7__

Page 1

ÃÒ§ҹʶҹ¡Òó ´ŒÒ¹¡ÒäÅѧ »‚§º»ÃÐÁÒ³ 2558 µØÅÒ¤Á 2557 - ¡Ã¡®Ò¤Á 2558

ฉบับที่ 10/2558

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2273-9020 โทรสาร 0-2618-3385 www.fpo.go.th

Êӹѡ¹âºÒ¡ÒäÅѧ Êӹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ


สารบัญ หนา บทสรุปผูบริหาร

1

สถานการณดา นรายได

6

สถานการณดา นรายจาย

14

ฐานะการคลังรัฐบาล - ระบบกระแสเงินสด - ระบบ สศค.

20

ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น

24

สถานการณดานหนี้สาธารณะ

29

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง

31

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล

33

การกระจายอํานาจการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น

36

มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาํ คัญ

42

สถิติดานการคลัง 1) 2) 3) 4) 5) 6)

ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล โครงสรางงบประมาณรายจาย ผลการเบิกจายงบประมาณ ฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสด ฐานะการคลังตามระบบ สศค. สัดสวนรายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น


บทสรุปผูบริหาร ดานรายได

• เดือนกรกฎาคม 2558 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 141,805 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 8,668 ลานบาท หรือรอยละ 5.8 โดยรายไดที่จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการเปนสําคัญ ไดแก ภาษีมูลคาเพิ่ม รัฐวิสาหกิจ และภาษีสรรพสามิตรถยนต โดยจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 8,713 4,575 และ 3,073 ลานบาท ตามลําดับ อยางไรก็ดี การจัดเก็บภาษีน้ํามันไดสูงกวาประมาณการ 5,915 ลานบาทตามลําดับ • ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) รัฐบาลจัดเก็บ รายไดสุทธิ 1,771,755 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 75,575 ลานบาท หรือรอยละ 4.1 โดยกรมสรรพากร และกรมศุลกากรจัดเก็บรายไดต่ํากวาประมาณการ 151,826 และ 6,748 ลานบาท ตามลําดับ ขณะที่การจัดเก็บรายไดของหนวยงานอื่น การจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิต และการนําสงรายได ของรัฐวิสาหกิจสูงกวาประมาณการ 28,110 14,674 และ 11,225 ลานบาท

ดานรายจาย

• เดือนกรกฎาคม 2558 รัฐบาลเบิกจายเงินรวมทั้งสิ้น 221,926 ลานบาท ประกอบดวยการเบิกจาย จากปงบประมาณปปจจุบัน 208,731 ลานบาท (รายจายประจํา 186,059 ลานบาท และรายจาย ลงทุน 22,672 ลานบาท) และการเบิกจายรายจายปกอ นจํานวน 13,195 ลานบาท • ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) รัฐบาลเบิกจาย เงินรวมทั้งสิ้น 2,253,214 ลานบาท โดยแบงเปนการเบิกจายเงินงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 2,062,249 ลานบาท (เปนรายจายประจํา 1,844,466 ลานบาท และรายจายลงทุน 217,783 ลานบาท) คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 80.1 ของวงเงินงบประมาณ (2,575,000 ลานบาท) และมีการเบิกจายรายจายปกอนจํานวน 190,965 ลานบาท • เมื่อรวมกับการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 11,386 ลานบาท เงินกูตางประเทศจํานวน 4,846 ลานบาท โครงการภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 1,122 ลานบาท และโครงการเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสงทาง ถนนระยะเรงดวนจํานวน 432 ลานบาท สงผลใหในปงบประมาณ 2558 รัฐบาลมีการเบิกจายเงิน เขาสูระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 2,271,000 ลานบาท

ฐานะการคลังรัฐบาล

• ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) รัฐบาลมีรายไดนําสงคลัง 1,776,784 ลานบาท และมีการเบิกจายเงิน งบประมาณ (ปปจจุบันและปกอน) รวม 2,253,214 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุล 476,430 ลานบาท เมือ่ รวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 18,630 ลานบาท ทําใหดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 495,060 ลานบาท • เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2558 มีจํานวน 202,049 ลานบาท -1-


• ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) รัฐบาลมีรายไดทั้งสิ้น 1,960,957 ลานบาท และมีรายจายทั้งสิ้น 2,300,295 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 339,338 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลของ กองทุนนอกงบประมาณที่เกินดุล 208,931 ลานบาท และหักรายจายตามแผนปฏิบัติการไทย เขมแข็ง รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพือ่ วางระบบ บริหารจัดการน้ํา และเงินกูตางประเทศ 11,386 3,775 1,122 และ 1,071 ลานบาท ตามลําดับ แลว ทําใหดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 147,761 ลานบาท

ฐานะการคลัง อปท.

• ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ณ ไตรมาสที่ 3 ประจําปงบประมาณ 2558 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2558) คาดวาจะมีรายไดรวม 132,494 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 19,599 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 68,949 ลานบาท และรายไดจาก เงินอุดหนุน 43,946 ลานบาท) และคาดวามีรายจายจํานวน 141,791 ลานบาท สงผลให ดุลการคลัง ของ อปท. ขาดดุล 9,297 ลานบาท

สถานะหนี้สาธารณะ

• หนี้สาธารณะคงคางของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2558 มีจํานวน 5,684,490.8 ลานบาท คิดเปนรอยละ 42.4 ของ GDP ประกอบดวยหนี้ในประเทศคิดเปนรอยละ 94.0 สวนที่เหลือ รอยละ 6.0 เปนหนี้ตางประเทศ และเมือ่ แบงตามอายุเครื่องมือการกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 98.0 และหนี้ระยะสั้นรอยละ 2.0 สําหรับกรณีแบงตามอายุคงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 86.1 สวนที่เหลือรอยละ 13.9 เปนหนี้ระยะสั้น

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

• กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบดวย ยอดหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดสวนงบลงทุนตองบประมาณไมต่ํากวารอยละ 25 • การวิเคราะหกรอบความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง (ปงบประมาณ 2558 – 2562) - สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 45.3 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 50.3 ในปงบประมาณ 2562 - ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 9.9 ในปงบประมาณ 2562 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยไดลดการขาดดุล จํานวน 400,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2555 ลงเหลือ จํานวน 250,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2558 อยางไรก็ตาม เพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย ในระยะสั้นรัฐบาลยังมี ความจําเปนตองดําเนินนโยบายขาดดุลจนกวาภาวะเศรษฐกิจจะกลับเขาสูภาวะปกติ และจะดําเนินการจัดทํางบประมาณสมดุลในชวงตอไป

-2-


- สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 20.4 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดพยายามที่จะดําเนินโครงการลงทุนทั้งในสวนของ พรก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงิน เพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสรางพื้นฐานฯ ในป 2558 – 2562 ซึ่งเมื่อรวม การลงทุนดังกลาวจะทําใหสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ยรอยละ 26.0 ตองบประมาณรายจาย

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล

• ผลการดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ที่ยอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 มีจํานวน 915,037.2 ลานบาท ขณะที่ยอดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) เทากับ 8,184.1 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 0.9 • รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึง่ สามารถประมาณการ ความเสียหาย ที่ตองไดรับการชดเชยตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 มีจํานวนทั้งสิ้น 107,846.9 ลานบาท และคงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล อีกจํานวน 25,106.5 ลานบาท

การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น เงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัดและเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล

เงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัดและเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาลเปนกองทุนเงินสะสม ที่จัดตั้งขึ้นโดยการบริหารของกระทรวงมหาดไทย แบงเปน 2 กองทุน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวย เงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2541 และระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยเงินทุน สงเสริมกิจการเทศบาล พ.ศ. 2552 ตามลําดับ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ การบริหารกองทุนที่เกิดจาก การนําสงเงินสมทบขององคการบริหารสวนจังหวัดและเทศบาลในอัตรารอยละ 10 ของเงินสะสมเหลือจาย ในแตละปหลังจากหักเปนทุนสํารองเงินทุนสะสมในอัตรารอยละ 25 แลว เพื่อสนับสนุนใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่น (อปท.) ดังกลาวกูยืมเงินไปใชลงทุนในกิจการสาธารณูปโภคหรือกิจการอื่นๆ ตามอํานาจหนาที่ ของ อปท. โดยฐานะเงินกองทุนของ อปท. ดังกลาว ทัง้ 2 กองทุนรวมกันมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามลําดับจาก สินทรัพยจํานวนรวม 18,666 ลานบาท ณ สิ้นปงบประมาณ 2552 เพิ่มขึ้นเปนจํานวนรวม 24,789 ลานบาท ณ สิ้นปงบประมาณ 2556 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 32.80 โดยสินทรัพยสวนใหญเปนเงินลงทุนชั่วคราว คือ เงินฝากธนาคารประจํา 12 เดือน และลูกหนี้เงินใหกูยืมที่ยังไมถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป

มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนกรกฎาคม 2558 1. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดําเนินมาตรการลดภาระคาครองชีพของประชาชนดานการเดินทางออกไป อีก 3 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2558 - 31 ตุลาคม 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหขยายระยะเวลาดําเนินมาตรการลดภาระคาครองชีพของประชาชน ดานการเดินทางออกไปอีก 3 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2558 - 31 ตุลาคม 2558 ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ โดยใหสํานักงบประมาณพิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อชดเชยคาใชจายจากการดําเนินมาตรการ ลดภาระคาครองชีพของประชาชนดานการเดินทางตอไป -3-


2. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการกีฬา) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการกีฬาและรัษฎากรวาดวยการยกเวน รัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยเห็นควรขยายระยะเวลาตามมาตรการตอไป อีก 3 ป ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีสาระสําคัญเปน การยกเวนภาษีเงินได ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป ใหแกผบู ริจาคและใหสงสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลวดําเนินการตอไปได 3. เรื่อง รางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึก 100 ป กรมสรรพากร พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึก 100 ป กรมสรรพากร พ.ศ. .... เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติและนอมรําลึกพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และสงใหสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณากอนสงใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังลงนามและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาใชบังคับเปนกฎหมายตอไป 4. เรื่อง ขยายพื้นที่เปาหมายและวงเงินในการดําเนินโครงการประกันภัยขาวนาป ปการผลิต 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการขยายพื้นที่เปาหมายเพิ่มเติม จํานวน ๕๐๐,๐๐๐ ไร และวงเงิน งบประมาณ จํานวน ๑๕๔,๘๔๒,๐๓๐ บาท ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ ทั้งนี้ ให ธ.ก.ส. ทดรองจายเงิน อุดหนุนคาเบี้ยประกันภัยแทนรัฐบาลในสวนของงบประมาณเพิ่มเติม จํานวน ๑๕๔,๘๔๒,๐๓๐ บาท และเบิกเงินชดเชยตามจํานวนที่จายจริงพรอมดวยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา ๖ เดือน ประเภทบุคคล ธรรมดาของ ๔ ธนาคารพาณิชยขนาดใหญ (FDR)+๑% ในปงบประมาณถัดไป และมอบหมายใหกระทรวง เกษตรและสหกรณ โดยกรมสงเสริมการเกษตรประสานงานกับสมาคมประกันวินาศภัยไทย ธ.ก.ส. และ กระทรวง มหาดไทย โดยกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ดําเนินการเชื่อมโยงขอมูลเอกสารทะเบียน เกษตรกรแบบประมวลรวบรวมความเสียหายและการชวยเหลือเกษตรกรผูประสบภัย และแบบรายงานขอมูล ความเสียหายจริงของเกษตรกรผูเอาประกันภัยขาวเพื่อรับคาสินไหมทดแทน มิใหเกิดปญหาความลาชาเวลา จายคาสินไหมทดแทน

-4-


สถานการณดานการคลัง

I รายได 1. ตามหนวยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.5 หนวยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) - สวนราชการอื่น - กรมธนารักษ 1.6 รวมรายไดจัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.7 รวมรายไดสุทธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.3 ฐานจากการคาระหวางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) II รายจาย 1.รายจายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.1 งบประมาณปปจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 งบประมาณปกอน 2. รายจายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจาย - เงินใหกูยืมสุทธิ 3. รายจายจากเงินกูตางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 4. รายจายของอปท. 5. รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงคาง/GDP 7. หนี้ที่เปนภาระงบประมาณ/GDP (ปปฏิทิน)%

รวมทั้งป งบประมาณ 2557

Q1

Q2

ปงบประมาณ 2558

หนวย :พันลานบาท

Q3

รวม ต.ค.57 - ก.ค.58

ก.ค.58

1,729.8 (2.0) 382.7 (11.6) 117.7 (4.3) 136.7 34.7 136.0 (14.5) 130.5 5.4 2,502.9 (3.0) 2,074.7 (4.0)

349.5 (2.0) 102.2 (2.0) 30.3 0.5 46.8 (1.2) 54.9 43.6 52.6 2.3 583.8 1.2 507.4 0.8

360.9 0.7 121.4 9.0 28.7 0.3 20.6 (17.8) 39.4 35.8 38.1 1.3 570.9 3.0 469.9 3.9

540.7 0.1 108.3 11.9 27.3 (0.7) 43.6 (7.2) 44.8 34.4 43.5 1.3 764.5 3.4 652.6 5.2

110.4 0.4 35.2 26.9 9.0 (14.6) 7.2 21.8 9.5 50.4 9.2 0.3 171.3 4.6 141.8 9.5

1,361.5 0.1 367.1 13.2 95.3 (2.2) 118.1 (8.2) 148.5 35.4 143.4 5.1 2,090.5 3.5 1,771.8 5.5

953.2 (5.1) 1,158.3 (2.8) 114.9 (4.7)

153.0 (5.4) 298.4 (0.2) 29.8 0.2

166.0 0.6 316.0 3.5 27.7 (0.4)

347.2 (0.4) 301.4 4.5 26.8 (1.2)

46.8 4.0 98.8 6.5 8.8 (10.0)

713.1 (0.1) 1,014.6 4.7 93.2 (2.1)

2,459.9 2.4 2,246.3 3.4 213.5 409.8 395.9 13.9 9.0 (59.2) 535.7 236

844.1 1.6 766.4 0.7 77.7 93.4 89.6 3.8 1.3 (43.6) 161.0 65.0

617.6 11.7 557.7 15.6 59.9 56.9 53.6 3.3 2.7 (24.2) 124.5 46.0

569.6 10.7 529.4 11.1 40.1 54.1 54.1

221.9 10.8 208.7 10.2 13.2 24.3 12.0 12.3 0.2 (58.9) 20.2

2,253.2 7.3 2,062.2 8.0 190.9 228.7 209.3 19.4 4.8 (40.3) n/a 178.6

(359.3) (255.6) (255.6)

(347.7) (207.6) (207.6)

(142.3) (65.8) (65.8)

76.7 182.4 182.4

(81.8) (56.9) (56.9)

(495.1) (147.9) (147.9)

495.7

179.3

121.1

263.8

202.0

202.0

3,965.4 1,713.9 11.5 5,690.8 47.2

3,954.7 1,661.3 8.0 5,624.0 46.3

4,094.0 1,628.3 8.2 5,730.5 43.3

4,070.2 1,608.3 6.0 5,684.5 42.4

หมายเหตุ 1/ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจ กองทุนออยและนําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนชวยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) เปนผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไมรวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : สวนวางแผนการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

-5-

-

0.6 (81.8) 141.8 47.4

n/a

n/a n/a n/a n/a n/a n/a

n/a n/a n/a n/a n/a n/a


สถานการณดานรายได • เดือนกรกฎาคม 2558 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 141,805 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 8,668 ลานบาท หรือรอยละ 5.8 (แตสูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 9.5) โดยการจัดเก็บรายไดต่ํากวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก ภาษีมูลคาเพิ่มและภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 8,713 และ 3,073 ลานบาท หรือรอยละ 13.2 และ 33.8 เนื่องจากราคาน้ํามันดิบที่ลดลงสงผลกระทบตอการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่มจากการนําเขาสินคา และอุปสงครถยนตภายในประเทศยังไมฟนตัวดี นอกจากนี้ การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจนําสงรายไดต่ํากวา ประมาณการ 4,575 ลานบาท เนื่องจากการทาเรือแหงประเทศไทยไดนําสงเหลื่อมไปในเดือนสิงหาคม การทางพิเศษแหงประเทศไทย และโรงงานยาสูบขอเลื่อนการนําสงรายไดไปในเดือนกันยายน อยางไรก็ดี ภาษีน้ํามันจัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ 5,915 ลานบาท หรือรอยละ 105.3 เนื่องจากการปรับขึ้น อัตราภาษีน้ํามันดีเซล นอกจากนี้ การนําสงรายไดจากการชําระบัญชีของบรรษัทบริหารสินทรัพยไทยสวนหนึ่ง และ การจัดเก็บคาใบอนุญาตตางดาวที่สูงกวาประมาณการ สงผลใหสวนราชการอื่นจัดเก็บรายไดสูงกวาประมาณการ 2,536 ลานบาท ตารางสรุปรายไดรฐั บาลเดือนกรกฎาคม 2558* ทีม่ าของรายได

ปนี้

ปที่แลว

1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรฐั บาลสุทธิ

110,430 35,242 8,993 154,665 7,181 9,460 29,501 141,805

110,034 27,771 10,526 148,331 9,180 6,291 34,245 129,557

*

หนวย: ลานบาท

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้ เปรียบเทียบปนี้กับ งปม.ทั ง ้ ป เ ท า กั บ กับปที่แลว ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท จํานวน รอยละ 396 0.4 124,043 (13,613) (11.0) 7,471 26.9 34,387 855 2.5 (1,533) (14.6) 10,300 (1,307) (12.7) 6,334 4.3 168,730 (14,065) (8.3) (1,999) (21.8) 11,756 (4,575) (38.9) 3,169 50.4 6,825 2,635 38.6 (4,744) 13.9 36,838 (7,337) (19.9) 12,248 9.5 150,473 (8,668) (5.8)

หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2558 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีของกรมสรรพากร 18,800 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 1,121 ลานบาท (3) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 1,200 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (4) เงินกันชดเชยสงออก 1,200 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (5) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ 7,180 ลานบาท (งวดที่ 7/2558) ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

-6-


ลานบาท 400,000

ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลสุทธิในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม 2557 - กรกฎาคม 2558)

350,000

จัดเก็บ 57

ปมก 58

จัดเก็บ 58

300,000

257,038

250,000 200,000

224,412 173,704

161,632 172,113 160,614 149,635 159,685 171,120

141,805

150,000 100,000 50,000 0 ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

• ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 1,771,755 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 75,575 ลานบาท หรือรอยละ 4.1 (แตสูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 5.5) โดยกรมสรรพากรและกรมศุลกากรจัดเก็บภาษีไดต่ํากวาประมาณการ 151,826 และ 6,748 ลานบาท หรือรอยละ 10.0 และ 6.6 ตามลําดับ ขณะที่การจัดเก็บรายไดของหนวยงานอื่น การจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิต และการนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจสูงกวาประมาณการ 28,110 14,674 และ 11,225 ลานบาท หรือรอยละ 23.3 4.2 และ 10.5 ตามลําดับ ผลการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม 2557 - กรกฎาคม 2558) ลานบาท

จัดเก็บ 57

2,000,000 1,800,000 1,600,000 1,400,000

ประมาณการ 58

1,967,795

จัดเก็บ 58

1,781,594

1,513,352 1,361,526 1,359,891

1,200,000 1,000,000 800,000 600,000

324,343

400,000

352,443 367,117 97,360

200,000

102,000

95,252

0 กรมสรรพากร

กรมสรรพสามิต

-7-

กรมศุลกากร

รวม 3 กรม

1,823,895


ตารางสรุปรายไดรฐั บาลในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558)* ทีม่ าของรายได 1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรฐั บาลสุทธิ

ปนี้

ปที่แลว

เปรียบเทียบปนี้ กับปที่แลว จํานวน รอยละ

1,361,526 1,359,891 1,635 367,117 324,343 42,774 95,252 97,360 (2,108) 1,823,895 1,781,594 42,301 118,073 128,637 (10,564) 148,548 109,748 38,800 318,761 341,284 (22,523) 1,771,755 1,678,695 93,060

0.1 13.2 (2.2) 2.4 (8.2) 35.4 (6.6) 5.5

หนวย : ลานบาท

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ งปม.ทั้งปเทากับ ปมก. เอกสาร งปม. 2,325,000 ลาน จํานวน รอยละ บาท 1,513,352 (151,826) (10.0) 352,443 14,674 4.2 102,000 (6,748) (6.6) 1,967,795 (143,900) (7.3) 106,848 11,225 10.5 120,438 28,110 23.3 347,751 (28,990) (8.3) 1,847,330 (75,575) (4.1)

หมายเหตุ: *ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2558 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีสรรพากร 227,624 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – มิถนุ ายน 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนกรกฎาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 9,125 ลานบาท (3) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 12,015 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – มิถนุ ายน 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนกรกฎาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (4) เงินกันชดเชยสงออก 13,277 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – มิถนุ ายน 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนกรกฎาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (5) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ 56,720 ลานบาท (งวดที่ 1/2558 - 7/2558) ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ผลการจัดเก็บรายไดตามหนวยงานจัดเก็บสรุปได ดังนี้  กรมสรรพากร จัดเก็บรายไดรวม 1,361,526 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 151,826 ลานบาท หรือรอยละ 10.0 (แตสูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.1) โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก 1) ภาษีเงินไดนิติบุคคลจัดเก็บได 373,974 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมาย 61,144 ลานบาท หรือรอยละ 14.1 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 1.8) เปนผลจากการจัดเก็บภาษีจากฐานกําไรสุทธิจากผลประกอบการป 2557 ของภาคธุรกิจ (ภ.ง.ด. 50) ภาษีจากคาบริการและการจําหนายกําไร (ภ.ง.ด. 54) และการจัดเก็บภาษีหัก ณ ที่จาย ภาคเอกชน (ภ.ง.ด. 53) จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ เนื่องจากไดรับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ในชวงที่ผานมา 2) ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บได 591,561 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมาย 51,014 ลานบาท หรือรอยละ 7.9 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.1) ซึ่งเปนผลจากภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเขาต่ํากวาเปาหมาย 49,594 ลานบาท หรือรอยละ 17.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 9.7) โดยสวนใหญเปนผลจากราคาน้ํามันดิบ ที่ปรับตัวลดลง อยางไรก็ดี ภาษีมูลคาเพิ่มจากการบริโภคในประเทศยังคงจัดเก็บไดใกลเคียงกับประมาณการ และมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 7.4 สะทอนการบริโภคและการลงทุนในประเทศ ยังคงเติบโตไดดี 3) ภาษีเงินไดปโตรเลียมจัดเก็บได 79,549 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมาย 34,404 ลานบาท หรือรอยละ 30.2 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 14.9) เนื่องจากผลประกอบการของบริษัทขุดเจาะน้ํามันไดรับผลกระทบจาก ราคาน้ํามันดิบและกาซธรรมชาติ (เหลว) ที่ปรับตัวลดลงในชวงที่ผานมา

-8-


สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากรแยกตามรายภาษี ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุล าคม 2557 - กรกฎาคม 2558) ภาษีเงินไดนิตบิ ุคคล 27.47% ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 19.06% ภาษีมูลคาเพิ่ม 43.45%

รายไดอื่น 0.03% อากรแสตมป 0.83%

ภาษีเงินไดปโตรเลียม 5.84% ภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.32%

 กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายไดรวม 367,117 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 14,674 ลานบาท หรือรอยละ 4.2 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 13.2) เปนผลจากภาษีน้ํามันจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 48,970 ลานบาท หรือ รอยละ 89.6 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 99.6) เนื่องจากการปรับขึ้นอัตราภาษีน้ํามันดีเซลและราคาขาย ปลีกน้ํามันที่ลดลง สงผลใหปริมาณการใชน้ํามันเพิ่มสูงขึ้น อยางไรก็ดี ภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 20,854 ลานบาท หรือรอยละ 23.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 15.8) สาเหตุมาจากความตองการซื้อรถยนตที่ยังไมฟนตัว สําหรับภาษีเบียรและ ภาษีสุราจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 7,068 และ 7,005 ลานบาท หรือรอยละ 9.4 และ 11.6 ตามลําดับ สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพสามิตแยกตามรายภาษี ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - กรกฎาคม2558) ภาษีสรุ าฯ 14.54%

ภาษีอื่นๆ 5.83% ภาษีน้ํามันฯ 28.23%

ภาษียาสูบ 14.39%

ภาษีรถยนต 18.47%

ภาษีเบียร 18.54%

 กรมศุลกากร จัดเก็บรายไดรวม 95,252 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 6,748 ลานบาท หรือรอยละ 6.6 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 2.2) โดยเปนผลจากการจัดเก็บอากรขาเขาต่าํ กวาเปาหมายจํานวน 7,089 ลานบาท หรือรอยละ 7.1 เนื่องจากมูลคาการนําเขาที่ยังคงหดตัว ประกอบกับการปรับปรุงโครงสรางอัตราภาษีศุลกากร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตซึ่งเริ่มมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2558 ไดสงผลกระทบตออากรขาเขา ในชวง 7 เดือน คิดเปนจํานวน 4,250 ลานบาท ทั้งนี้ มูลคาการนําเขาในรูปดอลลารสหรัฐและเงินบาทในชวง 9 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 หดตัวรอยละ 7.2 และ 5.5 ตามลําดับ สินคาที่จัดเก็บอากรขาเขาไดสูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก ยานบกและสวนประกอบ เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณประกอบ เครื่องจักรและเครื่องใชกล ของทําดวยเหล็กหรือเหล็กกลา และพลาสติก -9-


สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรแยกตามรายภาษี ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุล าคม 2557 - กรกฎาคม 2558) อากรขาออก 0.20%

รายไดอื่น 2.17%

อากรขาเขา 97.63%

 รัฐวิสาหกิจ นําสงรายไดรวม 118,073 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 11,225 ลานบาท หรือรอยละ 10.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 8.2) เนื่องจากการนําสงรายไดของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ธนาคารออมสิน การไฟฟาสวนภูมิภาคแหงประเทศไทย บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) และบริษัททาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ที่สูงกวาประมาณการเปนสําคัญ สัดสวนการนําสงรายไดรัฐวิสาหกิจแยกตามสาขา ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - กรกฎาคม 2558) ขนสง 9.33% สื่อสาร 7.38% สาธารณูปการ 5.11%

พลังงาน 44.18%

กิจการที่กระทรวงการคลัง ถือหุนต่ํากวารอยละ 50 1.59%

อุตสาหกรรม 6.04%

สถาบันการเงิน 14.82% สังคมและเทคโนโลยี 0.53%

เกษตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ 0.12% พาณิชยและบริการ 10.90%

 หนวยงานอื่น จัดเก็บรายไดรวม 148,548 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 28,110 ลานบาท หรือรอยละ 23.3 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 35.4) เปนผลจากกองทุนหมุนเวียนนําสงเงินสภาพคลองสวนเกินคืนเปนรายได แผนดินจํานวน 16,876 ลานบาท และสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) นําสงรายไดจากการประมูลคลื่นความถี่เพื่อใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล งวดที่ 2 เปนรายไดแผนดินจํานวน 7,854 ลานบาท สําหรับกรมธนารักษจัดเก็บรายไดรวม 5,125 ลานบาท สูงกวาเปาหมาย 63 ลานบาท หรือรอยละ 1.2 (สูงกวาชวงเดียวกันของปที่แลวรอยละ 0.5) เนื่องจากการจัดเก็บรายไดเหรียญกษาปณและรายไดอื่นสูงกวา เปาหมายเปนสําคัญ  การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 227,624 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 20,224 ลานบาท หรือ รอยละ 8.2 ประกอบดวยการคืนภาษีมูลคาเพิ่ม 182,665 ลานบาท ต่าํ กวาประมาณการ 15,235 ลานบาท หรือรอยละ 7.7 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป) จํานวน 44,959 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 4,989 ลานบาท หรือรอยละ 10.0 - 10 -


 อากรถอนคืนกรมศุลกากร จํานวน 9,125 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 1,125 ลานบาท หรือรอยละ 14.1  การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหกับองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 12,015 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 2,218 ลานบาท หรือรอยละ 15.6  เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก จํานวน 13,277 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,653 ลานบาท หรือรอยละ 11.1  การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอํานาจฯ จํานวน 7 งวด เปนเงิน 56,720 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 6,020 ลานบาท หรือรอยละ 9.6

- 11 -


ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลเบื้องตน เดือนกรกฎาคม 2558

1/

หนวย : ลานบาท

เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น

2. กรมสรรพสามิต

2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น

รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

รวมรายไดจัดเก็บ (Gross)

หัก

1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่น 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก

รวมรายไดสุทธิ (Net) 5/

หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ

รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรรให อปท.

