Mothers Issue

Page 1

















สมั ภาษณ!น

%&'()*+

พรมแดน ำไร

เพื่อกันและกัน

ดื่มชา

กอนจะมาถึงจุดนัดพบ “ดื่มชา” กับหญิงสาวสองคนในวันนี้ ที่บาน แมบานหญิงเพิ่งกลับไปหลังจากเสร็จงาน, กวาดถู ที่หนาบาน คนสวนหญิงกำลังกวาดใบไมแหงที่โรยหลนเกลื่อนพื้นถนน ระหวางทาง คนงานหญิงเดินแบก ถังปูนอยูในตึกที่ขึ้นโครงไวยังไมเสร็จ และเมื่อจอดมอเตอรไซคลงเดิน คนขายน้ำปนหญิงก็ยิ้มให เธอทั้งหมดเปนชาวไทใหญจากรัฐฉาน ประเทศพมา และหญิงสาวตางวัยที่มารออยู ณ จุดนัดพบก็คือผูหญิง ที่เลือกจะทำงานกับ “เครือขายปฏิบัติงานสตรีไทใหญ” (Shan Women's Action Network - SWAN) เพื่อดูแล กันและกันในยามที่ตองจากบานจากเมืองมาอยูตางแดน จามแดง: ผูหญิงไทใหญที่มาทำงานเมืองไทย มักจะ ถูกหลอกถูกลอลวงงาย ถูกกดขี่ไดงาย เพราะวา เขาเปน ผูหญิง และเพราะเขายังไมมีสถานะทางกฎหมาย ไมมีบัตร ไมมีเอกสารที่ระบุวาเราเปนเรา มันเปนความรูสึกที่มาจาก ประวัติศาสตรไทยกับพมารบกันดวย ผูหญิงจากพมาก็เลย อาจจะถูกดูถูกหรือไมชอบหนานะคะ แสงมล: ผูหญิงที่อยูในไซทกอสราง ถาไมไดอยูกับ ครอบครัวหรือไมไดแตงงาน ทีอ่ ยูทีก่ นิ มันก็ไมปลอดภัย แต พอมีครอบครัว ชีวิตครอบครัวในเมืองไทยก็ไมงายเหมือน กัน คนทีม่ าเมืองไทยกับสามีแลวมาแยกทางกันทีน่ ก่ี ม็ เี ยอะ คะ งานบางที่เขารับแตผูชาย บางที่รับแตผูหญิง ความ จำเปนทำใหสามีภรรยาตองอยูแยกกัน แลวไป ๆ มา ๆ ก็ มีปญหา ผูชายมีแฟนใหม ผูหญิงมีแฟนใหม เราเคยชวย ผูหญิงที่มากับสามีนะ สามีทิ้งไปตอนเขาทอง เราก็ชวยให เขามาอยูบานพักฉุกเฉินของเรา ปกติที่บานนี้ใหพักไดแค เดือนเดียว แตถาคนที่ทอง 1-3 เดือนแบบนี้ ไปทำงาน ที่ไหนก็ไมได ก็ตองใหเขาอยูจนคลอดจนมีที่จะไปได ฉัน : คิดวาทำไมผูหญิงที่มาทำงานถึงมาเจอปญหา ครอบครัวในเมืองไทยเยอะคะ จามแดง: การยายมาอยูถิ่นใหมมันทำใหแรงงานได เจอคนเยอะมากขึน้ มังคะ เมืองไทยไมใชชุมชนเล็ก ๆ เหมือน ที่บาน ชีวิตเปลี่ยนไป บางทีเทคโนโลยีก็ทำใหคนรูจักกัน งายขึ้น มาเปนแรงงานแบบนี้ความเครียดก็เยอะ แลวก็มี ที่ผูหญิงไมสบาย ทำงานไมได ผูชายเห็นเปนภาระก็ทิ้งไป เลยก็มี ปที่แลวเจอตั้ง 3-4 คนแบบนี้ พอถูกทิ้งก็ตอง เลีย้ งลูกคนเดียว บางทีเด็กตองออกจากโรงเรียน เพราะแม ทำงานคนเดียว สงเรียนไมไหว แสงมล: ถาคนเปนแมเจอปญหา มันจะเกิดปญหา กับลูกตอไปอีก ถาพอไปมีคนใหม ลูกกับแมอยูกันเองมัน ก็อันตราย ถาแมจะไปแตงงานใหมก็ตองหวงเรื่องพอเลี้ยง กับลูกอีก ผูหญิงบางคนแตงงานใหมแลวตองเอาลูกไปให ยายที่ชายแดนเลี้ยง เด็ก ๆ ไมมีคนดูแลเยอะมาก นักเรียน ที่เราชวยเหลืออยูราว ๆ 2500 คน มีเด็กที่ไมมีพอแมดูแล และครอบครัวแตกแยกประมาณ 300-400 คนนะคะ

