สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ 2557

Page 1

a TR i n

in g

ÊÃØ»¼Åâ¤Ã§¡Òý ¡ÍºÃÁÃÒÉ®Ã

Ë ÅÑ ¡ ÊÙ µ à ¡ Ò Ã º ÃÔ Ë Ò Ã ¨Ñ ´ ¡ Ò Ã ¾×é ¹ ·Õè â ´  ¡ Ò Ã Ê ¹Ñ º Ê ¹Ø ¹ ¨ Ò ¡ À Ò ¤ ÃÑ °

2557 Êํҹѡ¨Ñ´¡Ò÷ÃѾÂҡû ÒäÁ ·Õ่ 13 (ʧ¢ÅÒ) http://issuu.com/frmo13/docs


คํานํา สํ านั ก จั ด การทรัพ ยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) ได ดํ าเนิ น การจั ด กิ จ กรรมฝ ก อบรม ราษฎร หลั ก สู ต ร การบริหารจั ด การพื้ น ที่โดยการสนั บสนุ น จากภาครัฐ ระหว างวั น ที่ 20 – 21 กุมภาพันธ 2557 ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจั ย ปาไมส งขลา ภาคใต หมูที่ 1 ตํ าบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา โดยเปน กิ จ กรรมตามแผนงานอนุ รัก ษและจั ด การทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิตที่ 1 พื้นที่ปาไมไดรับการบริหารจัดการ กิจกรรมหลั ก ส งเสริม การจั ด การปาชุม ชน กิ จ กรรม สงเสริมการจัดการปาชุมชน การดํ าเนิ น กิ จ กรรมในครั้งนี้ สํ าเร็จ ลุ ล ว งลงด ว ยดี และได รับผลตอบรับ เปนที่นาพอใจ การสรางความเขม แข็ งใหกั บองค ก รชุม ชน ทั้งการสรางองค ค วามรูที่หลากหลาย การแลกเปลี่ยนประสบการณดําเนินงานปาชุมชนของทุก ชุม ชนที่เ ขารว มการฝ ก อบรมครั้งนี้ คาดหวั ง ไดวาจะเกิดประโยชนทงั้ ตอชุมชนเอง และตอการปฏิบัติงานสงเสริมการจั ด การปาชุม ชนของเจ าหน าที่ ปาไมใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไปในอนาคต สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) ยินดีนอมรับทุกความคิดเห็นเพื่อจะนําไปแกไข ปรับปรุง พัฒนา และผลักดันการปฏิบัติ งานทุก ภารกิจที่เกี่ยวเนื่องกับปาชุมชนใหประสบผลสําเร็จ อํานวยประโยชน ตอบสนองต อความต องการของ ประชาชน โดยมุงมั่นปฏิบัติภารกิจอยูบนพื้นฐานวิสัยทัศนของกรมปาไม ที่มุงเน น เปน หน ว ยงานหลั ก ใน การจัดการทรัพยากรปาไม เพื่อประโยชนสูงสุดของประเทศ

สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) มีนาคม 2557


สารบัญ เรื่อง

หนา

สรุปผลการฝกอบรม โครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557

1

สรุปผลความพึงพอใจการถายทอดความรู การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557

3

แผนภูมิแทงสรุป ภาพรวมประเมินความพึงพอใจ

5

หลักการเศรษฐกิจพอเพียง

9

กฎหมายวาดวยการปาไมที่เกี่ยวของกับการจัดการปาชุมชน

15

แนวคิดและหลักการสงเสริมการมีสวนรวมการบริห ารจัดการปาชุมชน

17

การใชประโยชนไมเทพทาโรและการทําผลิตภัณฑจากน้ํามัน หอมระเหยเทพทาโร

21

สรุปผลการระดมความคิดในการจัดทําแผนการบริห ารจัดการปาชุมชน

30

ภาคผนวก โครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่ โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 คํากลาวรายงานตอประธานในพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร คํากลาวของประธานในพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร คํากลาวรายงานตอประธานในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎร คํากลาวของประธานในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎร คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานดําเนินการจัดฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557


1

สรุปผลการฝกอบรม โครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร “การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ” ประจําป 2557 1. ชื่อกิจกรรม

โครงการฝกอบรมราษฎรหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุน จากภาครัฐ

2. หนวยงาน

สวนจัดการปาชุมชน สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา)

3. ผูรับผิดชอบหลักของกิจกรรม สวนจัดการปาชุมชน สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) 4. หลักการและเหตุผล

กรมปาไม ซึ่งมีหนาที่โดยตรงในการดูแลบํารุงรักษาทรัพยากร ปาไมของชาติเล็งเห็นวาการมีสวนรวมของชุมชนตอการจัดการ ทรัพยากรปาไม เปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่ง ดังนั้น กรมปาไมจึงได สงเสริมและสนับสนุนใหชุมชนในทองถิ่นตาง ๆ เกิดความรูส ึกรวมเปน เจาของทรัพยากรปาไม และมีสวนรวมกับเจาหนาที่ของรัฐในการจัดการ ปา ตลอดจนใชเปนแหลงอาหารและไมใชสอยตามธรรมชาติ ซึ่งเปน แนวทางที่สอดคลอง และสนับสนุนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแนวทาง หนึ่ง ที่สามารถเสริมสรางใหสมาชิกชุมชนเหลานั้นมีความผูกพัน และ สามารถพัฒนาภูมิปญญาและศักยภาพของชุมชนในการจัดการปา ดั งนั้ น เพื่อเปน การเสริม สรางใหส มาชิก ชุม ชนมีก ารพัฒ นา ภู มิปญ ญาและศั ก ยภาพของชุม ชนในการจั ด การปา ใหต อบสนอง ทั้งในด านการอนุ รัก ษและเอื้อต อความเปน อยู ที่ดี ขึ้น การฝ ก อบรม ใหความรูแกชุมชน ดานวิชาการการบริหารจัดการปา และการพัฒ นา อาชีพดานปาไม จึงนับเปนปจจัยสําคัญของความสําเร็จดังกลาว


2

5. กิจกรรม 5.1 วิธีดําเนินการ ดําเนินการฝกอบรมตัวแทนราษฎรจากหมูบานเปาหมายกิ จ กรรมส งเสริม การจั ด การ ปาชุมชน ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 จํ านวน 2 หมูบาน หมูบานละ 10 คน รวม 20 คน ประกอบด ว ยภาคบรรยาย ภาคศึ ก ษาดู งาน และภาคการระดม ความคิด ดังนี้

ภาคบรรยาย จั ด หลั ก สู ต รการบรรยายโดยเน น ใหผู เ ขารับการฝ ก อบรมมีค วามรู ความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจั ด การปาและแนะนํ าแนวทางในการส งเสริม พัฒ นาอาชีพด านปาไม จํานวน 2 วิชา ดังนี้ 1. แนวคิดและหลักการในการดําเนินงานสงเสริมการจัดการปาชุมชน 2. การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน

ภาคการศึกษาดูงาน จั ด การศึ ก ษาดู ง านในพื้น ที่ที่ มีก ารบริ หารจั ด การปาชุ ม ชน ที่ประสบความสํ าเร็จ โดยเปน ที่ย อมรับของสั งคม เพื่อใหผู เ ขารับการฝ ก อบรมได เ รีย นรูวิ ธีก ารและ เทคนิคในการบริหารจัดการพื้นที่ปาชุม ชนจากประสบการณ ข องชุม ชนซึ่ งประสบความสํ าเร็จ ในการ ดําเนินการ

ภาคการระดมความคิ ด

ใหผู เ ขารับการฝ ก อบรมระดมความคิ ด ในการวางแผน ดานการบริหารจัดการปาในพืน้ ที่หมูบานของตนเอง โดยสรุปปญ หา สาเหตุ ความมุงหวั ง มาตรการ หรือแนวทางในการบรรลุความมุงหวัง 5.2 พื้นที่ดําเนินการ ภาคบรรยาย ณ ศู น ย ถ ายทอดเทคโนโลยี ด านวิ จั ย ปา ไมส งขลา ภาคใต หมูที่ 1 ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา 5.3 ระยะเวลาดําเนินการ 20 – 21 กุมภาพันธ 2557 5.4 ผลการดําเนินงาน ผู เ ขารับการฝ ก อบรม จํ านวน 20 คน เปน ตั ว แทนจากหมูบ านเปาหมายกิ จ กรรม สงเสริมการจัดการปาชุมชน ประจําป 2557 ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล ดังนี้ 1. บานคลองหวยบา หมูที่ 2 ตําบลปาแกบอหิน อําเภอทุงหวา จังหวัดสตูล 2. บานสวน หมูที่ 8 ตําบลควนโส อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา


สรุปผลความพึงพอใจการถายทอดความรู “การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ” กิจกรรมสงเสริมการจัดการปาชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ความรูความเขาใจกอนและหลังการฝกอบรม มากที่สุด

มาก

ระดับความรูความเขาใจ ปานกลาง

กอนการฝกอบรม 1. แนวคิดและหลักการในการดําเนินงานสงเสริมการจัดการปาชุมชน 2. การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน 3. ศึกษาดูงาน ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต 4. อื่น ๆ ที่เหมาะสมตามสภาพทองถิ่นและความตองการเรียนรูของราษฎร

0 3 (15%) 1 (5%) 0

13 (65%) 9 (45%) 10 (50%) 13 (65%)

6 (30%) 5 (25%) 6 (30%) 6 (30%)

1 (5%) 3 (15%) 3 (15%) 1 (5%)

0 0 0 0

หลังการฝกอบรม 1. แนวคิดและหลักการในการดําเนินงานสงเสริมการจัดการปาชุมชน 2. การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน 3. ศึกษาดูงาน ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต 4. อื่น ๆ ที่เหมาะสมตามสภาพทองถิ่นและความตองการเรียนรูของราษฎร

1 (20%) 2 (10%) 3 (15%) 2 (10%)

12 (60%) 11 (55%) 9 (45%) 10 (50%)

4 (20%) 6 (30%) 6 (30%) 7 (35%)

3 (15%) 1 (5%) 2 (10%) 1 (5%)

