันธไมมีสอดคลองกัน ตัวอยางรูปแบบสื่อประชาสัมพันธในปจจุบันซึ่งไมสอดคลองกันในเรื่องของการใชฟอนต แนวทางการออกแบบ

รูปภาพที่ 1 แผนพับประชาสัมพันธศูนยขอมูลขาวสาร

รูปภาพที่ 2 แผนพับประชาสัมพันธศูนยประชาบดี

by MPR 37 Group1


รูปภาพที่ 3 แผนพับประชาสัมพันธโครงการสังคมไมทอดทิง้ กัน

รูปภาพที่ 4 สื่อนิทรรศการ

ปญหาในสวนที่เกี่ยวของกับการสื่อสารภายในองคกร 1. การสื่อสารภายในไมทั่วถึงและไมมีทิศทางที่ชัดเจน 2. บุคลากรภายในขาดจิตสํานึกในดานงานบริการและการทํางานเชิงรุก 3. บุคลากรภายในขาดการมีสวนรวมในองคกร ปญหาเกี่ยวกับการสื่อสารและภาพลักษณดังกลาวทําใหไมสามารถใชประโยชนจากจุดแข็งของ MOSO ในแงตางๆ ได อยางเต็มที่ เชน การเปนองคกรที่ดูแลชวยเหลือความเปนอยูที่ดีของคนทุกชวงอายุ และทุกระดับชั้น การมีหนวยงาน กระจายอยูทุกจังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งนาจะทําใหประชาชนรูสึกเขาถึงไดงาย และการมีบุคลากรที่มีความรูเฉพาะดานกับ งานที่ดูแล เปนตน ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะลดชองวางระหวาง ระหวางภาพที่ประชาชนมองเห็น กับภาพที่ MOSO คิด วาควรจะสงเสริมใหเปน จึงมีการคิดกลยุทธในการปรับปรุงภาพลักษณของ MOSO (Re-image) ขึ้น

by MPR 37 Group1


การปรับปรุงภาพลักษณ MOSO เชิงบูรณาการ

รูปภาพที่ 5 แผนที่ทางความคิด

ความมุงมั่น สรางการรับรูยอมรับและตระหนักถึงภาพลักษณ ของ MOSO ที่ทันสมัย เปนมิตรเขาถึงงาย และยอมรับถึงความสําคัญตอ การพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน

วัตถุประสงค 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

เพื่อใหประชาชนไทยทั่วไปรูจักกระทรวงพัฒนาสังคมมนุษย หรือ MOSO ใหภาพลักษณใหม เพื่อเผยแพรขอมูลขาวสารของ MOSO และโครงการ “ME TO WE” ใหประชาชนไทยทั่วไป เพื่อใหประชาชนไทยทั่วไปเกิดความรู ความเขาใจ ถึงวิธีและขั้นตอนของการใหบริการเพื่อสังคมของ MOSO เพื่อกระตุนใหประชาชนไทยทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการใชบริการ และมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆของ MOSO เพื่อใหประชาชนไทยทั่วไปตระหนักถึงคุณคาของการพัฒนาสังคมไทยอยางยั่งยืน เพื่อใหประชาชนไทยทั่วไปเกิดทัศนคติในเชิงบวกตอการพัฒนาสังคมไทยอยางยั่งยืน เพื่อใหเกิดความรวมมือระหวางสื่อมวลชน องคกรตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในการเขารวมหรือสนับสนุน โครงการ “ME TO WE ชีวิตโอเค”

by MPR 37 Group1


ตนแบบแบรนด MOSO (Brand Model) Brand Identity ตราสัญลักษณแบบ เปนทางการ

Vision Brand Promise สร า งภาพลั ก ษณ ก ารเป น กลไก รวมกันใหบริการระดับมืออาชีพแกประชาชน ขับเคลื่อ นสังคมที่ ดีง าม และ โดยไมหยุดยั้งที่จะสรางสรรคสิ่งใหมๆ เพื่อ ประชาชนอยูเย็นเปนสุขรวมกัน ความเปนสุขของสังคม โดยพรอมเปนสวนหนึ่ง ที่จะกระตุนสังคมรวมกันมอบสิ่งดีๆ ใหแกกัน

Values Service Professional Innovation Responsibility Integrity Teamwork

ตราสัญลักษณแบบ เปนทางการ

by MPR 37 Group1

Big Idea ME TO WE ชีวิตโอเค


การปรับปรุงระบบตราสัญลักษณ MOSO เครื่องหมายประจํากระทรวง ระบบตราสัญลักษณตามแผนการปรับปรุงภาพลักษณองคกร คือการคงการใชงานแบบตราสัญลักษณเดิมไวเพื่อใชใน กรณีที่เปนทางการ เนื่องจากมีสวนที่เกี่ยวของในสวนราชการภายใน และภายนอกประเทศ และมีเงื่อนไขทางกฎหมาย เกี่ยวของ สวนที่เพิ่มเติมจากระบบตราสัญลักษณเดิม คือการสรางตราสัญลักษณใหม ที่ใชในรูปแบบที่ไมเปนทางการ เพื่อใหเกิด ความรูสึกทันสมัย ผอนคลาย และใกลชิดกับประชาชนและเปนมิตรมากยิ่งขึ้น โดยสอดแทรกประโยชนที่ประชาชนจะได จากบริการที่มีใหแกประชาชนกลุมเปาหมาย

แบบที่ แบบทางการ 1 ความหมาย “กระทรวงพัฒนาสังคมมนุษย” คือ องคกรที่ทําหนาที่สรางกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ดีทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม เพื่อใหประชาชนไดรับหลักประกันตามความจําเปนขั้นพื้นฐาน สามารถดํารงชีวิตในสังคมอยางสมศักดิ์ศรี และเทาเทียม โดยประชาชนตองมีสวนรวมในกระบวนการเปลี่ยนแปลงอยางเปนระบบ

รูปภาพที่ 6 ตราสัญลักษณแบบทางการ   

วงกรมตรงกลางเปนรูปพระประชาบดีอยูเหนือแทน หมายถึง กระทรวงอันเปนที่พึ่งของคนไทยทุกระดับ (พระ ประชาบดีเปนเทพที่พึ่งของประชาชน) ลายกนก เปนภาพฤาษี 7 ตน อยูรอบวงกลม หมายถึง ความรวมมือของทุกภาคสวนของสังคม เบื้องลางมีอักษร คําวา กระทรวงพัฒนาสังคมมนุษย

by MPR 37 Group1


แบบที่ แบบไมเปนทางการ 2 ความหมาย “ME TO WE: ชีวิตโอเค” คือ องคกรที่ทําหนาที่ดูแลชีวิต ความเปนอยูของคนไทยทุกๆ คนทุกๆ ระดับ ในสังคม เพื่อใหเกิดความรัก ความสมัคร สมานสามัคคี และการมีสวนรวมของคนไทยที่จะตองคอยดูแล ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ภายใตสถาบันหลัก คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ซึ่งเปนรากฐานที่สําคัญของประเทศ เพื่อใหทุกคนอยูรวมกันอยางมีความสุข และมีชีวิตที่ “โอเค”

รูปภาพที่ 7 ตราสัญลักษณแบบไมทางการ  สัญลักษณรูปมือ ชูสามนิ้ว หมายถึง การมีสวนรวมของคนไทย จากทุกภาคสวนในการดํารงไวซึ่ง 3 สถาบันหลัก คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ซึ่งเปนรากฐานที่สําคัญของประเทศ  หัวใจสีชมพู (กลีบบัว) ที่อยูภายในมือ หมายถึง ความรัก ความสมัครสมานสามัคคี และความเอื้อเฟอเผื่อแผ มี น้ําใจใหซึ่งกันและกัน อันเปนเอกลักษณที่ดีงามของคนไทยทุกๆ คน  ME TO WE หมายถึง คนไทยทุกๆ คน คือ พวกเรา เปนหนาที่ของเราที่ตองดูแล เอาใจใส เพื่อใหทุกคนอยู รวมกันอยางมีความสุข  สีชมพู (กลีบบัว) และสีเทาของตัวอักษร ภายถึง ความหลากหลายของคนในสังคม ซึ่งมีทั้งดีและไมดี แตทุกๆ คน ก็คือคนไทย  ชีวิตโอเค หมายถึง คนไทยทุกๆ คนไดรับหลักประกันตามความจําเปนขั้นพื้นฐาน สามารถดํารงชีวิตในสังคม อยางสมศักดิ์ศรี และเทาเทียม

ลักษณะการใชงานเครื่องหมายกระทรวง 1. กรณีการใชงานลักษณะแบบเปนทางการ (คูกัน) อาทิ การใชงานในระบบราชการ หรือภายในหนวยงาน ตางๆ ของกระทรวง หรือระหวางกระทรวง หรือภายนอกกระทรวง ตามภาพ

by MPR 37 Group1


2. กรณีการใชลักษณะแบบกึ่งทางการ ทั้งภายในและภายนอกองคกร ทั้งนี้ไมจําเปนตองมีโลโกหลักของ กระทรวง ตามภาพ

3. กรณีการใชงานแบบไมเปนทางการ สําหรับภายนอกองคกร และมีวัตถุประสงคเพื่อการประชาสัมพันธเปน หลัก ทั้งนี้ไมจําเปนตองมีโลโกหลักของกระทรวง ตามภาพ

4. กรณีการใชงานแบบไมเปนทางการ สําหรับภายในองคกร และมีวัตถุประสงคเพื่อการประชาสัมพันธเปน หลัก ทั้งนี้ไมจําเปนตองมีโลโกหลักของกระทรวง ตามภาพ

