ระบบคอมพิวเตอร์

Page 1


ระบบ (System) คือกลุมขององคประกอบที่มีความสัมพันธกันและทํางาน รวมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอรจะมีองคประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ •ฮารดแวร (Hardware) •ซอฟตแวร (Software) •บุคลากร (Peopleware)


ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตาง ๆ ที่เปนตัวเครื่องคอมพิวเตอร แบงออกเปน สวนประกอบดังนี้ หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผล หนวยแสดงผล (Input unit) เปนอุปกรณรบั เขา ทําหนาทีร่ บั โปรแกรมและ ขอมูลเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณรบั เขาที่ใชกนั เปนสวนใหญ คือ แปนพิมพ ( Keyboard ) และเมาส ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณรบั เขาอื่น ๆ อีก ไดแก สแกนเนอร ( Scanner), วีดโี อคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone),ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิต เซอร เทเบิ้ล แอนด ครอสแชร (Digiter tablet and crosshair) (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทัว่ ๆ ไป วา CPU ซึ่งถือวาเปนสมองของระบบคอมพิวเตอร มีสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวน คือ หนวยควบคุม หนวยคํานวณ


– หนวยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทําหนาที่ควบคุมลําดับขั้นตอนการทํางาน ของหนวยรับขอมูล หนวยแสดงผล หนวยคํานวณและหนวยตรรก หนวยความจําและแปล คําสัง่ – หนวยคํานวณและตรรก (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทําหนาทีใ่ น การคํานวณหาตัวเลข เชน การบวก ลบ การเปรียบเทียบ – หนวยความจํา เปนอุปกรณใชเก็บโปรแกรมและขอมูลที่ใชในการประมวลผล


3. หนวยความจําภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เปนหนวยความจําที่อยู ภายในเครือ่ งคอมพิวเตอรที่สามารถติดตอกับหนวยงานอืน่ ๆ ไดโดยตรง แบงออกเปน 2 ประเภท – หนวยความจําภายใน • ‐ หนวยความจําแบบแรม (Random Access Memory หรือ Ram) เปนหนวยความจําชั่วคราว ที่ ใชสําหรับเก็บโปรแกรมที่กําลังใชงานอยูขณะนั้น มีความจุของหนวยเก็บขอมูลไมเกิน 640 KB คือผูใช สามารถเขียนหรือลบไปไดตลอดเวลา ถาหากปดเครื่องคอมพิวเตอรหรือไฟฟาดับ จะมีผลทําใหขอมูลตาง ๆ ที่ เก็บไวสูญหายไปหมด และไมสามารถเรียกกลับคืนมาได • ‐ หนวยความจําแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เปนหนวยความจําถาวร ที่สามารถ อานไดอยางเดียว ไมสามารถบันทึกขอมูลได ถึงแมวาจะปดเครื่องหรือไฟฟาดับ ขอมูลที่เก็บไวจะยังคงอยู 2. หนวยความจําสํารอง ไดแก เทปแมเหล็ก จานแมเหล็ก แผนดิสก (Diskett) CD‐ROM • แผนดิสกหรือสเกต เปนจานแมเหล็กขนาดเล็ก ชนิดออน จัดเก็บขอมูลโดยใชอํานาจแมเหล็ก การใชงาน จะตองมี Disk Drive เพื่อใชเปนอุปกรณในการขับเคลื่อนแผนดิสก โดยแบงตําแหนงพื้นผิวออกเปน แทร็คและเซ็คเตอร แบงออกเปน 3 ขนาด คือ


– แผนดิสกขนาด 8 นิ้ว ปจจุบันไมนิยมใช – แผนดิสกขนาด 5.25 นิ้ว แบงออกเปน DD สามรถบันทึกขอมูลไดประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกขอมูลได 1.2 MB – แผนดิสกขนาด 3.5 นิ้ว แบงออกเปน DD สามารถบันทึกขอมูลไดประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกขอมูลได 1.44 MB นิยมใชกันมากในปจจุบนั