ปนี้

ปที่แลว

จํานวน

รอยละ

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท

จํานวน

รอยละ

110,430

110,034

396

0.4

124,043

(13,613)

(11.0)

57,535 23,939 22,828 4 4,966 1,124 34

59,482 21,953 21,450 1,574 4,553 989 33

(1,947) 1,986 1,378 (1,570) 413 135 1

(3.3) 9.0 6.4 (99.7) 9.1 13.7 3.0

66,248 24,653 25,184 1,738 5,092 1,099 29

(8,713) (714) (2,356) (1,734) (126) 25 5

(13.2) (2.9) (9.4) (99.8) (2.5) 2.3 17.2

35,242

27,771

7,471

26.9

34,387

855

2.5

11,534 6,028 5,958 5,225 4,700 1,219 226 170 40 92 50

5,560 6,542 5,093 4,420 4,318 1,236 228 207 45 83 39

5,974 (514) 865 805 382 (17) (2) (37) (5) 9 11

107.4 (7.9) 17.0 18.2 8.8 (1.4) (0.9) (17.9) (11.1) 11 28.2

5,619 9,101 6,739 5,244 5,813 1,247 238 198 63 95 30

5,915 (3,073) (781) (19) (1,113) (28) (12) (28) (23) (3) 20

105.3 (33.8) (11.6) (0.4) (19.1) (2.2) (5.0) (14.1) (36.5) (3.2) 66.7

8,993

10,526

(1,533)

(14.6)

10,300

(1,307)

(12.7)

8,817 26 150

9,800 23 703

(983) 3 (553)

(10.0) 13.0 (78.7)

10,100 25 175

(1,283) 1 (25)

(12.7) 4.0 (14.3)

154,665 7,181 9,460

148,331 9,180 6,291

6,334 (1,999) 3,169

4.3 (21.8) 50.4

168,730 11,756 6,825

(14,065) (4,575) 2,635

(8.3) (38.9) 38.6

6,147 144

3,057 112

49.7 77.8

6,668 157

2,536 99

38.0 63.1

163,802 25,960

7,504 (3,639) (4,281) (3,038) (1,243) 599 (56) 99

4.6 (14.0)

(18.5) (15.2) (40.8) 114.7 (4.5) 9.0

187,311 27,178

(16,005) (4,857)

(8.5) (17.9)

148,985

137,842

11,143

8.1

160,133

(11,148)

(7.0)

7,180

8,285

(1,105)

(13.3)

9,660

(2,480)

(25.7)

141,805

129,557

12,248

9.5

150,473

(8,668)

(5.8)

9,204 256

171,306 22,321

18,800 17,000 1,800 1,121 1,200 1,200

3/

4/

4/ 4/

23,081 20,038 3,043 522 1,256 1,101

1/

หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2558 2/

ภาษีไพ แกวฯ เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ขอมูลจากระบบ GFMIS 4/ ตัวเลขคาดการณ 5/ รายไดสุทธิกอนการจัดสรรให อปท. ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/

- 12 -

23,714 21,400 2,314 800 1,391 1,273

(4,914) (4,400) (514) 321 (191) (73)

(20.7) (20.6) (22.2) 40.1 (13.7) (5.7)


ตารางที่ 2 1/ ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลสุทธิในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - กรกฎาคม 2558) หนวย : ลานบาท

เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได

ปนี้

1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น

รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น

หัก

1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก

รวมรายไดสุทธิ (Net)

5/

หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ

รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ:

รอยละ

งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท

จํานวน

รอยละ

1,359,891

1,635

0.1

1,513,352

(151,826)

(10.0)

591,561 373,974 259,534 79,549 45,242 11,345 321

592,008 380,694 239,857 93,427 43,997 9,632 276

(447) (6,720) 19,677 (13,878) 1,245 1,713 45

(0.1) (1.8) 8.2 (14.9) 2.8 17.8 16.3

642,575 435,118 263,039 113,953 47,777 10,641 249

(51,014) (61,144) (3,505) (34,404) (2,535) 704 72

(7.9) (14.1) (1.3) (30.2) (5.3) 6.6 28.9

367,117

324,343

42,774

13.2

352,443

14,674

4.2

103,637 67,807 68,057 52,851 53,367 14,920 2,466 1,807 405 1,117 683

51,924 80,551 66,273 51,104 54,665 13,955 2,171 1,710 413 964 613

51,713 (12,744) 1,784 1,747 (1,298) 965 295 97 (8) 153 70

99.6 (15.8) 2.7 3.4 (2.4) 6.9 13.6 5.7 (1.9) 16 11.4

54,667 88,661 75,125 52,306 60,372 14,654 2,467 1,912 630 1,075 574

48,970 (20,854) (7,068) 545 (7,005) 266 (1) (105) (225) 42 109

89.6 (23.5) (9.4) 1.0 (11.6) 1.8 (0.0) (5.5) (35.7) 3.9 19.0

95,252

97,360

(2,108)

(2.2)

102,000

(6,748)

(6.6)

92,991 191 2,070

95,027 199 2,134

(2,036) (8) (64)

(2.1) (4.0) (3.0)

100,080 250 1,670

(7,089) (59) 400

(7.1) (23.6) 24.0

1,781,594 128,637 109,748

42,301 (10,564) 38,800

2.4 (8.2) 35.4

1,967,795 106,848 120,438

(143,900) 11,225 28,110

(7.3) 10.5 23.3

104,650 5,098

38,773 27

37.1 0.5

115,376 5,062

28,047 63

24.3 1.2

2,019,979 283,165

70,537 (21,124) (22,098) (7,435) (14,663) 1,448 (835) 361

3.5 (7.5)

(8.8) (3.9) (24.6) 18.9 (6.5) 2.8

2,195,081 285,011

(104,565) (22,970) (20,224) (15,235) (4,989) 1,125 (2,218) (1,653)

(4.8) (8.1)

(8.2) (7.7) (10.0) 14.1 (15.6) (11.1)

1,828,475

1,736,814

91,661

5.3

1,910,070

(81,595)

(4.3)

56,720

58,119

(1,399)

(2.4)

62,740

(6,020)

(9.6)

1,771,755

1,678,695

93,060

5.5

1,847,330

(75,575)

(4.1)

143,423 5,125

รวมรายไดจัดเก็บ (Gross)

จํานวน

1,361,526

1,823,895 118,073 148,548

5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

ปที่แลว

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.

2,090,516 262,041

227,624 182,665 44,959 9,125 12,015 13,277

3/

4/

4/ 4/

249,722 190,100 59,622 7,677 12,850 12,916

1/

ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2558 ภาษีไพ เครื่องแกว เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด

2/ 3/

ตัวเลขจากระบบ GFMIS

4/

เดือนตุลาคม 2557 - มิถุนายน 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนกรกฎาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ

5/

รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 13 -

247,848 197,900 49,948 8,000 14,233 14,930


สถานการณดานรายจาย • พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 131 ตอนที่ 69 ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 กําหนดวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,575,000 ลานบาท สูงกวาวงเงินปงบประมาณ 2557 รอยละ 2.0 โดยแบงเปนรายจายประจํา 2,027,859 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่เเลวรอยละ 0.5 รายจายลงทุน 449,476 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ปที่เเลวรอยละ 1.9 รายจายชําระคืนตนเงินกู 55,700 ลานบาท และรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง 41,965 ลานบาท โครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558

โครงสรางงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจาย (สัดสวนตอ GDP) - รายจายประจํา (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายลงทุน (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายชําระคืนตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) 2. รายรับ (สัดสวนตอ GDP) - รายได - เงินกู 3. ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ปงบประมาณ 2557 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,525,000 5.2 20.4 2,017,626 6.2 79.9 13,424 100.0 0.5 441,129 -2.1 17.5 52,822 7.5 2.1 2,525,000 5.2 20.4 2,275,000 8.3 250,000 -16.7 12,364,000 3.9

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558

- 14 -

หนวย : ลานบาท

ปงบประมาณ 2558 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,575,000 2.0 19.6 2,027,859 0.5 78.7 41,965 212.6 1.6 449,476 1.9 17.5 55,700 5.4 2.2 2,575,000 2.0 19.6 2,325,000 2.2 250,000 13,143,000 6.3


• คณะรักษาความสงบแหงชาติมีมติเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 เห็นชอบการกําหนดเปาหมายการ เบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 ที่อัตรารอยละ 96.0 และกําหนดเปาหมาย การเบิกจายรายจายลงทุนไวไมนอยกวารอยละ 87.0 ของวงเงินงบรายจายลงทุน โดยไดกาํ หนด เปาหมายการเบิกจายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่

เปาหมายการเบิกจาย แตละสิ้นไตรมาส

1 2 3 4

830,720 584,222 530,094 531,125

เปาหมายอัตรา การเบิกจายแตละ สิ้นไตรมาส (%) 32 23 21 21

• เดือนกรกฎาคม 2558 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 221,926 ลานบาท สูงกวาชวงเดือนเดียวกันปที่แลว 21,691 ลานบาท หรือรอยละ 10.8 ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม

เดือนกรกฎาคม 2558 2558 208,731 186,059 22,672 13,195 221,926

2557 189,421 170,069 19,352 10,814 200,235

เปรียบเทียบ งปม. 2557 จํานวน รอยละ 19,310 10.2 15,990 9.4 3,320 17.2 2,381 22.0 21,691 10.8

ผลการเบิกจาย

อัตราการเบิกจาย (%)

766,371 557,708 529,438

29.8 21.6 20.6

ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 208,731 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 19,310 ลานบาท หรือรอยละ 10.2 แบงเปน รายจายประจํา 186,059 ลานบาท และรายจายลงทุน 22,672 ลานบาท โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญคือ เงินอุดหนุนของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 32,604 ลานบาท รายจายชําระหนีข้ องกระทรวงการคลัง 15,153 ลานบาท และเงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 13,489 ลานบาท

2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจาํ นวน 13,195 ลานบาท สูงกวาชวงเดือนเดียวกันปที่แลว 2,381 ลานบาท หรือรอยละ 22.0 • ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) รัฐบาลไดเบิกจายแลวจํานวนรวมทั้งสิ้น 2,253,214 ประกอบดวย ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 154,198 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ หรือรอยละ 7.3 2558 จํานวน 2,062,249 ลานบาท คิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 80.1 ของวงเงินงบประมาณ 2,575,000 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 152,796 หรือรอยละ 8.0 แบงเปน รายจายประจํา 1,844,466 ลานบาท คิดเปนรอยละ 85.5 ของวงเงิน งบประมาณรายจายประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง - 15 -


ตนแตตนปงบประมาณจนถึงสิ้นเดือนกรกฎาคม2558

ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม

2558

2557

2,062,249 1,844,466 217,783 190,965 2,253,214

1,909,453 1,680,933 228,520 189,563 2,099,016

เปรียบเทียบ งปม. 2557 รอยละตอวงเงิน งปม. 2558 จํานวน รอยละ 152,796 8.0 80.1 163,533 9.7 85.5 (10,737) (4.7) 52.2 1,402 0.7 54.3 154,198 7.3 77.0

(2,157,892 ลานบาท) รายจายลงทุน 217,783 ลานบาท คิดเปนรอยละ 52.2 ของวงเงินงบประมาณ รายจายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง (417,108 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก เงินอุดหนุนของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 221,100 ลานบาท รายจายชําระหนีข้ อง กระทรวงการคลัง 150,930 ลานบาท และ เงิน อุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 143,590 ลานบาท - การเบิกจายงบกลาง มีจาํ นวน 240,207 ลานบาท คิดเปนรอยละ 63.9 ของวงเงินงบกลาง (375,708 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก - เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 134,379 ลานบาท คิดเปนรอยละ 92.8 - คาใชจา ยในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ 54,797 ลานบาท คิดเปนรอยละ 91.3 - เงินสํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของขาราชการ 37,814 ลานบาท คิดเปนรอยละ 83.3 - เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจางและพนักงาน ของรัฐ 3,870 ลานบาท คิดเปนรอยละ 77.0 - เงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน 5,145 ลานบาท คิดเปนรอยละ 5.8 2) การเบิกจายรายจายปกอ น มีจาํ นวน 190,965 ลานบาท คิดเปนรอยละ 54.3 ของวงเงินรายจายปกอ น (351,582 ลานบาท) สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 1,402 ลานบาท หรือรอยละ 0.7

การเบิกจายงบประมาณในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558

ลา นบาท

2,575,000

2,575,000

2,060,000

2,060,000

1,545,000

1,545,000

1,030,000

1,030,000

515,000

515,000

0

ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58

ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 ปปจจุบัน(รายเดือน) 344,801 180,660 240,910 197,891 131,447 228,371 สะสม 2557 244,001 476,569 760,825 947,220 1,101,327 1,243,363 สะสม 2558 344,801 525,461 766,371 964,262 1,095,709 1,324,080

- 16 -

เม.ย. 58 178,945 1,423,143 1,503,025

พ.ค. 58 163,958 1,565,606 1,666,983

มิ.ย. 58 186,535 1,720,033 1,853,518

0

ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58 208,731 0 0 1,909,454 2,034,124 2,246,306 2,062,249


• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุน ภายใตแผนปฏิบตั ิการไทยเขมแข็ง 2555 ในเดือน กรกฎาคม 2558 จํ านวน 1,813 ลานบาท

- เดือนกรกฎาคม 2558 มีการเบิกจายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 1,813 ลานบาท และสงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงเดือนกรกฎาคม 2558 มีการเบิกจายรวม 11,386 ลานบาท โดยตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจายไปแลว 343,671 ลานบาท คิดเปนรอยละ 98.5 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหาร - เดือนกรกฎาคม 2558 มีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 23 ลานบาท โดย ตั้งแต จัดการน้ําฯ ในเดือนกรกฎาคม 2558 จํานวน ตนปงบประมาณจนถึงเดือนกรกฎาคม 2558 มีการเบิกจาย 23 ลานบาท รวม 1,122 ลานบาท และตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือน กุมภาพันธ 2555) เบิกจายไปแลว 23,417 ลานบาท คิดเปนรอยละ 6.7 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติจํานวน 350,000 ลานบาท • รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูโครงการเพื่อการพัฒนา ระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสง ทางถนนระยะเรงดวน ในเดือนกรกฎาคม 2558 เปนเดือนแรกมีการเบิกจายรวม 432 ลานบาท

- เดือนกรกฎาคม 2558 มีการเบิกจายเงินกูโครงการ เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและ ระบบขนสงทางถนนระยะเรงดวน จํานวน 432 ลานบาท โดยเริ่มเบิกจายเดือนกรกฎาคม 2558 เปนเดือนแรก มีการเบิกจายรวม 432 ลานบาท หนวย: ลานบาท

ปงบประมาณ 2558

โครงการ

วงเงินที่ไดรับ อนุมัติ

2553

2554

2555

2556

เบิกจาย

1.โครงการภายใตปฏิบัติการไทยเขมแข็ง1/ 2. เงินกูภายใต พรก. บริหารจัดการน้ําฯ 3. โครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหาร จัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสงทางถนนระยะ เรงดวน

348,940 350,000

234,369 -

61,391 -

24,420 1,762

7,509 13,740

78,295

4,597 6,793

ตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน ก.ค.58

ก.ค. 58

2557

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

เบิกจาย

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือน ก.ค.58 เบิกจาย

1,813 23

0.5 0.01

11,386 1,122

3.3 0.3

343,671 23,417

98.5 6.7

432

0.55

432

0.6

432

0.6

หมายเหตุ 1/เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกวงเงินเหลือจายคงเหลือ จํานวน 1,020 ลานบาท ทําใหเหลือวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท (วงเงินที่ไดรับอนุมัติเดิม 349,960 ลานบาท) 2/ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกการดําเนินการตาม พรก . บริหารจัดการน้ําจํานวน 324,606 ลานบาท 3/

เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2558 คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติโครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสงทางถนนระยะเรงดวนจํานวน 78,294.85 ลานบาท

- 17 -

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ


• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ ในเดือน - เดือนกรกฎาคม 2558 มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ จํานวน 241.2 ลานบาท ในขณะที่เดือนเดียวกันปที่แลว กรกฎาคม 2558 จํานวน 241.2 ลานบาท มีการเบิกจาย 587.3 ลานบาท และในชวง 10 เดือนแรก ของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ 4,845.6 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 3,267.8 ลานบาท หนวย : ลานบาท

รายการ

กรกฎาคม 2558

2557

ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ

เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง 2558 2557 จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ (204.1) (69.8) 1,055.8 1,453.6 (397.8) (27.4) 14.8 734.8 (720.0) (98.0) (142.0) (48.1) 3,775.0 5,925.0 (2,150.0) (36.3) (346.1) (58.9) 4,845.6 8,113.4 (3,267.8) (40.3)

1. Project Loans 88.2 292.3 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* 153.0 295.0 รวม 241.2 587.3 ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแลว 37,928.54 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูภายใต TKK 17,684.99 ลานบาท และนอก TKK 20,243.55 ลานบาท

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ - ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) มีการเบิกจายเงิน ทั้งสิ้น 2,271,000 ลานบาท เขาสูระบบเศรษฐกิจจํานวนทั้งสิ้น 2,271,000 ลานบาท แบงเปน งบประมาณรายจายประจําป 2558 จํานวน 2,062,249 ลานบาท รายจายปกอน 190,965 ลาน บาท โครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 11,386 ลานบาท โครงการภายใต พรก. บริหารจัดการน้าํ ฯ จํานวน 1,122 ลานบาท โครงการเพือ่ การพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้าํ และระบบ ขนสงทางถนนระยะเรงดวน จํานวน 432 ลานบาท และ การเบิกจายเงินกูตางประเทศจํานวน 4,846 ลานบาท

- 18 -


การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ • เดือนกรกฎาคม 2558 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจาย 24,301 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว 11,334 ลานบาท หรือรอยละ 31.8 เปนผลจากการลดลงของรายจายกองทุน หลักประกันสุขภาพแหงชาติเปนสําคัญ

เดือนกรกฎาคม 2558 มีการเบิกจายรวม 24,301 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว 11,334 ลานบาท หรือรอยละ 31.8 ประกอบดวยรายจาย 12,006 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 12,616 ลานบาท โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงเบิกจายลดลง 8,780 และ 4,279 ลานบาท ตามลําดับ สําหรับเงินใหกูยืมสุทธิ มีการเบิกจายจํานวน 12,295 ลานบาท

• ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) กองทุนฯ เบิกจาย 228,704 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปทีแ่ ลว 25,137 ลานบาท หรือรอยละ 9.9 สาเหตุหลัก มาจากกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงมีการเบิกจาย ลดลง

ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 มีการเบิกจาย รวม 228,704 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 25,137 ลานบาท หรือรอยละ 9.9 ประกอบดวย 1) รายจาย 209,322 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันของ ปที่แลว 27,949 ลานบาท หรือรอยละ 11.8 เปนผลมาจาก กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงมีรายจายเงินชดเชยลดลง 29,561 2) เงินใหกูยืมสุทธิ 19,382 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกัน ของปที่แลว 2,812 ลานบาท หรือรอยละ 17.0 เปนผลมาจาก กองทุนออยและน้ําตาลทรายมีรายจายเพื่อการกูยืมเพิ่มขึ้น

การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนกรกฎาคม 2558 และในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 กรกฎาคม รายการ

2558*

2557

1. รายจาย

12,006

2. เงินใหกูยืมสุทธิ

12,295

เปรียบเทียบ

ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ เปรียบเทียบ 2558* 2557 จํานวน รอยละ

จํานวน

รอยละ

24,622

(12,616)

(51.2)

209,322

11,013

1,282

11.6

19,382

รวม 24,301 35,635 (11,334) (31.8) 228,704 หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1/

หนวย : ลานบาท

237,271 (27,949) (11.8) 16,570

2,812

253,841 (25,137) (9.9)

การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 113 กองทุน) ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนออยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั

- 19 -

17.0


ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2558) ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 รัฐบาล • ในชวง 10 เดือนแรกของ ปงบประมาณ 2558 ดุลการคลังของ มีรายไดนําสงคลัง 1,776,784 ลานบาท และมีการเบิกจาย งบประมาณจากงบประมาณปปจ จุบนั และปกอนรวม รัฐบาลตามระบบ กระแสเงินสด ขาดดุล 495,060 ลานบาท คิดเปน 2,253,214 ลานบาท สงผลใหดลุ เงินงบประมาณขาดดุล จํานวน 476,430 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก รอยละ 3.7 ของ GDP 2 งบประมาณที่ขาดดุล 18,630 ลานบาท ทําใหดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 495,060 ลานบาท รัฐบาลชดเชย การขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 201,362 ลานบาท สงผลใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2558 มีจาํ นวน 202,049 ลานบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด

รายได รายจาย ปปจจุบัน ปกอน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดกอนกู เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู เงินคงคลังปลายงวด

ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 2557 1,776,784 1,682,967 2,253,214 2,099,016 2,062,249 1,909,453 190,965 189,563 (476,430) (416,049) (18,630) (66,475) (495,060) (482,524) 201,362 224,164 (293,698) (258,360) 202,049 346,692

ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

หนวย: ลานบาท

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 93,817 5.6 154,198 7.3 152,796 8.0 1,402 0.7 (60,381) 14.5 47,845 (72.0) (12,536) 2.6 (22,802) (10.2) (35,338) 13.7 (144,643) (41.7)

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เปนดุลการคลังที่แสดงใหเห็นผลกระทบตอเงินคงคลังและการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปงบประมาณ 2557 เทากับ 13,074,771 ลานบาท และคาดการณ GDP ปงบประมาณ 2558 เทากับ 13,401,200 ลานบาท

2

- 20 -


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) 3 ในชวง 10 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม - กรกฎาคม 2558) • ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557กรกฎาคม 2558) รัฐบาลขาดดุล 147,761 ลานบาท โดยขาดดุล งบประมาณ 339,338 ลานบาท ในขณะที่ดุลกองทุนนอกงบประมาณ เกินดุล 208,931 ลานบาท นอกจากนี้ มีรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็งจํานวน 11,386 ลานบาท รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 3,775 ลานบาท รายจาย เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา จํานวน 1,122 ลานบาท และ เงินกูตางประเทศ (Project loan และ SAL) จํานวน 1,071 ลานบาท

ดานรายได รัฐบาลมีรายไดรวมทั้งสิ้น 1,960,957 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 130,418 ลานบาท ประกอบดวย รายไดในงบประมาณ (กอนจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท.) 1,959,767 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 1,190 ลานบาท ดานรายจาย รัฐบาลมีรายจายทั้งสิ้น 2,300,295 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 110,183 ลานบาท ประกอบดวย รายจาย (ไมรวมรายจายชําระตนเงินกูการถือครองสินทรัพย ทางการเงิน รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง) จํานวน 2,299,105 ลานบาท และเงินชวยเหลือ ตางประเทศ 1,190 ลานบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 339,338 ลานบาท ขาดดุลลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 20,235 ลานบาท กองทุนนอกงบประมาณ มีรายไดรวมทั้งสิ้น 463,039 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 9.8 ในขณะที่มีรายจายจํานวน 235,442 ลานบาท ต่ํากวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 37.0 และมีเงินใหกูหักชําระคืน 18,666 ลานบาท สงผลใหดุลกองทุนนอกงบประมาณเกินดุล 208,931 ลานบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเปนสําคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลกองทุน นอกงบประมาณที่เกินดุล รายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ํา และเงินกูตางประเทศ จํานวน 11,386 3,775 1,122 และ 1,071 ลานบาท ตามลําดับ ทําใหดุลการคลัง รัฐบาลขาดดุลจํานวน 147,761 ลานบาท

3

ดุลการคลังตามระบบ สศค. เปนดุลการคลังที่สะทอนเม็ดเงินที่แทจริงที่สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ

- 21 -


ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเปนดุลการคลังที่สะทอนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอยางแทจริง (ไมรวมรายได และรายจายจากดอกเบีย้ และการชําระคืน ตนเงินกู) ขาดดุลทั้งสิน้ 43,990 ลานบาท ขาดดุลลดลงจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 203,564 ลานบาท ดุลการคลังเบื้องตนตามระบบ สศค. หนวย : ลานบาท ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเขมแข็ง (TKK) 5. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 6. รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 7. เงินกูตางประเทศ (Project loan และ SAL) 8. ดุลกองทุนนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได 8.2 รายจาย 8.3 เงินใหกูหักชําระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล

เดือนกรกฎาคม 2558

2557

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

157,086 228,601 (71,515) 1,831 23 153 88 16,657 43,310 14,085 12,568 (56,953) (48,440)

145,403 195,392 (49,989) 123 294 295 292 3,179 39,262 25,070 11,013 (47,814) (38,750)

11,683 33,209 (21,526) 1,708 (271) (142) (204) 13,478 4,048 (10,985) 1,555 (9,139) (9,690)

จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 22 -

8.0 17.0 43.1 1,383.4 (92.2) (48.3) (69.8) 424.0 10.3 (43.8) 14.1 19.1 25.0

ปงบประมาณ 2558 1,960,957 2,300,295 (339,338) 11,386 1,122 3,775 1,071 208,931 463,039 235,442 18,666 (147,761) (43,990)

% of GDP 14.5 17.0 (2.5) 0.1 0.0 0.0 0.0 1.5 3.4 1.7 0.1 (1.1) (0.3)

2557 1,830,539 2,190,112 (359,573) 1,415 5,715 5,925 2,188 31,487 421,891 373,834 16,570 (343,329) (247,554)

% of GDP

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

14.0 130,418 16.8 110,183 (2.8) 20,235 0.0 9,971 0.0 (4,593) 0.0 (2,150) 0.0 (1,117) 0.2 177,444 3.2 41,148 2.9 (138,392) 0.1 2,096 (2.6) 195,568 (1.9) 203,564

7.1 5.0 (5.6) 704.7 (80.4) (36.3) (51.1) 563.6 9.8 (37.0) 12.6 (57.0) (82.2)


ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปงบประมาณ 2557 - 2558 ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได - รายไดสุทธิ - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - อื่นๆ 2. รายจาย - รายจายปปจจุบัน (อัตราการเบิกจาย : %) - รายจายปกอน - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - หัก สวนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 6. รายจายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) และมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ 7.รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 8.รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได 9.2 รายจาย 9.3 เงินใหกูหักชําระคืน 10. การหับนับซ้ําของรัฐบาล 10.1 รายได 10.2 รายจาย 11. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9-10)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

จํานวน

2557

% of GDP

ระบบกระแสเงินสด

2,275,000.0

18.3

2,070,018.0

15.8

2,525,000.0 2,525,000.0

20.3 20.3

2,459,990.0 2,246,306.0 89.0 213,684.0

18.8 17.2

(250,000.0)

(250,000.0)

(2.0)

(2.0)

1.6

(389,972.0) 8,161.7

(3.0) 0.1

(381,810.3)

(2.9)

จํานวน

% of GDP

ระบบ สศค. 2,306,459.8 2,075,024.4 9,263.4 96,387.0 5,368.0 120,417.0 2,578,257.6 2,184,524.0 86.5 213,684.0 9,263.4 96,387.0 5,368.0 5,857.8 74,889.0 (271,797.8) 2,414.0 4,597.0 6,793.0 6,646.0 39,675.7 449,424.2 395,842.5 13,906.0 183,714.0 183,714.0 (252,572.1)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

2558e จํานวน

หนวย: ลานบาท % of GDP

ระบบกระแสเงินสด

17.6 15.9 0.1 0.7 0.0

2,325,000

18.7

2,325,000

17.8

19.7 16.7

2,575,000 2,575,000

20.7 20.7

2,718,256 2,476,161 96.2 242,095

20.8 18.9

1.6 0.1 0.7 0.0 0.0 (2.1) 0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 3.4 3.0 0.1 1.4 1.4 (1.9)

(250,000)

(250,000)

(2.0)

(1.9)

1.9

(393,256) 40,981

(3.0) 0.3

(352,275)

(2.6)

องคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. รายรับ (12.1+12.2) 554,348.9 4.2 12.1 รายได 199,941.0 1.5 12.2 เงินชวยเหลือจากรัฐบาล 354,407.9 2.7 13 รายจาย 533,120.2 4.1 14. ดุลการคลัง (12-13) 21,228.7 0.2 15. การหักนับซ้ําของภาครัฐบาล 15.1 รายได 354,407.9 2.7 15.2 รายจาย 354,407.9 2.7 16. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (11+14-15) (231,343.4) (1.8) GDP (ลานบาท) 12,424,000 13,074,771 13,074,771 13,201,000 13,513,400 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเปนการแสดงรายได (รวมคา Premium และรายไดจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แตไมรวมรายรับจากการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายไดจากภาษีมูลคาเพิ่ม ที่โอนใหแกอปท.) และรายจายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายไดเพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชําระตนเงินกูพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินกูรับคืน รายไดเงินกูรับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให อปท. และเงินชวยเหลือจากตางประเทศ ตั้งแตปงบประมาณ 2546 เปนตนมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางดานรายจาย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก สวนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินใหกูรับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรใหอปท. . 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบดวย เงินทนหมนเวียน และกองทนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ไดบันทึกขอมูลตามเกณฑคงคาง สําหรับกองทุนน้ํามันไดเริ่มบันทึกรายจายชดเชยน้ํามันตามเกณฑคงคางตั้งแตเดือนมกราคม 2547 เปนตนมา 5. รายไดตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยูในระบบ cash basis สวนรายไดตามระบบ สศค. บันทึกอยูในระบบ acrual basis 6. ขอมูล GDP ป 2558 อางอิงจากขอมูลประมาณการจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2558 7. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา อยูระหวางการเสนอ ครม. จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ วันทีบันทึกขอมูล : 27 สิงหาคม 2558

21 --- 23

จํานวน ระบบ สศค. 2,565,509 2,325,000 10,260 109,000 1,449 119,800 2,881,300 2,476,161 96.2 242,095 10,260 109,000 1,449 6,000 48,335 (315,790)

% of GDP 19.1 17.3 0.1 0.8 0.0 0.9 21.5 18.5 1.8 0.1 0.8 0.0 0.0 (2.4)

3,000 14,000 1,412 5,426 42,300 476,400 419,600 14,500 137,761 137,761 (297,327)

0.0 0.1 0.0 0.0 0.3 3.6 3.1 0.1 1.0 1.0 (2.2)

587,214 329,550 257,664 528,492 58,722

4.4 2.5 1.9 3.9 0.4 1.9 1.9 (1.8)

257,664 257,664 (238,605) 13,401,200


ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2558 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2558) 1. ด้านรายได้ 1 อปท. จำนวน 7,853 แห่ง มีรำยได้รวม 132,494 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วง เดียวกันของปีที่แล้ว 22,374 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 20.3 โดยเป็นรำยได้จำกเงินอุดหนุน และรำยได้ที่ รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ เพิ่มขึ้น 18,627 และ 3,967 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 73.6 และ 6.1 ตำมลำดับ เนื่องจำกในไตรมำสที่ 3 ปีงบประมำณ 2558 อปท. ได้รับกำรจัดสรรเงินอุดหนุน จำกกรมส่งเสริม กำรปกครองท้องถิ่ นและเงินอุดหนุนเหลื่อมปีเพิ่มขึ้นจำกปีงบประมำณ 2557 (ข้อมูลจำกกรมบัญชีกลำง) ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้ำนบำท

ประเภท 1. รายได้จัดเก็บเอง 1/ (ร้อยละของรำยได้รวม) 1.1 รำยได้จำกภำษีอำกร 1.2 รำยได้ที่ไม่ใช่ภำษีอำกร 2. รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้และแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรำยได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรำยได้รวม) รวม (ร้อยละของรำยได้รวม)

ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2558 2557 19,599 19,819 14.8 18.0 13,996 14,943 5,603 4,876 68,949 64,982 52.0 59.0 43,946 25,319 33.2 23.0 132,494 110,120 100 100

เปรียบเทียบ จานวน

ร้อยละ

(220)

(1.1)

(947) 727 3,967

(6.3) 14.9 6.1

18,627

73.6

22,374

20.3

หมำยเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 5 สิงหำคม 2558 ที่มำ : 1/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และคำดกำรณ์โดยสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง 2/ รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ จำกกรมเชื้อเพลิงธรรมชำติ กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำรเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมกำรขนส่งทำงบก กรมกำรปกครอง และสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง 3/ รำยได้เงินอุดหนุนรัฐบำล จำกกรมบัญชีกลำง จัดทำโดย : ส่วนระบบสถิติกำรคลัง สำนักนโยบำยกำรคลัง สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

รายได้ของ อปท. จาแนกตามแหล่งที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 19,599 ล้ำนบำท ลดลงจำกช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 220 ล้ำนบำท หรือ ร้อยละ 1.1 ประกอบด้วย รำยได้จำกภำษีอำกร 13,996 ล้ำนบำท และรำยได้ที่ไม่ใช่ภำษีอำกร 5,603 ล้ำนบำท 1.2 รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้และแบ่งให้ 68,949 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกัน ของ ปีที่แล้ว 3,967 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 6.1 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 43,946 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 18,627 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 73.6

- 24 -


2. ด้านรายจ่าย 1 อปท. จำนวน 7,853 แห่ง มีรำยจ่ำยทั้งสิ้น 141,791 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำก ช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 9,216 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 7.0 โดยเป็นกำรเพิ่มขึ้นจำกรำยจ่ำยประจำและ รำยจ่ำยพิเศษ 11,019 และ 10,244 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 17.4 และ 31.0 ตำมลำดับ (รำยละเอียดตำม ตำรำงที่ 2) ตารางที่ 2 รายจ่ายของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้ำนบำท

ประเภท 1. รายจ่ายงบกลาง 2. รายจ่ายประจา 3. รายจ่ายเพื่อการลงทุน 4. รายจ่ายพิเศษ 5. รายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี รวม

ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2558 2557 5,654 4,354 74,185 63,166 11,863 11,488 43,324 33,080 6,765 20,487 141,791 132,575

เปรียบเทียบ จานวน

ร้อยละ

1,300 11,019 375 10,244 (13,722) 9,216

29.9 17.4 3.3 31.0 (67.0) 7.0

หมำยเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 5 สิงหำคม 2558 จัดทำโดย : ส่วนระบบสถิติกำรคลัง สำนักนโยบำยกำรคลัง สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

3. ดุลการคลัง 2 อปท. ขำดดุล 9,297 ล้ำนบำท ขำดดุลลดลงจำกช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 13,158 ล้ำนบำท (รำยละเอียดตำมตำรำงที่ 3 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้ำนบำท

ประเภท 1. รายได้ 1.1 รำยได้ที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ 2/ 1.3 รำยได้จำกเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/

ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2558 2557 132,494 110,120 19,599 19,819 68,949 64,982 43,946 25,319 141,791 132,575 (9,297) (22,455)

เปรียบเทียบ จานวน 22,374 (220) 3,967 18,627 9,216 13,158

ร้อยละ 20.3 (1.1) 6.1 73.6 7.0 (58.6)

หมำยเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 5 สิงหำคม 2558 ที่มำ : 1/ จำกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ จำกกรมเชื้อเพลิงธรรมชำติ กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำรเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมกำรขนส่งทำงบก กรมกำรปกครอง และสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง 3/ รำยได้จำกเงินอุดหนุนรัฐบำล จำกกรมบัญชีกลำง 4/ พิจำรณำจำกข้อมูลกำรเปลี่ยนแปลงเงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบธนำคำร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝำกคลัง อปท.ในกระทรวงกำรคลังจำกกรมบัญชีกลำง จัดทำโดย : ส่วนระบบสถิติกำรคลัง สำนักนโยบำยกำรคลัง สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

1 2

รำยจ่ำย อปท. พิจำรณำจำกผลต่ำงของรำยได้กับดุลกำรคลังของ อปท. ดุลกำรคลังของ อปท. พิจำรณำจำกข้อมูลกำรเปลี่ยนแปลงเงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบธนำคำร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จำกธนำคำรแห่งประเทศไทย และเงินฝำกคลัง อปท. ในกระทรวงกำรคลังจำกกรมบัญชีกลำง

- 25 -


แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2557 และ 2558 หน่วย : ล้านบาท 160,000

141,791

140,000 120,000

132,575

132,494

110,120

100,000 80,000 1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง

60,000 40,000

20,000 -9,297

-20,000 -40,000

-22,455 ปีงบประมาณ 2558

ปีงบประมาณ 2557

ฐานะดุลการคลังของ อปท. ในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2558 1. ด้านรายได้ อปท. มีรำยได้ 477,586 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 3,916 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 0.8 โดยเป็นรำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้และรำยได้ที่จัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 6,833 และ 2,058 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 3.5 และ 4.3 ตำมลำดับ ในขณะที่รำยได้จำกเงินอุดหนุน ลดลง 4,975 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 2.2 2. ด้านรายจ่าย มีรำยจ่ำยรวมทั้งสิ้น 427,407 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 21,739 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 5.4 โดยเป็นกำรเพิ่มขึ้นจำกหมวดรำยจ่ำยประจำและหมวดรำยจ่ำยพิเศษ 19,625 และ 7,947 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 9.8 และ 7.1 ตำมลำดับ 3. ดุลการคลัง อปท. เกินดุล 50,179 ล้ำนบำท เกินดุล ลดลงจำกช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 17,823 ล้ำนบำท หรื อร้ อยละ 26.2 ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้ำนบำท

ประเภท 1. รายได้ 1.1 รำยได้ที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ 2/ 1.3 รำยได้จำกเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/

9 เดือนแรก ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2558 2557 477,586 473,670 49,883 47,825 204,673 197,840 223,030 228,005 427,407 405,668 50,179 68,002

หมำยเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 5 สิงหำคม 2558 ที่มำ : 1/ จำกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รำยได้ที่รัฐบำลจัดเก็บให้และแบ่งให้ จำกกรมเชื้อเพลิงธรรมชำติ กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำรเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมกำรขนส่งทำงบก กรมกำรปกครอง และสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง 3/ รำยได้จำกเงินอุดหนุนรัฐบำล จำกกรมบัญชีกลำง 4/ พิจำรณำจำกข้อมูลกำรเปลี่ยนแปลงเงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบธนำคำร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝำกคลัง อปท.ในกระทรวงกำรคลังจำกกรมบัญชีกลำง จัดทำโดย : ส่วนระบบสถิติกำรคลัง สำนักนโยบำยกำรคลัง สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง

- 26 -

เปรียบเทียบ จานวน 3,916 2,058 6,833 (4,975) 21,739 (17,823)

ร้อยละ 0.8 4.3 3.5 (2.2) 5.4 (26.2)


แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 และ 2558 หน่วย : ล้านบาท 600,000

500,000

477,586

473,670

427,407

400,000

405,668

1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง

300,000 200,000 100,000

68,002

50,179

-

ปีงบประมาณ 2557

ปีงบประมาณ 2558

เงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร และเงินฝากคลังของ อปท. ณ สิ้นเดือนมิถุนำยน 2558 เงินฝำกของ อปท. ทั้งหมดมีจำนวน 439,603 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำก สิ้นปีงบประมำณที่แล้ว 50,179 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 12.9 ประกอบด้วยเงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบ ธนำคำรจำนวน 435,200 ล้ำนบำท และเงินฝำกคลังของ อปท. จำนวน 4,403 ล้ำนบำท ตารางที่ 5 เงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร และเงินฝากคลังของ อปท.

ที่มำ : เงินฝำกสุทธิของ อปท. ในระบบธนำคำร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จำก ธปท. และเงินฝำกคลังของ อปท. จำกกรมบัญชีกลำง

สถานะหนี้เงินกู้ ณ สิ้นเดือนมิถุนำยน 2558 หนี้เงินกู้คงค้ำงของ อปท.มีจำนวน 20,979 ล้ำนบำท (ไม่รวมหนี้ กสอ. ก.ส.ท. และก.บ.ท.) โดยมีแหล่งเงินกู้ที่สำคัญ คื อ สถำบันกำรเงินเฉพำะกิจ ของรัฐ (SFIs) คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 51.7

- 27 -

หน่วย : ล้ำนบำท


ตารางที่ 6 สถานะหนี้เงินกู้คงค้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วย : ล้ำนบำท

ที่มำ : ธนำคำรแห่งประเทศไทย และสำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ หมำยเหตุ : N/A หมำยถึง ไม่มีข้อมูล

- 28 -


สถานการณดานหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2558 หนวย : ลานบาท

• หนี้สาธารณะคงคางจํานวน 5,684,490.8 ลานบาท คิดเปน รอยละ 42.4 ของ GDP ลดลง จากเดือนที่แลว 2,516.8 ลานบาท ประกอบดวย หนี้ในประเทศ คิดเปนรอยละ 94.0 สวนที่เหลือ รอยละ 6.0 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือ การกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 98.0 และหนีร้ ะยะสั้น รอยละ 2.0 กรณีแบงตามอายุ คงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 86.1 สวนที่เหลือรอยละ 13.9 เปนหนีร้ ะยะสั้น

31 พ.ค. 58 4,063,421.6 75,393.0 3,988,028.6 1,617,454.0 102,490.7 889,502.7 156,102.6

30 มิ.ย. 58 4,070,193.6 77,173.2 3,993,020.4 1,608,258.9 102,179.6 882,330.6 161,352.0

1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนีข้ องรัฐวิสาหกิจ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกันตางประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ** 469,358.0 462,396.7 3. หนีข้ องหนวยงานภาครัฐอืน่ * 6,132.0 6,038.2 หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ 0.0 0.00 หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ 6,132.0 6,038.2 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ FIDF 0.0 0.0 5. ยอดหนี้สาธารณะคงคางรวม 5,687,007.6 5,684,490.8 • หนีค้ งคางที่ลดลง (1+2+3+4) มีสาเหตุมาจากหนี้รัฐวิสาหกิจ GDP*** 13,356,455.2 13,421,792.7 และหนี้หนวยงานอื่นของรัฐ ลดลง หนี้สาธารณะคงคางรวมตอ GDP (%) 42.6 42.4 9,195.1 และ 93.8 ลานบาท หมายเหตุ * หนวยงานภาครัฐอื่น ไดแก สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ตามลําดับ ในขณะที่หนี้ของรัฐบาล ** ไมรวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะไดปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแตละเดือน โดย GDP ของเดือน เพิ่มขึ้น 6,772.0 ลานบาท

พฤษภาคม 2558 เทากับ 13,356.46 พันลานบาท และ GDP ของเดือนมิถุนายน 2558 คํานวณ ดังนี้ [GDP ไตรมาส 3 - 4 ป 57] + [GDP ไตรมาส 1 ป 58]+[(ประมาณการ GDP ป 58 – GDP ไตรมาส 1 ป 58)/9]*3 เทากับ 13,421.79 พันลานบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ รวบรวมโดย สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 29 -


• หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง เพิ่มขึ้น 6,772.0 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว โดยมี สาเหตุหลักจากหนี้เงินกูลวงหนา เพื่อปรับโครงสรางหนี้ และหนี้ ตางประเทศที่เพิ่มขึ้น 23,779.0 และ 1,780.2 ลานบาทตามลําดับ ในขณะที่ เงินกูเพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณและ บริหารหนี้ลดลง 20,024 ลานบาท • หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 9,195.1 ลานบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แลว มีสาเหตุหลัก มาจาก บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไถถอนหุนกูที่ครบ กําหนด 4,040.0 ลานบาท และ ธนาคารอาคารสงเคราะหไถถอน พันธบัตรทีค่ รบกําหนด 4,000 ลานบาท ตามลําดับ

สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนีใ้ นประเทศ หนี้ตางประเทศ จํานวน (ลานบาท) 5,343,786.0 340,704.8 รอยละ (%) 94.0 6.0 สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุของเครื่องมือการกูเงิน) หนีร้ ะยะยาว 5,572,280.0 98.0

จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)

หนี้ระยะสั้น 112,210.8 2.0

สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุคงเหลือ) หนีร้ ะยะยาว 4,894,722.4 86.1

จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)

• หนีห้ นวยงานอืน่ ของรัฐ ลดลง 93.8 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว เนื่องจากสํานักงานธนานุเคราะห ชําระคืนตนเงินตามสัญญาเงินกู

- 30 -

หนี้ระยะสั้น 789,768.4 13.9


กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคลองกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเปาหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพดานการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบดวยตัวชี้วัดและเปาหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 • ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 • การจัดทํางบประมาณสมดุล • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายไมต่ํากวารอยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังไดจัดทําการวิเคราะหความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใชเปนแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะหระหวาง ปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งสรุปไดดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 45.3 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 50.3 ในปงบประมาณ 2562 • ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 9.9 ในปงบประมาณ 2562 • รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยไดลดการขาดดุล จํานวน 400,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2555 ลงเหลือ จํานวน 250,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2558 อยางไรก็ตาม เพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย ในระยะสัน้ รัฐบาล ยังมีความจําเปนตองดําเนินนโยบายขาดดุลจนกวาภาวะเศรษฐกิจจะกลับเขาสูภาวะปกติ และจะดําเนินการจัดทํางบประมาณสมดุลในชวงตอไป • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 20.4 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการลงทุนผานเงินนอกงบประมาณ (พ.ร.ก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพือ่ ลงทุนโครงสราง พื้นฐานฯ ในป 2558 - 2562) ซึง่ เมื่อรวมการลงทุนจากเงินนอกงบประมาณดังกลาว จะทําสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 26.0 ตองบประมาณรายจาย

- 31 -


ผลการวิเคราะหการดําเนินงานตามกรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ของปงบประมาณ 2558 หนวย: ลานบาท 2561 2562 49.5 50.3 16,023,596 16,985,011 7,933,175 8,542,908 9.4 9.9 307,788 278,940 89,451 93,654 189,489 214,134 -363,700 -346,700 2,618,000 2,775,100 2,981,700 3,121,800 22.2 22.3 662,769 696,117

2558 2559 2560 1. หนี้สาธารณะคงคาง /GDP (FY) (1.2/1.1) 45.3 46.7 48.2 1) 13,424,168 14,260,943 15,116,600 1.1 nominal GDP (FY) 1.2 หนี้สาธารณะคงคาง 6,076,089 6,662,836 7,283,702 2) 2. ภาระหนี/้ งบประมาณ ( 2.1/3.2) 7.1 7.4 8.7 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 183,271 201,032 248,958 2.1.1 ชําระตนเงินกู 55,700 61,992 85,434 2.1.2 ดอกเบี้ยและคาธรรมเนียม 127,571 139,040 163,524 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) -250,000 -390,000 -378,000 3.1 รายไดรัฐบาลสุทธิ3) 2,325,000 2,330,000 2,469,800 4) 3.2 งบประมาณรายจาย 2,575,000 2,720,000 2,847,800 4. รายจายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 17.5 20.0 20.0 4.1 รายจายลงทุน 449,476 543,636 569,542 ที่มา : 1) ขอสมมติฐานเศรษฐกิจป 2558 – 2562 จากสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สศค. 2) ขอมูลภาระหนี้ตองบประมาณป 2558 จากเอกสารงบประมาณรายจายประจําป 2558 และป 2559– 2562 จากสํานักงานบริหาร หนี้สาธารณะ (ณ วันที่ 26 พฤษภาคม 2558) 3) ประมาณการรายไดรฐั บาลสุทธิ ป 2558 ตามเอกสารงบประมาณ ป 2558 ป 2559 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 เรื่องวงเงินงบประมาณรายจายประจําป 2559 และป 2560 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 4) ขอมูลงบประมาณรายจายป 2558 จากเอกสารงบประมาณป 2558 ป 2559 จากรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ 2559 และป 2560 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 1)

- 32 -


การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

1/

ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 (ณ 31 มีนาคม 2558)

ผลการดําเนินงานในภาพรวม 1. ผลการดําเนินงานของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA การดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA มียอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 จํานวนทั้งสิ้น 915,037.16 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 0.68 จากไตรมาสที่ผานมา ขณะที่หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) ของโครงการ ที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 มีจํานวนทั้งสิ้น 8,184.08 ลานบาท คิดเปนสัดสวน หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 0.89 ลดลงจากไตรมาสที่ผานมา เนื่องจาก คณะรัฐมนตรีมีมติใหองคการสวนยาง ซึ่งเปนลูกหนี้ในโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2554/2555 ของ ธ.ก.ส. สามารถขยายเวลาชําระหนี้จากแตเดิมที่กําหนดใหชําระภายในเดือนธันวาคม 2557 เปนเดือนพฤษภาคม 2559 เปนจํานวน 21,942 ลานบาท ดังนั้น ธ.ก.ส. จึงไดจัดชั้นหนี้จากโครงการดังกลาวใหมโดยเปลี่ยนจาก NPL เปนสินเชื่อปกติ (แผนภาพที่ 1) แผนภาพที่ 1

ลานบาท

1,100,000 1,000,000 900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0

976,575.97 3.07

980,505.04 3.14

3.31 916,062.74

รอ ยละ 4

3.61 908,823.76

915,037.16

3 2

0.89 29,988.83 Q1/57

30,742.41 30,328.23 32,777.87 8,184.08

Q2/57 สินเชื่อคงคาง

Q3/57 NPLs

Q4/57 Q1/58 NPLs Ratio

1 0

2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA แมวาการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐจะสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจ แตขณะเดียวกันก็กอใหเกิดภาระ ทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากการดําเนินโครงการตางๆ ดังจะเห็นไดจากประมาณการ ความเสียหายของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล (โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA) ตั้งแต เริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 มีจํานวนทั้งสิ้น 107,846.88 ลานบาท และคงเหลือภาระ ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 25,106.54 ลานบาท ทั้งนี้ สัดสวนความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจากรัฐบาลตอประมาณการความเสียหายโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทั้งหมด คิดเปนรอยละ หมายเหตุ : 1/ การรายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังในที่นี้ พิจารณาเฉพาะโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (PSA) ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 6 แหง ไดแก ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) และธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) ยกเวนบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ที่เปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ ขณะที่ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย (บตท.) ไมมีการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑในการพิจารณาโครงการ PSA ของสํานักงานเศรษฐกิจ การคลัง กําหนดใหนับเฉพาะโครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลังวันที่ 4 สิงหาคม 2552 เปนตนไป

- 33 -


23.28 ลดลงจากไตรมาสที่ผานมา (แผนภาพที่ 2) ลานบาท

120,000

47.24

43.25

100,000

แผนภาพที่ 2

รอยละ

37.62

80,000

26.50

23.28

0

Q1/57

107,846.88 25,106.54

110,660.59 29,324.46

20,000

102,444.37 38,534.50

79,456.61 34,361.89

40,000

99,390.96 46,951.49

60,000

50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0

Q2/57 Q3/57 Q4/57 Q1/58 ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐ บาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐ บาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือต อความเสียหายทั้งหมด

ผลการดําเนินงานรายสถาบัน 1. ผลการดําเนินงานรายสถาบันของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงคางสูงที่สุดจํานวน 828,094.91 ลานบาท รองลงมา คือ ธนาคารออมสิน ที่มียอดสินเชื่อคงคางจํานวน 43,762.97 ลานบาท ขณะที่ NPLs ของ ธพว. มีมูลคาสูงที่สุด เทากับ 6,658.00 ลานบาท โดย NPLs สวนใหญของ ธพว. มาจากโครงการดังตอไปนี้ 1) โครงการสินเชื่อ SME Power เพื่อวันใหม (ระยะที่ 1) 2) โครงการสินเชื่อ SME Power เพื่อผูประสบอุทกภัย ป 2553 3) โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตภายใตสินเชื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต นอกจากนี้ หากพิจารณา NPLs Ratio พบวา ธอท. และ ธพว. มีสัดสวนคอนขางสูง เนื่องจากกลุมลูกคา จะเปนผูประกอบการรายยอย ที่มีความสามารถในการชําระหนี้ต่ํา ไมมีหลักประกัน และเปนผูประกอบการ ที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจหรือภัยธรรมชาติ รวมทั้งบางโครงการมีเงื่อนไขที่ไมตองตรวจเครดิตบูโรกอน การปลอยกู ซึ่งแตกตางจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการจายเงินแทนรัฐบาลและ การปลอยกูระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ทั้งนี้ หากสถาบันการเงินเฉพาะกิจดังกลาวมี NPLs Ratio สูง รัฐบาล อาจมีความเสี่ยงในการพิจารณาเพิ่มทุนตอไป (แผนภาพที่ 3) แผนภาพที่ 3

6,658.00 26,358.00

6,109.00

8,505.75

53.62

25.26

100 10 1

0.00 ออมสิน

0.02 ธ.ก.ส. NPLs

1,183.04 2,206.53

1,000

รอ ยละ

192.19

10,000

43,762.97

100,000

150.85

1,000,000

828,094.91

ลานบาท

60

40

20

2.26 ธอส.