0 0 0 0

หัวขอฝกอบรม

นอย

นอยที่สุด


ความพึงพอใจในการถายทอดความรู “การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ” หัวขอ ดานพิธ ีการ พิธีการในการเปด–ปดการฝกอบรม ดานสถานที่/เวลา/กําหนดการ 1. ความเหมาะสมของสถานทีใ่ นการจัดฝกอบรม 2. ความเหมาะสมของหองจัดอบรม เวที แสง และเสียง 3. ความสะดวกสบายในการเดินทาง 4. ความเหมาะสมของสถานที่ศกึ ษาดูงาน 5. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัดฝกอบรม 6. การประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ เกี่ยวกับการจัดฝกอบรม ดานที่พัก/อาหารและเครื่องดื่ม 1. ความปลอดภัย/สะดวกสบายของหองพัก 2. รายการและรสชาติอาหาร 3. ของวาง (ขนมและเครื่องดื่ม) ดานหัวขอ/เนื้อหาบรรยาย 1. ความเหมาะสมของเนื้อหาบรรยาย 2. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการบรรยายแตละหัวขอ ดานวิทยากร 1. ความรูความเขาใจในเนื้อหาที่บรรยายของวิทยากร 2. ความสามารถและทักษะในการสื่อสารและถายทอดเนื้อหา 3. สื่อ – อุปกรณ ประกอบการบรรยาย 4. การบริหารจัดการเวลาในการบรรยาย ดานประโยชนที่ไดรับและการนําไปใช 1. ประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมฝกอบรม 2. ความเปนไปไดในการนําไปใชในการปฏิบัติงาน 3. ภาพรวมการจัดฝกอบรมในครั้งนี้

มากที่สุด 0

มาก 10 (50%)

ระดับความรูความเขาใจ ปานกลาง

นอย

นอยที่สุด

8 (40%)

2 (10%)

0

2 (10%) 1 (5%) 3 (15%) 2 (10%) 0 1 (5%)

11 (55%) 12 (60%) 11 (55%) 13 (65%) 16 (80%) 14 (70%)

6 (30%) 6 (30%) 6 (30%) 4 (20%) 3 (15%) 4 (20%)

1 (5%) 1 (5%) 0 1 (5%) 1 (5%) 1 (5%)

0 0 0 0 0 0

3 (15%) 1 (5%) 3 (15%)

11 (55%) 15 (75%) 10 (50%)

5 (25%) 3 (15%) 7 (35%)

1 (5%) 1 (5%) 0

0 0 0

3 (15%) 2 (10%)

15 (75%) 14 (70%)

2 (10%) 2 (10%)

0 2 (10%)

0 0

5 (25%) 0 2 (10%) 1 (5%)

12 (60%) 15 (75%) 12 (60%) 12 (60%)

3 (15%) 4 (20%) 6 (30%) 6 (30%)

0 1 (5%) 0 1 (5%)

0 0 0 0

5 (25%) 2 (10%) 3 (15%)

12 (60%) 13 (65%) 9 (45%)

3 (15%) 4 (20%) 7 (35%)

0 1 (5%) 1 (5%)

0 0 0


แผนภูมทิ ่ี 1 แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) 0

อื่น ๆ ที่เหมาะสมตามสภาพทองถิ่นและความ ตองการเรียนรูของราษฎร (หลังอบรม)

5

35

50

10 0

ศึกษาดูงาน ณ ศูนยถายทอดเทคฯดานวิจัยปาไม สงขลา (หลังอบรม)

10

30 15

0

5

การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน (หลังอบรม)

45

30

55

10 0

แนวความคิดและหลักการในการดําเนินงานสงเสริม การจัดการปาชุมชน (หลังอบรม)

15

0

อื่น ๆที่เหมาะสมตามสภาพทองถิ่นและความ ตองการเรียนรูของราษฎร (กอนฝกอบรม)

ปานกลาง

30 15

65

30

0

15

25

45

15 0

แนวคิดและหลักการในการดําเนินงานสงเสริม การจัดการปาชุมชน (กอนฝกอบรม)

5

รอยละของผูตอบแบบประเมิน

30

65

0 0

5

10

มาก มากที่ส ุด

50

5

การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน (กอนฝกอบรม)

นอย

60

5

0 0

ศึกษาดูงาน ณ ศูนยถายทอดเทคฯดานวิจัยปาไม สงขลา (กอนฝกอบรม)

20 20

นอยที่สุด

15 20 25 30 35 40

45

50

55

60

65 70 75 80 85 90 95 100

5


แผนภูมิที่ 1 (ตอ) แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) 0

5

การประชาสัมพันธขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการอบรม

20

70

5 0

5

ความเหมาะสมของระยะเวลาฝกอบรม

15

80

0 0

5

ความเหมาะสมของสถานที่ดูงาน

20

65

10

นอย

0 0

ความสะดวกสบายในการเดินทาง

30

0

มาก

5

ความเหมาะสมของหองจัดอบรมฯ

ปานกลาง

55

15

มากที่สุด

30

60

5 0

5

ความเหมาะสมของสถานที่ในการฝกอบรม

30

55

10 0

10

พิธีการในการเปด-ปดอบรม

รอยละของผูตอบแบบประเมิน

40

50

0

0

นอยมาก

5

10

15

20

25

30

35

40

45

50

55

60

65

70

75

80

85

90

95 100

6


แผนภูมิที่ 1 (ตอ) แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับ สนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) 0 0

สื่อ-อุปกรณ ประกอบการบรรยาย

30

60

10 0

5

ความสามารถและทักษะในการสื่อสาร

20

75

0 0 0

ความรูความเขาใจในเนื้อหาที่บรรยาย

15

60

25 0

10 10

ความเหมาะสมของระยะเวลาในการบรรยาย

70

10 0 0

ความเหมาะสมของเนื้อหาบรรยาย

10

75

15 0 0

ของวาง (ขนมและเครื่องดื่ม)

35 15

0

5

รายการและรสชาติอาหาร

5

15

50

นอยมาก นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

75

0

5 รอยละของผู แผนภูมิที่ 1 (ตอ) แผนภู มิสรุปภาพรวมประเมิ นความพึ หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครั ฐ ตอบแบบประเมิน ความปลอดภั ย/สะดวกสบายของห องพักงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม 25 55 15 ประจําป 2557 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา)

0

5

10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100 7

นอยมาก


ÀÒ¤ºÃÃÂÒÂ


หลักการเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยู และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดั บ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดั บชุม ชนจนถึ งระดั บรัฐ ทั้งในการพัฒ นา และบริหารประเทศใหดํ าเนิ น ไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิ จ เพื่อใหก าวทัน ต อโลกยุ ค โลกาภิวั ต น ความพอเพีย ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเ หตุ ผ ล รวมถึ งความจํ าเปน ที่จ ะต องมีระบบภู มิคุ ม กั น ในตั ว ที่ดี พอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิด จากการเปลี่ ย นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต อง อาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย างยิ่ ง ในการนํ าวิ ชาการต าง ๆ มาใชในการ วางแผน และการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิต ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุก ระดั บ ใหมีสํ านึ ก ในคุ ณ ธรรม ความซื่ อสั ต ย สุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความ รอบคอบ เพื่อใหสมดุล และพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย างรวดเร็ว และกว างขวางทั้งด าน วัตถุ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช ปรัชญาเศรษฐกิ จ พอเพีย งนี้ เ ปน กรอบแนวความคิ ด และทิศ ทางการพัฒ นาระบบเศรษฐกิ จ มหภาคของไทย ซึ่ งบรรจุ อยู ในแผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั งคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 25502554) เพื่อมุงสูการพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุมกัน เพื่อความอยูดีมีสุข มุงสู สั งคมที่มีค วามสุ ข อยางยั่งยืน หรือที่เรียกวา สังคมสีเขียว (Green Society) ดวยหลักการดังกลาว แผนพั ฒ นาฯฉบับที่ 10 นี้ จะไมเ น น เรื่องตั ว เลขการเจริญ เติ บโตทางเศรษฐกิ จ แต ยั งคงใหค วามสํ าคั ญ ต อระบบเศรษฐกิ จ แบบทวิลักษณ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกตางกันระหวางเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดรับการเชิดชูสูงสุดจากสหประชาชาติ (UN) โดยนายโคฟ อัน นั น ในฐานะเลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดทูลเกล าฯถวายรางวั ล The Human Development Lifetime Achievement Award แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได มีปาฐกถา ถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวาเปนปรัชญาที่สามารถเริ่มไดจากการสรางภู มิคุ ม กั น ในตนเองสู หมูบาน และสูเศรษฐกิจในวงกวางขึ้นในที่สุด เปนปรัชญาที่มีประโยชน ต อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่ องคการสหประชาชาติ ไดสนับสนุนใหประเทศตางๆที่เปนสมาชิก 166 ประเทศ ยึด เปน แนวทางสู ก าร พัฒนาประเทศแบบยั่งยืน


10

หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง และ ความไมประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตั ว ตลอดจน ใชความรู ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตั ด สิ น ใจ และการกระทํา ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู 5 สวน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชแี้ นะแนวทางการดํารงอยู และปฏิบัติ ต นในทางที่ค วร จะเปน โดยมีพ้นื ฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุ ก ต ใชได ต ลอดเวลา และ เปนการมองโลกเชิงระบบที่มีก ารเปลี่ ย นแปลงอยู ต ลอดเวลา มุงเน น การรอดพน จากภั ย และวิ ก ฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติ ต นได ในทุก ระดับ โดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน 3. คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะ พรอม ๆ กันดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมม ากเกิ น ไป โดยไมเบียดเบียนตนเอง และผูอื่น เชน การผลิต และการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพีย งนั้ น จะตองเปน ไปอย างมีเ หตุ ผ ล โดยพิจ ารณาจากเหตุ ปจ จั ย ที่เ กี่ ย วของตลอดจนคํ านึ งถึ งผลที่ค าดว า จะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ 3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึ ง การเตรีย มตั ว ใหพรอมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวา จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล 4. เงื่อนไข การตั ด สิ น ใจและการดํ าเนิ น กิ จ กรรมต าง ๆ ใหอยู ในระดั บพอเพีย งนั้ น ตองอาศัยทั้งความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ 1. เงื่อนไขความรู ประกอบด ว ย ความรอบรูเ กี่ ย วกั บวิ ชาการต าง ๆ ที่เ กี่ ย วของ อยางรอบดาน ความรอบคอบที่จ ะนํ าความรูเ หล านั้ น มาพิจ ารณาใหเ ชื่อมโยงกั น เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ


