ระบบคอมพิวเตอร์

Page 1

รายงาน เรือ่ ง ระบบคอมพิวเตอร เสนอ อาจารยสจุ ิตตรา จันทรลอย จัดทําโดย 1. นางสาวจีรนันท เรือนงาม

รหัส 554186015

2. นางสาวมะยุรีย มาตยา

รหัส 554186030

3. นางสาวสุภาภรณ หลั่นเจริญ รหัส 554186044 4. นางสาวกัญญาลักษณ นิ่มพันธ รหัส 554186051 5. นางสาวจารุมน หนูบังเกิด

รหัส 554186081

นักศึกษาชัน้ ที่ป 1 หมู1 คณะครุศาสตร สาขาการศึกษาปฐมวัย รายงานนีเ้ ปนสวนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับครู (PC54504)


คํานํา รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับครู ซึ่งไดรวบรวมจากเอกสารตางๆ เนื้อหาประกอบดวย ระบบ(System) ฮารดแวร (Hardware) ซอฟตแวร (Software) บุคลากร (Peopleware) ลักษณะของคอมพิวเตอร ภาษาคอมพิวเตอร การ พัฒนาโปรแกรม และประโยชนของระบบคอมพิวเตอร เพื่อใชประกอบการเรียนการสอนแก นักศึกษาและบุคลากรที่สนใจ หวังวาเอกสารประกอบการสอนเลมนี้ คงเปนประโยชนตอ นักศึกษาและบุคลากรที่สนใจ หากมีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว ณ โอกาสนี้ดวย

คณะผูจัดทํา


สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

ประวัติระบบคอมพิวเตอร

1- 6

วิวัฒนาการคอมพิวเตอร

6 -7

ระบบคอมพิวเตอร

7

ฮารดแวร

7-11

ซอฟตแวร

11-12

บุคลากร ลักษณะของคอมพิวเตอร

12 13

ภาษาคอมพิวเตอร

13-14

ขั้นตอนการรันโปรแกรมดวยภาษา C

14-15

การรันโปนแกรม

15

การพัฒนาโปรแกรม

15-16

ประเภทของคอมพิวเตอร

16-19

ประโยชนของระบบคอมพิวเตอร

19-21


ประวัติระบบคอมพิวเตอร ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร หมายถึง เครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกสที่สามารถทํางานคํานวณผลและ เปรียบเทียบคาตามชุดคําสั่งดวยความเร็วสูง อยางตอเนื่อง และอัตโนมัติ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใหคําจํากัดความของคอมพิวเตอรไวคอนขาง กะทัดรัดวา เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เสมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตาง ๆ ทั้งที่งายและซับซอน โดยวิธีทางคณิตศาสตร การจําแนกคอมพิวเตอรตามลักษณะวิธีการทํางานภายในเครื่องคอมพิวเตอรอาจ แบงไดเปนสองประเภทใหญ ๆ คือ 1. แอนะล็อกคอมพิวเตอร (analog computer) เปนเครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกสที่ ไมไดใชคาตัวเลขเปนหลักของการคํานวณ แตจะใชคาระดับแรงดันไฟฟาแทน ไม บรรทัดคํานวณ อาจถือเปนตัวอยางหนึ่งของแอนะล็อกคอมพิวเตอร ที่ใชคาตัวเลขตาม แนวความยาวไมบรรทัดเปนหลักของการคํานวณ โดยไมบรรทัดคํานวณจะมีขีดตัวเลข กํากับอยู เมื่อไมบรรทัดหลายอันมรประกบรวมกัน การคํานวณผล เชน การคูณ จะเปน การเลื่อนไมบรรทัดหนึ่งไปตรงตามตัวเลขของตัวตั้งและตัวคูณของขีดตัวเลขชุดหนึ่ง แลวไปอานผลคูณของขีดตัวเลขอีกชุดหนึ่ง แอนะล็อกคอมพิวเตอรแบบอิเล็กทรอนิกสจะใชหลักการทํานองเดียวกัน โดย แรงดันไฟฟาจะแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไมบรรทัด แอนะล็อกคอมพิวเตอรจะมี ลักษณะเปนวงจรอิเล็กทรอนิกสที่แยกสวนทําหนาที่เปนตัวกระทําและเปนฟงกชันทาง คณิตศาสตร จึงเหมาะสําหรับงานคํานวณทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรมที่อยูในรูปของ สมการคณิตศาสตร เชน การจําลองการบิน การศึกษาการสั่งสะเทือนของตึกเนื่องจาก แผนดินไหว ในปจจุบันไมคอยพบเห็นแอนะล็อกคอมพิวเตอรเทาไรนักเพราะผลการ คํานวณมีความละเอียดนอย ทําใหมีขีดจํากัดใชไดกับงานเฉพาะบางอยางเทานั้น 2. ดิจิทัลคอมพิวเตอร (digital computer) คอมพิวเตอรที่พบเห็นทั่วไปในปจจุบัน จัดเปนดิจิทัลคอมพิวเตอรแทบทั้งหมด ดิจิทัลคอมพิวเตอรเปนเครื่องคํานวณ อิเล็กทรอนิกสที่ใชงานเกี่ยวกับตัวเลข มีหลักการคํานวณที่ไมใชแบบไมบรรทัดคํานวณ