ขนาด 5.25 นิ้ว

ขนาด 1.44 MB


8 Bit

1 Byte

1 Byte

1 ตัวอักษร

1 KB

1,024 Byte

1 MB

1,024 KB

1 GB

1,024 MB

1 TB

1,024 GB


• หนวยความจําต่าํ สุด คือ บิต (BIT [Binary Digit]) โดยใชบิตแทน 1 ตัวอักขระ หรือ 1 ไบต (Bite) หนวยที่ใหญขึ้นมาอีกหนวย คือ กิโลไบต (Kilobyte) โดยที่ 1 กิโลไบต มีคาเทากับ 2 10 ไบต หรือ 1,024 ไบต หนวยความจําที่ใหญขึ้นไปอีก เรียกวา เมกะไบต กิกะไบต และเทระไบต • ฮารดดิสก ( Hard Disk ) เปนจานแมเหล็กชนิดแข็ง ชนิดติดแนนไมมีการเคลื่อนที่ สามารถบรรจุขอมูลไดจํานวนมาก เปน 2 ขนาด คือ 1. ขนาด 5.25 นิ้ว (ปจจุบันเลิกใชแลว) • 2. ขนาด 3.5 นิ้ว ทั้ง 2 ขนาดจะมีความจุ ตั้งแต 10,20,40,80,120,300,400 MB1 GB,2 GB ฯลฯ ปจจุบันนิยมใชตั้งแต 10 GB ขึ้นไป



หมายถึง ความเร็วในการอานขอมูลจากดิสกไปสู สมองของเครื่องคอมพิวเตอร (หรือมีความเร็วในการนําขอมูล มาจากสมองเครื่องไปบันทึกลงบนดิสก) มีหนวยวัดเปน จํานวน ไบตตอ วินาที ( Bytes Per Second หรือ bps )


เปนจานแสงชนิดหนึ่ง ใชเก็บขอมูลที่มีความเร็ว ในการใชงานสูง มี คุณสมบัติดังนี้ – เปนสื่อที่สามารถเก็บขอมูลไดเปนจํานวนมาก โดยจะมีความจุสูงถึง 2 GB (2 พันลานไบต) – มีขนาดเล็ก สามารถเคลื่อนยายไดสะดวก – ใชเทคโนโลยีของแสงเลเซอรในการอานเขียนขอมูล – เปนจานแสงชนิดอานไดอยางเดียว ( Read Only Memory ) ไม สามารถเขียนหรือลบขอมูลได



ทําหนาที่แสดงผลลัพธที่ไดจากการ ประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร หรือใชเก็บผลลัพธเพื่อนําไปใชภายหลัง ไดแก จอภาพ (Monitor) เปนอุปกรณสงออกมากที่สุด เครื่องพิมพ (Printer)



หมายถึง โปรแกรมชุดคําสั่งที่เขียนใหเครื่องคอมพิวเตอร ปฏิบัติตาม ซึ่งมี 2ประเภท คือ คือ ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร เปนสื่อกลางระหวางโปรแกรมประยุกตกับ เครื่องคอมพิวเตอร เพื่อชวยในการจัดการทรัพยากรของคอมพิวเตอร ไดแก โปรแกรมควบคุมเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เชน DOS, Windows, Os/2, Unix คือ ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ เขียนขึ้นมาเพื่อใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานตามที่ผูใชตองการไดแก โปรแกรม สําเร็จรูปตาง ๆ