11

2. เงื่ อ นไขคุ ณธรรม ที่จ ะต องเสริม สรางประกอบด ว ย มีค วามตระหนั ก ในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิ จ พอเพีย ง มาประยุ ก ต ใช คื อ การพัฒ นาที่ส มดุ ล และยั่ งยื น พรอมรับต อการเปลี่ ย นแปลงในทุก ด าน ทั้งด าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความรู และเทคโนโลยี เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิ จ พอเพีย ง และแนวทางปฏิบัติ ข องทฤษฎี ใหม เปน แนวทางในการพัฒ นาที่นํ าไปสู ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดั บต างๆ อย างเปน ขั้น ตอน โดยลดความเสี่ ย งเกี่ ย วกั บความ ผั น แปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ ย นแปลงจากปจ จั ย ต า งๆ โดยอาศั ย ความพอประมาณและ ความมีเ หตุ ผ ล การสร างภู มิ คุ ม กั น ที่ดี มีค วามรู ความเพี ย รและความอดทน สติ และปญ ญา การชวยเหลือซึ่งกันและกันและความสามัคคี เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกวางกวาทฤษฎีใหม โดยที่เ ศรษฐกิ จ พอเพีย งเปน กรอบแนวคิ ด ที่ชี้บอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม ในขณะที่แนวพระราชดํ าริเ กี่ ย วกั บทฤษฎีใหม หรือ เกษตรทฤษฎีใหม ซึ่งเปนแนวทางการพัฒนาการเกษตรอยางเป น ขั้น ตอนนั้ น เปน ตั ว อย างการใชหลั ก เศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติที่เปนรูปธรรมเฉพาะในพืน้ ที่ท่เี หมาะสม ทฤษฎีใหมต ามแนวพระราชดํ าริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ งมีอยู 2 แบบ คื อ แบบพื้น ฐาน กั บแบบก าวหน า ได ดั งนี้ ความพอเพียงในระดับบุคคล และครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกรเปน เศรษฐกิ จ พอเพีย งแบบพื้น ฐาน เทียบไดกับทฤษฎีใหม ขั้นที่ 1 ที่มุงแกปญหาของเกษตรกรที่อยู หางไกลแหล งน้ํ า ต องพึ่งน้ํ าฝน และประสบ ความเสี่ยงจากการที่น้ําไมพอเพียง แมกระทั่งสําหรับการปลูกขาวเพื่อบริโภคและมีขอสมมติ ว า มีที่ดิ น พอเพียงในการขุดบอเพื่อแก ปญ หาในเรื่องดั งกล าว จากการแก ปญ หาความเสี่ ย งเรื่องน้ํ า จะทําให เกษตรกรสามารถมีขาวเพื่อการบริโภค ยังชีพในระดับหนึ่ง และใชท่ดี ินสวนอื่น ๆ สนองความต องการ พืน้ ฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในสวนที่เหลือเพื่อมีรายไดที่จะใชเปนคาใชจายอื่นๆ ที่ไมสามารถผลิ ต เองได ทั้งหมดนี้เปนการสรางภูมิคุมกันในตัวใหเกิดขึ้น ในระดับครอบครัว อย างไรก็ ต าม แมก ระทั่งใน ทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ก็จําเปนที่เกษตรกรจะต องได รับความชว ยเหลื อจากชุม ชน ราชการ มู ล นิ ธิ และ ภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน และระดั บองค ก รเปน เศรษฐกิ จ พอเพีย ง แบบกาวหนาซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม


12

ขั้นที่ 2 เปนเรื่องของการสนับสนุนใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณ หรือ การที่ธุรกิจตาง ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ กลาวคือ เมื่อสมาชิกในแตละครอบครัว หรือ องคกรตาง ๆ มีความพอเพียงขั้นพื้นฐานเปนเบื้องตนแลวก็จะรวมกลุ ม กั น เพื่อรว มมือกั น สรางประโยชน ใหแกกลุม และสวนรวมบนพื้นฐานของการไมเบีย ดเบีย นกั น การแบงปน ชว ยเหลื อซึ่ งกั น และกั น ตาม กํ าลั งและความสามารถของตน ซึ่ ง จะสามารถทําให ชุม ชนโดยรวม หรือเครือ ขายวิ ส าหกิ จ นั้ น ๆ เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอยางแทจริงความพอเพีย งในระดั บประเทศเปน เศรษฐกิ จ พอเพีย งแบบ กาวหนาซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม ขั้นที่ 3 ซึ่งสงเสริมใหชุมชน หรือเครือขายวิสาหกิจ สรางความรวมมือกั บองค ก รอื่น ๆ ในประเทศ เชน บริษัทขนาดใหญ ธนาคาร สถาบันวิจัย เปนตน การสรางเครือขายความรว มมือในลั ก ษณะเชน นี้ จะเป น ประโยชน ใ นการสื บทอด ภู มิปญ ญา แลกเปลี่ ย นความรู เทคโนโลยี และบทเรีย นจากการพั ฒ นา หรือ รว มมือกั น พัฒ นา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทําใหประเทศอันเปนสังคมใหญอันประกอบดวยชุมชน องคกร และธุรกิ จ ต า ง ๆ ที่ ดํ าเนิ น ชี วิ ต อย า งพอเพีย งกลายเป น เครื อ ขา ยชุม ชนพอเพีย งที่ เ ชื่ อ มโยงกั น ด ว ยหลั ก ไมเบียดเบียน แบงปน และชวยเหลือซึ่งกันและกันไดในที่สุด

การผลิตตามทฤษฎีใหมสามารถเปนตนแบบการคิดในการผลิตที่ดีได ดังนี้ 1. การผลิตนั้นมุงใชเปนอาหารประจําวันของครอบครัว เพื่อใหมีพอเพียงในการบริโภค ตลอดป เพื่อใชเปนอาหารประจําวันและเพื่อจําหนาย 2. การผลิตตองอาศัยปจจัยในการผลิ ต ซึ่ งจะต องเตรีย มใหพรอม เชน การเกษตร ตองมีน้ํา การจัดใหมีและดูแหลงน้ํา จะกอใหเกิดประโยชนทั้งการผลิต และประโยชนใชสอยอื่น ๆ 3. ปจจัย ประกอบอื่น ๆ ที่จ ะอํานวยใหก ารผลิ ต ดํ าเนิ น ไปด ว ยดี และเกิ ด ประโยชน เชื่อมโยง (Linkage) ที่จะไปเสริมใหเกิดความยั่งยืนในการผลิ ต จะต องรว มมือกั น ทุก ฝ าย ทั้งเกษตรกร ธุรกิจ ภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิ จ พอเพีย งเขากั บเศรษฐกิ จ การค า และใหดํ าเนิ น กิจการควบคูไปดวยกันได การผลิตจะตองตระหนักถึงความสัมพันธระหวางบุคคล กับ ระบบ การผลิ ต นั้ น ต องยึ ด มั่ น ใน เรื่ อ งของ คุ ณค า ให ม ากกว า มู ล ค า ดั ง พระราชดํ า รัส ซึ่ ง ได นํ าเสนอมาก อนหน า นี้ ที่ ว า


13

“…บารมีนั้น คือ ทําความดี เปรีย บเทีย บกั บ ธนาคาร …ถ า เราสะสมเงิ นใหมาก เราก็ สามารถที่จะใชดอกเบี้ย ใชเงินที่เปนดอกเบี้ย โดยไมแตะตองทุนแตถาเราใชมากเกินไป หรือเรา ไมระวัง เรากินเขาไปในทุน ทุนมันก็นอยลง ๆ จนหมด…ไปเบิกเกินบัญชีเขาก็ตองเอาเรื่อง ฟอง เราใหลมละลาย เราอยาไปเบิกเกินบารมีที่บานเมือ ง ที่ป ระเทศได สรา งสมเอาไวตั้ ง แต บ รรพ บุรุษของเราใหเกินไป เราตองทําบา ง หรือ เพิ่ มพู นใหป ระเทศของเราปกติ มีอ นาคตที่มั่นคง บรรพบุ รุษ ของเราแต โ บราณกาล ได สรา งบ า นเมือ งมาจนถึ ง เราแลว ในสมัย นี้ท่ีเ รากํ า ลั ง เสียขวัญ กลัว จะไดไมตองกลัว ถาเราไมรักษาไว…” การจั ด สรรทรัพยากรมาใชเ พื่อการผลิ ต ที่คํ านึ งถึ ง คุ ณค า มากกว า มูลค า จะก อใหเ กิ ด ความสัมพันธระหวาง บุคคล กับ ระบบ เปน ไปอย างยั่ งยื น ไมทําลายทั้งทุน สั งคมและทุน เศรษฐกิ จ นอกจากนี้จะตองไมติดตํารา สรางความรู รัก สามัคคี และความรวมมือรวมแรงใจ มองการณ ไกลและ มีระบบสนับสนุนที่เปนไปได

ประการที่สําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง 1. พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไวกินเองบาง ปลูกไมผลไวหลังบาน 2-3 ตน พอที่จะมี ไวกินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไป 2. พออยู พ อใช ทํ าใหบา นน าอยู ปราศจากสารเคมี กลิ่ น เหม็ น ใชแ ต ข องที่ เ ป น ธรรมชาติ (ใชจุลินทรียผสมน้ํ าถู พื้น บาน จะสะอาดกว าใชน้ํ ายาเคมี) รายจ ายลดลง สุ ข ภาพจะดี ขึ้น (ประหยัดคารักษาพยาบาล) 3. พออกพอใจ เราตองรูจักพอ รูจักประมาณตน ไมใครอยากใครมีเชน ผู อ่ืน เพราะเรา จะหลงติดกับวัตถุ ปญญาจะไมเกิด "การจะเป น เสื อนั้ น มั น ไม สํ า คั ญ สํ า คั ญ อยู ที่ เ ราพออยู พอกิ น และมี เ ศรษฐกิ จ การเปน อยู แบบพอมีพอกิ น แบบพอมีพอกิ น หมายความว า อุม ชูตั ว เองได ใหมีพอเพีย งกั บตั ว เอง"


กฎหมายวาดวยการปาไมที่เกี่ยวของกับการจัดการปาชุมชน ในปจจุบันนี้ (2545) ประเทศไทยไดมีกฎหมายเกี่ยวกับการปาไมที่ประกาศใชบังคั บ แลว รวมจํานวน 5 ฉบับ ไดแก พ.ร.บ. ปาไมพุทธศักราช 2484 พ.ร.บ. ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 พ.ร.บ. อุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 พ.ร.บ. สงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. สวนปา พ.ศ. 2535