โลโก 1 สี กรณีที่ไมสามารถพิมพสีโลโกไดตามปกติ ทั้งนี้สําหรับโลโกหลักของกระทรวงหามพิมพเปนสีอื่น ตองเปนสีชมพู เทานั้น ใหใชดังนี้

คาสีหลัก

by MPR 37 Group1


by MPR 37 Group1


ตัวอยางการใชงาน

รูปภาพที่ 8 กระดาษหัวจดหมาย

รูปภาพที่ 9 ซองจดหมาย

by MPR 37 Group1


รูปภาพที่ 10 ซองน้ําตาล

รูปภาพที่ 11 นามบัตร

by MPR 37 Group1


รูปภาพที่ 12 ตัวอยางเสื้อยืดเพื่อประชาสัมพันธ ภายในองคกร ดานหลังมีคําวา SPIRIT

รูปภาพที่ 13 ตัวอยางเสื้อยืดเพื่อประชาสัมพันธ ภายนอกองคกร ดานหลังเปนโลโก OK

by MPR 37 Group1


03 การวางแผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ “MOSO Dive into the Blue Ocean” กลุมเปาหมายของ MOSO สื่อ และพฤติกรรมการบริโภคสื่อตางๆ กลยุทธและแผนการสื่อสารภายในองคกร กลยุทธและแผนการสื่อสารภายนอกองคกร

by MPR 37 Group1


กลยุทธการสื่อสาร “MOSO Dive into the Blue Ocean” หัวใจหลักของกลยุทธการสื่อสารนี้ไดนํายุทธศาสตร Blue Ocean เขามาประยุกตใช จากเดิมที่กลุมเปาหมายหลักของ MOSO คือผูใชบริการระดับรากหญา หรือผูที่ดอยโอกาสทางสังคม จะเห็นวา กลุมคนระดับกลางขึ้นไปจะไมคอยไดรูจัก องคกร หรือ กิจกรรมตางๆ ของ MOSO เทาที่ควร ซึ่งกลุมคนเหลานี้เปนกลุมที่จะมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการสนับสนุน กิจกรรม โครงการตางๆ ของ MOSO เปนกลุมเปาหมายใหมที่จะสามารถเขาถึงไดงาย ถือเปนกลุม “เลือดใหม” ที่เหมาะ เปนตัวแปรสําคัญในการขับเคลื่อนกลยุทธการสื่อสาร

BLUE OCEAN STRATEGY การเขียนแผนกลยุทธการสื่อสารนี้เลือกใชการวิเคราะหตามกลุมเปาหมายที่แบงตาม Generation ตางๆ เพื่อศึกษา พฤติ กรรมการเข า ถึงและรู ปแบบการสื่ อสารที่เหมาะสมในแต ละกลุ ม พร อ มด ว ยการเลื อ กใช สื่อในรูปแบบต างๆ มา ประยุกตปรับใชทั้ง traditional media รวมถึง Social Media ที่กําลังสรางกระแสและตรงกับกลุมเปาหมายใหมในตลาด ใหมของ MOSO คือ Blue Ocean ไดเปนอยางดี โดยจะมีกลยุทธการสื่อสารการประชาสัมพันธภาพลักษณใหมของ MOSO ใหแกทั้งภายในและภายนอกองคกร แบงเปน 5 ขั้นตอน ดังนี้

Listening

Be in their social space

Clear Understanding

Encourage Innovation

Be Patient and Consistently

รูปภาพที่ 14 MOSO Dive into the Blue Ocean Strategy steps 1. Listening กระบวนการศึกษาพฤติกรรมของกลุมเปาหมายทั้งภายใน และภายนอกองคกรวา มีพื้นฐานความเขาใจตอ ภาพลักษณของ MOSO (เดิม) เปนเชนไร เชน ความรูสึกที่มีตอองคกร หรือ การความตองการของประชาชนตอ การพัฒนาสังคมที่ยั่งยืนในอนาคต และรวมถึงการวิเคราะหปจจัยการบริโภคสื่อตางๆ ที่จะนํามาเปนขอมูลใน การพัฒนา Tools และ Channel ในการสื่อสาร 2. Be in their social space ในขั้นตอนที่ 2 จะเริ่มเปดทางหาชองทาง สรางตัวตนขององคกรในโลกของแตละกลุม คือ พยายามสรางอัตรา การผานสายตา สรางตัวตนของเราในโลกของกลุมเปาหมาย จองพื้นที่ของเราในสังคมนั้นๆ หรือเขาไปอยูใน ชีวิตประจําวันของพวกเคาใหบอย และมีประสิทธิภาพมากที่สุด ดังเชนคํานิยามที่วา “go out to their worlds

by MPR 37 Group1


and contribute” และใหกลุมเปาหมายเริ่มรูสึกวา MOSO อยูในสังคมเดียวกับเคา และพรอมที่จะพูดคุยภาษา เดียวกันกับเคาได 3. Clear Understanding การกําหนด Key Message หลักที่ตองการสื่อสารตอกลุมเปาหมายตางๆ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจที่ กระจางชัดเจนตอภาพลักษณและยุทธศาสตรใหมของ MOSO โดยในสวนของการสื่อสารภายใน ตองอยูใน ระดับที่สามารถทําใหบุคลากรในองคกรอยูในฐานะที่สามารถเปน Brand Ambassadors ได 4. Encourage Innovation เพื่อใหเกิดเปนภาพลักษณ และยุทธศาสตรที่ยั่งยืน ตามพันธกิจหลักขององคกร จึงจําเปนตองกอใหเกิดการ ทั้ ง ต อ บุ ค ลากรภายในและ พั ฒ นาสร า งกระบวนการทางความคิ ด ใหม ๆ ที่ ส ร า งสรรค (Innovation) บุคคลภายนอก อาทิ การสรางนวัตกรรมใหมในการพัฒนากระบวนการทํางาน การใหบริการสูสังคม การปรับ รูปแบบการทํางานใหเหมาะกับเทคโนโลยีและสถานการณปจจุบัน รวมถึงกิจกรรมตางๆ ในเชิงรุกแบบใหม เปน ตน 5. Be Patient and Consistently การสรางความรูสึกถึง Brand Loyalty แกกลุมเปาหมายไดนั้น จําเปนจะตองอาศัยความสม่ําเสมอ ความอดทน ในการสื่อสารอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนการสรางกิจกรรม หรือรูปแบบชองทาง ขอความที่ตองการจะสื่อสาร เพื่อใหเกิดความสัมพันธตอองคกรที่ยาวนาน เกิดความเขาใจอันดี การระลึกถึงตอองคกร ซึ่งจะทําใหเกิดการ สรางประสิทธิผลที่ดีอยางสูงสุดตอการพัฒนาองคกรทั้งกระบวนการขับเคลื่อนจากภายใน และการสรางสังคมที่ ยั่งยืนตอสังคมไทย

กลุมเปาหมายของ MOSO กลุมเปาหมายในการสื่อสารถึงภาพลักษณใหมของ MOSO นั้นแบงไดออกเปน 2 กลุมใหญๆ คือ กลุมเปาหมายภายนอก องคกร และภายในองคกร ทั้งนี้ กลุมเปาหมายภายนอก หมายถึงผูใชบริการเดิม หรือกลุมผูดอยโอกาสทางสังคมแลวนั้น ยังสงเสริมและมุงเนนการเปดตัวองคกร กิจกรรมขององคกร ที่เปนภาพลักษณใหมไปยังกลุมที่ใหมและกวางขึ้นคือกลุม Blue Ocean ที่อยูใน Generations ตางๆ คือ Generation X Generation Y เปนหลัก และ กลุม Baby Boomer ซึ่ง วิธีการสื่อสารก็จะแตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับพฤติกรรมของแตละ Generations นั้นๆ ดวย และก็จะแตกตางกันอีกทั้ง กลุมที่เปนภายในและภายในองคกร

การวิเคราะหพฤติกรรมของกลุมตางๆ ตามปจจัยภายนอกองคกร ดังนี้ Baby Boomer กลุมประชากรที่อยูในชวงเวลาที่ตองเริ่มวางแผน ปลดระวางและดีดตัวเองออกจากงาน งายๆ ก็คือรุนคุณ ตา คุณยาย เเละคุณพอคุณ เเมของเรา ปจจุบันนี้ถือวาเปนกลุมคนสวนใหญของโลก ในประเทศไทยมีประชากรกลุมนี้ มากกวา 30 ลานคน ในป 2555 คนกลุมนี้พวกจะลงไปกองกันเปนวัยทองกันหมด Generation X: ผูที่เกิดในชวงกลางป 1960 -1980 เปนกลุมตอจาก Baby Boomers หากเราเทียบปแลว Generation X นาจะหมายถึงคนที่มีอายุในชวงทีนเอจในป ค.ศ.2000 พวกที่สุขงอมเต็มที่ของทรัพยสมบัติจากบิดามารดาที่จัดสรรไวให

by MPR 37 Group1


หมายความวาบริโภคนิยมเต็มตัวและไมใสใจใคร มีแนวทางเปนของตนเอง เชื่อมั่นในตนเองสูง สภาพของที่อยูอาศัย เปลี่ยนเปนชุมชนเมืองอยางเต็มตัว Generation Y: ผูที่เกิดในชวงป 1985 ถึงปจจุบัน 2001 คน Gen-Y จัดไดวาเปนกลุมที่เติบโตมาในยุคของการ เปลี่ยนแปลงอยางมากของสภาพแวดลอมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง รวมทั้งเทคโนโลยีที่กาวหนาอยางที่ภาษาพูด เรียกวาไฮเทค คนกลุมนี้ จึงมีบุคลิกลักษณะดานหนึ่งที่คอนขางหวือหวา ตามสมัยนิยม พวงติดมากับความเกงกลาในการ แสดงออกและกลาที่จะคิด

