The Roots of Life Issue

Page 1

1


2

Inside News

ข่าวฝาก ฝากข่าว

พบกันอีกเช่นเคยค่ะ กับเรือ่ งราวทีอ่ ยากฝากถึงผูอ้ า่ น เรือ่ งแรกเลยนะคะ ราคา สมาชิกนิตยสารของเราปรับใหม่เป็นปีละ 240 บาทตามรายละเอียดใบแทรกในเล่ม สำหรับสมาชิกเก่ายังมีสทิ ธิตอ่ อายุในราคาเดิม รีบ ๆกันหน่อยนะคะ เดีย๋ วจะขาดช่วง ไม่ได้อ่านต่อเนื่อง ข่าวต่อไปสำหรับผู้สนใจในภาษาพม่าหรือมีเพื่อนที่อ่านภาษาพม่าได้ ตอนนี้ เพื่อนไร้พรมแดนได้ออกวารสารฉบับภาษาไทย-พม่าซึ่งเป็นการรวบรวมบทความใน นิตยสารเล่มก่อน ๆมาแปลเป็นภาษาพม่า ท่านใดสนใจกรุณาส่งแจ้งความจำนงพร้อม ส่งชือ่ ทีอ่ ยูแ่ ละสอดแสตมป์ 6 บาทมาให้เรา ท่านทีต่ อ้ งการมากกว่าหนึง่ เพือ่ แจกจ่าย กรุณาติดต่อ อีเมล์ borders@chmai2.loxinfo.co.th หรือ โทร. 053-336298 นอกจากนี้ ล่าสุดเรายังมีหนังสือ "สิทธิของเด็กเด็ก" เป็นหนังสืออ่านง่าย ๆภาษาไทย-กะเหรี่ยง พร้อมภาพประกอบจากเด็ก ๆทัง้ ในเมืองและเด็กผูล้ ภ้ี ยั ทีเ่ ราตีพมิ พ์ขน้ึ เพือ่ บริจาคให้แก่ ห้องสมุดโรงเรียนประถม-มัธยม และในค่ายผูล้ ภ้ี ยั ท่านทีส่ นใจอยากซือ้ หาเพือ่ บริจาค ให้โรงเรียนในราคาเล่มละ 80 บาท สามารถใช้แบบฟอร์มการสั่งซื้อที่แทรกไว้ในเล่ม พร้อมระบุชอ่ื หนังสือและโรงเรียน หรือจะระบุจงั หวัดให้เราเลือกโรงเรียนให้กไ็ ด้คะ่ ข่าวฝากประชาสัมพันธ์ กลุม่ นักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ม.กรุงเทพฯ กำลังจะจัด ละครเวทีเพือ่ การกุศลรายได้มอบให้แก่มลู นิธสิ ายใจไทย เรือ่ ง "ผมคิดถึงแม่แบบมหัศจรรย์" วันที่ 6-8 ก.ค.นี้ ณ อาคารมนูญผล 3 ผูส้ นใจอยากเป็นกำลังใจให้แก่คนหนุม่ สาวทีท่ ำ กิจกรรมเพือ่ สังคม ติดต่อได้ท่ี 089-2080366 หรือเว็บไซท์ www.lakornnitade.com ค่ะ ท้ายสุด ข่าวสำคัญมากสำหรับปีน้ี เพือ่ นไร้พรมแดนได้เปิดโครงการ "บทเพลง ไร้พรมแดน" ซึง่ เป็นประกวดบทเพลงทีส่ ง่ เสริมอุดมการณ์สทิ ธิมนุษยชนไร้พรมแดนตาม รายละเอียดในกรอบปกหลังด้านในของเล่ม ขอเชิญชวนผูส้ นใจไม่จำกัดอายุมาร่วมกัน ส่งเสียงดนตรีทจ่ี ะกล่อมเกลาสังคมนีใ้ ห้นา่ อยูด่ ว้ ยกันนะคะ เจอกันฉบับหน้าเดือนกรกฎาคมนะคะ

Nice to see you again! As the magazine gets thicker, the subscription fee needs to be increased a bit to 240 baht per year. For current subscribers, you are entitled to extend your membership at the same price, all the details are in the form attached to this magazine. For those who read Burmese, or have a friend who reads Burmese, we are happy to announce the launch of our Thai-Burmese language journal, which compiles articles from this magazine, translated into Burmese. You can get a free copy by writing a request to us with your name and postal address and a 6-baht stamp. If you want more to help distribute in your areas, please contact borders@chmai2.loxinfo.co.th or call 053-336298. Another book that we are proud of is The Rights of The Children, a simple version of the Convention on the Rights of the Child in Thai and Karen language with illustrations from children. The book is published for primary and high schools and for schools in refugee camps. If you'd like to help purchase booksfor schools, the book costs 80 baht. Please use the attached form to identify the name of the book and the schools, or a province if you'd like us to select a school for you. See you in July. Bye for Now!

ภาพปกหน้าโดย DAN

นิตยสารเพือ่ นไร้พรมแดนเป็นนิตยสารรายสองเดือน ท่านสามารถหยิบอ่านได้จากร้านกาแฟ ร้านอาหาร ห้องสมุดสถานศึกษา และ สถานประกอบการที่รับหนังสือจากดัช เซอร์เคิล สำหรับในเชียงใหม่ ท่านสามารถหาหยิบติดมือกลับบ้านได้จาก ร้านหนังสือแซงแซว และร้านน้ำชาหรือ Teashop (หน้าม.ช.), ร้านกาแฟ Mo C' Mo L (ถ.ห้วยแก้ว), ร้านเล่า และสวนนม (กาดเชิงดอย), ร้านกาแฟวาวี ร้านแฮปปีฮ้ ทั และร้านหนังสือโครงการทอลล์ทคี พลาซ่า (ถ.นิมมานเหมินทร์), ร้านหนังสือดอกหญ้า ร้านหนังสือนายอินทร์ ร้านหนังสือ ซีเอ็ดบุ๊ค ร้านกาแฟแบล็คแคนย่อน ร้านชิค คาเฟ และร้านแมงป่อง (แอร์พอร์ทพลาซ่า), และร้านหนังสือดวงกมล

กองบรรณาธิการ พรสุข เกิดสว่าง สุพัตรา โชคลาภ วันทนีย์ มณีแดง แปลภาษา ส. กาญจนา กนกจันทร์ พัฒนพิชัย พรสุข เกิดสว่าง บรรณาธิการภาษาอังกฤษ ซาบรีนา ยอวารี เวเนสซา แลมป์ นักเขียนรับเชิญ สิงห์ สุวรรณกิจ ณัชนน แนะปอแต่ ก่อนตะวัน ผิวทอง วสุ ศรียาภัย และมหามิตรทุกท่าน ศิลปกรรม วันทนีย์ มณีแดง สมาชิกและเผยแพร่ สุพัตรา โชคลาภ พิมพ์ท่ี วนิดา เพรส

Editorial Team Pim Koetsawang Supattra Choklarp Wantanee Maneedang Translator S. Kanchana Kanokchan Pattanapichai Pornsuk Koetsawang English Editors Sabrina Gyovary Venessa Lamb Contributors Sing Suwannakij Natchanon Naepawtae Kontawan Pewthong Wasu Sriyapai and other friends Art Editor Wantanee Maneedang Member and Distribution Supattra Choklarp Printer Wanida Press

เพื่อนไร้พรมแดนเป็นองค์กรเอกชนไทยที่ก่อตั้งเมื่อปี 2542 ที่ทำงานส่งเสริมความเข้าใจในสิทธิมนุษยชนไร้พรมแดน และเครือข่ายภาคประชาชนระหว่างประชาชนไทยและผู้พลัดถิ่นจากประเทศพม่า งานของเรามุ่งพัฒนาในระยะยาว อย่างยัง่ ยืน กิจกรรมหลักได้แก่งานสือ่ ทางเลือกประเภทต่าง ๆ, โครงการการศึกษาสิทธิมนุษยชน และส่งเสริมเครือข่าย ประชาชนผ่านทางเวทีเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ น, งานส่งเสริมศักยภาพและการให้คำปรึกษาเกีย่ วกับการผลิตสือ่ กับองค์กร ชุมชน หากท่านต้องการตีพมิ พ์หรืออ้างอิงข้อเขียน บทความ และภาพจากนิตยสารเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สังคม กรุณาสือ่ สารให้เรา ทราบล่วงหน้า สำหรับภาพจากแหล่งอื่นที่ใช้ในนิตยสารนี้ กรุณาติดต่อโดยตรงที่เจ้าของภาพ Friends Without Borders is a Thai NGO, established in 1999 to promote all human rights for all and the Thai-Burma people's network. With a small team and big groups of friends, the work started from a small scale, with a hope to expand to wider and more diverse groups of people in Thai society. Our main activities are alternative media, human rights education and peoples' network promotion via workshop training and exchange forums, and capacity building and consultancy for community-based organizations. เพือ่ นไร้พรมแดน ตู้ ปณ. 180 ไปรษณียม์ หาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50202 โทร./แฟกซ์ 053-336298 E-mail: borders@chmai2.loxinfo.co.th We are happy to receive comment, suggestions, and articles from all of you. Please contact, FRIENDS WITHOUT BORDERS P.O. Box 180, Chiangmai University P.O., Chiang Mai 50202 Thailand Phone & Fax: 053-336298 E-mail: borders@chmai2.loxinfo.co.th


When my grandmother was a little girl, she once tried to memorize the prayers that my great-grandmother told her to as an exchange for a permission to join adults in a trip to Shwe Dagon Pagoda in Rangoon. In those days, such a trip meant traveling on foot, with horses carrying your belongings along the mountains and forests for over month. Yet, the people made the effort with faith. My grandmother is a woman of five reigns; she was born in King Rama the V reign and lived a long life until recently. There are many things I have learnt from her. The story of her trip to Rangoon is another one that confirmed for me that the Thai people in those days didn't hate or detest the Burmese and Shwe Dagon as we were directed to by the nationalist media. The people didn't travel for months just to stand cursing about the pagoda's gold that was believed to be taken from Thailand as the Thai tourists and guides these days would do. For my grandmother and her elders, Shwe Dagon was a shrine that was home to the Buddha's remains and therefore it was worth to make the effort to pay their respects at least once in their life time. The Burmese-Karen-Mon towns were also exciting neighborhoods to visit along the way, and the excitement had nothing to do with national resentment. Today, we are regulated to study and consume information from the state's textbooks and influential media that reproduce nationalist propaganda that worships 'us' and looks down upon 'others'. The passing on of knowledge and information from ordinary people's direct experiences, from one generation to the other, was ignored. The role of the elderly in inheriting and carrying-on their way of life in society is restricted by these systems, and reduces the elderly to be mere dependents. At best, they are placed as a symbol of the 'culture' in its narrowest meanings, which is whatever relates to 'old', 'traditional' or things that must be 'preserved'. Friends Without Borders 'The Roots of Life' issue, with voices and stories from the elderly of diverse communities, was a big challenge for all of us. It wasn't easy to obtain even basic information related to older persons. There may be a few agencies that provide help and assistance to our elderly, but almost none take up the issue of their rights and development. In refugee camps, the elderly are considered an 'extremely vulnerable' group of people waiting for help. In the migrant workers' community, they were almost invisible, especially when the policy makers still believe that migrants from Burma are in their youth just as the same as the Thais who go sell labor aboard. The fact is the situation of Thailand and Burma is different. A large number of migrants from Burma are 'refugee workers' and those who have 'fled' economic and political violence with their extended families. These people, from babies to the old grandparents, have no chance to obtain a work permit to stay and therefore are at risk of getting arrested and be separated from their families. Friends Without Borders really feels encouraged to be working with regard to our elder readers. The warmest confidence is in the fact that you, us, and people of all generations join the walk on this path "without borders" together. With faith in human dignity Pim Koetsawang

แม่เฒ่ากลับจากทำบุญ เมืองมัณฑะเลย์ ภาพโดย ทอฝัน

3

ตอนทีค่ ณ ุ ยายของดิฉนั เป็นเด็กเล็ก ไว้ผมจุก นุง่ โจงกระเบน ท่านได้อดทนท่องบท สวดมนต์ทค่ี ณ ุ ทวดกำหนดไว้จนคล่อง เพือ่ จะให้ได้รบั อนุญาตให้ตดิ ตามญาติผใู้ หญ่ไป นมัสการพระมหาเจดียช์ ะเวดากองทีก่ รุงย่างกุง้ ประเทศพม่าให้ได้ การเดินทางสมัยนัน้ คือการเดินเท้ารอนแรมไปตามป่าเขาพร้อมกับม้าต่างสัมภาระเป็นเดือน ๆ แต่ชาวบ้าน ก็ดน้ั ด้นไปด้วยจิตศรัทธาอย่างแท้จริง คุณยายของดิฉนั เป็นคนห้าแผ่นดิน คือเกิดในปลายรัชสมัยของรัชกาลทีห่ า้ และมี ชีวติ ยืนยาวมาจนเพิง่ จากโลกไปเมือ่ ไม่กป่ี มี านี้ แม้จะไม่ได้มโี อกาสใกล้ชดิ กันมากนัก ดิฉนั ก็ได้เรียนรูห้ ลายสิง่ หลายอย่างจากท่าน รวมถึงเรือ่ งราวการเดินเท้าไปกรุงย่างกุง้ ทีย่ นื ยันว่า คนไทยสมัยก่อนไม่ได้มจี ติ รังเกียจเดียดฉันท์พม่าและชะเวดากองดังเช่นที่ เราถูกบอกให้เชือ่ กัน พวกเขาไม่ได้รอนแรมไปเพียงเพือ่ จะยืนขบเขีย้ วเคีย้ วฟันว่าทอง บนเจดียเ์ มืองพม่านัน้ เป็นของไทยอย่างทีน่ กั ท่องเทีย่ วและไกด์สมัยนีช้ อบทำ สำหรับ คุณยายและผูใ้ หญ่สมัยนัน้ ชะเวดากองคือมหาเจดียท์ บ่ี รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุซง่ึ ถือ ว่าเป็นบุญนักทีจ่ ะได้ไปไหว้สกั ครัง้ ในชีวติ และเมืองพม่า-กะเหรีย่ ง-มอญก็เป็นเพือ่ นบ้าน ข้างเคียงทีน่ า่ ตืน่ เต้นต่อการไปเยีย่ มเยือน หาใช่เมืองของผูร้ า้ ยแต่อย่างใดไม่ ทุกวันนีเ้ ราถูกจัดระบบให้รำ่ เรียนและรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารจากตำราของรัฐ และสือ่ ทรงอิทธิพลบางชนิดอย่างเช่นโทรทัศน์ ทีผ่ ลิตซ้ำโฆษณาชวนเชือ่ ชาตินยิ มชนิดเทิดทูน "พวกเรา" และตัดขาดเหยียดหยาม "พวกเขา" การถ่ายทอดความรู้และข้อมูลจาก ประสบการณ์จริงของคนธรรมดาจากรุน่ สูร่ นุ่ ถูกลดความสำคัญลงเรือ่ ย ๆ บทบาทของ ผูส้ งู อายุในการสานต่อและพยุงสังคมจึงถูกจำกัดด้วยระบบระเบียบทีว่ า่ นีจ้ นเหลือเป็น เพียงผูพ้ ง่ึ พา หรืออย่างดีกถ็ กู วางตำแหน่งให้เป็นเพียงสัญลักษณ์วฒ ั นธรรมในเชิงแคบ ซึง่ คืออะไรก็ตามทีเ่ กีย่ วพันกับคำว่า "เก่า" "เดิม" หรือทีจ่ ะต้อง "อนุรกั ษ์" เอาไว้ เท่านัน้ นิตยสารเพื่อนไร้พรมแดนฉบับ "รากของชีวิต" นี้ ได้รวมรวมเสียงและเรื่องราว ของผูส้ งู อายุจากหลากหลายชุมชน พร้อมด้วยสองคอลัมน์ใหม่เกีย่ วกับสังคมการเมือง ประเทศเพือ่ นบ้านโดยปีศาจผ้าขนหนู อันเป็นนามแฝงของเพือ่ นนักหนังสือพิมพ์จาก เมืองหลวง และเรือ่ งเล่าของโลกกว้างโดยคุณลาพอ การตระเตรียมต้นฉบับครัง้ นีเ้ ป็น งานท้าทายของเราทุกคนอย่างมาก เพราะการจะหาข้อมูลพืน้ ฐานเกีย่ วกับผูส้ งู อายุใน สังคมเรานัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย แม้จะมีหน่วยงานรัฐและเอกชนทีท่ ำงานให้การช่วยเหลือ สงเคราะห์คนชราอยูบ่ า้ ง ก็แทบจะไม่มใี ครจับประเด็นสิทธิเสรีภาพและการพัฒนาของ ผู้สูงอายุเลย ในค่ายผู้ลี้ภัย คนชราคือกลุ่มเปราะบางพิเศษที่ต้องรอความช่วยเหลือ เท่านัน้ และในชุมชนแรงงานอพยพ ผูส้ งู อายุกแ็ ทบจะถูกมองเป็นอากาศธาตุ โดยเฉพาะ เมือ่ ผูก้ ำหนดนโยบายยังคงเชือ่ อยูจ่ นถึงทุกวันนี้ (แม้จะมีคนเพียรให้ขอ้ มูลเป็นอย่างอืน่ ) ว่าชุมชนแรงงานจากพม่านัน้ มีแต่หนุม่ สาววัยทำงานเหมือนกับคนไทยทีไ่ ปต่างประเทศ ทัง้ ๆทีท่ จ่ี ริงแล้ว สถานการณ์ของพม่าและไทยนัน้ ต่างกัน แรงงานอพยพกลุม่ ใหญ่กค็ อื "แรงงานลีภ้ ยั " และผูท้ ่ี "หลบหนี" ความรุนแรงทางเศรษฐกิจและการเมืองมาพร้อมกับ ครอบครัวใหญ่ซง่ึ มีตง้ั แต่ลกู เด็กเล็กแดงไปจนถึงพ่อเฒ่าแม่เฒ่า ซึง่ เมือ่ โดยเงือ่ นไขแล้ว ไม่สามารถจะขอใบอนุญาตทำงานได้เหมือนหนุ่มสาว ก็ต้องตกอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อ การถูกจับและพรากจากครอบครัวอยูเ่ ช่นนัน้ เพือ่ นไร้พรมแดนรูส้ กึ เป็นกำลังใจอย่างยิง่ ทีไ่ ด้ทำงานอยูใ่ นสายตาของท่านผูอ้ า่ น สูงอายุหลายท่าน ความอบอุน่ ใจสูงสุดของพวกเราก็คอื การทีท่ า่ น เรา และคนทุกรุน่ ทุก สมัยในสังคมจะร่วมทางกันบนเส้นทางมิตรภาพไร้พรมแดนนีต้ อ่ ไป ด้วยความศรัทธาในศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ พรสุข เกิดสว่าง


4

บนเส้นความหวัง .... ลูกหลานปกาเกอะญอเอ๋ย ในวันทีน่ ำ้ ตาของเจ้าไหลลงเปือ้ นแก้ม เจ้าเคยได้ถามตัวเองไหมว่า วันนีเ้ จ้าร้องไห้เพราะสิง่ ใดกัน.... เสียงใส ๆของคุณยายบิวตีข้ า่ ยดังขึน้ ผมตาโต เงยมองหน้าคุณยายและ เห็นรอยยิม้ ผูห้ ญิงร่างเล็กบาง ผิวพรรณตกกระเหีย่ วย่น เส้นผมดำแซมสีเทาอ่อน รวบเป็นมวยตึง ดูภายนอกไม่ตา่ งกับคนชราทีม่ อี ยูม่ ากมายในค่ายผูล้ ภ้ี ยั แต่ แววตาสุกใสของคุณยายมีอะไรบางอย่างทีเ่ รียกให้ผมประทับใจอยากเข้าใกล้ ผมได้รจู้ กั กับคุณยายบิวตีข้ า่ ยทีค่ า่ ยผูล้ ภ้ี ยั แม่หละเมือ่ ปลายปีทแ่ี ล้ว และ หลังจากนัน้ ก็อดไม่ได้ทจ่ี ะแวะไปเยีย่ มหาอยูบ่ อ่ ย ๆ ที่กระท่อมไผ่หลังนั้นมี หนังสือเล่มเล็ก ๆเล่มหนึง่ ทีม่ ขี อ้ ความเขียนถึงเรือ่ งราวการทำงานของคุณยาย อยู่ไม่กี่บรรทัด แต่คุณยายเก็บรักษามันไว้อย่างทะนุถนอมเหมือนเป็นสมบัติ ล้ำค่า เวลาคิดถึงเพือ่ นและงานของชีวติ ทีเ่ คยทำมา คุณยายก็จะหยิบหนังสือ นัน้ มาเปิดดูเงียบ ๆอยูใ่ นห้องนอนฝาไม้ไผ่ตามลำพัง และบางครัง้ ถ้ามีคนอยาก จะฟัง คุณยายก็จะหยิบหนังสือมาเปิดอ่านเล่าให้ฟงั คุณยายเติบโตขึน้ ในช่วงสงครามโลกครัง้ ทีส่ องในการดูแลของลุง วันหนึง่ เมื่อทั้งทหารญี่ปุ่นและอังกฤษถอนทัพออกไปจากประเทศพม่าและบ้านเมือง ดูเหมือนจะสุขสงบ คุณยายก็เริ่มใช้ชีวิตเป็นครูในหมู่บ้านบนดอยนั้น ..ไม่มี