เรยี ง!แมน ้ รยี บ

#$

โู พธเิ์ กต!ุ !เ นั !ภ !"

จามแดง: มาอยูตางแดนมันไมเหมือนอยูบานคะ ไมมีชุมชนชวยกัน ผูหญิงบางคนโทษตัวเองวาถาเราไมมี ลูกเยอะขนาดนี้ ครอบครัวนาจะรอด เวลาที่สามีภรรยา ทำงานดวยกัน ถาเลิกกัน ตอใหผูชายเปนฝายไป นายจาง ก็มกั จะไมจางผูหญิงตอเพราะเห็นวาไมคุม พอตกงานก็เปน ปญหาวาจะเอาอะไรมาเลี้ยงลูก ฉัน : แลว SWAN ทำงานกับแรงงานหญิงที่ประสบ ปญหาในครอบครัวยังไงบางคะ แสงล: ก็ใหคำปรึกษา ใหกำลังใจ แตเราตอง พยายามสรางความเขาใจใหคูสามีภรรยาดวย เราไมยุให เขาเลิกกันนะ ตองคุยกับเขาใหเขาใจวาถาเลิกกัน มันจะมี ปญหาอยางนี้นะ จะตัดสินใจยังไง สวนใหญทุกคนอยากให มีคนฟงและเขาใจ ไมใชตัดสินใจให แลว SWAN ก็มีการ อบรมกับวงแลกเปลี่ยนพูดคุยใหเขาเขาใจปญหาความ รุนแรงในครอบครัวคะ จามแดง: เปาหมายเราอยากใหผูหญิงมีความรู มี ความเปนผูนำ ชวยเหลือตัวเองได ชวยเหลือชุมชนได แสงมล: เวลาที่เราไปทำอบรมในชุมชน ผูหญิงจะมี กำลังใจ มั่นใจ กลา เราอยากใหเขาชวยเหลือตัวเอง เพราะเราไมไดอยูกับเขาตลอดเวลา อีกอยาง เราอยากจะ เปลี่ยนความเชื่อเดิม ๆ ที่วา เราเปนผูหญิง แคแตงงาน มีลูกก็พอ ไมตองเรียนสูง ซึ่งก็ไมใชวาเราจะเขาไปในชุมชน แลวบอกใหเขาเปลี่ยน แตจะเปนกระบวนการใหเขารูจัก ตัวเองมากกวา เราอยากใหสังคมยอมรับวา ผูหญิงเปน กำลังของครอบครัวหรือชุมชนได ถาผูหญิงมีความรูและ มีสวนรวมในการตัดสินใจ ชุมชนก็จะพัฒนา ถาผูหญิง เขมแข็ง ครอบครัวและชุมชนก็จะเขมแข็ง ฉัน : อันนี้คือหลักการทำงานของ SWAN นะคะ แสงมล: คะ ที่เมืองไทยนี่นะคะ ขนาดคนที่มีบัตร มีใบก็ยังเจอปญหา คนที่เขามาใหมทุกวันนี้ไมมีบัตรไมมีใบ ปญหาก็ยิ่งเยอะ ไมวาจะเปนเรื่องการเขาถึงการบริการ สุขภาพ คาแรง ฯลฯ เราก็ตองใหขอมูล เชน เรื่องบัตร สุขภาพประเภทตาง ๆ ใครมีบัตรไหน จะใชสิทธิไดยังไง อะไรแบบนี้ นอกจากนั้นบางทีเราก็ตองชวยแกปญหา ทั้ง














จากเพื่อนๆ ไรพรมแดน

!"

