คํานํา สถาบันกัลยาณราชนครินทร กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เปนหนวยงานที่ใหบริการตรวจ วินิจฉัย บําบัดรักษา สงเสริมปองกันและฟนฟูสมรรถภาพแกผูปว ยทางจิตเวช โดยในรอบปงบประมาณ 2554 ที่ ผานมาบุคลากรภายในองคกรทุกระดับไดรวมแรงกาย แรงใจ ในการพัฒนาคุณภาพทั้งดานการบริหาร การบริการ และวิชาการอยางเปนระบบ โดยใชแผนยุทธศาสตรเปนทิศทางในการดําเนินงาน ที่สอดคลองกับนโยบาย วิสยั ทัศน พันธกิจ หนาที่ความรับผิดชอบ และสถานการณสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง จนเกิดผลลัพธเปนรูปธรรม จากผลการดําเนินงานประจําป 2554 ดังกลาว สถาบันกัลยาณราชนครินทรไดมีการรวบรวมผลงาน จัดทําเปนรายงานประจําป โดยเนื้อหาในเลมประกอบดว ย ขอมูล ภาพรวม ผลการปฏิบัติงาน ผลการดําเนินงาน ตามแผน โครงการ/กิจกรรม จําแนกตามยุทธศาสตร และผลการดําเนินตามตัว ชี้วัดคํารับรองปฏิบัติราชการ ที่ เกิดขึ้นในรอบปที่ผานมา ทั้งนี้ เพื่อใชเปนขอมูลในการดําเนินงานของหนวยงาน และวางแผนพัฒนาองคกรใหบรรลุ เปาหมายตามแผนยุทธศาสตรที่กําหนดไว สถาบันกัลยาณราชนครินทร หวังเปนอยางยิ่งวารายงานประจําป 2554 ฉบับนี้จะเปนประโยชนตอ บุคลากรและผูเกี่ยวของ ที่จะนําไปใชประโยชนในการปฏิบัติงานราชการตอไป
นายศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน ผูอํานวยการสถาบันกัลยาณราชนครินทร
รายงานประจําป 2554
1
สารบัญ สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวม - ประวัติการกอตั้งสถาบันกัลยาณราชนครินทร - ขอมูลทั่วไปสถาบันกัลยาณราชนครินทร - รายนามผูอํานวยการโรงพยาบาลนิติจิตเวชสถาบันกัลยาณราชนครินทร - วิสัยทัศน พันธกิจ ปรัชญา คานิยมหลัก ยุทธศาสตร เปาประสงค และภารกิจหนาทีค่ วามรับผิดชอบ - นโยบายการดําเนินงาน สวนที่ 2 ผลการดําเนินงานดานบริหาร - การบริหารทรัพยากรบุคคล - การบริหารงบประมาณ สวนที่ 3 ผลการดําเนินงานดานบริการ - การใหบริการรักษา - การใหบริการผูปวยนอกและผูปวยใน - การใหบริการนิติจติ เวช - การตรวจ วินิจฉัย บําบัดรักษา - งานบําบัดรักษาผูต ิดสารเสพติด - การฟนฟูสมรรถภาพผูปวย - การสงเสริมปองกัน สวนที่ 4 ผลการดําเนินงานดานวิชาการ - การสอน/ศึกษา/ดูงาน/ฝกอบรม/ฝกปฏิบัติงาน - การพัฒนางานตามแผนงาน/โครงการ - งานวิจัยที่เสร็จสมบูรณ - งานผลิตและเผยแพรวชิ าการ สวนที่ 5 สรุปผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร - โครงการ/กิจกรรมตามแผนยุทธศาสตร - ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วดั ยุทธศาสตร - บทคัดยองานวิจัย - ประมวลภาพโครงการ/กิจกรรม
รายงานประจําป 2554
4 6 7 8 10 19 23 28 30 34 37 38 39 40 42 46 79 80 83 98 104 108
2
สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวม
รายงานประจําป 2554
3
ขอมูลภาพรวมสถาบันกัลยาณราชนครินทร ประวัติการกอตั้งสถาบันกัลยาณราชนครินทร "สถาบันกัลยาณราชนครินทร" สังกัดกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ตั้งอยูเลขที่ 23 หมู 8 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ "โรงพยาบาลนิติจิตเวช" ไดเปด ใหบริการตรวจรักษาผูปวยนอกครั้งแรกตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2514 โดยมีนายแพทยยรรยง โพธารามิก เปน ผูอํานวยการคนแรก หลังจากนั้นไดมีการพัฒนาเรื่อยมา ดังนี้ ป พ.ศ. 2515 เริ่มมีการพัฒนาทั้งดานบริหาร บริการ และวิชาการ และริเริ่มกําหนดรูปแบบการ ประชุมวินิจฉัยโรครวมกันโดยทีมจิตเวช มีการสรางอาคารและภูมิทัศนที่สรางความสงบทางจิตใจควบคูกับ ความ สะดวกตอการรักษาความปลอดภัย ในการดูแลผูปว ยนิติจิตเวชภายใตการนํา ของนายแพทยสุรินทร ปนรัต น ผูอํานวยการคนที่สอง ซึ่งถูกนํามาใชเปนรูปแบบมาจนถึงปจจุบัน ป พ.ศ. 2536 มีการพัฒนางานสุขภาพจิตชุมชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการฟนฟูส มรรถภาพผูปว ย เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูปวยนิติจิตเวช และเปดศูนยใหบริการปรึกษาปญหาสุขภาพจิตทางโทรศัพท ภายใต การนําของนายแพทยหมอมหลวงสมชาย จักรพันธุ ป พ.ศ. 2539 มีการนําระบบเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรมาใชในหนว ยงาน ภายใตการนํา ของ นายแพทยอภิชัย มงคล และริเริ่มงานสรางเครือขายทางวิช าการดา นการเจรจาตอรองในภาวะวิกฤตสุข ภาพจิต รวมกับสํานักงานตํารวจแหงชาติ ป พ.ศ. 2540 เริ่มนําระบบ ISO และ HA มาเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพจนไดรับการ รับรองมาตรฐาน ISO (9002) เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2543 และผา นการรับ รองมาตรฐานระบบ HA ครั้งแรก เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2547 ภายใตการนําของนายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต เปนผูอํานวยการ ป พ.ศ. 2545 นายแพทยปราชญ บุณยวงศวิโรจน อธิบดีกรมสุขภาพจิตขณะนั้นไดตระหนักถึง ความสําคัญในการพัฒนาศูนยกลางวิชาการจิตเวชเฉพาะทางที่มีบทบาทตอความสงบสุขและความปลอดภัยของ สังคม จึงสนับสนุนใหยกระดับจากโรงพยาบาลนิติจิตเวชเดิมขึ้นเปนสถาบัน และไดขอพระราชทานนามใหมจาก สมเด็จ พระเจา พี่นางเธอเจา ฟากัล ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ประทานนามสถาบันใหมวา “สถาบันกัลยาณราชนครินทร” ในวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2545 และเสด็จมาประกอบพิธี เปดสถาบันฯ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2545 ป พ.ศ. 2550 สถาบันฯไดรับ Re-Accreditation มาตรฐานระบบ HA เปนครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2550 ภายใตการนําของนายแพทยศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน และไดรับมอบหมายจากกรมสุข ภาพจิตในการ พัฒนาพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 จนสามารถประกาศและมีผลบังคับใชตั้งแต 21 กุมภาพันธ 2551
รายงานประจําป 2554
4
ป พ.ศ. 2553 สถาบันฯ ครบรอบการตออายุการรับ รอง และไดผานการพิจารณาจากคณะ กรรมการบริหารสถาบันรับ รองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) ใหเปนโรงพยาบาลที่ผา น Re-Accreditation มาตรฐานระบบ HA เปนครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2553 ภายใตการนําของนายแพทยศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน ป พ.ศ. 2554 สถาบันฯ ไดดําเนินการผลักดันการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 และพัฒนาสูความเปนเลิศเฉพาะทางดา นนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวชใหแกบุคลากรเครือขายทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข โดยรับผิดชอบในเขต ตรวจราชการที่ 4 และ5 ประกอบดวย 8 จังหวัดไดแก จังหวัดราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุ รี ประจวบคีรีขันธ สมุทรสงครามและสมุทรสาคร เพื่อใหหนวยบริการทุกระดับสามารถนําความรูและแนวปฏิบัติไป ดําเนินการใหเกิดประโยชนตอผูปวยจิตเวชตอไป
รายงานประจําป 2554
5
ขอมูลทั่วไปสถาบันกัลยาณราชนครินทร อดีต ปจจุบัน พื้นที่สถาบันฯ สถานที่ตงั้ โทรศัพท โทรสาร E-mail address Websit
รายงานประจําป 2554
ป 2514 สถาบันกัลยาณราชนครินทร มีสิ่งกอสราง รวมทัง้ สิน้ 19 รายการ เตียงผูปว ย 150 เตียง ป 2553 สถาบันกัลยาณราชนครินทร มีสิ่งกอสราง รวมทัง้ สิน้ 70 รายการ เตียงผูปว ย 200 เตียง จํานวน 51 ไร 2 งาน เลขที่ 23 หมู 8 ถนนพุทธมณฑลสาย4 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170 0 2441 6100 0 2441 6101 galyaints@gmail.com, niti@health.moph.go.th http://www.galyainstitute.com
6
รายนามผูอํานวยการโรงพยาบาลนิติจิตเวช – สถาบันกัลยาณราชนครินทร 1. นายแพทยยรรยง โพธารามิก พ.ศ. 2512-2515 ยุคบุกเบิก เริ่มกอตั้งโรงพยาบาลนิติจิตเวช 2. นายแพทยสุรินทร ปนรัตน พ.ศ. 2515-2526 ผูวางรากฐานงานบริการและวิชาการนิติจิตเวชในประเทศไทย 3. นายแพทยสุจริต สุวรรณชีพ พ.ศ. 2526-2527 ผูวางระบบวิชาการในงานฟนฟูสมรรถภาพผูปวยนิติจิตเวช 4. นายแพทยธํารง ทัศนาญชลี พ.ศ. 2527-2532 กาวสูว ชิ าการระดับชาติ 5. นายแพทยหมอมหลวงสมชาย จักรพันธุ พ.ศ. 2532-2536 พัฒนาคุณภาพชีวิตผูปวยนิติจิตเวชและระบบใหคําปรึกษาทางโทรศัพท 6. นายแพทยสุปรีชา วงศพุทธา พ.ศ. 2536-2539 พัฒนาบริการจิตเวชชุมชนในเขตสาธารณสุข เขต 4 ที่รับผิดชอบ 7. นายแพทยอภิชัย มงคล พ.ศ. 2539-2540 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 8. นายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต พ.ศ. 2540-2547 พัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ สูการรับรองคุณภาพมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) 9. นายแพทยศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน พ.ศ. 2548-ปจจุบัน พัฒนางานกฎหมายสุขภาพจิตและวิกฤติสุขภาพจิต พัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ สูการรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 และ ISO 27001
รายงานประจําป 2554
7
วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค ยุทธศาสตร ปรัชญา คานิยมหลัก และภารกิจหนาที่ความรับผิดชอบ วิสัยทัศน เปนผูนําวิชาการและบริการระดับชาติ ดานนิตจิ ิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต ภายในป พ.ศ. 2554
พันธกิจ พัฒนา ถายทอดองคความรู เทคโนโลยี และใหบริการดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตตามมาตรฐาน
ปรัชญา เลิศล้าํ วิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยดวยคุณธรรม
คานิยมหลัก (Core Value) "มุงมั่น จัดแนวคิด จิตพัฒนา เนนลูกคา ผานระบบ ครบทีม" ความหมาย :
มุงมั่น
= สมาชิกทีมมุงมั่น หมายถึง บุคลากรสถาบันกัลยาณราชนครินทร มีความรับผิดชอบตอ หนาที่ และตั้งใจในการปฏิบัติงานโดยยึดถือเปาหมายและความสําเร็จขององคกร จัดแนวคิด = เรียนรูและปรับตัว หมายถึง การหาโอกาส พัฒนาความรู ทักษะประสบการณ โดยการ เรียนรูจากงานที่ทํา เพื่อนรวมงาน และองคกรในทุกโอกาสที่เปนไปได จิตพัฒนา = พากันพัฒนาอยางตอเนื่อง หมายถึง การหาโอกาสที่จะปรับปรุงกระบวนการทํางานและ พัฒนาองคความรู นวัตกรรมใหมๆ อยางตอเนื่อง เนนลูกคา = มุงเนนผูปวยและลูกคา หมายถึง การมุงตอบสนองความจํา เปน ความตองการ ความ คาดหวังของผูปว ยและผูรับบริการอยางเปนองครวม โดยคํานึงถึงสิทธิผูปวย วิถีชีวิต วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และใชมาตรฐานวิชาชีพเพื่อใหเกิดผลลัพธดานสุขภาพที่ดี และ ประโยชนตอสวนรวม ผานระบบ = ใชมุมมองเชิงระบบ หมายถึง การวิเคราะหนําขอมูล มาใชประโยชน และมองภาพรวม ครบถวนทุกองคประกอบอยางเชื่อมโยง และเปนเหตุเปนผล ครบทีม = พากันทํางานเปนทีม หมายถึง การเปดรับความคิดเห็น รวมมือชวยเหลือกัน และมีสวน รว มในการทํางาน ระหวา งผูบ ริหาร ผูปฏิบัติงานทุกระดับ สหวิชาชีพ หนวยงานและ เครือขาย
รายงานประจําป 2554
8
ยุทธศาสตร ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาการบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวช ยุทธศาสตรที่ 2 สงเสริมและพัฒนาภาคีเครือขายบริการสุขภาพจิต นิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญสูความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจิตเวช ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เปาประสงค 1. องคกรมีระบบบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวชที่มีคุณภาพผา นเกณฑมาตรฐานและไดรับ การ รับรองจากหนวยงานภายนอก 2. เครือขายสุขภาพจิตมีการบูรณาการงานดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตเขากับงานของตนเอง และสามารถดูแลผูที่มีปญหาสุขภาพจิตใหอยูในครอบครัว ชุมชน และสังคมได 3. องคกรเปนศูนยกลางทางวิชาการดา นนิติจิตเวช และวิกฤตสุข ภาพจิตที่ไ ดรับ การยอมรับใน ระดับประเทศ 4. องคกรมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
หนาที่ความรับผิดชอบ ตาม พ.ร.บ. ปรับ ปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ในราชกิจ จานุเบกษา ประกาศ ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2545 ไดกําหนดใหสถาบันกัลยาณราชนครินทร มีภารกิจหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห และวิจัยเพื่อพัฒนาเกี่ยวกับมาตรฐานของงาน องคความรูและเทคโนโลยี รวมทัง้ รูปแบบการใหบริการเฉพาะทางดานนิติจิตเวช และสุขภาพจิตภาวะวิกฤต 2. สงเสริม พัฒนา และถา ยทอดองคความรูเทคโนโลยีเฉพาะทาง ดา นนิติจิตเวช และสุขภาพจิต ภาวะวิกฤต แกหนวยงานอื่นที่เกีย่ วของทั้งภาครัฐและเอกชน 3. ใหบริการตรวจวินิจฉัย บําบัด รักษา และฟนฟูสมรรถภาพผูมีปญหาสุขภาพจิตที่รุนแรง ยุงยาก ซับซอน เพื่อพัฒนาวิชาการเฉพาะทางดานนิติจิตเวชและสุขภาพจิตภาวะวิกฤต 4. ใหการเพิ่มพูนความรูและทักษะการปฏิบัติงานเฉพาะทางดานนิติจิตเวช และสุขภาพจิตภาวะ วิกฤตแกบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข รวมทั้งบุคลากรอื่นของภาครัฐและภาคเอกชน 5. ปฏิบัติงานร ว มกันหรือ สนับ สนุนการปฏิบัติง านของหน ว ยงานอื่นที่ เกี่ยวของ หรือที่ไ ดรั บ มอบหมาย
รายงานประจําป 2554
9
นโยบายการดําเนินงาน ดานบริการ 1. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวชใหเปนไปตามเกณฑเพื่อธํารงรักษาการ รับรองคุณภาพมาตรฐาน HA สามารถผานเกณฑมาตรฐานระดับตติยภูมิขั้นที่ 3 และมาตรฐานบริการจิตเวชเฉพาะ ทางดานนิติจิตเวชไดอยางตอเนื่อง 2. พัฒนารูปแบบการบริการวิกฤตสุขภาพจิตใหไดมาตรฐาน 3. พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพเครือขายการดูแลผูที่อยูกับปญหาสุขภาพจิต ในระบบบริการ ให สามารถจัดบริการสุขภาพจิตไดตามเกณฑมาตรฐานในระดับปฐมภูมิ และทุติยภูมิ และนอกระบบบริการใหสามารถ บูรณาการงานสุขภาพจิตเขากับงานของตน รวมทั้งใหโอกาสผูที่อยูกับปญหาสุขภาพจิตใหสามารถดํารงชีวิตอยูใน ชุมชนได ดานวิชาการ 1. พั ฒ นาคลั ง ความรู ท างวิ ช าการด า นนิ ติ จิ ต เวชและวิ ก ฤตสุ ข ภาพจิ ต ที่ ส ามารถอ า งอิ ง ได ใ น ระดับประเทศและเผยแพรในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อใหกลุมเปาหมายสามารถเขาถึงงายและใชประโยชนได 2. ศึกษาวิจัย และพัฒนาองคความรู เทคโนโลยีดานนิติจิต เวชและวิกฤตสุข ภาพจิต ที่ผา นเกณฑ มาตรฐาน สามารถรองรับปญหาสุขภาพจิตและนําไปใชประโยชนได 3. สนับสนุน สงเสริมใหมีการถายทอดองคความรู เทคโนโลยีดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตใหแก เครือขายทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข 4. พัฒนาสูการเปนศูนยกลางการศึกษาดูงานและการฝกอบรมดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตใน ระดับประเทศ ดานบริหาร 1. สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีสมรรถนะตามเกณฑ รวมทั้งใชกระบวนการ จัดการความรูเพื่อสงเสริมสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู และเสริมสรางความผูกพันของบุคลากรตอองคก ร 2. พัฒนาระบบฐานขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศดานนิติจิตเวช และวิกฤตสุขภาพจิตใหครอบคลุม ทันสมัย มีคุณภาพ และนําไปใชประโยชนได 3. พัฒนาระบบการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานทั้งในมิติดานประสิทธิภาพประสิทธิผล และผลสัมฤทธิ์ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และเนนระบบคุณธรรม จริยธรรม
รายงานประจําป 2554
10
เปาหมาย ดานผูใชบริการ 1. มีความพึงพอใจตอการใหบริการของสถาบันกัลยาณราชนครินทร 2. มีความปลอดภัย และไมเกิดภาวะแทรกซอนจากการดูแลรักษาในสถาบันกัลยาณราชนครินทร 3. สามารถดูแลตนเองและดําเนินชีวิตอยูรวมกับครอบครัวและชุมชนไดอยางปลอดภัย ดานผูใหบริการ 1. มีความรูความเชี่ยวชาญเฉพาะทางในการใหบริการผูปวยนิติจิตเวช จิตเวช และวิกฤตสุขภาพจิต และมีสมรรถนะผานเกณฑที่กําหนด 2. มีสุขภาวะที่ดี มีความสุขและผูกพันตอองค 3. มีการทํางานเปนทีม ดานองคกร 1. เปนองคกรที่ใหบ ริการดา นนิติจิตเวช และวิกฤตสุข ภาพจิตที่มีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐาน HA ตติยภูมิ และความเปนเลิศเฉพาะทาง (Excellence Center) 2. เปนองคกรแหงการเรียนรู 3. เปนศูนยกลางการศึกษาดูงานและฝกอบรมดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตที่ไดรับการยอมรับ ในระดับประเทศ 4. มีระบบการสื่อสาร และการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ
รายงานประจําป 2554
11
นโยบายคุณภาพสถาบันกัลยาณราชนครินทร สถาบันกัลปยาณราชนครินทร มีความมุงมั่นที่จะพัฒนามาตรฐานคุณภาพกระบวนงานตามพันธกิจ เพื่อ ตอบสนองความตองการของผูใชบริการและสังคม และสรางเสริมความพึงพอใจของลูกคาหรือผูร บั บริการ ทัง้ ลูกคา ภายนอกและลูกคาภายใน ภายใตระบบบริหารงานคุณภาพ โดยมีการกําหนดนโยบายคุณภาพ ไวดังนี้ 1. พัฒนาคุณภาพบริการดานสุขภาพจิต นิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน อยางตอเนื่อง 2. พัฒ นาบุค ลากรใหมีค วามรู ความเชี่ย วชาญเฉพาะทางดา นวิช าชีพ และความรูใ นดา นอื่นๆ ตลอดจนมีเจตคติที่ดีในการใหบริการ และการพัฒนาคุณภาพองคกรใหมีมาตรฐาน โดยยึดผูใชบริการเปนศูนยกลาง 3. สง เสริมการทํา งานเปนทีมที่มีป ระสิทธิภ าพ โดยมุงเนนการมีสวนรวมของบุคลากรทุกระดับ ตลอดจนการสนับสนุนใหบุคลากรมีความผูกพันตอองคกร 4. พัฒ นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหมีคุณภาพ ตลอดจนการจัดหาเครื่อ งมือ อุปกรณทางการแพทยใหเพียงพอ พรอมใช และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล การเงินและบัญชีใหมีประสิทธิภาพ 6. สงเสริม สนับสนุนการศึกษาวิจัย และพัฒนาองคความรู เทคโนโลยีดา นนิติจิตเวช จิตเวชและ วิกฤตสุขภาพจิตใหมีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ 7. สนับสนุนการใหบริการสุขภาพจิตในชุมชน และพัฒฯนาเครือขายการบริการดานนิติจิตเวช และ วิกฤตสุขภาพจิตใหเปนไปตามมาตรฐาน 8. สงเสริม สนับสนุนใหมีการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง และมีกระบวนการจัดการความรูภายใน องคกรเพื่อมุงสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู
รายงานประจําป 2554
12
นโยบายดานความปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ สถาบันกัลยาณราชนครินทร มีนโยบายในการรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ โดยมุงมั่นที่จะนําองคกรเขาสูระบบมาตรฐานสากลตามขอกํา หนด ISO 27001 ซึ่งใหระบบสารสนเทศมีลักษณะ คงไวซึ่งการรักษาความลับ (Confidentiality) ความถูกตอง ครบถวน สมบูรณ (Integrity) ความพรอมใชและการ เขาถึงขอมูล (Availability) จึงไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับระบบการจัดการความปลอดภัยของสารสนเทศไวดังนี้ 1. สถาบันฯ จะวางแผนจัดการ ดูแล และควบคุม เรื่องความปลอดภัยของสารสนเทศ ระบบโครงขาย เครื่องมือ อุปกรณ ใหอยูในระบบมาตรฐาน เปนที่ยอมรับมีความนาเชื่อถือ และสามารถตรวจสอบได 2. การเก็บรักษาความปลอดภัยของสารสนเทศ จะตองระบุไวเปนสวนหนึ่งในสัญญาบริการทีส่ ถาบันฯ ทํา กับผูใชบริการ ไมวา จะเปนการบริการประเภทใด ซึ่งสถาบันฯ จะตองถือปฏิบัติโดยเครงครัด ภายใตกรอบแห ง กฎหมาย ขอกําหนด และกฎเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของ 3. มาตรการเกี่ยวกับระบบการจัดการความปลอดภัยสารสนเทศ ถือเปนหนาที่ของบุคลากรสถาบันฯ ทุกคน จะตองปฏิบัติตาม และหากมีการฝาฝน ใหถือวาเปนการกระทําผิดวินัยอยางรายแรง โดยสถาบันฯ ถือเปนหนาที่ที่ จะตองแจงใหบุคลากรสถาบันฯทุกคนทราบถึงความสําคัญของการรักษาความปลอดภัยสารสนเทศดังกลาว รวมทัง้ หาก มีการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่เกี่ยวของกับมาตรการนี้ สถาบันฯจะตองแจงแกบุคลากรสถาบันฯ ทุกคนทราบ ทั้งนี้เพื่อใหบรรลุถึงนโยบายในการจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยของสารสนเทศ ใหไดคุณภาพจึงไดมีการ กําหนดวัตถุประสงคเรื่องความปลอดภัยของสารสนเทศไวดังนี้ 1. จะตองไมมีการรั่วไหล หรือการสูญหายของขอมูลของผูใชบริการ โดยสถาบันฯ มีหนา ที่ในการจัดเก็บ และรักษาขอมูลของผูใชบริการภายใตกรอบแหงกฎหมาย ขอกําหนด และกฎเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของตามแบบและ วิธีการที่ไดทําความตกลงรวมกันไว ระหวางสถาบันฯ กับผูใชบริการ รวมทั้งการไมเปดเผยขอมูลใดๆ ทีม่ ไิ ดรบั ความ ยินยอมจากผูใชบริการสูสาธารณชน หรือบุคคลภายนอก 2. เรื่องมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยของสารสนเทศของสถาบันฯ สถาบันฯ จะตองมีการ ตรวจสอบขั้นตอน หรือวิธีการปฏิบัติอันเกี่ยวกับการจัดการความปลอดภัยของสารสนเทศอยูตลอดเวลา และมีการ บันทึกไวเปนลายลักษณอักษร 3. สถาบันฯ จะตองจัดทํา เอกสารที่ระบุไวอยา งชัดเจนวา บุค ลากรของสถาบันกัลยาณทุกคนจะไมนํา ขอมูลของสถาบันฯหรือขอมูลของผูใชบริการไปเปดเผยแกบุคคลภายนอกหรือที่ใดๆ หากมิไดรับความยินยอมจาก สถาบันฯ หรือผูใชบริการ 4. กําหนดใหผูมีสิทธิเทานั้นที่จะเขาถึงขอมูลไดทุกเมื่อที่ตองการ ตองมีการควบคุมไมใหระบบลมเหลว มี การสํารองขอมูล เพื่อใหระบบมีสมรรถภาพทํางานไดอยางตอเนื่อง 5. ระบบสารสนเทศได รับ การดู แ ล ให มีค วามถู ก ตอ ง ครบถว น สมบู ร ณ และควบคุ มไม ใ หมี ก าร เปลี่ยนแปลงแกไขโดยผูไมมีอํานาจ รายงานประจําป 2554
13
รายงานประจําป 2554
14
รายงานประจําป 2554
15
รายงานประจําป 2554
16
รายงานประจําป 2554
17
สวนที่ 2 ผลการดําเนินงานดานบริหาร การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารงบประมาณ
รายงานประจําป 2554
18
2.1 การบริหารทรัพยากรบุคคล อัตรากําลังและจํานวนบุคลากรที่ปฏิบัตงิ านจริง สถาบันกัลยาณราชนครินทร มีอัตรากําลังที่ปฏิบัติงานจริง 287 คน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2554) เปน ขาราชการ 136 คน (รอยละ 47.39) ลูกจางประจํา 68 คน (รอยละ 23.69) พนักงานราชการ 10 คน (รอยละ 3.48) และลูกจางชั่วคราว 73 คน (รอยละ 25.44)
ตารางที่ 1 อัตรากําลังสถาบันกัลยาณราชนครินทร ป 2554 ตําแหนง
อัตรากําลัง (คน) ตําแหนงตามกรอบ ปฏิบัติงานจริง ยืมตัวมา ยืมตัวไป 1. ขาราชการ 147 136 5 5 2. พนักงานราชการ 12 10 3. ลูกจางประจํา 68 68 4. ลูกจางชัว่ คราว 92 73 12 160
147
140
ลาศึกษา 3 -
อัตราวาง 8 2 7
136
120 92
100 68
80
68
73
60 40 12
20
10
0
ขาราชการ
พนักงานราชการ ตําแหนงตามกรอบ
ลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราว ปฏิบัติงานจริง
แผนภูมิที่ 1 : อัตรากําลังบุคลากรสถาบันกัลยาณราชนครินทร ประจําป 2554
รายงานประจําป 2554
19
รายงานประจําป 2554 ขาราชการตําแหนงอื่น (27) พยาบาลวิชาชีพ (81)
นายแพทย (7)
เภสัชกร (4)
นักสังคมสงเคราะห (4) พยาบาลเทคนิค (4)
นักจิตวิทยาคลินิก (4)
นักกิจกรรมบําบัด (2)
ทันตแพทย (2)
นักจิต วิทยา (1) นักวิชาการสาธารณสุข (1)
90 80 70 60 50 40 30 20 10 0
แผนภูมิที่ 2 : อัตรากําลังจริงขาราชการที่ปฏิบตั ิงานในสถาบันกัลยาณราชนครินทร ประจําป 2554
20
ตารางที่ 2 ขอมูลบุคลากรและอัตรกําลัง ป 2554 ประเภทบุ ค ลากร/ตํา แหน ง ข า ราชการ 1. ผูอํานวยการเฉพาะดาน 2. นายแพทย 3. ทันตแพทย 4. เภสัชกร 5. พยาบาลวิชาชีพ 6. นักจิตวิทยา 7. นักจิตวิทยาคลินกิ 8. นักสังคมสงเคราะห 9. นักวิชาการสาธารณสุข 10. นักกิจกรรมบําบัด 11. นักโภชนาการ 12. นักจัดการงานทั่วไป 13. นักวิชาการการเงินและบัญชี 14. นักวิชาการสถิติ 15. นักวิเคราะหนโยบายและแผน 16. พยาบาลเทคนิค 17. จพง.ทันตสาธารณสุข 18. จพง.เภสัชกรรม 19. จพง.ธุรการ 20. จพง.การเงินและบัญชี 21. เจาพนักงานพัสดุ 22. โภชนากร 23. จพง.วิทยาศาสตรการแพทย 24. จพง.รังสีการแพทย 25. จพง.อาชีวบําบัด 26. จพง.โสตทัศนศึกษา 27. จพง.เวชสถิติ รวม