• บุคลากร (Peopleware) หมายถึง บุคลากรทางคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่ในการใชและดูแล เครื่องคอมพิวเตอร เชน นักเขียนโปรแกรม (Programmer) นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) เปนตน • บุคลากร (Peopleware) เครื่องคอมพิวเตอรโดยมากตองใชบุคลากรสั่งใหเครื่องทํางาน เรียกบุคลากรเหลานี้วา ผูใช หรือ ยูเซอร (user) แตก็มีบางชนิดที่สามารถทํางานไดเองโดยไมตองใชผคู วบคุม อยางไรก็ตาม คอมพิวเตอรก็ยังคงตองถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษยเสมอ • ผูใชคอมพิวเตอร (computer user) แบงไดเปนหลายระดับ เพราะผูใชคอมพิวเตอร บางสวนก็ทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอรเทานัน้ แตบางสวนก็พยายามศึกษาโปรแกรม ประยุกตในขัน้ ที่สงู ขึ้น ทําใหมคี วามชํานาญในการใชโปรแกรมประยุกตตาง ๆ นิยมเรียกกลุมนี้ วา เพาเวอรยูสเซอร (power user) • ผูเชี่ยวชาญทางดานคอมพิวเตอร (computer professional) หมายถึงผูที่ไดศึกษา วิชาการทางดานคอมพิวเตอร ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผูเชี่ยวชาญทางดานนีจ้ ะนําความรู ที่ไดศึกษามาประยุกตและพัฒนาใชงาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอรใหทํางานใน ขั้นสูงขึน้ ไปไดอีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือวาเปนผูเชียวชาญทาง คอมพิวเตอรเชนกัน เพราะสามารถสรางโปรแกรมใหม ๆ ได และเปนเสนทางหนึง่ ทีจ่ ะนําไปสู การเปนผูเชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอรตอไป


บุคลากรก็เปนสวนหนึง่ ของระบบคอมพิวเตอร เพราะมีความเกี่ยวของกับระบบคอมพิวเตอร ตั้งแตการ พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร ตลอดจนถึงการนําคอมพิวเตอรมาใชงานตาง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได ดังนี้ Ø การดําเนินงานและเครื่องอุปกรณตาง ๆ เชน การบันทึกขอมูลลงสื่อ หรือสงขอมูลเขาประมวล หรือควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอร เชน เจาหนาที่บนั ทึกขอมูล (Data Entry Operator) เปนตน Ø การพัฒนาและบํารุงรักษาโปรแกรม เชน เจาหนาที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต (Application Programmer) เจาหนาที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เปนตน Ø การวิเคราะหและออกแบบระบบงานที่ใชคอมพิวเตอรประมวลผล เชน เจาหนาที่วิเคราะหและ ออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจาหนาที่จัดการฐานขอมูล (Database Adminstrator) เปน ตน Ø การพัฒนาและบํารุงรักษาระบบทางฮารดแวร เชน เจาหนาทีค่ วบคุมการทํางานระบบ คอมพิวเตอร (Computer Operator) เปนตน Ø การบริหารในหนวยประมวลผลขอมูล เชน ผูบริหารศูนยประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร (EDP Manager) เปนตน


ระบบคอมพิวเตอรนั้น ถามองในดานลักษณะคอมพิวเตอรจะ สามารถแบงออกได 3 ประเภทใหญๆ ดั้งนี้ เปนระบบ คอมพิวเตอรที่มีเครื่องคอมพิวเตอรเพียงเครื่องเดียว และไมไดทําการ ติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอรอื่นๆ


(Time-sharing)เปนลักษณะที่มีเครื่องคอมพิวเตอรหลายๆ เครื่อง มาตอกับเครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลางโดยคอมพิวเตอรเหลานั้นเรียกวา Terminal ทุกเครื่องจะสงคําสั่งที่ตองการมาประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร ศูนยกลาง เพราะการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลางจะตองมี เวลาในการประมวลคําสั่งตาง ๆ ที่สงมาจาก Terminal ทุกเครื่องในลักษณะ แบบ Time-sharing (Client/Server)เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งที่ทําหนาที่เปน Server คอยดูแลจัดทรัพยากรของระบบทั้งหมด และมีเครื่อง Clients ตอเขา เครื่อง Server โดยใชทรัพยากรตาง ๆ ที่เครื่อง Server มีอยู ตามสิทธิของผูใช แตละคน และการประมวลผลจะไมทําอยูบนเครื่อง Server แตจะประมวลที่ Clients แตละเครื่องเอง แลวอาจนําขอมูลตาง ๆ ไปเก็บที่เครื่อง Server


