Media moniter refugee

Page 1

สรุปผลการศึกษา การนำเสนอภาพผูลี้ภัย โดยสื่อมวลชนไทย ระหวาง 1 เมษายน 2553-30 เมษายน 2554


สรุปผลการศึกษา การนำเสนอภาพผูลี้ภัย โดยสื่อมวลชนไทย

ระหวาง 1 เมษายน 2553-30 เมษายน 2554

มูลนิธิเพื่อนไรพรมแดน


คณะทำงาน “แอบมองสื่อ” ประกอบไปดวย จริยา คนซื่อ, เดชา นอยมะลิวัน และพรสุข เกิดสวาง


การศึกษาการนำเสนอภาพผูลี้ภัยโดยสื่อมวลชนไทย มีวัตถุประสงคเพื่อ ใหไดมาซึ่งขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการรับรูและทัศนคติของสื่อมวลชนไทยตอผูลี้ภัย และประเมินการรับรูของสาธารณชนผูรับสื่อ เพื่อนำมาซึ่งแนวทางพัฒนาการ ทำงานรวมกับสื่อมวลชนไทยในการสงเสริมทัศนคติที่ดีของประชาชนไทยตอผูลี้ภัย คำวา “ผูลี้ภัย” ในการศึกษานี้ อิงจากนิยามในอนุสัญญาวาดวย สถานภาพผูลี้ภัย (1951) และพิธีสารตอทาย 1967 อนุสัญญาองคการเอกภาพ อัฟริกัน และปฏิญญาคารทาฮีนา ซึ่งเปนเครื่องมือระดับสากลในการใหความ คุมครองผูลี้ภัย กลาวโดยรวมคือ ผูลี้ภัยในการศึกษานี้ หมายถึงบุคคลที่หนีจาก ประเทศตนไปยังอีกประเทศหนึ่งดวยความหวาดกลัวภัยการประหัตประหาร และ รวมถึงผูที่หนีจากภัยคุกคามถึงชีวิตอันมาจากเหตุการณไมสงบ หรือการละเมิด สิทธิมนุษยชนอยางกวางขวาง โดยในเนื้อหาขาวหรือบทความอาจไมไดใชคำเรียก กลุมคนนี้วาผูลี้ภัย และรัฐอาจไมไดยอมรับวาคนกลุมนี้เปนผูที่จะตองใหความดูแล คุมครองก็เปนได นอกจากนี้ ในการศึกษายังรวมถึง “ผูแสวงหาการลี้ภัย” และผูที่มีแนวโนมวาจะเปนผูลี้ภัย ซึ่งหมายถึงผูที่ขอลี้ภัยหรือกลาววาตนมีเหตุที่ จำเปนตองมาลี้ภัยในประเทศอื่น โดยที่ยังไมไดมีการพิสูจนทราบขอเท็จจริงไวดวย การศึกษาเจาะประเด็นผูลี้ภัยดำเนินการในระยะเวลา 13 เดือน โดยได ศึกษาสือ่ บางรายตลอดชวงเวลาดังกลาว และบางรายในเพียงชวงระยะเวลาหนึง่ ได ทั้งนี้ สื่อมวลชนที่ไดรับการติดตามศึกษา ไดแก 1. สื่อกระแสหลัก คือ 1.1 หนังสือพิมพรายวันระดับประเทศ ไดแก ไทยรัฐ มติชน ตลอด 13 เดือน และหนังสือพิมพผูจัดการ ASTV (1 ก.ย. 53 - 30 เม.ย.54) 1.2 หนังสือพิมพรายวันทองถิ่น ไดแก เชียงใหมนิวส (1 เม.ย. - 31 ส.ค. 53) ไทยนิวส (1ก.ย.53 - 30 เม.ย.54) 1.3 วารสารขาวรายสัปดาห ไดแก เนชั่นรายสัปดาห และมติชน รายสัปดาห ตลอด 13 เดือน 2. สื่อทางเลือก ไดแก เว็บไซทขาวประชาไท ตลอด 13 เดือน ขอคนพบจากการศึกษา ไดแก