ในกรณีของการทํางานในองคกร Baby Boomer คือคนทํางานในองคกรระดับผูบริหาร กลุมนี้จะภักดิ์ดีตอองคกรมาก Generation X ระดับหัวหนางาน กลุมนี้จะมุงสรางสรรคผลงาน มุงมั่นทํางาน มีความมุงมั่นเปนเลิศ Generation Y กลุมคนทํางานรุนใหม ที่เกิดพ.ศ.2521 ลงมา ซึ่งถูกมองวา กาวราว ยะโส ไมคอยภักดิ์ดีตอองคกร เปลี่ยน งานบอย มีความเปนตัวของตัวเองสูง ความอดทนต่ํา ชอบทาทายกฎระเบียบขององคกร แตมีความทะเยอทะยาน มี ความคิดสรางสรรค ชอบการเปลี่ยนแปลง กลาคิดกลาทํา กลาแหวกแนว กระตือรือรน มีไอเดียใหมตลอดเวลา New Generation คนรุนใหม กลุมคนทํางานรุนเริ่มตนการทํางาน หรืออาจจะเปนผูบริหารรุนใหมๆที่คนรุนกอนแหวกทางให เปดตัว เปนผูบริหาร เนื่องมาจากการเขาทํางานของคนในแตละรุนมีบทบาทตางกัน อุปนิสัย ความรับผิดชอบ ผลงาน และ อายุ ของแตละรุนตางกัน จึงมีการเปรียบเทียบกันในทุกดานของการทํางานของแตละรุน ถึง Gen Y จะมีขอเสียมากมาย แตขอดีของกลุมนี้ก็มากเชนเดียวกัน จึงเปนที่ตองการขององคกรใหญมาก ทําใหตองการการวิจัยขึ้น วาตองทําอยางไร ถึง จะดึง Gen Y ไวกับองคกร เพราะกลุมนี้อยางที่กลาวไวขางตนวา ชอบเปลี่ยนงาน ผลสรุปมากมายบอกวา ความเกงกลาในการแสดงออกและกลาที่จะคิด ซึ่งสองตัวหลังนี้ มีประโยชนกับองคกรมาก เพราะ มันเปนปจจัยดานบวกที่ชวยใหการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในองคการงายและราบรื่นขึ้น โดยเฉพาะในภาวะที่องคกรจะตอง ปรับตัวแทบจะตลอดเวลาตามภาวะการแขงขันของตลาดและพฤติกรรมของผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป แนนอนวา องคกรก็ตองการคนกลุมนี้เปนเสมือน “เลือดใหม” ที่สามารถถวงดุลกับคนรุนเกาที่คอนขางอนุรักษนิยม เพื่อ สรางการเปลี่ยนแปลงขององคการใหเหมาะเจาะกับสภาพแวดลอมทั้งภายนอก และภายในตัวองคกรเอง

by MPR 37 Group1


กลยุทธและแผนการสื่อสารภายในองคกร CORE VALUE = SPIRIT จากการวิเคราะห SWOT องคกรของ MOSO พบอุปสรรคภายในองคกรที่สามารถปรับปรุงและพัฒนาได เชน ขาดการ ประชาสัมพันธองคกร, ขาดความเปนเอกภาพในแงของ brand, ขาดการทํางานแบบบูรณาการ เปนตน ดังนั้นกลยุทธการ สื่อสารภายในองคกร MOSO จะเปนการสื่อสารโดยการปลูกฝงคานิยมองคกรคือ SPIRIT ซึ่งเปนคานิยมที่ไดรับการ ปรับปรุงเพิ่มเติมจากคานิยมเดิม ซึ่งไดแก ซื่อสัตย (Integrity) ทํางานเปนทีม (Teamwork) มืออาชีพ (Professional) และ จิตมุงบริการ (Service) โดยมีการเพิ่มเติมอีก 2 คานิยม ซึ่งไดแก ความรับผิดชอบ (Responsibility) และ นวัตกรรม (Innovation) เพื่อสรางภาพลักษณความทันสมัย พรอมๆ กับความรับผิดชอบตอสังคม ทั้งนี้ เพื่อใหคานิยมองคกร เปนสิ่ง ที่บุคลากรของ MOSO ยึดถือปฏิบัติ และสะทอนออกมาในรูปแบบของการใหบริการที่ทันสมัย เปนมิตร และเขาถึงไดงาย มากขึ้น เพื่อผลักดันใหเกิด “ชีวิต OK” ตามวัตถุประสงคของการสื่อสารภายนอกองคกร

Service บริการ

Team Work

Innovation

การทํางานรวมกัน

นวัตกรรม

SPIRIT Integrity

Resposibility

ความถูกตอง ธรรมาภิบาล

ความรับผิดชอบ

Prefressional ความเปนมืออาชีพ

รูปภาพที่ 15 คานิยมใหมองคกร

by MPR 37 Group1


MOSO Internal Communication Strategy วัตถุประสงค 1. เพื่อใหบุคลากร และหนวยงานภายในตางๆ รูจัก MOSO’s vision, mission และ core values (SPIRIT) ของ กระทรวงพัฒนาสังคมมนุษย หรือ MOSO ไดชัดเจนเขาใจอยางแทจริง 2. เพื่อใหบุคลากรระดับผูบริหาร หัวหนาหนวยงาน Unit ตางๆ สามารถสื่อสารขอมูลตางๆ ใหแกผูใตบังคับบัญชา ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อสรางความเขาใจแกบุคลากรของ MOSO ในเรื่องของ policies และ procedures ที่เกี่ยวของกับภาระงาน ความรับผิดชอบของตนเอง 4. เพื่อ สรางความตระหนักของบุ คลากรใหมีตอองคกร จนเกิดเปน Brand Loyalty เสมือนเปน Brand Ambassadors สนับสนุน ประชาสัมพันธ กิจกรรม ภาพลักษณ โครงการตางๆ ของ MOSO ได เชน โครงการ “ME TO WE ชีวิตโอเค” เปนตน 5. เพื่อ สร า งความรู กระบวนการคิด และพัฒนานวัตกรรม (Innovation) ที่สรางสรรคใ หแกบุคลากร ในสว นที่ เกี่ยวของกับตนเองและองคกร 6. เพื่อใหบุคลากรตระหนักถึงวิธีและขั้นตอนของการใหบริการเพื่อสังคม (Responsibility) ของ MOSO ) 7. เพื่อใหเกิดความรวมมือและความสัมพันธอันดีที่ยั่งยืน ระหวางบุคลากร ระหวางหนวยงาน จนถึงระดับองคกร

STEP 1: LISTENING Tactics: 1. ศึกษาขอมูลจากแหลงวิจัยภายนอก เชน ผลการศึกษา โครงการศึกษาปจจัยความผาสุกในการทํางานของ บุคลากร ในสังกัด MOSO. เพื่อนํามาเปนตัวแปรในการสรางแผนการสื่อสารที่เหมาะสม ใหตรงกับพื้นฐานความเขาใจเดิมของ บุคลากร 2. จัดทํา survey เพื่อสํารวจความเขาใจ การรับรู การสื่อสารขอมูลตางๆ เกี่ยวกับการทํางาน ขอกําหนด รวมถึงขาวสาร ตางๆ ขององคกร ที่มีตอบุคลากรของ MOSO โดยแบงตามหัวขอ 6 หัวขอ ดังนี้ 2.1 Connection to MOSO: เพื่อเช็ควาบุคลากรเขาใจจุดยืนของ MOSO และความสําคัญของตนเองตอ MOSO? 2.2 Policies and procedures: เพื่อเช็ควาบุคลากรเขาใจ อาทิ กระบวนการในการทํางานขององคกร การใช ตราสัญลักษณ ตางๆอยางมีประสิทธิภาพ หรือไม? 2.3 Current processes: ชองทางการสื่อสารทางใด ที่มีประสิทธิภาพ เขาถึงงาย? และเพื่อตรวจสอบการ สื่อสารภายในขององคกรในปจจุบันนั้นมีประสิทธิภาพแคไหน 2.4 Decision-making processes: ตรวจสอบความเขาใจกระบวนการการวิเคราะหตัดสินใจของบุคลากร 2.5 Information/Resource sharing between: รูปแบบการถายทอดสาร หรือการกระจายขาวสาร ระหวาง ผูรวมงาน และหนวยงาน สื่อแบบใดที่มีประสิทธิภาพที่สุดที่ถูกนํามาใชบอยในการทํางานปจจุบัน? 2.6 Resources: สื่อหรือชองทางการสื่อสารแบบใดที่บุคลากรรูสึกคุนเคยและเปดรับบอยที่สุด

by MPR 37 Group1


by MPR 37 Group1


STEP 2: BE IN THEIR SOCIAL SPACE จากการศึกษาขอมูลพื้นฐานของบุคลากร MOSO เบื้องตนทั้งจากผลสํารวจ หรือการวิเคราะห SWOT รวมถึง การ แบงกลุมเปาหมายของคนในองคกรตาม Generations นั้นสามารถแบงกลยุทธที่จะเปดชองทางการสื่อสารใหถึง กลุมเปาหมายไดดังนี้ Generations Baby Boomer