สมุดดินสอสำหรับนักเรียนหรอก.. แต่เราเป็นครูกต็ อ้ งหาหนทางมาให้เด็ก ๆอ่าน ออกเขียนได้ให้ได้ ... คุณยายสอนหนังสืออยูไ่ ด้สามปี สงครามระหว่างกองทัพ พม่าและกะเหรี่ยงกู้ชาติก็ปะทุขึ้น ไฟเผาผลาญแผ่นดินลุกลามมาถึงหมู่บ้าน และโรงเรียนของครูบวิ ตีข้ า่ ยมอดไหม้ลงเป็นเถ้าถ่าน คุณยายอพยพย้ายหนีสงครามเข้าไปอยู่ในเขตเมืองพะโค และหันมา เรียนรูท้ จ่ี ะเป็นพยาบาลในภาวะสงครามทีใ่ คร ๆก็เรียกกันว่า "หมอ" สีป่ ตี อ่ มา แม้ในตอนทีย่ าหายากกว่าลูกกระสุนปืน คุณยายบิวตีข้ า่ ยก็ยงั มุง่ มัน่ เดินทางไป ดูแลคนเจ็บไข้ทกุ หนทุกแห่ง ก่อนจะขอลาพักเมือ่ ถึงวันหนึง่ ทีภ่ าระความเป็นเมีย และแม่ยดึ เวลาเต็มวันไป แต่พอลูก ๆดูแลตัวเองกันได้แล้ว คุณยายก็กลับไป ทำงานให้กบั จังหวัดมือตรอทางภาคเหนือของรัฐกะเหรีย่ ง ครัง้ นี้ ในฐานะทัง้ เป็น ครู หมอ ผูด้ แู ลคริสตจักร และสมาชิกองค์กรสตรีชาวกะเหรีย่ ง เดินขึน้ ดอยลง ดอยไปตามหมูบ่ า้ นต่าง ๆอยูเ่ ป็นเวลากว่า 20 ปี จนแข้งขาทีเ่ คยว่องไวก็เริม่ ก้าว ติดขัด และยากลำบากเต็มทีทจ่ี ะหลบหนีกระสุนปืนและลูกระเบิดจากทีน่ น่ั ไป ทีน่ แ่ี ละทีน่ ไ่ี ปทีโ่ น่น ผมนึกภาพหญิงชราวัยปลายหกสิบปีเดินขึ้นดอยลงดอยในเขตสงคราม ดวงหน้าของหญิงคนนัน้ น่าจะเหน็ดเหนือ่ ยและเศร้าหมอง แต่คณ ุ ยายบิวตีข้ า่ ย


5

กลับเล่าถึงช่วงชีวิตการทำงานตอนนั้นด้วยสีหน้าอิ่มเอิบและมีชีวิตชีวาที่สุด บางครัง้ การทีเ่ ราได้ทำอะไรดี ๆคงจะควรค่าแก่ความทรงจำและการเล่าถึงว่ามี ใครทำอะไรร้าย ๆกับเรา ในวัย 73 ปี คุณยายบิวตีข้ า่ ยอพยพเข้ามาเป็นผูล้ ภ้ี ยั ในประเทศไทย สิบปีต่อจากนั้นจนถึงวันที่นั่งคุยกับผมอยู่บนกระท่อมไม้ไผ่ หลังนี้ คุณยายก็ทำหน้าทีเ่ ป็นผูด้ แู ลคนอืน่ ๆ โดยเฉพาะเด็ก ๆและเยาวชนใน โรงเรียนหรือคริสตจักรใกล้บา้ น บ่อยครัง้ คุณยายได้รบั เชิญให้ไปสอนเด็กรุน่ หลัง ที่แทบจะไม่มีความทรงจำเกี่ยวกับบ้านเกิด แต่สิ่งสำคัญที่สุดที่คุณยายสอน กลับเป็นเรือ่ งราวของความรักและความดี มากกว่าเรือ่ งบ้านและชาติ ... เราสอนกันแต่ให้รกั ผูอ้ น่ื รักสังคม รักมนุษยชาติ แต่ไม่ได้สอนให้รจู้ กั รักตัวเอง คนเราถ้าไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง ก็จะรักคนอืน่ ไม่เป็น และมีแต่การดูถกู เหยียดหยามหรือทำลาย.. คุณยายบอกผม ความดีแบบดัง้ เดิมทีใ่ ครอาจว่า ล้าหลัง ความดีทป่ี ยู่ า่ สอนสัง่ มาและคุณยายหวังจะถ่ายทอดให้กบั ลูกหลาน ปกาเกอะญอ ก็คอื ความดีทม่ี าจากการเห็นคุณค่าของตัวเองในโลกของความจริง .. ยายรู.้ . ผูล้ ภ้ี ยั ถูกจำกัดสิทธิไม่ให้ไปไหนมาไหน เยาวชนไม่รวู้ า่ อนาคต จะเป็นยังไง หลายคนตื่นขึ้นมาตอนเช้าแล้วรู้สึกว่าชีวิตไม่มีอะไรแตกต่างไป

จากเมือ่ วาน.. ..เมือ่ เป็นอย่างนีน้ านวันเข้า พวกเขาก็เริม่ รูส้ กึ ว่าโลกแห่งความจริง ใบนีอ้ ปั ลักษณ์ไม่นา่ อยูเ่ อาเสียเลย ชีวติ ทุกวันนีไ้ ม่มคี ณ ุ ค่า และเขาก็จะพยายาม หนีมนั ไปด้วยการไปอยูใ่ นโลกทีไ่ ม่ใช่ความเป็นจริง .... ชีวติ ทัง้ ชีวติ ของคุณยายอยูใ่ นภาวะสงคราม ความทุกข์ยาก การพลัดพราก และการพลัดถิ่นฐานบ้านเกิด แต่คุณยายบิวตี้ข่ายก็ยังนั่งพูดกับผมอยู่ตรงนี้ ด้วยรอยยิม้ .... บ้านเก่าของยายตอนนีค้ งจะเป็นป่าไปแล้ว ยายย้ายมามากพอแล้ว ทีน่ เ่ี ป็นบ้านสุดท้ายของยาย และยายก็พร้อมทีจ่ ะฝังร่างทีน่ .่ี .. ผมมองคุณยายบิวตีข้ า่ ย และอดรูส้ กึ ร้อนวูบทีห่ น้าไม่ได้เมือ่ นึกถึงตัวผมเอง ทีบ่ างครัง้ ทีท่ อ้ ถอยไร้พลัง ผมเคยคิดว่าคนชราแบบคุณยายคือคนทีผ่ มจะต้อง คอยดูแลเพราะแกจะทำอะไรไม่ได้แล้ว แต่แกกลับกำลังช่วยดูแลจิตวิญญาณ ของผม .. อย่าพูดว่าอะไรเป็นไปไม่ได้ คนเราต้องมีหวังทีจ่ ะมีชวี ติ อย่ามัวแต่รอ้ งไห้ แต่ถามตัวเองเถอะว่า วันนีเ้ จ้าร้องไห้เพราะสิง่ ใดกัน

On the Path of Hope "To the children of the Karen: on the days that tears roll down your face, do you ever ask yourself what you're crying for?" That was the voice of Grandma Beauty Kai, clear as a bell. I eagerly look up at her smile. Grandma is a frail woman, wrinkled and freckled, with salt and pepper hair tied up in a tight bun. She looks no different from other elderly folks in the refugee camp. But deep in her eyes is something that draws me to her. I got to know Grandma Beauty Kai from Mae La refugee camp at the end of last year. After that I couldn't resist making frequent visits. Inside the bamboo hut she keeps a tiny book containing an article with a few lines documenting her work. She cherishes this as a great treasure. When she thinks about the old days and her life's work, she take out the book and look through it quietly in her thatched roof bedroom. When someone wants to hear her stories, she might read from this book. Grandma grew up during World War II, brought up by her uncle instead of her parents. One day when the Japanese and British armies withdrew from Burma and it started to look like life would be peaceful again, she began her career as a teacher up in the mountains. "We didn't have notebooks for the students. But I was the teacher so I had to find a way to teach them to read and write,"she told me. She had been teaching for three years when the war between Burma's army and the Karen National Union erupted. The great fire of war consumed her village. Her little school also burned down to ashes. Grandma escaped the war into the town of Pegu and started studying to be a medic working in armed conflict situation. Four years later, when medicines were more scarce than bullets, Grandma was still determined to travel to visit patients everywhere until she was forced to take time off when her responsibility as a wife and mother claimed more of her time. After her children could look after themselves, she returned to work for Mutraw district

in the northern Karen state. This time she worked as a teacher, medic, clergy, and a member of Karen Women's Organization. She climbed hills and crossed creeks traveling to remote villages for 20 years until her agile, fast pace turned slow and clumsy. It became harder to dodge bullets and grenades trekking from one place to another. I try to visualize a 60 year-old woman trekking up and down mountains in battle infested lands. Her face should be weary and sad but Grandma Beauty Kai told tales of her work with bright eyes and a lively expression. Sometimes memories of good deeds are much more precious and worth keeping than ghastly ones. At 73, Grandma became a refugee in Thailand. For ten years now she's been telling me tales in her bamboo hut and still taking care of others, particularly of children and teenagers in schools or churches nearby. Often she is invited to teach children that are too young to have any memory of their ancestor's land. But the most important lesson she teaches turns out to be the lesson of love and caring, rather than lessons of homeland and nations. "We teach people to love others, to love their communities and the human race. But we don't teach people to love themselves. If people can't see their own value they'll never learn to love others. They'll only know to fight and to destroy," Grandma told me. The old belief that one may call old fashioned, the old belief that has been taught since our ancestor's generation, this is what she hopes to pass along to her Karen children: the ability to appreciate the value within ourselves. "…I know, refugees' rights are restricted. We are not allowed to go anywhere but stay put in this camp. Youngsters have not a clue of their futures. People wake up each morning not seeing any difference from yesterday. After a while one starts to feel that the reality of this world is so hideous, that life is so worthless. Then they'd try to escape to a makebelieve world…" During her entire life Grandma Beauty Kai has lived through wars, anguish, lost, torn away from home. Yet she sits here talking to me with a smile. "…my old home is probably a jungle now. I have moved enough times. Here, this is my last home. I'm contented to be buried here…" I looked at Grandma and couldn't help blushing with shame when I think of my own surrender. I used to think that we were supposed to take care of the elderly like her, but actually she is looking after my soul. "…don't say impossible. We all have to hope. Don't you cry. Ask yourself, what makes you cry…"


6

ผู้ที่เพิ่งมาถึงในพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำสาละวิน, กุมภาพันธ์ 2549 ภาพโดย คณะกรรมการเพื่อประชาชนชาวกระเหรี่ยงพลัดถิ่น (CIDKP)

หรือไร้เรื่องราวจะเล่าขาน หลังจากตกปากรับคำทีจ่ ะเขียนเรือ่ งราวของเมืองไทยและเพือ่ นบ้าน ผมก็ หนักใจยิ่งนัก ด้วยตัวเองยังหนุ่มแน่น อาจจะให้ยากต่อการสะท้อนเรื่องราว บอกเล่าประสบการณ์ตรง (ย้ำว่ายังไม่แก่) อีกทั้งโดยส่วนตัวแล้วก็ไม่ค่อยได้ มีโอกาสไปเยือนเพือ่ นบ้านมากเท่าไหร่ คอลัมน์นจ้ี งึ เป็นการคุยกันในมุมทีผ่ ม พอจะคิดออกแบบคนข้างบ้าน ทีแ่ อบมองและคิดเอาเองจากภาพและเสียงที่ สัมผัสได้ เป็นปกติของชนบทเมืองไทยเมือ่ 30 กว่า (ปลาย ๆ) ปีทแ่ี ล้ว บ้านของผม แวดล้อมไปด้วยญาติพน่ี อ้ ง ทางซ้ายบ้านป้า ทางขวาบ้านน้า ถัดออกไปอีกคุม้ ก็เป็นป้าอีกคน เรือนหลังนัน้ ก็ญาติหา่ ง ๆ เป็นอันว่า เมือ่ ก่อนนัน้ เราสามารถเทีย่ ว วิง่ เล่นในละแวก พอเหนือ่ ยก็ไปกินน้ำบ้านคนนัน้ หิวข้าวก็ไปกินบ้านคนโน้น ได้แบบสบาย ๆ หรือแม้จะไม่ใช่เครือญาติ เราทุกคนก็รจู้ กั หน้าค่าตากันดี รูว้ า่ คนนีเ้ ป็นลูกคนนัน้ หลานคนนีไ้ ล่กนั ไปจนชัน้ ปูย่ า่ ตายายได้เหมือนว่าเป็นครอบ ครัวเดียวกัน ปัจจุบนั ด้วยความทีม่ าทำมาหากินอยูใ่ นเมืองหลวงจนทิง้ ถิน่ ฐานมานาน นับ 20 ปี จะมีเวลากลับไปก็ปลี ะไม่กค่ี รัง้ บางปีไม่เคยกลับไปก็มี ผมก็นา่ จะ จะรูจ้ กั ผูค้ นทีน่ น่ั น้อยมาก แต่ทกุ ครัง้ ทีก่ ลับไป "ตาและยาย" ซึง่ เป็นแกนหลักของ ครอบครัวใหญ่และเป็นครอบครัวขยายหลายครอบครัวก็ยงั อยูท่ น่ี น่ั เครือญาติ ผูใ้ หญ่พอ่ แม่ลงุ ป้าน้าอา ก็เป็นผูท้ เ่ี ราสามารถจะสอบถามทัง้ ชีวติ ความเป็นไป ของชุมชน และสาวโยงถึงเด็กรุน่ ใหม่ทไ่ี ม่รจู้ กั ว่าเป็นลูกเต้าเหล่าใครได้อยูเ่ สมอ ผมจึงรูส้ กึ ว่าตัวไม่ได้เป็นคนแปลกหน้าและไม่แปลกแยกจากชุมชนแต่อย่างใด

ลองคิดดูมนั ก็เป็นเรือ่ งน่าแปลกอยูไ่ ม่นอ้ ย บ้านเมืองเรามีความเจริญทาง เศรษฐกิจ มีการพัฒนาสร้างความสะดวกสบายมากขึ้น แต่เรากลับต้องทิ้ง ถิน่ ฐานบ้านเกิดมาแบบนี้ แต่ทน่ี า่ แปลกใจไปยิง่ กว่า ก็คอื เมือ่ ผมได้รบั ทราบข้อมูลเกีย่ วกับผูพ้ ลัดถิน่ ในประเทศพม่าจากคนข้างเคียง และล่าสุดก็ได้อา่ นรายงานการสำรวจ "การพลัด ถิ่นฐานในประเทศในพม่าแถบตะวันออก" ซึ่งจัดทำโดยองค์การมนุษยธรรม ชายแดนไทย - พม่ามาติดต่อกันแล้วเป็นปีทส่ี าม ความหมายของ การพลัดถิน่ ในประเทศ ที่นั่น คือการที่คนเราถูกกระทำให้ไม่สามารถอยู่ในถิ่นฐานทำกิน ของตัวเอง ไม่สามารถสร้างหลักแหล่ง ไม่มชี มุ ชน ไม่สามารถสร้างสังคมได้ มันคืออะไรกัน? โครงการพัฒนาของรัฐบาลพม่า โดยเฉพาะอย่างยิง่ การผลิตพลังงานทีเ่ ป็น ภาคเศรษฐกิจทีม่ เี งินลงทุนจากต่างประเทศ (รวมทัง้ ไทย) สูงสุด เช่น การวางท่อ ก๊าซในรัฐมอญ การริเริม่ ก่อสร้างเขือ่ นเหนือลำน้ำสาละวิน การส่งเสริมการปลูก ละหุง่ เพือ่ ผลิตพลังงานไบโอดีเซล เป็นสาเหตุของการยึดทีท่ ำกิน ขูดรีดผลผลิต บังคับใช้แรงงาน และการละเมิดสิทธิมนุษยชนอืน่ ๆ ซึง่ กดดันให้ผคู้ นต้องละทิง้ ถิน่ ฐาน ภายในระหว่างปี 2548-49 ปีเดียว มีคนในด้านตะวันออกของพม่ากว่า 82,000 คนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากสงครามและการละเมิดสิทธิมนุษยชนจนต้อง กลายเป็นผูพ้ ลัดถิน่ มีหมูบ่ า้ น 232 แห่งทีถ่ กู ทำลาย บังคับโยกย้าย หรือทิง้ ร้าง และเมื่อรวมกับปีอื่น ๆแล้วก็ยังมีผู้คนที่พลัดถิ่นอยู่ภายในพม่าถึงอย่างน้อย 5 แสนคน


7

โดยความเข้าใจส่วนตัวมาแต่ไหนแต่ไร ผมรูส้ กึ ว่าผมเองก็เป็นคนพลัดถิน่ คนหนึง่ เพราะโดยพืน้ เพแล้วก็เป็นคนต่างจังหวัดทีเ่ ข้ามาทำมาหากินอยูใ่ นเมือง หลวง จนกระทัง่ มาตัง้ หลักสร้างครอบครัวอยูท่ น่ี จ่ี นถึงทุกวันนี้ แต่สง่ิ เหล่านีก้ เ็ ป็น ความเต็มใจของผมเอง ทีย่ อมจำนนต่อเงือ่ นไขชองสังคมไทยทีเ่ น้นการพัฒนา กระจุกตัวอยูใ่ นเมืองหลวง ทำให้เมืองแห่งนีเ้ ป็นเมืองแห่งโอกาสในการทำงานของ ผูค้ นทัว่ สารทิศ ผมจึงเป็นส่วนหนึง่ ของการกระแสการพัฒนานัน้ ความหมายของการพลัดถิน่ ของผมกับผูค้ นทีพ่ ลัดถิน่ ในประเทศพม่า ช่าง ต่างกันเหลือเกิน ทีส่ ำคัญ ผมยังมีรกราก ยังมีสาแหรก มีพอ่ แม่พน่ี อ้ งปูย่ า่ ตายายอยูท่ บ่ี า้ น ผมสามารถทีจ่ ะกลับไปเมือ่ ไรก็ได้ทพ่ี ร้อม ผมยังสามารถเชือ่ มโยงกับชุมชนถิน่ ฐานผ่านทางสายสัมพันธ์ที่ยาวนานต่อเนื่อง แต่กับผู้คนที่ถูกกระทำให้เป็น คนพลัดถิ่นและพลัดพรากจากกันด้วยเหตุแห่งนโยบายรัฐทั้งการทหารและ การพัฒนาทีม่ องประชาชนผูถ้ กู กระทำเหมือนไม่ใช่มนุษย์ ไม่ยอมแม้จะให้เขา ได้ใช้สิทธิพื้นฐานเพียงแต่จะดำรงอยู่ร่วมกันในถิ่นฐานบ้านเกิดตนเอง ได้ถูก บัน่ ทอนสายสัมพันธ์ของครอบครัว ชุมชน สังคมของพวกเขาไปอย่างเหีย้ มโหด ผมนึกไม่ออกว่า ถ้าเราอยู่ในสภาพเช่นนั้น ปู่ ย่า ตา ยายของผมจะมี เรือ่ งราวอะไรมาถ่ายทอดให้กบั คนรุน่ ผมหรือรุน่ หลัง ๆ และเมือ่ ผมมีอายุมากขึน้ เข้าสูว่ ยั ชรา ผมจะยังมีเรือ่ งราวอะไรไปบอกเล่าให้กบั คนรุน่ หลังฟังว่าตัวตนของ ผมคืออะไรกันแน่ ? แต่ผมก็หวังว่า พวกเขาจะมีหนทาง และหวังว่าสภาพแบบนัน้ จะมีวนั จบ ครอบครัวที่พากันหลบหนีภัย รัฐกะเหรียง มกราคม 2549 ภาพโดย เอฟบีอาร์

What story to tell? Over 30 years ago in a remote village in Thailand, my home was surrounded by my many cousins' houses. To the left was my aunt's. To the right lived my uncle. At that time, I could run freely around and stop by any house to ask for a drink when thirsty or have myself entertained by a nice meal whenever I was hungry. Although some of these people are not my cousins, we all know each other very well. We can even tell who's who in the family tree as if we were all from one family. Having moved to living in the Capital city for 20 years, I should rarely know the people there. But every time I go back, "grandpas and grandmas", who are the heart of big families and many extended families, are always there. There are still some elders who can always answer my questions about who's who, how life has changed and what's happened in my hometown. Therefore, I always feel that I am no stranger to this community. This is quite strange, I think. Our country has had significant development that makes life easier. Why do I leave my hometown behind? Yet, the situation of the internally displaced persons in Burma that I learn from friends and the report "Displacement in Eastern Burma" prepared by the Thai-Burma Border Consortium for the third consecutive year is even more shocking. Internal displacement there means a state where a person is forced to leave home and cannot settle down as a community or society. Why is it so? The Burmese military government's development projects, especially energy production which draws the highest foreign investment (including that from Thailand), such as the gas pipeline construction in Mon State, a series of dam project on the Salween River, and the boost of castor bean plantations for bio-diesel production, were the causes of land confiscation, forced labor, and various forms of human rights violations which forced people to flee. During 2005-2006, more than 82,000 people in the Eastern Burma were internally displaced. Two hundred and thirty-two villages were destroyed, relocated or abandoned. When combined with those being displaced in the earlier years, currently there are at least 500,000 internally displaced persons in Eastern Burma. Personally, I see myself being displaced from home too. But this was my own decision; I myself yielded to the condition in Thai society that all the development is centralized in Bangkok, making it the city of great opportunities for people from all walks of life and from everywhere across the country. Therefore, displacement in my own case and that in Burma is totally different. I know I still have my roots there, with my family and all the elders at home. I can go back home whenever I want to. I can always connect myself with my community and people through my lifelong bonds. But for the people who are forcibly displaced due to the government military and development policies that threat them inhumanely; not even letting them have the chance to enjoy their basic rights of living in their own homes in their own lands and with their families, these connections have been heartlessly cut. I can't imagine how, living in such a conditions, stories of my grandpa and grandma would pass onto me and the next generation? And if so, what will happen one day when I become old, what stories will there be for me to tell about who I am? I truly hope the people in Burma will find a way. And I hope such conditions will come to an end.