03


04

1. การใหพื้นที่สื่อ ตอผูลี้ภัย


เบื้องตนพบวา วารสารขาวเนชั่นรายสัปดาหมีสัดสวนการนำเสนอ บทความเกี่ยวกับผูลี้ภัยมากที่สุด (0.16 บทความตอเลม) โดยหนังสือพิมพไทยรัฐ ไดใหพื้นที่ขาวแกผูลี้ภัยรองลงมาคือ 0.12 ขาวตอฉบับ/วัน ทั้งนี้ หนังสือพิมพ ทองถิ่นของจังหวัดเชียงใหมคือ เชียงใหมนิวสและไทยนิวส ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีผูลี้ภัย ทั้งในและนอกคายพักพิงชั่วคราว กลับนำเสนอเรื่องราวผูลี้ภัยนอยมากคือ 0.03 ขาวตอวัน ในขณะที่มติชนรายสัปดาหไมมีเลย สำหรับสื่อทางเลือกที่ศึกษาคือ เว็บไซทขาวประชาไทนั้น มีบทความเกี่ยวกับผูลี้ภัย 28 ครั้งจากจำนวน 396 วัน ซึ่งลักษณะของเว็บไซทสำนักขาวทางเลือกจะไมสามารถนำมาเปรียบเทียบเชิ ง สัดสวนกับหนังสือพิมพรายวันได เนือ่ งจากเว็บไซทไมไดเปลีย่ นหนาขาวทัง้ หมด ทุกวัน หากโดยปกติจะขึ้นขาวใหมเพียงวันละ 1 - 4 ขาว และขาวหนึ่งจะขึ้นอยู เปนเวลานานหลายวัน เมื่อเปรียบเทียบการนำเสนอเรื่องราวของผูลี้ภัยและแรงงานขามชาติแลว ผูล ภ้ี ยั ไดรบั การนำเสนอในสือ่ เปนสัดสวนนอยกวาแรงงานขามชาติถงึ ราว 1 ตอ 5 อีกทั้งในเนื้อหาที่นำเสนอนั้น เกือบรอยละ 30 (29.40) เปนการนำเสนอ เรื่องราวอื่น ๆ เชนสงคราม การเมือง โดยแตะประเด็นผูลี้ภัยอยูเพียงเล็กนอยหรือ เพียงประโยคเดียว ไมไดนำเสนอเรื่องผูลี้ภัยโดยตรง นอกจากนี้ การนำเสนอ สวนใหญยังเปนรูปแบบขาวทั่วไปโดยเฉพาะขาวสั้น โดยมีที่เปนสารคดีหรือ บทความเชิงลึกที่จะใหรายละเอียดแกผูอานนอยกวากันมาก บทความลักษณะนี้ สวนใหญจะอยูในสื่อทางเลือกคือเว็บไซทขาวประชาไท และจำนวนไมนอยเปน บทความที่เขียนโดยองคกรเอกชนหรือนักสิทธิมนุษยชนที่ทำงานดานผูลี้ภัยเอง อยางไรก็ดี ในชวงที่ผานมา ผูลี้ภัยไดโอกาสขึ้นขาวหนาหนึ่งอยูบอยครั้ง โดยทั ้ ง หมดเป นกรณี ก ารหลั ่ ง ไหลของผู  ล ี ้ ภ ั ย เป น หลั ก หมื ่ น หรื อ หลั ก พั นจาก เหตุการณสูรบในฝงพมา