ในการเขียนโปรแกรมนั้น ผูใชจะตองใชภาษาคอมพิวเตอรเขียน โปรแกรมเรียกวาซอฟตแวรขึ้นมา ภาษาคอมพิวเตอรนั้นจะมีตั้งแตละดับ ภาษาของเครื่องขึ้นมาจนถึงภาษาธรรมชาติ


(Machine Languages) ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอรเขาใจมาก ที่สุด ซึ่งจะเปนลักษณะแบบเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 (Symbolic Languages) เมื่อคอมพิวเตอรไดพัฒนาขึ้น มาเรื่อยๆและมีผูใชมากขึ้น จึงมีคนมองเห็นวาการที่จะเขียนโปรแกรมควบคุม คอมพิวเตอรดวยภาษาเครื่องนั้น จะทําใหการพัฒนาทางดานซอฟตแวรเปนไป ไดชา จึงไดมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณขึ้นเพื่อใหการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอรสะดวกยิ่งขึ้น แตการที่นําโปรแกรมนั้นไปใช จะตองทําการเปลี่ยน ภาษาสัญลักษณเปนภาษาเครื่องกอนเสมอ


(High-Level Languages) เปนภาษาที่พัฒนามาจากภาษา สัญลักษณอีกทีหนึ่ง แตจะมีลักษณะที่คลายกับภาษามนุษยมากยิ่งขึ้น การแปลง ภาษาระดับใหเปนภาษาเครื่องนั้นจะมีวิธีการเรียกวาคอมไฟล ภาษาระดับ ไดแก FORTRAN COBOL และ ภาษาC (Natural Languages) ภาษาธรรมชาติก็คือภาษาที่มนุษย พูดกัน เชน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เปนตน ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรนั้นไม สามารถที่จะเขาใจไดเลย ในปจจุบันยังไมมีคนนิยมใชกันมากนัก


การพัฒนาโปรแกรมดวยภาษา c นั้นมีขั้นตอนอยู 3 ขั้น ดังนี้ คือ การนําคําสั่งตางๆของภา c มาเขียนเรียงตอๆกันจน เปนโปรแกรมที่ทํางานตามผูใชตองการ โดยการเขียนจะเปนตัวอักษร ซึ่งเมื่อเขียนเสร็จก็ จะไดเปน Source Files เมื่อได Source Files แลวและเมื่อตองการรันโปรแกรมใดๆ ผูใชจะตองทําการแปลง Source Files เหลานั้น ใหเปนภาษาเครื่องกอน ซึ่งในขั้นตอนนี้ เรียกวา คอมไฟลโปรแกรม ซึ่งจะไดไฟล Object Module ดวย ในภาษา c นั้นจะมีฟงกชั่นตางๆที่เตรียมพรอมมาใหผูใชไดใช อยูแลว เมื่อ คอมไฟลโปรแกรมเสร็จแลวไมมขี อ ผิดพลาดใด ตัวคอมไฟล (Compiler) จะ ทําการดึงโปรแกรมอื่นที่ถูกเรียกใชจากโปรแกรมที่ทําการลิงคเขามารวมในโปรแกรมที่ สมบูรณ


เมือ่ ทําการลิงคเสร็จแลว โปรแกรมนั้นก็พรอมที่จะรัน และ เมื่อรันโปรแกรมโดยใชคําสั่งของระบบปฏิบัติงานโปรแกรมนั้นจะ ถูกโหลดลงสูหนวยคําสั่งหลักจากนัน้ ก็จะทําการรันการกระทํานี้ เรียกวา Loader


ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาซักโปรแกรมหนึ่งนั้น ไมใชมาถึงจะ เขียนโปรแกรมไดเลย การพัฒนานั้นจะมีขั้นตอนที่เรียกวา System Development Life Cycle คือ การศึกษาและเก็บความตองการของผูใชโปรแกรม วามีความตองการ อะไรบาง คือ การนําเอาความตองการของผูใชโปรแกรม มาวิเคราะหวาจะพัฒนาเปนโปรแกรมตามที่ผูใชตองการไดหรือไมถาทําได จะทําไดมากนอยเพียงใด