8

ครอบครัวชาวไทยพลัดถิ่น บ้านหินช้าง

ในมือหยาบกร้านทั้งสอง เรื่องเล่าของผู้เฒ่าไทยพลัดถิ่น 17 มีนาคม 2532 ร่วม 20 ปีที่แล้ว วะ (ลุง) เส้ในวัย 45 ปียืนมองฝั่ง แผ่นดินอันเป็นทีต่ ง้ั ของหมูบ่ า้ นหินช้าง จังหวัดระนองอยูบ่ นเรือหาปลาลำเล็ก ทีว่ นั นีแ้ ปรสภาพมาเป็นเรือบรรทุกคน ในลำเรือนัน้ บรรจุทง้ั หมดสิบชีวติ วะเส้ สั่งให้เครื่องฮอนด้าห้าวิ่งเต็มกำลัง หันไปมองเมียซึ่งรอยน้ำตายังกรังอยู่บน ใบหน้า ลูกทัง้ แปด และข้าวของทีพ่ อหยิบฉวยมาได้ หมดกันแล้วทุกสิง่ ทีเ่ คยหา เคยมี บ้านทีเ่ คยอยู่ นาทีเ่ คยทำ ต่อแต่นช้ี วี ติ จะไปสูห่ นใดยังไม่รู้ แม้กอ่ นหน้านีแ้ กจะเคยไปมาระหว่างบ้านสิบไมกับบ้านหินช้างเป็นประจำ วงศ์วานย่านเครือก็อยูก่ นั มากมายทีน่ ่ี เวลามีงานแต่งงานพิธตี า่ ง ๆ หากส่งข่าว ไปถึง วะเส้กม็ าเข้าร่วมอยูบ่ อ่ ย ๆ แต่กบั ครัง้ นีม้ นั ต่างไป เพราะวะเส้ตง้ั ใจว่าจะไม่ยอ้ นกลับสิบไมอีกแล้ว "เราคิดเสมอว่าเราเป็นคนไทย ในหมูบ่ า้ นก็พดู ภาษาใต้กนั ทุกคน พม่าเขา ก็อยูส่ ว่ นพม่า เราไม่ได้ยงุ่ เกีย่ วกัน มีบา้ งก็คา้ ขายกัน เราก็รสู้ กึ แปลก ๆทีอ่ ยู่ บ้านเมืองเขาเหมือนกัน แต่ตอนนัน้ ไปไหนมาไหนสะดวก แจวเรือพรวด ๆก็ถงึ หินช้างแล้ว" นานมาแล้ว เลยเกาะสองเข้าไปในพม่าราว 15 กิโลเมตร ระยะเวลาแล่น เรือประมาณชัว่ โมงเศษ ชาวไทยในหมูบ่ า้ นสิบไมอาศัยอยูก่ นั เป็นพันครัวเรือน มีทั้งโรงเรียน มัสยิด และวัด ผู้คนพูดภาษาปักษ์ใต้ปนมลายู ดำรงประเพณี วัฒนธรรมและดำเนินชีวติ แบบคนเลดัง้ เดิม พระสงฆ์สอนหนังสือไทยให้เด็ก ๆ โดยอาศัยพระอุโบสถเป็นห้องเรียน อีกทั้งเป็นธุระจัดหาหนังสือเรียนมาจาก ฝัง่ ไทย บางหนท่านก็ตดิ เพลงลูกทุง่ มาเปิดให้ชาวบ้านได้ฟงั

ชุมชนชาวไทยตัง้ ถิน่ ฐานอยูใ่ นพืน้ ทีน่ น้ั มานานนมก่อนทีอ่ งั กฤษจะกดดัน ให้มกี ารปักปันเขตแดนไทย-พม่าชัดเจน พีน่ อ้ งเครือญาติบางส่วนย้ายจากเมือง ใกล้ ๆไปสมทบทำมาหากินหรือแต่งงานสร้างครอบครัวกันภายหลังอย่างเช่น รุน่ พ่อของบังเส้ ไม่มใี ครรูว้ า่ เส้นพรมแดนในแผนทีจ่ ะมีผลกับชีวติ ของพวกเขา มากมายขนาดนัน้ และถึงรุน่ ลูกรุน่ หลาน ความเป็นอยู่ของหมู่บ้านไทยในพม่าไม่ต่างอะไรกับหมู่บ้านชนบทเมือง ไทย นอกจากสิง่ อำนวยความสะดวกจะน้อยกว่า และเศรษฐกิจไม่เฟือ่ งฟูเท่า แต่ชาวบ้านก็อยูก่ นั อย่างผาสุกเรือ่ ยมาจวบจนถึงวันทีเ่ กิดการปฏิวตั ยิ ดึ อำนาจ โดยนายพลเนวินเมื่อปีพ.ศ. 2505 และเงื้อมเมฆดำก็แผ่มาปกคลุมถึงผืนดิน ผืนน้ำแถบนี้ ตรงข้ามอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ลึกเข้าไปในฝัง่ พม่าในเขตโปเปยีย่ น ก็มหี มูบ่ า้ นชาวไทยอยูห่ ลายบ้านเช่นกัน ส่วนใหญ่คนทางนีด้ ำรงอาชีพกสิกรรม นับถือศาสนาพุทธและมีประเพณีวัฒนธรรมคล้ายคลึงกับทางคนนครศรี ธรรมราช แต่ก่อนเมื่อถึงวันสารทเดือนสิบก็มีงานพิธีใหญ่โตรื่นเริงสนุกสนาน ให้ผคู้ นไปมาหาสูก่ นั ไม่มพี รมแดน เจ้าหน้าทีร่ ฐั บาลพม่าเคยขึน้ มาบ้าง แต่กเ็ ป็น เพียงแค่การสำรวจประชากร หลังจากเหตุการณ์นองเลือดจากการเรียกร้องประชาธิปไตยโดยนักศึกษา ปัญญาชนเมื่อปีพ.ศ. 2531 กองทัพรัฐบาลพม่าติดตามนักศึกษาที่หนีเข้าป่า และมาตั้งค่ายทหารแถบโปเปยี่ยนถึงสามกองพัน ที่ดินของหลายคนโดนยึด ไปเป็นค่ายทหาร มีกฎเข้มงวดกวดขันการสัญจรโดยห้ามออกจากบ้านหลัง หกโมงเย็น และตัง้ แต่บดั นัน้ หมูบ่ า้ นก็เงียบเหงาลง

วะเส้


9

ลุงเริญและครอบครัว

วะเด็น

"อยูไ่ ด้กอ็ ยู่ อยูไ่ ม่ได้กก็ ลับไปบ้านมึง" นายทหารพม่าพูดกับคนในหมูบ่ า้ น อย่างนี้ แต่ถา้ หากคนจะมาประเทศไทยก็ตอ้ งหนีเอาอย่าให้โดนจับได้ กว่าปีที่ลุงเริญนั่งมองความเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตอันไร้ซึ่งอิสระเสรี แกมองไม่เห็นอนาคต "ช่างมัน" ลุงเริญตัดสินใจทิ้งที่นาขนาดสิบถังปลูก ข้ามทะเลมากับเรือ ขนสินค้าซึ่งบรรทุกหลายชีวิตที่มาด้วยสาเหตุเดียวกัน ในขณะที่อีกหลาย ครอบครัวกระเตงลูกเดินบุกป่าฝ่าดงข้ามพรมแดนมาอีกทาง ถึงระนอง ลุงเริญตรงเข้าไปที่ซอยสิบอันเป็นแหล่งรวมของญาติพี่น้อง หลายคน แต่การหางานทำโดยเป็นคนไร้สญ ั ชาติไม่ใช่เรือ่ งง่าย วะเส้ได้รับตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านตอนปีพ.ศ. 2520 ในขณะที่ชีวิตเริ่มไม่ สงบสุขเหมือนก่อน กองทัพพม่าเพิ่มกำลังพลเข้ามาและพ่วงด้วยใบอนุญาต ข่มขืน ชาวบ้านหญิงหลายคนโดนข่มเหงอย่างโหดร้าย ผูใ้ หญ่บา้ นอย่างวะเส้ ก็ตอ้ งพยายามปกป้องลูกบ้านและเอาโทษกับทหารทีข่ ม่ ขืนลูกบ้านตัวได้บา้ ง แต่ยง่ิ นานวัน ทหารพม่าก็เข้ามาเก็บภาษีทด่ี นิ เพิม่ มากขึน้ ถ้าใครไม่มจี า่ ย ก็ตอ้ งไปทำงานแลก ทำสนามบิน ทำถนน สร้างเขือ่ น ร่วมกับแรงงานหลายเชือ้ ชาติ ทัง้ มอญ จีน แขก พม่า แต่ดเู หมือนว่าคนไทยจะถูกเพ่งเล็งและเกลียดชังเป็น พิเศษ เพราะถือว่าเป็นคนจากประเทศไทยและไม่ใช่พลเมืองพม่า "มันเขี้ยวเกิน บ้านหลังหนึ่งมันเก็บเดือนหนึ่งสองพันสามพัน ไม่มีให้ก็ ต้องไปทำงาน บอกให้ไปทำอะไรก็ตอ้ งทำ เขือ่ นทัง้ อันก็แรงคนทัง้ นัน้ " นับแต่บดั นัน้ คนไทยในพม่าก็คอ่ ย ๆอพยพมาอยูฝ่ ง่ั ไทย ผูช้ ายบางคนหนี มาก่อนทีจ่ ะถูกจับไปเป็นแรงงานทาส แล้วจึงค่อยวานให้คนอืน่ ช่วยไปรับลูกเมีย ตามมา ด้วยความที่เป็นผู้ใหญ่บ้าน วะเส้ยังคงอยู่ต่อจนกระทั่งถึงยุคสลอร์ค ทีก่ องทัพเสาะหาพืน้ ทีท่ ม่ี ดี นิ เหนียวสำหรับการทำอิฐ และสายตานัน้ ก็มองมา ถึงทีน่ าของแก

ดวงตาของวะเส้พร่ามัวเมือ่ มองเงินจำนวน 15,000 จัต๊ ทีว่ างอยูต่ รงหน้า ตำแหน่งผูใ้ หญ่บา้ นไม่ได้ชว่ ยอะไรได้อกี แล้ว เหงือ่ ซึมจากมือทีก่ ำกระดาษแข็ง ใบหนึ่งไว้แน่น บัตรใบนี้ออกมาตั้งแต่ยุคนายพลอองซาน ระบุว่ามุสลิมคนนี้ เป็นคนเชือ้ ชาติไทยอาศัยอยูท่ บ่ี า้ นสิบไม แต่กาลเวลาผ่าน คณะทหารปกครอง ประเทศเปลีย่ น ตัวตนทีอ่ ยูบ่ นบัตรก็ดเู หมือนจะถูกลบเลือนไปด้วย "ทีด่ นิ มีเอกสารนะครับ" "แค่หนังสือให้ใช้ ทีด่ นิ น่ะเป็นของรัฐ" "ผมก็เป็นเจ้าหน้าทีค่ นหนึง่ นะครับ เดีย๋ วผมไปหาทีต่ รงอืน่ ให้ไหม" ล่ามแปลให้กบั นายทหารพม่าคนนัน้ ฟัง "ไม่ได้" กว่าชัว่ โมงทีว่ ะเส้นง่ั นิง่ เฉยอยูเ่ ช่นนัน้ หากเซ็นยินยอม ทีก่ ว่า 52 เอเคอร์ และผลผลิตที่มาจากน้ำพักน้ำแรงก็จะตกเป็นของคนอื่นทันที แต่หากจะสู้ คนมือเปล่าอย่างแกจะสูอ้ ย่างไร "จะเอาตัง หรือจะเอาหราง (ตะราง)" ล่ามแปลความมาได้อย่างนัน้ น้ำตาหยดไหลเป็นทางเมือ่ วะเส้กม้ ลงเซ็นชือ่ ยินยอมเป็นภาษาพม่าทีเ่ คย เรียนมาแค่ป. 4 ท้ายทีส่ ดุ แกได้รบั เงินเพียงหมืน่ จัต๊ อีกห้าพันต้องจ่ายให้กำนัน วะเส้กำเงินก้อนนัน้ แล้วพาเมียและลูกทัง้ แปดมุง่ หน้ามายังแผ่นดินไทย ทีพ่ อ่ ของแกจากมา ปีพ.ศ. 2534 สงครามระหว่างสลอร์คกับกลุม่ ชาติพนั ธุท์ วีความรุนแรงขึน้ ในมณฑลตะนาวศรีรวมถึงในเขตเกาะสอง มีการกวาดต้อนชาวบ้านไปแบกของ เดินนำหน้ากองทัพหรือที่เรียกกันว่า "โล่มนุษย์" ผู้ชายจำนวนมากถูกเกณฑ์ ไปจากหมู่บ้าน เรือประมงหลายร้อยลำถูกยึดและจับเอาลูกเรือไปเหลือไว้แค่ นายเรือ หากได้ยนิ ว่าทหารจะมาจับลูกหาบ ใครวิง่ ทันก็วง่ิ หนี มีเรือก็ลอ่ งเรือหนี กลางคืนไม่กล้านอนทีบ่ า้ น ถึงกลางวันค่อยย่องกลับมา แต่วนั นัน้ วะเด็นหนีไม่ทนั แกถูกจับไป ลูกหาบแบกสัมภาระเดินนำหน้า หากมีการซุม่ โจมตีหรือเหยียบกับระเบิด ก็ตายก่อน บนบ่ามีกระสอบ หลังมีมดี ดาบจี้ ไม่มกี ารหยุดพัก แม้กระทัง่ กินข้าว ก็ตอ้ งเดินไปกินไป ขึน้ เขาลงห้วยไม่รทู้ ศิ ทาง แต่ละคนอ่อนแรงด้วยขาดน้ำและ ใช้แรงงานหนักเกินกำลัง วะเด็นเห็นน้องชายตายไปต่อหน้า ในท่ายืนพิงต้นไม้ บนบ่ามีกระสอบข้าว วะเด็นหนีจากกองทัพพร้อมกับลูกหาบอีก 47 คน แตกกระจายกันไป คนละทิศละทาง แกเดินเท้าจนเกือบถึงเมืองไทยแต่กว็ กกลับไปบ้านเพือ่ จะพบว่า เมียพาลูกหนีไปที่อื่นแล้ว วะเด็นนอนหลบตามใต้ถุนบ้านบ้าง ข้างบ้านบ้าง จนกระทัง่ ติดต่อและได้พบกับลูกเมีย และพากันล่องเรือมายังบ้านหินช้าง


10

Wrinkle hands, Stories told by the displaced Thai elders ชาวไทยพลัดถิน่ ทีห่ มูบ่ า้ นหินช้างเล่ากันว่า ก่อนจะมีการปักปันเขตแดน ทางการสยามได้สง่ คนมาสำรวจประชากรไทยแถบลุม่ แม่นำ้ กระบุรเี พือ่ หาข้อมูล กำหนดเส้นพรมแดน แต่แล้วคนของหลวงก็กลับไปหลังจากเพียงเสร็จสิน้ การ สำรวจฝัง่ ตะวันออกของแม่นำ้ ทัง้ ๆทีม่ ชี าวสยามอยูเ่ ต็มทัง้ สองฝัง่ น้ำแต่โบราณ นานมา คงไม่มใี ครรูว้ า่ ชะตากรรมของคนฝัง่ ตะวันตกจะดำเนินมาจนถึงสภาพที่ เป็นอยูน่ ้ี ในขณะที่ชาวไทยในพม่าอพยพกลับมาหาญาติพี่น้องในจังหวัดระนอง และชุมพร อีกจำนวนหนึ่งก็ยังคงปักหลักอยู่ในถิ่นฐานเดิมในพม่า ส่วนหนึ่ง ด้วยความหวงแหนผืนดินของปูย่ า่ ตายาย และอีกส่วนหนึง่ ก็ยงั มีความเชือ่ ตาม ตำนานเล่าขานและประวัติศาสตร์ที่พื้นที่ขอบแดนมักถูกเปลี่ยนมือปกครอง ระหว่างสองอำนาจเสมอ ว่าสักวันหนึง่ ดินแดนแถบนีจ้ ะกลับมาเป็นสยามรวม กับพีน่ อ้ งดังเดิม (จบตอนทีห่ นึง่ ) หมายเหตุ ขอขอบคุณโครงการปฏิบตั กิ ารชุมชนและเมืองน่าอยู่ จังหวัดระนอง ทีไ่ ด้เอือ้ เฟือ้ พาลงเยีย่ มชุมชน

On 17 March 1989, almost 20 years ago, a 45 year-old Wah (Uncle) Seh stood gazing over the Hin-chang village in Ranong province from his little fishing boat which for the day had become a passenger boat. The little boat carried 10 lives. Wah Seh gunned the engine while he turned to glance at his wife whose tears had yet to dry on her cheeks. He looked at his eight children, and their belongings that he had time to grab. Gone were all that he used to have, the home that he used to live, the farm that he used to work. From here on, he had no idea where their lives would lead. He used to travel between Ten-mile village and Hin-chang village regularly for weddings and social gatherings. All of his relatives had lived here. But today was different, because he was determined not ever to return to Ten-mile. "We always thought we're Thai. Everyone in the village spoke southern Thai dialect. The Burmese stay by themselves. We didn't bother one another; only sometimes we traded things. Of course it was a bit strange living in their country, but traveling used to be free; just a short boat trip and we'd be in Hin-chang with our friends and families." Since a long time ago, beyond Kawthong, about an hour by boat into Burma, there were close to a thousand of Thai families in Ten-mile village. There were schools, Buddhist temples and Muslim Mosques. Villagers spoke the southern dialect mixed with Malay and lived by their old customs. Buddhist monks taught Thai language in the temple and sent for school books across the Thai border. Sometimes the monks would even bring back Thai country music for the villagers in Burma. The Thai community had settled there for ages, even before the British enforced demarcation between Burma and Thailand. Brothers and sisters and cousins, such as Wah Seh's father, moved around between border villages for work or to build new families. No one could have guessed how this line on a paper map would intrude into their lives so severely or so far into the generations of their children and grandchildren.