05


แผนภูมิวงกลมที่ 1 ประเภทพื้นที่ในการนำเสนอเรื่องราวผูลี้ภัย

06

จากผลการศึกษาดานการใหพื้นที่สื่อแกผูลี้ภัย ประเมินไดวาสาธารณชน ผูรับสื่อมีโอกาสรับรูวามีผูลี้ภัยอยูในสังคมไทยนอยมาก โดยจะรับรูแตการอพยพ หลั่งไหลเขามาจากเหตุสงครามเปนหลักเพราะเปนขาวหนาหนึ่งที่ไดพื้นที่เดน นอกจากนี้จะมีโอกาสไดรับรูเขาใจในเชิงลึกไมมากนัก เนื่องจากพื้นที่สวนใหญจะ เปนขาวสั้น ๆ ที่ไมใหรายละเอียดใด ๆ แตผูเสพขาวจากสำนักขาวทางเลือก เชน ประชาไท จะมีโอกาสไดรับรูขอมูลเชิงลึกไดมากกวา นอกจากนี้ ขอสังเกตที่สำคัญประการหนึ่งก็คือ บทความและขาวที่ให รายละเอียดในเชิงลึกจำนวนไมนอ ยเปนบทความทีเ่ ขียนโดยองคกรเอกชนทีท่ ำงาน ดานผูลี้ภัย หรือเปนการทำรายงานขาวหรือบทความจากการจัดกิจกรรมประชุม สัมมนา และการใหขา วขององคกรเอกชนหรือนักสิทธิมนุษยชนทีท่ ำงานดานผูล ภ้ี ยั แมสื่อมวลชนจะไมมีบุคลากรจะทำงานเจาะลึกในประเด็นนี้เอง สื่อบางฉบับก็ไดให พื้นที่แกงานเขียนหรือกิจกรรมลักษณะดังกลาวพอสมควร


07

2. ผูลี้ภัยในสื่อ


08

เมื่อพิจารณาตัวตนของผูลี้ภัยที่ไดรับการนำเสนอในสื่อโดยแบงตาม ประเทศตนทางแลว พบวาผูลี้ภัยจากพมาไดรับการนำเสนอมากที่สุด รองลงมา ไดแกผูลี้ภัยจากเกาหลีเหนือ ลาว จีน และอื่น ๆ เชน บังคลาเทศ ปากีสถาน กัมพูชา เปนตน โดยในกรณีกัมพูชาจะเปนการกลาวถึงผูลี้ภัยในอดีต และในกรณี นอกเหนือจากพมาและกัมพูชา สื่อมักไมไดนำเสนอวาบุคคลดังกลาวเปนผูลี้ภัย หากมักเปนขาวการถูกจับกุมขอหาเขาเมืองผิดกฎหมายเทานั้น

แผนภูมิวงกลมที่ 2 ประเทศตนทางของผูลี้ภัย


เมือ่ พิจารณาการนำเสนอกลุม ผูล ภ้ี ยั ตาง ๆ จะพบวาสือ่ นำเสนอผูล ภ้ี ยั ที่ อยูในพื้นที่พักพิงในการดูแลของกระทรวงมหาดไทยรวมถึงพื้นที่พักพิงชั่วคราว ในชุมชนชายแดนที่มีเจาหนาที่ทหารมาดูแลในชวงสั้น ๆ เปนหลัก กรณีผูที่อยู นอกพื้นที่พักพิงในเขตเมืองและในชุมชนทั่วไปมักเปนขาวที่คนเหลานี้ถูกจับกุม ในขอหาเขาเมืองผิดกฎหมาย นอกจากนี้ มีการกลาวถึงผูลี้ภัยที่คืนถิ่นฐานแลว หรือไปตั้งถิ่นฐานใหมในประเทศที่สามแลวอยูบางเชนกัน โดยในทุกกรณีที่มิใช เปนผูลี้ภัยในพื้นที่พักพิง สื่อจะไมเรียกบุคคลหรือกลุมคนดังกลาววาเปนผูลี้ภัย ผูอพยพ ฯลฯ เลย หากจะมองเปนประเด็นผูเขาเมืองผิดกฎหมาย เชน โรฮิงยา เกาหลีเหนือ หรือมองเปนประเด็นชนกลุมนอยในไทย เชน ลาวอพยพ เปนตน