รายงานประจําป 2554
จํา นวน ตํา แหน ง ตามกรอบ
ปฏิ บั ติ ง าน จริ ง
ประเภทบุ ค ลากร/ตํา แหน ง
จํา นวน ตํา แหน ง ตามกรอบ
ปฏิ บั ติ ง าน จริ ง
1. นักวิชาการคอมพิวเตอร 2. นักสังคมสงเคราะห 3. นักจิตวิทยา 4. นักอาชีวบําบัด 5. นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 6. นักวิชาการการเงินและบัญชี 7. ผูช วยเหลือคนไข 8. เจาหนาทีบ่ ริหารงานทัว่ ไป 9. อื่นๆ
1 1 3 1 1 1 2 1 1
1 1 2 1 1 1 2 1 -
รวม
12
10
พนั ก งานราชการ 1 13 2 4 83 1 4 3 0 2 1 3 2 1 1 4 2 3 3 3 2 1 2 1 2 1 2 147
1
7 2 4 81 1 3 3 1 2 0 3 1 1 1 4 2 3 3 3 2 1 3 0 2 0 2 136
21
ตารางที่ 2 ขอมูลบุคลากรและอัตรกําลัง ป 2554 (ตอ) ประเภทบุ ค ลากร/ตํา แหน ง
จํา นวน ตํา แหน ง ตามกรอบ
ปฏิ บั ติ ง าน จริ ง
ลู ก จ า งประจํา
ประเภทบุ ค ลากร/ตํา แหน ง
จํา นวน ตํา แหน ง ตามกรอบ
ปฏิ บั ติ ง าน จริ ง
ลู ก จ า งชั่ ว คราว
1. พนักงานพิมพ ส.3 2. พนักงานพิมพ ส.2 3. พนักงานพิมพ ส.1 4. พนักงานชวยเหลือคนไข ส.1 5. ชางตอทอ ช.1 6. พนักงานรับโทรศัพท บ.1 7. พนักงานชวยการพยาบาล ส.1 8. ผูช ว ยชางทัว่ ไป ช.1
1 3 3 55 1 1 3 1
1 3 3 55 1 1 3 1
1. นักจิตวิทยา 2. นักสังคมสงเคราะห 3. พยาบาลวิชาชีพ 4. นักการแพทยแผนไทย 5. นักวิชาการคอมพิวเตอร 6. นักวิชาการโสตทัศนศึกษา 7. จ.วิเคราะหนโยบายและแผน 8. นักประชาสัมพันธ 9. นักวิชาการเงินและบัญชี 10. นักจัดการงานทั่วไป 11. จพง.การเงินและบัญชี 12. เจาหนาทีบ่ ริหารงานทัว่ ไป 13. เจาหนาทีค่ อมพิวเตอร 14. เจาหนาทีห่ องสมุด 15. ชางไฟฟา 16. เจาพนักงานธุรการ 17. เจาพนักงานพัสดุ 18. เจาหนาทีบ่ ันทึกขอมูล 19. พนักงานสถิติ 20. พนักงานอาชีวบําบัด 21. พนักงานขับรถยนต 22. ผูช วยเหลือคนไข 23. พนักงานประจําตึก 24. อื่นๆ
2 2 2 1 1 1 2 1 1 8 4 3 4 1 1 14 2 2 1 2 6 21 9 1
2 2 1 1 1 1 1 7 4 1 1 1 11 1 2 1 2 4 20 9 -
รวม
68
68
รวม
92
73
รายงานประจําป 2554
22
2.2 การบริหารงบประมาณ 2.2.1 รายรับ-รายจาย งบประมาณ ประจําป 2554 รายการ
งบประมาณที่ไดรับ (บาท)
รายจาย (บาท)
1. หมวดเงินเดือนและคาจางประจํา
48,231,696.00
47,618,258.33
2. หมวดคาใชสอยตอบแทนและวัสดุ
27,777,202.20
27,715,962.53
625,000.00
625,000.00
4. เงินเดือนพนักงานราชการ
1,599,084.00
1,484,892.00
5. ที่ดินและสิง่ กอสราง
3,563,100.00
3,563,100.00
6. หมวดเงินอุดหนุน
-
-
7. หมวดรายจายอื่น
-
-
81,796,082.20
81,007,212.86
3. หมวดคาสาธารณูปโภค
รวมทุกหมวด
หมายเหตุ : ยอดคงเหลือรวมทุกหมวดเปนหนี้สินผูกพันที่ตอ งนําไปเบิกจายในปงบประมาณ 2555
แผนภูมิที่ 3 : รายรับ-รายจายงบประมาณ ประจําป 2554 (จําแนกตามรายการ)
รายงานประจําป 2554
23
2.2.2 รายรับเงินบํารุง ปงบประมาณ 2554
รายการ
จํานวนเงิน (บาท)
1. คายา 2. คาหอง คาอาหาร - คาหองพิเศษ - คาอาหารพิเศษ - คาหองสามัญ - คาอาหารสามัญ 3. คาบริการทางทันตกรรม 4. คาธรรมเนียมรักษาพยาบาล 5. คารักษาพยาบาลเบิกตนสังกัด 6. คารักษาบัตรประกันสุขภาพถวนหนา 7. คารักษาพยาบาลประกันสังคม 8. รายรับอืน่ ๆ - จําหนายผลิตภัณฑอาชีวบําบัด - เงินบริจาค - ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร - อื่น ๆ
รวมรายรับ
40.00 30.00
รอยละ
20,109,792.29
22.6721
2,871,837.00 912,225.00 113,300.00 32,500.00 918,340.00 2,902,525.24 28,138,286.35 17,735,837.70 1,028,112.00
3.2378 1.0285 0.1277 0.0366 1.0353 3.2723 31.7235 19.9956 1.1591
3,450.00 42,910.66 11,340.00 13,878,053.15
0.0039 0.0484 0.0128 15.6463
88,698,509.39
100.00
31.73 22.67
20.00
15.71
20.00 10.00
4.42
1.04 3.27
1.16
0.00
คายา คาธรรมเนียมรักษาพยาบาล คารักษาพยาบาลประกันสังคม
คาหอง คาอาหาร คารักษาพยาบาลเบิกตนสังกัด รายรับอื่น ๆ
คาบริการทางทันตกรรม คารักษาบัตรประกันสุขภาพถวนหนา
แผนภูมิที่ 4 : รายรับเงินบํารุง ประจําปงบประมาณ 2554 (จําแนกตามรายการ) รายงานประจําป 2554
24
2.2.3 รายจายเงินบํารุง ปงบประมาณ 2554 รายการ
จํานวนเงิน (บาท)
1. คาจางเงินบํารุง 2. คาตอบแทน 3. คาใชสอย 4. คาวัสดุ 5. คาสาธารณูปโภค - คาไฟฟา - คาน้ําประปา - คาโทรศัพท - คาไปรษณีย - คาโทรศัพทมือถือ - คาอินเตอรเน็ต/ คา UBC 6. คาครุภัณฑที่ดนิ สิ่งกอสราง 7. คาใชจายอืน่ ๆ - เงินอุดหนุน
รวมรายจาย
30.00
9.3571 16.3000 23.5228 36.8666
2,072,886.98 229,402.19 347,097.75 95,833.00 110,135.15 335,497.98 8,646,189.33
2.4200 0.2678 0.4052 0.1119 0.1286 0.3917 10.0941
115,000.00
0.1343
85,655,634.09
100.00
23.52 16.30 10.09
9.36
10.00 0.00 คาจางเงินบํารุง คาวัสดุ คาใชจายอื่น ๆ
8,014,846.64 13,961,900.00 20,148,561.34 31,578,283.73
36.87
40.00
20.00
รอยละ
3.73 คาตอบแทน คาสาธารณูปโภค
0.13 คาใชสอย คาครุภัณฑที่ดินสิ่งกอสราง
แผนภูมิที่ 5 : รายจายเงินบํารุง ประจําปงบประมาณ 2554 (จําแนกตามรายการ) รายงานประจําป 2554
25
รายการเงินบํารุง ประจําปงบประมาณ 2554 (สถานภาพเงินบํารุงของสถาบันกัลยาณราชนครินทร ณ วันที่ 30 กันยายน 2554)
รายการ ยอดยกมาจากป 2553
จํานวนเงิน (บาท) 8,729,562.07
รายรับเงินบํารุง
88,698,509.39
รวมเปนเงิน ป 2554
97,428,071.46
รายจายเงินบํารุง ป 2554
85,745,633.49
เงินบํารุงคงเหลือ
11,682,437.97
รายงานประจําป 2554
26
สวนที่ 3 ผลการดําเนินงานดานบริการ
รายงานประจําป 2554
การใหบริการรักษา การใหบริการผูปวยนอกและผูปวยใน การใหบริการนิติจิตเวช การตรวจ วินิจฉัย บําบัดรักษา งานบําบัดรักษาผูติดสารเสพติด การฟนฟูสมรรถภาพผูปวย การสงเสริมปองกัน
27
3.1 การใหบริการรักษา กิจกรรม
ลําดับ 1
2
3
4
5 6 7 8
จํานวนเตียงทัง้ หมด 1.1 จํานวนเตียงผูปวยตอแพทย 1.2 จํานวนเตียงผูปวยตอพยาบาลวิชาชีพ อัตราการครองเตียง - 200 เตียง (ปจจุบัน) - 330 เตียง (ตามกรอบ) จํานวนวันนอนเฉลี่ยทีผ่ ูปว ยอยูร ักษาใน รพ. 3.1 ผูป วยนิติจิตเวช 3.2 ผูปวยสงรักษาตามมาตรการความปลอดภัย (ป.อาญา ม.48) 3.3 ผูป วยจิตเวชทัว่ ไป 3.4 ผูป วยสารเสพติด 3.5 ผูป วยสุรา จํานวนผูปว ยนอกรวมทัง้ สิ้น 4.1 จํานวนผูปว ยนอกใหม 4.2 จํานวนผูปว ยนอกเกา จํานวนผูปว ยนอกเฉลี่ยตอวัน (วันทําการ) จํานวนผูปว ยในรวมทั้งสิ้น (คน) จํานวนผูปว ยในรวมทั้งสิ้น (ราย) จํานวนผูปว ยในเฉลี่ยตอวัน จํานวนผูปว ยรับไวรักษาในโรงพยาบาล 8.1 ผูป วยนิติจิตเวช 8.2 ผูป วยจิตเวชทัว่ ไป 8.3 ผูป วยติดสารเสพติด 8.4 ผูป วยติดสุรา 8.5 ผูปวยทางกาย
รายงานประจําป 2554
หนวยนับ เตียง เตียง/คน เตียง/คน
ผลการ Baseline ปฏิบัตงิ านป ป 2553 2554 330 55 47 4 4
อัตรา อัตรา
69.12 41.89
79.88 48.41
วัน วัน
90 933
68 332
วัน วัน วัน ราย คน ราย ราย/วัน คน ราย คน ราย ราย ราย ราย ราย ราย
37 32 30 40,799 3,839 36,960 173 2,884 50,457 139 1,234 115 939 104 75 1
39 30 28 43,199 4,062 39,137 178 3,284 58,313 160 1,377 150 935 183 109 0 28
3.1 การใหบริการรักษา (ตอ) ลําดับ
กิจกรรม
หนวยนับ
Baseline ป 2553
9
จํานวนผูปว ยจําหนายรวมทั้งสิ้น 9.1 ผูป วยนิติจิตเวช 9.1.1 จํ า หน า ยกลั บ แหล ง นํ า ส ง ตามขั้ น ตอนของ กระบวนการยุติธรรม 9.1.2 ผูป วยกลับเอง 9.1.3 สงไปรักษาตอที่โรงพยาบาลอื่น 9.1.4 ญาติรบั กลับ 9.1.5 สงตอสถานสงเคราะห 9.1.6 นักสังคมสงเคราะหสง กลับ 9.1.7 สถานทูตรับกลับ 9.1.8 หลบหนี 9.1.9 ถึงแกกรรม 9.2 ผูป วยจิตเวชทัว่ ไปและติดสารเสพติด 9.2.1 ญาติรบั กลับ 9.2.2 ผูป วยกลับเอง 9.2.3 สงไปรักษาตอที่โรงพยาบาลอื่น 9.2.4 สงตอสถานสงเคราะห 9.2.5 นักสังคมสงเคราะหสง กลับ 9.2.6 สถานทูตรับกลับ 9.2.7 หลบหนี 9.2.8 ถึงแกกรรม 9.2.9 เจาหนาทีผ่ ูนาํ สง จํานวนผูปว ยระบบสงตอ 10.1 รับมา 10.2 สงไป 10.3 รับในรายผูปว ยนิติจิตเวช
ราย ราย ราย
1,224 110 80
ผลการ ปฏิบัติงานป 2554 1,347 145 102
ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย
2 0 24 1 2 0 1 0 1,114 1,051 14 10 7 26 2 1 0 3
1 0 38 6 0 0 0 0 1,202 1,133 8 11 20 10 0 1 0 1
ราย ราย ราย
115
150
10
รายงานประจําป 2554
29
3.2 การใหบริการผูป วยนอกและผูปว ยใน แผนภูมิที่ 6 : ผลผลิตการใหบริการผูป วยนอกและผูป วยใน ปงบประมาณ 2550-2554 40,575
45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0
40,799
40,113
ป 2551
ป 2552
ป 2553
ผูปวยนอก
4,062
2,884
3,088
2,823
39,137
ป 2554
ผูปวยใน
แผนภูมิที่ 7 : ผลผลิตการใหบริการผูป วยนอกใหม (new case) ปงบประมาณ 2550-2554 5,000
4,496
4,393
3,839
4,000
4,062
3,000 2,000
1,083
1,000 0 ป 2550
รายงานประจําป 2554
ป 2551
ป 2552
ป 2553
ป 2554
30
ผูป วยนอกจําแนกตามผลการวินิจฉัยโรค 10 ลําดับโรคแรก ปงบประมาณ 2554 ICD10 F20 F41 F32 F31 F06 F25 F43 F10 F23 F15
DIAGNOSIS SCHIZOPHRENIA (1) OTHER ANXIETY DISORDERS (2) DEPRESSIVE EPISODE (3) BIPOLAR AFFECTIVE DISORDER (4) OTHER MENTAL DISORDEVS DUE TO BRAIN DAMAGE AND DYSFUNCTIONAL AND TO PHYSICAL DISEASE (5) SCHIZOAFFECTIVE DISORDERS(6) TEACTION TO SEVERE STRESS,AND ADJUSTMENT DISORDERS (7) MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USEAND OF ALCOHOL(8) ACUTE TRANSIENT PSYCHOTIC (9) MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE To use of other stimulants including caffeine (10) (ยอดผูปว ยนอกรวมทั้งหมด 43,199 ราย)
รายงานประจําป 2554
SEX MALE FEMALE 7,378 3,796 1,284 2,073 948 2,335 936 1,629 879 523
TOTAL (ราย)
%
11,174 3,357 3,283 2,565 1,402
25.86 7.78 7.59 5.93 3.24
614 342
699 699
1,313 1,041
3.03 2.40
917 439 647
93 553 88
1,016 989 735
2.33 2.28 1.70
31
ผูป วยนอกใหมจําแนกตามผลการวินิจฉัยโรค 10 ลําดับโรคแรก ปงบประมาณ 2554 ICD10
DIAGNOSIS
F20 F32 F41
SCHIZOPHRENIA (1) DEPRESSIVE EPISODE (2) OTHER ANXIETY DISORDERS (3) TEACTION TO SEVERE STRESS , AND ADJUSTMENT DISORDERS (4) ACUTE AND TRANSIENT PSYCHOTIC DISORDERS (5) MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USE OF OTHER STIMULANTS , INCLUDING CAFFEINE (6) MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USE OF ALCOHOL (7) OTHER MENTAL DISORDEVS DUE TO BRAIN DAMAGE AND DYSFUNCTIONAL AND TO PHYSICAL DISEASE (8) BIPOLAR AFFECTIVE DISORDER (9) MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO MULTIPLE DRUG USE AND USE OF OTHER PSYCHOACTIVE SUBSTANCES (10) Nonorganic sleep disorders (10) (ยอดผูปว ยนอกใหมรวมทั้งหมด 4,062 ราย)
F43 F23 F15 F10 F06 F31 F19
F51
รายงานประจําป 2554
SEX MALE FEMALE 486 259 110 214 93 177 92 141
TOTAL (ราย)
%
745 324 270 233
18.34 7.97 6.64 5.73
93
99
192
4.72
149
23
172
4.23
142
12
154
3.79
88
40
128
3.15
52 86
72 11
124 97
3.05 2.38
46
51
97
2.38
32
ผูปวยจิตเวชทัว่ ไปและนิติจิตเวชที่จําหนาย จําแนกตามผลการวินิจฉัย 10 ลําดับโรคแรก ปงบประมาณ 2554 ICD10 F20 F31 F10 F15
F25 F19
F23 F06
F32 F18
DIAGNOSIS
SEX MALE FEMALE 423 165 53 68 102 7
SCHIZOPHRENIA (1) BIPOLAR AFFECTIVE DISORDER (2) MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USE OF ALCOHOL (3) MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE 85 TO USE OF OTHER STIMULANTS , INCLUDING CAFFEINE (4) SCHIZOAFFECTIVE DISORDERS (5) 35 MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE 59 TO MULTIPLE DRUG USE AND USE OF OTHER PSYCHOACTIVE SUBSTANCES (5) ACUTE AND TRANSIENT PSYCHOTIC 32 DISORDERS (7) OTHER MENTAL DISORDERS DUE TO BRAIN 53 DAMAGE AND DYSFUNCTIONAL AND TO PHYSICAL DISEASE (8) DEPRESSIVE EPISODE (9) 20 MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE 18 TO USE OF volatile solvents (10) (รวมผูป ว ยจิตเวชและนิติจิตเวชที่จําหนาย ทั้งหมด 1,347 ราย)
รายงานประจําป 2554
TOTAL
%
588 121 109
43.65 8.98 8.09
11
96
7.13
35 11
70 70
5.20 5.20
34
66
4.90
9
62
4.60
31 1
51 19
3.79 1.41
33
3.3 การให บ ริ ก ารนิ ติ จิ ต เวช ลําดับ
กิจกรรม
หนวยนับ
1
ขอมูลทั่วไปของการใหบริการนิตจิ ิตเวช 1.1 จํานวนผูปว ยนอกทีม่ ารับบริการ 1.1.1 ผูป วยนอกใหม 1.1.2 ผูป วยนอกเกา 1.2 จํานวนผูปว ยนอกที่ใหบริการในเรือนจํา 1.2.1 ผูป วยนอกใหม 1.2.3 ผูป วยนอกเกา 1.3 จํานวนผูป วยรับไวในโรงพยาบาลจําแนกตามแหลงนําสง 1.3.1 ศาล 1.3.2 เรือนจํา 1.3.3 สถานีตาํ รวจนครบาล 1.3.4 สถานีตาํ รวจภูธร 1.3.5 สํานักงานตรวจคนเขาเมือง 1.3.6 สํานักงานคุมประพฤติ 1.3.7 สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน 1.3.8 ญาติ 1.3.9 อื่น ๆ 1.4 จํานวนผูปวยรับไวในโรงพยาบาล จําแนกตามประเภทคดี 1.4.1 ความผิดตอชีวิต 1.4.2 พรบ.ฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาและสารเสพติด 1.4.3 พรบ.คนเขาเมือง 1.4.4 ทํารายรางกาย 1.4.5 ลักทรัพย 1.4.6 พรบ.ยาบา 1.4.7 บุกรุก 1.4.8 พยายามฆา 1.4.9 อื่นๆ
ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย
รายงานประจําป 2554
Baseline ผลการ ป 2553 ปฏิบัตงิ านป 2554 1,504 211 1,293 129 89 40 115 52 3 19 15 7 12 0 2 5 115 21 12 8 14 16 8 3 8 25
1,484 230 1,254 145 85 60 150 67 4 17 23 11 11 5 4 8 150 33 12 17 7 22 13 7 11 28 34
3.3 การใหบริการงานนิติจิตเวช (ตอ) กิจกรรม
ลําดับ
หนวยนับ
1.5 จํ า นวนวั น เฉลี่ ย ตั้ ง แต รั บ ผู ปว ยไว จ นถึง ใหคํ า วิ นิ จ ฉั ย จําแนกตามแหลงนําสง วัน/คน 1.5.1 ศาล วัน/คน 1.5.2 ตํารวจ 2 3 4 5 6 7 8
การใหคําปรึกษาทางนิติจิตเวช ราย การใหปากคําพนักงานสอบสวน ครัง้ การไปเปนพยานศาล ครัง้ รายงานผลการตรวจวินจิ ฉัยโรคผูปว ยคดี ราย เรงรัดและปรับปรุงกระบวนการตรวจวินิจฉัยโรคในผูปวยนิติ จิตเวช 6.1 มีการประชุมวินิจฉัยโรคอยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง ครัง้ /ราย เตรียมความพรอมครอบครัว ชุมชน ของผูปวยนิติจิตเวช ราย เยียวยา/ใหการบํา บัดผูไ ดรับ ผลกระทบจากการกอ คดีข อง ราย ผูปวยนิติจิตเวช ตรวจสภาพจิตผูตองขังรายใหมในเรือนจํา ราย
Baseline ผลการ ป 2553 ปฏิบัตงิ านป 2554 1,465/44 1,566/36 0 32 32 100
91
52/86 43 3
52/86 54 5
96
90
86
สถิ ติ ผู ป ว ยนิ ติ จิ ต เวชรั บ ไว จํา แนกตามแหล ง นํา ส ง ป ง บประมาณ 2550-2554 แหลงนําสง ศาล สถานี ตํา รวจนครบาล สถานี ตํา รวจภู ธ ร สํา นั ก งานตรวจคนเข า เมื อ ง สํา นั ก งานคุ ม ประพฤติ สถานพิ นิ จ และคุ ม ครองเด็ ก และเยาวชน เรื อ นจํา ญาติ อื่ น ๆ REFER รวมรับไวทงั้ ป รายงานประจําป 2554
2550 60 21 24 22 14 4 2 9 4 0 160
ปงบประมาณ 2551 2552 2553 42 58 52 19 12 19 22 20 15 19 15 7 14 19 12 0 6 0 3 1 3 8 3 2 0 0 0 0 0 5 127 134 115
2554 67 17 23 11 11 5 4 4 1 7 150 35
สถิ ติ ผู ป ว ยนิ ติ จิ ต เวชรั บ ไว จํา แนกตามประเภทคดี ปงบประมาณ 2550 - 2554 ประเภทคดี 1. ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงฯ 2. ความผิดเกี่ยวกับศาสนา 3. ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน 4. ความผิดวางเพลิง 5. ความผิดเพลิงไหมโดยประมาท 6. ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและแปลงเอกสาร 7. ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง 8. ขมขืนกระทําชําเรา 9. ขมขืนกระทําชําเราและฆา 10. กระทําอนาจาร 11. พรากผูเยาว 12. คาประเวณี 13. ลักทรัพย 14. วิ่งราวทรัพย 15. กรรโชกทรัพย 16. รีดเอาทรัพย 17. ชิงทรัพย 18. ปลนทรัพย 19. ฉอโกงทรัพย 20. รับของโจร 21. ทําใหเสียทรัพย 22. บุกรุก 23. ยักยอกทรัพย 24. ความผิดตอชีวิต 25. พยายามฆา 26. ทํารายรางกาย 27. พ.ร.บ.อาวุธปน 28. พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ 29. พ.ร.บ.สารระเหย 30. พ.ร.บ.ยาบา 31. พ.ร.บ. คนเขาเมือง 32. ความผิดอันเกิดจากการใชเช็ค 33. พรบ. ฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาและสารเสพติด 34. นิติจิตเวชเพื่อการวินิจฉัย 35. อื่น ๆ รวมรับไวทั้งป
รายงานประจําป 2554
2550
ปงบประมาณ 2551 2552 2553
2554
1 2 1 3 1 2 20 1 4 1 1 9 11 25 12 7 1 4 7 21 14 5 7 160
1 1 1 3 1 2 19 1 4 3 5 19 5 16 1 1 2 20 1 14 5 2 127
3 1 1 1 1 2 22 5 5 2 2 2 7 33 11 7 1 13 17 12 1 1 150
2 5 13 3 6 1 4 7 24 6 14 2 1 2 9 15 18 2 134
2 2 2 1 2 3 2 16 2 2 2 3 21 8 14 1 8 8 12 4 115
36
3.4 การตรวจวินิจฉัย บําบัด รักษา ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8
9 10 11 12 13 14
15
กิจกรรม การตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบตั กิ าร การตรวจทางรังสี การตรวจคลืน่ สมอง การตรวจคลืน่ หัวใจ การบําบัดรักษาทางยา - รับประทานยา - ฉีด ยา การบําบัดรักษาดวยไฟฟา การบริการแพทยทางเลือก การใหบริการทางการพยาบาล - กลุมสุขศึกษา - กลุมนันทนาการ - กลุมเตรียมตอสูค ดีโดยพยาบาล - กลุมพัฒนาตนเองเพื่อความพรอมกลับไปสูสังคม - กลุมเสริมแรงจูงใจ - กลุมชุมชนบําบัด - กลุมออกกําลังกาย การตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยาคลินิก การบําบัดทางจิตวิทยา ครอบครัวบําบัด การใหคําปรึกษาทางจิตวิทยา การวินิจฉัยทางสังคม การบําบัดทางสังคมและใหการปรึกษา - รายบุคคล - แบบกลุม - แบบครอบครัว - การใหคําปรึกษาครอบครัว - การคัดกรองผูปวยเพือ่ ใหบริการรักษาผูปวย - การรักษาทางกาย - การปฏิบตั ิเพื่อการบําบัดทางจิต การบําบัดรักษาทางทันตกรรม - บริการผูป วยในทันตกรรม - บริการรักษาผูปวยนอกทันตกรรม - งานสงเสริมและปองกัน
รายงานประจําป 2554
หนวยนับ
Baseline ป 2553
ผลการ ปฏิบตั ิงานป 2554
ตัวอยาง ครั้ง/ราย ราย ราย
25,179 374/333 0 0
415/380 0 61
ครั้ง ครั้ง ราย ราย
178,298 8,862 998 6,424
283 8,885
ครั้ง/ราย ครั้ง/ราย ครั้ง/ราย ครั้ง/ราย ครั้ง/ราย ครั้ง/ราย ครั้ง/ราย ราย ราย ราย ราย ราย
3/764 85/1,391 69/437 0 75/758 48/1,118 425/33,528 1,244 483 0 388 1,424
1,349 449 9 521 1,919
ราย ครั้ง/ราย ครั้ง/ราย ราย ราย ราย ครั้ง/ราย
378 88/252 0 89/228 321,009 454/504 127/4,780
ราย/งาน ราย/งาน ครั้ง/คน
696/696 1,732/1,734 4,157/4,291 6,892/7,077 38/404 289/1,470
820 45/495 4/9
37
3.5 งานบํา บั ด รั ก ษาผู ติ ด สารเสพติ ด กิจกรรม
ลําดับ
1 2
3
การบําบัดรักษาผูติดสารเสพติด-วัตถุออกฤทธิ์ 1.1 แบบผูป วยนอก 1.2 แบบผูป วยใน ยาเสพติด-วัตถุออกฤทธิ์หลักทีผ่ ูปว ยเสพติด 2.1 ยาบา 2.2 เฮโรอีน 2.3 กัญชา 2.4 สุรา/แอลกอฮอล 2.5 อื่นๆ (Multiple drug) การใหบริการจิตสังคมบําบัดสําหรับผูติดยาบา (Matrix Program) - แบบผูป ว ยนอก - แบบผูป ว ยใน
รายงานประจําป 2554
หนวยนับ
Baseline ป 2553
ผลการ ปฏิบตั ิงานป 2554
ราย ราย
618 186
766 296
ราย ราย ราย ราย ราย
582 21 97 918 409
ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง
71/205 227/780
39/129 52/415
38
3.6 การฟ น ฟู ส มรรถภาพผู ป ว ย กิจกรรม
ลําดับ
1 2 3
4
5
การประเมินสมรรถภาพผูปว ย การฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย - อาชีวบําบัด การฟนฟูสมรรถภาพทางสังคม - บันเทิงบําบัด - ศิลปกรรมบําบัด - ทักษะการใชชวี ิต/อยูรว มกันภายในบาน - ทักษะทางสังคม - ทักษะการพักผอน - ทักษะการใชชวี ิตในสังคม การฟนฟูสมรรถภาพทางอาชีพ - ทักษะพื้นฐาน - เกษตรกรรมบําบัด - อุตสาหกรรมบําบัด/หัตกรรม - อาชีพอื่น ๆ กลุมบําบัดอื่น ๆ - กลุม ฟนฟูสมรรถภาพผูป วยนอก - ดนตรีบาํ บัด (วันทูไฟวเปยโน) - ฟนฟูสมรรถภาพทางสังคมและอาชีพแกผูปว ย
รายงานประจําป 2554
หนวยนับ
Baseline ป 2553
ผลการ ปฏิบตั ิงาน ป 2554
ครัง้ /ราย
350/865
349/857
ครัง้ /ราย
246/450
388/1,117
ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย
26/1,440 218/881 108/273 37/311 140/316 0
37/1,081 254/1,348 0 121/502 124/315 2/12
ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย
99/213 242/829 215/429 192/559 565/1,110 776/1,467 55/181 0
ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย ครัง้ /ราย
0 0 244/913
298/302 29/29 264/540
39
3.7 การสงเสริม ปองกัน ผลการ ปฏิบัตงิ าน ป 2554
ลําดับ
กิจกรรม
หนวยนับ
Baseline ป 2553
1 2
เปนวิทยากรเผยแพรความรูสขุ ภาพจิต การใหความรูสุขภาพจิตในงานสาธารณสุขมูลฐาน 2.1 โปสเตอร 2.2 หนังสือคูมอื 2.3 ชุดนิทรรศการ 2.4 วี ดี โอ เทป 2.5 สปอตวิทยุ 2.6 สติกเกอร 2.7 บทความ 2.8 เทปเสียง 2.9 การด/บริการพิมพ/ใบประกาศ/ปกเอกสาร 2.10 ปายเวที/ปานชือ่ /ปายผา/ปายตอนรับ 2.11 ภาพถายกิจกรรม/ภาพผูปวย/พิมพรูปผูปวย 2.12 แผนพับ 2.13 วารสาร 2.14 หนังสือ 2.15 แผนใส การเผยแพรความรูสขุ ภาพจิตทางสือ่ มวลชน 3.1 รายการวิทยุ 3.2 รายการโทรทัศน 3.3 สิ่งพิมพ 3.4 เสียงตามสาย (ภายในโรงพยาบาล) การเผยแพรขาว 4.1 การจัดแถลงขาว 4.2 การเผยแพรขา วผานหนังสือพิมพ/วิทยุ/โทรทัศน/วารสาร กรมสุขภาพจิต จัดนิทรรศการ 5.1 จัดนิทรรศการภายใน รพ. ใหบริการปรึกษาปญหาทางโทรศัพท สัมมนาประจําป ชุมชนและญาติผูปวยเพื่อนชวยเพื่อ น สถาบัน
ราย/ครั้ง
1,028/147
937/195
เรื่อง/แผน เรื่อง/แผน เรื่อง/ชุด เรื่อง/มวน เรื่อง/ชุด เรื่อง/แผน เรื่อง/ชุด เรื่อง/มวน เรื่อง/แผน เรื่อง/แผน ภาพ เรื่อง/แผน เรื่อง/เลม เรื่อง/เลม เรื่อง/เลม
65/319 0 14/20 33/94 0 34/744 32/844 26/26 79/2,009 153/283 4,637 7/1,522 5/6 1/45 1/45
59/177 3/3 19/44 63/120 0 20/550 42/42 0 0 129/318 5,427 82/5,530 0 0 0
3
4
5 6 7
รายงานประจําป 2554
เรื่อง/ครั้ง เรื่อง/ครั้ง เรื่อง/ครั้ง เรื่อง/ครั้ง
252/252 203/203 10/3 0 759/759 81/3,432 4,852/6,928 8,188/8,188
เรื่อง/ครั้ง เรื่อง/ครั้ง
0 86/11
0 86/11
เรื่อง/ครั้ง ราย คน
14/7 11,451 0
18/9 13,675 0
40
สวนที่ 4 ผลการดําเนินงานดานวิชาการ
การสอน/ศึกษา/ดูงาน/ฝกอบรม/ฝกปฏิบัติงาน การพัฒนางานตามแผนงาน/โครงการ งานวิจัยทีเ่ สร็จสมบูรณ งานผลิตและเผยแพรวิชาการ
รายงานประจําป 2554
41
4.1 การสอน/ศึกษา/ดูงาน/ฝกอบรม/ฝกปฏิบตั ิงาน ลําดับ
กิจกรรม
หนวยนับ
1
การสงบุคลลากรไปฝกอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน (ใน ประเทศ) การสงบุคลากรไปฝกอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน (ตางประเทศ) หนวยงานอื่น ๆ ศึกษาดูงาน 3.1 ระดับปริญญาตรี - นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม - นักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 3 วิทยาลัยนานาชาติเซ็นตเทเรซา - นิสิต วท.ม.สาขาสุขภาพจิตชั้นปที่ 2 ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - นักศึกษากิจกรรมบําบัดชั้นปที่ 3 คณะกายภาพบําบัด ม.มหิดล - นักเรียนแพทยทหาร/นักศึกษาแพทยชั้นปที่ 5 วิทยาลัย แพทยศาสตรพระมงกุฏเกลา - นักรียนพยาบาลกองทัพบกชั้นปที่ 3 วิทยาลัยพยาบาล กองทัพบก - นักศึกษาปท ี่ 2 คณะสังคมสงเคราะหศาสตร ม.ธรรมศาสตร รังสิต - นักศึกษาแพทยชั้นปที่ 5 และแพทยประจําบานเวชศาสตร ฉุกเฉินชั้นปที่ 3 คณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล ม.กรุงเทพฯ - นักศึกษาชั้นปที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - นักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต - นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยปทุมธานี - นักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 3 คณะพยาบาลศาสตรเกื้อการุณย ม. กรุงเทพมหานคร - นักศึกษาพยาบาลตํารวจ วิทยาลัยพยาบาลตํารวจ โรงพยาบาล ตํารวจ