11

ชุมชนไทยพลัดถิ่น

บ้านหินช้าง

Life in a Thai village in Burma was not much different from in a village in rural Thailand. There were fewer luxuries, and the economy is not as good, but the villagers had lived peaceful lives until the day of the military coup by General Newin in 1962. Since then, dark storm clouds have enfolded the land. Across from Tasae district in Chumporn, deep inside the Burmese border in Bopyin were also several Thai villages. Most were Buddhists farmers with customs and traditions similar to those of the people in Nakorn Srithamarat province. In the old days, life was borderless and joyful. Burmese authorities rarely wandered up there. But after the bloodshed and crackdown on the democracy movement in 1988, Burma's army hunted fleeing students and intellectuals into the border jungle and set up three battalions in the area, then followed with land confiscation and curfew rules to restrict their movements. Since then, life in the villages had gone quiet. "If you can't handle it, then go back home!" Burmese soldiers told the villagers. For over a year, Uncle Roen watched these changes stripping him of his freedom and found the future too blurry. "Let it go," Uncle Roen decided to abandon his rice field and crossed the sea with a merchant vessel carrying many others who fled for the same reason. In Ranong, he headed to Soi Ten which was the gathering point for many of his relatives. But finding work without a citizenship was not an easy task. Wah Seh was appointed to be the head villager in 1977, just at the time when life's previously peaceful ways began to change. The Burma's army grew in man power and armed themselves with licenses to rape. The soldiers began to raise land taxes. Those that could not pay had to trade in labor, building airfields, roads, dams, along with the Mon, Chinese, Indians, and Burmese forced laborers. It seemed, for Wah Seh, that the Thais were mostly hated by the soldiers because of their ethnicity - their roots were from Thailand and therefore they could not be Burmese citizens. Since then, the Thais in Burma gradually fled to the Thailand. Some men fled first before they would be captured for slave labor and then sent later for their wives and children. But since he was the village head, Wah Seh had to stay put. That was, until the days of the State Law and Order Restoration Council that the army personals eyed on his land.

Wah Seh's eyes became blurry when he looked at the 15000 Kyat laid out in front of him. Sweat seeped from his fist which held tight an ID card, which was issued in the days of General Aung Sann stating that this Muslim man, a Thai national, was a resident of the Ten-mile village. But time had passed; governments had changed from one junta to another, and the identity on the card seemed also to have been erased. "But I have papers, Sir." "That is only a permit. The land belongs to the state." "I am a state officer also, Sir. May I find you a different lot of land?" The interpreter translated to the Burmese soldier. "No." was the answer. "You want money or jail?" the interpreter barked. Tears rolled down his face when Wah Seh stooped down to sign his name in Burmese which he learned from his fourth grade education. In the end he received only 10,000 kyat, with the other 5,000 given to district chief. Wah Seh clutched the money, and gathered his wife and eight children, and headed for Thailand, where his father was from. In 1991, the war between SLORC and ethnic nationality resistances grew more intense in Tenasserim Division, including Kaw Thaung district. Villagers were captured to be porters or the army's 'human shields'. Large numbers of men were drafted from the villages. Fishing boats were seized and their crews taken. When it was heard that the army was coming to gather more porters, those that could ran. Those that had boats hit the water. No one dared sleep in their own homes. But one unfortunate day, Wah Den slipped and was captured. The porters with their heavy loads must lead the way for the army. If there were snipers or mine fields they would die first. With loads on their shoulders and knife blades in their backs, they were allowed no breaks. Even meals were eaten while walking. Each weakened by dehydration and exertion. Wah Denn saw his brother die right in front of him, while still standing up leaning on a tree with a sack of rice on his shoulders. Wah Denn fled from the army with 47 other porters, scattering in all directions. He went on foot almost to Thailand but turned back to try to find his wife and children. Wah Denn slept under houses or in the woods until he finally found his family and altogether, they fled by boat to Hin-Chang village in Ranong The displaced Thais from Burma in Hin-Chang village had told stories since the old days that before the border demarcation, Siamese authorities had done a survey of Thai citizens around Kraburi river to plan where the border should lie. Unfortunately, the officers left after only the work on the east bank was done, although there were Thai people filling both banks since ancient times. No one could have predicted that such a decision would define the fate of the people on the west river bank. While the Thais in Burma migrated back to their families in Ranong and Chumporn in Thailand, a good number remained on their old lands in Burma. Some stayed due to their attachment to the ancestor's lands. Others stayed because of the belief of a story, throughout history, that borders tended to change hands and one day these estranged lands would melt back into one Siam, the way it used to be. End of Part I Note: special thanks to the Tai Community Foundation, Ranong Project


12

คล้ายได้ยนิ เสียงจากทีห่ า่ งไกล "มบิรา มบิรา" ผูล้ ภ้ี ยั วัยชราตะโกนเรียกชือ่ ต้นปาล์มด้วย ภาษาแม่อย่างตื่นเต้นทันทีที่สายตาเห็นป่าปาล์มเขียวเบื้องล่างขณะเครื่องบินร่อนต่ำเรี่ย น่านฟ้าคองโกบ้านเกิด สำหรับคุณตาคุณยายเหล่านี้ ป่าปาล์มที่ปรากฏต่อสายตาเป็นครั้งแรกในรอบสี่สิบปี ทีจ่ ากบ้านไปนับจากการเข้ายึดครองอำนาจของรัฐบาลทหารโมบูตู มีความหมายมากเกินกว่า ต้นไม้ประเภทหนึง่ ทีเ่ อาไว้สกัดน้ำมันมาทำอาหาร ขณะผูค้ นื ถิน่ ชาวคองโกกำลังจะเริม่ ต้นชีวติ เหมือนเกิดใหม่ในบ้านเก่า ข้าพเจ้าก็กำลัง สานต่อวิถชี วี ติ แบบเก่าแต่เริม่ ต้นขึน้ ใหม่ในเมืองเหนือ อาจเป็นความหยาบกระด้าง หากข้าพเจ้า ก็ยอมรับว่าตนเข้าใจเหตุผลในการตัดสินใจกลับบ้านของผูค้ นเหล่านีไ้ ด้ไม่งา่ ยนัก เมือ่ สีส่ บิ ปีทแ่ี ล้ว ชาวคองโกราว 1,500 คนตกลงใจทีจ่ ะลีภ้ ยั จากการประหัตประหารไป ยังซูดานประเทศเพือ่ นบ้าน หากพวกเขาก็ตอ้ งเผชิญกับความรุนแรงของสงครามกลางเมือง ระหว่างซูดานเหนือและใต้ในเวลาต่อมา ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุแ์ ละศาสนา ซึง่ ทีแ่ ท้อาจ เป็นเพียงข้ออ้างของการแย่งชิงทรัพยากรน้ำและน้ำมันนั้นได้ดำเนินต่อเนื่องยาวนานมาอีก 21 ปีจนถึงพ.ศ. 2548 ที่รัฐบาลซูดานและขบวนการปลดปล่อยประชาชนได้บรรลุถึงข้อ ตกลงสันติภาพ อย่างไรก็ดี ศึกนอกจากการถูกโจมตีปล้นฆ่าโดยกลุม่ กบฏอูกานดาทีห่ นีรฐั บาล ตนถอยร่นเข้ามาในซูดาน ก็กลายเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ผู้ลี้ภัยวัยชราจำนวนกว่า 800 คนตัดสินใจขอเดินทางกลับถิน่ ฐานบ้านเกิด ที่ว่าเข้าใจได้ไม่ง่ายนักก็เพราะว่า ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเองก็ยังคงมีการ ปะทะระหว่างรัฐบาลกับกลุม่ ต่อต้านต่าง ๆ แผ่นดินยังคงนองเลือด ค่ายผูล้ ภ้ี ยั ซูดานในคองโก ประสบกับความขาดแคลนอาหาร โรคระบาด และการโจมตีเพือ่ ปล้นสะดม ฆ่า และข่มขืนอยู่ บ่อยครัง้ ชีวติ นอกค่ายก็ดจู ะไม่ตา่ งกันมากนัก เพราะผูล้ ภ้ี ยั ชาวคองโกก็ยงั คงต้องหลบหนี กระสุนปืนและลูกระเบิดไปยังประเทศเพือ่ นบ้านไม่ขาดสาย สำนักข้าหลวงใหญ่ผลู้ ภ้ี ยั แห่งสหประชาชาติ (ยูเอ็นเอชซีอาร์) รัฐบาลคองโกและซูดาน ได้บรรลุขอ้ ตกลงไตรภาคียนิ ยอมให้สง่ ผูล้ ภ้ี ยั คองโกกลับบ้านได้เป็นกรณีพเิ ศษ แม้ทางยูเอ็น เอชซีอาร์จะยังห่วงใยในสถานการณ์คองโก และไม่สามารถไปดำเนินโครงการส่งเสริมการ ผสมกลมกลืนกับสังคมให้แก่ผคู้ นื ถิน่ ได้ตามระบบปกติทค่ี วรจะเป็น "ลุงจะกลับไปทำไร่ทำนา กลับไปมีความรูส้ กึ ได้วา่ มีชวี ติ " ข้าพเจ้าอ่านถ้อยคำของผูล้ ภ้ี ยั วัยใกล้หกสิบ "เราได้แต่อยู่ที่นี่มาโดยไม่ได้งานทำการอะไรเลย ลุงนอนไม่หลับละ ไม่อยาก จะเชือ่ ว่าจะได้กลับบ้านแล้ว" บางทีขา้ พเจ้าอาจจะจำกัดตัวไว้ในห้องแคบ ๆมากเกินไป มองออกไปในโลกกว้าง ข้าพเจ้า เห็นผูล้ ภ้ี ยั ซูดานทีใ่ ช้ชวี ติ อยูใ่ นคองโกมาแล้วเกือบ 20 ปี และผูล้ ภ้ี ยั คองโกทีใ่ ช้ชวี ติ ในซูดานมา แล้ว 40 ปีรว่ มกับผูพ้ ลัดถิน่ ในประเทศชาวซูดานได้อย่างสงบสุขตามอัตภาพจนเกิดการแต่งงาน ร่วมชีวติ ข้ามชาติพนั ธุแ์ ละสัญชาติมากมาย และข้าพเจ้าก็อา่ นความในใจของคุณตากอบบีทจ่ี ากบ้านเกิดมาเมือ่ วันที่ 28 มีนาคม 2509 ในช่วงชีวติ 81 ปี ชือ่ ของประเทศได้ถกู เปลีย่ นไปถึงสามครัง้ ตามอำเภอใจของผูม้ อี ำนาจตาม ยุคสมัย แต่ทน่ี น่ั ก็ยงั คงเป็นบ้านทีค่ ณ ุ ตารอคอยทีจ่ ะกลับ ผูล้ ภ้ี ยั ในวัยชราต่างบอกว่า พวกเขา ต้องการจะกลับไปฝังร่างอยูใ่ นผืนดินบ้านเกิด และพาลูกหลานกลับได้ไปรูจ้ กั รากเหง้าของตน "ไม่มบี รู พาทิศ ไม่มปี ระจิมทิศ บ้านคือทีส่ ดุ แห่งชีวติ จากไปแห่งหนใด ท้ายสุดยังต้องหวน คืนไป" เสียงเพลงของผูล้ ภ้ี ยั ชราดังก้องขณะรอคอยคืนวันทีฝ่ นั ถึง และแล้วก็คล้ายจะเป็นเสียงในใจ "แอ๊ปเปิล่ หน่ำ" ฉันเรียกชือ่ ต้นไม้สงู ใหญ่นน้ั ด้วยภาษา ถิน่ ใต้ สายตามองผ่านม่านสีเขียวตองอ่อนในห้องแคบสีครีมทีถ่ กู เปิดออกสูภ่ าพเมืองเหนือ หมายเหตุ : มกราคม 2550 ในซูดาน มีผลู้ ภ้ี ยั สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกราว 5,000 คน ในคองโก มีผู้ลี้ภัยซูดานราว 5,700 คนและผู้พลัดถิ่นในประเทศคองโกอีกราว 1.6 ล้านคน อ่านข้อมูลเพิม่ เติมได้ท่ี www.unhcr.com

www.unhcr.org The voice sounded as if it came from afar, an old refugee man excitedly shouted, "Mbira, mbira", the name of a palm tree in his mother tongue. The green palm forest appeared in his eyes as his plane arrived in the Congo, his homeland. For these elderly people returning to their homeland, the palm forest that they just saw for the first time after 40 years, represents a lot more than just trees. While the Congolese returnees were beginning their new lives in their old homes, I was starting my "old life" in a new home in this northern city. It might be my insensitivity, but I just didn't understand why these people are returning. Forty years ago, a number of Congolese fled persecution to the neighboring country of Sudan. Not long after, they found themselves in the middle of the Sudanese civil war. The ethnic and religious conflict, centered on contested claims for water and oil, continued for 21 years until a peace agreement was signed in 2005. Yet, another threat, Ugandan rebel attacks made over 800 people decide to end the life in exile. I said it wasn't easy for me to understand because there was still turmoil in the Democratic Republic of Congo (DRC). The country is on fire. Attacks from different rebel groups are quite common. Congolese refugees are still fleeing to neighboring countries. The UNHCR, along with the DRC and Sudanese governments, have agreed to facilitate their return as an exception, as the UNHCR was very concerned about the security in DRC and knew it couldn't provide reintegration assistance as it should and normally offers. "I'm going to engage myself in farming now and feel alive", I read the words of an old refugee, "I have been living here doing nothing. At home, I normally restrict my mind to the narrow room. But looking out of the window to the wide world out there, I saw Sudanese refugees who had spent nearly 20 years in Congo, and I saw Congolese refugees who spent 40 years in Sudan, living nearby internally displaced Sudanese and saw numbers of marriages that crossed ethnic and national borders. I also read about Granpa Gobbi, during his 81 years of life his country has changed its name three times, yet it is still his home where he dreams to return. Many elderly refugees said they wanted to go back and die in their home, bury themselves in the motherland and introduce their children to their roots. "No East, no West, home is best. Wherever you go, in the end you always go home", the song was sung while waiting for the dream day when they could return home. And then, a voice inside of me called, "Apple Num", the name of the fruit tree in my mother tongue. The tree appeared in my eyes, and the green curtain of this small room opened into the northern scene.

Note: As of January 2007 in Sudan, there are about 5,000 Congolese refugees. In DRC, there are about 5,700 Sudanese refugees and 1.6 million Congolese IDPs. For more information, please look at www.unhcr.org (Determined to go back home: elderly Congolese return from south Sudan - Congolese refugees in South Sudan prepare to go against the flow, South Sudan/DRC: refugees set to return, Dinkas reach Juba, Tripartite agreements with the DRC clear way for Sudanese and Congolese refugees to go home)


13

ความหมายระหว่างชีวติ กับความตาย นักเขียนจากเมืองใหญ่ของญีป่ นุ่ อย่างยูกโิ อะ มิชมิ าเคยรำพันว่า หากในยุคทองแดง มนุษย์ ซ้าย: อ่าวกาบิระ โอกินาว่า ขวา: ผูส้ งู อายุชาวโอกินาวาทีป่ ราสาทชูรโิ จ www.flick.com มีอายุโดยเฉลีย่ ที่ 18 ปี และในยุคโรมันทีอ่ ายุ 22 ปี บนสรวงสวรรค์คงมีแต่ความงามของคนหนุม่ สาว และบัดนีค้ งเต็มไปด้วยความอัปลักษณ์นา่ เกลียด มิชมิ าผูห้ มกมุน่ กับ "ความงาม" ฆ่าตัวตายไป เมือ่ อายุ 45 ปี ก่อนทีจ่ ะเข้าสูว่ ยั ชราอันน่าชิงชัง อะไรกันทีท่ ำให้ความแก่ชราปราศจากเสียซึง่ ความหมายในสังคมสมัยใหม่จนต้องพยายามหลีกหนี หากไม่ดว้ ยความตายก็ดว้ ยเทคโนโลยี ? The Meaning between Life and Death โอกินาวามีชอ่ื เสียงในหลายด้าน แต่ดา้ นหนึง่ ก็คอื เรือ่ งทีผ่ คู้ นล้วนมีอายุยนื ยาว ทีน่ ม่ี ผี เู้ ฒ่า Yukio Mishima, a famous Japanese writer, lamented ผู้แก่อายุมากกว่า 100 ปีเกิน 400 คน งานวิจัยมากมายบอกว่า เคล็ดลับอายุวัฒนะของคน that ifOnce in the Bronze Age, the average life expectancy was 18 โอกินาวาอยูท่ ก่ี ารกินอาหารไขมันต่ำ การออกกำลังกาย การจัดการกับความเครียด สายสัมพันธ์ and in the Roman period it was 22, Heaven must be full of ทางสังคมและครอบครัวอันแน่นแฟ้น วิถีชีวิตที่ไม่เคร่งเครียด รวมทั้งมิติทางด้านจิตวิญญาณ youthful beauty, and now in contrast, it must be full of dreadful figures. Mishima, who was obsessed with 'beauty', killed himself อันร่ำรวย แต่งานวิจัยเหล่านี้เกิดขึ้นในบริบทที่การหันมาให้ความสนใจเรื่องสุขภาพกลายเป็น at the age of 45, before entering the "dreadful" age. What is it กระแสหลักในโลกตะวันตกและทีอ่ น่ื ๆ และเป็นผลิตผลทางประวัตศิ าสตร์ของสังคมอุตสาหกรรม that has made aging lose its importance in modern society so much that people try hard to escape from it, either by death or ที่ผู้คนในเมืองเบื่อหน่ายกับวิถีชีวิตอันสะดวกสบายด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ จนหันมาเพ้อฝันหา through technology? Okinawa is famous for the longevity of its population. There อุดมคติของชีวติ ที่ "ล้าหลัง" กว่าแต่เคร่งเครียดน้อยกว่า จู่ ๆ ความแก่ชราก็ดจู ะกลายเป็นสิง่ ที่ are more than 400 centenarians in Okinawa. Many researches น่าใฝ่หาอีกครัง้ ในวาทกรรมทีห่ มุนเวียนอยูใ่ นเมืองใหญ่ indicate that the secret of long life lies in the low-fat diet, exercise, อย่างไรก็ตาม สถานทีท่ เ่ี ป็นอุดมคติอย่างโอกินาวาก็กำลังเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว เมือง stress management, strong family ties, and spiritual conกำลังขยายตัวและผูค้ นก็เริม่ มีวถิ ชี วี ติ ทีไ่ ม่ตา่ งกับทีอ่ น่ื ๆ ในญีป่ นุ่ มากนัก จริงอยูท่ ก่ี ารมีอายุยนื nectedness. However, the studies are based in the context where health consciousness, a mainstream discourse in the ยาวนั้นเป็นที่ใฝ่ปองของคนเมือง (ที่กลัวความตายมากกว่าความแก่) แต่ก็เป็นการมองโดยดึง West and elsewhere, are a result of socio-historical developเอาการมีอายุยนื ออกจากบริบททางสังคมประวัตศิ าสตร์ และถูกทำให้กลายเป็นเรือ่ งทางเทคนิค ment of industrial societies where people started to look for idealized life 'less civilized', yet more relaxed. Suddenly old age โดยเฉพาะการอธิบายด้วยเทคนิคทางแพทย์ แม้วิทยาศาสตร์และกระแสการรักษาสุขภาพจะ and longevity seems to become something desirable in the ประสบความสำเร็จในการทำให้คนมีอายุยนื ยาวขึน้ แต่จะการมีชวี ติ อยูน่ านจะมีความหมายอะไร discourse which circulates in big cities again. Okinawa is also fast-changing. Urbanization ในสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป พืน้ ทีท่ เ่ี คยปลูกผัก ทำสวน เลีย้ งสัตว์ หรือออกกำลังกาย keepsHowever, expanding and Okinawans begins to adopt a lifestyle like ลดลงเรือ่ ย ๆเพราะการขยายตัวของเมือง ลูกหลานก็เริม่ อพยพออกไปทำงานในเมืองใหญ่ สำหรับ other places in Japan. It is true that living long is the dream of โอกินาวาที่เริ่มพัฒนาเป็นเมืองนั้น การมีอายุยาวนานอาจจะไม่จำเป็นต้องแปลว่ามีความสุข urbanites, but it is looked only from the medical and scientific perspectives. What does it mean to live long in a context where, เสมอไป say, spaces for vegetation or exercise, have decreased, or ข้าพเจ้าพลิกดูหนังสือภาพถ่ายโดยช่างภาพจากโตเกียวทีถ่ า่ ยภาพคนสูงอายุจากโอกินาวา where young people have left for big cities. For increasingly Okinawa, longevity no longer necessarily equals hapเล่มหนึง่ และพยายามหาความหมายจากรอยย่นท่ามกลางรอยยิม้ ของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ ข้าพเจ้าแปลกใจ urbanized piness. I leafed through the pages of a book by a Tokyo photo ทีพ่ บว่าตัวเองรูส้ กึ เศร้าใจว่า มาบัดนี้ อย่างดีความชราก็ได้เป็นเพียงภาพทีผ่ คู้ นทีห่ นีจากค่านิยม who collected photographs of old people in Okinawa, ชนชั้นกลางพยายามใส่ความหมายทางบวกให้ใหม่ท่ามกลางความโรยราของความหมายของ grapher and tried to make sense of the wrinkles among the smiles of ความชราและความสำคัญของผู้เฒ่าในโอกินาวา ไม่ว่าอย่างไร คนชราก็กลายเป็นผู้ถูกมอง those grandparents. I felt surprisingly sad that now, at best, old age can only be an image idealized by those who tried to (ไม่วา่ ในทางบวกหรือลบ) มากกว่าผูท้ จ่ี ะลุกขึน้ มากระทำการใด ๆ ต่อชีวติ ของตน escape from the deterioration of meaning of being old and of ในยามเย็นที่แสงแดดอ่อนระโหยของวันที่เงียบเหงาวันหนึ่ง ข้าพเจ้ารื้อลิ้นชักเพื่อจัดทำ the importance of old people. The aged become passively ความสะอาดและพบโปสการ์ดชุดหนึง่ โดยบังเอิญ มันเป็นภาพชุดเส้นทางต้นสน 340 ต้นในเขต looked at, instead of being an active agent who takes control of lives. ฮามามัตสึของจังหวัดชิสโึ อกะซึง่ เป็นจุดกึง่ กลางระหว่างโตเกียวกับเกียวโตตามเส้นทางทอกไคโด their own In an evening of a lonely day, while I was cleaning my ทีม่ มี าตัง้ แต่สมัยเอโดะ ข้าพเจ้าระลึกถึงคุณยายของเพือ่ นทีใ่ ห้โปสการ์ดเหล่านัน้ มา คุณยายผู้ room, I came across a set of postcards of the Edo-period pine that still exist today in Hamamatsu, mid-way between ที่เป็นคนพื้นถิ่นของฮามามัตสึได้ร่วมกับเพื่อน ๆวัยเดียวกันผลิตงานศิลปะกระดาษเหล่านี้ขึ้น trees Kyoto and Tokyo on Tokaido route. They reminded me of the ด้วยความรู้สึกภาคภูมิใจในบ้านเกิดของตนที่แม้ในปัจจุบันจะเต็มไปด้วยโรงงานอุตสาหกรรม grandmother of a friend who, together with friends around the ก็ตาม ท่านผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่เหล่านีท้ ำให้ขา้ พเจ้าตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความหมายของ same age, created them with a pride of Hamamatsu, their hometown. These old people made me aware of the imporการมีชวี ติ อยูใ่ นพืน้ ทีส่ งั คมสมัยใหม่ทร่ี งั เกียจความชรา และการพยายามก้าวข้ามความรูส้ กึ ทีว่ า่ tance of cherishing life: they attempted to go beyond the การแก่ชรานัน้ เป็นภาระแก่ลกู หลานและสังคมเนือ่ งจากไม่สามารถทำการผลิตได้ อนึง่ จริงอยูท่ ่ี discourse that unproductive old age is a burden for society. enough, death is waiting for us all, but the lives of these ความตายนั้นรอท่าเราทุกคน แต่ชีวิตผู้เฒ่าเหล่านี้บอกแก่ข้าพเจ้าว่า ตราบใดที่ยังมีลมหายใจ True grandparents tell me that as long as we are still breathing, life ตราบนัน้ ชีวติ มีความหมายเสมอ is always worthwhile.