09

แผนภูมิวงกลมที่ 3 แสดงกลุมผูลี้ภัยที่ไดรับการนำเสนอ


เมื่อพิจารณาเนื้อหาที่สื่อนำเสนอเรื่องราวผูลี้ภัย จะพบวา เปนเนื้อหาที่ เกี่ยวของกับการอพยพลี้ภัยและการสงกลับผูลี้ภัยโดยตรงมากที่สุด รองลงมา จะเป น เรื ่ อ งราวเกี่ยวกับสงครามและการเมื องซึ ่ ง มี เรื ่ อ งของผู  ล ี ้ ภ ั ย เป น ส วน ประกอบเล็ก ๆ และการใหความคุมครอง สิทธิ กฎหมาย นโยบาย ตามลำดับ โดยผูลี้ภัยไดรับการนำเสนอในเนื้อหาดานสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การศึกษา นอยที่สุด เชน ขาวการเตรียมงานปใหมชาวกะเหรี่ยงที่ผูลี้ภัยในพื้นที่พักพิงไม สามารถมารวมงานได หรือขาวไขหวัดใหญระบาดในพื้นที่พักพิง เปนตน

10

แผนภูมิวงกลมที่ 4 ประเภทเนื้อหาที่ผูลี้ภัยไดรับการนำเสนอ

ที่นาสังเกตก็คือ เว็บไซทขาวประชาไทซึ่งเปนสำนักขาวทางเลือกไดให ความสำคัญตอประเด็นการใหความคุมครองสิทธิและนโยบายมากถึงรอยละ 42.86 และไมไดนำเสนอผูลี้ภัยในเนื้อหาประเภทอาชญากรรมเลย ตางจากสื่อ กระแสหลักซึ่งนำเสนอเรื่องราวการใหความคุมครองสิทธิเพียงรอยละ 16.93 และ นำเสนอผูลี้ภัยในเนื้อหาเชิงอาชญากรรมไวรอยละ 13.71 โดยมักเปนขาวคดี เขาเมืองผิดกฎหมาย ประเด็นการคุมครองสิทธิและนโยบายนี้สวนใหญจะมาจาก การใหขาว เขียนบทความ หรือจัดกิจกรรมโดยองคกรเอกชนหรือนักกิจกรรม ที่ทำงานดานสิทธิผูลี้ภัย ซึ่งเว็บไซทสื่อทางเลือกจะมีพื้นที่เปดใหบทความของ ผูเขียนทั่วไปที่ไมใชผูสื่อขาวหรือนักเขียนของตนมากกวา


จากผลการศึกษาดานตัวตนของผูลี้ภัยในสื่อ ประเมินไดวา สาธารณชน ผูรับสื่อจะรูจักแตกรณีผูลี้ภัยจากพมาที่อยูในพื้นที่พักพิงที่มีเจาหนาที่รัฐดูแลเปน หลัก โดยจะไมไดรับรูวามีผูลี้ภัยอื่น ๆ อยูในสังคมไทยดวยมากนัก ซึ่งในกรณี ที่สื่อไมไดกลาววาบุคคลดังกลาวเปนผูลี้ภัย หรือผูอพยพ ฯลฯ ผูอานก็จะไมได ตระหนักถึงความเปนคน “ลี้ภัย” ของบุคคลนั้นดวย แมในเนื้อหาอาจกลาวถึง สาเหตุการเดินทางเขาประเทศไทยไวก็ตาม นอกจากนี้ แงมุมที่จะไดรับรูเรื่องราว ของผูลี้ภัยจะเปนเพียงกรณีการอพยพเขามา ผูอานจะไมไดรับรูเรื่องราวหรือ สภาพปญหาอื่น ๆ มากนัก อยางไรก็ดี ในชวงที่ผานมา สาธารณชนอาจได รับทราบถึงสาเหตุการอพยพมากขึ้น เนื่องจากมีขาวการสูรบในชายแดนพมาที่ เชื่อมโยงกับการหลั่งไหลของผูคนเขามามากขึ้นกวากอน