ราย/ครั้ง
ผลการปฏิบัตงิ าน ป 2554 662/255
ราย/ครั้ง
2/2
ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง
306/4 23/1 24/1
ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง
35/1 107/2
ราย/ครั้ง
101/1
ราย/ครั้ง
11/1
ราย/ครั้ง
60/3
ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง
71/1 69/1
ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง
72/2 181/2
ราย/ครั้ง
71/2
2 3
รายงานประจําป 2554
42
4.1 การสอน/ศึกษา/ดูงาน/ฝกอบรม/ฝกปฏิบตั ิงาน (ตอ) หนวยนับ
ผลการปฏิบัตงิ าน ป 2554
- นักศึกษาคณะสังคมสงเคราะห มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระ เกียรติ
ราย/ครั้ง
10/1
- นักศึกษารายวิชา ศศพฐ 147 จิตวิทยาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต จากคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ดูงานดาน สุขภาพจิตและจิตเวช
ราย/ครั้ง
60/1
- นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย เขา ศึกษาดูงานระบบเครือขาย LAN ภายในองคกร
ราย/ครั้ง
7/1
ราย/ครั้ง
3/1
ราย/ครั้ง
11/1
ราย/ครั้ง
11/1
ราย/ครั้ง
11/1
ราย/ครั้ง
1/1
ราย/ครั้ง
6/1
ราย/ครั้ง
3/1
ราย/ครั้ง
37/1
กิจกรรม
ลําดับ
3.2 ระดับหลังปริญญาตรี(ปริญญาโท) - นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะสังคมสงเคราะหศาสตร ม. ธรรมศาสตร ทาพระจันทร - นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการ เสพติด เขาศึกษาดูงานเรื่องการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพผูต ิดยาเสพ ติด สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล 3.3 ระดับอื่น ๆ - เจาหนาที่ รพ.อุตรดิตถ ศึกษาดูงานโครงการเพื่อพัฒนา ศักยภาพบุคลากรหอผูปว ยจิตเวช เรื่องการจัดการพฤติกรรม รุนแรง และการจัดการสิง่ แวดลอมเพื่อการบําบัด - กรมสุขภาพจิตศึกษาดูงานหนวยบริการสุขภาพจิตเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลของผูบ ริหารและเจาหนาที่จาก สํานักงบประมาณ - บุคลากรพยาบาลโรงพยาบาลพรศรีมหาโพธิ์เขาศึกษาดูงาน หองสมุดของสถาบัน - บุคลากรสถาบันราชานุกูลเขาศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานบริหารทรัพยากรบุคคล - บุคลากรสถาบันจิตเวชศาสตรสมเด็จเจาพระยา ศึกษาดูงานดาน ทรัพยากรบุคคล - ผูเขาอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลจิต เวชและสุขภาพจิต สถาบันจิตเวชศาสตรสมเด็จเจาพระยา
รายงานประจําป 2554
43
4.1 การสอน/ศึกษา/ดูงาน/ฝกอบรม/ฝกปฏิบตั ิงาน (ตอ) กิจกรรม
ลําดับ
- คณะกรรมการบริหารจัดการความรู รพ.จิตเวชนครสวรรค - บุคลากรจากโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมา - เจาหนาที่ศกึ ษาดูงานระบบบริการผูปว ยนอกและผูปว ยจิตเวช ฉุกเฉิน สถาบันจิตเวชสาสตรสมเด็จเจาพระยา
4
3.4 ตางประเทศ - คณะศึกษาดูงานจาสาธารณรัฐประชาชนจีน Health Bureau of the City of Shihezi เขตปกครองตนเอง ชินเจียง - คณะขาราชการจาก Fujian Provincial Health Bureau สาธารณรัฐประชาชนจีนเขาศึกษาดูงานดานสุขภาพจิตและจิตเวช - คณะขาราชการจากสาธารณรัฐประชาชนจีน Sichuan Provincial Health Bureau การพัฒนาบุคลากร หลักสูตรปริญญาโท - แผน ก - แผน ข การสนับสนุนวิทยากรเพื่อสอนและฝกอบรม 1. การสนับสนุนวิทยากร - ภายในกรมสุขภาพจิต - ภายนอกกรมสุขภาพจิต 2. การฝกอบรม/ฝกปฏิบัติงาน แพทยประจําบาน แพทยใชทุน นักศึกษาพยาบาลและอื่นๆ - นักศึกษาคณะสังคมสงเคราะหศาสตรและสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวยเฉลิมพระเกียรติ เขาฝกปฏิบัตงิ าน - นักศึกษาสาขาจิตวิทยาคลินิก คณะมนุษยศาสตร ม.เชียงใหม เขาฝกปฏิบัติงาน - แพทยประจําบานปที่ 3 สาขาจิตเวชศาสตร เขาฝกปฏิบตั ิงาน - แพทยประจําบานคณะแพทยศาสตรศิรริ าชพยาบาล ม.มหิดล ฝกอบรมศึกษาดูงาน
รายงานประจําป 2554
ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง
ผลการปฏิบัตงิ าน ป 2554 20/1 16/1 15/1
ราย/ครั้ง
4/1
ราย/ครั้ง
8/1
ราย/ครั้ง
6/1
คน คน
5
ราย/ครั้ง ราย/ครั้ง
436/74 592/73
ราย/ชัว่ โมง
3/648
ราย/ชัว่ โมง
3/536
ราย/ชัว่ โมง ราย/ชัว่ โมง
2/88 8/344
หนวยนับ
44
4.1 การสอน/ศึกษา/ดูงาน/ฝกอบรม/ฝกปฏิบตั ิงาน (ตอ) กิจกรรม
หนวยนับ
- แพทยใชทุนปที่ 4 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม เขารับ การฝกปฏิบัตงิ าน - แพทยประจําบานปที่ 3 คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เขาฝกปฏิบัติงาน - สงแพทยประจําบานปที่ 3 เขารับการฝกอบรม สถาบันจิตเวช ศาสตรสมเด็จเจาพระยา - นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ม.ราชภัฏสวนดุสิต เขารับการ ฝกประสบการณวชิ าชีพ - นักศึกษาพยาบาล จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ฝก ภาคปฏิบัติ - สงแพทยประจําบานและแพทยใชทุน เขาศึกษาและฝก ปฏิบัติงาน ภาควิชาจิตเวชศาสตร ม.ขอนแกน - แพทยใชทุนปที่ 4 และแพทยประจําบานปที่ 3 ภาควิชานิติเวช ศาสตร คณะแพทยศาสตร ม.เชียงใหม เขารับการศึกษาดูงาน - แพทยประจําบาน คณะแพทยศาสตร รพ.รามาธิบดี เขารับการ ฝกอบรมและปฏิบัติ - แพทยประจําบานปที่ 5 รพ.พระมงกุฎเกลา เขารับการฝก ปฏิบัติงาน - นักศึกษากิจกรรมบําบัดคณะกายภาพบําบัด ม.มหิดล ศาลายา ฝกปฏิบัตงิ านทางคลินกิ - แพทยใชทุนชั้นปที่ 4 คณะแพทยศาสตร ม.สงขลานครินทร เขา รับการฝกอบรมดาน Forensic psychiatry - นักศึกษาภาควิชาจิตวิทยาชั้นปที่ 4 คณะศิลปศาสตร ม. ธรรมศาสตร ศูนยรังสิต เขารับการฝกงาน - นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร ปวช. จากวิทยาลัยการจัดการเพชร เกษม เขารับการฝกประสบการณวชิ าชีพ - นักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร ม.ราชภัฎสวนดุสิต เขารับการฝกปฏิบัติงาน
ราย/ชัว่ โมง
ผลการปฏิบัตงิ าน ป 2554 3/224
ราย/ชัว่ โมง
9/280
ราย/ชัว่ โมง
4/432
ราย/ชัว่ โมง
1/656
ราย/ชัว่ โมง
82/609
ราย/ชัว่ โมง
3/256
ราย/ชัว่ โมง
4/80
ราย/ชัว่ โมง
7/600
ราย/ชัว่ โมง
3/160
ราย/ชัว่ โมง
36/736
ราย/ชัว่ โมง
2/80
ราย/ชัว่ โมง
3/336
ราย/ชัว่ โมง
2/408
ราย/ชัว่ โมง
32/24
ลําดับ
รายงานประจําป 2554
45
4.2 การพัฒนางานตามแผนงาน/โครงการ ในปงบประมาณ 2554 สถาบันกัล ยาณราชนครินทร ไดมีการดํา เนิน งานพัฒ นาตามแผนงาน/ โครงการที่สําคัญ ดังนี้
การพัฒนางานดานวิกฤตสุขภาพจิต ศูนยวิก ฤตสุ ข ภาพจิต สถาบัน กัล ยาณ ร าชนครินทร ได ดํา เนินโครงการพั ฒ นาระบบการบริก าร ชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤตสุขภาพจิต (ตอเนื่อง) : พื้นที่กรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ 2554 ดังนี้ 1. โครงการสายดวนสุขภาพจิต 1.1 กิจกรรมการใหบริการปรึกษาปญหาสุขภาพจิตและภาวะวิกฤตสุขภาพจิตทางโทรศัพท ในปงบประมาณ 2554 มีผูรับบริการใหคําปรึกษาปญหาสุขภาพจิตและภาวะวิกฤตทางโทรศัพท หมายเลข 1323 ตั้งแตเดือนตุล าคม 2553 ถึงเดือ นกันยายน 2554 จํา นวนทั้งสิ้น 190,740 ราย จํา แนกตาม ประเภทการใชบริการไดดัง ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จํานวนผูใชบริการปรึกษาปญหาสุขภาพจิตและภาวะวิกฤตทางโทรศัพท จํา แนกตาม ประเด็นปญหา ตั้งแตเดือนตุลาคม 2553 ถึงเดือนกันยายน 2554 ประเภท จํานวน รอยละ 1. โรคทางจิตเวช 8,371 4.39 2. ปญหาสุขภาพจิต 8,979 4.71 3. ปญหาครอบครัว 4,629 2.43 4. ปญหาพฤติกรรม 2,523 1.32 5. ปญหาความรัก 4,164 2.18 6. ปญหาสารเสพติด 1,719 0.90 7. ปญหาการตั้งครรภไมพรอม 3,261 1.71 8. ปญหาทางเพศ 5,181 2.72 9. ปญหาปวยทางกาย 1,755 0.92 10. ปญหาการเรียน 634 0.33 11. ปญหาการทํางาน 1,103 0.58 12. ปญหาการปรับตัว 957 0.50 13. ปญหาเศรษฐกิจ 327 0.17 14. ปญหาติดเกมส/อินเตอรเน็ต 185 0.10 15. ปญหาพัฒนาการ 257 0.13 16. ปญหาฆาตัวตาย/ทํารายตนเอง 222 0.12 17. ปญหาถูกทําราย 58 0.03 18. ปญหาการพนัน 77 0.04 19. ปญหาขาดผูดูแล/ถูกทอดทิ้ง 92 0.05 20. สายรบกวน (อื่นๆ) 146,246 76.67 รวมทั้งสิ้น 190,740 100 ที่มา : รายงานการใหบริการคําปรึกษาปญหาสุขภาพจิตทางโทรศัพท หมายเลข 1323 ระหวางเดือนตุลาคม 2553 ถึงเดือน กันยายน 2554 กองแผนงาน กรมสุขภาพจิต
รายงานประจําป 2554
46
1.2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรผูใหบริการปรึกษาสายดวนสุขภาพจิต ประกอบดวย (1) การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การฟนฟูศักยภาพบุคลากรผูใหบริการปรึกษาสายดวนสุขภาพ 1323 จํานวน 2 รุนๆ ละ 40 คน โดยจัดอบรมรุนที่ 1 ระหวางที่ 31 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน 2554 และรุนที่ 2 ระหวางวันที่ 8-10 มิถ ุน ายน 2554 มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาศักยภาพผูใ หบ ริก ารปรึกษาสายดวนสุข ภาพจิตใหส ามารถ ชวยเหลือประชาชนที่มีปญหาสุขภาพจิตอยางทันทวงที มีประสิทธิภาพ จากการอบรมพบวา ผูเขารับการอบรมมีความมั่นใจในการใหการปรึกษาปญหาสุขภาพจิตทางโทรศัพทที่ มีลักษณะเปนมืออาชีพมากขึ้น ไดรับความรูและทักษะในการใหการปรึกษา ทั้งในดานความรูเกี่ยวกับการใหการ ปรึกษาทางโทรศัพท การชวยเหลือผูที่พยายามฆาตัวตาย การสื่อสารที่เนนการเขาใจอารมณความรูส กึ ของผูร บั บริการ ความรูเรื่องการชวยเหลือผูที่มีปญหาการตั้งครรภไมพรอม การคุมกําเนิด และเรื่องเพศ รวมทั้งไดรับทราบเปา หมาย นโยบายของกรมสุขภาพจิตที่ใหความสําคัญเรื่องการใหบริการดังกลาว ซึ่งผูเขารับการอบรมจะสามารถนําความรูที่ ไดไปชวยเหลือประชาชนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งนําไปถายทอดใหกับทีมงานที่ปฏิบัติงาน และพัฒนาการ ทํางานใหดีขึ้น นอกจากนี้ยังรูสึกวามีกําลังใจในการปฏิบัติหนาที่ใหการปรึกษาผานทางสายดวนสุขภาพจิตมากขึ้น และเห็นวาควรที่จะมีการฝกอบรมในลักษณะเชนนี้ตอไปอีก
2. โครงการอบรมวิทยากรหลักสูตรเรื่อง การชว ยเหลือเยียวยาจิตใจผูประสบภาวะวิกฤตสําหรับ ผูปฏิบัติง านสุขภาพจิตสังกัดกรมสุขภาพจิต จํา นวน 2 รุนๆ ละ 30 คน โดยจัดรุนที่ 1 ระหวา งวันที่ 20-22 มิถุนายน 2554 และรุนที่ 2 ระหวา งวันที่ 25-27 กรกฎาคม 2554 มีวัตถุประสงค เพื่อใหผูปฏิบัติงานวิกฤต สุขภาพจิต มีความรูความสามารถในการเปนวิทยากร หลักสูตรการชวยเหลือเยียวยาจิตใจผูประสบภาวะวิกฤต สามารถถา ยทอดความรูใ หแ กเครือขา ย เพื่อนํา ความรูไปชว ยเหลือประชาชนที่ประสบภาวะวิกฤตไดอยา งมี ประสิทธิภาพ จากการฝกอบรม พบวา ผูเขารับการอบรมมีค วามมั่นใจในการเปนวิทยากรถายทอดความรูตาม หลักสูตรการสอนเรื่องการชวยเหลือผูประสบภาวะวิกฤตไดเปนอยางดี ไดรับความรูความเขาใจและมีทักษะในการ ถายทอดในแตละแผนการสอน ไดขอคิด ขอเสนอแนะที่ดีจากเพื่อนๆ และทีมวิทยากร ตลอดจนไดมีการหัดคิด สรางสรรครูปแบบของการถายทอดใหผูเรียนไดเรียนรู นอกจากนี้ทําใหมีความเขาใจเรื่องวิกฤตสุขภาพจิตและการ รายงานประจําป 2554
47
ชวยเหลือผูประสบภัยมากขึ้น และมีขอเสนอแนะใหมีการขยายหลักสูตรการเปนวิทยากรนี้ไปยังเครือขายในพื้นที่ ครอบคลุมทุกภูมิภาค เพือ่ เปาหมายใหประชาชนไดรับความชวยเหลือที่มีประสิทธิภาพตอไป
3. โครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บัติ การ เรื่อ งการชว ยเหลือ ผูที่พ ยายามฆ าตัว ตายสํ า หรั บบุ ค ลากร สาธารณสุข จํานวน 2 รุนๆ ละ 40 คน รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 12-14 มิถุนายน 2554 และรุนที่ 2 ระหวางวันที่ 2022 กรกฎาคม 2554 เพื่อเพิ่มพูนความรู ทักษะในการใหการชวยเหลือผูที่พยายามฆา ตัวตาย และเปนการเตรียม ความพรอมของบุคลากรสาธารณสุขในการชวยเหลือผูที่มีความเสี่ยงหรือพยายามฆาตัวตาย ผลการฝกอบรม พบวาผูเขารับการอบรมสวนใหญมีความรูและทักษะในการใหการชวยเหลือผูท อี่ ยูใ น ภาวะวิกฤต ผูที่พยายามฆาตัวตาย โดยใชหลักและเทคนิคการเจรจาตอรอง มีความรูความเขาใจในการเผชิญกับ ความรูสึกกดดัน เครียด และการเผชิญกับปญหาของผูที่พยายามฆา ตัวตาย เกิดแนวคิดเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยน ความคิดของผูใหการชวยเหลือตอผูที่มีความคิดหรือพยายามฆาตัวตายเกิดความมั่นใจมากขึน้ ในการปฏิบตั งิ านดาน วิกฤตสุขภาพจิต การใหการชวยเหลือบุคคลที่อยูในภาวะวิกฤต หรือผูที่พยายามฆา ตัวตาย ไดเห็นแนวทางการ ปฏิบัติงาน โดยการทํางานเปนทีม อีกทั้งเปนงานที่เรงดวน ผูปฏิบัติตองมีความตั้งใจ มีความพยายาม ตลอดจนมี ความจริงใจในการใหการชวยเหลือ นอกจากนั้นหลักเทคนิค และทักษะที่ไดเรียนรูสามารถนําไปปรับใชกบั ผูป ว ยใน หนวยงานที่มีภาวะซึมเศรา เพื่อเปนการปองกันปญหาการฆาตัวตาย ตลอดจนสามารถประยุกตใชในการปฏิบตั งิ าน เชิงรุกสูชุมชน
รายงานประจําป 2554
48
4. โครงการประชุมปฏิบัติการเพื่อปรับรางแผนเตรียมความพรอมรับมือกับสถานการณวิกฤตดาน สุขภาพจิตสําหรับหนวยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต
5. พัฒนา Web site ศูนยชว ยเหลือผูประสบอุทกภัยดานสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต
รายงานประจําป 2554
49
การพัฒนางานดานนิติจิตเวช ศูนยความเปนเลิศดานนิติจิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทรไดมีการพัฒนางานดานนิติจิตเวช (มิติที่ 1 มิติดานประสิทธิผล) ตามกิจกรรมหลักที่ 1.11 : ระดับความสํา เร็จในการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑมาตรฐาน บริการจิตเวชเฉพาะทาง (Excellence Center) ภายใตโครงการพัฒนาคุณภาพบริการดานนิติจิตเวช ซึ่งสอดคลอง กับนโยบายกรมสุขภาพจิตดานวิชาการคือ การศึกษาวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยีดานนิติจิตเวชที่ผาน เกณฑมาตรฐานสามารถรองรับปญหาสุขภาพจิตและสามารถนําไปใชประโยชนได โดยศูนยความเปนเลิศดานนิตจิ ติ เวช ไดจัดโครงการอบรมและพัฒนางานในปงบประมาณ 2554 ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. โครงการพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจิตเวช 1.1 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทําแผนพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานนิติจิต เวชสํา หรับสายงานหลัก (ตอ เนื่อ ง) ระหวา งวันที่ 27-28 มกราคม 2554 ณ สถาบันกัล ยาณร าชนครินทร กลุมเปาหมาย ทีมสหวิชาชีพสถาบันกัลยาณราชนครินทรจํานวน 40 คน วัตถุประสงค 1) เพื่อเปนการจัดทําแผน พัฒนาบุคลากรเฉพาะทางดานนิติจิตเวชที่ระบุความรู ทักษะและสมรรถนะที่จําเปนตองพัฒนา มีการกําหนดวิธี การเรียนรูและพัฒนา รวมทั้งระยะเวลาที่เหมาะสมในการพัฒนาสําหรับบุคลากรสายงานแพทย พยาบาลวิชาชีพ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห นักกิจกรรมบําบัด ทันตแพทยและเภสัชกร 2) เพื่อเปนแนวทางในการวางแผน พัฒนาบุคลากรรายบุคคลของทีมสหวิชาชีพดานนิติจิตเวชตอไป ผลลัพธ ไดเปนรางแผนพัฒนาความเชี่ยวชาญ เฉพาะทางดานนิติจิตเวชสําหรับสายงานหลักและใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตองเชิงเนื้อหาวิชาการจํานวน 4 ทาน ประกอบดวย แพทย นักจิตวิทยา หัวหนาฝายทรัพยากรบุคคล และผูเชี่ยวชาญจากภายนอก
1.2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใชแบบทดสอบทางประสาทจิตวิทยาในกลุมผูมีปญหา ทางกฎหมาย ระหวางวันที่ 9-11 กุมภาพันธ 2554 ณ สถาบันกัลยาณราชนครินทร กลุมเปาหมาย นักจิตวิทยาใน สังกัดกรมสุขภาพจิต จํานวน 30 คน วัตถุประสงค 1) เพื่อเพิ่มพูนความรูดานระบบประสาทวิทยาแกนักจิตวิทยา คลินิก 2) เพื่อใหนักจิตวิทยาคลินิกสามารถประยุกตใชแบบทดสอบทางประสาทจิตวิทยากับกลุมผูที่มีปญหาทาง กฎหมายทั้งคดีแพง และอาญา ในการวินิจฉัยทางดานนิติจิตเวช 3) เพื่อแลกเปลี่ยนความรูแ ละประสบการณของ นักจิตวิทยาคลินิกในการปฏิบัติงานดานนิติจิตเวช ผลลัพธ นักจิตวิทยาคลินิกที่เขารับการอบรมมีความรูดานระบบ รายงานประจําป 2554
50
ประสาทวิทยา การใชแ บบทดสอบ การวิเคราะหแปลผลที่มีความถูกตองเหมาะสมตรงกับ ความตองการของ ผูรับบริการที่มีปญหาทางกฎหมายทั้งทางแพง และอาญา รวมทั้งมีความมั่นใจในการใชแบบทดสอบทางประสาท จิตวิทยา เพื่อการวินิจฉัยทางดานนิติจิตเวช
1.3 การจัดทําฐานขอมูลและคลังความรูดานนิติจิตเวช กลุมเปา หมาย เปนขอมูล ผูปวยนิติจิต เวชที่เขารับการรักษาในสถาบันกัลยาณราชนครินทร วัตถุประสงค เพื่อจัดทําฐานขอมูลผูปวยนิติจิตเวช ผลลัพธ ไดเปนฐานขอมูลผูปวยนิติจิตเวชที่ระบุขอมูลสวนตัว รายงานผลการตรวจวินิจฉัยทางคลินิก การเตรียมชุมชน การ ฟนฟูสมรรถภาพ 1.4 โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติก ารเพื่อ พัฒนาบุคลากรเรื่อ ง “สังคมสงเคราะหนิติจิตเวช” ระหวา งวั นอังคารที่ 19 เมษายน 2554-วัน พฤหัส บดี ที่ 21 เมษายน 2554 ณ สถาบันกั ล ยาณร าชนครินทร กลุมเปาหมาย นักสังคมสงเคราะหในสังกัดกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จํา นวน 40 คน วัตถุประสงค 1) เพื่อใหความรูดานนิติจิตเวชศาสตร กระบวนการนิติจิตเวช กฎหมายที่เกี่ยวของกับผูปวยจิตเวชและความรับผิด ทางอาญาของผูปวยจิตเวช 2) เพื่อใหนักสังคมสงเคราะหมีค วามรูและทักษะการตรวจวินิจ ฉัยทางนิติจิตเวช ผลลัพธ 1) นักสังคมสงเคราะหมีความรูดานนิติจิตเวชศาสตร กระบวนการทางนิติจิตเวช 2) นักสังคมสงเคราะห มีแนวทางในการดูแล การพิทักษสิทธิ์ผูปวยจิตเวชที่มีปญหาทางดานกฎหมาย 3) เกิดความรวมมือระหวางนักสังคม สงเคราะหในสังกัดกรมสุขภาพจิตในการดูแลผูปวยจิตเวชที่มีปญหาทางดานกฎหมาย
รายงานประจําป 2554
51
1.5 โครงการศึกษาดูงานกระบวนการดูแลผูปว ยนิติจิตเวชของทีมสหวิชาชีพดานนิติจิตเวช “การศึกษาดูงานเชิงเปรียบเทียบ (Bench Marking) ในองคกรระหวางประเทศ” ระหวางวันที่ 27-29 เมษายน 2554 ณ The Center for Mental Health Education, Institute of Mental Health (IMH)/ Woodbridge Hospital ประเทศสิงคโปร กลุมเปาหมาย ผูบริหารและทีมสหวิชาชีพของสถาบันกัล ยาณราชนครินทรที่มีค วาม เกี่ยวของในการใหบริการผูปวยนิติจิตเวชจํา นวน 13 คน วัตถุประสงคเพื่อเสริมสรา งทีมสหวิช าชีพของสถาบัน กัลยารราชนครินทร ใหมี 1) วิสัยทัศน สมรรถนะและขีดความสามารถ ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรขององคกรให เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาองคกรใหเปนเลิศ เฉพาะทางดานนิติจิตเวช 2) สรา งหรือนํา การ เปลี่ยนแปลง และมีความพรอมดานการพัฒนาบริการดานนิติจิตเวชตามแนวทางการพัฒนาองคการใหประสบ ความสําเร็จและเปนรูปธรรม 3) เพื่อเสริมสรางเครือขายระหวางประเทศ อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาองค ความรู เทคโนโลยีดานนิติจิตเวชที่เหมาะสมตอประเทศในอนาคต ผลลัพธ 1) สามารถนําความรูที่ไดรับจากการไป ศึกษาดูงาน มาประยุกตใชในกระบวนการดูแลผูปวยนิติจิตเวช ในดานการสงเสริม รักษา ปองกัน ฟนฟูสมรรถภาพ และเปนการเสริมสราง วิสัยทัศน สมรรถนะและขีดความสามารถ ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรขององคกรใหเกิด ประสิทธิภ าพและประสิทธิผ ลในการพัฒนาองคกรใหเปนเลิศ เฉพาะทางดา นนิติจิตเวช 2) สรางหรือนํา การ เปลี่ยนแปลงและมีค วามพรอมดานการพัฒนาบริการดา นนิติจิตเวชตามแนวทางการพัฒนาองคการใหป ระสบ ความสําเร็จและเปนรูปธรรม 3) ไดเสริมสรางเครือขายระหวางประเทศ อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาองค ความรู เทคโนโลยีดา นนิติจิตเวชที่เหมาะสมตอองคกรในอนาคต
1.6 โครงการ การถายทอดมาตรฐานบริการนิติจิตเวช ระหวา งวันที่ 1-2 กันยายน 2554 ณ โรงพยาบาลสวนสราญรมย จังหวัดสุราษฎรธานี กลุมเปาหมาย บุคลากรศูนยความเปนเลิศ ดานนิติจิตเวชและ ทีมสหวิชาชีพสถาบันกัลยาณราชนครินทรจํานวน 9 คน ทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลสวนสราญรมย จํานวน 12 คน รวมทั้งหมด 21 คน วัตถุประสงค 1) เพื่อเปนการติดตามประเมินผลการใชมาตรฐานระบบบริการนิติจิตเวช 2) เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูการบริการดา นนิติจิตเวชของทีมสหวิช าชีพ ระหวางโรงพยาบาลใหเกิดความ เชื่อมโยงของแตละวิชาชีพและพัฒนาระบบบริการดานนิติจิตเวชใหไดมาตรฐานและเปนแนวทางในการพัฒนาสู ความเปนเลิศเฉพาะทาง ผลลัพธ 1) ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูการบริการดานนิติจิตเวชของทีมสหวิชาชีพ ระหวาง โรงพยาบาลใหเกิ ดความเชื่ อมโยงของแตล ะวิช าชีพ และพัฒ นาระบบบริก ารด า นนิติ จิตเวชใหได มาตรฐาน รายงานประจําป 2554
52
2) ไดแ ลกเปลี่ยนขอคิดเห็น ปญ หา อุป สรรค และหาแนวทางรวมกั นในการพัฒนางานสูความเปนเลิศ เฉพาะ ทางดานนิติจิติเวชในปตอไป
พัฒนางานวิจัยจํานวน 3 เรื่อง 1. เรื่อ ง การศึกษาเกณฑป กติและคุณภาพของแบบทดสอบการแกลง มีค วามบกพรองดา น ความจําในผูปวยจิตเวชไทย 2. เรื่อง ความสัมพันธระหวางเครือขายทางสังคมกับคุณภาพชีวิตของผูปว ยนิติจิตเวช 3. เรื่อง การศึกษาประสิทธิผลของกลุมเตรียมความพรอมในการตอสูคดีสําหรับผูปวยนิติจิตเวช 2. โครงการพัฒนากฎหมายสุขภาพจิต โครงการกฎหมายสุขภาพจิตอยูในแผนงานพัฒนางานดานสาธารณสุข ผลผลิตที่ 2 : ประชาชน ไดรับบริการเฉพาะทางดานสุขภาพจิต กิจกรรมหลักที่ 2.2 : การบริการดานสุขภาพจิตทั้งในและนอกสถานบริการ (มิติที่ 1 มิติดานประสิทธิผล) ในปงบประมาณ 2554 เปนตัวชี้วัดที่หนวยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ตัวชี้วัดที่ 23 : ระดับความสําเร็จของการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 โดยดําเนินการพัฒนางานอยางตอเนื่อง ดังรายละเอียดตอไปนี้ 2.1 การเผยแพร/ถายทอดความรูเรื่อ งพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ใหแกส ถาน บริการทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ศูนยความเปนเลิศดานนิติจิตเวชไดกําหนดใหการดําเนินงานตาม พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ประจําปงบประมาณ 2554 เปนตัวชี้วัดที่หนวยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ไดแก สถาบัน/โรงพยาบาล 17 แหงรวมกับศูนยสุขภาพจิต เขามามีสวนรวมเพื่อเปนแรงขับเคลื่อนการดํา เนินงาน พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ดังนี้ สําหรับสถานบริการสาธารณสุขนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สถานบริการสังกัดสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร จํานวน 68 แหงไดรับ การถายทอดความรูค รบทุกศูนยบ ริการ คิดเปนรอยละ 100 รวมทั้ง เจาหนาที่ตํารวจประจําสถานีตํารวจนครบาลในพื้นที่ใกลเคียงศูนยบริการสาธารณสุข 11 แหง มีผูเขารับการอบรม เปนจํานวน 87 คน เมื่อประเมินความรู พบวาบุค ลากรสังกัดสํา นักอนามัย มีความรูความเขา ใจ ผลการประเมิน ความรู โดยภาพรวม คิดเปนรอยละ 95.20 2.1.1 ประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินงานตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ประจําป รายงานประจําป 2554
53