0.00 ธสน.

สินเชื่อคงคาง

- 34 -

ธพว.

NPLs Ratio

ธอท.

0


2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA 2/ ประมาณการความเสียหายทีข่ อรับการชดเชยจากรัฐบาล ธ.ก.ส. มีมูลคาดังกลาวมากที่สุดจํานวน 80,991.52 ลานบาท ในขณะที่ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลพบวา ธนาคารออมสินมีมูลคา ดังกลาวมากที่สุดจํานวน 10,640.77 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมด ของ ธ.ก.ส. และ ธนาคารออมสิน อยูที่รอยละ 8.30 และ 66.91 ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิจารณา ธสน. ธอท. ธอส. และ ธพว. ซึ่งมีสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหาย ทั้งหมดอยูในระดับสูงเทากับรอยละ 86.37 79.20 80.34 และ 62.55 ตามลําดับแลว พบวา สัดสวนความเสียหาย คงเหลือของ ธสน. ดังกลาวไมสงผลกระทบตอการดําเนินงานตามปกติหรือสภาพคลอง เนื่องจาก ธสน. มีโครงการ ทีม่ ีการแยกบัญชี PSA เพียงโครงการเดียว และมีหลักเกณฑการปลอยสินเชื่อที่เขมงวด ดังนั้น คาดวาโครงการ ดังกลาวมีโอกาสเสียหายคอนขางนอยขณะที่ ธอท. และ ธพว. แมวามูลคาความเสียหายคงเหลือรอการชดเชย จากรัฐบาลคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ แตจากสัดสวนความเสียหายคงเหลือ ตอความเสียหายทั้งหมด และ ผลการดําเนินงานที่มีสัดสวน NPLs Ratio อยูในระดับสูง อาจสงผลใหรัฐบาล ตองรับภาระชดเชยความเสียหายเพิ่มขึ้น และสงผลกระทบตอการดําเนินงานและสภาพคลองของ ธอท. และ ธพว. ในที่สุด (แผนภาพที่ 4) สําหรับ บสย. แมวาจะเปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ แตการค้ําประกันดังกลาวสวนหนึ่ง เปนการค้ําประกันโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทําใหรัฐบาลมีภาระในการชดเชยความเสียหายเชนเดียวกับ สถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นๆ โดยประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาลของ บสย. มีจํานวน ทั้งสิ้น 16,881.24 ลานบาท ขณะที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยอีกจํานวน 13,634.69 ลานบาท

0

ออมสิน

8.30 ธ.ก.ส. ธอส. ธสน. ธพว. ธอท. ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทัง้ หมดแตละ SFI

2/

100 80 60

1,311.15 1,038.45

6,189.95 3,871.63

20,000

79.20

86.37

1,050.00 906.90

40,000

รอ ยละ

62.55

2400 1,928.14

60,000

66.91

80.34

80991.52 6,720.65

80,000

13,114.26 10,640.77

100,000

แผนภาพที่ 4

ลานบาท

40 20 0

การประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่ม - สิ้นสุดโครงการ มีรูปแบบการชดเชยตามขอตกลงซึ่งแตกตางกันตาม SFIs แตละแหง ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เปนการประมาณการความเสียหายตั้งแตเริ่มโครงการถึงวันที่ 31 มีนาคม 2558

- 35 -


การกระจายอํานาจทางการคลังใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น เงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัดและเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล 1. เงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) • การจัดตั้ง เงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัดเปนกองทุนเงินสะสมที่จัดตั้งขึ้นตามระเบียบกระทรวง มหาดไทยวาดวยเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2541 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวม เงินสะสมอันเปนเงินที่เหลือจายของ อบจ. (บางสวน) มารวมไวที่สวนกลาง แลวพิจารณาใหแตละ อบจ. กูยืมไปดําเนินกิจการอันเปนการลงทุนเพื่อใหบังเกิดผลโดยตรงหรือในกิจการอันจะอํานวยประโยชนแก ราษฎรอยางใกลชิด • องคประกอบของกองทุน 1. เงินสมทบจาก อบจ. ในอัตรารอยละ 10 ของเงินสะสมเหลือจายในแตละปหลังจากหักเปน ทุนสํารองเงินทุนสะสมในอัตรารอยละ 25 แลว 2. ดอกเบี้ยที่เกิดจากการใหกูยืมเงินสะสม 3. ดอกเบี้ยที่เกิดจากการนําเงินสะสมฝากธนาคาร 4. รายไดอื่น ๆ • การบริหารกองทุน 1. กําหนดใหมีคณะกรรมการควบคุมเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด (กสอ.) โดยมี ปลัดกระทรวงมหาดไทยเปนประธานกรรมการ และ กสอ. มีอํานาจหนาที่ดังนี้ 1.1 จัดหาทุน กูยืมเงิน กําหนดหลักเกณฑตางๆ เพื่อใชในการดําเนินกิจการเงินทุน และควบคุม การดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการจัดตั้งกองทุน 1.2 พิจารณาอนุมัติให อบจ. กูยืมเงินเพื่อดําเนินกิจการอันเปนการลงทุนหรือกิจการที่อํานวย ประโยชนแกราษฎร และระยะเวลาการผอนชําระหนี้เงินกูตองไมเกิน 15 ป 1.3 พิจารณาอนุมัติใหกองเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล สหกรณออมทรัพยขาราชการสวนจังหวัด จํากัด สหกรณออมทรัพยพนักงานเทศบาล จํากัด และสหกรณออมทรัพยขาราชการกรมการปกครอง จํากัด กูยืมเงินจากเงินรายไดหลังจากไดมีการกันเงินสํารองไวรอยละ 20 ของเงินรายไดสะสมแลว และกําหนดอัตรา ดอกเบี้ยเงินกูยืม และระยะเวลาการผอนชําระหนี้ 1.4 พิจารณาอนุมัติเงินรายไดเพื่อใชจายในกิจการ เชน 1) ใหกองเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล สหกรณออมทรัพยขาราชการสวนจังหวัด จํากัด สหกรณออมทรัพยพนักงานเทศบาล จํากัด และสหกรณ ออมทรัพยขาราชการกรมการปกครอง จํากัด กูยืมเงินสะสม 2) จายเปนดอกเบี้ยให อบจ. ที่นําสงเงินสะสม ในอัตราไมเกินรอยละ 5 ตอป 3) คาที่ดิน สิ่งกอสราง และอาคารเพื่อประโยชนสวนรวมของ อบจ. 4) คาใชจายและรางวัลในโครงการประกวดที่สงเสริมการปฏิบัติงานของ อบจ. 5) คาใชจายในการศึกษา ดูงาน สัมมนา แกผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับ อบจ. 6) จายเปนคาจาง คาตอบแทน และคาใชจายเกี่ยวกับกิจการของ เงินทุน 7) คาใชจายอื่นตามที่ กสอ. กําหนด เปนตน - 36 -


ทั้งนี้ การจายเงินตาม 4) 5) 6) และ 7) ใหจายไดไมเกินรอยละ 15 ของยอดเงินรายไดที่เหลือ ในปที่ผานมาหลังจากหักจายดอกเบี้ยใหแก อบจ. แลว 2. กําหนดใหมีคณะอนุกรรมการเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด (อสอ.) โดยมีอธิบดี กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นเปนประธานอนุกรรมการ โดย อสอ. มีอํานาจหนาที่ดังนี้ 2.1 รับ จาย และเก็บเงินทุนสะสมและเงินรายได 2.2 อนุมัติใหจายเงินทุนสะสมหรือเงินรายไดตามที่ กสอ. อนุมัติแลว 2.3 กําหนดระเบียบตางๆ เพื่อใชในการดําเนินกิจการเงินทุน 2.4 กําหนดแบบบัญชีเงินสะสมของ อบจ. โดยแยกเปนแตละจังหวัด ประเภทเงินรายได และควบคุมบัญชี เปนตน 3. หลักเกณฑและเงื่อนไขการให อบจ. กูยืมเงิน 3.1 ให อบจ. กูเงินไดเฉพาะเพื่อไปดําเนินกิจการอันเปนการลงทุน หรือกิจการอื่นของ อบจ. ตามอํานาจหนาที่ซึ่งกฎหมายระบุไว 3.2 การเสนอขออนุมัติกูเงินกองทุนสะสม ใหกระทําไดภายในวงเงินทุนสะสมของ อบจ. ผูขอกูเปนหลัก โดยคํานึงถึงฐานะการคลังของตนเองเปนสําคัญ และหาก อบจ. กูเงินเกินวงเงินทุนสะสม อบจ. ตองเสียดอกเบี้ยให กสอ. โดยกรณีกูยืมไปใชในกิจการที่มีลักษณะเปนการพาณิชย คิดดอกเบี้ยในอัตรา ไมเกินรอยละ 8 และกรณีกูยืมไปใชในกิจการสาธารณะที่ประชาชนไดรับประโยชนโดยตรง คิดดอกเบี้ย ในอัตราไมเกินรอยละ 6 3.3 อบจ. อาจขอกูเงินทุนสะสมได หากไมมีงบประมาณเพียงพอในการดําเนินโครงการที่พิจารณา แลวเห็นวาเปนผลดีแกทองถิ่นและสวนรวม หรือเปนกิจการที่ตองดําเนินการในหลายจังหวัด และหาก กสอ. เห็นชอบให อบจ. กูเงิน ในมติจะตองระบุวาเงินคาใชจายในกิจการที่คาบเกี่ยวกันหลายจังหวัด อบจ. ใดจะตอง ออกคาใชจายเทาไหร และเงินที่แตละ อบจ. ไดรับอนุมัติใหกู อบจ.จะตองตั้งงบประมาณชดเชยภายในกี่ป ปละเทาไหร โดยให อบจ. ตั้งงบประมาณรายจายจากเงินสะสมสวนที่เก็บรักษาไวเองและจากเงินกูที่ไดรับ อนุมัติ สวนจํานวนเงินกูผูกพัน อบจ. จะตองนํามาตั้งชดเชยไวในงบประมาณรายจายประจําปถัดไปตาม เงื่อนไขที่ กสอ. กําหนด • ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด สินทรัพยของเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามลําดับจากจํานวนรวม 5,769 ลานบาท ในป 2552 เพิ่มขึ้นเปนจํานวนรวม 7,049 ลานบาท ในป 2556 หรือเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยรอยละ 5.17 ตอป โดยสินทรัพยสวนใหญเปนเงินลงทุนชั่วคราว คือ เงินฝากธนาคารประจํา 12 เดือน และลูกหนี้ เงินใหกูยืมที่ยังไมถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป โดยฐานะการเงินของเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวน จังหวัด ณ สิ้นปงบประมาณ 2552 - 2556 สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 1 ฐานะการเงินของเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด ณ สิ้นปงบประมาณ 2552 - 2556

ฐานะการเงิน หนวย สินทรัพย หนี้สิน สวนของทุน

ป 2552 ป 2553 ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ 5,769 100 5,848 100 45 1 23 0.39 5,724 99 5,825 99.61

ป 2554 ลานบาท รอยละ 6,218 100 50 1 6,168 99

- 37 -

ป 2555 ลานบาท รอยละ 6,528 100 58 1 6,470 99

ป 2556 ลานบาท รอยละ 7,049 100 62 1 6,987 99


กราฟที่ 1 แสดงฐานะการเงินของเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด ลานบาท 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

5,769 5,724

5,848 5,825

6,528 6,470

6,218 6,168

7,049 6,987

สินทรัพย หนี้สิน สวนของทุน 45

23

50

58

62

ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555

ป 2556 ปบญ ั ชี

รายไดและคาใชจาย หนวย รายได คาใชจาย รายไดสูงกวาคาใชจาย

ตารางที่ 2 รายไดและคาใชจายของเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด ป 2552 ลานบาท รอยละ 130 100 104 80 26 20

ป 2553 ลานบาท รอยละ 89 100 88 99 1 1

ป 2554 ลานบาท รอยละ 109 100 101 93 8 7

ป 2555 ลานบาท รอยละ 176 100 119 68 57 32

ป 2556 ลานบาท รอยละ 196 100 134 68 62 32

กราฟที่ 2 แสดงรายไดและคาใชจายของเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด ลานบาท

250 200 150 100 50 0

130 104 26 ป 2552

89 88

109 101

1

8

ป 2553

ป 2554

176

196

119

134

57

62

ป 2555

รายได คาใชจาย รายไดสูงกวาคาใชจาย

ป 2556 ปบญ ั ชี

ที่มา : รายงานของผูส อบบัญชีและงบการเงินเงินทุนสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2552 ถึงสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2556

- 38 -


2. เงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล • การจัดตั้ง เงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาลเปนกองทุนเงินสะสมที่จัดตั้งขึ้นตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวย เงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล พ.ศ. 2552 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเทศบาลตางๆ กูเงินนําไปใชจายในกิจการ สาธารณูปโภคหรือกิจการอยางอื่นของเทศบาล • องคประกอบของกองทุน 1. เงินทุนตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล พ.ศ. 2518 และที่ แกไขเพิ่มเติม 2. เงินสมทบจากเทศบาลในอัตรารอยละ 10 ของเงินสะสมเหลือจายในแตละปหลังจากหักเปน ทุนสํารองเงินทุนสะสมในอัตรารอยละ 25 แลว 3. ดอกผลของเงินทุน 4. เงินอื่นๆ ที่มีผูอุทิศใหแกเงินทุน • การบริหารกองทุน 1. กําหนดใหมีคณะกรรมการเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล (ก.ส.ท.) โดยมีปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนประธานกรรมการ และ ก.ส.ท. มีอํานาจหนาที่ดังนี้ 1.1 กําหนดหลักเกณฑตางๆ เพื่อใชในการดําเนินกิจการ การบริหารเงินทุน และควบคุม การดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการจัดตั้งกองทุน 1.2 พิจารณาอนุมัติใหเทศบาลกูยืมเงิน เพื่อดําเนินกิจการอันเปนการลงทุนตามอํานาจหนาที่ ของเทศบาล 1.3 พิจารณาอนุมัติงบประมาณรายจายของสํานักงานเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล 1.4 ใหความเห็นชอบในการกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การคลัง การงบประมาณ การรักษาประโยชนทรัพยสิน การจัดหาพัสดุ การกอหนี้ผูกพัน การอนุมัติการจายเงินทุน เงินรายไดและอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล 2. กําหนดใหมีคณะอนุกรรมการเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล (อ.ส.ท.) โดยมีอธิบดีกรมสงเสริม การปกครองทองถิน่ เปนประธานอนุกรรมการ โดย อ.ส.ท. มีอํานาจหนาที่ดังนี้ 2.1 พิจารณากลั่นกรองโครงการขอกูเงินและเสนอความเห็นให ก.ส.ท. พิจารณา 2.2 พิจารณาและใหความเห็นเกี่ยวกับงบประมาณรายจายประจําปของสํานักงานเงินทุนสงเสริม กิจการเทศบาลเพื่อเสนอ ก.ส.ท. พิจารณาอนุมัติ 2.3 รายงานเรื่องตางๆ ที่ควรเสนอตอที่ประชุม ก.ส.ท. เพื่อพิจารณา 2.4 ดําเนินการอื่นใดตามที่ ก.ส.ท. มอบหมาย เปนตน ทั้งนี้ ใหประธาน อ.ส.ท. มีอํานาจในการดําเนินการเกี่ยวกับการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บ รักษาเงิน การงบประมาณ การพัสดุ และการบริหารงานบุคคลของสํานักงานเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล ตามหลักเกณฑที่ ก.ส.ท. กําหนด และใหสํานักงานเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล สังกัดสํานักบริหารการคลัง ทองถิ่น กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 3. หลักเกณฑและเงื่อนไขการจายเงินทุนใหจายไดเฉพาะกรณีดังนี้ 3.1 ใหเทศบาลกูไปดําเนินการตามอํานาจหนาที่โดยชําระเงินตนคืน พรอมดอกเบี้ยภายใน ระยะเวลาไมเกิน 15 ป โดยเทศบาลที่มีสิทธิกูเงินทุนได จะตองเปนเทศบาลที่ฝากเงินไวกับเงินทุน และจะกูได ไมเกิน 10 เทาของจํานวนเงินที่เทศบาลไดสงฝากไวกับเงินทุน ทั้งนี้ เปนไปตามฐานะการคลังของเทศบาลนั้น - 39 -


เวนแต ก.ส.ท. จะไดพิจารณาเห็นสมควรเปนอยางอื่น และ ก.ส.ท. คิดดอกเบี้ยจากเงินที่ใหเทศบาลกูในอัตรา ไมเกินรอยละ 7 ตอป 3.2 เพื่อใชในการลงทุนของสํานักงานเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล รวมแลวตองไมเกินรอยละ 50 ของรายไดสะสมทัง้ หมดของเงินทุน 3.3 เพื่อใชจายในการบริหารงานของสํานักงานเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล 3.4 จายดอกเบี้ยใหแกเทศบาลที่สงฝากเงินทุนในอัตราตามที่ ก.ส.ท. กําหนด แตตองไมเกินรอยละ 4 ตอป 4. การใหกูเงินทุน เพื่อเปนทุนหมุนเวียนและเพื่อเพิ่มทุนหมุนเวียนเกี่ยวกับกิจการสถานธนานุบาล โดยให ก.ส.ท. พิจารณาอนุมัติ การพิจารณาอนุมัติดังกลาวอาจทําเปนมติเวียนได 5. การจายเงินงบประมาณรายจายประจําปและการกอหนี้ผูกพันของสํานักงานเงินทุนสงเสริมกิจการ เทศบาล กําหนดเงื่อนไขในการจายเงิน ดังนี้ 5.1 จํานวนเงินที่จายครั้งหนึ่งไมเกิน 500,000 บาท เปนอํานาจของเลขานุการ อ.ส.ท. 5.2 จํานวนเงินที่จายครั้งหนึ่งเกิน 500,000 บาท แตไมเกิน 5,000,000 บาท เปนอํานาจของ อนุกรรมการ อ.ส.ท. ซึ่งประธาน อ.ส.ท. มอบหมาย 5.3 จํานวนเงินที่จายครั้งหนึ่งเกิน 5,000,000 บาท เปนอํานาจของประธาน อ.ส.ท. ทั้งนี้ การตั้งงบประมาณรายจายประจําปเพื่อใชจายดังกลาว ใหตั้งงบประมาณรายจายได ไมเกินรอยละ 20 ของเงินรายไดของปที่ผานมาแลวหลังหักจายเปนดอกเบี้ยเงินฝากใหแกเทศบาล • ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล สินทรัพยของเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาลมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามลําดับจากจํานวนรวม 12,897 ลานบาท ในป 2552 เพิ่มขึ้นเปนจํานวนรวม 17,740 ลานบาท ในป 2556 หรือเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยรอยละ 8.32 ตอป โดยสินทรัพยสวนใหญเปนเงินลงทุนชั่วคราว คือ เงินฝากธนาคารประจํา 12 เดือน และลูกหนี้ เงินใหกูยืมที่ยังไมถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป โดยฐานะการเงินของเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล ณ สิ้นปงบประมาณ 2552 - 2556 สรุปไดดังนี้ ฐานะการเงิน หนวย สินทรัพย หนี้สิน สวนของทุน

ตารางที่ 3 ฐานะการเงินของเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล

ป 2552 ป 2553 ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ 12,897 100 13,531 100 81 1 90 1 12,816 99 13,441 99

ป 2554 ลานบาท รอยละ 14,762 100 108 1 14,654 99

- 40 -

ป 2555 ลานบาท รอยละ 16,202 100 109 1 16,093 99

ป 2556 ลานบาท รอยละ 17,740 100 120 1 17,619 99


กราฟที่ 3 แสดงฐานะการเงินของเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล ลานบาท 20,000 15,000

14,762 12,897 12,816 13,531 13,441

14,654

16,202 16,093

17,740 17,619

สินทรัพย

10,000

หนี้สิน สวนของทุน

5,000 0

81

90

108

109

120

ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555

ป 2556

ปบญ ั ชี รายไดและคาใชจาย หนวย รายได คาใชจาย รายไดสูงกวาคาใชจาย

ตารางที่ 4 รายไดและคาใชจายของเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล

ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ 262 100 251 100 290 100 390 100 456 100 124 47 128 51 134 46 149 38 163 36 138 53 123 49 156 54 241 62 293 64

กราฟที่ 4 แสดงรายไดและคาใชจายของเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล ลานบาท 500 400

290

300

262

200

138

123

156

124

128

134

100 0

251

390

456

241

293

149

163

รายได คาใชจาย รายไดสูงกวาคาใชจาย

ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 ปบญ ั ชี

ที่มา : รายงานของผูส อบบัญชีและงบการเงินเงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2552 ถึงสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2556

- 41 -


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญวันที่ 28 กรกฎาคมและวันที่ 11 สิงหาคม 2558 28 กรกฎาคม 2558 1. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดําเนินมาตรการลดภาระคาครองชีพของประชาชนดานการเดินทางออกไป อีก 3 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2558 - 31 ตุลาคม 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหขยายระยะเวลาดําเนินมาตรการลดภาระคาครองชีพของประชาชน ดานการเดินทางออกไปอีก 3 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2558 - 31 ตุลาคม 2558 ตามทีก่ ระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ โดยใหสํานักงบประมาณ (สงป.) พิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อชดเชยคาใชจายจากการดําเนิน มาตรการลดภาระคาครองชีพของประชาชนดานการเดินทางตอไป ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. มาตรการลดคาใชจายเดินทางรถโดยสารประจําทางดําเนินการผานองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) โดยรัฐรับภาระคาใชจายการจัดรถโดยสารประจําทางธรรมดา จํานวน 800 คัน ตอวัน ใน 73 เสนทาง ใหบริการแกประชาชนโดยไมเสียคาใชจาย 2. มาตรการลดคาใชจายเดินทางโดยรถไฟชั้น 3 ดําเนินการผานการรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) โดยรัฐ รับภาระคาใชจายการจัดรถไฟชั้น 3 เชิงสังคม จํานวน 164 ขบวนตอวัน และรถไฟชั้น 3 ระยะทางไกลในขบวน เชิงพาณิชย จํานวน 8 ขบวนตอวัน ใหบริการแกประชาชนโดยไมเสียคาใชจาย 11 สิงหาคม 2558 2. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการกีฬา) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการกีฬา และรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และสงใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณา แลวดําเนินการตอไปได โดย กค. เสนอวาเนื่องจากสิทธิประโยชนทางภาษีสําหรับการบริจาคเพื่อ สนับสนุนการกีฬาตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 559) พ.ศ.2556 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 จึงเห็นควรใหมีการขยายระยะเวลาการใหสิทธิประโยชน ดังกลาวออกไปอีก 3 ป โดยไดมีการกําหนดใหการบริจาคสามารถหักเปนคาลดหยอนหรือรายจายได 2 เทาของ ที่จายจริง ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 สาระสําคัญของรางพระราชกฤษฎีกา 1. กําหนดใหบุคคลธรรมดาที่บริจาคเงินใหแกการกีฬาแหงประเทศไทย คณะกรรมการกีฬาจังหวัดที่จัดตั้ง ตามกฎหมายวาดวยการกีฬาแหงประเทศไทย สมาคมกีฬาจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นโดยไดรับอนุญาตจากการกีฬาแหง ประเทศไทย กรมพลศึกษา กองทุนพัฒนาการกีฬาแหงชาติที่จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ พ.ศ.2542 หรือสมาคมกีฬาแหงประเทศไทยที่ไดรับการรับรองโดยการกีฬาแหงประเทศไทย สามารถ หักเปนคาลดหยอน 2 เทาของจํานวนเงินที่จายจริง แตเมื่อรวมกับคาใชจายเพื่อสนับสนุนการศึกษาตามโครงการ ที่กระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบแลวตองไมเกินรอยละ 10 ของเงินไดพึงประเมินหลังจากหักคาใชจายและ คาลดหยอนอื่น ๆ แลว - 42 -


2. กําหนดใหบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่บริจาคเงินหรือทรัพยสินใหแกการกีฬาแหงประเทศไทย คณะกรรมการกีฬาจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยการกีฬาแหงประเทศไทย สมาคมกีฬาจังหวัดที่จัดตั้งขึ้น โดยไดรับอนุญาตจากการกีฬาแหงประเทศไทย กรมพลศึกษา กองทุนพัฒนาการกีฬาแหงชาติที่จัดตั้งขึ้นตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ พ.ศ.2542 หรือสมาคมกีฬาแหงประเทศไทยที่ไดรับการรับรองโดยการกีฬา แหงประเทศไทย สามารถหักเปนรายจายได 2 เทาของจํานวนเงินหรือทรัพยสินที่บริจาคแตเมื่อรวมกับรายจาย ที่จายไปเปนคาใชจายเพื่อสนับสนุนการศึกษาตามโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบ และรายจาย ในการจัดสรางและบํารุงรักษาสนามเด็กเลน สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของราชการ หรือเอกชนที่เปดใหใช เปนการทั่วไปโดยไมเก็บคาบริการใด ๆ แลว ตองไมเกินรอยละ 10 ของกําไรสุทธิกอนหักรายจายเพื่อการกุศล สาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชน และรายจายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) แหงประมวลรัษฎากร 3. ยกเวนภาษีเงินได ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมปใหแกบุคคลธรรมดาและบริษัท หรือหางหุนสวนนิติบุคคล สําหรับเงินไดที่ไดรับจากการโอนทรัพยสิน หรือการขายสินคา หรือสําหรับการกระทํา ตราสารอันเนื่องมาจากการบริจาคใหแกการกีฬาแหงประเทศไทย คณะกรรมการกีฬาจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นตาม กฎหมายวาดวยการกีฬาแหงประเทศไทย สมาคมกีฬาจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นโดยไดรับอนุญาตจากการกีฬาแหงประเทศ ไทย กรมพลศึกษา กองทุนพัฒนาการกีฬาแหงชาติที่จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ พ.ศ. 2542 หรือสมาคมกีฬาแหงประเทศไทยที่ไดรับการรับรองโดยการกีฬาแหงประเทศไทย โดยผูโอนจะตอง ไมนําตนทุนของทรัพยสินหรือสินคาซึ่งไดรับยกเวนภาษีดังกลาวมาหักเปนคาใชจายในการคํานวณภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดาหรือภาษีเงินไดนิติบุคคล 4. การที่บุคคลธรรมดา บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล จะไดรับสิทธิประโยชนดังกลาวจะตองเปนไป ตามเงื่อนไขคือ เปนการสนับสนุนเงินหรือทรัพยสินเพื่อนําไปใชในการจัดหาอุปกรณกีฬา การฝกซอมหรือการ แขงขัน การจัดสรางและพัฒนาสนามกีฬาหรือศูนยฝกกีฬาแหงชาติ การสงเสริมสนับสนุนการจัดการแขงขันกีฬา หรือการพัฒนานักกีฬาและบุคลากรดานกีฬา 5. การใหสิทธิประโยชนทางภาษีดังกลาวจะมีผลบังคับใชสําหรับการบริจาคที่เกิดขึ้นตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 3. เรื่อง รางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึก 100 ป กรมสรรพากร พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึก 100 ป กรมสรรพากร พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ และสงใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา กอนสงใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังลงนาม และประกาศในราชกิจจานุเบกษาใชบังคับเปนกฎหมายตอไป สาระสําคัญของเรื่อง 1. การจัดทําเหรียญกษาปณที่ระลึก 100 ป กรมสรรพากร ในวันที่ 2 กันยายน 2558 มีวตั ถุประสงค เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติและนอมรําลึกพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเผยแพรภารกิจของกรมสรรพากร ใหเปนที่รูจักของประชาชนทั่วไป 2. กระทรวงการคลังไดขอพระราชทานพระบรมราชนุญาตจัดทําเหรียญกษาปณที่ระลึกเนื่องใน โอกาสดังกลาว ตามแบบที่ทูลเกลาฯ ถวาย ซึ่งไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตแลว

- 43 -


4. เรื่อง ขยายพื้นที่เปาหมายและวงเงินในการดําเนินโครงการประกันภัยขาวนาป ปการผลิต 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่ กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบการขยายพื้นที่เปาหมายเพิ่มเติม จํานวน 500,000 ไร และวงเงินงบประมาณจํานวน 154,842,030 บาท ในการดําเนินโครงการ ซึ่งเปนการดําเนินงานตอเนื่องจากโครงการฯ ปการผลิต 2558 ที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติไว เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2558 เพื่อใหธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของไปดําเนินโครงการใหเกิดความตอเนื่องและสามารถตอบสนองความตองการ ของเกษตรกรในเรื่องการทําประกันภัย 2. ให ธ.ก.ส. ทดรองจายเงินอุดหนุนคาเบี้ยประกันภัยแทนรัฐบาลในสวนของงบประมาณเพิ่มเติม จํานวน 154,842,030 บาท และเบิกเงินชดเชยตามจํานวนที่จายจริงพรอมดวยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําป 6 เดือน ประเภทบุคคลธรรมดาของ 4 ธนาคารพาณิชยขนาดใหญ (FDR) + 1% ในปงบประมาณถัดไป 3. มอบหมายใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) โดยกรมสงเสริมการเกษตร ประสานงานกับสมาคม ประกันวินาศภัยไทย ธ.ก.ส. และกระทรวงมหาดไทย (มท.) โดยกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ดําเนินการ เชื่อมโยงขอมูลเอกสารทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) แบบประมวลรวบรวมความเสียหายและการชวยเหลือเกษตรกร ผูประสบภัย (แบบ กษ 02) และแบบรายงานขอมูลความเสียหายจริงของเกษตรกรผูเอาประกันภัยขาวเพื่อรับคา สินไหมทดแทน (แบบ กษ 02 เพื่อการรับประกันภัย) เพื่อมิใหเกิดปญหาความลาชาเวลาจายคาสินไหมทดแทน สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงานวา สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ธ.ก.ส. และสํานักงานคณะกรรมการกํากับและ สงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สํานักงาน คปภ.) ไดหารือรวมกับ กษ. และสมาคมประกันวินาศภัยไทย เพื่อขยายพื้นที่เปาหมายและวงเงินในการดําเนินโครงการฯ ปการผลิต 2558 โดยเห็นควรดําเนินการรับประกันภัย ตอเนื่องจากโครงการฯ ในปการผลิต 2558 ทั้งนี้ โครงการฯ ปการผลิต 2558 สวนเพิม่ เติมยังคงหลักการ แนวทางการรับประกันภัยและรายละเอียดการรับประกันภัยเชนเดียวกับรูปแบบที่ไดดาํ เนินโครงการฯ ปการผลิต 2558 ขอเสนอในการขอขยายพื้นที่เปาหมายและวงเงินในการดําเนินโครงการฯ ปการผลิต 2558 มีดังนี้ 1. คณะรัฐมนตรีไดกําหนดจํานวนพื้นที่เปาหมายการเอาประกันภัยทั่วประเทศในปการผลิต 2558 จํานวน 1.5 ลานไร และกําหนดพื้นที่เขารวมโครงการรับประกันภัยในแตละระดับความเสี่ยง เพื่อใหมีการกระจายตัวของ ความเสี่ยงตามหลักการประกันภัย โดยหากผลการดําเนินโครงการมีพื้นที่เขารวมโครงการมากกวาจํานวน 1.5 ลานไร ตามที่กําหนดไวให กค. นําเรื่องเสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติการขยายพื้นที่เปาหมายและวงเงิน ในการดําเนินโครงการอีกครั้งหนึ่ง 2. กค. โดย สศค. ไดหารือรวมกับ ธ.ก.ส. กรมสงเสริมการเกษตรสํานักงาน คปภ. และสมาคมประกัน วินาศภัยไทย เห็นวา ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 มีจํานวนพื้นที่เขารวมโครงการถึงจํานวน 1.47 ลานไร และ จํานวนพื้นที่ที่สามารถเขารวมโครงการไดเหลือเพียงประมาณ 30,000 ไร เมื่อพิจารณาความตองการของเกษตรกร ที่จะเขารวมโครงการเปนรายจังหวัดแลว จึงเห็นควรขยายพื้นที่เปาหมายการเอาประกันภัยทั่วประเทศในปการ ผลิต 2558 อีกจํานวน 500,0000 ไร ทั้งนี้ ยังคงหลักการและแนวทางการรับประกันภัยรวมทั้งรายละเอียดการรับ ประกันภัยสําหรับการรับประกันภัย ในสวนเพิ่มเติมดังกลาวเชนเดียวกับการดําเนินโครงการฯ ปการผลิต 2558 โดย ธ.ก.ส. สามารถปรับสัดสวนการรับประกันภัยในแตละพื้นที่ความเสี่ยงไดตามความเหมาะสมในหลักการ ประกันภัย ภายใตกรอบวงเงินงบประมาณดังกลาว

- 44 -


สถิติดานการคลัง


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป หนวย: ลานบาท

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีหินออนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต ภาษีไมขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีอื่นๆ 2. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

525,367 N/A N/A N/A N/A

41,432 38,354 3,078 10,348 556,328 3,263,439 17.0 N/A N/A

48,723 45,330 3,393 6,262 652,561 3,689,090 17.7 3,572,116 18.3

52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 4,217,609 17.9 4,107,453 18.4

37,813 34,148 3,665 7,473 850,004 4,638,605 18.3 4,533,732 18.7

58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 4,710,299 17.9 4,695,277 18.0

74,660 63,858 10,802 7,559 733,463 4,701,559 15.6 4,710,587 15.6

261,043 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,030 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 696 294 7 38 1 2 621 19 8 86,246 85,082 11 1,153 449,319 76,048 42,896 33,152 525,367

300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,791 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 74 157 10 56 2 6 105,909 104,651 11 1,247 532,505 75,603 36,701 38,902 608,108

366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546

444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143

508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 154 119 10 75 2 55 12 129,542 128,212 6 1,324 805,534 89,756 40,650 49,106 895,290

518,619 115,137 162,655 5,322 264 195,813 34,286 4,734 408 180,168 63,983 29,816 22,763 21,383 32,295 7,519 1,765 129 168 205 142 11 91 7 17 59 19 1 104,160 102,704 8 1,448 802,947 106,102 38,102 68,000 909,049

498,967 122,945 99,480 5,316 342 232,388 35,241 2,992 263 155,564 65,373 28,560 20,257 23,191 8,557 7,023 1,003 538 442 481 139 126 163 103 11 19 56 3 69,338 67,108 17 2,213 723,869 91,813 42,518 49,295 815,682


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป หนวย: ลานบาท

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รายไดจากการขายหุนใหกองทุนวายุภักษ แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2542

2543

2544

2545

544,282 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 557 212 45 268 126 15 23 60 5 15 98,628 96,326 163 2,139 851,063 108,375 46,965 2,483 1,065 57,862 959,438

627,683 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,644 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 814 239 68 299 145 22 26 65 19 54 38 78 111,819 110,054 216 1,549 986,146 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,631

772,236 135,155 261,890 31,935 316,134 20,024 6,820 278 275,774 76,996 36,325 26,181 42,749 65,012 9,350 2,859 1,641 763 12,625 993 280 97 332 167 34 23 44 5 48 82 161 106,122 103,635 267 2,220 1,154,132 135,748 49,086 2,976 25,075 6,000 52,611 1,289,880

937,150 147,352 329,516 41,178 385,718 26,304 6,816 266 279,395 76,458 38,193 28,620 45,483 58,760 10,106 3,712 1,849 762 13,935 1,119 398 86 372 179 40 38 74 53 92 185 110,404 106,917 285 3,202 1,326,949 147,472 60,664 3,210 1,484 82,114 1,474,421

75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,113 709,113 4,789,821 14.8 4,739,558 15.0

57,037 47,358 9,679 3,198 7,278 750,084 750,084 5,069,823 14.8 4,989,221 15.0

77,921 65,682 12,239 3,732 7,698 785,414 785,414 5,345,013 14.7 5,304,426 14.8

79,902 65,769 14,133 4,109 8,234 867,193 16,525 850,668 5,769,578 14.7 5,628,548 15.1

80,149 69,261 10,888 5,042 10,501 1,008,939 40,604 968,335 6,317,302 15.3 6,168,364 15.7

115,574 96,947 18,627 6,368 11,226 1,156,712 47,726 1,108,986 6,954,271 15.9 6,757,787 16.4

131,219 109,625 21,594 7,451 12,421 1,323,330 58,400 1,264,930 7,614,409 16.6 7,454,607 17.0

452,318 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,893 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,094 66,994 36 1,064 684,305 109,043 52,679 56,364 793,348

461,321 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,824 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 581 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,340 100,257 56,182 44,075 817,597

499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,599 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 524 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,148 104,617 45,482 59,135 874,765

2546

2547

2548


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป หนวย: ลานบาท

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

1,057,199 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,097 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,170 367 87 425 185 56 39 52 26 104 196 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,995 73,500 3,330 77,165 1,581,523

1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,232 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46 16 111 202 90,626 88,169 345 2,112 1,497,052 206,725 80,593 3,052 36,951 86,129 1,703,777

1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,301 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,194 309 84 490 167 63 44 37 6 111 192 99,602 96,944 501 2,157 1,653,983 183,658 77,546 4,682 101,430 1,837,641

1,138,564 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,222 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 73 428 183 43 31 42 7 91 164 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,298

1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,860 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,037 400 64 452 190 39 27 26 3 95 141 97,148 93,512 169 3,467 1,767,592 235,452 140,031 3,868 91,553 2,003,044

1,515,666 236,339 574,059 81,444 577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197 1,088 424 62 494 201 22 24 29 113 143 102,882 99,968 241 2,673 2,018,327 206,051 102,687 4,569 98,795 2,224,378

1,617,294 266,203 544,591 94,097 659,804 41,057 11,180 362 379,653 61,061 59,915 53,500 64,893 117,145 16,208 977 2,318 2,126 1,099 411 57 476 221 23 40 35 2 104 140 118,974 116,325 323 2,326 2,115,921 239,391 112,268 4,374 122,749 2,355,312

162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,001 57,312 1,339,689 8,400,655 15.9 8,252,527 16.2

181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,054 57,592 1,444,462 9,076,307 15.9 8,846,471 16.3

202,717 173,994 28,723 11,625 12,044 1,611,255 65,420 1,545,835 9,706,932 15.9 9,752,663 15.9

199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,654,016 14.6 9,443,365 14.9

208,733 160,052 48,681 11,096 13,005 1,770,210 65,736 1,704,474 10,802,402 15.8 10,614,376 16.1

230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,874 74,556 1,892,318 11,300,485 16.7 11,366,038 16.6

260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,843 88,965 1,975,878 12,354,656 16.0 11,775,760 16.8


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2556 1,764,707 299,034 592,499 113,291 698,087 48,771 12,735 290 432,897 63,532 67,893 52,640 69,119 153,874 17,838 1,003 2,933 2,294 1,208 563 58 566 236 32 39 27 107 143 113,393 110,628 254 2,511 2,310,997 260,464 152,568 6,448 101,448 2,571,461 315,893 283,471 228,941 54,530 N/A 15,476 16,946 2,255,568 93,967 2,161,601 12,910,038 16.7 12,867,249 16.8

2557 1,729,819 280,945 570,118 102,165 711,556 53,034 11,663 338 382,731 63,403 61,001 64,654 76,559 93,473 16,622 519 2,585 2,074 1,157 684 55 552 224 27 35 21 107 136 117,740 114,647 269 2,824 2,230,290 272,645 130,527 5,427 136,691 2,502,935 331,234 291,007 226,086 64,921 8,610 15,439 16,178 2,171,701 97,041 2,074,660 13,148,601 15.8 13,074,771 15.9

2558 (10 เดือน)

1,361,526 259,534 373,974 79,549 591,561 45,242 11,345 321 367,117 103,637 52,851 53,367 68,057 67,807 14,920 405 2,466 1,807 1,117 683 101 500 224 20 30 17 108 116 95,252 92,991 191 2,070 1,823,895 266,621 143,423 5,125 118,073 2,090,516 262,041 227,624 182,665 44,959 9,125 12,015 13,277 1,828,475 56,720 1,771,755 13,470,700 13.2 N/A N/A

หมายเหตุ: 1. ขอมูล GDP ป 2536 - 2558 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2558 2. ผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแตปงบประมาณ 2557 เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.54 พ.ย.54 88,824 98,404 18,411 15,450 19,135 33,027 17 640 47,791 45,714 2,745 2,837 707 719 17 16 26,802 25,632 4,804 4,701 3,206 7,150 4,117 3,264 5,013 4,940 8,202 3,544 923 1,705 49 31 205 69 163 121 64 87 31 43 5 3 31 23 20 14 2 2 4 2 3 1 0.01 9 9 12 11 7,752 9,190 7,599 9,012 63 23 90 154 123,377 133,225 25,002 25,764 4,221 13,571 82 426 20,700 11,767 148,380 158,989

ธ.ค.54 91,520 18,155 16,639 54 52,020 3,706 914 31 30,755 4,923 6,214 5,941 6,488 5,271 1,520 57 47 142 75 79 1 36 13 1 2 2 8 11 10,291 10,061 27 204 132,566 11,789 8,793 160 2,836 144,355

ม.ค.55 ก.พ.55 99,215 113,459 27,377 21,977 16,475 25,910 14 7,648 51,665 53,808 2,816 3,198 766 896 102 21 27,908 30,531 5,514 5,245 4,313 4,761 4,715 4,631 5,573 5,802 6,123 8,370 1,162 1,142 64 72 147 200 150 170 96 108 53 31 5 5 43 58 18 17 3 2 2 1 3 2 2 9 9 12 12 9,760 9,709 9,549 9,531 3 22 208 156 136,883 153,698 15,325 19,149 6,459 14,736 1,580 620 7,286 3,793 152,208 172,847

ปงบประมาณ 2555 มี.ค.55 เม.ย.55 พ.ค.55 110,475 105,826 277,714 32,109 26,879 22,403 17,071 17,734 121,712 935 664 72,530 55,599 56,659 56,276 3,788 3,009 3,605 948 857 1,160 26 24 27 37,620 32,213 31,324 5,151 4,897 5,128 6,195 5,363 4,043 5,812 4,411 3,629 6,796 5,449 5,190 11,460 9,908 11,198 1,569 1,540 1,543 92 77 94 216 243 197 194 198 186 107 103 90 27 22 26 5 5 7 54 48 36 19 21 20 2 2 2 3 4 2 2 3 4 9 9 9 12 12 11 11,195 10,317 11,314 10,874 10,128 11,077 66 24 28 255 165 209 159,291 148,355 320,351 15,981 25,262 20,106 5,012 4,195 15,338 270 654 120 10,699 20,413 4,648 175,272 173,617 340,457

13,553 12,270 1,283 1,040 826 132,961 132,961

15,409 14,104 1,304 1,198 1,084 126,665 126,665

15,490 14,114 1,377 1,074 1,011 134,632 134,632

26,956 18,040 8,916 1,303 1,198 145,815 5,845 139,969

18,234 16,564 1,669 1,012 908 138,836 138,836

25,190 20,412 4,778 1,249 1,017 145,391 7,155 138,236

23,409 15,946 7,463 1,265 995 147,948 7,615 140,333

24,039 18,291 5,748 1,256 1,348 313,814 7,541 306,273

มิ.ย.55 152,927 23,009 66,689 748 57,025 4,268 1,162 27 32,068 4,997 4,026 3,852 4,658 12,453 1,391 121 249 203 89 28 5 38 17 1 5 3 8 12 9,829 9,699 3 127 194,824 12,661 8,811 141 3,709 207,485

ก.ค.55 100,699 20,857 18,874 0 56,349 3,562 1,030 26 34,015 5,327 5,070 4,325 5,218 12,219 1,195 110 243 196 87 26 5 35 18 2 3 3 0.001 8 12 9,960 9,908 32 20 144,674 13,444 4,724 99 8,621 158,118

ส.ค.55 207,576 19,304 114,643 10,833 58,229 3,567 977 24 36,790 5,338 5,562 4,756 4,787 14,307 1,334 111 259 219 94 23 5 36 20 2 7 3 0.01 1 8 12 10,496 9,865 29 601 254,862 20,403 16,890 107 3,407 275,265

ก.ย.55 170,656 20,272 76,681 12 68,669 3,957 1,043 22 33,995 5,036 4,012 4,048 4,981 14,089 1,183 100 242 186 98 22 5 38 24 2 4 5 8 12 9,162 9,023 2 136 213,813 34,505 9,520 116 24,869 248,317

22,729 18,257 4,472 1,339 2,538 180,879 6,661 174,218

21,318 19,324 1,994 1,281 1,071 134,448 7,534 126,914

23,803 21,035 2,768 1,273 1,259 248,930 8,170 240,760

30,245 27,654 2,590 1,524 2,026 214,524 38,445 176,079


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

ปงบประมาณ 2556 ต.ค.55 พ.ย.55 ธ.ค.55 ม.ค.56 ก.พ.56 มี.ค.56 เม.ย.56 พ.ค.56 มิ.ย.56 ก.ค.56 ส.ค.56 ก.ย.56 106,740 122,454 117,663 124,080 115,473 116,606 118,463 291,871 164,929 104,928 181,778 199,722 21,133 19,553 19,113 33,461 23,673 35,874 30,789 25,245 24,816 22,656 20,926 21,795 21,836 35,395 33,800 22,467 20,506 18,220 23,147 114,243 78,109 20,989 88,631 115,157 0.7 600 1,538 1,435 9,676 9 228 90,970 0.1 0.6 7,059 1,774 58,962 61,600 57,487 62,107 56,913 57,134 59,568 56,123 56,374 56,117 59,840 55,862 3,732 4,218 4,720 3,508 3,662 4,240 3,661 4,150 4,553 4,059 4,228 4,040 1,053 1,068 987 1,082 1,024 1,103 1,040 1,113 1,048 1,080 1,070 1,067 24 20 19 19 19 26 29 28 29 27 24 27 37,241 41,689 40,140 37,983 36,007 38,110 37,844 33,387 34,048 31,761 32,885 31,803 4,945 5,121 5,485 5,856 4,882 5,211 5,501 5,501 5,028 5,562 5,191 5,249 4,684 6,041 5,072 5,753 6,392 5,640 5,153 5,288 5,218 5,412 5,645 7,594 4,031 4,987 3,992 5,392 4,568 4,637 4,730 4,221 3,932 4,137 5,130 2,885 6,449 7,271 6,780 5,503 5,326 6,816 6,093 5,812 4,752 4,386 4,525 5,406 15,162 15,992 16,540 13,204 12,700 13,284 13,785 10,326 12,996 10,531 10,636 8,716 1,325 1,607 1,554 1,568 1,424 1,816 1,854 1,611 1,446 1,126 1,133 1,375 95 90 90 93 101 96 86 84 72 62 65 68 225 214 213 241 243 258 295 241 285 248 258 213 183 208 203 161 200 192 212 187 199 180 189 182 95 95 107 115 123 113 108 91 95 87 88 92 49 64 104 96 48 46 29 25 25 28 26 23 6 5 5 5 4 4 7 5 4 4 4 5 36 38 50 60 69 62 53 39 43 39 37 38 26 23 21 17 20 20 18 19 18 16 19 19 2 2 4 3 2 2 2 2 3 2 4 3 2 3 3 4 3 2 4 4 3 3 2 4 3 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 8 9 10 11 10 9 9 9 8 8 8 9 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 10,859 10,679 9,533 9,895 8,595 9,107 8,948 8,637 8,714 9,688 9,677 9,060 10,535 10,484 9,378 9,814 8,338 8,897 8,804 8,453 8,523 9,357 9,211 8,833 20 20 20 3 22 16 3 39 37 23 24 27 303 175 136 78 235 194 140 146 155 307 442 200 154,839 174,822 167,337 171,958 160,076 163,823 165,255 333,895 207,691 146,376 224,340 240,586 18,996 25,777 40,320 14,959 25,311 21,657 26,924 29,152 10,250 16,352 21,255 9,511 4,919 19,738 35,810 5,620 19,461 6,376 4,399 18,486 7,548 5,961 17,968 6,283 831 970 1,629 240 420 246 662 107 121 110 116 996 13,247 5,068 2,881 9,099 5,431 15,034 21,863 10,559 2,582 10,281 3,171 2,232 173,835 200,599 207,657 186,917 185,387 185,479 192,179 363,048 217,942 162,728 245,594 250,097 24,357 22,251 2,106 1,332 1,180 146,966 146,966

23,516 21,618 1,898 1,313 1,234 174,537 174,537

18,129 16,983 1,146 1,293 1,247 186,988 186,988

20,759 17,687 3,072 1,371 1,308 163,480 163,480

27,095 20,696 6,399 1,234 991 156,067 156,067

32,750 21,995 10,754 1,326 1,276 150,128 150,128

27,958 17,264 10,694 1,378 1,283 161,560 32,385 129,175

23,731 17,428 6,303 1,177 1,287 336,853 7,249 329,603

23,943 19,338 4,604 1,277 2,635 190,087 7,022 183,065

21,305 18,900 2,405 1,241 1,069 139,113 8,499 130,614

19,452 17,104 2,348 1,310 1,284 223,548 7,745 215,803

20,478 17,677 2,801 1,224 2,152 226,243 31,067 195,177


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.56 พ.ย.56 112,332 118,159 22,094 20,613 23,685 33,865 0.1 1,154 61,045 57,073 4,396 4,460 1,085 971 26 23 36,625 34,994 5,204 5,014 5,837 3,452 7,069 7,830 7,552 8,070 9,153 8,592 1,164 1,523 74 50 219 179 190 135 96 81 68 67 6 2 36 36 14 23 3 4 2 5 2 2 8 10 12 12 10,400 9,983 10,257 9,843 2 2 141 138 159,357 163,136 44,051 26,180 7,168 18,411 250 260 36,633 7,509 203,407 189,316

ธ.ค.56 ม.ค.57 ก.พ.57 126,301 120,637 115,871 19,217 27,634 23,865 39,155 23,265 21,856 1,950 0.05 8,850 59,889 64,671 56,265 5,128 4,103 4,124 941 942 889 21 22 22 32,666 33,324 31,364 4,934 5,671 5,312 4,886 4,810 5,382 4,170 6,144 4,729 7,156 6,056 6,208 9,682 8,713 7,922 1,277 1,220 1,213 39 35 40 179 251 214 133 210 170 94 114 118 117 100 55 2 3 4 50 59 67 13 20 18 2 2 3 2 6 3 2 2 2 10 11 9 12 12 11 9,788 10,162 8,695 9,614 9,908 8,610 23 26 25 151 228 61 168,755 164,122 155,930 15,356 21,106 26,810 10,206 6,192 18,289 1,953 306 720 3,196 14,609 7,802 184,111 185,228 182,740