11


12

3. มุมมอง และความเขาใจ ของสื่อตอผูลี้ภัย


แผนภูมิวงกลมที่ 5 แสดงการใชคำเรียกผูลี้ภัยของสื่อกระแสหลัก 13

แผนภูมิวงกลมที่ 6 แสดงการใชคำเรียกผูลี้ภัยของสื่อทางเลือก


นอกจากความเขาใจของสื่อตอผูลี้ภัยไดสะทอนใหเห็นผานการนำเสนอ ของสื่อที่มักไมไดนำเสนอภาพผูลี้ภัยนอกพื้นที่พักพิงวาเปนผูลี้ภัยแลว การใชคำ เรียกประชาชนที่ตองหลบลี้หนีภัยจากประเทศตนไปยังประเทศอื่นก็นับวามีนัยยะ แสดงถึงทัศนคติและความเขาใจของผูเรียกตอคนกลุมนั้น รวมถึงความตระหนัก ตอสิทธิมนุษยชนของคนกลุมดังกลาวที่ไดรับการรับรองในระดับสากลดวย จากการศึกษาพบวา วารสารเนชั่นรายสัปดาหและเว็บไซทประชาไทจะใช คำวา “ผูลี้ภัย” เปนหลัก ซึ่งคำวา “ผูลี้ภัย” นี้ เปนคำที่ถอดมาจากเครื่องมือ/ กฎหมายระหวางประเทศที่ใชคุมครองผูลี้ภัย และเปนคำที่หนวยงานรัฐจำนวน ไมนอ ยปฏิเสธจะใชเนือ่ งจากถือวาเปนคำทีม่ นี ยั ยะทางสิทธิทจ่ี ะไดรบั ความคุม ครอง ตาง ๆ พวงติดมา สื่อกระแสหลักมักใชคำเรียกทั่ว ๆ ไป เชน ผูอพยพ ผูพลัดถิ่น ผูหนีภัย ผูอพยพหนีภัย ฯลฯ เปนหลัก และมีสวนหนึ่งที่ใชคำวา ตางดาว หรือ ผูหลบหนีเขาเมือง ทั้งนี้ ไมพบการใชคำวา “ตางดาว” ในสื่อทางเลือกเลย

14

เมือ่ พิจารณาทัง้ สือ่ ทางเลือกและสือ่ กระแสหลักรวมกัน จะพบวา สวนใหญ สื่อจะใช คำวา ผูอพยพ ผูพลัดถิ่น ผูหนีภัย ฯลฯ ซึ่งเปนคำทั่ว ๆ ไปมากกวา “ผูลี้ภัย” รองลงมาคือการไมระบุวาเปนคนกลุมใด โดยจะเลาเนื้อหาที่มาของ คนกลุมดังกลาวเฉย ๆ และชี้วาเปน ชาวพมา กะเหรี่ยง โสมแดง ฯลฯ และ อีกสวนหนึ่งจะใชคำวาผูหนีภัยจากการสูรบ ตามเอกสารทางการของรัฐไทยที่ ตีกรอบไววาจะใหความดูแลตามหลักมนุษยธรรมแกผูหลบหนีการสูรบเทานั้น โดยผูหลบหนีการสูรบนี้ไมถือวาเปนผูลี้ภัยที่จะตองไดรับการคุมครองสิทธิตาง ๆ ตามหลักสากล ขาวหรือบทความที่ใชคำวา “ผูลี้ภัย” มักเปนโคตคำพูดของ องคกรเอกชน หรือนักสิทธิมนุษยชนที่ทำงานดานผูลี้ภัย หรือเปนบทความจาก องคกรเอกชนเอง