จากอดีตสูปจจุบัน พัฒนาการทางดานเทคโนโลยีในชวง 100 ปที่ผานมาไดพัฒนาไปอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะ อยางยิ่งเทคโนโลยีทางดาน คอมพิวเตอร เมื่อ 50 ปที่แลวมา มีคอมพิวเตอร ขึ้นใชงาน ตอมาเกิดระบบสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหมเกิดขึ้นมากมาย และมีแนวโนม การพัฒนาอยางตอเนื่อง เราสามารถแบงพัฒนาการคอมพิวเตอรจากอดีตสูปจจุบัน สามารถแบงเปนยุคกอนการใชไฟฟาอิเล็กทรอนิคส และยุคที่เครื่องคอมพิวเตอรเปน อุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิคส


เครื่องคํานวณในยุคประวัติศาสตร เครื่องคํานวณเครื่องแรกของโลก ไดแก ลูกคิด มีการใชลกู คิดในหมูชาวจีนมากกวา 7000 ป และใชในอียิปตโบราณมากกวา 2500 ป ลูกคิดของชาวจีนประกอบดวยลูกปด รอยอยูในราวเปนแถวตามแนวตั้ง โดยแตละแถวแบงเปนครึ่งบนและลาง ครึ่งบนมี ลูกปด 2 ลูก ครึ่งลางมีลูกปด 5 ลูก แตละแถวแทนหลักของตัวเลข เครื่องคํานวณกลไกที่ รูจักกันดี ไดแก เครื่องคํานวณของปาสคาลเปนเครื่องที่บวกลบดวยกลไกเฟองที่ขบตอ กัน เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสาตรชาวฝรั่งเศส ไดประดิษฐขึ้นในป พ.ศ. 2185 คอมพิวเตอรในยุคเริ่มแรก ไดแก เครื่องจักรกลหรือสิ่งประดิษฐขึ้นเพื่อชวยในการ คํานวณ โดยที่ยังไมมีการ นําวงจรอิเล็กทรอนิกส เขามาใชประโยชนรวมดวย ลําดับ เครื่องมือขึ้นมามีดังนี้ ในระยะ 5,000 ปที่ผานมา มนุษยเริ่มรูจักการใชนิ้วมือและนิ้วเทาของตนเพื่อชวยใน การคํานวณ และพัฒนา มาใชอุปกรณอื่น ๆ เชน ลูกหิน ใชเชือกรอยลูกหินคลายลูกคิด ตอมาประมาณ 2,600 ปกอนคริสตกาล ชาวจีนไดประดิษฐเครื่องมือเพื่อใชในการ คํานวณขึ้นมาชนิดหนึ่ง เรียกวา ลูกคิด ซึ่งถือไดวา เปนอุปกรณใชชวยการคํานวณที่ เกาแกที่สุดในโลกและคงยังใชงานมาจนถึงปจจุบัน พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตรชาวสก็อตแลนดชื่อ John Napier ไดประดิษฐอุปกรณใช ชวยการคํานวณขึ้นมา เรียกวา Napier's Bones เปนอุปกรณที่ลักษณะคลายกับตารางสูตร คูณในปจจุบัน เครื่องมือชนิดนี้ชวยให สามารถ ทําการคูณและหาร ไดงายเหมือนกับทํา การบวก หรือลบโดยตรง พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศสชื่อ Blaise Pascal ซึ่งในขณะนั้นมีอายุเพียง 19 ป ไดออกแบบ เครื่องมือในการคํานวณโดย ใชหลักการหมุนของฟนเฟองหนึ่งอันถูก หมุนครบ 1 รอบ ฟนเฟองอีกอันหนึ่งซึ่งอยู ทางดานซายจะถูกหมุนไปดวยในเศษ 1 สวน 10 รอบ เครื่องมือของปาสคาลนี้ถูกเผยแพรออกสูสาธารณะชน เมื่อ พ.ศ. 2188 แตไม ประสบความสําเร็จเทาที่ควรเนื่องจากราคาแพง และเมื่อใชงานจริงจะเกิดเหตุการณที่


พ.ศ. 2344 นักประดิษฐชาวฝรั่งเศสชื่อ Joseph Marie Jacquard ไดพยายามพัฒนา เครื่องทอผาโดยใช บัตรเจาะรูในการบันทึกคําสั่ง ควบคุมเครื่องทอผาใหทําตามแบบที่ กําหนดไว และแบบดังกลาวสามารถนํามา สรางซ้ําๆ ไดอีกหลายครั้ง ความพยายามของ Jacquard สําเร็จลงใน พ.ศ. 2348 เครื่องทอผานี้ถือวาเปน เครื่องทํางานตามโปรแกรม คําสั่งเปนเครื่องแรก พ.ศ. 2373 Chales Babbage ถือกําเนิดที่ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2334 จบการศึกษา ทางดานคณิตศาสตร จากมหาวิทยาลัยแคมบริดจ และไดรับตําแหนง Lucasian Professor ซึ่งเปนตําแหนงที่ Isaac Newton เคยไดรับมากอน ในขณะที่กําลังศึกษาอยูนั้น Babbage ไดสรางเครื่อง หาผลตาง (Difference Engine) ซึ่งเปนเครื่องที่ใชคํานวณ และพิมพตาราง ทางคณิตศาสตรอยางอัตโนมัติ จนกระทั่งป พ.ศ. 2373 เขาไดรับความชวยเหลือจาก รัฐบาลอังกฤษเพื่อสรางเครื่อง Difference Engine ขึ้นมาจริงๆ แตในขณะที่ Babbage ทํา การสรางเครื่อง Difference Engine อยูนั้น ไดพัฒนาความคิดไปถึง เครื่องมือในการคําณ วนที่มีความสามารถสูงกวานี้ ซึ่งก็คือเครื่องที่เรียกวาเครื่องวิเคราะห (Analytical Engine) และไดยกเลิกโครงการสรางเครื่อง Difference Engine ลงแลวเริ่มตนงานใหม คือ งาน สรางเครื่องวิเคราะห ในความคิดของเขา โดยที่เครื่องดังกลาวประกอบไปดวยชิ้นสวนที่ สําคัญ 4 สวน คือ 1. สวนเก็บขอมูล เปนสวนที่ใชในการเก็บขอมูลนําเขาและผลลัพธที่ไดจากการ คํานวณ 2. สวนประมวลผล เปนสวนที่ใชในการประมวลผลทางคณิตศาสตร