ปงบประมาณ 2557 มี.ค.57 เม.ย.57 พ.ค.57 มิ.ย.57 ก.ค.57 ส.ค.57 ก.ย.57 112,535 111,183 252,501 180,339 110,035 175,683 194,245 30,194 26,610 24,557 23,623 21,450 20,050 21,038 19,599 19,551 99,442 78,322 21,953 82,924 106,500 0.1 0.1 64,478 15,420 1,574 7,088 1,649 57,252 60,060 58,779 57,491 59,482 60,499 59,049 4,477 3,993 4,281 4,482 4,553 4,173 4,864 981 938 932 964 989 918 1,113 32 31 31 36 33 30 32 36,125 33,339 30,134 28,003 27,768 28,026 30,363 5,208 5,124 5,140 4,757 5,560 5,380 6,099 5,641 5,844 5,397 5,436 4,420 4,653 5,244 5,751 4,964 5,181 4,510 4,318 4,944 5,045 4,954 5,333 8,795 6,717 5,485 5,140 5,093 8,425 8,406 6,866 6,250 6,542 6,213 6,709 1,728 1,676 1,524 1,395 1,236 1,319 1,348 41 22 36 31 45 48 58 211 264 203 223 228 211 203 161 177 170 157 207 178 187 107 102 89 81 83 94 99 57 42 45 24 39 32 39 4 4 4 2 4 9 11 59 52 40 41 35 38 39 19 21 22 15 18 20 22 2 2 2 2 2 3 2 4 3 1 2 3 3 2 1 2 2 2 2 2 8 9 9 7 7 9 10 11 11 11 10 11 12 12 9,796 9,028 9,449 9,533 10,526 9,583 10,797 9,450 8,878 9,323 9,344 9,800 9,367 10,252 28 24 24 24 23 23 47 318 127 102 166 703 193 498 158,456 153,550 292,084 217,875 148,329 213,291 235,404 17,887 25,410 32,731 13,384 15,471 22,164 12,094 5,419 6,623 17,172 9,024 6,147 18,672 7,204 285 667 317 197 144 156 172 12,183 18,120 15,242 4,163 9,180 3,336 4,718 176,343 178,960 324,815 231,259 163,799 235,456 247,499

21,481 18,150 3,331 853 1,341 1,161 178,571 178,571

21,795 19,695 2,100 1,099 1,391 1,385 158,441 158,441

32,989 19,914 13,075 847 1,229 1,205 140,072 8,036 132,037

19,669 18,085 1,584 1,015 1,208 973 166,451 166,451

17,382 15,344 2,038 553 1,370 1,197 164,726 8,591 156,134

22,987 16,045 6,942 711 1,243 956 156,843 7,799 149,044

29,647 18,646 11,001 607 1,302 1,123 146,281 9,889 136,392

34,977 25,139 9,838 569 1,271 1,255 286,742 8,062 278,680

25,713 19,044 6,669 901 1,239 2,559 200,848 7,456 193,392

23,081 20,038 3,043 522 1,256 1,101 137,838 8,285 129,553

20,937 19,055 1,883 422 1,308 1,064 211,724 6,668 205,056

20,348 16,932 3,416 511 1,280 2,199 223,161 32,254 190,907


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.57 111,838 21,261 23,367 16 61,214 4,717 1,231 30 33,935 5,852 7,272 5,099 6,721 6,755 1,596 50 233 183 105 68 9 43 24 2 5 2 9 12 10,303 10,084 22 198 156,076 45,740 8,614 162 36,963 201,815

พ.ย.57 119,197 20,861 34,179 669 58,010 4,345 1,108 26 32,589 5,130 5,570 5,803 7,040 6,931 1,451 48 244 195 99 78 8 39 22 2 4 2 10 12 9,728 9,562 19 146 161,514 24,559 19,006 352 5,200 186,073

ธ.ค.57 118,500 19,641 32,464 562 58,932 5,441 1,432 28 35,690 7,554 5,644 5,062 7,707 7,264 1,711 38 261 193 111 146 9 50 23 2 3 2 11 12 10,295 10,104 21 170 164,485 31,386 25,007 1,787 4,592 195,872

ม.ค.58 126,302 34,931 22,945 13 62,977 4,352 1,058 26 39,967 11,237 5,211 7,337 6,427 7,908 1,178 41 230 174 124 100 9 60 21 3 4 2 13 12 9,692 9,533 17 142 175,962 13,967 7,013 275 6,680 189,929

24,427 21,501 2,927 1,300 1,246 1,139 173,704 173,704

21,215 19,602 1,613 1,104 1,171 950 161,632 161,632

20,490 18,657 1,833 783 1,225 1,261 172,113 172,113

18,203 15,999 2,204 691 1,178 1,254 168,603 7,989 160,614

หมายเหตุ: ผลจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแต เดือนตุลาคม 2556 เปนตนไป เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ปงบประมาณ 2558 ก.พ.58 มี.ค.58 111,216 123,389 23,756 35,621 21,419 20,887 6,465 0.2 54,723 61,036 3,823 4,663 999 1,146 31 36 37,961 43,478 10,376 12,489 5,902 6,227 6,749 6,725 7,149 9,285 5,878 6,279 1,253 1,790 38 38 234 270 189 203 139 122 54 51 9 9 74 63 24 24 2 2 3 1 2 2 13 11 12 11 9,203 9,764 8,852 9,261 37 20 314 484 158,381 176,631 22,949 23,034 15,792 15,280 734 304 6,423 7,450 181,330 199,665 21,116 16,687 4,429 700 1,069 1,105 157,340 7,704 149,635

28,127 18,272 9,856 956 1,429 1,381 167,771 8,087 159,685

เม.ย.58 117,810 29,638 21,803 8 60,816 4,412 1,095 37 39,682 13,812 3,211 4,605 7,214 8,360 1,817 34 275 194 116 44 13 53 20 2 5 2 11 12 9,526 9,325 17 184 167,017 40,345 6,608 281 33,457 207,363

พ.ค.58 193,790 24,973 76,052 31,206 56,539 3,952 1,033 35 32,011 12,338 3,877 3,159 4,681 5,965 1,419 37 241 151 97 46 11 38 20 2 3 2 11 11 8,478 8,360 0.6 118 234,280 26,512 23,219 794 2,499 260,791

มิ.ย.58 229,055 26,024 96,918 40,606 59,779 4,570 1,120 38 36,563 13,315 4,713 4,128 5,876 6,440 1,487 40 251 155 112 47 15 44 26 2 2 2 10 12 9,270 9,093 11.7 166 274,888 21,487 13,681 180 7,627 296,376

ก.ค.58 110,430 22,828 23,939 4 57,535 4,966 1,124 34 35,242 11,534 5,225 4,700 5,958 6,028 1,219 40 226 170 92 50 9 36 20 2 2 2 9 12 8,992 8,817 26 150 154,664 16,642 9,204 256 7,181 171,305

23,469 15,167 8,302 981 1,188 1,119 180,605 9,485 171,120

25,734 18,522 7,212 647 1,109 1,227 232,074 7,662 224,412

26,041 21,257 4,784 842 1,200 2,642 265,651 8,613 257,038

18,800 17,000 1,800 1,121 1,200 1,200 148,985 7,180 141,805


สัดสวนรายไดตอ GDP (FY) หนวย: รอยละ 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป 1.7 รายไดอื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ 4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก 7.1 คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก 8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

12.57 1.98 4.42 0.55 5.17 0.35 0.09 0.004 3.75 1.03 0.51 0.38 0.61 0.79 0.14 0.05 0.02 0.01 0.19 0.02 0.01 1.48 1.43 0.004 0.04 1.12 0.86 19.78 2.03 1.76 1.47 0.29 0.10 0.17 17.75 0.78 16.97

12.81 2.06 4.54 0.68 5.06 0.37 0.09 0.003 3.32 0.86 0.43 0.35 0.54 0.72 0.13 0.04 0.02 0.01 0.19 0.01 0.004 1.17 1.13 0.004 0.03 0.94 0.93 19.16 2.24 1.97 1.67 0.30 0.11 0.15 16.93 0.69 16.23

12.65 2.18 4.35 0.74 4.91 0.39 0.08 0.003 3.25 0.87 0.47 0.38 0.59 0.63 0.13 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.003 1.10 1.00 0.004 0.02 1.04 1.36 19.26 2.28 2.05 1.70 0.36 0.11 0.12 16.98 0.65 16.33

13.08 2.10 4.72 0.76 5.16 0.26 0.08 0.003 2.85 0.69 0.43 0.38 0.55 0.59 0.13 0.04 0.02 0.02 0.001 0.01 0.003 1.02 0.99 0.005 0.02 1.04 0.84 18.84 2.32 2.08 1.78 0.29 0.12 0.12 16.52 0.67 15.85

12.06 2.10 4.15 0.96 4.57 0.19 0.08 0.002 3.08 0.96 0.47 0.40 0.52 0.52 0.13 0.03 0.02 0.02

11.91 1.96 4.28 0.64 4.73 0.22 0.08 0.002 3.82 1.44 0.50 0.40 0.55 0.73 0.13 0.02 0.02 0.02

13.34 2.08 5.05 0.72 5.08 0.31 0.09 0.002 3.52 1.04 0.50 0.43 0.54 0.82 0.13 0.01 0.02 0.02

13.73 2.26 4.62 0.80 5.60 0.35 0.09 0.003 3.22 0.52 0.51 0.45 0.55 0.99 0.14 0.01 0.02 0.02

13.71 2.32 4.60 0.88 5.43 0.38 0.10 0.002 3.36 0.49 0.53 0.41 0.54 1.20 0.14 0.01 0.02 0.02

13.23 2.15 4.36 0.78 5.44 0.41 0.09 0.003 2.93 0.48 0.47 0.49 0.59 0.71 0.13 0.00 0.02 0.02

0.01 0.006 0.85 0.82 0.004 0.03 0.92 0.93 17.84 2.33 2.11 1.67 0.44 0.10 0.12 15.51 0.57 14.94

0.01 0.004 0.92 0.88 0.002 0.03 0.86 1.36 18.87 2.19 1.97 1.51 0.46 0.10 0.12 16.68 0.62 16.06

0.01 0.004 0.91 0.88 0.002 0.02 0.87 0.94 19.57 2.27 2.02 1.66 0.37 0.11 0.13 17.30 0.66 16.65

0.01 0.003 1.01 0.99 0.003 0.02 1.04 0.99 20.00 2.47 2.21 1.83 0.38 0.13 0.13 17.53 0.76 16.78

0.01 0.004 0.88 0.86 0.002 0.02 0.79 1.24 19.98 2.46 2.20 1.78 0.42 0.12 0.13 17.53 0.73 16.80

0.01 0.01 0.90 0.88 0.002 0.02 1.05 1.04 19.14 2.53 2.23 1.73 0.50 0.12 0.12 16.61 0.74 15.87


Revenue Buoyancy (GDP: FY) หนวย: รอยละ

1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป 1.7 รายไดอื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ 4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ 6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก 7.1 คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก 8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

2548

2.07 0.88 2.50 2.81 2.13 3.04 (0.01) (0.41) 0.13 (0.07) 0.50 0.90 0.62 (0.93) 0.78 2.89 1.23 (0.01) 1.01 1.25 4.07 0.39 0.31 0.64 4.29 4.13 (1.67) 2.29 0.76 1.39 1.31 1.31 1.27 1.54 1.65 1.03 1.40 2.17 1.36

2549

1.20 1.44 1.28 3.48 0.78 1.53 0.62 (0.77) (0.18) (0.70) (0.62) 0.17 (0.26) 0.17 0.61 (0.47) 0.82 5.09 1.06 0.40 (0.71) (1.20) (1.16) 0.98 (2.68) (0.72) 1.90 1.98 0.35 0.68 2.07 2.26 2.44 1.36 2.16 (0.02) 0.52 (0.17) 0.55

2550

0.81 1.86 0.37 2.26 0.55 1.72 (0.25) (0.84) 0.67 1.22 2.40 1.98 2.48 (0.92) 1.25 0.79 (2.38) 2.93 (7.42) 0.16 (3.73) (0.81) (0.81) 1.34 (1.05) 1.61 7.91 1.34 (1.16) 1.07 1.30 1.61 1.19 3.94 0.52 (2.22) 1.04 0.07 1.09

2551

2552

1.37 3.40 0.61 1.04 1.93 4.69 1.23 (7.10) 1.55 4.49 (2.63) 8.82 0.80 0.96 1.04 3.85 (0.30) (1.46) (1.23) (11.19) 0.00 (1.59) 1.03 (1.00) 0.26 2.64 0.35 4.66 0.55 0.52 0.11 5.51 0.04 1.21 1.93 4.23 (9.61) 0.11 3.54 1.44 (22.43) 0.97 6.11 0.97 6.43 4.44 6.14 0.21 (7.89) 1.73 4.60 (3.11) (2.05) (0.37) (2.53) 5.21 5.79 0.77 2.63 1.19 0.94 1.12 0.51 1.56 2.93 (0.93) (14.10) 2.17 7.01 1.53 2.31 0.71 2.87 1.33 5.59 0.69 2.75

2553

0.89 0.42 1.28 (2.05) 1.31 2.14 1.34 0.73 3.17 5.47 1.73 0.94 1.62 4.57 1.36 (3.88) 1.86 2.56 (0.18) (1.96) 1.69 1.71 (4.69) 2.30 0.46 5.19 5.42 0.10 1.53 0.49 0.38 0.11 1.38 1.83 1.33 1.68 1.78 1.68

2554

2555

2.80 1.86 1.90 3.51 3.71 (1.42) 2.89 4.31 2.12 3.95 7.85 4.24 2.53 2.37 2.05 8.34 (0.21) (1.40) (3.23) (13.38) 1.01 1.32 2.07 2.78 0.64 1.53 2.86 7.26 0.28 3.21 (3.77) (4.82) 2.17 0.42 1.81 (0.89) 0.67 0.87 0.83 0.97 6.01 (3.24) 1.12 (3.60) (3.77) 2.56 1.56 1.50 1.44 2.51 (2.07) 2.01 1.96 1.57 1.89 1.56

0.28 (0.86) 4.34 4.54 9.34 (3.61) 6.73 2.43 2.59 (1.19) 1.63 3.55 3.66 4.05 1.88 4.68 0.88 1.38 5.36 1.22

2556

2557

0.98 (1.23) 1.33 (3.75) 0.95 (2.34) 2.20 (6.09) 0.63 1.20 2.03 5.42 1.50 (5.22) (2.15) 10.32 1.51 (7.19) 0.44 (0.13) 1.44 (6.29) (0.17) 14.15 0.70 6.67 3.38 (24.34) 1.09 (4.23) 0.29 (29.95) 2.86 (7.36) 0.85 (5.95)

1.07 (2.60) 3.99 13.31 (0.51) 2.38 (0.53) 2.25 (2.29) 3.81 0.86 7.72 (1.87) 21.54 3.92 (8.99) 3.87 (8.96) 5.12 (9.82) 0.99 (1.65) 0.94 3.01 0.96 1.65 0.65 (0.77) 2.47 11.82 0.48 (0.15) 1.18 (2.81) 1.00 (2.31) 0.61 2.03 1.01 (2.49)


สัดสวนรายไดตอ GDP (CY) หนวย: รอยละ 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป 1.7 รายไดอื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ 4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ 6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก 7.1 คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก 8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

12.31 1.94 4.33 0.54 5.07 0.35 0.09 0.003 3.67 1.00 0.50 0.38 0.60 0.77 0.13 0.05 0.02 0.01 0.18 0.01 0.01 1.45 1.40 0.004 0.04 1.10 0.84 0.80 0.04 19.36 1.98 1.72 1.44 0.28 0.10 0.16 17.38 0.77 16.61

12.58 2.02 4.46 0.67 4.97 0.36 0.09 0.003 3.26 0.84 0.42 0.35 0.53 0.71 0.13 0.04 0.02 0.01 0.18 0.01 0.004 1.15 1.11 0.004 0.03 0.92 0.91 0.87 0.04 18.83 2.20 1.94 1.65 0.29 0.11 0.15 16.63 0.68 15.95

12.33 2.12 4.24 0.72 4.78 0.38 0.08 0.003 3.16 0.85 0.46 0.37 0.57 0.62 0.13 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.003 1.08 0.97 0.004 0.02 1.03 1.33 0.89 0.03 18.77 2.22 2.00 1.65 0.35 0.10 0.11 16.55 0.63 15.91

13.15 2.11 4.75 0.76 5.19 0.26 0.08 0.003 2.87 0.69 0.43 0.38 0.55 0.60 0.13 0.04 0.02 0.02 0.001 0.01 0.003 1.03 1.00 0.005 0.02 1.04 0.85 0.80 0.05 18.93 2.33 2.09 1.79 0.30 0.12 0.12 16.60 0.67 15.93

11.79 2.05 4.06 0.94 4.47 0.19 0.08 0.002 3.02 0.94 0.46 0.39 0.51 0.51 0.13 0.03 0.02 0.02

11.71 1.93 4.21 0.63 4.65 0.21 0.08 0.002 3.76 1.41 0.49 0.39 0.54 0.71 0.13 0.01 0.02 0.02

13.41 2.09 5.08 0.72 5.11 0.32 0.09 0.002 3.54 1.04 0.51 0.43 0.54 0.82 0.13 0.01 0.02 0.02

13.09 2.15 4.41 0.76 5.34 0.33 0.09 0.003 3.07 0.49 0.48 0.43 0.53 0.95 0.13 0.01 0.02 0.02

13.67 2.32 4.59 0.88 5.41 0.38 0.10 0.002 3.35 0.49 0.53 0.41 0.54 1.19 0.14 0.01 0.02 0.02

13.16 2.14 4.34 0.78 5.41 0.40 0.09 0.003 2.91 0.48 0.46 0.49 0.58 0.71 0.13 0.00 0.02 0.02

0.01 0.005 0.83 0.80 0.004 0.03 0.90 0.91 0.87 0.04 17.45 2.27 2.07 1.63 0.43 0.09 0.12 15.17 0.56 14.61

0.01 0.004 0.90 0.87 0.002 0.03 0.85 1.33 1.30 0.04 18.54 2.16 1.93 1.48 0.45 0.10 0.12 16.39 0.61 15.78

0.01 0.004 0.91 0.88 0.002 0.02 0.87 0.95 0.91 0.04 19.68 2.28 2.04 1.67 0.37 0.11 0.13 17.41 0.66 16.75

0.01 0.003 0.96 0.94 0.003 0.02 0.99 0.94 0.91 0.04 19.06 2.35 2.11 1.75 0.36 0.12 0.12 16.71 0.72 15.99

0.01 0.004 0.88 0.86 0.002 0.02 0.79 1.23 1.18 0.05 19.92 2.45 2.20 1.77 0.42 0.12 0.13 17.47 0.73 16.74

0.01 0.01 0.90 0.87 0.002 0.02 1.04 1.03 0.99 0.04 19.04 2.52 2.21 1.72 0.49 0.12 0.12 16.52 0.74 15.78


Revenue Buoyancy (GDP: CY) หนวย: รอยละ 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป 1.7 รายไดอื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ 4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ 6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก 7.1 คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก 8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

2548 2.25 0.95 2.72 3.05 2.32 3.30 (0.01) (0.45) 0.14 (0.07) 0.54 0.98 0.67 (1.01) 0.85 3.14 1.33 (0.01) 1.09 1.36 4.42 0.42 0.33 0.69 4.66 4.49 (1.81) 2.48 0.83 1.51 1.42 1.43 1.38 1.68 1.79 1.12 1.52 2.36 1.48

2549 1.24 1.49 1.33 3.61 0.80 1.59 0.64 (0.79) (0.18) (0.72) (0.64) 0.18 (0.27) 0.17 0.63 (0.49) 0.85 5.28 1.10 0.42 (0.74) (1.24) (1.20) 1.01 (2.77) (0.75) 1.96 2.05 0.36 0.70 2.14 2.34 2.52 1.41 2.24 (0.02) 0.54 (0.18) 0.57

2550 0.73 1.66 0.33 2.03 0.49 1.54 (0.23) (0.76) 0.60 1.09 2.15 1.77 2.22 (0.82) 1.12 0.71 (2.13) 2.62 (6.64) 0.15 (3.34) (0.72) (0.73) 1.20 (0.94) 1.44 7.08 1.20 (1.04) 0.96 1.16 1.44 1.06 3.52 0.46 (1.99) 0.93 0.06 0.97

2551

2552

2.02 0.90 2.85 1.82 2.29 (3.88) 1.18 1.53 (0.45) (1.82) 0.00 1.52 0.38 0.51 0.80 0.17 0.06 2.84 (14.17) 0.16 2.13 1.43 1.43 6.54 0.31 2.56 (4.58) (0.54) 7.69 1.13 1.76 1.66 2.30 (1.38) 3.19 2.25 1.05 1.96 1.01

19.77 6.05 27.27 (41.33) 26.11 51.34 5.60 22.42 (8.52) (65.09) (9.23) (5.81) 15.34 27.11 3.03 32.06 7.06 24.60 0.00 20.58 (130.51) 35.57 37.38 35.70 (45.91) 26.75 (11.95) (14.70) 33.71 15.31 5.49 2.99 17.03 (82.04) 40.78 13.46 16.69 32.49 16.02

2553 0.93 0.44 1.34 (2.14) 1.37 2.23 1.40 0.77 3.31 5.70 1.81 0.98 1.69 4.76 1.42 (4.04) 1.94 2.66 0.00 (0.19) (2.04) 1.77 1.78 (4.89) 2.40 0.48 5.41 5.65 0.10 1.59 0.51 0.39 0.12 1.44 1.91 1.39 1.75 1.86 1.75

2554 4.31 2.91 5.70 4.44 3.26 12.05 3.88 3.15 (0.33) (4.95) 1.55 3.18 0.98 4.39 0.43 (5.80) 3.33 2.78 0.00 1.04 1.33 1.28 1.50 9.24 (4.97) 1.72 (5.52) (5.78) 3.93 2.40 2.30 2.21 3.85 (3.18) 3.09 3.01 2.41 2.91 2.39

2555 0.72 1.35 (0.55) 1.67 1.52 1.64 0.92 3.22 (0.54) (5.17) 0.51 1.07 0.59 2.81 1.24 (1.86) 0.16 (0.34) 0.00 0.11 (0.33) 1.68 1.75 3.61 (1.39) 2.60 0.94 1.00 (0.46) 0.63 1.37 1.41 1.57 0.73 1.81 0.34 0.53 2.07 0.47

หมายเหตุ: 1. ขอมูล GDP จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2558 2. ผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแตปงบประมาณ 2557 เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2556 2.03 2.74 1.96 4.54 1.29 4.18 3.09 (4.43) 3.12 0.90 2.96 (0.36) 1.45 6.97 2.24 0.59 5.91 1.76 0.00 2.21 8.23 (1.04) (1.09) (4.71) 1.78 (3.86) 8.08 7.99 10.55 2.04 1.95 1.97 1.33 5.10 0.99 2.42 2.05 1.25 2.09

2557 (1.07) (3.27) (2.04) (5.31) 1.04 4.73 (4.55) 9.01 (6.27) (0.11) (5.49) 12.35 5.83 (21.24) (3.69) (26.14) (6.42) (5.20) 0.00 (2.27) 11.62 2.07 1.97 3.32 6.74 18.80 (7.85) (7.82) (8.57) (1.44) 2.63 1.44 (0.67) 10.31 (0.13) (2.45) (2.01) 1.77 (2.18)


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2532

2533

2534

2535

2536

285,500.0

335,000.0

387,500.0

460,400.0

560,000.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

16.9

16.7

16.1

17.6

17.9

(อัตราเพิ่ม) (%)

17.2

17.3

15.7

18.8

21.6

210,571.8

227,541.2

261,932.2

301,818.2

351,060.8

(สัดสวนตอ GDP) (%)

12.5

11.3

10.9

11.5

11.2

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

73.8

67.9

67.6

65.6

62.7

(อัตราเพิม่ ) (%)

13.3

8.1

15.1

15.2

16.3

53,592.4

82,043.2

105,647.6

130,652.6

171,606.7

3.2

4.1

4.4

5.0

5.5

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

18.8

24.5

27.3

28.4

30.6

(อัตราเพิม่ ) (%)

32.9

53.1

28.8

23.7

31.3

21,335.8

25,415.6

19,920.2

27,929.2

37,332.5

7.5

7.6

5.1

6.1

6.7

22.9

19.1

(21.6)

40.2

33.7

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

262,500.0

310,000.0

387,500.0

460,400.0

534,400.0

15.5

15.5

16.1

17.6

17.1

9.4

18.1

25.0

18.8

16.1

(23,000.0)

(25,000.0)

0.0

0.0

(25,600.0)

(1.4)

(1.2)

0.0

0.0

(0.8)

1,690,500.0

2,005,254.0

2,400,000.0

2,620,000.0

3,130,000.0

9.2

19.5

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 22.4 18.6 19.7 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2533 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ลานบาท


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2537

2538

2539

2540

2541

625,000.0

715,000.0

843,200.0

944,000.0

800,000.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

17.9

17.4

18.0

18.1

15.8

(อัตราเพิ่ม) (%)

11.6

14.4

17.9

12.0

(15.3)

376,382.3

434,383.3

482,368.2

528,293.4

512,331.1

(สัดสวนตอ GDP) (%)

10.8

10.6

10.3

10.1

10.1

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

60.2

60.8

57.2

56.0

64.0

7.2

15.4

11.0

9.5

(3.0)

212,975.6

253,839.8

327,288.6

391,209.7

256,432.8

6.1

6.2

7.0

7.5

5.1

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

34.1

35.5

38.8

41.4

32.1

(อัตราเพิม่ ) (%)

24.1

19.2

28.9

19.5

(34.5)

35,642.1

26,776.9

33,543.2

24,496.9

31,236.1

5.7

3.7

4.0

2.6

3.9

(4.5)

(24.9)

25.3

(27.0)

27.5

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

600,000.0

715,000.0

843,200.0

925,000.0

782,020.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

17.1

17.4

18.0

17.8

15.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

12.3

19.2

17.9

9.7

(15.5)

(25,000.0)

0.0

0.0

(19,000.0)

(17,980.0)

(0.7)

0.0

0.0

(0.4)

(0.4)

3,499,000.0

4,099,000.0

4,684,000.0

5,205,500.0

5,076,000.0

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจายประจํา

(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 11.8 17.1 14.3 11.1 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ พ.ศ. 2540 เปนตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 984,000 ลานบาท 2. ปงบประมาณ พ.ศ. 2541 เปนตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 923,000 ลานบาท