งบประมาณ 2554 ให แ กผูรับ ผิดชอบของสถาบัน /โรงพยาบาลและศูนยสุข ภาพจิตสังกั ด กรมสุข ภาพจิตทุก หนวยงานและสถานบําบัดรักษา ในวันที่ 8 ธันวาคม 2553 ณ หองประชุมแซฟไฟร ชั้น 3 โรงแรมริชมอนด จังหวัด นนทบุรี มีผูเขารวมประชุมจํานวน 112 คน ผลการดําเนินงาน ผูรับการอบรมมีความรูความเขาใจและมีแนวทางใน การปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีความพึงพอใจตอการถายทอดความรูในภาพรวมระดับมากขึ้นไปคิด เปนรอยละ 95 สามารถนําไปใชประโยชนไดคิดเปนรอยละ 91.6 2.1.2 ประชุมวิชาการบูรณาการงานสุขภาพจิตแหงประเทศไทยครั้งที่ 2 (รวมกับโรงพยาบาลจิต เวชขอนแกนราชนครินทร) ในวันที่ 20-22 กรกฎาคม 2554 ณ โรงแรมเอเชียแอรพอรท จังหวัดปทุมธานี จํานวนผู เขารว มประชุม 85 คนซึ่งรูปแบบแนวทางในการบูรณาการงานสุขภาพจิตในเครือขายครั้งนี้ มีการแลกเปลี่ยน เรียนรูการดําเนินงานรวมกันระหวางหนวยงานโดยเชิญผูชนะเลิศ 3 อันดับจากการเขียนเรื่องเลา พ.ร.บ. สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ผลการดําเนินงานพบวาหนวยงานที่เกี่ยวของไดมาแลกเปลี่ยนประสบการณรวมกัน รวมทั้งไดแนวทาง ปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน 2.1.3 โครงการอบรมความรูเรื่องพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551ใหแกอาจารยในวิทยาลัย/ มหาวิทยาลัยในวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ณ โรงแรมริชมอนด จ.นนทบุรี ผูเขา รับการอบรม จํา นวน 100 คน ผล การดําเนินงานอาจารยมหาวิทยาลัย/วิทยาลัยสามารถถายทอดความรูเรื่องพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑ ใหแกนกั ศึกษาและพบวามีความพึงพอใจสามารถนําไปใชประโยชนไดในระดับมากขึ้นไปรอยละ 94.2 2.1.4 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551ในสถานบําบัดรักษาทางสุขภาพจิต ดําเนินการในวันที่ 11-12 ก.ค. 2554 ณ โรงแรมวิเวอรวิวเพลส จังหวัดอยุธยา จํานวนผูเขารวมประชุม 83 คน ผลการดําเนินงานพบวาผูเขาประชุมมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ เรียนรูรวมกันและมีแนวทางที่จะสามารถนําไปประยุกตใชไดพรอมทั้งรับทราบปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน ผลการประเมินความพึงพอใจดานการนําไปใชประโยชนไดอยูในระดับมากขึ้นไปคิดเปนรอยละ97.5 2.1.5 จัดประชุมชี้แจง/สื่อสารการดําเนินงานบูรณาการกับเครือขายใหแ กผูที่รับผิดชอบงานดาน สุข ภาพจิตเกี่ย วกับ การดําเนินงานตาม พ.ร.บ. สุข ภาพจิต พ.ศ. 2551 ใหมีการจัด ประชุมคณะอนุกรรมการ ประสานงานผลักดันเพื่อการบังคับ ใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551ในระดับจังหวัด วัตถุป ระสงคเพื่อ รวมกันวางแผนการพัฒนาและผลักดันใหเปนจังหวัดนํารองหรือตนแบบ มีการดําเนินงานดังตอไปนี้ - จังหวัดนครปฐมดําเนินการในวันที่ 27 พฤษภาคม 2554 มีผูเขาประชุมจํานวน 61คน - จังหวัดกาญจนบุรีในวันที่ 2 มิถุนายน 2554 มีผูเขาประชุมจํานวน 61 คน - จังหวัดเพชรบุรีในวันที่ 3 มิถุนายน 2554 มีผูเขาประชุมจํานวน 50 คน - จังหวัดสุพรรณบุรีในวันที่ 14 มิถุนายน 2554 มีผูเขาประชุมจํานวน 52 คน 2.2 การดําเนินการผลักดันบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ไดมีการดําเนินงาน ดังนี้
รายงานประจําป 2554
54
2.2.1 จัดทําบัตรพนักงานเจาหนาที่ 2.2.2 การดําเนินงานจังหวัดนํารองโดยบูรณาการดําเนินงานตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551กับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 2.2.3 การดําเนินงานเครือขายนํารองโดยบูรณาการดําเนินงานตามพระราชบัญญัตสิ ขุ ภาพจิต พ.ศ. 2551 กับเครือขายที่เกี่ยวของ 2.2.4 จัดโครงการสัมมนาประชาพิจารณรางกฎหมายสุขภาพจิต ในวันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ณ หองประชุม 4 กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จํานวนผูเขา รวมสัมมนา 102 คน จากการ สัมมนาไดรางกฎหมายสุขภาพจิตและรางอนุบัญญัติเกี่ยวกับพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ทีม่ กี ารปรับปรุง แกไขบางประเด็นเพื่อใหกฎหมายมีความครอบคลุมสอดคลองกับสถานการณการบังคับใชในปจจุบัน 2.2.5 โครงการติดตามการดําเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 เพื่อคัดเลือกให เปนจังหวัดนํารอง - จังหวัดกาญจนบุรี ในวันที่ 29 สิงหาคม 2554 - จังหวัดสุพรรณบุรี ในวันที่ 31 สิงหาคม 2554 2.3. การแตงตั้งและประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ ตางๆ ไดแก 2.3.1 ประชุมคณะกรรมการสุขภาพจิตแหงชาติ ครั้งที่ 1/2553 วันศุกรที่ 17 ธันวาคม 2553โดย มีพลตรีสนั่น ขจรประศาสน รองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน ณ หองประชุม 301 ตึกบัญชาการ 1 ทําเนียบรัฐบาล 2.3.2 ประชุม คณะอนุก รรมการประสานงานผลั กดันเพื่อการบังคั บ ใชพ ระราชบัญ ญั ติ สุขภาพจิตพ.ศ. 2551 ระดับจังหวัดกาญจนบุรีในวันที่ 25 พฤษภาคม 2554 โดยมีนายชัยวัฒน ลิมปวรรณธะ รอง ผูวาราชการจังหวัดเปนประธานอนุกรรมการ ณ หองประชุมเอราวัณ ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรีจํา นวน ผูเขารวมประชุม 26 คน 2.3.3 ประชุมคณะอนุกรรมการประสานงานเพื่อการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2554 โดยมีนายอภิช าติ โตดิลกเวชช รองผูวา ราชการจังหวัด สมุทรสาครเปนประธาน ณ หองประชุมแพทยหญิงทิพาพรรณใบสมุทร1 (ชั้น 2) สํา นักงานสาธารณสุข จังหวัด สมุทรสาคร จํานวนผูเขารวมประชุม 17 คน 2.3.4 ประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาและผลักดันความเสมอภาคของผูที่มีความผิดปกติทาง จิต ครั้งที่ 1/2554 ดําเนินการเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมอมารีแอรพอรท จํานวนผูเขารวมประชุม 40 คน ซึ่งพบวาผูที่มีความผิดปกติทางจิตไดรับสิทธิที่พึงจะไดรับ นอกจากนี้คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวของยังมีแนวทางที่จะ สามารถนําไปประยุกตใชได รวมทั้งรับทราบปญหาและอุปสรรค เพื่อที่จะนําเสนอใหคณะกรรมการสุขภาพจิตแหงชาติ ทราบถึงความกาวหนาตอไป
รายงานประจําป 2554
55
2.3.5 การสรรหาผูแทนภาคเอกชนเปนกรรมการสุขภาพจิตแหงชาติและกรรมการอุทธรณใน วันอังคารที่ 10 พฤษภาคม 2554 หอ งประชุม 2 กรมสุข ภาพจิต ผลการดําเนินงานไดผูแทนภาคเอกชนเปน กรรมการสุขภาพจิตแหงชาติ จํานวน 4 คนและกรรมการอุทธรณ จํานวน 3 คน 2.3.6 คําสั่งแตงตั้งคณะอนุกรรมการปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ. 2551 เมื่อ วันที่ 2 กุมภาพันธ 2554 โดยพลตรีสนั่น ขจรประศาสน รองนายกรัฐมนตรี 2.3.7 ประชุมคณะอนุกรรมการปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ. 2551 จํานวน 4 ครั้ง เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ,12 มีนาคม, 9 เมษายนและ 17 กันยายน 2554 ณ หองประชุม 2 สถาบันกัลยาณราช นครินทร ผลการดําเนินงานไดรางกฎหมายสุขภาพจิตฉบับที่ 2 2.3.8 ประชุมคณะอนุกรรมการผลักดันพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 เขาสูหลักสูตร การศึกษาครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2554 ณ หองประชุม 2 กรมสุขภาพจิต จากจํานวนหนวยงานที่ สํารวจ107 แหงพบวาจํานวนหนวยงานที่นํา พ.ร.บ. สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 เขาหลักสูตรการศึกษา 70 แหงคิดเปน รอยละ 65 วิธีการโดยการสอดแทรกในวิชากฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ จริยธรรม , การพยาบาลบุคคลที่มี ปญหาทางจิต 2.4. ผลิตสื่อ/เทคโนโลยี 2.4.1 ดํา เนิน งานจัดทํ า สื่อ วีดิทัศ น พระราชบัญ ญัติสุข ภาพจิต พ.ศ. 2551 ชุ ดที่ 2 ตอน “เยียวยาผูปวยทางจิตและทุกชีวิตรอบขาง”วัตถุประสงคเพื่อใชเผยแพรความรู เปนสื่อประกอบการอบรม เรียนรู ดวยตนเอง จํานวน 3,000 แผนและจัดทําสําเนา จํานวน 20,000 ผลการประเมิน ความพึงพอใจสามารถนําไปใช ประโยชนไดระดับมากขึ้นไป คิดเปนรอยละ 82.6 และงายตอการนําไปใชในระดับมากขึ้นไปคิดเปนรอยละ 83.3 2.4.2 จัดทําสําเนาหนังสือรวมกฎหมายพระราชบัญญัตสิ ขุ ภาพจิต พ.ศ. 2551 จํานวน 1,000 เลม 2.4.3 จัดทําสําเนาวีดิทศั นชุด คือความหวัง คือความเขาใจ จํานวน 5,000 แผน ผลการดําเนินงาน สถาบันกัลยาณราชนครินทร จัดทําโครงการถายทอดความรูเรื่องกฎหมายสุขภาพจิตใหแกสถาน บริการทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จําแนกเปนโรงพยาบาลศูนย จํานวนทัง้ หมด 24 แหง เขารับการ อบรม 24 แหง คิดเปนรอยละ 100 โรงพยาบาลทั่วไป จํานวนทั้งหมด 70 แหงเขารับการอบรม 70 แหงคิดเปนรอย ละ 100 และโรงพยาบาลชุมชน จํานวนทั้งหมด 710 เขารับการอบรม 710 แหงคิดเปนรอยละ100 โดยมีจํา นวน บุคลากรที่เกี่ยวของในพื้นที่รับผิดชอบเข า รับการอบรม เปนจํา นวน 3,662 คนและเมื่อประเมินความรู พบวา บุคลากรมีความรูความเขาใจ คิดเปนรอยละ 91.46 สําหรับบุคลากรที่เกี่ยวของโดยตรงในสถาบัน /โรงพยาบาล สังกัดกรมสุขภาพจิต แหงประกอบดวย จิตแพทย พยาบาล นักสังคมสงเคราะห นักจิตวิทยา นักกิจกรรมบําบัดและ นักวิชาการสาธารณสุข รับทราบรูปแบบกิจกรรมที่เผยแพรความรู โดยภาพรวม จํานวนบุคลากร 2,380 คน เขารับ การอบรม 2,380 คน คิดเปนรอยละ 100 และเมื่อประเมินความรูพบวา บุคลากรที่เกี่ยวของโดยตรงในหนวยงาน แตละแหง มีความรู ความเขาใจโดยภาพรวม คิดเปนรอยละ 96 รายงานประจําป 2554
56
ผลการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ประจําปงบประมาณ 2554 สวนที่ 1 จิตเวชทัว่ ไป จํานวนผูปว ยทัง้ หมด 1051 ราย ลําดับ กิจกรรม 1.
2.
3.
4.
5.
ผูนําสง 1.1 พนักงานเจาหนาที่ พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ (มาตรา 24) 1.2 สถานทีค่ ุมขัง สถานสงเคราะหหรือพนักงานคุมประพฤติ (มาตรา 25) 1.3 แพทยผรู กั ษา (มาตรา 28) 1.4 อืน่ ๆ กระบวนการตาม พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ระหวางอยูในสถาบันหรือโรงพยาบาล 2.1 ตรวจวินจิ ฉัยและประเมินอาการเบือ้ งตนและบันทึกในแบบ ตจ. 1 (มาตรา 27) การวินิจฉัยตาม ICD-10 อันดับ 1 โรคจิตเภท รหัสโรค F.20.0-29 (การวินจิ ฉัยโรคหลัก) อันดับ 2 โรคจิตจากสารเสพติด รหัสโรค F.10.0-19 อันดับ 3 ความผิดปกติทางอารมณ รหัสโรค F.30.0-39 อันดับ 4 อื่นๆ สมองเสื่อม,ออทิสติค,ปญญาออน 2.2 ไดรบั การตรวจวินจิ ฉัยและประเมินโดยคณะกรรมการสถานบําบัดรักษา (มาตรา 29) 2.3 มีญาติมารับกลับกอนไดรับการตรวจประเมินตามมาตรา 29 2.4 ผูปว ยเซ็นยินยอมการรักษาดวยตนเอง กรณีมกี ารอุทธรณ จํานวน.................ราย - ยืนยันตามคําสั่งเดิม - ยกเลิกคําสั่งเดิม ประเภทการจําหนายผูปว ยที่ไดรับการตรวจประเมินตามมาตรา 29 3.1 มีผูดแู ล 3.2 สงสถานสงเคราะห 3.3 อืน่ ๆ - เจาหนาที่รบั กลับ การติดตามผลการบําบัดรักษา 4.1 ไดรบั การรักษาอยางตอเนือ่ ง 4.2 ไดรบั การรักษา แตไมตอ เนือ่ ง 4.3 ไมไดรบั การรักษา 4.4 ติดตามไมได 4.5 อืน่ ๆ............................................................................... ผูปวยคางจําหนาย 5.1 ผูปวยที่ไดรบั การประเมินตามมาตรา 29 ซึ่งอาการดีแลวแตคา งจําหนายเนือ่ งจาก ไม มี สถานทีใ่ หอยูห ลังจําหนายทีร่ ับไวรกั ษาตั้งแต 1 ตุลาคม 2553 เปนตนไป 5.2 ผูปวยที่ไดรบั การประเมินตามตรา 29 ซึ่งอาการดีแลวแตคา งจําหนายเนือ่ งจากไมมี สถานทีใ่ หอยูห ลังจําหนายทั้งหมด
รายงานประจําป 2554
จํานวน (ราย) 570 195 194 92 976 739 78 44 25 190 302 163 509 47 95 362 170 168 44 14
57
สวนที่ 2 ผูปว ยนิติจิตเวช จํานวนผูปว ยทัง้ หมด.......516....ราย ลําดับ กิจกรรม 1. นําสงตามเงือ่ นไข 1.1 สงตามมาตรา 14 แหงประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา 1.2 สงตามมาตรา 48 แหงประมวลกฎหมายอาญา 1.3 สงตามมาตรา 56 แหงประมวลกฎหมายอาญา 1.4 อื่นๆ ระบุ ....................................................................................... 2. ผูนาํ สง 2.1 ศาล 2.2 สถานีตาํ รวจ 2.3 สถานพินจิ ฯ 2.4 เรือนจํา 2.5 อื่นๆ ระบุ ....................................................................................... 3. ลําดับการวินิจฉัยโรค (การวินจิ ฉัยโรคหลัก) การวินจิ ฉัยตาม ICD-10 อันดับ 1 โรคจิตเภท รหัสโรค F.20.0-29 อันดับ 2.โรคจิตจากสารเสพติด รหัสโรค... F.10.0-19. อันดับ 3.ความผิดปกติทางอารมณ รหัสโรค.....F.30.0-39 อันดับ 4 ปญญาออน รหัสโรค F.70.0-79 4. ประเภทผูป ว ย 4.1 ผูปว ยนอก 4.2 ผูปว ยใน 5. จําแนกตามคดี (คดีหลักหรือคดีที่โทษรุนแรงทีส่ ุดสําหรับผูป วยรายนั้น) 5.1. ฆา/พยายามฆา 5.2. ทํารายรางกาย 5.3. ลักทรัพย/ชิงทรัพย/วิง่ ราวทรัพย 5.4. บุกรุก 5.5. ความผิดวางเพลิง 5.6. กระทําอนาจาร 5.7. ยาเสพติด 5.8. พกพาอาวุธ 5.9. อื่นๆ ระบุ ..................................................................................................... รายงานประจําป 2554
จํานวน (ราย) 277 51 46 142 193 87 30 115 87 324 64 22 11 323 131 97 72 49 27 13 11 86 5 21 58
สวนที่ 2 ผูปว ยนิติจิตเวช (ตอ) ลําดับ กิจกรรม 6. การดําเนินการตาม พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 (นับจากจํานวนผูปวยทั้งหมดที่มีชื่อ เปนผูปวยในตั้งแต 1 ตุลาคม 2553 – 30 กันยายน 2554) 6.1 รอยละของการรายงานผลความสามารถในการตอสูค ดีผปู ว ยทีถ่ กู สงตามมาตรา 14 แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาภายใน 45 วัน (มาตรา 35) 6.2 รอยละของการรายงานผลความสามารถในการตอสูค ดีผปู ว ยทีไ่ มสามารถตอสูค ดีได ในขอ 6.1 ทุก 180 วัน (มาตรา 36) 6.3 รอยละของการรายงานผลการบํา บัดรักษาตอศาลในผูปวยที่ถูกสงมารักษาตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48 และมาตรา 49 วรรค 2 หรือ ตามมาตรา 246 (1) แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาทุก 180 วัน (มาตรา 37) 6.4 รอยละของการรายงานผลการบํา บัดรักษาตอศาลในผูปวยที่ถูกสงมารักษาตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56 ทุก 90 วัน(มาตรา 39)
รายงานประจําป 2554
จํานวน (ราย)
98.41 97.40
100
100
59
การพัฒนาคุณภาพสถานบริการ ในปงบประมาณ 2554 สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดรับการรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลและ บริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป หรือ Re-accreditation รอบที่ 2 เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2553 โดยมีกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพงานทั้งในระดับทีม/ระบบงานที่สําคัญใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมกับการบูรณาการงานคุณภาพกับมาตรฐาน PMAQ และ ISO เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพในองคกรใหเปนที่ ยอมรับจากหนวยงานภายนอก ตามนโยบายกรมสุขภาพจิต ภายใตการบริหารงานของทานอธิบดีนายแพทยอภิชัย มงคล ซึ่งสรุปกิจกรรมที่สําคัญ ไดดังนี้ 1. การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบงานที่สาํ คัญ 1.1 ระบบการวัดผลในระดับ หนว ยงาน/ทีม มีก ารกําหนดนโยบายคุณภาพ วัต ถุประสงค คุณภาพ มีการกําหนดตัวชี้วัดประสิทธิภ าพที่ค รอบคลุมทุกระบบงานที่สํา คัญและดําเนินการถายตัวชี้วัดผลการ ดําเนินงานลงสูระดับหนวยงาน/ทีม มีการจัดแผนการเยี่ยมสํารวจคุณภาพมาตรฐาน HA และ ISO มีการประชุม กํากับติดตามผลการดําเนินงานโดยทีมนําอยางสม่ําเสมอ 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง มีการออกแบบพัฒนาโปรแกรมการบริหารความเสีย่ งทีค่ รอบคลุม ทุกระบบงานที่สําคัญ เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการคนหาและวิเคราะหอุบัติการณความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใน องคกร ปจจุบันยังอยูระหวางการทดลองใชและประเมินผลประสิทธิภาพของโปรแกรมโดยศูนยพัฒนาคุณภาพและ ทีมพัฒนาระบบสารสนเทศมีแผนจะขยายผลทั้งองคกรในปถัดไป 1.3 ระบบความปลอดภัยทางสิ่งแวดลอม มีการจัดอบรมใหความรูเรื่องการดูแลปองกันและ ควบคุมการติดเชื้อ การดูแลบํารุงรักษาเครื่องมืออุปกรณทางการแพทยทั่วทัง้ องคกร
รายงานประจําป 2554
60
2. การพัฒนาระบบบริหารคุณภาพของหนวยงานตามมาตรฐาน ISO 2.1 มีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน ISO 27001:2005 การจัดการความปลอดภัยของขอมูล สารสนเทศ) 2.2 มีการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพของหนวยงานตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 โดยการ ดําเนินการตามมาตรฐานดังกลาว มีวิทยากรจากบริษัท KLC เปนที่ปรึกษา ใหคําแนะนําในการดําเนินงานตามแผน กิจกรรม มีการการประชุมติดตามผลการดํา เนินงานโดยศูนยพัฒนาคุณภาพเปนระยะๆ และอยูระหวา งการขอ ตรวจประเมินใหการรับรองจากจากบริษัท URS โดยจะเขามาตรวจในวันที่ 20 ตุลาคม 2554
รายงานประจําป 2554
61
การพัฒนางานสงเสริมและพัฒนาเครือขายสุขภาพจิต งานสงเสริมและพัฒนาเครือขายสุขภาพจิต ไดดําเนินงานดานสุขภาพจิตในพื้นที่รับผิดชอบดังนี้ 1. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิ ตเวช ในสถานบริการสาธารณสุขในจัง หวัด เปาหมายตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช เปนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ในพื้นที่ ที่รับผิดชอบ เขตตรวจราชการที่ 4 และ 5 ซึ่งสถาบันกัลยาณราชนครินทรรวมกับศูนยสุขภาพจิตที่ 4 โดยเริ่มดํา เนินการมาตั้งแตป 2552 นํา รองใน จังหวัดราชบุรี ในป 2553 ดําเนินการในจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และประจวบคีรีขันธ และในป ๒๕๕๔ จังหวัดเปาหมายคือจังหวัดนครปฐม กาญจนบุรี สุพรรณบุรีและเพชรบุรี เปาหมายการพัฒนาคือ รพศ./รพท. เขา รวมโครงการอยางนอย 1 แหง รพช. เขารวมโครงการอยางนอย 2 แหง และรพ.สต. เขารวมโครงการอยางนอย 2 แหง หนว ยงานที่เขา รวมโครงการตองมีแ ผนพัฒนา 5 ดานตามมาตรฐานการบริการสุข ภาพจิตและจิตเวชของ โรงพยาบาลสวนปรุง ผลการพัฒนาทุกหนวยงานที่เขารวมโครงการ ตองมีผลการประเมินตนเองทั้ง 5 ดาน ผานขั้น ที่ 1 ทุกหนวยงาน ซึ่งการพัฒนา/การลงเยี่ยมหนวยงานในจังหวัดเปาหมายทั้ง 4 จังหวัด ผลจากการประเมินตนเอง ผานขั้นที่ 1 ทุกหนวยงาน ตามตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงจังหวัดเปาหมาย ในป 2554 หนวยงาน รพศ./รพท./รพช.และรพ.สต.ที่เขารวมโครงการและผาน เกณฑ ขั้นที่ 1 จังหวัด/หนวยงานที่เขา รพศ./ รพท./ รพช./ รพ.สต./ รวมโครงการ ผานเกณฑ ผานเกณฑ ผานเกณฑ ผานเกณฑ นครปฐม 1/1 4/4 3/3 เพชรบุรี 1/1 2/2 2/2 กาญจนบุรี 1/1 2/2 2/2 สุพรรณบุรี 1/1 1/1 5/5 6/6
รายงานประจําป 2554
62
2. การใหบริการบําบัดรักษาและเฝาระวังผูพยายามฆาตัวตายในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ สนับสนุนใหพื้นที่ที่รับผิดชอบใหมีการเฝาระวังผูที่พยายามฆาตัวตาย มีบริการบําบัดรักษา และมี การติดตามเยี่ยม โดยมีเกณฑการเฝา ระวังอัตราการฆาตัว ตายสําเร็จ < 6.5 ตอแสนประชากร ตามตารางที่ 2 พบวาทุกจังหวัดที่รับผิดชอบอัตราการฆาตัวตายสําเร็จอยูในเกณฑ แตมีจังหวัดสุพรรณบุรี ที่มีอัตราการฆาตัว ตาย สําเร็จสูง ซึ่งก็ตองมีการเฝาระวัง การสืบหาขอมูล ปจจัยเสี่ยงตอไป ตารางที่ 2 การเฝาระวังการฆาตัวตาย ป 2554 พื้นที่ จังหวัด พยายามฆา ติดตามเยีย่ ม/ ฆาตัวตาย เกณฑ< 6.5 /แสน ตัวตาย/ราย ราย สําเร็จ/คน ประชากร เขตตรวจ นครปฐม 460 413 37 4.39 ราชการที่ 4 ราชบุรี 679 494 22 2.63 กาญจนบุรี 163 120 40 4.76 สุพรรณบุรี 235 197 52 6.18 เขตตรวจ สมุทรสาคร 238 185 22 4.6 ราชการที่ 5 สมุทรสงคราม 60 60 7 3.61 เพชรบุรี 235 233 23 5.01 ประจวบคีรีขันธ 207 207 26 5.20 3. การดํา เนิน งานผลักดัน ใหหนวยงานในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ มีบริการ/จัดบริการแก ผูปวยโรคซึมเศรา มีการพัฒนาอบรมความรู /ทักษะบุคลากรในหนว ยงานสาธารณสุข เกี่ยวกับ โรคซึมเศรา การ ประเมิน และการรายงานขอมูลตาม โปรแกรมของโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งเปาหมายอัตราการเขาถึงของ ผูปว ยโรคซึมเศรา ≥ 10/แสนประชากร ในป 2554 พบวา จากขอมูล การรายงาน มีจังหวัดนครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรีแ ละเพชรบุรี ยังมีอัตราการเขา ถึงของผูปว ยโรคซึมเศรา ไมถึง เปา หมาย ตามตารางที่ 3 ซึ่ง ตองมี แผนพัฒนาจากปญหาอุปสรรคของแตละพื้นที่ตอไป
รายงานประจําป 2554
63
ตารางที่ 3 การเขาถึงบริการผูปวยโรคซึมเศรา ป 2554 พื้นที่ จังหวัด เขตตรวจ นครปฐม ราชการที่ 4 ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี เขตตรวจ สมุทรสาคร ราชการที่ 5 สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ
เปาหมาย ≥ 10 16,373 คน 16,150 คน 15,876 คน 16,489 คน 9,127 คน 3,839 คน 8,947 คน 9,580 คน
การเขาถึงบริการผูปว ยโรคซึมเศรา 5.27 (863) 7.15 (1,154) 5.91 (938) 31.83 (5,259) 16.88 (1,541) 28.42 (1,091) 9.23 (826) 12.75 (1,221)
4. โครงการพั ฒนาศัก ยภาพหนว ยบริ การเพื่อ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช (สปสช.) เปนโครงการที่กรมสุขภาพจิตทําขอตกลงกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ในการพัฒนา ศักยภาพหนวยบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ในพื้นที่ที่รับผิดชอบโดยมีการใหขอมูล หนว ยงานในการเขาถึงยา Risperidone, Sertraline โดยจิตแพทย เภสัชกร และพยาบาล จัดประชุมชี้แจงและแจกเอกสารขอมูลของแตละ วิชาชีพ แตก็ยังมีหนวยงานจํานวนนอย ที่สั่งและใชยา ตารางที่ 4 แสดงหนวยงานที่เขารวมโครงการในการเขาถึงยา Risperidone, Sertraline จังหวัด จํานวนหนวยบริการที่เชิญ จํานวนหนวยบริการที่เขารวม 1. นครปฐม 11 9 2.กาญจนบุรี 15 15 3. สุพรรณบุรี 13 10 4. ราชบุรี 11 9 5. สมุทรสงคราม 3 1 6. สมุทรสาคร 5 4 7. ประจวบคีรีขันธ 10 8 8. เพชรบุรี 9 8 รวม 78 64
รายงานประจําป 2554
64
5. การดําเนินงานติดตามอุณหภูมิใจของคนไทยในชวงเวลาตาง ๆ ปงบประมาณ 2554 การดําเนินงานติดตามอุณหภูมิใจของคนไทยในชวงเวลาตาง ๆ เปนการสํารวจภาวะสุขภาพจิต ของคนไทยโดยการสอบถามทางโทรศัพท เกี่ยวกับความเครียด การจัดการกับความเครียด พลังสุขภาพจิต การ เขาถึงบริการสุขภาพจิต โดยมีการสํารวจทุก 3 เดือน สํารวจตนเดือนตุลาคม มกราคม เมษายน และกรกฎาคม สําหรับในป 2554 สถาบันกัลยาณราชนครินทร รับผิดชอบสํารวจ ในจังหวัดราชบุรี และจังหวัดสระบุรี จํา นวน 280 ราย และรายงานขอมูลไปที่งานระบาดวิทยา สํานักสุขภาพจิตสังคม กรมสุขภาพจิต ซึ่งเปนผูรับผิดชอบในการ รวมรวบ วิเคราะหขอมูล และรายงานผล
รายงานประจําป 2554
65
การพัฒนางานจิตเวชชุมชน งานจิตเวชชุมชน ไดดําเนินงานดานสุขภาพจิตในพื้นทีร่ บั ผิดชอบดังนี้ 1. โครงการอนุรักษสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการฟนฟูผูปวยจิตเวช ดวยบรรยากาศเปนธรรมชาติรม รื่น และ รมเย็นดวยภูมิปญญาไทยป 2 จัดกิจกรรมจํานวน 10 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน ผูเขารวมกิจกรรมประกอบดว ย แกนนํา 99 คน ผูปวย และ ญาติ 201 คน รวม 300 คน ผลการประเมินพบวาการจัดกิจกรรมในสถานที่ธรรมชาติ รมรื่น รมเย็น ชวยใหเกิดการเรียนรู ชวยเยียวยาจิตใจผูคนใหสงบ และมีความสุขได ชวยสงเสริมใหผูปวยจิตเวชไดมี โอกาสมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นหรือไดทํางาน จะเกิดความภาคภูมิใจ เห็นคุณคาแหงตน
2. โครงการคายครอบครัวฟนฟูผูปวยจิตเวช จัดกิจกรรม 6 ครั้งๆ ละ 2 วัน 1 คืน สรุปผูเขารว ม กิจกรรมประกอบดวย แกนนํา 68 คน ผูปวยและญาติ 120 คน รวม 188 คน ประเมินความคิดเห็นเฉลี่ยอยูระดับมาก
รายงานประจําป 2554
66
3. โครงการพัฒนาทักษะทางสังคมและฟนฟูผูปว ยจิตเวช จัดกิจกรรม 10 ครั้ง ครั้งละ 2 วัน สรุปผูเขา รว มกิจกรรมประกอบดวย แกนนํา 130 คน ผูปวย และ ญาติ 102 คน รวม 232 คน ประเมินความ คิดเห็นเฉลี่ยอยูระดับมาก
4. โครงการปรับสมดุลสุขภาพตามแนวธรรมชาติบําบัด จัดกิจกรรม 2 ครั้ง ครั้งละ 3 วัน 2 คืน ผูเขารวมกิจกรรมเปนผูปวย ญาติ ผูดูแล รวม 85 คน ณ รักษนทีคันทรี่โฮมรีสอรท อ.บางเลน จ.นครปฐม จากการ ประเมินความคิดเห็นผูเขารับการอบรม 72 คน สรุประดับความพึงพอใจเฉลี่ยระดับมาก