3. สวนควบคุม เปนสวนที่ใชในการเคลื่อนยายขอมูลระหวางสวนเก็บขอมูล และ สวนประมวลผล 4. สวนรับขอมูลเขาและแสดงผลลัพธ เปนสวนที่ใชรับทราบขอมูลจากภายนอก เครื่องเขาสูสวนเก็บ และแสดงผลลัพธที่ไดจากการคํานวณใหผูใชไดรับทราบ เปนที่นา สังเกตวาสวนประกอบตางๆ ของเครื่อง Alaytical Engine มีลักษณะใกลเคียงกับ สวนประกอบ ของระบบคอมพิวเตอร ในปจจุบัน แตนาเสียดายที่เครื่อง Alalytical Engine ของ Babbage นั้นไมสามารถ สรางใหสําเร็จขึ้นมาได ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยี สมัยนั้นไมสามารถสรางสวนประกอบตางๆ ดังกลาว และอีกประการหนึ่งก็คือ สมัยนั้น ไมมีความจําเปน ตองใชเครื่องที่มีความสามารถสูงขนาดนั้น ดังนั้นรัฐบาล อังกฤษจึง หยุดใหความสนับสนุนโครงการของ Babbage ในป พ.ศ. 2385 ทําใหไมมีทุนที่จะทําการ วิจัยตอไป สืบเนื่องจากมาจากแนวความคิดของ Analytical Engine เชนนี้จึงทําให Charles Babbage ไดรับการยกยอง ใหเปน บิดาของเครื่องคอมพิวเตอร พ.ศ. 2385 ชาวอังกฤษ ชื่อ Lady Auqusta Ada Byron ไดทําการแปลเรื่องราว เกี่ยวกับเครื่อง Anatical Engine จากภาษาฝรั่งเศลเปนภาษาอังกฤษ ในระหวางการแปล ทําให Lady Ada เขาใจถึงหลักการทํางาน ของเครื่อง Analytical Engine และไดเขียน รายละเอียดขั้นตอนของคําสั่งใหเครื่องนี้ทําการคํานวณที่ยุงยาก ซับซอนไวในหนังสือ ทางคณิตศาสตรเลมหนึ่ง ซึ่งถือวาเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมแรกของโลก และจากจุดนี้จึงถือวา Lady Ada เปนโปรแกรมเมอรคนแรกของโลก (มีภาษาที่ใชเขียน โปรแกรมที่เกแก อยูหนึ่งภาษาคือภาษา Ada มาจาก ชื่อของ Lady Ada) นอกจากนี้ Lady Ada ยังคนพบอีกวาชุดบัตรเจาะรู ที่บรรจุคําสั่งไวสามารถนํากลับมาทํางานซ้ําไดถา ตองการ นั่นคือหลักของการทํางานวนซ้ํา หรือเรียกวา Loop เครื่องมือที่ใชในการ คํานวณที่ถูกพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 นั้น ทํางานกับเลขฐานสิบ (Decimal Number) แตเมื่อเริ่มตนของศตวรรษที่ 20 ระบบคอมพิวเตอรไดถูกพัฒนาขึ้นจึงทําใหมีการ เปลี่ยนแปลงมาใช เลขฐานสอง (Binary Number) กับระบบคอมพิวเตอร ที่เปนผลสืบ เนื่องมาจากหลักของพีชคณิต


พ.ศ. 2397 นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ George Boole ไดใชหลักพีชคณิตเผยแพรกฎ ของ Boolean Algebra ซึ่งเปนคณิตศาสตรที่ใชอธิบายเหตุผลของตรรกวิทยาที่ตัวแปรมี คาไดเพียง "จริง" หรือ "เท็จ" เทานั้น (ใชสภาวะเพียงสองอยางคือ 0 กับ 1 รวมกับ เครื่องหมายในเชิงตรรกพื้นฐาน คือ AND, OR และ NOT) สิ่งที่ George Boole คิดคนขึ้น นับวามีประโยชนตอระบบคอมพิวเตอรในปจจุบันอยางยิ่ง เนื่องจากเปน การยากที่จะใช กระแสไฟฟา ซึ่งมีเพียง 2 สภาวะ คือ เปด กับ ปด ในการแทน เลขฐานสิบซึ่งมีอยูถึง 10 ตัว คือ 0 ถึง 9 แตเปนการงายกวาเราแทนดวยเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 จึงถือวาสิ่งนี้เปน รากฐานที่สําคัญของการ ออกแบบวงจรระบบคอมพิวเตอรในปจจุบัน พ.ศ. 2423 Dr. Herman Hollerith นักสถิติชาวอเมริกันไดประดิษฐ เครื่องประมวลผลทางสถิติซึ่ง ใชกับบัตรเจาะรู เครื่องนี้ไดรับการพัฒนา ใหดียิ่งขึ้นและ มาใชงานสํารวจสํามะโนประชากร ของสหรัฐอเมริกา ในป พ.ศ. 2433 และชวยใหการ สรุปผลสํามะโนประชากรเสร็จสิ้นภายในระยะเวลา 2 ปครึ่ง (โดยกอนหนานั้นตองใช เวลาถึง 7 ปครึ่ง) เรียกบัตรเจาะรูนี้วา บัตรฮอลเลอริธ และชื่ออื่นๆ ที่ใชเรียกบัตรนี้ ก็คอื บัตร ไอบีเอ็ม หรือบัตร 80 คอลัมน เพราะผูผลิตคือ บริษัท IBM