15

แผนภูมิวงกลมที่ 7 แสดงการใชคำเรียกผูลี้ภัย ที่นาสังเกตในกรณีการใชคำเรียกผูลี้ภัยก็คือ การไมใชคำเรียกใด ๆ ที่มี อยูในสัดสวนไมนอยนั้น มองในแงมุมหนึ่งคือการไมตีตราหรือแปะปายกลุมคน คือ บอกวาเปนชาวพมา ชาวกะเหรี่ยง ชาวโรฮิงญา เปนตน แตอีกแงมุมหนึ่งก็คือ ทำใหสาธารณชนผูรับสื่อไมไดตระหนักวา มีเหตุการณการอพยพลี้ภัยและมีผูลี้ภัย ในสังคมไทย นอกเหนือจากกลุม ทีเ่ ปนขาววาหลบหนีภยั สงครามมาเปนจำนวนมาก เมื่อปลายปกอนถึงตนปนี้นั่นเอง


แผนภูมิวงกลมที่ 8 แสดงบทบาทของผูลี้ภัยในเรื่องราวในสื่อ

16

เมื่อพิจารณาบทบาทของผูลี้ภัยที่ไดรับการนำเสนอในสื่อ พบวาผูลี้ภัย ไดรับการนำเสนอในฐานะเปนผูถูกกระทำหรือไดรับผลกระทบมากที่สุด ซึ่งเมื่อ เปรียบเทียบกับแรงงานขามชาติแลวพบวา ผูลี้ภัยไดรับการนำเสนอในแงมุมนี้ มากกวาแรงงานขามชาติถงึ ราว 3 เทา โดยแรงงานขามชาติไดรบั การนำเสนอ วาเปนผูกระทำผิดมากกวาผูลี้ภัยถึง 4 เทา ในกรณีการกระทำผิดนั้น ผูลี้ภัยมัก ไดรับการนำเสนอวากระทำผิดในขอหาหลบหนีเขาเมือง ยาเสพติด และกอความ เดือดรอนใหแกชมุ ชนรอบดาน ทีน่ า สังเกตก็คอื ผูล ภ้ี ยั ยังไดรบั การนำเสนอวาเปน ผูท ไ่ี ดรบั ประโยชนในสัดสวนใกลเคียงกันกับการเปนผูกระทำผิด และไมไดรับการ นำเสนอวาเปนผูทำประโยชนเลย ในกรณีที่เปนผูไดรับประโยชนนั้น สวนหนึ่ง จะเปนการนำเสนอในเชิงลบ คือกลาววาเปนภาระ ซึง่ การนำเสนอวาผูล ภ้ี ยั เปนภาระ และกอความเดือดรอนใหแกชุมชนนั้น ทั้งหมดเปนการโคตคำพูดของเจาหนาที่รัฐ ฝายตาง ๆ สำหรับรูปแบบการใชสำนวนภาษาในการนำเสนอ พบวาสวนใหญแลว สื่อจะนำเสนอภาพผูลี้ภัยอยางเปนกลาง กลาวคือ ใชภาษาในการรายงานขาว อยางตรงไปตรงมา รองลงมาจะเปนการนำเสนอโดยใชสำนวนภาษาและเลาเรื่อง ในเชิงบวกวากลุมเปาหมายนาเห็นใจ อยางไรก็ดี มีการนำเสนอดวยสำนวนภาษา ในเชิงลบอยูดวยไมนอย โดยมักเปนการใชถอยคำที่ทำใหเกิดความรูสึกรุนแรง ให ความรูสึกวาผูลี้ภัยนากลัว เปนภัยอันตราย หรือเปนภาระ เชน “เกาหลีเหนือ ทะลัก” “ลั่นไมเปดศูนยอพยพ เหตุเพราะแบกรับไมไหว” เปนตน นอกจากนี้ยังพบ การนำเสนอโดยใชภาษาเรียกผูลี้ภัยวา “ตางดาว” หรือนำเสนอวา “ทหารไทย