(2.5)


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2542

2543

2544

825,000.0

860,000.0

910,000.0

1,023,000.0

999,900.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

16.5

16.7

17.5

19.3

17.2

(อัตราเพิ่ม) (%)

(0.6)

4.2

5.8

12.4

(2.3)

586,115.1

635,585.1

679,286.5

773,714.1

753,454.7

(สัดสวนตอ GDP) (%)

11.7

12.4

13.0

14.6

13.0

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

71.0

73.9

74.6

75.6

75.4

(อัตราเพิม่ ) (%)

12.8

8.4

6.9

13.9

(2.6)

233,534.7

217,097.6

218,578.2

223,617.0

211,493.5

4.7

4.2

4.2

4.2

3.6

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

28.3

25.2

24.0

21.9

21.2

(อัตราเพิม่ ) (%)

(8.9)

(7.0)

0.7

2.3

(5.4)

5,350.2

7,317.3

12,135.3

25,668.9

34,951.8

0.6

0.9

1.3

2.5

3.5

(82.9)

36.8

65.8

111.5

36.2

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

800,000.0

750,000.0

805,000.0

823,000.0

825,000.0

16.0

14.6

15.5

15.5

14.2

2.3

(6.3)

7.3

2.2

0.2

(25,000.0)

(110,000.0)

(105,000.0)

(200,000.0)

(174,900.0)

(0.5)

(2.1)

(2.0)

(3.8)

(3.0)

5,002,000.0

5,137,000.0

5,208,600.0

5,309,200.0

5,799,700.0

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) (1.4) 2.7 1.4 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1.9

9.2

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

2545

2546


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ

2547

2548

2549

หนวย : ลานบาท

2550

2551

2552

1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

18.0

17.4

17.5

18.6

17.6

22.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

16.4

7.4

8.8

15.2

6.0

17.6

836,544.4

881,251.7

(สัดสวนตอ GDP) (%)

12.9

12.2

12.3

13.5

12.9

16.2

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

71.9

70.5

70.5

72.5

73.1

72.3

(อัตราเพิม่ ) (%)

11.0

5.3

8.8

18.5

6.9

16.3

292,800.2

318,672.0

358,335.8

374,721.4

400,483.9

429,961.8

4.5

4.4

4.6

4.5

4.3

4.9

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

25.2

25.5

26.3

23.9

24.1

22.0

(อัตราเพิม่ ) (%)

38.4

8.8

12.4

4.6

6.9

7.4

34,155.4

50,076.3

43,187.2

55,490.5

45,527.0

63,676.1

2.9

4.0

3.2

3.5

2.7

3.3

(2.3)

46.6

(13.8)

28.5

(18.0)

39.9

-

-

-

-

-

46,679.7

-

-

-

-

-

2.4

1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได

958,477.0 1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4

1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5

(สัดสวนตอ GDP) (%)

16.4

17.4

17.5

16.9

15.9

18.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

28.9

17.5

8.8

4.4

5.3

7.3

(99,900.0)

0.0

0.0 (146,200.0) (165,000.0) (347,060.5)

(1.5)

0.0

0.0

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

(1.7)

(1.8)

(4.0)

6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0 8,399,000.0 9,232,600.0 8,712,500.0

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 11.7 11.1 8.2 7.9 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2547 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2548 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิม่ เติม จํานวน 50,000 ลานบาท 3. ปงบประมาณ 2552 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ลานบาท และเปนปแรกที่มีการตั้งงบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ลานบาท

9.9

(5.6)


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา

2553

2554

1,700,000.0

2555

2,169,967.5 2,380,000.0

หนวย : ลานบาท

2556

2557

2558

2,400,000.0

2,525,000.0

2,575,000.0

17.0

20.6

20.7

20.1

19.1

20.2

(12.9)

27.6

9.7

0.8

5.2

2.0

1,667,439.7 1,840,672.6 1,900,476.7

2,017,625.8

2,027,858.8

1,434,710.1

(สัดสวนตอ GDP) (%)

14.3

15.8

16.0

15.9

15.2

15.9

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

84.4

76.8

77.4

79.2

79.9

78.8

1.7

16.2

10.4

3.2

6.2

0.5

214,369.0

355,484.6

438,555.4

450,373.8

441,128.6

449,475.8

2.1

3.4

3.8

3.8

3.3

3.5

12.6

16.4

18.4

18.7

17.5

17.5

(50.1)

65.8

23.4

2.7

(2.1)

1.9

50,920.9

32,554.6

46,854.0

49,149.5

52,821.9

55,700.0

3.0

1.5

2.0

2.1

2.1

2.2

(20.0)

(36.1)

43.9

4.9

7.5

5.4

-

114,488.6

53,918.0

-

13,423.7

41,965.4

-

5.3

2.2

-

0.5

1.6

1,770,000.0 1,980,000.0 2,100,000.0

2,275,000.0

2,325,000.0

(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%) (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

1,350,000.0

13.5

16.8

17.2

17.6

17.2

18.2

(15.9)

3.8

11.9

6.1

8.3

2.2

(400,000) (400,000.0) (300,000.0)

(250,000.0)

(250,000.0)

(2.0)

(2.0)

(350,000.0) (3.5)

(3.8)

(3.5)

(2.5)

10,000,900.0 10,539,400.0 11,478,600.0 11,922,000.0 12,364,000.0 12,627,000.0

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 14.8 5.4 8.9 3.9 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : ปงบประมาณ 2554 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ลานบาท

3.7

2.1


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา

2559 2,720,000

20.4 5.6 2,100,836.3

(สัดสวนตอ GDP) (%)

15.7

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

77.2

(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

3.6 543,635.9 4.1

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

20.0

(อัตราเพิม่ ) (%)

20.9

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

61,991.7 2.3 11.3 13,536.1 0.5 2,330,000

17.3 0.2 (390,000) (2.9) 13,359,400

(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 5.8 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

หนวย : ลานบาท


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2549

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 48 พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 มี.ค. 49 1,360,000 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,528,823 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243 168,823 122,209 127,243 112,309 116,800 112,468 127,437 116,991 111,573 83,444 110,090 100,881 109,598 8.6 8.2 6.1 8.1 7.4 8.1 99,728 78,860 66,634 89,768 74,638 87,879 10.2 8.0 6.8 9.2 7.6 9.0 17,263 32,713 16,810 20,322 26,243 21,719 4.5 8.6 4.4 5.4 6.9 5.7 5,218 15,670 28,865 6,710 11,587 17,839 10.5 17.4 4.0 6.9 10.6

หนวย : ลานบาท ปงบประมาณ 2549 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 รวม 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 1,010,489 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 349,511 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571 169,571 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 1,394,572 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 1,270,028 7.1 6.1 8.1 6.8 8.2 10.7 93.4 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 1,006,881 7.3 7.0 9.7 7.5 8.4 11.2 99.6 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 263,147 6.4 3.5 4.0 4.8 7.5 9.2 75.3 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 124,544 2.3 4.0 3.9 3.7 3.2 5.8 73.4

ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2550 ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 ก.พ. 50 1. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,722,021 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 1,566,200 - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา 980,482 980,637 983,670 1,230,747 1,227,904 - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 379,518 379,363 376,330 335,453 338,296 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 155,327 155,622 155,769 155,823 155,821 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 89,559 111,439 99,181 97,054 200,314 2.1 รายจายปปจจุบัน 81,266 93,466 83,126 87,123 191,229 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 6.0 6.9 6.1 5.6 12.2 - รายจายประจํา 75,534 84,896 77,650 74,971 136,792 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 7.7 8.7 7.9 6.1 11.1 - รายจายลงทุน 5,732 8,570 5,476 12,152 54,437 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 1.5 2.3 1.5 3.6 16.1 2.2 รายจายจากปกอน 8,293 17,973 16,055 9,931 9,085 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 5.3 11.5 10.3 6.4 5.8 ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555

หนวย : ลานบาท ปงบประมาณ 2550 มี.ค. 50 เม.ย. 50 พ.ค. 50 มิ.ย. 50 ก.ค. 50 ส.ค. 50 ก.ย. 50 รวม 1,722,389 1,722,287 1,722,271 1,722,266 1,722,241 1,722,322 1,722,364 1,722,364 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1566200 1,246,571 1,246,335 1,245,965 1,245,109 1,244,236 1,242,815 1,239,641 1239641 319,629 319,865 320,235 321,091 321,964 323,385 326,559 326559 156,189 156,087 156,071 156,066 156,041 156,122 156,164 156164 139,900 115,830 137,086 164,381 146,556 122,778 150,888 1,574,966 127,872 111,216 131,311 158,603 142,784 118,609 144,234 1,470,839 8.2 7.1 8.4 10.1 9.1 7.6 9.2 93.9 106,881 97,682 90,381 126,402 119,440 101,347 116,157 1,208,133 8.6 7.8 7.3 10.2 9.6 8.2 9.4 97.5 20,991 13,534 40,930 32,201 23,344 17,262 28,077 262,706 6.6 4.2 12.8 10.0 7.3 5.3 8.6 80.4 12,028 4,614 5,775 5,778 3,772 4,169 6,654 104,127 7.7 3.0 3.7 3.7 2.4 2.7 4.3 66.7


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2551

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 50 1,769,427 1,660,000 1,295,140 364,860 109,427 155,389 147,936 8.9 121,123 9.4 26,813 7.3 7,453 6.8

พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 364,887 332,765 332,813 332,809 149,505 150,026 150,883 152,516 127,018 110,867 158,402 118,658 112,113 97,846 146,917 108,633 6.8 5.9 8.9 6.5 93,861 88,182 93,934 97,960 7.2 6.6 7.1 7.4 18,252 9,664 52,983 10,673 5.0 2.9 15.9 3.2 14,905 13,021 11,485 10,025 10.0 8.7 7.6 6.6

ปงบประมาณ มี.ค. 51 เม.ย.51 1,811,083 1,811,181 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 332,929 332,913 151,083 151,181 125,147 154,636 113,533 150,029 6.8 9.0 100,423 104,918 7.6 7.9 13,110 45,111 3.9 13.6 11,614 4,607 7.7 3.0

หนวย : ลานบาท 2551 พ.ค.51 มิ.ย.51 ก.ค.51 ส.ค.51 ก.ย.51 รวม 1,811,408 1,811,408 1,811,408 1,811,940 1,812,063 1,812,063 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,326,271 1,326,029 1,326,205 1,325,380 1,319,724 1,319,724 333,729 333,971 333,795 334,620 340,276 340,276 151,408 151,667 151,925 151,940 152,063 152,063 126,767 143,198 138,838 124,629 149,856 1,633,405 119,962 137,088 134,497 120,424 143,501 1,532,479 7.2 8.3 8.1 7.3 8.6 92.3 108,354 107,295 115,870 107,822 125,248 1,264,990 8.2 8.1 8.7 8.1 9.5 95.9 11,608 29,793 18,627 12,602 18,253 267,489 3.5 8.9 5.6 3.8 5.4 78.6 6,805 6,110 4,341 4,205 6,355 100,926 4.5 4.0 2.9 2.8 4.2 66.4

ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2552 ปงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 2.1 รายจายปปจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 4.6 8.1 7.0 9.7 9.1 9.1 7.0 7.9 - รายจายประจํา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 5.7 8.9 8.0 8.5 9.0 10.4 7.4 7.3 - รายจายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 0.2 5.1 2.7 14.7 9.6 3.8 5.4 10.7 2.2 รายจายจากปกอน 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 4.9 8.3 9.2 7.5 6.8 8.8 2.3 3.3 หมายเหตุ : ปงบประมาณ 2552 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติมจํานวน 116,700 ลานบาท มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 8 มีนาคม 2552 ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555

หนวย : ลานบาท มิ.ย. 52 2,143,228 1,951,700 1,575,694 376,006 191,528 139,498 131,026 6.7 110,789 7.0 20,237 5.4 8,472 4.4

ก.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,977 376,723 191,540 164,118 158,730 8.1 128,632 8.2 30,098 8.0 5,388 2.8

ส.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,085 337,615 191,540 142,162 136,915 7.0 119,691 7.6 17,224 5.1 5,247 2.7

ก.ย. 52 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 196,882 186,890 9.6 159,555 10.2 27,336 7.2 9,991 5.2

รวม 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 1,917,129 1,790,862 91.8 1,507,894 96.1 282,969 74.1 126,266 65.9


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2553

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ)

ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 มี.ค.53 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 1,479,843 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 220,157 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939 243,152 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 149,981 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 129,653 4.7 9.8 8.8 7.9 10.0 7.6 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 119,986 5.3 10.9 7.6 8.7 8.0 8.1 673 5,334 37,602 5,670 51,504 9,667 0.3 2.4 17.1 2.6 23.4 4.4 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 20,328 4.5 9.3 9.2 6.6 5.5 8.4

ปงบประมาณ 2553 เม.ย.53 พ.ค.53 1,943,152 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,479,558 1,479,100 220,442 220,900 243,152 243,152 145,528 123,967 136,587 118,059 8.0 6.9 125,819 110,268 8.5 7.5 10,768 7,791 4.9 3.5 8,941 5,908 3.7 2.4

ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2554

หนวย : ลานบาท มิ.ย. 53 1,943,174 1,700,000 1,476,716 223,284 243,174 135,455 123,196 7.2 111,500 7.6 11,696 5.2 12,259 5.0

ก.ค. 53 1,943,255 1,700,000 1,474,315 225,685 243,255 142,627 135,128 7.9 124,850 8.5 10,278 4.6 7,499 3.1

ส.ค. 53 ก.ย. 53 1,943,505 1,943,547 1,700,000 1,700,000 1,472,692 1,468,655 227,308 231,345 243,505 243,547 110,118 192,704 103,322 182,407 6.1 10.7 92,492 161,105 6.3 11.0 10,830 21,302 4.8 9.2 6,796 10,297 2.8 4.2

รวม 1,943,547 1,700,000 1,468,655 231,345 243,547 1,784,412 1,627,874 95.8 1,444,760 98.4 183,115 79.2 156,538 64.3

หนวย : ลานบาท ปงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 พ.ค.54 มิ.ย. 54 ก.ค. 54 ส.ค. 54 ก.ย. 54 รวม 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 2,353,189 2,353,191 2,353,192 2,353,202 2,353,202 2,353,202 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 1,813,687 1,810,757 1,808,951 1,806,977 1,806,977 1,806,977 - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 356,280 359,211 361,017 362,991 362,991 362,991 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 183,221 183,224 183,225 183,235 183,235 183,235 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 211,446 187,593 143,032 143,543 193,411 2,177,895 2.1 รายจายปปจจุบัน 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 205,223 181,250 138,411 135,473 184,648 2,050,539 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 9.4 10.0 7.3 10.7 6.7 7.6 6.2 9.5 8.4 6.4 6.2 8.5 94.5 - รายจายประจํา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 188,690 161,493 120,305 113,041 152,068 1,786,978 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 11.0 11.4 7.7 8.5 7.1 8.2 7.0 10.4 8.9 6.7 6.3 8.4 98.9 - รายจายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 16,533 19,757 18,105 22,431 32,579 263,558 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 1.2 3.1 5.3 21.6 4.8 4.5 4.1 4.6 5.5 5.0 6.2 9.0 72.6 2.2 รายจายจากปกอน 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 6,223 6,343 4,621 8,070 8,763 127,355 (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 8.3 9.7 8.8 8.0 8.3 7.6 2.5 3.4 3.5 2.5 4.4 4.8 69.5 หมายเหตุ : ปงบประมาณ 2554 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติมจํานวน 99,968 ลานบาท มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 18 เมษายน 2554 ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2555

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 54 2,271,861 2,070,000 1,706,509 363,491 201,861 166,954 155,910 7.5 136,594 8.0 19,316 5.3 11,044 5.5

พ.ย. 54 2,278,511 2,070,000 1,725,733 344,267 208,511 150,234 131,863 6.4 127,201 7.4 4,662 1.4 18,371 8.8

ธ.ค. 54 2,282,250 2,070,000 1,720,592 349,408 212,250 172,628 151,587 7.3 137,437 8.0 14,150 4.0 21,041 9.9

ม.ค. 55 2,285,784 2,070,000 1,714,147 355,853 215,784 150,463 135,611 6.6 131,401 7.7 4,210 1.2 14,852 6.9

ก.พ. 55 2,597,224 2,380,000 1,976,557 403,443 217,224 259,062 244,073 10.3 235,123 11.9 8,950 2.2 14,989 6.9

มี.ค. 55 2,595,716 2,380,000 1,973,811 406,189 215,716 369,978 351,873 14.8 283,286 14.4 68,587 16.9 18,105 8.4

ปงบประมาณ 2555 เม.ย. 55 พ.ค. 55 2,595,703 2,595,707 2,380,000 2,380,000 1,973,465 1,971,729 406,535 408,271 215,703 215,707 157,569 144,922 150,279 135,051 6.3 5.7 135,231 113,242 6.9 5.7 15,048 21,810 3.7 5.3 7,290 9,871 3.4 4.6

หนวย : ลานบาท มิ.ย. 55 2,595,893 2,380,000 1,969,865 410,135 215,893 157,415 150,381 6.3 127,772 6.5 22,609 5.5 7,034 3.3

ก.ค. 55 2,596,094 2,380,000 1,968,353 411,647 216,094 179,248 171,242 7.2 146,783 7.5 24,460 5.9 8,006 3.7

ส.ค. 55 2,596,251 2,380,000 1,966,525 413,475 216,251 159,508 152,964 6.4 125,741 6.4 27,223 6.6 6,544 3.0

ก.ย. 55 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 227,347 217,642 9.1 173,258 8.8 44,384 10.7 9,705 4.5

หมายเหตุ พรบ. งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2555 (วงเงิน 2,380,000 ลานบาท) มีผลบังคับในวันที่ 8 กุมภาพันธ 2555 ทําใหในชวงตั้งแตตนปงบประมาณ 2555 ตองใชงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณที่ลวงแลว (ปงบประมาณ 2554) ไปพลางกอน ตาม พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16

ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555

รวม 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 2,295,327 2,148,475 90.3 1,873,067 95.3 275,408 66.3 146,852 67.8


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2556

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) 2. รายจายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบันสะสม - รายจายประจําสะสม - รายจายลงทุนสะสม 2.2 รายจายจากปกอนสะสม

ต.ค. 55 2,622,170 2,400,000 1,941,257 458,743 222,170 312,152 290,631 12.1 286,670 14.8 3,961 0.9 21,521 9.7 312,152 290,631 286,670 3,961 21,521

ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 17 กันยายน 2556

พ.ย. 55 2,650,593 2,400,000 2,000,816 399,184 250,593 299,828 270,813 11.3 223,583 11.2 47,229 11.8 29,015 11.6 611,980 561,444 510,254 51,190 50,536

ธ.ค. 55 2,696,798 2,400,000 2,000,584 399,416 296,798 173,933 138,335 5.8 131,112 6.6 7,224 1.8 35,598 12.0 785,914 699,780 641,366 58,414 86,134

ม.ค. 56 2,699,332 2,400,000 2,000,565 399,435 299,332 208,114 181,092 7.5 173,709 8.7 7,383 1.8 27,022 9.0 994,027 880,871 815,074 65,797 113,156

ก.พ. 56 2,699,423 2,400,000 2,000,146 399,854 299,423 152,074 130,538 5.4 122,601 6.1 7,937 2.0 21,536 7.2 1,146,101 1,011,409 937,675 73,734 134,692

มี.ค. 56 2,700,236 2,400,000 1,999,867 400,133 300,236 225,477 201,278 8.4 125,923 6.3 75,355 18.8 24,199 8.1 1,371,578 1,212,687 1,063,598 149,089 158,891

ปงบประมาณ 2556 เม.ย. 56 พ.ค. 56 2,700,230 2,700,247 2,400,000 2,400,000 1,999,020 1,997,524 400,980 402,476 300,230 300,247 180,364 135,275 170,268 125,710 7.1 5.2 156,669 108,997 7.8 5.5 13,599 16,713 3.4 4.2 10,096 9,565 3.4 3.2 1,551,941 1,687,216 1,382,955 1,508,665 1,220,267 1,329,264 162,688 179,401 168,986 178,551

หนวย : ลานบาท มิ.ย. 56 2,700,255 2,400,000 1,996,729 403,271 300,255 166,398 155,273 6.5 135,424 6.8 19,849 4.9 11,125 3.7 1,853,614 1,663,938 1,464,688 199,250 189,676

ก.ค. 56 2,602,357 2,400,000 1,995,740 404,260 202,357 171,087 158,406 6.6 137,824 6.9 20,582 5.1 12,681 6.3 2,024,701 1,822,344 1,602,512 219,832 202,357

ส.ค. 56 2,700,727 2,400,000 1,995,847 404,153 300,727 143,446 130,299 5.4 106,333 5.3 23,966 5.9 13,147 4.4 2,168,147 1,952,643 1,708,845 243,798 215,504

ก.ย. 56 2,701,010 2,400,000 1,991,899 408,101 301,010 234,333 218,816 9.1 186,040 9.3 32,776 8.0 15,517 5.2 2,402,481 2,171,459 1,894,885 276,574 231,022

รวม 2,701,010 2,400,000 1,991,899 408,101 301,010 2,402,481 2,171,459 90.5 1,894,885 95.1 276,574 67.8 231,022 76.7 2,402,481 2,171,459 1,894,885 276,574 231,022


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2557

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินรายจายประจํา) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินรายจายลงทุน) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณปกอน) 2. รายจายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบันสะสม - รายจายประจําสะสม - รายจายลงทุนสะสม 2.2 รายจายจากปกอนสะสม

ต.ค. 56 2,767,610 2,525,000 2,097,308 427,692 242,610 258,272 244,001 9.7 241,303 11.5 2,697 0.6 14,271 5.9 258,272 244,001 241,304 2,697 14,271

ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 29 ตุลาคม 2557

พ.ย. 56 2,806,747 2,525,000 2,097,273 427,727 281,747 255,803 232,568 9.2 227,852 10.9 4,717 1.1 23,235 8.2 514,076 476,568 469,154 7,414 37,508

ธ.ค. 56 2,826,083 2,525,000 2,097,101 427,899 301,083 316,983 284,256 11.3 175,127 8.4 109,129 25.5 32,727 10.9 831,059 760,826 644,283 116,543 70,233

ม.ค. 57 2,826,091 2,525,000 2,097,053 427,947 301,091 213,210 186,395 7.4 177,496 8.5 8,898 2.1 26,814 8.9 1,044,267 947,220 821,778 125,441 97,047

ก.พ. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,723 428,277 301,093 174,379 154,109 6.1 141,913 6.8 12,195 2.8 20,270 6.7 1,218,646 1,101,328 963,692 137,636 117,318

มี.ค. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,645 428,355 301,093 165,457 142,036 5.6 128,728 6.1 13,308 3.1 23,421 7.8 1,384,103 1,243,364 1,092,420 150,944 140,739

ปงบประมาณ 2557 เม.ย. 57 พ.ค. 57 2,826,093 2,826,093 2,525,000 2,525,000 2,096,540 2,096,418 428,460 428,582 301,093 301,093 195,825 154,300 179,780 142,463 7.1 5.6 156,868 125,854 7.5 6.0 22,912 16,609 5.3 3.9 16,045 11,837 5.3 3.9 1,579,928 1,734,228 1,423,144 1,565,607 1,249,288 1,375,142 173,856 190,465 156,784 168,621

หนวย : ลานบาท มิ.ย. 57 2,826,141 2,525,000 2,096,538 428,462 301,141 164,554 154,426 6.1 135,722 6.5 18,704 4.4 10,128 3.4 1,898,782 1,720,033 1,510,864 209,169 178,749

ก.ค. 57 2,826,141 2,525,000 2,096,455 428,545 301,141 200,235 189,421 7.5 170,069 8.1 19,351 4.5 10,814 3.6 2,099,016 1,909,453 1,680,933 228,520 189,563

ส.ค. 57 2,826,161 2,525,000 2,095,928 429,072 301,161 132,110 124,670 4.9 107,216 5.1 17,454 4.1 7,440 2.5 2,231,126 2,034,124 1,788,149 245,975 197,002

ก.ย. 57 2,827,340 2,525,000 2,093,452 431,548 302,340 228,864 212,182 8.4 174,107 8.3 38,075 8.8 16,682 5.5 2,459,990 2,246,306 1,962,257 284,049 213,684

รวม 2,827,340 2,525,000 2,093,452 431,548 302,340 2,459,992 2,246,307 89.0 1,962,257 93.7 284,050 65.8 213,684 70.7 2,459,990 2,246,306 1,962,257 284,049 213,684


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินรายจายประจํา) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินรายจายลงทุน) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณปกอน) 2. รายจายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบันสะสม - รายจายประจําสะสม - รายจายลงทุนสะสม 2.2 รายจายจากปกอนสะสม

ต.ค. 57 2,754,737 2,575,000 2,130,645 444,355 179,737 367,598 344,801 13.4 329,977 15.5 14,824 3.3 22,797 12.7 367,598 344,801 329,977 14,824 22,797

ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 18 สิงหาคม 2558

พ.ย. 57 2,894,596 2,575,000 2,130,590 444,410 319,596 205,758 180,660 7.0 171,898 8.1 8,762 2.0 25,098 7.9 573,358 525,462 501,875 23,587 47,895

ธ.ค. 57 2,911,748 2,575,000 2,130,618 444,382 336,748 270,763 240,910 9.4 223,234 10.5 17,676 4.0 29,853 8.9 844,102 766,371 725,109 41,262 77,731

ม.ค. 58 2,918,123 2,575,000 2,130,806 444,194 343,123 215,737 197,891 7.7 181,071 8.5 16,820 3.8 17,846 5.2 1,059,839 964,262 906,180 58,082 95,577

ก.พ. 58 2,921,856 2,575,000 2,151,589 423,411 346,856 150,428 131,447 5.1 109,685 5.1 21,762 5.1 18,981 5.5 1,210,266 1,095,709 1,015,865 79,844 114,557

มี.ค. 58 2,926,323 2,575,000 2,150,751 424,249 351,323 251,453 228,371 8.9 190,218 8.8 38,153 9.0 23,082 6.6 1,461,719 1,324,079 1,206,082 117,997 137,640

ปงบประมาณ 2558 เม.ย. 58 พ.ค. 58 2,926,323 2,926,323 2,575,000 2,575,000 2,154,123 2,154,079 420,877 420,921 351,323 351,323 191,488 176,754 178,945 163,958 6.9 6.4 156,138 139,510 7.2 6.5 22,807 24,448 5.4 5.8 12,543 12,796 3.6 3.6 1,653,207 1,829,961 1,503,025 1,666,983 1,362,221 1,501,731 140,804 165,252 150,182 162,978