14

ลูกชายหายไปในสงคราม ลูกสาวพาหลานข้ามแดนไกล ใครหว่านความตายบนผืนไร่ เสียงก้องกัมปนาทสนัน่ หวัน่ ไหว พ่อเฒ่าร่างสลายบนผืนดิน พ่อเฒ่าอยูใ่ นเส้นด้าย หลานหญิงชายอยูใ่ นเมล็ดเดือยขาว แม่เฒ่าหว่านความทรงจำด้วยมือสัน่ เทา สลับสีลกู ชายร้อยลายลูกสาว ผืนดินแผ่นเก่าสลายเป็นผืนผ้า ห่อข้าวสารเตรียมเดินทางไกล ทิง้ แล้วผืนไร่ทถ่ี กู หยามย่ำ แม่เฒ่าเก็บเกีย่ วพืชผลความทรงจำ สวมเสือ้ ใหม่ตวั สุดท้ายก้าวนำ กำชีวติ ดุม่ เดินหน้า เดินหน้า เดินหน้า


15


16

ผมได้ไปอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทีอ่ ยูต่ ดิ ชายแดนพม่าหลายครัง้ ใน 4-5 ปีมานี้ ทุกครัง้ ทีไ่ ป คนไทยหลายคนทัง้ ทีไ่ ปด้วยกันและทีอ่ ยูแ่ ม่สอดมักจะถามผมว่า รูส้ กึ อย่างไรเมือ่ พบเห็น คนจากพม่าเข้ามาอยูใ่ นแม่สอดเป็นจำนวนมาก ผมไม่ได้ตอบ เพราะไม่แน่ใจในความคิดความ รูส้ กึ ของตัวเอง แต่กไ็ ด้ถามกลับไปว่า แล้วตัวเขาเองรูส้ กึ อย่างไร คำตอบทีไ่ ด้มามีทง้ั บวกและ ลบ มีทง้ั ทีเ่ ห็นเป็นเรือ่ งเล็กและเรือ่ งใหญ่ ย้อนหลังไปสัก 70 ปี เมือ่ ผมพอจำความได้ ตอนนัน้ ผมก็ได้พบเห็นคนต่างชาติตา่ งภาษา เข้ามาอยูใ่ นเมืองไทยแล้ว จำได้วา่ คนแถว ๆบ้านผมก็ยอมรับและเป็นเพือ่ นกับคนทุกชาติโดย เฉพาะคนจากรอบ ๆประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันคงกลมกลืนกับสังคมไทยไปกันหมดแล้ว โดยที่ บางกลุม่ ก็ยงั คงรักษาศิลปะและประเพณีเดิมบางอย่างเอาไว้ อาจเป็นไปได้ว่า ในสมัยก่อน ผืนแผ่นดินไทยยังกว้างขวางมากเมื่อเทียบกับจำนวน ประชากร แผ่นดินไทยมีความอุดมสมบูรณ์ ในน้ำมีปลา ในนามีขา้ ว ไม่ตอ้ งแย่งกันกินแย่งกันใช้ ไม่มีการทำลายสิ่งแวดล้อมกันเหมือนทุกวันนี้ แต่ถึงอย่างนั้น ผมก็จำได้ว่าเคยได้ยินคำพูดที่ กำหนดลักษณะคนเชือ้ ชาติตา่ ง ๆในทางร้าย ๆอยูเ่ หมือนกัน เราถูกสอนให้ไม่ชอบคนจีนด้วย เหตุผลว่าชนเผ่าไทยหนีการรุกรานของจีนลงมาทางใต้ แล้วก็ว่ากันว่าคนจีนชอบเอาเปรียบ คนไทย นอกจากนี้ ผมยังได้ยนิ คำพูดว่าคนไทยไม่ควรเชือ่ ใจ "แขก" และ "มอญ" อีกด้วย ถึงกับ มีคำพูดทีน่ า่ กลัวว่า "ถ้าเจองูกบั แขกพร้อมกันให้ตแี ขกก่อน" ในตอนนัน้ ผมยังไม่ได้เข้าใจอะไร มากนัก จนกระทัง่ ปูเ่ ล่าให้ผมฟังว่า เขาสอนกันให้ระวังตัวหากจะคบกับ "คนโค ขะ ละ สุ" เหมือน กัน โค คือคนโคราช ขะ คือเขมร ละ จำได้วา่ เป็นละครหรือนครศรีธรรมราช (อาจจะจำผิด) ส่วนสุนน้ั คือสุพรรณ ซึง่ ปูเ่ องก็เป็นคนสุพรรณ และผมก็คอื เชือ้ สายคนสุพรรณ ความจริงก็คอื เราอยูร่ ว่ มกับชาวมอญได้อย่างกลมกลืน ศิลปะมอญเป็นทีน่ ยิ มกันมาก ทีบ่ า้ นผมยังมีตมุ่ มอญ รุน่ คุณปูอ่ ยูห่ ลายตุม่ ความเชือ่ เหล่านีอ้ าจจะมีทม่ี าจากประสบการณ์บางอย่างของคนเพียงบางคน และมันก็ ไม่ได้เป็นสถิติทางวิชาการ ที่สำคัญ ผมเชื่อว่าคนไทยสมัยนั้นโดยทั่วไปก็ไม่ได้ถือเป็นเรื่อง จริงจังอะไรเลย วันเวลาเปลีย่ นไป โลกเปลีย่ นไป กฎเกณฑ์ตา่ ง ๆมีมากขึน้ จนแทบตามไม่ทนั การย้ายถิน่ ข้ามประเทศ แม้จะเป็นการหนีรอ้ นมาพึง่ เย็นก็กลายเป็นความผิด ดูเหมือนทัศนคติของคนไทย รุน่ ใหม่สง่ั สมมาให้หวงแหนแผ่นดิน อาชีพ และห่วงเรือ่ งความมัน่ คง เมือ่ ไม่กป่ี กี อ่ นเคยมีคนเตือน ไม่ให้ผมเข้าไปในชุมชนแรงงานอพยพทีส่ มุทรสาคร โดยบอกว่าไม่มใี ครกล้าเข้าไปในเขตพม่า เพราะกลัวจะถูกเอาตาย ตอนนัน้ ผมไม่ได้พดู อะไรเพราะผมเองก็เพิง่ ไปเยีย่ มทีน่ น่ั มาเมือ่ ไม่นาน แต่ในความเปลีย่ นแปลง ผมยังพบว่า คนเราก็ยงั ใจดีตอ่ กันได้เสมอ โรงพยาบาลแม่สอดนัน้ รับรักษาคนไข้ที่มาจากฝั่งพม่าโดยเฉพาะชนกะเหรี่ยงพลัดถิ่นอยู่เป็นประจำ ผมไปแม่สอด ครัง้ สุดท้ายเมือ่ กุมภาพันธ์ปนี เ้ี อง ครัง้ นีไ้ ด้มาสอนอาสาสมัครหนุม่ สาวชาวกะเหรีย่ งให้เข้าใจเรือ่ ง โรคเอดส์ การให้คำปรึกษาทีจ่ ำเป็นจะต้องทำร่วมกับการตรวจวินจิ ฉัยโรค และการให้คำปรึกษา กับหญิงมีครรภ์ทต่ี ดิ เชือ้ ซึง่ เป็นโครงการทีจ่ ะช่วยให้โรงพยาบาลแม่สอดดูแลชนพลัดถิน่ ทีต่ ดิ เชือ้ เอชไอวีได้ทว่ั ถึงขึน้ และยังเป็นการลดการแพร่ระบาดต่อไป นอกเหนือจากการตั้งใจเรียนและสติปัญญาเฉียบคมที่จะเรียนรู้ ผมได้พบว่าหนุ่มสาว ชาวกะเหรีย่ งเหล่านีล้ ว้ นเป็นคนทีม่ งุ่ มัน่ ทีจ่ ะช่วยสังคม พวกเขามีความรัก ความเข้าใจ และมอง โลกในแง่ดี ผมไปเยี่ยมเขาที่ที่พักอันคับแคบแออัด ไม่มีไฟฟ้าใช้ และเขาก็เล่าให้ฟังถึงชีวิตที่ คับแค้นที่ทำให้เขาตัดสินใจหนีมาฝั่งไทย ผมอดสลดใจไม่ได้ เมื่อคิดว่าชีวิตหนุ่มสาวของเขา สมควรจะได้พบสิง่ ทีด่ กี ว่านี้ อย่างไรก็ดี หนุม่ สาวกลุม่ นีบ้ อกกับผมว่า พวกเขามีความสุขทีไ่ ด้มาอยูใ่ นเมืองไทยและเขา ไม่ตอ้ งการอะไรมากกว่าความรักและความเข้าใจ เขาพยายามอย่างยิง่ ทีจ่ ะไม่สร้างปัญหาให้กบั ทีน่ ่ี และจะพยายามตอบแทนความเอือ้ อารีของเพือ่ นคนไทยให้มากทีส่ ดุ ขณะนีผ้ มมีคำตอบแล้วว่าผมรูส้ กึ อย่างไร เมือ่ เห็นคนจากฝัง่ พม่าข้ามแดนมาอาศัยอยูท่ ่ี แม่สอด

อาสาสมัครสุขภาพชาวกะเหรียงพลัดถิ่น I went to Mae Sot District on the Thai-Burma border several times over the past 4-5 years. Every time I went there, someone would ask me how I feel to see so many people moving from the other side of the border to live in Mae Sot. I didn't answer them because I was not sure about my own feeling. I usually asked them the same question in response. The answers, both positive and negative, varied. Looking back 70 years ago, I remember I saw some foreigners living in Thailand. My neighbors seemed to accept and befriend with them, especially those from our neighboring countries. Today, those people must already be integrated into Thai society, and I'm sure that some of them successfully maintain their cultural practices and identity. Perhaps, at that time, there was plenty of land compared to the population. The country was fertile like the saying 'Always there's fish in the water and rice in the field.' People needed not to fight for resources and the environment was intact. Nevertheless, I remembered I heard some Thai people said some unbelievable bad things about people of other races. We were made believed that the Chinese forced us to flee from Southern China to where we are now and therefore they couldn't be trusted! I also heard that we should not get close to the Mon and Indians. There was even a scary saying that "hit the Indian before you kill a snake". At the time I didn't understand the world much until my grandfather told me that there was also a teaching that we mustn't trust "Ko, Ka, La, Su" people, which mean people from Korat province, Khmer origins, Lakorn (Nakhon Si Thammarat, I think), and Suphanburi. The fact is both my grandfather and I were from Suphanburi, and we were living peacefully with the Mon neighbors. Such stereotypes may stem from a very specific experience only of a very few people, and I believe that most people in those days didn't took these stereotypes too seriously. Times have changed. The world has changed. There are more rules to restrict our lives. Cross-border migration, even to run away from deaths and abuses to seek safety and peace is considered 'wrong'. The new generations are taught to hold grudges over issues dealing with their land, careers and security. A few years ago, someone forbid me to go into a migrant worker's community in Mahachai. I was told that no one could do so because the people were too dangerous. At the time I didn't say a word; I just visited there a few days ago. Yet, amidst what has been happening, I find human empathy remains very much alive. Mae Sot Hospital still provides treatment to patients from Burma and the Karen refugees and migrants as it used to. In my recent trip to Mae Sot in February, I provided training to the Karen volunteers about HIV/AIDS counseling that should be provided together with diagnosis for HIV positive mothers. In addition to their determination and potential, I found these young have strong commitment to help their community. They have love, empathy and are optimistic. When I visited them in their tiny and crowded shelters, they told me about the hardship that forced them to flee to Thailand. I can't help but feel that they deserve much better lives. They told me they were happy here and needed nothing more than love and understanding. They have always been trying not to cause any problems and will do their best to contribute to their caring Thai friends. After these experiences, I now have a clear answer about how I feel when I see people crossing the border to live in Mae Sot.


17

"หมูบ่ า้ นทีล่ งุ อยูเ่ ป็นหมูบ่ า้ นชาวประมง มีคนสักพันหลังคาเรือน แต่ลงุ เป็นคน ค้าขายไป ๆมา ๆระหว่างทวายกับเกาะสอง ขายพวกอาหารแห้งอย่างพริกแห้ง เกลือ หัวหอม อย่างนัน้ แหละ เมือ่ ก่อนนัน้ ความเป็นอยูก่ ด็ ี แต่พอมีรฐั บาลใหม่ เจ้าหน้าทีก่ ม็ าใหม่ ทหารก็มาอยู่ ความเป็นอยูก่ เ็ ริม่ ลำบาก ทีเ่ คยค้าขายกันแบบ ชาวบ้านก็ทำไม่ได้แล้ว พอเขาจะให้เสียภาษีในความเป็นจริงมันก็อยู่ไม่ได้ ลุงออกไปรับจ้างทำสวนบ้างอะไรบ้างแต่พอมันเป็นงานทีเ่ ราไม่ถนัดก็ทำไม่ได้อะไรขึน้ มา เมี ย กั บ ลู ก สาวคนรองของลุ ง ก็ เ ลยมาหางานทำที ่ ร ะนอง ลุ ง อยู ่ ก ั บ ลูกสาวคนเล็กและก็ลูกชายคนโตต่ออีกปี แล้วก็เลยลงเรือตามมา สามวัน สองคืน"

จะเอาไปใช้ในชีวติ ประจำวันก็ได้ เขาก็ตอ้ งอ่านออกเขียนได้ บวกเลข คิดเป็น ผม: แล้วแนวการสอน หลักสูตรนีล่ งุ คิดเองเหรอครับ อู: ลุงซือ้ หนังสือมาจากเกาะสองนะ เราก็เคยเรียนมาใช่ไหม ก็สอนไปตามนัน้ ตามคูม่ อื ทีเ่ ขาอธิบายว่าต้องทำยังไง ๆนีแ่ หละ เด็กบางคนพ่อแม่กซ็ อ้ื หนังสือให้ จากเกาะสอง บางคนเขาเคยเรียนผ่านไปแล้วก็ให้มา ตอนนีม้ หี นังสือครบทุกคน มีเอ็นจีโอมาช่วยให้อุปกรณ์การเรียนด้วย ลุงจัดให้มีการสอบเดือนละครั้ง แล้วมีสอบใหญ่ทกุ วิชา ถ้าคนไหนคะแนนเกิน 40 ก็ได้เลือ่ นชัน้ ผม: มีคนถามไหมครับว่า มาอยูเ่ มืองไทยแล้วทำไมต้องเรียนภาษาพม่าอีก อู: ร้อยละ 95 นะทีย่ งั ไงเขาก็อยากรูภ้ าษาของตัวเอง คนจากพม่าทีม่ าอยูใ่ นเมือง ไทยนะ ไม่คดิ ว่าจะได้กลับบ้านแล้ว บางทีกลับไปก็อยูไ่ ม่ได้ แล้วก็มาอีก ถ้าเป็น ผม: ตอนแรกมาถึง ลุงมาทำงานอะไรเหรอครับ แบบนี้ เด็กทีโ่ ตทีน่ ก่ี จ็ ะไม่รจู้ กั ภาษาพม่า ถ้าไม่รจู้ กั ภาษาก็ไม่รจู้ กั ตัวเองว่าเป็นใคร อู: ลุงทาสีเรือ เมียลุงเย็บผ้าแล้วตอนเย็น ๆแกชอบเรียกเด็ก ๆแถวนีม้ าสอนหนังสือ เชือ้ ชาติไหน ไม่รวู้ า่ พม่าคืออะไร พอลุงมาอยูไ่ ด้สกั เดือนนึงคนเขาเห็นว่ามีความรู้ ก็เลยบอกว่าไม่ตอ้ งทาสีแล้ว มาสอนหนังสือให้ลกู เขาดีกว่า คือลุงได้เรียนจบมัธยมปลายน่ะ ก็ถอื ว่าเรียนสูง การเรียนการสอนในช่วงแรกเป็นไปอย่างหลบ ๆซ่อน ๆ เพราะผูส้ อนและพ่อแม่ เพราะส่วนใหญ่เขาเรียนแค่ ป.4 แล้วหลักสูตรแต่ละยุคสมัยมันไม่เท่ากัน ตอน ของนักเรียนต่างก็เป็นแรงงานอพยพทีไ่ ม่ได้รบั อนุญาตให้อยูใ่ นประเทศไทยอย่าง ลุงจบมันเป็นปี 2502 เมื่อก่อนการศึกษามันดีนะ จบมัธยมนี่เก่งแล้ว เป็นครู ถูกกฎหมาย อู ได้ปรึกษาองค์กรเอกชนในพื้นที่ซึ่งช่วยหาทางเจรจาขออนุญาต โรงเรียนได้ ลุงก็เคยเป็นเหมือนผูช้ ว่ ยครูอยูท่ โ่ี รงเรียนรัฐบาลพักหนึง่ เหมือนกัน จากรัฐเพือ่ จะเปิดศูนย์เด็กเล็กไว้สอนหนังสืออย่างเป็นทางการได้สำเร็จ นักเรียน โรงเรียนไม้เล็ก ๆนะ มีป. 1- ป. 4 เด็กร้อยกว่าคน ของเขาเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆจนต้องให้เมียและลูกสาวคนเล็กมาช่วยกันสอนสลับกันไป ผม : แล้วทีน่ ล่ี งุ สอนวิชาอะไรบ้างละครับ อู: ทีแรกสอนภาษาพม่าอย่างเดียว เอาให้เด็กอ่านออกเขียนได้ แล้วมีภาษา อู: เรารับเด็กตัง้ แต่หา้ ขวบขึน้ ไป แต่ทจ่ี ะเรียนไปจน ป.4- ป.5 นีน่ อ้ ย เพราะเริม่ อังกฤษคูไ่ ปด้วย พอเด็กเยอะเราแบ่งเป็นชัน้ ๆ พวก ป.3 ขึน้ ไปก็จะเรียนประวัติ เรียนอนุบาลก็โตแล้ว 8-9 ขวบ คือก่อนหน้านัน้ เด็กจะอยูบ่ า้ นเลีย้ งน้อง พอพ่อ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ ด้วย เสาร์อาทิตย์กจ็ ะมีครูของมูลนิธศิ ภุ นิมติ มาช่วยสอน แม่มเี งินเก็บนิด ๆหน่อย ๆก็จะให้ลกู มาเรียน เรียนบ้างขาดบ้าง พอสักป. 3 - ป. 4 ลุงคิดว่าถ้าเด็กเขาไปเรียนในระบบต่อก็ควรจะต้องมีพน้ื ฐานวิชาพวกนี้ หรือถ้า ก็ 14-15 แล้ว เขาก็ออกไปทำงานกันหมด