เขาควบคุมผูลี้ภัยชาวพมาที่หลบหนีการสูรบมา” ซึ่งการใชคำวาควบคุมมีนัยยะ วากลุมคนดังกลาวตองไดรับการ “ควบคุม” เพราะเปนอันตราย หรืออาจกอ ความวุนวาย อยางไรก็ดี ที่นาสนใจก็คือ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหวาง สื่อกระแสหลักและสื่อทางเลือกแลว ไมพบสื่อทางเลือกนำเสนอผูลี้ภัยในรูปแบบ การใชสำนวนภาษาที่เปนลบเลย

แผนภูมิวงกลมที่ 9 แสดงรูปแบบการใชสำนวนภาษานำเสนอ ที่นาสังเกตคือความผิดพลาดของขาวที่มาจากพาดหัวขาวกับเรื่องไมตรง กัน เชน พาดหัววา UNHCR ระบุปดศูนยอพยพ แตในเนื้อขาวไมไดมีเนื้อหา ดังกลาว เปนเพียงวา ตัวแทน UNHCR ตอบวาตนไมเกี่ยวของกับการที่รัฐบาล ไทยกลาววาจะปดศูนย หรือ พาดหัวขาววาชาวบานกะเหรี่ยงไทยไมพอใจผูลี้ภัย แตในตัวขาวกลับเปนการใหสัมภาษณของชาวบานในทวงทำนองเห็นอกเห็นใจ และเขาใจปญหาของผูลี้ภัย ทั้งนี้ ในสื่อทางเลือก จะไมพบการใหบริบทขอมูลที่ผิด จากผลการศึกษามุมมองและความเขาใจของสื่อตอผูลี้ภัย พบวา สื่อมวลชนที่นำเสนอขาวยังขาดความเขาใจในประเด็นและขาดความออนไหวใน การใชชื่อเรียก จึงประเมินไดวา สาธารณชนผูรับสื่อจะมีความคุนเคยและเขาใจ ผูลี้ภัยนอยมากเชนกัน เวนแตผูที่ติดตามสื่อทางเลือกเชนเว็บไซทขาวประชาไท นอกจากนี้ สาธารณชนจะไดรับมุมมองที่สะทอนผานการนำเสนอของสื่อวา ผูลี้ภัยเปน “เหยื่อ” หรือผูพึ่งพา ซึ่งแมไมมีพิษภัยแตก็เปนภาระที่ไมไดสราง ประโยชนตอสังคม ในขณะที่อีกดานหนึ่งก็อาจไดรับมุมมองที่สะทอนนัยยะของ ความเปน “อันตราย” ของผูลี้ภัยที่ทะลักหลบหนีเขาเมืองมาและตองถูกควบคุม ไวดวย

17


18

4. ขอเสนอแนะ ตอองคกรเอกชน ที่ทำงานดานผูลี้ภัย


เมือ่ องคกรเอกชนเขาใจขอจำกัดและทิศทางของสือ่ มวลชนแลว ก็สามารถ ดำเนินการไดสามทิศทาง คือ ทิศทางที่จะพยายามสรางสัมพันธกับสื่อมวลชน กระแสหลัก ทิศทางทีจ่ ะใชประโยชนกบั สือ่ ทางเลือกตาง ๆ และทิศทางทีจ่ ะทำงาน สื่อสารสาธารณะของตนเอง การทำงานกับสื่อมวลชนในเชิงสรางสรรคและเปนมิตร อาจเนนการให ขอมูล อำนวยความสะดวกในการลงพื้นที่ โดยเฉพาะเพื่อหาชองทางใหสื่อได เขาถึงตัวผูลี้ภัย และไดรับฟงความคิดเห็นของผูลี้ภัย อันเปนประเด็นหลักที่มัก ขาดหายไปในสื่อ อีกทั้งอาจหาหนทางทำงานรวมกับชมรมวิชาชีพสื่อมวลชน เพื่อ เผยแพรความรูความเขาใจดานผูลี้ภัยตอสื่อมวลชนรุนใหมและสื่อทองถิ่น ซึ่งเปน งานที่ตอ งกระทำโดยสม่ำเสมอ เนือ่ งจากผูส อ่ื ขาวมักจะเปลีย่ นหนาไปเรือ่ ย ๆ การสานสัมพันธเชิงรุกกับสื่อมวลชนบางฉบับหรือ บางรายมีความจำเปนเพื่อ จะไดคอยใหขอมูลและติชมอยางสรางสรรคในกรณีสื่อใหขอมูลผิดพลาด หรือใช ถอยคำไมเหมาะสม อยางไรก็ดี สื่อกระแสหลักก็ยังติดขัดกับการนำเสนอขาวที่จะตองเนน ความหวือหวาและเปนกระแส องคกรเอกชนจึงอาจใชชองทางสื่อทางเลือกให เปนประโยชนดว ย แมผรู บั สารของสือ่ ทางเลือกจะมีจำนวนและความหลากหลาย