การจัดทําโครงการปาชุมชนในเขตพื้นที่ปาตามพระราชกําหนดปาไม พุทธศักราช 2484 บทกฎหมายที่ใชอางอิง

พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 1. มาตรา 17 (วา ด วยการทํา ไมหวงหา ม) บทบั ญ ญั ติ ใ นสวนนี้มิใ หใ ช บั ง คั บ ในกรณี ดังตอไปนี้ (1) พนักงานเจาหนา ที่จัด ทํา ไปเพื่ อ ประโยชนใ นการบํ า รุง ป า การค นควา หรือ ทดลองในทางวิชาการ (2) การเก็บหาเศษไม ปลายไมตายแหง ที่ลมขอนนอนไพรอันมีลักษณะเปน ไมฟ น ซึ่งไมใชไมสัก หรือไมหวงหามประเภท ข. ไปสําหรับใชสอยในบานเรือนแหงตน/หรือประกอบกิ จ ของตน 2. มาตรา 32 (วาดวยของปาหวงหาม) บทบัญญัติในสวนนี้มิใหใ ช บั ง คั บ ในกรณีพ นัก งานเจา หนา ที่จัด ทํา ไปเพื่ อ โยชน ในการบํารุงปา การคนควา หรือการทดลองในทางวิชาการ 3. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ เรื่องแตงตั้งเจาหนาที่ตามพระราชบั ญ ญั ติ ป า ไม พุทธศักราช 2484 ลงวันที่ 1 กันยายน 2525 ขอ 2 (35)


15

หนาที่และสิทธิที่ไดรับจากโครงการปาชุมชน โครงการปาชุมชนที่ไดรับอนุมัติ จ ากอธิบดี ก รมปาไมแล ว กํ านั น /ผู ใหญ บาน ซึ่ งเปน พนั ก งาน เจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญ ญั ติ ปาไม พุทธศั ก ราช 2484 ประชาชน ในพื้นที่จะมีหนาที่และสิทธิ ดังตอไปนี้

โครงการปาชุมชนในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ 1. กํานัน/ผูใหญบา นเปนพนักงานเจาหนาที่ จะตองดําเนินการตามกิ จ กรรมที่ได รับอนุ มั ติ ต าม โครงการปาชุมชน เพื่อประโยชนในการดูแลรักษา 2.ในกรณี มี ค วามจํ า เป น จะต อ งใช ไ ม ห รื อ ของป า ให ดํ า เนิ น การตามมาตรา 15 แห ง พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 กฎกระทรวงฉบับที่ 1,106 (2528) ว าด ว ยการปาไม ในเขตปาสงวนแหงชาติ ขอ 3 ระเบีย บกรมปาไมว าด ว ยการอนุ ญ าตทําไมในเขตปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2529 ขอ 20 กฎกระทรวงฉบับที่ 1,107 (2528) วาดวยการเก็ บหาของปา ในเขตปาสงวน แหงชาติ ข อ 2 ระเบีย บกรมปา ไมว า ด ว ยการอนุ ญ าตเก็ บ หาของปาภายในเขตปาสงวนแห งชาติ พ.ศ. 2529 ขอ 17

โครงการปาชุมชนในเขตปาตามพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 1. กํานัน/ผูใหญบา นเปนพนักงานเจาหนาที่ จะตองดําเนินการตามกิ จ กรรมที่ได รับอนุ มั ติ ต าม โครงการปาชุมชน เพื่อประโยชนในการคุมครองดูแลรักษาปา 2.ในกรณี ที่มีค วามจํ าเปน จะต องใชประโยชน จ ากไมหรือของปาใหดํ าเนิ น การตามมาตรา 17,25,32 แหงพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 และประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ ลงวันที่ 22 มกราคม 2531 ขอ 3 ตอไป


16

พระราชบัญญัติปาไม 2484 ความหมาย 1. “ปาไม” หมายความวา ที่ดินที่ยังมิไดมีบุคคลไดมาตามกฎหมายที่ดิน 2. “ไม” หมายความวา ไมสักและไมอื่นทุกชนิดที่เปนตน เปนกอ เปน เถา รวมตลอดถึ งไม ที่นําเขามาในราชอาณาจั ก ร ไมไผ ทุก ชนิ ด ปาล ม หวาย ตลอดจนราก ปุม ตอ เศษ ปลายและกิ่ ง ของสิ่งนั้น ๆ ไมวาจะถูกตัดทอน เลื่อย ผา ถาก ขุด หรือกระทําโดยประการอื่นใด 3. “ไมหวงหาม” - ประเภท ก. ไม ห วงหา มธรรมดา ได แ ก ไม ซึ่ ง การทํ าไม จ ะต อ งได รั บ อนุ ญ าต จากพนักงาน เจาหนาที่หรือไดรับสัมปทาน - ประเภท ข. ไมหวงหามพิเศษ ไดแก ไมหายากหรือไมท่คี วรสงวน ซึ่งไมอนุญาตใหทําไม เวนแตรัฐมนตรีจะไดอนุญาตในกรณีพิเศษ 4. “ไมสักและไมยาง” ทั่วไปในราชอาณาจักร ไมวาจะขึ้นอยูที่ใดเปนไมหวงหามประเภท ก. 5. “ไมชนิดอื่นในปา” จะเปนไมหวงหามชนิดใด ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา 6. “ของปา” หมายความวา บรรดาของที่เกิด หรือมีขึ้นในปาตามธรรมชาติ คือ ก. ไม รวมทั้งสวนตาง ๆ ของไม ถานไม น้ํามัน ยางไม ตลอดจนสิ่งอื่น ๆ ที่เกิดจากไม ข. พืชตาง ๆ ตลอดจนสิ่งอื่น ๆ ที่เกิดจากพืชนั้น ค. รังนก ครั่ง รวงผึ้ง ขี้ผึ้ง และมูลคางคาว ง. หินที่ไมใชแรตามกฎหมายวาดวยแรและหมายความรวมถึงถานไมที่บุคคลทําขึ้นดวย 7. ของปาอยางใดในทองที่ใดจะเปนของปาหวงหาม ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา 8. ผูใดเก็บหาของปาหวงหาม หรือทําอันตรายดวยประการใด ๆ แกของปาหวงหามในปา ตองไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ และตองเสียคาภาคหลวง 9. ผูใดนําไมหรือของปาเคลื่อนที่ ตองมีใบเบิกทางของพนักงานเจาหนาที่กํากับไปดวย ตามขอกําหนดในกฎกระทรวง ที่ดินที่มิใช “ปา” ตามกฎหมายวาดวยปาไมนั้น คือ ที่ดินที่มีเอกสารของทางราชการกรมที่ดินที่ออกให ไดแก โฉนดที่ดิน โฉนดแผนที่ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว “ นส.3, นส. 3 ก, นส. 3 ข, แบบหมายเลข 3, นส.2, และสค. 1 เปนตน


แนวคิดและหลักการสงเสริมการมีสวนรวมการบริหารจัดการปาชุมชน แนวคิดเกี่ยวกับปาชุมชน แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ “ปา ชุม ชน” จั ด เปน แนวคิ ด ที่ไ ด รั บการยอมรั บอย า งแพรห ลาย ปจจุบันมีการดําเนินงานทางดานนี้อยางกวางขวาง กรมปาไม (2537) ไดอธิบายแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ “ปาชุม ชน” คื อ แนวความคิ ด ในการ ใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรปาไม ทั้งนี้ เ พื่อใหปาชุม ชนเปน เครื่องมือสํ าคั ญ ในการลดความขัดแยงระหว างคนกั บปาไม และคนกั บคนด ว ยกั น เองในการจั ด การทรัพยากรปาไม โดยการเสริมสรางความรูค วามเขาใจแก ประชาชนในการจั ด การทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการผลิ ต อย า งสมดุ ล และยั่ งยื น ด ว ยการวางรากฐานการใชป ระโยชน ที่ดิ น เพื่อ การปาไมและการเกษตร การอยูอาศัยอยางเหมาะสมกลมกลืน รวมทั้งการผสมผสานการผลิ ต ด านการเกษตร และการปาไม ในพื้นที่เดียวกัน ในรูปแบบของระบบวนเกษตร ที่ผสมผสานวิธคี ิดของชนบทที่สงบสุขอยางแทจริง กรมปาไม (2554) ไดอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับปาชุมชนคือ รูปแบบการบริหารจั ด การ ทรัพยากรปาไม ที่ไดใหความสําคัญตอผูรับประโยชนท่ใี กล ชิด ปาที่สุ ด ซึ่ งพึ่งพิงและอาศั ย อยู กั บแหล ง ปาไม ใหไดเขามามีสวนรวมในการรักษาปาที่ใกล ๆ หมูบาน เพื่อผลประโยชน ข องตน แนวความคิ ด ดังกลาวนี้ ไดกอใหเกิดรูปแบบการจัดการปาในพื้นที่ขนาดเล็ก ที่เรียกวา “ปาชุมชน”

การสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม นโยบายปาไมของภาครัฐ ไดใหความสําคัญในการจัดการปาไมอยางยั่งยืน โดยส งเสริม และสนั บ สนุ น ให ประชาชนเขา มามี ส ว นรว ม และเปน ไปตามรัฐธรรมนู ญ แห งราชอาณาจั ก รไทย พุทธศักราช 2540 ที่ไดกําหนดบทบาทหน าที่ข องภาครัฐจะต องส งเสริม และสนั บสนุ น ใหประชาชน มีสวนรวมในการสงวน บํารุงรักษา และใชประโยชน จ ากทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลาย ทางชีวภาพอยางสมดุล (มาตรา 79) ในส ว นของกรมป า ไม ได กํ า หนดทิ ศ ทางการอนุ รั ก ษ ค วามสมบู รณ ข องพื้ น ที่ ป า โดยใหชุมชนทองถิ่นมีบทบาทสําคัญในการจัดการปารว มกั บรัฐในรูปแบบของ “ปาชุม ชน” มีก ารปรับ บทบาทของภาครัฐ และใชชองทางของกฎหมายเปด โอกาสใหชุม ชนเขามามีส ว นรว มในการจั ด การ ทรัพยากรปาไมไดอยางถูกกฎหมาย โดยจัดทําโครงการปาชุมชนเพื่อขออนุมัติจากกรมปาไม และ