18

ผม: คือยังไงเด็กก็ตอ้ งไปเป็นแรงงานนะครับ อู: ส่วนใหญ่อายุได้ 14-15 ก็ไปทำอู่ ทำโรงงานห้องเย็น แกะกุง้ แกะปลา งาน แบบนีไ้ ม่ได้ใช้ภาษาพม่าหรอก แต่ภาษาไทยกับคณิตศาสตร์นไ่ี ด้ใช้ ผม: แล้วเขาตัง้ ใจเรียนกันไหมครับ อู: เด็กสักครึง่ นึงละมังทีต่ ง้ั ใจเรียนจริง ๆ บางทีปญ ั หาอยูท่ ค่ี รอบครัวด้วยนะ พ่อแม่ไม่ได้สนับสนุนให้ลกู เรียน บางทีเหมือนเขามามีเงินเก็บบ้างก็มาฝากให้เรา ดูแลจนถึงวัยทีจ่ ะทำงานได้แล้วก็จะมาเรียกเอาไป บางคนเขาก็คดิ ว่าถ้าจะให้ ลูกเรียนจริงจังต้องส่งกลับไปพม่า หรือไม่กค็ ดิ ว่าเอาแค่รตู้ วั หนังสือนิดหน่อย เขียนได้อา่ นออกบ้างก็พอ ไม่ตอ้ งเน้นให้เก่งหรือมีความสามารถอะไรอืน่ ผม: แล้วพ่อแม่เขาจะต้องเสียค่าฝากลูกยังไงครับ อู: เมือ่ ก่อนนีเ้ ด็กมีแค่ 50 คน ก็เก็บเดือนละ 100 บาท แต่ตอนนีเ้ ด็กเยอะขึน้ ก็ลดลงเหลือ 50 บาทต่อเดือน ทีน่ เ่ี ช่าเขาเดือนละ 1,500 บาท เจ้าของคนไทย เขาใจดี ไม่เคยขึน้ ค่าเช่าเลย แต่ถา้ เด็กเยอะกว่านีก้ ไ็ ม่แน่ใจว่าจะคับแคบไปไหม ถ้าพ่อแม่มาฝากและเราไม่รบั เขาก็จะรูส้ กึ ไม่ดี นีล่ งุ ยังหาทีใ่ หม่ทก่ี ว้างกว่านี้ ไม่ได้ อันทีจ่ ริงก็อยากจะให้มนั ดีและทัว่ ถึง แต่ครูเราก็มแี ค่น้ี ไม่มเี งินจ้างครู เพิม่ ก็กลัวจะสอนไม่คอ่ ยทัว่ ถึงนะ แล้วยังมีเด็ก ๆอีกเยอะทีอ่ ยากเรียนแต่เขา อยูไ่ กล มาเรียนไม่ใช่มาง่าย ๆ ถ้าไม่มใี ครรับไปส่ง อันตรายด้วย บางคนพ่อแม่ ไม่มบี ตั รแรงงาน คียบ์ อร์ดตัวหนึง่ ตัง้ แอบอยูต่ รงมุมด้านหนึง่ ตรงข้ามหิง้ พระ ลวยนาย ล่ามของเรา เดินเข้าไปกดคียเ์ ล่นไปมา ศูนย์เด็กเล็กแห่งนีม้ หี อ้ งสมุดให้เด็ก ๆและชาวบ้าน ได้อา่ น และยังดำเนินกิจกรรมอืน่ ๆ อู: ทีน่ ส่ี อนวัฒนธรรมประเพณีดว้ ย ลุงนับถือพุทธก็มชี ว่ั โมงศาสนา ประเทศ พม่ามีหลายเชื้อชาติ เราก็มีวิถีชีวิตการร้องรำการละเล่นไม่เหมือนกัน เราก็พยายามสนับสนุน ลูกสาวลุงมาสอนฟ้อนรำ เขาโตทีน่ น่ั ได้เห็นได้เป็นอยูก่ ็ สอนได้ เรือ่ งวัฒนธรรมไทยครูไทยก็สอน แล้วก็มคี ริสเตียนมาอาสาสอนด้วย ผม: ลุงอยูต่ รงนี้ ลุงมองว่าลุงอยากเห็นอะไรในชุมชนครับ อู: ลุงอยากให้คนในชุมชนใช้ชวี ติ อย่างไม่ปล่อยปละละเลย รักษาบ้านเราให้ สะอาดน่าอยู่ มีการพัฒนาชีวติ รักษามารยาทวัฒนธรรมประเพณีทเ่ี หมาะสม ลุงเองก็สอนเด็กนะว่าให้อยูก่ นั อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ทิง้ ขยะให้เรียบร้อย

ทุกเดือนลุงจะพาเด็ก ๆไปทำความสะอาดพืน้ ทีแ่ ถวนีแ้ ล้วก็สอนเขา พอชาวบ้าน เห็น ผูใ้ หญ่เห็นเด็กทำเขาก็ทำตามกันบ้าง จริง ๆลุงอยากให้มสี ถานทีฝ่ กึ อาชีพ ให้กบั เด็ก ๆ หรือคนในชุมชนนะ เขาจะได้เลีย้ งตัวเองได้ มีความรูต้ ดิ ตัว ผม : ทุกวันนีล้ งุ ไปไหนมาไหนได้อยูไ่ หมครับ อู: ก็ไปได้ในจังหวัดระนอง ลุงไม่ได้รบั จ้าง ไม่มนี ายจ้าง ก็ตอ้ งเสียเงินให้คนทีเ่ ขา รับทำบัตร (ใบอนุญาตทำงาน) เพือ่ ให้เขารับรองเป็นนายจ้าง แล้วก็ตอ้ งจ่ายค่า นายหน้า 800 บาท ลุงต่อบัตรทุกปีกป็ วดหัวทุกปี ปีละ 3,800 รวมค่านายหน้า ก็เกือบห้าพัน เราก็มรี ายได้จากการสอนอย่างเดียวนีน่ ะ แล้วบัตรนีเ่ ราออกนอก พืน้ ทีไ่ ม่ได้ ทีจ่ ริงนะถ้าลุงเดินทางได้ ก็คดิ อยากจะไปเรียนรูด้ ทู อ่ี น่ื เขาสอนยังไง ทำยังไงแล้วก็มาลองทำ หรือว่าเราอาจจะไปช่วยที่อื่นเขาเปิดสอนเหมือนกัน ก็ได้ ผม: ชีวติ ตอนนี้ เป็นยังไงบ้างครับ อู: ถ้าลุงไม่มาเมืองไทย ก็บอกไม่ถูกเหมือนกันว่าจะเป็นยังไง ถ้าที่โน่นอยู่ได้ มีงานมีการทำ ลุงก็อยากกลับไปเหมือนกันแหละ แต่ตอนนีล้ งุ ว่าลุงคงกลับไม่ได้ แล้วละเพราะมันมีภาระหน้าที่ที่นี่ ต้องสอนหนังสือให้กับเด็ก ๆที่นี่ ถ้าลุงไม่อยู่ แล้วใครจะสอน ถ้าเราไม่อยู่ใครจะดูแลเขา เพราะพ่อแม่ก็ไปทำงานกันทุกวัน ลุงคิดถึงอนาคตของพวกเขาน่ะนะ ขณะที่ผมกำลังถ่ายรูปอูและศูนย์เด็กเล็ก เมียและลูกสาวของอูกับเด็ก ๆกำลัง เตรียมเครื่องขนมจีนสำหรับงานเลี้ยงพิธีปิดของโรงเรียนในวันรุ่งขึ้น ได้ยินว่า จะมีการแสดงของเด็ก ๆ ฟ้อนรำ และอ่านบทกวี เมียของอูเอาอัลบัม้ ภาพงาน พิธีเปิดศูนย์มาให้ดู ผมเห็นทหารไทยในเครื่องแบบมาเป็นประธาน แล้วยังเห็น ภาพเด็ก ๆในชุดชนเผ่าฟ้อนรำกันอย่างสนุกสนาน หันกลับไปอีกที อูกำลังพลิก หนังสือเรียนแต่ละหน้าดูชา้ ๆ

อู (ชือ่ แฝง) อดีตผูช้ ว่ ยครูและคนค้าขายข้ามพรมแดนชาวทวาย จากอำเภอ ลองลง มณฑลตะนาวศรี ในปีพ.ศ. 2540 ตัดสินใจติดตามภรรยาและลูกสาว คนรอง และเริ่มงานแรกในฐานะแรงงานอพยพด้วยการเป็นช่างทาสีเรือ ต่อมาได้เริม่ ต้นสอนหนังสือเด็กในชุมชน เริม่ จากสองคนจนขยายเป็นโรงเรียน และได้รบั อนุญาตให้เปิดเป็นศูนย์เด็กเล็กได้ ปัจจุบนั อู อายุได้ 61 ปี ยังคงสอน หนั ง สื อ อยู ่ ก ั บ ภรรยาและลู ก สาวคนเล็ ก ที ่ ต ิ ด ตามมาภายหลั ง และยังไม่มกี ำหนดกลับประเทศพม่า หมายเหตุ : ขอขอบคุณมูลนิธศิ ภุ นิมติ คุณลวยนาย (ล่าม), คุณประณีต และ คุณธิตยิ า ทีท่ ำให้วงน้ำชาของเราเป็นจริงได้


19 Ten years ago, a small school was established with only two students in a migrant workers' community by a dedicated teacher and fellow migrant worker. Today, the place, formerly an infamous brothel for forced prostitution, has become a successful "Center for Life Development". All 140 students have just finished their exam. Desks and chairs are piled up against the wall. U, a 61-year old man from Tavoy, the school-teacher and director, has joined us for tea-time today. "My hometown is a fishing village with about a thousand households. I used to be a trader, trading dry food like chili, salt, etc., between Tavoy and Kawthong. Life had been fine until we had this new government. New officials took the office. Soldiers moved in. Things then changed. We could no longer trade like we used to do; the taxes were more than we could afford. I tried to get other odd jobs in farms and orchards but it didn't work. So, my wife and my second daughter went to seek jobs in Ranong and I stayed with my eldest son and the youngest daughter for another year before we all joined them. "My wife, who did sewing work, usually called young children in the neighborhood to get together and teach them. When I first arrived, I got a job as a painter - painting boats, but when the parents knew that I am also educated, they told me to quit the job so that I can teach their kids full time. Well, I finished high school in 1959 and education then was very good, compared to these days. I used to be a teacher assistant in a small public school and I believed I could teach. I bought some textbooks from Kawthong, studied the instructions and taught the kids what I knew. In the beginning, I taught only Burmese language and bit of English. When the number of students increased, we classified them into different grades, and for grade 3 up, I added history and math subject. The teachers from World Vision Foundation came to help teach Thai language during weekends, too. This will be a good, basic education for the children if they want to continue to formal schools, and if not, they can also apply the knowledge to their daily life. As far as I see, about 95 per cent of the migrant children still want to learn their mother language. It's true that many cannot go back home; some went back and found that they could not live there and came back here. But if the kids grew up here, not knowing their mother language, they won't be able to know who they are and what Burma is.

"The permit costs a lot. I'm not an employee, so I have to pay those who agree to certify that they are my employers in order to get a work permit. The broker fee is 800 baht. I've had a hard time every year during the permit extension period. The fee is 3,800 baht a year, plus the broker fee then it's almost 5,000. Anyway, the permit allows me to go around in Ranong legally. It will be great if I can travel freely, so I can visit to learn from other schools or maybe help other people establish this kind of child-care center. "My wish for the future? I hope to see us, migrant people, live a decent life with dignity and responsibility. I'd like to see us keep our community clean, maintain our culture and tradition, and all the good things. I teach the kids discipline too; keep things in order, throw garbage in the bins, etc. Every month, the children and I go out cleaning the neighborhood. When adults see what young children do, they appreciate and follow the practices. "It's hard to imagine how life would be if I hadn't come to Thailand. If it was possible to live in Burma, I'd love to go back. Anyway, I don't think I can now because there's a responsibility with children here, right? I have to teach the children! The parents have to work everyday and if I'm not here, who will teach their kids or take care of them? I'm concerned with these children's future. While I was taking photos of U and the center, his wife, daughters and other children were preparing food for the school closing ceremony. I heard there would be some dances, performances and poem readings on the stage. U's wife showed me the photo album of the center opening ceremony. I saw a Thai soldier in uniform presenting as the ceremony chair, and young children in different ethnic traditional costumes dancing. When I looked back up to U, he was turning each page of a textbook quietly.

Initially, the school was operated underground because both teachers and many of the parents are illegal foreign workers. U later sought help form local non-governmental organization which negotiated with the local authorities to get a permit to establish an official child-care center. The number of students has gradually increased and U had to ask his wife and the youngest daughter to help him teaching. "We accept children from five years up. Only a handful of them continue until grade 4-5; they usually start school late, about 8-9 years old. Generally the kids have to stay home taking care of their younger siblings. Only when their parents have some savings to spare, will they then have the opportunity for education. By the time they are in grade 3-4, they are 14-15 years old and ready to quit studying for work in factories or at the pier. I know that not all of them study seriously. It also depends on their parents. Some do not encourage their kids to study; they only want us to look after the kids until they reach the age that they can work. Some believe that to study seriously means attending formal school in Burma only, many others think that knowing how to read and write a little bit is good enough. "Here we also teach religion and culture. My daughter teaches dancing. She grew up in Burma and has learnt it naturally. I am a Buddhist and I teach Buddhism. However, Burma's people are diverse in terms of religion and culture and we need to support all. The Thai teacher teaches about Thai culture. We also have some Christian volunteers, too. When there were around 50 children, we collected 100 baht per month. Now, we have more students, so the fee reduces to 50 baht a month. The rental cost has been 1,500 baht for a few years; the Thai owner is very kind and has never increased it. However, I'm not sure if this place will be too small if we get more students. It won't be good if we have to reject students, right? I'd like to make it a good school for all but we have only a few teachers and there's no money to hire more. Also, there are many more children who want to join us but they live far away and traveling is quite dangerous. Some of the parents don't have work permits.

U, a Tavoyian, a former teacher assistant and a trader from Tenasserim Division, joined his wife and daughter to be a migrant worker in Ranong in 1997. U quit his job as a boat painter and started teaching children in the neighborhood His class grew from two students to a big school and finally received an official permission to establish a child-care center. Now 61, U is still teaching with his wife and their youngest daughter; he has no plan to return to Burma.


20

กลุ่มพ่อเฒ่า แม่เฒ่าผู้เลี้ยงวัวควาย ตำบลส้าน

ฒ ผูเ้ ฒ่า และ ค ควาย ความเป็นระบบมักก้าวเข้ามาจัดวางและกำหนดระเบียบให้ชวี ติ เราเสมอ แม้กระทัง่ ศักยภาพในการทำงานก็ยงั ต้องเป็นไปตามเกณฑ์อายุ เมือ่ วันหนึง่ ตัวเลขของอายุแตะทีเ่ ลขหกนำหน้า หลายคนก็จะต่างพร้อมใจบอกให้เราหยุด ทำงานเลี้ยงชีพ (หากเป็นงานราชการยังให้เลิกเสียเร็ว ๆก่อนอายุ 60 ปีได้ เสียอีก) ยิ่งไปกว่านั้น การหยุดทำมาหากินยังมักเป็นเหตุให้ต้องถูกบอกให้ หยุดอย่างอืน่ ตามมา เช่น หยุดไปไหนมาไหน หรือหยุดทีจ่ ะทำอะไรก็ตามทีจ่ ะ ทำให้เหนือ่ ย ไปจนถึงให้หยุดทำอะไรด้วยตนเอง และแล้วภาพของคนสูงอายุ ก็กลายเป็นผูพ้ ง่ึ พาสถานเดียว มีคนอีกจำนวนหนึง่ ยังยืนยันวิถชี วี ติ ทีไ่ ม่ตอ้ งซือ้ หาเวลา ปล่อยให้ตวั เลข วิ่งของมันไปในขณะที่ใจยังเต้นในจังหวะเดิมอย่างชาวนาผู้เลี้ยงวัวควายใน ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ซึง่ ต่างก็อายุลว่ งเลยวัยทีใ่ คร ๆก็บอกให้ เกษียณกันแล้วแทบทุกคน กลุ่มผู้เฒ่าผู้แก่ในตำบลส้านไม่ได้เพียงทำมาหากินแบบต่างคนต่างทำ ไปแต่ละวัน พวกเขาหันมารวมกลุม่ กันเป็นกลุม่ เลีย้ งวัวควายทีพ่ ลิกฟืน้ ภูมปิ ญ ั ญา ดัง้ เดิมในการเลีย้ งวัวควายขึน้ มาอีกครัง้ นัน่ คือการนำวัวควายทีต่ า่ งคนต่างมี มาเลีย้ งด้วยกันเป็นฝูงในทีน่ าของสมาชิกกลุม่ และให้กนิ นอนกันในทีน่ านีเ้ ลย (แทนทีจ่ ะต้อนกลับเข้าคอกใครคอกมันเหมือนทีป่ จั จุบนั ทำกัน) เพือ่ ให้ทด่ี นิ อุดม สมบูรณ์ดว้ ยปุย๋ มูลสัตว์ ซึง่ หากได้มลู สัตว์มามาก กลุม่ ก็จะทำปุย๋ คอกขายเป็น รายได้เสริม และไป ๆมา ๆพอชาวบ้านคนอืน่ ๆเห็นประโยชน์ ก็เริม่ มีการว่าจ้าง ให้กลุม่ พาฝูงวัวควายไปเลีย้ งในทีน่ าของตนอีกด้วย "ได้ออกมาเลีย้ งวัวควายเนีย่ มันไม่เครียด นัง่ มองนัง่ เฝ้ามันไปก็สบายใจ แถมยังได้ออกกำลังไปในตัว เพราะเราต้องเดินไปดูมนั จูงมันไปลงน้ำ เปลีย่ น ทีผ่ กู บ้าง แข้งขาก็มเี รีย่ วมีแรง" พ่อหนูวยั 65 ปีเล่าให้ฟงั การเลีย้ งวัวควายไม่ได้เป็นการใช้แรงงานหนักเกินกำลังผูส้ งู อายุ และพวก เขาก็ไม่ได้ถอื เป็น "ความลำบาก" ทีต่ อ้ งทำงานอย่างทีห่ ลายคนเข้าใจ ผูส้ งู อายุ ตำบลส้านกลุม่ นีบ้ อกว่า การเลีย้ งวัวควายสบายตัวและสบายใจกว่าการต้องมา นัง่ จักสานอย่างทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมจากรัฐให้ทำเป็นรายได้เสริมเสียอีก "ตาก็เพิง่ กลับมาเลีย้ งปีนแ้ี หละ" ตาเปลีย่ นวัยเจ็ดสิบบอก "ปีทแ่ี ล้วหยุดไป ปีหนึง่ เพราะลูกหลานเห็นว่าแก่แล้ว เขาขายวัวควายไปหมด ไอ้เราก็นง่ั ๆนอน ๆ อยูบ่ า้ น บางทีกท็ ำจักสาน แต่มนั เมือ่ ยนะ ต้องใช้สายตาด้วยก็ไม่ไหว ไม่คอ่ ย ชอบใจ ปีที่หยุดไปเนี่ยตาต้องไปหาหมอบ่อย ๆ เพราะอยู่บ้านมันเวียนหัว เวียนหู เห็นเขาจูงวัวควายผ่านหน้าบ้านก็คดิ ถึง เลยขอลูกว่าจะเลีย้ งใหม่ละนะ นี.่ . เพิง่ ซือ้ คูน่ ม้ี าใหม่" แกหยุดชีใ้ ห้ดคู วายแม่ลกู ตัวใหม่อย่างภาคภูมใิ จ ตาแก้ว ทีน่ ง่ั อยูด่ ว้ ยจึงเสริมขึน้ ว่า "ตาเนีย่ นะ 78 ปีแล้วนะ โรงพยาบาลสา โรงพยาบาล น่านไม่เคยรูจ้ กั ไม่เคยไปนอน นี.่ .นี.่ . ตายังขีค่ วายได้อยูเ่ ลยนะ เด็ก ๆเดีย๋ วนี้ ขีไ่ ด้กนั ซะทีไ่ หน"