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501) คอมพิวเตอรในยุคนี้ใชหลอดสูญญากาศ (Vacuum tube) เปนวงจรอิเล็กทรอนิกส เครื่องยังมีขนาดใหญมาก ใชกระแสไฟฟาจํานวนมาก ทําใหเครื่องมีความรอนสูงจึงมัก เกิดขอผิดพลาดงาย คอมพิวเตอรในยุคนี้ไดแก UNIVAC I , IBM 600


คอมพิวเตอรยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507) คอมพิวเตอรยุคนี้ใชทรานซิสเตอร (Transistor) เปนวงจรอิเล็กทรอนิกส และใชวง แหวนแมเหล็กเปนหนวยความจํา คอมพิวเตอรมีขนาดเล็กกวายุคแรก ตนทุนต่ํากวา ใช กระแสไฟฟาและมีความแมนยํามากกวา คอมพิวเตอรยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513) คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจรไอซี (Integrated Circuit) เปนสารกึ่งตัวนําที่สามารถบรรจุ วงจรทางตรรกะไวแลวพิมพบนแผนซิลิกอน(Silicon) เรียกวา "ชิป" คอมพิวเตอรยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523) คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจร LSI (Large-Scale Integrated Ciruit) เปนการรวมวงจรไอซี จํานวนมากลงในแผนซิลิกอนชิป 1 แผน สามารถบรรจุไดมากกวา 1 ลานวงจร ดวย เทคโนโลยีใหมนี้ทําใหเกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่สําคัญสําหรับการทํางานพื้นฐาน ของคอมพิวเตอรนั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกวา "ไมโครโปรเชสเซอร" คอมพิวเตอรยคุที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปจจุบัน) คอมพิวเตอรยุคนี้ใชวงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Ciruit) เปนการ พัฒนาไมโครโปรเซสเซอรใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) ระบบ (System) คือกลุมขององคประกอบที่มีความสัมพันธกันและทํางานรวมกัน ซึ่ง ระบบคอมพิวเตอรจะมีองคประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ 1. ฮารดแวร (Hardware) 2. ซอฟตแวร (Software) 3. บุคลากร (Peopleware)


ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตาง ๆ ที่เปนตัวเครื่องคอมพิวเตอร แบง ออกเปนสวนประกอบดังนี้ หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผล หนวยแสดงผล 1.หนวยรับขอมูล (Input unit) เปนอุปกรณรับเขา ทําหนาที่รับโปรแกรมและขอมูลเขา สูเครื่องคอมพิวเตอรอุปกรณรับเขาที่ใชกันเปนสวนใหญคือ แปนพิมพ ( Keyboard ) และเมาส(Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณรับเขาอื่น ๆ อีก ไดแก สแกนเนอร ( Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone),ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร เทเบิ้ล แอนด ครอสแชร (Digiter tablet and crosshair) 2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปวา CPU ซึ่งถือวาเปนสมองของระบบคอมพิวเตอร มีสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวน คือ หนวย ควบคุม หนวยคํานวณ 3. หนวยความจําภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เปนหนวยความจํา ที่อยูภายในเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถติดตอกับหนวยงานอื่น ๆ ไดโดยตรง แบง ออกเปน 2 ประเภท 3.1 หนวยความจําภายใน - หนวยความจําแบบแรม (Random Access Memory หรือ Ram) เปนหนวยความจํา ชั่วคราว ที่ใชสําหรับเก็บโปรแกรมทีก่ ําลังใชงานอยูขณะนั้น มีความจุของหนวยเก็บ ขอมูลไมเกิน 640 KB คือผูใชสามารถเขียนหรือลบไปไดตลอดเวลา ถาหากปดเครื่อง คอมพิวเตอรหรือไฟฟาดับ จะมีผลทําใหขอมูลตาง ๆ ที่เก็บไวสูญหายไปหมด และไม สามารถเรียกกลับคืนมาได - หนวยความจําแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เปนหนวยความจําถาวรที่ สามารถอานไดอยางเดียว ไมสามารถบันทึกขอมูลได ถึงแมวาจะปดเครื่องหรือไฟฟาดับ ขอมูลที่เก็บไวจะยังคงอยู


