ระบบคอมพิวเตอร์

Page 1

ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) ระบบ (System) คือกลุมขององคประกอบที่มีความสัมพันธกันและทํางานรวมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอรจะมีองคประกอบที่ สําคัญ 3 สวน คือ

1. ฮารดแวร (Hardware) 2. ซอฟตแวร (Software) 3. บุคลากร (Peopleware) ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตาง ๆ ที่เปนตัวเครื่องคอมพิวเตอร แบงออกเปนสวนประกอบดังนี้ หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผล หนวยแสดงผล 1. หนวยรับขอมูล (Input unit) เปนอุปกรณรับเขา ทําหนาที่รับโปรแกรมและขอมูลเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณรับเขาที่ ใชกันเปนสวนใหญ คือ แปนพิมพ ( Keyboard ) และเมาส ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณรับเขาอืน่ ๆ อีก ไดแก สแกนเนอร ( Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone),ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิต เซอร เทเบิ้ล แอนด ครอสแชร (Digiter tablet and crosshair) 2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปวา CPU ซึ่งถือวาเปนสมองของระบบคอมพิวเตอร มีสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวน คือ หนวยควบคุม หนวยคํานวณ

1. หนวยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทําหนาที่ควบคุมลําดับขั้นตอนการทํางานของหนวยรับขอมูล หนวย แสดงผล หนวยคํานวณและหนวยตรรก หนวยความจําและแปลคําสัง่ 2. หนวยคํานวณและตรรก (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทําหนาที่ในการคํานวณหาตัวเลข เชน การ บวก ลบ การเปรียบเทียบ 3. หนวยความจํา เปนอุปกรณใชเก็บโปรแกรมและขอมูลที่ใชในการประมวลผล 3. หนวยความจําภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เปนหนวยความจําที่อยูภายในเครื่องคอมพิวเตอรทสี่ ามารถ ติดตอกับหนวยงานอื่น ๆ ไดโดยตรง แบงออกเปน 2 ประเภท

1. หนวยความจําภายใน - หนวยความจําแบบแรม (Random Access Memory หรือ Ram) เปนหนวยความจําชั่วคราว ที่ใชสําหรับเก็บโปรแกรมที่กําลังใช งานอยูขณะนั้น มีความจุของหนวยเก็บขอมูลไมเกิน 640 KB คือผูใ ชสามารถเขียนหรือลบไปไดตลอดเวลา ถาหากปดเครื่อง คอมพิวเตอรหรือไฟฟาดับ จะมีผลทําใหขอมูลตาง ๆ ที่เก็บไวสูญหายไปหมด และไมสามารถเรียกกลับคืนมาได - หนวยความจําแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เปนหนวยความจําถาวร ที่สามารถอานไดอยางเดียว ไมสามารถ บันทึกขอมูลได ถึงแมวาจะปดเครื่องหรือไฟฟาดับ ขอมูลที่เก็บไวจะยังคงอยู 2. หนวยความจําสํารอง ไดแก เทปแมเหล็ก จานแมเหล็ก แผนดิสก (Diskett) CD-ROM


แผนดิสกหรือสเกต เปนจานแมเหล็กขนาดเล็ก ชนิดออน จัดเก็บขอมูลโดยใชอํานาจแมเหล็ก การใชงานจะตองมี Disk Drive เพื่อใชเปนอุปกรณในการขับเคลื่อนแผนดิสก โดยแบงตําแหนงพื้นผิวออกเปน แทร็คและเซ็คเตอร แบงออกเปน 3 ขนาด คือ 1. แผนดิสกขนาด 8 นิ้ว ปจจุบันไมนิยมใช 2. แผนดิสกขนาด 5.25 นิ้ว แบงออกเปน DD สามรถบันทึกขอมูลไดประมาณ 360 KB และ HD สามารถ บันทึกขอมูลได 1.2 MB 3. แผนดิสกขนาด 3.5 นิ้ว แบงออกเปน DD สามารถบันทึกขอมูลไดประมาณ 720 KB และ HD สามารถ บันทึกขอมูลได 1.44 MB นิยมใชกันมากในปจจุบัน