5. โครงการหนวยสุขภาพจิตอาสา กัลยาณราชนครินทร : บริการสุขภาพจิตเชิงรุกสูชุมชน ปที่ 3 เปนดําเนินการพัฒนาบริการสุข ภาพจิตเชิงรุกสูชุมชนอยางตอเนื่อง เพื่อใหประชาชนที่ข าดโอกาสเขาถึง บริการ ไดรับความรู มีเจตคติ และทักษะที่ถูกตองในการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อ เจริญรอยตามพระจริยวัตรของสมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิว าสราชนครินทร ที่ พระองคทรงประทานความชวยเหลือประชาชนที่ดอยโอกาสทุกหมูเหลา แมจะอยูในถิน่ ทุรกันดารหางไกลเพียงใดก็ ตาม จากการดํา เนินกิจกรรมตั้งแตตนป 2551 จนถึงปจ จุบันพบวา มีประชาชนไดรับประโยชนจ ากโครงการ มี โอกาสไดรับการบําบัดรักษา ทําใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี จากการจัดกิจกรรมหนวยสุขภาพจิตอาสา กัลยาณราชนครินทรตามสถานที่ตางๆ จํานวน 7 ครั้ง ในพื้นที่ ตลาดนัดธนบุรี (สนามหลวง 2) ,พุทธมณฑล ศาลายา นครปฐม , โรงงานกะทิช าวเกาะ , โรงงานน้ํา พริก แมพลอย , โรงเรียนจันทรป ระดิษฐารามวิทยาคม บางดว น ภาษีเจริญ กทม , โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม บางกอกนอย กทม. , เทศบาลออมนอย และสถาบันกัลยาณราชนครินทร มีประชาชนผูรับบริการ จํานวน 10,082 รายงานประจําป 2554
67
ราย คัดกรองประชาชนผูรับบริการ จํานวน 6,332 ราย คิดเปนรอยละ 62.81 ใหบริการปรึกษาสุขภาพจิต และ ให การชวยเหลือทางสังคมและใหสุข ภาพจิตศึกษา จํานวน 1,328 ราย คิดเปนรอยละ 13.17 ใหการบําบัดรักษา/ ติดตามตอ (อยูในขายที่อาจตองรับการบําบัดรักษาในระยะตอมา) จํานวน 63 ราย คิดเปนรอยละ 0.62
6. โครงการรักษใจ...หวงใยถึงบาน มีวัตถุป ระสงคเพื่อใหผูมีปญหาสุขภาพจิตไดเขาถึง บริการสุขภาพจิตและจิตเวช โดยคัดเลือก ผูปวยจากขอมูลของเครือขายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข เกี่ยวกับความเจ็บ ปวยของประชาชนในพื้นที่ที่ไม สามารถนําผูปวยเขาสูระบบการรักษาได ผูปวยเรื้อรังทุกประเภทที่มีความเสี่ยงตอการเจ็บปวยทางจิต ครอบครัวที่ มีแนวโนมเจ็บปวยทางจิต หรือ มีการเจ็บปวยมากกวา 1 ราย ผูที่ไดรับการประเมินวามีความเสี่ยงตอการเจ็บปวย ทางจิตเวช ผูปวยจิตเวชที่มีความเสี่ยงตอการขาดการบําบัดรักษา ไมยอมรับการรักษาตอเนื่อง ซึ่งพบวาสวนใหญ ผูรับบริการเปนเพศหญิง จํานวน 125 ราย คิดเปนรอยละ 62.50 มีอายุตั้งแต 61 ปขึ้นไป จํานวน 69 รายและอายุ ระหวาง 51-60 ปจํานวน 39 รายคิดเปนรอยละ 34.4 และ 19.5 ตามลําดับ สวนมากมีภูมิลําเนาอยูในเขตบางแค จํานวน 53 ราย ทวีวัฒนาจํานวน 50 รายคิดเปนรอยละ 26.5 และ 25 ตามลํา ดับ ไดรับการตรวจและวินิจฉัยวา เปนกลุมโรคจิตจํานวน 52 ราย กลุมโรคซึมเศรา จํานวน 45 ราย คิดเปนรอยละ 26 และ 22.5 ตามลําดับ แพทยใหการ รั กษาจํ า นวน 159 ราย คิ ด เป น ร อ ยละ 79 โดยทุ ก ครอบครั ว ได รั บ การบํ า บั ด ด า นจิ ต ใจ ทํ า Individual Psychotherapy 107 ราย คิดเปนรอยละ 53.5 ผูที่ไดรับการบําบัดรักษา นัดติดตามดูแ ลตอเนื่องโดยนัดมาพบ แพทยที่สถาบันกัลยาณราชนครินทรจํานวน 19 ราย คิดเปนรอยละ 9.5 และสงตอใหรับการรักษาใกลบานจํานวน 31 ราย คิดเปน รอยละ 15.5 มีผูรับบริการไดรับการประเมินความพิการและจิตแพทยออกเอกสารรับรองความ พิการจํานวน 20 ราย คิดเปนรอยละ 10
รายงานประจําป 2554
68
7. โครงการเตรียมความพรอมญาติในการดูแลผูปวยจิตเวช โดยชมรมเพื่อนชวยเพื่อน จัดกิจกรรมที่สถาบันกัลยาณราชนครินทร สําหรับครอบครัวผูปวยที่รับการบําบัดรักษาทั้งผูปวย นอก และผูปวยใน จํานวน 673 คน รวม 24 ครั้ง
8. โครงการครอบครัวดี ชุมชนมีสุขป 2 จัดกิจกรรมนอกชุมชน ไปวัดหวยมงคล เพลินวาน อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร จังหวัด ประจวบคีรีขันธ มีชุมชนเขารว ม 10 ชุมชน ดังนี้ ชุมชนหมูบานสกุลทิพย ชุมชนราชวินิตประถมบางแค ชุมชน หมูบานสินพัฒนาธานี ชุมชนบานขิง ชุมชนพุมพวง ชุมชนหมูบานเจาพระยา ชุมชนจันทรประดิษฐาราม ชุมชนศิริ เกษมพัฒนา ชุมชนริมคลองราชมนตรี หมู1 0 ไปครั้งละ 1 วัน 1 ชุมชน ครั้งละ ไมนอยกวา 50 คน มีผูเขา รวม กิจกรรมทั้งสิ้น 539 คน เขาประเมินภาวะสุขภาพจิต 358 คน มีความเสี่ยงตอการเจ็บปวยทางจิตเวช 60 คน คิด เปนรอยละ 16.75 สิ่งที่ไดเรียนรูจากการจัดกิจกรรม 1. ชุมชนไดเรียนรูการสรา งสัมพันธในชุมชน ไดฝกการบอกสิ่งดีของเพื่อน ไดเรียนรูการแสดง ความรูสึกดีๆ และขจัดความรูสึกทุกขอยางมีสติ 2. การไดประเมินภาวะสุขภาพทําใหคนในชุมชน มีความรูสึกเขา ใจ เห็นใจเพื่อนบา น เพราะที่ ผานมาไมเคยรูเลยวาเพื่อนบานเปนอยางไร เมื่อเขารวมกิจกรรมเกิดความรูสึกอยากชวยเหลือ 3. แมเปนเพียงกลุมเล็กๆ ตางเพศ ตางวัย ที่ไดมาเขารวมกิจกรรม ก็เปนจุดเริ่มแรกของชุมชนที่ ชวยให ชุมชนเห็นประโยชนของความสามัคคี เพื่อพัฒนาชุมชนใหอยูดวยกันอยางมีความสุข 4. สิ่งที่ทีมงานภาคภูมิใจคือไดมีโอกาสชวยใหคนในชุมชนมีโอกาสไดไปเที่ยวนอกสถานที่เพราะ บางคน ไมเคยไดออกไปไหนเลยตลอดชีวิต นอกจากนี้ยังไดพูดถึงความไมสบายใจของตน ทําใหชุมชนมองเห็นและ ชวยเหลือกันเอง 5. การไดเห็นคนในชุมชนกลาคิด กลาแสดงออก กลาแสดงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ซึ่งจะเปน การทํา ใหคนในชุมชนเขาใจกันมากขึ้น 6. ในบรรยากาศของสถานที่เมื่อรวมกับบรรยากาศของกลุมกิจกรรม ทําใหคนทีข่ ดั แยงกันกลับมา รูสึกดีตอกัน รายงานประจําป 2554 69
9. โครงการสร า งความเข ม แข็ ง ชุ ม ชนและเครื อ ข า ยแกนนํ า การดู แ ลผู ป ว ยจิ ต เวช ปงบประมาณ 2554 มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูเขารวมกิจกรรมไดแลกเปลี่ยนเรียนรูทักษะการดูแลผูปวยจิตเวช เกิด การดูแลผูปวยจิตเวชอยางตอเนื่องโดยใหญาติผูปว ย ผูดูแ ล จิตอาสาและแกนนําชุมชน และไดเยียวยาจิตใจและ เสริมสรางพลังอํานาจในการดูแลจิตใจซึ่งกันและกันในชุมชน โดยจัดกิจกรรมที่สถานสงเคราะหประจวบโชค จังหวัด ประจวบคีรีขันธ , โรงพยาบาลบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร , โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตํา บลกระทุมลม และ โรงพยาบาลหวยพลู จังหวัดนครปฐม สรุปผลการดําเนินงาน ผูเขารวมโครงการประกอบดวย ผูปวยจิตเวช ญาติ ผูดูแล แกนนํา และบุคลากรสาธารณสุข จํานวน291 คน ดําเนินการ 8 ครั้ง สิ่งที่ไดเรียนรู ผูเขารวมกิจกรรมไดเห็น มุมมองที่ไมเคยเห็น เปลี่ยนมุมมองที่มีตอผูปวยจิตเวช สามารถนํา คนไขที่มีอาการไมมากมารวมรับฟงการอบรม แบบนี้ไดในครั้งตอไป อาสาสมัครชุมชนไดมาทําความรูจักกัน ไดรับรูและเขา ใจผูที่มีค วามเจ็บ ปวยทางจิตเวช ได หลักวิธีการปฏิบัติในการสังเกตคนที่มีลักษณะเปนโรคทางจิตเวช การปฏิบัติตอผูปว ยจิตเวช เรียนรู วิธีการสังเกต อาการคนที่ปวยเปนโรคจิต เขาใจผูที่รับผิดชอบดูแลมากขึ้น และรูวาจะตองทําอยางไรกับผูปวยและญาติที่ไมให ความรวมมือในการรักษา เรียนรูการปรับตัวเมื่อมีอาการหรือการจัดการกับอารมณในรูป แบบตางๆ ไดฝกการ ควบคุมอารมณการดูแลจิตใจของตนเองใหเขมแข็ง การฝกสมาธิ การทําจิตใจใหสงบ และนําไปใชดูแลคนในชุมชน รูสึกอบอุน ไมเหมือนการอบรมทั่วๆ ไป มีการเลาสูกันฟง เรื่องเลาทุกเรื่องสามารถนําไปใชกับชีวิตประจําวันได
รายงานประจําป 2554
70
10. โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตผูสูงอายุในชุมชนกระทุมลม จังหวัดนครปฐม มีวัตถุป ระสงค เพื่อพัฒนาระบบการดูแ ลผูสูงอายุ สรางความเขมแข็งของขุมชนและเครือขา ยแกนนําการดู แ ล สุข ภาพจิตผู สู งอายุ ในตํา บลกระทุมล ม จัดกิ จ กรรม 5 ครั้ง ณ ชมรมผูสู งอายุ ณ รพ.สต.กระทุม ลม ผลการ ดําเนินงาน ผูสูงอายุชุมชนกระทุมลมมีแผนสงเสริมสุขภาพจิต โดยจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพจิตและตรวจสุขภาพ กายวัดความดันโลหิต วัดรอบเอว ชั่งน้ํา หนัก กิจกรรมสันทนาการ พูดคุยปรึกษาป ญหา ออกกําลังกายสงเสริม สุขภาพ ใหคํา ปรึกษาปญหาสุขภาพจิต แจกเอกสาร และของชํารวย ทุกวันอาทิตยสัปดาหที่ 2 ของทุกเดือน มี ผูสูงอายุ เครือขายแกนนํา บุคลากรสาธารณสุข เขารวมประชุม 5 ครั้งจํานวน 600 ราย ประเมินความพึงพอใจตอ การดําเนินกิจกรรมรอยละ 95 11. การประสานสงตอการติดตามดูแลผูปวยจิตเวชซับซอนตอ เนื่อ งโดยเครือ ขายชุมชนและ หนวยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ วัตถุป ระสงคเพื่อใหผูปวยครอบครัว ชุมชน อยูรว มกันไดอยางอยา งมีค วามสุข ไดรับการดูแลอยางตอเนื่องในชุมชน ไมกลับมาปวยซ้ํา ดําเนินการระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2553-30 กันยายน 2554 จํานวนผูไดรับการสงตอรวมทั้งสิ้น 326 ราย 12. การขยายเครือ ข า ยชมรมเพื่ อ ผูพ กพรอ งทางจิต ระดั บ จัง หวัด ปง บประมาณ 2554 วัตถุประสงคเพื่อใหสมาคมเพื่อผูพกพรองทางจิต ผูปฏิบัติงานทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุขที่เกี่ยวของกับ การดูแลผูปวยจิตเวช ไดรวมแลกเปลี่ยนเรียนรู และมีสวนในการสนับสนุนสงเสริมการจัดตัดตั้งกลุมชวยเหลือกันเอง (self help group) ระดับจังหวัด ในจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดเพชรบุรี ระหวางเดือน กรกฏาคม ถึงเดือ นกันยายน 2554 มีผูเขา รว มประชุม ประกอบดว ย ผูปว ย ญาติ แกนนํา ชุมชน บุค ลากร สาธารณสุขในพื้นที่ มีผูเขารวมประชุมทั้งสิ้น 95 คน ผลเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู มีช มรมเพื่อผูพกพรองทางจิต ระดับจังหวัดเพิ่มขึ้น 3 จังหวัด ชมรมระดับจังหวัดมีแนวทางการดูแลผูปวยและครอบครัว การสรางความเขมแข็ง ในชุมชน
รายงานประจําป 2554
71
การพัฒนาวิชาการและจัดการความรู ปงบประมาณ พ.ศ. 2554 กลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความความรูดําเนินงานตามหนาทีค่ วาม รับผิดชอบ โดยใหการสนับสนุน ใหความรูและจัดกิจกรรมรวมกับกลุมภารกิจ กลุมและศูนยตางๆ ของสถาบัน ใน การดําเนินงานพัฒนาวิชาการและจัดการความรูที่สําคัญ ดังตอไปนี้
ดานพัฒนาวิชาการและการวิจัย แนวคิดในการพัฒนาผลงานวิชาการของสถาบัน เนนการบูรณาการเครื่องมือพัฒนาคุณภาพงานวิจัย และพัฒนา (Research and Development) ของกรมสุขภาพจิตเขากับเครื่องมือพัฒนาคุณภาพ ไดแก การพัฒนา คุณภาพตอเนื่อง (Continuous Quality Improvement : CQI) การพัฒนางานประจําเปนงานวิจัย (Routine to Research : R to R) โดยกลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรูเปนหนวยงานประสาน สนับสนุน ใหคําปรึกษา เปนพี่ เลี้ยงรายบุคคลและแบบกลุมแกบุคลากร เพื่อใหการผลิตผลงานการวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม ดานสุขภาพจิต นิติจิตเวช และวิกฤตสุขภาพจิตเปนไปตามมาตรฐานของกรมสุขภาพจิต และสนับสนุนการสงผลงานไป นําเสนอในเวทีวิชาการทั้งในและนอกกรมสุขภาพจิตในปงบประมาณ 2554 มีผลงานวิชาการสําคัญจากทุกหนวยงาน ดังตอไปนี้ ลําดับ รายการ ประเภท 1 สี่สบิ ปนิตจิ ิตเวช: เลิศล้าํ ในไทย กาวไกลสูสากล รวมบทความวิชาการ ในโอกาสครบรอบสถาปนาสถาบันกัลยาณราชนครินทร ดานนิติจิตเวช 2 สรุปการอภิปราย….คนไทยปวยจิต พิทักษสิทธิใหได เอกสารสรุปการอภิปราย 3 การผิดนัดของผูป วยจิตเวช : สาเหตุและผลกระทบ งานวิจัย 4 การศึกษาแบบทดสอบแกลงมีความบกพรองดานความจําในผูรบั บริการ งานวิจัย ตรวจวินจิ ฉัยทางนิตจิ ิตเวชและจิตเวช 5 แนวทางการดูแลผูปวยจิตเวชที่มีพฤติกรรมรุนแรง สําหรับญาติและผูด แู ล คูมือความรูการดูแลผูปว ยจิตเวช (ผลงานจากการจัดการความรู)
รายงานประจําป 2554
72
กลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรูดําเนินการประสาน สนับสนุนและสงผลงานดานวิชาการ นํา เสนอในการประชุม วิช าการสุ ข ภาพจิต นานาชาติ ครั้ง ที่ 10 โดยส ง ผลงานวิ จั ย นํ า เสนอแบบ Oral Presentationจํานวน 2 เรื่อง ไดรับการพิจารณาใหนําเสนอ จํานวน 1 เรื่อง คือ เรื่องการผิดนัดของผูปวยจิตเวช : สาเหตุและผลกระทบ และสงผลงานนํา เสนอแบบ Poster Presentation จํานวน 1 เรื่อง ไดรับ การคัดเลือกให นําเสนอ 1 เรื่อง นอกจากนี้ไดสงผลงานการการพัฒนานวัตกรรมไปนํา เสนอการประชุมวิชาการระดับกระทรวง สาธารณสุขจํานวน 1 เรื่อง ไดรับการคัดเลือกใหนําเสนอแบบ oral presentation เรื่องการพัฒนาเฝอกฟนยาง สําหรับผูปวยจิตเวชที่รักษาดวยไฟฟา สํา หรับ การประชุมวิช าการภายในของสถาบันกัล ยาณร าชนครินทรไดดํา เนินการจัดประชุม วิชาการในโอกาสครบรอบการกอตั้งสถาบันกัลยาณราชนครินทร (โรงพยาบาลนิติจิตเวชเดิม) 40 ป โดยกํา หนด ประเด็นวิชาการเรื่อง คนไทยปวยจิตจะพิทักษสิทธิอยางไร และจัดทําเอกสารวิชาการ 2 เรื่อง คือ สี่สิบปนิติจิตเวช : เลิศล้ําในไทย กาวไกลสูสากล ในโอกาสครบรอบสถาปนาสถาบันกัลยาณราชนครินทร 40 ป และสรุปการ อภิปราย….คนไทยปวยจิต พิทักษสิทธิใหได ดานการจัดการความรู (Knowledge Management) ตลอดระยะเวลา 7 ปที่ผานมา (พ.ศ. 2549-2554) ผูอํานวยการสถาบันกัลยาณราชนครินทร ให ความสํา คัญและมีนโยบายสนับ สนุนใหทุกหนวยงานนํา กระบวนการจัด การความรูเปนเครื่องมือในการพัฒนา คุณภาพงาน เนนดําเนินงานแบบบูรณาการ รวมทั้งสงเสริมใหเกิดวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนแบงปนความรูเพือ่ มุง สู การเปนองคกรแหงการเรียนรูอยางยั่งยืน โดยทีก่ ลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรูมีบทบาทเปนทีมสนับ สนุน และสงเสริม (facilitator) เพื่อใหหนวยงานตางๆ มีความรูความเขาใจเรื่องกระบวนการจัดการความรู และในป 2554 ไดมีการรวมกลุมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูในประเด็นความรูที่สนับสนุนการพัฒนา คุณภาพดานตางๆ เชน ดา นบริการจิตเวช ไดแก เรื่องการดูแลผูปวยที่ไดรับการรักษาดวยยาลิเธียม การดูแ ล สิ่งแวดลอ มและความปลอดภัย ในดา นวิช าการ ไดแ ก เรื่ องการเขียนบทความทางวิ ช าการ นอกจากนี้ นํ า กระบวนการจัดการความรูมาพัฒนาแนวทางในการดูแลผูปว ยจิตเวช โดยสกัดความรูและถอดบทเรียนจากญาติ ผูดูแล บุคลากรวิชาชีพตางๆ แลวจัดทําเปนเอกสารเรื่อง แนวทางการจัดการพฤติกรรมรุนแรงของผูปวยจิตเวช สําหรับญาติและผูดูแล เพือ่ เผยแพรแกญาติ บุคลากรและเครือขาย กลุมพัฒ นาวิชาการการและจัด การความรู เปนหนว ยประสานและสนับ สนุน ทางวิชาการให บุคลากรนําผลงานไปเสนอแบบโปสเตอรในตลาดนัดความรูสูสุขภาพจิตดี ครั้งที่ 6 จํานวน 2 เรื่อง คือ การจัดการ พฤติกรรมกาวราวในผูปวยจิตเวช สําหรับผูชวยเหลือคนไข (ACTION-NA) และ คืนชีวิตผูปวยนิติจิตเวชสูสังคม การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหนวยงานภายนอก สถาบันกัลยาณราชนครินทรสนับสนุนบุคลากรไป รวมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกรมทางหลวง กรมสุขภาพจิต โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกนราชนครินทร โรงพยาบาลจิต เวชนครสวรรคราชนครินทร โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ ทํา ใหบุค ลากรระดับตา งๆ มีโอกาสแสดง สมรรถนะในการใชกระบวนการจัดการความรูมาใชในการพัฒ นาคุณภาพงาน เกิด แรงจูงใจและสง เสริมใหมี ความคิดเชิงระบบตอการพัฒนางานอยางตอเนื่อง
รายงานประจําป 2554
73
นอกจากนี้ ไดรวบรวมแนวคิดการพัฒนาองคกรของผูบริหารสถาบันกัลยาณราชนครินทรตั้งแต อดีตจนถึงปจจุบัน ประสบการณความรูของบุคลากรที่เกษียณอายุราชการไปแลว ประวัติศ าสตร และการพัฒนา ตั้งแตเปนโรงพยาบาลนิติจิตเวชมาสูการเปนสถาบันกัลยาณราชนครินทร รวมทั้งสรุปบทเรียนจากบริการผูปวยนิติ จิตเวชที่เปนกรณีตัวอยางของความสําเร็จ มานําเสนอไวในพิพิธภัณฑและศูนยการเรียนรูดานนิติจิตเวช ซึ่งตั้งอยู ณ อาคารอํานวยการหลังแรกของสถาบัน โดยมีวัตถุประสงคใหเปนศูนยการเรียนรูประวัติศาสตรและวิวัฒนาการดาน บริการ บริห าร วิช าการ ความสัมพันธและคุณคา ของงานนิติจิตเวชในระบบบริการสาธารณสุข กระบวนการ ยุติธรรมและกระบวนการทางสังคมของประเทศ และเปนแหลงถายทอดองคความรู ประสบการณ ความผูกพันและ จิตวิญญาณของบุคลากร โดยเปดใหเขาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑฯ ไดตั้งแตวันที่ 16 มิถุนายน 2554 เปนตนมา ผลงานการจัดการประเด็นความรูทสี่ ําคัญ ไดแก 1 2 3
แนวทางการดูแลผูปวยจิตเวชที่มีพฤติกรรมรุนแรง สําหรับญาติและผูดูแล การดูแลผูปวยจิตเวชที่ไดรับยาลิเธียม (lithium) ผลของดนตรีตอความสามารถของผูปวยจิตเวชในการทํากิจกรรมศิลปะบําบัด
ดานการพัฒนาคลังความรู คณะกรรมการพัฒนาคลังความรู ประกอบดวยบุคลากรจากศูนยความเปนเลิศดานนิติจิตเวชและ กลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรู ดําเนินงานพัฒนาคลังความรูตอเนื่องจากปงบประมาณ พ.ศ. 2553 โดยใน ปงบประมาณ 2554 ดําเนินการนําเขาผลงานดานวิชาการและเทคโนโลยีใหสามารถเขาถึงและสืบคนไดผานระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศอินทราเน็ต และอินเตอรเน็ต
รายงานประจําป 2554
74
ปจจัยความสําเร็จ 1. ผูบริหารตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาผลงานวิชาการใหมคี ุณภาพ และสงเสริมให บุคลากรทุกระดับมีวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนความรู ภายใตบรรยากาศที่เปนมิตรเพื่อนําไปสูการเปนองคกรแห ง การเรียนรูอยางยั่งยืน 2. สถาบันกัลยาณราชนครินทร มีประเด็นความรูหลายประเด็นที่ทาทายใหจัดการความรู เพื่อ นําไปสูการเปนองคกรที่มีความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจิตเวช ปญหาและอุปสรรคของการพัฒนาดานวิชาการและจัดการความรู บุคลากรสหวิชาชีพมีภาระงานทั้งดานบริการและพัฒนาวิชาการ และตองรวมผลักดันองคกรไปสู ความเปนเลิศเฉพาะทางทั้งดานนิติจิตเวชควบคูไปกับดานวิกฤตสุขภาพจิต ซึ่งเปนเนื้อหาเฉพาะแตละดานทีม่ คี วาม แตกตางกัน ทําใหการผลิตผลงานลาชากวากําหนด
รายงานประจําป 2554
75
การพัฒนางานบริการฟนฟูสมรรถภาพ กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพ สถาบันกัลยาณราชนครินทรมีหนาที่ใหบริการผูปวยจิตเวช และนิติจิตเวช โดยการศึกษาวิเคราะห ประเมินอาการและพฤติกรรม วางแผนและใหบริการฟนฟูสมรรถภาพทัง้ แบบผูป ว ยในและ ผูปวยนอก รวมทั้งใหการสงเสริมปองกันและแกไขปญหาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการทํางาน และการดําเนินชีวิต แกผูปวยจิตเวชในชุมชน นอกจากนั้นยังเปนที่ปรึกษาและฝกอบรมทางวิชาการดานกิจกรรมบําบัด/อาชีวบําบัด แก นิสิตนักศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวของ รวมถึงการศึกษาวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีทางดา นการฟนฟูส มรรถภาพ ดวยงานกิจกรรมบําบัด/อาชีวบําบัดอยางตอเนื่อง ปจจุบันกลุมงานฟนฟูสมรรถภาพไดมีกิจกรรมฟนฟูสมรรถภาพผูปวยสถาบันกัลยาณราชนครินทร ทั้งแบบผูปวยในและผูปวยนอก เปนประจําทุกวันจันทร-ศุกร โดยพิจารณาจากปญหา ความจําเปนความตองการ ของผูปวยรายบุคคล และสงผูปวยฟนฟูสมรรถภาพในหนวยกิจกรรมที่ใกลเคียงกับอาชีพเดิมหรือแผนที่ผูปว ยจะ กลับไปใชชีวิตที่บาน/ชุมชน เชน กิจกรรมใชชีวิตประจําวัน การใชเวลาวาง งานอดิเรก การทํางาน และอื่นๆ ผูปวยนิติจิต เวชที่เขา รับการรัก ษาสว นใหญมักจะใชเวลาในการรักษานาน หรือบางคนใชชีวิต สลับกันเพียงแคเรือนจําและโรงพยาบาล ทําใหขาดโอกาสในการดําเนินชีวิตทางสังคม ขาดการเสริมสรางคุณภาพ ชีวิตในดานตางๆ กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพจึงไดจัดโครงการกิจกรรมสงเสริมคุณภาพชีวิต และโครงการกิจกรรม ตามประเพณีหรือวันสําคัญตางๆ ตอเนื่องเปนประจําทุกป เพื่อใหผูปวยไดรับโอกาสในการสงเสริมคุณภาพชีวติ และ เขารวมกิจกรรมตางทางสังคมดังเชนบุคคลทั่วไป ไดแก 1. โครงการกิจ กรรมบันเทิง สําหรับ ผูปว ยในสถาบันกัล ยาณร าชนครินทร จัดทุกวันศุกรบา ย เพื่อใหผูปวยไดผอนคลายจากการทํากิจกรรมประจําทั้งสัปดาห โดยใหผูปวยไดรวมสนุกกับ การรองเพลง เตนรํา และเลนเกมตางๆ รวม 37 ครั้ง ผูปวยเขารวมกิจกรรมจํานวน 1,081 ราย
รายงานประจําป 2554
76
2. โครงการดูแลสุขภาพอนามัยผูป ว ยจิตเวช จัดทุกวันอังคารที่ 4 ของเดือน ณ ศาลารวมใจ บริเวณ ตึกผูป วยใน โดยความรวมมือกับโรงเรียนฝกอาชีพกรุงเทพ (หลวงพอทวีศกั ดิ)์ ในการใหนักเรียนไดฝก ประสบการณจริง และผูป วยไดรบั การดูแลตัดผมเพื่อสุขอนามัยที่ดี รวม 12 ครัง้ ผูปว ยเขารวมกิจกรรมจํานวน 799 ราย
3. โครงการแวนสายตาเพื่อผูปวยสถาบันกัลยาณราชนครินทร จัดทุก 3 เดือน ณ ศาลารวมใจ บริเวณตึกผูปวยใน กิจกรรมนี้จัดทําเพื่อเปนการชวยเหลือผูปวยที่มีฐานะยากจนและขาดโอกาสในการเขาถึงบริการ ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทําใหผูปวยมีการมองเห็นที่ชัดเจน สามารถทํากิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวันหรือฟน ฟูทกั ษะ ตางๆไดดีขึ้น รวม 4 ครั้ง ผูปวยเขารวมกิจกรรม จํานวน 160 ราย
4. โครงการกิจกรรมประเพณีลอยกระทงสําหรับผูปว ย จัดในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553. ณ สนามหนาตึกผูปวยใน ภายในงานมีการแสดงดนตรี การประกวดทํา กระทง และการประกวดนางนพมาศ ผูปวย และญาติผูปวยรวมทั้งบุคลากรสถาบันเขารวมกิจกรรม จํานวนประมาณ 200 คน
รายงานประจําป 2554
77
5. โครงการกิจกรรมกีฬาสีและงานปใหมสําหรับผูปว ย จัดในวันที่ 23 ธันวาคม 2553 ณ สนาม หนาตึกผูปวยใน ประกอบดวยการทําบุญตักบาตรขาวสารอาหารแหงแดพระสงฆ 9 รูป การจัดแขงขันกีฬาสี การ จัดเลี้ยงอาหารโตะจีน การจับสลากของขวัญสอยดาว การมอบรางวัลผูป ว ยดีเดน การประกวดรองเพลง การชม ดนตรีและรวมสนุกสนานกับการเตนรํา ผูปวยและญาติผูปวยรวมทั้งบุคลากรสถาบันกัลยาณราชนครินทร เขารวม กิจกรรมจํานวนประมาณ 200 คน
6. โครงการกิจกรรมประเพณีสงกรานตสําหรับผูปวย จัดในวันที่ 7 เมษายน 2554. ณ สนามหนา ตึกผูปวยใน ประกอบดวยการทําบุญตักบาตรขาวสารอาหารแหงแดพระสงฆ 9 รูป การสรงน้ําพระ การรดน้ําขอพร ผูสูงอายุ การประกวดกอพระเจดียทราย การละเลนพื้นบาน และรวมสนุกเลนน้ําสงกรานตแบบไทย ผูปวย ญาติ ผูปวย สมาชิกชมรมญาติและชมรมผูสูงอายุ รวมทั้งบุคลากรสถาบันกัลยาณราชนครินทร เขารวมกิจกรรมจํา นวน ประมาณ 200 คน
รายงานประจําป 2554
78
7. โครงการกิจกรรมวันแมสํา หรับ ผูปวย จัดในวันที่ 11 สิงหาคม 2554 ณ อาคารนันทนาการ บําบัด กิจกรรมประกอบดวย การแสดงดนตรีอังกะลุงวงผูปวยและเจาหนาที่ การประกวดเขียนเรียงความ ทําการด วาดภาพ รองเพลงคาน้ํานม รวมทั้งจัดนิทรรศการวันแม เพื่อใหผูปวยและแมไดรวมชื่นชมผลงาน และสงเสริม สัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ผูปวยและญาติผูปวย รวมทั้งบุคลากรสถาบันกัลยาณราชนครินทร เขา รว มกิจกรรม จํานวนประมาณ 150 คน
นอกจากนีก้ ลุมงานฟนฟูสมรรถภาพยังใหบริการดานวิชาการโดยการเปนวิทยากรบรรยายในหัว ขอความรูดา นงานบริการฟนฟูสมรรถภาพผูปว ยจิตเวชและนิติจิตเวช แกนักศึกษากิจกรรมบําบัด แพทยประจํา บาน พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก นักสังคมสงเคราะห และการใหความรูในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ กิจกรรมการดําเนินชีวิตแกผูตองขังในเรือนจํา รวมทัง้ หมด 41 ครั้ง ผูร ับบริการจํานวนประมาณ 887 ราย และพัฒนาสื่อรณรงค/ถายทอด เพื่อสงเสริมความรู ความเขาใจ ที่ถูกตองแกประชาชนในเรื่อง สุขภาพจิตวัยทํางานและวัยสูงอายุ ไดแก - คูมือการปรับตัวของผูส ูงอายุ - แผนพับกิจกรรมบําบัดในผูส ูงอายุทมี่ ีปญ หาสุขภาพ และผูส ูงอายุทวั่ ไป - แผนพับความเครียดที่เกิดจากการทํางาน
4.3 งานวิจัยที่เสร็จสมบูรณ ลําดับ 1 2
กิจกรรม
เจาของผลงาน
ผลงานวิจัย การศึกษาแบบทดสอบการแกลงมีความบกพรองดานความจําใน นายณัฐวุฒิ อรินทร ผูรับบริการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวชและจิตเวช แพทยหญิงวิชชุดา จันทราษฎร การผิดนัดของผูป วยจิตเวช : สาเหตุและผลกระทบ
หมายเหตุ : รายละเอียดบทคัดยองานวิจัยอยูทภี่ าคผนวก รายงานประจําป 2554
79
4.4 งานผลิตและเผยแพรวิชาการ งานวิชาการที่ผลิตและเผยแพร
1.