!"#$%&'()*+*,-.%-/01)

ตั้งแตป 2547 เปนตนมา เราไดมาพบและรูจักกันผานนิตยสาร เพื่อนไรพรมแดนปละ 6 ครั้ง หรือ 2 เดือนตอ 1 ครั้ง จน ณ ปจจุบัน เปนปที่ 8 หรือเลมที่ 43 หากดวยปญหาเงินทุนสนับสนุนการทำงาน ทำใหลาสุดเราจำเปนตองตัดสินใจเลื่อนกำหนดการออกนิตยสาร เปน 3 เดือนตอ 1 เลม หรือปละ 4 เลม โดยจะเริ่มจากฉบับหนาซึ่งจะออกในปลายเดือนมีนาคมเปนตนไป การตัดสินใจครั้งนี้ เปนความพยายามของพวกเรา ที่จะรักษานิตยสารที่เปนพื้นที่ของกลุมคนเล็ก ๆ ที่มีความเชื่อมั่นในมิตรภาพไรพรมแดน ใหยังดำรงอยูไดนานที่สุดเทาที่จะเปนไปได เพื่อนสมาชิกทั้งหลายจะไดรับหนังสือครบ ตามจำนวนเลมที่สมัครมาดังเดิม และในระหวางนี้ เพื​ื่อนไรพรมแดนจะงดรับสมัครสมาชิกใหมชั่วคราว จนกวาเราจะไดรับการสนับสนุนการพิมพหนังสือในระยะยาวที่แนนอน โดยทานสมาชิกเกาที่หมดอายุแลวจะยังไมตองตอสมาชิก และจะยังไดรับหนังสือตอไปกอนจนกวาจะมีการเปดรับสมัครครั้งใหม ดวยความศรัทธาในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย กองบรรณาธิการเพื่อนไรพรมแดน

แผนดินไหวและสึนามิที่ญี่ปุน แผนดินไหวที่รัฐฉานประเทศพมา และน้ำทวมใหญที่ภาคใตของไทย เปนภัยพิบัติที่กอใหเกิดความสูญเสียมหาศาล และเตือนใจเราใหรูสึกไดถึง ความเปนพี่นองของผองมนุษย มูลนิธิเพื่อนไรพรมแดน ขอแสดงความเสียใจ แกทุกครอบครัวผูสูญเสีย และแมเราจะไมไดมีภารกิจ ในการเปนชองทางชวยเหลือผูประสบภัย เราก็ขอสนับสนุน กลุมประชาชนที่ไดเปดชองทางตาง ๆ เพื่อสงน้ำใจและมิตรภาพไรพรมแดน ใหแกเพื่อนมนุษยของเรา สำหรับการสงความชวยเหลือแก ผูประสบภัยในรัฐฉาน สอบถามไดที่ศูนยขาวคนเครือไท !"#$%&"'()*+!(*(,*&"