18

ภาครัฐเปนผูใหการสนับสนุนสรางความเขาใจในคุณคาของปาไมตอสิ่งแวดล อม ตลอดจนสรางคุ ณ ค า ขององคกรชุมชนที่สามารถดูแลปาไดประสบผลสําเร็จ “การมีสวนรวม” ในการดําเนินงานปาชุมชน เปนการรวมกันระหวางพนักงานเจา หน าที่ ตามกฎหมายว าด ว ยการปาไม หรือเจ าหน าที่อ่ืน ของกรมปาไมอัน ประกอบด ว ย กํ านั น ผู ใหญ บาน นักวิชาการปาไม เจ าพนั ก งานปาไม เจ าหน าที่ปาไมฯลฯ ที่สั งกั ด กรมปาไม เปน ต น กั บกลุ ม ราษฎร ในชุมชนที่รวมดําเนินการตามที่กฎหมายใหอํานาจและรับรองสิทธิ์ไวในพื้นที่ที่กําหนด คือในการควบคุ ม ดูแล รักษา หรือบํารุงปา ในพื้นที่ปาไม (กรมปาไม, 2553)

เครือขายการมีสวนรวมในการบริหารจัดการปาชุมชน 1. บทบาทของชุมชนในการมีสวนรวมบริหารจัดการปาชุมชน โดยพื้นฐานของสังคมไทยเปนสังคมเกษตรกรรม วิ ถี ชีวิ ต ของคนในชนบทต องอาศั ย พึ่งพิงปาอยางแยกไมออก ปาเปนแหลงตนน้ําลําธาร (ชุมชนใชน้ํ าทั้งในชีวิ ต ประจํ าวั น และการเกษตร) แหลงไมใชสอย แหลงอาหารที่อุดมสมบูรณซึ่งมีหมุนเวียนใหเ ลื อกเก็ บกิ น ทุก ฤดู ก าล อาทิ ผั ก สารพัด ชนิด ผลไมปา เห็ด เผือก มัน หนอไม แมลงตาง ๆ ทั้งที่อยูในดิน บนต น ไม ในลํ าหว ย ในปามีส มุ น ไพร นานาชนิด ปาเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา และบางแหงยังเชื่อวาเปนที่อยูของเจาปาเจาเขา เทวดาอารัก ษ ที่ปกปองคุมครองชุมชนใหรมเย็นเปนสุข วิถีชีวิตที่ตองพึ่งพิงปา ทําใหผูคนในชุมชนตาง ๆ ไมว าจะเปน คนบนภู เ ขา คนพื้น ราบ หรือคนที่อยูติดทะเล จําเปนตองดูแลรักษาปา สั่งสมและถายทอดภูมิปญญาในการใชประโยชน จ ากปา ไมใหกาวล้ําไปสูการทําลาย เพราะถือวาปาเปนสมบัติของทุกคนที่ตองรักษาไวชั่วลูกชั่วหลาน รูปแบบและวิ ธีก ารจั ด การปาของชุม ชนในอดี ต จึ งมั ก จะแฝงอยู ในความเชื่อ จารี ต ประเพณี เชน ปาขุนน้ํา (ปาตนน้ํา) มีผี ขุ น น้ํ ารัก ษาอยู หามเขาไปรุก ล้ํ า มีก ารแบงเปน ปาหวงหามซึ่ ง อนุรักษไวเพื่อประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ ปาตนน้ําเพื่อเก็บรักษาไวเปนตนน้ําลําธาร และปาใชส อย ซึ่งอยูบริเวณชุมชนเพื่อชุมชนไดใชประโยชน เชน เลี้ยงสัตว เก็บผลผลิตจากปา เปนตน


19

ในการบริหารจัดการปาโดยทั่วไป ชุม ชนจะกั น พื้น ที่ทํากิ น ออกจากปาใหชัด เจนไมให ขยายที่ทํากินเพิ่มอีก แบงพืน้ ที่ปา เปนเขตอนุรักษ และเขตปาใชส อยอย างชัด เจน รว มกั น วางแผนงาน เพื่อฟนฟู ดูแลรักษา และกําหนดกฎเกณฑในการใชประโยชน จ ากปา เชน ทําแนวกั น ไฟ จั ด กิ จ กรรม ปลู ก ปาทุก ป จั ด กิ จ กรรมรณรงค ใหค วามรู เพื่อ สรางจิ ต สํ านึ ก รั ก ปา โดยมีก ารตั้ งคณะกรรมการ ปาชุมชนประจําหมูบานขึ้นมากํากับดูแล การจัดการปามิใชภารกิ จ ของรัฐหน ว ยงานใดหน ว ยงานหนึ่ งตามลํ าพัง หรือมิใชข อง บุคคลภายนอกคนใดคนหนึ่ง แตกลุมบุคคลที่สําคัญที่สุดคือ สมาชิก ของชุม ชนทองถิ่ น ซึ่ งต องเขามามี สวนรวม ดังนั้น แนวคิด ในการจั ด การปาโดยชุม ชนมีส ว นรว มคื อ ชุม ชนทองถิ่ น มีจิ ต สํ านึ ก ถึ งหน าที่ ในการดูแลรักษาปาและมีสิทธิที่จะใชประโยชนจากปาไปพรอมๆกัน ดังนั้ น ภาคชุม ชนจึ งถื อได ว ามีบทบาทสํ าคั ญ ในการเขามามีส ว นรว มในการบริหาร จัดการปา ทั้งดานการอนุรักษ และการใชประโยชนจากปาชุมชน การรวมกําหนดกฎ กติกา หลั ก เกณฑ การจัดทําฐานขอมูลทรัพยากรปาไม ความหลากหลายทางชีวภาพของปาชุมชน ตลอดจนการถ ายทอด และยกระดับภูมิปญญาทองถิ่นในการจัด การปารว มกั บความรูส มั ย ใหม โดยความสํ าเร็จ ของการ บริหารจัดการปาชุมชนคื อ ต องเปน ความคิ ด ริเ ริ่ม ของชุม ชน และเปน ความรว มมือของประชาชนใน ชุมชน โดยการมีสวนรวมทุกระดั บ ตั้ งแต ก ารรว มรับรู การรว มใหขอมู ล การรว มคิ ด /วางแผนการ ตัดสินใจ การมีสว นรว มลงมือปฏิบัติ ต ามที่ได ตั ด สิ น ใจ การมีส ว นรว มในการแบงปน ผลประโยชน ที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน และการมีสวนรวมตรวจสอบประเมินผล สรุปบทเรียนของการทํางาน เพื่อปรับปรุงแก ไข และขยายผลสู ชุม ชนอื่น ๆ โดยสรางภาคี การมีส ว นรว ม เพื่อรับการ สนับสนุนจากภายนอกชุมชน ในดานความรูใ นการบริหารองค ก ร ความรูทางวิ ชาการ และเทคโนโลยี ทางการปาไม การสนับสนุนวัสดุอุปกรณที่จําเปนและการสนับสนุน การจัดตั้งกองทุนพัฒ นาปาชุม ชน ของหมูบาน เปนตน 2. บทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการมีสวนรวมบริหารจัดการปาชุมชน เนื่ องจากองค ก รปกครองส ว นท องถิ่ น (หรือ อปท.) เปน หน ว ยงานของรัฐที่ใ กล ชิด กั บ ชาวบานมากที่สุด มีโอกาสรับรูถึงศักยภาพและขอจํากัดของการพัฒนาในระดับพื้นที่ สามารถทําความ เขาใจไดลึกซึ้งถึงปญหาดานเศรษฐกิจ และสังคมของทองถิ่นที่ตนเองปกครองดูแล


20 จากอํานาจหนาที่ที่ไดรับมอบหมายภายใตพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้น ตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2552 อปท.จึ งมีบทบาทสํ าคั ญ ในการผลั ก ดั น กระบวนการ แก ไขป ญ หาของชุ ม ชนในทอ งถิ่ น ที่ ต นเองรับ ผิ ด ชอบ มี ห น า ที่ต อ งทํ า ในการคุ ม ครอง ดู แ ล และ บํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3. บทบาทของภาคเอกชนและองคกรพัฒนาเอกชนในการมีสวนรวมบริหารจัดการปาชุมชน เนื่องจากปจจุบันกระแสความตื่นตัวตอแนวคิดการทําธุรกิจที่ตองคํานึงถึงความ รับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) หรือ CSR กําลังมีมากขึ้น ซึ่งปจ จั ย ที่ทําใหองค ก ร จํานวนมากตางหันมาใหความสนใจในเรื่องการทํา CSR นั้ น มาจากการดํ าเนิ น งานของอุต สาหกรรม และธุรกิจที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม หรือสรางปญหาทางสังคมและเศรษฐกิจตอประชาชน ซึ่ งนั บวั น ยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น ประกอบกับสภาพสังคมและการเมืองสมัยใหมที่ประชาชน และผู บริโภคมีค วามรู ความเขาใจในการรักษาสิทธิ และความคุมครองมากขึ้น องคกรธุ รกิ จ เหล านี้ จึ งจํ าเปน ต องหัน มาใส ใจ รับผิดชอบตอสังคม และทํากิจกรรม CSR เพื่อแกปญหาในเชิงรุก


¡ÒÃ㪠»ÃÐ⪹ äÁ à·¾·Òâà áÅСÒ÷íÒ ¼ÅÔµÀѳ±¨Ò¡¹éíÒÁѹ ËÍÁÃÐàËÂà·¾·ÒâÃ


การใชประโยชนเทพทาโร

การใชประโยชนไมเทพทาโร และการทําผลิตภัณฑจากน้ํามัน หอมระเหยเทพทาโร

การใชประโยชนเนื้อไม (ลําตนและราก) เนื้อไม ใชเปนสวนผสมในตํารับยาแกทองรวง

ทรรศนีย พัฒนเสรี กลุมงานพัฒนาผลิตผลปาไม สํานักวิจัยและพัฒนาการปาไม กรมปา ไม

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

1

การใชประโยชนเทพทาโร การใชประโยชนจากผล และใบ ผลและใบ กลั่นน้ํามันหอมระเหยใชทําผลิตภัณฑตางๆ ผล บีบเอาน้ํามันใชทาแกปวดเมื่อย เคล็ดขัดยอก รักษาแผลสด แผลเรื้อรัง แผลไฟไหมน้ํารอนลวก แกแมลงสัตวกัดตอย แกปวดฟน กากผลที่เหลือจากการสกัดน้ํามันออกแลวนําไปบดละเอียดใชผสม ทําธูปหอม หรือแทงกํายาน ยอดออนรับประทานเปนผักสด มีกลิ่นหอมจากน้ํามันหอมระเหย ใชใสในแกงมัสมั่นแทนใบกระวาน หรือตากแหงชงเปนชา สมุนไพร ดื่มบํารุงรางกาย การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