Generation X

Generation Y

Character

Toolkit

คือคนทํางานในองคกรระดับผูบริหาร กลุมนี้จะภักดิ์ดีตอองคกรมาก

- เนนการสื่อสารแบบ In-person communication - เนนการเลือกใช Tool สําหรับการกระจายขาวสาร และ ปฎิรูปนวัตกรรมการทํางาน เชน Intranet Workflow System, Mail List Server etc. - Printed Communication - e-Newsletter - Tele/video conferencing - etc. ระดับหัวหนางาน กลุมนี้จะมุง - Logo and style guide สรางสรรคผลงาน มุงมั่นทํางาน - Printed Communication - e-Newsletter - Social events - Etc. กลุมคนทํางานรุนใหม ไมคอยภักดิ์ดี - Staff handbook สําหรับบุคลากรใหม เพือใหเขาใจ ตอองคกร เปลี่ยนงานบอย มีความ บทบาทขององคกร เปนตัวของตัวเองสูง กลุมนี้เปนเสมือน - Logo and style guide “เลือดใหม” ที่สามารถถวงดุลกับคนรุน - Printed Communication เกาที่คอนขางอนุรักษนิยม เพื่อสราง - e-Newsletter การเปลี่ยนแปลงขององคการ - Social Media & Social Netwoking - Social events - Notice board - etc

by MPR 37 Group1


STEP 3: CLEAR UNDERSTANDING เพื่อสรางความตระหนักของบุคลากรใหมีตอองคกร จนเกิดเปน Brand Loyalty เสมือนเปน Brand Ambassadors สนับสนุน ประชาสัมพันธ กิจกรรม ภาพลักษณ โครงการตางๆ ของ MOSO ได เชน โครงการ “ME TO WE ชีวิตโอเค” เปนตน Tactics: 1. สรุปจัดทําขอมูลพื้นฐานที่สําคัญขององคกร เพื่อมอบใหสําหรับบุคลากรใหมเวลาเขามาทํางาน 2. Staff handbook: สราง Staff handbook ที่สรุปขอมูลเกี่ยวกับภาพลักษณ วิสัยทัศน Core Value ใหมของ MOSO เพื่อแจกใหแกบุคลากรทุกคน 3. Monthly internal newsletter: เพื่อสงขาวใหทราบโดยทั่วกันในองคกร 4. Office Signage: เลือกใชสัญลักษณหรือการออกแบบภายในสํานักงานที่ตอบสนองตอภาพลักษณใหมของ MOSO โดยอาจเลือกใชเปน print/electronic โดยมีกลยุทธคือตอง ติดตั้งในบริเวณที่บุคลากรผานและสนใจ มากที่สุด 5. สงเสริม และใหความรู ใหเกิดการใชงาน Mobile Application ขององคกร (Mobile Application) 6. Brand Center: จัดสถานที่/หนวยงาน/บุคคล ที่ตัวแทน One Stop Service จุดเดียวที่จะใหขอมูลเกี่ยวกับ ภาพลักษณใหมของ MOSO ได เชน การจัดทํา Webpage เกี่ยวกับ New Brand Positioning หรือจําพวก printed materials โครงการ / กิจกรรมเพื่อการสื่อสารภายในองคกร โครงการ ME TO WE วิธีในดําเนินงาน - ใหความรูเบื้องตนแกพนักงานทุกคน ทุกระดับ เพื่อใหมีความเขาใจตรงกันในโครงการฯ วาเปนโครงการของคน ทุกระดับชั้น และทุกคนสามารถเขามาติดตอเพื่อขอรับบริการไดโดยงาย และถือเปนครอบครัวเดียวกัน โดยผาน ชองทางของสื่อตางๆ เชน - เปดตัวโครงการ ME TO WE โดยหา Mascot เพื่อเปนตัวแทนและสรางความสนใจแกพนักงาน - ออก Newsletter/ e-newsletter ประจําเดือนเพื่อสื่อสารไปยังพนักงานทุกคน ทุกภูมิภาค - จัดกิจกรรมสัญจรไปยังทุกสํานักงานเพื่อใหเขาใจตรงกัน - จัดทําคูมือใหพนักงานทุกคน สามารถใหความชวยเหลือและบอกชองทางในการชวยเหลือใหผูที่ตองการใช บริการได เชน สายดวน (hot line) - จัดทําโครงการจิตอาสาแกผูมีสวนไดเสีย เชน เด็ก ผูพิการ คนชรา ฯลฯ เพื่อนําไปสูการดูแลบุคคลทุกระดับชั้นใน สังคมและทุกภูมิภาค - จัดทําเสื้อ “ME TO WE” ใหพนักงานทุกระดับขององคกรสวมใส โดยเลือกรูปแบบที่ทันสมัย และบงบอกถึงความ เปนมิตร พรอมใหการดูแล เพื่อสราง brand image - จัดทําบอรดโครงการ หรือ แผนพับแจก เพื่อสรางความตอเนื่องในการประชาสัมพันธ

by MPR 37 Group1


STEP 4: ENCOURAGE INNOVATION Tactics: 1. จัด workshop: ในแตละปจัดใหมีการเปด Workshop ที่บุคลากรสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ วิสัยทัศน ของ MOSO ที่เกี่ยวของกับงานของตนเอง ในกรณีของบุคลากรภายนอกสํานักงานก็จะใชการประชุมแบบ via teleconferencing 2. เทศกาล Learning Events: Create an educational series to communicate business strategies and objectives to MOSO employees. 3. Awards Ceremony: An employee supported event whereby individuals are nominated and awarded for outstanding service. 4. สงเสริมการใช QR-Code และ V Card หรือ e-signature

โครงการ / กิจกรรมเพื่อการสื่อสารภายในองคกร “MOSO Service Excellence” MOSOบริการดวยใจ. วิธีในดําเนินงาน - สรางการมีสวนรวมโดยใหพนักงานสงวิธีการปรับปรุงงานบริการและนํามาประกาศใชอยางจริงจัง - ฝกอบรมการใหบริการเปนเลิศ - สรางคานิยมใหมแกพนักงาน - นําวิธีการวัดความพึงพอใจมาใชประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน - จัดการประกวด Mister MOSO OK and Miss MOSO OK

STEP 5: BE PATIENT AND CONSISTENTLY Tactics: 1. ลดการเขาถึงหรือการเลื่อมล้ําของบุคลากร โดยใหระดับผูบริหารเขาถึงไดงายขึ้น เปนการกระจายขอมูลจาก ระดับบนสูระดับปฏิบัติการ จะสงผลใหเกิดความรักตอองคกร และการรับขาวสารที่ถูกตอง ตัวอยางเชน การจัดทํา จดหมายจาก President and/or Executive Committee member เนนการสื่อสารถึงบุคลากรโดยรวม ขอมูลความ เคลื่อนไหวตางๆ ขององคกรเปนตน 2. กิจกรรมทานอาหาร Anniversary Lunches: Recognize employees for year(s) of service by involving them in an anniversary lunch with the company President. 3. Holiday Card – MOSO created card sent from President and possibly Executive Committee to all employees.

by MPR 37 Group1


4. สงเสริมใหบุคลากรใช Facebook และ Twitter เปนชองทางเสริมในการสื่อสารขอมูลตางๆ ภายในองคผาน Internal ‘s MOSO Society โครงการ / กิจกรรมเพื่อการสื่อสารภายในองคกร โครงการ: นําองคกรเขาสูระบบ ISO 9001:2008 วิธีในดําเนินงาน - จัดการฝกอบรมเพื่อสรางความรูความเขาใจในการเขาสูระบบ ISO 9001:2008 - จัดตั้งทีม QMR เพื่อดูแลงาน ISO 9001:2008 - จัดตั้งทีม Auditor เพื่อทําการตรวจประเมินภายใน - จัดทําแผนงานการตรวจติดตามภายในอยางตอเนื่อง โครงการ: การจัด” SPIRIT Awareness“ วิธีในดําเนินงาน - จัดฝกอบรมเพื่อใหความรูวา SPIRIT คืออะไร - จัดกิจกรรม SPIRIT สัญจรไปยังหนวยงานตางๆ รวมทั้งตางจังหวัดที่มีหนวยงานภายใตสังกัดของ MOSO. - ออกนโยบายขององคกรโดยแจงใหทุกหนวยงานภายในรับทราบ และตั้งเปน KPI ของบุคคลากร เพื่อสราง ความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหสอดคลองกับคานิยมขององคกร - กําหนดวันในสัปดาหเพื่อรณรงคใหคนในองคกรสวมใสเสื้อ SPIRIT เพื่อย้ําเตือนถึงคานิยมองคกรใหม - จัดประกวดคําขวัญเพื่อเชิญชวนใหพนักงานมีสวนรวมในกิจกรรม และจดจําคานิยมไดงาย โครงการ: การจัด HAPPY WORKING PLACE วิธีในดําเนินงาน: สงเสริมใหเจาหนาที่ทํางานอยางมีความสุขโดยใชหลักการ HAPPY 8 ของ สสส มาใชกับการทํางาน .

by MPR 37 Group1


แผนการสื่อสารภายใน: From soft launch to launch

by MPR 37 Group1


กลยุทธและแผนการสื่อสารภายนอกองคกร เมื่อพิจารณาจากบริการที่ MOSO มีใหกับประชาชนแลว สามารถแบงกลุมผูรับบริการ ซึ่งเปนกลุมเปาหมายภายนอกที่ MOSO จะสื่อสารดวยไดทั้งหมด 5 กลุม ไดแก เด็กและเยาวชน สตรี ผูสูงอายุ ครอบครัวและชุมชน ผูดอยโอกาส*