3. 2 หนวยความจําสํารอง ไดแก เทปแมเหล็ก จานแมเหล็ก แผนดิสก (Diskett) CD-ROM แผนดิสกหรือสเกต เปนจานแมเหล็กขนาดเล็ก ชนิดออน จัดเก็บขอมูลโดยใชอํานาจแมเหล็ก การใชงานจะตองมี Disk Drive เพื่อใชเปนอุปกรณ ในการขับเคลื่อนแผนดิสก โดยแบงตําแหนงพื้นผิวออกเปน แทร็คและเซ็คเตอร แบง ออกเปน 3 ขนาด คือ 1. แผนดิสกขนาด 8 นิ้ว ปจจุบันไมนิยมใช 2. แผนดิสกขนาด 5.25 นิ้ว แบงออกเปน DD สามรถบันทึกขอมูลไดประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกขอมูลได 1.2 MB 3. แผนดิสกขนาด 3.5 นิ้ว แบงออกเปน DD สามารถบันทึกขอมูลไดประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกขอมูลได 1.44 MB นิยมใชกันมากในปจจุบัน

ขนาด 5.25 นิ้ว

ขนาด 1.44 MB


หนวยวัดความจุของขอมูลในคอมพิวเตอร 8 Bit

1 Byte

1 Byte

1 ตัวอักษร

1 KB

1,024 Byte

1 MB

1,024 KB

1 GB

1,024 MB

1 TB

1,024 GB

หนวยความจําต่ําสุด คือ บิต (BIT [Binary Digit]) โดยใชบติ แทน 1 ตัวอักขระ หรือ 1 ไบต (Bite) หนวยที่ใหญขึ้นมาอีกหนวย คือ กิโลไบต (Kilobyte) โดยที่ 1 กิโลไบต มีคา เทากับ 2 10 ไบต หรือ 1,024 ไบต หนวยความจําที่ใหญขึ้นไปอีก เรียกวา เมกะไบต กิกะไบต และเทระไบต ฮารดดิสก ( Hard Disk ) เปนจานแมเหล็กชนิดแข็ง ชนิดติดแนนไมมีการเคลื่อนที่ สามารถบรรจุขอมูลไดจํานวนมาก เปน 2 ขนาด คือ 1. ขนาด 5.25 นิ้ว (ปจจุบันเลิกใชแลว) 2. ขนาด 3.5 นิ้ว ทั้ง 2 ขนาดจะมีความจุ ตั้งแต 10,20,40,80,120,300,400 MB1 GB,2 GB ฯลฯ ปจจุบันนิยมใชตั้งแต 10 GB ขึ้นไป

Hard disk


Data Rate หมายถึง ความเร็วในการอานขอมูลจากดิสกไปสูสมองของเครื่อง คอมพิวเตอร (หรือมีความเร็วในการนําขอมูลมาจากสมองเครื่องไปบันทึกลงบนดิสก) มี หนวยวัดเปน จํานวนไบตตอวินาที ( Bytes Per Second หรือ bps ) ซีดรี อม (CD-Rom ) เปนจานแสงชนิดหนึ่ง ใชเก็บขอมูลที่มีความเร็วในการใชงาน สูง มี คุณสมบัติดังนี้ - เปนสื่อที่สามารถเก็บขอมูลไดเปนจํานวนมาก โดยจะมีความจุสูงถึง 2 GB (2 พันลานไบต) - มีขนาดเล็ก สามารถเคลื่อนยายไดสะดวก - ใชเทคโนโลยีของแสงเลเซอรในการอานเขียนขอมูล - เปนจานแสงชนิดอานไดอยางเดียว ( Read Only Memory )ไมสามารถเขียนหรือลบ ขอมูลได

CD - ROM 3. หนวยแสดงผล (Output Unit) ทําหนาที่แสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล ของเครื่องคอมพิวเตอร หรือใชเก็บผลลัพธเพื่อนําไปใชภายหลัง ไดแก จอภาพ (Monitor) เปนอุปกรณสงออกมากที่สุด เครื่องพิมพ (Printer) ซอฟแวร (Software) หมายถึง โปรแกรมชุดคําสั่งที่เขียนใหเครื่องคอมพิวเตอรปฏิบัติ ตาม ซึ่งมี 2 ประเภท คือ


1. ซอฟแวรควบคุมระบบ (System Software) คือ ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร เปนสื่อกลางระหวางโปรแกรมประยุกตกับเครื่อง คอมพิวเตอร เพื่อชวยในการจัดการทรัพยากรของคอมพิวเตอร ไดแก โปรแกรมควบคุม เครื่อง ระบบปฏิบัติการ เชน DOS, Windows, Os/2, Unix 2. ซอฟแวรประยุกต (Application Software) คือ ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่เขียน ขึ้นมาเพื่อใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานตามที่ผูใชตองการ ไดแก โปรแกรมสําเร็จรูป ตาง ๆ บุคลากร (Peopleware) เครื่องคอมพิวเตอรโดยมากตองใชบุคลากรสั่งใหเครื่องทํางาน เรียกบุคลากร เหลานี้วา ผูใช หรือ ยูเซอร (user) แตก็มีบางชนิดที่สามารถทํางานไดเองโดยไมตองใชผู ควบคุม อยางไรก็ตาม คอมพิวเตอรก็ยังคงตองถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย เสมอ ผูใชคอมพิวเตอร (computer user) แบงไดเปนหลายระดับ เพราะผูใชคอมพิวเตอร บางสวนก็ทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอรเทานั้น แตบางสวนก็พยายามศึกษาโปรแกรม ประยุกตในขั้นที่สูงขึ้น ทําใหมีความชํานาญในการใชโปรแกรมประยุกตตาง ๆ นิยม เรียกกลุมนี้วา เพาเวอรยูสเซอร (power user) ผูเชี่ยวชาญทางดานคอมพิวเตอร (computer professional) หมายถึงผูที่ไดศึกษา วิชาการทางดานคอมพิวเตอร ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผูเชี่ยวชาญทางดานนี้จะนํา ความรูที่ไดศึกษามาประยุกตและพัฒนาใชงาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร ใหทํางานในขั้นสูงขึ้นไปไดอีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือวาเปนผูเชียวชาญ ทางคอมพิวเตอรเชนกัน เพราะสามารถสรางโปรแกรมใหม ๆ ได และเปนเสนทางหนึ่ง ที่จะนําไปสูการเปนผูเชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอรตอไป บุคลากรก็เปนสวนหนึ่งของ ระบบคอมพิวเตอร เพราะมีความเกี่ยวของกับระบบคอมพิวเตอร ตั้งแตการพัฒนาเครื่อง คอมพิวเตอร ตลอดจนถึงการนําคอมพิวเตอรมาใชงานตาง ๆ


ลักษณะของคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอรนั้น ถามองในดานลักษณะคอมพิวเตอรจะสามารถ แบงออกได 3 ประเภทใหญๆ ดั้งนี้ - คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer)เปนระบบคอมพิวเตอรที่มีเครื่อง คอมพิวเตอรเพียงเครื่องเดียว และไมไดทําการติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอรอื่นๆ - ลักษณะแบบ (Time-sharing) เปนลักษณะที่มีเครื่องคอมพิวเตอรหลายๆ เครื่องมา ตอกับเครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลางโดยคอมพิวเตอรเหลานั้นเรียกวา Terminal ทุกเครื่อง จะสงคําสั่งที่ตองการมาประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลาง เพราะการประมวลผล ของเครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลางจะตองมีเวลาในการประมวลคําสั่งตาง ๆ ที่สงมาจาก Terminal ทุกเครื่องในลักษณะแบบ Time-sharing - ลักษณะแบบ (Client/Server)เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งที่ทําหนาที่เปน Server คอยดูแลจัดทรัพยากรของระบบทั้งหมด และมีเครื่อง Clients ตอเขาเครื่อง Server โดยใชทรัพยากรตาง ๆ ที่เครื่อง Server มีอยู ตามสิทธิของผูใชแตละคน และการ ประมวลผลจะไมทําอยูบนเครื่อง Server แตจะประมวลที่ Clients แตละเครื่องเอง แลวอาจ นําขอมูลตาง ๆ ไปเก็บที่เครื่อง Server

ภาษาคอมพิวเตอร (Computer Languages) ในการเขียนโปรแกรมนั้น ผูใชจะตองใชภาษาคอมพิวเตอรเขียนโปรแกรมเรียกวา ซอฟตแวรขึ้นมา ภาษาคอมพิวเตอรนั้นจะมีตั้งแตละดับภาษาของเครื่องขึ้นมาจนถึง ภาษาธรรมชาติ - ภาษาเครื่อง( Machine Languages) ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอรเขาใจมากที่สุด ซึ่ง จะเปนลักษณะแบบเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 - ภาษาสัญลักษณ (Symbolic Languages) เมื่อคอมพิวเตอรไดพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ และมีผูใชมากขึ้น จึงมีคนมองเห็นวาการที่จะเขียนโปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอรดวย


ขั้นตอนการรันโปรแกรมดวยภาษา c การพัฒนาโปรแกรมดวยภาษา c นั้นมีขั้นตอนอยู 3 ขั้น ดังนี้ 1. เขียนและแกไขโปรแกรมคือการนําคําสั่งตางๆของภา c มาเขียนเรียงตอๆกันจน เปนโปรแกรมที่ทํางานตามผูใชตองการ โดยการเขียนจะเปนตัวอักษร ซึ่งเมื่อเขียนเสร็จก็ จะไดเปน Source Files 2. คอมไฟลโปรแกรม เมื่อได Source Files แลวและเมื่อตองการรันโปรแกรมใดๆ ผูใชจะตองทําการแปลง Source Files เหลานั้น ใหเปนภาษาเครื่องกอน ซึ่งในขั้นตอนนี้


การรันโปนแกรม เมื่อทําการลิงคเสร็จแลว โปรแกรมนั้นก็พรอมที่จะรัน และเมื่อรันโปรแกรมโดยใช คําสั่งของระบบปฏิบัติงานโปรแกรมนั้นจะถูกโหลดลงสูหนวยคําสั่งหลักจากนั้นก็จะทํา การรันการกระทํานี้เรียกวา Loader

การพัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาซักโปรแกรมหนึ่งนั้น ไมใชมาถึงจะเขียนโปรแกรมได เลย การพัฒนานั้นจะมีขั้นตอนที่เรียกวา System Development Life Cycle 1. หาความตองการของระบบ (System Requirements) คือ การศึกษาและเก็บความ ตองการของผูใชโปรแกรม วามีความตองการอะไรบาง 2. วิเคราะห (Analysis) คือ การนําเอาความตองการของผูใชโปรแกรมมาวิเคราะหวา จะพัฒนาเปนโปรแกรมตามที่ผูใชตองการไดหรือไมถาทําไดจะทําไดมากนอยเพียงใด