3

สวนของพืชทีใ่ หน้ํามันหอมระเหย ดอก

มะลิ กุหลาบ ราตรี กระดัง งา ดอกสม

ใบ

ยูคาล ิปตัส ตะไครห อม เสม็ดขาว หนาด

เมล็ด

พริก ไทย จันทนเ ทศ กระวาน ผักชี

ทั้ง ตน เหนือ ดิน

โหระพา กระเพรา เปปเปอรมินต การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

5

หอบหืด อาเจียน บํารุงโลหิตในสตรีที่รอบเดือนมาไมปกติ รากใชทํายาแกไข ใชในการกอสรา ง ทํา ไมบุผนัง ทําแจว พาย กรรเชียง ใชทําเครื่องเรือน ตู หีบใสผา เตียง สารปองกันตัวเรือด ไร มด มอด ใชในงานแกะสลัก เปนสินคา OTOP ของจังหวัด ตรัง เศษไมจากงานแกะสลัก นําไปบดบรรจุถุงเปนเครื่องหอม เชนเดียวกับบุหงา หรือผสมกาวทํางานปน ทําธูปหอม ทําแทงกํายาน นําไปกลั่นน้ํามันหอมระเหย ใชในธุรกิจสปา เครื่องสําอาง ทําเปน ผลิต ภัณฑที่มีมูลคาเพิม่ การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

2

น้ํามันหอมระเหย แหลงที่มา พืช สัตว และจากการสังเคราะห องคป ระกอบสารกลุมไฮโดรคารบ อน เทอรพนี ส คีโตนส แอล กอฮอล อะโรมาติก และอื่นๆ ที่มีจุดเดือ ดต่ํา ระเหยงา ยที่อ ุณหภูมิหอ ง สวนใหญมีกลิ่นหอม และมีฤ ทธิ์ทางชีวภาพ เชน ไลแมลง ฆาเชื้อ รา และแบคทีเรีย เปน ตน ประโยชน ใชเปนสมุนไพร ใชในการแตง กล ิ่นอาหาร เครื่อ งดื่ม ยา เครื่อ งสําอาง น้ําหอม และอื่น ๆ การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

4

สวนของพืชที่ใหน้ํามันหอมระเหย

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

6

1


วิธีการสกัดน้ํามันหอมระเหย การกลั่นดวย น้ําหรือไอน้ํา Hydro or Steam distillation

วิธีการสกัดน้ํามันหอมระเหย การสกัด ดวยไขมัน enfleurage

การสกัดดวย ของเหลว ในสภาวะยิ่งยวด เหนือวิกฤต Supercritical fluid ex traction การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

7

การกลั่นน้ํามันหอมระเหยดวยน้ํา

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การบีบ Expression

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

8

ชุดกลั่นดัดแปลงจากหมอตมกวยเตี๋ยว

9

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

10

น้ํามันหอมระเหยจากใบและผลเทพทาโร

น้ํามันหอมระเหยเทพทาโร

กล ุมที่มีสารสําคัญเปน แซฟรอล ใหก ลิน่ คลายซาสี่ หรือ รูทเบีย ร แซฟรอล - ใชประโยชนท างการแพทย มีฤ ทธิต์ านแบคทีเรีย เชื้อ รา และ Dermatophytes หล ายชนิด ใชเปนยา ฆาเชื้อ แกปวดเมื่อย แกปวดฟน ยับยั้งการเกิดเมลานิน - ใชเปนสารตั้ง ตนในการสังเคราะหสารเฮลิโอโทรปน ซึ่งใชในอุตสาหกรรมน้ําหอม สารและสารไปเปอรโรนิล บิวทอกไซดซึ่ง ใชในอุตสาหกรรมยาฆาแมลง - ใชเปนสวนผสมในอาหารและเครื่องดื่ม (Root beer)

น้ํามันจากเนื้อไม ใหก ลิ่นคล ายรูทเบีย รเทานั้น องคป ระกอบหลักทางเคมีมากกวา 90 % คือ แซฟรอล (Safrole) น้ํามันจากใบ ผล ดอก ใหก ลิน่ แตกตางกัน 4 กลิน่ ตามองคป ระกอบหลักทางเคมี

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การสกัดดวย ตัวทําละลาย Solvent ex traction

11

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

12

2


น้ํามันหอมระเหยจากใบและผลเทพทาโร

น้ํามันหอมระเหยจากใบและผลเทพทาโร

กล ุมที่มีสารสําคัญเปน ซิตรอล ซิโตรเนลอล และไลโมนีน ใหก ลิ่นคล ายตระไครผ สมสม ซิตรอล และซิโตรเนลอลพบมากในน้าํ มันตะไคร ไลโมนีนพบมากในน้ํา มันผิวสม สารทั้งสามชนิดมี ฤทธิ์ไลแมลง ปองกัน แบคทีเรีย

กล ุมที่มีสารสําคัญเปนซีนีอ อล ใหก ลิน่ คลายน้ํามัน เสม็ดขาว ซีนีอ อล (1,8-cineole) มีประโยชนในอุตสาหกรรมยา เชน ใชเปนสวนประกอบในยาแกไอ ขับเสมหะ ทํา น้ํายาบวนฆาเชื้อในปาก ใชแตง กล ิ่นและใชใน อุตสาหกรรมน้ําหอม ใชไล และกําจัดยุงและแมลง

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

13

น้ํามันหอมระเหยจากใบและผลเทพทาโร

การใชป ระโยชนจากภูมิปญญาพื้นบานแล ะงานวิจัย

กลุมที่มีสารสําคัญเปน ลินาลูล (Linalool) จะมีกลิ่นหอมของดอกไม ผสมกับกลิ่นเครื่องเทศ ลินาลูล - เปนสารที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจสูง ใชมากในอุตสาหกรรม น้ําหอมและผลิต ภัณฑบํารุงและทําความสะอาดผิวกาย มากถึง 60 – 80 % - เปนสารที่อยูระหวางขบวนการทางเคมี (chemical intermediate) ของการเตรียมวิตามินอี - ลดความเครียดและชวยทําใหผอ นคลายเมื่อสูดดม - มีฤทธิ์ฆาหมัดและแมลงสาบ การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

กล ิ่น ใบ

แซฟรอลทารักษาโรคขออักเสบ โรคขอรูมาตอยด  รักษาแผลสด แผลไฟไหม น้ํารอนลวก ริด สีดวงทวาร แผลแมลง

สัตวกัดตอย ผดผืน่ คัน

 หยอดหูรักษาโรคหูน้ําหนวก แผลในหู  ขับลม แกปวดทอง ปวดฟน รักษาแผลในปาก  สูดดมแกหวัด คัดจมูก รักษาไซนัส  ฆาเชื้อราและแบคทีเรียไดหลายชนิด การปลูกและการใชประโยชนไมเทพทาโร 2-5 เม.ย.2555

93

91

98

กลิ่นตะไคร ซิตรอล

34

50

N

กลิ่นเสม็ด ซินีออล

58 (ไมมีแซฟรอล)

62 (มีแซฟรอล 0.9)

N

กลิ่นดอกไม ลินาลูล

N

95 (มีแซฟรอล 1.5)

N

16

ศักยภาพของน้ํามันเทพทาโรสูผลิตภัณฑ

ราก

กลิ่นรูทเบีย ร แซฟรอล

ยาหมอง ยาดม ทาถูนวดแกปวดเมื่อย ปวดขอ แกปวดฟน รักษาแผลสด แผลแหง แกแมลงสัตวกัดตอย  น้ํามันนวดสปา  เจลหรือครีม รักษาโรคผิวหนังอันเนื่องมาจากเชื้อราและแบคทีเรีย  สบู เจลทําความสะอาดมือ แชมพู  ธูป เทียนหอม กํายาน ถุง หอม จากเศษวัสดุที่เหลือจากการกลั่น  สเปรยปรับอากาศ สเปรยไลแมลง โลชั่นกันยุง (น้ํามันเทพทาโรที่มีกลิ่น คลายตะไคร)  อื่น ๆ 

N - ไมไดทดลอง การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

 แกปวดขอ เคล็ดขัดยอก ปวดเมื่อย ในตํา รับยาตางประเทศใช

15

องคป ระกอบหลัก (%) ผล

14

17

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

18

3


ผลิตภัณฑจากน้ํามันหอมระเหยเทพทาโร

ประสิทธิภาพยาหม่องเทพทาโรจากผูใ้ ช้  อาการนิวล๊อก  อาการอัมพฤต  อาการปวดเมือยจากการทํา งาน  อาการปวดข้อจากเก๊า ส์  อาการเส้นเลือดขอด

ดีขนึ การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

19

20

สวนประกอบยาหมองเทพทาโร

งานวิจัยสูประชาชน

พาราฟน

11 กรัม วาสลีน

11 กรัม

พิมเสน

20 กรัม เมนทอล

20 กรัม

เปปเปอรมินต 10 กรัม น้ํามันระกํา

2 กรัม

น้ํามันกานพลู 0.37 กรัม น้ํามันอบเชย 0.37 กรัม น้ํามันเทพทาโร 1.2 การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

21

สวนประกอบสบูกลีเซอรีน

วิธีการเตรียมยาหมอง 1. ผสมพาราฟน และวาสลีน อุน ใหส วนผสมละลาย คนใหเขากัน 2. ผสมพิมเสน เมนทอลเขาดวยกัน กวนใหล ะลาย 3. เติมเปปเปอรมินต น้ํามันระกํา น้ํามันกานพลู น้ํา มันอบเชย และน้ํามันเทพทาโร ผสมใหเขากัน 4. นําสวนผสมในขอ 1 ผสมกับ สวนผสมในขอ 2 คนใหเขากัน เทบรรจุใสขวด ปดฝา และติดฉลาก การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