วัตถุประสงคหลักของการสื่อสารไปยังกลุมเปาหมายภายนอกคือ การสื่อสารใหรับรูถึงบริการที่ MOSO มีในการดูแล สวัสดิภาพของคนเหลานั้น เพื่อใหกลุมเปาหมายมีทัศนคติที่ดีตอการใหบริการและเขามาใชบริการของ MOSO เปนที่ สังเกตวา การแบงกลุมเปาหมายของ MOSO ในสวนที่นอกเหนือจากสังคมในวงกวางแลว มีลักษณะการแบงกลุมที่ ผสมผสานระหวาง มีการแบงกลุมตามปจจัยที่อิงกับสภาวะทางกายภาพทั้งดานเพศ และอายุ(สตรี เด็กและเยาวชน ผูสูงอายุ) ความเปนสถาบันทางสังคม (ครอบครัวและชุมชน) และสภาวะความขาดแคลน (ผูดอยโอกาส) ซึ่งในกลุมของผู ขาดแคลน หรือผูดอยโอกาส* นั้น อาจเปนกลุมที่ทับซอนกับ สตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ รวมทั้งครอบครัว และชุมชนได ดวย กลาวคือ ผูดอยโอกาส เชน ผูเดือดรอนดานที่อยูอาศัย ผูพิการ ผูติดเชื้อเอดส ผูประสบภัย ชาวเขา ก็อาจเปน สตรี เยาวชน หรือผูสูงอายุดวย เปนตน ผูดอยโอกาส ในความหมายของ MOSO หมายถึง ผูที่ประสบปญหาความเดือดรอน ทั้งในดานเศรษฐกิจ การศึกษา การ สาธารณสุข การเสียเปรียบไมไดรับความเปนธรรมทางกฎหมาย และไดรับผลกระทบจากครอบครัว เชน คนจน เกษตรกร รายยอย เด็กถูกทารุณทางรางกาย จิตใจ เพศ เด็กเรรอน ขอทาน แรงงานเด็ก เด็กประพฤติตนไมเหมาะสม เด็กกําพรา เพราะเอดส ผูที่อยูในกระบวนการคามนุษย หรือถูกกีดกันไมใหเขามามีสวนรวมทางสังคมหรือทางการเมือง ขาดสิทธิ ประโยชนและโอกาสที่จะยกระดับสถานภาพทางสังคมของตนเองใหสูงขึ้น นอกจากกลุมเปาหมายภายนอกที่เปนผูรับบริการแลว ยังมีกลุมเปาหมายภายนอกกลุมใหญอีกกลุม คือกลุมประชาชน ทั่วไป ซึ่ง MOSO ตองการที่จะใหเกิดความรับรูและตระหนักถึงความเปนผูดูแลสวัสดิภาพของคนในสังคม และเขามาเปน

by MPR 37 Group1


แนวรวมในการสรางสังคมที่ดีขึ้นตอไป ทั้งในแงของการใหปจจัยดานเงินทุนผานการบริจาค หรือการเขามาเปนแนวรวม ดวยการลงมือทํา

STEP1: LISTEN (External Communication) กลุมเปาหมายภายในองคกร นอกจากกลุมเปาหมายภายนอกแลว ยังมีกลุมเปาหมายภายใน คือ บุคลากรของ MOSO ทั้งนี้ เพื่อใหบุคลากรมีทัศนคติที่ ดีในการใหบริการ เขาใจเปาประสงคขององคกรและสามารถปฏิบัติตัวสอดคลองกับภาพลักษณขององคกร Target Demographics จากการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติ ปพ.ศ. 2550 พบตัวเลขจํานวนกลุมเปาหมายหลักดังนี้ กลุมเปาหมายหลัก ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล จํานวนทัง้ หมด สตรี (ประชากรเพศหญิง) 10,377,211 23,010,050 33,387,261 เด็ก (0 – 14 ป) 4,045,766 10,696,390 14,742,154 เยาวชน (15 – 24 ป) 3,090,204 7,456,986 10,547,188 ผูสูงอายุ (มากกวา 60 ป) 1,988,893 4,983,085 6,971,974 ครอบครัว (จํานวนครัวเรือน) 18,300,000 ครอบครัว (ประมาณ) โดยมีขนาดครอบครัวเฉลี่ย 4.6 คน/ครอบครัว ผูพิการ (รวมทุกชวงอายุ) 312,497 1,559,363 1,871,860* *หนึ่งในตัวอยางกลุมผูดอยโอกาส หมายเหตุ: นอกจากนี้ เมื่อจําแนกตามประเด็นยอยตามมิติของการดูแลสวัสดิภาพของคนแตละกลุม เชน สุขภาพ การศึกษา เศรษฐกิจ ที่อยูอาศัย จะพบวา นอกจากกลุมเปาหมายหลักเหลานี้ ยังมีกลุมเปาหมายอื่นๆ ซึ่งนับเปนประชากรสวนใหญของประเทศ เครื่องมือในการสื่อสารกับกลุมเปาหมายภายนอก จาก MOSO มีเครื่องมือในการสื่อสารกับกลุมเปาหมายหลัก ซึ่งเปนกลุมผูรับบริการ โดยสวนใหญเปนชองทางเชิงรับ คือ ผูใชบริการจะเปนผูเขามาติดตอกับ MOSO.ดวยชองทางตางๆ ไดแก - สํานักตางๆ ภายใต MOSO. - ศูนยใหบริการตางๆ ภายใต MOSO. - สํานัก MOSO. ประจําจังหวัด - ศูนยประชาบดี 1366 - เว็บไซตของMOSO. และหนวยงานสังกัด MOSO. - หนวยงานเครือขายและพันธมิตรของ MOSO.

by MPR 37 Group1


เครื่องมือในการประชาสัมพันธอื่นๆ สําหรับกลุมเปาหมายภายนอก ตัวอยางเครื่องมือการประชาสัมพันธอื่นๆ ไดแก - การแถลงขาว / ขาวประชาสัมพันธ - กิจกรรมการจัดเวทีสัญจร เสวนา - กิจกรรมรณรงคตางๆ - แผนพับ หนังสือคูมือ และเอกสารประชาสัมพันธประเภทสิ่งพิมพอื่นๆ เครื่องมือในการสื่อสารกับกลุมเปาหมายภายใน ไดแก - อบรม - สัญจร - อินทราเน็ต - วารสารภายในองคกร - บอรดประชาสัมพันธ - Screensaver - อื่นๆ

STEP 2: BE IN THEIR SOCIAL SPACE สื่อ และพฤติกรรมการบริโภคสื่อประเภทตางๆ สื่อโทรทัศนและเคเบิ้ลทีวี สื่อโทรทัศนสามารถเขาถึงคนทุกวัย โดยเฉพาะผูสูงอายุ กลุมคนวัยทํางาน และกลุมเยาวชนตามลําดับ (จากผลสํารวจของ Aegis Media ในป 2552) ในเชิงภูมิศาสตร พบวาสื่อเคเบิลทีวี หรือ ทีวีดาวเทียมเปนสื่อที่มีแนวโนมจํานวนผูชมสูงขึ้น โดย ในป 2553 คาดวาจะมีครัวเรือนที่ติดตั้งทีวีดาวเทียมประมาณ 7.3 ลานครัวเรือน โดยมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นในเขต ตางจังหวัด (ขอมูลจากนายกสมาคมโทรทัศนดาวเทียม ประเทศไทย) สื่อหนังสือพิมพ กลุมผูสูงอายุมีพฤติกรรมการอานหนังสือพิมพมากกวากลุมอื่นๆ ตามดวยกลุมคนวัยทํางาน ซึ่งมีพฤติกรรมการอานขาว และอานคอลัมนประจํา ในขณะที่กลุมเยาวชนเลือกดูรูปภาพมากกวาอาน (จากผลสํารวจของ Aegis Media ในป 2552) วิทยุ สําหรับการสํารวจสื่ออื่นๆ พบวาสื่อวิทยุก็มีบทบาทและเปนชองทางในการโฆษณาประชาสัมพันธที่เจาของสินคา/บริการ ใหความนิยมเปนอันดับสาม รองจากโทรทัศน และหนังสือพิมพ (Nelsen Media Research: 2009) แตการเติบโตของสื่อ วิทยุมีอัตราลดลงประมาณ 11% ในป 2551 อยางไรก็ตามคาดวาสื่อวิทยุในลักษณะวิทยุชุมชน จะมีบทบาทมากขึ้น สําหรับกลุมคนที่อยูในเขตตางจังหวัด เนื่องจากสามารถเขาถึงไดงาย แตตัวสื่อจะมีลักษณะ fragment นิตยสาร by MPR 37 Group1


สําหรับนิตยสารจากการสํารวจโดยเอแบคโพลลในป 2552 พบวากลุมผูสํารวจสวนใหญอยูในวัยทํางาน และมีอาชีพที่ มั่นคง โดยมีอัตราการอานและซื้อนิตยสารมากขึ้นเกือบ 60% โทรศัพทมือถือ พบวาพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของคนตางกลุมอายุมีความแตกตางกันดังนี้ กลุมผูสูงอายุมีอัตราการเขาถึงโทรศัพทมือถือไดมากกวา 80% แตเนนบริการประเภทเสียง โดยใชบริการ SMS เพียง 38% ในขณะที่ กลุมคนวัยทํางานและเยาวชนมีแนวโนมการใช SMS ที่ 60% และ 73% ตามลําดับ (จากผลสํารวจของ Aegis Media ในป 2552)