นอกจากจะใช้สิทธิรับสวัสดิการการรักษาพยาบาลจากรัฐน้อยนิด กลุ่ม พ่อเฒ่าแม่เฒ่าเหล่านี้ยังดำเนินกิจกรรมเศรษฐกิจเองได้โดยไม่ต้องพึ่งพาใคร แถมยังเผือ่ แผ่รายได้ไปให้ลกู หลาน แม่เสวียนเล่าว่าแม่ซอ้ื ควายท้องมาแต่แรก เพียงตัวเดียว เลีย้ งไปเลีย้ งมามันก็ให้ลกู หลานจนได้แปดตัวในระยะเพียง 3-4 ปี วัวควายตัวหนึ่ง ๆขายได้ราว ๆ 1-2 หมื่นบาท แม่เสวียนจึงมีเก็บเงินก้อนไว้ ใช้เองและยังมีให้ลกู หลานขอเสียด้วยซ้ำ นับตัง้ แต่เริม่ หันมาเลีย้ งวัวควายด้วยกัน กลุม่ พ่อเฒ่าแม่เฒ่าก็มคี วามสดชืน่ พวกเขาได้โอกาสมาพูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกันและมีสงั คมของตัวเอง เลยไปจนถึงเริม่ มีกจิ กรรมอืน่ ๆร่วมกันในตอนเย็นหลังเลิกเลีย้ งวัวควายอย่างเช่น การเล่นสะบ้า เล่นเปตอง ถึงขนาดจัดการแข่งขันระหว่างหมูบ่ า้ น ผูใ้ หญ่ตา่ งฝ่าย ต่างได้ถ้วยรางวัลเฮฮาสุขใจกันไป ลูกหลานก็ได้หันมารื่นเริงร่วมกันกับปู่ย่า ตายาย แม้ตวั เลขของอายุจะเพิม่ ขึน้ ไปแค่ไหน สมาชิกทุกคนในกลุม่ เลีย้ งวัวควาย ต่างก็เห็นพ้องต้องกันว่า ตราบใดที่ยังเดินได้มีเรี่ยวมีแรงก็จะยังเลี้ยงวัวควาย ต่อไป พวกเขาสามารถตัดสินใจในศักยภาพของตนด้วยการรูจ้ กั ตนประมาณ ตนได้ เพราะหากว่าไม่มีคนเฒ่าคนแก่มาทำอะไรแบบนี้แล้ว ก็คงจะไม่มีใคร มาช่วยถ่ายทอดให้ลกู หลานได้ยอ้ นคิดถึงภูมปิ ญ ั ญาดัง้ เดิมทีล่ ำ้ ค่าเช่นนีไ้ ด้อกี คิด ๆดูแล้วก็แปลก อยู่ ๆเราก็กำหนดให้มี "ผูส้ งู อายุ" ขึน้ ในสังคม แล้วแปล มาตรฐานนั้นให้เป็นการกะเกณฑ์ให้ท่านทั้งหลายหยุดทำอะไรต่อมิอะไรตาม เกณฑ์ตวั เลข โดยลืมคำนึงถึงศักยภาพทางร่างกายมนุษย์ทแ่ี ตกต่างและละทิง้ ประสบการณ์ความรูท้ แ่ี ต่ละบุคคลได้สง่ั สมมาตลอดชีวติ อย่างน่าเสียดาย ทีย่ ง่ิ แปลกไปยิ่งกว่านั้นก็คือ เมื่อห้ามเสร็จสรรพแล้วเราก็ย้อนกลับไปบอกให้ปู่ย่า ตายายหันมาทำกิจกรรมหรือร่วมโครงการในรูปแบบสงเคราะห์เพื่อให้ท่าน ต้องกลายไปเป็นภาระของสังคมไป (ซะงัน้ )


21

The Elderly and their Cattle Systems seem to control our life. Even our ability to work is ruled by age. When we become 60, we are told to stop working, and the next step is to stop traveling, stop whatever makes us exhausted, and then stop doing everything on our own. Finally, the image of the elderly becomes that of complete dependents. However, there are some people who insist on living without regard to age and time. They let the numbers run while their hearts continue to beat to the same rhythm. For example, the elderly in Saan Sub-district, Wieng Sa District, Nan province who bring to mind farmers' old way of living. They form a cattle-keeping group using the very same traditional way Thai farmers did in the past; bring everyone's cows and buffalos together and keep them in the rice fields owned by group members. The fact that the animals live, eat and sleep there instead of going back to each owner's stable makes the soil nourish with the excrements, which if excessive will be made into fertilizer for sale to generate more income. After a while, other villagers who appreciate the practice also hire the group to bring and keep their cattle in their fields. Uncle Noo, 65, said, "Going out to watch the cattle is relaxing. I also have a good chance to exercise too because I have to walk around to check them out, take them to the pond, etc, and, my legs are strong and healthy."

Watching cattle is not hard work for the elderly. They do not consider this "tough work" like many others understand it to be. The elderly of Saan Sub-district said that this work is enjoyable and more comfortable that sitting weaving baskets, as encouraged by the government. "I just started again this year," 70-year old Grandpa Plien said. "I skipped it last year because my kids thought I was too old, so they sold all the buffalos. I spent time doing nothing. I did some handicrafts at times but my body and joints became stiff and my eyes are not so good anymore. I don't really enjoy that. Last year, I visited the hospital quite often because I felt dizzy all the time. When I saw people walking pass my home with their buffalos, I missed my old life. So I told my kids I wanted to do it again‌ Look, I have just bought this pair," Plien proudly pointed to the new female buffalo and its calf. Uncle Kaew added, "I am 78, you know? I've never been to any hospital. I can still even ride on the buffalo. None of the young kids can do that today." The group rarely uses their right to access the state's social welfare. They run their own self-sufficient economic activities and even have excessive income to share with their children and grandchildren. Aunt Sawien told us that she once bought a pregnant buffalo and within 3-4 years, it delivered eight more calves. Each buffalo or cow can be sold at 10,000-20,000 baht. Therefore she has her own saving and even her children now depend on her. Since the cattle group was formed, the elderly became happier and more energetic. They have opportunity to discuss things and share their opinions with each other. They have their own community. They start their own sports activities in the evening and even arranging competition between villages. The grannies are happy to win a trophy, the kids are happy to join and enjoy the fun with them. Despite the increasing numbers that represent age, the members of the cattle group agree that as long as they are "alive and kicking", they will keep raising the cattle. Each member can make his or her own decisions on their ability to continue and if the elders are allowed to make their own decisions, the traditional wisdom will have to way to be passed on. It's quite strange that we set certain "rules" for the elderly in our society and allow those rules to be a standard or norm that control our lives. People are told when to stop doing things and at what age, without considering physical differences and ignoring their valuable life-long experience. What's even worse is that after we forbid the elderly to do what they want to, then we tell them to join welfare or aid programs, so that the elderly won' t be a burden on society!


22

ภาพ มูห่ ลานเพิง่ ได้รจู้ กั กับคุณทากาชิคะ่ เมื่อสามปีก่อน คุณทากาชิเดินทางจากโตเกียวกลับฮานาตามิบ้านเกิด บนดอย เพราะถูกกรรมการหมูบ่ า้ นขอร้องให้มาช่วยพ่อของเขาทำ "สมุดภาพ ของหมูบ่ า้ น" ให้สำเร็จ ก่อนทีค่ วามเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่จะมาถึง คุณทากาชิมาอย่างเสียไม่ได้ เพราะไม่รสู้ กึ สนุกทีต่ อ้ งจากเมืองเก๋ ๆอย่าง โตเกียว แถมยังต้องมาเป็นผูช้ ว่ ยพ่อทีไ่ ม่คอ่ ยจะถูกกันซักเท่าไหร่ โครงการทีว่ า่ ยังเป็นแค่การถ่ายภาพครอบครัว "เชย ๆ" ซะอีก เพือ่ นเก่าสมัยเด็ก ๆของคุณทากาชิบอกว่า "ทีน่ อ่ี าจจะเป็นแค่ทท่ี แ่ี กเคยอยู่ แต่มนั คือความจริงสำหรับข้า" และคุณทากาชิกต็ ง้ั ใจแค่จะแวะ ๆมาทน ๆอยู่ "ทีท่ เ่ี คยอยู"่ แค่ประเดีย๋ วประด๋าวเหมือนกัน แต่แล้วเขาก็กลับได้คน้ พบความจริงของชีวติ และ"ภาพของเขา"ทีน่ จ่ี นได้คะ่ อันทีจ่ ริงมูห่ ลานรูม้ าว่า ตอนอยูโ่ ตเกียวคุณทากาชิกเ็ ป็นแค่เบ๊ในกองถ่าย ภาพนิง่ ทีม่ หี น้าทีน่ บั ตัง้ แต่ยกของ เก็บของ ไปจนถึงล้างส้วม และโดนโขกโดนสับ อยูเ่ ป็นปกติ พอกลับบ้านเจ้าตัวจึงออกจะเขิน ๆเมือ่ กรรมการหมูบ่ า้ นปฏิบตั กิ บั ตัวอย่างสุภาพยังกะเป็นคนสำคัญทีไ่ ปประสบความสำเร็จในเมืองใหญ่ ตอนนัน้ คุณทากาชิคงจะลืมไปค่ะว่า ที่แท้แล้วคนฮานาตามิก็ปฏิบัติต่อกันด้วยความ เคารพ (แบบที่คนรุ่นใหม่ในเมืองมองว่าเป็นพิธีรีตองเกินเหตุ) แบบนี้แหละ ไม่วา่ จะเป็นใครกับใครสถานะไหน.. จากไปนาน คุณทากาชิกเ็ ลยเห็นแต่ภาพฉาบหน้า (ทัง้ ๆทีม่ องด้วยตาเปล่า ไม่ผา่ นเลนส์ซกั หน่อย) เช่น ... คุณเคนอิจิ พ่อของคุณทากาชิเป็นแค่ชา่ งภาพบ้านนอกเชย ๆ ทีพ่ อวันนึง ธุรกิจถ่ายภาพในหมูบ่ า้ นชนบทไม่สามารถเลีย้ งตัวได้ ก็หนั ไปเป็นลูกจ้างป่าไม้ ปลูกป่าอยูบ่ นดอยแถบนัน้ ...ไปวัน ๆ ... คุณเคนอิจบิ อ๊ ง.. การทำงานของแกคือการแต่งตัวเนีย้ บเดินดอย พร้อม ข้าวกล่องพกไปกินระหว่างทาง กับกล้องโบราณชนิดใส่ฟลิ ม์ ทีละภาพและมอง ภาพจากจอหัวกลับ แผนการจึงคือการถ่ายภาพแค่วนั ละสามบ้าน ด้วยพิธกี รรม คร่ำครึอนั ประกอบไปด้วยการตัง้ กล้องเชย ๆ ใช้แสงธรรมชาติ ผูค้ นยืนหันหน้า มองกล้องเด๋อ ๆ ช่างภาพบอกว่าจะถ่ายแล้ว กดชัตเตอร์ ขออีกภาพเผื่อไว้ และก็ ....ขอบคุณมากครับ ขอบคุณมาก...

.... หน้าที่ "ผูช้ ว่ ยกล้อง" ก็แค่เบ๊แบกขาตัง้ กล้องย่ำต๊อกตามช่างภาพ (เหมือน ทีโ่ ตเกียวละน่า) คุณทากาชิมองฮานาตามิ บ้านชนบทบนดอยเป็นที่ของเด็กกับคนแก่ เท่านั้น ตัวของเขาเองไม่มีอะไรเหมือนกับคนที่นี่ (รวมทั้งคุณเคนอิจิ) ที่ได้แต่ อยู่ไปวัน ๆอย่างไร้ความทะเยอทะยานและ "ไร้ประสิทธิภาพ" เมื่อเป็นแบบนี้ คุณทากาชิก็เลยไม่เห็นว่าฮานาตามิจะมีความน่าสนใจพอที่จะบันทึกไว้เป็น ภาพถ่ายตรงไหน ความเปลีย่ นแปลงใหญ่ทว่ี า่ อาจจะมาถึงหมูบ่ า้ น ไม่ใช่แค่การกระเถิบตาม กระแสการพัฒนาของโลกและญีป่ นุ่ อย่างค่อยเป็นค่อยไป มันคือการลบจุดทีต่ ง้ั ชุมชนออกจากแผนที่ และก็ลบวิถชี วี ติ รวมถึงความสัมพันธ์ของคนในชุมชนทีม่ ี ต่อกันและกับธรรมชาติอย่างทีเ่ ห็นและเป็นอยู่ เมือ่ เขือ่ นขนาดใหญ่ถกู สร้างขึน้ ตามนโยบายรัฐ แต่แรกนัน้ คุณทากาชิเองก็ไม่ได้รสู้ กึ รูส้ มอะไรกับเรือ่ งนี้ ไม่ได้แม้แต่จะคิด "สนับสนุน" หรือ "ต่อต้าน" ด้วยซ้ำไป คุณเคนอิจิ (และหนังทัง้ เรือ่ ง) ก็ไม่ได้อธิบาย ยืดยาวเหมือนกันว่าทำไมชาวบ้านกลุ่มหนึ่งถึงไม่อยากให้มีเขื่อน ในขณะที่ อีกกลุม่ หนึง่ สนับสนุนเพราะอยากได้งบ "พัฒนา" จากรัฐเพิม่ แต่บางสิง่ บางอย่าง อาจจะไม่จำเป็นต้องอธิบายด้วยคำพูดละมังคะ คนรุน่ คุณเคนอิจอิ าจจะไม่ถนัด ทีจ่ ะ "แสดงออก""ด้วยคำพูด แต่มหู่ ลานเห็นว่าแก (และหนัง) "แสดงออก" ความ รูส้ กึ ด้วยวิถที างของแกมากมากเชียวหละ อยูท่ ว่ี า่ เราจะได้ยนิ และจะฟังแกไหม เริ่มต้นงาน คุณทากาชิหงุดหงิดกับการเดินดอยเอื่อยเฉื่อยเหนื่อยยาก จนต้องเสนอให้พอ่ นัง่ รถไปแทนเพือ่ ให้การทำงานมี "ประสิทธิภาพ" ยิง่ ขึน้ แต่ พอถูกพ่อย้อนถามว่าประสิทธิภาพนัน้ คืออะไร เจ้าตัวก็จอ๋ ย เพราะแท้จริงแล้ว


23

เขาเริม่ ได้ยนิ " เพลง Amazing Grace ทีห่ มูบ่ า้ นจะเปิดตอนห้าโมงเย็น ของทุกวันมาตั้งแต่ยังเป็นเด็กน้อยอีกครั้ง และในใจก็เริ่มรู้สึกเจ็บแปลบ เมือ่ รูว้ า่ ภาพวิถชี วี ติ ในช่วงเวลา Amazing Grace ทีเ่ ห็น ต้นไม้ทพี่ อ่ ปลูก รวมทั้งซากุระที่แม่รักแสนรัก กำลังจะจมหายไปใต้น้ำในเวลาอีกไม่กี่ปี ข้างหน้า มู่หลานเชื่อว่า ภาพเด็ก ๆกับปลาตัวโตที่จับได้จากลำห้วยที่คุณ ทากาชิถ่ายไว้เป็นภาพแรกนับแต่ที่ได้กลับมา คงจะได้รับการรวบรวมไว้ ในสมุดภาพของหมูบ่ า้ นด้วยเป็นแน่ เพราะเมือ่ เขือ่ นสร้างขึน้ เด็ก ๆก็จะ ไม่มที ไ่ี ปว่ายน้ำจับปลา และเมือ่ เส้นทางการวางไข่ตามธรรมชาติถกู กีดกัน้ ก็อาจจะไม่มปี ลาตัวโต ๆแบบนีใ้ ห้เห็นอีกต่อไป หวัดดีค่ะคุณทากาชิ มู่หลานทราบว่าคุณกำลังขึ้นเครื่องบินมา กรุงเทพฯ เพือ่ มาค้นหา "ภาพ" ของคุณ มูห่ ลานอยากเชิญคุณให้ขน้ึ เหนือ มาเยี่ยมหมู่บ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆทั้งในไทยและพม่าที่อาจจะ (อาจนะคะ เรายังหวังอยู)่ เปลีย่ นแปลงไปไม่มวี นั เหมือนเดิมเมือ่ โครงการ เขือ่ นต่าง ๆบนแม่นำ้ สาละวินได้รบั การสร้างและเสร็จสิน้ ทีน่ ค่ี ณ ุ อาจจะ ได้เจอภาพของคุณ ของพวกเขา และของพวกเราไปด้วยพร้อม ๆกันค่ะ ไอ้ประสิทธิภาพทีว่ า่ นัน่ มันหมายความถึง "ความรวดเร็ว" มากกว่า หาใช่ภาพ ทีด่ กี ว่าไม่ คุณเคนอิจไิ ม่ได้บอกอะไรลูกชายเลย แต่ไป ๆมา ๆ ระหว่างเส้นทางการ ทำสมุดภาพของหมูบ่ า้ น คุณทากาชิกไ็ ด้เริม่ เห็นบางสิง่ บางอย่างแตกต่างออกไป ... พ่อ คุณเคนอิจิ เป็นศิลปินทีย่ ง่ิ ใหญ่ และความยิง่ ใหญ่ทว่ี า่ นีก้ ม็ าจาก การที่แกทำงานทุกอย่างด้วยความรัก งานถ่ายภาพต้องมาจากความดื่มด่ำ ซาบซึง้ ในความสำคัญของผูค้ น วิถชี วี ติ ขุนเขาลำห้วยและชุมชน แกทุม่ เทด้วย ความเชื่อมั่นในคุณค่าของงานที่จะอยู่คู่โลกต่อไปอีกหลายร้อยปีเหมือนกับ ต้นไม้แต่ละต้นทีแ่ กปลูกตอนเป็นลูกจ้างป่าไม้ คุณเคนอิจไิ ม่ใช่แค่ "คนถ่ายรูป" แต่คอื ผูบ้ นั ทึกและสร้างประวัตศิ าสตร์ของชุมชนและคนธรรมดาทีไ่ ม่เคยมีการ ให้ความสำคัญในตำราประวัตศิ าสตร์ชาติเลย .... ความงามทีเ่ รียบง่ายคือศิลปะขัน้ สุดยอด พิธกี รรมเชย ๆของคุณเคน อิจไิ ด้มาซึง่ ภาพถ่ายทีจ่ ริงใจทีส่ ดุ มีพลังทีส่ ดุ มีตวั ตนและลมหายใจของชุมชน ทีน่ น่ั อย่างทีใ่ ครอืน่ และคุณทากาชิกท็ ำไม่ได้ คุณเคนอิจไิ ม่ได้เป็นคนประเภท ปฏิเสธไม่ให้โลกหมุน แกภูมใิ จในตัวลูกชายมากทีไ่ ด้ไปมีชวี ติ สดใสในโตเกียว และรูจ้ กั เทคโนโลยีใหม่ ๆทีแ่ กไม่รู้ แต่ในขณะเดียวกัน คุณเคนอิจกิ เ็ ลือกวิถที ่ี แกเป็นอย่างมัน่ ใจ แกไม่สนกล้องดิจติ อลทีผ่ ถู้ า่ ยจะกดชัตเตอร์ถย่ี บิ ไม่ตอ้ งคิด ยังไงก็ได้โดยไม่ตอ้ งกลัวเปลืองฟิลม์ เพราะมันไม่ให้คณ ุ ค่า และ "ประสิทธิภาพ" อะไรกับงานของแก ... การทีค่ ณ ุ เคนอิจเิ รียกลูกชายมาเป็นผูช้ ว่ ย ไม่ได้หมายความว่าแกมอง เห็นลูกเป็นแแค่เบ๊ไร้คา่ เพราะทุกคนทีท่ ำงานเพือ่ เป้าหมายทีง่ ดงามล้วนมีคณ ุ ค่า ทัง้ นัน้ โครงการสมุดภาพหมูบ่ า้ นเป็นโครงการทีย่ ง่ิ ใหญ่ของคนเล็ก ๆทีท่ ำด้วย ความรักทีม่ ตี อ่ ชุมชน ทีส่ ำคัญ งานชิน้ นีก้ ค็ อื การแลกเปลีย่ นหรือบทเรียนสุดท้าย ทีพ่ อ่ ผูช้ ราคนหนึง่ ตัง้ ใจจะมอบให้แก่ลกู นัน่ คือชีวติ และเลือดเนือ้ ของฮานาตามิ อย่างนี้แล้ว คุณทากาชิก็เลยหันมาจับกล้องอีกครั้ง มองผ่านเลนส์ด้วย หัวใจก็เห็นความจริงได้ คุณทากาชิบอกมูห่ ลานว่า นับจากวันทีเ่ ขาตัดสินใจวิง่ เข้าไปร่วมหามแคร่ แห่เด็ก ๆทีห่ นักอึง้ ในงานประเพณีครัง้ นัน้ เขาก็กลับไปแบกรับตัวตนความเป็น ฮานาตามิเต็มตัว และอิม่ ใจกับศักดิศ์ รีของรากเหง้าแบบทีไ่ ม่เคยรูส้ กึ ได้มาก่อน