22

23

กล ีเซอรีนแข็ง 500 กรัม น้ําสะอาด วิตะมินอี

75 กรัม

1.5 กรัม สารใหค วามชุมชื้น 10 กรัม

น้ํามันเทพทาโร 6 กรัม กล ิ่นเสม็ด อาจแตงกลิ่นดวยน้ํามันหอมระเหยอื่น ๆ หรือ ใสสเี พิ่มเติม ตามชอบ ทวีน 20

10 กรัม

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

24

4


ฉลากสําหรับผลิตภัณฑ

วิธีการเตรียมสบูกลีเซอรีน

ทิพย สบูกลีเซอรีนเทพทาโรใยบวบ

1. หั่นกลีเซอรีนใหเปนชิ้นเล็ก ๆ 2. ใสในภาชนะแกวหรือ สแตนเลส หลอมใหล ะลายจนหมด 3. เติมน้ํา สารใหค วามชุมชื้น ทวีน 20 วิตะมินอี แล ะตาม ดวยน้ํามันเทพทาโร 4. เทใสแบบพิมพ ปลอยไวใหเย็น การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

ผสมน้ํามันหอมระเหยเทพทาโรกลิ่นเสม็ด ใหความรูสึกสดชื่น และ บํารุงผิวพรรณ ใยบวบชวยขัดเซลลผิวใหดูผุดผอง วิธีใช ลูบไลใหเกิดฟองทั่วเรือนราง แลวลางออกดวยน้ําสะอาด ผลิตโดย งานพัฒนาเคมีผลิตผลปาไม กรมปาไม 61 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กทม. 10900 สว นประกอบสํา คัญ น้ํามันหอมระเหยเทพทาโร กลีเซอรีน โพรพีลีนไกลคอล วิตะมินอี ทวีน 20 ไมใชวัตถุกันเสีย ปริมาณสุทธิ 45 กรัม วัน เดือน ป ที่ผลิต 5 เมษายน 2555 25

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

26

เอกสารอางอิง พรสวรรค ดิษยบุตร และคณะ. 2546. เครื่องสําอางจากสมุนไพร. หจก.อรุณการพิมพ, กรุงเทพฯ. 159 หนา. พิมพร ลีล าพรพิสิฐ. 2544. เครื่องสําอางเพื่อความสะอาด. โอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. 384 หนา. เอมอร โสมนะพันธุ. 2535. เภสัชวินิจ ฉัย-ยาและผลิตภัณฑจากธรรมชาติ “เครื่องสําอาง ธรรมชาติ”. ภาควิชาเภสัชวินิจ ฉัย คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ. 20 หนา. L.P.A. Oyen and Nguyen Xuan Dung (Eds.). 1999. Plant Resources of South-East Asia No 19 Essential-oild plants. Backhuys Publishers, Leiden, the Netherlands. 277 pp. http://www.honghuat.com/doity ouselt

ขอบคุณค่ะ

http://www.archeep.com/chemistry/chem_index.htm การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

27

การปล ูกแ ละการใชประโยชน ไมเทพ ทาโร 2-5 เม .ย.2555

28

5


26 สรุปผลการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 (ภาคบรรยาย)

ภาพที่ 1 ลงทะเบียนผูเขาอบรม

ภาพที่ 2 นางกมลมาส รัตนมณี (นักวิชาการปาไมปฏิบัติการ) เจาหนาที่ดําเนินการฝกอบรม กลาวตอนรับ

ภาพที่ 3 - 4 นายสมเกียรติ บัญชาพัฒนศักดา (ศู นยศึกษาและพัฒนาวนศาสตรชุมชนที่ 12) บรรยายวิชา การจัดทํา แผนบริหารจัดการปาชุมชน

ภาพที่ 5 – 6 เจาหนาที่ส ถานีวนวัฒนวิจัยสงขลา ภาคใต (นางเพ็ญแข เพิ่ม) บรรยายวิชา การคัดเลือกชนิดพันธุไ มปา เพื่อปลูกในการสงเสริ มการจัดการปาชุมชน


27

ภาพที่ 7-8 เจาหนาที่มอบของที่ระลึกแกผูเขารวมการฝ กอบรม

ภาพที่ 9 -10 หัวหนาสถานีวนวัฒนวิจัยภาคใต จ.สงขลา (คุณสมบู รณ บุญยืน) สรุปประเด็นและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการฝกอบรม

ภาพที่ 11 – 12 คุณสมบูรณ บุญยืน (หัว หนาสถานีวนวัฒนวิจัยภาคใต จ.สงขลา) มอบประกาศนียบัต รแกผูเขารวมฝกอบรม


ÀÒ¤¡Òà ÈÖ¡ÉÒ´Ù§Ò¹


28

สรุปผลการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 (ภาคศึกษาดูงาน)

ภาพที่ 1-2 ศึกษาดูงานแปลงปลูกไม สัก

ภาพที่ 3-4 ศึกษาดูง านแปลงปลูกไมมะฮอกกานี

ภาพที่ 5-6 ศึกษาดูงานแปลงสาธิตการปลู กหวายใตรมยางพารา


29

ภาพที่ 7-10 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางเจาหนาที่และผูเขารับการอบรม

ภาพที่ 11-12 เจาหนาที่แจกกลาไม และใหความรูเกี่ยวกับชนิดพันธุไม


ÀÒ¤ ¡ÒÃÃдÁ ¤ÇÒÁ¤Ô´


สรุปผลการระดมความคิด ภาคการระดมความคิด กําหนดหัว ขอเกี่ ย วกั บการจั ด ทําแผนการบริหารจั ด การปาชุม ชน โดยกอนการจัดทําแผน ใหผูเขารับการฝ ก อบรมรว มกั น วิ เ คราะหปจ จั ย พื้น ฐานที่จ ะส งผลต อการ ตัดสินใจกําหนดกิจกรรมในการจัดทําแผนการบริหารจัดการปาชุมชน ในประเด็นตางๆ ดังนี้ 1. จุดเดน และจุดดอยของชุมชน 2. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในชุมชน (ความสําคัญ ความมากนอย ความหลากหลาย) 3. รูปแบบการพึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติของคนในชุมชน 4. สภาพปญหาดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในชุมชน ทั้งนี้ ไดแบงกลุมการระดมความคิดออกเปน 2 กลุม ตามสภาพนิเวศวิทยา เพื่อใหผูเขารับ การฝกอบรมไดเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูที่หลากหลายขึ้น โดยสรุปผลการระดมความคิด ดังรายละเอียดตามตารางที่ 1, 2 ตารางที่ 1 สรุปประเด็นการระดมความคิด และรายละเอียดของแผนการบริหารจัดการปาชุมชน บานสวน ตําบลควนโส อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ประเด็นพื้นฐานที่นําไปสู การกําหนดกิจกรรมใน แผนการ บริหารจัดการปาชุมชน 1. จุดเดน และจุดดอย ของชุมชน

รายละเอียด

จุดเดน มีปาพรุเสม็ดขาวซึ่งเปน แหลงทรัพยากรธรรมชาติที่มี ความสําคัญ จุดดอย ปญหาความแหงแลง, น้ําทวม

2. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู มีปาพรุเสม็ดขาวผืนใหญ ซึ่งเปน ในชุมชน (ความสําคัญ ความ ระบบนิเวศ พื้นที่ชุมน้ํา ที่มี มากนอย ความหลากหลาย) ความสําคัญและเหลืออยูเพียง ไมกี่แหงในจังหวัดสงขลา

กิจกรรมที่จะกําหนดสําหรับ การทําแผนการบริห าร จัดการปาชุมชน 1. ทําปายบอกอาณาเขต ปาชุมชน 2. ทําแนวกันไฟรอบเขต ปาชุมชน 3. จัดกิจกรรมปลูกปา ชายเลน 4. แหลงเรียนรูการทําผึ้ง หลวง 5. จัดหางบประมาณ ดําเนินงาน เชน อบต. และ อบจ.

ระยะเวลาดําเนิน กิจกรรม ตามแผน พฤษภาคม มกราคม-กุมภาพันธ สิงหาคม กุมภาพันธ -เมษายน สิงหาคม (เพื่อจัดหา งบประมาณดําเนินการ ในปถัดไป) สิงหาคม


31 ประเด็นพื้นฐานที่นําไปสู การกําหนดกิจกรรม ในแผนการบริหารจัดการ ปาชุมชน 3. รูปแบบการพึ่งพิง ทรัพยากรธรรมชาติของคน ในชุมชน

4. สภาพปญหาดาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในชุมชน

รายละเอียด

กิจกรรมที่จะกําหนดสําหรับ การทําแผนการบริห าร จัดการปาชุมชน

ระยะเวลาดําเนิน กิจกรรม ตามแผน

ปาพรุเสม็ดขาว เปนแหลงเก็บหาของ ปาที่สรางรายไดเสริมใหแกคน ในชุมชน เชน เห็ด น้ําผึ้งปา - การใชประโยชนเศษไม ปลายไม เพื่อการกอสรางหรือการทําอุปกรณ ประมง - เปนแหลงเรียนรู และการศึกษา วิจัยที่หลากหลาย - ปญหาไฟปา - แนวเขตระหวางที่ดินทํากิน แนวเขต ปาไมไมชัดเจน

ตารางที่ 2 สรุปประเด็นการระดมความคิด และรายละเอียดของแผนการบริหารจัดการปาชุมชน บานคลองหวยบา ตําบลปาแกบอหิน อําเภอทุงหวา จังหวัดสตูล ประเด็นพื้นฐานที่นําไปสู การกําหนดกิจกรรมใน แผนการ บริหารจัดการปาชุมชน 1. จุดเดน และจุดดอย ของชุมชน

รายละเอียด

จุดเดน มีปาเพื่อการใชสอย และปา เพื่อการอนุรักษ จุดดอย ที่ตั้งหมูบ านอยูหางไกลจาก แหลงชุมชน

2. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู เพิ่มปาดิบชื้นดั้งเดิม (ปาแก) ที่มีการ ในชุมชน (ความสําคัญ ความ อนุรักษพันธุไมดั้งเดิมในพื้นที่ไว มากนอย ความหลากหลาย)

กิจกรรมที่จะกําหนดสําหรับ การทําแผนการบริห าร จัดการปาชุมชน 1. การปลูกเพิ่มปา 2. การจัดทําแนวเขต 3. การปลูกปาเพื่อการ อนุรักษดินและน้าํ ในพื้นที่ ชลประทานในชุมชน