by MPR 37 Group1


Building

อินเทอรเน็ต ผูใชงานอินเทอรเน็ตในป 2552 มีจํานวนประมาณ 16 ลานคน โดยมีแนวโนมสูงขึ้นตามแนวโนมของการใชอินเทอรเน็ตบน มือถือที่เพิ่มสูงขึ้น โดยโดยจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามของเนคเทคพบวาจํานวนผูใชงานประมาณ 55% เปนผูอยู อาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยที่เหลือประมาณ 45% อาศัยอยูในตางจังหวัด อยางไรก็ตามผูใชอินเทอรเน็ตนอก เขตเมืองมีแนวโนมสูงขึ้น ผูใชงานกลุมอายุ 20 – 29 ปคิดเปน 42.2% ผูใชงานกลุม30 – 39 คิดเปน 22.8% ของผูใชงาน ทั้งหมด ตามมาดวยกลุมอายุ 15 – 19 คิดเปน 16.5% กลุมที่เหลือเปนกลุมที่มีชวงอายุ 40 ปขึ้นไป แนวโนมที่ชัดเจนอีกอยางเกี่ยวกับการใชงานอินเทอรเน็ตคือการใชเว็บไซตเครือขายสังคม โดยจํานวนผูใชงาน facebook ในเดือนกรกฎาคม 2553 มีจํานวน 4.2 ลานราย

by MPR 37 Group1


กลยุทธและแผนการสื่อสารภายนอกองคกร รูปแบบ แผนการสื่อสารเลือกใชการผสมผสานระหวาง Online Media และ Offline Media ดังรูป

by MPR 37 Group1


สปอตโทรทัศน สื่อที่แจงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ เพื่อใหกลุมเปาหมายไดรับรูไดเปนอยางดี เพราะเปนสื่อที่สามารถเขาถึงกลุมผูชมไดเปน จํานวนมากตอการออกอากาศแตละครั้งอีกทั้งจากการวิเคราะหสถานการณพบวาประชาชนไทยเลือกเปดรับสื่อโทรทัศน เปนจํานวนมาก และเปนสื่อที่ชวยสรางภาพลักษณ ใหเกิดขึ้น พรอมทั้งภาพและเสียงที่ชวยใหผูชมเขาใจงายขึ้น อีกทั้งยัง สามารถสื่อสารขอมูลไดตรงวัตถุประสงค สปอตวิทยุ สื่อวิทยุเปนสื่อที่สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายนอกเหนือจากเวลาที่เปดรับสื่ออื่น ๆ เนื่องจากผลการวิเคราะหขอมูลพบวา ประชาชนไทยสวนใหญเลือกที่จะเปดรับสื่อวิทยุอยูในระดับที่มากและสื่อวิทยุเปนสื่อที่ใชเสียงสรางสรรคใหเกิดจินตนาการ ได กลุมเปาหมายสามารถรับฟงไดทุกที่ทุกเวลา อีกทั้งยังไมยุงยากในการผลิตเสียคาใชจายนอย แผนพับ เปนสื่อที่ใหขอมูลเกี่ยวกับกระทรวงซึ่งสามารถใหรายละเอียดไดมาก และแผนพับนั้นยังสามารถเปนสื่อที่สามารถเก็บ รักษาไดนาน และเผยแพรไดอยางคลอบคลุมอีกดวย ทั้งนี้ก็เพื่อใหกลุมเปาหมายไดมีความเขาใจ และทัศนคติที่ดีและ ถูกตอง โปสเตอร เป น สื่อ ที่ สามารถเขา ถึ ง กลุ ม เป า หมายเฉพาะเจาะจงได สามารถดึง ดู ด ความสนใจและกระตุน กลุม เป า หมายได ดี เนื่องจากเปนสื่อที่สามารถออกแบบไดอยางสรางสรรค และสามารถควบคุมไดในเรื่องของเนื้อหา และรูปแบบการนําเสนอ ขาวแจก สื่อที่ชวยในการเผยแพรขอมูลขาวสารของโครงการที่จัดทําขึ้น เพื่อใหสื่อมวลชนเผยแพรและกระจายขาวสาร ไดอยาง ละเอียด Presskit เปนเอกสารการจัดการแถลงขาว เปนเอกสารที่ใชแจกในวันแถลงขาว เพื่อใหรายละเอียดของการ Rebranding กับ สื่อมวลชน วามีความเปนมาอยางไร วัตถุประสงคเพื่ออะไร ใครเปนกลุมเปาหมาย และรายละเอียดปลีกยอยอื่น ๆ เพื่อให สื่อมวลชลนําไปเผยแพรยังกลุมเปาหมาย

by MPR 37 Group1


สื่อบุคคล / Presenter สื่อบุคคลสามารถดึงดูดกลุมเปาหมายไดดีที่สุดและเปนสื่อที่สามารถสรางการจดจําในโครงการไดเปนอยางดี ทั้งนี้ เนื่องจากพรีเซนเตอรที่เลือกมาเปนตัวแทนโครงการ “Me To We ชีวิตโอเค by MOSO ” สื่อพิเศษ เสื้อโปโล พัด เข็มกลัด แมเหล็กติดตูเย็น รม หมวก ฯลฯ เปนสื่อที่ย้ําเตือนความทรงจําไดเปนอยางดีเกี่ยวกับโครงการ“Me To We … ชีวิตโอเค by MOSO” เมื่อนํามาสวมใสจึงเปนการชวยประชาสัมพันธไดเปนอยางดี )Walking Ad) ใชประโยชน ไดดวย และเมื่อสวมใสจะทําใหเปนสื่อที่สามารถประชาสัมพันธไดอยางแพรหลาย และกระจายในวงกวางไดอีกดวย ดังนั้นเสื้อโครงการนั้น จะมีใหสําหรับคนที่เขารวมโครงการ รวมไปถึงคนที่ตองการซื้อไวเปนที่ระลึกเราก็จะมีการจัด จําหนายเพื่อนํารายไดนั้นนําเขากองทุนของกระทรวงทรัพยากรสังคมและมนุษย Social Media แบงรูปแบบการสื่อสารออกเปนสามระดับ ระดับที่ 1: Placeholder - จัดทําSocial Media เพื่อสรางเปน Social Networking - สราง Account และกําหนดผูรับผิดชอบ Tools ที่เลือกใช

by MPR 37 Group1


ระดับที่ 2: Short-Term Promotion - จัดกิจกรรมสงเสริมการรับรูและการเขามามีสวนรวมของกลุมเปาหมาย เพื่อสรางความตระหนักตอภาพลักษณ ของ Brand ในระยะยาวผานเครือขาย Social Media - เนนการสื่อสารที่บอกถึงตัวตนของเราบนเครือขายอินเทอรเน็ต Campaign: OK FACE

Campaign: SAY We are OK รณรงคใหผูติดตาม MOSO Twitter รวมใชคําวา “ชีวิตโอเค” ในการ tweet แตละครั้งเพื่อรวมในกิจกรรม Say we are OK

by MPR 37 Group1


ระดับที่3: Dedicate Strategic - เมื่อมีสมาชิกหรือผูใหความสนใจเขามารวมเครือขาย Social Media เปนจํานวนมากพอในระดับหนึ่งจึงควร พิจารณาการรับรูและสรางความตระหนักตอแบรนด ใหมากขึ้นดวยการสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิกตอ กิจกรรมตางๆ ของกระทรวงตามนโยบายหลักที่กําหนดไว Campaign: ชีวิตนองโอเค ชีวิตเราโอเค ประเทศไทยโอเค

Campaign: MOSO Channel

by MPR 37 Group1


ตัวอยางแผนการใชสื่อในการประชาสัมพันธโครงการ และงบประมาณ ME TO WE ชีวิตโอเค by MOSO สื่อหลัก สปอตโทรทัศน สื่อที่แจงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ เพื่อใหกลุมเปาหมายไดรับรูไดเปนอยางดี เพราะเปนสื่อที่สามารถเขาถึงกลุมผูชมไดเปน จํานวนมากตอการออกอากาศแตละครั้งอีกทั้งจากการวิเคราะหสถานการณพบวาประชาชนไทยเลือกเปดรับสื่อโทรทัศน เปนจํานวนมาก และเปนสื่อที่ชวยสรางภาพลักษณ ใหเกิดขึ้น พรอมทั้งภาพและเสียงที่ชวยใหผูชมเขาใจงายขึ้น อีกทั้งยัง สามารถสื่อสารขอมูลไดตรงวัตถุประสงค สปอตวิทยุ สื่อวิทยุเปนสื่อที่สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายนอกเหนือจากเวลาที่เปดรับสื่ออื่น ๆ เนื่องจากผลการวิเคราะหขอมูลพบวา ประชาชนไทยสวนใหญเลือกที่จะเปดรับสื่อวิทยุอยูในระดับที่มากและสื่อวิทยุเปนสื่อที่ใชเสียงสรางสรรคใหเกิดจินตนาการ ได กลุมเปาหมายสามารถรับฟงไดทุกที่ทุกเวลา อีกทั้งยังไมยุงยากในการผลิตเสียคาใชจายนอย

สื่อรอง แผนพับ เปนสื่อที่ใหขอมูลเกี่ยวกับกระทรวงซึ่งสามารถใหรายละเอียดไดมาก และแผนพับนั้นยังสามารถเปนสื่อที่สามารถเก็บ ...... ไดอยางคลอบคลุมอีกดวย ทั้งนี้ก็เพื่อใหกลุมเปาหมายไดมีความเขาใจ และทัศนคติที่ดีและรักษาไดนาน และเผยแพร ถูกตอง โปสเตอร เป น สื่ อ ที่ สามารถเขา ถึ ง กลุ ม เป า หมายเฉพาะเจาะจงได สามารถดึ ง ดู ด ความสนใจและกระตุน กลุ ม เป า หมายได ดี เนื่องจากเปนสื่อที่สามารถออกแบบไดอยางสรางสรรค และสามารถควบคุมไดในเรื่องของเนื้อหา และรูปแบบการนําเสนอ