2. 3. 4. 5. 6. 7.
1. 2. 3. 4. 5.
กิจกรรมพัฒนาและจัดพิมพสอื่ เทคโนโลยี หนังสือ/คูมอื สี่สบิ ปนิติจิตเวช : เลิศล้าํ ในไทย กาวไกลสูสากล ในโอกาสครบรอบสถาปนาสถาบันกัลยาณราช นครินทร สรุปการอภิปราย ... คนไทยปวยจิต พิทักษสทิ ธิ ใหได แนวทางการจัดการพฤติกรรมรุนแรง ผูป ว ยจิต เวช สําหรับญาติและผูดแู ล มาตรฐานบริการสายดวนสุขภาพจิต 1323 แนวปฏิบัติการชวยเหลือดานสุขภาพจิตในภาวะ วิกฤต : กรณีภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติ สําหรับ หนวยงานกรมสุขภาพจิต แผนเตรียมความพรอมรับ มือกับ สถานการณภัย พิบัติดานสุขภาพจิต คูมือการปรับตัวของผูสูงอายุ
ผลิตโปสเตอร รางวัลความสําเร็จดานบริหาร บริการ และ วิชาการของสถาบันกัลยาณราชนครินทร พระราชบัญญัติสถขภาพจิต พ.ศ. 2551 พยาบาลกับการพิทักษสิทธิผูปวยจิตเวช ผูปว ยจิตเวช...อยูในสังคม...อยางเทาเทียม...ได อยางไร บันได 3 ขั้น นําผูปวยนิติจิตเวชสูประตูบา น องค ความรูสํ า คัญ ในการสงเสริม คุณ ภาพชีวิต ของ ผูปวยนิติจิตเวช
รายงานประจําป 2554
หนวยนับ
จํานวน
เจาของผลงาน
เลม
500
กลุมพัฒนาวิชาการและ จัดการความรู
เลม
500
เลม
500
เลม เลม
500 500
กลุมพัฒนาวิชาการและ จัดการความรู กลุมพัฒนาวิชาการและ จัดการความรู ศูนยวกิ ฤตสุขภาพจิต ศูนยวกิ ฤตสุขภาพจิต
เลม
1,000
ศูนยวกิ ฤตสุขภาพจิต
เลม
1,000
กลุมบริการทาง การแพทยรวมกับศูนย สุขภาพจิตที่ 4
เรื่อง
1
เรื่อง
1
เรื่อง เรื่อง
1 1
กลุมพัฒนาวิชาการและ จัดการความรู ศูนยความเปนเลิศดาน นิติจิตเวช กลุมการพยาบาล งานจิตเวชชุมชน
เรื่อง
1
ศูนยความเปนเลิศดาน นิติจิตเวช
80
6. 7.
งานวิชาการที่ผลิตและเผยแพร นักจิตวิทยาคลินิกกับการพิทักษสิทธิผูปวย งานฟนฟุสมรรถภาพ...คืนสิทธิเทาเทียมกัน
8.
เรื่องจริงของผูป วยไรสิทธิ
9.
การจัดการพฤติกรรมรุนแรงในผูป ว ยจิตเวช สําหรับผูชว ยเหลือคนไข 10. นาวทางการดูแลผูป วยจิตเวชที่มีพฤติกรรม รุนแรง สําหรับญาติและผูดูแล 11. คืนชีวิตผูปว ยนิติจิตเวชสูสงั คม
1
ผลิตแผนพับ / CD พระราชบัญญสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 (เยียวยา ผูปว ยทางจิตและทุกชีวิตรอบขาง)
รายงานประจําป 2554
หนวยนับ เรื่อง เรื่อง เรื่อง
จํานวน เจาของผลงาน 1 กลุม งานจิตวิทยา 1 กลุม งานฟนฟู สมรรถภาพ 1 กลุมงานสังคมสงเคราะห
เรื่อง
1
กลุมการพยาบาล
เรื่อง
1
เรื่อง
1
กลุมพัฒนาวิชาการและ จัดการความรู ศูนยความเปนเลิศดาน นิติจิตเวช
แผน
23,000 ศูนยความเปนเลิศดาน นิติจิตเวช
81
สวนที่ 5 สรุปผลการดําเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร
โครงการ/กิจกรรมตามแผนยุทธศาสตร ตัวชี้วัดผลการดําเนินการ บทคัดยองานวิจัย ประมวลภาพโครงการ/กิจกรรม
รายงานประจําป 2554
82
5.1 โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการ ปงบประมาณ 2554 ยุทธศาสตรที่ 1 : พัฒนาการบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวช ลําดับ 1
2
โครงการ/กิจกรรม
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
การให บ ริ ก ารคํ า ปรึ ก ษาในและ ทุกรายที่ ผูรับบริการไดรับคําแนะนํา นอกกสถานบริการ 1323 ขอรับ จากผูใหคําปรึกษาลดภาวะ บริการ ความเสี่ ย งต อ ความเครีย ด
งบประมาณ หนวยที่รับผิดชอบ 300,000
ทั้ง ที่พยายามทํ าร ายตั วเอง และคิดฆาตัวตาย ประชาชนผูประสบภัยไดรับ 312,243 การจั ด ที ม สุ ข ภาพจิ ต เคลื่ อ นที่ 8 (MCATT) ออกให ก ารช ว ยเหลื อ ครั้ง/456 กาชวยเหลือเยียวยาจิตใจ (งบเยียวยา)
เยี ย วยาจิ ต ใจผู ป ระสบอุ ท กภั ย รุนแรงในพื้นที่ภาคกลาง 3
เปาหมาย
ศูนยวกิ ฤต สุขภาพจิต
ศูนยวกิ ฤต สุขภาพจิต
คน
โครงการพัฒนาสมรรถนะพยาบาล 3 ครั้ง/ 1. ได แ ผ น กิ จ ก ร ร ม ก า ร ในการดูแลผูปวยเพื่อความเปนเลิศ 150 คน/ พยาบาลผูปวยนิติจิตเวชแต เฉพาะทางดานนิติจิตเวช 6 วัน ละมาตรา ซึ่ งเป น โครงร า ง
100,000
กลุมการพยาบาล
ได อุ ปกรณ จํ ากั ดพฤติ กรรม ผู ป วยก าวร าวรุ นแรงอย าง ปลอดภัย ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู : คุณคา 1 ครั้ง/ 1.ไดขอ มูลการพัฒนางาน ความงาม ตามรอยความสํ า เร็ จ 30 คน/2 นิติจติ เวชเบื้องตนจากการ เลาเรื่องราวของผูเขารวม เสนทางนิติจิตเวช (เพื่อพัฒนาศูนย วัน ประชุม การเรียนรูดานนิติจิตเวช) 2.ไดขอ มูลความตองการการ พัฒนาพิพิธภัณฑ 3.มีแผนเบื้องตนในการ พัฒนา
50,000
กลุมการพยาบาล
30,000
กลุมพัฒนาวิชาการ และจัดการความรู
ก อ น ส ง ใ ห ผู เ ชี่ ย ว ช า ญ ตรวจสอบ 2.บุ ค ลากรได รั บ ความรู ค ว า ม เ ข า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ผูปวยนิติจิตเวช
4 5
โครงการพั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก าร ผูปวยที่มีภาวะวิกฤตฉุกเฉิน
รายงานประจําป 2554
2 เรื่อง
83
ยุทธศาสตรที่ 1 : พัฒนาการบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวช (ตอ) ลําดับ 6
โครงการ/กิจกรรม
เปาหมาย
ปร ะสบกา รณ ด านจิ ตใจและ 1 เรื่อง กระบวนการเยียวยาของเหยื่อในคดี ความผิดตอชีวิตผูปวยจิตเวช (วิจัย) โครงการธรรมานามัย เพื่อพัฒนา 6 ครั้ง/ คุณภาพชีวิตผูส ูงอายุ 480 คน/ 6 วัน
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ) ไดผลงานวิจยั ในรูปแบบ บทคัดยอ
1.พัมนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. มี สุ ข ภ าพ ร างก าย แ ล ะ สุขภาพจิตดี 3.ดําเนินวิถีชีวิตไดเหมาะสม 4.สามา รถถ า ยทอดให ถึ ง บุคคลอื่นได โครงการประชุม เชิ ง ปฏิ บัติ ก าร 2 ครั้ง80 ผูเขารวมโครงการไดรับความรู ความปลอดภัยดานยา คน/2 วัน ในเรือ่ งความปลอดภัยดานยา จิตเวช และการลดความ คลาดเคลือ่ นทางยา โครงการพัฒนาระบบการเฝาระวัง 1 ครั้ง/ 1.บุคลากรทีป่ ฏิบตั ิงานมี การติดเชื้อใน รพ. 30 คน/2 ความรูความเขาใจและมี ทักษะในการปองกันและ วัน ควบคุมการติดเชือ้ 2.ผูรบั ผิดชอบงานดานการ ปองกันและควบคุมการติดเชื้อ ไดทบทวน ปรับปรุงวิธีการ ปฏิบตั ิที่เหมาะสม
7
8
9
10
งบประมาณ หนวยที่รับผิดชอบ 15,000
กลุมงานสังคม สงเคราะห
480,000
ฝายบริหารงานทั่วไป
15,000
กลุมงานเภสัชกรรม
15,000
ทีม IC
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ ผูป ว ย จิ ต เว ช ส ถ า บั น กั ล ยา ณ ร า ช นครินทร ป 2554 10.1 กิ จ กร รมบั น เทิ ง บํ า บั ด 24 ครั้ง/ 1.ผูปวยไดรับการพัฒนาทักษะ 6,000 สํ า หรั บ ผู ป ว ยจิ ต เวขสถาบั น 270 คน/ ทางสังคม (งบมูลนิธ)ิ กัลยาณราชนครินทร 24 วัน 2 . ผู ป ว ย ส า ม า ร ถ ส ร า ง
กลุมงานฟนฟู สมรรถภาพ
สัมพันธภาพ และแสดงออกได อยางเหมาะสม
รายงานประจําป 2554
84
ยุทธศาสตรที่ 1 : พัฒนาการบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวช (ตอ) ผลการดําเนินการ ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย (เชิงปริมาณ/คุณภาพ) 10.2 กิ จ กรรมดู แ ลสุ ข อนามั ย 6 ครั้ง/ 1.ผูปวยในสถาบันฯ มี ผูปวยจิตเวช สถาบันกัลยาณราช 270 คน/ สุขอนามัยทีด่ ีขนึ้ นครินทร 6 วัน 2.ผูป วยสามารถสราง
3,000 (งบมูลนิธ)ิ
กลุมงานฟนฟู สมรรถภาพ
10.3 โครงการแว น สายตาแก ผูปวยจิตเวช สถาบันกัลยาณราช นครินทร
24,000 (งบมูลนิธ)ิ
กลุมงานฟนฟู สมรรถภาพ
30,000 (งบมูลนิธ)ิ
กลุมงานทันตกรรม
10,000 (งบมูลนิธ)ิ
กลุมงานทันตกรรม
65,000 (งบมูลนิธ)ิ 50,000 (งบมูลนิธ)ิ
กลุมงานสังคม สงเคราะห งานจิตเวขชุมชน
11
โครงการสนับ สนุนเฝอ กฟน ยาง ใหกั บ ผู ปว ยจิ ตเวชที่ไ มส ามารถ จายเงินเองได
12
โครงก ารสอ นทั น ตสุ ขศึ ก ษา สําหรับผูปวยจิตเวช
13 14
งบประมาณ หนวยที่รับผิดชอบ
สัมพันธภาพกับบุคคลอืน่ ๆ และแสดงออกไดอยาง เหมาะสม 3.ผูปวยไดระบายออกในทาง สรางสรรค 2 ครั้ง/ 1.ผูปวยไดรับโอกาสตรวจวัด 80 คน/2 สายตาและประกอบแวน 2.ผูปวยไดรับการสงเสริม วัน ศักยภาพในการมองเห็น 3.ผูปวยไดรับการสงเสริม ความสามารถในการประกอบ ทักษะการดําเนินชีวติ อยางมี คุณภาพ 50 คน 1.ผูปวยไดรับกลองใสเฝอกฟน ยาง จํานวน 250 กลอง 2.มีการจัดเก็บเฝอกฟนยางที่ มิดชิดและเปนสัดสวน 6 ครั้ง/ ผูปวยตระหนักถึงการดูแล 180 คน/ สุขภาพภายในชองปากไดดขี ึ้น
6 วัน โครงการฟ น ฟู ศั ก ยภาพผู ป ว ย 100 ราย ผูปวยสามารถกลับไปชวย ครอบครัวทํางานได ดานการประกอบอาชีพ (ปนน้ําใจ) เตรียมความพรอมญาติในการดูแล 24 ครั้ง/ ญาติไดรับการประเมินภาวะ ผูปวยที่บาน 624 คน/ สุขภาพ ไดรับการดูแลจิตใต 24 วัน เพื่อใหสามารถดูแลผูปวยได
รายงานประจําป 2554
85
ยุทธศาสตรที่ 1 : พัฒนาการบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวช (ตอ) ผลการดําเนินการ ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย (เชิงปริมาณ/คุณภาพ) 15
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ 12 ครั้ง/ ผูปวยไดเรียนรูทกั ษะและรวม ผูปวยจิตเวช 1,200 กิจกรรมการออกกําลังกาย คน/40 วัน เพื่อสุขภาพเปนหมูค ณะ
16
โครงการกิจกรรมประเพณีและวัน สํ า คั ญ สํ า ห รั บ ผู ป ว ยจิ ตเ ว ช สถาบัน กัล ยาณราชนคริน ทร ป 2554 16.1 โครงการกิจกรรมประเพณี ลอยกระทงสําหรับ ผูปว ยจิตเวช สถาบัน กัล ยาณราชนคริน ทร ป 2553 16.2 โครงการกิจกรรมกีฬาสีและ งานป ใ หม สํา หรั บ ผู ป ว ยจิ ต เวช สถาบันกัลยาณราชนครินทร
1.ผูปวยไดรับการฟนฟูทักษะ การดูแลตัวเอง 2.ผูปว ยได รับรูประเพณีลอย กระทงและไดรวมกิจกรรม 1.ผูปวยไดรับการฟน ฟูทกั ษะ การออกกําละงกาย 2.ผูปวยไดรวมกิจกรรมการ ออกกําลังกายเพื่อสุขภาพเปน หมูคณะ 16.3 โครงการกิจกรรมประเพณี 1 ครั้ง/20 1.ผูปวยจิตเวชไดเขารวม สงกรานต สํา หรั บ ผู ป ว ยจิ ต เวช คน/1 วัน กิจกรรมตามประเพณีไทย 2.เพิ่มความรูค วามเขาใจ ปรับ สถาบันกัลยาณราชนครินทร เจตคติของญาติและสังคม สรางภาพลักษณและปรับ ภาพลักษณของผูปวยทางจิต ใหเปนที่ยอมรับ
16.4 กิจกรรมสานสายใยรัก ครั้ง ที่ 5 (กิจกรรมวันแมสําหรับผูปวย จิ ต เวช สถา บั น กั ล ยาณ ร า ช นครินทร
รายงานประจําป 2554
งบประมาณ หนวยที่รับผิดชอบ 50,000 (งบมูลนิธ)ิ
งานบําบัดพิเศษ กลุมการพยาบาล
(งบมูลนิธ)ิ
กลุมงานฟนฟู สมรรถภาพ
(งบมูลนิธ)ิ
กลุมงานฟนฟู สมรรถภาพ
15,000
กลุมงานฟนฟู สมรรถภาพ
กลุมงานฟนฟู สมรรถภาพ
86
ยุทธศาสตรที่ 2 : สงเสริมและพัฒนาภาคีเครือขายบริการสุขภาพจิต นิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต โครงการ/กิจกรรม
ลําดับ 1
เปาหมาย
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
โครงการอบรมการพยาบาล 1 ครั้ง/23 1.ผูเขารวมอบรมผานการ อบรมตามเกณฑทกี่ ําหนด เฉพาะทางการพยาบาลจิต เวช คน ครบทัง้ 23 คน และสุขภาพจิต
2.คะแนนเฉลีย่ ของผูเขารับ
งบประมาณ หนวยที่รับผิดชอบ 190,000 (เงินบํารุง) 300,000 (งบสมเด็จฯ)
กลุมการพยาบาล
115,900
งานจิตเวชชุมชน
5,000 (งบ HA)
งานบําบัดพิเศษ กลุมการพยาบาล
30,000 (งบ Excellence)
กลุมงานสังคม สงเคราะห
220,700 (งบ รพ.สวน ปรุงฯ)
งานสงเสริมและ พัฒนาเครือขาย สุขภาพจิต
การอบรมตลอดหลักสูตร = 3.03
2
โครงการสรางความเขมแข็ง ชุมชนในการดูแลผูป วยจิตเวช ป54
3
4
5
3 ครั้ง/ 1.ผูเขารวมโครงการ มีความรู 130 คน/6 ความเขาใจ และมีทักษะใน การดูแลผูป วยจิตเวช วัน
โครงการศึกษาดูงานเพื่อ 1 ครั้ง/15 แลกเปลี่ยนเรียนรูดา นการบําบัด คน/1 วัน ยาเสพติด ณ รพ.อินทรบุรี โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ 1 ครั้ง/35 เรื่อง การปฏิบัติงานสังคม คน/2 วัน สงเคราะห นิตจิ ิตเวชสําหรับนัก สังคมสงเคราะหระดับกรม สุโครงการพั ขภาพจิตฒนาคุณภาพระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สําหรับ รพศ.รพท.รพช. และรพ. สต.ในเขตสาธารณสุขที4่ และ5 5.1 โครงการประชุมชีแ้ จงการ 4 ครั้ง/ ดําเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบ 270 คน/4 บริการสุขภาพจิตและจิตเวช วัน สําหรับ รพศ.รพท.รพช.และรพ. สต. จังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี และเพชรบุรี รายงานประจําป 2554
2.เกิดเครือขายการดูแลผูปวย จิตเวชในชุมชน
87
ยุทธศาสตรที่ 2 : สงเสริมและพัฒนาภาคีเครือขายบริการสุขภาพจิต นิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต ลําดับ
6
โครงการ/กิจกรรม
เปาหมาย
5.2 โครงการการพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการสุขภาพจิตและจิต เวชสําหรับ รพศ.รพท.รพช.และ รพ.สต.จังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี และ เพชรบุรี 5.3 โครงการพัฒนาระบบ Refer ในเขตสาธารณสุขที่ 4 และ 5
20 ครั้ง/ 500 คน/ 20 วัน
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
งบประมาณ หนวยที่รับผิดชอบ 200,000 (งบ รพ.สวน ปรุงฯ)
งานสงเสริมและ พัฒนาเครือขาย สุขภาพจิต
1 ครั้ง/80 มีการวางแนวทางการสงตอ 89,400 คน/1 วัน (Refer) ภายในเครือขายเขต (งบ รพ.สวน สาธารณสุข 4 และ 5 ให ปรุงฯ) เปนระบบเดียวกันอยางมี สวนรวมและไปในทิศทาง เดียวกัน 5.4 โครงการสนับสนุนศักยภาพ 8 ครั้ง/ 100,000 และความเขมแข็งของเครือขาย รพ 320 คน/8 (งบ รพ.สวน ศ. รพท. รพช. และ รพ.สต. จังหวัด วัน ปรุงฯ) ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ประจวบคีรขี ันธุ สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี และเพชรบุรี 5.5 โครงการประชุมสรุปผลการ 1 ครั้ง/50 74,700 ดําเนินงานพัฒ นาคุณภาพระบบ คน/2 วัน (งบ รพ.สวน บริ ก ารสุ ข ภาพจิ ต และจิ ต เวช ปรุงฯ) สํา หรับ รพศ. รพท. รพช. และ รพ.สต. ในเขตสาธารณสุข ที่ 4 และ 5 โครงการพัฒนาระบบการดูแล 2 ครั้ง/30 20,000 ตอเนื่องในสถานสงเคราะห คน/2 วัน (งบมูลนิธิ)
งานสงเสริมและ พัฒนาเครือขาย สุขภาพจิต
รายงานประจําป 2554
งานสงเสริมและ พัฒนาเครือขาย สุขภาพจิต
งานสงเสริมและ พัฒนาเครือขาย สุขภาพจิต
กลุมงานสังคม สงเคราะห
88
ยุทธศาสตรที่ 3 : พัฒนาความเชี่ยวชาญสูความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจิตเวช ลําดับ
โครงการ/กิจกรรม
เปาหมาย
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
งบประมาณ
1.ผู เ ข า ร ว มกิ จ กรรมได รั บ ความรูเรื่องสิทธิของผูปวยจิต เวช ผูดอยโอกาสและบทบาท ข อ ง ผู ที่ เดี่ ย ว ข อ ง ใน ก า ร ผลั ก ดั น ให มี ก ฎหมายสิ ท ธิ ตางๆ 2.ผู เข าร ว มกิ จกรรมได มีก าร แลกเปลี่ยนประสบการณการ คุมครองสิทธิผูดอยโอกาส 3.ผูดอยโอกาส ผูมีสวนไดสวน เสี ย ได แ ลกเปลี่ ย นแนวคิ ด และวิธีปฏิบัติรวมกัน
380,000
1
ประชุม วิช าการนํา เสนอผลงาน 1 ครั้ง/400 คุ ณ ภาพ ครั้ ง ที่ 10 ในโอกาส คน/2 วัน ครบรอบวั น สถาปนาสถา บั น กัลยาณราชนครินทร 40 ป
2
โครงการพัฒนากระบวนการดูแ ล 1 ครั้ง/40 ผูปวยนิติจิตเวชของทีมสหวิชาชีพ คน/3 วัน
3
มีการถายทอดและแลกเปลี่ยน การถายทอดมาตรฐานบริการนิติ 1 จิตเวช สราง รพ. ตัวอยาง 1 แหง โรงพยาบาล เรียนรูก ารบังคับใช พ.ร.บ.