3. ออกแบบ (Design) คือ เมื่อสรุปไดแลววาโปรแกรมที่จะสรางมีลักษณะใดขั้นตอน ตอมาคือ การออกแบบการทํางานของโปรแกรมใหเปนไปตามความตองการที่วิเคราะห ไวการออกแบบอาจจะออกแบบเปนผังงานก็ได 4. เขียนโปรแกรม (Code) คือ เมื่อไดผังงานแลว ตอมาก็เปนการเขียนโปรแกรมตาม ผังงานออกแบบไว 5. ทดสอบ (System Test) คือเมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จแลวจะตองมีการทดสอบเพื่อ หาขอผิดพลาดตางๆเชน ตรงตามที่ผูใชตองการหรือไม ถาพบขอผิดพลาดก็กลับไปทํา ออกแบบอีกครั้ง 6. ดูแล (Maintenance) เมื่อโปรแกรมผานการทดสอบแลว และผูใชไดนําโปรแกรม ดังกลาวไปใช ผูพัฒนาจะตองคอยดูแล เนื่องจากอาจมีขอผิดพลาดที่หาไมพบในขั้นตอน การทดสอบโปรแกรม

ประเภทของคอมพิวเตอร 1.ไมโครคอมพิวเตอร ไมโครคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นวาเปน เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานสวนบุคคล หรือเรียกวา พีซี (Personal Computer : PC) สามารถใชเปนเครื่องตอเชื่อมในเครือขาย หรือใชเปนเครื่องปลายทาง (terminal) ซึ่งอาจจะทําหนาที่เปนเพียงอุปกรณรับและแสดงผลสําหรับปอนขอมูลและดู ผลลัพธ โดยดําเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นในเครือขาย อาจจะกลาวไดวาไมโครคอมพิวเตอร คือเครื่องคอมพิวเตอรที่มีหนวยประมวลผล กลางเปนไมโครโพรเซสเซอร ใชงานงาย ทํางานในลักษณะสวนบุคคลได สามารถ


คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ (desktop computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรที่มีขนาด เล็กถูกออกแบบมาใหตั้งบนโตะ มีการแยกชิ้นสวนประกอบเปน ซีพียู จอภาพ และ แผงแปงอักขระ แล็ปท็อปคอมพิวเตอร (laptop computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรขนาดเล็กที่วาง ใชงานบนตักได จอภาพที่ใชเปนแบบแบนราบชนิดจอภาพผนึกเหลว (Liquid Crystal Display : LCD) น้ําหนักของเครื่องประมาณ 3-8 กิโลกรัม โนตบุคคอมพิวเตอร (notebook computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรที่มีขนาด และความหนามากกวาแล็ปท็อป น้ําหนักประมาณ 1.5-3 กิโลกรัม จอภาพแสดงผล เปนแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี โนตบุคที่มีขายทั่วไป มีประสิทธิภาพและความสามารถเหมือน กับแล็ปท็อป ปาลมท็อปคอมพิวเตอร (palmtop computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรสําหรับ ทํางานเฉพาะอยาง เชนเปนพจนานุกรม เปนสมุดจนบันทึกประจําวัน บันทึกการ นัดหมายและการเก็บขอมูลเฉพาะบางอยางที่สามารถพกพาติดตัวไปมาไดสะดวก 2. สถานีงานวิศวกรรม ผูใชสถานีงานวิศวกรรมสวนใหญเปนวิศวกร นักวิทยาศาสตร สถาปนิก และนัก ออกแบบ สถานีงานวิศวกรรมมีจุดเดนในเรื่องกราฟก การสรางรูปภาพและการทํา ภาพเคลื่อนไหว การเชื่อมโยงสถานีงานวิศวกรรมรวมกันเปนเครือขายทําใหสามารถ แลกเปลี่ยนขอมูลและใชงานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ บริษัทพัฒนาซอฟตแวรหลาย บริษัทไดพัฒนาซอฟตแวรสําเร็จสําหรับใชกับสถานีงานวิศวกรรมขึ้น เชนโปรแกรมการ จัดทําตนฉบับหนังสือ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกสงานจําลองและคํานวณทาง วิทยาศาสตร งานออกแบบทางดานวิศวกรรมและการควบคุมเครื่องจักร การซื้อสถานี งานวิศวกรรมตางจากการซื้อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร เพราะไมโครคอมพิวเตอรทุก เครื่องสามารถใชโปรแกรมสําเร็จสําหรับไมโครคอมพิวเตอรได และมีลักษณะการใช งานเหมือนกัน สวนการซื้อสถานีงานวิศวกรรมนั้นยุงยากกวา สถานีงานวิศวกรรมมี ราคาแพงกวาไมโครคอมพิวเตอรมาก การใชงานก็ตองการบุคลากรที่มีการฝกหัดมา


3. มินิคอมพิวเตอร มินิคอมพิวเตอรเปนเครื่องที่สามารถใชงานพรอม ๆ กันไดหลายคน จึงมีเครื่อง ปลายทางตอได มินิคอมพิวเตอรเปนคอมพิวเตอรที่มีราคาสูงกวาสถานีงานวิศวกรรม นํามาใชสําหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององคการขนาดกลาง จนถึงองคการ ขนาดใหญที่มีการวางระบบเปนเครือขายเพื่อใชงานรวมกัน เชน งานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม มินิคอมพิวเตอรเปนอุปกรณืที่สําคัญในระบบเครือขายคอมพิวเตอรขององคการที่ เรียกวาเครื่อใหบริการ (server) มีหนาที่ใหบริการกับผูใชบริการ (client) เชน ใหบริการ แฟมขอมูล ใหบริการขอมูล ใหบริการชวยในการคํานวณ และการสื่อสาร 4. เมนเฟรมคอมพิวเตอร เมนเฟรมคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญที่มีการพัฒนามาตั้งแต เริ่มแรก เหตุที่เรียกวา เมนเฟรมคอมพิวเตอรเพราะตัวเครื่องประกอบดวยตูขนาดใหญที่ ภายในตูมีชิ้นสวนและอุปกรณตาง ๆ อยูเปนจํานวนมาก แตอยางไรก็ตามในปจจุบัน เมนเฟรมคอมพิวเตอรมีขนาดลดลงมาก เมนเฟรมเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีราคาสูงมาก มักอยูที่ศูนยคอมพิวเตอรหลักขององคการ และตองอยูในหองที่มีการควบคุมอุณหภูมิ และมีการดูแลรักษาเปนอยางดี บริษัทผูผลิตเมนเฟรมไดพัฒนาขีดความสามารถของ เครื่องใหสูงขึ้น ขอเดนของการใชเมนเฟรมอยูที่งานที่ตองการใหมีระบบศูนยกลาง และ กระจายการใชงานไปเปนจํานวนมาก เชน ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมตอกับฐานขอมูลที่ จัดการโดยเครื่องเมนเฟรม อยางไรก็ตามขนาดของเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอรก็ยากที่ จะจําแนกจากกันใหเห็นชัด