หนวย : ลานบาท มิ.ย. 58 2,926,323 2,575,000 2,155,348 419,652 351,323 201,327 186,535 7.2 156,676 7.3 29,859 7.1 14,792 4.2 2,031,288 1,853,518 1,658,407 195,111 177,770

ก.ค. 58 2,926,582 2,575,000 2,157,892 417,108 351,582 221,926 208,731 8.1 186,059 8.6 22,672 5.4 13,195 3.8 2,253,214 2,062,249 1,844,466 217,783 190,965

ส.ค. 58

ก.ย. 58

รวม


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve) ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 13 กุมภาพันธ 2558

2524 110,392 132,212

2525 113,848 155,281

2526 136,608 171,033

2527 147,872 187,024

2528 159,199 209,830

หนวย: ลานบาท 2529 166,123 211,968

-21,820 8,940 -12,880 14,682 1,802 6,333 8,135

-41,433 15,404 -26,029 26,422 393 8,135 8,528

-34,425 3,838 -30,587 34,082 3,495 8,528 12,023

-39,152 5,498 -33,654 30,000 -3,654 12,023 8,369

-50,631 7,568 -43,063 47,000 3,937 8,369 12,306

-45,845 -1,512 -47,357 46,000 -1,357 12,306 10,949

2534 464,900 362,464 316,509 45,955 102,436 -51,816 50,620 0 50,620 130,258 180,878

หนวย: ลานบาท 2535 499,004 448,322 386,246 62,076 50,682 -7,086 43,596 0 43,596 180,878 224,474

2530 193,525 223,746 203,043 20,703 -30,221 -11,624 -41,845 42,000 155 8,528 8,683

2531 245,030 220,694 198,687 22,007 24,336 -56,780 -32,444 42,660 10,216 8,683 18,899

2532 309,536 269,351 247,401 21,950 40,185 -13,471 26,714 12,981 39,695 18,899 58,594

2533 394,509 312,320 280,841 31,479 82,189 -35,525 46,664 25,000 71,664 58,594 130,258


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve) ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 13 กุมภาพันธ 2558

2536 557,783 529,619 462,744 66,875 28,164 -12,375 15,789 0 15,789 226,895 242,684 2542 709,927 838,711 710,262 128,449 -128,784 30,827 -97,957 40,000 -57,957 144,397 86,440

2537 655,989 598,798 511,937 86,861 57,191 -61,898 -4,707 0 -4,707 242,684 237,977 2543 748,105 859,761 760,863 98,898 -111,656 -9,759 -121,415 107,925 -13,490 86,440 72,950

2538 760,138 670,553 569,384 101,169 89,585 -7,647 81,938 0 81,938 237,977 319,915 2544 769,448 901,529 812,044 89,485 -132,081 30,736 -101,345 104,797 3,452 72,950 76,402

2539 850,177 777,246 652,261 124,985 72,931 5,897 78,828 0 78,828 319,915 398,743 2545 848,707 1,003,600 917,767 85,833 -154,893 4,471 -150,422 170,000 19,578 76,402 95,980

2540 844,249 906,641 742,598 164,043 -62,392 -52,753 -115,145 0 -115,145 398,743 283,598

หนวย: ลานบาท 2541 727,393 848,029 687,102 160,927 -120,636 -18,565 -139,201 0 -139,201 283,598 144,397

2546 966,841 979,506 898,300 81,206 -12,665 -28,098 -40,763 76,000 35,237 95,980 131,217

หนวย: ลานบาท 2547 1,127,153 1,140,110 1,052,660 87,450 -12,957 -55,018 -67,975 90,000 22,025 131,217 153,242


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve)

ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 31 สิงหาคม 2558

2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 #REF! #REF! 0 #REF! #REF! 101,098

2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 -55,592 92,921 37,329 0 37,329 101,098 138,427

2554

2555

1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,449 -108,399 200,666 92,267 429,026 521,294

1,977,670 2,295,327 2,148,475 146,852 -317,657 13,549 -304,108 344,084 39,976 521,294 561,270

2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 -130,249 -11,674 -141,923 146,200 4,277 138,427 142,704

2556 2,163,469 2,402,481 2,171,459 231,022 -239,011 845 -238,167 281,949 43,782 561,270 605,052

2551 1,545,837 1,633,404 1,532,479 100,925 -87,568 8,888 -78,680 165,000 86,320 142,704 229,024

หนวย: ลานบาท 2553 2552 1,409,653 1,708,625 1,917,129 1,784,413 1,790,862 1,627,875 126,266 156,538 -507,476 -75,788 131,198 -21,568 -376,278 -97,356 441,061 232,575 64,783 135,220 229,024 293,807 293,807 429,026

หนวย: ลานบาท 2558 2557 (10 เดือน) 2,075,665 1,776,784 2,459,990 2,253,214 2,246,306 2,062,249 213,684 190,965 -384,325 -476,430 -18,630 25,020 -359,305 -495,060 250,000 201,362 -109,306 -293,698 605,052 495,747 495,746 202,409


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 53 124,854 207,452 194,118 13,334 -82,598 -25,058 -107,655 16,000 -91,655 429,026 337,371

หนวย: ลานบาท พ.ย. 53 125,512 223,152 207,201 15,951 -97,640 -20,254 -117,894 20,021 -97,873 337,371 239,498

ธ.ค. 53 144,694 167,767 152,004 15,763 -23,073 80,005 56,931 17,000 73,931 239,498 313,429

ม.ค. 54 129,902 235,192 220,657 14,534 -105,290 -37,801 -143,091 15,000 -128,091 313,429 185,339

ก.พ. 54 126,718 154,689 139,464 15,225 -27,971 -8,650 -36,620 21,084 -15,536 185,339 169,803

ปงบประมาณ 2554 มี.ค. 54 เม.ย. 54 พ.ค. 54 127,476 141,447 128,165 170,913 139,705 211,446 157,010 135,081 205,223 13,903 4,625 6,223 -43,437 1,742 -83,281 -36,480 -16,913 117,889 -79,917 -15,171 34,608 24,500 16,000 5,333 -55,417 829 39,941 169,803 114,386 115,215 114,386 115,215 155,156

ก.พ. 55 124,873 259,061 244,073 14,989 -134,188 14,659 -119,529 23,500 -96,029 241,477 145,448

ปงบประมาณ 2555 มี.ค. 55 เม.ย. 55 พ.ค. 55 138,801 140,817 143,136 369,978 157,570 144,922 351,873 150,279 135,051 18,105 7,290 9,871 -231,177 -16,753 -1,786 90,993 41,433 21,915 -140,184 24,681 20,129 70,110 80,598 15,329 -70,074 105,279 35,458 145,448 75,374 180,653 75,374 180,653 216,111

มิ.ย. 54 342,273 187,593 181,250 6,343 154,680 -13,292 141,388 4,500 145,888 155,156 301,044

ก.ค. 54 99,318 143,032 138,411 4,621 -43,714 13,215 -30,499 8,000 -22,499 301,044 278,545

ส.ค. 54 126,039 143,543 135,473 8,070 -17,504 8,931 -8,573 78 -8,495 278,545 270,050

ก.ย. 54 275,649 193,411 184,648 8,763 82,238 115,856 198,093 53,150 251,243 270,050 521,294

รวม 1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,449 -108,399 200,666 92,267 429,026 521,294 หนวย: ลานบาท

รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที:่ 13 กุมภาพันธ 2558

ต.ค. 54 133,224 166,954 155,910 11,044 -33,730 -157,195 -190,925 0 -190,925 521,294 330,368

พ.ย. 54 125,164 150,234 131,863 18,371 -25,070 -3,116 -28,186 0 -28,186 330,368 302,182

ธ.ค. 54 146,695 172,628 151,587 21,041 -25,933 -10,649 -36,582 0 -36,582 302,182 265,600

ม.ค. 55 138,806 150,463 135,611 14,852 -11,657 -12,467 -24,124 0 -24,124 265,600 241,477

มิ.ย. 55 350,154 157,415 150,381 7,034 192,739 -25,951 166,789 42,891 209,680 216,111 425,792

ก.ค. 55 127,504 179,248 171,242 8,006 -51,744 3,291 -48,453 25,078 -23,375 425,792 402,417

ส.ค. 55 159,709 159,507 152,963 6,544 202 6,825 7,026 55,000 62,026 402,417 464,443

ก.ย. 55 248,787 227,347 217,642 9,705 21,440 43,810 65,249 31,577 96,826 464,443 561,270

รวม 1,977,670 2,295,327 2,148,475 146,852 -317,657 13,548 -304,108 344,084 39,976 521,294 561,270


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 55 149,311 312,153 290,631 21,521 -162,842 -100,607 -263,449 0 -263,449 561,270 297,821

พ.ย. 55 168,805 299,827 270,813 29,014 -131,022 -18,600 -149,622 44,998 -104,624 297,821 193,197

หนวย: ลานบาท

ธ.ค. 55 184,179 173,933 138,335 35,598 10,246 -1,361 8,884 57,938 66,822 193,197 260,019

ม.ค. 56 174,973 208,114 181,092 27,022 -33,141 -14,244 -47,385 14,887 -32,498 260,019 227,521

ก.พ. 56 142,568 152,074 130,538 21,536 -9,506 7,446 -2,059 37,669 35,610 227,521 263,131

ปงบประมาณ 2556 มี.ค. 56 เม.ย. 56 พ.ค. 56 159,046 131,629 170,630 225,477 180,364 135,275 201,278 170,268 125,710 24,199 10,096 9,565 -66,431 -48,734 35,355 -9,997 17,875 -6,231 -76,428 -30,859 29,124 8,266 13,054 20,469 -68,162 -17,805 49,592 263,131 194,969 177,165 194,969 177,165 226,757

มิ.ย. 56 344,907 166,398 155,273 11,125 178,509 -5,438 173,072 24,415 197,487 226,757 424,244

ก.ค. 56 130,334 171,087 158,406 12,681 -40,753 -8,435 -49,188 11,351 -37,837 424,244 386,407

ส.ค. 56 163,781 143,446 130,299 13,147 20,335 -3,702 16,633 28,404 45,037 386,407 431,444

ก.ย. 56 243,305 234,333 218,816 15,517 8,972 144,139 153,111 20,497 173,608 431,444 605,052

รวม 2,163,469 2,402,481 2,171,459 231,022 -239,012 845 -238,167 281,949 43,782 561,270 605,052 หนวย: ลานบาท

รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 56 179,528 258,272 244,001 14,271 -78,744 -21,037 -99,781 0 -99,781 605,052 505,271

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที:่ 13 กุมภาพันธ 2558

พ.ย. 56 153,159 255,803 232,568 23,235 -102,644 -8,541 -111,185 17,000 -94,185 505,271 411,085

ธ.ค. 56 163,710 316,982 284,256 32,727 -153,273 21,622 -131,651 46,294 -85,357 411,085 325,728

ม.ค. 57 167,361 213,209 186,395 26,814 -45,848 -44,399 -90,247 20,147 -70,100 325,728 255,629

ก.พ. 57 128,088 174,379 154,109 20,270 -46,291 -9,253 -55,544 36,870 -18,674 255,629 236,954

ปงบประมาณ 2557 มี.ค. 57 เม.ย. 57 พ.ค. 57 141,721 136,138 159,820 165,457 195,825 154,300 142,036 179,780 142,463 23,421 16,045 11,837 -23,736 -59,687 5,519 -8,467 30,202 -3,743 -32,203 -29,484 1,776 9,849 25,000 31,544 -22,354 -4,484 33,320 236,954 214,601 210,116 214,601 210,116 243,437

มิ.ย. 57 324,371 164,554 154,426 10,128 159,817 -13,156 146,662 1,183 147,845 243,437 391,282

ก.ค. 57 129,071 200,235 189,421 10,814 -71,163 -9,703 -80,866 36,277 -44,589 391,282 346,692

ส.ค. 57 133,134 132,110 124,670 7,440 1,024 2,412 3,435 7,776 11,211 346,692 357,904

ก.ย. 57 259,564 228,864 212,182 16,682 30,700 89,084 119,783 18,060 137,843 357,904 495,747

รวม 2,075,665 2,459,990 2,246,306 213,684 -384,325 25,021 -359,305 250,000 -109,305 605,052 495,747


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)

ต.ค. 57 166,105 367,598 344,801 22,797 -201,494 15,829 -185,666 15,850 -169,816 495,747 325,932

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที:่ 13 สิงหาคม 2558

พ.ย. 57 144,187 205,758 180,660 25,098 -61,571 -31,462 -93,033 9,970 -83,063 325,932 242,869

ธ.ค. 57 186,470 270,745 240,911 29,835 -84,276 15,267 -69,008 5,463 -63,545 242,869 179,324

ม.ค. 58 162,172 215,737 197,891 17,846 -53,565 -26,873 -80,438 17,116 -63,322 179,324 116,002

หนวย: ลานบาท ปงบประมาณ 2558 ก.พ. 58 มี.ค. 58 142,868 173,661 150,428 251,453 131,447 228,371 18,981 23,082 -7,560 -77,793 23,831 -346 16,271 -78,139 50,860 16,103 67,131 -62,036 116,002 183,133 183,133 121,097

เม.ย. 58 149,340 191,488 178,945 12,542 -42,148 4,603 -37,545 42,000 4,455 121,097 125,552

พ.ค. 58 163,443 176,754 163,958 12,796 -13,312 -2,090 -15,402 24,000 8,598 125,552 134,150

มิ.ย. 58 348,036 201,327 186,535 14,792 146,709 -17,020 129,689 0 129,689 134,150 263,839

ก.ค. 58 2558 (10 เดือน) 140,505 1,776,784 221,926 2,253,214 208,731 2,062,249 13,195 190,965 -81,421 -476,430 -369 -18,630 -81,790 -495,060 20,000 201,362 -61,790 -293,698 263,839 495,747 202,409 202,049


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) รายป Table 4-1 CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: ANNUAL DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/ 8/

FY2010 1/ 2/

3/ 4/

FY2011

FY2012

FY2013

1,819,713 2,015,974 2,118,451 2,377,921 2,131,350 2,197,461 2,394,541 2,613,844 1,925,684 2,040,230 2,208,883 2,381,216 205,666 157,230 185,658 232,629 (105,971) (24,256) (90,432) (3,295) (311,637) (181,486) (276,090) (235,924) 10,845 92,188 57,416 1,401 322,482 273,675 333,506 237,324 270,603 272,684 (89,452) 95,340 51,879 991 422,958 141,984

FY2014 2,306,092 2,612,066 2,443,102 168,964 (137,010) (305,973) (145,534) 160,440 119,279 41,161

5/ 2/

3/ 4/

225,210 177,005 172,625 4,380 52,585 48,205 42,800 (5,405) (5,405) -

226,661 206,767 204,986 1,781 21,675 19,894 5,053 (14,844) (14,844) -

253,946 229,335 228,940 395 25,006 24,611 28,520 3,909 3,909 -

378,643 252,043 250,870 1,173 127,774 126,601 125,142 (1,458) (1,458) -

281,835 248,770 249,580 (810) 32,255 33,065 31,297 (1,768) (1,768) -

221,270 77,447 77,447 143,823 143,823 80,633 (63,190) (63,190) -

158,180 50,520 50,520 107,661 107,661 100,558 (7,103) (7,103) -

150,309 56,631 56,631 93,679 93,679 118,972 25,294 25,294 -

180,653 63,067 63,067 117,586 117,586 124,789 7,203 7,203 -

208,079 67,083 67,083 140,996 140,996 156,877 15,880 15,880 -

191,764 191,764 191,764 -

169,258 169,258 169,258 -

193,246 193,246 193,246 -

264,660 264,660 264,660 -

206,502 206,502 206,502 -

2,074,428 2,231,558 2,329,460 2,672,557 2,194,037 2,285,490 2,487,261 2,664,294 1,983,992 2,126,478 2,301,208 2,430,493 210,046 159,011 186,054 233,802 90,437 105,080 28,253 242,064 (119,609) (53,931) (157,801) 8,263 134,278 197,798 204,908 251,332 253,887 251,727 362,709 243,069 202,008 250,736 (60,248) 101,085 51,879 991 422,958 141,984

2,589,504 2,721,416 2,553,263 168,153 36,241 (131,912) 42,640 174,552 133,391 41,161

6/ 2/ 8/ 3/ 4/

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfer Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2008. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update March 31, 2015


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) รายเดือน Table 4-1

2015

CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA

Oct-14

Nov-14

Dec-14

Jan-15

Feb-15

Mar-15

Apr-15

May-15

Jun-15

Jul-15

1. Budgetary Account: 1.

Revenue

1/

2.

Expenditure (2.1+2.2):

2/

2.1 2.2

Expense Net acquisition of nonfinancial assets

3.

Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets

6.

Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

2. Extrabudgetary Accounts: 1.

Revenue

2.

Expenditure (2.1+2.2): 2.1 2.2

5/

2/

Expense Net acquisition of nonfinancial assets

3.

Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets

6.

Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

3. Social Security Funds: 1.

Revenue

2.

Expenditure (2.1+2.2): 2.1

Expense

2.2

Net acquisition of nonfinancial assets

6/

2/ 8/

3.

Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets

6.

Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

4. Elimination of Double Counting: 1.

Revenue

2.

Expenditure (2.1+2.2): 2.1 2.2

7/

2/

Expense Net acquisition of nonfinancial assets

3.

Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets

6.

Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

180,637 329,798 316,712 13,086 (136,075) (149,161) (160,773) (11,612) (11,930) 318

168,627 202,124 189,049 13,075 (20,422) (33,497) (37,807) (4,310) (4,386) 76

186,980 287,029 258,680 28,349 (71,700) (100,049) (94,952) 5,097 4,927 170

177,334 233,423 219,136 14,287 (41,802) (56,089) (13,979) 42,110 41,279 831

164,123 157,539 136,057 21,482 28,066 6,584 79,978 73,394 73,672 (278)

182,164 266,042 230,275 35,766 (48,111) (83,878) (65,032) 18,846 18,243 603

188,576 204,738 184,508 20,230 4,068 (16,162) 27,144 43,306 42,857 449

269,888 285,542 175,689 230,571 155,163 204,791 20,525 25,780 114,725 80,751 94,199 54,971 (10,143) 61,711 (104,343) 6,740 (102,382) 4,960 (1,961) 1,780

157,086 230,696 211,144 19,552 (54,058) (73,610) (55,450) 18,160 18,253 (93)

67,481 27,111 27,714 (602) 39,767 40,369 41,358 989 989 -

16,812 15,460 15,313 147 1,500 1,352 4,783 3,430 3,430 -

20,100 28,230 27,966 264 (7,866) (8,130) (12,497) (4,367) (4,367) -

54,285 14,097 13,844 253 40,441 40,188 36,071 (4,117) (4,117) -

18,006 17,086 16,710 376 1,296 920 243 (677) (677) -

17,059 20,991 20,840 151 (3,781) (3,932) (8,844) (4,912) (4,912) -

39,662 16,614 16,332 282 23,330 23,049 23,725 677 677 -

7,012 10,815 10,587 228 (3,574) (3,802) (6,027) (2,225) (2,225) -

7,535 18,563 17,953 610 (10,418) (11,027) (11,018) 10 10 -

25,290 7,941 7,225 716 18,066 17,351 31,404 14,054 14,054 -

18,030 4,744 4,744 13,286 13,286 2,508 (10,779) (10,779) -

18,070 4,122 4,122 13,948 13,948 21,584 7,636 7,636 -

33,613 15,593 15,593 18,020 18,020 17,338 (682) (682) -

7,674 4,022 4,022 3,652 3,652 10,176 6,524 6,524 -

17,971 3,499 3,499 14,472 14,472 9,098 (5,373) (5,373) -

19,994 4,947 4,947 15,047 15,047 15,645 598 598 -

19,263 4,423 4,423 14,840 14,840 21,908 7,068 7,068 -

18,591 6,240 6,240 12,351 12,351 (1,394) (13,745) (13,745) -

18,571 4,495 4,495 14,076 14,076 17,826 3,750 3,750 -

18,020 6,145 6,145 11,875 11,875 4,630 (7,245) (7,245) -

58,195 58,195 58,195 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

4,958 4,958 4,958 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

5,599 5,599 5,599 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

42,556 42,556 42,556 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

4,275 4,275 4,275 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

4,387 4,387 4,387

29,141 29,141 29,141

3,902 3,902 3,902

4,058 4,058 4,058

20,718 20,718 20,718

-

-

-

-

-

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

207,953 303,458 290,975 12,484 (83,022) (95,506) (116,907) (21,402) (21,720) 318

198,551 216,748 203,525 13,222 (4,974) (18,197) (11,440) 6,757 6,681 76

235,094 325,253 296,640 28,613 (61,546) (90,159) (90,111) 48 (122) 170

196,737 208,986 194,446 14,540 2,291 (12,249) 32,269 44,517 43,686 831

195,825 173,849 151,991 21,858 43,834 21,976 89,319 67,344 67,622 (278)

214,830 287,593 251,675 35,917 (36,845) (72,763) (58,231) 14,532 13,929 603

218,360 196,633 176,122 20,512 42,237 21,726 72,777 51,051 50,602 449

291,590 307,590 188,843 249,571 168,089 223,181 20,753 26,390 123,502 84,409 102,748 58,018 (17,565) 68,518 (120,313) 10,500 (118,352) 8,720 (1,961) 1,780

179,678 224,064 203,795 20,268 (24,117) (44,386) (19,416) 24,969 25,062 (93)

5. Consolidated Central Government: 1.

Revenue

1/

2.

Expenditure (2.1+2.2):

2/

2.1 2.2

Expense Net acquisition of nonfinancial assets

3.

Net operating balance (1-2.1)

3/

4.

Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)

4/

5.

Net acquisition of financial assets

6.

Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/ 8/

Net incurrence of liabilities 6.1

Domestic

6.2

Foreign

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2011. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update Aug 31, 2015


สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2540-2543

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2540 จํานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.00 16,986 18.09 47,386 50.48 29,508

31.43

843,576

ปี 2541 จํานวนเงิน สัดส่วน 96,056 100.00 16,759 17.45 48,667 50.67

30,630

31.89

733,462 11.13

ที�มา : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ�นและสํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที� 27 มีนาคม 2556

หน่วย : ล้านบาท ปี 2542 ปี 2543 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.00 94,721 100.00 17,808 17.67 17,404 18.37 44,870 44.51 45,096 47.61

38,127

37.82

709,111 13.10

32,222

34.02

749,949 14.22

12.63


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2544-2550

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ�มที�รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.00 175,850 100.00 184,066 100.00 241,948 100.00 293,750 100.00 17,702 11.08 21,084 11.99 22,258 12.09 24,786 10.24 27,019 9.20 55,652 34.84 58,144 33.07 60,218 32.72 82,623 34.15 102,520 34.90 12,669 7.93 19,349 11.00 35,504 19.29 43,100 17.82 49,000 16.68 73,730 772,574

46.15 20.68

77,273 803,651

43.94 21.88

66,086 829,496

35.90 22.19

91,438 1,063,600

37.79

115,211 1,250,000

22.75

หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ�งตั�งอยู่ที�ส่วนราชการที�ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจํานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลําดับ

39.22 23.50

หน่วย : ล้านบาท ปี 2549 ปี 2550 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 327,113 100.00 357,424 100.00 29,110 8.90 32,021 8.96 110,190 33.69 120,729 33.78 61,800 18.89 65,300 18.27 126,013 1,360,000

38.52 24.05

139,374 1,420,000

38.99 25.17


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2551-2558

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ�มที�รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

หน่วย : ล้านบาท ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 376,740 100.00 414,382 100.00 340,995 100.00 431,305 100.00 529,979 100.00 572,670 100.00 622,625 100.00 646,344 100.00 35,224 9.35 38,746 9.35 29,110 8.54 38,746 8.98 46,530 8.78 50,282 8.78 56,306 9.04 61,458 9.51 128,676 34.16 140,679 33.95 126,590 37.12 148,109 34.34 175,457 33.11 187,988 32.83 203,819 32.74 218,222 33.76 65,000 17.25 71,900 17.35 45,400 13.31 70,500 16.35 86,900 16.40 97,900 17.10 109,000 17.51 109,000 16.86 147,840 1,495,000

39.24 25.20

163,057 1,604,640

39.35 25.82

139,895 1,350,000

41.03 25.26

173,950 2/ 1,650,000

40.33 26.14

221,092 1,980,000

41.72 26.77

หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทํางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ�มเติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ�งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ�มเติม 5,957 .4 ล้านบาท ทั�งนี� เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื�อรวมกับที�ได้รับการจัดสรรเพิ�มเติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท ที�มา : สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ�นและสํานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที� 21 ตุลาคม 2557

236,500 2,100,000

41.30 27.27

253,500 2,275,000

40.71 27.37

257,664 2,325,000

39.86 27.80


เรื่อง

ผูรับผิดชอบ

โทรศัพท

E-mail

บทสรุปผูบริหาร สถานการณดานรายได สถานการณดานรายจาย การเบิกจายเงินกูตางประเทศ การเบิกจายของกองทุนนอก งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบ กระแสเงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง อปท. สถานการณดานหนี้สาธารณะ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอํานาจการคลังใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สถิติดานการคลัง - รายไดรัฐบาล - โครงสรางงบประมาณ - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - สัดสวนรายไดของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น

สายทิพย คําพุฒ อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ไพลิน ชางภิญโญ ไพลิน ชางภิญโญ

3556 3555 3556 3595 3595

nui-642@hotmail.com dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com pailin@fpo.go.th pailin@fpo.go.th

มณีขวัญ จันทรศร

3558

maneekwan@fpo.go.th

ไพลิน ชางภิญโญ

3595

pailin@fpo.go.th

ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ ศุทธธี เกตุทัต ลลิตา ละสอน ธนากร ไพรวรรณ

3544 3586 3563 3546

thammarit@gmail.com suthee@fpo.go.th lalita.lasorn@gmail.com thanakornpepe@gmail.com

ณัฏฐรวี กรรณุมาตร

3576

sandyfaprew@hotmail.com

มณีขวัญ จันทรศร

3558

maneekwan@fpo.go.th

อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ศุทธธี เกตุทัต

3555 3556 3586

dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com suthee@fpo.go.th

ไพลิน ชางภิญโญ

3595

pailin@fpo.go.th

ณัฏฐรวี กรรณุมาตร

3576

sandyfaprew@hotmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.