ขนาด 5.25 นิ้ว

ขนาด 1.44 MB

หนวยวัดความจุของขอมูลในคอมพิวเตอร 8 Bit

1 Byte

1 Byte

1 ตัวอักษร

1 KB

1,024 Byte

1 MB

1,024 KB

1 GB

1,024 MB

1 TB

1,024 GB

หนวยความจําต่ําสุด คือ บิต (BIT [Binary Digit]) โดยใชบิตแทน 1 ตัวอักขระ หรือ 1 ไบต (Bite) หนวยที่ใหญขึ้นมาอีกหนวย คือ กิโลไบต (Kilobyte) โดยที่ 1 กิโลไบต มีคาเทากับ 2 10 ไบต หรือ 1,024 ไบต หนวยความจําที่ใหญขึ้นไปอีก เรียกวา เมกะ ไบต กิกะไบต และเทระไบต ฮารดดิสก ( Hard Disk ) เปนจานแมเหล็กชนิดแข็ง ชนิดติดแนนไมมีการเคลื่อนที่ สามารถบรรจุขอมูลไดจํานวนมาก เปน 2 ขนาด คือ


1. ขนาด 5.25 นิ้ว (ปจจุบันเลิกใชแลว) 2. ขนาด 3.5 นิ้ว ทั้ง 2 ขนาดจะมีความจุ ตั้งแต 10,20,40,80,120,300,400 MB1 GB,2 GB ฯลฯ ปจจุบันนิยมใชตั้งแต 10 GB ขึ้นไป

Hard disk Data Rate หมายถึง ความเร็วในการอานขอมูลจากดิสกไปสูสมองของเครือ่ งคอมพิวเตอร (หรือมีความเร็วในการนําขอมูลมา จากสมองเครื่องไปบันทึกลงบนดิสก) มีหนวยวัดเปน จํานวนไบตตอวินาที ( Bytes Per Second หรือ bps ) ซีดีรอม (CD-Rom ) เปนจานแสงชนิดหนึ่ง ใชเก็บขอมูลที่มีความเร็วในการใชงานสูง มี คุณสมบัติดังนี้ o o o o

เปนสื่อที่สามารถเก็บขอมูลไดเปนจํานวนมาก โดยจะมีความจุสูงถึง 2 GB (2 พันลานไบต) มีขนาดเล็ก สามารถเคลื่อนยายไดสะดวก ใชเทคโนโลยีของแสงเลเซอรในการอานเขียนขอมูล เปนจานแสงชนิดอานไดอยางเดียว ( Read Only Memory ) ไมสามารถเขียนหรือลบขอมูลได

CD - ROM

3. หนวยแสดงผล (Output Unit) ทําหนาที่แสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลของเครือ่ งคอมพิวเตอร หรือใชเก็บผลลัพธ เพื่อนําไปใชภายหลัง ไดแก จอภาพ (Monitor) เปนอุปกรณสงออกมากที่สุด เครื่องพิมพ (Printer) ซอฟแวร (Software) หมายถึง โปรแกรมชุดคําสั่งที่เขียนใหเครื่องคอมพิวเตอรปฏิบัติตาม ซึ่งมี 2ประเภท คือ


1. ซอฟแวรควบคุมระบบ (System Software) คือ ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร เปน สื่อกลางระหวางโปรแกรมประยุกตกับเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อชวยในการจัดการทรัพยากรของคอมพิวเตอร ไดแก โปรแกรมควบคุมเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เชน DOS, Windows, Os/2, Unix 2. ซอฟแวรประยุกต (Application Software) คือ ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ตามที่ผูใชตองการ ไดแก โปรแกรมสําเร็จรูปตาง ๆ บุคลากร (Peopleware) หมายถึง บุคลากรทางคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่ในการใชและดูแลเครื่องคอมพิวเตอร เชน นักเขียน โปรแกรม (Programmer) นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) เปน ตน http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_06.htm สืบคนวันที่ 9สิงหาคม255

ระบบคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) คือ ระบบที่พัฒนามาจาก 2 สวนใหญๆคือ ฮารดแวรและซอฟแวร ฮารดแวรเปน สวนประกอบของคอมพิวเตอรที่สามารถจับตองไดสวนซอฟแวรเปนโปรแกรมที่ทํางารอยูในระบบคอมพิวเตอร ซึ่งจะทํางานตามที่ผูใชกําหนด

ฮารดแวร (Hardware) ประกอบไปดวยอุปกรณตางๆ 5 สวนไดแก

อุปกรณรับขอมูล (Input Device) เปนอุปกรณที่มีหนาที่รับขอมูลจากผูใชเขาสูระบบคอมพิวเตอร หนวยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) มีหนาที่ในการประมวลผลคําสั่งหรือขอมูลตางๆ หนวยความจําหลัก (Primary Storage) เปนสวนที่มีหนาที่ในการจัดเก็บขอมูลหรือคําสั่งตางๆ กอนที่จะสงไปยังหนวย ประเมิลผลกลางเพื่อทําการประมวลผลตอไป เมื่อเปดเครื่ององคอมพิวเตอรขอมูลในหนวยความจําก็จะหายไปหมด