30,000 (งบ HA)
สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 แก โรงพยาบาลตนแบบ
4
ไดจัดทําฐานขอมูลผูป วยนิติ โครงการจัดทําฐานขอมูล ผูปว ย 1 นิติจิตเวช ฐานขอมูล จิตเวชที่ไดรับการตรวจ วินิจฉัยตั้งแตป พ.ศ. 25492553 จํานวน 516 ราย
รายงานประจําป 2554
หนวยที่ รับผิดชอบ กลุมพัฒนา วิชาการและ จัดการความรู ,ศูนยความเปน เลิศดานนิติจิต เวช
ศูนยความเปน เลิศดานนิติจิต เวช
15,000 ศูนยความเปน (งบ เลิศดานนิติจิต Excellence) เวช 20,000 ศูนยความเปน (งบ เลิศดานนิติจิต Excellence) เวช
89
ยุทธศาสตรที่ 3 : พัฒนาความเชี่ยวชาญสูความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจิตเวช ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
โครงการ/กิจกรรม
เปาหมาย
5
การศึกษาเกณฑปกติและคุณภาพ แบบทดสอบการแกล งมีปญ หา ดานความจํา (Test of Memory Malingering) (วิจัย)
1 เรื่อง
ศูนยความเปน 45,000 เลิศดานนิติจิต (งบ เวช Excellence)
6
การศึ กษาประสิท ธิผ ลของกลุ ม เตรียมความพรอมในการตอสูค ดี สําหรับผูปวยนิติจิตเวช (วิจัย)
1 เรื่อง
ศูนยความเปน 30,000 เลิศดานนิติจิต (งบ เวช Excellence)
7
การศึกษาคุณภาพชีวิตผูปวยนิติ จิตเวชหลังจําหนาย (วิจัย)
1 เรื่อง
ศูนยความเปน 30,000 เลิศดานนิติจิต (งบ เวช Excellence)
รายงานประจําป 2554
งบประมาณ
หนวยที่ รับผิดชอบ
ลําดับ
90
ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ลําดับ 1
โครงการ/กิจกรรม
เปาหมาย
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
โครงการประชุมเรื่อ งการนํา กล ยุทธสูการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ 1.1ประชุมทบทวนแผนยุทธศาสตร 1 ครั้ง/65 1.ไดแนวทางในการ และแนวทางการดํ า เนิ น งาน คน/3 วัน ดําเนินงานในปงบประมาณ 2554 ประจําป 2554
งบประมาณ
หนวยที่ รับผิดชอบ
280,000
กลุม ยุทธศาสตร และ สารสนเทศ
15,000
กลุม ยุทธศาสตร และ สารสนเทศ
2.ไดแผนทีย่ ุทธศาสตรของ สถาบันฯ ที่มีความสอดคลอง กับกรมสุขภาพจิต
1. 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตาม 1 ครั้ง/50 ชี้แจงผลการดําเนินงานและ ความกา วหนา และประเมิ น ผล คน/1 วัน ติดตามความกาวหนาของการ จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิ การดําเนินงาน การ
2
โครงการสงเสริมสุขภาพบุคลากร ประจําป 2. 1 โครงการสง เสริม สุข ภาพ บุคลากรดวยการฉีดวัคซีนปองกัน ไวรัส ตับ อักเสบบีใหกับ บุค ลากร กลุมเสี่ยง
1 ครั้ง/ 153 คน
2. 2 โครงการตรวจสุขภาพและ ทดสอบสมรรถภาพบุ ค ลากร ประจําป
2 ครั้ง/ 280 คน
รายงานประจําป 2554
1.บุคลากรกลุมเสี่ยงไดรับการ เจาะเลือดตรวจหาภูมิคุมกัน กอนไดรับการฉีดวัคซีน 2.บุคลากรทีย่ ังไมมีภูมิไดรับ วัคซีนครบ 3.บุคลากรไดรบั ความรูแ ละ ความปลอดภัย บุคลากรตระหนักถึง ความสําคัญของสุขภาพ รางกายและทราบถึงผูมีภาวะ ความเสี่ยงตอการเกิดโรคที่ ปองกันได
85,000
ทีม IC
235,000
ฝายทรัพยากร บุคคล
91
ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ตอ) ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
โครงการ/กิจกรรม
เปาหมาย
3
โครงการเตรี ยมความพร อมวั น เกษียณ
1 ครั้ง/ 270 คน
4
โครงการเสริมสรา งแรงจูงใจใน การทํางาน 4. 1 กิจกรรมรณรงค 40 ปสาน สายใยรอยดวงใจศรีกลั ยาณ
1 ครั้ง/ 280 คน
152,000
ฝายทรัพยากร บุคคล
4. 2 กิจกรรมรณรงคเสริมสรา ง ความสามัค คี Walk Rally ศรี กัลยาณ 4.3 กิจ กรรมนอมนําจิตใจเสริม สายใยวันครอบครัว
1 ครั้ง/ 130 คน
32,500
ชมรมกีฬา
20,500
ฝายบริหาร ฯ รวมกับชมรม จริยธรรม
4.4 กิจ กรรมรณรงค เสริม สรา ง เครือขายสานสายสัมพันธ
1 ครั้ง/ 100 คน
20,000
ชมรมกีฬา
4.5 กิจกรรมรณรงค 40 ป คนดี ศรีกัลยาณ
1 ครั้ง/ 280 คน
152,000
ฝายทรัพยากร บุคคล
4.6 โครงการรณรงครวมใจภัก ดิ์ รักษสิ่งแวดลอม
1 ครั้ง/ 100 คน
32,500
ทีม ENV
รายงานประจําป 2554
1 ครั้ง/ 100 คน
บุคลากรสามารถนํา ประสบการณที่ไดจากการ แลกเปลี่ยนเรียนรูไปใชเปน แนวทางปฏิบัติงานและการ ปฏิบัติตนเพื่อการเขาสูวัย ผูสูงอายุที่มีคุณภาพ
1. สรางความสัมพันธอันดี ภายในหนวยงาน 2. บุคลากรระลึกถึง ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย 1. ผูเขารวมกิจกรรมเกิด เครือขายและมีความสัมพันธืที่ ดีตอกัน 2. สงเสริมใหบุคลากรออก กําลังกาย และมีสุขภาพที่ แข็งแรง บุคลากรที่เขารวมกิจกรรมมี ทัศนคติทดี่ ตี อองคกรและมี กําลังใจในการทํางาน 1.บุคลากรไดพัฒนา สิ่งแวดลอม ปรับภูมิทศั น พื้นที่ของสถาบันฯ ใหสวยงาม 2. บุคลากรไดแสดงความ จงรักภักดีตอ สถาบัน พระมหากษัตริย
งบประมาณ
หนวยที่ รับผิดชอบ ฝายทรัพยากร บุคคล
ลําดับ
267,000
92
ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ตอ) งบประมาณ
หนวยที่ รับผิดชอบ
4.7 กิจกรรมอบรมหลักสูตรการ 1 ครั้ง/79 บุคลากรสามารถทํางานเปน พัฒนาทีมงาน “พลังแหงทีมงาน คน/2 วัน ทีม มีความสามัคคีในหมูคณะ มีทศั นคติทดี่ ีในการทํางาน และมิตรภาพองคกร”
230,220
ฝายทรัพยากร บุคคล
6
พัฒนาศูนยการเรียนรูดา นนิติจิต เวช
400,000
กลุมพัฒนา วิชาการและ จัดการความรู ,ศูนยความ เปนเลิศดาน นิติจิตเวช
7
โครงการรณรงคเนื่องในวันสําคัญ 7.1 โครงการวันพยาบาลสากล
1 ครั้ง
2,000
กลุมการ พยาบาล
7.2 โครงการวันพยาบาลแหงชาติ
1 ครั้ง
4,000
กลุมการ พยาบาล
ลําดับ
โครงการ/กิจกรรม
รายงานประจําป 2554
เปาหมาย
1 ศูนย
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ) เพื่อปองกันการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ 3. บุคลากรไดรวมแรงรวม ใจแสดงความสามัคคีเปน การเสริมแรงจูงใจในการ ทํางาน
รูสกึ ผูกพันตอองคกร 1.ผูเขารวมประชุมมีความรู เรื่องการรวบรวมขอมูล ประวัตศิ าสตร 2.ผูเขารวมประชุมมีความรู การแยกแยะขอมูล ประวัตศิ าสตร 3.ผูเขารวมประชุมมีสวนรวม ในการออกแบบและพัฒนา ศูนยการเรียนรูด านนิติจติ เวช
1.ผูเขารวมงานไดรับการตรวจ สุขภาพเบือ้ งตน 2. ผูเขารวมชมนิทรรศการ ไดรับการถายทอดความรูดา น การสงเสริมสุขภาพในระบบ บริการสุขภาพ ผูรับบริการไดรับการสอนสุข ศึกษา เอกสารเรือ่ งโรคจิต และการดูแลตนเอง
93
ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ตอ) ลําดับ
โครงการ/กิจกรรม 7.3 โครงการวันทันตสาธารณสุข 7.4 โครงการสัปดาหสุขภาพจิต
7 . 5 โ ค ร ง ก า ร ส ร า ง เ ส ริ ม อุดมการณ รักชาติศาสน กษัตริย อยางสามัคคี (ถวายสัตยปฏิญาณ 5 ธันวาคม 2553) 7.6 โครงการนิ ท รรศการเฉลิ ม พระเกียรติเพื่อนอมระลึก 100 ป แห ง การสวรรคตของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว 8
โครงการสุขภาพจิตผูสูงอายุ
9
โครงการจริยธรรมสถาบันกัลยาณ ราชนครินทร
10
โค ร ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ต า ม มาตรฐาน ISO
รายงานประจําป 2554
เปาหมาย
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
ผูรับบริการไดรับการสอนสุข ศึกษาและรับการตรวจรักษา ทางทันตกรรม 1 ครั้ง ผูเขารวมโครงการมีความรู ความเขาใจเรือ่ งสุขภาพจิต และมีแนวทางในการดูแล ตนเองและผูไดรับผลกระทบ จากอุทกภัยไดรับการเยียวยา จิตใจ จํานวน 5 ครอบครัว 1 ครั้ง 1.สรางความสามัคคี 2.ผลักดันใหเจาหนาที่บาํ เพ็ญ ประโยชนตอ สาธารณชน 3.สรคางเสริมความเปนบุคคล ที่รกั ชาติ ศาสน กษัตริย 1 ครั้ง 1.เผยแพรควารูทางวิชาการ 2.ประกาศเกียรติคุณและ เผยแพรพระอัจฉริยภาพ 3.สดุดแี ละแสดงความตระหนัก ในพระมหากรุณาธิคุณ 4 ครั้ง/ 1.ผูเขารวมโครงการไดไป 120 คน เยี่ยมชุมชนผูสูงอายุบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา 2.ผูเขารับฟงการบรรยาย ไดรับความรูแ ละไดแงคดิ ใน การดําเนินชีวติ 2 ครั้ง/40 ผูเขารวมโครงการไดปฏิบัติ ธรรม ฝกการเจริญสมาธิ และ คน เขาใจชีวิตตามหลักคําสอน ของพระพุทธศาสนามากขึน้
1 ครั้ง/ 350 คน
งบประมาณ
หนวยที่ รับผิดชอบ
2,000
กลุมงานทัต กรรม
20,000
กลุมการ พยาบาล
12,000
ฝายบริหาร ทั่วไป
5,000
ฝายบริหาร ทั่วไป
20,000
ชมรมผูส ูงอายุ
30,000
ชมรม จริยธรรม
94
ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ตอ) ลําดับ
โครงการ/กิจกรรม
เปาหมาย
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
1.บุคลากรมีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับขอกําหนดและ แนวทางในการเยี่ยมสํารวจ ตามมาตรฐาน ISO 27001 2.หนวยงานไดรับการเยีย่ ม สํารวจภายในตามมาตรฐาน ISO 27001 จากหนวยงาน ภายนอกและไดปรับปรุงตาม ประเด็น/ขอเสนอแนะเพื่อให ระบบบริหารคุณภาพผานการ รับรองมาตรฐาน 10.2 โค รงการพั ฒ นาระบบ 2 ครั้ง/ 1.บุคลากรมีความรูความ บริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน 100 คน/4 เขาใจเกี่ยวกับขอกําหนดและ แนวทางในการเยี่ยมสํารวจ ISO 9001:2008 วัน ตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 2.หนวยงานไดรับการเยีย่ ม สํารวจภายในตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 จาก หนวยงานภายนอกและได ปรับปรุงตามประเด็น/ ขอเสนอแนะเพื่อใหระบบ บริหารคุณภาพผานการ รับรองมาตรฐาน
10.1 โครงการพัฒนาระบบความ 4 ครั้ง/ มั่ น ค ง ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ข อ มู ล 320 คน/8 สารสนเทศ ตามมาตรฐาน ISO วัน 27001
รายงานประจําป 2554
งบประมาณ 190,000
74,200
หนวยที่ รับผิดชอบ ศูนยพฒ ั นา คุณภาพ
ศูนยพฒ ั นา คุณภาพ
95
ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ตอ) งบประมาณ
หนวยที่ รับผิดชอบ
โครงการประชุมปฏิบัติการชุมชน 2 ครั้ง/ 1.ผูเขารวมประชุมไดความรู นัก ปฏิ บั ติ : แลกเปลี่ย นเรี ย นรู 100 คน/3 ในการเขียนบทความทาง วิชาการ บูรณาการเพื่อผลงานคุณภา วัน
20,000
กลุมพัฒนา วิชาการและ จัดการความรู
12
โครงการอบรมเรื่ อ งการสอบ 1 ครั้ง/40 เครื่องมือและอุปกรณ เทีย บและบํ า รุง รักษาเครื่อ งมื อ คน/2 วัน การแพทยไดรบั การสอบเทียบ 100% อุปกรณการแพทย
30,000
ทีมบํารุงรักษา เครื่องมือ อุปกรณทาง การแพทย
13
โครงการใหความรูเรื่องการปฏิบตั ิ 1 ครั้ง/50 เชิงปองกันเพื่อการกําจัดของเสีย คน/1 วัน อยางมีประสิทธิภาพ
13,200 (งบ HA)
ทีม บริหาร สิ่งแวดลอมและ ความ ปลอดภัย (ฝายบริหารทั่วไป)
14
อบรมหลั ก สู ต รเรื่ อ งการเป น ผู เยี่ ย มสํ า รวจภายใน : Internal Survey ประชุ ม การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ระบบการบริห ารความเสี่ย งใน องคกร 15.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อ ง แผนบริห ารความเสี่ยงและการ พั ฒ นาโปรแกรมบริ ห ารความ เสี่ยง
1 ครั้ง/50 คน/1 วัน
56,800 (งบ HA)
ศูนยพฒ ั นา คุณภาพ
1 ครั้ง/50 1.หน ว ยงานมี แ ผนบริ ห าร คน/2 วัน ความเสีย่ ง
18,000 (งบ HA)
ศูนยพฒ ั นา คุณภาพ
ลําดับ 11
โครงการ/กิจกรรม
เปาหมาย
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
2.ผูเขารวมประชุมได แลกเปลี่ยนประสบการณ 3.ไดเอกสารองคความรูก าร ดูแลผูป วยจิตเวชที่มี พฤติกรรมรุนแรงและไดรับยา ในกลุมเสี่ยงสูงอยางเปนระบบ สําหรับญาติและผูดแู ล
15
รายงานประจําป 2554
2.ได ร วมนํ าเสนอหมวดและ ร า ย ก า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ที่ ครอบคลุ ม ระบบต า งๆ ของ สถาบันฯ
96
ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ตอ) ลําดับ
โครงการ/กิจกรรม
25,000 (งบ HA)
หนวยที่ รับผิดชอบ ศูนยพฒ ั นา คุณภาพ
1 ครั้ง/70 คน/2 วัน
27,000 (งบ HA)
ศูนยพฒ ั นา คุณภาพ
1 ครั้ง/40 1.เพิ่มพูนความรูด านระบบ คน/3 วัน ประสาทแกนกั จิตวิทยาคลินกิ
35,000
กลุมงาน จิตวิทยา
เปาหมาย
ผลการดําเนินการ (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
15.2 อบรมเรื่องการใชโปรแกรม 1 ครั้ง/70 บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ได มี ก าร บริหารความเสี่ยง (RMIS) คน/2 วัน ทดลองใช โปรแกรมบริ ห าร
งบประมาณ
ความเสี่ ย งและให ข อ เสนอ แนะที่ เป น ประโยชน ต อ การ พัฒนาโปรแกรม
16
17 18
15.3 ประเมินและขยายผลการ พั ฒ นาโปรแกรมบริ ห ารความ เสี่ยง (RMIS) อ บ ร ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ ช แบบทดสอบทางประสาท จิตวิทยาในผูปวยจิตเวชทีม่ ปี ญ หา ทางกฎหมาย
2.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู ประสบการณของนักจิตวิทยา คลินกิ ในการปฏิบัติงานดาน นิติจติ เวช การร ว มประชุ ม วิ ช าการ HA 1 ครั้ง/8 บุคลากรไดมีโอกาสในการ National Forum ครั้งที่ 12 คน/3 วัน เรียนรูเกี่ยวกับการพัฒนา คุณภาพการใหบริการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ "การ 1 ครั้ง/30 จัดทําแผนพัฒนาความเชี่ยวชาญ คน/2 วัน เฉพาะทางดานนิติจิตเวชสําหรับ สายงานหลัก (ตอเนื่อง)"
รายงานประจําป 2554
(งบ Excellence)
25,000 (งบ HA)
ศูนยพฒ ั นา คุณภาพ
40,000
ศูนยความเปน เลิศดานนิติจิต (งบ เวช Excellence)
97
5.2 ผลการดําเนินงานตามตัวชีว้ ัดแผนยุทธศาสตร ประจําปงบประมาณ 2554 ตัวชีว้ ัด
หนวย ผูรับผิดชอบ นับ
Baseline 2552
2553
ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 1.1 ระดับความสําเร็จของโรงพยาบาล/สถาบัน ระดับ ที่ไ ด รั บ การพั ฒ นาตามขั้ น ตอนการรั บ รอง คุณภาพมาตรฐาน HA 1.2 ระดับความสําเร็จ ในการตอบสนองความ ระดับ ตองการของผูรับบริการและผูมีสวนไดเสีย 1.3 อัตราการตายของผูปวยในโรงพยาบาล
ผลการ เปาหมาย ดําเนินงาน ป 2554
ศูนย HA
5
5
5
5
กลุม การ พยาบาล/กลุม อํานวยการ
-
-
5
5
0
0
0
5
5
5
5
-
5
5
5
5
5
อัตรา กลุมบริการทาง 0.06
การแพทย
1.4 ระดับ ความสํา เร็จ ของรอ ยละเฉลี่ย ถว ง ระดับ น้ํา หนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการ ใหบริการ
กลุมการ พยาบาล
กลุมการ 1.5 ระดับความสําเร็จ ในการบําบัดรักษาและ ระดับ พยาบาล (งาน ติดตามผูปว ยยาเสพติดที่มีอาการรว มทางจิต ฯ เครือขาย) เวชตามเกณฑที่กําหนด
กลุมการ 1.6 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ในการให บ ริ ก าร ระดับ 5 พยาบาล (งาน บําบัดรักษาและเฝาระวังผูพยายามฆาตัวตายใน ฯ เครือขาย) (97.57) (97.53) พื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ
รายงานประจําป 2554
98
ตัวชีว้ ัด
หนวย ผูรับผิดชอบ นับ
Baseline 2552
2553
ผลการ เปาหมาย ดําเนินงาน ป 2554
ยุทธศาสตรที่ 2 สงเสริมและพัฒนาภาคีเครือขายบริการสุขภาพจิต จิตเวช และวิกฤตสุขภาพจิต 2.1 รอยละของผูปวยในจิตเวชไมกลับเขามารับ รอยละ กลุมบริการทาง 97.27 การแพทย การรักษาซ้ํา ภายใน 90 วัน
95.14
95
95
กลุมการ 2.2 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ในการพั ฒ นาระบบ ระดับ พยาบาล บริการสุขภาพจิต และจิตเวชในสถานบริการ (งานฯ สาธารณสุ ข ในจั ง หวั ด เป า หมายตามแนว เครือขาย) ทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวช กลุมการ 2 .3 ร ะ ดั บ ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใน ก า ร พั ฒ น า / ระดับ พยาบาล (งาน ประสานงานกั บ องค ก รนอกระบบบริ ก าร ฯ เครือขาย) สาธารณสุข
5
5
5
5
5
5
5
5
กลุมการ 2.4 ระดับ ความสํา เร็จในของการดํา เนิน งาน ระดับ พยาบาล (งาน ผลักดันใหหนวยงานในพื้นที่จังหวัดที่รบั ผิดชอบ ฯ เครือขาย) มีบริการ/จัดบริการแกผูปวยโรคซึมเศรา
5
5
5
5
กลุมบริการทาง การแพทย (กลุม งานฟนฟูฯ) / กลุม อํานวยการ(ฝาย ประชาสัมพันธฯ)
5
5
5
5
ศูนยวกิ ฤต สุขภาพจิต
-
-
5
5
2.5 ระดับความสําเร็จในการรณรงค/ถา ยทอด ระดับ เพื่อสงเสริมความรู ความเขา ใจที่ถู กตอ งแก ประชาชนในเรื่องสุข ภาพจิตวัยทํางานและวัย สูงอายุ ระดับ พื้นที่ (Air War และ Ground War) 2.6 ระดับ ความสําเร็จ ของการนํานวตกรรม / ระดับ รูปแบบการบริการดานวิกฤตสุขภาพจิตที่ผลิต ไปใชประโยชน
รายงานประจําป 2554
99
ตัวชีว้ ัด
หนวย ผูรับผิดชอบ นับ
ผลการ เปาหมาย ดําเนินงาน ป 2554 2553
Baseline 2552
ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญสูค วามเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจติ เวช 3.1 รอยละของผูปวยในนิติจิตเวชหลังพนโทษ ไมกอคดีซ้ําภายใน 2 ป 3.2 ระดับความสําเร็จในการพัฒนาตามเกณฑ มาตรฐานบริการจิตเวชเฉพาะทางดานนิติจิต เวช (Excellence Center) 3.3 ระดับความสํา เร็จการยอมรับในการเปน ตนแบบดานการบริการนิติจิตเวชระดับประเทศ หรือตางประเทศ 3 . 4 ร ะ ดั บ ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ใ น ก า ร พั ฒ น า โรงพยาบาล/สถาบันในสังกัดกรมสุขภาพจิตให มีรูปแบบการบริการนิติจิตเวชตามมาตรฐาน 3.5 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ของการพั ฒ นาคลั ง ความรูทางวิชาการดานนิติจิตเวช
รอยละ
ศูน ยความเปนเลิศ ดานนิติจิตเวช
96.30
ระดับ
ศูนยความ เปนเลิศดาน นิติจติ เวช
2
ระดับ
ศูนยความ เปนเลิศดาน นิติจติ เวช
-
-
5
5
ระดับ
ศูนยความ เปนเลิศดาน นิติจติ เวช
-
-
5
5
ระดับ
กลุม พัฒนาวิชาการ ฯ/ศูนยความเปน เลิศ ดานนิติจิตเวช
5
5
5
5
3.6 รอยละของผูปว ยนิติจิตเวชที่ไ ดรับ การ ประชุม วินิจ ฉัยโรคและรายงานผลการตรวจ วินิจฉัยทางนิติจิตเวชตามระยะเวลามาตรฐานที่ กําหนดภายใน 45 วัน 3.7 ระดั บ ความสํ า เร็จ ในการพั ฒ นาระบบ บริการนิติจิตเวชครบวงจร 3.8 ระดับ ความสําเร็จของการพัฒนางานวิจัย องคความรูและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพมาตรฐาน (จําแนกเปนวิกฤตฯ และนิติฯ) 3.9 ระดับ ความสําเร็จ ของการนํา นวตกรรม/ รูป แบบการบริการดา นนิติจิต เวชที่ผ ลิตและ นําไปใชประโยชน 3.10 ระดับความสําเร็จของการบังคับใชพรบ. สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 3.11 ระดับความสําเร็จของการบังคับใชพรบ. สุ ข ภาพจิ ต พ.ศ. 2551 ในและนอกสั ง กั ด กระทรวงสาธารณสุข
รอยละ ศูนยความเปนเลิศ
-
-
100
100
ระดับ
ศูน ยความเปนเลิศ ดานนิติจิตเวช
-
-
5
5
ระดับ
กลุม พัฒนาวิช าการฯ /ศูน ยความเปน เลิศ ดานนิติจิตเวช /ศูน ย วิกฤตฯ ศูน ยความเปนเลิศ ดานนิติจิตเวช / กลุม พัฒนาวิช าการฯ
5 (65)
5 (65)
รายงานประจําป 2554
ดานนิติจติ เวช/ กลุมบริการทาง การแพทย
ระดับ
98.04
98
98.25
5 5 5 (ระดับ 2) (ระดับ 3) (ระดับ 3)
5 5 (42.85) (63.64) -
-
5
5
ศูน ยความเปนเลิศ ดานนิติจิตเวช
-
5
5
5
ระดับ ศูนยความเปน
-
5
5
5
ระดับ
เลิศดานนิติจิตเวช
100
ตัวชี้วดั
หนวย นับ
Baseline
ผูรับผิดชอบ
2552 2553 ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกรใหมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล กลุม 4.1 ระดับคะแนนความสําเร็จของการดําเนินงาน ระดับ 4.9563 4.9170 ยุ ท ธศาสตร ตามตัวชี้วัดคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําป
เปาหมาย
ผลการ ดําเนินงาน ป 2554
5
4.9172
และสารสนเทศ
4.2 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูบริหาร รอยละ ระดับสูงของกรมฯที่มีตอหนวยงาน 4.3 ระดั บความสํ า เร็จของการดํา เนิ น การตาม ระดับ มาตรการปองกันและปราบปรามการทุจริต และ ประพฤติมิชอบ
ทุกกลุม ภารกิจ
-
77.17
85
92
กลุม อํานวยการ (ฝายพัสดุ)
4.2500
5
5
5
4.4 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ในการเป ด โอกาสให ประชาชน/เครื อข า ยเข า มามี ส ว นร ว มในการ แสดงความคิดเห็นและรวมติดตามตรวจสอบการ ปฏิบัติราชการ
ระดับ
กลุมการ พยาบาล (งาน จิตเวชชุมชน)
5
5
5
5
4.5 ระดับความสําเร็จของรายไดที่เพิ่มขึ้น
ระดับ
กลุมอํานวยการ (ฝายการเงิน )
5 (73)
5 (83)
5 (94)
5 (94.90)
4.6 รอยละของการเรียกเก็บหนีค้ า รักษา พยาบาลคางชําระ
รอยละ
-
81.95
84
91.77
4.7 รอยละของอัตราการเบิกจายงบประมาณ รายจายในภาพรวมของหนวยงาน
รอยละ
กลุม อํานวยการ (ฝายการเงิน) กลุม อํานวยการ (ฝายการเงิน) กลุม อํานวยการ (ฝายการเงิน) กลุม ยุทธศาสตร และสารสนเทศ กลุมพัฒนา วิชาการฯ
98.83
99.95
97
99.78
97.71
100
78
-
-
-
5
5
5
5
5
5
-
-
5
4.9262
4.8 รอยละของอัตราการเบิกจายเงินงบประมาณ รอยละ รายจายลงทุนของหนวยงาน 4.9 ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบ ขอมูลและสารสนเทศ
ระดับ
4.10 ระดับความสําเร็จในการจัดการความรู
ระดับ
4.11 คะแนนเฉลีย่ ถวงน้าํ หนักในการดําเนินงาน เพื่อเสริมสรางสมรรถนะดานการบริหาร ทรัพยากรบุคคลของหนวยงาน (HR Scorecard)
คะแนน เฉลีย่
รายงานประจําป 2554
กลุม อํานวยการ (ฝาย HRD)
101
ตัวชี้วดั
หนวย นับ
Baseline
ผูรับผิดชอบ
2552 2553 ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกรใหมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล กลุม 4.12 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ในการบริ ห ารจั ด การ ระดับ 4.875 5 ยุ ท ธศาสตร นโ ย บ า ย แ ล ะยุ ท ธ ศ า ส ต ร สุ ข ภ า พ จิ ต ที่ มี และสารสนเทศ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเกณฑ
เปาหมาย
ผลการ ดําเนินงาน ป 2554
5
5
4.13 ระดับความสําเร็จในการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน
ระดับ
ศูนย HA
5
5
5
5
4.14 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตาม มาตรการประหยัดพลังงาน
ระดับ
กลุมอํานวยการ (ฝายบริหาร ทั่วไป)
5
5
5
5
รายงานประจําป 2554
102
สวนที่ 6 ภาคผนวก บทคัดยองานวิจัย ประมวลภาพกิจกรรม
รายงานประจําป 2554
103
การศึกษาแบบทดสอบการแกลงมีความบกพรองดานความจํา ในผูร ับบริการตรวจวินิจฉัยทางนิติจติ เวชและจิตเวชไทย นายณัฐวุฒิ อรินทร บทคัดยอ ผูปวยที่มีปญหาทางกฎหมายมักจะพยายามแสรงทําเปนมีอาการความผิดปกติมากกวาความเปนจริง เชน แกลงมีความบกพรองดานสมองเกี่ยวกับความจํา เพื่อเลี่ยงการรับผิดทางกฎหมาย ดังนั้นการตรวจประเมินดาน ประสาทจิตวิทยา จึงมีความสําคัญและมีความจําเปนตอนักจิตวิทยาคลินิกในหนวยงานนิติจิตเวชมากขึน้ ปจจุบนั มี แบบทดสอบเฉพาะทางนิติจิตวิทยาเพื่อประเมิน การแกลงมีความบกพรองดานความจํา แตยังไมมีการศึกษาวิจยั ใน กลุมคนไทย วัตถุประสงค เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของแบบทดสอบการแกลงมีความบกพรองดานความจํา ใน ผูรับ บริการตรวจวินิจ ฉัย ทางนิติจิต เวชและจิตเวช โดยมุง ศึกษาผลการระบุกลุมตัว อยางไดอยา งถูกตองจาก แบบทดสอบ เพื่อหาเกณฑที่เหมาะสมในการจํา แนกผูที่แกลงทํา กับผูที่ไมไ ดแกลงทําในกลุมตัวอยางไทย วิธี การศึกษา ศึกษาในกลุมตัวอยางที่มารับบริการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวชและจิตเวช และถูกสงใหตรวจวินิจ ฉัย ทางจิตวิทยาคลินิก จํานวน 200 ราย เก็บขอมูลโดยนักจิตวิทยาคลินิกที่ผานการฝกอบรมการใชแบบทดสอบ จาก สถาบันและโรงพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิต ผลการศึกษา ผลการระบุกลุมตัวอยางไดถูกตอง วาไมไดแกลงทําเมือ่ ใชจุดตัดที่ 45 ใน Trial2 เทากับรอยละ 94 และเมื่อใชจุดตัดที่ 40 ผลการระบุกลุมตัวอยางไดถูกตองมีคาสูงขึ้น เทา กับรอยละ 96 และคะแนนเฉลี่ยทุกชุดทดสอบยอยมีคาสูงกวา คะแนนเปาหมาย (45 คะแนน) โดย Trial1 ( × = 45.08, SD.=6.23), Trial2 ( × =48.51,SD. =3.94) และ Retention Trial (× = 48.25, SD.=5.16) สรุป ประสิทธิภาพของแบบทดสอบนี้ ศึกษาในกลุมตัว อยา งไทยซึ่งมีความหลากหลายทางคลินิกสอดคลองกับ การศึกษาอื่นๆ ในตางประเทศ พบวามีความถูกตองสูงในการระบุวาไมไดแกลงทํา รอยละ 94 และมีความถูกตอง สูงขึ้นเปนรอยละ 96 ใน Trial2 เมื่อใชจุดตัดที่ 45 และ 40 ตามลําดับ ทั้งนี้พิจารณาเลือกใชตามความเหมาะสมกับ กลุมตัวอยาง คําสําคัญ แกลงทํา บกพรองดานความจํา นิติจิตเวช
รายงานประจําป 2554
104
Performance on the Memory Malingering Test Among Thai Forensic and Non-Forensic Psychiatric Samples Abstract Patients who have legal problems may be exaggerated their symptoms such as memory impairment in order avoiding prosecution. Thus, the detection of neuropsychological impairment has become an issue increasing concern to clinical psychologist in forensic setting. Moreover, the Memory Malingering Test was recently developed but there is no research by empirical examining its utility in Thailand. Objective : To examine the classification accuracy and to explore the appropriate cutoffs of the test of memory malingering in Thai subjects who were referred for forensic and non - forensic psychiatric assessment. Method: A total sample of 200 cases were collected by clinical psychologist at mental health hospital from various setting in Thailand. Result : The result of current study indicated that performance on the Memory Malingering Test scores high specificity were 94% at recommended cutoff of 45 and improved to 96% at 40 cutoff. Both values showed high correctly classifying as non- malingering. In addition, the average score was showed higher than 45 as expected value; Trial1 (Mean = 45.08, SD.= 6.23), Trial2 (Mean= 48.51,SD.=3.94) and Retention Trial ( Mean = 8.25,SD=5.16). Conclusion: The Memory Malingering Test using in Thai samples is consistent with the numerous researches showing good of this test performance across a range of clinical samples with high correct classification rate 94% at 45 (5 errors) and increasing to 96% at 40 (10 errors) cutoffs. Keywords: Malingering ; Memory impairment ; Thai Samples
รายงานประจําป 2554
105
ผูรบั บริการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวชและจิตเวช การผิดนัดของผูปวยจิตเวช : สาเหตุและผลกระทบ แพทยหญิงวิชชุดา จันทราษฎร บทคัดยอ วัตถุประสงค ศึกษาอัตราการผิดนัด สาเหตุและผลกระทบจากการผิดนัดของผูปวยจิตเวช วัสดุและวิธีการ การวิจัยเชิงพรรณนาแบบยอนหลังในผูปว ยจิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทรที่นัด ติดตามการรักษาเดือนเมษายนถึงเดือนกันยายน 2552 เก็บขอมูลจากเวชระเบียนยอนหลัง 1 ป โดยใชแบบบันทึก ขอมูล ที่ผูวิจัยสรางขึ้น วิเคราะหขอมูลโดยใชส ถิติเชิงพรรณนา Chi-square test Mann-Whitney U test และ Kruskal-Wallis test ผล ผูปวยจํานวน 365 คน อัตราการผิดนัดรอยละ 21.4 ของการนัดทั้งหมด มากอนวันนัดรอยละ 54.2 และมาหลังวันนัดรอยละ 45.8 สาเหตุที่มากอนวันนัดมากที่สุดคืออาการทางจิตเวชกําเริบ รองลงมาคืออาการไมพงึ ประสงคจากยาและยาหมด (รอยละ 43.6 รอยละ 15.4 รอยละ 13.1 ตามลําดับ) สาเหตุที่มาหลังวันนัดมากที่สุด คืออาการทางจิตเวชกําเริบ รองลงมาคือติดธุระ/ปญหาการเดินทาง/การเงิน และยามีเหลือ (รอยละ 23.0 รอยละ 13.4 และรอยละ 10.4 ตามลําดับ) ผูปวยผิดนัดมีภาวะจิตเวชฉุกเฉินและบําบัดรักษาแบบผูปวยในมากกวาผูปวย มาตรงนัดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ การผิดนัดไมไดขึ้นกับเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ภูมิลําเนา สิทธิการรักษาและการวินิจฉัย สรุป 1 ใน 5 ของการนัดทั้งหมดมาผิดนัด สาเหตุจากอาการทางจิตเวชกําเริบมากที่สุด ผูปวยผิดนัด มีภาวะจิตเวชฉุกเฉินและบําบัดรักษาแบบผูปวยในมากกวาผูปวยมาตรงนัด ดังนั้นจิตแพทยควรตระหนักในการเฝา ระวังอาการจิตเวช อาการไมพึงประสงคจากยา และสอบถามสาเหตุการผิดนัด เพื่อใหการรักษาและกํา หนด ระยะเวลาการนัดที่เหมาะสมกับผูปวยแตละราย
รายงานประจําป 2554
106
Abstract Objectives To study missed appointment rate, the reason for missed appointment, and impact of missed appointment in psychiatric outpatients. Material and methods Medical records of psychiatric patients who were appointed from April 2009 to September 2009 at the outpatient clinic at Galya Rajanagarindra Institute, were reviewed retrospectively for 1 year. We performed data analysis by using descriptive statistics, Chi-square test, Mann-Whitney U test and Kruskal-Wallis test. Results Of the 365 patients whose medical records were reviewed, 21.4% missed their appointments. Of these, 54.2% visited the clinic earlier than appointed dates, while 45.8% came later. Psychiatric symptom exacerbation, adverse drug reactions, and inadequate amount of medicine were the reasons for coming earlier in 43.6%, 15.4% and 13.1% of the patients, respectively. While the reasons of visiting later than the appointments were psychiatric symptom exacerbation, problems in business, communication system, or economic status, and remained amount of medicine in 23.0%, 13.4% and 10.4% of the patients, respectively. Patient’s characteristics, i.e. sex, age, marital status, educational level, dwelling, type of medical welfare and diagnosis were not associate with missed appointment. However, patients with missed appointments had significantly higher rates of psychiatric emergency and hospital admissions than followed-appointment patients. Conclusion Approximately one-fifth of the psychiatric patients missed their appointments. The most common reason for missed appointments was psychiatric symptom exacerbation. In addition, missed appointment patients had significantly higher rate of psychiatric emergency and hospital admission than followed appointment patients. Hence, monitoring for psychiatric symptoms exacerbations and adverse drug reaction is important. Psychiatrists should check each patient’s reason for missed appointments to plan appropriate, individualized treatment strategy and frequency of psychiatric appointments.