ขอกระดิกหางให้ (จริง ๆ) มูห่ ลาน

The Village Album กำกับและเขียนบท โดย มิตสุฮโิ ระ มีฮาระ/ กำกับภาพ ชิเกรุ ฮอนดา ลำดับภาพ เรียวจิ มียาจิมา ดนตรี เคอิ โอกูรา/ แสดง ทัตสุยะ ฟูจ,ิ เคน ไคโตะ


24

The Photographs I have just met Takashi. Three years ago, Takashi left Tokyo for Hanatami, his hometown on a mountain, as the village council had asked him to help his father finish "The Village Album" before the great change arrived. Takashi wasn't keen on going. It wasn't fun to leave colorful Tokyo to be an his father's assistant, whom he didn't get along with. Besides, the project wasn't anything more than taking old-fashioned family photos. One of Takashi's old childhood friends said to him, "this place might be only a place you used to live. But it is reality for me." Of course, Takashi actually planned to have a quick stop-over at this place he "used to stay" too. However, it is there he discovered some truths of life and his own "pictures". Actually, I learned that when he was in Tokyo, Takasi was only a crew member (working more like a servant) of a still photograph studio. His job was to do everything from packing and unpacking to cleaning toilets. So, he felt a bit awkward when a village council member treated him as if he was somebody from the capital. I guess Takashi might have already forgotten that Hanatami people usually treat others, regardless of their background and origins, with respect anyway. He had probably been away for too long. Takashi could see things only on their surfaces (although not through the lens), such as his view of… … Kenichi, his father, as only an old-fashioned country photographer who had nothing much to do and therefore became a forestry unit employee, growing trees on the mountain day by day …. …Kenichi as a weirdo. Each day he had to dress up neatly and walk along the mountains, carrying a lunch box and his big old camera. His camera had an upside-down viewfinder and you have to load it with one shot of film at a time; he only took pictures of three families a day. Photographing for him was like a ritual: setting up the camera on a tripod, using natural light, getting people to look at the camera, shouting "ready", pressing the shutter, "let's take another shot", and "thank you very much. Thank you." …A photographer's assistant as only a servant who does no more than carrying a tripod and following the photographer everywhere (just like in Tokyo…)… Takashi saw Hanatami as a place only for children and the elderly. He felt he had nothing in common with the villagers (including his father) who only lived day by day, with no ambition and no effectiveness. Having this mindset, Takashi hadn't seen Hanatami as a place worth photographing. The expected great change wasn't just the gradual pace to follow the globe's and Japan's development trend. It was an erosion of the village from the map and an obliteration of the way of life including relations among the villagers, and between them and the spirit of nature, as a result of a giant dam. Initially, Takashi didn't care much about it. He didn't even care enough to "agree" or "disagree" with the project. Kenichi (and the entire movie) didn't explain at length why some people didn't agree with the construction of the dam, while another supported it with the hope to get more "village development funds". Perhaps, there are things that needn't be explained by words. People of Kenichi's generation might not be keen on "verbal expression", but I saw them (and the movie) clearly expressed everything in their very own way. It's only up to us whether we would listen to and hear them. At the beginning, Takashi was so frustrated with the slow pace of his father that he suggested his father to ride a car to increase "efficiency". But when Kenichi asked back "what efficiency is", he was blushed because he in fact called "efficiency" for "speed" rather than a better shot. Kenichi didn't tell his son a thing. But when the project progressed, Takashi started to see things differently, such as... … His father, Kenichi,as a great artist. The greatness stemmed from the way he put his heart in his work. Good photography must come from the ability to recognize the significant meaning of people, their way of life, the mountain, the streams and the entire community. Kenichi spent all his efforts with the work, photography or reforestation with the believed in its value will last for hundreds of years. He was not only a "photo taker" but the one who

recorded and created the ordinary people's and community's history that has never been recognized in any national history books. . . … The greatest beauty as the ultimate art. Kenichi's traditional way of photography led to the sincerest and most powerful result. Kenichi's photographs portrayed the essence and spirit of the community that no-one, including Takashi, could do. Although he wasn't a kind of person who was against the turn of the world, he always confidently chose the way he wanted to live. The old man didn't care of digital cameras that anyone can press the shutter hundred of times without thinking or caring for film. That's because it doesn't create any value or "efficiency" to his work. . . … The fact that Kenichi asked his son to be an assistant did not mean that he viewed his son as a valueless servant. Everyone who is committed to their goal is valuable. "The Village Album" is a great project of small people who did it of their love for their own community. Most importantly, this project is the last lesson or the last sharing that an old man intended to give his son; that was the spirit of Hanatami. With the new perspective, Takashi wanted to pickup his camera once again. Through the viewfinder, with his heart, the young man saw and captured his new reality. Takashi told Mulan that from the day he decided to run in the village festival parade to help shoulder the heavy litter carrying young children, he whole-heartedly accepted his identity as a Hanatami and became proud of his root and dignity - a feeling he had never had before. He started to hear again the "Amazing Grace" song that played in the village everyday at five o'clock since he was young, while feeling painful when realizing that at the "Amazing Grace" time, the trees that his father grew and the Sakura tree that his mother loved would be under water within a few years. I believe that the picture of young children with the big fish they caught from the canal, which was the first picture Takashi took since he came back to the village, will also be put in The Village Album, as when the dam is completed, these children will have no place to swim and to catch fish. Also, such big fish will be no more when its natural route to lay eggs is destroyed.

Dear Mr. Takashi, I heard that you are on your way to Bangkok to look for your pictures. I would like to invite you to come up here to visit homes of the ethnic nationalities, both in Thailand and Burma, which may completely change when the Salween Dam project is constructed and completed (of course, we continue to have hope). Here, you may find 'your pictures', theirs and ours. You have my tail, Mulan

The Village Album Directed and written by Mitsuhiro Mihara/ Cinematography by Shigeru Honda/ Editing by Ryoji Miyajima/ Music by Kei Ogura/ Cast: Tatsuya Fuji, Ken Kaito


25

ข้าวมุน้ เฮาะ/ขนมห่อไทใหญ่

คงได้สนุกสนานชื่นมื่นกับเทศกาลสงกรานต์กันทั่วหน้าแล้วนะคะ ในจำนวนวันหยุดยาวนั้นมีหนึ่งวันที่ทางการได้กำหนดให้เป็นวันผู้สูงอายุ แต่ตามประเพณีท้องถิ่นเนิ่นนานมา เราก็คงจะรู้จักการรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ กันดีอยูแ่ ล้ว สงกรานต์ยงั เป็นประเพณีสำคัญต่อพีน่ อ้ งรากเหง้าวัฒนธรรม เดียวกันกับพวกเราคือชาวไทใหญ่ด้วย ในช่วงเทศกาลพวกเขาจะทำบุญ ไหว้พระ ดำหัวผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ ซึง่ จะขาดขนมข้าวมุน้ เฮาะไปไม่ได้เชียวค่ะ ชาวไทใหญ่จะเตรียมทำข้าวมุ้นเฮาะหรือขนมแป้งห่อใบตองตั้งแต่ ก่อนสงกรานต์หนึง่ วัน เพือ่ ให้ทนั งานบุญตอนเช้าวันรุง่ ขึน้ แม่คำ (เจ้าของ สูตรขนมวันนี)้ เล่าว่า หลังจากทำบุญแล้ว พวกเขาก็จะหาบขนม (เพราะทำไว้ เยอะมาก) ไปเทีย่ วบ้านนัน้ บ้านนี้ แบ่งกันกินคุยกันไป และจัดใส่พานพร้อม ด้วยข้าวแตก(ข้าวตอก) ดอกไม้ไปดำหัวผูใ้ หญ่ตอ่ การดำหัวเป็นการขอสมา ลาโทษทีไ่ ด้ลว่ งเกินท่าน ซึง่ ผูใ้ หญ่กจ็ ะให้ศลี ให้พรเรากลับด้วย จะว่าไปแล้วก็ขอโอกาสถามเชย ๆหน่อยนะคะว่า หยุดยาวทีผ่ า่ นมา นอกจากสาดน้ำหรือไปเดินรับแอร์ในห้างแล้ว ได้ไปเยี่ยมคุณปู่ย่าตายาย หรือเปล่าคะ

ส่วนประกอบ แป้งข้าวเหนียว น้ำอ้อย งาขาว น้ำมันพืช ใบตอง วิธที ำ • เอาน้ำอ้อยตัง้ ไฟ เคีย่ วให้ละลายเป็นน้ำเชือ่ ม พักไว้ให้เย็น ระหว่างรอก็นำงา มาคัว่ จนสุกหอม • เอางาทีค่ ว่ั สุกมาผสมกับแป้งข้าวเหนียวในชาม • เทน้ำอ้อยละลายทีเ่ ย็นแล้วลงผสมทีละนิด ค่อย ๆนวดให้เข้ากันจนได้แป้ง สีนำ้ ตาลอ่อน • ตัดใบตองเป็นสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ใช้ดา้ นนวลหงายขึน้ เวลาห่อ • ปัน้ แป้งทีไ่ ด้เป็นลูกกลม ๆ ชุบน้ำมันพืชเล็กน้อย วางลงตรงกลางใบตอง • ห่อใบตองด้านข้างเข้าหากัน พับหัวท้ายเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม กดให้แบน นำไปวาง ซ้อนกันบนรังถึง • นึง่ ขนมประมาณ 15 นาทีถงึ ครึง่ ชัว่ โมง ขึน้ อยูก่ บั ขนาดของขนม เคล็ดลับ: ถ้าน้ำอ้อยเป็นแว่นกลมควรหัน่ ให้เป็นสีเ่ หลีย่ มเพือ่ ให้ละลายง่ายขึน้

Khao Mun Hoh (Shan Wrap Cake) How did you enjoy the Songkran festival? In our tradition, we use Songkran or the traditional New Year festival as the occasion to pay respect to our elders. This is the same practice as the Shan, our brothers and sisters of the same cultural roots. Khao Mun Hoh is a significant element of the Shan Songkran. People prepare it a day before the New Year day so that it will done on time for the early morning merit making. After that, they will visit the neighborhood with these cakes, eating and talking, and then arrange them on a tray with popped rice and flowers to give to the elders as a way to pay respect, ask for forgiveness of any offensive action and receive blessings from them for the good new year.

Ingredients Sticky-rice flour, one pack of dried sugarcane syrup, white sesame, vegetable oil, banana leaves. Instructions • Boil the dried sugarcane until it melts into syrup. While waiting for it to cool down, roast the sesame until well-cooked, • Mix the cooked sesame in the sticky-rice flour, • Pour the syrup into the flour bit by bit, use a spoon to mix it well until the flour gets light brown, • Cut the banana leaves into square pieces. Turn the inside up. • Mold the flour into small round shapes. Coat with a little bit of oil and put it on the leaf. • Wrap the leaf into a square pack. Press it flat and steam for about 15-30 minutes depending on the size of the cake.


26


27

ได้รบั ธนาณัตพิ ร้อมกับหนังสือแล้ว ขอบคุณมากเลยนะครับ ดีใจทีเ่ รือ่ ง ได้ลง ติดตามหนังสือมานานแล้ว ได้เห็นรูปเล่มและรูปแบบพัฒนาขึน้ เรือ่ ย ๆ ใจจริงอยากมีสว่ นร่วมและช่วยเหลือมากกว่านี้ แต่คงทำได้แค่สง่ กำลังใจและ ข้อเขียนมาให้เป็นแรงใจ และร่วมเดินทางไปกับความตัง้ ใจทีจ่ ะส่งเสริมให้เกิด ความเข้าใจในสังคมเรา หนนี้ก็ส่งงานมาให้อ่านเหมือนกัน เพราะเป็นคน ส่งกำลังใจมายังทีมงาน "เพือ่ นไร้พรมแดน" ทุกท่าน ขอให้มพี ลังในการ ชอบเดินทางไปทีไ่ หนเห็นอะไรน่าสนใจก็เก็บไว้/ กีรติกานต์ ลำปาง สร้างสรรค์สิ่งที่ดีงาม ร่วมกันจรรโลงโลกและสังคมให้สงบร่มเย็น สื่อที่สร้าง I've received the honorarium and the books you sent. Thank you very much. ความรัก ความเห็นอกเห็นใจ ปราศจากการดูหมิน่ แบ่งแยก เดียดฉันท์เช่นนี้ I'm very delighted my story was published. I've been following the magazine สมควรได้รบั ช่อดอกไม้ ด้วยมิตรไมตรีจากใจ ด้วยมิตรภาพ นงเยาว์/ ปทุมธานี and am glad it's getting better each day. Actually I'd like to participate more With this letter, I'd like to send you the will power. May Friends Without

but all I can think of now is to send you my encouragement and share the

Borders have the power to create the beauties and promote peace for this

articles that promote understandings between people in our society. Here is

world. Such kind of media that promote love and empathy to all regardless

another story from my trip. I love traveling and love to share what I've

of boundaries deserves this bouquet of friendship. Nongyao.

experienced.

ขอบคุณสำหรับช่อดอกไม้ชอ่ เล็กของคุณนงเยาว์ และขอมอบกำลังใจนี้ ยินดีทต่ี ดิ ต่อและเข้ามามีสว่ นร่วมกับเราสม่ำเสมอค่ะ ได้รบั งานของคุณ ส่งผ่านต่อให้ผู้อ่านและเพื่อนพ้องทุกท่านที่มีความเชื่อมั่นและตั้งใจที่จะสร้าง กีรติกานต์แล้วและเล่มนีค้ งจะขอแบ่งให้เพือ่ น ๆคนอืน่ ได้ลงก่อน อย่างไรก็ตาม สรรค์สงั คมทีส่ นั ติสขุ ด้วยความเสมอภาคค่ะ ยังคงหวังว่าคุณจะยังส่งเรือ่ งราวเรือ่ งเล่ามาเรือ่ ย ๆนะคะ Thanks for your little bouquet. We'd also like to pass on this will power to our

We're glad you keep in touch and keep participating. Thank you for your

readers and other friends who have the same belief and put their hearts in

article but hope you don't mind this time we let other friends to have a turn.

creating a better world of peace and equality.

Hope you will continue send more stories to us, ok?

เพือ่ นไร้พรมแดนขอเชิญชวนผูอ้ า่ นให้รว่ มส่งบทความหรือบทกวีเกีย่ วข้องกับสิทธิ มนุษยชน คนชายขอบ กลุม่ ชาติพนั ธุ์ ผูล้ ภ้ี ยั หรือแรงงานอพยพมาลงตีพมิ พ์ ท่านผูส้ นใจกรุณาส่งต้นฉบับความยาวไม่เกิน 2 หน้าครึง่ A4 (ฟอนท์ 14) ทีไ่ ม่ เคยตีพมิ พ์ทใ่ี ดมาก่อน ตามหัวข้อกว้าง ๆทีเ่ ปิดให้ตคี วามได้เอง คือ "ชีวติ และการ เดินทาง"(กำหนดส่งไม่เกิน 31 ก.ค.) และ "ความยุตธิ รรม" (30 ก.ย.) มาทาง ไปรษณียห์ รืออีเมล์ พร้อมแจ้งชือ่ -นามสกุลจริงและทีอ่ ยูท่ ต่ี ดิ ต่อได้ เจ้าของเรือ่ ง ทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์จะได้รบั ค่าตอบแทนและของขวัญเล็ก ๆน้อย ๆ โดยบรรณาธิการ ขอสงวนสิทธิในการแก้ไขตัดทอนตามความเหมาะสม Friends Without Borders invites you to share an article or a poem relating to human rights, marginalized peoples, ethnic nationalities, refugees or migrant workers. Please send a manuscript that hasn't been published under the theme 'Life and Traveling' (deadline on 31/7/07) and 'Justice' (30/9/ 07) to us by post or email. The manuscript must be in English or Thai and not longer than 2 1/2 A4 page( Times 12) The writer's real name and contact address must be attached. The editor reserves the right to edit the select pieces. There will be a small gift and a little honorarium for the writers whose stories are selected.

เพื่อนไร้พรมแดนเปิดโครงการ "บทเพลงไร้พรมแดน" ซึ่งเป็นการรวบรวม บทเพลงส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและความเข้าใจอันดีในสังคมตามเงื่อนไข เบือ้ งล่างนี้ ผูส้ นใจสามารถส่งบทเพลงทีบ่ นั ทึกเสียงตามมาตรฐานพร้อม เผยแพร่มาในแผ่นซีดที ส่ี ามารถเปิดฟังได้ พร้อมเครดิตผูเ้ กีย่ วข้องทัง้ หมดและ เนือ้ เพลงมาภายใน 30 พ.ย. 50 เพลงทีไ่ ด้รบั คัดเลือก10 เพลง จะได้รบั การ บันทึกลงแผ่นซีดเี พือ่ เผยแพร่ แจกจ่าย และขายเพือ่ นำรายได้มาสนับสนุน กิจกรรมสิทธิเด็กชายแดน โดยเจ้าของเพลงจะได้รับรางวัลเล็ก ๆน้อย ๆ เพลงละ 2,500 บาทพร้อมซีดี 30 แผ่น โดยลิขสิทธิ์เพลงจะยังเป็นของ เจ้าของเพลง ติดต่อสอบถามได้ท่ี มูห่ ลาน borders@chmai2.loxiinfo.co.th • บทเพลงมีเนือ้ หาส่งเสริมเสรีภาพ ความเสมอภาค และความเข้าใจอัน ดีในสังคม โดยเฉพาะต่อ คนชายขอบ กลุม่ ชาติพนั ธ์ ผูล้ ภ้ี ยั และแรงงาน อพยพ • เนือ้ เพลงและทำนองจะต้องไม่เป็นการลอกเลียนแบบหรือผลิตซ้ำ • บทเพลงยังไม่เคยได้รบั เผยแพร่เพือ่ การพาณิชย์มาก่อน • ผูส้ ง่ จะเป็นเจ้าของเพลง และร่วมด้วย หรือได้รบั คำยินยอมจากผูแ้ ต่ง และโปรดิวเซอร์เพลง และสามารถส่งได้ไม่เกินคนละ 3 เพลง • ชือ่ เพลง ชือ่ วงดนตรี และเนือ้ เพลง จะต้องเป็นภาษาไทย หรืออาจ แทรกด้วยภาษาของกลุม่ ชาติพนั ธุใ์ นไทย (ไม่เป็นภาษาอังกฤษ)


Wrinkles should merely indicate where smiles have been. Mark Twain, American writer (1835-1910)

ริ้วรอยเหี่ยวย่นน่าจะเพียงแสดงให้เห็นว่า รอยยิม้ ได้ดำรงอยู่ ณ แห่งใด มาร์ค ทเวน นักเขียนอเมริกนั (2378- 2453)

ประเทศพม่า ภาพโดย DAN


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.