ระยะเวลาดําเนิน กิจกรรม ตามแผน สิงหาคม มิถุนายน-กรกฎาคม กรกฎาคม


32

ประเด็นพื้นฐานที่นําไปสู การกําหนดกิจกรรมใน แผนการ บริหารจัดการปาชุมชน 3. รูปแบบการพึ่งพิง ทรัพยากรธรรมชาติของคน ในชุมชน 4. สภาพปญหาดาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในชุมชน

รายละเอียด เปนปาเพื่อการอนุรักษ

-

กิจกรรมที่จะกําหนดสําหรับ การทําแผนการบริห าร จัดการปาชุมชน

ระยะเวลาดําเนิน กิจกรรม ตามแผน


33 สรุปผลการฝกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําป 2557 (ภาคระดมความคิด)

ภาพที่ 1 – 3 ตัวแทนบา นคลองหวยบา อ.ทุงหวา จ.สตูล สรุปและนําเสนอผลการระดมความคิด การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน

ภาพที่ 4 – 5 ตัวแทนบา นสวน อ.ควนเนียง จ.สงขลา สรุปและนําเสนอผลการระดมความคิด การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน


ÀÒ¤¼¹Ç¡






คํากลาวของประธาน ในพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 วันที่ 20 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา -------------------เรียน ประธานกรรมการปาชุมชน สมาชิกกลุมปาชุมชน แขกผูมีเกียรติ วิทยากร และเจาหนาที่ ผูดําเนินการฝกอบรมทุกทาน ผมมีความยินดีเปนอยางยิ่ง ที่ไดมาเปนประธานในพิธีเปด โครงการฝ ก อบรมราษฎร หลั ก สู ต ร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 ในวันนี้ กอนอื่นผมขอขอบคุณผูที่มาเขารับการอบรม อันเปนตัวแทนจากชุมชุมของทานในครั้งนี้ เพราะ ถือวาทานเปนผูเสียสละทั้งแรงกาย แรงใจ และเวลาที่มีคาของทาน มาใชเวลารวมกับพวกเราถึ ง 2 วั น และนับเปนนิมิตหมายที่ดี ที่เราไดมีโอกาสมาพบปะกัน เพราะทุกท านเปน ภาคี สํ าคั ญ ที่จ ะส งเสริม และ สนับสนุนความสําเร็จของการสงเสริมการจัดการปาชุมชนของกรมปาไมตอไปในอนาคต การดําเนินงานดานการอนุรักษและกิจกรรมอันเปน ประโยชน ต อส ว นรวมอื่น ใดก็ ต าม จะเกิ ด มีขึ้นและเขมแข็งตอไปได ทุกฝายตองมีพ้นื ฐานความเขาใจเกี่ยวกับแนวความคิดหลัก กระบวนการ และ วิธีการในการที่จะรวมกันสงเสริม การดํ าเนิ น งานด านการอนุ รัก ษ การฝ ก อบรมจึ งเปน กระบวนการ สงเสริมการเรียนรูแบบมีสวนรวม เพื่อใหเกิดการถายทอดประสบการณ องค ค วามรู และแลกเปลี่ ย น ภูมิปญญา ตลอดจนความรูด านการบริหารจัดการปาที่ทุกทานและทุก ชุม ชนมีอยู เ ปน ทุน เดิ ม แล ว เพื่อ เสริมสรางใหชุม ชนมีก ารพัฒ นาศั ก ยภาพในการจั ด การปาใหต อบสนอง ทั้งในด านการอนุ รัก ษและ เอื้อตอความเปนอยูที่ดีขึ้น นับเปนความภาคภู มิใจของกรมปาไมที่ได รับเกี ย รติ และความรว มมือจาก ทุกทานดวยดี และขอใหทานนําประสบการณ ความรูจากหลากหลายชุม ชนที่นํ ามาแลกเปลี่ ย นในการ ฝกอบรมครั้งนี้ ใหประสบผลสําเร็จตอไป ผมชื่นชมชุมชนของทานที่เห็นความสําคัญของการจัดการปาชุมชน และใหค วามรว มมือส งทาน มาเขารวมการฝกอบรมเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ และถือโอกาสนี้ขอบคุณวิทยากร และหนวยงานที่ให /การสนับสนุน...


การสนับสนุน การอบรมในครั้งนี้ บัด นี้ ได เ วลาอัน สมควรแล ว ผมขอเปด โครงการฝ ก อบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 และ ขอใหการฝกอบรมดําเนินไปดวยดีและบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวทุกประการ


คํากลาวรายงานตอประธานในพีปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 วันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา -------------------เรียน ทานประธานที่เคารพ กระผมในนามของคณะทํางานดําเนินการจัดฝกอบรม ขอขอบพระคุณทานประธานเปน อย างสู ง ที่ไดกรุณาใหเกียรติมาเปนประธานในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้น ที่ โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 ของสํานักจัดการทรัพยากรปาไมท่ี 13 (สงขลา) ในวันนี้ การฝ ก อบรมราษฎรหลั ก สู ต ร การบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ โ ดยการสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ ไดดําเนินการมาจนเสร็จสิ้นในวันนี้ ซึ่งผูเขารับการฝกอบรมทั้ง 20 ทาน ไดรับการถายทอดความรูจ าก วิ ทยากร และได นํ าไปประยุ ก ต ใ ชในกระบวนการวิ เ คราะหและจั ด ทําแผนการบริหารจั ด การพื้น ที่ ปาชุมชนของตนเอง การฝกอบรมครั้งนี้ไดรับความรว มมือ การสนั บสนุ น ตลอดจนการอํานวยความ สะดวกจากหลายฝายเปนอยางดี นับแต ก ารเตรีย มการจั ด ฝ ก อบรม การสนั บสนุ น วิ ทยากรบรรยาย การใหความอนุเคราะหสถานที่ศึ ก ษาดู งาน อัน ได แก ศู น ย ถ ายทอดเทคโนโลยี ด านวิ จั ย ปาไมส งขลา ภาคใต ตลอดระยะเวลาของการฝกอบรม ผูเขารับการฝ ก อบรมได ใหค วามรว มมือแลกเปลี่ ย นทัศ นะ ประสบการณอันจะเปนประโยชนทงั้ ตอการดําเนินงานของกรมปาไม การดําเนินงานปาชุมชนของตนเอง และของชุมชนอื่นที่เขารวมการฝกอบรม ดังนั้น เพื่อเปนขวั ญ กํ าลั งใจแก ผู เ ขารับการฝ ก อบรมทุก ทาน ผมขอเรี ย นเชิ ญ ท า นประธานได ใ หเ กี ย รติ ม อบประกาศนี ย บั ต รแก ผู ผ านการฝ ก อบรมหลั ก สู ต ร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 จํานวน 20 คน ดังนี้ ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... และในโอกาสนี้ ขอเรียนเชิญทานประธานไดใหโอวาทแกผูผานการฝกอบรม และกลาวปดการฝ ก อบรม ตอไป


คํากลาวของประธาน ในพิธีปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 วันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีดานวิจัยปาไมสงขลา ภาคใต ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา -------------------เรียน แขกผูมีเกียรติ ประธานกรรมการปาชุมชน สมาชิกกลุมปาชุมชน และเจาหนาที่ผูดําเนินการฝกอบรมทุกทาน ผมมีความยินดีเปนอยางยิ่ง ที่ได ม าเปน ประธานในพิธีปด โครงการฝ ก อบรมราษฎรหลั ก สู ต ร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ในวันนี้ ผมยินดีที่ไดรับทราบวาการฝกอบรมโครงการนี้ ตลอดระยะเวลา 2 วัน ที่ผานมา ดําเนินไปดว ย ความเรียบรอยตามวัตถุประสงคและเปาหมายของการฝกอบรม โดยได รับความรว มมือเปน อย างดี ยิ่ ง จากผูเขารับการฝกอบรมทุกคน ผมขอแสดงความชื่นชม ที่โครงการฝกอบรมในครั้งนี้ประสบผลสํ าเร็จ เปน ที่น าพอใจ แต ค วาม มุงหวังที่แทจริงคือทุกทานไดนําความรูและประสบการณ ที่ได รับจากการฝ ก อบรมครั้งนี้ ไปถ ายทอดสู ผูอื่น และรวมกันปฏิบัติ ประยุกต ใช และดํ าเนิ น การก อใหเ กิ ด เปน เครือขายปาชุม ชนที่เ ขม แข็ งต อไป ในอนาคต ผมขอขอบคุ ณ แขกผู มีเ กี ย รติ ผู เ ขารว มการฝ ก อบรม วิ ทยากร ผู มีส ว นรว ม และเจ าหน าที่ ทุกทาน ที่ไดทุมเทกําลังกาย กําลังใจ และกําลังสติปญญา รว มกั น ใหก ารฝ ก อบรมครั้งนี้ สํ าเร็จ ลุ ล ว ง ไปดวยดี บัดนี้ ไดเวลาอันสมควรแลว ผมขอปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลั ก สู ต ร การบริหารจั ด การ พืน้ ที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 ณ บัดนี้ และขอใหทุกทานเดิน ทาง กลับยังภูมิลําเนาโดยสวัสดิภาพ


สรุปผลการระดมความคิด โครงการจัดทําแผนปาชุมชน บานสวน หมูที่ 8 ตําบลควนโส อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา 1. ทําปายนอกอาณาเขตปาชุมชน 2. ทําแนวกันไฟรอบเขตปาชุมชน 3. จัดกิจกรรมปลูกปาชายเลน 4. แหลงเรียนรูการทําผึ้งหลวง 5. จัดหางบประมาณดําเนินงาน เชน อบต. และอบจ.

โครงการจัดทําแผนปาชุมชนเชิงอนุรักษ บานคลองหวยบา หมูที่ 2 ตําบลปาแกบอหิน อําเภอทุงหวา จังหวัดสตู ล 1. การปลูกเพิ่มปา 2. การจัดทําแนวเขต 3. การปลูกปาเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา




Ê Ç¹¨Ñ´¡Òû ÒªØÁª¹ ¡ÃÁ» ÒäÁ Êํҹѡ¨Ñ´¡Ò÷ÃѾÂҡû ÒäÁ ·Õ่ 13 (ʧ¢ÅÒ) ËÁÙ ·Õ่ 1 µํҺũÅا ÍํÒàÀÍËÒ´ãË­ ¨Ñ§ËÇѴʧ¢ÅÒ 90110 â·ÃÈѾ· 0-7420-5990 µ Í 14 ,0-7420-5974 â·ÃÊÒà 0-7420-5974


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.