19


จำกัดกวา แตก็เปนพื้นที่ที่เปดใหมีการเผยแพรขอมูลระดับลึกและขอมูลเชิงบวก การใชชองทางสื่อทางเลือกนั้นสวนใหญแลวองคกรเอกชนตองทำชิ้นบทความ ไปดวยตนเอง ดังนั้นหมายความวา องคกรเอกชนจะตองใหความสำคัญกับงาน สื่อสารเพียงพอที่จะมีเจาหนาที่ที่สามารถผลิตบทความรูปแบบตาง ๆ ออกมาได สม่ำเสมอ ประการสุดทาย การพึ่งพาสื่อไมวากระแสหลักหรือสื่อทางเลือกก็มีขอ จำกัดมากมาย เนื่องจากพื้นที่ที่มีใหมักตองเปนประเด็นที่ทันตอสถานการณ และขึ้นอยูกับความสนใจของผูสื่อขาวหรือผูบริหารของสื่อนั้น ๆ ดวย สื่อมวลชน เองก็ถือเปนหนึ่งในสาธารณชนที่รับขอมูลขาวสารในสังคม ดังนั้น องคกรเอกชน ควรมีงานสือ่ สารของตนเอง โดยมีเปาหมายเปนสาธารณชนและบุคลากรสือ่ มวลชน เพื่อโนมนาวใหสื่อหันมาสนใจงานดานผูลี้ภัย

20

งานสื่อสารที่จะโนมนำใหผูคนหันมาสนใจงานผูลี้ภัย อาจมิใชเพียงขาว หรือบทความที่เขมขนดวยเนื้อหา หรือการจัดกิจกรรมประชุมสัมมนา หากยังมี การสื่อสารหลายชองทาง ทั้งที่เปนลายลักษณอักษร เสียง ภาพ หลายรูปแบบ ทั้งที่เปนเชิงวิชาการ ศิลปะวัฒนธรรมหรือบันเทิง และเนื้อหา ทั้งในเชิงลึกเพื่อ กระตุนใหเกิดการรับรู (aware) หรือใหรูสึก (feel) กับประเด็นดวย บทเรียนความ ลมเหลวของการสื่อสารสาธารณะปญหาสังคมกับสังคมไทยโดยใชกระบวนการที่ “หนัก” คือเปน “ขาว” และ “เปนวิชาการ” ควรไดรับการนำมาวิเคราะหและ ปรับแก เพื่อนำไปสูการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้ องคกรเอกชนจะตอง ใหความสำคัญกับงานสื่อสารสาธารณะเปน “งานหลัก” ควบคูไปกับการผลักดัน เชิงนโยบาย งานมนุษยธรรม และงานเชิงพัฒนารูปแบบตาง ๆ เนื่องจากความ เขาใจอันดีของสังคมไทยเปนปจจัยสำคัญที่จะสนับสนุนการทำงานเพื่อสิทธิของ ผูลี้ภัยทั้งปวง



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.