5. ซุปเปอรคอมพิวเตอร ซูเปอรคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่เหมาะกับงานคํานวณที่ตองมีการ คํานวณตัวเลขจํานวนหลายลานตัวภายในเวลาอันรวดเร็ว เชน งานพยากรณอากาศ ที่ตองนําขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับอากาศทั้งระดับภาคพื้นดิน และระดับชึ้นบรรยากาศ เพื่อดูการเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงของอากาศ งานนี้จําเปนตองใชเครื่อง คอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะสูงมาก นอกจากนี้มีงานอีกเปนจํานวนมากที่ตองใช ซูเปอรคอมพิวเตอรซึ่งมีความเร็วสูง เชน งานควบคุมขีปนาวุะ งานควบคุมทาง อวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย งานดานวิทยาศาสตร โดยเฉพาะ ทางดานเคมี เภสัชวิทยา และงานดานวิศวกรรมการออกแบบ ซูเปอรคอมพิวเตอรทํางานไดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงกวาคอมพิวเตอรชนิดอื่น การที่ซูเปอรคอมพิวเตอรทํางานไดเร็ว เพราะมีการพัฒนาใหมีโครงสรางการ คํานวณพิเศษ เชนการคํานวณแบบขนานที่เรียกวา เอ็มพีพี (Massively Parallel Processing : MPP) ซึ่งเปนการคํานวณที่กระทํากับขอมูลหลาย ๆ ตัวในเวลา เดียวกัน

ประโยชนของระบบคอมพิวเตอร จากการที่คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํามาใชประโยชนตอ การดําเนินชีวิตประจําวันในสังคมเปนอยางมาก ที่พบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชใน การพิมพเอกสารตางๆ เชน พิมพจดหมาย รายงาน เอกสารตางๆ ซึ่งเรียกวางาน ประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานตางๆ อีกหลายดาน ดังตอไปนี้ 1. งานธุรกิจ เชน บริษทั รานคา หางสรรพสินคา ตลอดจนโรงงานตางๆ ใชคอมพิวเตอรใน การทําบัญชี งานประมวลคํา และติดตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม สวนใหญก็ใชคอมพิวเตอรมาชวยในการควบคุมการผลิต และการ ประกอบชิ้นสวนของอุปกรณตางๆ เชน โรงงานประกอบรถยนต ซึ่งทําใหการผลิตมีคุณภาพดี


2. งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชใน นํามาใชในสวนของการคํานวณที่คอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถี การโคจรของการสงจรวดไปสูอวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเปนอุปกรณ สําหรับการตรวจรักษาโรคได ซึ่งจะใหผลที่แมนยํากวาการตรวจดวยวิธีเคมีแบบเดิม และใหการรักษาไดรวดเร็วขึ้น 3. งานคมนาคมและสื่อสาร ในสวนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใชคอมพิวเตอรในการ จองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได ทําใหสะดวก ตอผูเดินทางที่ไมตองเสียเวลารอ อีกทั้งยังใชในการควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใชควบคุมวงโคจร ของดาวเทียมเพื่อใหอยูในวงโคจร ซึ่งจะชวยสงผลตอการสงสัญญาณใหระบบการ สื่อสารมีความชัดเจน 4. งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรใน การออกแบบ หรือ จําลองสภาวการณ ตางๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อ เกิดแผนดินไหว โดยคอมพิวเตอรจะคํานวณและแสดงภาพสถานการณใกลเคียงความ จริง รวมทั้งการใชควบคุมและติดตามความกาวหนาของโครงการตางๆ เชน คนงาน เครื่องมือ ผลการทํางาน 5. งานราชการ เปนหนวยงานที่มีการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด โดยมีการใชหลาย รูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับบทบาทและหนาที่ของหนวยงานนั้นๆ เชน กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกลผานคอมพิวเตอร , กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันตางๆ , กรมสรรพากร ใชจัด ในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เปนตน


6. การศึกษา ไดแก การใชคอมพิวเตอรทางดานการเรียนการสอน ซึ่งมีการนํา คอมพิวเตอรมาชวยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซึ่งทําให สะดวกตอการคนหาขอมูลนักเรียน การเก็บขอมูลยืมและการสงคืนหนังสือหองสมุด


บรรณานุกรม http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_C/unit1.html http://www.lks.ac.th/kuanjit/it002_1.htm


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.