(Design) คือ เมื่อสรุปไดแลววาโปรแกรมที่จะสรางมีลักษณะใดขั้นตอน ตอมาคือ การออกแบบการทํางานของโปรแกรมใหเปนไปตามความตองการที่วิเคราะหไว การออกแบบอาจจะออกแบบเปนผังงานก็ได (Code) คือ เมื่อไดผังงานแลว ตอมาก็เปนการเขียนโปรแกรมตามผัง งานออกแบบไว (System Test) คือเมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จแลว จะตองมีการทดสอบเพื่อหา ขอผิดพลาดตางๆ เชน ตรงตามที่ผูใชตองการหรือไม ถาพบขอผิดพลาดก็กลับไปทํา ออกแบบอีกครั้ง (Maintenance) เมื่อโปรแกรมผานการทดสอบแลว และผูใชไดนําโปรแกรม ดังกลาวไปใช ผูพัฒนาจะตองคอยดูแล เนื่อจากอาจมีขอผิดพลาดที่หาไมพบในขั้นตอนการ ทดสอบโปรแกรม


• ระบบคอมพิวเตอรประกอบดวยองคประกอบสําคัญ 5 สวนดวยกัน คือ

แตเราจะพูดแค2เรื่องคือ


ในการทํางานตาง ๆ จะตองมีขอมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ขอมูลที่เกี่ยวของ กับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อใหไดสารสนเทศที่เปน ประโยชนตอผูใช ซึ้งในปจจุบันมีการนําเอาระบบคอมพิวเตอรมาเปน ขอมูลในการดัดแปลงขอมูลใหไดประสิทธิภาพโดยแตกตางๆระหวาง ขอมูล และ สารสนเทศ คือ • ขอมูล คือ ไดจากการสํารวจจริง แต สารสนเทศ คือ ไดจากขอมูลไม ผานกระบวนการหนึ่งกอน


สารสนเทศเปนสิ่งที่ผูบริหารนําไปใชชวยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศ ที่มีประโยชนนั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง มีความสัมพันธกัน (relevant)

สามารถนํามาประยุกตใชไดอยางเหมาะสมกับสถานการณปจจุบนั

มีความทันสมัย (timely)

ตองมีความทันสมัยและพรอมที่จะใชงานไดทันทีเมื่อตองการ

มีความถูกตองแมนยํา (accurate)

เมื่อปอนขอมูลเขาสูคอมพิวเตอรและผลลัพธที่ไดจะตองถูกตองในทุก สวน

มีความกระชับรัดกุม (concise)

ขอมูลจะตองถูกยนใหมีความยาวที่พอเหมาะ

มีความสมบูรณในตัวเอง (complete)

ตองรวบรวมขอมูลที่สําคัญไวอยางครบถวน



กระบวนการทํางานหรือโพรซีเยอร หมายถึง ขั้นตอนที่ผูใชจะตองทําตาม เพื่อใหไดงานเฉพาะอยาง จากคอมพิวเตอรซงึ่ ผูใชคอมพิวเตอรทุกคนตองรูการทํางานพืน้ ฐานของเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อทีจ่ ะ สามารถใชงานไดอยางถูกตอง ตัวอยางเชน การใชเครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถาตองการถอนเงิน จะตองผานกระบวนการตาง ๆ ดังนี้ Ø จอภาพแสดงขอความเตรียมพรอมที่จะทํางาน Ø สอดบัตร และพิมพรหัสผูใช Ø เลือกรายการ Ø ใสจํานวนเงินที่ตองการ Ø รับเงิน Ø รับใบบันทึกรายการ และบัตร การใชคอมพิวเตอรปฏิบัติงานในสวนตาง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนทีส่ ลับซับซอน และเกี่ยวของกับ ชวงเวลาตาง ๆ ในการปฏิบัติงานดวย จึงตองมีคูมือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เชน คูมือสําหรับผูควบคุม เครื่อง (Operation Manual) คูมือสําหรับผูใช (User Manual) เปนตน


http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_06.htm สืบคนวันที่ 9 สิงหาคม255 http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_C/unit1.htmlสืบคนวันที่ 9 สิงหาคม 255 http://www.lks.ac.th/kuanjit/it002_1.htm


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.