หองสมุดไดรับวารสารตั้งแตป 2547 ถึง ปจจุบัน ออกบริการเผยแพรใหนักศึกษาและ ผูอานทีส่ นใจทุกฉบับ อยากทราบหมายเลขบัญชี หรือชื่อผู รับผิดชอบที่อยู ในการจัดสงเงินสนับสนุน ทำนิตยสารเพื่อนไรพรมแดนตอไป หมายเหตุ ฉบับที่ 42 ไดรับตัวเลมแลวคะ / กาญจนา นครปฐม ขอบคุณมากคะสำหรับเงินสนับสนุน อยางที่ได กลาวถึงในนิตยสารฉบับปใหมแลววา การสนับสนุน ไมวาจะมาในรูปใด เล็กนอยหรือมโหฬารเพียงใดลวน เปนสิ่งที่ทรงคายิ่งสำหรับพวกเรา เพราะกัลยาณมิตร ที่เห็นคุณคาในสิ่งที่เราทำ คงเปนกำลังใจสูงสุดสำหรับ พวกเราในขณะนี้ สวัสดีครับ มีนองคนหนึ่งอายุ 16 ป เปนลูกสาวพมา ซี่งเปนแรงงานผิดกฎหมาย เกิดในไทย ตอนนี้นองอยู กรุงเทพ กำลังมีปญหาเรื่องการศึกษาและอนาคต ตัวเอง เพราะเปนเด็กไรสัญชาติ ทำบัตรประชาชน ไมได บัตรพมาก็ไมมี เราพอชวยไดอยางไรครับ ผม คิดวานองเกิดเมืองไทย พูดไทยดี พูดพมาก็ไมชัด นองนาจะไดสัญชาติไทยจะไดมีอนาคต ตอนนี้เขา นาสงสารมากดวย เพราะพอแมถูกบีบใหสงให เขาเปนเมียนอยเจาหนาที่รัฐ / กิตติ กทม.

ยินดีอยางยิ่งคะที่จะใหคำปรึกษาในเรื่องระเบียบ ขอกฎหมายและวิถีปฏิบัติ ใน บางสวนที่เปนเรื่องลึกซึ้งเฉพาะกรณี เราก็มีเพื่อนพองที่มีประสบการณเชี่ยวชาญใน แตละดานที่จะใหขอมูลโดยละเอียดได ไดตอบคุณกิตติเปนการสวนตัวไปแลวนะคะ แต ขอยกมาลงไวอีก ณ ที่นี้ ยินดีเสมอหากผูอานทานอื่นจะสนใจถามไถขอสงสัยใด ๆ ผาน ทางเว็บไซท เฟสบุค หรือ อีเมล ก็ไดคะ ตองขอขอบคุณทางศูนยขอมูลริมขอบแดน มูลนิธิเพื่อนไรพรมแดนมากที่สงขาวสารมา ใหตลอด ไดอานแลวทำใหคิดถึงบานมาก ๆ เลยครับ ผมเปนคนชนเผาที่มาทำงานใน เมืองครับ / เฉลิมศักดิ์ บทความวันนีข้ องศูนยขอมูลริมขอบแดน มูลนิธเิ พือ่ นไรพรมแดน เปนบทความที่ดี นาจะ สงใหหนวยงานที่เกี่ยวของไดรับทราบ เขาจะไดมีบทเรียนวา เวลาอยูในที่ตางวัฒนธรรม ควรใหเกียรติกับความเชื่อและวิถีชีวิตของผูคนตางวัฒนธรรมดวย / สุวดี เอาจดหมายที่เขียนถึงศูนยขอมูลมาลง เผื่อไววา นิตยสารฉบับนี้จะประสบเหตุ ขลุกขลักใหไมมีโอกาสมาพบกับผูอานในระยะเวลาทีก่ ำหนด ทานทีส่ นใจอยากรับขาวสาร บทความ เรื่องราวทางอีเมล ติดตอมาไดเลยนะคะ หรือจะเขาไปดูในบล็อก และเว็บไซท ของเราที่ระบุไวในปกในหนา 2 ก็ไดคะ และสำหรับคุณสุวดี เรากำลังติดตอกับตัว เจาของเรื่องอยูคะวาตองการเดินเรื่องอยางไรหรือไม เพื่อใหบทความที่ผูเขียนซึ่งเปนคน ในทองถิ่นสงมาไดเปนประโยชนที่สุดคะ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.