อุปกรณแสดงขอมูล (Output Device) เปนอุปกรณที่มีหนาที่ในการแสดงผลตางๆตัวอยางที่ใชกันประจํา ไดแก จอภาพ และเครื่องพิมพ เปนตน

หนวยความจําสํารอง (Auxiliary Storage) มีหนาที่ในการจัดเก็บขอมูล ซึ่งการจัดเก็บขอมูลของหนวยความจําสํารองนี้ จะเปนการจัดเก็บที่ถาวร ขอมูลจะไมหายไปเมื่อปดเครื่องคอมพิวเตอรแลว ตัวอยาง เชน ฮารดดิสก แผนดิสก เปนตน

ซอฟตแวร (Software) ในสวนของซอฟตแวรก็สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ

ซอฟตแวรระบบ (System Software) ทําหนาที่ในการจัดการทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอร และทําหนาที่ติดตอ ระหวางฮารดแวรกับผูใชไดดวย


ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) เปนซอฟตแวรที่สรางขึ้นมาใหผูใชทํางานตางๆ เชน พิมพงาน วาดภาพ เปนตน

ลักษณะของคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอรนั้น ถามองในดานลักษณะคอมพิวเตอรจะสามารถแบงออกได 3 ประเภทใหญๆ ดั้งนี้

คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer)เปนระบบคอมพิวเตอรที่มีเครื่องคอมพิวเตอรเพียงเครื่องเดียว และไมไดทําการติดตอ กับเครื่องคอมพิวเตอรอื่นๆ

ลักษณะแบบ (Time-sharing)เปนลักษณะที่มีเครื่องคอมพิวเตอรหลายๆ เครื่องมาตอกับเครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลางโดยคอมพิวเตอร เหลานั้นเรียกวา Terminal ทุกเครื่องจะสงคําสั่งที่ตองการมาประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลาง เพราะการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร ศูนยกลางจะตองมีเวลาในการประมวลคําสั่งตาง ๆ ที่สงมาจาก Terminal ทุกเครื่องในลักษณะแบบ Time-sharing

ลักษณะแบบ (Client/Server)เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งที่ทําหนาที่เปน Server คอยดูแลจัดทรัพยากรของระบบทั้งหมด และมี เครื่อง Clients ตอเขาเครื่อง Server โดยใชทรัพยากรตาง ๆ ที่เครื่อง Server มีอยู ตามสิทธิของผูใชแตละคน และการประมวลผลจะไมทํา อยูบนเครื่อง Server แตจะประมวลที่ Clients แตละเครื่องเอง แลวอาจนําขอมูลตาง ๆ ไปเก็บที่เครื่อง Server

ภาษาคอมพิวเตอร (Computer Languages) ในการเขียนโปรแกรมนั้น ผูใชจะตองใชภาษาคอมพิวเตอรเขียนโปรแกรมเรียกวาซอฟตแวรขึ้นมา ภาษาคอมพิวเตอรนั้นจะมีตั้งแตละดับ ภาษาของเครื่องขึ้นมาจนถึงภาษาธรรมชาติ

ภาษาเครื่อง (Machine Languages) ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอรเขาใจมากที่สุด ซึ่งจะเปนลักษณะแบบเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1

ภาษาสัญลักษณ (Symbolic Languages) เมื่อคอมพิวเตอรไดพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆและมีผูใชมากขึ้น จึงมีคนมองเห็นวา การที่จะเขียนโปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอรดวยภาษาเครื่องนั้น จะทําใหการพัฒนาทางดานซอฟตแวรเปนไปไดชา จึงไดมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณขึ้น เพื่อใหการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรสะดวกยิ่งขึ้น แตการที่นําโปรแกรมนั้นไปใช จะตองทําการเปลี่ยนภาษาสัญลักษณเปนภาษาเครื่องกอนเสมอ

ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เปนภาษาที่พัฒนามาจากภาษาสัญลักษณอีกทีหนึ่ง แตจะมีลักษณะที่คลาย กับภาษามนุษยมากยิ่งขึ้น การแปลงภาษาระดับใหเปนภาษาเครื่องนั้นจะมีวิธีการเรียกวาคอมไฟล ภาษาระดับไดแก FORTRAN COBOL และ ภาษาC