สื่อสนับสนุน ขาวแจก สื่อที่ชวยในการเผยแพรขอมูลขาวสารของโครงการที่จัดทําขึ้น เพื่อใหสื่อมวลชนเผยแพรและกระจายขาวสาร ไดอยาง ละเอียด Press kit

by MPR 37 Group1


เปนเอกสารการจัดการแถลงขาว เปนเอกสารที่ใชแจกในวันแถลงขาว เพื่อใหรายละเอียดของการ Rebransing กับ สื่อมวลชน วามีความเปนมาอยางไร วัตถุประสงคเพื่ออะไร ใครเปนกลุมเปาหมาย และรายละเอียดปลีกยอยอื่น ๆ เพื่อให สื่อมวลชลนําไปเผยแพรยังกลุมเปาหมาย

by MPR 37 Group1


สื่อบุคคล สื่อบุคคลสามารถดึงดูดกลุ มเปาหมายไดดีที่สุดและเปน สื่อ ที่สามารถสรางการจดจําในโครงการไดเปนอยางดี ทั้ง นี้ เนื่องจากพรีเซนเตอรที่เลือกมาเปนตัวแทนโครงการ “Me To We ชีวิตโอเค by MOSO ”

สื่อพิเศษ เสื้อโปโล พัด เข็มกลัด แมเหล็กติดตูเย็น รม หมวก ฯลฯ เปนสื่อที่ย้ําเตือนความทรงจําไดเปนอยางดีเกี่ยวกับโครงการ“Me To We ชีวิตโอเค by MOSO” เมื่อนํามาสวมใสจึงเปน การชวยประชาสัมพันธไดเปนอยางดี )Walking Ad) ใชประโยชนไดดวย และเมื่อสวมใสจะทําใหเปนสื่อที่สามารถ ประชาสัมพันธไดอยางแพรหลาย และกระจายในวงกวางไดอีกดวย ดังนั้นเสื้อโครงการนั้น จะมีใหสําหรับคนที่เขารวม โครงการ รวมไปถึงคนที่ตองการซื้อไวเปนที่ระลึกเราก็จะมีการจัดจําหนายเพื่อนํารายไดนั้นนําเขากองทุนของกระทรวง ทรัพยากรสังคมและมนุษย

by MPR 37 Group1


สื่อหลัก สปอตโทรทัศน หลักการและเหตุผล กิจกรรมประชาสัมพันธ โครงการ“Me To We … ชีวิตโอเค by MOSO ” เปนโครงการที่จัดขึ้นเพื่อ ไดเกิดความรู ความเขาใจ และเห็นคุณคาและความสําคัญของ กระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย วามีบทบาทหนาที่ดูแลทุก คนตั้งแตแรกเกิด จนเสียขีวิต สปอตโทรทัศน ก็เปนสื่อที่สามารถเผยแพรไดอยางครอบคลุมกลุมเปาหมายทั้งหลักและรอง ที่มีทั้งภาพและ เสียง สรางการรับรูและความเขาใจในสารไดงาย ดวยเหตุนี้เราจึงเห็นวา สปอตโทรทัศน เปนสื่อที่มีความเหมาะสมที่สุด และไดนําสื่อนี้มาใชในการประชาสัมพันธ โครงการโดยจัดทําในลักษณะของสารคดีเชิงขาว และอาศัยการTry-in เขาไปในรายการตางๆ เพราะราคาถูกกวา การลงโฆษณาคอนขางมาก อีกทั้งยังมีประสิทธิภาพในการสรางทัศนคติ ปลูกฝงลงไปในจิตใจประชาชน สราง การรับรู และความเขาใจในเรื่องงานบริการตางๆ ของ MOSOไดเปนอยางดี กลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายหลัก - ประชาชนไทยทั่วไปทั้งในเขตกรุงเทพฯ และในเขตตัวเมืองของตางจังหวัดทั่วประเทศ กลุมเปาหมายรอง - สื่อมวลชน - องคกรตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน วิธีการดําเนินงาน 1. ประชุมยอยเพื่อคิดรูปแบบของสปอตโทรทัศนในการที่จะนําเสนอ และรวบรวมเนื้อหาที่จะใชในการนําเสนอดวย โดย ใชเนื้อหาตองอยูในกรอบของกลวิธี คือ การสรางทัศนคติและความเชื่อใหมตอการเขาถึงงานบริการดานตางๆ ของ MOSO และ เพื่อสรางทัศนคติในเชิงบวกตอองคกรและโครงการโดยแบงออกเปน .  สกูปสารคดีเชิงขาว จัดใหเปนชวงหนึ่งของรายการ ที่การบริการของสวนงานตางๆ ของ MOSO ที่มีตอวิถี ชีวิตของประชาชนทุกกลุม และสงเสริมใหคนเหลานี้มีชีวิตที่ดีขึ้น และจะตองมีผูบริหารอยูในการดําเนินเรื่อง ดวยเสมอ โดยใหชื่อชวงรายการวา Me to We …. ชีวิตโอเค และชื่อตอนแตละตอนแตกตางกันออกไปตาม เนื้อหา  Try-in ในรายการโทรทัศน โดยการใหพิธีกรพูดประชาสัมพันธกิจกรรมพรอมทั้งมีภาพประกอบของโครงการ ที่จะจัดขึ้น ทั้งกอนและหลังกิจกรรม

by MPR 37 Group1


2. กําหนดระยะเวลาการทํางาน และจัดทํา storyboard 3. ดําเนินการผลิตตามที่ไดตกลงกันไว ประชุมกันอีกครั้งเพื่อตรวจสอบดูความถูกตอง 4. แกไขตามที่ตกลงกัน และพรอมที่จะฉายจริง ระยะเวลาในการดําเนินงาน ระยะเวลาในการผลิต ใชเวลาคิดรูปแบบ ขอมูล และบันทึกเทปรายการเพื่อออกอากาศทุกๆสัปดาห ระยะเวลาในการเผยแพร สกูปสารคดีเชิงขาวในรายการโทรทัศน เผยแพรในรายการตั้งแตเดือน ตุลาคม – 53มีนาคม 2553Tryin ในรายการโทรทัศน เผยแพรในสัปดาหกอนวันที่จะมีกิจกรรมพิเศษ และหลังจากหมดกิจกรรมพิเศษขึ้น การเผยแพร 1. สกูปสารคดีเชิงขาวในรายการโทรทัศน  สยามทูเดย ออกอากาศทางชอง 5 ทุกวันจันทร – ศุกร เวลา 18.00 น. – 19.00น. 2. Try-in ในรายการโทรทัศน  เรื่องเลา เสารอาทิตย- ออกอากาศทางชอง 3 วันเสาร อาทิตย เวลา-11.00 - 12.00 น.  เรื่อเลาเชานี้ ออกอากาศทางไทยทีวีสีชอง 3 ทุกวันจันทร-วันศุกร เวลา .น 08.45 - 06.15  Wake – Club ออกอากาศชอง 5 ทุกวันอาทิตย เวลา 10.55 น. – 11.45น. งบประมาณ - คาผลิตสกูปสารคดีเชิงขาว คาหองตัดตอ 10,000 บาท คาทีมกลอง 25,000 บาท - คาลงสกูปสารคดีเชิงขาว นาทีละ)130,000 บาท ×12 นาที( 1,560,000 บาท - คาTry-in ประชาสัมพันธกอนวันงานขอความอนุเคราะห - คาTry-in ในรายการพรอมถายทํา 3 รายการ รายการละหนึ่งนาที นาทีละ)100,000 บาท ×3 นาที( 300,000 บาท รวมทั้งสิ้น 1,895,000 บาท วิธีการประเมินผล วัดผลตอบรับที่ไดจากการเขารวมโครงการ และพฤติกรรมของกลุมเปาหมาย ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ทําใหกลุมเปาหมายจดจํา ภาพลักษณใหมของ กระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย คอนเซ็ปตใหม “Me To We … ชีวิตโอเค by MOSO ” 2. ทําใหกลุมเปาหมายรูจักกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย

by MPR 37 Group1


ทําใหกลุมเปาหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติในเชิงบวกกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย

by MPR 37 Group1


สปอตวิทยุ หลักการและเหตุผล กิจกรรมประชาสัมพันธ โครงการ“Me To We … ชีวิตโอเค by MOSO ” เปนโครงการที่จัดขึ้นเพื่อไดเกิด ...... ความรู ความเขาใจ และเห็นคุณคาและความสําคัญของ กระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย วามีบทบาทหนาที่ดูแลทุกคน ตั้งแตแรกเกิด เสียขีวิต – สปอตวิทยุ เปนสื่อที่สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายนอกเหนือจากเวลาที่เปดรับสื่ออื่น ๆ เนื่องจากผลการวิเคราะห ขอมูลพบวาประชาชนไทยสวนใหญเลือกที่จะเปดรับสื่อวิทยุอยูในระดับที่มากและสื่อวิทยุเปนสื่อที่ใชเสียงสรางสรรคให เกิดจินตนาการได กลุมเปาหมายสามารถรับฟงไดทุกที่ทุกเวลา อีกทั้งยังไมยุงยากในการผลิตเสียคาใชจายนอย วัตถุประสงค .1เพื่อกระตุนใหกลุมเปาหมายหลักและรองรูจักกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย 2. เพื่อสรางการจดจํา 3. เพื่อกระตุนใหเกิดทัศนคติในเชิงบวกตอกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย กลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายหลัก - ประชาชนไทยทั่วไปทั้งในเขตกรุงเทพฯ และในเขตตัวเมืองของตางจังหวัดทั่วประเทศ กลุมเปาหมายรอง - สื่อมวลชน - องคกรตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน วิธีการดําเนินงาน 1. ประชุมยอยเพื่อคิดรูปแบบของสปอตวิทยุในการที่จะนําเสนอ และรวบรวมเนื้อหาที่จะใชในการนําเสนอดวย โดยใชเนื้อหาที่เขาใจงาย ไมซับซอน เพื่อเขาถึงกลุมเปาหมายไดงาย โดยเนื้อหาจะเปนการประชาสัมพันธ กิจกรรมโครงการ 2. ดําเนินการผลิตตามที่ไดตกลงกันไว และประชุมกันอีกครั้งเพื่อตรวจสอบดูความถูกตอง 3. ทําสปอตวิทยุที่พรอมจะเผยแพรจริง โดยจางใหผูดําเนินรายการเปนผูประกาศถึงรายละเอียดกิจกรรม โครงการที่จัดขึ้น