รายงานประจําป 2554
107
ประมวลภาพกิจกรรม โครงการอบรม การจัดทําแผนพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานนิติจติ เวชสําหรับสายงาน หลัก (ตอเนื่อง) โครงการอบรม เรื่อง การใชแบบทดสอบทางประสาทจิตวิทยาในกลุมผูที่มปี ญหาทางกฎหมาย โครงการอบรม “การปฏิบตั ิงานสังคมสงเคราะหนิติจติ เวชสําหรับนักสังคมสงเคราะหระดับกรม สุขภาพจิต” โครงการศึกษาดูงานกระบวนการดูแลผูป ว ยนิตจิ ิตเวชของทีมสหวิชาชีพดานนิติจิตเวช “การศึกษาดูงานเชิงเปรียบเทียบ (Bench Marking) ในองคกรระหวางประเทศ” โครงการพัฒนาระบบการสงตอ (Refer) ในเขตสาธารณสุขที่ 4 และ 5 โครงการอบรมการพัฒนาระบบเอกสารคุณภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001 โครงการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบการจัดการดานความปลอดภัย ของขอมูลตามมาตรฐาน ISO 27001 Internal Audit ภายในองคกร โครงการรับการ Pre-Audit โครงการปรับสมดุลสุขภาพตามแนวธรรมชาติบาํ บัด โครงการออกหนวยเพื่อเยียวยาผูที่ไดรบั ผลกระทบทางการเมือง โครงการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารทบทวนแผนยุทธศาสตรและการนํากลยุทธสกู ารปฏิบตั ิที่มี ประสิทธิภาพ โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูค ณ ุ คาความงาม : ตามรอยความสําเร็จเสนทางนิติจติ เวช โครงการสรางพลังสุขภาพจิตเด็ก เยาวชนและครอบครัว พิธีเปดโครงการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิต รุนที่ 4 โครงจัดการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร เรื่องความปลอดภัยดาน ยาจิตเวช: การเฝาระวังอาการไม พึ่งประสงคจากยา โครงการสนับสนุนศักยภาพความเข็มแข็งของเครือขาย รพศ. รพท. รพช. และรพ.สต.ในพืน้ ที่ เขตตรวจราชการที่ 4,5 โครงการประเพณีสงกรานตสาํ หรับผูป วยในประจําป 2554 รายงานประจําป 2554
108
โครงการอบรมความรูพ ระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานคุณภาพ ครัง้ ที่ 10 สี่สิบปนิติจติ เวช : เลิศล้ําในไทย กาว ไกลสูสากล ในโอกาสครบรอบ 40 ป โครงการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่อง การฟน ฟูศกั ยภาพบุคลากรผูใ หบริการปรึกษาสายดวน สุขภาพ 1323 โครงการการอบรมวิทยากรหลักสูตรเรื่อง การชวยเหลือเยียวยาจิตใจผูประสบภาวะวิกฤต สําหรับผูป ฏิบตั ิงานสุขภาพจิตสังกัดกรมสุขภาพจิต โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่องการชวยเหลือผูท ี่พยายามฆาตัวตายสําหรับบุคลากร สาธารณสุข การประชุมเรื่อง ทิศทางการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิตจากปจจุบนั สูอนาคต โครงการประชุมปฏิบตั ิการเพื่อปรับรางแผนเตรียมความพรอมรับมือกับสถานการณวิกฤตดาน สุขภาพจิตสําหรับหนวยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต
รายงานประจําป 2554
109
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการอบรม การจัดทําแผนพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะ ทางดานนิติจิตเวชสําหรับสายงานหลัก (ตอเนื่อง)
จัด ขึ้ น ระหว างวั น ที่ 27-28 มกราคม 2554 ณ สถาบั น กั ลยาณ ราชนคริ น ทร โดยมี เป าหมายในการจั ดทํ าแผนพั ฒนาบุ ค ลากรเฉพาะทางด านนิ ติ จิ ตเวชที่ ร ะบุ ความรู ทั ก ษะและ สมรรถนะที่จําเปนตองพัฒนา มีการกําหนดวิธี การเรียนรูและพัฒนา รวมทั้งระยะเวลาที่เหมาะสม ในการพัฒนาสําหรับบุคลากรสายงานแพทย พยาบาลวิชาชีพ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห นัก กิ จ กรรมบํ า บั ด ทั น ตแพทย แ ละเภสั ช กร เพื่ อ ใช เ ป น แนวทางในการวางแผนพั ฒ นาบุ คลากร รายบุคคลของทีมสหวิชาชีพดานนิติจิตเวชตอไป ซึ่งจากการจัดอบรมทําใหไดรางแผนพัฒนาความ เชี่ยวชาญเฉพาะทางดานนิติจิตเวชสําหรับสายงานหลักและใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตอง เชิงเนื้อหาวิชาการจํานวน 4 ทาน ประกอบดวย แพทย นักจิตวิทยา หัวหนาฝายทรัพยากรบุคคล และผูเชี่ยวชาญจากภายนอก
รายงานประจําป 2554
110
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการอบรม เรื่อง การใชแบบทดสอบทางประสาท จิตวิทยาในกลุมผูที่มีปญหาทางกฎหมาย
กลุมงานจิตวิทยา สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการอบรม นักจิตวิทยาคลินิกใน งานนิ ติ เ วช ครั้ ง ที่ 2 เรื่ อ ง “การใช แ บบทดสอบทางประสาทจิ ต วิ ท ยาในกลุ ม ผู ที่ มีป ญ หาทาง กฎหมาย” ใหแกนักจิตวิทยาคลินิกในสังกัดและนอกกรมสุขภาพจิตที่ทํางานเกี่ยวของกับการตรวจ วิจฉัยผูที่มีปญหาเกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรม เพื่ อเพิ่มพูนและแลกเปลี่ยนความรูดานระบบ ประสาทวิทยาและนําไปประยุกตใชกับแบบทดสอบทางประสาทจิตวิทยา เมื่อวันที่ 9-11 กุมภาพันธ 2554 ณ หองประชุมนายแพทยอุดม ลักษณวิจารณ ชั้น 4 ตึกอํานวยการ
รายงานประจําป 2554
111
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการอบรม “การปฏิบัติงานสังคมสงเคราะหนิติจิตเวช สําหรับนักสังคมสงเคราะหระดับกรมสุขภาพจิต”
กลุมงานสังคมสงเคราะห สถาบั น กัล ยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการอบรมเชิง ปฎิบัติการเพื่อพัฒนาบุคลากรเรื่องสังคมสงเคราะหนิติจิตเวช เพื่อใหัความรูและเพิ่มทักษะ ดานนิติจิตเวชศาสตร กระบวนการนิติจิตเวช กฎหมายที่เกี่ยวของ ใหแกนักสังคมสงเคราะห ในสั ง กั ด กรมสุ ข ภาพจิ ต กระทรวงสาธารณสุ ข โดยมี น ายแพทย ศิ ริ ศั ก ดิ์ ธิ ติ ดิ ล กรั ต น ผูอํานวยการสถาบันกัลยาณราชนครินทร เปนประธานในพิธีเปด เมื่อวันที่ 19-21 เมษายน 2554 ณ หองประชุมนายแพทยสุรินทร ปนรัตน ชั้น 4 ตึกอํานวยการ
รายงานประจําป 2554
112
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการศึกษาดูงานกระบวนการดูแลผูปวยนิติจิตเวชของทีมสหวิชาชีพดานนิติจิตเวช “การศึกษาดูงานเชิงเปรียบเทียบ (Bench Marking) ในองคกรระหวางประเทศ”
ระหวางวันที่ 27-29 เมษายน 2554 ณ The Center for Mental Health Education, Institute of Mental Health (IMH) / Woodbridge Hospital ประเทศสิงคโปร
รายงานประจําป 2554
113
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการถายทอดมาตรฐานบริการนิติจิตเวช
ระหว า งวั น ที่ 1-2 กั น ยายน 2554 ณ โรงพยาบาลสวนสราญรมย จังหวัดสุราษฎรธานี
รายงานประจําป 2554
114
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง และการแลกเปลีย่ นเรียนรู (RMIS)
ศูนยพัฒนาคุณภาพ ไดจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง ใหแกบุคลากรภายในสถาบันกัลยาณฯ เพื่อใหบุคลากรมีความรูความเขาใจ และเรียนรูเ พิ่อพัฒนาโปรแกรมความเสี่ยง (RMIS) เมื่อวันที่ 6-7๗ และ 20-21 มกราคม 2554 ณ หองประชุมนายแพทยสุรินทร ปนรัตน ชั้น 4 ตึกอํานวยการ
รายงานประจําป 2554
115
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการพัฒนาระบบการสงตอ (Refer) ในเขตสาธารณสุข ที่ 4 และ 5
งานสงเสริมและพัฒนาเครือขายสุขภาพจิต กลุมการพยาบาลสถาบันกัลยาณฯ ได จัดโครงการพัฒนาระบบการสงตอ (Refer) ในเขตสาธารณสุขที่ 4 และ 5 ใหแกผูรับผิดชอบงาน สุ ข ภาพจิ ต และจิ ต เวชในสํ า นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด โรงพยาบาลศู น ย โ รงพยาบาลทั่ ว ไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล เพื่อใหผูรวมประชุมไดรวมกันวางแนว ทางการสงตอ (Refer) ภายในเครือขายและวางแผนระบบยาทางจิตเวชไปในทิศทางเดียวกันและ สื่อสารสองทางในการเสริมสรางความเขาใจและสามัคคีรวมกัน เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2554 ณ หองประชุมนายแพทยสุรินทร ปนรัตน ชั้น 4 ตึกอํานวยการ สถาบันกัลยาณราชนครินทร
รายงานประจําป 2554
116
ไมพบสวนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ rId101 ในแฟมนี้
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบการ จัดการดานความปลอดภัยของขอมูลตามมาตรฐาน ISO 27001
ศูนยพัฒนาคุณภาพ (HA) สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบการจัดการดานความปลอดภัยของขอมูลตามมาครฐาน ISO 27001 เพิ่อ พัฒนาระบบการบริหารจัดการดานความปลอดภัยของขอมูลในองคกรใหไดมาตรฐานตามระบบ ISO 27001 และได รั บการรองรั บ จากหน ว ยงานภายนอกให แก บุ คลากรในสถาบั น ฯ เมื่ อ วั น ที่ 22-23 กุมภาพันธ 2554 ณ หองประชุมนายแพทยสุรินทร ปนรัตน ตึกอํานวยการ
รายงานประจําป 2554
117
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 Internal Audit ภายในองคกร
Internal Audit ภายในองคกร วันที่ 14 กรกฎาคม 2554
รายงานประจําป 2554
118
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการรับการ Pre-Audit
โครงการรับการ Pre-Audit จากบริษัท URS วันที่ 30 สิงหาคม 2554
รายงานประจําป 2554
119
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการปรับสมดุลสุขภาพตามแนวธรรมชาติบําบัด
งานเสริม สรา งสายใยรั กษ สถาบันกั ล ยาณ ราชนคริน ทร ได จั ดโครงการปรั บสมดุ ล สุขภาพตามแนวธรรมชาติ บํา บั ด เพื่อพัฒนาใหญ าติ และผูดูแล ใหมี ความรูความเขา ใจด านอาหาร สุขภาพตามแนวทางแมคโครไบโอติกส และนํามาปรับใชในชีวิตไดอยางถูกตอง เพื่อถวายเปนพระราช กุศลแดส มเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัล ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ระหวางวันที่ 15-17 ตุลาคม 2553 ณ พนาศรมรีสอรท จังหวัดนนทบุรี
รายงานประจําป 2554
120
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการออกหนวยเพื่อเยียวยาผูที่ไดรับผลกระทบทางการเมือง
งานส งเสริ ม และพั ฒ นาเครื อข า ยสุ ขภาพจิ ต ได ออกหน ว ยเพื่ อ เยี ยวยาผู ที่ ได รั บ ผลกระทบทางการเมืองระหวางวันที่ 1-15 ตุลาคม 2553 ณ ชุมชนหลังวัดปทุม ,ชุมชนโปโล ,ชุมชน พระเจน ,เคหะบอนไก กุหลาบแดง และชุมชนเฉลิมอนุสรณ
รายงานประจําป 2554
121
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูคุณคาความงาม : ตามรอยความสําเร็จเสนทางนิติจิตเวช
กลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรู ไดจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูคุณคาความงาม : ตามรอยความสําเร็ จเส นทางนิ ติ จิต เวชให แก บุค ลากรสหวิ ชาชี พ ผู เกษี ยณหรื อโอนยายจากสถาบั น กัลยาณฯและบุคลากรผูปฏิบัติงาน เพื่อรวบรวมขอมูล ความรู ขอเท็จจริงในอดีตเกี่ยวกับการดําเนินงาน บริการเปนเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูและรวบรวมเรื่องราว และบริหารดานนิติจิตเวชของสถาบันกัลยาณราช นครินทรที่ผานมาและถายทอดสูบุคลากรรุนปจจุบัน เพื่อรวบรวมขอ มูล จั ดตั้ งศูนย การเรียนรู โดยมี นายณั ฎ ฐกร ประสาทศรี รองผู อํานวยการฝายบริหารงานทั่วไป เปนประธานในพิ ธีเปด เมื่ อวั นที่ 5 มกราคม 2555 ณ หองประชุมนายแพทยสุรินทร ปนรัตน ชั้น 4 ตึกอํานวยการ
รายงานประจําป 2554
122
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการสรางพลังสุขภาพจิตเด็ก เยาวชนและครอบครัว
งานจิ ตเวชชุม ชน สถาบัน กั ล ยาณ ร าชนคริ นทร จั ดโครงการสร า งพลั งสุ ขภาพจิ ตเด็ ก เยาวชนและครอบครัวในชุมชนกระทุมลม โดยมีการจัดกิจกรรมเพื่อใหกลุมเด็ก เยาวชนและครอบครัว ได แลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณ ทักษะการพบปะสังสรรค และทํากิจกรรมที่มีประโยชนรวมกันในชุมชน เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2554 ณ เทศบาลกระทุมลม วัดนครชุมชื่น
รายงานประจําป 2554
123
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 พิธีเปดโครงการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขา การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต รุนที่ 4
สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดพิธีเปดโครงการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะ ทางสาขาการพยาบาลจิ ตเวชและสุ ขภาพจิ ต รุ นที่ 4 สําหรั บพยาบาลวิ ชาชีพ ทั้ งในและนอกกรม สุขภาพจิต (ระหวางวันที่ 7กุมภาพันธ – 28 พฤษภาคม 2554) เพื่อใหพยาบาลวิชาชีพที่ปฎิบัติงาน ดานสุขภาพจิตและจิตเวชทั้งในและนอกกรมสุขภาพจิต มีความรูและทักษะในการพยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิต โดยไดรับเกียรติจาก นายแพทยอภิชัย มงคล อธิบดีกรมสุขภาพจิตเปนประธานในพิธีเปด การอบรมในครั้งนี้ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2554 ณ หองประชุมนายแพทยสุรินทร ปนรัตน ชั้น 4 ตึก อํานวยการ
รายงานประจําป 2554
124
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องความปลอดภัยดาน ยาจิตเวช: การเฝาระวังอาการไมพึ่งประสงคจากยา
กลุ มงานเภสัชกรรม สถาบั นกั ล ยาณราชนครินทร ไดจัดการประชุมเชิ งปฏิบั ติการ เรื่องความปลอดภั ยดานยาจิ ตเวช : การเฝา ระวั งอาการไมพึ่งประสงค จากยา เพื่อใหความรู ความ เขาใจในการใชยาจิตเวชและลดความคลาดเคลื่อนและการเฝาระวังอาการไมพึงประสงคจากยาจิต เวช ใหแกผูที่เกี่ยวของ เชน หมอ พยาบาล เภสัชกร โดยมี เภสัชกร ธนรัตน สรวลเสนห อาจารย คณะเภสัชศาสตร มหาลัยมหิดล เปนวิทยากรในการใหความรู เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2554 ณ หอง ประชุมสุรินทร ปนรัตน ชั้น 4 ตึกอํานวยการ สถาบันกัลยาณราชนครินทร
รายงานประจําป 2554
125
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการสนับสนุนศักยภาพความเข็มแข็งของเครือขาย รพศ. รพท. รพช. และรพ.สต.ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 4,5
งานสงเสริมและพัฒนาเครือขายสุขภาพจิต สถาบันกัลยาณราชนครินทรรวมกับศูนย สุขภาพจิตที่ 4 ไดโครงการสนับสนุนศักยภาพความเข็มแข็งของเครือขาย รพศ. รพท. รพช. และรพ. สต.ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 4,5 เพื่อสนับสนุนและเสริมสรางกําลังใจในการทํางานรวมรับฟงและ แลกเปลี่ยนเรียนรูปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน และวางแผนแนวทางในการปฏิบัติงานตอไป เมื่อ วั น ที่ 17,23,28,31 มี น าคม 2554 ณ จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร, ประจวบคี รี ขั น ธ , ราชบุ รี และ สมุทรสงคราม
รายงานประจําป 2554
126
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการประเพณีสงกรานตสําหรับผูปวยในประจําป 2554
กลุมงานฟ นฟู ส มรรถภาพ สถาบัน กั ล ยาณ ราชนคริ นทร ได จัดโครงการประเพณี สงกรานต สํา หรับผูปวยในประจํ าป 2554 เพื่อฟนฟู ทักษะการดูแลตนเองและทักษะทางสั งคมแก ผูปวยในสถาบันกัลยาณราชนครินทร และเพื่อใหผูปวยรวมกิจกรรมตามประเพณีวันสงกรานตของ ไทย เมื่อวันที่ 7 เมษายน 255 ณ สนามหนาตึกผูปวยใน
รายงานประจําป 2554
127
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการอบรมความรูพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
ศูนยความเปนเลิศดานนิติจิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการอบรม ความรูพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 ใหแกอาจารยมหาวิทยาลัย/วิทยาลัยทั้งภาครัฐและ เอกชน เพื่อใหอาจารยมหาวิทยาลัย/วิทยาลัยมีความรูความเขาใจในเจตนารมณสาระสําคัญของ พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 และนําไปถายทอดความรูใหแกนักศึกษาได โดยไดรับเกียรติ จาก นายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต เปนประธานในพิธีเปด เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ณ หองงประชุมริชมอนด จ.นนทบุรี
รายงานประจําป 2554
128
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานคุณภาพ ครั้งที่ 10 สี่สิบปนิติจิตเวช : เลิศล้ําในไทย กาวไกลสูสากล ในโอกาสครบรอบ 40 ป
สถาบันกัลยาณ ร าชนครินทร ไดจัดงาน การประชุมวิชาการนําเสนอผลงาน คุณภาพ ครั้งที่ 10 สี่สิบปนิติจิตเวช : เลิศล้ําในไทย กาวไกลสูสากล ในโอกาสครบรอบ 40 ป สถาบันกัลยาณราชนครินทร โดยไดจัดพิธีเจริญพระพุทธมนต ถวายภัตตาหารเพลแกพระสงฆ จํานวน 9 รูป และไดจัดการอภิปรายเรื่อง “คนไทยปวยจิต พิทักษสิทธิอยางไร” จากวิทยา ผูทรงคุณวุฒิ ในการนี้ไดรับเกียรติจาก นายแพทยอิทธิพล สูงแข็ง รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต เปน ประธานในพิธีสงฆดวย เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2554 ณ ตึกอํานวยการ สถาบันกัลยาณราช นครินทร
รายงานประจําป 2554
129
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงาน พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
ศูนยความเปนเลิศดานนิติจิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการประชุม เชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ใหแกบุคลากร สถาบัน/โรงพยาบาล ศูนยสุขภาพจิตสังกัดกรมสุขภาพจิตและสถานบําบัดรักษาทางสุขภาพจิต เพื่อ ร วมแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู และถ า ยทอดประสบการณ ใ นการดํ า เนิน งานบั ง คั บ ใช พ ระราชบั ญ ญั ติ สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 เพื่อนําขอมูลที่ไดมาวางแผนการดําเนินงานเมื่อวันที่ 11-12 กรกฎาคม 2554 ณ หองงประชุมเฟองฟา ชั้นที่ 2 โรงแรมริเวอรวิวเพลส จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รายงานประจําป 2554
130
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงาน พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
ศูนยความเปนเลิศดานนิติจิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการประชุม เชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ใหแกบุคลากร สถาบัน/โรงพยาบาล ศูนยสุขภาพจิตสังกัดกรมสุขภาพจิตและสถานบําบัดรักษาทางสุขภาพจิต เพื่อ รว มแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู และถ า ยทอดประสบการณ ใ นการดํ า เนิน งานบั ง คั บ ใชพ ระราชบั ญ ญั ติ สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 เพื่อนําขอมูลที่ไดมาวางแผนการดําเนินงานเมื่อวันที่ 11-12 กรกฎาคม 2554 ณ หองงประชุมเฟองฟา ชั้นที่ 2 โรงแรมริเวอรวิวเพลส จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รายงานประจําป 2554
131
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการการอบรมวิทยากรหลักสูตรเรือ่ ง การชวยเหลือเยียวยาจิตใจผู ประสบภาวะวิกฤตสําหรับผูปฏิบตั ิงานสุขภาพจิตสังกัดกรมสุขภาพจิต
จัดจํานวน 2 รุนๆ ละ 30 คน โดยจัดรุนที่ 1 ระหวางวันที่ 20-22 มิถุนายน 2554 และรุนที่ 2 ระหวางวันที่ 25-27 กรกฎาคม 2554 พบวา ผูเขารับการอบรมมีความมั่นใจในการ เปนวิทยากรถายทอดความรูตามหลักสูตรการสอนเรื่องการชวยเหลือผูประสบภาวะวิกฤตไดเปน อยางดี มีทักษะในการถายทอดในแตละแผนการสอน ตลอดจนไดมีการหัดคิดสรางสรรครูปแบบ ของการถายทอดใหผูเรียนไดเรียนรู ทําใหมีความเขาใจเรื่องวิกฤตสุขภาพจิตและการชวยเหลือ ผูประสบภัยมากขึ้น
รายงานประจําป 2554
132
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการชวยเหลือผูที่พยายาม ฆาตัวตายสําหรับบุคลากรสาธารณสุข
จัดจํานวน 2 รุนๆ ละ 40 คน รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 12-14 มิถุนายน 2554 และรุนที่ 2 ระหวางวันที่ 20-22 กรกฎาคม 2554 พบวาผูเขารับการอบรมสวนใหญมีความรูและทักษะในการให การชวยเหลือผูที่อยูในภาวะวิกฤต ผูที่พยายามฆาตัวตาย โดยใชหลักและเทคนิคการเจรจาตอรอง มี ความรูความเข า ใจในการเผชิ ญกับ ความรู สึ กกดดั น ความเครี ยด และการเผชิญ กั บป ญหาของผูที่ พยายามฆ า ตั ว ตาย เกิ ดแนวคิ ดเกี่ ย วกั บ การปรั บ เปลี่ย นความคิ ด ของผู ใ ห ก ารช ว ยเหลือ ต อผู ที่ มี ความคิดหรือพยายามฆาตัวตายเกิดความมั่นใจมากขึ้นในการปฏิบัติงานดานวิกฤตสุขภาพจิต การให การชวยเหลือบุคคลที่อยูในภาวะวิกฤต หรือผูที่พยายามฆาตัวตาย ไดเห็นแนวทางการปฏิบัติงาน โดย การทํางานเปนทีม ตลอดจนสามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงานเชิงรุกสูชุมชน
รายงานประจําป 2554
133
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 การประชุมเรื่อง ทิศทางการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิตจาก ปจจุบันสูอนาคต
ศู น ย วิ ก ฤตสุ ข ภาพจิ ต สถาบั น กั ล ยาณ ร าชนคริ น ทร ได จั ด การประชุ ม เพื่ อ ร ว ม แลกเปลี่ยนเรียนรูทราบถึงทิศทางการพั ฒนางานวิกฤตสุขภาพจิตจากปจจุบันสูอนาคต การรับมือกั บ ปญหาวิกฤตสุขภาพจิตรวมทั้งปญหาอุปสรรคการดําเนินงานที่ผานมา ใหแกเครือขายวิกฤตสุขภาพจิต ทั้ งในและนอกสั งกั ดกรมสุ ขภาพจิ ต ในการนี้ ไดรับ เกี ยรติจ าก นายแพทยอ ภิ ชัย มงคล อธิ บ ดีกรม สุ ข ภาพจิ ต เป น ประธานในพิ ธี เ ป ด เมื่ อ วั น ที่ 1-2 มี น าคม 2554 ณ โรงแรมรามา การ เ ด น ส กรุงเทพมหานคร.
รายงานประจําป 2554
134
ประมวลภาพกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา ประจําปงบประมาณ 2554 โครงการประชุมปฏิบัติการเพื่อปรับรางแผนเตรียมความพรอมรับมือกับ สถานการณวิกฤตดานสุขภาพจิตสําหรับหนวยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต
ศูนยวิกฤตสุขภาพจิต สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดประชุมระหวางวันที่ 11-12 พฤษภาคม 2554 ณ โรงแรมรามาการเดน กรุงเทพมหานคร ทําใหไดแผนเตรียมความ พรอมรับมือกับสถานการณภัยพิบัติดานสุขภาพจิต เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานตอไป
รายงานประจําป 2554
135
คณะผูจัดทํารายงานประจําป 2554 นายศิรศิ ักดิ์
ธิติดิลกรัตน
ผูอาํ นวยการสถาบันกัลยาณราชนครินทร
ที่ปรึกษา
นางดวงตา
ไกรภัสสรพงษ
รองผูอาํ นวยการฝายการแพทย
ที่ปรึกษา
นายณัฏฐกร
ประสาทศรี
รองผูอาํ นวยการฝายบริหาร
ที่ปรึกษา
นางบุญเหลือ
โททะมัน
ผูชว ยผูอาํ นวยการฝายบริการ
ที่ปรึกษา
นางวยุณี
ชางมิง่
หัวหนากลุมยุทธศาสตรและสารสนเทศ
ประธานคณะทํางาน
นางสาววนัทดา
ถมคาพาณิชย
หัวหนากลุมพัฒนาความเปนเลิศฯ ดานนิติจิตเวช คณะทํางาน
นางสาววิไล
เสรีพิทักษ
หัวหนากลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรู
คณะทํางาน
นางสาวราณี
ฉายินทุ
ศูนยวกิ ฤตสุขภาพจิต
คณะทํางาน
นางบุญเหลือ
ชาญณรงค
หัวหนากลุมสงเสริมสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
คณะทํางาน
นางสาวเบญจวรรณ สามสาลี
หัวหนากลุมการพยาบาล
คณะทํางาน
นางสาววงษเดือน
สายสุวรรณ
หัวหนาฝายพัฒนาทรัพยากรบุคคล
คณะทํางาน
นางสาวสําราญ
บุญรักษา
หัวหนาฝายประชาสัมพันธ
คณะทํางาน
นางกรชไม
วสุธาวุฒจิ ารณ
หัวหนาฝายพัสดุ
คณะทํางาน
นางสาคร
ศรีสุริยวงษ
หัวหนาฝายการเงินและบัญชี
คณะทํางาน
นางสาวอินทิรา
อะตะมะ
หัวหนากลุมงานฟนฟูสมรรถภาพ
คณะทํางาน
นางนภาพร
ทองมูล
หัวหนางานเวชระเบียน
คณะทํางาน
นายอาคม
จํามั่น
หัวหนางานเทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณะทํางาน
นางกัลนิกา
ศรีวงควรรณ
พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
คณะทํางาน
นางสาวพรรณภา
แสงสอง
พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
คณะทํางาน
นางยุพิน
ตุมโหมด
พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
คณะทํางาน
รายงานประจําป 2554
136
คณะผูจัดทํารายงานประจําป 2554 (ตอ) นางสาวเพ็ญพรรณ
ชิตวร
พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
คณะทํางาน
นางกฤษณา
อําคา
พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
คณะทํางาน
นางสุดสาคร
จํามั่น
พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
คณะทํางาน
นางลัดดา
จีระกุล
นักสังคมสงเคราะหชาํ นาญการ
คณะทํางาน
นางสาวศุภกร
โคตา
เจาหนาที่บริหารงานทัว่ ไป
คณะทํางาน
นางสาววีรวรรณ
คํานุชนารถ
นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ เลขานุการและคณะทํางาน
นางสาวนิภาดา
ชื่นใจ
นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ
ผูชวยเลขานุการและคณะทํางาน
นางพิมพพาวดี
สงเสริมศิลา
เจาพนักงานธุรการ
ผูชวยเลขานุการและคณะทํางาน
รายงานประจําป 2554
137