ภาษาธรรมชาติ (Natural Languages) ภาษาธรรมชาติก็คือภาษาที่มนุษยพูดกัน เชน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เปนตน ซึ่ง เครื่องคอมพิวเตอรนั้นไมสามารถที่จะเขาใจไดเลย ในปจจุบันยังไมมีคนนิยมใชกันมากนัก


ขั้นตอนการรันโปรแกรมดวยภาษา c การพัฒนาโปรแกรมดวยภาษา c นั้นมีขั้นตอนอยู 3 ขั้น ดังนี้ 1.เขียนและแกไขโปรแกรม คือ การนําคําสั่งตางๆของภา c มาเขียนเรียงตอๆกันจนเปนโปรแกรมที่ทํางานตามผูใชตองการ โดยการเขียนจะเปน ตัวอักษร ซึ่งเมื่อเขียนเสร็จก็จะไดเปน Source Files 2.คอมไฟลโปรแกรม เมื่อได Source Files แลวและเมื่อตองการรันโปรแกรมใดๆผูใชจะตองทําการแปลง Source Files เหลานั้น ใหเปนภาษาเครื่องกอน ซึ่งในขั้นตอนนี้เรียกวา คอมไฟลโปรแกรม ซึ่งจะไดไฟล Object Module ดวย 3.การลิงคโปรแกรม ในภาษา c นั้นจะมีฟงกชั่นตางๆที่เตรียมพรอมมาใหผูใชไดใชอยูแลว เมื่อ คอมไฟลโปรแกรมเสร็จแลวไมมีขอผิดพลาดใด ตัว คอมไฟล (Compiler) จะทําการดึงโปรแกรมอื่นที่ถูกเรียกใชจากโปรแกรมที่ทําการลิงคเขามารวมในโปรแกรมที่สมบูรณ

การรันโปนแกรม เมื่อทําการลิงคเสร็จแลว โปรแกรมนั้นก็พรอมที่จะรัน และเมื่อรันโปรแกรมโดยใชคําสั่งของระบบปฏิบัติงานโปรแกรมนั้นจะถูกโหลดลงสู หนวยคําสั่งหลักจากนั้นก็จะทําการรันการกระทํานี้เรียกวา Loader

การพัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาซักโปรแกรมหนึ่งนั้น ไมใชมาถึงจะเขียนโปรแกรมไดเลย การพัฒนานั้นจะมีขั้นตอนที่เรียกวา System Development Life Cycle 1.หาความตองการของระบบ (System Requirements) คือ การศึกษาและเก็บความตองการของผูใชโปรแกรม วามีความ ตองการอะไรบาง 2.วิเคราะห (Analysis) คือ การนําเอาความตองการของผูใชโปรแกรมมาวิเคราะหวาจะพัฒนาเปนโปรแกรมตามที่ผูใชตองการไดหรือไมถาทํา ไดจะทําไดมากนอยเพียงใด3.ออกแบบ (Design) คือ เมื่อสรุปไดแลววาโปรแกรมที่จะสรางมีลักษณะใดขั้นตอนตอมาคือ การออกแบบการ ทํางานของโปรแกรมใหเปนไปตามความตองการที่วิเคราะหไวการออกแบบอาจจะออกแบบเปนผังงานก็ได 4.เขียนโปรแกรม (Code) คือ เมื่อไดผังงานแลว ตอมาก็เปนการเขียนโปรแกรมตามผังงานออกแบบไว 5.ทดสอบ (System Test) คือเมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จแลว จะตองมีการทดสอบเพื่อหาขอผิดพลาดตางๆ เชน ตรงตามที่ผูใชตองการหรือไม ถาพบขอผิดพลาดก็กลับไปทําออกแบบอีกครั้ง 6.ดูแล (Maintenance) เมื่อโปรแกรมผานการทดสอบแลว และผูใชไดนําโปรแกรมดังกลาวไปใช ผูพัฒนาจะตองคอยดูแล เนื่อจากอาจมี ขอผิดพลาดที่หาไมพบในขั้นตอนการทดสอบโปรแกรม

http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_C/unit1.htmlสืบคนวันที่ 9 สิงหาคม255


องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอรประกอบดวยองคประกอบสําคัญ 5 สวนดวยกัน คือ

องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร

• ฮารดแวร (Hardware) คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร และ อุปกรณรอบขาง (peripheral) ที่เกี่ยวของ เชน ฮารดดิสก เครื่องพิมพ เปน ตน ฮารดแวรประกอบดวย หนวยรับขอมูล ( input unit ) หนวยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU หนวยความจําหลัก หนวยแสดงผลลัพธ (output unit ) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (secondary storage unit )

หนวยรับขอมูล จะเปนอุปกรณที่ใชสําหรับขอมูลตาง ๆ เขาสูคอมพิวเตอร จากนั้น หนวยประมวลผลกลาง จะนําไปประมวลผล และแสดงผลลัพธที่ไดออกมากให ผูใชรับทราบทาง หนวยแสดงผลลัพธ หนวยความจําหลัก จะทําหนาที่เสมือนเก็บขอมูลชั่วคราวที่มีขนาดไมสูงมากนัก การที่ฮารดแวรจะทําหนาที่ไดมีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยูกับโปรแกรมคอมพิวเตอร ที่ใช สวนการทํางานไดมากนอยเพียงใด จะขึ้นอยูกับหนวยความจําหลักของเครื่องนั้น ๆ ขอเสียของหนวยความจําหลักคือ หากปดเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูใน หนวยความจําหลักจะหายไป ในขณะที่ขอ มูลอยูที่ หนวยเก็บขอมูลสํารอง จะไมสูญหายตราบเทาที่ผูใชไมทําการลบขอมูลนั้น รวมทั้งหนวยเก็ยขอมูลสํารองยังมี ความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสําหรับการเก็บขอมูลที่มีขนาดใหญ หรือเก็บขอมูลไวใชในภายหลัง ขอเสียของหนวยเก็บขอมูลสํารองคือการเรียกใชขอมูลจะชากวา หนวยความจําหลักมาก

ฮารดแวรในระบบไมโครคอมพิวเตอร


• ซอฟตแวร (Software) คอมพิวเตอรฮารดแวรที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไมสามารถทํางานใดๆ เนื่องจากตองมี ซอฟตแวร (Software) ซึ่งเปนชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให ฮารดแวรทํางานตาง ๆ ตามตองการ โดยชุดคําสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเปนผูใชภาษาคอมพิวเตอรเหลานั้นเขียนซอฟตแวรตาง ๆ ขึ้นมา ซอฟตแวร สามารถแบงออกเปนสองประเภทใหญๆคือ ซอฟตแวรระบบ (System Software ) ซอฟตแวรประยุกต ( Application Software ) ซอฟตแวรระบบ โดยสวนมากแลวจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอรเนื่องจากซอฟตแวรระบบเปนสวนควบคุมทํางานตาง ๆ ของคอมพิวเตอร เพื่อใหสามารถ เริ่มตนการทํางานอื่น ๆ ที่ผูใชตองการไดตอไป สวน ซอฟตแวรประยุกต จะเปนซอฟตแวรที่เนนในการชวยการทํางานตาง ๆ ใหกับผูใช ซึ่งแตกตางกันไปตามความ ตองการของผูใชแตละคน