ระยะเวลาในการดําเนินงาน ระยะเวลาในการผลิต วางแผน เขาหองอัดเสียง กอนเผยแพร 1 เดือน ระยะเวลาในการเผยแพร

by MPR 37 Group1


เผยแพรในชวงกอนการจัดกิจกรรมเปดตัวโครงการ อาทิตย 2 การเผยแพร รายการทางคลื่นวิทยุ ดังนี้  97.5 SEED FM  94.0 EFM  106.5 Green Wave  89.0 Banana Fm งบประมาณ -

คาใชหองSound Recording Studio จํานวน)9 ชั่วโมง ×500 บาท ( - คาวัสดุบันทึกเสียง แผนซีดียี่หอ Princo ความจุ 700 MB/80MIN 56X จํานวน)5 แผน × แผนละ 10 บาท ( - ออกสปอตวิทยุ วันละ)2 ครั้ง ครั้งละ 3,000 บาท ×14 วัน( รวมทั้งสิ้น

4,500 บาท 50 บาท 42,000 บาท 46,550 บาท

วิธีการประเมินผล - ดูจากผูที่ใหความสนใจ จากการโทรศัพทมาสอบถามกับทางรายการ - ดูจากแบบสอบถามประเมินโครงการ ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ทําใหกลุมเปาหมายจดจํา 2. ทําใหกลุมเปาหมายรูจักและเห็นความสําคัญของโครงการ 3. ทําใหกลุมเปาหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติในเชิงบวกตอ 4. ทําใหกลุมเปาหมายสนใจเขารวมกิจกรรมและโครงการที่จัดขึ้น

by MPR 37 Group1


เสื้อโปโล หลักการและเหตุผล กิจกรรมประชาสัมพันธ โครงการ “Me To We … ชีวิตโอเค by MOSO” เปนโครงการที่จัดขึ้นเพื่อความรู ความเขาใจ และ เห็นคุณคาและความสําคัญของ กระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย วามีบทบาทหนาที่ดูแลทุกคนตั้งแตแรกเกิดถึงเสียขีวิต เสื้อโปโลเปนสื่อที่ย้ําเตือนความทรงจําไดเปนอยางดีเกี่ยวกับโครงการเมื่อนํามาสวมใสจึงเปนการชวยประชาสัมพันธได เปนอยางดี ใชประโยชนไดดวย และเมื่อสวมใสจะทําใหเปนสื่อที่สามารถประชาสัมพันธไดอยางแพรหลาย และกระจายใน วงกวางไดอีกดวย ดังนั้นเสื้อโครงการนั้น เพื่อจัดจําหนายโดยนํารายไดนั้นนําเขากองทุนของกระทรวงพัฒนาสังคมและ มนุษย เพื่อใชในการจัดกิจกรรมตางๆ วัตถุประสงค 1. 2. 3. 4.

เพื่อกระตุนใหกลุมเปาหมายหลักและรองรูจักกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย เพื่อสรางการจดจํา เพื่อกระตุนใหเกิดทัศนคติในเชิงบวกตอกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย เพื่อจัดจําหนายโดยนํารายไดนั้นนําเขากองทุนของกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย

กลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายหลัก - ประชาชนที่เขารวมกิจกรรมตาง ๆ ของทางโครงการ กลุมเปาหมายรอง - สื่อมวลชน วิธีการดําเนินงาน 1. คิดรูปแบบเสื้อใหมีลักษณะตามที่ตองการ 2. เลือกซื้อเสื้อยืดที่มีคุณภาพที่ดีและราคาที่เหมาะสม คละขนาดใหเทาๆกัน 3. จางพิมพลายตามรูปแบบที่วางไว ระยะเวลาในการดําเนินงาน ระยะเวลาในการผลิต ใชเวลาคิดรูปแบบ หาสถานที่สกรีนลายเสื้อ 2 อาทิตย ระยะเวลาในการเผยแพร มีจําหนายตามศูนยของกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษยในจังหวัดตางๆ และเครือขาย ของกระทรวง รวมกับการจัดจําหนายในกิจกรรมตางๆ ตั้งแตเดือนเปดโครงการตุลาคม เปนตนไปจนกวาสินคาจะหมด 2553 งบประมาณ -คาเสื้อสําเร็จรูป จํานวน)3,000 ตัว ตัวละ 50 บาท

(150,000 บาท

by MPR 37 Group1


-คาแบบพิมพ แบบละ) 500 × 2) -คาพิมพลาย จํานวน) 1,000 ตัว × ตัวละ 10 บาท( รวมทั้งสิ้นเปนเงิน

บาท 1,000 10,000 บาท 161,000 บาท

วิธีการประเมินผล ดูจากแบบสอบถามที่ใชประเมินโครงการ ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ทําใหสื่อสนใจเขารวมกิจกรรมและโครงการที่จัดขึ้น 2. ทําใหกลุมเปาหมายจดจําโครงการได 3. ทําใหกลุมเปาหมายรูจักและเห็นความสําคัญของโครงการ 4. ทําใหกลุมเปาหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติในเชิงบวกตอกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย 5. เกิดรายไดเพื่อนํามาพัฒนากิจกรรมสําหรับสังคม ตัวอยางเสื้อโปโล

by MPR 37 Group1


งบประมาณ 200 ลาน บาท by MPR 37 Group1


05 การประเมินผลโครงการ

by MPR 37 Group1


การประเมินผลโครงการ การประเมินผลนั้นเปนสิ่งที่สําคัญและมีประโยชนอยางมาก คือ ชวยใหเราทราบถึงขอดี ขอเสียของการจัดงานในโครงการ ครั้งนี้ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินงานในภายภาคหนาตอไป โดยการแบงการประเมินผลออกเปน 3 ชวงใหญดวยกันคือ 1. กอนเริ่มกิจกรรม 2. ระหวางการดําเนินกิจกรรม 3. เมื่อสิ้นสุดการดําเนิน กอนเริ่มกิจกรรม วัตถุประสงค เพื่อตรวจสอบกระแสความสนใจ จากการสงขาวไปยังสื่อตางๆ วาไดรับความสนใจมากนอยเพียงใด หรือ ถาไมไดรับความ สนใจควรมีวิธีการอยางไร เพื่อใหความสามารถสรางใหเกิดกระแสการตอบรับความสนใจใหมากขึ้น วิธีการดําเนินงาน การจัดเก็บรวบรวมขาวสารเกี่ยวกับกิจกรรมโดยดูจากการสงขาวฝากไปตามสื่อตางๆ รวมทั้งการออก SPOT ประชาสัมพันธตางๆ กอนถึงวันงานจริง วาไดรับความสนใจมากนอยเพียงใด เชน การไดลงคอลัมนในหนังสือพิมพ เกี่ยวกับการเปดตัวโครงการ, การรวมงานวันแถลงขาวโครงการของสื่อมวลชน, ดูจากผูที่สนใจผานเขาโทรศัพทมาติดตอ สอบถามเกี่ยวกับโครงการ ระหวางการดําเนินงาน วัตถุประสงค - ตรวจสอบกลยุทธ และกลวิธีที่กําหนดไว เพื่อใหสามารถนํามาปรับปรุงแกไขขอผิดพลาดในกิจกรรมตอๆไปของ โครงการ - เพื่อตรวจสอบทัศนคติของกลุมเปาหมาย ผูมาเขารวมกิจกรรม - เพื่อตรวจสอบวิธีที่ใชในการประชาสัมพันธจากการเปดรับสื่อวากลุมเปาหมายเกิดการรูจัก และรับรูมากนอย เพียงไร วิธีการดําเนินงาน - การเก็บสถิติจํานวนผูเขารวมกิจกรรม เพื่อทราบถึงความสนใจของกลุมเปาหมายที่มีตอกิจกรรมที่ไดจัดขึ้น - การใหผูมาเขารวมกิจกรรมของโรงการตอบแบบสอบถามเพื่อสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจกับ กิจกรรมในครั้งนั้นๆ เมื่อสิ้นสุดการดําเนินงาน วัตถุประสงค - เพื่อตรวจสอบการดําเนินงานประชาสัมพันธกิจกรรมวาสามารถสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ไดตั้งไวมากนอย เพียงไร

by MPR 37 Group1


- เพื่อตรวจสอบสื่อและกิจกรรมที่ใชในการประชาสัมพันธวามีประสิทธิภาพ และประสบความสําเร็จหรือไม คือ ทํา ใหกลุมเปาหมายเกิดการรับรู และใหเกิดความรวมมือมากนอยเพียงไร - เพื่อตรวจสอบทัศนคติของกลุมเปาหมายที่มีตอกิจกรรม วิธีการดําเนินงาน โดยการดูจากการไดรับการเผยแพรจากสื่อมวลชนตางๆ ที่ไดมาเขารวมกันกิจกรรมจบไปแลว วามีคําวิพากษวิจารณ อยางไรรวมถึงเสียงตอบรับจากผูเขารวมโครงการที่เปนกลุมเปาหมายทั่วไปดวย เพื่อนํามาเปนประโยชนในการปรับปรุง สําหรับกิจกรรมในครั้งตอไป

by MPR 37 Group1



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.