• บุคลากร (Peopleware) เครื่องคอมพิวเตอรโดยมากตองใชบุคลากรสั่งใหเครื่องทํางาน เรียกบุคลากรเหลานี้วา ผูใช หรือ ยูเซอร (user) แตก็มีบางชนิดที่สามารถทํางานไดเองโดยไมตอง ใชผูควบคุม อยางไรก็ตาม คอมพิวเตอรก็ยังคงตองถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษยเสมอ ผูใชคอมพิวเตอร (computer user) แบงไดเปนหลายระดับ เพราะผูใชคอมพิวเตอรบางสวนก็ทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอรเทานั้น แตบางสวนก็พยายาม ศึกษาโปรแกรมประยุกตในขั้นที่สูงขึ้น ทําใหมีความชํานาญในการใชโปรแกรมประยุกตตาง ๆ นิยมเรียกกลุมนี้วา เพาเวอรยูสเซอร (power user) ผูเชี่ยวชาญทางดานคอมพิวเตอร (computer professional) หมายถึงผูที่ไดศึกษาวิชาการทางดานคอมพิวเตอร ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผูเชี่ยวชาญ ทางดานนี้จะนําความรูที่ไดศึกษามาประยุกตและพัฒนาใชงาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอรใหทาํ งานในขั้นสูงขึ้นไปไดอีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือวาเปนผูเชียวชาญทางคอมพิวเตอรเชนกัน เพราะสามารถสรางโปรแกรมใหม ๆ ได และเปนเสนทางหนึ่งที่จะนําไปสูการเปนผูเชี่ยวชาญ ทางคอมพิวเตอรตอไป บุคลากรก็เปนสวนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร เพราะมีความเกี่ยวของกับระบบคอมพิวเตอร ตั้งแตการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร ตลอดจนถึงการนําคอมพิวเตอรมา ใชงานตาง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานไดดังนี้ Ø การดําเนินงานและเครื่องอุปกรณตาง ๆ เชน การบันทึกขอมูลลงสื่อ หรือสงขอมูลเขาประมวล หรือควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอร เชน เจาหนาที่บันทึกขอมูล (Data Entry Operator) เปนตน Ø การพัฒนาและบํารุงรักษาโปรแกรม เชน เจาหนาที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต (Application Programmer) เจาหนาที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เปนตน Ø การวิเคราะหและออกแบบระบบงานที่ใชคอมพิวเตอรประมวลผล เชน เจาหนาที่วิเคราะหและออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจาหนาที่จัดการฐานขอมูล (Database Adminstrator) เปนตน Ø การพัฒนาและบํารุงรักษาระบบทางฮารดแวร เชน เจาหนาที่ควบคุมการทํางานระบบคอมพิวเตอร (Computer Operator) เปนตน Ø การบริหารในหนวยประมวลผลขอมูล เชน ผูบริหารศูนยประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร (EDP Manager) เปนตน

ขอมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทํางานตาง ๆ จะตองมีขอมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ขอมูลที่เกี่ยวของกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อใหไดสารสนเทศที่เปนประโยชนตอผูใช ซึ้งใน ปจจุบันมีการนําเอาระบบคอมพิวเตอรมาเปนขอมูลในการดัดแปลงขอมูลใหไดประสิทธิภาพโดยแตกตางๆระหวาง ขอมูล และ สารสนเทศ คือ ขอมูล คือ ไดจากการสํารวจจริง แต สารสนเทศ คือ ไดจากขอมูลไมผานกระบวนการหนึ่งกอน สารสนเทศเปนสิ่งที่ผูบริหาารนําไปใชชวยในการตัดสินใจ โดยทีส่ ารสนเทศที่มีประโยชนนั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง


มีความสัมพันธกัน (relevant)

สามารถนํามาประยุกตใชไดอยางเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน

มีความทันสมัย (timely)

ตองมีความทันสมัยและพรอมที่จะใชงานไดทันทีเมื่อตองการ

มีความถูกตองแมนยํา (accurate)

เมื่อปอนขอมูลเขาสูคอมพิวเตอรและผลลัพธที่ไดจะตองถูกตองในทุก สวน

มีความกระชับรัดกุม (concise)

ขอมูลจะตองถูกยนใหมีความยาวที่พอเหมาะ

มีความสมบูรณในตัวเอง (complete)

ตองรวบรวมขอมูลที่สําคัญไวอยางครบถวน

คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน

การเปลี่ยนรูปจากขอมูลสูสารสนเทศ

กระบวนการทํางาน (Procedure) กระบวนการทํางานหรือโพรซีเยอร หมายถึง ขั้นตอนที่ผูใชจะตองทําตาม เพื่อใหไดงานเฉพาะอยางจากคอมพิวเตอรซึ่งผูใชคอมพิวเตอรทุกคนตองรูการ ทํางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อที่จะสามารถใชงานไดอยางถูกตอง ตัวอยางเชน การใชเครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถาตองการถอนเงินจะตองผาน กระบวนการตาง ๆ ดังนี้ Ø จอภาพแสดงขอความเตรียมพรอมที่จะทํางาน Ø สอดบัตร และพิมพรหัสผูใช Ø เลือกรายการ Ø ใสจํานวนเงินที่ตองการ Ø รับเงิน Ø รับใบบันทึกรายการ และบัตร การใชคอมพิวเตอรปฏิบัติงานในสวนตาง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซอน และเกี่ยวของกับชวงเวลาตาง ๆ ในการปฏิบัติงานดวย จึงตองมีคูมือการ ปฏิบัติงานที่ชัดเจน เชน คูมือสําหรับผูควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คูมือสําหรับผูใช (User Manual) เปนตน

http://www.lks.ac.th/kuanjit/it002_1.htm


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.